You are on page 1of 27

แบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนจริงในรูปกรณฑ์

ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559

ชื่อ-สกุล............................................................................ชัน้ ม.5/.................เลขที่.........................

ส่งงานครัง้ ที่ 1 วันที่...........เดือน...........................พ.ศ...................ผลประเมิน ได้ ................คะแนน ลงชื่อครู.............

ส่งงานครัง้ ที่ 2 วันที่...........เดือน...........................พ.ศ...................ผลประเมิน ได้ ................คะแนน ลงชื่อครู.............

ส่งงานครัง้ ที่ 3 วันที่...........เดือน...........................พ.ศ...................ผลประเมิน ได้ ................คะแนน ลงชื่อครู.............

ส่งงานครัง้ ที่ 4 วันที่...........เดือน...........................พ.ศ...................ผลประเมิน ได้ ................คะแนน ลงชื่อครู.............

ส่งงานครัง้ ที่ 5 วันที่...........เดือน...........................พ.ศ...................ผลประเมิน ได้ ................คะแนน ลงชื่อครู.............

ส่งงานครัง้ ที่ 6 วันที่...........เดือน...........................พ.ศ...................ผลประเมิน ได้ ................คะแนน ลงชื่อครู.............


1

เอกสารแบบฝกวิชาคณิตศาสตร เรื่อง จํานวนจริงในรูปกรณฑ

จุดประสงคการเรียนรู
1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับรากที่ n ของจํานวนจริง และสามารถหารากที่ n ของจํานวนจริง
ที่กําหนดใหไดถูกตองโดยการอธิบายและคิดคํานวณ
2. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกรณฑที่ n ของจํานวนจริง และสามารถหากรณฑที่ n
ของจํานวนจริงที่กําหนดใหได
3. สามารถหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑได
4. แสดงความสัมพันธระหวางกรณฑกับเลขยกกําลัง และนําไปใชได
5. สามารถแกสมการเมื่อตัวแปรอยูในเครื่องหมายกรณฑ ที่กําหนดให
2
คําแนะนําสําหรับนักเรียน

เอกสารแบบฝก เรื่อง จํานวนจริงและกรณฑ ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใหนักเรียนไดศกึ ษาดวยตนเอง


โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาดังตอไปนี้
1. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ซึ่งเปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบจํานวน 40 ขอ
เพื่อทราบความรูพื้นฐาน
2. เริ่มศึกษาตัง้ แตชุดที่ที่ 1 เรียงไปตามลําดับ โดยอานคําอธิบาย ศึกษาตัวอยาง แบบชา ๆ
ไตรตรองและคิดใหดใี หเขาใจ แลวตอบคําถามของแบบฝกลงในกระดาษเปลา อยาขีดเขียนใด ๆ ลงใน
เอกสารแบบฝกฉบับนี้
3. เมื่อตอบคําถามเสร็จ จึงเปดดูคําตอบเพือ่ ตรวจสอบคําตอบวาถูกหรือไม ถาตอบถูกใหศึกษา
และทํากิจกรรมในชุดตอ ๆ ไป
4. ถาคําตอบไมถูก ใหยอนกลับไปศึกษาและทํากิจกรรมใหม ทําความเขาใจใหดแี ลวตอบคําถาม
ใหม
5. ศึกษาและทํากิจกรรมไปชา ๆ ไมตองรีบ ถาเหนื่อยหรือเบื่อใหพัก เมื่อพรอมจึงศึกษาตอ
6. เมื่อศึกษาจบทุกชุดของบทเรียน ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนแลวตรวจคําตอบในเฉลย
หนาถัดไปเพื่อดูผลความกาวหนาของตนเอง
7. นักเรียนทีด่ ีตองมีความซือ่ สัตยตอตนเอง ตองไมดูคําตอบกอนตอบแบบฝกเด็ดขาด จึงจะ
ประสบผลสําเร็จในการเรียน
3
ปญหาชวนคิด

นายกตัญู รูค ุณ หนุมโสดวัยทองนิสยั ดี มีบดิ ามารดาซึ่งแกชราและหลานอีก 2 คน


ที่ตองดูแลซึงเขาก็ปฏิบัติตอบิดามารดาและหลาน ๆ ดวยความรักความหวงใยเปนอยางดีมาโดยตลอด
เปนที่ชื่นชมของคนทั่วไป อนึ่งดวยความเปนคนขยันหมั่นเพียรในการงาน ไมฟมุ เฟอย ไมยุงเกีย่ วกับ
อบายมุข เอื้อเฟอเผื่อแผ จึงมีความรุงเรืองในหนาที่การงาน ดวยความดีที่สะสมมาตลอดชีวิต วันหนึ่ง
เขาโชคดีไดรบั รางวัลแจคพ็อตจากการสุมหยิบซองเปลาบะหมี่ มามา ที่เขาสงไปชิงรางวัลเปนเงิน 10 ลาน
บาท เขาจึงแบงใหบิดาและมารดา ดังนี้

ใหบดิ า 7 7 7 7 7...α ลานบาท


ใหมารดา 2 + 2 + 2 + 2 + 2...α ลานบาท
ที่เหลือทั้งหมดมอบใหสถาบันสงเคราะหคนชราบานบางแค การกระทําของเขาเปนที่สรรเสริญยกยอง
ของคนทั่วไป
นักเรียนชวยกันคิดหนอยซิวา สถาบันสงเคราะหคนชราบานบางแค จะไดรับเงินสนับสนุนเปน
จํานวนเงินเทาไร ?
4
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่องกรณฑ์

รากที่ n ของ a
นักเรียนไดเรียนรูเลขยกกําลังและสมบัตขิ องเลขยกกําลังมาแลว เราทราบวา 32 = 9 และ (− 3)2 = 9
นั่นคือ จํานวนจริงที่ยกกําลังสองแลวได 9 คือ 3 และ –3 ซึ่งเรียกจํานวนจริง 3 และ –3 วารากที่สองของ 9
รากที่สองของ 9 ทีเ่ ปนบวก เขียนแทนดวย 9 ดังนั้น 9 = 3
รากที่สองของ 9 ทีเ่ ปนลบ เขียนแทนดวย – 9 ดังนัน้ − 9 = −3
จงพิจารณาขอความตอไปนีแ้ ลวเติมคําตอบลงในที่วา งใหถกู ตองสมบูรณ
1). 4 2 = 16 ดังนั้น 4 เปนรากที่สองของ 16
2). (− 4)2 = 16 ดังนั้น –4 เปนรากทีส่ องของ .......
3). 2 4 = 16 ดังนั้น 2 เปนรากที่สขี่ อง ...................
4). (− 2)4 = 16 ดังนั้น ...... เปนรากทีส่ ขี่ อง ..........
5). 33 = 27 ดังนั้น ...... เปนรากที.่ ......ของ ...........
6). (− 3)3 = −27 ดังนั้น .............................................
7). 25 = 32 ดังนั้น .....................................................
8). (− 2)5 = −32 ดังนั้น ............................................
9). b n = a ดังนั้น b เปนรากที่ n ของ a เมื่อ a, b เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนเต็มบวก
ที่มากกวา 1
จากขอ 1 – 9 พบวา
กรณีที่ 1 ถา a เปนจํานวนจริงบวก และ n เปนจํานวนเต็มคูบวก จะมีรากที่ n ของ a เปนจํานวนจริง 2 คา
เชน รากที่สองของ 16 คือ 4 และ –4 เพราะ 4 2 = 16 และ (− 4)2 = 16
กรณีที่ 2 ถา a เปนจํานวนจริงบวก และ n เปนจํานวนเต็มคี่บวก จะมีรากที่ n ของ a เปนจํานวนจริง 1 คา
เชน รากที่สามของ 8 คือ 2 เพราะ 23 = 8
รากที่สามของ –27 คือ –3 เพราะ (− 3)3 = −27
กรณีที่ 3 ถา a เปนจํานวนจริงลบ และ n เปนจํานวนเต็มคูบวก จะไมมีรากที่ n ของ a ที่เปนจํานวนจริง
เชน –9 ไมมรี ากที่สองที่เปนจํานวนจริง เพราะไมมีจํานวนจริงใด ทีย่ กกําลังสองแลวได –9
กรณีที่ 4 ถา a เปนจํานวนจริงลบ และ n เปนจํานวนเต็มคี่บวก จะมีรากที่ n ของ a เปนจํานวนจริง
1 คา
เชน รากที่สามของ –27 คือ –3 เพราะ (− 3)3 = −27
จากทั้ง 4 กรณี เราจะกลาววา b เปนรากที่ n ของ a ก็ตอ เมื่อ b n = a โดยที่ a, b เปนจํานวนจริง และ
n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1
5

แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 1

จงเติมคําตอบที่ถูกตองลงชองวางในแตละขอตอไปนี้
1). รากที่สองของ 36 คือ ...........................................................
2). รากที่สองของ 49 คือ ...........................................................
4
3). รากที่สองของ คือ ...........................................................
9
4). รากที่สองของ 144 คือ ...........................................................
5). รากที่สองของ 169 คือ ...........................................................
6). รากที่สองของ – 16 คือ ...........................................................
9
7). รากที่สองของ − คือ ...........................................................
25
8). รากที่สามของ 64 คือ ...........................................................
9). รากที่สามของ – 64 คือ ...........................................................
10). รากที่สามของ 125 คือ ...........................................................
11). รากที่สามของ –125 คือ ...........................................................
64
12). รากที่สามของ คือ ...........................................................
125
27
13). รากที่สามของ − คือ ...........................................................
64
14). รากที่สี่ของ 81 คือ ...........................................................
15). รากทีส่ ี่ของ 625 คือ ...........................................................
16). รากทีส่ ี่ของ –81 คือ ...........................................................
81
17). รากที่สี่ของ คือ ...........................................................
625
18). รากที่หาของ 243 คือ ...........................................................
19). รากทีห่ าของ – 243 คือ ...........................................................
32
20). รากที่หาของ − คือ ...........................................................
243
6
ใบความรูที่ 2
กรณฑที่ n ของ a หรือ คาหลักของรากที่ n ของ a
เพื่อความสะดวกในการกลาวถึงรากที่ n ของ a เราจะกลาถึงจํานวนจริงทีเ่ ปนคาหลักของรากที่
n ของ a และใชสัญลักษณ n a
นัน่ คือ n a เปนสัญลักษณทใี่ ชแทนจํานวนจริงที่เปนคาหลักของรากที่ n ของ a โดยกําหนดเงื่อนไข
ดังนี้
ขอ1. ถา a > 0 ; n a เปนรากที่ n ที่เปนจํานวนบวกของ a
เชน
9 > 0 ดังนั้น 9 ที่เปนคาบวก จะเปนคาหลักของรากที่สองของ 9
นั่นคือ 9 = 3 เปนคาหลักของรากที่สองของ 9
8 > 0 ดังนั้น 3 8 ทีเ่ ปนคาบวก จะเปนคาหลักของรากที่สามของ 8
นั่นคือ 3 8 = 2 เปนคาหลักของรากที่สามของ 8
ขอ2. ถา a < 0 และ n เปนจํานวนเต็มคี่ ; n a เปนรากที่ n ที่เปนจํานวนลบของ a
เชน
–32 < 0 ดังนั้น 5 − 32 ทีเ่ ปนคาลบ จะเปนคาหลักของรากที่ 5 ของ –32
นัน่ คือ 5 − 32 = −2 เปนคาหลักของรากที่ 5 ของ –32
ขอ3. ถา a = 0 แลว n a = 0 นั่นคือ คาหลักของรากที่ n ของ 0 ก็คือ 0 นั่นเอง
ตัวอยาง จงหาคาหลักของรากที่สขี่ อง 81
วิธีคิด คาหลักของรากที่สขี่ อง 81 คือ 3 ซึ่งเปนจํานวนบวก
หรือ 4 81 = 3 นั่นเอง
ตัวอยาง จงหาคาหลักของรากที่สามของ –125
วิธีคิด คาหลักของรากที่สามของ –125 คือ –5 ซึ่งเปนจํานวนลบ
หรือ 3 − 125 = −5 นั่นเอง

ขอตกลง
1. na อานวากรณฑที่ n ของ a หรือ คาหลักของรากที่ n ของ a และเครื่องหมาย n
เรียกวาเครื่องหมายกรณฑ เรียก n วาอันดับหรือดัชนีของกรณฑ
2. ถา n = 2 เราเขียน a แทน 2 a
3. n 1 = 1
7
แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 2

จงเติมคําตอบที่ถกู ตองลงชองวางในแตละขอตอไปนี้
1). คาหลักของรากที่ 3 ของ 27 คือ ...........................................................
2). คาหลักของรากที่ 3 ของ – 8 คือ ...........................................................
3). คาหลักของรากที่ 2 ของ 16 คือ ...........................................................
4). คาหลักของรากที่ 2 ของ 0 คือ .............................................................
5). คาหลักของรากที่ 4 ของ 256 คือ ...........................................................
6). คาหลักของรากที่ 5 ของ 32 คือ ...........................................................
7). คาหลักของรากที่ 2 ของ 4 คือ ...........................................................
8). คาหลักของรากที่ 4 ของ 16 คือ .........................................................
9). คาหลักของรากที่ 3 ของ – 27 คือ .........................................................
10). 0 = .........................................
11). 36 = .......................................
12). 3 1 = .........................................
13). 3 125 = .......................................
14). 4 81 = ........................................
15). 5 243 = .....................................
16). 3 − 1 = ......................................
17). 3 − 125 = ....................................
18). 3 − 343 = .................................
19). 5 243 = ....................................
32
20). 5− = ................................
243
8
ใบความรูที่ 3
การเขียน n x n ในรูปอยางงาย
ให a เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวาหรือเทากับสอง
n
an = a เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวกคู
n
= a เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวกคี่
an
ตัวอยาง จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงายโดยไมมเี ครื่องหมายกรณฑ
4
1). 4 16 = 24 = 2 = 2 (เพราะ n = 4 ซึ่งเปนจํานวนคู)
2). (−3) 2 = − 3 = 3 (เพราะ n = 2 ซึ่งเปนจํานวนคู)
3). 5 − 32 = 5 (−2) 5 = −2 (เพราะ n = 5 ซึ่งเปนจํานวนคี)่
4). ( x 2 y 6 = x 2 ( y 3 ) 2 = xy 3 (เพราะ n = 2 ซึ่งเปนจํานวนคู)

แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 3

ใหนกั เรียนนําคําตอบจาก ก – ซ ทางดานขวามือมาเติมลงชองวางในแตละขอใหถูกตอง

1). 3 −8 = ................................... ก. ab 2
3
2). a 3b 6 = .............................. ข. 4x3 y5 = 4 x3 y 5

3). 4 (−7) 4 = ............................ ค. – 3


4). 4 (x 4 y8 ) = .......................... ง. − 3x 2 y 3 = 3x 2 y 3

5). 5 32 = ................................... จ. −7 = 7

6). 5 − 243 = ................................ ฉ. xy 2 = x y 2

7). 16 x 6 y10 = .......................... ช. 2


8). (−3) 2 x 4 y 6 = ..................... ซ. – 2
9

ใบความรูที่ 4
สมบัตขิ องกรณฑ
ถา n, m เปนจํานวนเต็มบวกทีม่ ีคามากกวา 1 และ a, b เปนจํานวนจริง โดยที่ n a และ nb

เปนจํานวนจริง จะไดวา
1). (n a )n = a
2). n a . nb = n ab
n a a
3). nb
=n เมื่อ b≠0 และเมื่อ n เปนจํานวนคู a≥0 และ b >0
b
4). mn
a = mn a
5). mn a =na และเมื่อ n เปนจํานวนคู a≥0
ตัวอยาง
1). ( 2 )2 = 2 นั่นคือ 2× 2 =2 15). 53
− 27 = 15 − 27

2). (3 3 )3 = 3 นั่นคือ 3 3 ×3 3×3 3 = 3


16). 4
a 4 b 8 = a 4 b 8 = ab 2

3). (4 5 )4 = 5 17). 3 − 27 = 6 − 27 ไมมีคําตอบในระบบจํานวน


4). 2. 3 = 2 × 3 = 6 จริง เนื่องจากไมมีจํานวนจริงใดยกกําลังหกแลวได –27
5). 3 2 .3 4 = 3 2 × 4 = 3 8 = 2
18). 4 2
2 =
2× 2 2
2 =22= 2
6). 3 − 5.3 − 25 = 3 (−5) × (−25) = 3 125 = 5 6 3× 2 2
19). 22 = 2 =32
7). 4 4 .4 64 =4 4 × 64 =4 256 = 4 8 4 4× 2 4
20). 3 = 3 =23= 3
8). 5 − 2 .5 − 16 =5 (−2) × (−16) = 5 32 =2
12 4 4× 3 4
8 8 21). 3 = 3 =33
9). = = 4 =2
2 2
3 16 16 3
10). =3 = − 8 = −2
3 −2 −2
4 32 32 4
11). 4
=4 = 16 = 2
2 2
−8 −8
12). ≠ เพราะ −8 และ
−2 −2
−2 ไมเปนจํานวนจริง
13.) 2 =42
14). 33 =63
10

แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 4
ใหนกั เรียนนําคําตอบจากทางดานขวามือมาเติมลงชองวางในแตละขอใหถูกตอง

1). ( 4 )2 = .............................. 75

2). ( − 4 )2 = .............................. 33

(3 − 3 )3 =
1
3). .............................. 2
 1
4
3
4). 4  =
 2 ..............................
  –3
5). 3 3.3 9 = .............................. 4 4 หรือ 2
6). 3 2.3 − 4 = .............................. 4
7). 4 4.4 64 = .............................. a 3b 7
8). 5 − 3.5 81 = ..............................
ab 2
9). 16 = ..............................
24 2
10). 3 9 = ..............................
11). 1
= .............................. 5 2
81 –2
12). a12 b 28 = .............................. ไมมีคําตอบในระบบของจํานวนจริง
13). 5 − 32 = .............................. 2
4 3 12 24 1
14). a b = .............................. 3
12 3
15). 4 = .............................. 33 2
21 3
16). 5 = ..............................
17). 50 = .............................. 25 5
18). 3 54 = .............................. –3
19). 5 160 = .............................. 4
20). 4 32 = .............................. ไมมีคําตอบในระบบของจํานวนจริง
11
ใบความรูที่ 5
ความสัมพันธระหวางเลขยกกําลังกับกรณฑ
นิยาม ถา a เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1 และ a มีรากที่ n แลว
1
an = n a
ตัวอยาง
1 1
1). 16 2 = 2 16 2). 32 5 = 5 32
1 1
 1 4 4 1
3). ( −32 ) 5 = 5 − 32 4). −  = − = ไมเปนจํานวนจริง เพราะไมมีจาํ นวนจริงใด
 81  81
1

ยกกําลังสี่แลวได −
1
ดังนั้น  −1

4
ไมเปนจํานวนจริง
81  81 
แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 5
จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปกรณฑ โดยไมตอ ง จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปเลขยกกําลัง โดยไม
ทําใหอยูใ นรูปอยางงาย ตองทําใหอยูใ นรูปอยางงาย
1
1). 49 2 = ...........................................
1
11). 64 = ......................................
2). (98) 2 = .......................................... 12). 3 64 = ......................................
1 13). 5 32 = ......................................
3). (125) 3 = .......................................... 14). 3 − 27 = ......................................
1
4). (375) 3 = .......................................... 15). 4 81 = ......................................
1
 27  3
5). −  = .....................................
 64 
1
6). (16) 4 = ........................................
1
 1 4
7).   = ......................................
 81 
1
8). (160) 5 = .......................................
1
9). (−243) 5 = ....................................
1
10). (−98) 7 = ..................................
12
ใบความรูที่ 6
ความสัมพันธระหวางเลขยกกําลังกับกรณฑ
นิยาม ให a เปนจํานวนจริง m, n เปนจํานวนเต็มบวก และ n มากกวา 1 โดยที่ n a เปนจํานวนจริง
แลว
m
m  1 m m
1. an
 
= a n  หรือ an = ( a)
n m
หรือ an
n
= am
 
 
m
− 1
2. a n =
m
an
ยกเวน a=0 และ m=0 เพราะวา 00 ไมนิยาม
ตัวอยาง
3
3  1
1). 16 2
 
= 16 2  = ( 16 )3 = 16 3
 
 
3
3  1
2). (−32) 5   3
(
=  (−32) 5  = 5 − 32 = 5 (−32) 3 )
 
 
3
− 1 1 1 1
3). 9 2 = = = =
3
92
 1 
 2 
3
( 9) 3
93
 (9 ) 
 
 
3
3  1
4. (−25) 2
 
=  (−25) 2  = ( − 25 )3 = ไมสามารถหาคําตอบที่เปนจํานวนจริงได
 
 
3
เนื่องจากไมมีจํานวนจริงใด ๆ ทีย่ กกําลังสองแลวได – 25 นัน่ คือ (−25) 2 ไมเปนจํานวนจริง
13
แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 6

จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปกรณฑ โดยไมตองทําใหอยูใ นรูปอยางงาย

3
1). 62 = ...........................
2
 1 3
2).   = ...........................
 25 
2
3). (−27) 3 = ...........................
3
4). 81 4 = ...........................
3
5). 32 5 = ...........................
1
6). 2
= ...........................
43
2

7). (4) 3 = ...........................
2

8). (25) 5 = ...........................
2
9). 2 5
(4 xy ) = ...........................
2

10). (4 xy ) 2 5 = ...........................
14

ใบความรูท7ี่
สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
ให a , b เปนจํานวนจริงซึ่ง a ≠ 0 ; b ≠ 0 และ m , n เปนจํานวนตรรกยะ โดยที่ a m และ b n
เปนจํานวนจริง แลว
1. a m × a n = a m + n
am
2. = am−n
n
a
1
3. a −n =
an
4. (ab) n = an × bn
5. (a m ) n = a mn
n
a an
6.   =
b bn
ตัวอยาง
2 1 2 1
+ 1
 33  33 33 3 3 3
1).   .  =   =  = 2 1 3 3 2 3 1 3
5 5 5 5 5
3 1 3 1 4
8). ( 4a 3 b 3 ) 2 = 4 2 (a 3 ) 2 (b 3 ) 2
2). ( ) ( 2) = ( 2) ( 2) = ( 2)
+ 2
2 2. 2 2 2 = 2 =2 3 1
2 2
2 = (2 ) (a )(b 2 )
2 1 1 1 1
53 −
3). 1
= 53 3 = 53 =35 = 3
2 ab 2 = 8ab 2
1 1
53
 53  15 3 15
(5 )
4
4 1 5 9).   =
(−3) 5 − (− )  (−3) 5  1
4). = (−3) 5 5 = (−3) 5 = −3   5 15
1 ((−3) )

(−3) 5 1
2 55
=
 1 5 1 2
.
1 1
 2
5). 2  = 2
2 5 = 25 = 5 2 (−3) 3
  5
  5
1 =
3 −3
 2 2 2 1
.
1
  1
6).  (−8) 3  = (−8) 3 2 = (−8) 3 = 3 − 8 = −2 − 1 1
  10). 5 3 = =
  1 3 5
1 1 1 1 1 53
7). 3 6 3
(8a b ) 3 3 3 6 3
= 8 (a ) (b ) 3 3
= (2 ) ab 2 = 2ab 2
15

แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 7
1). จงหาคาของแตละขอตอไปนี้
1 2 1

1. 42 = ................... 2. 83 = ................... 3. 4 2 = ...................
1 2 2
− −
4. 64 3 = ................... 5. (−27) 3 = ................... 6. (27) 3 = ...................
2 2 3

13  1 3  9 2
7.   = ................... 8. −  = ................... 9.   = ...................
8  8  16 
3 1 1
= ................... 11. ( ) = ................... 12. ( )

9 2
10.   (−11) 6 6
(−16) 6 3
= ...................
 16 
2). จงหาคาแตละขอตอไปนี้
1 3 3 5
1. 22 ×22 = ................... 2. 58 × 58 = ...................
2 1 3 1
− −
3. (27) 3 × (27) 3 = ................... 4. 9 4 ×94 = ...................
2 5 5 3

43 × 43 3 2 × 32
5. 1
= ................... 6. 7 9
= ...................

43 32 ×3 2
3). ให x และ y เปนจํานวนจริงบวก จงทําแตละขอตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย
และมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนบวก
1 1
(4 x) 2 (8 x) 3
1. 1
= ................... 2. 2
= ...................
− −
(16 x) 4 (8 x) 3
2
 1 6  1 1 
 3 2  2 3 
 x y  x y 
3. = ................... 4. = ...................
 1   1 
 x3   x4 
   
−2
1  1 3 
 125 x y  3
3 4  2 4 
5.   = ................... 6.  x y  = ...................
 −6   −3 1 
 27 x y 
 x 2y4 
 
16

ใบความรูที่ 8
การบวก ลบ คูณ หาร จํานวนที่อยูในเครื่องหมายกรณฑ
การบวก ลบ คูณ หาร จํานวนที่อยูในเครื่องหมายกรณฑก็เหมือนกับการบวก ลบ คูณ หาร จํานวนทีอ่ ยูในรูป
เลขยกกําลัง ดังนั้นสามารถใชความรูเกี่ยวกับกฎของเลขยกกําลังเขามาชวยได ดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยาง 1 จงหาคาของ 12 + 27 − 3
12 + 27 − 3 = 2 2 × 3 + 3 2 × 3 − 3
= 2 2 . 3 + 32 . 3 − 3
= 2. 3 + 3. 3 − 3
= (2 + 3 − 1) 3
=4 3

ตัวอยาง 2 จงทํา 50 + 3 2 − 32 − 3 16 ใหอยูใ นรูปอยางงาย


50 + 3 2 − 32 − 3 16 = 50 − 32 + 3 2 − 3 16
3
= 5 2 × 2 − 4 2 × 2 + 3 2 − 23 × 2
3
= 5 2 . 2 − 4 2 . 2 + 3 2 − 2 3 .3 2
= 5. 2 − 4. 2 + 3 2 − 2.3 2
= (5 − 4). 2 + (1 − 2).3 2
= 2 + (−1)3 2
= 2 −3 2

ตัวอยาง 3 จงหาคาของ 2 8 × 125 × 40

2 8 × 125 × 40 = 2 2 2 × 2 × 5 2 × 5 × 2 2 × 10

= 2 2 2 . 2 × 5 2 . 5 × 2 2 . 10
= 2.2. 2 × 5. 5 × 2. 10
= 4. 2 × 5. 5 × 2. 10
= 4.5.2 2 × 5 × 10
= 40 2 × 5 × 10
= 40 10 × 10
= 40 × 10
= 400
17
ตัวอยาง 4 จงหาคาของ 53 2 × 7 3
1 1
53 2 ×7 3 = 5(2) 3 × 7(3) 2
1 1
= 35 × (2) 3 × (3) 2
1 2 1 3
× ×
= 35 × (2) 3 2 × (3) 2 3
2 3
= 35 × (2) 6 × (3) 6
6 6
= 35 × 2 2 × 33
6
= 35 × 2 2 × 33
= 35 × 6 108
ตัวอยาง 5 จงหาคาของ ( )
3 3 2+ 3
3 3 2+( 3 ) = (3 3 )(2) + (3 3) ( 3 )
= 6 3 +9
= 9+6 3

ตัวอยาง 6 จงหาคาของ ( 3+ 2 )2
( 3+ 2 )2 = ( 3 + 2) ( 3+ 2 )
= 3 3+ 3 2+ 2 3+ 2 2
= 3+ 6 + 6 + 2
= 5+2 6
ตัวอยาง 7 จงหาคาของ ( 5+2 )( 5−2 )
( 5+2 )( 5−2 ) = 5 5 − 2 5 + 2 5 − 2(2)
= 5−2 5 +2 5 −4
= 1
27
ตัวอยาง 8 จงทํา ใหตวั สวนอยูใ นรูปไมติดกรณฑ
3 3
27 9 9 3 9 3
= = . = = 3 3
3 3 3 3 3 3
18

1
ตัวอยาง 9 จงทํา ใหตวั สวนอยูใ นรูปไมติดกรณฑ
5+ 2
1 1 5− 2 5− 2 5− 2
= × = =
5+ 2 5+ 2 5− 2 5−2 3

5+2 2+ 3
ตัวอยาง 9 จงหาร ดวย
3 −1 5−2
5+2 2+ 3
÷ = 5+2× 5−2
3 −1 5−2 3 −1 2 + 3
5−4
=
( 3 − 1)( 3 + 2)
1
=
3+ 2 3 − 3 − 2
1
=
3 +1
1 3 −1
= ×
3 +1 3 −1
3 −1
=
3 −1
3 −1
=
2
19

แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 8
1). จงหาคาของแตละขอตอไปนี้
1. 48 − 27 − 5 3 = .....................................
2. 3 54 + 3 16 − 3 128 = .....................................
3. 2 10 × 15 = .....................................
4. 96 × 2 12 = .....................................
5. 3 8 ÷ 4 12 = .....................................
2 15 4 18
6. ÷ = .....................................
3 7 9 35
7. 4 48 × 27 = .....................................
8. ( 5+ 2 ) ( 5 + 2 2 ) = .....................................
9. ( 7+ 3 ) ( 7 − 3 ) = .....................................

10. ( 3 + 2 )2 = .....................................
2). จงทําแตละขอตอไปนีใ้ หอยูใ นรูปทีม่ ีสว นไมมีเครือ่ งหมายกรณฑปรากฏอยู
3x 2 y
1. = .....................................
3xy
2 −1
2. = .....................................
2 +1
2+ 3
3. = .....................................
3− 2
40
4. = .....................................
9 5 −5 7
10 6 − 2 7
5. = .....................................
3 6+2 7
20

ใบความรูที่ 9
การแกสมการเมื่อตัวแปรอยูในเครื่องหมายกรณฑ
การแกสมการที่อยูในรูปเครือ่ งหมายกรณฑ เราจําเปนตองใชวิธีการยกกําลังเขามาชวย ดังนั้นคําตอบที่ได
จะเปนคําตอบของสมการที่อยูในรูปเลขยกกําลังแลว ซึง่ คําตอบเหลานี้บางคาอาจจะไมใชคําตอบของสมการเดิม
ดังนั้นสิ่งที่นกั เรียนตองปฏิบตั ิคือ นําคําตอบที่ไดไปตรวจสอบกับสมการเดิมวาคําตอบใดบางที่ใชได คําตอบใดบาง
ทีใ่ ชไมได
ตัวอยาง 1 จงแกสมการ x + 2 = x − 4
จาก x + 2 = x − 4
ยกกําลังสองทัง้ สองขาง จะได ( x+2 )2 = (x − 4)2
x+2 = x 2 − 8 x + 16
0 = x 2 − 8 x + 16 − x − 2
0 = x 2 − 9 x + 14
0 = ( x − 7)( x − 2)
ดังนั้น x−7 = 0 หรือ x − 2 = 0
x=7 หรือ x = 2
ตรวจสอบคําตอบ
นําคา x = 7 ไปแทนในสมการ x+2 = x−4
จะได 7+2 =7−4

9 =3
3=3
แสดงวา x = 7 ทําใหสมการเปนจริง
นําคา x = 2 ไปแทนในสมการ x + 2 = x − 4
จะได 2+2 = 2−4

4 = −2
2 = −2 ซึง่ เปนไปไมได
แสดงวา x = 2 ไมใชคําตอบของสมการ
สรุป เซตคําตอบของสมการนี้คือ {7}
21

ตัวอยาง 2 จงแกสมการ x + 7 − 8 − 2x = 1
จาก x + 7 − 8 − 2x = 1
จะได x + 7 − 1 = 8 − 2x

ยกกําลังสองทั้งสองขางจะได ( x + 7 −1 )2 = ( 8 − 2x )2
x + 7 − 2 x + 7 +1 = 8 − 2x
x + 7 + 1 − 8 + 2x = 2 x+7
3x = 2 x+7

ยกกําลังสองทัง้ สองขางจะได (3x) 2 = (2 x+7 )2


9x 2 = 4( x + 7)
9x 2 = 4 x + 28
9 x 2 − 4 x − 28 = 0
(9 x + 14)( x − 2) 0 =
14
x=− หรือ x = 2
9
ตรวจสอบคําตอบโดยนําคา x ทีไ่ ดไปแทนในสมการ x + 7 − 8 − 2 x = 1
พบวา x = 2 ทําใหสมการเปนจริง แต x = − 14 ทําใหสมการเปนเท็จ
9
ดังนั้น x = 2 จึงเปนคําตอบของสมการ
สรุป เซตคําตอบของสมการนี้คือ {2}

แบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 9

จงหาเซตของคําตอบของสมการตอไปนี้
1. 2 x + 3 = 3 = .....................................
2. 7 3x − 5 = 28 = .....................................
3. 4 x − 2 = 3 = .....................................
4. 3x + 10 = x = .....................................
5. 2 x − 1 = 4 x − 11 = .....................................
6. x + 7 + x = 7 = .....................................
7. 3x + 4 + 3x − 5 = 9 = .....................................
22

ปญหาชวนคิด

นายกตัญู รูค ุณ หนุมโสดวัยทองนิสัยดี มีบดิ ามารดาซึ่งแกชราและหลานอีก 2 คน ที่ตองดูแล


ซึงเขาก็ปฏิบัติตอบิดามารดาและหลาน ๆ ดวยความรักความหวงใยเปนอยางดีมาโดยตลอด เปนทีช่ ื่นชม
ของคนทั่วไป อนึ่งดวยความเปนคนขยันหมั่นเพียรในการงาน ไมฟมุ เฟอย ไมยงุ เกี่ยวกับอบายมุข
เอื้อเฟอเผื่อแผ จึงมีความรุง เรืองในหนาที่การงาน ดวยความดีทสี่ ะสมมาตลอดชีวิต วันหนึ่งเขาโชคดี
ไดรบั รางวัลแจคพ็อตจากการสุมหยิบซองเปลาบะหมี่ มามา ที่เขาสงไปชิงรางวัลเปนเงิน 10 ลานบาท
เขาจึงแบงใหบดิ าและมารดา ดังนี้

ใหบิดา 7 7 7 7 7...α ลานบาท


ใหมารดา 2 + 2 + 2 + 2 + 2...α ลานบาท
ที่เหลือทั้งหมดมอบใหสถาบันสงเคราะหคนชราบานบางแค การกระทําของเขาเปนที่สรรเสริญยกยอง
ของคนทั่วไป
นักเรียนชวยกันคิดหนอยซิวา สถาบันสงเคราะหคนชราบานบางแค จะไดรับเงินสนับสนุนเปน
จํานวนเงินเทาไร ?
23

แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
แบบฝกทักษะเรื่องกรณฑ
คําชี้แจง แบบทดสอบฉบับนี้เปนขอสอบปรนัยชนิดเลือกตอบจํานวน 40 ขอ ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด
เพียงคําตอบเดียวจาก ก,ข,ค หรือ ง แลวทําเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคําตอบ

1. รากที่สองของ 144 คือจํานวนในขอใดตอไปนี้


ก. – 12 ข. 12 ค. – 12, 12 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
2. รากที่สามของ – 125 คือจํานวนในขอใดตอไปนี้
ก. – 5 ข. 5 ค. – 5, 5 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
3. รากที่สขี่ อง – 81 คือจํานวนในขอใดตอไปนี้
ก. – 3 ข. 3 ค. – 3, 3 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
4. คาหลักของรากที่สามของ – 8 คือจํานวนในขอใดตอไปนี้
ก. – 2 ข. 2 ค. – 2, 2 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
5. คาหลักของรากที่สขี่ อง 256 คือจํานวนในขอใดตอไปนี้
ก. – 4 ข. 4 ค. – 4, 4 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
6. คาหลักของรากที่หาของ 32 คือจํานวนในขอใดตอไปนี้
ก. – 2 ข. 2 ค. – 2, 2 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
32
7. 5− เทากับเทาไร
243
2 2
ก. − ข. ค. − 2 , 2
ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
3 3 3 3
8. 4 ( −7 ) 4 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
ก. – 7 ข. 7 ค. – 7, 7 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง
3
9. a 3b 9มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
ก. ab 3 ข. ab 2 ค. ab ง. ab 3

10. 4 x 4 y8 มีคา เทากับขอใดตอไปนี้


ก. x 4 y 8 ข. xy 2 ค. xy 2 ง. x y2

1
11. มีคา เทากับขอใดตอไปนี้
81
ก. 1 ข. −
1
ค. 1
ง. − 1
9 9 3 3
24

4 3 12 24
12. a b มีคา เทากับขอใดตอไปนี้
ก. ab 2 ข. ab 2 ค. a b 2 ง. ถูกทุกขอ
2
13. (−27) 3 มีคา เทากับขอใดตอไปนี้
ก. – 3 ข. 3 ค. – 9 ง. 9
3
14. (−25) 2 มีคา เทากับขอใดตอไปนี้
ก. – 5 ข. 5 ค. ±5 ง. ไมมีคาํ ตอบในระบบจํานวนจริง

( )
1
15. (− 16)6 3
มีคา เทากับขอใดตอไปนี้
ก. –16 ข. 16 ค. – 256 ง. 256
2 5
43 × 43
16. 1
มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
43
ก. –16 ข. 16 ค. – 256 ง. 256
5 3

3 2 × 32
17. 7 9
มีคาเทากับขอใดตอไปนี้

32 ×3 2

ก. 3 ข. 2 ค. 1 ง. 0
1
(8 x) 3
18. 2
มีคา เทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อ x เปนจํานวนจริงบวก

(8 x) 3
2
ก. 8x ข. 8x 3 ค. x ง. 1
1
 125 x 3 y 4  3
19.   มีคา เทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อ x และ y เปนจํานวนจริงบวก
 27 x − 6 y 
 
5 5 3 3 3 3
ก. xy ข. x y ค. xy ง. x y
3 3 5 5
−2
 1 3 
 2 4 
20.  x y  มีคา เทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อ x และ y เปนจํานวนจริงบวก
 −3 1 
 x 2 y4 
 
1 1
ก. ข. x4 y ค. ง. x −4 y
4 −4
x y x y
25

21. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
ก. 3 8 = 2 ข. 3 − 27 = −3 ค. 4 81 = 9 ง. 5 − 32 = −2
2 7
22. ถา a≥0 จงหาคาของ  4 a 3  3 . 7 a 6  12
   
   
1 1 1
ก. a2 ข. a3 ค. a4 ง. a
23. ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ
3 3
ก. ถา x2 =4 แลว x=8 ข. ถา x2 =8 แลว x=4
1 3 1
− 1 −1
ค. ถา x 2 =2 แลว x2 = ง. ถา x =4 แลว x2 = 0.5
8
1
24. จงหาคาของ 3 125 × ( −27) 3

ก. – 5 ข. – 10 ค. – 15 ง. – 20
25. จงหาคาของ 2 128 − 18 + 4 32
ก. 29 2 ข. 31 2 ค. 33 2 ง. 35 2
4
26. ทําสวนไมใหอยูในรูปติดกรณฑไดตรงกับขอใด
3− 2
ก. 4 2 −1 ข. 4 3 −1 ค. 4( 3 − 2) ง. 4( 3 + 2)
1
32 2
27. 1 1 1
เทากับขอใด
(1 + 3 2 )(6 2 − 22 )
1
ก. 2 2
ข. 2 ค. 22 ง. 1
3
28. จงหาคาของ ( 2a 2 .)(3 4a )
ก. a ข. 2a ค. 2a ง. 2a 2
29. จงหาคาของ (2 3 + 7 )(2 3 − 7 )
ก. 5 ข. 7 ค. 13 ง. 15
7− 5
30. จํานวน ทําใหอยูใ นรูปที่สวนไมติดกรณฑไดตรงกับขอใด
7+ 5
27 − 7 5 44 − 4 5 44 − 14 5 54 − 14 5
ก. ข. ค. ง.
12 22 44 44
1
31. คาของ 75 − 12 − คือขอใด
3
2 4 8 1
ก. 3 ข. 3 ค. 3 ง. 3
3 3 3 3
26

5
32. คาของ ทําใหอยูใ นรูปที่สวนไมติดกรณฑไดตรงกับขอใด
2+ 3+ 8
3 2− 3 3 2− 3 3 −3 2
ก. ข. ค. 3 2 −3 ง.
3 2 3

6+ 3 6− 3
33. ถา x= และ y= จงหาคาของ x+ y
6− 3 6+ 3
ก. 6 ข. 4 2 ค. 4 ง. 2

34. ( 32 − 243 + ) ( 72 + 27 ) เทากับจํานวนในขอใดตอไปนี้


( 12 + 3 8 ) − ( 75 − 48 )
ก. 2 ( 3 − 2) ข. 2 3 ( 3 − 2 ) ค. 2 ( 2 − 6 ) ง. 2
( 6− 2 )
3 3 3 3

35. จงแกสมการ x + 7 − 8 − 2x = 1
14
ก. 1 , 2 ข. – 1 , 2 ค. 2 ง. −
9

36. คา x จากสมการ x+2 − x−6 = 2 คือขอใด


ก. 5 ข. 6 ค. 7 ง. 8

37. จงหาคา x จากสมการ 12 x + 1 = 7 มีคา เทาไร


ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

38. จงหาคา x จากสมการ x x x... = 5 มีคา เทาไร


ก. 5 ข. 5 ค. 5 5 ง. 25

39. คาของ 3 3 3... ตรงกับขอใด


3
ก. ข. 3 ค. 3 ง. 3 3
3

40. ถา 4 −m = 5 จงหาคาของ 2 3m คือขอใด


1 1 1 1
ก. ข. ค. ง.
5 2 5 3 5 5 5

You might also like