You are on page 1of 8

1

SC113 แคลคูลัส 1

บทที่ 2
อนุพันธ์ ของฟั งก์ ชัน

นิยาม 1 ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชันที่ตอ่ เนือ่ งทีจ่ ุด 𝑥 ใดๆ อนุพันธ์ของ 𝑦 เทียบกับ 𝑥 หรือ อนุพันธ์ของฟั งก์ชัน 𝑓 ที่จุดใดๆ
เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 𝑑𝑦
𝑑𝑥
หรือ 𝑓′ (𝑥) หรือ 𝑦 ′ โดยที่
𝑑𝑦 𝑓 (𝑥+ℎ) −𝑓(𝑥)
= lim
𝑑𝑥 ℎ→0 ℎ

นิยาม 2 ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชันที่ตอ่ เนือ่ งทีจ่ ุด 𝑥 = 𝑐 เมื่อ 𝑐 เป็ นค่าคงที่ อนุพันธ์ของ 𝑦 เทียบกับ 𝑥 หรือ อนุพันธ์ของ
ฟั งก์ชัน 𝑓 ที่จุด 𝑥 = 𝑐 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑑𝑦 | หรือ 𝑓′ (𝑐) โดยที่
𝑑𝑥 𝑥=𝑐
𝑑𝑦 𝑓(𝑐+ℎ)−𝑓(𝑐)
𝑑𝑥 𝑥=𝑐
| = lim
ℎ→0 ℎ

นิยาม 3 ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชันซึ่งสามารถหาอนุพันธ์ได้ ดังนั ้นอนุพันธ์อันดับทีส่ อง สาม สี่ ... n ของ 𝑓 เขียนแทนด้ วย
2 3 4 𝑛
สัญลักษณ์ 𝑑𝑑𝑥𝑦2 , 𝑑𝑑𝑥𝑦3 , 𝑑𝑑𝑥𝑦4 ,…, 𝑑𝑑𝑥𝑛𝑦 หรือ 𝑓′′ (𝑥) , 𝑓′′′ (𝑥) , 𝑓(4) (𝑥) ,…, 𝑓(𝑛) (𝑥)
หรือ 𝑦 ′′, 𝑦 ′ ′′, 𝑦 (4),…, 𝑦 (𝑛) ตามลาดับ โดยที่
𝑑2 𝑦 𝑑
= (𝑑𝑦 )
𝑑𝑥2 𝑑𝑥 𝑑𝑥
𝑑3 𝑦 𝑑 𝑑2 𝑦
= ( )
𝑑𝑥3 𝑑𝑥 𝑑𝑥2
𝑑4 𝑦 𝑑 𝑑3 𝑦
= ( )
𝑑𝑥4 𝑑𝑥 𝑑𝑥3
𝑛
𝑑 𝑦 𝑑 𝑑𝑛− 1𝑦
= ( )
𝑑𝑥𝑛 𝑑𝑥 𝑛−1

ตัวอย่ างที่ 1 กาหนด 𝑦 = 2𝑥 จงหา 𝑑𝑦


𝑑𝑥

ตัวอย่ างที่ 2 กาหนด 𝑦 = 2 จงหา 𝑑𝑦


𝑑𝑥
2
SC113 แคลคูลัส 1
2.1 การหาอนุพนั ธ์ ของฟังก์ ชนั พีชคณิต
ในห้ วข้ อนี ้เราจะมาหาอนุพันธ์ในรูปของ 𝑦 = 𝑓(𝑥)

ทฤษฎีบทที่ 1 ถ้ า c เป็ นค่าคงที่ แล้ ว 𝑑


𝑑𝑥
𝑐=0

𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
ตัวอย่ างที่ 1 1)
𝑑𝑥
3= 2)
𝑑𝑥
(−5) = 3)
𝑑𝑥
√5 = 4)
𝑑𝑥
2𝜋 3 =

ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้ า n เป็ นจานวนจริง แล้ ว 𝑑


𝑑𝑥
𝑥 𝑛 = 𝑛𝑥 𝑥 −1

𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
ตัวอย่ างที่ 2 1)
𝑑𝑥
𝑥5 = 2)
𝑑𝑥
𝑥= 3)
𝑑𝑥
𝑥 12 4)
𝑑𝑥
𝑥 −1 =
2
𝑑 𝑑
5) 𝑥3 = 6) √𝑥 =
𝑑𝑥 𝑑𝑥

ทฤษฎีบทที่ 3 ถ้ า f เป็ นฟั งก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ c เป็ นค่าคงที่ แล้ ว 𝑑


𝑑𝑥
𝑑
𝑐𝑓(𝑥) = 𝑐 𝑑𝑥 𝑓(𝑥)

𝑑 𝑑 𝑑 𝑥
ตัวอย่ างที่ 3 1) 𝑑𝑥
4𝑥 5 = 2) 𝑑𝑥
(−𝑥 12 ) = 3) 𝑑𝑥 𝜋
=

ทฤษฎีบทที่ 4 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ ที่ x แล้ ว


𝑑 𝑑 𝑑
[𝑓(𝑥) + 𝑔 (𝑥)] = 𝑓(𝑥) + 𝑑𝑥 𝑓(𝑥)
𝑑𝑥 𝑑𝑥

𝑑 𝑑 𝑑
[𝑓(𝑥) − 𝑔 (𝑥)] = 𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥)
𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥

𝑑
ตัวอย่ างที่ 4 1)
𝑑𝑥
(𝑥 4 + 𝑥 2 ) =

𝑑
2) (6𝑥 11 − 9) =
𝑑𝑥

𝑑
3) (3𝑥 8 − 2𝑥 5 + 5𝑥 + 2) =
𝑑𝑥

ตัวอย่ างที่ 5 กาหนด 𝑓 (𝑥) = 5𝑥 2 − 2𝑥 + 9 จงหา 𝑓 ′ (2)

ตัวอย่ างที่ 6 กาหนด 𝑓 (𝑥) = 5𝑥 2 − 2𝑥 + 9 จงหา 𝑓 ′′ (𝑥)


3
SC113 แคลคูลัส 1

ทฤษฎีบทที่ 5 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ ที่ x แล้ ว


𝑑 𝑑 𝑑
[𝑓(𝑥)𝑔 (𝑥)] = 𝑓(𝑥) 𝑔 (𝑥) + 𝑔(𝑥) 𝑑𝑥 𝑓(𝑥)
𝑑𝑥 𝑑𝑥

𝑑𝑦
ตัวอย่ างที่ 6 จงหา 𝑑𝑥 ถ้ า y = (4𝑥 2 + 1)(7𝑥 3 − 𝑥)

ตัวอย่ างที่ 7 กาหนด 𝑓(𝑥 ) = (4𝑥2 + 2𝑋 − 3)(7𝑥3 − 9) จงหา 𝑓 ′(1)

ทฤษฎีบทที่ 6 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ ที่ x และ 𝑔(𝑥) ≠ 0 แล้ ว


𝑑 𝑑
𝑑 ( ) 𝑔 (𝑥)𝑑𝑥 𝑓(𝑥) −𝑓(𝑥 )𝑑𝑥 𝑔 (𝑥)
[𝑓 𝑥 ] =
𝑑𝑥 𝑔 (𝑥) [𝑔 (𝑥)] 2

𝑑𝑦 𝑥2 +1
ตัวอย่ างที่ 8 จงหา 𝑑𝑥 ถ้ า y = 𝑥4 −1
4
SC113 แคลคูลัส 1
3𝑥2 +𝑥−2
ตัวอย่ างที่ 9 จงหา 𝑓 ′′(0) ถ้ า 𝑓(𝑥) = 𝑥4 −1
5
SC113 แคลคูลัส 1

ทฤษฎีบทที่ 7 (กฎลูกโซ่ ) ถ้ า g เป็ นฟั งก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ทจี่ ุด x และ f เป็ นฟั งก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ g(x) แล้ ว
ถ้ า 𝑦 = 𝑓(𝑔(𝑥)) และ 𝑢 = 𝑔(𝑥) แล้ ว 𝑦 = 𝑓(𝑢) และ
𝑑𝑦 𝑑𝑦 𝑑𝑢
𝑑𝑥
= 𝑑𝑢 ∙ 𝑑𝑥

จาก ทฤษฎีบทที่ 7 ถ้ าแทน 𝑦 = 𝑓(𝑢) และแทน 𝑑𝑦


𝑑𝑢
= 𝑓′ (𝑢) จะได้ ว่า 𝑓(𝑢) = 𝑓′ (𝑢) ∙
𝑑
𝑑𝑥
𝑑𝑢
𝑑𝑥

ถ้ า 𝑦 = 𝑢 𝑛 จะได้ ว่า 𝑑
𝑑𝑥
𝑢 𝑛 = 𝑛𝑢 𝑛−1 ∙
𝑑𝑢
𝑑𝑥

𝑑𝑦
ตัวอย่ างที่ 10 จงหา 𝑑𝑥 ถ้ า 𝑦 = (2𝑥 + 3)5

𝑑𝑦
ตัวอย่ างที่ 11 จงหา 𝑑𝑥 ถ้ า 𝑦 = 4(2𝑥 + 3)5

𝑑𝑦
ตัวอย่ างที่ 12 จงหา ถ้ า 𝑦 = √𝑥 3 − 2𝑥 + 7
𝑑𝑥

𝑑𝑦
ตัวอย่ างที่ 13 จงหา 𝑑𝑥 ถ้ า 𝑦 = 2𝑥 − 3 + 4(2𝑥 + 3)5

4−5𝑥 5
ตัวอย่ างที่ 14 กาหนด 𝑓(𝑥 ) = 7 (2𝑥3 +4𝑥−5) จงหา 𝑓′(1)
6
SC113 แคลคูลัส 1

ตัวอย่างที่ 15 จงหา 𝑓 ′ (𝑥) เมื่อกาหนด 𝑓 (𝑥) = ( 1𝑥 + 𝑥12 ) (3𝑥 3 + 27)

ตัวอย่างที่ 16 จงหาอนุพันธ์ต่อไปนี ้
𝑑
1. 16𝑡 2
𝑑𝑡
𝑑𝐶
2. เมื่อ 𝐶 = 2𝜋𝑟
𝑑𝑟
3. 𝑉 ′ (𝑟) เมื่อ 𝑉 = 𝜋𝑟 3
𝑑
4. [2𝛼 −1 + 𝛼]
𝑑𝛼
7
SC113 แคลคูลัส 1

แบบฝึ กทักษะ 2.1


8
SC113 แคลคูลัส 1

เฉลยแบบฝึ กทักษะ 2.1

You might also like