You are on page 1of 24

น.ส.

สริตา สุทธิศกั ดิศรี


์ 58102010914 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
รายวิ ชา คณิ ตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ จานวนเต็ม
หัวข้อเรื่อง สมบัติการบวกและการคูณจานวนเต็ม
ปี การศึกษา 2561 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 50 นาที

1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1.1 ด้านความรู้ทางคณิ ตศาสตร์: เพื่อให้นักเรียน
1.1.1 นาสมบัตเิ กีย่ วกับการบวกและการคูณจานวนเต็มไปใช้หาคาตอบโจทย์ทก่ี าหนดได้
1.1.2 บอกสมบัตกิ ารบวกและการคูณจานวนเต็มได้
1.2 ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์: เพื่อให้นักเรียน
1.2.1 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย ในเรือ่ งสมบัตเิ กีย่ วกับการบวกและการคูณได้
1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์: เพื่อให้นักเรียน
1.3.1 มีส่วนร่วมในชัน้ เรียน
1.3.2 มีความรับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

2. สาระการเรียนรู้
ในทางคณิตศาสตร์ มีสมบัตขิ องการบวกและการคูณจานวนเต็มดังนี้
2.1 สมบัติการสลับที่
2.1.1 สมบัตกิ ารสลับทีส่ าหรับการบวก
เมือ่ นาจานวนเต็มสองจานวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวบวกได้ โดยที่
ผลบวกยังคงเท่ากัน
เมือ่ a และ b เป็ นจานวนเต็มใด ๆ
a+b = b+a
สมบัตนิ ้เี รียกว่า สมบัติสลับที่สาหรับการบวก (commutative property for addition)
ตัวอย่างที่ 1 : จงพิจารณาผลบวกต่อไปนี้
1) 10 + 9 = 19 และ 9 + 10 = 19
2) 7 + (−5) = 2 และ (−5) + 7 = 2
3) (−14) + 5 = −9 และ 5 + (−14) = −9
4) (−2) + (−6) = −8 และ (−6) + (−2) = −8
-- 2 --

2.1.2 สมบัตกิ ารสลับทีส่ าหรับการคูณ


เมือ่ นาจานวนเต็มสองจานวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวคูณได้ โดยที่
ผลคูณยังคงเท่ากัน
เมือ่ a และ b เป็ นจานวนเต็มใด ๆ
a b = ba
สมบัตนิ ้เี รียกว่า สมบัติสลับที่สาหรับการคูณ (commutative property for multiplication)
ตัวอย่างที่ 2 : จงพิจารณาผลคูณต่อไปนี้
1) 5  8 = 40 และ 8  5 = 40
2) 3  (−4) = −12 และ (−4)  3 = −12
3) (−11)  2 = −22 และ 2  (−11) = −22
4) (−6)  (−5) = 30 และ (−5)  (−6) = 30
2.2 สมบัติการเปลี่ยนหมู่
2.2.1 สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการบวก
เมือ่ นาจานวนเต็มสามจานวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถบวกจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้
โดยทีผ่ ลบวกสุดท้ายยังคงเท่ากัน
เมือ่ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มใด ๆ
(a + b) + c = a + (b+ c)
สมบัตนิ ้เี รียกว่า สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก (associative property for addition)
ตัวอย่างที่ 3 : จงพิจารณาผลบวกต่อไปนี้
1) (1 + 2) + 3 = 6 และ 1 + (2 + 3) = 6
2) [2 + (−9)] + 1 = −6 และ 2 + [(−9) + 1] = −6
3) (−5 + 6) + (−4) = −3 และ −5 + [6 + (−4)] = −3
4) [(−3) + (−4)] + (−8) = −15 และ −3 + [(−4) + (−8)] = −15
2.2.2 สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการคูณ
เมือ่ นาจานวนเต็มสามจานวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถคูณจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้
โดยทีผ่ ลคูณสุดท้ายยังคงเท่ากัน
เมือ่ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มใด ๆ
(a b)  c = a (b c)
สมบัตนิ ้เี รียกว่า สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ (associative property for multiplication)
ตัวอย่างที่ 4 : จงพิจารณาผลคูณต่อไปนี้
1) (3  4)  5 = 60 และ 3  (4  5) = 60
2) [8  (−5)] 1 = −40 และ 8  [(−5) 1] = −40
3) −2  [3  (−4)] = −24 และ (−2  3)  (−4) = 24
-- 3 --

4) −5  [(−6)  (−7)] = −210 และ [(−5)  (−6)]  (−7) = −210

2.3 สมบัติการแจกแจง
สมบัตกิ ารแจกแจงเป็ นสมบัตทิ แ่ี สดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณ
เมือ่ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มใด ๆ
a (b+ c) = (a b) + (a c)
สมบัตนิ ้เี รียกว่า สมบัติการแจกแจง (distributive property)
ตัวอย่างที่ 5 : จงพิจารณาคาตอบต่อไปนี้
1) 10  (7 + 1) = 80 และ (10  7) + (10 1) = 80
2) 2  [(−3) + 4] = 2 และ [2  (−3)] + (2  4) = 2
3) (−6)  [4 + (−5)] = 6 และ (−6  4) + [−6  (−5)] = 6
4) (−3)  [(−2) + (−3)] = 15 และ [(−3)  (−2)] + [(−3)  (−3)] = 15
2.4 สมบัติของหนึ่ งและศูนย์
2.4.1 สมบัตขิ องหนึ่ง
ถ้า a เป็ นจานวนเต็มใด ๆ แล้ว
a  1 = a = 1 a
ตัวอย่างที่ 6 : จงพิจารณาคาตอบต่อไปนี้
1) 30 1 = 30 และ 1 30 = 30
2) 0 1 = 0 และ 1 0 = 0
3) (−28) 1 = −28 และ 1 (−28) = −28
2.4.2 สมบัตขิ องศูนย์
ถ้า a เป็ นจานวนเต็มใด ๆ แล้ว
a +0 = a = 0+a
a  0 = 0 = 0 a
ตัวอย่างที่ 7 : จงพิจารณาคาตอบต่อไปนี้
1) 20 + 0 = 20 และ 0 + 20 = 20
2) (−15) + 0 = (−15) และ 0 + (−15) = (−15)
3) 0 + 0 = 0
ตัวอย่างที่ 8 : จงพิจารณาคาตอบต่อไปนี้
1) 18  0 = 0 และ 0 18 = 0
2) (−55)  0 = 0 และ 0  (−55) = 0
3) 0  0 = 0
-- 4 --

3. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
3.1 ใบกิจกรรม “ถามเร็วตอบเร็ว”
3.2 เอกสารแนะแนวทาง เรือ่ ง “สมบัตกิ ารบวกและการคูณจานวนเต็ม”
3.3 ชุดกิจกรรม “สมบัตไิ หนของใครกัน” ประกอบด้วย
1) กล่องสมบัติ จานวน 4 ใบ
2) แผ่นป้ ายโจทย์ 12 แผ่น จานวน 4 ชุด
3.4 ใบงาน เรือ่ ง “สมบัตกิ ารบวกและการคูณจานวนเต็ม”

4. กิ จกรรมการเรียนรู้
4.1 ขัน้ นา
ขัน้ นี้ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
4.1.1 ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 4 กลุ่ม และแจกใบกิจกรรม “ถามเร็วตอบเร็ว” พร้อมชีแ้ จงใบกิจกรรม
4.1.2 ครูโชว์แผ่นป้ ายโจทย์ยอ่ ย[ข้อ1) – 14)] ในข้อที่ 1 ทีละข้อ โดยไม่เรียงดาดับ จากนัน้ ให้นกั เรียนแต่ละ
กลุ่มแข่งกันตอบและบันทึกลงในใบกิจกรรม
4.1.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยอาจใช้คาถามกระตุ้นนักเรียน ดังนี้
1) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรหลังจากทาโจทย์บนกระดาน
[ นักเรียนควรตอบว่า มีขอ้ ทีไ่ ด้คาตอบเหมือนกันเป็ นคู่ ๆ ]
2) นักเรียนคิดว่าคาตอบทีไ่ ด้ทค่ี วามสัมพันธ์กนั อย่างไร
[ นักเรียนควรตอบว่า มีจานวนเต็มในโจทย์ทเ่ี หมือนกัน แต่มกี ารสลับที,่ เปลีย่ นตาแหน่ง
หรืออื่น ๆ แล้วแต่นกั เรียนสังเกต]
4.1.3 ครูให้นกั เรียนทาใบกิจกรรมข้อที่ 2.1

4.2 ขัน้ สอน


ขัน้ นี้ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
4.2.1 ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มพิจารณาสมบัตทิ เ่ี กีย่ วกับการบวกและการคูณ ได้แก่ สมบัตสิ ลับที่ สมบัตกิ าร
เปลีย่ นหมู่ สมบัตกิ ารแจกแจง สมบัตขิ องศูนย์ และสมบัตขิ องหนึ่ง ว่าจะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
จนได้ขอ้ สรุป ดังนี้
1) เมือ่ นาจานวนเต็มสองจานวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวบวกได้
โดยทีผ่ ลบวกยังคงเท่ากัน เรียกว่า สมบัตกิ ารสลับทีส่ าหรับการบวก
2) เมือ่ นาจานวนเต็มสองจานวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวคูณได้
โดยทีผ่ ลคูณยังคงเท่ากัน เรียกว่า สมบัตกิ ารสลับทีส่ าหรับการคูณ
3) เมือ่ นาจานวนเต็มสามจานวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถบวกจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลัง
ก่อนก็ได้โดยทีผ่ ลบวกสุดท้ายยังคงเท่ากัน เรียกว่า สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการบวก
-- 5 --

4) เมือ่ นาจานวนเต็มสามจานวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถคูณจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อน


ก็ได้โดยทีผ่ ลคูณสุดท้ายยังคงเท่ากัน เรียกว่า สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการคูณ
5) สมบัตกิ ารแจกแจงเป็ นสมบัตทิ แ่ี สดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณ โดยทีก่ ระจาย
ตัวคูณเข้าไปในวงเล็บ
6) สมบัตขิ องหนึ่ง คือ จานวนเต็มใด ๆ คูณด้วยหนึ่งจะได้คาตอบเป็ นจานวนเดิมเสมอ
7) สมบัตขิ องศูนย์ คือ จานวนเต็มใด ๆ บวกด้วยศูนย์จะได้คาตอบเป็ นจานวนเดิม และจานวน
เต็มใด ๆ คูณด้วยศูนย์จะได้คาตอบเป็ นศูนย์เสมอ
4.2.2 ครูให้นกั เรียนทาใบกิจกรรม ข้อที่ 2.2
4.2.3 ครูและนักเรียร่วมกันอภิปราย โดยให้แต่ละกลุ่มนาเสนอคาตอบของกลุ่มตนเอง ครูและนักเรียนกลุ่ม
อื่น ๆ คอยตรวจสอบ
4.2.4 ครูแจกเอกสารแนะแนวทาง “สมบัตกิ ารบวกและการคูณจานวนเต็ม” และชีแ้ จงเอกสารแนะแนวทาง
4.2.5 ครูให้นกั เรียนทาเอกสารแนะแนวทาง จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและอภิปรายจนได้ขอ้ สรุปคือ
1) สมบัตสิ ลับทีส่ าหรับการบวก คือ
เมือ่ a และ b เป็ นจานวนเต็มใด ๆ และ a + b = b + a
2) สมบัตสิ ลับทีส่ าหรับการคูณ คือ
เมือ่ a และ b เป็ นจานวนเต็มใด ๆ และ a  b = b  a
3) สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการบวก คือ
เมือ่ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มใด ๆ และ (a + b) + c = a + (b+ c)
4) สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการคูณ คือ
เมือ่ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มใด ๆ และ (a b)  c = a (b c)
5) สมบัตกิ ารแจกแจง คือ
เมือ่ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มใด ๆ และ a (b+ c) = (a b) + (a c)
6) สมบัตขิ องหนึ่ง คือ
ถ้า a เป็ นจานวนเต็มใด ๆ แล้ว a 1 = a = 1 a
7) สมบัตขิ องศูนย์ คือ
ถ้า a เป็ นจานวนเต็มใด ๆ แล้ว a + 0 = a = 0 + a หรือ a  0 = 0 = 0  a
4.2.6 ครูชแ้ี จงชุดกิจกรรม “สมบัตไิ หนของใครกัน” ดังนี้
1) ครูนากล่อง 4 กล่องทีต่ ดิ ป้ ายว่า “สมบัตสิ ลับที”่ “สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมู”่ “สมบัตกิ ารแจกแจง”
และ “สมบัตขิ องหนึ่งและศูนย์” วางไว้หน้าห้อง
2) ครูแจกแผ่นป้ าย 12 แผ่นให้นกั เรียนแต่ละกลุ่ม ซึง่ แต่ละกลุ่มจะได้รบั แผ่นป้ ายทีส่ ตี ่างกัน
3) ครูอธิบายกติกาการทากิจกรรม ดังนี้
3.1) นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเป็ นแถวตอนลึกและส่งตัวแทนออกมาประจาตาแหน่งหน้าสุด
3.2) นักเรียนคนหน้าสุดหยิบแผ่นป้ าย 1 แผ่น
เมือ่ ได้รบั สัญญาณจากครู ให้นกั เรียนนาไปใส่ในกล่องทีต่ รงกับสมบัตใิ นแผ่นป้ าย
-- 6 --

3.3) เมือ่ นักเรียนคนแรกวิง่ กลับมาทีก่ ลุ่มแล้ว ให้นกั เรียนคนต่อไปออกมาทากิจกรรม


3.4) นักเรียนผลัดกันทากิจกรรมจนแผ่นป้ ายหมด
3.5) หลังจากทุกกลุ่มทากิจกรรมเสร็จแล้ว ครูนากล่องให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนับ
คะแนน ตรวจสอบ
3.6) กลุ่มทีท่ าเวลาได้เร็วทีส่ ุดและได้คะแนนมากทีส่ ุดจะเป็ นกลุ่มทีช่ นะ
4.2.7 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยการให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มผลัดกัยเฉลยคาตอบพร้อมบอก
เหตุผล ทีละแผ่นป้ าย

4.3 ขัน้ สรุป


ขัน้ นี้ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
4.3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน โดยใช้คาถาม ดังนี้
1) สมบัตสิ ลับทีป่ ระกอบด้วยอะไรและเป็ นอย่างไร
[ นักเรียนควรตอบว่า ประกอบด้วย สมบัตสิ ลับทีส่ าหรับการบวกและสมบัตสิ ลับทีส่ าหรับการคูณ
และอธิบายว่า สมบัตสิ ลับทีส่ าหรับการบวก คือ เมือ่ นาจานวนเต็มสองจานวนใด ๆ มาบวกกัน
เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวบวกได้โดยทีผ่ ลบวกยังคงเท่ากัน และสมบัตกิ ารสลับที่
สาหรับการคูณ คือ เมือ่ นาจานวนเต็มสองจานวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัว
ตัง้ และตัวคูณได้โดยทีผ่ ลคูณยังคงเท่ากัน ]
2) สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูป่ ระกอบด้วยอะไรและเป็ นอย่างไร
[ นักเรียนควรตอบว่า ประกอบด้วย สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการบวกและสมบัตกิ ารเปลีย่ นหมู่
สาหรับการคูณ และอธิบายว่า สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการบวก คือ เมือ่ นาจานวนเต็มสาม
จานวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถบวกจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้โดยทีผ่ ลบวก
สุดท้ายยังคงเท่ากัน และสมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ าหรับการคูณ คือ เมือ่ นาจานวนเต็มสามจานวน
ใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถคูณจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้โดยทีผ่ ลคูณสุดท้ายยังคง
เท่ากัน ]
3) สมบัตกิ ารแจกแจงเป็ นย่างไร
[ นักเรียนควรตอบว่า สมบัตกิ ารแจกแจงเป็ นสมบัตทิ แ่ี สดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและ
การคูณ โดยทีก่ ระจายตัวคูณเข้าไปในวงเล็บ ]
4) สมบัตขิ องหนึ่งเป็ นอย่างไร
[ นักเรียนควรตอบว่า สมบัตขิ องหนึ่งคือ จานวนเต็มใด ๆ คูณด้วยหนึ่งจะได้คาตอบเป็ นจานวน
เดิมเสมอ ]
5) สมบัตขิ องศูนย์เป็ นอย่างไร
[ นักเรียนควรตอบว่า สมบัตขิ องศูนย์คอื จานวนเต็มใด ๆ บวกด้วยศูนย์จะได้คาตอบเป็ นจานวน
เดิม และจานวนเต็มใด ๆ คูณด้วยศูนย์จะได้คาตอบเป็ นศูนย์เสมอ ]
4.3.2 ครูแจกใบงาน เรือ่ ง “สมบัตกิ ารบวกและการคูณจานวนเต็ม” พร้อมชีแ้ จงและนัดหมายส่งในคาบต่อไป
-- 7 --

5. การวัดผลและประเมิ นผลการเรียนรู้
เพื่อให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรูใ้ นคาบนี้ มีดงั นี้
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดผล การประเมิ นผล
ที่ต้องการวัดผลและประเมิ นผล
ด้านความรู้ทางคณิ ตศาสตร์ :
1. นาสมบัตเิ กีย่ วกับการบวกและการ วิ ธีวดั ผล : พิจารณาจากคาตอบในใบ เกณฑ์การให้คะแนน :
คูณจานวนเต็มไปใช้หาคาตอบโจทย์ท่ี งาน เรือ่ ง “สมบัตกิ ารบวกและการคูณ ถ้านักเรียนตอบได้ถูกต้อง
กาหนดได้ จานวนเต็ม” จะได้ 1 คะแนน
เครื่องมือวัดผล : ใบงาน เรือ่ ง ถ้านักเรียนตอบผิดหรือไม่ตอบ
“สมบัตกิ ารบวกและการคูณจานวนเต็ม”
จะได้ 0 คะแนน
เกณฑ์การประเมิ นผล :
ถ้านักเรียนได้คะแนนมากกว่า 5
คะแนน ถือว่าผ่าน

2. บอกสมบัตกิ ารบวกและการคูณ วิ ธีวดั ผล : พิจารณาจากคาตอบใบ เกณฑ์การให้คะแนน :


จานวนเต็มได้ กิจกรรม “ถามเร็วตอบเร็ว” ถ้านักเรียนตอบได้ถูกต้อง
เครื่องมือวัดผล : จะได้ 1 คะแนน
ใบกิจกรรม “ถามเร็วตอบเร็ว” ถ้านักเรียนตอบผิดหรือไม่ตอบ
จะได้ 0 คะแนน
เกณฑ์การประเมิ นผล :
ถ้านักเรียนได้คะแนนมากกว่า 4
คะแนน ถือว่าผ่าน
ด้านทักษะและกระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ : วิ ธีวดั ผล : พิจารณาจากการนาเสนอ เกณฑ์การให้คะแนน :
1. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ในการ ของนักเรียนในกิจกรรม “สมบัตไิ หน ถ้านักเรียนอธิบายสมบัตทิ ใ่ี ช้ในโจทย์
สื่อสาร สื่อความหมาย ในเรื่องสมบัติ ของใครกัน” แต่ละข้อถูกต้องชัดเจนจะได้ 2 คะแนน
เกีย่ วกับการบวกและการคูณได้ เครือ่ งมือวัดผล : กิจกรรม “สมบัติ ถ้านักเรียนอธิบายสมบัตทิ ใ่ี ช้ในโจทย์
ไหนของใครกัน” แต่ละข้อได้บางส่วน จะได้ 1 คะแนน
ถ้านักเรียนไม่สามารถอธิบายสมบัติ
ทีใ่ ช้ในโจทย์แต่ละข้อ จะได้ 0 คะแนน
เกณฑ์การประเมิ นผล :
ถ้านักเรียนได้ 3 คะแนนขึน้ ไป
ถือว่าผ่าน
-- 8 --

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ :
1. มีส่วนร่วมในชัน้ เรียน วิ ธีวดั ผล : พิจารณาพฤติกรรมของ เกณฑ์การให้คะแนน :
2. มีความรับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รบั นักเรียนในชัน้ เรียนขณะตอบคาถาม ได้ 2 คะแนน ถ้าแสดงพฤติกรรมให้
มอบหมาย หรือทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยครู เห็นอย่างเด่นชัด
เป็ นผูส้ งั เกตแล้วบันทึกในแบบสังเกต ได้ 1 คะแนน ถ้าแสดงพฤติกรรมให้
พฤติกรรม เห็นเพียงเล็กน้อย
เครื่องมือวัดผล : แบบสังเกต ได้ 0 คะแนน ถ้าไม่แสดงพฤติกรรม
พฤติกรรม
เกณฑ์การประเมิ นผล :
ถ้านักเรียนได้คะแนนมากกว่า
3 คะแนน ถือว่า ผ่าน
-- 9 --

แบบสังเกตพฤติ กรรมการทางานของนักเรียน

วันที่ : .................................................................................. เวลา .......................................................................


ชื่อกิจกรรม: ....................................................................................................................................................................
การให้คะแนน: ถ้าแสดงพฤติกรรมให้เห็นอย่างเด่นชัด จะได้คะแนน 2 คะแนน
ถ้าแสดงพฤติกรรมให้เห็นเพียงเล็กน้อย จะได้คะแนน 1 คะแนน
ถ้าไม่แสดงพฤติกรรมเลย จะได้คะแนน 0 คะแนน
เลข พฤติกรรมทีต่ อ้ งการ มี “ความ มี “ส่วนร่วม” ใน มี “ความ มี “ส่วนร่วมใน ส่งงาน
ที่ วัดผลและประเมินผล รับผิดชอบ” ใน การทางานกลุ่ม รับผิดชอบ” ใน การอภิปราย” ตรง
การทางานที่ การทางานกลุ่ม ของชัน้ เรียน เวลา
ชื่อ – สกุล ได้รบั มอบหมาย
(รายบุคคล)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

หมายเหตุ อาจสังเกตนักเรียนมากกว่า 10 คนได้


-- 10 --

6. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
6.1 ด้านนักเรียน
(ระบุ ความรู/้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์/ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนทีพ่ บ)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
1.2 ด้านผูส้ อน
(ระบุปัญหาหรือผลการจัดการเรียนรู/้ ข้อเสนอแนะสาหรับการจัดการเรียนรูค้ รัง้ ต่อไป)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
1.3 ด้านอื่น ๆ (ถ้ามี)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
1

ใบกิจกรรม “ถามเร็วตอบเร็ว”

1 จงหาคาตอบของโจทย์ต่อไปนี้
1) (-8) + 3 = ______ 8) 3 + (-8) = ______

2) (-4)  [(-5) 8)] = ______ 9) (-6)+[9+(-2)] = ______

3) (-2)  [7+(-12)] = ______ 10) 5 + 0 = ______

4) [(-3)+6]  5 = ______ 11) 34  1 = ______

5) [(-6)+9]+(-2) = ______ 12) [(-2)  7] + [(-2)  (-12)] = ______

6) [(-4)  (-5)]  8 = ______ 13) (-7)  0 = ______

7) 19  1 = ______ 14) [(-3)  5]+[6  5] = ______

2 จงตอบคาถามต่อไปนี้
2.1 จงจับคูโ่ จทย์ในข้อที่ 1 ที่มีความสัมพันธ์กัน
2.2 จงเติมคาลงในกรอบสี่เหลี่ยม โดยเลือกจากสมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณที่กาหนดให้
ต่อไปนี้

สมบัติสลับที่การบวก สมบัติสลับที่การคูณ สมบัติแจกแจง

สมบัติเปลี่ยนหมู่การบวก สมบัตเิ ปลี่ยนหมู่การคูณ

สมบัติของหนึ่ง สมบัติของศูนย์
2

คู่ที่ 1
สมบัติ
_________________________________
_________________________________

คูท
่ ี่ 2
สมบัติ
_________________________________
_________________________________

คูท
่ ี่ 3
สมบัติ
_________________________________
_________________________________

คูท
่ ี่ 4
สมบัติ
_________________________________
_________________________________

คูท
่ ี่ 5
สมบัติ
_________________________________
_________________________________

คูท
่ ี่ 6 สมบัติ
_________________________________
_________________________________

คูท
่ ี่ 7
สมบัติ
_________________________________
_________________________________
1

เอกสารแนะแนวทาง

เรื่อง สมบัติการบวกและการคูณของจานวนเต็ม
คาชี้แจง : จงพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ และเติมคาในช่องว่าง
ในทางคณิตศาสตร์ มีสมบัติของการบวกและการคูณจานวนเต็มดังนี้

1. สมบัตก
ิ ารสลับที่
1.1 สมบัตก
ิ ารสลับที่สาหรับการบวก
ตัวอย่างที่ 1
1) 10+9 = 19 9+10 = 19

2) 7+(-5) = _____ (-5)+7 = _____

3) (-14)+5 = _____ 5+(-14) = _____

4) (-2)+(-6) = _____ (-6)+(-2) = _____

เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มใด ๆ


a+b = ______

1.2 สมบัตก
ิ ารสลับที่สาหรับการคูณ
ตัวอย่างที่ 2
1) 5  8 = 40 85 = 40

2) 3  (-4) = _____ (-4)  3 = _____

3) (-11)  2 = _____ 2  (-11) = _____

4) (-6)  (-5) = _____ (-5)  (-6) = _____

เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มใด ๆ


a  b = ______
2

2. สมบัตก
ิ ารเปลีย
่ นหมู่
2.1 สมบัตก
ิ ารเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก
ตัวอย่างที่ 3
1) (1+2)+3 = 6 1+(2+3) = 6

2) [2+(-9)]+1 = _____ 2+[(-9)]+1] = _____

3) (-5+6)+(-4) = _____ -5+(6+(-4)) = _____

4) [(-3)+(-4)]+(-8) = _____ -3+[(-4)]+(-8)] = _____

เมื่อ a,b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ


(a+b)+c = ______

2.2 สมบัตก
ิ ารเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ
ตัวอย่างที่ 4
1) (3  4)  5 = 60 3  (4  5) = 60

2) [8  (-5)]  1 = _____ 8 [(-5) 1] = _____

3) -2 [3  (-4)] = _____ (-2  3)  (-4) = _____

4) -5 [(-6)  (-7)] = _____ [(-5) (-6)]  (-7) = _____

เมื่อ a,b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ


(a  b) c = ______
3

3. สมบัตก
ิ ารแจกแจง
ตัวอย่างที่ 5
1) 10  (7+1) = 80 (10  7)+(10  1) = 80

2) 2 [(-3)+4] = _____ [2  (-3)]+(2  4) = _____

3) (-6) [4+(-5)] = _____ (-6  4)+[-6  (-5)] = _____

4) (-3)[(-2)  (-3)] = _____ [(-3)  (-2)]+[(-3)  (-3)] = _____

เมื่อ a,b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ


a (b+c) = (____) + (____)

4. สมบัติของหนึง่ และศูนย์
4.1 สมบัติของหนึ่ง
ตัวอย่างที่ 6
1) 30  1 = 30 1  30 = 30

2) 0  1 = _____ 10 = _____

3) (-28)  1 = _____ (-28)  1 = _____

เมื่อ a เป็นจานวนเต็มใด ๆ
a  1 = ____ = 1  a
4

4.2 สมบัติของศูนย์
ตัวอย่างที่ 7
1) 20+0 = 20 0+20 = 20

2) (-15)+0 = _____ 0+(-15) = _____

3) 0+0 = _____ (-28) 1 = _____

ตัวอย่างที่ 8
1) 18  0 = 30 0  18 = 0

2) (-55)  0 = _____ 0  (-55) = _____

3) 0  0 = _____ (-28)  1 = _____

เมื่อ a เป็นจานวนเต็มใด ๆ
a+0 = ____ = 0+a
a  0 = ____ = 0  a
ใบงาน
“สมบัติการบวกและการคูณจานวนเต็ม”
ชือ่ ……………………………………………………………………………………… ชัน
้ ม. 1 / …………………. เลขที่ ………………
คาชีแ้ จง : ให้นก
ั เรียนเติมตัวเลขลงในช่องว่าง พร้อมระบุสมบัติการบวกและการคูณจานวนเต็มที่
สอดคล้องกับโจทย์

1. 33 + (-66) = (-66) + สมบัติที่ใช้ : ___________________

2.  (-26) = (-26)  20 สมบัติที่ใช้ : ___________________

3. (-5 + ) + 32 = -5 + (-17 + 32) สมบัติที่ใช้ : ___________________

4. (-11  12)  (-7) =  [12  (-7)] สมบัติที่ใช้ : ___________________

5. (-72)  = 0 สมบัติที่ใช้ : ___________________

6.  [65+(-64)] = -104 สมบัติที่ใช้ : ___________________

7. [14 + (-10)] + = 14 + [-7+(-10)] สมบัติที่ใช้ : ___________________

8. [(-13) + (-20)]  (-20) = [(-20)  (-13)] + [(-20)  ] สมบัติที่ใช้ : ___________

9. -15  [(-4)+6] = 60 + สมบัติที่ใช้ : ___________________

10. [5 + (-8)]  (-3) = [5  ] + [(-8)  ] สมบัติที่ใช้ : ________________


1

เฉลย ใบกิจกรรม “ถามเร็วตอบเร็ว”

1 จงหาคาตอบของโจทย์ต่อไปนี้
1) (-8) + 3 = -5 8) 3 + (-8) = -5

2) (-4)  [(-5) 8)] = 160 9) (-6)+[9+(-2)] = 1

3) (-2)  [7+(-12)] = 10 10) 5 + 0 = 5

4) (-3)  6 = -18 11) 34  1 = 34

5) [(-6)+9]+(-2) = 1 12) [(-2)  7] + [(-2)  (-12)] = 10

6) [(-4)  (-5)]  8 = 160 13) (-7)  0 = 0

7) 19  1 = 19 14) 6  (-3) = -18

2 จงตอบคาถามต่อไปนี้
จงจับคูโ่ จทย์ในข้อที่ 1 ที่มีความสัมพันธ์กัน
2.2 จงเติมคาลงในกรอบสี่เหลี่ยม โดยเลือกจากสมบัตเิ กี่ยวกับการบวกและการคูณที่กาหนดให้
ต่อไปนี้

สมบัติสลับที่การบวก สมบัติสลับที่การคูณ สมบัติแจกแจง

สมบัติเปลี่ยนหมู่การบวก สมบัติเปลี่ยนหมู่การคูณ

สมบัติของหนึ่ง สมบัติของศูนย์
2

คูท
่ ี่ 1
(-8) + 3 = -5
สมบัติ
3 + (-8) = -5 สมบัติสลับที่การบวก

คูท
่ ี่ 2
สมบัติ
(-3)  6 = -18
สมบัติสลับที่การคูณ
6  (-3) = -18

คูท
่ ี่ 3
สมบัติ
(-2)  [ 7+(-12)] = 10
สมบัติแจกแจง
[(-2)  7] + [(-2)  (-12)] = 10

คูท
่ ี่ 4
สมบัติ
[(-6)+9]+(-2) = 1
สมบัติเปลี่ยนหมู่การบวก
(-6)+[9+(-2)] = 1

คูท
่ ี่ 5
สมบัติ
(-4)  [(-5) 8)] = 160
สมบัติเปลี่ยนหมู่การคูณ
[(-4)  (-5)]  8 = 160

คูท
่ ี่ 6 สมบัติ
19  1 = 19
สมบัติของหนึ่ง
34  1 = 34

คูท
่ ี่ 7
สมบัติ
5+0 = 5
สมบัติของศูนย์
(-7)  0 = 0
1

เฉลย เอกสารแนะแนวทาง

เรื่อง สมบัติการบวกและการคูณของจานวนเต็ม
คาชี้แจง : จงพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ และเติมคาในช่องว่าง
ในทางคณิตศาสตร์ มีสมบัติของการบวกและการคูณจานวนเต็มดังนี้

1. สมบัตก
ิ ารสลับที่
1.1 สมบัตก
ิ ารสลับที่สาหรับการบวก
ตัวอย่างที่ 1
1) 10+9 = 19 9+10 = 19

2) 7+(-5) = 2 (-5)+7 = 2

3) (-14)+5 = -9 5+(-14) = -9

4) (-2)+(-6) = -8 (-6)+(-2) = -8

เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มใด ๆ


a+b = b+a

1.2 สมบัตก
ิ ารสลับที่สาหรับการคูณ
ตัวอย่างที่ 2
1) 5  8 = 40 85 = 40

2) 3  (-4) = -12 (-4)  3 = -12

3) (-11)  2 = - 22 2  (-11) = - 22

4) (-6)  (-5) = 30 (-5)  (-6) = 30

เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มใด ๆ


a b = b a
2

2. สมบัตก
ิ ารเปลีย
่ นหมู่
2.1 สมบัตก
ิ ารเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก
ตัวอย่างที่ 3
1) (1+2)+3 = 6 1+(2+3) = 6

2) [2+(-9)]+1 = -6 2+[(-9)]+1] = -6

3) (-5+6)+(-4) = -3 -5+(6+(-4)) = -3

4) [(-3)+(-4)]+(-8) = -15 -3+[(-4)]+(-8)] = -15

เมื่อ a,b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ


(a+b)+c = a+(b+c)

2.2 สมบัตก
ิ ารเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ
ตัวอย่างที่ 4
1) (3  4)  5 = 60 3  (4  5) = 60

2) [8  (-5)]  1 = - 40 8 [(-5) 1] = - 40

3) -2 [3  (-4)] = -24 (-2  3)  (-4) = -24

4) -5 [(-6)  (-7)] = -210 [(-5) (-6)]  (-7) = -210

เมื่อ a,b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ


(a  b) c = a (b  c)
3

3. สมบัตก
ิ ารแจกแจง
ตัวอย่างที่ 5
1) 10  (7+1) = 80 (10  7)+(10  1) = 80

2) 2 [(-3)+4] = 2 [2  (-3)]+(2  4) = 2

3) (-6) [4+(-5)] = 6 (-6  4)+[-6  (-5)] = 6

4) (-3)[(-2)  (-3)] = -18 [(-3)  (-2)]+[(-3)  (-3)] = -18

เมื่อ a,b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ


a (b+c) = (a  b) + (a  c)

4. สมบัติของหนึง่ และศูนย์
4.1 สมบัติของหนึ่ง
ตัวอย่างที่ 6
1) 30  1 = 30 1  30 = 30

2) 0  1 = 0 10 = 0

3) (-28)  1 = -28 (-28)  1 = -28

เมื่อ a เป็นจานวนเต็มใด ๆ
a1 = a = 1a
4

4.2 สมบัติของศูนย์
ตัวอย่างที่ 7
1) 20+0 = 20 0+20 = 20

2) (-15)+0 = -15 0+(-15) = -15

3) 0+0 = 0 (-28) 1 = _____

ตัวอย่างที่ 8
1) 18  0 = 30 0  18 = 0

2) (-55)  0 = 0 0  (-55) = 0

3) 0  0 = 0 (-28)  1 = _____

เมื่อ a เป็นจานวนเต็มใด ๆ
a+0 = a = 0+a
a0 = 0 = 0a
เฉลย ใบงาน
“สมบัติการบวกและการคูณจานวนเต็ม”
ชือ่ ……………………………………………………………………………………… ชัน
้ ม. 1 / …………………. เลขที่ ………………
คาชีแ้ จง : ให้นก
ั เรียนเติมตัวเลขลงในช่องว่าง พร้อมระบุสมบัติการบวกและการคูณจานวนเต็มที่
สอดคล้องกับโจทย์

1. 33 + (-66) = (-66) + 33 สมบัติที่ใช้ : สมบัติสลับที่การบวก

2. 20  (-26) = (-26)  20 สมบัติที่ใช้ : สมบัติสลับที่การคูณ

3. (-5 + -17 ) + 32 = -5 + (-17 + 32) สมบัติที่ใช้ : สมบัติเปลี่ยนหมู่การบวก

4. (-11  12)  (-7) = -11  [12  (-7)] สมบัติที่ใช้ : สมบัติเปลี่ยนหมู่การคูณ

5. (-72)  0 = 0 สมบัติที่ใช้ : สมบัติของศูนย์

6. -104  [65+(-64)] = -104 สมบัติที่ใช้ : สมบัติของหนึ่ง

7. [14 + (-10)] + -7 = 14 + [-7+(-10)] สมบัติที่ใช้ : สมบัติสลับที่การบวกและเปลี่ยนหมู่การบวก

8. [(-13) + (-20)]  (-20) = [(-20)  (-13)] + [(-20)  (-20) ] สมบัติที่ใช้ : สมบัติการแจกแจง

9. -15  [(-4)+6] = 60 + -90 สมบัติที่ใช้ : สมบัติการแจกแจง

10. [5 + (-8)]  (-3) = [5 (-3) ] + [(-8)  (-3) ] สมบัติที่ใช้ : สมบัติการแจกแจง

You might also like