You are on page 1of 38

ลัก ูตร ถาน ึก า

ตาม ลัก ูตรแกนกลางการ ึก าขั้นพื้นฐาน พ. . 2551


(ฉบับปรับปรุง พ. . 2560)

ค 21102 ราย ิชาคณิต า ตร์


ชั้นมัธยม ึก าปีที่ ๑

นาง า รรณ ิภา อยู่ ูงเนิน


ตาแ น่ง ครู
โรงเรียน มื่น รีประชา รรค์
านักงานเขตพื้นที่การ ึก าประถม ึก า ุรินทร์ เขต ๑
หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์

รายวิชา ค 21๑0๒ คณิตศาสตร์


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

นางสาววรรณวิภา อยู่สูงเนิน
ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ


ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ซึ่งพัฒนามาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนาข้อมูลที่
ได้จากการวิจัยและข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มี
ความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ
ในระดับเขตพื้นที่และสถานศึกษา
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ ได้นาแนวทางการบริหารหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มาใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและ
จัดการเรียนการสอน และได้จัดทาเป็นหลักสูตรโรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ได้ศึกษาเอกสาร ตาราเกี่ยวข้องกับการจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) มาเป็นแนวทางในการจัดทา ดังนั้นผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
หลักสูตร หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของโรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ ฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อ
บุคคลที่ต้องการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วรรณวิภา อยู่สูงเนิน

สารบัญ

หน้า

คานา............................................................................................................................................ 1
สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………………... ๒
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น.............................................. ๓
คาอธิบายรายวิชา………………………….……………………………………………………………….………..….… ๖
โครงสร้างรายวิชา........................................................................................................................ ๗
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดรายวิชา ......................................………………………………….… 9
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว......................................................................... ๑๐
หน่วยที่ ๒ อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ.................................................................... ๑๗
หน่วยที่ ๓ กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.................................................................. ๒๒
หน่วยที่ ๔ สถิติ (๑)..................................................................................................... 2๘
การวัดและประเมินผลรายวิชา............................................................................…………….…….… 35

มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและท้องถิ่น

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่
เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
จานวนตรรกยะ
๑. เข้าใจจานวนตรรกยะและ
- จานวนเต็ม
ความสัมพันธ์ของ จานวนตรรกยะ
- สมบัติของจานวนเต็ม
และใช้สมบัติของจานวนตรรกยะ
- ทศนิยมและเศษส่วน
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
- จานวนตรรกยะและสมบัติของ
ปัญหาในชีวิตจริง
ม.1 จานวนตรรกยะ
๒. เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยก
- เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็น
กาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
จานวนเต็มบวก
บวกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
- การนาความรู้เกี่ยวกับจานวนเต็ม
และปัญหาในชีวิตจริง
จานวนตรรกยะ และเลขยกกาลังไปใช้
ในการแก้ปัญหา
อัตราส่วน
๓. เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน - อัตราส่วนของจานวนหลาย ๆ
สัดส่วน และ ร้อยละ ในการ จานวน
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - สัดส่วน
ชีวิตจริง - การนาความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน
สัดส่วน และร้อยละไปใช้ในการ
แก้ปัญหา

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.1 - -

มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่กาหนดให้


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
๑. เข้าใจและใช้สมบัติของการ
- การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เท่ากันและสมบัติ ของจานวน เพื่อ
ม.1 - การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการ
วิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้
เชิงเส้น ตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


๒. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
กราฟในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
- กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น
และปัญหาในชีวิตจริง
- สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
๓. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับ
- การนาความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้น
ความสัมพันธ์เชิงเส้น ในการ
สองตัวแปรและกราฟของ
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน
ความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้ในชีวิตจริง
ชีวิตจริง

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.1 - -

มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต


และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


๑. ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและ
เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง การสร้างทางเรขาคณิต
รวมทั้งโปรแกรม The - การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
Geometer’s Sketchpad หรือ - การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้
ม.1 โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนา - การนาความรู้เกี่ยวกับการสร้าง
ความรู้เกี่ยวกับ การสร้างนี้ไป พื้นฐานทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิต
จริง

๒. เข้าใจและใช้ความรู้ทาง มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
เรขาคณิตในการวิเคราะห์หา - หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต - ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า
สองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ ด้านข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณิตสาม
มิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


สถิติ
- การตั้งคาถามทางสถิติ
- การเก็บรวบรวมข้อมูล
๑. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติใน
- การนาเสนอข้อมูล
การนาเสนอข้อมูลและแปล
o แผนภูมิรูปภาพ
ม.1 ความหมายข้อมูล รวมทั้งนาสถิติไป
o แผนภูมิแท่ง
ใช้ ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่
o กราฟเส้น
เหมาะสม
o แผนภูมิรูปวงกลม
- การแปลความหมายข้อมูล
- การนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริง

มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.1 - -

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
วิชา ค ๒๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาแบบรูปและความสัมพันธ์คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียว และการนาความรูเ้ กีย่ วกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวติ จริง อัตราส่วนของจานวนหลาย
ๆ จานวน สัดส่วน การนาความรูเ้ กี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละไปใช้ในชีวติ จริง คู่อนั ดับและกราฟ
ของคู่อนั ดับ กราฟและการนาไปใช้ และความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้ในชีวติ จริง การตัง้ คาถามทางสถิติ การ
เก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอและการแปลความหมายข้อมูล การนาความรูเ้ กีย่ วกับสถิตไิ ปใช้ในชีวติ จริง
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผเู้ รียนได้ศกึ ษาค้นคว้าโดยการปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคานวณ แก้ปัญหา การให้เหตุผล และนาความรู้ ความคิด
ทักษะกระบวนการทีไ่ ด้ไปใช้ในชีวติ ประจาวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็ นระบบ มีระเบียบ มี
ความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์และมีความเชื่อมันในตนเอง

ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ม ๑/๓
ค ๑.๓ ม ๑/๒ , ม ๑/๓
ค ๒.๒ ม ๑/๑
ค ๓.๑ ม ๑/๑
รวม ๕ ตัวชี้วดั

โครงสร้างรายวิชา

ค 2110๒ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง
หน่วย ชื่อหน่วยการ มฐ.การเรียนรู้/ เวลา น้าหนัก
สาระสาคัญ
ที่ เรียนรู้ ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
๑ สมการเชิงเส้นตัว แบบรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มี ค ๑.๓ ม.๑/๑ ๑๗ ๑๐
แปรเดียว ลักษณะสาคัญบางอย่างร่วมกันอย่างมีเงื่อนไข ซึ่งใช้ เข้าใจและใช้
การสังเกต การวิเคราะห์ เพื่อหาเหตุผลมาสนับสนุน สมบัติของการ
แล้วเขียนให้อยู่ในรูปสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เท่ากันและสมบัติ
ส่วนคาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ ของจานวน เพื่อ
จานวนที่แทนค่าของ ตัวแปรที่ปรากฏอยู่ในสมการ วิเคราะห์ และ
แล้วทาให้สมการเป็นจริง การแก้โจทย์ปัญหา แก้ปัญหา โดยใช้
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จะใช้สมบัติการ สมการเชิงเส้นตัว
เท่ากันในการหาคาตอบของสมการและตรวจสอบ แปรเดียว
คาตอบ รวมทั้งการนาความรูเ้ กี่ยวกับสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง
๒ อัตราส่วน สัดส่วน อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละสามารถนาไปใช้ใน ค ๑.๑ ม.๑/๓ ๑๒ ๑๐
และร้อยละ การแก้โจทย์ปญั หาที่พบในชีวิตจริงได้หลากหลาย ๑. เข้าใจและ
ประยุกต์ใช้
อัตราส่วน สัดส่วน
และร้อยละในการ
แก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และ
ปัญหาในชีวิตจริง
๓ กราฟและ คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับเป็นการแสดง ค ๑.๓ ม.๑/๒ ๑๗ ๑๕
ความสัมพันธ์เชิง ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองกลุ่มโดยปริมาณใน ค ๑.๓ ม.๑/๓
เส้น กลุ่มที่หนึ่งเขียนแสดงบนเส้นจานวนในแนวนอน
๑. เข้าใจและใช้
และปริมาณในกลุ่มที่สองเขียนแสดงบนเส้นจานวน
ความรู้เกี่ยวกับ
ในแนวตั้งการอ่านและการแปลความหมายของ
กราฟในการ
กราฟในระบบพิกัดฉากจะต้องพิจารณาจาก
แก้ปัญหา
ความสัมพันธ์ ซึ่งสามารถบอกแนวโน้มของการ
คณิตศาสตร์และ
เปลี่ยนแปลงระหว่างปริมาณในกลุ่มทั้งสองได้ กราฟ
ปัญหาในชีวิตจริง
แสดงความเกีย่ งข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มี

หน่วย ชื่อหน่วยการ สาระสาคัญ มฐ.การเรียนรู้/ เวลา น้าหนัก


ที่ เรียนรู้ ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
ความสัมพันธ์เชิงเส้นมีลักษณะเป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่ง ๒. เข้าใจและใช้
ของเส้นตรงหรือเป็นจุดที่เรียงในแนวเส้นตรง ความรู้เกี่ยวกับ
เดียวกันและสมการเชิงเส้นสองตัวแปรที่มีคาตอบ ความสัมพันธ์เชิง
เดียว มีหลายคาตอบ หรือไม่มีคาตอบพิจารณาได้ เส้นในการ
จากกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนั้น ๆ แก้ปัญหา
รวมทั้งสามารถนาความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นสอง คณิตศาสตร์และ
ตัวแปร และกราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้ใน ปัญหาในชีวิตจริง
ชีวิตจริง

๔ สถิติ (๑) การตั้งคาถามทางสถิติที่ทาให้เกิดการเก็บรวบรวม ค ๓.๑ ม.๑/๑ ๑๔ ๑๕


ข้อมูลด้วยวิธีการที่เหมาะสม การนาเสนอข้อมูลเป็น ๑. เข้าใจและใช้
การจัดหมวดหมู่ให้มีความสัมพันธ์กันตาม ความรู้ทางสถิติใน
วัตถุประสงค์ ซึ่งจะช่วยให้อ่าน แปลความหมายและ การนาเสนอข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลได้ง่ายขึ้น และนาไปประกอบการ และแปล
ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ และการอภิปรายถึง ความหมายข้อมูล
ความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นได้จากการนาเสนอ รวมทั้งนาสถิตไิ ป
ข้อมูลทางสถิติ ใช้ในชีวิตจริง โดย
ใช้เทคโนโลยีที่
เหมาะสม

รวมระหว่างเรียน ๖๐ ๕๐
สอบกลางภาค - ๒๐
สอบปลายภาค - ๓๐
รวม ๖๐ ๑๐๐

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในรายวิชา ค 2๑๑0๒ คณิตศาสตร์


หน่วยที่ ตัวชี้วัด ค 1.1 ค 1.3 ค 2.2 ค 3.1 รวม
ชื่อหน่วย 1 2 3 1 2 3 1 2 1
1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว √ 1
2 อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ √ 1
3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น √ √ ๒
4 สถิติ (๑) √ 1
1 1 2 1 5
๑๐

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เวลา 17 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ค 2110๒ วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วย
แก้ปัญหาที่กาหนดให้
ตัวชี้วัด
ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจานวน เพื่อวิเคราะห์
และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้
1. ปัญหาและตัวแปร
2. ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์
3. คาตอบของสมการ
4. สมบัติของการเท่ากัน
5. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติของการเท่ากัน
6. การแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวก และการคูณ
7. การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา
8. การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คาตอบที่ได้
สาระสาคัญ
• ตัวแปร เป็นตัวสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งที่เราไม่ทราบค่าในทางคณิตศาสตร์
• การเขียนประโยคสัญลักษณ์แทนประโยคภาษา สามารถนาตัวแปรมาเขียนแทนจานวนที่ไม่ทราบค่าและ
สมการเป็นประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความเท่ากันของจานวนสองจานวน
• ถ้าแทนค่าตัวแปรด้วยจานวนหนึ่ง แล้วทาให้ประโยคที่อยู่สองข้างของเครื่องหมายเท่ากับเท่ากัน
จะได้ว่าสมการนั้นเป็นจริง ซึ่งจานวนที่แทนค่าตัวแปรแล้วทาให้ประโยคสมการเป็นจริง เรียกว่า
คาตอบของสมการ และถ้าแทนค่าตัวแปรด้วยจานวนหนึ่ง แล้วทาให้ประโยคที่อยู่สองข้างของเครื่องหมาย
เท่ากับไม่เท่ากัน จะได้ว่าสมการนั้นเป็นเท็จ
• เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาบวกแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น ผลบวก
จะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการบวก เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ
ถ้า a = b ดังนั้น a + c = b + c
• เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
ผลลบจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการลบ เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ
ถ้า a = b ดังนั้น a – c = b – c
๑๑

• เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาคูณแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
ผลคูณจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการคูณ เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ
ถ้า a = b ดังนั้น a  c = b  c
• เมื่อมีจานวนสองจานวนที่เท่ากัน นาจานวนอีกจานวนหนึ่งที่ไม่เท่ากับศูนย์มาหารแต่ละจานวน
ที่เท่ากันนั้น ผลหารจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการหาร เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a, b และ c แทนจานวนใด ๆ ที่ c  0
ถ้า a = b ดังนั้น ac bc=
• การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สามารถนาสมบัติการเท่ากันมาใช้ในการหาค่าตัวแปรในสมการ
• เพื่อหาคาตอบของสมการที่รวดเร็วและถูกต้อง สามารถใช้สมบัติการเท่ากันของการบวกและการคูณ ใน
การแก้สมการ
• การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา คือ การเขียนประโยคของสถานการณ์
หรือปัญหาในรูปของประโยคสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เราสามารถนาความรู้ เรื่อง การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา
ไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
• การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เป็นกระบวนการวิเคราะห์และดาเนินการ
หาสิ่งที่โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวต้องการให้หา
เราสามารถนาความรู้ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
• การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสามารถนามาแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวน โดยการ
ทาความเข้าใจปัญหา วางแผน ดาเนินการตามแผน และตรวจสอบคาตอบ
• การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสามารถนามาแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอายุ โดยแสดงเป็นลาดับขั้นตอน
การแก้ปัญหาเพื่อหาคาตอบของสมการ
• การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสามารถนามาใช้แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงินและเรขาคณิต
โดยแสดงเป็นลาดับขั้นตอนการแก้ปัญหาเพื่อหาคาตอบของสมการ
๑๒

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด 2. มุ่งมั่นในการทางาน
1) ทักษะการเปรียบเทียบ
2) ทักษะการคิดหลากหลาย
3) ทักษะการคิดคล่อง
4) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ภาระงานหลัก
1. ใบงานเรื่อง การแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวกและการคูณ
2. ใบงานเรื่อง การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา
3. ใบงานเรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์ คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
และการแก้สมการ (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวกและการคูณ (P)
ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหา (P)
ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
๑๓

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวกและการคูณ


ระดับคุณภาพ
รายการการ
4 3 2 1
ประเมิน
แสดงการแก้สมการ แสดงการแก้สมการ แสดงการแก้สมการ แสดงการแก้สมการ แสดงการแก้สมการ
โดยใช้สมบัติ โดยใช้สมบัติการ โดยใช้สมบัติการ โดยใช้สมบัติการ โดยใช้สมบัติการ
การเท่ากันของ เท่ากันของการบวก เท่ากันของการบวก เท่ากันของการบวก เท่ากันของการบวก
การบวกและการคูณ และการคูณ และการคูณ และการคูณ และการคูณ
ได้ถูกต้องทุกข้อ ได้ถูกต้องทุกข้อ ได้ไม่ถูกต้อง ได้ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ
ด้วยวิธีการตามลาดับ ด้วยวิธีการตามลาดับ ครบถ้วนทุกข้อ โดยครูต้องแนะนา
ขั้นตอนด้วยตนเอง ขั้นตอนด้วยตนเอง โดยจะต้องดูตัวอย่าง อธิบายข้อที่ทาไม่
และอธิบายตัวอย่าง จากหนังสือ ถูกต้อง
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ และให้เพื่อนอธิบาย และดูตัวอย่าง
ได้ถูกต้อง จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
ถูกต้อง จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
๑๔

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และตระหนักถึง


ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
ระดับคุณภาพ
รายการการ
4 3 2 1
ประเมิน
แสดงการแก้โจทย์- แสดงการแก้ แสดงการแก้ แสดงการแก้ แสดงการแก้
ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้นตัว สมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้น
แปรเดียวพร้อม ตัวแปรเดียว ตัวแปรเดียว ตัวแปรเดียว ตัวแปรเดียว
อธิบาย พร้อมอธิบายความ พร้อมอธิบายความ พร้อมอธิบายความ พร้อมอธิบาย
ความสมเหตุสมผล สมเหตุสมผลของ สมเหตุสมผลของ สมเหตุสมผลของ ความสมเหตุสมผลของ
ของคาตอบที่ได้ คาตอบที่ได้ ได้ คาตอบที่ได้ ได้ถูกต้อง คาตอบที่ได้ ได้ไม่ คาตอบที่ได้ ได้ไม่
ถูกต้องทุกข้อ ด้วย ทุกข้อ ด้วยวิธีการ ถูกต้อง ถูกต้อง
วิธีการตามลาดับ ตามลาดับขั้นตอน ครบถ้วนทุกข้อ ครบทุกข้อ โดยครูต้อง
ขั้นตอน ด้วยตนเอง โดยจะต้องดูตัวอย่าง แนะนาอธิบายข้อที่ทา
ด้วยตนเอง และ จากหนังสือและ ไม่ถูกต้อง
อธิบายยกตัวอย่าง ให้เพื่อนอธิบาย และดูตัวอย่าง
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
ได้ถูกต้อง ถูกต้อง จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียรพยายาม และมีความเพียรพยายาม ในการเรียน มีส่วน
พยายาม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ร่วม
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ และเข้าร่วม ในการเรียนรู้ และเข้า ในการเรียนรู้ และเข้า
4.1.3 สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมการ
กิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอก ต่าง ๆบ่อยครั้ง เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น
ต่าง ๆ โรงเรียนเป็นประจา บางครั้ง
๑๕

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
ทางานให้สาเร็จ การทางานให้ดีขึ้น การทางานให้ดีขึ้น
6.1.3 ปรับปรุงและ ด้วยตนเอง
พัฒนาการทางาน
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)


6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน พยายามให้งาน ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ต่อปัญหา พยายาม ต่อปัญหาในการ สาเร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการ แก้ปัญหา อุปสรรค ทางาน
ทางาน ในการทางานให้สาเร็จ พยายามให้งานสาเร็จ
6.2.2 พยายาม ตามเป้าหมายภายใน ตามเป้าหมาย
แก้ปัญหา เวลา ชื่นชมผลงาน
และอุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชม ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการทางานให้ ผลงาน
สาเร็จ ด้วยความภาคภูมิใจ
6.2.3 ชื่นชม
ผลงาน
ด้วยความ
ภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1 สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
๑๖

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม ๒
2. ภาพการชั่งตาชั่งสองแขน
3. แผ่นตัวอย่างโจทย์ในรูปประโยคสัญลักษณ์
4. แผ่นตัวอย่างข้อความ
5. แผ่นประโยคภาษา
6. บัตรแสดงสมการ แผ่นโจทย์สมการ
7. สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชุด สมบัติการบวกของจานวนที่เท่ากัน
8. ตัวอย่างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
9. ภาพ ตาราง และแผนผังโยงใยความคิดของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
10. แผ่นแสดงการวิเคราะห์โจทย์สมการ
11. แผ่นโจทย์ และตารางวิเคราะห์แนวคิด เรื่อง การแก้โจทย์สมการเกี่ยวกับเงิน
12. แผ่นโจทย์ และการแก้โจทย์สมการเกี่ยวกับเรขาคณิต
13. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๑๗

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ เวลา 12 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ค 21102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. อัตราส่วนและการเขียนอัตราส่วน
2. อัตราส่วนที่เท่ากัน
3. สัดส่วนและการหาค่าตัวแปรจากสัดส่วน
4. การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน
5. ร้อยละ
6. การคานวณเกี่ยวกับร้อยละ
7. การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
8.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
สาระสาคัญ
1. ความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณซึ่งอาจมีหน่วยเดียวกัน
หรือหน่วยต่างกันก็ได้ เรียกว่า อัตราส่วน
ถ้าปริมาณของสิ่งแรกเป็น a และปริมาณของสิ่งหลังเป็น b เขียนเปรียบเทียบในรูปอัตราส่วน
ได้ด้วย a : b หรือ a อ่านว่า เอ ต่อ บี
b
2. การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ ให้นาจานวนที่ไม่เท่ากับศูนย์คูณอัตราส่วน
จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม
การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการหาร ให้นาจานวนที่ไม่เท่ากับศูนย์หารอัตราส่วน
จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม
3. ถ้าอัตราส่วน a  c แล้ว ad = bc เมื่อ b  0, c  0
b d
a c
ถ้าอัตราส่วน  แล้ว ad  bc เมื่อ b  0, c  0
b d
เราสามารถนาความรู้ เรื่อง การตรวจสอบอัตราส่วนที่เท่ากันไปใช้ในการเรียนเรื่องสัดส่วน

4. ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน เรียกว่า สัดส่วน


การหาค่าตัวแปรในสัดส่วนทาได้ 3 วิธี คือ ใช้หลักการคูณทั้งเศษและส่วน ใช้หลักการหารทั้งเศษ
และส่วน ใช้หลักการคูณไขว้
5. ในการหาค่าตัวแปรโดยใช้สัดส่วน สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการแก้โจทย์ปัญหา
๑๘

โดยใช้หลักการ คือ
- สมมุติค่าของตัวแปรในสิ่งที่ต้องการหา
- พิจารณาสิ่งที่ต้องการเปรียบเทียบจากโจทย์ แสดงเป็นอัตราส่วนสองอัตราส่วน
- เขียนสัดส่วน โดยกากับสิ่งที่เปรียบเทียบในแต่ละอัตราส่วนเป็นลาดับเดียวกัน
- หาค่าของตัวแปร
6. ในการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณโดยใช้อัตราส่วน ถ้าปริมาณของสิ่งหลังเป็น 100
เราเรียกเป็น ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
การเขียนอัตราส่วนต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปของร้อยละ ต้องทาอัตราส่วนของปริมาณหลังให้เป็น 100
7. ในการคานวณเกี่ยวกับร้อยละให้นาหลักการของอัตราส่วนและวิธีการคานวณหาตัวแปร
จากสัดส่วนมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา
8. ในการแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ จะนาหลักการของอัตราส่วน การเขียนอัตราส่วนและสัดส่วน
มาใช้ในการแก้ปัญหา
9. เราสามารถนาหลักการของอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
ในชีวิตประจาวันได้

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุง่ มันในการท
่ างาน
1) ทักษะการเชื่อมโยง
2) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

ภาระงานหลัก
1. ใบงานเรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน
2. ใบงานเรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วน
และร้อยละ (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงานที่ 17 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงานที่ 18 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
๑๙

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์
แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ
หาคาตอบของโจทย์ หาคาตอบของโจทย์ปญ ั หา หาคาตอบของโจทย์ปญ ั หา หาคาตอบของโจทย์ปญ ั หา หาคาตอบของโจทย์ปญ ั หา
ปัญหาเกี่ยวกับ เกี่ยวกับอัตราส่วนและ เกี่ยวกับอัตราส่วนและ เกี่ยวกับอัตราส่วนและ เกี่ยวกับอัตราส่วนและ
อัตราส่วน สัดส่วนตามที่ตนเอง สัดส่วนตามที่ตนเอง สัดส่วนตามแบบ สัดส่วนได้ตามแบบอย่าง
และสัดส่วน ได้คิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง ได้คิดขึ้นดีกว่าแบบอย่าง ได้ถูกต้อง และมีการ หรือตามที่ครูแนะนา
และสามารถแก้ไขปัญหา โดยมีครูหรือผู้อื่น ดัดแปลงให้เหมาะสม เท่านั้น
ที่เกิดขึ้นระหว่าง แนะนาบ้าง กับตนเอง โดยมีครู
การทางานได้ หรือผู้อื่นแนะนาบ้าง
แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การวิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์ วิเคราะห์โจทย์
แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ แสดงวิธีทาและ
หาคาตอบของ หาคาตอบของ หาคาตอบของ หาคาตอบของ หาคาตอบของ
โจทย์ปัญหาร้อยละ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ร้อยละตามที่ตนเอง ร้อยละตามที่ตนเอง ร้อยละตามแบบ ร้อยละได้ตามแบบอย่าง
ได้คิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง ได้คิดขึ้นดีกว่าแบบอย่าง ได้ถูกต้อง และมีการ หรือตามที่ครูแนะนา
และสามารถแก้ไขปัญหา โดยมีครูหรือผู้อื่น ดัดแปลงให้เหมาะสม เท่านั้น
ที่เกิดขึ้นระหว่าง แนะนาบ้าง กับตนเอง โดยมีครู
การทางานได้ หรือผู้อื่นแนะนาบ้าง
๒๐

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้ และเข้า
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน ร่วม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วม ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง
กิจกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ และเข้า ในการเรียนรู้ และเข้า ๆ
ต่าง ๆ ร่วม ร่วม เป็นบางครั้ง
กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง
ๆ ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
ทางานให้สาเร็จ การทางานให้ดีขึ้น การทางานให้ดีขึ้น
6.1.3 ปรับปรุงและ ด้วยตนเอง
พัฒนาการทางาน
ด้วยตนเอง
๒๑

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน พยายามให้งาน ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ต่อปัญหา พยายาม ต่อปัญหาในการ สาเร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการ แก้ปัญหา อุปสรรค ทางาน
ทางาน ในการทางานให้สาเร็จ พยายามให้งานสาเร็จ
6.2.2 พยายาม ตามเป้าหมายภายใน ตามเป้าหมาย
แก้ปัญหา เวลา ชื่นชมผลงาน
และอุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชม ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการทางานให้ ผลงาน
สาเร็จ ด้วยความภาคภูมิใจ
6.2.3 ชื่นชม
ผลงาน
ด้วยความ
ภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2 อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม ๒
2. บัตร/แถบข้อความ
3. บัตรจานวน
4. บัตรตัวเลข
5. บัตรอัตราส่วน
6. บัตรร้อยละ
7. ตาราง
8. บัตร/แถบโจทย์ปัญหา
9. แถบข้อมูลแสดงพื้นที่และจานวนประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียน
10. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๒๒

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น เวลา 17 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ค 21102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กาหนดให้
ตัวชี้วัด
ค 1.3 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับกราฟในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
ค 1.3 ม.1/3 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงเส้นในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของคู่อันดับ
2. กราฟของคู่อันดับบนระบบพิกัดฉาก
3. การใช้คู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่มหนึ่งกับสมาชิกของอีกกลุ่มหนึ่ง
4. กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
5. การแก้สมการโดยวิธีเขียนกราฟ
6. การอ่านและแปลความหมายของกราฟ
สาระสาคัญ
 การจับคู่ระหว่างสมาชิกของกลุ่มหนึ่งและสมาชิกของอีกกลุ่มหนึ่ง สามารถเขียนให้อยู่ในรูป

คู่อันดับ
 การเขียนจุดหนึ่งจุดบนระนาบจานวน โดยที่สมาชิกตัวแรกของคู่อันดับแสดงจานวนที่อยู่บน

แกน X และสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับแสดงจานวนที่อยู่บนแกน Y สามารถใช้แทนคู่อันดับหนึ่งคู่


 การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่มหนึ่งกับสมาชิกของอีกกลุ่มหนึ่ง สามารถเขียน

ให้อยู่ในรูปกราฟของคู่อันดับ
 คาตอบของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรสามารถนามาแสดงเป็นกราฟของคู่อันดับ กราฟของสมการ

ที่มีคาตอบของสมการเป็นจานวนนับจะมีลักษณะเป็นจุดเรียงกันเป็นแนวตรง
 กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรที่มีคาตอบของสมการเป็นจานวนใด ๆ จะมีลักษณะ

เป็นเส้นตรงหรือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรง
 กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรที่มีคาตอบของสมการเป็นจานวนเต็มใด ๆ จะมีลักษณะ

เป็นจุดเรียงกันเป็นแนวตรง
 ในการเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองชุด ต้องมีการนาข้อมูลทั้งสองชุดนั้น

มาเขียนความสัมพันธ์ในรูปของคู่อันดับ เพื่อให้สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ให้อยู่ในรูปเชิงเส้นได้
ซึ่งกราฟความสัมพันธ์ของปริมาณสองชุดอาจนาเสนอจากคู่อันดับที่เกิดจากสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 สมการในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ x,y เป็นตัวแปร A, B และ C เป็นค่าคงตัว แล้ว A และ B

ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จะได้สมการเส้นตรงซึ่งเรียกว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปร รูปทั่วไปของสมการ


เชิงเส้น คือ y = ax + b
 ระบบสมการประกอบด้วยสมการตั้งแต่สองสมการขึ้นไป การแก้ระบบสมการเป็นการหาคาตอบ

ของสมการ ซึ่งอาจทาได้โดยการเขียนกราฟ ระบบสมการสองตัวแปรที่มีดีกรีไม่เกินสอง อาจมีคาตอบเดียว


๒๓

หรือมีหลายคาตอบ หรือไม่มีคาตอบก็ได้
 การเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองชุด เมื่อทราบปริมาณอย่างหนึ่ง ย่อมทาให้

ทราบปริมาณอีกชุดหนึ่ง เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจในความหมายของกราฟที่แสดงความสัมพันธ์กัน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุง่ มันในการท
่ างาน
- การจาแนก การให้เหตุผล การสรุปความรู้
การปฏิบัติ/การสาธิต การประยุกต์/การปรับปรุง
การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ภาระงานหลัก
1. ใบงานเรื่อง กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
2. ใบงานเรื่อง การแก้สมการโดยวิธีเขียนกราฟ
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง คู่อันดับ การอ่านและแปลความหมายของกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก
สมการและกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การแก้สมการโดยวิธีเขียนกราฟ (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการปฏิบัติงาน อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ร่วมกันอย่างร่วมมือร่วมใจ ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
พร้อมกับการประเมินเป็น แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
ระยะ ๆ เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
๒๔

แบบประเมินใบงาน เรื่อง กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
อธิบายเกี่ยวกับ อธิบายเกี่ยวกับกราฟที่ อธิบายเกี่ยวกับกราฟที่ อธิบายเกี่ยวกับกราฟที่
อธิบายเกี่ยวกับกราฟที่
กราฟ แสดงคาตอบของ แสดงคาตอบของ แสดงคาตอบของ
แสดงคาตอบของ
ที่แสดงคาตอบของ สมการเชิงเส้นสองตัว สมการเชิงเส้นสองตัว สมการเชิงเส้นสองตัว
สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้น แปร แปร แปร สองตัวแปรได้ไม่
สองตัวแปร ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ
ถูกต้อง
ด้วยวิธีการตามลาดับ ด้วยวิธีการตามลาดับ โดยจะต้องดูตัวอย่าง
ครบทุกข้อ โดยครูต้อง
ขั้นตอนด้วยตนเอง ขั้นตอนด้วยตนเอง จากหนังสือและให้
แนะนาอธิบายข้อที่ทา
และอธิบายให้เพื่อน เพื่อนอธิบาย จึง
ไม่ถูกต้องและดู
เข้าใจได้ถูกต้อง สามารถทาได้ถูกต้อง
ตัวอย่างจากหนังสือ
ประกอบ
จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
เขียนกราฟแสดง เขียนกราฟแสดง เขียนกราฟแสดง เขียนกราฟแสดง เขียนกราฟแสดง
คาตอบของสมการ คาตอบของสมการเชิง คาตอบของสมการเชิง คาตอบของสมการเชิง คาตอบของสมการเชิง
เชิงเส้นสองตัวแปร เส้น เส้น เส้น เส้น
สองตัวแปร สองตัวแปร สองตัวแปรได้ไม่ สองตัวแปรได้ไม่
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ถูกต้อง ถูกต้อง
ด้วยวิธีการตามลาดับ ด้วยวิธีการตามลาดับ ครบทุกข้อโดยจะต้อง ครบทุกข้อ โดยครูต้อง
ขั้นตอนด้วยตนเอง ขั้นตอนด้วยตนเอง ดูตัวอย่างจากหนังสือ แนะนาอธิบายข้อที่ทา
และอธิบายให้เพื่อน และให้เพื่อนอธิบาย ไม่ถูกต้องและดู
เข้าใจได้ถูกต้อง จึงสามารถทาได้ ตัวอย่างจากหนังสือ
ถูกต้อง ประกอบ
จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
๒๕

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแก้สมการโดยวิธีเขียนกราฟ


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
อธิบายเกี่ยวกับ อธิบายเกี่ยวกับ อธิบายเกี่ยวกับ อธิบายเกี่ยวกับ อธิบายเกี่ยวกับ
ลักษณะของสมการ ลักษณะของสมการ ลักษณะของสมการ ลักษณะของสมการ ลักษณะของสมการ
และวิธีการแก้ และวิธีการ และวิธีการ และวิธีการ และวิธีการ
สมการ แก้สมการสองตัวแปร แก้สมการสองตัวแปร แก้สมการสองตัวแปร แก้สมการสองตัวแปร
สองตัวแปรที่มีดีกรี ที่มีดีกรีไม่เกินสอง ที่มีดีกรีไม่เกินสอง ที่มีดีกรีไม่เกินสอง ที่มีดีกรีไม่เกินสอง
ไม่เกินสอง โดยวิธีเขียนกราฟ โดยวิธีเขียนกราฟ โดยวิธีเขียนกราฟ โดยวิธีเขียนกราฟ
โดยวิธีเขียนกราฟ ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยาทุกข้อ พร้อม แม่นยาทุกข้อด้วย แต่ครูต้องแนะนา โดยครูและเพื่อน
ทั้งอธิบาย ตนเอง บางครั้ง ต้องอธิบายและดู
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ตัวอย่างจากหนังสือ
ทุกข้อ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วม ร่วม การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา
๒๖

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้ ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม งานสาเร็จตาม ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ เป้าหมายภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 3 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
2. แผนภาพแสดงการจับคู่ระหว่างสมาชิกของกลุ่มหนึ่งกับสมาชิกของอีกกลุ่มหนึ่ง
3. แผนภาพแสดงการจับคู่ระหว่างจานวนสมุดกับราคา
4. ตารางแสดงจานวนปากกากับราคา
5. สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชุด การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น
6. ตารางแสดงจานวนนมสดและราคา
7. แผนภาพแสดงการจับคู่ระหว่างจานวนนมสดเป็นกล่องกับราคาเป็นบาท
๒๗

8. กระดาษกราฟ
9. แผนภาพระนาบจานวน
10. แถบประโยคภาษา
11. ตารางแสดงราคาน้ามันและปริมาณน้ามัน
12. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๒๘

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สถิติ(๑) เวลา 14 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ค 21102 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด
ค 3.1 ม.1/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล
รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาคัญของสถิติ
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การนาเสนอข้อมูลด้วยตาราง
4. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปภาพ
5. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง
6. การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น
7. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม
สาระสาคัญ
1. วิธีการทางสถิติเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์เทคนิคหนึ่ง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การแปลความหมาย
ของข้อมูลที่รวบรวมไว้มีความสะดวกยิ่งขึ้น ระเบียบวิธีการทางสถิติมี 4 ขั้น คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความหมายข้อมูล
2. ข้อมูลจาแนกตามวิธีเก็บรวบรวม จาแนกได้ 2 ประเภท คือ ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ
ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การสังเกต
การทดลอง และจัดทาข้อมูลที่ได้มาด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อนาเสนอข้อมูล
3. การนาเสนอข้อมูลด้วยตาราง เป็นการนาเสนอข้อมูลที่มีรายการหรือจานวนเดียวกันซ้ากัน
เป็นจานวนมาก นามาจัดเป็นหมวดหมู่ให้อยู่ในรูปของตาราง
4. แผนภูมิรูปภาพ เป็นการนาเสนอข้อมูลที่ใช้รูปภาพแทนปริมาณในข้อมูลที่ต้องการนาเสนอ
เพื่อช่วยให้เห็นภาพรวมของข้อมูลได้รวดเร็วและช่วยดึงดูดความสนใจให้มากขึ้น
5. การเขียนแผนภูมิแท่ง เขียนโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนข้อมูล รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรูป
ต้องเริ่มต้นจากระดับเดียวกัน มีความกว้างเท่ากัน และมีระยะห่างระหว่างรูปเท่ากัน เราสามารถนาความรู้
เรื่องนี้ไปใช้ในการจาแนกข้อมูลในชีวิตประจาวันให้เป็นระบบ และให้ง่ายต่อการศึกษาข้อมูล
6. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง เป็นการนาเสนอข้อมูลโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งเรียกว่า
“แท่ง” และแต่ละแท่งจะแทนข้อมูลชนิดหนึ่ง และมีความกว้างแต่ละแท่งเท่ากัน ส่วนความยาวจะขึ้นอยู่กับ
ปริมาณของข้อมูล โดยอาจนาเสนอในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได้ และมีการเขียนตัวเลขแสดงข้อมูล
ไว้บนยอดหรือปลายของแท่งข้อมูล เพื่อความชัดเจนในการอ่านข้อมูล
7. การเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ เป็นการเขียนแผนภูมิแท่งแสดงการเปรียบเทียบข้อมูล
ตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป เราสามารถนาความรู้ไปใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน
8. แผนภูมิแท่งเชิงประกอบแต่ละแท่ง จะแบ่งแท่งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นหลาย ๆ ส่วน ซึ่งจะแสดง
๒๙

ข้อมูลมากกว่า 1 ชนิด
ควรระบายสีแท่งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละส่วน เพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของข้อมูล
แต่ละชนิด และเขียนอธิบายเกี่ยวกับสีหรือความแตกต่างของข้อมูลแต่ละชนิด
9. การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้นนิยมใช้กับข้อมูลที่แสดงการเปรียบเทียบหรือแสดงการเปลี่ยนแปลง
ตามลาดับก่อนหลังของเวลาที่ข้อมูลนั้นเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้นเชิงเดียว
และการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้นเชิงซ้อน การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้นช่วยให้เห็นความสัมพันธ์
ระหว่างข้อมูลได้ชัดเจน รวดเร็ว
10. แผนภูมิรูปวงกลม เป็นการนาเสนอข้อมูลโดยใช้พื้นที่ภายในรูปวงกลม การแสดงข้อมูลไว้ใน
แต่ละส่วนของแผนภูมิรูปวงกลมช่วยให้อ่านข้อมูลได้ถูกต้อง
11. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม เป็นการนาเสนอข้อมูลอีกวิธีหนึ่ง โดยใช้การแบ่งพื้นที่
ในรูปวงกลมออกเป็นส่วนย่อย ๆ ตามจานวนของปริมาณที่ต้องการเปรียบเทียบหรือนาเสนอ การแบ่งพื้นที่
จะแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลางให้มีขนาดต่าง ๆ ตามจานวนข้อมูลที่กาหนด และเปลี่ยนให้อยู่ในรูปร้อยละหรือ
เปอร์เซ็นต์ โดยใช้หลักการว่าผลบวกของจานวนของข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ 100% เท่ากับมุมที่จุดศูนย์กลาง
ที่มีขนาด 360 องศา หรือ 1% เท่ากับ 3.6 องศา
ถ้าหากคิดคานวณข้อมูลเปลี่ยนเป็นองศา ถ้าไม่เป็นจานวนเต็มให้ใช้ค่าใกล้เคียง โดยเมื่อรวม
ขนาดของมุมในแต่ละส่วนของข้อมูลในรูปวงกลมต้องเท่ากับ 360 องศา

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุ่งมั่นในการทางาน
- การสรุปความรู้ การปฏิบัติ/การสาธิต การ
ให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ภาระงานหลัก

1. ใบงานเรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปภาพ
2. ใบงานเรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง
3. ใบงาน เรื่อง การอ่านข้อมูลจากกราฟเส้น
4. ใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น
5. ใบงาน เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลม
6. ใบงานเรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม
๓๐

การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูล (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปภาพ (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การอ่านข้อมูลจากกราฟเส้น (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลม (P) ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม (P) ด้วยแบบประเมิน
9. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปภาพ


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การเขียนแผนภูมิ- เขียนแผนภูมิรูปภาพ เขียนแผนภูมิรูปภาพ เขียนแผนภูมิรูปภาพ เขียนแผนภูมิรูปภาพ
รูปภาพแสดงข้อมูล แสดงข้อมูลตามที่ แสดงข้อมูลตามที่ แสดงข้อมูลตามที่ แสดงข้อมูลตามที่
ตามที่กาหนด กาหนด กาหนด กาหนด กาหนด
ได้ถูกต้องครบถ้วนทุก ได้ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้องครบถ้วน
ข้อ มีบางข้อผิด แต่ ด้วยตนเอง มีบางข้อ แต่ต้องมีผู้แนะนาทุก
ด้วยตนเอง สามารถ ผิด ข้อ
แก้ไขได้ด้วยตนเอง เมื่อมีผู้แนะนาก็
สามารถ
แก้ไขได้
๓๑

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การนาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูลด้วย นาเสนอข้อมูลด้วย นาเสนอข้อมูลด้วย นาเสนอข้อมูลด้วย
ด้วยแผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งจากข้อมูล แผนภูมิแท่งจากข้อมูล แผนภูมิแท่งจากข้อมูล แผนภูมิแท่งจากข้อมูล
ที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง ที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง ที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง ที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
ทุกข้อมูลด้วยตนเอง มีบางข้อมูลผิด ด้วยตนเอง มีบางข้อมูล แต่ต้องมีผู้แนะนา
แต่สามารถแก้ไขได้ ผิด ทุกข้อมูล
ด้วยตนเอง เมื่อมีผู้แนะนาก็
สามารถ
แก้ไขได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การอ่านข้อมูลจากกราฟเส้น


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การอ่านข้อมูล อ่านข้อมูลจากกราฟ อ่านข้อมูลจากกราฟ อ่านข้อมูลจากกราฟ อ่านข้อมูลจากกราฟ
จากกราฟเส้น เส้นได้ถูกต้องทุกข้อ เส้นได้ถูกต้อง มีบาง เส้นได้ถูกต้องด้วย เส้นได้ถูกต้อง
ด้วยตนเอง ข้อผิด แต่สามารถ ตนเอง แต่ต้องมีผู้แนะนา
แก้ไขได้ มีบางข้อผิด ทุกข้อ
ด้วยตนเอง เมื่อมีผู้แนะนาก็
สามารถ
แก้ไขได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การนาเสนอข้อมูล เขียนกราฟเส้นจาก เขียนกราฟเส้นจาก เขียนกราฟเส้นจาก เขียนกราฟเส้นจาก
ด้วยกราฟเส้น ข้อมูลที่กาหนดให้ได้ ข้อมูลที่กาหนดให้ได้ ข้อมูลที่กาหนดให้ได้ ข้อมูลที่กาหนดให้ได้
ถูกต้องทุกข้อมูลด้วย ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง
ตนเอง มีบางข้อมูลผิด ด้วยตนเอง แต่ต้องมีผู้แนะนา
แต่สามารถแก้ไขได้ มีบางข้อมูลผิด ทุกข้อมูล
ด้วยตนเอง เมื่อมีผู้แนะนาก็
สามารถ
แก้ไขได้
๓๒

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลม


ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การอ่านข้อมูลและ อ่านข้อมูลและ อ่านข้อมูลและ อ่านข้อมูลและ อ่านข้อมูลและ
การตอบคาถามจาก ตอบคาถามจาก ตอบคาถามจาก ตอบคาถามจาก ตอบคาถามจาก
แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิรูปวงกลม
ตามที่ตนเองได้คิด ตามที่ตนเองได้คิด ตามแบบได้ถูกต้อง ได้ตามแบบอย่าง
ขึ้นมาเองได้ถูกต้อง ขึ้นมาเอง เพื่อให้มี และมีการดัดแปลง หรือทาตามที่ครู
และสามารถแก้ไข ประสิทธิภาพที่ดีกว่า ให้เหมาะสมกับตนเอง แนะนา
ปัญหา แบบอย่าง โดยมีครู โดยมีครูหรือผู้อื่น เท่านั้น
ที่เกิดขึ้นระหว่าง หรือผู้อื่นแนะนาบ้าง แนะนาบ้าง
การทางานได้
แบบประเมินใบงาน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
การนาเสนอข้อมูล เขียนแผนภูมิรูป เขียนแผนภูมิรูป เขียนแผนภูมิรูป เขียนแผนภูมิรูป
ด้วยแผนภูมิรูป วงกลม วงกลม วงกลม วงกลม
วงกลม จากข้อมูลที่กาหนดให้ จากข้อมูลที่กาหนดให้ จากข้อมูลที่กาหนดให้ จากข้อมูลที่กาหนดให้
จากข้อมูลที่ โดยมีองค์ประกอบ โดยมีองค์ประกอบ โดยมีองค์ประกอบ โดยมีองค์ประกอบ
กาหนดให้ ครบถ้วนตามที่ตนเอง ครบถ้วนตามที่ตนเอง ครบถ้วนตามแบบ ครบถ้วนได้ตาม
โดยมีองค์ประกอบ ได้คิดขึ้นมาเอง ได้คิดขึ้นมาเอง ได้ถูกต้อง และมีการ แบบอย่างหรือทาตาม
ครบถ้วน ได้ถูกต้อง และ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ ดัดแปลงให้เหมาะสม ที่ครูแนะนาเท่านั้น
สามารถ ที่ดีกว่าแบบอย่าง กับตนเอง โดยมีครู
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีครูหรือผู้อื่น หรือผู้อื่นแนะนาบ้าง
ระหว่างการทางานได้ แนะนาบ้าง
๓๓

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง
๓๔

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้งาน ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม สาเร็จตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ ภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 สถิติ (๑)
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
2. ชุดข้อมูล
3. ตัวอย่างตารางแจกแจงความถี่
4. ตัวอย่างโจทย์การสร้างตารางแจกแจงความถี่
5. ตัวอย่างการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น
6. กิจกรรมหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
7. ตัวอย่างโจทย์การหาค่ามัธยฐาน
8. กิจกรรมการหาค่ามัธยฐาน
9. ตัวอย่างโจทย์ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่แจกแจงความถี่
10. บัตรโจทย์
11. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๓๕

การวัดและประเมินผลรายวิชา ค 2110๒ คณิตศาสตร์


การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา ค 2110๒ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์
ได้กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลไว้ดังนี้
1. การประเมินผลการเรียนรู้ กาหนดคะแนนการประเมินเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1.1 คะแนนการประเมินระหว่างเรียน 70 %
1.2 คะแนนการประเมินปลายปี 30 %
โดยที่คะแนนการประเมินระหว่างเรียน ได้มาจากคะแนนเก็บรายหน่วยการเรียนรู้ที่ระบุไว้
ในโครงสร้างรายวิชา และคะแนนการประเมินปลายปี ได้มาจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปีและจากแฟ้ม
สะสมผลงาน (Portfolio) ตามระเบียบการวัดและประเมินผลที่โรงเรียนกาหนดไว้ รายละเอียดดังนี้
การประเมิน วิธีการประเมิน (เก็บจาก) คะแนน รวม
1. การประเมินระหว่างเรียน 1. ชิ้นงาน/ภาระงานในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 70 100
(70 %) จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ คะแนน
2. การประเมินปลายปี 2. สอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปี ๓๐
(30 %)

2. การตัดสินผลการเรียน
2.1 นักเรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
2.2 นักเรียนต้องผ่านการประเมินตัวชี้วัดทุกตัวตามที่หลักสูตรกาหนด
2.3 นักเรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านระดับ 1 ขึ้นไป
ลัก ูตร ถาน ึก า ราย ิชาคณิต า ตร์
โรงเรียน มื่น รีประชา รรค์ อาเภอ าโรงทาบ จัง ัด ุรินทร์
านักงานเขตพื้นที่การ ึก าประถม ึก า ุรินทร์ เขต ๑
านักงานคณะกรรมการการ ึก าขั้นพื้นฐาน กระทร ง ึก าธิการ

You might also like