You are on page 1of 32

สมาคม ม. ปลาย (พ.ย.

57) 1
2 Nov 2015

ข้ อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ แห่งประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (พ.ย. 57)


วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน 2557 เวลา 9.00 - 12.00 น.

ตอนที่ 1
1. ถ้ า 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นสับเซตใดๆของเอกภพสัมพัทธ์ 𝒰 แล้ ว [(𝐴 − 𝐵) − 𝐶] ∪ (𝐴 ∩ 𝐶) ตรงกับข้ อใด
ก. (𝐴 − 𝐶) − 𝐵 ข. 𝐴 − (𝐶 − 𝐵) ค. 𝐴 − (𝐵 − 𝐶) ง. 𝐴 − (𝐵 ∩ 𝐶)

2. กาหนดให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริ กซ์ทมี่ สี มาชิกเป็ นจานวนจริ งขนาด 5 × 5 ซึง่ 𝐴𝐵 = 𝐵𝐴 , 𝐴2 = 𝐴 , 𝐵2 = 𝐵 และ
det(𝐴 − 𝐵) = 2557 ค่าของ det(𝐴 + 𝐵) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 1 ข. −1 ค. 5 ง. 2557


3. ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นจริ งสาหรับอนุกรม  √𝑘+1−√𝑘
2
√𝑘 +𝑘
k 2

ก. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ 12 ข. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ 1


ค. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ √√2−1
2
ง. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ √12
2 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = √𝑥𝑥2+1 จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ (2) เรนจ์ของ 𝑓 เท่ากับ (−1, 1)
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ

5. กาหนดให้ 𝑣⃗ = (2, −1) ผลบวกของเวกเตอร์ 𝑢⃗⃗ ∈ ℝ2 ทังหมดที


้ ่ |𝑢⃗⃗| = 1 และมุมระหว่าง 𝑢⃗⃗ และ 𝑣⃗ เท่ากับ
arccos (1/√5) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
4 2
ก. (5 , − 5) ข. (− 45 , 25) ค. (45 , −8 5
) ง. (− 45 , 85)

6. กาหนดความสัมพันธ์ 𝑟1 และ 𝑟2 ดังต่อไปนี ้


𝑟1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ : 𝑦 + 3𝑥 = 4𝑥 3 } และ 𝑟2 = {(𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ : 𝑥 + 3𝑦 = 4𝑦 3 }
จานวนสมาชิกของโดเมนของความสัมพันธ์ 𝑟1 ∩ 𝑟2 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 3 ค. 6 ง. 9
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 3

7. ถ้ าจุด (−2, 11), (0, 5), (2, 3) เป็ นจุดที่อยูบ่ นพาราโบลาที่มแี กนสมมาตรขนานกับแกน 𝑌 และมีเส้ นตรง 𝐿 เป็ น
เส้ นบังคับ (directrix) ของพาราโบลา แล้ วระยะตังฉากจากจุ
้ ด (−2, 11) ไปยังเส้ นตรง 𝐿 มีคา่ เท่ากับข้ อใด
ก. √72.25 ข. √80 ค. √80.25 ง. √90

8. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นรากทังหมดของสมการ


้ 8𝑥 − 2(4𝑥 ) − 2𝑥+3 + 15 = 0
โดยที่ 𝑎 < 𝑏 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. 0 < 𝑎 < 12 และ 12 < 𝑏 < 1 ข. 1
2
<𝑎<1 และ 1 < 𝑏 < 2
ค. 0 < 𝑎 < 1 และ 0 < 𝑏 < 1 ง. 1 < 𝑎 < 2 และ 1 < 𝑏 < 2

9. ถ้ าให้ ความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั ระหว่างข้ อมูล 𝑋 = {𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥17} และ 𝑌 = {𝑦1 , 𝑦2 , … , 𝑦17 } เป็ นไปตาม
สมการ 𝑌 = 𝑎 + 𝑏𝑋 โดยที่ 𝑋 เป็ นตัวแปรอิสระ และ 𝑌 เป็ นตัวแปรตาม
17 17
ถ้ า 
i 1
𝑥𝑖 = 85 ,  𝑦𝑖 = 153 และ ความแปรปรวนของ 𝑋 มีคา่ เท่ากับ 1.73 แล้ ว ค่าพยากรณ์ของ 𝑌
i 1

เมื่อ 𝑋 = 5 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. 5 ข. 7 ค. 9 ง. ข้ อมูลไม่เพียงพอ
4 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

2
10. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 3 และ 𝐿 เป็ นเส้ นตรงที่สมั ผัสเส้ นโค้ ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) และ 𝑦 = 𝑔(𝑥) ที่จดุ
𝑎𝑐
(𝑎, 𝑏) และ (𝑐, 𝑑) ตามลาดับ โดยที่ 𝑐 ≠ 0 ค่าของ 𝑏 + 𝑑 + 3 มีคา่ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
27 28 26 27
ก. 36
ข. 36
ค. 37
ง. 37

1
11. 𝐴 และ 𝐵 เป็ นนักกีฬายิงธนู ในการยิงธนูแต่ละครัง้ ความน่าจะเป็ นที่ 𝐴 จะยิงเข้ าเป้าเป็ น 2 ในทานองเดียวกัน ในการ
ยิงธนูแต่ละครัง้ ความน่าจะเป็ นที่ 𝐵 จะยิงเข้ าเป้าเป็ น 12 ถ้ าในการซ้ อมครัง้ หนึง่ 𝐴 ยิงธนูทงหมด
ั้ 100 ครัง้ ในขณะที่
𝐵 ยิงธนูทงหมด
ั้ 101 ครัง้ แล้ ว ความน่าจะเป็ นทีใ่ นการซ้ อมครัง้ นี ้ 𝐵 จะยิงเข้ าเป้ามากกว่า 𝐴 ยิงเข้ าเป้าตรงกับข้ อใด
1
ก. 2 ข. 101
201
ค. 100
101
ง. 1

12. จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) ถ้ า 𝑥, 𝑦 ∈ ℝ และ 𝑥 2 + 𝑦 2 = 1 แล้ ว arctan(1−𝑥
𝑦
1−𝑦
) + arctan( 𝑥 ) = 4
𝜋

1
(2) ถ้ า 𝑥 ∈ ℝ แล้ ว arctan 𝑥 + arctan(1 − 𝑥) = arctan(1−𝑥+𝑥 2)

ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 5

13. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีขนาดของ ∠𝐴𝐶𝐵 เกิน 3𝜋


4
ค่าของ (2 + tan 𝐴2) (2 + tan 𝐵2) อยูใ่ นช่วงเปิ ดใด
ต่อไปนี ้
(ก) (4, 5) (ข) (5, 6) (ค) (6, 7) (ง) (7, 8)

14. กาหนดให้ 0 < 𝛼, 𝛽 < 𝜋2 และ tan(𝛼 + 𝛽) = tan 𝛼 + cot 𝛼 + tan 𝛽 + cot 𝛽 แล้ วข้ อใดต่อไปนี ้ถูก
เกี่ยวกับอนุกรมอนันต์ตอ่ ไปนี ้ 1 + tan 𝛼 tan 𝛽 + tan2 𝛼 tan2 𝛽 + tan3 𝛼 tan3 𝛽 + …
ก. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ √5−1
2
ข. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ √5+1
2
2 2
ค. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ (
√5−1
2
) ง. เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ าสู่ (
√5+1
2
)

15. สมการของตัวแปรเชิงซ้ อนในข้ อใดต่อไปนี ้มีรากซึง่ มีขนาดเท่ากับ 1


ก. 𝑧 2014 − 𝑧 2013 − 1 = 0 ข. 𝑧 2557 − 𝑧 2556 − 1 = 0
ค. 𝑧 2015 − 𝑧 2014 − 1 = 0 ง. 𝑧 2558 − 𝑧 2557 − 1 = 0
6 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

ตอนที่ 2
16. กาหนดให้ 𝐴(3, 4) เป็ นจุดบนวงกลม 𝐶 ซึง่ มี 𝐶 เป็ นจุดศูนย์กลาง ให้ 𝑙 เป็ นเส้ นผ่านศูนย์กลางเส้ นหนึง่ ของ 𝐶 โดยมี
𝐵(0, 0) เป็ นจุดบน 𝑙 และ 𝑉 เป็ นจุดปลายข้ างหนึง่ ของ 𝑙 สมมติวา่ อัตราส่วนของความยาวของ 𝐵𝐶 ̅̅̅̅ และ 𝐵𝑉̅̅̅̅ เป็ น
2 : 1 จงหาจุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีขนาดเล็กที่สดุ ที่สอดคล้ องกับเงื่อนไขข้ างต้ น

17. ข้ อมูลชุดหนึง่ คือ 2, 5, 7, 𝑥, 𝑦 ถ้ าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้ อมูลชุดนี ้เท่ากับ 4 และ 𝑥, 𝑦 มีคา่ ต่างกันอย่างน้ อย 6 จง
หาค่าความแปรปรวนที่น้อยที่สดุ ที่เป็ นไปได้ ของข้ อมูลชุดนี ้

18. ให้ 𝑚 และ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวกที่ 1 + 𝑚 + 𝑚2 = 𝑛3 จงหาผลคูณ 𝑚𝑛 น้ อยสุด


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 7

19. กาหนดให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนเต็มบวกที่ 𝑥 2 + 6𝑥 + 𝑦 2 + 8𝑦 = 875 จงหาค่า 𝑥 มากสุดที่เป็ นไปได้

20. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับสมการ √𝑥 log √𝑥 = 10000

21. ในตารางหมากรุกขนาด 8 × 8 ที่ระบายแต่ละช่องในกระดานด้ วยสีขาวสลับสีดา จงหาจานวนวิธีในการเลือกช่องมา


56 ช่องจากกระดานนี ้ โดยที่สอดคล้ องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้
1. ช่องสีดาทุกช่องถูกเลือกทังหมด
้ และ
2. ในแต่ละแถวตามแนวตัง้ และแนวนอน จะเลือกมา 7 ช่องพอดี
8 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

22. กาหนดให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน จานวนรากที่แตกต่างกันทังหมดของสมการ


้ (𝑧̅)2014 = 𝑧 เท่ากับเท่าใด

23. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 โดยมีจดุ ยอดทังสามอยู ้ บ่ นวงกลมซึง่ มี 𝑂 เป็ นจุดศูนย์กลาง ถ้ า 𝐴𝐶 = 9 และ


𝐴𝐵 = 5 แล้ ว 𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ มีคา่ เท่ากับเท่าใด
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐵𝐶
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 9

24. บริ ษัทขนของบริ ษัทหนึง่ ต้ องการซื ้อรถบรรทุกทังหมด


้ 25 คัน โดยที่รถเหล่านี ้มีความจุรวมกัน 28,000 ลูกบาศก์ฟต ุ
โดยรถบรรทุกที่บริ ษัทต้ องการมีอยูส่ ามขนาด ได้ แก่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยที่รถบรรทุกแต่ละขนิด
มีความจุ 350, 700 และ 1400 ลูกบาศก์ฟตุ ตามลาดับ ถ้ ามีเงื่อนไขว่าต้ องซื ้อรถบรรทุกทุกชนิดในการซื ้อครัง้ นี ้ จง
พิจารณาว่าจานวนรถขนาดใหญ่ที่น้อยที่สดุ เท่าทีเ่ ป็ นไปได้ ในการซื ้อครัง้ นี ้เป็ นเท่าใด

25. จงหาจานวนของจานวนนับ 𝑁 ทังหมดซึ้ ง่ มีสมบัตวิ า่ จานวนเฉพาะที่หาร 𝑁 ลงตัวคือ 3 และ 7 เท่านัน้ และมีจานวน


เต็มบวก 𝑥 > 1 ซึง่ ทาให้ 𝑁 (𝑥−1)/2 < 10𝑥 < 𝑁
10 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

ตอนที่ 3
26. ให้ 𝐴 เป็ นเซตที่ประกอบด้ วยสมาชิก (𝑎, 𝑏, 𝑐) ∈ ℝ3 ซึง่ ทาให้ ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ ที่ถกู กาหนดโดย
√𝑎𝑥 2 +4
, 𝑥≤0
𝑏𝑥−1
𝑓(𝑥) = sin 𝑎𝑥 𝑥−3𝜋
𝑥
+ 𝑏( 𝜋
) , 0<𝑥≤𝜋
2
{√(𝑥 − 𝜋)2 + 1 − 𝑥 + 𝑐 , 𝜋<𝑥
มีความต่อเนื่องบน ℝ และ lim 𝑓(𝑥) = −1 จงหาจานวนสมาชิกของเซต 𝐴 และ lim 𝑓(𝑥)
x   x
sin(𝑎𝑥)
(ข้ อเสนอแนะ : สาหรับ 𝑎∈ℝ, lim 𝑥 =
x 0
𝑎)

27. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 24𝑥 2 + 2014𝑥 − 2557 ให้ 𝐿1 และ 𝐿2 เป็ นเส้ นสัมผัส 𝑓(𝑥) ที่จดุ (2553, 𝑓(2553))
และ (2557, 𝑓(2557)) ตามลาดับ จงหาพื ้นที่ที่ปิดล้ อมด้ วยกราฟของ 𝑓 เส้ นตรง 𝐿1 และเส้ นตรง 𝐿2
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 11

28. จงหาฟังก์ชนั 𝑓:ℝ→ℝ ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องเงื่อนไข
∀𝜖 > 0 ∃𝛿 > 0 ∀𝑥 ∈ ℝ ∀𝑦 ∈ ℝ , (𝑥 − 𝑦 < 𝛿 ⟹ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| < 𝜖)

1 1 1 1
29. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 3 × 3 ซึง่ มีสมบัตวิ า่ 𝐴 ∙ [ 0 ] = [ 0 ] , 𝐴 ∙ [ 1] = [ 1] และ
−1 −1 0 0
1 −1 9 𝑎
𝐴 ∙ [1] = [−1] ถ้ า 2557
𝐴 ∙ [7] = [𝑏] แล้ ว จงหาค่าของ 𝑎+𝑏+𝑐
2 −2 6 𝑐
12 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

30. จงหาจานวนจริง 𝑎 ทังหมดที


้ ่ทาให้ สมการ |𝑎𝑥 − 1| = 𝑎𝑥 2 + (1 − 2𝑎)𝑥 + 1 มีคาตอบที่เป็ นจานวนจริ งเพียง
คาตอบเดียว

31. คณะกรรมการของชมรมคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ หนึง่ ประกอบไปด้ วย นิสติ ชันปี


้ ที่ 1 ชันปี
้ ที่ 2 ชันปี
้ ที่ 3
และชันปี
้ ที่ 4 อยูจ่ านวน 4, 4, 5, และ 7 คนตามลาดับ ชมรมคณิตศาสตร์ สมุ่ เลือกคณะกรรมการจานวน 6 คน จาก
คณะกรรมการทังหมดเพื
้ ่อเป็ นกรรมการตัดสินการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ จงหาความน่าจะเป็ นที่กรรมการ
ตัดสินโครงงานคณิตศาสตร์ ประกอบไปด้ วยนิสติ จากทุกชันปี
้ (ตอบในรูปเศษส่วนอย่างต่า)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 13

32. กาหนดให้ 𝕀+ แทนเซตของจานวนเต็มบวกทังหมด


้ จงหาจานวนสมาชิกของเซต 𝐴 เมื่อ
𝐴 = { (𝑥, 𝑦, 𝑧) : 𝑥, 𝑦, 𝑧 ∈ 𝕀+ , 𝑥 + 𝑦 + 𝑧 = 2557 , 𝑥 ≤ 𝑦 + 𝑧 , 𝑦 ≤ 𝑥 + 𝑧 และ 𝑧≤𝑥+𝑦}

1 √1+𝑎1 + √1+𝑎2 + … + √1+𝑎90


33. กาหนดให้ 𝑎𝑛 = เมื่อ 𝑛 = 1, 2, … , 90 จงหาค่าของ √1−𝑎1 + √1−𝑎2 + … + √1−𝑎90
√1+√tan((2𝑛−1)𝜋)
360
14 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

34. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) มีคา่ เท่ากับจานวนเต็มค่าน้ อยสุดที่มีคา่ ไม่น้อยกว่า cosec 𝑥1


จงหาค่าของ ⏟
(𝑓 ∘ 𝑓 ∘ … ∘ 𝑓) (2557)
2014 ตัว

35. กาหนดให้ จานวนเชิงซ้ อน 𝑧1 , 𝑧2 , … , 𝑧2014 มีสมบัติดงั ต่อไปนี ้


(1) 𝑧𝑗 ≠ 1 ทุก 𝑗 = 1, 2, … , 2014
𝑤−𝑤 ̅𝑧
(2) มีจานวนเชิงซ้ อน 𝑤 = 𝑥 + 𝑖𝑦 ซึง่ 𝑦 ≠ 0 ที่ทาให้ 1−𝑧 𝑗 เป็ นจานวนจริ ง ทุก 𝑗 = 1, 2, … , 2014
𝑗
2014
1
z
1
(3) = 1007
j 1 j

2014
จงหาค่าของ z
j 1
j
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 15

เฉลย
1. ค 10. ข 19. 21 28. 𝑓(𝑥) = 𝑐
2. ก 11. ก 20. 104 , 10−4 29. −10
3. ง 12. ค 21. 576 30. 0, 1
301
4. ก 13. ก 22. 2016 31. 646
5. ก 14. ง 23. 28 32. (1279
2
)
6. ง 15. ค 24. 16 33. 1 + √2
7. ก 16. (1.2, 1.6) 25. 12 34. 4571
1
8. ข 17. 6.8 26. 2, −3 35. 1007
9. ค 18. 126 27. 128

แนวคิด
1. ค
วาดรูป จะได้ [(𝐴 − 𝐵) − 𝐶] ∪ (𝐴 ∩ 𝐶) ดังรูป
∪ =

[(𝐴 − 𝐵) − 𝐶] (𝐴 ∩ 𝐶)
วาดรูปตัวเลือกทัง้ 4 ข้ อ จะเห็นว่ารูปของโจทย์ จะตรงกับข้ อ ค
ก. ข.

[(𝐴 − 𝐶) − 𝐵] 𝐶−𝐵 𝐴 − (𝐶 − 𝐵)
ค. ง.
→ →

𝐵−𝐶 𝐴 − (𝐵 − 𝐶) 𝐵∩𝐶 𝐴 − (𝐵 ∩ 𝐶)

2. ก
จาก 𝐴2 = 𝐴 และ 𝐵2 = 𝐵 ลบสองสมการนี ้จะได้ 𝐴2 − 𝐵2 = 𝐴 − 𝐵 …(∗)
เนื่องจาก 𝐴𝐵 = 𝐵𝐴 ดังนัน้ (𝐴 − 𝐵)(𝐴 + 𝐵) = 𝐴2 + 𝐴𝐵 − 𝐵𝐴 − 𝐵2 = 𝐴2 − 𝐵2
แทนใน (∗) จะได้ (𝐴 − 𝐵)(𝐴 + 𝐵) = 𝐴 − 𝐵
จาก det(𝐴 − 𝐵) = 2557 ≠ 0 → หา (𝐴 − 𝐵)−1 ได้ → เอา (𝐴 − 𝐵)−1 คูณตลอด เหลือ 𝐴+𝐵=𝐼
ดังนัน้ det(𝐴 + 𝐵) = det 𝐼 = 1

3. ง
√𝑘+1−√𝑘
√𝑘 2 +𝑘
=
√𝑘+1−√𝑘
√𝑘(𝑘+1)
=
√𝑘+1−√𝑘
√𝑘√𝑘+1
(แยกได้ เพราะ 𝑘 เป็ นบวก)
√𝑘+1 √𝑘 1 1
= − = −
√𝑘√𝑘+1 √𝑘√𝑘+1 √𝑘 √𝑘+1
16 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

 

  √𝑘 − √𝑘+1
1 1 1 1 1 1 1 1
ดังนัน้ √𝑘+1−√𝑘
√𝑘 2 +𝑘
= = (
√2

√3
)+(
√3

√4
)+(
√4

√5
)+…
k 2 k 2
1 1 1 1 1 1 1 1
= + (− + 3) + (− + )+ (− + )+… =
√2 √3 √ √4 √4 √5 √5 √2

4. ก
(1) จะพิสจู น์วา่ ถ้ า 𝑓(𝑎) = 𝑓(𝑏) แล้ ว 𝑎 = 𝑏
ให้ √𝑎𝑎2+1 = √𝑏𝑏2+1 เนื่องจากตัวส่วนเป็ นบวกเสมอ ดังนัน้ ตัวเศษ คือ 𝑎 กับ 𝑏 ต้ องมีเครื่ องหมายบวกลบเหมือนกัน
2 2 2 2
ยกกาลังสอง จะได้ 𝑎𝑎2+1 = 𝑏2𝑏+1 กลับเศษส่วน จะได้ 𝑎𝑎+1 2 = 𝑏2
𝑏 +1
แยกเศษส่วนได้ 1 + 𝑎12 = 1 + 𝑏12
ตัด 1 สองข้ างได้ 𝑎12 = 𝑏12 ดังนัน้ 𝑎2 = 𝑏2 และจะได้ 𝑎 = ±𝑏
แต่ 𝑎 กับ 𝑏 ต้ องมีเครื่ องหมายเหมือนกัน ดังนัน้ 𝑎 = 𝑏 ดังนัน้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั 1-1 → (1) ถูก
(2) จะแบ่ง 3 กรณี คือ 𝑥 > 0 , 𝑥 = 0 และ 𝑥 < 0
กรณี 𝑥 = 0 จะได้ 𝑓(0) = √002+1 = 0
𝑥 √𝑥 2 𝑥2 1 1
กรณี 𝑥 > 0 จะได้ √𝑥 2 +1
=
√𝑥 2 +1
= √𝑥2 +1 = √ 𝑥2+1 = √ 1
1+ 2
𝑥2 𝑥

1 1 1 1
จาก 𝑥 2 ∈ (0, ∞) →
𝑥2
∈ (0, ∞) → 1 +
𝑥2
∈ (1, ∞) →
1+ 2
1 ∈ (0, 1) → √ 1 ∈ (0, 1)
1+
𝑥 𝑥2

𝑥 −√𝑥 2 𝑥2 1 1
กรณี 𝑥 < 0 จะได้ √𝑥 2 +1
=
√𝑥 2 +1
(เพราะ √𝑥 2 เป็ นบวกเสมอ) = −√𝑥2 +1 = −√ 𝑥2+1 = −√ 1
1+ 2
𝑥2 𝑥

1 1
คิดแบบกรณีที่แล้ ว จะได้ √1+ 1 ∈ (0, 1) ดังนัน้ −√
1+ 2
1 ∈ (−1, 0)
𝑥2 𝑥

รวม 3 กรณี จะได้ เรนจ์ = {0} ∪ (0, 1) ∪ (−1, 0) = (−1, 1)

5. ก
ให้ 𝑢⃗⃗ = (𝑎, 𝑏) จาก |𝑢⃗⃗| = 1 จะได้ √𝑎2 + 𝑏2 = 1 → 𝑎2 + 𝑏2 = 1 …(∗)
1 1
และจาก 𝑢⃗⃗ ∙ 𝑣⃗ = |𝑢⃗⃗||𝑣⃗| cos 𝜃 = (1) (√22 + (−1)2 ) (cos (arccos √5 )) = (1)(√5) ( )
√5
= 1
แต่ 𝑢⃗⃗ ∙ 𝑣⃗ = (𝑎, 𝑏) ∙ (2, −1) = 𝑎(2) + 𝑏(−1) = 2𝑎 − 𝑏 ดังนัน้ 2𝑎 − 𝑏 = 1
ย้ ายข้ างจะได้ 𝑏 = 2𝑎 − 1 แทนใน (∗) จะได้ 𝑎2 + (2𝑎 − 1)2 = 1
𝑎2 + 4𝑎2 − 4𝑎 + 1 = 1
𝑎(5𝑎 − 4) = 0
จะได้ 𝑎 = 0 , 45 แทนใน 𝑏 = 2𝑎 − 1 จะได้ 𝑏 = −1 , 3
5
→ 𝑢
⃗⃗ = (0, −1) , (5 , 5)
4 3

จะได้ ผลบวก 𝑢⃗⃗ = (0 + 45 , −1 + 35) = (45 , − 25)

6. ง
ต้ องหาจุดตัด ระหว่าง 𝑦 + 3𝑥 = 4𝑥 3 กับ 𝑥 + 3𝑦 = 4𝑦 3
สังเกตว่าสมการหนึง่ ได้ จากการเอาอีกสมการมาสลับ 𝑥 สลับ 𝑦 → สองสมการนี ้ เป็ นอินเวอร์ สซึง่ กันและกัน
วาดกราฟ 𝑦 + 3𝑥 = 4𝑥 3 แบบคร่าวๆ จัดรูปได้ 𝑦 = 4𝑥 3 − 3𝑥 → ตัดแกน 𝑥 ที่ 0 = 4𝑥 3 − 3𝑥
0 = 𝑥(4𝑥 2 − 3)
และหาจุดสูงสุดต่าสุด 𝑦 ′ = 12𝑥 2 − 3 = 0 √3
3(4𝑥 2 − 1) = 0 𝑥=0, ± 2
1 1 1
𝑥 = ±2 → แทนหา 𝑦 ได้ (2 , −1) , (− 2 , 1)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 17

ใช้ จดุ ตัดแกน กับ จุดสูงสุดตา่ สุด พลิกกราฟ หาอินเวอร์ ส จะได้ ซ้ อนกราฟ หาจุดตัด เนื่องจาก
วาดกราฟ 𝑦 + 3𝑥 = 4𝑥 3 ได้ กราฟ 𝑥 + 3𝑦 = 4𝑥 3 คือ √3
< 1 จะได้ จด
ุ ตัดดังรูป
2
1
(− , 1) √3
2
1 1
(−1, ) 2 (−1, )
2 2 √3
√3 2
√3 √3
− 1 − 1
2 2 (1, − ) 2 (1, − )
2 2
1 √3
( , −1) −
2 2

จะเห็นว่า มีจดุ ตัดทังหมด


้ 9 จุด → จะได้ 𝑛(𝑟1 ∩ 𝑟2 ) = 9

7. ก
สมมติให้ สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แทนจุดทังสาม
้ จะได้ 11 = 4𝑎 − 2𝑏 + 𝑐 …(1)
5 = 𝑐 …(2)
3 = 4𝑎 + 2𝑏 + 𝑐 …(3)
(3) – (1) จะได้ 𝑏 = −2 , แทน 𝑏, 𝑐 ใน (1) จะได้ 𝑎 = 12
จะได้ สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 12 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 จัดรูปได้ 2𝑦 − 10 = 𝑥 2 − 4𝑥
2𝑦 − 10 + 22 = (𝑥 − 2)2
1
4 (2) (𝑦 − 3) = (𝑥 − 2)2
จะได้ พาราโบลาหงาย จุดยอด (2, 3) , ระยะโฟกัส 𝑐 = 12 (–2, 11)
ดังนัน้ ไดเรกตริก คือ 𝑦 = 3 − 12 = 2.5
จะได้ ระยะตังฉาก
้ จาก (−2, 11) คือ 11 − 2.5 = 8.5 = √8.52 = √72.25 𝐿 : 𝑦 = 2.5

8. ข.
ให้ 𝑘 = 2𝑥 จะได้ 𝑘 3 − 2𝑘 2 − 8𝑘 + 15 = 0 3 1 –2 –8 15
แยกด้ วยทฤษฎีเศษ จะเห็นว่าแทน 𝑘 = 3 จะได้ 27 − 18 − 24 + 15 = 0 3 3 –15
1 1 –5 0
−1±√21
หารสังเคราะห์ จะได้ = (𝑘 − 3)(𝑘 2 + 𝑘 − 5) → 𝑘=3,
2

แต่ 𝑘 = 2𝑥 เป็ นลบไม่ได้ → −1−2√21 ใช้ ไม่ได้ → แทนค่า 𝑘 กลับ จะได้ 2𝑥 = 3 , −1+√21
2
ถ้ า 2𝑥 = 3 เนื่องจาก 21 < 3 < 22 ดังนัน้ 1 < 𝑥 < 2
−1+√21 3 −1+√21
ถ้ า 2𝑥 = 2
เนื่องจาก 4 < √21 < 5 ดังนัน้
2
< 2 <2
1 1
และเนื่องจาก 22 ~ 1.414 < 32 ดังนัน้ −1+√21
22 < 2 < 21
1
2
< ดังนัน้ 𝑥<1
1
ดังนัน้ คาตอบมี 2 ค่า โดยจะอยูใ่ นช่วง (1, 2) และ
(2 , 1) → ตอบ ข.

9. ค
∑ 𝑥𝑖 85
จาก ∑ 𝑥𝑖 = 85 จะได้ 𝑥̅ = 𝑁
= 17 = 5
2 2
และจากความแปรปรวน = 1.73 จะได้ 1.73 = ∑𝑁𝑥𝑖 − 𝑥̅ 2 = ∑17𝑥𝑖 − 52
แก้ หา ∑ 𝑥𝑖2 จะได้ ∑ 𝑥𝑖2 = (1.73 + 52 )(17) = (26.73)(17)
แทนในสูตร ∑ 𝑦𝑖 = 𝑎𝑁 + 𝑏 ∑ 𝑥𝑖 จะได้ 153 = 𝑎(17) + 𝑏(85) …(1)
∑ 𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 𝑎 ∑ 𝑥𝑖 + 𝑏 ∑ 𝑥𝑖2 ∑ 𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 𝑎(85) + 𝑏(26.73)(17) …(2)
จะเห็นว่าแก้ หา 𝑎, 𝑏 ไม่ได้ เพราะไม่ร้ ู ∑ 𝑥𝑖 𝑦𝑖 ใน (2)
18 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

โจทย์ถามค่าพยากรณ์ของ 𝑌 เมื่อ 𝑋 = 5 → ลองแทน 𝑥 = 5 ในสมการทานาย จะได้ 𝑌 = 𝑎 + 𝑏(5)


จะเห็นว่า ถ้ าเอา (1) มาหารตลอดด้ วย 17 จะได้ 9 = 𝑎 + 𝑏(5) ซึง่ บังเอิญตรงกับที่โจทย์ถามพอดี → ได้ 𝑌 = 9

10. ข
𝑥2 2
(𝑎, 𝑏) อยูบ
่ น 𝑦 = 𝑓(𝑥) = ดังนัน้ 𝑏 = 𝑎2 …(1) และ (𝑐, 𝑑) อยูบ่ น 𝑦 = 𝑔(𝑥) = 𝑥 3 ดังนัน้ 𝑑 = 𝑐 3 …(2)
2
ความชันของ 𝐿 จะหาได้ 3 วิธี คือจากจุดผ่าน จาก 𝑓 ′(𝑥) และจาก 𝑔′ (𝑥) โดยที่ทงั ้ 3 วิธีต้องได้ ความชันเท่ากัน
𝑏−𝑑
 จาก 𝐿 ผ่าน (𝑎, 𝑏) และ (𝑐, 𝑑) จะได้ 𝐿 มีความชัน = 𝑎−𝑐
𝑎2
− 𝑐3 𝑎 2 −2𝑐 3
แทน 𝑏 และ 𝑑 จาก (1) และ (2) จะได้ ความชัน 𝑎 − 𝑐 คูณ 2 บนล่าง จะได้ ความชัน =
2
2𝑎−2𝑐
 𝐿 สัมผัส 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ (𝑎, 𝑏) ดังนัน้ 𝐿 มีความชัน = 𝑓 ′ (𝑎)
2
ดิฟ 𝑓(𝑥) = 𝑥2 จะได้ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 → แทน 𝑥 = 𝑎 จะได้ 𝑓 ′ (𝑎) = 𝑎 ดังนัน้ 𝐿 มีความชัน = 𝑎
 𝐿 สัมผัส 𝑦 = 𝑔(𝑥) ที่ (𝑐, 𝑑) ดังนัน้ 𝐿 มีความชัน = 𝑔′ (𝑐)
ดิฟ 𝑔(𝑥) = 𝑥 3 จะได้ 𝑔′ (𝑥) = 3𝑥 2 → แทน 𝑥 = 𝑐 จะได้ 𝑔′ (𝑐) = 3𝑐 2 ดังนัน้ 𝐿 มีความชัน = 3𝑐 2
𝑎 2 −2𝑐 3
จากทังสามข้
้ อ จะได้ 2𝑎−2𝑐
= 𝑎 = 3𝑐 2 จากคูห่ ลังจะได้ 𝑎 = 3𝑐 2 …(3)
(3𝑐 2 )2 −2𝑐 3 9𝑐−2
แทนในตัวหน้ า จะได้ 2(3𝑐 2 )−2𝑐
= 3𝑐 2 และจาก 𝑐 ≠ 0 → ตัด 𝑐 ตลอดเหลือ 6𝑐−2
= 3
9𝑐 − 2 = 18𝑐 − 6
4 = 9𝑐
4
9
= 𝑐
4 7 26
แทนใน (3) จะได้ 𝑎 = 16
27
2
= 3
3
→ แทนใน (1) จะได้ 𝑏 = 236 → แทนใน (2) จะได้ 𝑑=
36
24 22
𝑎𝑐 27 26 ( 3 )( 2 ) 27 26 26 27 26 27 27 27 28
ดังนัน้ 𝑏+𝑑 +
3
=
36
+ 6
3
+ 3 3
3
=
36
+
36
+
36
=
36
+ 2 ( 6) =
3 36
+
36
= 2 ( 6) =
3 36

11. ก.
เนื่องจากในการยิงแต่ละครัง้ มีโอกาส เข้ าเป้า กับ ไม่เข้ า อย่างละ 12 เท่าๆกัน
และมีการยิงทังหมด
้ 100 + 101 = 201 ครัง้ ซึง่ แต่ละครัง้ มีผลลัพธ์ ได้ 2 แบบ (คือ เข้ าเป้า กับ ไม่เข้ าเป้า)
ดังนัน้ จานวนแบบทังหมด้ = 2201 แบบ
จะพิสจู น์วา่ ใน 2201 แบบนี ้ มี จานวนแบบที่ “𝐵 ชนะ” = จานวนแบบที่ “𝐵 ไม่ชนะ” (คือ แพ้ หรื อเสมอ)
พิจารณาแบบการแข่งขันที่ 𝐵 ชนะ ให้ 𝐴 ยิงเข้ าเป้า 𝑎 ครัง้ และ 𝐵 ยิงเข้ าเป้า 𝑏 ครัง้ โดยที่ 𝑎 < 𝑏
พิจารณาแบบการแข่งขันอีกแบบที่ ได้ จากการ “เปลีย่ นผลการยิงแต่ละครัง้ เป็ นตรงข้ าม”
เช่น 𝐴 (เข้ า, ไม่เข้ า, เข้ า, เข้ า, ไม่เข้ า, …) 𝐵 (ไม่เข้ า, เข้ า, เข้ า, เข้ า, เข้ า, …)

𝐴 (ไม่เข้ า, เข้ า, ไม่เข้ า, ไม่เข้ า, เข้ า, …) 𝐵 (เข้ า, ไม่เข้ า, ไม่เข้ า, ไม่เข้ า, ไม่เข้ า, …)
หลังเปลีย่ นผลการยิงเป็ นตรงข้ าม 𝐴 จะได้ คะแนน 100 − 𝑎 และ 𝐵 จะได้ คะแนน 101 − 𝑏
เนื่องจาก 𝑎 < 𝑏 → 100 − 𝑎 > 100 − 𝑏 → 100 − 𝑎 ≥ 101 − 𝑏 → คะแนน 𝐴 ≥ คะแนน 𝐵
เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม เราสามารถ
เพิ่มฝั่งขวาขึ ้น 1 แล้ วเปลี่ยน > เป็ น ≥ ได้
นัน่ คือ แบบที่เปลีย่ นผลการยิงเป็ นตรงข้ าม 𝐴 จะได้ คะแนนมากกว่าหรื อเท่ากับ 𝐵 นัน่ คือ เป็ นแบบที่ 𝐵 ไม่ชนะ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 19

พิจารณาแบบการแข่งขันที่ 𝐵 ไม่ชนะ ให้ 𝐴 ยิงเข้ าเป้า 𝑎 ครัง้ และ 𝐵 ยิงเข้ าเป้า 𝑏 ครัง้ โดยที่ 𝑎 ≥ 𝑏
จะเห็นว่า หลังเปลีย่ นผลการยิงเป็ นตรงข้ าม 𝐴 จะได้ คะแนน 100 − 𝑎 และ 𝐵 จะได้ คะแนน 101 − 𝑏
เนื่องจาก 𝑎 ≥ 𝑏 → 100 − 𝑎 ≤ 100 − 𝑏 → 100 − 𝑎 < 101 − 𝑏 → ได้ เป็ นแบบที่ 𝐵 ชนะ

ดังนัน้ เราสามารถจับคูแ่ บบที่ 𝐵 ชนะ กับ แบบที่ 𝐵 ไม่ชนะได้ แบบ 1 ต่อ 1 (โดยการเปลีย่ นผลการยิงเป็ นตรงข้ าม)
ดังนัน้ จานวนแบบที่ 𝐵 ชนะ จะเท่ากับจานวนแบบที่ 𝐵 ไม่ชนะ ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ 𝐵 ชนะ = 12

12. ค
1−𝑥 1−𝑦
+ 𝑥−𝑥 2 +𝑦−𝑦 2 𝑥+𝑦−1 𝜋
ข้ อ (1) ถ้ าใส่ tan ฝั่งซ้ าย จะได้ 1−(
𝑦
1−𝑥 1−𝑦
)(
𝑥
)
= 𝑥𝑦 − (1−𝑦−𝑥+𝑥𝑦)
= −1+𝑦+𝑥
= 1 = tan 4 ทางฝั่งขวา จริ ง
𝑦 𝑥

้ ่ จะทาให้ 1−𝑥
แต่สงิ่ ที่ต้องระวังในเรื่ อง arc คือ เรนจ์ จะเห็นว่า ถ้ า 𝑥, 𝑦 เป็ นลบทังคู 𝑦
และ 1−𝑦
𝑥
เป็ นลบทังคู
้ ่
ซึง่ จะทาให้ arctan ได้ ผลลัพธ์ติดลบ และจะไม่มีทางบวกกันแล้ วกลายเป็ นบวก 𝜋4 ได้ → (1) ผิด
𝑥 + 1−𝑥 1
ข้ อ (2) ใส่ tan ฝั่งซ้ าย จะได้ 1−(𝑥)(1−𝑥) =
1−𝑥+𝑥 2
= tan ฝั่ งขวา จริ ง
ถัดมา เช็คเรนจ์ (นัน่ คือ ฝั่งซ้ ายต้ องอยูใ่ นเรนจ์ของ arctan ถึงจะเท่ากับ arctan ทางขวาได้ )
กรณี 𝑥 < 0 : จะได้ 1 − 𝑥 > 1 ดังนัน้ arctan 𝑥 ∈ (− 𝜋2 , 0) และ arctan(1 − 𝑥) ∈ (𝜋4, 𝜋2)
จะได้ ผลบวก ∈ (− 𝜋4 , 𝜋2) จะยังอยูใ่ นช่วง (− 𝜋2 , 𝜋2) ที่เป็ นเรนจ์ของ arctan
กรณี 0 ≤ 𝑥 < 1 : จะได้ 1 − 𝑥 ∈ (0, 1] ดังนัน้ arctan 𝑥 ∈ [0, 𝜋4) และ arctan(1 − 𝑥) ∈ (0, 𝜋4]
จะได้ ผลบวก ∈ (0, 𝜋2) จะยังอยูใ่ นช่วงเรนจ์ของ arctan
กรณี 𝑥 ≥ 1 : จะได้ 1 − 𝑥 ≤ 0 ดังนัน้ arctan 𝑥 ∈ [ 𝜋4, 𝜋2) และ arctan(1 − 𝑥) ∈ (− 𝜋2 , 0]
จะได้ ผลบวก ∈ (− 𝜋4 , 𝜋2) จะยังอยูใ่ นช่วงเรนจ์ของ arctan
ดังนัน้ ฝั่งซ้ ายอยูใ่ นเรนจ์ของ arctan ในทุกกรณี → (2) ถูก

13. ก
เนื่องจากมุมในสามเหลีย่ มรวมกันได้ 𝜋 และถ้ า 𝐶̂ น้ อยกว่า 𝜋 นิดๆ จะเหลือ 𝐴̂ และ 𝐵̂ มีคา่ มากกว่า 0 นิดๆ
ซึง่ จะทาให้ (2 + tan 𝐴2) (2 + tan 𝐵2) ≈ (2 + tan 0)(2 + tan 0) = (2)(2) = 4
ดังนัน้ ในกรณีนี ้ (2 + tan 𝐴2) (2 + tan 𝐵2) จะมากกว่า 4 อยูน่ ิดๆ → ตอบข้ อ (ก) เลยก็ได้
ที่เหลือ จะแสดงว่า (2 + tan 𝐴2) (2 + tan 𝐵2) < 5
𝐴 𝐵 𝐴 𝐵
4 + 2 tan 2 + 2 tan 2 + tan 2 tan 2 < 5
𝐴 𝐵 𝐴 𝐵
2 (tan + tan ) < 1 − tan tan
2 2 2 2
𝐴 𝐵
tan + tan 1
2 2
𝐴 𝐵 < 2
1 − tan tan
2 2
𝐴 𝐵 1
tan ( 2 + 2 ) < 2
…(∗)

จากโจทย์ 𝐶 > 3𝜋4


และ มุมในสามเหลีย่ มรวมกันได้ 𝜋 ดังนัน้ จะเหลือ 𝐴 + 𝐵 < 𝜋 − 3𝜋 4
= 4
𝜋

หารด้ วย 2 ตลอด จะได้ 𝐴2 + 𝐵2 < 𝜋8 → เป็ นมุมใน 𝑄1 ทังสองข้


้ าง ใส่ tan ตลอด ได้ tan (𝐴2 + 𝐵2) < tan 𝜋8
𝜋 √2
𝜃 1−cos 𝜃 𝜋 1−cos 𝜋 1−
ใช้ สตู ร tan
2
= ±√
1+cos 𝜃
จะได้ tan
8
= +√
1+cos
𝜋
4
( อยู่ 𝑄1 →
8
tan เป็ นบวก) = √ 2
√2
4 1+
2
20 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

2
2−√2 2−√2 2−√2 (2−√2) 2−√2
=√ =√ ∙ =√ = = √2 − 1 ≈ 1.414 − 1 = 0.414
2+√2 2+√2 2−√2 2 √2

𝐴 𝐵 𝜋 1
ดังนัน้ tan ( 2 + 2 ) < tan 8 ≈ 0.414 < 2
จะได้ (∗) จริ ง ทาย้ อนขึ ้นไป จะได้ ชว่ งคาตอบคือ (4, 5)

14. ง
tan 𝛼+tan 𝛽 1 1
ใช้ สตู ร tan ผลบวก จะได้ 1−tan 𝛼 tan 𝛽
= tan 𝛼 + tan 𝛽 + tan 𝛼 + tan 𝛽
tan 𝛼 + tan 𝛽
= tan 𝛼 + tan 𝛽 +
tan 𝛼 tan 𝛽
เอา tan 𝛼 + tan 𝛽 หารตลอดได้ (เพราะ 0 < 𝛼, 𝛽 < 𝜋2 ทาให้ คา่ ≠ 0) เหลือ 1−tan1𝛼 tan 𝛽 = 1 + tan 𝛼1tan 𝛽
1 1
เปลีย่ นตัวแปร ให้ 𝑥 = tan 𝛼 tan 𝛽 จะได้ 1−𝑥 = 1 + → บวกเศษส่วน คูณไขว้ จะได้ 𝑥 = (1 + 𝑥)(1 − 𝑥)
𝑥
𝑥 = 1 − 𝑥2
𝑥2 + 𝑥 − 1 = 0
−1±√1−4(1)(−1) −1±√5
จะได้ 𝑥= 2(1)
= 2 = tan 𝛼 tan 𝛽
𝜋 −1+√5
แต่ 0 < 𝛼, 𝛽 < 2 ดังนัน้
tan 𝛼 tan 𝛽 เป็ นบวก จะได้ tan 𝛼 tan 𝛽 = 2

ดังนัน้ 1 + tan 𝛼 tan 𝛽 + tan2 𝛼 tan2 𝛽 + tan3 𝛼 tan3 𝛽 + … เป็ นอนุกรมเรชาคณิตอนันต์ ที่มี 𝑟 = −1+√5
2
−1+2.236 𝑎1 1 2
เนื่องจาก |𝑟| ≈ | 2 | < 1 จึงลูเ่ ช้ าสู่ 1−𝑟 = −1+√5 = 3−√5
1−
2
2
2 3+√5 6+2√5 6+2√5 √5+1
= ∙
3−√5 3+√5
= 9−5
= 4
=( 2
)

15. ค
จะเห็นว่าตัวเลือกแต่ละข้ ออยูใ่ นรูป 𝑧 𝑛 − 𝑧 𝑛−1 − 1 = 0 → จะหาค่า 𝑛 ที่ทาให้ สมการมีรากขนาดเท่ากับ 1
รากที่มีขนาดเท่ากับ 1 จะต้ องเขียนได้ ในรูป 1 cis 𝜃 โดยที่ (1 cis 𝜃)𝑛 − (1 cis 𝜃)𝑛−1 − 1 = 0
1 cis 𝑛𝜃 − 1 cis(𝑛 − 1)𝜃 − 1 = 0
จะได้ ส่วนจริ ง = cos 𝑛𝜃 − cos(𝑛 − 1)𝜃 − 1 = 0 และส่วนจินตภาพ = sin 𝑛𝜃 − sin(𝑛 − 1)𝜃 = 0
cos 𝑛𝜃 = cos(𝑛 − 1)𝜃 + 1 …(1) sin 𝑛𝜃 = sin(𝑛 − 1)𝜃 …(2)
(1)2 + (2)2 2
: cos 𝑛𝜃 + sin 𝑛𝜃 = cos2 2 (𝑛
− 1)𝜃 + 2 cos(𝑛 − 1)𝜃 + 1 + sin2 (𝑛 − 1)𝜃
1 = 1 + 2 cos(𝑛 − 1)𝜃 + 1
1
−2 = cos(𝑛 − 1)𝜃
(𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃
แทนค่า cos(𝑛 − 1)𝜃 = − 12 ใน (1) จะได้ cos 𝑛𝜃 = − 12 + 1 = 12
จะได้ มมุ 𝑛𝜃 และ (𝑛 − 1)𝜃 อยูใ่ นตาแหน่งดังรูป 60° 60°
และจาก (2) จะได้ 𝑛𝜃 และ (𝑛 − 1)𝜃 ต้ องอยูเ่ หนือแกน 𝑦 ทังคู
้ ่ หรื อไม่ก็ 60° 60°

อยูใ่ ต้ แกน 𝑦 ทังคู


้ ่ (เพราะต้ อง sin แล้ วได้ เท่ากัน) (𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 21

กรณี 𝑛𝜃 และ (𝑛 − 1)𝜃 อยูใ่ ต้ แกน 𝑦 ทังคู ้ ่ จะได้ 𝑛𝜃 อยูถ่ ดั มาจาก (𝑛 − 1)𝜃 แบบทวน
60° 60° เข็ม 60° (จะได้ 𝜃 = 60°) และเนื่องจาก 360° 60°
= 6 พอดี ดังนัน้ 𝑛 ที่เป็ นคาตอบได้ จะวน
กลับมาเป็ นคาตอบได้ อีกในทุกๆ 6 ตัว ดังรูป จะได้ 𝑛 = 5, 11, 17, …
(𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃
นัน่ คือ 𝑛 หารด้ วย 6 เหลือเศษ 5 นัน่ เอง

2(60°) 1(60°) 8(60°) 7(60°) 14(60°) 13(60°)

3(60°) 0(60°) 9(60°) 6(60°) 15(60°) 12(60°)

4(60°) 5(60°) 10(60°) 11(60°) 16(60°) 17(60°)


(𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃 (𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃 (𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃

(𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃 กรณี 𝑛𝜃 และ (𝑛 − 1)𝜃 อยูเ่ หนือแกน 𝑦 ทังคู


้ ่ จะได้ 𝑛𝜃 อยูถ่ ดั มาจาก (𝑛 − 1)𝜃 แบบตาม
เข็ม 60° (จะได้ 𝜃 = −60°) และ 𝑛 ที่เป็ นคาตอบ ก็จะวนทุกๆ 6 ตัวในลักษณะเดิม ซึง่ จะได้
60° 60°
𝑛 = 5, 11, 17, … → นัน่ คือ 𝑛 หารด้ วย 6 เหลือเศษ 5 เหมือนเดิม

(𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃 (𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃 (𝑛 − 1)𝜃 𝑛𝜃


4(–60°) 5(–60°) 10(–60°) 11(–60°) 16(–60°) 17(–60°)

3(–60°) 0(–60°) 9(–60°) 6(–60°) 15(–60°) 12(–60°)

2(–60°) 1(–60°) 8(–60°) 7(–60°) 14(–60°) 13(–60°)

จากตัวเลือก จะเห็นว่ามี 2015 เท่านัน้ ที่หารด้ วย 6 เหลือเศษ 5 → ตอบ ค.

16. (1.2, 1.6)


เนื่องจาก 𝐵𝐶 : 𝐵𝑉 = 2 : 1 ดังนัน้ 𝐵𝐶 ยาวกว่า 𝐵𝑉 จึงสรุปได้ วา่ 𝑉 ต้ องอยูฝ่ ั่ง
𝑙 เดียวกันกับ 𝐵 ดังรูป (ถ้ า 𝑉 ไปอยูอ่ ีกฝั่งทางซ้ ายบนจะทาให้ 𝐵𝑉 จะยาวกว่า 𝐵𝐶 )
𝐴(3, 4)
𝐶
จะพิสจู น์วา่ “วงกลม 𝐶 จะเล็กที่สดุ เมื่อ 𝐶 อยูบ่ นแนว 𝐴𝐵” โดยใช้ หลัก “ระยะสันสุ ้ ด คือ
𝐵
ระยะที่เป็ นเส้ นตรง” มาช่วยพิสจู น์
𝑉 ให้ วงกลม 𝐶 มีรัศมี 𝐶𝐴 = 𝐶𝑉 = 𝑟 จาก 𝐵𝐶 : 𝐵𝑉 = 2 : 1 จะได้ 𝐵𝐶 = 2𝑟3
ดังนัน้ 𝐵𝐶 + 𝐶𝐴 = 2𝑟3 + 𝑟 = 5𝑟3 → จะเห็นว่า 𝐵𝐶 + 𝐶𝐴 เป็ นสัดส่วนโดยตรงกับ 𝑟
ดังนัน้ “𝑟 จะสันที
้ ่สดุ ” เมื่อ “𝐵𝐶 + 𝐶𝐴 สันที ้ ่สดุ ” ซึง่ จะเป็ นจริ งเมื่อ 𝐵, 𝐶, 𝐴 อยูบ่ นแนวเส้ นตรงเดียวกันนัน่ เอง
วาดวงกลมใหม่ โดยย้ าย 𝐶 ไปอยู่บนแนว 𝐴𝐵 จะได้ ดงั รูป
𝐴(3, 4)
2𝑟
5𝑟 𝐵𝐶 2
จะได้ 𝐵𝐴 = 𝐵𝐶 + 𝐶𝐴 =
3
ดังนัน้ 𝐵𝐴
= 3
5𝑟 =
5 𝐶
3
2 2
𝐵
ดังนัน้ พิกดั จุด 𝐶 คือ ( (3) , (4)) = (1.2, 1.6)
5 5
𝑉
22 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

17. 6.8
ความแปรปรวนจะมีคา่ น้ อย เมื่อ 𝑥 กับ 𝑦 มีคา่ ใกล้ ๆกัน
จากค่าเฉลีย่ = 4 จะได้ 2+5+7+𝑥+𝑦
5
= 4 → 14 + 𝑥 + 𝑦 = 20
𝑥+𝑦 = 6
ดังนัน้ 𝑥 กับ 𝑦 ต้ องรวมกันได้ 6 (เช่น 3 + 3 , 2 + 4 , 1 + 5 , …)
แต่เนื่องจาก 𝑥 กับ 𝑦 ต้ องต่างกันอย่างน้ อย 6 ดังนัน้ 𝑥 กับ 𝑦 จะใกล้ กนั ได้ มากที่สดุ คือ 0 กับ 6
2 (2−4)2 +(5−4)2 +(7−4)2 +(0−4)2 +(6−4)2
จะได้ ความแปรปรวน = ∑(𝑥𝑖𝑁−𝑥̅ ) =
5
=
4+1+9+16+4
5
=
34
5
= 6.8

18. 126
จัดรูปได้ 1 + 𝑚(𝑚 + 1) = 𝑛3 เนื่องจาก 𝑚(𝑚 + 1) เป็ นผลคูณของสองจานวนติดกัน ซึง่ จะมีจานวนหนึง่ เป็ นคู่
เสมอ ดังนัน้ 𝑚(𝑚 + 1) จะเป็ นคู่ ทาให้ 1 + 𝑚(𝑚 + 1) เป็ นคี่ ดังนัน้ 𝑛3 ต้ องเป็ นคี่ ซึง่ จะได้ วา่ 𝑛 ต้ องเป็ นคี่
และเนื่องจาก 𝑚 เป็ นจานวนเต็มบวก ดังนัน้ 𝑚 ≥ 1 จะทาให้ ได้ วา่ 𝑛 > 1
จัดรูปต่อ จะได้ 𝑚(𝑚 + 1) = 𝑛3 − 1
𝑚(𝑚 + 1) = (𝑛 − 1)(𝑛2 + 𝑛 + 1)
เราจะลองแทน 𝑛 = 3, 5, 7, 9, … ไปทางฝั่งขวา แล้ วดูวา่ สามารถจัดเป็ นผลคูณของสองจานวนติดกัน แบบทางฝั่งซ้ าย
ได้ หรื อไม่ 𝑛 = 3 : ได้ ฝั่งขวา = (2)(9 + 3 + 1) = (2)(13) แยกเป็ นสองจานวนติดกันคูณกันไม่ได้
𝑛 = 5 : ได้ ฝั่งขวา = (4)(25 + 5 + 1) = (4)(31) แยกเป็ นสองจานวนติดกันคูณกันไม่ได้
𝑛 = 7 : ได้ ฝั่งขวา = (6)(49 + 7 + 1) = (6)(57) = (6)(3 × 19) = (18)(19) → ได้ 𝑚 = 18
ดังนัน้ 𝑚𝑛 น้ อยสุด = (7)(18) = 126

19. 21
จัดรูป โดยทาเป็ นกาลังสองสมบูรณ์ จะได้ 𝑥 2 + 6𝑥 + 9 + 𝑦 2 + 8𝑦 + 16 = 875 + 9 + 16
(𝑥 + 3)2 + (𝑦 + 4)2 = 900
(𝑥 + 3)2 + (𝑦 + 4)2 = 302
จะเห็นว่า ผลลัพธ์จะคล้ ายกับทฤษฎีของพีทากอรัส ใน ∆ มุมฉาก ที่มีด้านทังสามคื
้ อ 𝑥 + 3 , 𝑦 + 4 , 30
3, 4, 5 เนื่องจาก 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนเต็มบวก เราจะพิจารณาด้ านชุดที่เป็ นจานวนเต็มของ ∆ มุมฉากที่
5, 12, 13 ด้ านตรงข้ ามมุมฉากไม่เกิน 30
7, 24, 25
8, 15, 17 จะเห็นว่า ด้ านตรงข้ ามมุมฉาก = 30 ได้ เพียงแบบเดียว คือ นา 3, 4, 5 มาขยายทุกด้ าน 6 เท่า
20, 21, 29 จะได้ เป็ น 18, 24, 30 → เลือกด้ านประกอบมุมฉากตัวมากเป็ น 𝑥 จะได้ 24 = 𝑥 + 3
21 = 𝑥
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 23

20. 104 , 10−4


1
√𝑥 log 𝑥 2 = 104
1 ยกกาลัง 2 ตลอด ตรวจคาตอบ
log 𝑥 2
𝑥 = (104 )2
4 2
1
𝑥 2 log 𝑥 = 108 104 : √(104 )log √10 = √(104 )log 10
1 ยกกาลัง 2 ตลอด
(𝑥 2 log 𝑥 )2 = (108 )2 = √(104 )2
𝑥 log 𝑥 = 1016 ใส่ log ทังสองข้
้ าง = 10000 จริ ง
log 𝑥 log 𝑥 = log 1016
−4 −2
(log 𝑥) log 𝑥 = 16 10−4 : √(10−4 )log √10 = √(10−4 )log 10
(log 𝑥)2 = 16
= √(10−4 )−2
log 𝑥 = ±4
𝑥 = 104 , 10−4 = √108 = 10000 จริ ง

21. 576
มีช่องทังหมด
้ 8 × 8 = 64 ช่อง 1
2
ต้ องเลือก 56 ช่อง เท่ากับ ต้ อง “เลือกออก” = 64 – 56 = 8 ช่อง 3
ช่องสีดาต้ องถูกเลือกทังหมด
้ ดังนัน้ 8 ช่องที่จะถูกเลือกออกนี ้ต้ องเป็ นสีขาว 4
5
และจากเงื่อนไขข้ อ 2 แต่ละแถวต้ องมี 7 ช่อง เท่ากับว่า แต่ละแถวต้ องถูก 6
เลือกออกแถวละ 1 ช่อง นัน่ คือ 8 ช่องสีขาวที่ถกู เลือกออก จะอยูใ่ นแถว 7
8
เดียวกันไม่ได้ (ทังแนวตั
้ งและแนวนอน)

ทาแถวเลขคี่กอ่ น แถว 1 : มีช่องสีขาว 4 ช่อง → เลือกออกหนึง่ ช่องได้ 4 แบบ
แถว 3 : ต้ องไม่เลือกช่องสีขาวที่อยูใ่ นแนวตังเดี้ ยวกับช่องสีขาวที่ถกู เลือกออกในแถว 1
→ เหลือช่องสีขาวให้ เลือกออกได้ 3 แบบ
ทานองเดียวกัน แถว 5 จะเหลือให้ เลือกได้ 2 แบบ และ แถว 7 จะเลือกได้ แค่ 1 แบบ
สรุปแถวเลขคี่ จะมีวธิ ีเลือกช่องสีขาวออกได้ = 4 × 3 × 2 × 1 แบบ
สาหรับแถวเลขคู่ (2, 4, 6, 8) จะทาแบบเดียวกันกับแถวเลขคี่ (เนือ่ งจากแถวเลขคู่ กับแถวเลขคีม่ ีชอ่ งสีขาวไม่ตรงกัน
ดังนัน้ การเลือกช่องสีขาวจึงไม่สง่ ผลกระทบต่อกัน) ดังนัน้ 4 แถวเลขคู่ จะเลือกช่องสีขาวออกได้ = 4 × 3 × 2 × 1
แบบ ด้ วย ดังนัน้ จานวนวิธี = (4 × 3 × 2 × 1) × (4 × 3 × 2 × 1) = 576 วิธี

22. 2016
ให้ 𝑧 = 𝑟 cis 𝜃 จะได้ 𝑧̅ = 𝑟 cis(−𝜃) และจะได้ สมการคือ (𝑟 cis(−𝜃))2014 = 𝑟 cis 𝜃
2014
𝑟 cis(−2014𝜃) = 𝑟 cis 𝜃
รัศมีของทังสองฝั
้ ่ง ต้ องเท่ากัน → จะได้ วา่ 𝑟 2014 =𝑟
2014
𝑟 −𝑟 =0
𝑟(𝑟 2013 − 1) = 0
จะได้ 𝑟 = 0 หรื อ 𝑟 2013 = 1 แต่เนื่องจาก 𝑟 ต้ องเป็ นจานวนจริง จะได้ 𝑟 = 0 หรื อ 𝑟 = 1
กรณี 𝑟 = 0 → ไม่ต้องหา 𝜃 เพราะ เอา 𝑟 = 0 มาคูณ cis 𝜃 จะเป็ น 0 เสมอ → ได้ คาตอบคือ 𝑧=0 หนึง่ คาตอบ
กรณี 𝑟 = 1 → จะได้ |𝑧| = 1 แต่จากกฎ 𝑧 ∙ 𝑧̅ = |𝑧|2 จะได้ 𝑧 ∙ 𝑧̅ = 1 ดังนัน้ 𝑧̅ = 1𝑧
1 2014
แทนใน สมการ จะได้ (𝑧 ) =𝑧 กระจาย 2014 แล้ วย้ าย 𝑧 2014 ไปคูณทางขวา จะได้ 1 = 𝑧 2015
24 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

ดังนัน้ 𝑧 คือ รากที่ 2015 ของ 1 นัน่ เอง ซึง่ จะมีได้ ทงหมด
ั้ 2015 คาตอบ
รวมสองกรณี จะได้ คาตอบของสมการมีทงหมด ั้ 1 + 2015 = 2016 คาตอบ

23. 28
ให้ 𝐷 และ 𝐸 เป็ นจุดกึ่งกลาง 𝐴𝐵 และ 𝐴𝐶 ดังรูป 𝐶

จะได้ 𝐴𝑂
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐵𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝐴𝑂
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ (𝐵𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ )
= ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ (−𝐴𝐵
𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ) 𝐸
𝑂
= −𝐴𝑂⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐴𝐶⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝜃
= ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
−|𝐴𝑂||𝐴𝐵 | cos 𝛼 + |𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ||𝐴𝐶⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | cos 𝜃 𝛼
𝐴 𝐷 𝐵
= −|𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ |(|𝐴𝑂⃗⃗⃗⃗⃗⃗| cos 𝛼) + |𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ |(|𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗| cos 𝜃)
= −|𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ |( |𝐴𝐷 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | ) + |𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ |( |𝐴𝐸 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | )
5 9 25 81 56
= − (5) ( ) + (9)( ) =− + = = 28
2 2 2 2 2

24. 16
ให้ ซื ้อรถ เล็ก กลาง ใหญ่ จานวน 𝑆 , 𝑀 , 𝐿 คัน ตามลาดับ จากโจทย์ จะได้ 𝑆 + 𝑀 + 𝐿 = 25 …(1)
และ 350𝑆 + 700𝑀 + 1400𝐿 = 28000 → หารด้ วย 350 ตลอด ได้ 𝑆 + 2𝑀 + 4𝐿 = 80 …(2)
จะเขียน 𝑆 และ 𝑀 ให้ อยูใ่ นรูปของ 𝐿 : → (2) – (1) ให้ 𝑆 ตัดกัน : 𝑀 + 3𝐿 = 55
𝑀 = 55 − 3𝐿 …(3)
แทน (3) ใน (1) : 𝑆 + 55 − 3𝐿 + 𝐿 = 25
𝑆 = 2𝐿 − 30 …(4)
ต้ องซื ้อรถทุกชนิด ดังนัน้ 𝑀≥1 และ 𝑆≥1 → จาก (3), (4) จะได้ 55 − 3𝐿 ≥ 1 และ 2𝐿 − 30 ≥ 1
18 ≥ 𝐿 𝐿 ≥ 15.5
จานวนรถต้ องเป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ ค่าน้ อยสุดของ 𝐿 คือ 16

25. 12
จะเห็นว่า 𝑥=2 ได้ เท่านัน้ เพราะถ้ า 𝑥 ≥ 3 จะได้ 𝑁 (𝑥−1)/2 ≥ 𝑁 (3−1)/2 = 𝑁 จะไม่มีทาง < 𝑁 ตัวขวาสุดได้
1
แทน 𝑥 = 2 จะได้ 𝑁 (2−1)/2 < 102 < 𝑁 → แยกเป็ นสองอสมการได้ 𝑁 < 100
2 และ 100 < 𝑁
𝑁 < 10000
รวมสองอสมการกลับไปใหม่ จะได้ 100 < 𝑁 < 10000
เนื่องจาก จานวนเฉพาะที่หาร 𝑁 ลงตัวคือ 3 และ 7 เท่านัน้ จะได้ 𝑁 ต้ องอยูใ่ นรูป 3𝑚 7𝑛 เมื่อ 𝑚, 𝑛 ≥ 1
กรณี 𝑛 = 1 : จะได้ 100 < 3𝑚 71 < 10000
หารตลอดด้ วย 7 (คิดทศนิยมตาแหน่งเดียวพอ เพราะเป็ นจานวนนับ) ได้ 14.2 < 3𝑚 < 1428.5 …(1)
พิจารณา 3𝑚 เมื่อ 𝑚 เป็ นค่าต่างๆ จะได้ 3 , 9 , 27 , 81 , 243 , 729 , 21xx
จะเห็นว่ามี 27, 81, 243, 729 เท่านันที ้ ่อยูใ่ นช่วง (1) ดังนัน้ กรณีนี ้ มี 4 คาตอบ
กรณี 𝑛 = 2 : จะได้ 100 < 3 7 < 10000
𝑚 2

หารตลอดด้ วย 72 (เอาตัวเลขจาก (1) มาหารด้ วย 7 ต่ออีกรอบ) ได้ 2.0 < 3𝑚 < 204.0 …(2)
จะเห็นว่ามี 3, 9, 27, 81 เท่านันที
้ ่อยูใ่ นช่วง (2) ดังนัน้ กรณีนี ้ มี 4 คาตอบ
กรณีถดั ๆไป ทาซ ้าแบบเดิม กรณี 𝑛 = 3 : หารด้ วย 7 ต่อได้ 0.2 < 3𝑚 < 29.1 → 3, 9, 27 มี 3 คาตอบ
กรณี 𝑛 = 4 : หารด้ วย 7 ต่อได้ 0.0 < 3𝑚 < 4.1 → 3 มี 1 คาตอบ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 25

กรณี 𝑛 = 5 : หารด้ วย 7 ต่อได้ 0.0 < 3𝑚 < 0.5 → ไม่มีคาตอบ


ถ้ า 𝑛 > 5 จะไม่มีคาตอบแล้ ว → รวมคาตอบจากทุกกรณี จะได้ จานวนคาตอบ = 4 + 4 + 3 + 1 = 12 คาตอบ

26. 2, −3
4 4
√𝑎𝑥 2 +4
√𝑥 2 (𝑎 + 2 )
𝑥
|𝑥|√𝑎 + 2
𝑥 𝑥 เป็ นลบ จะได้ |𝑥| = −𝑥
lim 𝑓(𝑥) = lim = lim 1 = lim 1
x   x   𝑏𝑥−1 x   𝑥(𝑏 − ) x   𝑥(𝑏 − )
𝑥 𝑥
4 4
−𝑥√𝑎 + 2 √𝑎 + 2
𝑥 𝑥 √𝑎
= lim 1 = lim − 1 = − 𝑏
x   𝑥(𝑏 − ) x   𝑏−
𝑥 𝑥
√𝑎
โจทย์ให้ xlim
 
𝑓(𝑥) = −1 ดังนัน้ − 𝑏
= −1 ย้ ายข้ างแล้ วยกกาลังสองทังสองข้
้ างจะได้ 𝑎 = 𝑏 2 …(∗)
√𝑎(02 )+4 sin 𝑎𝑥 𝑥−3𝜋
คิดต่อเนื่องที่ 𝑥 = 0 จะได้ 𝑏(0)−1
= lim 𝑥
+𝑏( 𝜋
)
x 0 sin(𝑎𝑥)
จากข้ อเสนอแนะ lim 𝑥
=𝑎 จะได้
√4 sin 𝑎𝑥 𝑥−3𝜋 x 0
= lim 𝑥 + lim 𝑏 ( 𝜋 ) sin(𝑎𝑥) sin(𝑎𝑥)
−1 x 0 x 0 lim = lim =𝑎
0−3𝜋 x 0  𝑥 x 0 𝑥
−2 = 𝑎 + 𝑏( )
𝜋
−2 = 𝑎 − 3𝑏
แทน 𝑎 = 𝑏 2 จาก (∗)
−2 = 𝑏2 − 3𝑏
0 = 𝑏 2 − 3𝑏 + 2
0 = (𝑏 − 1)(𝑏 − 2)
𝑏=1, 2
จาก (∗) ถ้ า 𝑏 = 1 จะได้ 𝑎 = 1 และ ถ้ า 𝑏 = 2 จะได้ 𝑎 = 4
คิดต่อเนืองที่ 𝑥 = 𝜋 จะได้ sin𝜋𝑎𝜋 + 𝑏 (𝜋−3𝜋
𝜋
) = lim √(𝑥 − 𝜋)2 + 1 − 𝑥 + 𝑐 2
x  
sin 𝑎𝜋
− 2𝑏 = 1 −𝜋 + 𝑐 2
𝜋

กรณี 𝑏=1, 𝑎=1: กรณี 𝑏 = 2 , 𝑎=4:


0 − 2(1) = 1 − 𝜋 + 𝑐 2 0 − 2(2) = 1 − 𝜋 + 𝑐 2
𝜋−3 = 𝑐2 𝜋−5 = 𝑐2
±√𝜋 − 3 = 𝑐 (ไม่มีคาตอบ เพราะ 𝜋 − 5 ติดลบ แต่ 𝑐 2 เป็ นลบไม่ได้ )
ดังนัน้ 𝐴 มีสมาชิก 2 ตัว คือ (1, 1, √𝜋 − 3) และ (1, 1, −√𝜋 − 3)
2
และจะได้ limx
𝑓(𝑥) = lim √(𝑥 − 𝜋)2 + 1 − 𝑥 + (±√𝜋 − 3)
x

= lim √(𝑥 − 𝜋)2 + 1 − 𝑥 + 𝜋 − 3


x

= lim √(𝑥 − 𝜋)2 + 1 − (𝑥 − 𝜋) − 3


x
√(𝑥−𝜋)2 +1+(𝑥−𝜋)
= lim [(√(𝑥 − 𝜋)2 + 1 − (𝑥 − 𝜋)) ∙ ]−3
x √(𝑥−𝜋)2 +1+(𝑥−𝜋)
(𝑥−𝜋)2 +1 − (𝑥−𝜋)2
= lim [ ]−3
x √(𝑥−𝜋)2 +1+(𝑥−𝜋)
1
= lim [ ]−3 = 0 − 3 = −3
x   √(𝑥−𝜋)2 +1+(𝑥−𝜋)
26 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

27. 128
𝐿2 ให้ 𝑎 = 2553 , 𝑏 = 2557 จะเห็นว่า 𝑎 , 𝑏 , 𝑓(𝑎) และ 𝑓(𝑏) เป็ นบวก
B 2014
แต่พิกดั 𝑥 ของจุดยอด = − 2(24) เป็ นลบ ดังนัน้ ส่วนที่แรเงาจะอยู่ Q1 ดังรูป
พื ้นที่ที่แรเงา = พื ้นที่ใต้ โค้ ง 𝑓 จาก A ถึง B – ADEC – CEFB …(1)
A C b
𝐿1 จะได้ พื ้นที่ใต้ โค้ ง 𝑓 =  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
a

D E F เมื่อ 𝐹 คือปฎิยานุพนั ธ์ของ 𝑓 …(2)


= 𝐹(𝑏) − 𝐹(𝑎)
1
พื ้นที่ ADEC (AD + CE)(DE) → เรามี AD = 𝑓(𝑎) ที่เหลือ ต้ องหาพิกดั ของจุดตัด C ระหว่าง 𝐿1 กับ 𝐿2
=
2
จากสูตรความชัน = 𝑓 ′ (𝑥) ดังนัน้ ความชัน 𝐿1 = 𝑓 ′(𝑎) และ ความชัน 𝐿2 = 𝑓 ′(𝑏)
𝑦−𝑓(𝑎)
𝐿1 มีความชัน 𝑓 ′ (𝑎) และผ่านจุด (𝑎, 𝑓(𝑎)) ดังนัน้ สมการ 𝐿1 คือ 𝑥−𝑎 = 𝑓 ′ (𝑎)
𝑦 − 𝑓(𝑎) = (𝑥 − 𝑎)𝑓 ′ (𝑎)
𝑦 = (𝑥 − 𝑎)𝑓 ′ (𝑎) + 𝑓(𝑎) …(3)
ทานองเดียวกัน จะได้ สมการ 𝐿2 คือ 𝑦 = (𝑥 − 𝑏)𝑓 ′(𝑏) + 𝑓(𝑏) …(4)
จับ (3) = (4) และแทน 𝑓(𝑥) = 24𝑥 2 + 2014𝑥 − 2557
𝑓 ′ (𝑥) = 48𝑥 + 2014 และแก้ ระบบสมการหาจุดตัด C ระหว่าง 𝐿1 กับ 𝐿2จะได้
(𝑥 − 𝑎)(48𝑎 + 2014) + 24𝑎2 + 2014𝑎 − 2557 = (𝑥 − 𝑏)(48𝑏 + 2014) + 24𝑏 2 + 2014𝑏 − 2557
48𝑎𝑥 + 2014𝑥 − 48𝑎2 − 2014𝑎 + 24𝑎2 + 2014𝑎 = 48𝑏𝑥 + 2014𝑥 − 48𝑏 2 − 2014𝑏 + 24𝑏 2 + 2014𝑏
48𝑎𝑥 − 24𝑎2 = 48𝑏𝑥 − 24𝑏 2
2 2
48𝑎𝑥 − 48𝑏𝑥 = 24𝑎 − 24𝑏
48𝑥(𝑎 − 𝑏) = 24(𝑎 − 𝑏)(𝑎 + 𝑏)
𝑎+𝑏 2553+2557
𝑥 = = = 2555
2 2

จะได้ จดุ C มีพิกดั 𝑥 คือ 2555 → จะได้ DE = 2555 – 𝑎 = 2555 – 2553 = 2


จากสมการ 𝐿1 ใน (3) จะได้ CE = (2555 − 𝑎)𝑓 ′(𝑎) + 𝑓(𝑎) = 2𝑓 ′(𝑎) + 𝑓(𝑎)
ดังนัน้ พื ้นที่ ADEC = 12 (AD + CE)(DE) = 12 (𝑓(𝑎) + 2𝑓 ′(𝑎) + 𝑓(𝑎))(2)
= 2𝑓(𝑎) + 2𝑓 ′ (𝑎) …(5)
สุดท้ าย พื ้นที่ CEFB = 12 (CE + BF)(EF) → เรามี BF = 𝑓(𝑏)
และ EF = 𝑏 − 2555 = 2557 − 2555 = 2
แต่เราจะหา CE ใหม่โดยแทน 2555 ในสมการ 𝐿2 ใน (4) เพื่อความสมมาตรของ 𝑎 และ 𝑏 ใน  ทังสองรู
้ ป
จะได้ CE = (2555 − 𝑏)𝑓 ′ (𝑏) + 𝑓(𝑏) = −2𝑓 ′(𝑏) + 𝑓(𝑏)
ดังนัน้ พื ้นที่ CEFB = 12 (CE + BF)(EF) = 12 (−2𝑓 ′ (𝑏) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑏))(2)
= 2𝑓(𝑏) − 2𝑓 ′ (𝑏) …(6)
แทน (2), (5), (6) ใน (1) จะได้ พื ้นที่
= 𝐹(𝑏) − 𝐹(𝑎) − (2𝑓(𝑎) + 2𝑓 ′ (𝑎)) − (2𝑓(𝑏) − 2𝑓 ′ (𝑏))
= 𝐹(𝑏) − 𝐹(𝑎) − 2𝑓(𝑎) − 2𝑓 ′ (𝑎) − 2𝑓(𝑏) + 2𝑓 ′ (𝑏)
= 𝐹(𝑏) − 𝐹(𝑎) − 2𝑓(𝑏) − 2𝑓(𝑎) + 2𝑓 ′ (𝑏) − 2𝑓 ′ (𝑎)
= (8𝑏 3 + 1007𝑏 2 − 2557𝑏) − (8𝑎3 + 1007𝑎2 − 2557𝑎) −2(24𝑏 2 + 2014𝑏 − 2557) − 2(24𝑎2 + 2014𝑎 −
2557) + 2(48𝑏 + 2014) − 2(48𝑎 + 2014)
= 8(𝑏 3 − 𝑎3 ) + 1007(𝑏 2 − 𝑎2 ) − 2557(𝑏 − 𝑎) − 2(24(𝑏 2 + 𝑎2 ) + 2014(𝑏 + 𝑎) − 2557(2)) +
2(48𝑏 − 48𝑎)
= 8(𝑏 − 𝑎)(𝑏 2 + 𝑏𝑎 + 𝑎2 ) + 1007(𝑏 − 𝑎)(𝑏 + 𝑎) − 2557(4) − 48(𝑏 2 + 𝑎2 ) − 4028(𝑏 + 𝑎) + 2557(4) +
2(48)(𝑏 − 𝑎)
= 8(4)(𝑏 2 + 𝑏𝑎 + 𝑎2 ) + 1007(4)(𝑏 + 𝑎) − 48(𝑏 2 + 𝑎2 ) − 4028(𝑏 + 𝑎) + 2(48)(4)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 27

= 32𝑏 2 + 32𝑏𝑎 + 32𝑎2 − 48𝑏 2 − 48𝑎2 + 384


= −16𝑏 2 + 32𝑏𝑎 − 16𝑎2 + 384
= −16(𝑏 2 − 2𝑏𝑎 + 𝑎2 ) + 384 = −16(𝑏 − 𝑎)2 + 384 = −16(4)2 + 384 = −256 + 384 = 128

28. 𝑓(𝑥) = 𝑐
สังเกตว่า ประโยค |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| < 𝜖 จะเป็ นจริ งยากมาก เพราะ 𝜖 มี ∀𝜖 > 0 อยู่
กรณีที่มี 𝑥, 𝑦 บางคู่ (โดยไม่เสียนัยทัว่ ไป ให้ 𝑥 < 𝑦) ที่ 𝑓(𝑥) ≠ 𝑓(𝑦) จะทาให้ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| > 0
และจะมี 𝜖 ค่าบวกน้ อยๆบางตัว ทีอ่ ยูร่ ะหว่าง 0 กับ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| ซึง่ จะทาให้ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| < 𝜖 เป็ นเท็จ
และเนื่องจาก 𝑥 < 𝑦 จะทาให้ 𝑥 − 𝑦 เป็ นลบ ดังนัน้ ไม่วา่ เลือก 𝛿 > 0 เป็ นอะไร ประโยค 𝑥 − 𝑦 < 𝛿 จะเป็ นจริ ง
นัน่ คือ ในกรณีนี ้ จะมี 𝜖 บางตัว ที่ไม่วา่ 𝛿 เป็ นอะไรก็ตาม จะได้ เงื่อนไขเป็ น T ⟹ F ≡ F ไม่สอดคล้ องกับเงื่อนไข
กรณีที่ 𝑓(𝑥) = 𝑓(𝑦) สาหรับ 𝑥, 𝑦 ใดๆ (คือกรณีที่ 𝑓(𝑥) = ค่าคงที่ สาหรับทุกๆค่า 𝑥)
จะทาให้ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| = 0 ดังนัน้ ประโยค |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| < 𝜖 จะจริ งเสมอ (เพราะฝั่งซ้ าย = 0 และฝั่งขวา 𝜖
เป็ นบวก) ซึง่ ได้ เงื่อนไขเป็ น ? ⟹ T ≡ T สอดคล้ องกับเงื่อนไข
ดังนัน้ ฟั งก์ชนั ในรูป 𝑓(𝑥) = 𝑐 เมื่อ 𝑐 เป็ นค่าคงที่ จะสอดคล้ องกับเงื่อนไขที่กาหนดเสมอ

29. −10
จะรวมสามสมการ แล้ วแก้ หา 𝐴 ก็ได้ หรื ออีกวิธีที่ไม่ต้องหา 𝐴 คือ สังเกตว่า สองสมการแรกได้ ผลคูณเท่าเดิม และสมการ
ที่สามได้ ผลคูณเป็ นลบของของเดิม ดังนันถ้
้ าคูณ 𝐴 สองเที่ยว (คือคูณ 𝐴2 ) จะได้ เท่าเดิม 1 1
𝐴2 ∙ [1] = 𝐴 ∙ 𝐴 ∙ [1]
1 1 1 1
𝐴2 ∙ [ 0 ] = 𝐴 ∙ 𝐴 ∙ [ 0 ] 𝐴2 ∙ [1] = 𝐴 ∙ 𝐴 ∙ [1] 2 2
−1
−1 −1 0 0 = 𝐴 ∙ [−1]
1 1
=𝐴∙[ 0 ] = 𝐴 ∙ [1] −2
1
−1 0 = −𝐴 ∙ [1]
1 1
=[ 0 ] = [ 1] 2
−1 1
−1 0 = − [−1] = [1]
การคูณเมทริ กซ์ แต่ละหลักของตัวคูณจะคิดแยกกัน ดังนันเราสามารถรวมสามสมการได้
้ เป็ น −2 2
1 1 1 1 1 1 1 1 1
𝐴2 ∙ [ 0 1 1] = [ 0 1 1] → เนื่องจาก det [ 0 1 1] ≠ 0 ดังนัน้ จะสรุ ปได้ วา่ 𝐴2 = I
−1 0 2 −1 0 2 −1 0 2
9 9 9 9 9
ดังนัน้ 𝐴2557 ∙ [7] = 𝐴2(1278)+1 ∙ [7] = (𝐴2 )1278 ∙ 𝐴 ∙ [7] = I1278 ∙ 𝐴 ∙ [7] = 𝐴 ∙ [7]
6 6 6 6 6
9 1 1 1 9
ถัดมา จะแตก [7] เป็ นผลรวมของ [ 0 ] , [1] , [1] เพื่อใช้ สมบัติการกระจายในการหา 𝐴 ∙ [7]
6 −1 0 2 6
9 1 1 1 𝑥 + 𝑦 + 𝑧 = 9 …(1)
ให้ [7] = 𝑥 [ 0 ] + 𝑦 [1] + 𝑧 [1] → เขียนเป็ นระบบสมการได้ 𝑦 + 𝑧 = 7 …(2)
6 −1 0 2 −𝑥 +2𝑧 = 6 …(3)
8
(1) – (2) จะได้ 𝑥 = 2 → แทนใน (3) ได้ 𝑧 = 2 = 4 → แทนใน (2) ได้ 𝑦 = 3
9 1 1 1 1 1 1
ดังนัน้ 𝐴 ∙ [7] = 𝐴 ∙ (2 [ 0 ] + 3 [1] + 4 [1]) = 2𝐴 ∙ [ 0 ] + 3𝐴 ∙ [1] + 4𝐴 ∙ [1]
6 −1 0 2 −1 0 2
1 1 −1 1
= 2 [ 0 ] + 3 [1] + 4 [−1] = [ −1 ]
−1 0 −2 −10
28 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 1 + (−1) + (−10) = −10

30. 0, 1
กรณี 𝑎𝑥 − 1 ≥ 0 : จะได้ |𝑎𝑥 − 1| = 𝑎𝑥 − 1 จะได้ สมการคือ 𝑎𝑥 − 1 = 𝑎𝑥 2 + (1 − 2𝑎)𝑥 + 1
0 = 𝑎𝑥 2 + (1 − 3𝑎)𝑥 + 2
−(1−3𝑎)±√(1−3𝑎)2 −4𝑎(2) 3𝑎−1±√9𝑎2 −14𝑎+1
จากสูตรคาตอบของสมการกาลังสอง จะได้ 𝑥 = 2𝑎
= 2𝑎
สองคาตอบ
3𝑎−1±√9𝑎2 −14𝑎+1
แทน 𝑥 ที่ได้ ในเงื่อนไข 𝑎𝑥 − 1 ≥ 0 จะได้ เงื่อนไขของคาตอบคือ
𝑎∙ 2𝑎
−1 ≥ 0
3𝑎−1±√9𝑎 2 −14𝑎+1
2
≥ 1

กรณี 𝑎𝑥 − 1 < 0 : จะได้ |𝑎𝑥 − 1| = −(𝑎𝑥 − 1) จะได้ สมการคือ −(𝑎𝑥 − 1) = 𝑎𝑥 2 + (1 − 2𝑎)𝑥 + 1


−𝑎𝑥 + 1 = 𝑎𝑥 2 + (1 − 2𝑎)𝑥 + 1
0 = 𝑎𝑥 2 + (1 − 𝑎)𝑥
0 = 𝑥(𝑎𝑥 + 1 − 𝑎)
จะได้ 𝑥=0 หรื อ 𝑎𝑥 + 1 − 𝑎 = 0
𝑎−1
𝑥 = 𝑎
𝑎−1
แทน 𝑥 ที่ได้ ในเงื่อนไข 𝑎𝑥 − 1 < 0 จะได้ เงื่อนไขของคาตอบคือ 𝑎(0) − 1 < 0 กับ 𝑎( 𝑎 )−1 <0
−1 < 0 𝑎−1−1 <0
จริ งเสมอ 𝑎 <2
จะเห็นว่า 𝑥 = 0 สอดคล้ องเงื่อนไขคาตอบเสมอ ดังนัน้ 𝑥 = 0 จะเป็ นคาตอบโดยไม่ขึ ้นกับค่า 𝑎
แต่โจทย์ต้องการให้ สมการนี ้มีคาตอบเดียว ดังนัน้ คาตอบอื่นต้ อง 1. หาค่าไม่ได้ หรื อ
2. กลับไปซ ้ากับคาตอบเดิม หรื อ
3. ใช้ ไม่ได้ เนื่องจากเงื่อนไขของคาตอบเป็ นเท็จ
1. ถ้ าจะทาให้ คาตอบ 𝑥 = 𝑎−1 𝑎
หาค่าไม่ได้ จะต้ องให้ ตวั ส่วน 𝑎 = 0
2
ซึง่ ถ้ า 𝑎 = 0 จะทาให้ คาตอบ 𝑥 = 3𝑎−1±√9𝑎2𝑎
−14𝑎+1
หาค่าไม่ได้ เช่นกัน
และถ้ าลองแทน 𝑎 = 0 ในสมการตังต้ ้ นดู จะเห็นว่าคาตอบ 𝑥 = 0 เดิม ยังคงเป็ นคาตอบได้ อยู่
ดังนัน้ 𝑎 = 0 จะสามารถทาให้ สมการมีคาตอบเดียวได้
2. ทาให้ 𝑥 = 𝑎−1 𝑎
ซ ้ากับคาตอบ 𝑥 = 0 → จะได้ 𝑎−1 𝑎
= 0 แก้ สมการจะได้ 𝑎 = 1
2
ซึง่ ถ้ า 𝑎 = 1 จะทาให้ คาตอบ 𝑥 = 3𝑎−1±√9𝑎 2𝑎
−14𝑎+1
หาค่าไม่ได้ (เพราะในรูทติดลบ)
ดังนัน้ 𝑎 = 0 จะสามารถทาให้ สมการมีคาตอบเดียวได้ เช่นกัน
3. ทาให้ เงื่อนไขของคาตอบ 𝑥 = 𝑎−1𝑎
(ซึง่ คือ 𝑎 < 2) เป็ นเท็จ นัน่ คือ เราจะกาหนดให้ 𝑎 ≥ 2
3𝑎−1+√9𝑎2 −14𝑎+1
แต่ถ้า 𝑎≥2 จะทาให้ คาตอบ 𝑥= 2𝑎
หาค่าได้ และเงื่อนไขของคาตอบนี ้เป็ นจริ ง
3𝑎−1+√9𝑎2 −14𝑎+1 3(2)−1
(เพราะ 2
≥ 2 >1 ) ดังนัน้ กรณีนี ้จะไม่มี 𝑎 ที่ทาให้ สมการมีคาตอบเดียวได้
ดังนัน้ 𝑎 = 0, 1 จะทาให้ สมการนี ้มีคาตอบเดียว
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 29

31. 301
646
กรรมการ 6 คน มี 4 ชันปี
้ ดังนัน้ จะมี 2 คนที่ซ ้าชันปี
้ กบั คนอื่นได้ จึงมีรูปแบบการซ ้าแค่สองแบบ ดังนี ้
กรณี มี 3 คน มากจากชันปี
้ เดียวกัน อีก 3 คนมาจากชันปี ้ อื่น ชันปี
้ ละคน (a a a b c d)
ปี 1 สามคน ปี 2 สามคน ปี 3 สามคน ปี 4 สามคน

= (43)(41)(51)(71) + (41)(43)(51)(71) + (41)(41)(53)(71) + (41)(41)(51)(73)


5∙4∙3 7 7∙6∙5
= (41)(41)(51)(71) + (41)(41)(51)(71) + (41)(41) (1) + (41)(41)(51) 3!
3!
4∙3 6∙5
= (4 ∙ 4 ∙ 5 ∙ 7) (1 + 1 + 3!
+ 3! )
= (4 ∙ 4 ∙ 5 ∙ 7)(9)

กรณี มีคน มากจากชันปี


้ เดียวกัน 2 คู่ อีก 2 คนมาจากชันปี
้ อื่น ชันปี
้ ละคน (a a b b c d)
ปี 1, 2 สองคู่ ปี 1, 3 สองคู่ ปี 1, 4 สองคู่ ปี 2, 3 สองคู่ ปี 2, 4 สองคู่ ปี 3, 4 สองคู่

= (42)(42)(51)(71) + (42)(41)(52)(71) + (42)(41)(51)(72) + (41)(42)(52)(71) + (41)(42)(51)(72) + (41)(41)(52)(72)


4∙3 4∙3 5 7 4∙3 5∙4 4∙3 7∙6 4∙3 5∙4 4∙3 7∙6 5∙4 7∙6
= 2
∙ 2 (1)(1) + 2 (41) 2 (71) + 2 (41)(51) 2 + (41) 2 ∙ 2 (71) + (41) 2 (51) 2 + (41)(41) 2 ∙ 2
4∙4∙5∙7
= ( ) (3 ∙ 3 + 3 ∙ 4 + 3 ∙ 6 + 3 ∙ 4 + 3 ∙ 6 + 4 ∙ 6)
2∙2
= (4 ∙ 5 ∙ 7)(9 + 12 + 18 + 12 + 18 + 24)
= (4 ∙ 5 ∙ 7)(93)

20∙19∙18∙17∙16∙15
มีทงหมด
ั้ 4 + 4 + 5 +7 = 20 คน ดังนัน้ จานวนแบบทังหมด ้ = (206
)= 6∙5∙4∙3∙2
= 19 ∙ 17 ∙ 8 ∙ 15 แบบ
(4∙4∙5∙7)(9)+(4∙5∙7)(93) (4∙5∙7)(36+93) (7)(129) (7)(43) 301
ดังนัน้ จะได้ ความน่าจะเป็ น = 19∙17∙8∙15
=
19∙17∙8∙15
=
19∙17∙2∙3
=
19∙17∙2
=
646

32. (1279
2
)
จาก 𝑥 + 𝑦 + 𝑧 = 2557 จะได้ 𝑦 + 𝑧 = 2557 − 𝑥 แทนในเงื่อนไข 𝑥 ≤ 𝑦+𝑧 จะได้ 𝑥 ≤ 2557 − 𝑥
2𝑥 ≤ 2557
𝑥 ≤ 1278.5
แต่ 𝑥 เป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ 𝑥 ≤ 1278
ทานองเดียวกัน ถ้ าแทน 𝑥 + 𝑧 = 2557 − 𝑦 กับ 𝑥 + 𝑦 = 2557 − 𝑧 ในอีกสองเงื่อนไขที่เหลือ
จะได้ วา่ 𝑦 ≤ 1278 และ 𝑧 ≤ 1278 ด้ วย
ดังนัน้ โจทย์ข้อนี ้เทียบได้ กบั การแจกของเหมือนกัน 2557 ชิ ้น ให้ 𝑥, 𝑦, 𝑧 (เพราะ 𝑥 + 𝑦 + 𝑧 = 2557) โดยที่แต่ละ
คนได้ ของอย่างน้ อย 1 ชิ ้น (เพราะ 𝑥, 𝑦, 𝑧 ∈ 𝕀+) และแต่ละคนได้ ของไม่เกินคนละ 1278 ชิ ้น (เพราะ 𝑥, 𝑦, 𝑥 ≤ 1278)
ซึง่ จะมีขนตอนการแจกให้
ั้ ได้ ตามเงื่อนไขดังนี ้
1. แจกของให้ แต่ละคนไปก่อนเลย คนละ 1278 ชิ ้น
2. เนื่องจากมีของให้ แจกได้ แค่ 2557 ชิ ้น ดังนัน้ ขันตอนแรกจะแจกของเกิ
้ นไป 3(1278) – 2557 = 1277 ชิ ้น
3. แจก “ใบคืนของ” จานวน 1277 ใบ ให้ 𝑥, 𝑦, 𝑧 เพื่อเรี ยกของ 1277 ชิ ้นที่แจกเกิน กลับคืนมา
เช่น ถ้ าแบ่ง 1277 เป็ น 400 + 600 + 277 แล้ วแจก 400 ใบให้ 𝑥 , แจก 600 ใบให้ 𝑦 , แจก 277 ใบให้ 𝑧 จะ
ได้ จานวนของของ 𝑥 เหลือ 1278 – 400 = 878 , ของ 𝑦 เหลือ = 1278 – 600 = 678 , ของ 𝑧 เหลือ 1278 –
277 = 1001 โดยวิธีนี ้ จะได้ (𝑥, 𝑦, 𝑧) = (878, 678, 1001) เป็ นแบบหนึง่ ที่สอดคล้ องกับเงื่อนไขโจทย์
สังเกตว่า ข้ อนี ้ “โชคดี” ทีใ่ บคืนของทังหมด
้ (=1277) มีจานวนน้ อยกว่าของที่แต่ละคนได้ ในขันตอนแรก
้ (=1278)
30 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

จึงไม่เกิดปั ญหา “มีของไม่พอจะคืน” เช่น ถ้ าแจกใบคืนของทังหมด


้ 1277 ใบให้ 𝑥 คนเดียวเต็มๆ ก็ยงั จะได้
(𝑥, 𝑦, 𝑧) = (1, 1278, 1278) ซึง่ ยังเป็ นแบบหนึง่ ที่สอดคล้ องกับเงื่อนไขโจทย์
ดังนัน้ จานวนแบบของ (𝑥, 𝑦, 𝑧) จะเท่ากับจานวนแบบการแจกใบคืนของ 1277 ใบให้ 𝑥, 𝑦, 𝑧 โดยอาจมีคนไม่ได้ ก็ได้
จาก Stars & Bars จะได้ จานวนแบบ = (1277+3−1 3−1
) = (1279
2
)

33. 1 + √2
ข้ อนี ้จะใช้ วิธีจบั คูป่ ลายซ้ ายขวา แล้ วไล่คเู่ ข้ ามาตรงกลาง (จับตัวแรกกับตัวสุดท้ าย, ตัวที่สองกับตัวรองสุดท้ าย, …)
𝜋
สังเกตว่า 𝑎1 มี tan 360 และ 𝑎90 มี tan 179𝜋 360
จะเห็นว่า สองตัวนี ้มีมมุ หลัง tan รวมกันได้ = 180𝜋
360
=2
𝜋

𝜋 179𝜋 𝜋 𝜋
ซึง่ จากโคฟังก์ชนั จะได้ (tan 360 ) (tan 360 ) = (tan 360) (cot 360) = 1
ลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง 𝑎1 กับ 𝑎90 โดยพยายามให้ tan ของทังสองตั
้ วมาคูณกันแล้ วเป็ น 1 จะเห็นว่า
1 1
𝑎12 + 𝑎90
2
= 𝜋
+ 179𝜋
1+√tan 1+√tan
360 360

179𝜋 𝜋
(1+√tan 360 ) + (1+√tan360)
=
𝜋 179𝜋
(1+√tan360)(1+√tan 360 )

179𝜋 𝜋 179𝜋 𝜋
1+√tan + 1+√tan 1+√tan + 1+√tan
360 360 360 360
= 179𝜋 𝜋 𝜋 179𝜋
= 179𝜋 𝜋
= 1
1+√tan +√tan +√tan tan 1+√tan +√tan +1
360 360 360 360 360 360

ดังนัน้ 𝑎12 = 1 − 𝑎90


2
และ 𝑎90 2
= 1 − 𝑎12 …(∗)
ถัดมา ลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง √1 + 𝑎1 กับ √1 − 𝑎1 (เพราะ 𝑎1 ของสองตัวนี ้ น่าจะตัดกันได้ ) จะเห็นว่า
2
(√1 + 𝑎1 − √1 − 𝑎1 ) = (1 + 𝑎1 ) + (1 − 𝑎1 ) − 2√1 + 𝑎1 √1 − 𝑎1
= 2 − 2√1 − 𝑎12
2 จาก (∗)
= 2 − 2√𝑎90
= 2 − 2𝑎90
= 2(1 − 𝑎90 )
ถอดรูททังสองข้
้ าง จะได้ √1 + 𝑎1 − √1 − 𝑎1 = √2√1 − 𝑎90 …(1)
ทาแบบเดียวกันกับ 𝑎90 จะได้ √1 + 𝑎90 − √1 − 𝑎90 = √2√1 − 𝑎1 …(2)
(1) + (2) : √1 + 𝑎1 − √1 − 𝑎1 + √1 + 𝑎90 − √1 − 𝑎90 = √2√1 − 𝑎90 + √2√1 − 𝑎1
√1 + 𝑎1 + √1 + 𝑎90 = (1 + √2)√1 − 𝑎90 + (1 + √2)√1 − 𝑎1
√1 + 𝑎1 + √1 + 𝑎90 = (1 + √2)(√1 − 𝑎1 + √1 − 𝑎90 )
ทาแบบเดียวกันกับคูอ่ ื่นๆ จะได้ √1 + 𝑎2 + √1 + 𝑎89 = (1 + √2)(√1 − 𝑎2 + √1 − 𝑎89 )
√1 + 𝑎3 + √1 + 𝑎88 = (1 + √2)(√1 − 𝑎3 + √1 − 𝑎88 )

√1 + 𝑎45 + √1 + 𝑎46 = (1 + √2)(√1 − 𝑎45 + √1 − 𝑎46 )

√1+𝑎1 + √1+𝑎2 + … + √1+𝑎90 (1+√2)(√1−𝑎1 + √1−𝑎2 + … + √1−𝑎90 )


ดังนัน้ √1−𝑎1 + √1−𝑎2 + … + √1−𝑎90
=
√1−𝑎1 + √1−𝑎2 + … + √1−𝑎90
= 1 + √2
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57) 31

34. 4571
จะหาค่าประมาณของ cosec 𝜃 ก่อน โดยคิดจากค่าประมาณของ sin 𝜃
A D พิจารณาวงกลมหนึง่ หน่วย ที่มี OA = OC = 1 และ ให้ 𝜃 เป็ นมุมใน Q1 ดังรูป
จะได้ AB = sin 𝜃 และ OB = cos 𝜃
1
sin 𝜃 จากนิยามของมุมเรเดียน จะได้ ความยาวส่วนโค้ ง AC = 𝜃
𝜃
O cos 𝜃 B C จะเห็นว่า ส่วนโค้ ง AC ยาวกว่า เส้ นตรง ̅̅̅̅
AC ยาวกว่า เส้ นตรง ̅̅̅̅
AB
ดังนัน้ 𝜃 > sin 𝜃 …(∗)
และจาก พื ้นที่ ∆ADC > พื ้นที่เซกเมนต์ AC ที่แรเงา
1
จะได้ 2
∙ AD ∙ DC > พื ้นที่ ∆ ฐานโค้ ง OAC − พื ้นที่ ∆ ฐานตรง OAC
1 𝜃 1
2
∙ BC ∙ AB > 2𝜋
𝜋𝑟 2 − 2
∙ OC ∙ AB
1 𝜃 1
∙ (OC − OB) ∙ sin 𝜃 > 𝜋(12 ) − ∙ 1 ∙ sin 𝜃
2 2𝜋 2
1 𝜃 sin 𝜃
2
∙ (1 – cos 𝜃) ∙ sin 𝜃 > 2
− 2
(1 – cos 𝜃) ∙ sin 𝜃 > 𝜃 − sin 𝜃
𝜃
(1 − (1 − 2 sin2 2 )) ∙ sin 𝜃 เปลี่ยน cos เป็ น sin ด้ วยสูตร
𝜃 cos 2𝐴 = 1 − 2 sin2 𝐴
2 sin2 ∙ sin 𝜃
2
𝜃 𝜃
จาก (∗) จะได้
2
> sin 2
𝜃 > sin 𝜃 และ
𝜃 2 𝜃
ดังนัน้ 2 (2 ) 𝜃 > 2 sin2 2 ∙ sin 𝜃
𝜃3 𝜃
> 2 sin2 ∙ sin 𝜃 > 𝜃 − sin 𝜃
2 2

𝜃3 𝜃3
ใช้ 2 sin2 𝜃2 ∙ sin 𝜃 เป็ นตัวเชื่อม จะสรุปได้ วา่ 2
> 𝜃 − sin 𝜃 → ย้ ายข้ าง จะได้ sin 𝜃 > 𝜃 − 2
𝜃3
ต่อรวมกับ (∗) จะได้ 𝜃 > sin 𝜃 > 𝜃 − 2 หมายเหตุ : จริงๆแล้ วต้ องได้ 𝜃 − 𝜃6
3

1 1 1 1 1
แทน 𝜃 = 2557 จะได้ 2557
> sin
2557
>
2557

2(25573 )
แต่ผมคิดวิธีพิสจู น์ที่ใช้ ความรู้ ม.ปลาย
1 1 >
1 1
− (2557)(2558) ไม่ออก ถ้ าใครรู้ชว่ ยบอกด้ วยนะครับ
เพราะ 2(2557)3 < (2557)(2558)
2557
2558 − 1 2557 1
และ ลบน้ อย จะมีคา่ มาก = (2557)(2558)
= (2557)(2558) = 2558

1 1 1
ดังนัน้ 2557 > sin 2557 > 2558 กลับเศษส่วน ต้ องกลับ มากกว่า เป็ น น้ อยกว่า ด้ วย
1
จะได้ 2557 < cosec 2557 < 2558 ดังนัน้ 𝑓(2557) = 2558
1 1
ทาแบบเดียวกัน โดยแทน 𝜃 = 2558 สุดท้ ายจะได้ 2558 < cosec 2558 < 2559 ดังนัน้ 𝑓(2558) = 2559
จะเห็นว่า ทุกครัง้ ที่คิดค่า 𝑓 ตัวเลขจะเพิ่มขึ ้น 1 เสมอ ดังนัน้ ⏟
(𝑓 ∘ 𝑓 ∘ … ∘ 𝑓) (2557) = 2557 + 2014 = 4571
2014 ตัว

1
35. 1007
̅ 𝑧𝑗
𝑤−𝑤
จากเงื่อนไขที่ (2) ให้ 1−𝑧𝑗
=𝑘 เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนจริ ง
𝑤−𝑤
̅𝑧𝑗 = 𝑘 − 𝑘𝑧𝑗 แทนค่า 𝑤 = 𝑥 + 𝑖𝑦 จะได้
𝑤−𝑘 = 𝑤
̅𝑧𝑗 − 𝑘𝑧𝑗 𝑥+𝑖𝑦−𝑘
𝑥−𝑖𝑦−𝑘
= 𝑧𝑗
𝑤−𝑘 = (𝑤
̅ − 𝑘)𝑧𝑗
𝑤−𝑘 (𝑥−𝑘)+𝑖𝑦
= 𝑧𝑗 (𝑥−𝑘)−𝑖𝑦
= 𝑧𝑗
̅ −𝑘
𝑤
32 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 57)

เนื่องจาก 𝑘 เป็ นจานวนจริ ง ดังนัน้ (𝑥 − 𝑘) + 𝑖𝑦 กับ (𝑥 − 𝑘) − 𝑖𝑦 จะเป็ นสังยุคกันเสมอ


𝑣𝑗 1 ̅̅̅)
(𝑣
นัน่ คือ ถ้ าให้ 𝑣𝑗 = (𝑥 − 𝑘) + 𝑖𝑦 จะได้ 𝑣̅𝑗 = (𝑥 − 𝑘) − 𝑖𝑦 และจะได้ 𝑧𝑗 = ̅̅̅)
(𝑣
และ 𝑧𝑗
= 𝑣𝑗
𝑗
𝑗
2014
1
z
1 1 1 1
ดังนัน้ = |𝑧 + 𝑧2
+ 𝑧3
+ ⋯+ 𝑧2014
|
1
j 1 j
(𝑣
̅̅̅) (𝑣
̅̅̅) (𝑣
̅̅̅) (𝑣
̅̅̅̅̅̅̅̅)
= | 𝑣1 + 𝑣2
2
+ 𝑣3
3
+ ⋯+ 2014
𝑣2014
|
1
จากสมบัติ | 𝑧 | = | 𝑧̅ |
̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
(𝑣
̅̅̅) (𝑣
̅̅̅) (𝑣
̅̅̅) (𝑣
̅̅̅̅̅̅̅̅)
= |( 𝑣1 + 𝑣2 + 𝑣3 + ⋯ + 𝑣2014 )|
1 2 3 2014
กระจายสังยุคในการบวก
̅̅̅̅̅̅̅
(𝑣
̅̅̅) ̅̅̅̅̅̅̅
(𝑣
̅̅̅) ̅̅̅̅̅̅̅
(𝑣
̅̅̅) ̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
(𝑣
̅̅̅̅̅̅̅̅)
= |( 𝑣1 ) + ( 𝑣2 ) + ( 𝑣3 ) + ⋯ + ( 𝑣2014 )|
กระจายสังยุคในการหาร 1 2 3 2014

𝑣1 𝑣2 𝑣3 𝑣2014
และสังยุคซ้ อน 2 ครัง้ จะ = | (𝑣
̅̅̅)
+ (𝑣
̅̅̅)
+ (𝑣
̅̅̅)
+ ⋯+ (𝑣
̅̅̅̅̅̅̅̅)
|
1 2 3 2014
กลับไปเท่าเดิม = | 𝑧1 + 𝑧2 + 𝑧3 + ⋯ + 𝑧2014 |
2014
= z
j 1
j

2014 2014
1
zj = z
1
ดังนัน้ = 1007
j 1 j 1 j

เครดิต
ขอบคุณ คุณ สุทธิเกียรติ ชาติธรรมรักษ์ สาหรับข้ อสอบ
ขอบคุณ คุณ Punyapat Makul ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร

You might also like