You are on page 1of 6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
วิชาคณิตศาสตร์ ค 33102 หน่วยการเรียนรู้
สถิติ
เรื่องย่อย ค่ากลางมัธยฐาน ภาค
เรียนที่ 1 / 2566
วันที่สอน 20 ตุลาคม 2566 ผู้สอน
นายอติชาติ ใจธง
นายฤทธิชัย อมตสุวรรณ

สาระที่ 1
ค่ากลางมัธยฐาน
มาตรฐาน ค 3.1
เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปั ญหา
ตัวชี้วัด
เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูลและแปลความ
หมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายและเข้าใจเกี่ยวกับค่ากลางหัวข้อ
มัธยฐานได้
2. นักเรียนสามารถแสดงวิธีการหาค่ามัธยฐาน
3. นักเรียนมีความสนใจและอยากเรียนรู้เรื่องค่ากลางเพิ่ม
สาระสำคัญ
ค่ามัธยฐาน(Med) คือ ค่าที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด
เมื่อเรียบเรียงจากค่าน้อยสุดไปหาค่ามากที่สุด
วิธีหาค่ามัธยฐาน คือ การนำจำนวนข้อมูลทั้งหมด(N)บวกด้วย 1
และทั้งหมดหารด้วย 2
สาระการเรียนรู้
การหาค่ากลางมัธยฐาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1.ครูชวนให้นักเรียนได้ลองสำรวจอารมณ์ ความรู้สึกก่อน
เรียนเพื่อให้เท่าทันอารมณ์ของ
ตนเองและผ่อนคลายความกังวลต่าง ๆ โดยใช้สัญลักษณ์มือเพื่อบอก
ความรู้สึก
มีดีเยี่ยม () ดี() ไม่พร้อม() จาก 2 คำถาม
คำถามที่ 1 วันนี้เรารู้สึกพร้อมในการเรียนรู้หรือไม่
คำถามที่ 2 วันนี้ถ้ามีกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ เราพร้อมจะร่วม
อย่างเต็มที่

2.ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนความหมายของทศนิยม ใน
เรื่องที่เรียนมาแล้ว
และทบทวนหลักเลขและค่าประจำหลัก โดยครูยกตัวอย่างจำนวน
ทศนิยมให้นักเรียนบอกค่าของ ตัวเลขในหลักนั้น ดังนี้
ครูยกตัวอย่างจำนวน 17.234 ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้
4
4 อยู่ในหลักอะไร(หลักส่วนพัน) 4 มีค่าเท่าไร ( 1000 ) หรือ
0.004
3
3 อยู่ในหลักอะไร (หลักส่วนร้อย) 3 มีค่าเท่าไร ( 100 ) หรือ
0.03
2
2 อยู่ในหลักอะไร (หลักส่วนสิบ) 2 มีค่าเท่าไร ( 10 ) หรือ 0.2
7 อยู่ในหลักอะไร (หลักส่วนหน่วย)
7 มีค่าเท่าไร ( 7 หลักหน่วย ) 7
1 อยู่ในหลักอะไร (หลักส่วนสิบ)
1 มีค่าเท่าไร ( สิบ ) หรือ หนึ่งสิบ

ขั้นพัฒนาการเรียนรู้
3.ครูอธิบายถึงหลักการบวกทศนิยม สามารถทำได้โดย นำ
เลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกัน หรือ
ตำแหน่งเดียวกันมาบวกกัน
4.ครูยกตัวอย่างที่ 1 การบวกทศนิยมให้นักเรียนช่วยกัน
พิจารณาหาคำตอบ โดยแสดงการหาผลบวกโดยวิธีตั้ง
บวก ดังนี้
จงหาผลลัพธ์ของ 24.12 + 13.54

วิธีทำ
24.12
+¿ 13.54
37.66

∴ 24.12+13.54=37.66

5.ครูยกตัวอย่างที่ 2 หาการบวกทศนิยมที่เป็ นลบ โดยให้นำ


ค่าสัมบูรณ์มาบวกกัน แล้ว
ตอบเป็ นจำนวนลบ ให้นักเรียนช่วยกันพิจารณาหาคำตอบ ซึ่งสามารถ
ทำได้ 2 วิธี ดังนี้

จงหาผลลัพธ์ของ (-62.17) + (-15.32)

วิธีที่ 1 |−62.17|=62.17
|−15.32|=15.32

จะได้
62.17
+¿ 15.32
77.49

∴ (−62.17)+(−15.32)=−77.49

วิธีที่ 2
−62.17
+¿−15.32
−77.49

∴ (−62.17)+(−15.32)=−77.49

6.ครูยกตัวอย่างที่ 3 การบวกระหว่างทศนิยมที่เป็ นบวกกับ


ทศนิยมที่เป็ นลบ ให้นำค่า
สัมบูรณ์มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า แล้วตอบเป็ นจำนวนบวก
หรือจำนวนลบตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า แล้วให้นักเรียน ช่วย
กันพิจารณาหาคำตอบ โดยแสดงการหาผลบวกโดยวิธีตั้งบวก ซึ่งสามารถ
ทำได้ 2 วิธี ดังนี้
จงหาผลลัพธ์ของ (-59.532) + 38.412

วิธีที่ 1 |−59.532|=59.532
|38.412|=38.412

จะได้
59.532
−¿ 38.412
21.120

เนื่องจาก |−59.532|>|38.412|
∴(−59.532)+38.412=−21.120

วิธีที่ 2
−59.532
+¿ 38.412
21.120

∴(−59.532)+38.412=−21.120

7. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม คละตามความสามารถ กลุ่มละ 3-


5 คน ภารกิจของกลุ่มคือการทำใบงาน โดยครูแจกใบงาน
ที่ 1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหมายเลขและช่วยกันหาคำ
ตอบ โดยให้เวลา 10 นาที
8.ครูให้นักเรียนที่เป็ นตัวแทนกลุ่มออกมาแสดงวิธีการหาคำ
ตอบตามใบงานแต่ละข้อ โดยครูใช้วิธีการสุ่มจับสลาก
เลือกกลุ่ม ครูและนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ ช่วยกันตรวจสอบคำ
ตอบ จนครบทุกข้อ

ขั้นสรุปบทเรียน

9.ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปหลักการบวก เลขทศนิยม โดย


ครูให้นักเรียนที่เป็ นอาสาสมัคร
เป็ นตัวแทนสรุป เพื่อให้เน้นย้ำถึงหลักการสำคัญและนักเรียนสามารถนำ
ไปใช้ในการบวกเลขทศนิยมต่อไปได้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. หนังสือเรียน

You might also like