You are on page 1of 21

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค.

58) 1
4 May 2016

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)


วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม 2558 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบระบายตัวเลขที่เป็ นคาตอบ จานวน 10 ข้ อ ข้ อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน


1. ให้ 𝑆 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนเต็มที่สอดคล้ องกับอสมการ 6|𝑥 − 3| < 5𝑥 }
จานวนสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 14 2. 15 3. 16
4. 17 5. 18

2. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) = 𝑎𝑥 5 + 𝑏𝑥 3 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นค่าคงตัว ถ้ า 𝑥 − 1 หาร 𝑃(𝑥) เหลือเศษ 10


และ 𝑥 หาร 𝑃(𝑥) เหลือเศษ 6 แล้ ว 𝑥 + 1 หาร 𝑃(𝑥) เหลือเศษเท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. −10 2. −6 3. 2
4. 4 5. 6

3. ถ้ า 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก 3 มิติ โดยที่ |𝑢̅| = √5 และ |𝑣̅ | = √3
แล้ ว |𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. √15 2. √5 + √3 3. 8
4. 5√3 + 3√5 5. 15
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

4. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งบวก ถ้ า log 𝑎2 𝑏 = 5 แล้ ว log 𝑏2 𝑎 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1 1
1. 20 2. 10 3. 15
4. 10 5. 20

5. ถ้ า 𝑆 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑎 ซึง่ ทาให้ ระบบสมการ 𝑎𝑥 + 2𝑦 − 2𝑧 = −1


𝑥+𝑦−𝑧 = 0
2𝑥 + 𝑦 + 2𝑧 = 2
มีคาตอบเพียงคาตอบเดียว แล้ ว 𝑆 คือเซตในข้ อใดต่อไปนี ้
1. (−∞, 1) ∪ (1, ∞) 2. (−∞, −1) ∪ (0, ∞) 3. (−∞, 2) ∪ (2, ∞)
4. (−∞, −2) ∪ (−2, ∞) 5. { −2, −1, 1, 2 }

𝜋 3
6. tan [ 4 + arcsin (− 5)] มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1
1. −7 2. − 19 3. 1
9
1
4. 7
5. 9
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 3

7. ตารางแจกแจงความถี่สมั พัทธ์ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรี ยนกลุม่ หนึง่ เป็ นดังนี ้


คะแนนสอบ ความถี่สมั พัทธ์
0 – 19 0.1
20 – 39 0.1
40 – 59 0.3
60 – 79 0.3
80 – 99 0.2

ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุม่ นี ้ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้


1. 57.5 คะแนน 2. 58.5 คะแนน 3. 60.5 คะแนน
4. 62.5 คะแนน 5. 63.5 คะแนน

2 1 8
8. พิจารณา lim (
x  2 𝑥−2
+ 𝑥+2 − 𝑥 2 −4) ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นจริ ง

1. หาค่าไม่ได้ 2. มีคา่ เท่ากับ − 34 3. มีคา่ เท่ากับ − 14


4. มีคา่ เท่ากับ 14 5. มีคา่ เท่ากับ 34

9. ถ้ า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเรขาคณิต โดยที่ 𝑎1 = 96 และ 𝑎4 = 12



แล้ ว  𝑎𝑛 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
n 1

1. 120 2. 128 3. 144


4. 192 5. 288
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

(𝑥 + 1)2 − 5 เมื่อ 𝑥 < −1


10. ถ้ า 𝑓(𝑥) = { −5 เมื่อ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1
(𝑥 − 1) − 5 เมื่อ
2
𝑥>1
แล้ ว (𝑓 ∘ 𝑓)′(2) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. −12 2. −8 3. 0
4. 8 5. 12

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 20 ข้ อ ข้ อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
11. กาหนดให้ 𝑧1 , 𝑧2 และ 𝑧3 เป็ นรากที่ 3 ของจานวนเชิงซ้ อนจานวนหนึง่
ถ้ า 𝑧1 อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 โดยที่ |𝑧1 | = 2 และ 𝑧3 = 𝑧̅1 แล้ ว 𝑧2 + 𝑧3 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 1 + √3i 2. −1 − √3i 3. −1 + √3i
4. −√2 + √2i 5. √2 − √2i

12. เศษเหลือที่ได้ จากการหาร 11111 ด้ วย 1,210 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้


1. 1 2. 11 3. 111
4. 121 5. 211
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 5

𝑥+𝑎
13. ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นค่าคงตัว ซึง่ อสมการ (𝑥+𝑏) 2 ≥ 0 มีเซตคาตอบคือช่วง (1, ∞)

แล้ ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้


1. −2 2. −1 3. 0
4. 1 5. 2

14. กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลีย่ มหน้ าจัว่ ซึง่ มีด้าน AB = AC ถ้ ามุม A = 150° และด้ าน BC ยาวเท่ากับ 16 หน่วย
แล้ ว พื ้นที่สามเหลีย่ ม ABC เท่ากับข้ อไปต่อไปนี ้
1. 64 3
ตารางหน่วย 2. 64(2 − √3) ตารางหน่วย 3. 32(3 − √2) ตารางหน่วย
4. 64 ตารางหน่วย 5. 64(2 + √3) ตารางหน่วย

15. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤


เป็ นเวกเตอร์ ใดๆ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
̅
ก. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤̅ = 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅) ข. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) × 𝑤̅ = 𝑢̅ × (𝑣̅ × 𝑤̅)
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2 ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 2(𝑢̅ × 𝑣̅ )
จานวนข้ อความทีถ่ กู ต้ อง เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีข้อความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

16. ให้ 𝑠 เป็ นวงกลมที่อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 ซึง่ สัมผัสแกน X และ แกน Y และเส้ นตรง ℓ ซึง่ มีสมการเป็ น
3𝑥 − 4𝑦 + 24 = 0 ถ้ า C เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝑠 และ P เป็ นจุดที่วงกลม 𝑠 สัมผัสเส้ นตรง ℓ
แล้ วสมการเส้ นตรงที่ผา่ นจุด C และจุด P คือข้ อใดต่อไปนี ้
1. 4𝑥 + 3𝑦 − 28 = 0 2. 4𝑥 + 3𝑦 − 32 = 0 3. 4𝑥 + 3𝑦 − 40 = 0
4. 3𝑥 + 4𝑦 − 28 = 0 5. 3𝑥 + 4𝑦 − 32 = 0

17. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์มติ ิ 3 × 3 ซึง่ [𝐴 : 𝐼] ~ [𝐼 : 𝑃] โดยที่ 𝐼 เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์มิติ 3 × 3
1 2 0 1 𝑎
และ 𝑃 = [0 −1 2 ] ถ้ า 𝐴 [2] = [𝑏] แล้ ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1 0 −1 3 𝑐
17
1. −17 2. −5 3. − 5
5 17
4. 17
5. 5

18. ผลบวกของคาตอบของสมการ 9log 𝑥 − 10(3log 𝑥 ) + 9 = 0 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้


1. 11 2. 99 3. 101
4. 111 5. 1001
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 7

19. กาหนดให้ 𝑆 = { 𝑥 | 0 < 𝑥 < 2𝜋 และ


2
125(54 cos 2𝑥 ) = 4(54 cos 𝑥 ) + 25 }
𝑆 เป็ นสับเซตของเซตในข้ อใดต่อไปนี ้
1. { 𝜋8 , 3𝜋
8 8
5𝜋 10𝜋 12𝜋 14𝜋
, , 8 , 8 , 8 } 2. 𝜋 2𝜋 4𝜋 7𝜋 8𝜋 9𝜋
{6, , , , ,
6 6 6 6 6
}
𝜋 2𝜋 3𝜋 5𝜋 6𝜋 7𝜋 𝜋 𝜋 3𝜋 3𝜋 8𝜋 7𝜋
3. {4, , , , ,
4 4 4 4 4
} 4. {6,4, , , ,
6 4 6 4
}
𝜋 𝜋 2𝜋 3𝜋 5𝜋 7𝜋
5. {3,4, , , ,
3 4 3 4
}

20. ความสูง (เซนติเมตร) ของเด็กกลุม่ หนึง่ จานวน 9 คน


152 , 153 , 155 , 158 , 159 , 160 , 162 , 166 , 175
ถ้ าสุม่ เลือกเด็กกลุม่ นี ้มา 3 คน ความน่าจะเป็ นทีเ่ ด็กทังสามคนเตี
้ ้ยกว่าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของความสูงของเด็กกลุม่ นี ้
เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
3 5 5
1. 84 2. 42 3. 28
5 25
4. 15
5. 42

21. มีเลขโดด 9 จานวน คือ −7 , −5 , −3 , −1 , 0 , 2 , 4 , 6 , 10 ถ้ าสุม่ เลขโดดนี ้มา 4 จานวน


แล้ วความน่าจะเป็ นที่ผลคูณของเลขโดด 4 จานวนนี ้ไม่เป็ นจานวนลบเท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
47 70
1. 126 2. 126 3. 41
63
47 56
4. 63
5. 63
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

22. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรี ยนห้ องหนึง่ มีการแจกแจงปกติ ถ้ าผลต่างของคะแนนที่เปอร์ เซนไทล์ 67 และ


เปอร์ เซนไทล์ที่ 33 เท่ากับ 11 คะแนน แล้ วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคือข้ อใดต่อไปนี ้
เมื่อกาหนดตารางแสดงพื ้นทีใ่ ต้ เส้ นโค้ งปกติ
𝑧 0.17 0.33 0.44 0.67
พื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ งปกติ 0.066 0.13 0.17 0.25

1. 9.5 คะแนน 2. 11 คะแนน 3. 12.5 คะแนน


4. 14 คะแนน 5. 15.5 คะแนน

23. ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥11 เป็ นข้ อมูล 11 จานวน ซึง่ เรียงกันเป็ นลาดับเรขาคณิต
ถ้ าผลคูณ 𝑥1 ∙ 𝑥2 ∙ 𝑥3 ∙ … ∙ 𝑥11 = 233 ∙ 322 แล้ วมัธยฐานของข้ อมูลชุดนี ้เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 36 2. 72 3. 144
4. 216 5. 426

n ( n  2)
2 
1 𝑎𝑛
24. ถ้ าลาดับ 𝑎𝑛 =  𝑥2
𝑑𝑥 แล้ ว  มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
n n 1 𝑛
1 1 3
1. 4
2. 2
3. 4
5
4. 1 5. 4
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 9

25. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม ซึง่ 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 และ 𝐺(𝑥) = {
𝑥+5 เมื่อ 𝑥 < −1
𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 ≥ −1
ถ้ า 𝐺(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = −1 แล้ ว 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. −2 2. −1 3. 2
4. 3 5. 4

26. ผลการสอบวิชาประวัตศิ าสตร์ ซงึ่ มีคะแนนเต็ม 20 คะแนนของนักเรี ยน 10 คน เป็ นดังนี ้


𝑥 , 16 , 8 , 12 , 13 , 7 , 9 , 11 , 18 , 𝑦
ถ้ าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 12.7 คะแนน แล้ วมัธยฐานของคะแนนสอบเท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 10 คะแนน 2. 11 คะแนน 3. 11.5 คะแนน
4. 12 คะแนน 5. 12.5 คะแนน

100
1
27. ถ้ า 𝑓(𝑥) =  𝑘 ∙ 𝑥 2𝑘−1 แล้ ว √2
𝑓(√2) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
k 1

1. 1 + 99 ∙ 299 2. 1 + 100 ∙ 299 3. √2 + 99 ∙ 299


4. 1 + 99 ∙ 2100 5. 1 + 100 ∙ 2100
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

28. กาหนดให้ 𝐴 = { 1, 2, 3, … , 155 } และ i เป็ นจานวนเชิงซ้ อน ซึง่ i2 = −1


1+i 2𝑥−5
ถ้ า 𝐵 = { 𝑥 ∈ 𝐴 | (1−i) = i𝑥−2 } แล้ วจานวนสมาชิกของ 𝐵 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 19 2. 20 3. 35
4. 38 5. 39

𝜋 𝜋
cos − sin
29. กาหนดให้ 𝐴 = [ 𝜋3 3
𝜋 ] และ 𝑆 = { 1, 2, 3, … , 100 } ถ้ าสุม่ สมาชิก 1 ตัวจาก 𝑆
sin 3 cos 3
แล้ วความน่าจะเป็ นที่จะได้ จานวนนับ 𝑘 ซึง่ 𝐴𝑘 = 𝐼 โดยที่ 𝐼 เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
9 16 18
1. 100 2. 100 3. 100
24 29
4. 100
5. 100

30. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนามซึง่ มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนเต็มบวก ถ้ า 𝑃(1) = 10 และ 𝑃(10) = 2,116
แล้ ว 𝑃(−1) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. 10 3. 51
4. 106 5. 1,053
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 11

เฉลย
1. 3 7. 1 13. 1 19. 3 25. 5
2. 3 8. 5 14. 2 20. 2 26. 5
3. 5 9. 4 15. 4 21. 4 27. 4
4. 1 10. 1 16. 1 22. 3 28. 5
5. 3 11. 2 17. 5 23. 2 29. 2
6. 4 12. 4 18. 3 24. 3 30. 1

แนวคิด
1. 3
จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์ จะได้ −5𝑥 < 6(𝑥 − 3) < 5𝑥 และ 5𝑥 > 0
𝑥 > 0 …(3)
−5𝑥 < 6𝑥 − 18 และ 6𝑥 − 18 < 5𝑥
18 < 11𝑥 𝑥 < 18 …(2)
18
11
< 𝑥 …(1)

จาก (1), (2), (3) จะได้ 18 11


< 𝑥 < 18
ดังนัน้ 𝑥 ที่เป็ นจานวนเต็ม จะมีคา่ ตังแต่
้ 2, 3, … , 17 ซึง่ มีจานวน 17 − 2 + 1 = 16 ตัว

2. 3
จากทฤษฎีเศษ 𝑥−1 หาร 𝑃(𝑥) เหลือเศษ 10 จะได้ 𝑎(15 ) + 𝑏(13 ) + 𝑐(1) + 𝑑 = 10
𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 10 …(1)
𝑥 หาร 𝑃(𝑥) เหลือเศษ 6 จะได้ 𝑎(05 ) + 𝑏(03 ) + 𝑐(0) + 𝑑 = 6
𝑑 = 6 …(2)
แทน 𝑑=6 ใน (1) จะได้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 4 …(3)
ดังนัน้ 𝑥+1 หาร 𝑃(𝑥) จะเหลือเศษ = 𝑎(−1)5 + 𝑏(−1)3 + 𝑐(−1) + 𝑑
= −𝑎 − 𝑏 − 𝑐 + 𝑑
= −(𝑎 + 𝑏 + 𝑐) + 𝑑
จาก (2) และ (3)
= −( 4 )+6
= 2

3. 5
| 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃
2
= ||𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃| + (|𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃)2 |𝑢̅ × 𝑣̅ | = |𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃
2 2
= |√5√3 cos 𝜃| + (√5√3 sin 𝜃)
= 15 cos 2 𝜃 + 15 sin2 𝜃
= 15(cos 2 𝜃 + sin2 𝜃) sin2 𝜃 + cos2 𝜃 = 1
= 15

4. 1
1
จาก log 𝑎2 𝑏 = 5 ดังนัน้ log 𝑏2 𝑎 = 2
log 𝑏 𝑎
1
log 𝑎 𝑏 = 5 1 1 log 𝑏 𝑎 กับ log 𝑎 𝑏 เป็ นส่วนกลับกัน
2 = ( )
2 10
log 𝑎 𝑏 = 10 1
= 20
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

5. 3 𝑎 2 −2
ระบบสมการจะมีคาตอบเดียว เมื่อ det [สปส] ≠ 0 → |1 1 −1| ≠0
2 1 2
(2𝑎 − 4 − 2) − (−4 − 𝑎 + 4) ≠ 0
3𝑎 ≠6
𝑎 ≠2
→ เขียนเป็ นช่วงได้ เป็ น (−∞, 2) ∪ (2, ∞)

6. 4
𝜋 3
𝜋 3 tan + tan(arcsin(− ))
4 5
tan [ 4 + arcsin (− 5)] = 𝜋 3
1 − tan tan(arcsin(− ))
4 5
3
1 + tan(arcsin(− )) 3
=
1 −
5
3
tan(arcsin(− ))
… (∗) → ต้ องหา tan (arcsin (− ))
5
มาแทน
5

1. คิดเครื่ องหมายตามจตุภาค : arcsin (− 35) คือมุมที่ sin แล้ วเป็ นลบ → Q3 หรื อ Q4
แต่เรนจ์ของ arcsin คือ Q1 หรื อ Q4 ดังนัน้ arcsin (− 35) เป็ นมุมใน Q4
ดังนัน้ tan (arcsin (− 35)) = tan (มุมใน Q4) → เป็ นลบ
2. หาค่า tan (arcsin (− 35)) แบบไม่สนเครื่ องหมาย → ใช้ สามเหลีย่ ม
5
3
arcsin
5
3

จากด้ านชุด 3 4 5
→ ได้ tan = 34 จะได้ = 4
3 3
รวมสองขันตอน
้ จะได้ tan (arcsin (− )) = −
5 4
3 1
1 + (− ) 1
แทนใน (∗) จะได้ = 4
3
1 − (− )
= 4
7 =
7
4 4

7. 1

ตัวเลขทีเ่ ป็ นสัดส่วนกับความถี่ (เช่น ความถี่สมั พัทธ์ = ความถี


𝑁

) สามารถใช้ หา 𝑥̅ ได้ ในลักษณะเดียวกับความถี่เลย
∑ 𝑥𝑖
(เพราะ เศษ และ ส่วน ของ 𝑁 จะถูกทอนเท่าๆกัน ทาให้ มีคา่ เท่าเดิม)
ตารางอันตรภาคชันเป็ ้ นช่วง → ประมาณแต่ละชันด้ ้ วยจุดกึ่งกลางชัน้
คะแนนสอบ จุดกึ่งกลางชัน้ ความถี่สมั พัทธ์ ผลคูณ
0 – 19 9.5 0.1 0.95
20 – 39 29.5 0.1 2.95
40 – 59 49.5 0.3 14.85
60 – 79 69.5 0.3 20.85
80 – 99 89.5 0.2 17.90 57.5
1.0 57.50 จะได้ 𝑥̅ =
1
= 57.5
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 13

8. 5
แทน 𝑥 = 2 จะเห็นว่ามีสองตัวที่สว่ น = 0 ลบกันอยู่ ดังนัน้ ต้ องจัดรูปให้ 𝑥−2 ตัดกันก่อน
2 1 8 1 2 8
+ − = + 𝑥−2 − (𝑥−2)(𝑥+2)
𝑥 2 −4 1
𝑥−2 𝑥+2 𝑥+2
1 2(𝑥+2) − 8 𝑥+2
ไม่ต้องเอาไปรวมก็ได้ เพราะหา lim
x2
ได้
= + (𝑥−2)(𝑥+2)
𝑥+2
1 2𝑥 − 4
= 𝑥+2
+ (𝑥−2)(𝑥+2)
1 2(𝑥−2)
= + (𝑥−2)(𝑥+2)
𝑥+2
1 2
= 𝑥+2
+ 𝑥+2
3
= 𝑥+2
3 3
แทน 𝑥 = 2 ใหม่ จะได้ ลิมิต =
2+2
=
4

9. 4
จาก 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1 แทน 𝑛=4 จะได้ 𝑎4 = 𝑎1 𝑟 4−1
12 = 96𝑟 3
1
= 𝑟3
8
1 𝑎1
2
= 𝑟 → |𝑟| < 1 ดังนัน้ จะใช้ สตู ร 𝑆∞ =
1−𝑟
ได้

96 96
จะได้  𝑎𝑛 =
1−
1 = 1 = 192
n 1 2 2

10. 1
จากสูตร ดิฟลูกโซ่ ในรูปแบบฟั งก์ชนั คอมโพสิท (𝑔 ∘ 𝑓)′ (𝑥) = 𝑔′ (𝑓(𝑥)) ∙ 𝑓 ′ (𝑥)
จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓)′ (2) = 𝑓 ′( 𝑓(2) ) ∙ 𝑓 ′ (2) หา 𝑓(2) ใช้ สตู รล่าง เพราะ 2 > 1
= 𝑓 ′ ((2 − 1)2 − 5) ∙ 𝑓 ′ (2)
= 𝑓 ′( −4 ) ∙ 𝑓 ′ (2) …(∗)

หา 𝑓 ′(−4) : เมื่อ 𝑥 < −1 จะได้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 + 1)2 − 5


𝑓 ′ (𝑥) = 2(𝑥 + 1)(1)
𝑓 ′ (−4) = 2(−4 + 1) = −6
หา 𝑓 ′(2) : เมื่อ 𝑥 > 1 จะได้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 1)2 − 5 แทนใน (∗)
𝑓 ′ (𝑥) = 2(𝑥 − 1)(1)
𝑓 ′ (2) = 2(2 − 1) = 2 จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓)′ (2) = (−6)(2)
= −12
11. 2
ให้ 𝑧1 = 𝑟 cis 𝜃 เมื่อ 0 < 𝜃 < 90° (โจทย์ให้ 𝑧1อยูใ่ น Q1)
เนื่องจาก |𝑧1 | = 2 จะได้ 𝑟 = 2 ดังนัน้ 𝑧1 = 2 cis 𝜃
เนื่องจาก รากที่ 3 แต่ละรากจะมีมมุ เพิ่มทีละ 360°
3
= 120°
ดังนัน้ อีก 2 รากทีเ่ หลือคือ 2 cis(𝜃 + 120°) กับ 2 cis(𝜃 + 240°) (ยังไม่ร้ ูวา่ ตัวไหนคือ 𝑧2 ตัวไหนคือ 𝑧3)
โจทย์ให้ 𝑧3 = 𝑧̅1 → ดังนัน้ 𝑧3 อยูใ่ น Q4 𝑎 + 𝑏i
→ แต่ 2 cis(𝜃 + 120°) ไม่มีทางอยูใ่ น Q 4 ได้ (เพราะ 0 < 𝜃 < 90°)
→ ดังนัน้ 𝑧3 = 2 cis(𝜃 + 240°)
𝑎 − 𝑏i
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

จากสมบัติของคอนจูเกต และขนาดของมุม จะได้ วา่ มุมของ 𝑧1 กับ 𝑧3 จะต้ องรวมกันได้ 360°


𝜃 + (𝜃 + 240°) = 360°
2𝜃 = 120°
𝜃 = 60°
แทนค่า 𝜃 จะได้ 𝑧2 + 𝑧3 = 2 cis(60° + 120°) + 2 cis(60° + 240°)
= 2 cis( 180° ) + 2 cis( 300° )
= −2 + 2(cos 300° + 𝑖 sin 300°)
1 √3
= −2 + 2( 2
+ 𝑖 (− 2
) )
= −2 + 1 − √3𝑖 = −1 − √3𝑖
12. 4
111 109
จะเห็นว่า 11
1210
ตัด 11 ได้ สองตัว เหลือ 1110 ดังนัน้ จะหาว่า 11109 หารด้ วยด้ วย 10 เหลือเศษเท่าไหร่ ก่อน
แล้ วตอนจบ ค่อยเอา 11 สองตัวที่ตดั ไป คูณกลับเข้ าไป ให้ ตวั หารกลายเป็ น 1210 เท่าเดิม
“เศษเหลือจากการหารด้ วย 10” จะเท่ากับ “หลักหน่วย”
เนื่องจาก 11 มีหลักหน่วยคือ 1 ดังนัน้ ถ้ าเอา 11 มาคูณกันเอง ไม่วา่ จะคูณกี่ตวั หลักหน่วยก็ยงั เป็ น 1 เหมือนเดิม
(เพราะ 1 × 1 = 1) ดังนัน้ 11109 จะมีหลักหน่วยคือ 1
ดังนัน้ 11109 หารด้ วย 10 จะเหลือเศษ 1 → 11109 = 10 𝑞 + 1
คูณ 11 × 11 ตลอด
→ 11111 = 1210𝑞 + 121
→ 11111 หารด้ วย 1210 จะเหลือเศษ 121

13. 1
เนื่องจาก 𝑥 + 𝑏 เป็ นตัวหาร ดังนัน้ 𝑥 ≠ −𝑏 :
𝑥+𝑎
(𝑥+𝑏)2
≥ 0 เนื่องจาก (𝑥 + 𝑏)2 > 0 ดังนัน้ จะย้ าย (𝑥 + 𝑏)2
𝑥+𝑎 ≥ 0 มาคูณทางขวาได้ โดยไม่ต้องเปลี่ยน ≥ เป็ น ≤
𝑥 ≥ −𝑎
ดังนัน้ คาตอบของอสมการคือ 𝑥 ≥ −𝑎 และ 𝑥 ≠ −𝑏 …(∗)
แต่โจทย์ให้ คาตอบคือ (1, ∞) ซึง่ เขียนในรูปอสมการได้ เป็ น 𝑥 > 1
ซึง่ เขียนในรูปแบบเดียวกับ (∗) ได้ เป็ น 𝑥 ≥ 1 และ 𝑥≠1
เทียบกับ (∗) จะได้ 𝑎 = −1 และ 𝑏 = −1
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = (−1) + (−1) = −2

14. 2
จะได้ มมุ ทีฐ่ าน = 180° −2 150° = 15° A
ลากส่วนสูง AD จาก ∆ หน้ าจัว่ จะได้ AD แบ่งครึ่งฐาน เป็ นฝั่งละ 8 ดังรูป 150°
จาก tan C = AD CD
จะได้ tan 15° = AD 8 15° 15°
B C
AD 8 D 8
tan(60° − 45°) =
8
tan 60° − tan 45° AD
1 + tan 60° tan 45°
= 8
√3 − 1 AD 8(√3−1) √3−1 8(3−2√3+1)
1 + √3
= 8
จะได้ AD =
√3+1
∙ 3−1

= 2
= 8(2 − √3)
1 1
ดังนัน้ ∆ABC = 2
× BC × AD = 2
× 16 × 8(2 − √3) = 64(2 − √3)
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 15

15. 4
ก. การ ดอท&ครอส จะได้ ผลเท่าเดิมเสมอ ตราบใดทีต่ าแหน่ง 𝑢̅ , 𝑣̅ , 𝑤̅ ยังคงเรี ยงเป็ นวงกลมแบบเดียวกัน
𝑢̅
𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤
̅) = 𝑣̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑢̅) = 𝑤̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑣̅ )
𝑤
̅ 𝑣̅ = (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤
̅ = (𝑣̅ × 𝑤
̅) ∙ 𝑢̅ = (𝑤̅ × 𝑢̅) ∙ 𝑣̅ → ก. ถูก

ข. เนื่องจาก ผลครอส จะมีทิศตังฉากกั


้ บระนาบของตัวตัง้ ดังนัน้ การเปลีย่ นกลุม่ อาจทาให้ ผลลัพธ์มีทิศผิดไปจากเดิมได้
หรื อ จะลองแทนด้ วยเวกเตอร์ งา่ ยๆดู เช่น (𝑖̅ × 𝑖̅) × 𝑗̅ = 0̅ × 𝑗̅ = 0̅
แต่ 𝑖̅ × (𝑖̅ × 𝑗̅) = 𝑖̅ × 𝑘̅ ≠ 0̅ → ข. ผิด
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ + 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑢̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑣̅
= |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2 → ค. ถูก
ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 𝑢̅ × 𝑢̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ − 𝑣̅ × 𝑢̅ − 𝑣̅ × 𝑣̅
= 0̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ − 0̅ 𝑢̅ × 𝑣̅ = −𝑣̅ × 𝑢̅
= 2(𝑢̅ × 𝑣̅ ) → ง. ถูก
16. 1
จากข้ อมูลที่โจทย์ให้ จะวาดได้ ดงั รูป → จะได้ พิกดั ของ C คือ (𝑟, 𝑟)
3𝑥 − 4𝑦 + 24 = 0
และจาก CP = 𝑟 ระยะจากจุด (𝑎, 𝑏) ถึง
P |3𝑟−4𝑟+24|
√32 +(−4)2
= 𝑟 เส้ นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0
𝑟 |𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶|
𝑟 C |−𝑟 + 24| = 5𝑟 คือ √𝐴2 +𝐵2
𝑟
−𝑟 + 24 = 5𝑟 −𝑟 + 24 = −5𝑟
4 = 𝑟 −6 = 𝑟

เนื่องจากรัศมีเป็ นลบไม่ได้ จะได้ 𝑟 = 4 เท่านัน้ ดังนันจะได้


้ พิกดั C คือ (4, 4)
หาความชัน CP : เนื่องจาก CP ⊥ ℓ ดังนัน้ ความชันต้ องคูณกันได้ −1
3
หาความชัน ℓ : 3𝑥 − 4𝑦 + 24 = 0 → ความชัน ℓ = 4
3
𝑥 + 6 =𝑦 4
→ ดังนัน้ ความชัน CP = − 3
4

ดังนัน้ เส้ นตรงที่ผา่ น CP จะมีความชัน − 43 และผ่าน C(4, 4) ซึง่ จะมีสมการคือ 𝑦−4 𝑥−4
= −
4
3
3𝑦 − 12 = −4𝑥 + 16
4𝑥 + 3𝑦 − 28 = 0

17. 5
จาก [𝐴 : 𝐼] ~ [𝐼 : 𝑃] จะได้ 𝐴𝑃 = 𝐼 นัน่ คือ
𝑃 = 𝐴−1
1 𝑎 1 𝑎
จาก 𝐴 [2] = [𝑏] ย้ ายข้ าง 𝐴 ทางซ้ าย จะได้ [2] = 𝐴−1 [𝑏]
3 𝑐 3 𝑐
1 𝑎
[ 2] = 𝑃 [ 𝑏 ]
3 𝑐
1 1 2 0 𝑎
[2] = [0 −1 2 ] [𝑏]
3 1 0 −1 𝑐
จะแปลงเป็ นระบบสมการ แล้ วแก้ หา 𝑎 ก็ได้ แต่ข้อนี ้โจทย์ถาม 𝑎 ค่าเดียว → ใช้ กฎของเครเมอร์ จะง่ายกว่า
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

1 2 0
|2 −1 2 |
(1+12+0)−(0+0−4) 17
จากกฎของเครเมอร์ จะได้ 𝑎 = 3
1
0 −1
2 0 = (1+4+0)−(0+0+0)
= 5
|0 −1 2 |
1 0 −1

18. 3
log 𝑥
9 − 10(3log 𝑥 ) + 9 = 0
32 log 𝑥 − 10(3log 𝑥 ) + 9 = 0
(3log 𝑥 − 1)(3log 𝑥 − 9) = 0
3log 𝑥 = 1 , 9
3log 𝑥 = 30 , 32
log 𝑥 = 0 , 2
𝑥 = 100 , 102 = 1 , 100 → จะได้ ผลบวกคาตอบ = 1+ 100 = 101

19. 3

125(54 cos 2𝑥 ) = 4(54 cos 𝑥 ) + 25


2 เลขยกกาลังฐาน 5
2𝑥 2 เป็ นลบไม่ได้
125(54(2 cos − 1)
) = 4(54 cos 𝑥 ) + 25
2𝑥 2
125(58 cos −4
) = 4(54 cos 𝑥 ) + 25 2𝑥
2
54 cos = 25 , −5
125(58 cos 𝑥 ) 4 cos2 𝑥
4 cos2 𝑥 5 = 52
54
= 4(5 ) + 25
2 4 cos2 𝑥 = 2
58 cos 𝑥 2
5
= 4(54 cos 𝑥 ) + 25 cos2 𝑥 =
1
2
2𝑥 2
58 cos = 20(54 cos 𝑥 ) + 125 cos 𝑥 = ±
1
2𝑥 2 √2
58 cos − 20(54 cos 𝑥 ) − 125 = 0 𝜋 3𝜋 5𝜋 7𝜋
2𝑥 2𝑥
𝑥 = 4
, 4 , 4 , 4
(54 cos − 25)(54 cos + 5) = 0
→ เป็ นสับเซตของข้ อ 3.

20. 2
หา 𝑛(𝑆) : จานวนแบบทังหมด ้ → เลือก 3 คน จาก 9 คน ได้ (39) แบบ
หา 𝑛(𝐸) : จะลุยหา 𝑥̅ เลยก็ได้ แต่ต้องคิดเลขเยอะหน่อย
หรื อจะเอาข้ อมูลทุกตัวมาหัก 150 ก่อน เพื่อให้ คดิ เลขน้ อยลงก็ได้
152 153 155 158 159 160 162 166 175

2 3 5 8 9 10 12 16 25

หาค่าเฉลีย่ ได้ 2+3+5+8+9+10+12+16+25


9
90
= 9 = 10 → บวก 150 กลับ จะได้ 𝑥̅ = 10 + 150 = 160
จะเห็นว่ามีเด็ก 5 คน ที่เตี ้ยกว่า 160 → เลือก 3 คน จาก 5 คน ได้ (53) แบบ
5∙4∙3
(53) 5∙4∙3 5
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ น =
(93)
= 3∙2∙1
9∙8∙7 = 9∙8∙7
= 42
3∙2∙1
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 17

21. 4
ไม่เป็ นลบ จะมีหลายกรณี (ศูนย์ หรื อ บวก) → จะคานวณแบบตรงข้ าม (คือแบบที่เป็ นลบ) แล้ วเอา 1 ตังลบ

9∙8∙7∙6
หา 𝑛(𝑆) : จานวนแบบทังหมด ้ → เลือก 4 จานวน จาก 9 จานวน ได้ (49) = 4∙3∙2∙1 = 3 ∙ 7 ∙ 6 แบบ
หา 𝑛(𝐸) : เป็ นจานวนลบ → จะมี 2 กรณีดงั นี ้
กรณี เป็ นบวก 3 ตัว ลบ 1 ตัว เลือก 3 ตัว จากเลขบวก 4 ตัว ได้ (43) แบบ
เลือก 1 ตัว จากเลขลบ 4 ตัว ได้ (41) แบบ
→ ได้ จานวนแบบ = (43)(41) = (4)(4) = 16 แบบ
กรณี เป็ นบวก 1 ตัว ลบ 3 ตัว เลือก 1 ตัว จากเลขบวก 4 ตัว ได้ (41) แบบ
เลือก 3 ตัว จากเลขลบ 4 ตัว ได้ (43) แบบ
→ ได้ จานวนแบบ = (41)(43) = (4)(4) = 16 แบบ
รวมได้ 𝑛(𝐸) = 16 + 16 = 32 แบบ
32 16
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ ผลคูณของเลข 4 ตัวเป็ นลบ = 3∙7∙6 = 63
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ ผลคูณของเลข 4 ตัวไม่เป็ นลบ = 1 − 1663
47
= 63

22. 3
𝑃67 คือ มีพื ้นที่ 0.67 อยูท
่ างซ้ าย → จะวาดได้ ดงั รูป
0.67
แต่พื ้นที่ที่ใช้ เปิ ดตาราง ต้ องวัดจากแกนกลาง
ครึ่งซ้ าย พื ้นที่ = 0.5 → จะได้ พื ้นที่ที่ล้นไปทางขวา = 0.67 – 0.5 = 0.17
𝑍
เปิ ดตารางตรงพื ้นที่ = 0.17 จะได้ 𝑧 = 0.44 ดังนัน้ 𝑃67𝑠−𝑥̅ = 0.44 𝑃67
𝑃67 − 𝑥̅ = 0.44𝑠 …(1)

ทานองเดียวกัน 𝑃33 คือ มีพื ้นที่ 0.33 อยูท่ างซ้ าย → จะวาดได้ ดงั รูป
0.33
แต่พื ้นที่ที่ใช้ เปิ ดตาราง ต้ องวัดจากแกนกลาง
ครึ่งซ้ าย พื ้นที่ = 0.5 → เหลือพื ้นที่จากแกนกลาง = 0.5 – 0.33 = 0.17
𝑍
𝑃33
เปิ ดตารางตรงพื ้นที่ = 0.17 จะได้ 𝑧 = 0.44 แต่ฝั่งซ้ ายของโค้ ง จะมี 𝑧 เป็ นลบ
จะได้ 𝑧 = −0.44 ดังนัน้ 𝑃33−𝑥̅ = −0.44
𝑠
𝑃33 − 𝑥̅ = −0.44𝑠 …(2)

(1) − (2) : (𝑃67 − 𝑥̅ ) − (𝑃33 − 𝑥̅ ) = 0.44𝑠 − (−0.44𝑠)


จากโจทย์ จะได้ 𝑃67 − 𝑃33 = 11
11 = 0.88𝑠
11 1100 100
จะได้ 𝑠 = 0.88
= 88
= 8
= 12.5

23. 2
ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥11 มี 𝑎1 = 𝑥1 และ อัตราส่วนร่วม = 𝑟
จากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1 จะได้ 𝑥1 ∙ 𝑥2 ∙ 𝑥3 ∙ … ∙ 𝑥11 = 233 ∙ 322
𝑥1 ∙ 𝑥1 𝑟 ∙ 𝑥1 𝑟 2 ∙ … ∙ 𝑥1 𝑟10 = 233 ∙ 322
(𝑥1 )11 (𝑟1+2+3+ … +10 ) = 233 ∙ 322 𝑛(𝑛+1)
10(10+1) 1+2+…+𝑛 =
2
(𝑥1 )11 ( 𝑟 2 ) = 233 ∙ 322
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

1 (𝑥1 )11 ( 𝑟 55 ) = 233 ∙ 322


ยกกาลัง 11 ทังสองฝั
้ ่ง
𝑥1 𝑟5 = 23 ∙ 32 …(∗)
มัธยฐาน = ตัวตรงกลาง = 𝑥11+1 = 𝑥6
2
ซึง่ จากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1
จะได้ 𝑥6 = 𝑥1 𝑟 5 ซึง่ จาก (∗) จะได้ เท่ากับ 23 ∙ 32 = 72

24. 3
n ( n  2)
𝑛(𝑛+2) −1
2 𝑛(𝑛+2)
𝑥 −1
อินทิเกรต จะได้ 𝑎𝑛 =  𝑥 −2
𝑑𝑥 = | 2 = − (( 2
) − (𝑛)−1 )
n −1
𝑛 2 1
= −( 𝑛(𝑛+2)
− 𝑛
)
2 − (𝑛+2)
= −( )
𝑛(𝑛+2)
−𝑛
= −( 𝑛(𝑛+2)
)
1
= 𝑛+2
  
𝑎𝑛 1 1 1 1
ดังนัน้  =  = 
2 n 1 𝑛
− 𝑛+2
n 1 𝑛 n 1 𝑛(𝑛+2)

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
= (
2 1
−3 + 2
−4 + 3
−5 + 4
−6 + 5
−7 + 6
− 8 + …)

จะเห็นว่า ตัวลบ จะตัดกับตัวบวกของพจน์ถดั ไปสองพจน์ได้


เหลือตัวบวกสองตัวแรก ( คือ 11 และ 12 ) กับ ตัวลบสองตัวสุดท้ าย (ซึง่ เข้ าใกล้ 0 เมื่อ 𝑛 → ∞)
ดังนัน้ จะได้ คาตอบ = 12 ( 11 + 12) = 12 (32) = 34

25. 5
3𝑥 3 6𝑥 2
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 จะได้ 𝑓(𝑥) =
3
− 2
+𝑐
3 2
= 𝑥 − 3𝑥 + 𝑐 …(∗)

𝐺(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = −1 ดังนัน้ บริ เวณรอยต่อที่ 𝑥 = −1 ต้ องได้ 𝑥 + 5 = 𝑓(𝑥)


−1 + 5 = 𝑓(−1)
4 = (−1)3 − 3(−1)2 + 𝑐
8 = 𝑐
แทนใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 8
ค่า สูงสุด/ตา่ สุด สัมพัทธ์ จะเกิดที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 → 3𝑥 2 − 6𝑥 = 0
3𝑥(𝑥 − 2) = 0
+ − +
𝑥=0, 2
0 2
ค่าตา่ สุดสัมพัทธ์ จะเกิด ณ จุดที่ 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจาก − เป็ น + นัน่ คือ ที่ 𝑥=2
จะได้ คา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ = 𝑓(2) = 23 − 3(22 ) + 8 = 4
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 19

26. 5
ค่าเฉลีย่ = 12.7 ดังนัน้ 𝑥+16+8+12+13+7+9+11+18+𝑦
= 12.7
10
𝑥 + 94 + 𝑦 = 127
𝑥+𝑦 = 33

หามัธยฐาน → มัธยฐานจะอยูต่ าแหน่งที่ 10+1 2


= 5.5 = ระหว่างตัวที่ 5 กับ 6
เรี ยงข้ อมูลจากมากไปน้ อย จะได้ 7 , 8 , 9 , 11 , 12 , 13 , 16 , 18 เหลือ 𝑥 กับ 𝑦 ที่ยงั ไม่ร้ ูคา่
เนื่องจาก 𝑥, 𝑦 มากสุดคือ 20 (คะแนนเต็ม 20) และ 𝑥 + 𝑦 = 33 ดังนัน้ 𝑥 หรื อ 𝑦 จะน้ อยกว่า 13 ไม่ได้ (ถ้ ามีตวั
ไหนน้ อยกว่า 13 อีกตัวต้ องมากกว่า 20 ถึงจะบวกกันเป็ น 33 ได้ ) → 𝑥, 𝑦 ≥ 13
ดังนัน้ ตัวที่ 5.5 จะอยูร่ ะหว่าง 12 กับ 13 ดังรูป 𝑥, 𝑦 ≥ 13

7 , 8 , 9 , 11 , 12 , 13 , 16 , 18

ตัวที่ 5 ตัวที่ 6
12+13
จะได้ ตัวที่ 5.5 = 2
= 12.5

27. 4
100 100 2𝑘−1
จาก 𝑓(𝑥) =  𝑘 ∙ 𝑥 2𝑘−1 จะได้ 𝑓(√2) =  𝑘 ∙ √2
k 1 k 1
100 2𝑘−1
1 1
ดังนัน้ √2
𝑓(√2) = 𝑘
√2 k 1
∙ √2

100 2 𝑘
1 (√2 )
=  𝑘 ∙ √2
√2 k 1
100
1
=  𝑘 ∙ 2𝑘
2 k 1
1
= (1 ∙ 21 + 2 ∙ 22 + 3 ∙ 23 + … + 100 ∙ 2100 )
2
= 1 ∙ 2 + 2 ∙ 21 + 3 ∙ 22 + … + 100 ∙ 299
0

เป็ นอนุกรมผสมเรขาคณิต → ต้ องใช้ วิธีคณ


ู 𝑟 ให้ ตาแหน่งเลือ่ น แล้ วหักด้ วยตัวมันเอง
1 ∙ 20 + 2 ∙ 21 + 3 ∙ 22 + 4 ∙ 23 + … + 100 ∙ 299 = 𝑥 …(1)
คูณ 2 ให้
พจน์เลื่อน
1 ∙ 21 + 2 ∙ 22 + 3 ∙ 23 + … + 99 ∙ 299 + 100 ∙ 2100 = 2𝑥 …(2)

(1) − (2) : 1 ∙ 20 + 1 ∙ 21 + 1 ∙ 22 + 1 ∙ 23 + … + 1 ∙ 299 − 100 ∙ 2100 = −𝑥


(𝑟 𝑛
อนุกรมเรขา (𝑎1 = 1 , 𝑟 = 2) ใช้ สตู ร 𝑆𝑛 = 𝑎1 𝑟−1−1) ได้
1(2100 −1)
2−1
− 100 ∙ 2100 = −𝑥
100
2 −1 − 100 ∙ 2100 = −𝑥
−1 − 99 ∙ 2100 = −𝑥
1 + 99 ∙ 2100 = 𝑥
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

28. 5
1+i 1+i 1+i 12 +2i+i2 2i
จัดรูปโดยคูณคอนจูเกตให้ ตวั ส่วนเป็ นจานวนจริ งก่อน จะได้ 1−i
= ∙
1−i 1+i
=
12 −i2
=
2
= i
ดังนัน้ จะได้ สมการคือ i2𝑥−5 = i𝑥−2
i2𝑥−5
i𝑥−2
= 1
(2𝑥−5)−(𝑥−2)
i = 1
i 𝑥−3
= 1 → 𝑥−3 ต้ องหารด้ วย 4 ลงตัว
นัน่ คือ 𝑥 ต้ องหารด้ วย 4 เหลือเศษ 3
155−3
เนื่องจาก 𝑥 ∈ { 1, 2, 3, … , 155 } จะได้ 𝑥 = 3 , 7 , 11 , … , 155 → มีทงหมด
ั้ 4
+ 1 = 39 จานวน

29. 2
เมทริ กซ์ในรูป [cos 𝜃 − sin 𝜃] เป็ นเมทริ กซ์ที่นิยมนามาออกข้ อสอบ เนื่องจาก มันมีสมบัติพิเศษ คือ หากนาเมทริ กซ์
sin 𝜃 cos 𝜃
ในรูปนี ้มาคูณกัน จะสามารถนามุมมาบวกกันได้ เลย ดังนี ้
cos 𝛼 − sin 𝛼 cos 𝛽 − sin 𝛽 cos 𝛼 cos 𝛽 − sin 𝛼 sin 𝛽 − cos 𝛼 sin 𝛽 − sin 𝛼 cos 𝛽
[ ][ ] =[ ]
sin 𝛼 cos 𝛼 sin 𝛽 cos 𝛽 sin 𝛼 cos 𝛽 + cos 𝛼 sin 𝛽 − sin 𝛼 sin 𝛽 + cos 𝛼 cos 𝛽
cos(𝛼 + 𝛽) − sin(𝛼 + 𝛽)
= [ ]
sin(𝛼 + 𝛽) cos(𝛼 + 𝛽)
cos 𝜃 − sin 𝜃 𝑛 cos 𝑛𝜃 − sin 𝑛𝜃
ซึง่ จะทาให้ ได้ ด้วยว่า [ ] = [ ]
sin 𝜃 cos 𝜃 sin 𝑛𝜃 cos 𝑛𝜃
𝜋 𝜋 𝑘 𝑘𝜋 𝑘𝜋
cos 3 − sin 3 cos 3 − sin
ดังนัน้ 𝑘
𝐴 = [ 𝜋 𝜋 ] = [ 𝑘𝜋 3
𝑘𝜋 ] ซึง่ จะเท่ากับ [10 0
1
] เมื่อ cos
𝑘𝜋
3
= 1 , sin
𝑘𝜋
3
=0
sin cos sin cos
3 3 3 3 𝑘𝜋
นัน่ คือ เมื่อ 3
= 2𝑛𝜋
𝑘 = 6𝑛
100
ใน { 1, 2, 3, … , 100 } จะมีจานวนที่หารด้ วย 6 ลงตัวอยู่ 6
= 16.6… → ปั ดลง → 16 จานวน
16
ดังนัน้ จะได้ ความน่าจะเป็ น = 100

30. 1
เนื่องจาก 𝑃(𝑥) มี สปส เป็ นจานวนเต็มบวก ดังนัน้ ถ้ า 𝑥 เป็ นบวก จะได้ วา่ แต่ละพจน์ของ 𝑃(𝑥) เป็ นบวกทุกพจน์
จาก 𝑃(10) = 2,116 จะสรุปได้ วา่ 𝑃(𝑥) มีดีกรี ไม่เกิน 3 (เพราะทุกพจน์เป็ นบวก และ 104 เกิน 2116)
ให้ 𝑃(𝑥) = 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ {0, 1, 2, …}
จาก 𝑃(1) = 10 จะได้ 𝑎(13 ) + 𝑏(12 ) + 𝑐(1) + 𝑑 = 10
𝑎+𝑏+𝑐+𝑑 = 10 …(1)
จาก 𝑃(10) = 2,116 จะได้ 3 2
𝑎(10 ) + 𝑏(10 ) + 𝑐(10) + 𝑑 = 2116
1000𝑎 + 100𝑏 + 10𝑐 + 𝑑 = 2116 …(2)
จาก (1) จะได้ 0 ≤ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ≤ 9 ( เป็ น 10 ไม่ได้ เพราะถ้ ามีตวั ไหนใน 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ น 10
อีก 3 ตัวที่เหลือจะต้ องเป็ น 0 ซึง่ จะไม่สามารถทาให้ (2) เป็ นจริ งได้ )
เนื่องจาก 2116 เขียนกระจายในฐานสิบได้ แบบเดียวคือ 2(1000) + 1(100) + 1(10) + 6
และจาก 0 ≤ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ≤ 9 ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ 𝑎 = 2 , 𝑏 = 1 , 𝑐 = 1 , 𝑑 = 6 (ซึง่ จะทาให้ (1) จริ งด้ วย)
ดังนัน้ 𝑃(−1) = 2(−1)3 + 1(−1)2 + 1(−1) + 6 = 4
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 21

เครดิต
ขอบคุณ ข้ อสอบ จาก คุณ สนธยา เสนามนตรี และ อ.ปิ ง GTRmath ครับ
ขอบคุณ คุณ Hutch LK ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร ครับ
ขอบคุณเฉลยวิธีทา จาก อ.ปิ ง GTRmath ครับ

You might also like