You are on page 1of 48

ลัก ูตร ถาน ึก า

ตาม ลัก ูตรแกนกลางการ ึก าขั้นพื้นฐาน พ. . 2551


(ฉบับปรับปรุง พ. . 2560)

ค 22102 ราย ิชาคณิต า ตร์


ชั้นมัธยม ึก าปีที่ ๒

นาง า รรณ ิภา อยู่ ูงเนิน


ตาแ น่ง ครู
โรงเรียน มื่น รีประชา รรค์
านักงานเขตพื้นที่การ ึก าประถม ึก า ุรินทร์ เขต ๑
หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์

รายวิชา ค 2๒๑0๒ คณิตศาสตร์


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

นางสาววรรณวิภา อยู่สูงเนิน
ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ


ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ซึ่งพัฒนามาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนาข้อมูลที่
ได้จากการวิจัยและข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มี
ความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ
ในระดับเขตพื้นที่และสถานศึกษา
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ ได้นาแนวทางการบริหารหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มาใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและ
จัดการเรียนการสอน และได้จัดทาเป็นหลักสูตรโรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ได้ศึกษาเอกสาร ตาราเกี่ยวข้องกับการจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) มาเป็นแนวทางในการจัดทา ดังนั้นผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
หลักสูตร หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของโรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ ฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อ
บุคคลที่ต้องการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วรรณวิภา อยู่สูงเนิน

สารบัญ

หน้า

คานา............................................................................................................................................ 1
สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………………... ๒
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น.............................................. ๓
คาอธิบายรายวิชา………………………….……………………………………………………………….………..….… ๖
โครงสร้างรายวิชา........................................................................................................................ ๗
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดรายวิชา ......................................………………………………….… 9
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 สถิติ............................................................................................................ ๑๐
หน่วยที่ ๒ ความเท่ากันทุกประการ............................................................................ ๑๖
หน่วยที่ ๓ เส้นขนาน................................................................................................... ๒๓
หน่วยที่ ๔ การให้เหตุผลทางเรขาคณิต........................................................................ 31
หน่วยที่ ๕ แยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง................................................................ 36
การวัดและประเมินผลรายวิชา............................................................................…………….…….… 45

มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและท้องถิ่น

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่
เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
๑. เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยก
จำนวนตรรกยะ
กาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
- เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
- การนาความรู้เกี่ยวกับเลขยกกาลังไปใช้ ใน
ปัญหาในชีวิตจริง
การแก้ปัญหา
๒. เข้าใจจานวนจริงและ
ม.๒ จำนวนจริง
ความสัมพันธ์ของจานวนจริง และ
- จานวนอตรรกยะ
ใช้สมบัติของจานวนจริงในการ
- จานวนจริง
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน
- รากที่สองและรากที่สามของจานวนตรรกยะ
ชีวิตจริง
- การนาความรู้เกี่ยวกับจานวนจริงไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


พหุนำม
- พหุนาม
- การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม
๑. เข้าใจหลักการการดาเนินการ - การหารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหารเป็น
ของพหุนามและใช้พหุนามในการ พหุนาม
กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม
ม.๒ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์
๒. เข้าใจและใช้การแยกตัว - การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ประกอบของพหุนาม ดีกรีสองใน โดยใช้
การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ o สมบัติการแจกแจง
o กาลังสองสมบูรณ์
o ผลต่างของกาลังสอง

มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่กาหนดให้


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๒ - -

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.๒ ๑. ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องพื้นที่ผิว พื้นที่ผิว
ของปริซึมและทรงกระบอกในการ - การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การนาความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึม
ชีวิตจริง และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
๒. ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตร ปริมำตร
ของปริซึมและทรงกระบอกในการ - การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การนาความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึม
ชีวิตจริง และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา

มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต


และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.๒ ๑. ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและ กำรสร้ำงทำงเรขำคณิต
เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง - การนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างทาง
รวมทั้งโปรแกรม The เรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
Geometer’s Sketchpad หรือ
โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ
เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนา
ความรู้เกี่ยวกับ การสร้างนี้ไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิต
จริง
๒. นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของ เส้นขนำน
เส้นขนานและ รูปสามเหลี่ยมไปใช้ - สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


๓. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับการ กำรแปลงทำงเรขำคณิต
แปลงทางเรขาคณิตในการ - การเลื่อนขนาน
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การสะท้อน
ชีวิตจริง - การหมุน
- การนาความรู้เกี่ยวกับการแปลงทาง
เรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา
๔. เข้าใจและใช้สมบัติของรูป ควำมเท่ำกันทุกประกำร
สามเหลี่ยมที่เท่ากัน - ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
ทุกประการในการแก้ปัญหา - การนาความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุก
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง ประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
๕. เข้าใจและใช้ทฤษฎีบทพีทา ทฤษฎีบทพีทำโกรัส
โกรัสและบทกลับ - ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ - การนาความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ปัญหาในชีวิตจริง และ บทกลับไปใช้ในชีวิตจริง

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.๒ ๑. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติใน สถิติ
การนาเสนอข้อมูล และวิเคราะห์ - การนาเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพ o แผนภาพจุด
ต้น – ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลาง o แผนภาพต้น – ใบ
ของข้อมูล และแปลความหมาย o ฮิสโทแกรม
ผลลัพธ์ รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิต o ค่ากลางของข้อมูล
จริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม - การแปลความหมายผลลัพธ์
- การนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริง

มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.1 - -

คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
วิชา ค ๒๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมู ลแบบแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ


ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูล ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ
ด้าน-มุม-ด้าน, มุม-ด้าน-มุม, ด้าน-ด้าน-ด้าน, มุม-มุม-ด้าน และฉาก-ด้าน-ด้าน และการนาไปใช้แก้โจทย์ปัญหา
สมบัติต่าง ๆ ของเส้นขนาน รวมไปถึงการให้เหตุผลและการแก้ปัญหาของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม การให้
เหตุผลทางเรขาคณิต การให้เหตุผลเกี่ยวกับการสร้าง และการให้เหตุผลเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว พหุนามดีก รีที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ และพหุนามดีกรีสองที่
เป็นผลต่างของกาลังสอง
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า เพื่อพัฒนา
ทั ก ษะกระบวนการในการคิ ด คานวณ การแก้ ปั ญ หา การให้ เ หตุผ ล การวิ เ คราะห์ การสสื่ อ ความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ทั้งด้านความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทางานอย่างมี
ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนาความรู้ไปประยุกต์ในการดารงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจตคติ
ที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม ซื่อสัตย์ เสียสละ มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อ
ส่วนรวม

รหัสตัวชี้วัด
ค 1.2 ม. 2/2
ค 2.2 ม. 2/1, ม. 2/2, ม. 2/4
ค 3.1 ม. 2/1

รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา
ค 2210๒ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง
หน่วย ชื่อหน่วย สาระสาคัญ มฐ.การเรียนรู้/ตัวชี้วัด จานวน น้าหนัก
ที่ การเรียนรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)
1 สถิติ สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริง ค 3.1 ม.2/1 9 10
เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือศาสตร์ เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการ
หรือหลักการและระเบียบวิธีทางสถิติ นาเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
ที่ว่าด้วย จากแผนภาพจุด แผนภาพ
- การเก็บรวบรวมข้อมูล ต้น - ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลาง
- การนาเสนอข้อมูล ของข้อมูล และแปลความหมาย
- การวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิต
- การตีความหมายข้อมูล จริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
2 ความ รูปเรขาคณิตหรือรูปสามเหลี่ยมใด ๆ ค 2.2 ม.2/4 17 10
เท่ากันทุก สองรูปจะเท่ากันทุกประการ ก็ต่อเมื่อ เข้าใจและใช้สมบัติของรูป
ประการ เลื่อนรูปสองรูปมาทับกันแล้ว จะทับกัน สามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการใน
สนิทพอดี การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
ปัญหาในชีวิตจริง
3 เส้นขนาน เส้ น ขนาน คื อ เส้ น ตรงสองเส้ น ที่ มี ค 2.2 ม.2/2 14 10
ระยะห่างเท่ากันตลอดแนว เมื่อลากเส้น นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้น
ตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง จะทา ขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ใน
ให้เกิดมุมแย้งที่เท่ากัน เมื่อลากเส้นตรง การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
เส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง จะทาให้เกิด
มุมภายใน 4 มุม เมื่อลากเส้ นตรงเส้ น
หนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง จะทาให้เกิดมุม
ภายในบนข้ า งเดี ย วกั น ของเส้ น ตั ด
รวมกันได้ 180 องศา
4 การให้ การให้ เ หตุ ผ ลทางเราขาคณิ ต มี ค วาม ค 2.2 ม.2/1 10 10
เหตุผลทาง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ค าอนิ ย าม บทนิ ย าม ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและ
เรขาคณิต สัจพจน์และทฤษฎีบท โดย เครื่องมือ เช่น
- คาอนิยาม คือ คาที่เป็นพื้นฐานในการ วงเวียนและสันตรง รวมทั้ง
สื่ อ ความหมายให้ เ ข้ า ใจตรงกั น โดยไม่ โปรแกรม
ต้ อ งให้ ค วามหมายของค า ได้ แ ก่ จุ ด The Geometer’s Sketchpad
เส้นตรง และระนาบ หรือโปรแกรม
เรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูป
เรขาคณิต

หน่วย ชื่อหน่วย สาระสาคัญ มฐ.การเรียนรู้/ตัวชี้วัด จานวน น้าหนัก


ที่ การเรียนรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)
- บทนิยาม คือ คาหรือข้อความที่มีการ ตลอดจนน าความรู้ เ กี่ ย วกั บ การ
ให้ ความหมายหรื อจ ากัดความไว้อย่ า ง ส ร้ า ง นี้ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ก า ร
ชัดเจน แก้ปัญหาในชีวิตจริง
- สั จ พจน์ คื อ ข้ อ ความที่ ต กลงกั น หรื อ
ยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ และ
นาไปใช้อ้างเพื่อการ พิสูจน์ข้อความอื่น
ว่าเป็นจริงได้
- ท ฤ ษ ฎี บ ท คื อ ข้ อ ค ว า ม ท า ง
คณิตศาสตร์ที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นจริง และ
นาไปใช้ในการอ้างอิง
5 การแยกตัว 1. พหุ น ามดี ก รี ส องที่ ส ามารถแยกตั ว ค 1.2 ม.2/2 เข้าใจและใช้การ 10 10
ประกอบ ประกอบ จะได้ตัวประกอบเป็นพหุ นาม แยกตัวประกอบของพหุนาม
พหุนาม ดี ก รี ห นึ่ ง ที่ มี พ จน์ เ หมื อ นกั น แต่ มี ดี ก รี ส อ ง ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
ดีกรีสอง เครื่องหมายระหว่างพจน์ต่างกัน เขียน
คณิตศาสตร์
ได้ในรูป A2 – B2 เมื่อ A และ B เป็น
พหุ น ามได้ เรี ย กพหุ น ามดี ก รี ส องนี้ ว่ า
ผลต่างของกาลังสอง
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี
สองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง มีดังนี้
A2 – B2 = (A + B)(A – B) หรือ(หน้า)
2
 (หลัง)2=(หน้า  หลัง)(หน้า  หลัง)
รวมระหว่างเรียน 60 50
สอบกลางภาค - 20
สอบปลายภาค - 30
รวม 60 100

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในรายวิชา ค 2๒๑0๒ คณิตศาสตร์


หน่ว ตัวชี้วัด ค 1.1 ค ๑.๒ ค ๒.๑ ค 2.2 ค 3.1 รวม
ยที่ ชื่อหน่วย 1 2 1 2 1 2 1 2 3 4 5 1
1 สถิติ √ 1
2 ความเท่ากันทุกประการ √ 1
3 เส้นขนาน √ 1
4 การให้เหตุผลทางเรขาคณิต √ 1
5 การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง √ 1
รวม 1 1 1 1 1 5
๑๐

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สถิติ เวลา ๙ ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัสวิชา ค 2๒10๒ วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด
ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
จากแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของข้อมูล
และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยี
ที่เหมาะสม
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาคัญของสถิติ
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางแจกแจงความถี่
4. การสร้างตารางแจกแจงความถี่
5. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ และฮิสโทแกรม
6. การหาค่ากลางของข้อมูล
7. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
8. มัธยฐาน
9. ฐานนิยม
10. การแปลความหมายผลลัพธ์และการนาไปใช้
11. ความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นจากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติ
สาระสาคัญ
1. วิธีการทางสถิติเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์เทคนิคหนึ่ง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การแปลความหมาย
ของข้อมูลที่รวบรวมไว้มีความสะดวกยิ่งขึ้น ระเบียบวิธีการทางสถิติมี 4 ขั้นตอน คือ การเก็บรวบรวม
ข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการตีความหมายข้อมูล
2. การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพจุด เป็นการนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟแบบหนึ่ง โดยแสดงข้อมูล
ในรูปจุด ใช้กับข้อมูลที่มีจานวนไม่มาก โดยแกนนอนของกราฟจะแสดงหน่วยวัด จุดแต่ละจุดแทน
จานวนข้อมูลแต่ละตัว
การนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพต้น-ใบ เป็นการจัดการข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ หรือช่วง ๆ
โดยมีหลักการเขียนส่วนประกอบออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนต้น (Stem) และส่วนใบ (Leaf)
ส่วนต้น (Stem) ในกรณีที่ข้อมูลมีค่าสูงไม่เกิน 99 จะมีเลขโดดหลักสิบเป็นส่วนต้น ในกรณีที่ข้อมูล
มีค่าสูงไม่เกิน 999 จะมีเลขโดดหลักร้อยและหลักสิบเป็นส่วนต้น
ส่วนใบ (Leaf) เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลส่วนย่อย โดยเขียนหลักหน่วยเป็นส่วนใบ
3. การนาเสนอข้อมูลด้วยฮิสโทแกรม ใช้สาหรับตารางแจกแจงความถี่ที่เป็นอันตรภาคชั้น ซึ่งอาจจะเป็น
ตารางแจกแจงความถี่ที่มีอันตรภาคชั้นเท่ากันทุกชั้น หรืออาจจะมีอันตรภาคชั้นบางชั้นมีความกว้าง
ไม่เท่ากันก็ได้
๑๑

การนาเสนอข้อมูลด้วยฮิสโทแกรม ประกอบด้วย
1) แกนตั้งและแกนนอน
โดยที่ แกนตั้ง แสดงความถี่ของข้อมูลในแต่ละชั้น
แกนนอน แสดงความกว้างของอัตรภาคชั้น
2) รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากวางชิดติดกันที่มีความกว้างเท่ากับความกว้างของอัตรภาคชั้นและความสูง
เท่ากับความถี่ของข้อมูลในแต่ละอันตรภาคชั้น
3) ขอบล่างและขอบบนของแต่ละอันตรภาคชั้นที่เรียงต่อกัน
4. ข้อมูลทางสถิติประกอบด้วยข้อมูล 2 ประเภท คือ ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิและข้อมูล
ที่นามาใช้แบ่งได้ 2 ลักษณะคือข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ
5. การแจกแจงความถี่ (frequency distribution) เป็นวิธีการทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ในการจัดทาข้อมูล
เพื่อความสะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูล
6. พิสัยเท่ากับค่าสูงสุดของข้อมูลลบด้วยค่าต่าสุดของข้อมูล
7. ขั้นตอนการสร้างตารางแจกแจงความถี่มีดังนี้
 แบ่งค่าที่เป็นไปได้ทั้งหมดออกเป็นช่วง ๆ ตามต้องการ
 หาจานวนคะแนนหรือค่าจากการสังเกตทั้งหมดที่อยู่ในแต่ละช่วงโดยทาเครื่องหมายขีด (/)
เพื่อความสะดวกในการนับ
 นับจานวนคะแนนที่ทาเครื่องหมายไว้แล้วบันทึกตัวเลขในช่องความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้นนั้น
8. ขอบล่าง คือ ค่ากึ่งกลางของข้อมูลที่น้อยที่สุดในอันตรภาคชั้นกับข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดของ
อันตรภาคชั้นที่ติดกันและเป็นช่วงข้อมูลที่ต่ากว่า
9. ขอบบน คือ ค่ากึ่งกลางระหว่างข้อมูลที่มากที่สุดในอันตรภาคชั้นนั้นกับคะแนนที่น้อยที่สุด
ของอันตรภาคชั้นที่ติดกันและเป็นช่วงคะแนนที่สูงกว่า
10. ความกว้างของอันตรภาคชั้นเท่ากับพิสัยหารด้วยจานวนชั้นของอันตรภาคชั้น
11. การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้นนิยมใช้กับข้อมูลที่แสดงการเปรียบเทียบหรือแสดงการเปลี่ยนแปลง
ตามลาดับก่อนหลังของเวลาที่ข้อมูลนั้นเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจนาเสนอด้วย
กราฟเชิงเดี่ยวหรือกราฟเชิงซ้อน
12. ค่ากลางของข้อมูลเป็นค่าที่ใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดใดชุดหนึ่ง ค่ากลางของข้อมูลที่นิยมใช้ ได้แก่
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต x มัธยฐานและฐานนิยม
13. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ ผลบวกของข้อมูลทั้งหมดในชุดนั้นหารด้วยจานวนของข้อมูลทั้งหมด x
x
n

นั่นคือ x
x
n
เมื่อ x แทนผลบวกของข้อมูลทั้งหมด
n แทนจานวนของข้อมูลทั้งหมด
14. มัธยฐานของข้อมูลชุดหนึ่ง คือค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดโดยแบ่งได้ 2 กรณีดังนี้
1) ถ้าข้อมูลมีจานวนเป็นจานวนคี่ เมื่อเรียงลาดับข้อมูลแล้วมัธยฐานคือค่าของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลาง
2) ถ้าข้อมูลมีจานวนเป็นจานวนคู่ เมื่อเรียงลาดับข้อมูลแล้วมัธยฐานคือค่าเฉลี่ยของผลบวกของข้อมูล
ที่อยู่ตรงกลางสองค่า
15. ฐานนิยมของข้อมูลชุดหนึ่งคือข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด
๑๒

16. ข้อมูลชุดหนึ่งอาจมีฐานนิยมได้มากกว่าหนึ่งค่า และถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าฐานนิยมมากกว่า


3 ค่า แสดงว่าไม่มีฐานนิยมหรือข้อมูลที่มีความถี่ของทุกตัวเท่ากับ 1 ข้อมูลชุดนั้นไม่มีฐานนิยม
17. ค่ากลางของข้อมูลที่จะนามาใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลใด ๆ โดยทั่วไปจะนิยมใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
กับคะแนนสอบต่าง ๆ หรือใช้กับชุดของข้อมูลที่ต้องการค่ากลางของข้อมูลที่ใกล้เคียงกับข้อมูลมาก ๆ
สาหรับมัธยฐานจะนิยมใช้กับข้อมูลที่มีความแตกต่างของข้อมูลมาก ๆ ส่วนฐานนิยมจะนิยมใช้กับ
ชุดข้อมูลที่มีความถี่ของข้อมูลในชุดข้อมูลนั้นมาก ๆ หรือข้อมูลเชิงคุณภาพ
18. โดยทั่วไปการเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลควรเลือกให้เหมาะสมกับการนาไปใช้ซึ่งในชุดข้อมูลหนึ่ง
สามารถหาค่ากลางของข้อมูลทั้งสามค่านั้นได้
19. การแปลความหมายข้อมูล (Interpreting Data) เป็นการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ที่ได้
และเชื่อมโยงผลการวิเคราะห์นั้นกับคาถามที่สร้างไว้ในตอนต้น โดยคาถามที่ใช้ในทางสถิติ
ที่เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ที่แตกต่างกันมี 4 แบบ คือ คาถามที่ประเมิน
สมรรถนะในเชิงการทางานตามขั้นตอน คาถามที่ประเมินความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ คาถามที่ประเมิน
ความคิดเชิงสถิติ และคาถามที่ประเมินกระบวนการแก้ปัญหาทางสถิติ
20. การนาเสนอข้อมูลทางสถิติบางครั้งอาจทาให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้ ดังนั้นการนาเสนอ
ข้อมูลทางสถิติผู้นาเสนอควรระบุจานวนของกลุ่มตัวอย่างให้ชัดเจน
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด 2. มุ่งมั่นในการทางาน
- การสรุปความรู้ การปฏิบัติ/การสาธิต การ
ให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ภาระงานหลัก
1. ใบงานเรื่อง การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
2. ใบงานเรื่อง การหาค่ามัธยฐานและฐานนิยม
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง การนาเสนอข้อมูล การหาค่ากลางของข้อมูล การแปลความหมายผลลัพธ์
และการนาไปใช้ (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาค่ามัธยฐานและฐานนิยม (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
๑๓

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนกำรทำงำนกลุ่ม
ระดับคุณภำพ
รำยกำรกำรประเมิน 4 3 2 1
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง
วิธีการหาค่าเฉลี่ย วิธีการหาค่าเฉลี่ยเลข วิธีการหาค่าเฉลี่ยเลข วิธีการหาค่าเฉลี่ยเลข วิธีการหาค่าเฉลี่ยเลข
เลขคณิต คณิตได้อย่างถูกต้อง คณิตได้อย่างถูกต้อง คณิตถูกต้องเป็นบาง คณิตไม่ถูกต้อง โดย
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง ข้อ ครูแนะนาบ้าง ครูต้องแนะนาทุกครั้ง
และอธิบาย หรือให้เพื่อนอธิบาย และดูตัวอย่าง
ยกตัวอย่างแนะนา จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
เพื่อนให้เข้าใจได้ ถูกต้อง ทุกขั้นตอน จึง
ถูกต้อง สามารถทาได้ถูกต้อง

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาค่ามัธยฐานและฐานนิยม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง อธิบายและแสดง
วิธีการหาค่ามัธย วิธีการหาค่ามัธยฐาน วิธีการหาค่ามัธยฐาน วิธีการหาค่ามัธยฐาน วิธีการหาค่ามัธยฐาน
ฐานและฐานนิยม และฐานนิยมได้อย่าง และฐานนิยมได้อย่าง และฐานนิยมถูกต้อง และฐานนิยมไม่ถูกต้อง
ถูกต้อง ครบทุกข้อ ถูกต้องครบทุกข้อ เป็นบางข้อ ครู โดยครูต้องแนะนาทุก
ด้วยตนเองและ ด้วยตนเอง แนะนาบ้างหรือให้ ครั้งและดูตัวอย่างจาก
อธิบายยกตัวอย่าง เพือ่ นอธิบาย หนังสือประกอบทุก
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ จึงสามารถทาได้ ขั้นตอนจึงสามารถทา
ได้ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
๑๔

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่ำน (1) ไม่ผ่ำน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียรพยายาม และมีความเพียรพยายาม ในการเรียน มีส่วน
พยายาม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ร่วม
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ และเข้าร่วม ในการเรียนรู้ และเข้า ในการเรียนรู้ และเข้า
4.1.3 สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมการ
กิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอก ต่าง ๆบ่อยครั้ง เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น
ต่าง ๆ โรงเรียนเป็นประจา บางครั้ง

มุ่งมั่นในกำรทำงำน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่ำน (1) ไม่ผ่ำน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
ทางานให้สาเร็จ การทางานให้ดีขึ้น การทางานให้ดีขึ้น
6.1.3 ปรับปรุงและ ด้วยตนเอง
พัฒนาการทางาน
ด้วยตนเอง
๑๕

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่ำน (1) ไม่ผ่ำน (0)


6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน พยายามให้งาน ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ต่อปัญหา พยายาม ต่อปัญหาในการ สาเร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการ แก้ปัญหา อุปสรรค ทางาน
ทางาน ในการทางานให้สาเร็จ พยายามให้งานสาเร็จ
6.2.2 พยายาม ตามเป้าหมายภายใน ตามเป้าหมาย
แก้ปัญหา เวลา ชื่นชมผลงาน
และอุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชม ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการทางานให้ ผลงาน
สาเร็จ ด้วยความภาคภูมิใจ
6.2.3 ชื่นชม
ผลงาน
ด้วยความ
ภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้สถิติ

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
2. ชุดข้อมูล
3. ตัวอย่างตารางแจกแจงความถี่
4. ตัวอย่างโจทย์การสร้างตารางแจกแจงความถี่
5. ตัวอย่างการนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ และฮิสโทแกรม
6. กิจกรรมหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
7. ตัวอย่างโจทย์การหาค่ามัธยฐาน
8. กิจกรรมการหาค่ามัธยฐาน
9. ตัวอย่างโจทย์ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่แจกแจงความถี่
10. ตัวอย่างโจทย์การหาค่ากลางของข้อมูลที่เหมาะสมและการแปลความหมายข้อมูล
11. บัตรโจทย์
12. ใบงานเรื่อง การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
13. ใบงานเรื่อง การหาค่ามัธยฐานและฐานนิยม
14. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๑๖

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความเท่ากันทุกประการ เวลา 17 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. ความเท่ากันทุกประการ
2. ทบทวนความเท่ากันทุกประการของส่วนของเส้นตรง
3. ทบทวนความเท่ากันทุกประการของมุม
4. มุมตรงข้าม
5. ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
6. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน-มุม-ด้าน
7. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์กันแบบ มุม-ด้าน-มุม
8. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
9. การพิสูจน์รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ
สาระสาคัญ
1. รูปสองรูปจะเท่ากันทุกประการก็ต่อเมื่อนารูปหนึ่งซ้อนทับบนอีกรูปหนึ่งได้สนิทพอดี
สัญลักษณ์เขียนแทนความเท่ากันทุกประการ คือ “”
2. ถ้ามุม A มีความเท่ากันทุกประการกับมุม B แล้ว จะนามาวางซ้อนกัน และทับกันได้สนิทพอดี
โดยจะมีขนาดของมุมเท่ากัน
3. ถ้าขนาดของมุม A และมุม B เท่ากัน วางซ้อนกันและทับกันได้สนิทพอดีแล้วมุม A และมุม B
จะเท่ากันทุกประการ
4. มุมตรงข้ามเป็นมุมที่เกิดจากเส้นตรงสองเส้นตัดกันและอยู่ตรงข้ามกันซึ่งมุมตรงข้ามกัน
จะมีขนาดเท่ากัน
5. รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเท่ากันทุกประการก็ต่อเมื่อรูปสามเหลี่ยมสองรูปวางซ้อนกันและทับกัน
ได้สนิทพอดี
6. รูปสามเหลี่ยมสองรูปใด ๆ ที่มีด้านยาวเท่ากันสองคู่ และมุมระหว่างด้านที่ยาวเท่ากันมีขนาดเท่ากันแล้ว
รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะเท่ากันทุกประการตามความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน
7. รูปสามเหลี่ยมสองรูปใด ๆ ที่มีขนาดของมุมเท่ากันสองคู่ และมีด้านซึ่งเป็นแขนร่วม
ของมุมทั้งสองเท่ากันแล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะเท่ากันทุกประการตามความสัมพันธ์แบบ
มุม-ด้าน-มุม
8. รูปสามเหลี่ยมสองรูปใด ๆ ที่มีด้านยาวเท่ากันสามคู่ ด้านต่อด้านรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้น
จะเท่ากันทุกประการตามความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
๑๗

9. รูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูปที่มีด้านตรงข้ามมุมฉากยาวเท่ากัน และด้านประกอบมุมฉากยาวเท่ากัน
อีกหนึ่งคู่แล้ว รูปสามเหลี่ยมมุมฉากทั้งสองรูปจะเท่ากันทุกประการตามความสัมพันธ์แบบ
ฉาก-ด้าน-ด้าน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุง่ มันในการท
่ างาน
- การสรุปความรู้ การให้เหตุผล การเชื่อมโยง
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ภาระงานหลัก
1. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน
2. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ มุม-ด้าน-มุม
3. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
4. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของส่วนของเส้นตรง ของมุม และของรูปสามเหลี่ยม
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน มุม-ด้าน-มุม
ด้าน-ด้าน-ด้าน (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ มุม-ด้าน-มุม (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
๑๘

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ ไม่สามารถแสดงการ
ตรวจสอบ (พิสูจน์) พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยมสอง สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน
รูปที่เท่ากันทุก ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด
ประการโดยใช้ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์แบบ แบบ ด้าน-มุม-ด้าน แบบ ด้าน-มุม-ด้าน แบบ ด้าน-มุม-ด้าน แบบ ด้าน-มุม-ด้านได้
ด้าน-มุม-ด้าน ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้อง ต้องดูตัวอย่าง
และแม่นยาชานาญ และแม่นยาชานาญ แต่ครูต้องแนะนา และครูแนะนาทุก
และยกตัวอย่าง บางครั้ง ครั้ง
อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ
ได้
๑๙

แบบประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ มุม-ด้าน-มุม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ ไม่สามารถแสดงการ
ตรวจสอบ (พิสูจน์) พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยมสอง สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน
รูปที่เท่ากันทุก ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด
ประการโดยใช้ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์แบบ แบบ มุม-ด้าน-มุม แบบ มุม-ด้าน-มุม แบบ มุม-ด้าน-มุม แบบ มุม-ด้าน-มุมได้
มุม-ด้าน-มุม ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้อง ต้องดูตัวอย่าง
และแม่นยาชานาญ และแม่นยาชานาญ แต่ครูต้องแนะนา และครูแนะนาทุก
และยกตัวอย่าง บางครั้ง ครั้ง
อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ
ได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ ไม่สามารถแสดงการ
ตรวจสอบ (พิสูจน์) พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยมสอง สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปทีเ่ ท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน
รูปที่เท่ากันทุก ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด
ประการโดยใช้ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์แบบ แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
ด้าน-ด้าน-ด้าน ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้อง ได้ ต้องดูตัวอย่าง
และแม่นยาชานาญ และแม่นยาชานาญ แต่ครูต้องแนะนา และครูแนะนาทุก
และยกตัวอย่าง บางครั้ง ครั้ง
อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ
ได้
๒๐

แบบประเมินใบงาน เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ ไม่สามารถแสดงการ
ตรวจสอบ (พิสูจน์) พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม พิสูจน์รูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยมสอง สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน สองรูปที่เท่ากัน
รูป ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด ทุกประการที่กาหนด
ที่เท่ากันทุก โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์ โดยใช้ความสัมพันธ์
ประการโดยใช้ แบบต่าง ๆ ได้ถูกต้อง แบบต่าง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ ได้
ความสัมพันธ์แบบ ด้วยตนเองและแม่นยา ถูกต้อง ถูกต้อง ต้องดูตัวอย่าง
ต่าง ๆ ชานาญ และ ด้วยตนเองและ แต่ครูต้องแนะนา และครูแนะนาทุก
ยกตัวอย่างอธิบายให้ แม่นยาชานาญ บางครั้ง ครั้ง
เพื่อนเข้าใจได้

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้ และเข้า
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน ร่วม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วม ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง
กิจกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ และเข้า ในการเรียนรู้ และเข้า ๆ
ต่าง ๆ ร่วม ร่วม เป็นบางครั้ง
กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง
ๆ ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา
๒๑

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
ทางานให้สาเร็จ การทางานให้ดีขึ้น การทางานให้ดีขึ้น
6.1.3 ปรับปรุงและ ด้วยตนเอง
พัฒนาการทางาน
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน พยายามให้งาน ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ต่อปัญหา พยายาม ต่อปัญหาในการ สาเร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการ แก้ปัญหา อุปสรรค ทางาน
ทางาน ในการทางานให้สาเร็จ พยายามให้งานสาเร็จ
6.2.2 พยายาม ตามเป้าหมายภายใน ตามเป้าหมาย
แก้ปัญหา เวลา ชื่นชมผลงาน
และอุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชม ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการทางานให้ ผลงาน
สาเร็จ ด้วยความภาคภูมิใจ
6.2.3 ชื่นชม
ผลงาน
ด้วยความ
ภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ความเท่ากันทุกประการ
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. รูปเรขาคณิต
3. กระดาษลอกลาย
4. กระดาษเปล่า
5. รูปส่วนของเส้นตรง
๒๒

6. บัตรภาพแสดงมุม
7. บัตรภาพมุมประชิด มุมตรงข้าม
8. รูปสามเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ
9. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน
10. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-มุม-ด้าน
11. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ มุม-ด้าน-มุม
12. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ มุม-ด้าน-มุม
13. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
14. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
15. ใบงานเรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ
16. ตารางแสดงการวิเคราะห์และพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
17. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๒๓

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เส้นขนาน เวลา 14 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัสวิชา ค 22102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/2 นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
สาระการเรียนรู้
1. เส้นขนานกับมุมภายใน
2. สมบัติของเส้นขนานที่เกี่ยวกับมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
3. การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
4. เส้นขนานกับมุมแย้ง
5. สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง
6. การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง
7. มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
8. การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
9. เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
สาระสาคัญ
1. เส้นตรงสองเส้นขนานกันก็ต่อเมื่อมีระยะห่างเท่ากันตลอด
2. เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้จะขนานกันก็ต่อเมื่อผลบวกของ
มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180 องศา
3. เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้จะขนานกันก็ต่อเมื่อมุมภายใน
และมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุง่ มันในการท
่ างาน
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๒๔

ภาระงานหลัก
1. ใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
2. ใบงานเรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง
3. ใบงาน เรื่อง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
4. ใบงาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
5. ใบงาน เรื่อง การพิสูจน์โดยใช้ความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
6. ชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
7. ชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง เอกนาม เอกนามที่คล้ายกัน การบวก การลบเอกนาม พหุนาม การบวก
การลบพหุนาม การคูณเอกนามกับเอกนาม การคูณเอกนามกับพหุนาม การหารเอกนามกับเอกนาม
การหารพหุนามด้วยเอกนาม (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด (P)
ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง การพิสูจน์โดยใช้ความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม (P)
ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด (P)
ด้วยแบบประเมิน
9. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง (P) ด้วยแบบประเมิน
10. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการปฏิบัติงาน อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ร่วมกันอย่างร่วมมือร่วมใจ ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
พร้อมกับการประเมินเป็น แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
ระยะ ๆ เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
๒๕

แบบประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
สมบัติของเส้น ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน
ขนานกับมุมภายใน กับมุมภายในที่อยู่บน กับมุมภายในที่อยู่บน กับมุมภายในที่อยู่บน กับมุมภายในที่อยู่บน
ที่อยู่บนข้าง ข้างเดียวกันของเส้นตัด ข้างเดียวกันของเส้นตัด ข้างเดียวกันของเส้นตัด ข้างเดียวกันของเส้นตัด
เดียวกัน เพื่อระบุขนาดของมุมที่ เพื่อระบุขนาดของมุม เพื่อระบุขนาดของมุม เพื่อระบุขนาดของมุม
ของเส้นตัด ต้องการหาได้อย่าง ที่ต้องการหาได้อย่าง ที่ต้องการหา ที่ต้องการหา
ถูกต้องแม่นยา ถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
ด้วยตนเอง และอธิบาย ด้วยตนเอง โดยครูและเพื่อน แต่ครูและเพื่อน
วิธีการหาขนาดของมุม แนะนาบ้าง ต้องแนะนาทุกครั้ง
โดยอาศัยสมบัติของ
เส้นขนานกับมุมภายใน
ที่อยู่บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดให้เพื่อนเข้าใจได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
สมบัติของเส้น ใช้สมบัติของเส้น ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน
ขนานกับมุมแย้ง ขนานกับมุมแย้ง เพื่อ กับมุมแย้งเพื่อระบุ กับมุมแย้ง เพื่อระบุ กับมุมแย้งเพื่อระบุ
ระบุขนาดของที่ ขนาดของที่ต้องการหา ขนาดของที่ต้องการหา ขนาดของที่ต้องการหา
ต้องการหาได้อย่าง ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
ถูกต้องแม่นยา ด้วย ด้วยตนเอง โดยครูและเพื่อน แต่ครูและเพื่อน
ตนเอง และอธิบาย แนะนาบ้าง ต้องแนะนาทุกครั้ง
วิธีการหาขนาดของ
มุมโดยอาศัยสมบัติ
ของเส้นขนานกับมุม
แย้งให้เพื่อนเข้าใจได้
๒๖

แบบประเมินใบงาน เรื่อง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
มุมภายในและ ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน ใช้สมบัติของเส้นขนาน
มุมภายนอกที่อยู่ กับมุมภายในและ กับมุมภายในและ กับมุมภายในและ กับมุมภายในและ
บนข้างเดียวกัน มุมภายนอกที่อยู่ มุมภายนอกที่อยู่ มุมภายนอกที่อยู่ มุมภายนอกที่อยู่
ของเส้นตัด บนข้างเดียวกันของ บนข้างเดียวกันของ บนข้างเดียวกันของ บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดไปใช้ให้เหตุผล เส้นตัดไปใช้ให้เหตุผล เส้นตัดไปใช้ให้เหตุผล เส้นตัดไปใช้ให้เหตุผล
และแก้ปัญหา และแก้ปัญหา และแก้ปัญหาได้ถูกต้อง และแก้ปัญหา
ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้องแม่นยา โดยครูอธิบาย ได้อย่างถูกต้อง
ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง และแนะนาบ้าง แต่ครูและเพื่อน
พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ต้องแนะนาทุกครั้ง
ปัญหาหรือสถานการณ์
ที่นาความรู้เรื่อง สมบัติ
ของเส้นขนานกับ
มุมภายใน
และมุมภายนอก
ที่อยู่บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดรูปสามเหลี่ยม
ไปใช้แก้ปัญหา

แบบประเมินใบงาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
เส้นขนานและ มีทักษะและสามารถ มีทักษะและสามารถ มีทักษะและสามารถ มีทักษะและสามารถ
รูปสามเหลี่ยม แก้ปัญหา โดยใช้ แก้ปัญหา โดยใช้ แก้ปัญหา โดยใช้ แก้ปัญหา โดยใช้
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ
ของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมและ รูปสามเหลี่ยมและ รูปสามเหลี่ยมและ
และเส้นขนาน เส้นขนานได้ถูกต้อง เส้นขนานได้ถูกต้อง เส้นขนานได้ถูกต้อง
ได้ถูกต้อง แม่นยา แม่นยาด้วยตนเอง แต่ครูต้องอธิบาย แต่ครูต้องแนะนา
ชานาญ พร้อมทั้ง หรือแนะนาบ้าง และให้ดูตัวอย่าง
ยกตัวอย่างปัญหา จากหนังสือทุกครั้ง
หรือสถานการณ์ที่นา
ความรู้เรื่องเส้นขนาน
และรูปสามเหลี่ยม
ไปใช้แก้ปัญหา
๒๗

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การพิสูจน์โดยใช้ความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การพิสูจน์โดยใช้ มีทักษะและสามารถ มีทักษะและสามารถ มีทักษะและสามารถ มีทักษะและสามารถ
ความสัมพันธ์ แสดงการพิสูจน์ แสดงการพิสูจน์ แสดงการพิสูจน์ แสดงการพิสูจน์
ของเส้นขนาน และแก้ปัญหา โดยใช้ และแก้ปัญหา โดยใช้ และแก้ปัญหา โดยใช้ และแก้ปัญหา โดยใช้
และรูปสามเหลี่ยม ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ
รูปสามเหลี่ยมและ รูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม
เส้นขนานได้ถูกต้อง และเส้นขนานได้ และเส้นขนานได้ และเส้นขนานได้
แม่นยา ชานาญ ถูกต้อง ถูกต้องแต่ครูต้อง ถูกต้องแต่ครูต้อง
พร้อมทั้งยกตัวอย่าง แม่นยาด้วยตนเอง อธิบาย แนะนา
ปัญหาหรือสถานการณ์ หรือแนะนาบ้าง และให้ดูตัวอย่าง
ที่นาความรู้เรื่อง จากหนังสือทุกครั้ง
เส้นขนาน
และรูปสามเหลี่ยมไปใช้
แก้ปัญหา

แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
ชิ้นงานแผ่นพับ ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานค่อนข้าง ชิ้นงานไม่สมบูรณ์
การพิสูจน์เส้นขนาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์ สมบูรณ์ มีความคิด เนื้อหาถูกต้องตาม
โดยใช้มุมภายในที่อยู่ เนื้อหาถูกต้องตามทฤษฎี เนื้อหาถูกต้องตาม สร้างสรรค์เนื้อหา ทฤษฎี สาระสาคัญ
บนข้างเดียวกันของ สาระสาคัญ ทฤษฎี สาระสาคัญ ถูกต้องตามทฤษฎี หรือบทนิยาม
เส้นตัด หรือบทนิยามทาง หรือบทนิยามทาง สาระสาคัญ ทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือบทนิยาม โดยครูคอยชี้แนะ
และนาเสนอผลงาน ทางคณิตศาสตร์ เสมอ
ให้เพื่อนเข้าใจได้
๒๘

แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
ชิ้นงาน แผ่นชาร์ต ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานค่อนข้าง ชิ้นงานไม่สมบูรณ์
การพิสูจน์เส้นขนาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์ สมบูรณ์ มีความคิด เนื้อหาถูกต้องตาม
โดยใช้มุมแย้ง เนื้อหาถูกต้องตามทฤษฎี เนื้อหาถูกต้องตาม สร้างสรรค์ เนื้อหา ทฤษฎี สาระสาคัญ
สาระสาคัญ ทฤษฎี สาระสาคัญ ถูกต้องตามทฤษฎี หรือบทนิยาม
หรือบทนิยาม หรือบทนิยาม สาระสาคัญ ทางคณิตศาสตร์
ทางคณิตศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์ หรือบทนิยาม โดยครูคอยชี้แนะ
และนาเสนอผลงาน ทางคณิตศาสตร์ เสมอ
ให้เพื่อนเข้าใจได้

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีสว่ นร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วม ร่วม การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา
๒๙

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้ ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม งานสาเร็จตาม ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ เป้าหมายภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้เส้นขนาน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. บัตรภาพเส้นขนาน
3. บัตรภาพเส้นขนานและมุมภายในข้างเดียวกันของเส้นตัด
4. บัตรภาพเส้นขนานแสดงมุมแย้ง
5. บัตรภาพแสดงมุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
6. รูปสามเหลี่ยม
๓๐

7. ใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด


8. ใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง
9. ใบงาน เรื่อง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
10. ใบงาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
11. ใบงาน เรื่อง การพิสูจน์โดยใช้ความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
12. ชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
13. ชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง
14. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๓๑

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การใช้เหตุผลทางเรขาคณิต เวลา 10 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม 2/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและเส้นตรง รวมทั้งโปรแกรม
The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้าง
รูปเรขาคณิต ตลอดจนนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
ในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
- การนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
สาระสาคัญ
การให้เหตุผลทางเราขาคณิต มีความเกี่ยวข้องกับ คาอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์และทฤษฎีบท โดย
- คาอนิยาม คือ คาที่เป็นพื้นฐานในการสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันโดยไม่ต้องให้ความหมายของคา
ได้แก่ จุด เส้นตรง และระนาบ
- บทนิยาม คือ คาหรือข้อความที่มีการให้ความหมายหรือจากัดความไว้อย่างชัดเจน
- สัจพจน์ คือข้อความที่ตกลงกันหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ และนาไปใช้อ้างเพื่อการ พิสูจน์
ข้อความอื่นว่าเป็นจริงได้
- ทฤษฎีบท คือ ข้อความทางคณิตศาสตร์ที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นจริง และนาไปใช้ในการอ้างอิง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุ่งมั่นในการทางาน
- การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ภาระงานหลัก

1. ใบงาน เรื่อง การแบ่งส่วนของเส้นตรง


2. ใบงาน เรื่อง การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
3. ใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสามเหลี่ยม
4. ใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
๓๒

การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง เอกนาม เอกนามที่คล้ายกัน การบวก การลบเอกนาม พหุนาม การบวก การลบ
พหุนาม การคูณเอกนามกับเอกนาม การคูณเอกนามกับพหุนาม การหารเอกนามกับเอกนาม
การหารพหุนามด้วยเอกนาม (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การแบ่งส่วนของเส้นตรง (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสามเหลี่ยม (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแบ่งส่วนของเส้นตรง


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงและอธิบาย สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ
เกี่ยวกับการแบ่ง อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ
ส่วนของเส้นตรงโดย แบ่งส่วนของเส้นตรง แบ่งส่วนของเส้นตรง แบ่งส่วนของเส้นตรง แบ่งส่วนของเส้นตรง
ใช้ โดยใช้การสร้าง โดยใช้การสร้าง โดยใช้การสร้าง โดยใช้การสร้าง
การสร้างมุมแย้ง มุมแย้งได้ถูกต้อง มุมแย้งได้ถูกต้อง มุมแย้งได้ถูกต้อง มุมแย้งได้ถูกต้อง
แม่นยา ครบทุกข้อ แม่นยา ครบทุกข้อ โดยดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนา
ด้วยตนเอง พร้อมทั้ง ด้วยตนเอง หนังสือและให้เพื่อน และดูตัวอย่างจาก
สามารถอธิบาย อธิบายบางข้อ หนังสือประกอบ
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ทุกข้อ
๓๓

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงและอธิบาย สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ
เกี่ยวกับการสร้าง อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ
มุมขนาดต่าง ๆ สร้างมุมขนาดต่าง ๆ สร้างมุมขนาดต่าง ๆ สร้างมุมขนาดต่าง ๆ สร้างมุมขนาดต่าง ๆ
ได้ถูกต้อง แม่นยา ได้ถูกต้อง แม่นยา ได้ถูกต้อง โดยดู ได้ถูกต้อง โดยครูต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง ตัวอย่างจากหนังสือ แนะนาและดูตัวอย่าง
พร้อมทั้งสามารถ และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสือประกอบ
อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ บางข้อ ทุกข้อ
ได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสามเหลี่ยม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงและอธิบาย สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ
เกี่ยวกับการสร้าง อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ
รูปสามเหลี่ยม สร้างรูปสามเหลี่ยม สร้างรูปสามเหลี่ยม สร้างรูปสามเหลี่ยม สร้างรูปสามเหลี่ยม
ได้ถูกต้อง แม่นยา ได้ถูกต้อง แม่นยาครบ ได้ถูกต้อง โดยดู ได้ถูกต้อง โดยครูต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ทุกข้อด้วยตนเอง ตัวอย่างจากหนังสือ แนะนาและดูตัวอย่าง
พร้อมทั้งสามารถ และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสือประกอบ
อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ บางข้อ ทุกข้อ
ได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงและอธิบาย สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ สามารถแสดงและ
เกี่ยวกับการสร้าง อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ อธิบายเกี่ยวกับการ
รูปสี่เหลี่ยมด้าน สร้างรูปสี่เหลี่ยม สร้างรูปสี่เหลี่ยม สร้างรูปสี่เหลี่ยม สร้างรูปสี่เหลี่ยม
ขนาน ด้านขนาน ได้ถูกต้อง ด้านขนาน ได้ถูกต้อง ด้านขนาน ได้ถูกต้อง ด้านขนานได้ถูกต้อง
แม่นยา ครบทุกข้อ แม่นยา ครบทุกข้อ โดยดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนา
ด้วยตนเอง พร้อมทั้ง ด้วยตนเอง หนังสือและให้เพื่อน และดูตัวอย่างจาก
สามารถอธิบาย อธิบายบางข้อ หนังสือประกอบ
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ทุกข้อ
๓๔

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง
๓๕

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้งาน ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม สาเร็จตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ ภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. วงเวียน ไม้บรรทัด โพรแทรกเตอร์
3. ตัวอย่างการแบ่งส่วนของเส้นตรง
4. ตัวอย่างการแบ่งส่วนของเส้นตรงโดยการสร้างมุมแย้ง
5. รูปสามเหลี่ยม
6. ตัวอย่างการแบ่งด้านแต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยม
7. ตัวอย่างการสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
8. ตัวอย่างการสร้างรูปสามเหลี่ยม
9. ตัวอย่างการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
10. กระดาษ A4
11. ใบงาน เรื่อง การแบ่งส่วนของเส้นตรง
12. ใบงาน เรื่อง การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
13. ใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสามเหลี่ยม
14. ใบงาน เรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
15. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๓๖

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรี 2 เวลา 10 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม
และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.2 ม.2/2 เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
สาระการเรียนรู้
1. การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจง
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจงและสมบัติอื่น ๆ
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม และ c = 0
4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a = 1, b และ c เป็นจานวนเต็ม
และ c ≠ 0
5. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม
โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
6. พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
7. ความสัมพันธ์ของการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสอง
8. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ ในกรณีที่ A และ B
เป็นพหุนาม
9. พหุนามที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
10. ความสัมพันธ์ของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
11. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
12. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน
สาระสาคัญ
1. พหุนามดีกรีสองที่สามารถแยกตัวประกอบ จะได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่ง ที่มีพจน์เหมือนกัน
แต่มีเครื่องหมายระหว่างพจน์ต่างกัน เขียนได้ในรูป A2 – B2 เมื่อ A และ B เป็น พหุนามได้ เรียกพหุนาม
ดีกรีสองนี้ว่า ผลต่างของกาลังสอง
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง มีดังนี้
A2 – B2 = (A + B)(A – B) หรือ(หน้า)2  (หลัง)2=(หน้า  หลัง)(หน้า  หลัง)
๓๗

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุ่งมั่นในการทางาน
- การคิดวิเคราะห์ การจาแนก การสรุปความรู้ การปฏิบัติ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ภาระงานหลัก
1. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม โดยใช้สมบัติการแจกแจงและสมบัติอื่น ๆ
2. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม และ c = 0 และในกรณีที่ a = 1, b และ c เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0
3. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
4. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสอง
5. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A และ B เป็นพหุนาม
6. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
7. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจงและสมบัติอื่น ๆ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม
และ c = 0 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a = 1, b
และ c เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็มโดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0 พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสอง
สมบูรณ์ ความสัมพันธ์ของการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ ในกรณีที่ A และ B เป็นพหุนาม
พหุนามที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง ความสัมพันธ์ของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่าง
ของกาลังสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม โดยใช้สมบัติการแจกแจงและสมบัติอื่น ๆ (P)
ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม และ c = 0 และในกรณีที่ a = 1, b และ c เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0 (P)
ด้วยแบบประเมิน
๓๘

5. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c


เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0 (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสอง (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A และ B เป็นพหุนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง (P)
ด้วยแบบประเมิน
9. ประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน (P)
ด้วยแบบประเมิน
10. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม โดยใช้สมบัติการแจกแจงและสมบัติอื่น ๆ


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนาม ของพหุนาม ของพหุนาม ของพหุนาม ของพหุนาม
โดยใช้สมบัติ โดยใช้สมบัติการ โดยใช้สมบัติการ โดยใช้สมบัติการ โดยใช้สมบัติการ
การแจกแจง แจกแจงและสมบัติอื่น แจกแจงและสมบัติ แจกแจงและสมบัติ แจกแจงและสมบัติ
และสมบัติอื่น ๆ ๆ ได้อย่างถูกต้อง อื่น ๆ ได้อย่างถูกต้อง อื่น ๆ ได้อย่างถูกต้อง อื่น ๆ ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยาทุกข้อ พร้อม แม่นยา แต่ครูต้องแนะนา โดยครูต้องแนะนา
ทั้งอธิบายให้เพื่อน ทุกข้อด้วยตนเอง บางครั้ง และดูตัวอย่าง
เข้าใจได้ จากหนังสือทุกข้อ
๓๙

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c


เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม และ c = 0 และในกรณีที่ a = 1, b และ c
เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0
รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรี ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง
สอง ที่อยู่ในรูป ax2 + bx ที่อยู่ในรูป ax2 + bx ที่อยู่ในรูป ax2 + bx ที่อยู่ในรูป ax2 + bx
ที่อยู่ในรูป +c +c +c +c
ax2 + bx + c ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยาทุกข้อ พร้อม แม่นยาทุกข้อด้วย แต่ครูต้องแนะนา โดยครูต้องแนะนา
ทั้งอธิบายให้เพื่อน ตนเอง บางครั้ง และดูตัวอย่าง
เข้าใจได้ จากหนังสือทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c


เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรี ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง
สอง ที่อยู่ในรูป ax2 + bx ที่อยู่ในรูป ax2 + bx ที่อยู่ในรูป ax2 + bx ที่อยู่ในรูป ax2 + bx
ที่อยู่ในรูป +c +c +c +c
ax2 + bx + c ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง โดย
แม่นยาทุกข้อ พร้อม แม่นยาทุกข้อด้วย แต่ครูต้องแนะนา ครูต้องแนะนา
ทั้งอธิบายให้เพื่อน ตนเอง บางครั้ง และดูตัวอย่าง
เข้าใจได้ จากหนังสือทุกข้อ
๔๐

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์


ในกรณีที่ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสอง
รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรี ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง
สอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง
ที่อยู่ในรูป สมบูรณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ได้อย่าง
กาลังสองสมบูรณ์ ถูกต้องแม่นยาทุกข้อ ถูกต้องแม่นยาทุกข้อ ถูกต้อง ถูกต้อง โดยครูต้อง
พร้อมทั้งอธิบายให้ ด้วยตนเอง แต่ครูต้องแนะนา แนะนา
เพื่อนเข้าใจได้ บางครั้ง และดูตัวอย่าง
จากหนังสือทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์


ในกรณีที่ A และ B เป็นพหุนาม
รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรี ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง
สอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง ที่อยู่ในรูปกาลังสอง
ที่อยู่ในรูป สมบูรณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ได้อย่าง
กาลังสองสมบูรณ์ ถูกต้องแม่นยาทุกข้อ ถูกต้องแม่นยาทุกข้อ ถูกต้อง ถูกต้อง โดยครูต้อง
พร้อมทั้งอธิบายให้ ด้วยตนเอง แต่ครูต้องแนะนา แนะนา
เพื่อนเข้าใจได้ บางครั้ง และดูตัวอย่าง
จากหนังสือทุกข้อ
๔๑

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรี ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง
สอง ที่อยู่ในรูปผลต่าง ที่อยู่ในรูปผลต่าง ที่อยู่ในรูปผลต่าง ที่อยู่ในรูปผลต่าง
ที่อยู่ในรูปผลต่าง ของกาลังสอง ของกาลังสอง ของกาลังสอง ของกาลังสอง
ของกาลังสอง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยาทุกข้อ พร้อม แม่นยาทุกข้อด้วย แต่ครูต้องแนะนา โดยครูต้องแนะนา
ทั้งอธิบายให้เพื่อน ตนเอง บางครั้ง และดูตัวอย่าง
เข้าใจได้ จากหนังสือทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการแยก สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง สามารถแสดง
ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรี ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง ของพหุนามดีกรีสอง
สอง ที่มีความซับซ้อน ที่มีความซับซ้อน ที่มีความซับซ้อน ที่มีความซับซ้อน
ที่มีความซับซ้อน ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยาทุกข้อ พร้อม แม่นยาทุกข้อด้วย แต่ครูต้องแนะนา โดยครูต้องแนะนา
ทั้งอธิบายให้เพื่อน ตนเอง บางครั้ง และดูตัวอย่าง
เข้าใจได้ จากหนังสือทุกข้อ
๔๒

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง
๔๓

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้งาน ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม สาเร็จตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ ภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. ตัวอย่างของพหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม
3. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนาม โดยใช้สมบัติการแจกแจง
4. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีหลายพจน์
5. ตัวอย่างพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
6. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c ในกรณีที่ c = 0
7. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a = 1, b และ c เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0
8. ตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a = 1, b และ c เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0
9. ตัวอย่างพหุนามดีกรีสองในรูปแบบต่าง ๆ
10. ตัวอย่างขั้นตอนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c
เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
11. โจทย์การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
12. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
13. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
14. ตัวอย่างความสัมพันธ์ของการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
๔๔

15. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ ในกรณีที่ A และ B


เป็นพหุนาม
16. ตัวอย่างการคูณพหุนามที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
17. ตัวอย่างความสัมพันธ์ของการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
18. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
19. ตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน
20. กระดาษ A4
21. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม โดยใช้สมบัติการแจกแจงและสมบัติอื่น ๆ
22. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b
เป็นจานวนเต็ม และ c = 0 และในกรณีที่ a = 1, b และ c เป็นจานวนเต็ม และ c ≠ 0
23. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a ≠ 0, a ≠ 1 และ c ≠ 0
24. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสอง
25. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ในกรณีที่ A และ B เป็นพหุนาม
26. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง
27. ใบงาน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีความซับซ้อน
28. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๔๕

การวัดและประเมินผลรายวิชา ค 2๒10๒ คณิตศาสตร์


การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา ค 2๒10๒ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์
ได้กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลไว้ดังนี้
1. การประเมินผลการเรียนรู้ กาหนดคะแนนการประเมินเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1.1 คะแนนการประเมินระหว่างเรียน 70 %
1.2 คะแนนการประเมินปลายปี 30 %
โดยที่คะแนนการประเมินระหว่างเรียน ได้มาจากคะแนนเก็บรายหน่วยการเรียนรู้ที่ระบุไว้
ในโครงสร้างรายวิชา และคะแนนการประเมินปลายปี ได้มาจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปีและจากแฟ้ม
สะสมผลงาน (Portfolio) ตามระเบียบการวัดและประเมินผลที่โรงเรียนกาหนดไว้ รายละเอียดดังนี้
การประเมิน วิธีการประเมิน (เก็บจาก) คะแนน รวม
1. การประเมินระหว่างเรียน 1. ชิ้นงาน/ภาระงานในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 70 100
(70 %) จานวน 5 หน่วยการเรียนรู้ คะแนน
2. การประเมินปลายปี 2. สอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปี ๓๐
(30 %)

2. การตัดสินผลการเรียน
2.1 นักเรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
2.2 นักเรียนต้องผ่านการประเมินตัวชี้วัดทุกตัวตามที่หลักสูตรกาหนด
2.3 นักเรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านระดับ 1 ขึ้นไป
ลัก ูตร ถาน ึก า ราย ิชาคณิต า ตร์
โรงเรียน มื่น รีประชา รรค์ อาเภอ าโรงทาบ จัง ัด ุรินทร์
านักงานเขตพื้นที่การ ึก าประถม ึก า ุรินทร์ เขต ๑
านักงานคณะกรรมการการ ึก าขั้นพื้นฐาน กระทร ง ึก าธิการ

You might also like