You are on page 1of 97

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง คู่อันดับ


วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 บอกความหมายของคู่อันดับและเข้าใจการเท่ากันของคู่อันดับ
1.2 เขียนผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต 2 เซตที่กาหนดให้ได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ของคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
ครูนาเข้าสูบ่ ทเรียนโดยการตั้งคาถามกระตุ้นให้นกั เรียนตอบเพื่อทบทวนความรู้เกี่ยวกับคู่อันดับ
และการเท่ากันของคู่อันดับ
ขั้นสอน
1. ครูสอนเกี่ยวกับความหมายของคู่อันดับว่า คู่อันดับ (Ordered pairs) หมายถึง การเป็นคู่และการมี
ลาดับ (,) เช่น (1, –1) (2, –2) (3, –3) (4, –4) (5, –5)
2. โดยครูจะแนะนาให้นกั เรียนรูจ้ ักคู่อันดับโดยจากบทนิยามว่า
บทนิยาม คู่อันดับ a , b เขียนแทนด้วย (a, b) และจะเรียก a ว่า สมาชิกตัวหน้า และจะเรียก b ว่า
สมาชิกตัวหลัง เช่น (4, 0) อ่านว่า คู่อันดับสี่ศูนย์ มี 4 เป็นสมาชิกตัวหน้า และ0 เป็นสมาชิกตัวหลัง
และจากตัวอย่างก่อนหน้า ซึ่งคู่อันดับแต่ละคู่จะประกอบด้วยสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลัง ดังนั้น คู่
อันดับทั้ง 5 คู่อันดับข้างต้น มี 1, 2, 3, 4, 5 เป็นสมาชิกตัวหน้า และ –1, –2, –3, –4, –5 เป็นสมาชิกตัว
หลัง จากนั้น ครูยกตัวอย่างคู่อันดับอีก 3-4 คู่อันดับ ให้นักเรียนอ่านและบอกสมาชิกตัวหน้าและสมาชิก
ตัวหลัง ตามตัวอย่างข้างต้น
3. ครูอธิบายถึงการเท่ากันของคู่อันดับ
บทนิยาม (a, b) = (c,d) ก็ต่อเมื่อ a  c และ b  d
(a, b)  (c,d) ก็ต่อเมือ่ a  c และ b  d
ครูอธิบายบทนิยามการเท่ากันของคู่อันดับและยกตัวอย่างและยกตัวอย่างเพิ่มเติม
1) {5, 6} เท่ากับ {6, 5} หรือไม่
(เท่ากัน เพราะเซตทัง้ สองมีสมาชิกตัวเดียวกัน)
2) (5, 6) เท่ากับ (6, 5) หรือไม่
(ไม่เท่ากัน เพราะคู่อันดับ (5, 6) มี 5 เป็นสมาชิกตัวหน้า และ 6 เป็นสมาชิกตัวหลัง แต่คู่อันดับ
(6, 5) มี 6 เป็นสมาชิกตัวหน้า และ 5 เป็นสมาชิกตัวหลัง คู่อันดับทั้งสองจึงเป็นคนละคู่อันดับกัน)
4. ครูยกตัวอย่างการเท่ากันของคู่อันดับ โดยการหาค่าตัวแปรต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหาค่าตัวแปรในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. (4,a)  (b, 2)
วิธีทา จากบทนิยามการเท่ากันของคู่อันดับ จะได้ว่า 4 = b และ a = 2
2. (5x, y 1)  (30, 3)
วิธีทา จากบทนิยามการเท่ากันของคู่อันดับ จะได้ว่า 5x = 30 ดังนั้น x = 6
และ y  1 = 3 ดังนั้น y = 2
5. ครูอธิบายถึงผลคูณคาร์ทีเซียน โดยนิยามต่อไปนี้
บทนิยาม ผลคูณคาร์ทเี ซียนของ A และ B คือเซตของคู่อันดับ (a,b) ทั้งหมด
โดยที่ a เป็นสมาชิกของ A เขียนแทนด้วย a  A
โดยที่ b เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย b  B
ผลคูณคาร์ทเี ชียนของ A และ B เขียนแทนด้วย A  B อ่านว่า “เอคูณบี” หรือ “A cross B”
ดังนั้น A  B = {(a, b) |a  A และ b  B}
โดยครูสรุปให้นักเรียนเข้าใจง่ายๆคือ ตัวหน้าเป็นสมาชิกของเซต A และ ตัวหลังเป็นสมาชิกของเซต B
6. ครูยกตัวอย่างผลคูณคาร์ทีเซียนเพิม่ เติม โดยครูเขียนเซต 2 เซต ต่อไปนี้บนกระดาน
A  x, y และ B  2, 4, 9 แล้วให้นักเรียนเขียนคู่อันดับโดยให้สมาชิกตัวหน้าเป็นสมาชิก
ของเซต A และสมาชิกตัวหลังเป็นสมาชิกของเซต B จะได้คู่อันดับทั้งหมดดังนี้
( x, 2),  x, 4  ,  x, 9  ,  y, 2  ,  y, 4  ,  y, 9 
เขียนเซตของคู่อันดับทัง้ 6 คู่อันดับข้างต้นได้เป็น
(x, 2),  x, 4  ,  x, 9  ,  y, 2  ,  y, 4  ,  y, 9
เรียกเซตนี้ว่า ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และ B เขียนแทนด้วย A  B
7. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมโดยให้นักเรียนทาเองเพื่อฝึกความเข้าใจ
8. ครูยกตัวอย่างผลคูณคาร์ทีเซียนในรูปแบบอื่นๆ เช่น
ตัวอย่าง ให้ A  {3,5} และ B   จงหา A  B , B  A , A  A และ B  B
วิธีทา A  B = A   = 
B A =   B = 
A  A = {(3,5)(3,3)(5,5)(5,3)}
B B =    = 
9. ครูอธิบายนักเรียนเกี่ยวกับการเขียนผลคูณคาร์ทเี ซียนโดยใช้แผนภาพ การเขียนแทนผลคูณคาร์ที
เชียน นอกจากจะเขียนแบบแจกแจงสมาชิกแล้วยังสามารถเขียนแทนได้ด้วยแผนภาพของเซต ให้ ให้
A  {2,3, 4} และ B  {a, b} โดย A  B เขียนแทนด้วยแผนภาพ ดังนี้

A
B AB = {(2,a),(2, b),(3,a),(3, b),(4,a),(4, b)}

2 a
3 b
4

10. โดยครูได้ให้ข้อสังเกตนักเรียนไว้ว่า ถ้า A และ B มีสมาชิก a และ b ตัว ตามลาดับ A  B มีสมาชิก


เท่ากับ ab ตัว และครูยกตัวอย่างให้นกั เรียนเพิม่ เติม
ตัวอย่างที่ 4 จงหา A  B เมื่อกาหนด A และ B ดังนี้
1) A  {3, 2, 1} และ B  {1, 2,3}
วิธีทา A  B = {(3,1),(3, 2),(3,3),(2,1),(2, 2),(2,3),(1,1),(1, 2),(1,3)}
โดย A  B จะมีจานวนคู่อันดับ 9 คู่อันดับ เพราะว่า n(A)  n(B) = 3  3 = 9
ขั้นสรุป
11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปตามประเด็นทีเ่ รียนมาในวันนี้ คือ การเท่ากันของคู่อันดับ การหาผลคูณ
คาร์ทีเซียน และการหาจานวนสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน และสามารถสรุปเป็นข้อสังเกตต่างๆได้ดังนี้
ข้อสังเกต 1. A×B ≠ B×A เมื่อ A ≠ B
2. จานวนสมาชิกของ A×B เท่ากับผลคูณของจานวนสมาชิกในเซต A และเซต B
กล่าวคือ n(A×B) = n(A)×n(B)
3. A×B =  ก็ต่อเมื่อ A =  หรือ B = 
4. ถ้า A×B = A×C และ A ≠  แล้ว B = C
5. ถ้า A เป็นเซตอนันต์ และ B ≠  แล้ว A×B เป็นเซตอนันต์
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
คู่อันดับ ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
-แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการ
ทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ความสัมพันธ์
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 บอกความหมายและเข้าใจความหมายของความสัมพันธ์
1.2 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆได้
1.3 สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ได้
1.4 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆและการหาโดเมนและเรนจ์
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
ครูนาเข้าสูบ่ ทเรียนโดยการตั้งคาถามกระตุ้นให้นกั เรียนเข้าใจว่าคาว่าความสัมพันธ์คืออะไร
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายว่านักเรียนได้เรียนรูม้ าแล้วว่า เราสามารถเขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
สมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังได้ เราจึงกล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์เป็นเซตซึง่ สมาชิกในเซตเป็นคู่อันดับ
นั่นคือ ความสัมพันธ์เป็นสับเซตของผลคูณคาร์ทีเซียนระหว่างเซตสองเซต
2. ครูอธิบายถึงหลักการของความสัมพันธ์ ให้ A  1, 2,3 และ B  1,0, 2
โดยนักเรียนต้องหาผลคูณคาร์ทีเซียนก่อน ดังนี้
A  B = {(1, 1),(1,0),(1, 2),(2, 1),(2,0),(2, 2),(3,1),(3,0),(3, 2)}
และ กาหนดให้ A และ B มีความสัมพันธ์แบบ “มากกว่า” จาก A ไป B จะได้  x, y  ที่สัมพันธ์กัน โดย
ที่ x  A และ y  B และ x  y จากนั้น นาคู่อันดับที่ได้มาเขียนในรูปเซต จะเรียกเซตนี้ว่า เซต
ของความสัมพันธ์แบบมากกว่า จาก A ไป B เขียนแทนด้วย r
ดังนั้น r = {(1, 1),(1,0),(2, 1),(2,0),(3, 1),(3,0),(3,2)}
3. ครูยกตัวอย่างของความสัมพันธ์เพิ่มเติมดังนี้
ตัวอย่าง กาหนดเซต A = {6, 3} และ B = {2, 12, 16}
จะได้ A×B = {(6, 2), (6, 12), (6, 16), (3, 2), (3, 12), (3, 16)}
1) ถ้าให้ r1 คือความสัมพันธ์ เป็นสามเท่า จาก A ไป B
นั่นคือ r1 คือเซตของคู่อันดับทีส่ มาชิกตัวหน้าเป็นสามเท่าของสมาชิกตัวหลัง
ดังนั้น r1 = {(6, 2)}
2) ถ้าให้ r2 คือความสัมพันธ์ หารลงตัว จาก A ไป B
นั่นคือ r2 คือเซตของคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าหารสมาชิกตัวหลังลงตัว
ดังนั้น r2 = {(6, 12), (3, 12)}
3) ถ้าให้ r3 คือความสัมพันธ์ น้อยกว่า จาก A ไป B
นั่นคือ r3 คือเซตของคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าน้อยกว่าสมาชิกตัวหลัง
ดังนั้น r3 = {(6, 12), (6, 16), (3, 12), (3, 16)}
4) ถ้าให้ r4 คือความสัมพันธ์ มากกว่า จาก A ไป B
นั่นคือ r4 คือเซตของคู่อันดับทีส่ มาชิกตัวหน้ามากกว่าสมาชิกตัวหลัง
ดังนั้น r4 = {(6, 2), (3, 2)}
5) ถ้าให้ r5 คือความสัมพันธ์ เป็นครึ่งหนึ่ง จาก A ไป B
นั่นคือ r5 คือเซตของคู่อันดับทีส่ มาชิกตัวหน้าเป็นครึง่ หนึง่ ของสมาชิกตัวหลัง
ดังนั้น r5 = {(6, 12)}
6) ถ้าให้ r6 คือความสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบ จาก A ไป B
นั่นคือ r6 คือเซตของคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าเป็นตัวประกอบของสมาชิกตัวหลัง
ดังนั้น r6 = {(6, 12), (3, 12)}
4. โดยการเขียนความสัมพันธ์นั้นเราสามารถเขียนได้หลายแบบ ดังนั้น ความสัมพันธ์ r ก็คือเซต สามารถ
เขียนได้ 3 แบบคือ แบบบรรยาย แบบแจกแจงสมาชิก แบบบอกเงื่อนไข จากนั้นครูยกตัวอย่างการ
เขียนความสัมพันธ์แบบแจกแจงสมาชิก
ตัวอย่าง จงเขียนความสัมพันธ์ต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
กาหนดให้ A  {4, 3, 2, 1,0,1, 2,3, 4} และ B  {0,1, 2,3, 4,5}
1. r 1 = {(x, y)  A B | y  x2 }
ตอบ {(2,4),(2,4),( 1,1),(1,1),(0,0)}
2. r 2 = {(x, y)  A A | x  y  3}
ตอบ {(1, 4),(0,3),(1, 2),(2,1),(3,0),(4, 1)}
5. จากนั้นครูยกตัวอย่างความสัมพันธ์โดยที่คู่อันดับ x และ y อยู่ในระบบจานวนจริง
ตัวอย่าง จงเขียนความสัมพันธ์ต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
x
1. r1 = {(x, y)  I  I | y  }
2
ตอบ {(2, 1),(4, 2),(6, 3),(8, 4),...}
2. r 2 = {(x, y)  I  I | x 2  y2  4}
ตอบ {(0,2),(2,0),(0, 2),( 2,0)}
6. ครูสรุปการเขียนความสัมพันธ์ไว้นั่นคือ
1. เซตที่ไม่สามารถเขียนแจกแจงสมาชิกได้หมด มักจะไม่เขียนในรูปแจกแจงสมาชิก
2. ในกรณีที่เซต A และ B เป็นเซตของจานวนจริง อาจเขียนความสัมพันธ์
r  {(x, y)  R  R | y  x 2 } และ r  {(x, y)  R  R | y  | x |} โดยละไว้ในฐานที่เข้าใจว่า
r เป็นจานวนจริง คือ r  {(x, y) | y  x 2} หรือ r  {(x, y) | y  | x |}
โดเมนและเรนจ์ (Domain and Range)
7. ครูอธิบายเกี่ยวกับการหาโดเมนและเรนจ์โดยบทนิยาม
โดเมนและเรนจ์ (Domain and Range)
บทนิยาม ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับ r เขียนแทนด้วย Dr
เรนจ์ของ r คือเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ r เขียนแทนด้วย Rr
8. ครูสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโดเมนและเรนจ์ซงึ่ จะเห็นว่า D r  A และ R r  B
และสามารถเขียน D r และ R r ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขได้คือ D r = {x | (x, y)  r} และ
R r = {y | (x, y)  r}
9. ครูให้นักเรียนพิจารณาเซตของสมาชิกตัวหน้าและเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ
ความสัมพันธ์ต่อไปนี้ r1  {(4, 7), (5, 10)} และ r2  {(4, 6), (5, 7)}
ครูสุ่มถามนักเรียนให้บอกสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของ r1 และ r2
จะได้ว่า สมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r1 ได้แก่ 4, 5
สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r1 ได้แก่ 7, 10
สมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r2 ได้แก่ 4, 5
สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r2 ได้แก่ 6, 7
10. ครูอธิบายตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหาโดเมนและเรนจ์ ทาร่วมกับนักเรียน
ตัวอย่าง กาหนด A  1, 2, 3, 4, 5 และ r  {(x, y)  A  A y  x 2 }
จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r
วิธีทา จาก y  x 2
เมื่อ x  1 จะได้ y  12 = 1
เมื่อ x  2 จะได้ y  22 = 4
เมื่อ x  3 จะได้ y  32 = 9
เมื่อ x  4 จะได้ y  42 = 16
เมื่อ x  5 จะได้ y  52 = 25
ดังนั้น r  {(1,1),(2, 4),(3,9),(4,16),(5, 25)}
จะได้ Dr = {1, 2,3, 4,5} และ R r = {1, 4,9,16, 25}
ตัวอย่าง กาหนดให้ A  3, 4, 5  และ B  4, 5, 6, 7, 8, 9
r1  {(a, b)  A  B b  2a}
r2  {(x, y)  A  A y  2x  1}
1) จงเขียน r1 และ r2 แบบแจกแจงสมาชิก
2) จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r1 และ r2
วิธีทา จาก b  2a
เมื่อ a = 3 จะได้ b = 2×3 = 6
เมื่อ a = 4 จะได้ b = 2×4 = 8
เมื่อ a = 5 จะได้ b = 2×5 = 10 แต่ 10 ไม่เป็นสมาชิกของ B
ดังนั้น r1 = {(3, 6), (4, 8)}
จะได้ D r1 = 3, 4
R r1 = 6, 8
จาก y  2x –1
เมื่อ x = 3 จะได้ y = 2(3) –1= 5
เมื่อ x = 4 จะได้ y = 2(4) –1= 7
เมื่อ x = 5 จะได้ y = 2(5) –1= 9
ดังนั้น r2 = {(3, 5), (4, 7), (5, 9)}
จะได้ D r2 = 3, 4, 5
R r2 = 5, 7, 9
ขั้นสรุป
11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปตามประเด็นดังนี้ ความหมายของโดเมนและเรนจ์ และ วิธีหาโดเมน
และเรนจ์ของความสัมพันธ์
12. ครูสั่งการบ้านนักเรียนใน worksheet 1 พร้อมกาหนดวันส่ง
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ความสัมพันธ์ ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
-แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง โดเมนและเรนจ์
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 4 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถเขียนโดเมนและเรนจ์ในรูปแบบต่างๆได้
1.2 สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ได้
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
การหาโดเมนและเรนจ์ในรูปแบบต่างๆ
ขั้นนา
ครูทบทวนการหาโดเมนและเรนจ์ที่ได้เรียนไปในคาบก่อนหน้านี้ ว่าเซตที่เป็นสมาชิกตัวหน้าของคู่
อันดับเรียกว่า โดเมนของความสัมพันธ์ และเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ เรียกว่า เรนจ์ของ
ความสัมพันธ์ โดยมีนิยาม ดังนี้ โดเมนของความสัมพันธ์ r คือเซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r
เขียนแทนด้วย Dr โดยที่ Dr  {x (x, y)  r}
เรนจ์ของความพันธ์ r คือเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อนั ดับใน r เขียนแทนด้วย
R r โดยที่ R r  {y (x, y)  r}
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายว่านักเรียนได้เรียนรูม้ าแล้วว่า เราสามารถหาโดเมนและเรนจ์ได้โดยมีหลักการหาต่อไปนี้
ถ้า r เป็นความสัมพันธ์ใน R ซึ่งไม่สามารถแจกแจงสมาชิกได้ การหาโดเมนและเรนจ์ทาได้ 2 วิธี
การหาโดเมน (ดูค่า x ) ให้จัด y อยู่ในเทอมของ x ก่อน แล้วพิจารณาค่าของ x ที่ทาให้ y เป็นจริงตาม
เงื่อนไข นาค่า x เหล่านั้นมาตอบเป็นโดเมน
การหาเรนจ์ (ดูค่า y ) ให้จัด x อยู่ในเทอมของ y ก่อน แล้วพิจารณาค่าของ y ที่ทาให้ x เป็นจริงตาม
เงื่อนไข นาค่า y เหล่านั้นมาตอบเป็นเรนจ์
2. ครูยกตัวอย่างการหาโดเมนและเรนจ์ในรูปสมการตัวแปรเดียว
สมการอยู่ในรูป r  {(x, y) | x  c} จะได้ว่า D r = {c} และ Rr =
สมการอยู่ในรูป r  {(x, y) | y  c} จะได้ว่า D r = และ Rr = {c}
ตัวอย่าง จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
1. r 1  {(x, y) | x  3  0}
วิธีทา เราสามารถจัดรูปใหม่ได้ดังนี้ r 1  {(x, y) | x  3}
ดังนั้นมี D r = 3 และ R r =
2. r 2  {(x, y) | 3x  5  0}
5
วิธีทา เราสามารถจัดรูปใหม่ได้ดังนี้ r 2  {(x, y) | x  }
3
5
ดังนั้นมี Dr = { } และ Rr =
3

3. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการหาโดเมนและเรนจ์ในรูสมการที่มี 2 ตัวแปร
ถ้า y เป็นสมาการพหุนามที่มีกาลังเป็นจานวนบวก แล้วสมการ y จะหาค่าได้ในทุกๆค่าของ x (x  )
ถ้า x เป็นจานวนจริงใดใด (x  ) จะหาค่า y ได้เสมอ
ถ้า y เป็นจานวนจริงใดใด (y  ) จะหาค่า x ได้เสมอ
ตัวอย่าง ให้ r 1  {(x, y) | y  2 x  5} จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r
วิธีทา หาโดเมน : โดยเราต้องเขียน y ในเทอมของ x นั่นคือ y  2 x  5
จะได้ว่า ไม่ว่า x จะเป็นจานวนใดใดก็ตามจะสามารถหาค่า y ได้เสมอ
ดังนั้น D r = {x | x  R} = R
หาเรนจ์ : โดยเราต้องเขียน x ในเทอมของ y นั่นคือ
y5
y  2 x 5 จัดรูปใหม่จะได้ว่า x 
2
จะได้ว่า ไม่ว่า y จะเป็นจานวนใดใดก็ตามจะสามารถหาค่า x ได้เสมอ
ดังนั้น Rr = {y | y  R} = R
A
4. การหาโดเมนและเรนจ์ในรูปเศษส่วน สมการ y  จะหาค่าได้เสมอ ก็ต่อเมือ่ B0
B
 1 
ตัวอย่าง กาหนดให้ r = (x, y )  R  R y 
 3x  1  จงหา Dr และ R r
วิธีทา หาโดเมน : จาก y 1
3x  1
1
สมการนี้เป็นจริงทุกค่า x ยกเว้น 3x  1 = 0 จะได้ x =
3
นั่นคือ โดเมนคือค่าของ x ทุกค่า ยกเว้น x  1
3
ดังนั้น Dr = x  R x  1 
 3
หาเรนจ์ : ไม่ว่า x จะมีค่าเป็นจานวนจริงใดๆ ค่าของ y ไม่มีโอกาสเป็น 0 เลย
ดังนั้น R r = {y  R y  0}

2x  1
ตัวอย่าง ให้ r  (x, y) | y  
 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r
 5x  3 
2x  1
วิธีทา หาโดเมน : โดยเราต้องเขียน y ในเทอมของ x นั่นคือ y 
5x  3
3
จะได้ว่า สมการนีจ้ ะเป็นจริงในทุกๆค่า x ยกเว้น 5x  3  0 นั่นคือ x  
5
3 3
ดังนั้น D r = {x | x  R ยกเว้น x   } หรือ D r = R  { }
5 5
หาเรนจ์ : โดยเราต้องเขียน x ในเทอมของ y นั่นคือ
2x  1
y  จัดรูปสมการใหม่จะได้ว่า
5x  3
y(5 x  3) = 2x  1
5xy 3y = 2x  1
5xy 2 x = 1  3y
1  3y
x(5 y 2) = 1  3y ดังนั้น x =
5 y 2
2
จะได้ว่า สมการนีจ้ ะเป็นจริงในทุกๆค่า y ยกเว้น 5y  2  0 นั่นคือ y 
5
2 2
ดังนั้น Rr = {x | x  R ยกเว้น y  } หรือ Rr = R{ }
5 5

5. ครูยกตัวอย่างการหาในรูป ถ้า y  a และ y จะหาค่าได้เสมอ ก็ต่อเมื่อ a  0


ตัวอย่าง ให้ r  (x, y) | y  x  3 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์

วิธีทา หาโดเมน : โดยเราต้องเขียน y ในเทอมของ x นั่นคือ y  x  3


จะสามารถหาค่า x ได้เสมอเมือ่ สมการในรากต้องมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
ดังนั้น จะได้ว่า x 3  0
x  3
ดังนั้น Dr = [3,  )
หาเรนจ์ : โดยเราต้องเขียน x ในเทอมของ y นั่นคือจาก y  x  3
จากเงื่อนไข y  x  3 จัดรูปใหม่จะได้ว่า x  y 2  3
ดังนั้นจะได้ว่าจะสามารถหาค่า y ได้ที่ทาให้ x เป็นจริง นั่นคือ y  0
ดังนั้น R r = (0,  )
ในการหาเรนจ์หรือนอกจากวิธีจัดรูป x ในเทอมของ y นั้นจะมีอีกวิธีคือการใช้เงือ่ นไขของราก
จะได้ว่า จาก y  x  3 จากเงื่อนไขของรากที่สอง จะได้ว่า สมการในรากต้องมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
นั่นคือ x 3  0
x 3  0
y  0
ดังนั้น Rr = (0,  )
ตัวอย่าง กาหนดให้ r = { (x, y)  R  R y  3  x 2  16 } จงหา Dr และ Rr
วิธีทา จาก r  { (x, y)  R  R y  3  x 2  16 }

หาโดเมน : จะเห็นว่า x 2  16  0 เสมอ หรือ (x  4)(x  4)  0


จะได้ x  4 หรือ x  4

ดังนั้น Dr = { x x  4 หรือ x  4 }
หาเรนจ์ : เนื่องจาก x 2  16  0 ทาให้ 3  x 2  16  3
จะได้ y  3  x 2  16  3 ดังนั้น R r = {y y  3}
7. ครูยกตัวอย่างการหาในรูป ถ้า y  a 2 และ y จะหาค่าได้เสมอ ก็ต่อเมื่อ a 2  0
ตัวอย่าง ให้ r  (x, y) | y  x 2  4 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
วิธีทา หาโดเมน : โดยเราต้องเขียน y ในเทอมของ x นั่นคือ y  x 2  4
จะสามารถหาค่า x ได้เสมอเมือ่ ตัวแปรยกกาลังสองค่าต้องมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
ดังนั้น จะได้ว่าเราสามารถหาค่า y ได้ในทุกๆ x
ดังนั้น D r = R
หาเรนจ์ : โดยเราต้องเขียน x ในเทอมของ y นั่นคือจาก y  x 2  4
จากเงื่อนไข y  x 2  4 จัดรูปใหม่จะได้ว่า x  y  4
ดังนั้นจะได้ว่าจากเงื่อนไข y4  0
y  4
ดังนั้น R r = [4,  )
8. ครูยกตัวอย่างการหาโดเมนและเรนจ์โดยการใช้กราฟโดยมีขั้นตอนการหาดังนี้
ขั้นตอนการหาโดเมนและเรนจ์โดยใช้กราฟ
1. นาความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ มาเขียนกราฟ
2. - พิจารณาค่า x ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นโดเมน
- พิจารณาค่า y ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นเรนจ์
ตัวอย่าง จงหาโดเมนและเรนจ์โดยจากกราฟต่อไปนี้
1. พิจารณาค่า x ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นโดเมน
โดยดูที่แกน x ว่า x มีค่าตั้งแต่ (, )
ดังนั้น D r = (, )
พิจารณาค่า y ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นเรนจ์
โดยดูที่แกน y ว่า y มีค่าที่จุด 3
ดังนั้น R r = 3
2. พิจารณาค่า x ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นโดเมน
โดยกราฟนีเ้ ป็นกราฟแบบจุด มีจุดที่แกน x คือ
3, 2,1, 2,5
ดังนั้น D r = {3, 2,1, 2,5}
พิจารณาค่า y ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นเรนจ์
โดยกราฟนีเ้ ป็นกราฟแบบจุด มีจุดที่แกน y คือ 5,0,1, 4
ดังนั้น R r = {5,0,1, 4}

3. พิจารณาค่า x ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นโดเมน


โดยดูที่แกน x ว่า x มีค่าตั้งแต่ (, )
ดังนั้น D r = (, )
พิจารณาค่า y ที่ใช้ในการเขียนกราฟ ตอบเป็นเรนจ์
โดยดูที่แกน y ว่า y มีค่าตั้งแต่ (, )
ดังนั้น R r = (, )
ขั้นสรุป
11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปตามประเด็นในการหาโดเมนและเรนจ์ในหลายรูปแบบว่ามีเงื่อนไข
และลักษณะการหาในรูปแบบต่างๆได้อย่างไร
12. โดยครูสั่งการบ้านนักเรียนในพร้อมกาหนดวันส่ง
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
โดเมนและเรนจ์ ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
-แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ตัวผกผันของความสัมพันธ์
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถหาตัวผกผันของความสัมพันธ์ได้
1.2 สามารถหาโดเมนและเรนจ์ตัวผกผันของความสัมพันธ์ได้
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตัวผกผันของความสัมพันธ์
1.4 สามารถวาดกราฟอินเวอร์สได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
การหาตัวผกผันของอินเวอร์สและกราฟอินเวอร์ส
ขั้นนา
ครูทบทวนการหาโดเมนและเรนจ์ที่ได้เรียนไปในคาบก่อนหน้านี้ ว่าเซตที่เป็นสมาชิกตัวหน้าของคู่
อันดับเรียกว่า โดเมนของความสัมพันธ์ และเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ เรียกว่า เรนจ์ของ
ความสัมพันธ์
ขั้นสอน
1. ครูกล่าวถึงคาว่าตัวผกผันว่ามีความหมายว่าอย่างไรโดยให้นักเรียนช่วยกันคิดและตอบความหมาย
จากนั้นครูอธิบายว่าตัวผกผันคือความสัมพันธ์ซึ่งเกิดจากการสลับที่ของสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังในแต่ละ
คู่อันดับที่เป็นสมาชิกของ r โดยเขียนแทนด้วย r 1
เช่น r  {(1, 2),(3,5),(6,8)} จะได้ว่า r 1  {(2,1),(5,3),(8,6)}
2. ครูบอกข้อสังเกตเพิม่ เติมเกี่ยวกับตัวผกผัน ดังนี้
1) สามารถเขียน r 1 ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขได้ดังนี้ r 1  {(y, x) | (x, y)  r}
2) ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B แล้ว r 1 เป็นความสัมพันธ์จาก B ไป A
3) เนื่องจาก r และ r 1 เกิดจากการสลับที่กันของตัวหน้ากับตัวหลังของคู่อันดับ
เกิดเป็นความสัมพันธ์ Dr  R r 1 และ R r  Dr 1
3. ครูยกตัวอย่างโจทย์คู่อันดับของการหาตัวผกผันและหาโดเมนและเรนจ์ของตัวผกผัน
ตัวอย่าง จงหาอินเวอร์สของพร้อมกับโดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์ส
1) r1  {(1, 2),(3, 4),(5,6)}
ตอบ r11  {(2,1),(4,3),(6,5)}

2) r 2  {(3, 10),(2,5),(1,0),(1, 5),(2,10)}


ตอบ r 21  {(10, 3),(5, 2),(0, 1),(5,1),(10, 2)}
4. ครูอธิบายวิธีการหาอินเวอร์สในรูปของเซตแบบบอกเงือ่ นไข
การหาอินเวอร์สมาในรูปแบบบอกเงื่อนไข
การหา r 1 แบบบอกเงื่อนไขสามารถทาได้ 2 วิธี
1) โดยการสลับที่คู่อันดับ แต่คงเงื่อนไขเดิมไว้
เช่น r  {(x, y)  A B | y  2 x  3} จะได้โดเมนคือ R เรนจ์คือ R
r 1  {(y, x)  B  A | y  2 x  3} จะได้โดเมนคือ R เรนจ์คือ R
2) โดยการคงที่คู่อันดับไว้ แต่สลับที่ตัวแปรในเงื่อนไขแทน
เช่น r  {(x, y)  A B | y  2 x  3}
r 1  {(x, y)  B  A | x  2y  3}
x 3
จัดใหม่จะได้ว่า r 1  {(x, y)  B  A | y  }
2
5. ครูให้นักเรียนลองทาตัวอย่างเพื่อทดสอบความเข้าใจในการหาอินเวอร์ส
ตัวอย่าง กาหนด r  {(x, y)  R R | y  5 x  4} จงพิจารณาอินเวอร์สของ r ว่าถูกหรือผิด
………………ถูก…………………1) r 1  {(y, x)  R  R | y  5 x  4}
………………..ถูก………………2) r 1  {(x, y)  R  R | x  5y  4}
x4
………………..ถูก………………3) r 1  {(x, y)  R  R | y  }
5
6. ครูยกตัวอย่างความสัมพันธ์ในรูปแบบบอกเงื่อนไขหาอินเวอร์สของพร้อมกับโดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์ส
ตัวอย่าง จงหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์ต่อไปนี้พร้อมทั้งหาโดเมนและเรนจ์
1) r 1 {(x, y) | y  2x  4}
วิธีทา การหาอินเวอร์ส เปลี่ยน (x, y) (y, x)
จะได้ว่า r 11  {(y, x) | y  2x  4} หรือ r 11  {(x, y) | x  2y  4}
x4
จัดรูปสมการใหม่ให้สมการอยู่ในรูป y = เทอม x จะได้ว่า r 11  {(x, y) | y  }
2
จะได้ว่า Dr 1 = R และ R r 1 = R
3  2x
2) r 2  {(x, y) | y  }
3x  5
3  2x 3  2y
วิธีทา r 2 1  {(y, x) | y  } หรือ r 21  {(x, y) | x  }
3x  5 3y  5
จัดรูปสมการใหม่ให้สมการอยู่ในรูป y = เทอม x
3  2y
จะได้ว่า x =
3y  5
x (3y  5) = 3  2y
3x y  5x = 3  2y
3x y  2y = 3  5x
y(3y  2) = 3  5x
3  5x
y =
3y  2
3  5x
ดังนั้น จะได้ว่า r 21  {(x, y) | y  }
3x  2
หาโดเมน ( x ) จัดรูป y = เทอม x จะได้ว่า
เนื่องจากโจทย์ประเภทเศษส่วน ตัวส่วนต้องไม่เท่ากับศูนย์
ดังนั้น 3y  2  0
2  2
y ดังนั้น Dr 1 = R   
3  3
หาเรนจ์ ( y ) จัดรูป x = เทอม y จะได้ว่า r 21  {(x, y) | x  3  2y}
3y  5
เนื่องจากโจทย์ประเภทเศษส่วน ตัวส่วนต้องไม่เท่ากับศูนย์
ดังนั้น 3y  5  0
5  5
y ดังนั้น R r 1 = R   
3  3

3) r 3 {(x, y) | y  x  1}
วิธีทา r 31 {(y, x) | y  x  1} หรือ r 31 {(x, y) | x  y  1}
จัดรูปสมการใหม่ r 31 {(x, y) | x 2  y  1}
หาโดเมน ( x ) จัดรูป y = เทอม x จะได้ว่า r 31 {(x, y) | y  x 2  1}
เนื่องจากโจทย์อยู่ในรูปราก ดังนั้นค่าในรากต้องมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
จะได้ว่า x2  0
x0
ดังนั้น Dr 1 = [0, )

หาเรนจ์ ( y ) จัดรูป x = เทอม y จะได้ว่า r 31 {(x, y) | x  y  1}


เนื่องจากโจทย์อยู่ในรูปราก ดังนั้นค่าในรากต้องมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
จะได้ว่า y 1  0
y  0 1  y  1
ดังนั้น R r 1 = [1,  )
4) r 6  {(x, y) | x | y | 1}
วิธีทา r 61  {(y, x) | x  | y | 1} หรือ r 61  {(x, y) | y  | x | 1}
หาโดเมน จะได้ว่า Dr 1 = R และ R r 1 = R
7. ครูให้นักเรียนทาตัวอย่างเพิ่มเติมในห้องเรียนด้วยตนเอง เพื่อเพิ่มความเข้าใจโดยครูคอยกากับดูแล
8. ครูอธิบายว่าตัวผกผันคือการสลับคู่อันดับ (x, y) (y, x) ดังนั้นจะได้ว่า x  y
โดยให้นักเรียนลองวาดกราฟอินเวอร์สโดยการสะท้อนกับเส้น x  y
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟอินเวอร์สของ r ลงบนแกน xy ร่วมกับกราฟ r
1) 2)

3) 4)

ขั้นสรุป
10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปตามประเด็นและความหมายของตัวผกผันและทบทวนการหาโดเมน
และเรนจ์
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ตัวผกผันของ ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
ความสัมพันธ์ -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ความหมายของฟังก์ชั่น
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถหาเข้าใจความหมายของฟังก์ชันได้
1.2 สามารถหาได้ว่าความสัมพันธ์นเี้ ป็นฟังก์ชั่นหรือไม่เป็นฟังก์ชัน
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความหมายของฟังก์ชัน
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
เข้าใจความหมายของฟังก์ชันและสามารถหาฟังก์ชันได้
ขั้นนา
ครูอธิบายนักเรียนว่าที่ผ่านมาเราเรียนความสัมพันธ์ โดยต่อจากนี้เราจะเรียนเกี่ยวกับฟังก์ชันโดย
ฟังก์ชันคืออะไร ครูตั้งคาถามความหมายของฟังก์ชันว่าฟังก์ชันมีความหมายอย่างไร โดยใช้การตั้งคาถาม
เพื่อให้นักเรียนเกิดความคิด
ขั้นสอน
1. ครูบอกความหมายของฟังก์ชันว่าคืออะไร ฟังก์ชั่น คือ ความสัมพันธ์ทมี่ ีสมาชิกในโดเมนแต่ละตัว
จับคู่กบั สมาชิกในเรนจ์ของความสัมพันธ์เพียงตัวเดียวเท่านัน้ โดยครูบอกนักเรียนง่ายๆว่าคือ
ตัวหน้าไม่ซ้าจะเป็นฟังก์ชัน
y1
x y x
y2
เป็นฟังก์ชัน ไม่เป็นฟังชัน
2. ครูยกตัวอย่างการเป็นหรือไม่เป็นฟังก์ชันโดยใช้การวาดรูปเพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้น
ตัวอย่าง 1 กาหนดให้ r1  {(0,3),(1,1),(2,1),(3, 4)} และ r 2  {(0,1),(1,1),(1, 2),(0, 4)}
จาก r1, r 2 เขียนแผนภาพแสดงการจับคู่ได้ดังนี้
0 3 1
0
1 1 2
r1 r2 1
2 4 4
3

Dr Rr Dr Rr
r1 เป็นฟังก์ชัน r2 ไม่เป็นฟังก์ชัน
3. ครูยกตัวอย่างคู่อันดับต่อไปนี้เพื่อพิจารณาว่าเป็นฟังก์ชั่นหรือไม่
ตัวอย่าง จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชั่นหรือไม่
1) a  {(4,5),(6,8),(7,0)} 2) b  {(5,6),(5,7),(5,8)}
ตอบ เป็นฟังก์ชัน ตอบ ไม่เป็นฟังก์ชัน
3) c  {(3,6),(5, 4),(3,0)} 4) d  {(4,6),(9,6),(5,1)}
ตอบ ไม่เป็นฟังก์ชัน ตอบ เป็นฟังก์ชัน
4. ครูสอนนักเรียนพิจารณาการเป็นฟังก์ชันโดยใช้กราฟ มีวิธีการดังนี้
 ลากเส้นตรงตั้งฉากกับแกน x (ขนานกับแกน y) แล้วให้ตดั กราฟ ถ้า
- ตัดกราฟเพียง 1 จุด  เป็นฟังก์ชัน
- ตัดกราฟตั้งแต่ 2 จุดขึ้นไป  ไม่เป็นฟังก์ชัน
5. ครูยกตัวอย่างกราฟ เพื่อให้นกั เรียนได้ลองพิจารณาความเป็นฟังก์ชัน
1) พิจารณากราฟโดยการลากกราฟตั้งฉากกับแกน x
ถ้าตัดกราฟเพียง 1 จุด
ดังนั้น เป็นฟังก์ชัน
2) พิจารณากราฟโดยการลากกราฟตัง้ ฉากกับแกน x
ถ้าตัดกราฟเพียง 1 จุด
ดังนั้น เป็นฟังก์ชัน

3) พิจารณากราฟโดยการลากกราฟตั้งฉากกับแกน x
ถ้าตัดกราฟเพียง 2 จุด
ดังนั้น ไม่เป็นฟังก์ชัน

5. การพิจารณาฟังก์ชันในเซตแบบบอกเงื่อนไข ดังนี้
ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชั่น
1) r1 {(x, y) | y  3x  1}
วิธีทา การเป็นฟังก์ชันเป็นได้ก็เมื่อค่า x หนึ่งค่าจะทาให้เกิดค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้นลองแทนค่า x = 1 จะได้ว่า y = 3(1)  1  4
x = 2 จะได้ว่า y = 3(2)  1  7
ซึ่งจะเห็นว่า x หนึ่งค่าจะทาให้เกิดค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้น r1 {(x, y) | y  3x  1} เป็นฟังก์ชัน

2) r 2 {(x, y) | y 2  x}
วิธีทา การเป็นฟังก์ชันเป็นได้ก็เมื่อค่า x หนึ่งค่าจะทาให้เกิดค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้นลองแทนค่า x = 4 จะได้ว่า y = 2
x = 9 จะได้ว่า y = 3
ซึ่งจะเห็นว่า x หนึ่งค่าจะทาให้เกิดค่า y สองค่าเดียว
ดังนั้น r 2 {(x, y) | y 2  x} ไม่เป็นฟังก์ชัน
6. ครูให้นักเรียนทาตัวอย่างทีเ่ หลือในเอกสารประกอบการสอนเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
และเข้าใจมากขึ้น โดยครูคอยกากับดูแล
7. จากนั้นครูบอกนักเรียนถึงฟังก์ชันเป็นความหมายหนึ่งทางคณิตศาสตร์ โดยมีสญ ั ลักษณ์คือ
ถ้า f เป็นฟังก์ชั่น และ  x, y   f แล้วเราจะเขียนสัญลักษณ์นี้ว่า y  f (x)
โดยเราจะเรียก y ว่า ค่าฟังก์ชันของ x ภายใต้ฟังก์ชั่น f
8. ครูยกตัวอย่างการหาค่าของฟังก์ชัน ดังนี้
ตัวอย่าง ให้ f (x)  2x  1 จงหาค่าของฟังก์ชัน f (3),f(0) และ f (4)
วิธีทา เนื่องจากโจทย์ตอ้ งการหา f (3),f(0) และ f (4)
จาก f (x)  2x  1
จะได้ว่า f (3)  2(3)  1 = 7
f (0)  2(0)  1 = 1
f (4) = 2(4)  1 = 7

9. ครูให้นักเรียนทาตัวอย่างเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจและทาได้ด้วยตนเอง
ขั้นสรุป
10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับฟังก์ชันว่ามีความหมายและลักษณะอย่างไร และมีวิธีการพิจารณา
ความเป็นฟังก์ชันด้วยวิธีใดได้บ้าง และร่วมกันทบทวนและสรุปความหมาย
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ความหมายฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
และการพิจารณา -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
ฟังก์ชัน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ชนิดของฟังก์ชัน
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถหาเข้าใจชนิดของฟังก์ชันว่ามีกี่ประเภท
1.2 สามารถวาดกราฟฟังก์ชันเชิงเส้นได้
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชนิดของฟังก์ชัน
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
เข้าใจความหมายของชนิดของฟังก์ชันว่ามีกี่ชนิด คือ ฟังก์ชันเชิงเส้น , ฟังก์ชันกาลังสอง ,
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล , ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และฟังก์ชันขั้นบันได
ขั้นนา
ครูอธิบายนักเรียนว่าที่ผ่านมาได้เรียนเกี่ยวกับชนิดของฟังก์ชันว่ามีชนิดอะไรบ้างคือ ฟังก์ชัน
เชิงเส้น , ฟังก์ชันกาลังสอง , ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล , ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และฟังก์ชันขั้นบันได
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายฟังก์ชันตัวแรกให้กับนักเรียนคือ ฟังก์ชันเชิงเส้น โดยฟังก์ชันเชิงเส้นจะอยู่ในรูป
ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันทีอ่ ยู่ในรูป y  ax  b เมื่อ a, b เป็นจานวนจริง และ a  0 กราฟของ
ฟังก์ชันเชิงเส้น จะเป็นกราฟเส้นตรง
2. จากนั้นครูสอนนักเรียนวาดกราฟ โดยการหาจุดตัดแกน x และ จัดตัวแกน y
โดยมีวิธีการหาคือ หาจุดตัดแกน x ให้ y=0 และ หาจุดตัดแกน y ให้ x=0
3. เมื่อนักเรียนได้ทราบวิธีการหาแล้วนั้น ครูจงึ ยกตัวอย่างให้นักเรียนได้ลองทาการวาดกราฟนี้ ว่ามี
ลักษณะเป็นเส้นตรงหรือไม่
4. ครูยกตัวอย่างต่อไปนี้ เพื่อให้นักเรียนได้ลองค้นหาและตรวจสอบ
ตัวอย่างที่ จงเขียนกราฟของ y  x  2

x 2 0
y 0 -2
(2,0)
หาจุดตัดแกน x โดยการแทน y=0 จะได้ว่า 0  x  2
ดังนั้น x  2 จุดตัดแกน x คือ (2,0)
(0, 2)
หาจุดตัดแกน y โดยการแทน x = 0 จะได้ว่า y  0  2
ดังนั้น y  2 จุดตัดแกน y คือ (0, 2)
5. โดยครูลองให้นักเรียนลองทาตัวอย่างถัดไปด้วยตนเอง เพื่อทดสอบความเข้าใจฟังก์ชันเชิงเส้น
6. หลังจากที่นักเรียนเข้าใจและสามารถวาดกราฟฟังก์ชันเชิงเส้นได้แล้ว ครูจึงสอบถามนักเรียนว่า เนื่องจาก
ฟังก์ชันเชิงเส้นมีรูปทั่วไปคือ y  ax  b โดยครูลองถามนักเรียนว่าถ้า a  0 จะเกิดอะไรขึ้น
โดยนักเรียนจะตอบพร้อมกันว่า จะได้ y  b
7. ครูสอบถามนักเรียนว่า y  b จะมีหน้าตาอย่างไร โดยครูยกตัวอย่าง สมมุติให้ y  2 โดยให้นักเรียน
ลองใช้วิธีการวาดกราฟในการค้นหาคาตอบ หลังจากให้นักเรียนได้ลองทา ครูจงึ อธิบายนักเรียนว่า ถ้า
y  b เราจะเรียกว่าฟังก์ชันคงตัว และครูสรุปให้นักเรียนทราบว่ากราฟจะเป็นกราฟขนานแกน x เสมอ
ผ่านจุด (0, b)
8. ครูลองทาตัวอย่างต่อไปพร้อมกับนักเรียนอีกครัง้ เพื่อช่วยนักเรียนที่ยังทาไม่ได้
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของ y  3
วิธีทา จะได้ว่า กราฟจะขนานแกน x ที่ -3

จุดตัดแกน y ที่จุด (0, 3)


(0, 3)
9. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะของกราฟโดยวาดกราฟอยู่ในระนานเดียวกัน
1) y1  x และ y 2  4x y 2  4x
y1  x
วิธีทา จาก y1  x จะทากราฟวาดกราฟโดยใช้ตาราง
จะได้ว่า
x -1 0 1 2
Y -1 0 1 2
และ จาก y 2  4x จะทากราฟวาดกราฟโดยใช้ตาราง
จะได้ว่า
x -1 0 1 2
Y -4 0 4 8

2) y1   x และ y2  4x y2  4x

วิธีทา จาก y1   x จะทากราฟวาดกราฟโดยใช้ตาราง y1   x


จะได้ว่า
x -1 0 1 2
Y 1 0 -1 -2
y1  x ตาราง
และ จาก y 2  4x จะทากราฟวาดกราฟโดยใช้
จะได้ว่า
x -1 0 1 2
Y 4 0 -4 -8

10.จากตัวอย่างทีผ่ ่านมา ครูได้ลองให้นกั เรียนสังเกตกราฟทีว่ าดมีลักษณะอย่างไร และอะไรที่สงั เกตได้บ้าง


11. โดยครูจะทาการถามนักเรียน แล้วให้นกั เรียนช่วยกันสรุปต่อไปนี้
จากตัวอย่าง เราสามารถสรุปได้ว่า
กรณี a  0 เมื่อ a มากขึ้น เส้นตรงจะเบนเข้าหาแกน y
เมื่อ a น้อยลง เส้นตรงจะเบนเข้าหาแกน x
กรณี a  0 เมื่อ a ติดลบมากขึ้น เส้นตรงจะเบนเข้าหาแกน y
เมื่อ a ติดลบน้อยลง เส้นตรงจะเบนเข้าหาแกน x
12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปฟังก์ชันเชิงเส้นว่ามีรูปทั่วไปและมีลักษณะกราฟอย่างไร
13. ครูแนะนาฟังก์ชันอีกชนิดให้นักเรียนได้รจู้ ักคือ ฟังก์ชันกาลังสอง ฟังก์ชันกาลังสอง เป็นฟังก์ชันที่อยูร่ ูป
y  ax 2  bx  c เมื่อ a, b,c เป็นจานวนจริงใดใด และ a  0
14. ครูให้นักเรียนลองนึกความรูเ้ ก่า โดยให้นักเรียนลองคาดเดาวาฟังก์ชันกาลังสองจะมีลักษณะอย่างไร
จากนั้นครูจะอธิบายให้นักเรียนทราบ ซึง่ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันนี้จะมีลกั ษณะเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่า
ขึ้นอยู่กับค่า a โดย
15. จากนั้น ครูย้านักเรียนว่ากราฟชนิดนี้มีชื่อว่า กราฟพาราโบลา โดยจะเป็นลักษณะกราฟหงายหรือคว่า
นั้นให้ขึ้นอยู่กับค่า a โดยครูมีเทคนิคการจาให้นักเรียนคือ
a บวก แปะยิ้ม ซึ่งกราฟจะมีลักษณะเป็นหน้ายิ้ม (กราฟหงาย)
a ลบ อาซิ่มโศก ซึ่งกราฟจะมีลักษณะเป็นหน้าบึ้ง (กราฟคว่า)

และทาการสรุปให้นักเรียนอีกครั้ง
จากรูปจะเห็นว่า ถ้า a  0 กราฟเป็นเส้นโค้งหงายขึ้น
ถ้า a  0 กราฟเป็นเส้นโค้งคว่าลง
16. ครูบอกส่วนประกอบและชื่อเรียกของพาราโบลา ดังนี้
กราฟของฟังชันกาลังสองในรูปนี้มีชื่อเรียกว่า พาราโบลา
และเรียกจุดยอดของพาราโบลา คือ จุดวกกลับ
ถ้ากราฟพาราโบลาหงาย จะมีจุดวกกลับทีเ่ ป็น จุดสูงสุดและค่าต่าสุด
ถ้ากราฟพาราโบลาคว่า จะมีจุดวกกลับที่เป็น จุดสูงสุดและค่าต่าสุด
17. ครูและนักเรียนร่วมกันวาดกราฟพาราโบลา โดยใช้ตารางแทนค่าในการวาดกราฟ
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของฟังก์ชันกาลังสองต่อไปนี้พร้อมทั้งหาจุดวกกลับและจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุดของกราฟ
1) y  x 2

x y
-3 9
จุดวกกลับ คือ (0,0)
-2 4
จุดต่าสุดคือ (0,0)
-1 1
0 0
1 1
2 4
3 9
1
2) y   x 2
2

x y
จุดวกกลับ คือ (0,0)
-2 -2
-1 1 จุดต่าสุดคือ (0,0)

2
0 0
1 
1
2
2 -2
18. นอกจากวิธีวาดกราฟด้วยตารางแล้ว ยังมีอีกวิธีหนึ่งในการวาดกราฟ คือการใช้สูตรทั่วไปของพาราโบลา
แล้วหาจุด  h, k  เป็นจุดวกกลับ คือ y  a(x  h) 2  k , a0 จากนั้นครูให้ตัวอย่างนักเรียน
เพิ่มเติมเพือ่ ให้นักเรียนเข้าใจ
ตัวอย่าง จงหาจุดสูงสุดหรือต่าสุดของกราฟของฟังก์ชัน y  (x  3)2  3
วิธีทา จากสูตรรูปทั่วไปของพาราโบลา y  a(x  h) 2  k
และจากโจทย์ y  (x  3)2  3 จะได้ว่า a  1 , h  3 และ k  3
และเนื่องจาก a = 1 ซึ่งมากกว่า 0 จะได้ พาราโบลาหงาย
จะได้ว่า จุดวกกลับ คือ  3,3 ที่เป็นจุดต่าสุด ดังนั้น จุดต่าสุด คือ  3,3
สามารถวาดกราฟได้ดังนี้

 3,3

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟฟังก์ชันกาลังสองต่อไปนี้พร้อมทั้งหาจุดวกกลับและจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุดของกราฟ
1) y  x 2  1
วิธีทา จากสูตรรูปทั่วไปของพาราโบลา y  a(x  h) 2  k
เทียบกับโจทย์ y  x 2  1 จะได้ว่า  h, k  =  0, 1
และเนื่องจาก a = 1 ซึ่งมากกว่า 0 จะได้ พาราโบลาหงาย  0, 1
สามารถวาดกราฟได้ดังนี้
จะได้ว่า จุดวกกลับ คือ  0, 1
จุดต่าสุด คือ  0, 1
2) y   x 2  1
วิธีทา จากสูตรรูปทั่วไปของพาราโบลา y  a(x  h) 2  k
เทียบกับโจทย์ y   x 2  1 จะได้ว่า  h, k  =  0, 1
และเนื่องจาก a = -1 ซึ่งน้อยกว่า 0 จะได้ พาราโบลาคว่า  0, 1
สามารถวาดกราฟได้ดังนี้
จะได้ว่า จุดวกกลับ คือ  0, 1
จุดต่าสุด คือ  0, 1

19. ครูให้นักเรียนลองทาแบบฝึกหัดการวาดพาราโบลาในตัวอย่างถัดไปด้วยตนเอง โดยครูจะขอตัวแทน


ออกมาทาหน้าห้อง และให้นักเรียนเป็นผู้ตรวจดูด้วยว่าเพื่อนมีจุดที่คิดผิดพลาดหรือไม่
20. เมื่อนักเรียนสามารถเข้าใจการวาดกราฟพาราโบลาโดยการหาจุด  h, k  ได้แล้ว ครูจึงยกตัวอย่างเพิ่มเติม
เพื่อจะวัดความเข้าใจนักเรียนในการวิเคราะห์โจทย์ที่ซบั ซ้อนมากขึ้น
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ในระนาบเดียวกัน
1) y1  x 2 , y2  x 2  1 , y3  x 2  2 และ y4  x 2  3

วิธีทา จากสูตรรูปทั่วไปของพาราโบลา y  a(x  h) 2  k


เนื่องจากทุกสมการนั้น a = 1 ซึ่งมากกว่า 0 จะได้ พาราโบลาหงาย
เทียบกับ y1  x 2 จะได้ว่า  h, k  =  0,0 
เทียบกับ y2  x 2  1 จะได้ว่า  h, k  =  0,1
เทียบกับ y3  x 2  2 จะได้ว่า  h, k  =  0, 2 
เทียบกับ y4  x 2  3 จะได้ว่า  h, k  =  0,3  0,3
สามารถวาดกราฟได้ดังนี้  0, 2 

 0,1

 0,0 
2) y1  (x  1)2 , y2  (x  2)2 และ y3  (x  3)2
วิธีทา จากสูตรรูปทั่วไปของพาราโบลา y  a(x  h) 2  k
เนื่องจากทุกสมการนั้น a = 1 ซึ่งมากกว่า 0 จะได้ พาราโบลาหงาย
เทียบกับ y1  (x  1)2 จะได้ว่า  h, k  =  1,0 
เทียบกับ y2  (x  2)2 จะได้ว่า  h, k  =  2,0 
เทียบกับ y3  (x  3)2 จะได้ว่า  h, k  =  3,0 
สามารถวาดกราฟได้ดังนี้

 0,3  2,0   3,0 

21. ครูให้นักเรียนทาตัวอย่างเพิ่มเติมเพือ่ ให้นักเรียนเข้าใจและทาได้ด้วยตนเอง


ขั้นสรุป
22. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับฟังก์ชันทัง้ สองชนิดที่ได้เรียนวันนี้มีอะไรบ้างและทบทวนสูตรทัง้
สองชนิดว่ามีลกั ษณะอย่างไร
23. ครูสั่งการบ้านนักเรียนในหนังสือแบบฝึกหัดของ สสวท.
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ชนิดของฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
(ฟังก์ชันคงตัวม -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
พาราโบลา) เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ชนิดของฟังก์ชัน (ต่อ)
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถหาเข้าใจชนิดของฟังก์ชันว่ามีกี่ประเภท
1.2 สามารถวาดกราฟฟังก์ชันพาราโบลาได้
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชนิดของฟังก์ชัน
1.4 สามารถนาพาราโบลาไปใช้ในการแก้สมการและอสมการได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
เข้าใจความหมายของชนิดของฟังก์ชันว่ามีกี่ชนิด คือ ฟังก์ชันเชิงเส้น , ฟังก์ชันกาลังสอง ,
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล , ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และฟังก์ชันขั้นบันได
ขั้นนา
จากคาบที่แล้วนักเรียนได้เรียนฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันพาราโบลา โดยครูทบทวนนักเรียน
โดยการถามและทบทวนสูตรในแต่ละชนิด และเกริ่นนานักเรียนถึงฟังก์ชันที่จะเรียนในวันนี้คือฟังก์ชันการนา
พาราโบลาไปใช้ในการแก้สมการและอสมการ
ขั้นสอน
1. ครูทบทวนฟังก์ชันพาราโบลาให้นักเรียนทีม่ ีสูตรรูปทั่วไปของพาราโบลา y  a(x  h) 2  k
โดยเข้าอยู่ในรูปที่ไม่ได้อยู่ในรูปฟังก์ชันที่สามารถหาได้ทันที
2. จากนั้นครูให้นักเรียนสร้างรูปให้อยูท่ ั่วไปโดยต้องทบทวนสูตรกาลังสองสมบูรณ์
(a  b) 2  a 2  2ab  b 2
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟฟังก์ชันกาลังสองต่อไปนี้พร้อมทัง้ หาจุดวกกลับและจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุดของกราฟ
1) y  x 2  2x  15
วิธีทา เนื่องจากโจทย์ไม่อยู่ในรูปทีส่ ามารถหาจุด (h, k) ได้ ดังนั้นจึงต้องจัดรูปใหม่
จาก y  x 2  2x  15
และจาก (a  b)2  a 2  2ab  b2
y  (x 2  2x  1)  15 1
y  (x  1) 2  16
ดังนั้น จุด (h, k) = (1, 16)
ดังนั้นสามารถวาดกราฟได้ดังนี้

(1, 16)

3. นอกเหนือจากวิธีทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ยงั สามารถใช้สูตรหาในรูปแบบนี้ได้
b b
เมื่อสมการอยู่ในรูป y  ax 2  bx  c จะได้ว่า จุดวกกลับ คือ ( ,f(  )) โดยครูยกตัวอย่างโดย
2a 2a
การใช้สูตรให้นักเรียนทราบ
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟฟังก์ชันกาลังสองต่อไปนี้พร้อมทัง้ หาจุดวกกลับและจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุดของกราฟ
2) y  2x 2  4x  16
วิธีทา เนื่องจากโจทย์ไม่อยู่ในรูปทีส่ ามารถหาจุด (h, k) ได้ ดังนั้นจึงต้องจัดรูปใหม่
b b
โดยจากสูตร (h, k) = ( ,f(  ))
2a 2a
จากโจทย์ y  2x 2  4x  16 จะได้ว่า a  2, b  4,c  16
b 4
หา h จะได้ว่า h   =  = 1
2a 2(2)
b
หา k จะได้ว่า f( ) = f (1)  2x 2  4x  16
2a
= 2(1)2  4(1)  16
= 2  4  16 = 18
ดังนั้น (h, k) = (1, 18)
สามารถวาดกราฟได้ดังนี้

(1, 18)

4. ต่อมาครูได้อธิบายให้ถึงการนาไปใช้ของพาราโบลาคือการแก้คาตอบของสมการและอสมการ

5. จากนั้นครูบอกนักเรียนถึงวิธีการนากราฟพาราโบลาในการใช้
การแก้สมการโดยใช้กราฟ
ถ้ากราฟตัดแกน x จะมีคาตอบของสมการที่เป็นจานวนจริง
ถ้ากราฟไม่ตัดแกน x จะไม่มีคาตอบของสมการที่เป็นจานวนจริง
ถ้าพาราโบลาตัดแกน x 2 จุดจะมีคาตอบของสมการที่เป็นจานวนจริง 2 คาตอบ
ครูลองยกตัวอย่างเพิ่มเติมเพือ่ ให้นักเรียนได้ใช้พาราโบลาในการหาคาตอบ
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของสมการ 2x 2  2  0 โดยใช้กราฟและจุดตัวแกน x และ y
วิธีทา สมมุติ y  2x 2  2
จาก y  a(x  h) 2  k จะได้ (h, k) = (0, 2)

y วาดกราฟได้ดังนี้
x
-2 4
-1 0
0 -2
1 0
2 4
จะเห็นว่า กราฟตัดแกน x 2 จุด
ดังนั้นคาตอบของสมการมี 2 คาตอบ
หาจุดตัดแกน x ให้ y = 0
จะได้ 2x 2  2  0
2x 2 2
2
x2 
2
จะได้ x  1,1
คาตอบของสมการคือ x  1,1

ตัวอย่าง จงหาคาตอบของ (x  4)2  0


วิธีทา สมมุติ y  (x  4) 2
จาก y  a(x  h) 2  k จะได้ (h, k) = (4,0)
จะเห็นว่า กราฟตัดแกน x เพียงหนึ่งจุด ดังนั้นคาตอบของสมการมี 1 คาตอบ
หาจุดตัดแกน x ให้ y = 0 จะได้ว่า
จะได้ว่า
(x  4) 2  0
(x  4)(x  4)  0 เพราะฉะนั้น x  4
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ x  4
6. ครูยกตัวอย่างโจทย์ให้นักเรียนทาเพิม่ เติมเกี่ยวกับพาราโบลา
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของ f (x)   x 2  6x  8 และจงหา
1) โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน f 2) จุดวกกลับของกราฟ
3) จุดวกกลับของกราฟเป็นจุดที่ฟังก์ชันมีค่าสูงสุดหรือต่าสุดและมีค่าเท่าใด
4) จุดที่กราฟตัดแกน x

วิธีทา จากสมการทั่วไปของพาราโบลาคือ y  a(x  h) 2  k


จากโจทย์ f (x)   x 2  6x  8
เนื่องจากโจทย์ไม่อยู่ในรูปทีส่ ามารถหาจุด  h, k  ได้ ดังนั้นจึงต้องจัดรูปใหม่
b b
โดยจากสูตร (h, k) = ( ,f(  ))
2a 2a
จากโจทย์ f (x)   x 2  6x  8 จะได้ว่า a  1, b  6,c  8
b 6
หา h จะได้ว่า h   =  = 3
2a 2(1)
b
หา k จะได้ว่า f( ) = f (3) =  x 2  6x  8
2a
= (3)2  6(3)  8
= 9  18  8 = 1
ดังนั้น (h, k) = (3,1)
ดังนั้นเราสามารถหาวาดกราฟได้ดังนี้ (3,1)
1) โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน f
จากกราฟพาราโบลา จะได้ว่า Df  {x | x  R} และ
R f  {y | y  R และ y  1} หรือ R f  (,1]

2) จุดวกกลับของกราฟ (h, k) = (3,1)


3) จุดวกกลับของกราฟเป็นจุดที่ฟังก์ชันมีค่าสูงสุดหรือต่าสุดและมีค่าเท่าใด
เนื่องจากกราฟเป็นกราฟหงาย ดังนั้นจึงเป็นจุดต่าสุด (3,1)
4) จุดที่กราฟตัดแกน x
จากกราฟพบว่ากราฟตัดแกน x ที่ 2 จุด ดังนั้นจะได้ว่า
โดยหาจุดตัดแกน x ให้ y = 0 จะได้ว่า x 2  6x  8  0
คูณ (-1) ตลอดสมการ
x 2  6x  8  0
(x  2)(x  4)  0
ดังนั้น x  2 หรือ x  4
คาตอบของสมการคือ x  2 หรือ x  4
7. เมื่อนักเรียนสามารถเข้าใจการใช้กราฟพาราโบลาหาคาตอบของสมการได้แล้วนั้น จากนั้นครูจึงลองให้
นักเรียนได้ลองหาอสมการโดยใช้กราฟเช่นกัน
การแก้อสมการโดยใช้กราฟ
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ x 2  9 โดยใช้กราฟ
วิธีทา จาก x 2  9 จะได้ว่า x 2  9  0
เนื่องจากหาสมการโดยใช้กราฟ เราจึงสมมุติ y  x 2  9
ดังนั้น จะได้ (h, k) = (0, 9) โดยที่ y  0
เนื่องจาก a =1 ซึ่งมากกว่า 0 ดังนั้น จึงได้เป็นพาราโบลาหงาย
เราสามารถวาดกราฟพาราโบลาได้ (0, 9)
จะพบว่า กราฟตัดแกน x สองจุด ดังนั้นvสมการมี 2 คาตอบ
หาจุดตัดแกน x ให้ y = 0 จะได้ว่า
x2  9  0
(x  3)(x  3)  0 + __ +
สามารถวาดเส้นจานวนได้คือ -3 3
พิจารณาค่าที่ y  0 จะได้ว่า 3  x  3
ดังนั้นเซตคาตอบของอสมการคือ (3,3)

ตัวอย่าง จงแก้อสมการ x 2  2x  3  0 โดยใช้กราฟ

วิธีทา จาก x 2  2x  3  0
เนื่องจากหาสมการโดยใช้กราฟ เราจึงสมมุติ y  x 2  2x  3
เนื่องจากโจทย์ไม่อยู่ในรูปทีส่ ามารถหาจุด  h, k  ได้ ดังนั้นจึงต้องจัดรูปใหม่
b b
โดยจากสูตร (h, k) = ( ,f(  ))
2a 2a
จากโจทย์ y  x 2  2x  3 จะได้ว่า a  1, b  2,c  3
b 2
หา h จะได้ว่า h   =  =1
2a 2(1)
b
หา k จะได้ว่า f( ) = f (1) = x 2  2x  3
2a
= (1)2  2(1)  3
= 1  5 = 4
ดังนั้น (h, k) = (1, 4)
ดังนั้น จะได้ (h, k) = (1, 4) โดยที่ y  0
เนื่องจาก a =1 ซึ่งมากกว่า 0 ดังนั้น จึงได้เป็นพาราโบลาหงาย
เราสามารถวาดกราฟพาราโบลาได้ ดังนี้
จะพบว่า กราฟตัดแกน x สองจุด ดังนั้นvสมการมี 2 คาตอบ
หาจุดตัดแกน x ให้ y = 0 จะได้ว่า
x 2  2x  3  0
(x  3)(x  1)  0 + __ +
สามารถวาดเส้นจานวนได้คือ -1 3
พิจารณาค่าที่ y  0 จะได้ว่า 1  x  3
ดังนั้นเซตคาตอบของอสมการคือ [1,3]
8. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดทีเ่ หลือด้วยตนเอง เพื่อทดสอบความเข้าใจและมาส่งครูรายคนเพื่อให้ครู
ตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นสรุป
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับฟังก์ชันที่ได้เรียนวันนีม้ ีอะไรบ้างและทบทวนสูตรชนิดว่ามีลักษณะ
อย่างไรและมีการนาพาราโบลาไปใช้ในการแก้สมการและอสมการได้อย่างไร
10. ครูสั่งการบ้านนักเรียนในหนังสือแบบฝึกหัดของ สสวท.
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ชนิดของฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
(การแก้สมการแล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
พอสมการด้วย เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
พาราโบลา) Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ชนิดของฟังก์ชัน (ต่อ)
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถหาเข้าใจชนิดของฟังก์ชันในหลายๆรูปแบบ
1.2 สามารถวาดกราฟฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลและค่าสัมบูรณ์ได้
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชนิดของฟังก์ชัน
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
เข้าใจความหมายของชนิดของฟังก์ชันว่ามีกี่ชนิด คือ ฟังก์ชันเชิงเส้น , ฟังก์ชันกาลังสอง ,
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล , ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และฟังก์ชันขั้นบันได
ขั้นนา
จากคาบที่แล้วนักเรียนได้เรียนฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันพาราโบลา โดยครูทบทวนนักเรียน
โดยการถามและทบทวนสูตรในแต่ละชนิด และเกริ่นนานักเรียนถึงฟังก์ชันที่จะเรียนในวันนี้คือฟังก์ชัน
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลและฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ขั้นสอน
1. ครูกล่าวถึงฟังก์ชันอีกชนิดหนึ่งคือ ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล โดยใช้คาถามกระตุ้นนักเรียนว่า กราฟนีเ้ คย
ได้ยินมาหรือไม่หรือทายสิหน้าตาจะเป็นยังไง
2. ครูแนะนารวมถึงให้รูปทั่วไปของฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล รูปทั่วไปของฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล คือ
y  ax เมื่อ a  0 และ a  1 กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะดังตัวอย่างต่อไปนี้ โดยฟังก์ชันนี้จะอยู่ใน
รูปเลขยกกาลัง
3. จากนั้นครูจึงลองยกตัวอย่างเพื่อให้นักเรียนได้วาดพลอตจุดที่กราฟ เพื่อทานายลักษณะของกราฟ
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล y  2 x
วิธีทา

x y
3 1
8
2 2
1
1
2
0 1
1 2
2 4
3 8
x
1
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล y 
2
วิธีทา

x y
3 8
2 4
1 2
0 1
1
1
2
1
2
4
3 1
8
4. จากกราฟฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลจากสองตัวอย่างที่ผ่านมาทาให้นักเรียนหาข้อสรุปได้ดังนี้
จากตัวอย่างทีผ่ ่านมาจะได้ว่า ถ้า a  1 และเมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่า y ก็เพิ่มตามไป
แล้วเรากล่าวได้ว่ากราฟเอกโพแนนเชียลนีเ้ ป็นฟังก์ชันเพิ่ม( increasing function)

เมื่อ x1  x 2 แล้ว f (x1)  f (x 2 )

ถ้า 0  a  1 และเมือ่ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่า y จะลดลง


แล้วเรากล่าวได้ว่ากราฟเอกโพแนนเชียลนีเ้ ป็นฟังก์ชันลด ( decreasing function)

เมื่อ x1  x 2 แล้ว f (x1)  f (x 2 )

จากตัวอย่างทัง้ สองจะได้ว่า กราฟฟังก์ชัน y  a x เมื่อ a0 และ a 1 กราฟจะตัดแกน y ที่จุด


(0,1) เสมอ
เพราะ a 0  1 แต่กราฟจะไม่ตัดแกน x เพียงแต่มีค่าเข้าใกล้ 0 หรือมีค่าเข้าใกล้แกน x เท่านั้น
5. เมื่อนักเรียนทราบหน้าตาของกราฟเอกโพแนนเชียลแล้วนั้น ครูจึงแนะนาวิธีการหาฟังก์ชันเอกโพแนน
เชียลโดยการใช้รูปทั่วไป เมื่อจุดไม่ได้ผ่านจุด (0,1) เสมอไป
โดยรูปทั่วไปของฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลคือ y  k  a x  h จากนั้นครูลองยกตัวอย่างเพิ่มเติมเพื่อให้
นักเรียนได้ใช้สูตรทั่วไปของฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ตัวอย่าง จงวาดกราฟของ y  2x  1
วิธีทา จัดสมการเทียบกับสูตรทั่วไปของฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล y  k  a x  h
จากโจทย์ y  1  2x ดังนั้นจะได้ (h, k)  (0, 1) ได้เป็นเส้นสัมผัสกราฟ
โดยกราฟจะมีหน้าตาเหมือน y  2 x เพียงย้ายแกนไปอยูท่ ี่ (h, k)  (0, 1)
เนื่องจากกราฟ ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลจะตัดแกน y เสมอ
ดังนั้นจึงหาจุดตัดแกน y โดยให้ x  0 จะได้ว่า y  1  1  0 จะได้คู่อันดับที่ (0,0)

(0, 1)

โดย Dr  R และ R r  (1, )


1 (x 1)
ตัวอย่าง จงวาดกราฟของ y
3
วิธีทา จัดสมการเทียบกับสูตรทั่วไปของฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล y  k  a x  h
1 (x 1)
จากโจทย์ y  ดังนั้นจะได้ (h, k)  (1,0) ได้เป็นเส้นสัมผัสกราฟ
3
1
โดยกราฟจะมีหน้าตาเหมือน y  เพียงย้ายแกนไปอยูท่ ี่ (h, k)  (1,0)
3
เนื่องจากกราฟ ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลจะตัดแกน y เสมอ
1
1
ดังนั้นจึงหาจุดตัดแกน y โดยให้ x0 จะได้ว่า y  3 จะได้คู่อันดับที่ (3,0)
3

(3,0)

(0, 1)

โดย Dr  R และ R r  (0, )

6. ครูลองให้นักเรียนออกมาทาหน้าห้อง โดยการขออาสาสมัครข้อละ 2 คนเพื่อให้เกิดการช่วยกันคิดและค้นหา


คาตอบ และให้นักเรียนที่เหลือช่วยกันเช็คจุดที่เพื่อนทาผิดพลาดตรงไหนบ้าง โดยครูคอยกากับดูแล
7. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดทีเ่ หลือด้วยตนเอง เพื่อทดสอบความเข้าใจและมาส่งครูรายคนเพือ่ ให้ครู
ตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นสรุป
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับฟังก์ชันที่ได้เรียนวันนีม้ ีอะไรบ้างและสามรถหาฟังก์ ชั่นเอกโพแนน
เชียลนี้ได้อย่างไรบ้างและมีลักษณะกราฟหน้าตาอย่างไร
10. ครูสั่งการบ้านนักเรียนในหนังสือแบบฝึกหัดของ สสวท.
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ชนิดของฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
(ฟังก์ชันเอกโพแนน -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
เชียล) เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และ เรียน การเรียน
มุ่งมั่นในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถใน เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
การสือ่ สาร การสื่อ Workbook Workbook 70%
ความ

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง ชนิดของฟังก์ชัน (ต่อ)
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 สามารถหาเข้าใจชนิดของฟังก์ชันในหลายๆรูปแบบ
1.2 สามารถวาดกราฟฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ได้
1.3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชนิดของฟังก์ชัน
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
เข้าใจความหมายของชนิดของฟังก์ชันว่ามีกี่ชนิด คือ ฟังก์ชันเชิงเส้น , ฟังก์ชันกาลังสอง ,
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล , ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และฟังก์ชันขั้นบันได
ขั้นนา
จากคาบที่แล้วนักเรียนได้เรียนฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล โดยครูทบทวนนักเรียนโดยการถาม
และทบทวนสูตรในแต่ละชนิด และเกริ่นนานักเรียนถึงฟังก์ชันที่จะเรียนในวันนี้คือฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ขั้นสอน
1. ครูกล่าวถึงฟังก์ชันอีกชนิดหนึ่งคือ ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์โดยใช้คาถามกระตุ้นนักเรียนว่า กราฟนี้เคยได้ยินมา
หรือไม่หรือทายสิหน้าตาของกราฟจะเป็นลักษณะใด
2. ครูได้ให้บทนิยามของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ รูปทั่วไปของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์คือ y  k  | x  h | โดยที่ a
และ c เป็นจานวนจริง และให้นักเรียนได้ลองวาดกราฟ เพือ่ คาดเดาลักษณะกราฟ
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของ y  | x |
วิธีทา จะได้ว่าจุด (h, k) = (0,0)

x y
2 2
1 1 โดเมนคือ R
0 0 เรนจ์คือ (,1]
1 1
2 2

3. เมื่อนักเรียนทราบหน้าตาของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์แล้วนั้นครูจึงให้นักเรียนลองพิจารณาค่า (h, k)
แล้วลองย้ายแกนจาก (0,0) ไปยัง (h, k) แล้วพิจารณาว่าค่าสัมบูรณ์นั้นเป็นหงายหรือคว่า
โดยครูยกตัวอย่างโดยการหาจุด (h, k) แล้วย้ายแกน
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของ y  | x  1|
วิธีทา โดยเทียบจากสูตรของค่าสัมบูรณ์ y  k  | x  h | จะได้ว่าจุด (h, k) = (1,0)

โดเมนคือ R
เรนจ์คือ [0, )

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของ y  | x | 1
วิธีทา โดยเทียบจากสูตรของค่าสัมบูรณ์ y  k  | x  h | จะได้ว่าจุด (h, k) = (0,1)
โดเมนคือ R
เรนจ์คือ [1, )
4. เมื่อนักเรียนทราบรูปแบบทั่วไปและกราฟของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์แล้วนั้น ต่อไปครูจะให้นกั เรียนนากราฟ
ของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ไปใช้ในการแก้สมการ
ตัวอย่าง จงหาค่า x ที่ทาให้ | x  1|  3 โดยใช้กราฟ
วิธีทา เราจะทาการแก้สมการโดย สมมุติให้ y1  | x  1| และ y2  3
โดยทากราฟวาดกราฟ y1  | x  1| และ y2  3 ลงในกราฟ
โดยเทียบจากสูตรของค่าสัมบูรณ์ y  k  | x  h | จะได้ว่าจุด (h, k) = (1,0)

x y1 y2
-2 3 3
-1 2 3 y2  3 3 y1  | x  1|
0 1 3
1 0 3
2 1 3 2 (1,0) 4
3 2 3
4 3 3

สังเกตว่า กราฟทัง้ สองตัดกัน 2 จุด ดังนั้นสมการจะมี 2 คาตอบ


จะได้ว่า y1 = y 2 เมื่อ x  2 หรือ x  4
ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการคือ {2, 4}
ตัวอย่าง จงหาค่า x ที่ทาให้ | x  1|  2  0 โดยใช้กราฟ
วิธีทา จัดรูปของสมการ | x  1|  2
เราจะทาการแก้สมการโดย สมมุติให้ y1  | x  1| และ y2  2
โดยทากราฟวาดกราฟ y1  | x  1| และ y2  2 ลงในกราฟ
โดยเทียบจากสูตรของค่าสัมบูรณ์ y  k  | x  h | จะได้ว่าจุด (h, k) = (1,0)
x y1 y2
-3 2 2
-2 1 2
-1 0 2
0 1 2
1 2 2 3 (1,0) 1

2 3 2
3 4 2

จะเห็นว่า y1 = y 2 เมื่อ x  3 และ x  1


ดังนั้นเซตคาตอบของสมการคือ {3,1}
5. หลังจากนี้ครูทาการสรุปการหาเกี่ยวกับฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และการหาสมการค่าสัมบูรณ์
6. ครูให้การบ้านนักเรียนเพิ่มเติมเพือ่ ให้นักเรียนวัดความเข้าใจที่มากขึ้น
7. ครูขึ้นฟังก์ชันใหม่คือฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีค่าคงตัวเป็นช่วงๆมากกว่าสองช่วงซึง่ กราฟจะ
มีลักษณะคล้ายขั้นบันได
8. ครูยกตัวอย่างฟังก์ชันขั้นบันไดประกอบเพื่อให้นกั เรียนเริม่ เข้าใจมากขึ้น
ตัวอย่าง งานการกุศลงานหนึ่ง ได้กาหนดราคาบัตรเข้าชมงานดังนี้ เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี เข้าชมฟรี ผู้ที่มอี ายุ
ตั้งแต่ 5 ถึง 12 ปี ราคาบัตรละ 10 บาท และผู้ทมี่ ีอายุเกิน 12 ปีขึ้นไป ราคาบัตรละ 20 บาท
จงเขียนฟังก์ชันแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับบัตรราคาเข้าชม พร้อมทัง้ เขียนกราฟของฟังก์ชัน
วิธีทา เขียนฟังก์ชันในรูป f (x)
โดยให้ x คืออายุ และ f (x) คือ อัตราค่าเข้างาน
จะสามารถเขียน f (x) ได้ดังนี้
0 ; 0  x  5

f (x) = 10 ; 5  x  12
20 ; x  12

จากฟังก์ชัน เราสามารถเขียนกราฟได้ดังนี้
อัตราค่าเข้างาน

20

10

x อายุ
5 10 15 90

9. ครูลองให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดต่อไปด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนได้นาความรู้ไปลองปรับใช้โดยตนเอง
โดยครูคอยกากับดูแล แล้วเฉลยในตอนท้าย
ขั้นสรุป
10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับฟังก์ชันที่ได้เรียนวันนี้มีอะไรบ้างและสามรถหาฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
และฟังก์ชันขั้นบันไดนี้ได้อย่างไรบ้างและมีลักษณะกราฟหน้าตาอย่างไร
11. ครูสั่งการบ้านนักเรียนเรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์และและฟังก์ชันขั้นบันได
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ชนิดของฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
(ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
และฟังก์ชันขั้นบันได) เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และมุง่ มั่น เรียน การเรียน
ในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถในการ เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
สื่อสาร การสื่อความ Workbook Workbook 70%

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง การให้เหตุผลแบบอุปนัย
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 ให้เหตุผลโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัย
1.2 นาการให้เหตุผลแบบอุปนัย ใช้ค้นหาความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
2.4 ให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการให้เหตุผลแบบอุปนัยได้

3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
การให้เหตุผล คือ กระบวนการซึง่ นาเอาข้อความหรือปรากฎการณ์ต่างๆทีเ่ ป็นเหตุหรื
ข้อกาหนดอาจจะหลายอย่างมาวิเคราะห์และแจกแจงแสดงความสัมพันธ์หรือความต่อเนื่องเพื่อ
ทาให้เกิดข้อความใหม่ หรือปรากฎการณ์ใหม่ซงึ่ เรียกว่า ข้อสรุป หรือ ผล
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สาคัญมีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการ
ให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย หมายถึง วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต
หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนามาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป
ขั้นนา
ครูทาการกระตุ้นนักเรียนถึงการให้เหตุผลคืออะไร ในชีวิตประจาวันทุกวันนั้นเราต้องมีการให้
เหตุผล ดังนั้นการให้เหตุผลจึงมีความสาคัญในการใช่ในชีวิตประจาวันทั่วไป โดยครูตั้งคาถามกระตุ้น
ความคิดนักเรียน ซึ่งประเด็นคาถามมีดังนี้
- นักเรียนคิดว่าการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง (2 ประเภท คือการให้
เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัย)
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายความหมายของการให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัยพร้อมทั้ง
ยกตัวอย่างและอธิบายประกอบเปรียบเทียบเพือ่ ให้นักเรียนเข้าใจชัดเจนมากขึ้น
2. นักเรียนช่วยกันพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ในตัวอย่างซึ่งเป็นตัวอย่างที่แสดงถึงการให้
เหตุผลแบบอุปนัย
ตัวอย่าง เราพบว่า ทุกเช้าพระอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และตอนเย็นพระอาทิตย์จะตกทาง
ทิศตะวันตก จึงให้ข้อสรุปว่า พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตก

ตัวอย่าง ลุลาพบว่า ทุกครั้งที่คุณแม่ไปซื้อก๋วยเตี๋ยวผัดไทยจะมี ต้นกุยช่ายมาด้วยทุกครั้ง

จึงสรุปว่า ก๋วยเตี๋ยวผัดไทยต้องมีต้นกุยช่าย

ตัวอย่าง นาตาชา พบว่า ทุกครั้งที่ทาความดีจะมีความสบายใจ จึงสรุปผลว่าการทาความดีจะทา


ให้เกิดความสบายใจ

3. ครูให้นักเรียนพิจารณาความสัมพันธ์ในตัวอย่างที่ 4-5
ตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาความสัมพันธ์ของเลขต่างๆ

3 7 11 15 19 ?
3
ครูกล่าวกับนักเรียนว่า ตัวเลขที่อยู่ในช่องสุดท้ายจะถูกหรือผิด ไม่สาคัญ แต่กระบวนการคิดเพื่อ
จะตอบว่าช่องสุดท้ายคือ 23 ผ่านกระบวนการในการสังเกตจากแบบรูปที่เกิดขึ้น และกระบวนการคิดที่
จะตอบว่าช่องสุดท้ายเป็น 23 คือการให้เหตุผลแบบอุปนัย
ตัวอย่าง ในการศึกษารูปแบบของจานวนที่สวยงาม Professor Lalbhai D. Patel ซึ่งทาการศึกษา
รูปแบบของจานวนที่มีผสู้ ร้างเอาไว้หลายพันปี และได้สร้างรูปแบบที่สวยงามเพิม่ เติมขึ้น
มากมาย ดังเช่น

11x11 = 121 11111x11 = 122221

111x11 = 1221 111111x11 = 1222221

1111x11 = 12221 1111111x11 = 12222221

จากการทดลองและสังเกตสามารถสรุปเป็นกรณีทั่วไปเกี่ยวกับการคูณ 111...1 ด้วย 11 ดังนี้

111 … 1 x 11 = 122 … 21

มี 1 อยู่ n ตัว มี 2 อยู่ n – 1 ตัว

5. ครูอธิบายเกี่ยวกับ การผลสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้นจะน่าเชื่อถือมากน้อยแค่
ไหนขึ้นอยู่กับ จานวนข้อมูล ลักษณะของข้อมูล
การสรุปผลโดยการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้นบางครัง้ ผลสรุปของแต่ละคนอาจจะไม่เหมือนกัน
เพราะผลที่ได้จากการสังเกตต้องขึ้นกับพื้นฐานและประสบการณ์ของผูส้ ังเกตแต่ละคน เช่น

จงพิจารณาการเรียงลาดับของจานวนต่อไปนี้ 2, 4, 6, ... จงหาจานวนทีเ่ รียงต่อมาอีก 2 จานวน


ซึ่งคาตอบที่เป็นได้อาจเป็นดังนี้
คาตอบที่หนึ่ง สังเกตการเรียงของ 2 , 4 , 6 ว่าเป็นการเรียงของจานวนคู่ ดังนั้น อีก 2 จานวน
ถัดไปคือ 8 , 10
คาตอบทีส่ อง สังเกตการเรียงของ 2, 4, 6 ว่า สองจานวนหน้าบวกกัน จะได้จานวนถัดไป เช่น 6
ได้มาจาก 2+4 แสดงว่า จานวนที่ถัดจาก 6 ไป คือ 4 + 6 = 10

จานวนที่ถัดจาก 10 ไป คือ 6 + 10 = 16
ดังนั้น อีก 2 จานวนถัดไป คือ 10 , 16

คาตอบที่สาม สังเกตการเรียงของ 2, 4, 6 ว่าจานวนถัดไปต้องเกิดจาก 2 จานวนหน้าคูณกัน แล้วลบด้วย 2


เช่น 6 เกิดจาก (2 x 4) – 2
แสดงว่า จานวนถัดจาก 6 ไป เกิดจาก (4 x 6) – 2 = 22

จานวนถัดจาก 22 ไป เกิดจาก (6 x 22) – 2 = 130

ดังนั้น อีก 2 จานวนถัดไป คือ 22 , 130

นอกจากตัวอย่างดังกล่าวแล้ว ยังสามารถคาตอบแบบอืน่ ได้อีกมากมาย

6. นักเรียนช่วยกันพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ในตัวอย่างที่ 1-3 ซึ่งเป็นตัวอย่างที่แสดงถึงการ


ให้เหตุผลแบบอุปนัย
ตัวอย่าง จงใช้เหตุผลแบบอุปนัย สรุปผลเกี่ยวกับผลบวกของจานวนคู่สองจานวน

0 + 2 = 2 (จานวนคู่) 6 + 8 = 14 (จานวนคู่)
2 + 4 = 6 (จานวนคู่) 8 + 10 = 18 (จานวนคู่)
4 + 6 = 10 (จานวนคู่) 10 + 12 = 22 (จานวนคู่)
สรุป ผลบวกของจานวนคู่สองจานวนเป็นจานวนคู่

ตัวอย่าง จงหาพจน์ที่อยู่ถัดไปอีก 3 พจน์

1) 1, 3, 5, 7, 9, ...

2) 2, 4, 8, 16, 32, ...

วิธีทา 1) จากการสังเกต พบว่า แต่ละพจน์มีผลต่างอยู่ 2 (3 – 1 = 2, 5 – 3 = 2, 9 - 7 = 2)


ดังนั้น อีก 3 จานวน คือ 11, 13, 15

2) จากการสังเกต พบว่า แต่ละพจน์จะมีการไล่ลาดับขึ้นไป ถ้าลองสังเกตดู จะอยู่ในรูปแบบ


2n โดยที่ n เป็นจานวนเต็มบวกที่เริ่มตั้งแต่ 1
ดังนั้น พจน์ที่ 6 คือ 26=64 , พจน์ที่ 7 คือ 128 และพจน์ที่ 8 คือ 256 หรืออาจมองในอีกแง่หนึ่ง เรา
จะพบว่า จานวนแต่ละจานวนจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 2 เท่าก็ได้
ตัวอย่าง จงหาว่า ผลคูณของจานวนนับสองจานวนที่เป็นจานวนคี่ จะเป็นจานวนคู่หรือจานวนคี่ โดยการ
ให้เหตุผลแบบอุปนัย

วิธีทา เราจะลองหาผลคูณของจานวนนับเป็นจานวนคี่หลาย ๆ จานวนดังนี้


1 3  3 3  5  15 5  7  35 7  9  63
1 5  5 3  7  21 5  9  45 7  11  77
1 7  7 3  9  27 5  11  55 7  13  91
1 9  9 3  11  33 5  13  65 7  15  105

จากการหาผลคูณดังกล่าว โดยการอุปนัย จะพบว่า ผลคูณที่ได้เป็นจานวนคี่


สรุป ผลคูณของจานวนนับสองจานวนที่เป็นจานวนคี่ จะเป็นจานวนคี่ โดยการให้เหตุผลแบบอุปนัย

7. ครูอธิบายหลักการของเกาส์ คือ นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ คาร์ล ฟรีดิช เกาส์ ได้หา


ผลบวกของจานวนตั้งแต่ 1 ถึง 100 ซึ่งเท่ากับ 5,050 โดยใช้วิธีการดังนี้
1 + 2 + 3 + …… + 98 + 99 + 100
101
101
101
เกาส์สังเกตจานวน101 มีทั้งหมด 50 จานวน ดังนั้นเขาจึงหาคาตอบโดยหาผลคูณ
ของ 50 × 101 = 5,050
8. ครูให้ตัวอย่างเพิม่ เติมเกี่ยวกับการใช้การศึกษาแบบรูปแล้วทาการตอบคาถามต่างๆ
ตัวอย่าง พิจารณาแบบรูปของสมการที่อยู่ในรูปของเศษส่วนต่อไปนี้
1 1 1
1) = 
1 2 1 2
1 1 1
2) = 
23 2 3
1 1 1
3) = 
3 4 3 4
1 1 1
4) = 
45 4 5
1 1 1
1. จงหา a และ b เมื่อ = 
11 12 a b

ตอบ จะได้ว่า a  11 และ b  12


1 1 1
2. จงหา c และ d เมื่อ = 
380 c d

ตอบ จะได้ว่า 380 คือ 19  20


ดังนั้น จะได้ว่า c  11 และ d  12
1 1 1
3. จงหา a และ b ในรูปของ n เมื่อ = 
n(n  1) a b
ตอบ จะได้ว่า a  n และ b  n  1
1 1 1 1
4. จงหาผลลัพธ์    ... 
1 2 2  3 3  4 90  100

วิธีทา จากแบบรูปเราสามารถกระจายค่าต่างๆมาได้ดังนี้
1 1 1 1 1 1 1 1
=        
2 2 2 3 3 4 90 100
1
= 1
100
100  1
=
100
99
=
100

8. นักเรียนทาใบงานตัวอย่างในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการให้เหตุผลแบบอุปนัย และครู


คอยกากับดูแล
ขั้นสรุป
9. ครูให้นักเรียนสรุปการให้เหตุผลแบบอุปนัยและหลักการของเกาส์ในการหาผลบวกตัง้ แต่ 1
ถึงพจน์ที่ n
10. ครูสั่งการบ้านนักเรียนเกี่ยวกับการให้เหตุผลแบบอุปนัย
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ชนิดของฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
(ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
และฟังก์ชันขั้นบันได) เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และมุง่ มั่น เรียน การเรียน
ในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถในการ เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
สื่อสาร การสื่อความ Workbook Workbook 70%

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่อง การให้เหตุผลแบบนิรนัย
วิชาคณิตศาสตร์ 2 ชื่อรายวิชา ค 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 คาบ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชั่นต่างๆ
ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model)
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาใช้แก้ปัญหา
ค 6.2 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.4-6/4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์ หรือปัญหาและนาไปใช้ในการ
แก้ ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
นักเรียนสามารถ
1.1 ให้เหตุผลโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบนิรนัย
1.2 นาการให้เหตุผลแบบนิรนัย ใช้ค้นหาความสัมพันธ์ของสิง่ ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
2. ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถ
2.1 มีทักษะในการแก้ปญ ั หาและให้เหตุผลได้
2.2 มีการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
2.3 มีทักษะการคิดแปลความและการประยุกต์
2.4 ให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการให้เหตุผลแบบนิรนัยได้
3. ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนต้องเป็นผูท้ ี่
3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีระเบียบวินัย
3.3 ใฝ่เรียนรู้และมุ่งในการทางาน
สาระการเรียนรู้
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนาความรู้พื้นฐานซึง่ อาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือ
บทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รมู้ าก่อนและยอมรับว่าเป็นจริง เพื่อหาเหตุผลนาไปสู่ข้อสรุป การให้เหตุผลแบบ
นิรนัย ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ
1) เหตุหรือสมมติฐาน ซึ่งหมายถึง ข้อสรุปที่ได้จากเหตุหรือสมมติฐาน เป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์
ได้แก่ คาอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์ ทฤษฎีบทที่พิสจู น์แล้ว กฎหรือสมบัติต่างๆ
2) ผลหรือผลสรุป ซึ่งหมายถึง ข้อสรุปที่ได้จากเหตุหรือสมมติฐาน
ขั้นนา
1. ทบทวนความรูเ้ กี่ยวกับการให้เหตุผลแบบอุปนัย โดยใช้การถาม-ตอบ
2. ครูถามนักเรียนว่า การให้เหตุผลแบบนิรนัยคืออะไร (เป็นการนาความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็น
ความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็นจริง เพื่อหาเหตุผล
นาไปสู่ข้อสรุป)
3. สุ่มนักเรียน 2 - 3 คน นาเสนอตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัยที่ครูให้ทาหน้าชั้นเรียน
โดยครูอธิบายและแนะนาเพิ่มเติม
- การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัยแตกต่างกันอย่างไร (การให้เหตุผล
แบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลจากกรณีย่อยๆ แล้วนามาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป ส่วนการให้เหตุผลแบบ
นิรนัยเป็นการนาความรูพ้ ื้นฐานซึง่ อาจเกิดจากความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยามซึง่ เป็นที่รมู้ าก่อนและ
ยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนาไปสู่ข้อสรุป)

ขั้นสอน
1. ครูตั้งคาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้
การให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้น ผลหรือข้อสรุปจะถูกต้อง เมื่อใด ยอมรับว่าเหตุเป็นจริงทุกข้อการสรุป
สมเหตุสมผล
การให้เหตุผลแบบนิรนัย หมายถึง วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงของเหตุการณ์ย่อยๆโดย
อ้างอิงจากเหตุผลใหญ่หรือสมมุตฐิ านทั่วไปที่เรายอมรับว่าเป็นจริงในขณะนั้น โดยนาความรู้พื้นฐาน ซึ่ง
อาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎหรือบทนิยาม ซึง่ เป็นสิง่ ทีร่ ู้มาก่อนและยอมรับความจริงนั้นมาเป็นเหตุ
แล้วจึงค่อยนามาวิเคราะห์เพื่อเข้าสูบ่ ทสรุปที่เป็นผล ดังนั้น
2. ครูอธิบายการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผลแบบนิรนัย โดยการใช้แผนภาพ
เวนน์ – ออยเลอร์ทุกชนิด
3. ครูยกตัวอย่างเกี่ยวกับการให้เหตุผลแบบนิรนัยเพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากยิง่ ขึ้น
ตัวอย่าง เหตุ 1) จานวนคู่หมายถึงจานวนทีห่ ารด้วย 2 ลงตัว
2) 6 หารด้วย 2 ลงตัว
ผล 6 เป็นจานวนคู่
ตัวอย่าง เหตุ 1) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นสัตว์เลือดอุ่น
2) สุนัขเลี้ยงลูกด้วยนม
ผล สุนัขเป็นสัตว์เลือดอุ่น
ตัวอย่าง เหตุ 1) นักเรียน ม.4 ทุกคนแต่งกายถูกระเบียบ
2) สมชายเป็นนักเรียนม.4
ผล สมชายแต่งกายถูกระเบียบ
4. ครูอธิบายต่อว่า การให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้น ผลหรือข้อสรุปจะถูกต้อง ก็ต่อเมื่อ
1) ยอมรับว่าเหตุเป็นจริงทุกข้อ
2) การสรุปผลสมเหตุสมผล

5. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่องการให้เหตุผลแบบนิรนัย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน6.


เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัดในใบงานเสร็จแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด

6. ครูยกตัวอย่างที่ 1 และ 2 เกี่ยวกับการให้เหตุผลแบบนิรนัย และสอนการหาค่าความสมเหตุสมผล

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าการให้เหตุผลนีส้ มเหตุสมผลหรือไม่

เหตุ 1) คนไทยทุกคนเป็นคนดี
2) เจมส์เป็นเด็กไทย
ผล เจมส์เป็นคนดี

วิธีทา เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ดังนี้

คนดี

คนไทย

เจมส์ เด็กไทย

ดังนั้นข้อสรุปตอบ สมเหตุสมผล
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าการให้เหตุผลนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ 1) คนแก่ทุกคนมีสุขภาพดี
2) คนมีสุขภาพดีบางคนเป็นคนช่างพูด
3) สมชายเป็นคนแก่และเป็นคนช่างพูด
ผล สมชายเป็นคนมีสุขภาพดี
วิธีทา เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ดังนี้
คนแก่ คนช่างพูด

คนสุขภาพดี
สมชาย

ดังนั้นข้อสรุปตอบ สมเหตุสมผล
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าข้อความนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ 1. ผลไม้บางชนิดเป็นผลไม้ที่คนกินได้
2. ผลไม้ที่คนกินได้บางชนิดเป็นผลไม่ไทย
ผล มีผลไม้บางชนิดเป็นผลไม้ไทย
วิธีทา เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ดังนี้

ผลไม้ ผลไม้ที่คนไทยกินได้
จากเหตุข้อ 1 และ ข้อ 2 มาเขียนรวมกัน สามารถเขียนเป็นแผนภาพได้หลายกรณีดังนี้

กรณีที่ 1

ผลไม้ ผลไม้ที่คนไทยกินได้ ผลไม้ไทย

กรณีที่ 2

ผลไม้ ผลไม้ที่คนไทยกินได้

ผลไม้ไทย
จากกรณีที่ 1 พบว่า ไม่สมเหตุสมผล
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าข้อความนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ 1. กบทุกตัวเป็นปลา
2. ปลาทุกตัวเป็นเต่า
ผล กบทุกตัวเป็นเต่า
วิธีทา เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ดังนี้
เต่า

ปลา

กบ

โดยผลจากข้อสรุป สอดคล้องกับแผนภาพ ดังนั้น สมเหตุสมผล

แม้ว่าโลกความจริงทางโลกจะไม่เป็นจริงก็ตาม

7. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการให้เหตุผลแบบนิรนัย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ


ของนักเรียน
8. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัดในใบงานเสร็จแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด
ขั้นสรุป
9. ครูตั้งคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียนเรื่องการให้เหตุผลแบบนิรนัย
- การให้เหตุผลแบบนิรนัย หมายถึงอะไร (เป็นการนาความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ
ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งทีร่ ู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็นจริง มาประกอบเพื่อนาไปสู่ข้อสรุป)
- การใช้แผนภาพเพื่อตรวจสอบความสมเหตุสมผล ถ้าทุกกรณีแสดงผลตามทีส่ รุปจะได้ว่า
ผลสรุปเป็นอย่างไร (ข้อสรุปสมเหตุสมผล)
- การใช้แผนภาพเพื่อตรวจสอบความสมเหตุสมผล ถ้ามีบางกรณีที่ไม่สอดคล้องกับผลสรุปจะ
ได้ว่าผลสรุปเป็นอย่างไร (ผลสรุปไม่สมเหตุสมผล)
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2251 จัดทาโดย สสวท.
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
3. Workbook discovering mathematics เล่ม 4 จัดทาโดย สถาบัน PDCA Education
การวัดและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
ชนิดของฟังก์ชัน ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
(ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
และฟังก์ชันขั้นบันได) เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
Workbook Workbook 70%
คุณลักษณะอันพึง - การเข้าเรียน - การเข้าเรียน - เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประสงค์ - การส่งงาน - การมีส่วนร่วมกันในชั้น - มีความกระตือรือร้นใน
- ใฝ่เรียนรู้และมุง่ มั่น เรียน การเรียน
ในการทางาน
- ตรงต่อเวลา
สมรรถนะ -แบบฝึกหัดในเอกสาร -แบบฝึกหัดในเอกสาร - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การแก้ปัญหา ประกอบการเรียน ประกอบการเรียน และความเข้าใจ
- การให้เหตุผล -แบบฝึกหัดในหนังสือ -แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน - ความถูกต้องของ
- ความสามารถในการ เรียนและแบบฝึกหัดใน และแบบฝึกหัดใน แบบฝึกหัดไม่ต่ากว่า
สื่อสาร การสื่อความ Workbook Workbook 70%

ลงชื่อ ผู้สอน ลงชื่อ ผู้สอน


( นางสาวฐนิดา เรืองตระกูล ) ( อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์พี่เลี้ยง
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ………………………………………………….. ผู้สอน
(อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ)
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ …………………………………………..…………………..
(อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………..
(อาจารย์ ดร. สุดารัตน์ ศรีมา)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ

You might also like