You are on page 1of 69

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระทรวงศึกษาธิการ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์
เล่ม ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่

ซ า


่ ท้า

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ | เล่ม ๑


ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) พ ร
ยแ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เ ผ
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
งว น ด แ พ
ส เ ผ ย
ห้าม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด

Pok 6100141 27-2-2018.indd 2 19/3/2561 BE 15:37


6100141 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ขนาด 21 x 26 ซม. สัน 1.4 ซม.
หนังสือเรียน
หนังสือเรียน

รายวิ
รายวิชาพื้นฐาน้า ช าพื น
้ ฐาน
หนังสือเรียน า
้ ซ
่ท
วิชา
วิชา หนังสือเรียน
พ ร
คณิ ต รายวิ
ศาสตร์ ย ชาพื แ เล่ ม น
้ ฐาน

รายวิ ผ
คณิตศาสตร์ ้หาม นช่ายาพื
เ เล่ม้นฐาน ๑
ชั้น
ท . จ้าห วิชา

ส ว รือ
ชั้น วิชา

ส ห
ิธ์โด มั

มั ธ
ธ ยมศึ
ยมศึ
ล ง คณิ
คณิ ก
ก ษาปี
ษาปี ต
ต ศาสตร์
ศาสตร์ ท
ท ่ ี ่ ี ๑
๑ เล่
เล่ ม
ม ๑
๑ า
้ ซ า

ิท ตามมาตรฐานการเรี
แ ป ร ่ ท
น ส ด ด
ั พ
ส งว ตามมาตรฐานและตั ชั้น

ว นรู
ชี ว
้ แ
้ ด
ั ละตั ว ชี ว
้ ด

ย แ
ตามมาตรฐานการเรี
ตามมาตรฐานและตั ชั้น วชี้วัด


ตามมาตราฐานและตันรู
ชี ว
้ แ
้ ด
ั ละตั ว
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ชี ว
้ ด


พ.ศ.กมราชผ ๒๕๕๑ ย
มั ธ ยมศึ กษาขั้นพืก ษาปี า
้ ท ่ ี ๑
กลุ ตามมาตราฐานและตัวชี้วัด
่มสาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ กษาขั(ฉบั ้นพืบ้นปรั บปรุพุงทธศั ๒๕๖๐)
ตามหลั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กสูตรแกนกลางการศึ ฐาน
พุทหธศักราช น ่า
มัธยมศึกทษาปี . ท ี่ห๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ ้นฐาน ๒๕๕๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จัดท�าำโดย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ว ือ จ า

จัสถาบั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์สแส
ดท�านโดย จัดทำาโดย ละเทคโนโลยีหรกระทรวงศึกษาธิการ
จัดทำาโดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์


ตามมาตราฐานและตั
สถาบันส่งเสริมการสอนวิ
ิ ด ย และเทคโนโลยี
วชี้วัด
ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ล ง กระทรวงศึกษาธิการ


สถาบันส่งเสริมการสอนวิ ธ แป
ตามมาตราฐานและตั
ทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรี
วชี้วัด
และเทคโนโลยี
ยนรู ้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
พิมพ์ครั้งที่ ๑
พิISBN
มพ์ค978รั้งที-่ 616 น
๑ -362 ส-692-9 ดัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สงว-362เล่-692ม พ.ศ.
พิมพ์ครั้งที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ISBN
ISBN 978-616 พิมพ์ครั้งที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ISBN -9
จำา�นวน ๕๐๐,๐๐๐ISBN 000 – 000 – 000 – 000 – 0 ๒๕๖๑
จำISBN
านวน 000 – 000 –า000
xxx,xxxจัดเล่ทำเล่
๕๐๐,๐๐๐ มม โดย – 000
พ.ศ.
พ.ศ. ๒๕๖๑
–0
๒๕๖๑
xxx,xxxจั
จำานวน ๕๐๐,๐๐๐ ดเล่ทำเล่
สถาบั มานม โดย
ส่งพ.ศ.
พ.ศ. ม๒๕๖๑
เสริ๒๕๖๑
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จัดจ�าำหน่ายโดย
จัองค์
ดจ�จำกาารค้
หน่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่าาายโดย ยโดยสกสค.
ของ
จัดจำาหน่าาของ
องค์ ยโดยสกสค.
พิมพ์กทารค้ ี่โรงพิของ มพ์ สกสค.พิมพ์คพิ
สกสค. รั้งมทีพ์่ ท
ลาดพร้ ๑ี่โารงพิ
ว มพ์ สกสค. ลาดพร้าว ๒๒๔๙
องค์
มพ์กทารค้ าของ พิมพ์คพิ
มาวพ์ สกสค. รั้งมทีพ์่ ท
๑ี่โารงพิ มพ์ สกสค.
พิ๒๒๔๙
ถนนลาดพร้ ี่โถนนลาดพร้
รงพิ วัสกสค.
าว วังลาดพร้
ISBN
งทองหลาง 000
ทองหลาง – 000
กรุ 000 – ลาดพร้
งวเทพมหานคร
กรุ–งเทพมหานคร000 าว ๒๒๔๙
มีลิขสิ–ท0ธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ถนนลาดพร้าว วัจำISBN
๒๒๔๙ ว วัญง000
งาทองหลาง – 000
กรุ –งเทพมหานคร
งเทพมหานคร000 – 000 ลิขสิ–ท0ธิ์ตามพระราชบัญญัติ
มี๒๕๖๑
มี●ลมีิขลสิิขทสิธิถนนลาดพร้
ท์ตธิามพระราชบั
์ตามพระราชบั านวน ญัทองหลาง
ตญัิ ติ ● กรุ
ญ๕๐๐,๐๐๐
xxx,xxx เล่เล่
ม มพ.ศ.
พ.ศ.๒๕๖๑
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบั จำานวนญญั๕๐๐,๐๐๐
xxx,xxx
ติ เล่เล่
ม มพ.ศ.
พ.ศ.๒๕๖๑
๒๕๖๑
จัดจำาหน่ายโดย
จัดจำาหน่ายโดย
องค์การค้าของ สกสค. พิมพ์ที่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ๒๒๔๙
องค์การค้าของ สกสค. พิมพ์ที่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ๒๒๔๙
ถนนลาดพร้าว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ซ า

้ากษาขั้นพื้นฐาน
ประกาศสำานักงานคณะกรรมการการศึ
่ ท
เรื่อง อนุญาตให้ใช้สื่อการเรียรนรู้ในสถานศึกษา
แพ
เ ผ ย
______________________

ด้วยสถาบันส่งเสริมการสอนวิห า
้ ม ่าย ได้จดั ทำาหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน

คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีทท า
้ น
ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
. ม ๑ ตามมาตรฐานการเรี
ห ยนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุส
ี่ ๑ เล่

ว รือ กสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
ย ส กหษาขั้นพื้นฐาน ได้พิจารณาแล้วอนุญาตให้ใช้ในสถานศึกษาได้้า
ง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลั

ิธ์โด ปลง
๒๕๕๑ สำานักงานคณะกรรมการการศึ
ทา
้ ซ
ิท ัดแ นที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ส ประกาศ ณ วั ร ่

ง ว น ด แ พ
ส เ ผ ย
้หาม น่าย
ท .ญรักษ์ ยอดเพชร)
จ า
้ ห
สว หรือ กษาขั้นพื้นฐาน
(นายบุ
เลขาธิกสารคณะกรรมการการศึ

ิธ์โดย ปลง
ส ิท ัดแ
ง ว น ด

คำ�นำ�



สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีอำานาจหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร

่ร ท้า
วิธกี ารเรียนรู ้ การประเมินผล การจัดทำาหนังสือเรียน คูม่ อื ครู แบบฝึกหัด และสือ่ การเรียนรูท้ กุ ประเภท
ที่ใช้ประกอบการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แ พ
เ ผ ย
หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานคณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท ่ี ๑ เล่ม ๑ นี ้ จัดทำาตามมาตรฐาน

้หาม น่าย
การเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีการปรับปรุงให้มีความทันสมัย คำานึงถึง
ท . จ้าห
การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำาเป็น สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสำาคัญ รวมทั้ง
ส ว รือ
เน้นด้านการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ และการนำาไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนา
ย ส ห า

คุณภาพชีวิตของตนเอง
ิ โ
์ ด
สำานักธงานคณะกรรมการการศึ ล ง ซ
กษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนเล่มนี้จ้าะเป็น
ประโยชน์สต่อท

ิ การจัดการเรีัดยแนรู้ และเป็นส่วนสำาคัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึ ร ่ ท กษา
กลุง่มว
น ด แ พละเทคโนโลยี
ส คคลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำาไว้ ณ โอกาสนี
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขอขอบคุณสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
เ ผ ย แ
ตลอดจนบุ
้หาม น่าย ้

ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด (นายบุ ล งรักษ์ ยอดเพชร)
แป
ิสท เลขาธิกัดารคณะกรรมการการศึ

น ด กษาขั้นพื้นฐาน

สงว
คำาชี้แจง
คำค�าชี
�ชี้แจง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จด
ั ทำาตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม
่ สาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมี



จุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถที่ทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงความรู้กับ

่ร ท้า
กระบวนการคิด มีความคิดริเริม
่ สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปญ
ั หาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ
และถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมี

แพ
ประสิทธิภาพ ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไปนี้ โรงเรียนจะต้องใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง

เ ผ ย
พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงได้จัดทำาหนังสือเรียนที่เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรเพื่อให้โรงเรียนได้ใช้สำาหรับจัดการเรียนการสอน
ในชั้นเรียน
้หาม น่าย
ท. จ้าห
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่ม ๑ นี้ ประกอบด้วยเรื่อง จำานวนเต็ม การสร้าง

ส ว รือ
ทางเรขาคณิต เลขยกกำาลัง ทศนิยมและเศษส่วน รูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละสามมิติ ซึง่ เป็นเนือ
้ หาสาระตามมาตรฐานการเรียนรู้

ย ส ห
ที่ได้กำาหนดไว้ในหลักสูตร อย่างไรก็ตามผู้สอนสามารถปรับบทเรียนให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ทั้งนี้ หนังสือเรียน


์ธโิ ด ปลง ซ
เล่ ม นี้ ไ ด้ จั ด เนื้ อ หาตามพั ฒ นาการของผู้ เ รี ย น โดยมุ่ ง หวั ง ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถสร้ า งองค์ ค วามรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเองและนำ า ความรู้
ทางคณิตศาสตร์นั้นไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง อีกทั้งยังมีแบบฝึกหัดที่หลากหลายและท้าทายให้ผู้เรียน

ส ทิ ด
ั แ ร ่ ท้า
น ด พ
ใช้ตรวจสอบความเข้าใจ มีเกร็ดความรู้ที่เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และชีวิตจริง รวมทั้งมีสื่อเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ อาทิ

งว แ
เครือ
่ งคิดเลข วีดท

ิ ศ
ั น์ การใช้ซอฟต์แวร์เรขาคณิตพลวัตในการสำารวจ เพือ
่ เป็นเครือ

่ งมือในการทำาความเข้าใจบทเรียนให้งา่ ยและ

เ ผ
ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ตลอดจนมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำางานร่วมกับผู้อื่น ได้วิเคราะห์ปัญหา สืบเสาะความรู้ ร่วมกันอภิปราย
้หาม น่าย
เพื่ อให้ ได้ แนวทางในการแก้ปัญ หา รวมทั้ง ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แก้ปัญหาด้วยวิธีก ารที่ห ลากหลาย ซึ่งจะช่วยพัฒนาทักษะ

ท . จ้าห
แห่งศตวรรษที่ ๒๑ และสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ในระดับที่สูงขึ้น ในการจัดทำา

ส วณไว้ ณ ที่นี้ รือ


หนังสือเรียนเล่มนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการอิสระ คณาจารย์ทั้งหลาย รวมทั้งครูผู้สอน

นักวิชาการ จากสถาบัน และสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้
นักวิชาการ จากสถาบันและสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จึงขอขอบคุ
ย ห
สสวท. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าหนังสือเรียนรายวิชาพืน

์ ิ ด
สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิ ต ศาสตร์

เล่ มงนี ้ จะเป็ นประโยชน์แก่ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
้ ฐานคณิตศาสตร์ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผเู้ รียน และผูท
้ เี่ กีย่ วข้อง
ทุกฝ่าย ทีจ่ ะช่วยให้การจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์มปี ระสิธทธิภาพและประสิ ปทธิผล หากมีขอ้ เสนอแนะใดทีจ่ ะทำาให้หนังสือเรียน

ิ แ
ทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้การจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำาให้หนังสือ
วสย จักขอบคุณด ยิ่งัด

เรียนเล่มนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จักขอบคุณยิ่ง

สงว
เล่มนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้

(นางพรพรรณ ไวทยางกูรร) )
(นางพรพรรณ ไวทยางกู
ผู้อำานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึ
กระทรวงศึกกษาธิ
ษาธิกการ
าร
การสื่อความหมายของรูปภาพและกรอบที่ควรรู้

1 จุดประสงค์ของบทเรียน 2 ทบทวนความรู้ก่อนเรียน

ความรู้ และทั ก ษะที่ นั ก เรี ย นควรทำ � ได้


ซา
้ ทบทวนเนื้ อ หาหรื อ ความรู้ ก่ อ นเรี ย น

่ ท้า
เมื่อเรียนจบบทนี้ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มสำ � หรั บ การเรี ย น
เนื้อหาใหม่ ซึ่งจะมีลิงก์ และ QR-code

พ ร สำ�หรับเข้าไปทำ�แบบทดสอบออนไลน์ เพือ่

ยแ ตรวจสอบความรูพ ้ น
้ื ฐานก่อนเข้าสูบ่ ทเรียน

เ ผ
3 มุมคณิต
้หาม น่าย 4 ชวนคิด

ท. จ้าห
ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ที่ เ พิ่ ม เติ ม จาก คำ � ถามเพื่ อ ตรวจสอบความรู้ ห รื อ ขยาย

ว รือ
เนื้อหา เพื่อเสริมความรู้ทางคณิตศาสตร์

ความรู้ จากเนือ้ หา ตัวอย่าง หรือแบบฝึกหัด

ย ส ห
ให้กับนักเรียน โดยเน้ น ให้ เ กิ ด การอภิ ป รายร่ ว มกั น ใน



ิธ์โด ปลง
ชั้ น เรี ย น เพื่ อ ขยายความคิ ด เพิ่ ม เติ ม

ท้า ซ
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ส ิท ัดแ ร ่
5
ว น
ข้อสังเกต
ด 6

ข้อควรระวัง

สง ข้อมูลหรือความรูท ้ างคณิตศาสตร์ทสี่ งั เกต
เ ผ ยความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ที่ อ าจเข้ า ใจผิ ด
และสรุ ป ได้ จ ากเนื้ อ หาหรื อ ตั ว อย่ า ง
เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย นได้ ฝึ ก การสั ง เกต ้หาม น่ายหรื อ นำ � ไปใช้ โ ดยไม่ ร ะวั ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ความเข้าใจที่ถูกต้อง
คาดการณ์ และลงข้อสรุป
ท. จ้าห
ส ว รือ
7 กิจกรรม
ย ส ห 8 คำ�ถามท้ายกิจกรรม

กิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ิธ์โด ปลง คำ�ถามเพื่อสรุปความรู้ หรือขยายความรู้


เพื่อฝึกการสังเกต ฝึกการคิด และเพื่อให้
ส ิท ัดแ จากกิจกรรมที่ได้ท�ำ

เกิดการเรียนรู้หรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ
งว ด
ทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ ส
9 มุมเทคโนโลยี 10 สื่อเสริม เพิ่มความรู้

ความรู้ ห รื อ กิ จ กรรมที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี เ ป็ น ข้อมูล หรือวีดิทัศน์เสริมความรู้ที่เพิ่มเติม


เครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เช่น จากเนื้ อ หา ตั ว อย่ า ง หรื อ แบบฝึ ก หั ด
เครื่องคิดเลข หรือซอฟต์แวร์เรขาคณิต เพื่ อ แนะนำ � แหล่ ง การเรี ย นรู้ ใ ห้ นั ก เรี ย น
พลวัต เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการใช้ ได้ศึกษาเพิ่มเติม
เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา
การสื่อความหมายของรูปภาพและกรอบที่ควรรู้

11 เกร็ดน่ารู้ 12 เครื่องคิดเลข

ความรู้ ทั่ ว ไปในชี วิ ต จริ ง ที่ ส อดคล้ อ งกั บ


ซา
้ แ น ะ นำ � ใ ห้ ใ ช้ เ ค รื่ อ ง คิ ด เ ล ข ช่ ว ย ใ น

่ ท้า
เนื้อหา ตัวอย่าง หรือแบบฝึกหัด การคำ�นวณ

พ ร
ยแ
13 เ ผ 14
้หาม น่าย
ซอฟต์แวร์ตารางทำ�งาน The Geometer’s Sketchpad

แนะนำ � ให้ ใ ช้ ซ อฟต์ แ วร์ ต ารางทำ � งานใน แนะนำ�ให้ใช้โปรแกรม The Geometer’s

ท. จ้าห
สว รือ
การทำ�กิจกรรม หรือการแก้ปัญหา Sketchpad ในการทำ�กิจกรรม การสำ�รวจ

ย ส ห หรือการแก้ปัญหา



ิธ์โด ปลง ท้า ซ
15
ส ิท ัดแ
ท้าทาย 16 ตรวจสอบความเข้าใจ
ร ่
ว น ด
แบบฝึกหัดข้อที่มีความยากหรือซับซ้อน
แพ
ตรวจสอบความเข้าใจของตนเองภายหลัง

สง มากกว่ า ตั ว อย่ า งที่ มี ใ ห้ แต่ ยั ง สามารถ


เ ผ ย
จากเรียนจบบทเรียน เพื่อตรวจสอบว่า
ใช้ เ นื้ อ หาความรู้ ที่ เ รี ย นมาประยุ ก ต์ ใ ช้
ในการแก้ปัญหาได้
้หาม น่าย
เนื้ อ หาใดที่ เ ข้ า ใจ และเนื้ อ หาใดต้ อ ง
ทบทวนหรือเรียนรู้เพิ่มเติม

ท. จ้าห
17 สรุปท้ายบท
ส ว รือ
18 กิจกรรมท้ายบท

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
สรุปเนื้อหาของบทเรียน เพื่อสรุปสิ่งที่ได้ กิ จ กรรมท้ า ยบทเรี ย น เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย น
เรียนรู้ในบทเรียนนั้น ๆ ได้ นำ � ความรู้ ใ นบทเรี ย นมาใช้ ใ นการ

ส ิท ัดแ แก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่หลากหลาย

งวน ด
19 แบบฝึกหัดท้ายบท ส 20 กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม

แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน เพื่อให้นักเรียน กิจกรรมที่เน้นการประยุกต์ใช้ความรู้ทาง


ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้จากหัวข้อต่าง ๆ คณิ ต ศาสตร์ ม าแก้ ปั ญ หาในชี วิ ต จริ ง
ในบทเรี ย นนี้ รวมทั้ ง บทเรี ย นก่ อ นหน้ า โดยให้ นั ก เรี ย นได้ บู ร ณาการความรู้ ท าง
มาใช้ในการแก้ปัญหา คณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
รวมทัง้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
สารบัญ บทที่ 1–3

บทที่ เนื้อหา หน้า

1
บทที่ 1 จำ�นวนเต็ม 10
1.1 จำ�นวนเต็ม
ซา
้ 13
1.2 การบวกจำ�นวนเต็ม
ร ่ ทา้ 19

แพ
1.3 การลบจำ�นวนเต็ม 31

ผ ย
1.4 การคูณจำ�นวนเต็ม

40

ห ม
้า น่าย
1.5 การหารจำ�นวนเต็ม
1.6 สมบัติของการบวกและการคูณจำ�นวนเต็ม
48
55

ท. จ้าห
จำ�นวนเต็ม
ส ว รือ
ย ส ห า

์ธโิ ด ปลง
2

่ ท้า
บทที่ 2 การสร้างทางเรขาคณิต 70

ส ทิ ด
ั แ
2.1 รูปเรขาคณิตพื้นฐาน
ร 73

ว น ด แพ
สง ย
2.2 การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต 82

เ ผ
้หาม น่าย
2.3 การสร้างรูปเรขาคณิต 98

ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
การสร้างทางเรขาคณิต

ส ิท ัดแ

3
วน
บทที่ 3 เลขยกกำ�ลัง ด 122

สง
3.1 ความหมายของเลขยกกำ�ลัง
3.2 การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง
125
134
3.3 สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ 147

เลขยกกำ�ลัง
สารบัญ บทที่ 4–5

บทที่ เนื้อหา หน้า

4
บทที่ 4 ทศนิยมและเศษส่วน 162
4.1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
ซา
้ 165
4.2 การบวกและการลบทศนิยม
ร ่ ทา้ 174

แพ
4.3 การคูณและการหารทศนิยม 183

ผ ย
4.4 เศษส่วนและการเปรียบเทียบเศษส่วน

198

ห ม
้า น่าย
4.5 การบวกและการลบเศษส่วน
4.6 การคูณและการหารเศษส่วน
204
215

ท. จ้าห
ทศนิยมและเศษส่วน
ส ว รือ
4.7 ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน 226

ย ส ห า

์ธโิ ด ปลง
5

่ ท้า
บทที่ 5 รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 240

ส ทิ ด
ั แ
5.1 หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิต ิ
ร 243

ว น ด แพ
สง ย
5.2 ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิต ิ 254

เ ผ
้หาม น่าย

ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
รูปเรขาคณิต
สองมิติและสามมิติ

ส ิท ัดแ
วน ด
สง
กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม 278

บรรณานุกรม 280

ภาคผนวก ดัชนี 282


บัญชีสัญลักษณ์ 286
คณะผู้จัดทำ� 287
10 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

1
บทที่ จำ�นวนเต็ม
1.1 จำ�นวนเต็ม
1.2 การบวกจำ�นวนเต็ม
ซา

่ ทา้
1.3 การลบจำ�นวนเต็ม

1.4 การคูณจำ�นวนเต็ม

ยแ1.5 การหารจำ�นวนเต็ม

เ ผ 1.6 สมบัติของการบวกและการคูณจำ�นวนเต็ม

้หาม น่าย

จุด . จข้าองบทเรี
ประสงค์ ห ยน
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
เมื่อเรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนจะสามารถ
1. เปรียบเทียบจำ�นวนเต็ม
ท้า ซ
ส ิท ัดแ 2. หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหารของจำ�นวนเต็ม
ร ่
งว น ด แพ
3. นำ�ความรู้เรื่องจำ�นวนเต็มไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
ส เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 11

บทที่ 1
จำ�นวนเต็ม

ซา

ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
“ อาคารบางอาคารทีม
่ ก
ส งว
ี ารสร้างชัน
น ส ิท ัดแ
้ ใต้ดน

ิ หลาย ๆ ชัน
้ มักกำ�หนดให้ชน
ั้ ทีอ
่ ยูร่ ะดับเดียวกับถนน
เป็นชั้นที่ 1 และเพื่อให้ชั้นที่อยู่ในระดับลึกลงไปสามารถกำ�หนดรู้ได้ว่าชั้นใดอยู่สูงหรือต่ำ�กว่า
ชั้นใด จึงมีการกำ�หนดชั้นที่อยู่ต�่ำ ลงไปเป็นชั้น 0, -1, -2 และ -3 ลดหลั่นไปตามลำ�ดับ “
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
12 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ทบทวนความรู้ก่อนเรียน

✤ ตัวอย่างของเส้นจำ�นวน
ซา

0 1 2 3
ร 4 5 6 7 8 9 10 ่ ทา้
แพ
0
เ ผ ย 3 6 9 12 15

้หาม น่าย

. จ้าห
การบวก และการลบจำ�นวนนับ สามารถใช้เส้นจำ�นวนแสดงการหาผลบวกและผลลบได้ เช่น


ว รือ
หาผลบวก 6 + 3 โดยใช้วิธีการนับต่อ

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ร ่
ว น ด แพ
สง 6+3 = 9
เ ผ ย
◆ หาผลลบ 7 _ 4 โดยใช้วิธีการนับถอยหลัง ้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
0 1 2 3 4 5
ิธ์โด ปลง
6 7 8 9 10

ิท ัดแ
7_4 = 3

งวน ด


การคูณจำ�นวนนับ สามารถทำ�ได้โดยการบวกเพิ่มครั้งละเท่า ๆ กัน
เช่น 5 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 15

✤ การหารจำ�นวนนับ ที่เป็นการหารลงตัว สามารถทำ�ได้โดยการหาจำ�นวนนับที่นำ�มาคูณกับตัวหารแล้วได้ผลคูณ


เท่ากับตัวตั้ง เช่น 18 ÷ 6 จะต้องหาจำ�นวนนับที่นำ�มาคูณกับ 6 แล้วได้ 18 นั่นคือ 3 ดังนั้น 18 ÷ 6 = 3

นักเรียนสามารถทำ�แบบทดสอบความรู้พื้นฐานก่อนเรียนได้ที่ goo.gl/Y3ymx3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 13

1.1 จำ�นวนเต็ม เกร็ดน่ารู้


ในอดีตหลังจากที่มนุษย์รู้จักเปรียบเทียบความมากกว่า หรือน้อยกว่าแล้ว
มนุ ษ ย์ จึ ง เริ่ ม มี แ นวคิ ด เกี่ ย วกั บ จำ � นวนนั บ ตั ว แรก ๆ โดยยั ง ไม่ มี ก ารกำ � หนด
สัญลักษณ์แทนจำ�นวนที่ชัดเจน ต่อมาเมื่อมีความจำ�เป็นที่ต้องการทราบจำ�นวน
ซา

ที่แน่นอน จึงเริ่มมีการนับเกิดขึ้น เช่น เมื่อคนเลี้ยงแกะจะปล่อยแกะออกไป
ร ่ ทา้
แพ
กินหญ้า เขาใช้ก้อนหินหนึ่งก้อนวางไว้เพื่อแทนแกะหนึ่งตัวที่ปล่อยออกไป และ 1) ในสมั ย โบราณ ชาวอิ น คา (Inca)

เ ผ ย
เมื่อถึงเวลาที่แกะกลับเข้าคอกจะหยิบก้อนหินออกจากกองหนึ่งก้อนแทนแกะที่ ในทวี ป อเมริ ก าใต้ ใ ช้ ก ารมั ด เชื อ ก
ให้ เ ป็ น ปมแทนการบั น ทึ ก จำ � นวน

้หาม น่าย
กลับเข้ามาหนึ่งตัว ซึ่งภายหลังจากที่ไม่มีแกะกลับเข้าคอกอีก จะทราบได้ทันทีว่า
โดยสันนิษฐานว่า หนึ่งปม หมายถึง
แกะนั้นกลับมาครบทุกตัวหรือไม่ ในด้านของการบันทึกจำ�นวน มนุษย์มีวิธี

. จ้าห
การบั น ทึ ก ที่ แ ตกต่ า งกั น ไปตามแหล่ ง อารยธรรม เช่ น การมั ด เชื อ กเป็ น ปม

ธัญพืชหนึ่งมัด

สว รือ
การทำ � รอยบากบนกระดู ก สั ต ว์ ห รื อ กิ่ ง ไม้ เห็ น ได้ ว่ า การนั บ ในลั ก ษณะนี้

ย ส ห
เป็นการจับคู่ระหว่างร่องรอยของการบันทึกกับสิ่งที่ต้องการนับ ต่อมาจึงได้มี 2) การสร้ า งรอยบากบนกระดู ก สั ต ว์



ิธ์โด ปลง ซ
เพื่ อ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ทนจำ � นวนใน
การบันทึกจำ�นวนอย่างเป็นระบบมากขึ้น พัฒนาการดังกล่าวทำ�ให้เกิดเป็น

ิท ัดแ
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำ�นวนนับ (counting number) หรือจำ�นวนธรรมชาติ
ส ร ่ ท้า
ยุ ค โบราณ กระดู ก นี้พ บในบริ เ วณ
ที่ เ รี ย กว่ า อิ ชั น โก (Ishango)
น ด
(natural number) หรือจำ�นวนเต็มบวก (positive integer) อั น ได้ แ ก่
ว แพ
สง
ประเทศคองโก ในปัจจุบัน
1, 2, 3, ...
เ ผ ย
้หาม น่าย
นอกจากจำ�นวนเต็มบวกแล้ว ยังมีจ�ำ นวนเต็มศูนย์ (zero) ทีม
่ ป
ี ระโยชน์ใน
การใช้งาน การใช้ศน
ท. จ้าห
ู ย์นน
ั้ มีดว้ ยกันหลายความหมายตามแต่สถานการณ์ทต
ี่ อ้ งการ

ส ว รือ
โดย “ศูนย์” อาจใช้แทน “ความไม่มี” เช่น เราไม่นิยมพูดว่ามีแกะอยู่ 0 ตัว แต่

ย ส ห
จะพูดว่าไม่มีแกะ แต่ในบางสถานการณ์ “ศูนย์” ไม่ได้แทน “ความไม่มี” เช่น

ิธ์โด ปลง
✤ อุณหภูมิของอากาศเป็น 0 องศาเซลเซียส หมายถึง อุณหภูมิของ

ิท ัดแ
อากาศมีความร้อนระดับหนึ่ง ซึ่งไม่ได้หมายความว่าอากาศไม่มีความร้อน

น ด
✤ เกรด 0 หมายถึง ผลการเรียนระดับหนึ่ง อาจเป็นเพราะนักเรียน
งว
ส ยังให้ความสนใจในการเรียนไม่เพียงพอ จึงทำ�ให้ผลการเรียนในรายวิชานั้น ๆ
อยู่ในระดับ 0 ซึ่งไม่ได้หมายความว่านักเรียนไม่มีผลการเรียนในรายวิชานั้น ๆ

เมื่ อ มี ค วามเจริ ญ มากขึ้ น มนุ ษ ย์ เ ริ่ ม แลกเปลี่ ย นค้ า ขายสิ น ค้ า กั น จึ ง ทำ � ให้ รู้ จั ก ที่ จ ะหยิ บ ยื ม และมี ห นี้ สิ น เกิ ด ขึ้ น
่ �ำ ให้เกิดแนวคิดในการสร้างจำ�นวนเต็มลบ
ด้วยเหตุนเ้ี องทำ�ให้จ�ำ นวนนับและศูนย์ทใ่ี ช้งานอยูไ่ ม่เพียงพอ ซึง่ น่าจะเป็นเหตุผลหนึง่ ทีท
(negative integer) ขึ้น นอกจากการใช้จำ�นวนเต็มลบแทนการหยิบยืมและการเป็นหนี้สินแล้ว เรายังใช้จำ�นวนเต็มลบ
เพื่อแสดงถึงสภาพหรือปริมาณที่ต่ำ�กว่าเกณฑ์บางอย่างที่กำ�หนด เช่น ในการกำ�หนดให้อุณหภูมิที่ทำ�ให้น้ำ�เปลี่ยนสถานะ
จากของเหลวกลายเป็นของแข็งเท่ากับ 0 องศาเซลเซียส ดังนั้น อุณหภูมิที่ต่ำ�กว่าอุณหภูมิดังกล่าวจึงแทนด้วยจำ�นวนลบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
14 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ในระดับประถมศึกษา นักเรียนได้รู้จักจำ�นวนนับ ซึ่งต่อไปนี้ จะเรียกอีก


มุมคณิต อย่ า งหนึ่ ง ว่ า จำ � นวนเต็ ม บวก โดยจำ � นวนเต็ ม บวกที่ น้ อ ยที่ สุ ด คื อ 1 และ
จำ�นวนเต็มบวกอื่น ๆ เกิดจากการนับเพิ่มขึ้นทีละ 1 ทำ�ให้สามารถแสดงได้ด้วย
ในการเขี ย นเส้ น จำ � นวน จะเขี ย น แผนภาพที่นับต่อจาก 1 ไปทางขวาทีละ 1 หน่วย ดังนี้
หั ว ลู ก ศรทั้ ง สองข้ า ง เพื่ อ แสดงว่ า ยั ง มี

ซา

่ ทา้
จำ � นวนอื่ น ๆ ที่ ม ากกว่ า หรื อ น้ อ ยกว่ า
จำ�นวนที่เขียนแสดงไว้
0 1 2 3 4 5 6 7

พ ร เรียก 1, 2, 3, 4, 5, ... ว่า จำ�นวนเต็มบวก

ยแ
ข้อสังเกต เ ผ
้หาม น่าย จาก 1 ถ้านับลดลงทีละ 1 จะได้ 0, -1, -2, -3, -4, ... แสดงได้ด้วย

ในการเขียนจำ�นวนเต็มลบจะเขียน
ท. จ้าห แผนภาพที่นับถอยหลังจาก 1 ไปทางซ้ายทีละ 1 หน่วย ดังนี้

สว รือ
เครื่องหมาย - ไว้หน้าตัวเลข เช่น -3, -5,
-98
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3
แต่กรณีจ�ำ นวนเต็มบวก ไม่นยิ มเขียน
เรียก -1, -2, -3, -4, -5, ... ว่า จำ�นวนเต็มลบ
ท้า ซ
ิท ัดแ
เครื่องหมาย + ไว้หน้าตัวเลข

ส ร ่
ว น ด แพ
สข้งอควรระวัง ย
จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มลบ และศูนย์ กล่าวรวมเรียกว่า จำ�นวนเต็ม

เ ผ
(integer) ดังนั้น จำ�นวนเต็ม ได้แก่ ..., -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, ... โดยแสดงได้
้หาม น่าย
ด้วยจุดบนเส้นจำ�นวน (number line) ดังนี้

ท. จ้าห ศูนย์
เมื่อกล่าวถึงจำ�นวนเต็ม บางคนอาจ
ส ว รือ
นึกถึงจำ�นวนเต็มบวกเท่านัน
้ แต่อย่าลืมว่า

ย ส ห
จำ�นวนเต็มลบ จำ�นวนเต็มบวก

ิธ์โด ปลง
จำ�นวนเต็มลบ และศูนย์ ก็เป็นจำ�นวนเต็ม
เช่นกัน -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

ส ิท ัดแ
งวน ด
จากเส้นจำ�นวน สังเกตว่า จำ�นวนเต็มที่อยู่ทางขวาของศูนย์เป็นจำ�นวน
เต็มบวก จำ�นวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายของศูนย์เป็นจำ�นวนเต็มลบ และจำ�นวนทีอ
่ ยู่

ทางขวาจะมากกว่าจำ�นวนทีอ
่ ยูท
่ างซ้ายเสมอ

ศูนย์เป็นจำ�นวนเต็มที่ไม่ใช่จ�ำ นวนเต็มบวก และไม่ใช่จ�ำ นวนเต็มลบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 15

การเปรียบเทียบจำ�นวนเต็ม

เราอาจใช้เส้นจำ�นวนในการเปรียบเทียบจำ�นวนเต็มสองจำ�นวนที่ไม่เท่ากัน โดยการลงจุดบนเส้นจำ�นวน แล้วใช้หลักการ


พิจารณาที่ว่า จำ�นวนเต็มที่อยู่ทางขวาจะมากกว่าจำ�นวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายเสมอ

ซา

่ ทา้
ตัวอย่างที ่ 1 ให้นักเรียนพิจารณาการเปรียบเทียบจำ�นวนเต็มสองจำ�นวนต่อไปนี้

พ ร
จำ�นวนเต็ม

ลงจุดบนเส้นจำ�นวน

สรุป
9 และ 3
เ ผ
0
้หาม น่าย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ท. จ้าห 9 อยู่ทางขวาของ 3 9 มากกว่า 3 เขียนแทนด้วย 9 > 3

สว รือ หรือ หรือ

ย ส ห 3 อยู่ทางซ้ายของ 9 3 น้อยกว่า 9 เขียนแทนด้วย 3 < 9



ิธ์โด ปลง ซ
0 และ 4

ส ิท ัดแ
-2 -1 0 1 2
4 อยู่ทางขวาของ 0
3 4 5 6

ร ่ ท้า
4 มากกว่า 0 เขียนแทนด้วย 4 > 0

ว น ด แพ
สง
หรือ หรือ
0 อยู่ทางซ้ายของ 4
เ ผ ย 0 น้อยกว่า 4 เขียนแทนด้วย 0 < 4
-2 และ 0 ้หาม น่าย
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3
ท. จ้าห
0 อยู่ทางขวาของ -2
ส ว รือ 0 มากกว่า -2 เขียนแทนด้วย 0 > -2
หรือ
ย ส ห หรือ

ิธ์โด ปลง
-2 อยู่ทางซ้ายของ 0 -2 น้อยกว่า 0 เขียนแทนด้วย -2 < 0
3 และ -3
-5 -4 -3 -2 -1 0
ส ิท ัดแ
1 2 3 4 5

งวน
3 อยู่ทางขวาของ -3 ด 3 มากกว่า -3 เขียนแทนด้วย 3 > -3
ส หรือ หรือ
-3 อยู่ทางซ้ายของ 3 -3 น้อยกว่า 3 เขียนแทนด้วย -3 < 3
-1 และ -8
-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
-1 อยู่ทางขวาของ -8 -1 มากกว่า -8 เขียนแทนด้วย -1 > -8
หรือ หรือ
-8 อยู่ทางซ้ายของ -1 -8 น้อยกว่า -1 เขียนแทนด้วย -8 < -1

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

นอกจากการใช้เส้นจำ�นวนในการเปรียบเทียบจำ�นวนเต็มสองจำ�นวนแล้ว เรายังสามารถใช้เส้นจำ�นวนในการเปรียบเทียบ
จำ�นวนเต็มที่มากกว่าสองจำ�นวนได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที ่ 2 จงเรียงลำ�ดับ 4, -1, 6, -2, -7 และ 0 จากน้อยไปมาก


วิธท
ี �ำ เขียนเส้นจำ�นวนและลงจุดบนเส้นจำ�นวนได้ดังนี้
ซา

ร ่ ทา้
แพ
-8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7

เ ผ ย
จากการลงจุดบนเส้นจำ�นวน สามารถเรียงลำ�ดับจำ�นวนเต็มที่ก�ำ หนดให้จากน้อยไปมาก

้หาม น่าย
ได้ดังนี้ -7, -2, -1, 0, 4 และ 6
ตอบ -7, -2, -1, 0, 4 และ 6

ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
แบบฝึกหัด 1.1
ท้า ซ
ส ิท ัดแ
1. กำ�หนดจำ�นวนดังต่อไปนี้
ร ่
ว น ด แพ
สง-1 0
100
7
เ ผ ย 3.0 -3

้หาม น่าย
2
 1   6 
7.6 51 -13 99
6
ท. จ้าห 6
4.5 22.3 4
ส ว รือ
1.2 -24
 1 
9
1 2   6 
ย ส ห  0  36

ิธ์โด ปลง
2.5 10.0
5 7 5 4

ส ิท ัดแ


1) จำ�นวนใดบ้างเป็นจำ�นวนเต็มบวก
2) จำ�นวนใดบ้างเป็นจำ�นวนเต็มลบ
งวน ด
3) จำ�นวนใดบ้างเป็นจำ�นวนเต็ม ส
2. จงเขียนจำ�นวนห้าจำ�นวนตามเงื่อนไขที่กำ�หนดให้ต่อไปนี้
1) จำ�นวนที่ต่อจาก 0 โดยลดลงทีละ 3
2) จำ�นวนที่ต่อจาก 7 โดยลดลงทีละ 4
3) จำ�นวนที่ต่อจาก -5 โดยเพิ่มขึ้นทีละ 2
4) จำ�นวนที่ต่อจาก -10 โดยเพิ่มขึ้นทีละ 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 17

3. จงเปรียบเทียบจำ�นวนต่อไปนี้โดยใช้การลงจุดบนเส้นจำ�นวน
1) -4 และ 0 2) 0 และ -7
3) 5 และ -5 4) -2 และ 8
5) -6 และ -9 6) -8 และ -3
ซา

่ ทา้
7) -9 และ -4 8) -11 และ 11

พ ร
4. จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ลงใน
ยแ เพื่อทำ�ให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง

1) 14 0
เ ผ 2) -9 9
3) -3 5
้หาม น่าย 4) -18 19
5) 0 -1
ท. จ้าห 6) 11 -27
7) 29
สว รือ
-30 8) -4 6

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
5. จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ลงใน เพื่อทำ�ให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง

ท้า ซ
1)
ส ิท ัดแ
-5 -8 2) 5 8
ร ่

ว น
3) -25

-24 4) 25 24
แพ

สง
5) -46 -99 6) 46 99
เ ผ ย
้หาม น่าย
7) -35 -21 8) 21 35

ท. จ้าห
จากโจทย์ข้อ 5
ส ว รือ
ข้าวกล้องเห็นอะไรเหมือนที่
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ข้าวหอมเห็นไหมจ๊ะ

ส ิท ัดแ ข้าวกล้องว่า...ข้าวกล้องเห็นนะ

งวน ดแล้วเพื่อน ๆ สังเกตเห็นอะไรกันไหมครับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
18 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

6. จงเรียงลำ�ดับจำ�นวนเต็มต่อไปนี้จากมากไปน้อย
1) -5, 1, 0 และ 3 2) -6, -7, -4 และ -1
3) -7, -5, 4, -1 และ 7 4) 9, -2, 0, 5 และ -6
5) 4, -4, 2, -2, 6 และ -6


6) -10, 9, -8, 7, -6 และ 0

7. กำ�หนดจำ�นวนเต็ม
ร ่ ทา้
5, -17, -4, 0, 21 และ -9
แพ
จากจำ�นวนเต็มที่กำ�หนดให้ จงหา
เ ผ ย

้หาม น่าย
1) จำ�นวนเต็มทั้งหมดที่อยู่ระหว่าง -17 และ 5
2) จำ�นวนเต็มลบทั้งหมดที่น้อยกว่า 21

ท. จ้าห
3) จำ�นวนเต็มทั้งหมดที่มากกว่า -4

สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
8. กำ�หนดจำ�นวนเต็ม
5, -17, -4, 0, 21 และ -9
ท้า ซ
ส ิท ัดแ
จากเงื่อนไขในแต่ละข้อต่อไปนี้ จงหาจำ�นวนเต็มอื่น ๆ อย่างน้อยหนึ่งจำ�นวนทีไ่ ม่ใช่จ�ำ นวนเต็มที่กำ�หนดให้
ร ่

ว น ด
1) จำ�นวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -17 และ 5
แ พ

สง
2) จำ�นวนเต็มลบที่น้อยกว่า 21
เ ผ ย
3) จำ�นวนเต็มที่มากกว่า -4
้หาม น่าย
ท . จ้าห
ว รือ
9. ใบไผ่กำ�ลังนั่งเครื่องบินจากสนามบินเชียงรายไปยังสนามบินดอนเมือง กรุงเทพฯ ในขณะที่เครื่องบินกำ�ลังไต่ระดับ

เขาสังเกตทีห
่ น้าจอแสดงข้อมูลการบินในระยะเวลาหนึง่ แล้วพบข้อมูลทีน
ส ห
่ า่ สนใจเกีย่ วกับระดับความสูงของเครือ


่ งบิน

ิธ์โด ปลง
จากระดับน้ำ�ทะเลกับอุณหภูมิภายนอกเครื่องบิน เขาจึงบันทึกข้อมูลได้ดังตารางต่อไปนี้

ส ท

ระดั

ั แ
บความสูงของเครื อ่ งบิน อุณหภูมิภายนอกเครื่องบิน
เกร็ดน่ารู้
งว น
จากระดั ด
บน�ำ้ ทะเลโดยประมาณ (เมตร) (องศาเซลเซียส)

เครื่ อ งบิ น โดยสารส่ ว นใหญ่ จ ะบิ น ที่


ส 900 9

บรรยากาศชัน
้ โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) 1,800 3
ซึง่ เป็นชัน
้ บรรยากาศทีอ่ ยูต
่ ง้ั แต่ผวิ โลกขึน
้ ไป 2,700 -3
ประมาณ 8 ถึง 14 กิโลเมตร
3,600 -9
4,500 -15

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 19

จากตาราง จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
1) ขณะที่อุณหภูมิภายนอกเครื่องบินต่ำ�สุด เครื่องบินอยู่ที่ระดับ ชวนคิด 1.1
ความสูงประมาณกี่เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล
2) ขณะที่อุณหภูมิภายนอกเครื่องบินสูงสุด เครื่องบินอยู่ที่ระดับ
ซา
้ จากตารางในข้อ 9 ขณะที่เครื่องบินอยู่

่ ท้า
ความสูงประมาณกี่เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล ที่ระดับความสูงประมาณ 2,700 เมตร จาก
3) ขณะทีเ่ ครือ
่ งบินอยูท

่ รี่ ะดับความสูงประมาณ 1,800 เมตร และ


ระดับน้ำ�ทะเล อุณหภูมิภายนอกเครื่องบิน
ต่างจากขณะที่เครื่องบินอยู่ที่ระดับความสูง

ยแ
ประมาณ 2,700 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล ที่ระดับความสูงใด
ประมาณ 3,600 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล

มีอุณหภูมิภายนอกเครื่องบินสูงกว่ากัน

้หาม น่าย
อยู่เท่าไร
4) ขณะทีอ
่ ณ
ุ หภูมภ
ิ ายนอกเครือ
่ งบินเป็น 0 องศาเซลเซียส ระดับ
ความสูงของเครื่องบินที่เป็นไปได้ น่าจะอยู่ที่ระดับความสูง

ท. จ้าห
ประมาณกี่เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล

สว รือ
5) ระดั บ ความสู ง ของเครื่ อ งบิ น จากระดั บ น้ำ � ทะเลสั ม พั น ธ์ กั บ

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
อุณหภูมิภายนอกเครื่องบินอย่างไร

ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
งว น ด แพ
1.2สการบวกจำ�นวนเต็ม เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
การบวกจำ�นวนเต็มบวกด้วยจำ�นวนเต็มบวก ทำ�ได้เช่นเดียวกับการบวก

ย ส ห
จำ�นวนนับด้วยจำ�นวนนับ ซึง่ สามารถใช้เส้นจำ�นวนแสดงการหาผลบวก
โดยวิธก
ิธ์โด ปลง
ี ารนับต่อไปทางขวาได้ดงั นี้

ส ิท ัดแ
ตัวอย่างที ่ 1 จงหาผลบวก 4 + 2
งวน ด
วิธท ส
ี �ำ เริ่มต้นที่ 0 แล้วนับไปทางขวาถึง 4 และเมื่อบวกด้วย 2 ให้นับต่อไปทางขวาอีก 2 หน่วย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 6
ดังนี้

-2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8
ดังนั้น 4 + 2 = 6
ตอบ 6

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
20 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

การบวกจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบ สามารถใช้เส้นจำ�นวน
แสดงการหาผลบวกโดยวิธก
ี ารนับต่อไปทางซ้ายได้ดงั นี้

ซา

ตัวอย่างที ่ 2 จงหาผลบวก
ร ่ ทา้
1) (-4) + (-2)
แพ
2) (-2) + (-4)
เ ผ ย
วิธท
้หาม น่าย
ี �ำ 1) เริ่ ม ต้ น ที่ 0 แล้ ว นั บ ไปทางซ้ า ยถึ ง -4 และเมื่ อ บวกด้ ว ย -2 ให้ นั บ ต่ อ ไปทางซ้ า ยอี ก 2 หน่ ว ย ซึ่ ง จะไป
สิ้นสุดที่ -6 ดังนี้

ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ดังนั้น
ว น ด
(-4) + (-2) = -6
แพ
ตอบ -6 สง เ ผ ย
้หาม น่าย
. จ้าห
2) เริ่ ม ต้ น ที่ 0 แล้ ว นั บ ไปทางซ้ า ยถึ ง -2 และเมื่ อ บวกด้ ว ย -4 ให้ นั บ ต่ อ ไปทางซ้ า ยอี ก 4 หน่ ว ย ซึ่ ง จะไป

สิ้นสุดที่ -6 ดังนี้
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
-8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2

งวน ด
ดังนั้น
ตอบ -6
(-2) + (-4) = -6 ส

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 21

กิจกรรม : การบวกของชาวจีน



ชาวจีนขึ้นชื่อว่าเป็นผู้มีความสามารถในการคำ�นวณเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก อาจเป็นเพราะธรรมชาติของ

่ ทา้
พวกเขาส่วนใหญ่นั้นอยู่กับการค้าขาย จึงมีทักษะในการคำ�นวณจำ�นวนต่าง ๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว ในอดีตชาวจีน


มีวิธีการหาผลบวกระหว่างจำ�นวนเต็มบวกและจำ�นวนเต็มลบแบบหนึ่ง โดยใช้ไม้สีแดงแทนจำ�นวนเต็มบวก และใช้


ไม้สีดำ�แทนจำ�นวนเต็มลบ แล้วใช้การหักออกเป็นคู่ ๆ เช่น

เ ผ

้หาม น่าย
(-4) + 9

ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
ใช้ไม้สีดำ� 4 อัน แทน -4 และไม้สีแดง 9 อัน แทน 9

ท้า ซ
จากนั้น จับคู่สีที่ต่างกันแล้วหักออก จะเหลือไม้สีแดง 5 อัน

ส ิท ัดแ ร ่
ดังนั้น ผลบวกของ (-4) + 9 คือ 5

ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
อุปกรณ์
ส ว รือ
✤ ไม้ไอศกรีม 2 สี สีละ 20 อันต่อกลุ่ม
ย ส ห
ิธ์โด ปลง

ขั้นตอนการทำ�กิจกรรม
ส ิท ัดแ
งวน ด
1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่มแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่าย ก และฝ่าย ข

2. ให้ฝา่ ย ก ตัง้ โจทย์การบวกระหว่างจำ�นวนเต็มบวกและจำ�นวนเต็มลบ โดยทีจ่ �ำ นวนเต็มบวกเป็นจำ�นวน
ที่ไม่เกิน 20 และจำ�นวนเต็มลบเป็นจำ�นวนที่ไม่น้อยกว่า -20 แล้วให้ฝ่าย ข หาผลบวกโดยใช้แนวคิด
เช่นเดียวกับชาวจีนในสมัยโบราณ โดยใช้ไม้ไอศกรีมแทนไม้สีต่าง ๆ ของชาวจีน
3. สลับให้ฝ่าย ข เป็นผู้ตั้งโจทย์ในลักษณะเดียวกับฝ่าย ก แล้วให้ฝ่าย ก เป็นผู้หาผลบวก
4. ทำ�เช่นนี้จนกระทั่งแต่ละฝ่ายแก้ปัญหาครบ 5 ข้อ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
22 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

การบวกกั น ของจำ � นวนเต็ ม บวกกั บ จำ � นวนเต็ ม ลบ สามารถใช้


เส้นจำ�นวนแสดงการหาผลบวก โดยใช้การนับแบบย้อนทิศทางกัน
ได้ดงั นี้
ซา

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวก 4 + (-6) ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
วิธีทำ� เริ่มต้นที่ 0 แล้วนับไปทางขวาถึง 4 และเมื่อบวกด้วย -6 ให้นับไปทางซ้าย 6 หน่วย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ -2 ดังนี ้

้หาม น่าย
ท. จ้าห
สว รือ -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
ดังนั้น 4 + (-6) = -2

ท้า ซ
ตอบ -2
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง ย
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลบวก (-5) + 9

เ ผ
้หาม น่าย
วิธีทำ� เริ่มต้นที่ 0 แล้วนับไปทางซ้ายถึง -5 และเมื่อบวกด้วย 9 ให้นับไปทางขวา 9 หน่วย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 4 ดังนี้

ท. จ้าห
ส ว รือ
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1

ย ส ห 2 3 4 5

ดังนั้น (-5) + 9 = 4
ิธ์โด ปลง
ตอบ 4
ส ิท ัดแ
งวน ด
ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลบวก (-6) + 6

วิธีทำ� เริ่มต้นที่ 0 แล้วนับไปทางซ้ายถึง -6 และเมื่อบวกด้วย 6 ให้นับไปทางขวา 6 หน่วย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 0 ดังนี้

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
ดังนั้น (-6) + 6 = 0
ตอบ 0

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 23

การบวกจำ�นวนเต็มใด ๆ กับศูนย์ จะได้ผลบวกเป็นจำ�นวนเต็มจำ�นวนนัน



โดยสามารถใช้เส้นจำ�นวนแสดงการหาผลบวกได้ดงั นี้

ซา

ตัวอย่างที่ 6 จงหาผลบวก (-6) + 0 ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
วิธีทำ� เริ่มต้นที่ 0 ให้นับไปทางซ้ายถึง -6 และเมื่อบวกด้วยศูนย์ หมายถึง ไม่ต้องนับต่อ จึงสิ้นสุดที่ -6 ดังนี้

้หาม น่าย
ท. จ้าห
-8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 ชวนคิด 1.2
สว รือ

ย ส ห
ดังนั้น (-6) + 0 = -6 จงหาผลบวก 0 + (-6)


ตอบ -6
ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง �นวนเต็มโดยใช้คา่ สัมบูรณ์
การบวกจำ
เ ผ ย
การบวกจำ�นวนเต็มโดยใช้เส้นจำ�นวนดังทีก่ ล่าวมาแล้ว เป็นวิธท
ี ช
้หาม น่าย
่ี ว่ ยให้นกั เรียนเข้าใจได้งา่ ย แต่ส�ำ หรับกรณีจ�ำ นวนเต็มบวก

ท. จ้าห
ว รือ
ที่มีค่ามาก หรือจำ�นวนเต็มลบที่มีค่าน้อย การบวกโดยใช้เส้นจำ�นวนอาจไม่สะดวก และเสียเวลามาก เราจึงมีวิธีหาผลบวกของ

จำ�นวนเต็มโดยใช้ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเต็ม ดังจะกล่าวต่อไปนี้

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของจำ�นวนเต็มจำ�นวนหนึง่ คือ ระยะทีจ่ �ำ นวนเต็มนัน
้ อยูห
่ า่ งจาก 0 บนเส้นจำ�นวน เช่น
จากแผนภาพ

ส ิท ัดแ
งวน ด
-2 -1 0 1 2 3
ส4 5

จะเห็นว่า 5 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 5 หน่วย


จึงกล่าวได้ว่า ค่าสัมบูรณ์ของ 5 เท่ากับ 5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
24 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

จากแผนภาพ
ชวนคิด 1.3

ลองบอกค่ า สั ม บู ร ณ์ ข องจำ � นวนเต็ ม


-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
ต่อไปนี้

ซา

่ ทา้
1) 6 2) -6 จะเห็นว่า -4 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 4 หน่วย
3) 15 4) -15 จึงกล่าวได้ว่า ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4
5) -28 6) 0
พ ร
ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
จากตัวอย่างที่ 2 จะเห็นว่า การบวกกันของจำ�นวนเต็มลบใช้การนับต่อ เช่นเดียวกับการบวกกันของจำ�นวนเต็มบวก
เพียงแต่เป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม ซึ่งเปรียบได้กับการนำ�ระยะจาก 0 ถึงจำ�นวนเต็มลบแต่ละจำ�นวนมาบวกกัน นั่นคือ

ท. จ้าห
การนำ�ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเต็มลบแต่ละจำ�นวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็มลบ เราจึงสามารถใช้คา่ สัมบูรณ์ในการหา

สว รือ
ผลบวกของจำ�นวนเต็มลบกับจำ�นวนเต็มลบ ได้ดังนี้

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
การหาผลบวก (-15) + (-17) ทำ�ได้โดย นำ�ค่าสัมบูรณ์ของ -15 บวกด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -17 แล้วตอบเป็น
ท้า ซ
จำ�นวนเต็มลบ ดังนี้
ส ิท ัดแ ร ่

ว น ด
ค่าสัมบูรณ์ของ -15 เท่ากับ 15
แพ

สง ค่าสัมบูรณ์ของ -17 เท่ากับ 17
เ ผ ย


ดังนั้น (-15) + (-17) = -(15 + 17)
= -32 ้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
การบวกจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบ ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเต็มลบ

ิธ์โด ปลง
ทั้งสองจำ�นวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็มลบ

ส ิท ัดแ
ตัวอย่างที ่ 7 จงหาผลบวก [(-30) + (-25) + (-12) ] งว
น ด
วิธท
ี �ำ [(-30) + (-25)] + (-12)

= -(30 + 25) + (-12)
= -55 + (-12)
= -(55 + 12)
= -67
ตอบ -67

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 25

จากตัวอย่างที่ 3 และ 4 จะเห็นว่า การบวกกันของจำ�นวนเต็มบวกกับจำ�นวนเต็มลบ ใช้การนับแบบย้อนทิศทางกัน


ซึ่งเปรียบได้กับการนำ�ระยะจาก 0 ถึงจำ�นวนเต็มแต่ละจำ�นวนมาลบกัน โดยใช้ระยะที่มากกว่าเป็นตัวตั้ง หรือนำ�ค่าสัมบูรณ์ที่
มากกว่ า ลบด้ ว ยค่ า สั ม บู ร ณ์ ที่ น้ อ ยกว่ า แล้ ว ตอบเป็ น จำ � นวนเต็ ม ชนิ ด เดี ย วกั บ จำ � นวนเต็ ม ที่ มี ค่ า สั ม บู ร ณ์ ม ากกว่ า ดั ง นั้ น
เราจึงสามารถใช้ค่าสัมบูรณ์ในการหาผลบวกระหว่างจำ�นวนเต็มบวกและจำ�นวนเต็มลบ ได้ดังนี้

ซา

่ ทา้
การหาผลบวก 15 + (-13) ทำ�ได้โดย นำ�ค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็ม
ชนิดเดียวกับจำ�นวนเต็มที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า ซึ่งในที่นี้
ค่าสัมบูรณ์ของ 15 เท่ากับ 15
พ ร
ยแ
ค่าสัมบูรณ์ของ -13 เท่ากับ 13
เ ผ
้หาม น่าย
และ 15 > 13 จึงได้คำ�ตอบเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ดังนั้น 15 + (-13) = 15 – 13

ท. จ้าห = 2

สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ซ
การบวกกันของจำ�นวนเต็มบวกกับจำ�นวนเต็มลบ ที่มีค่าสัมบูรณ์ไม่เท่ากัน

ส ิท ัดแ ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า แล้วตอบเป็น


ร ่ ท้า
ว น ด จำ�นวนเต็มชนิดเดียวกับจำ�นวนเต็มที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
แพ
สง เ ผ ย
ตัวอย่างที ่ 8 จงหาผลบวก (-26) + 14
้หาม น่าย
วิธท
ี �ำ (-26) + 14 = -(26 – 14)
ท. จ้าห ค่าสัมบูรณ์ของ -26 เท่ากับ 26
ค่าสัมบูรณ์ของ 14 เท่ากับ 14
= -12
ส ว รือ เนื่องจาก 26 > 14
ตอบ -12

ย ส ห ดังนั้น -26 + 14 จะมีผลบวก

ตัวอย่างที ่ 9 จงหาผลบวก 27 + (-32) ิธ์โด ปลง เป็นจำ�นวนเต็มลบ

วิธท
ี �ำ 27 + (-32) = -(32 – 27)
ส ิท ัดแ
= -5
งวน ด
ตอบ -5 ส
ตัวอย่างที ่ 10 จงหาผลบวก [(-18) + 22] + (-37)
วิธท
ี �ำ [(-18) + 22] + (-37) = (22 – 18) + (-37)
= 4 + (-37)
= -(37 – 4)
= -33
ตอบ -33
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
26 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

การบวกกันของจำ�นวนเต็มบวกกับจำ�นวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน
ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนทั้งสองนั้นมาลบกัน ซึ่งจะได้ผลบวกเป็นศูนย์

ตัวอย่างที ่ 11 จงหาผลบวก 45 + (-45)


วิธท
ี �ำ 45 + (-45) = 45 – 45

ซา

่ ทา้
= 0
ตอบ 0

พ ร
ยแ ตัวอย่างที ่ 12 จงหาผลบวก -31 + 31
เ ผ
มุมคณิต ้หาม น่าย วิธท
ี �ำ -31 + 31 = 31 – 31
= 0

ท. จ้าห ตอบ 0

สว รือ
ในบางกรณี เราสามารถละวงเล็ บ

ย ส ห
ในการเขียนได้ เช่น (-31) + 31 สามารถ
ตัวอย่างที ่ 13 ขณะทีน
่ ก
ั ข่าวคนหนึง่ บังคับโดรนขึน


้ ไปในแนวดิง่ สูงจากพืน
้ ดิน

ิธ์โด ปลง
ละวงเล็บแล้วเขียนได้เป็น -31 + 31 แต่

ท้า ซ
5 เมตร เพื่อบันทึกภาพเหตุการณ์ทางอากาศ เขาพบว่าภาพที่บันทึกได้ยังเห็น

ส ิท ัดแ
45 + (-45) ไม่นิยมเขียนโดยละวงเล็บ

ร ่
เหตุการณ์ไม่สมบูรณ์ เขาจึงบังคับโดรนขึ้นไปในแนวดิ่งอีก 7 เมตร อยากทราบ

ว น ด แพ
ว่าขณะนี้โดรนอยู่สูงจากพื้นดินเท่าไร

สง เ ผ ย
้หาม น่าย
เกร็ดน่ารู้
ท. จ้าห
ส ว รือ
7 เมตร

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด 5 เมตร
โดรน (drone) หรืออากาศยานไร้คนขับ
ได้รบ
ั การพัฒนาขึน
้ เพือ่ ใช้ประโยชน์ในวงการ ส
ทหาร แต่ตอ
่ มาได้มก
ี ารปรับให้ใช้ประโยชน์
กับเรือ
่ งต่าง ๆ ได้มากขึน
้ เช่น การนำ�กล้อง
วิธท
ี �ำ จากโจทย์ นักข่าวบังคับโดรนขึ้นไปในแนวดิ่งสูงจากพื้นดิน 5 เมตร
ไปติดไว้กับโดรนเพื่อบันทึกภาพทางอากาศ
และบังคับโดรนขึ้นไปในแนวดิ่งอีก 7 เมตร
การส่งยาหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์เพือ่ ช่วย
จะได้ว่า โดรนอยู่สูงจากพื้นดิน 5 + 7 = 12 เมตร
ชีวต
ิ หรือใช้เพือ่ ฉีดพ่นปุย๋ ในงานเกษตรกรรม
ตอบ 12 เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 27

พิจารณาภาพต่อไปนี้

ซา

ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ว รือ
ที่มา : https://www.flash-mini.com สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2560

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
จากภาพ จะเห็นว่าเมือ่ กล่าวถึงความสูงทีต
ิท ัดแ
่ �ำ แหน่งใดตำ�แหน่งหนึง่ โดยเทียบ
ส ข้อสังเกต
ความสูงของตำ�แหน่งนัน
้ ๆ โดยให้ความสูงของตำ�แหน่งทีอ
งวน
กับระดับน้ำ�ทะเล สามารถใช้จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มลบ หรือศูนย์แทน

่ ยูส่ งู กว่าระดับน้�ำ ทะเล
แทนด้วยจำ�นวนเต็มบวก เช่น ความสูงทีต ส
่ �ำ แหน่ง A เท่ากับ 200 เมตร จากระดับ ความสูงของตำ�แหน่งที่อยู่สูงกว่าหรือ
น้ำ � ทะเล และให้ ค วามสู ง ของตำ � แหน่ ง ที่ อ ยู่ ต่ำ � กว่ า ระดั บ น้ำ � ทะเลแทนด้ ว ย ต่ำ�กว่าระดับน้ำ�ทะเล ในบางครั้งอาจจะ
จำ�นวนเต็มลบ เช่น ความสูงที่ตำ�แหน่ง B เท่ากับ -44 เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล เป็นทศนิยมได้เช่นกัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
28 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ตัวอย่างที ่ 14
เกร็ดน่ารู้
ระดับน้ำ�ทะเล

ซา

ร ่ ทา้
ปลาขวาน (Hatchet fish) เป็ น
แพ
ปลาทะเลน้ำ � ลึ ก ขนาดเล็ ก มี ม ากถึ ง 45

เ ผ ย
้หาม น่าย
สายพั น ธุ์ โดยปลาขวานสายพั น ธุ์ ที่ ใ หญ่
ที่สุดนั้นมีลำ�ตัวยาวเพียง 12 เซนติเมตร

. จ้าห
ปลาขวานอาศัยอยู่ในแถบน้ำ�เย็นที่ระดับ


ว รือ
-180 เมตร ถึง -1,370 เมตร จากระดับ


น้�ำ ทะเล

ย ส ห เต่าตัวหนึ่งว่ายน้ำ�อยู่ที่ระดับ -50 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล และปลาขวาน




ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ตัวหนึ่งว่ายน้�ำ อยู่ที่ระดับ -240 เมตร จากระดับของเต่า จงหาว่าปลาขวานตัวนี้

ส ิท ัดแ อยู่ที่ระดับเท่าไรจากระดับน้�ำ ทะเล


ร ่
ว น ด วิธท

ี �ำ ให้ระดับน้�ำ ทะเลเป็น 0 เมตร

สง ย
จากโจทย์ เต่าอยู่ที่ระดับ -50 เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล
เ ผ
้หาม น่าย
และปลาขวานอยู่ที่ระดับ -240 เมตร จากระดับของเต่า
จะได้ว่า ปลาขวานอยู่ที่ระดับ (-50) + (-240) = -290 เมตร
จากระดับน้ำ�ทะเล
ท. จ้าห
ส ว รือ
ตอบ -290 เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ตัวอย่างที ่ 15 ขณะที่ อุ๋ ม กำ � ลั ง นั่ ง ดู ร ายการโทรทั ศ น์ ก็ ไ ด้ ยิ น ข่ า วพยากรณ์ อ ากาศที่ ป ระกาศเกี่ ย วกั บ สภาพอากาศที่ มี
ความแปรปรวนมาก ดังนี้
ส ิท ัดแ
งวน ด
“สภาพอากาศในช่วงนี้อยู่ในภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน สำ�หรับวันนี้ วัดอุณหภูมิเฉลี่ย

ในเมืองได้ -7 องศาเซลเซียส และคาดว่าในวันพรุ่งนี้อุณหภูมิเฉลี่ยจะสูงขึ้น 9 องศาเซลเซียส
จึงขอให้ทุกท่านยังคงสวมใส่เสื้อผ้าที่หนากว่าปกติ และทำ�ให้ร่างกายอบอุ่นอยู่เสมอ”

จงหาว่าในวันพรุ่งนี้อุณหภูมิเฉลี่ยของเมืองนี้จะเป็นเท่าไร
วิธท
ี �ำ เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยของวันนี้เป็น -7 องศาเซลเซียส และคาดว่าในวันพรุ่งนี้อุณหภูมิเฉลี่ยจะสูงขึ้น
9 องศาเซลเซียส
จะได้ว่า อุณหภูมิเฉลี่ยของวันพรุ่งนี้ คือ -7 + 9 = 2 องศาเซลเซียส
ตอบ 2 องศาเซลเซียส
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 29

แบบฝึกหัด 1.2

1. จงหาผลบวก
1) 25 + 0 2) 24 + 30
ซา

่ ทา้
3) 14 + 16 4) 0 + (-87)
5) 14 + (-75)
พ ร 6) 41 + (-38)
7) (-51) + 60
ยแ 8) -82 + 22
9) (-102) + 120
เ ผ 10) -125 + (-34)
11) -142 + (-18)
้หาม น่าย 12) (-12) + (-106)

2. จงหาผลบวก
ท. จ้าห
สว รือ ชวนคิด 1.4
1) 7 + (-8)

ย ส ห 2) (-8) + 7



ิธ์โด ปลง
3) -14 + (-73) 4) (-73) + (-14)
5) -35 + 27 6) 27 + (-35)
ท้า ซ

ส ิท ัดแ
7) (-29) + (-31) 8) -31 + (-29)

ร ่ จากข้อ 2 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร

ว น ด แพ
สง
3. จงหาผลบวก
เ ผ ย
1) (10 + 7) + (-5) [ ]
้หาม ชวนคิ
2) 10 + 7 + (-5)
่นาย ด 1.5
] ท. ห
3) (-6) + (5 + 1) 4) (-6 + 5) + 1
[-4 + (-8)] + 15 [
จ า

[ สว ]
5) 6) -4 + (-8) + 15
7) [-7 + (-12)] + (-6)
ส ห รอ

8) (-7) + (-12) + (-6)
จากข้อ 3 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร

[ ย ]
ิธ์โด ปลง
9) (-10) + [3 + (-2)] 10) (-10) + 3 + (-2)

4. จงหาจำ�นวนเต็มที่เติมลงใน
ส ิท ัดแ
แล้วทำ�ให้ประโยคเป็นจริง
1) (-9) + = -9
งวน 2) ด + 18 = 18


3) (-5) +
5) (-6) +
= -8
= 0
ส 4)
6) -2 +
+ (-7) = -11
=2
7) + (-3) = 6 8) 9 + = -2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
30 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

5. ให้ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็ม ซึ่งปรากฏบนเส้นจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้


ถ้า c = a + b แล้ว c อยู่ในตำ�แหน่งที่สมเหตุสมผลหรือไม่ ถ้าไม่สมเหตุสมผล จงหาว่า c ควรอยู่ที่ตำ�แหน่งใด
1)
a c b
0
ซา

2)
ร b c ่ ทา้
a

แพ 0

เ ผ ย
้หาม น่าย
3)
a b c

ท. จ้าห
4)
สว รือ
ย ส ห a b c



ิธ์โด ปลง ท้า ซ
5)
ส ิท ัดแ a c
ร ่
b

ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
6. ขณะที่นักดำ�น้ำ�คนหนึ่งกำ�ลังดำ�น้ำ�อยู่ที่ระดับ -28 เมตร จากระดับ
น้ำ�ทะเล เขาพบฝูงปลาการ์ตูนว่ายน้ำ�อยู่เหนือเขา เขาจึงว่ายขึ้นไป
เกร็ดน่ารู้ ท. จ้าห
ว รือ
ในแนวดิ่งเป็นระยะ 13 เมตร เพื่อถ่ายภาพฝูงปลานั้นในแนวระดับ

ส ห
เดียวกับฝูงปลา จงหาว่า ฝูงปลาการ์ตูนอยู่ที่ระดับความสูงเท่าไร


ิธ์โด ปลง
การดำ�น้ำ�แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ จากระดับน้�ำ ทะเล
ได้แก่
✤ การดำ � น้ำ � ตื้ น เป็ น การดำ � น้ำ � ที่ ผิ ว น้ำ �
ส ิท ัดแ ระดับน้ำ�ทะเล
โดยใช้อุปกรณ์ไม่มาก เช่น หน้ากาก

งวน ด
ท่อหายใจ การดำ�น้�ำ ในลักษณะนี้ เรียกได้
หลายแบบ เช่น snorkeling, skin dive ส
✤ การดำ�น้ำ�ลึก เป็นการดำ�น้ำ�ที่ลึกลงไป
เกินกว่าทีจ่ ะใช้ทอ่ หายใจได้ ซึง่ นักดำ�น้�ำ
จำ�เป็นต้องใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจใต้น�้ำ
การดำ � น้ำ � ในลั ก ษณะนี้ อ าจเรี ย กว่ า
scuba

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 31

7. นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งทดลองผสมสารละลาย A กับสารละลาย B แล้ววัดอุณหภูมิของสารละลายใหม่ได้เป็น 24


องศาเซลเซียส จากนั้น เขากลับมาวัดอุณหภูมิของสารละลายใหม่นี้ทุก ๆ ชั่วโมง ปรากฏอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป
ในแต่ละชั่วโมง เป็นดังตารางต่อไปนี้

ซา

่ ทา้
จำ�นวนชั่วโมงที่ผา่ นไป 1 2 3 4 5 6

อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป
พ ร -5 -8 -10 -14 -9 -2
จากชั่วโมงก่อนหน้า (˚C)
ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
จากตาราง จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้

. จ้าห
1) เมื่อเวลาผ่านไป 2 ชั่วโมง สารละลายใหม่นี้มีอุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส

ว รือ
2) สารละลายใหม่นี้วัดอุณหภูมิได้ -13 องศาเซลเซียส เมื่อเวลาผ่านไปกี่ชั่วโมง

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
งว น
1.3 การลบจำ � ด
นวนเต็ ม แพ
ส เ ผ ย
จำ�นวนตรงข้าม ้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
พิจารณา 3 และ -3 ซึ่งเป็นจำ�นวนเต็มที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน คือ 3 แสดงได้ดังแผนภาพต่อไปนี้

ย ส ห
ิธ์โด ปลง

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 ิท ัดแ 2 3 4 5

งวน ด
่ ค

จะเห็นว่า ยังมีจ�ำ นวนเต็มบวกและจำ�นวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากันอีกหลายคู่ เช่น 5 และ -5 8 และ -8 ซึ่งจำ�นวน
เต็มบวกและจำ�นวนเต็มลบทีม ี า่ สัมบูรณ์เท่ากันเหล่านี้ จะอยูค
่ นละข้างของ 0 บนเส้นจำ�นวน และอยูห
่ า่ งจาก 0 เป็นระยะทีเ่ ท่ากัน
ในทางคณิตศาสตร์เรียกจำ�นวนเหล่านี้ว่าเป็นจำ�นวนตรงข้ามของกันและกัน เช่น
เรียก -3 ว่าเป็นจำ�นวนตรงข้ามของ 3
และเรียก 3 ว่าเป็นจำ�นวนตรงข้ามของ -3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
32 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

จำ�นวนตรงข้าม (opposite number) ของจำ�นวนเต็มจำ�นวนหนึ่ง คือ


ชวนคิด 1.6 จำ � นวนเต็ ม อี ก จำ � นวนหนึ่ ง โดยที่ จำ � นวนเต็ ม ทั้ ง สองนี้ อ ยู่ ห่ า งจากศู น ย์ บ น
เส้นจำ�นวนเป็นระยะเท่ากัน
ลองบอกจำ�นวนตรงข้ามของจำ�นวนเต็ม สำ�หรับ 0 จะมี 0 เป็นจำ�นวนตรงข้ามของ 0
ต่อไปนี้

ซา

่ ทา้
1) 14 2) -14 นอกจากนี้ หากพิจารณาผลบวกของจำ�นวนเต็มจำ�นวนหนึ่งกับจำ�นวน
3) 37 4) -37 ตรงข้ามของจำ�นวนนั้น จะพบว่าเท่ากับศูนย์ เช่น
5) 52 6) -52
พ ร 3 + (-3) = 0 และ (-3) + 3 = 0

ยแ
เ ผ 5 + (-5) = 0 และ (-5) + 5 = 0

้หาม น่าย 8 + (-8) = 0 และ (-8) + 8 = 0

ท. จ้าห
สว รือ เมื่อ a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ จำ�นวนตรงข้ามของ a เขียนแทนด้วย -a

ย ส ห และ a + (-a) = 0 = (-a) + a




ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
ข้าวหอมคิดว่าจำ�นวนตรงข้าม ้หาม น่าย
ของจำ�นวนเต็มจำ�นวนหนึ่ง
ท. จ้าห
มีกี่จำ�นวน
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ข้าวหอมว่ามีจ�ำ นวนเดียวนะ
แล้วข้าวกล้องล่ะ คิดว่ามีกี่จ�ำ นวน

ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 33

เมื่อพิจารณาจำ�นวนตรงข้ามของจำ�นวนเต็มจำ�นวนหนึ่งบนเส้นจำ�นวน จะเห็นว่า จำ�นวนตรงข้ามของจำ�นวนเต็ม


จำ�นวนนั้น มีเพียงจำ�นวนเดียวเท่านั้น เช่น
สำ�หรับจำ�นวนเต็ม -7 จำ�นวนตรงข้ามของ -7 คือ 7
เนื่องจาก จำ�นวนตรงข้ามของ a เขียนแทนด้วย -a
ดังนั้น จำ�นวนตรงข้ามของ -7 จึงเขียนแทนได้ด้วย -(-7)

ซา

่ ทา้
และเนื่องจาก จำ�นวนตรงข้ามของ -7 มีเพียงจำ�นวนเดียว คือ 7
จึงทำ�ให้ -(-7) = 7

พ ร
ยแ
เมื่อ a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ จำ�นวนตรงข้ามของ -a คือ a
เ ผ
้หาม น่าย
นั่นคือ -(-a) = a

ท. จ้าห
ว รือ
ในการลบจำ�นวนเต็มจะเขียนการลบให้อยู่ในรูปของการบวก แล้วจึงหาผลบวกของจำ�นวนเต็มตามวิธีที่กล่าวมาข้างต้น

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
การเขียนการลบให้อยู่ในรูปของการบวก อาศัยข้อตกลงดังนี้

ท้า ซ
ส ิท ัดแ
ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำ�นวนตรงข้ามของตัวลบ ร ่
ว น ด แพ ชวนคิด 1.7
สง ย
นั่นคือ a – b = a + (-b) เมื่อ a และ b เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ

เ ผ
้หาม น่าย
จงเขี ย นการลบต่ อ ไปนี้ ใ ห้ อ ยู่ ใ นรู ป ของ
ตัวอย่างที ่ 1 จงหาผลลบ 8 – 12 การบวก
วิธท
ี �ำ 8 – 12 = 8 + (-12)
ท. จ้าห 1) 5 – 3 2) 6 – 10

= -4
ส ว รือ
8 – 12 คือ 8 บวกด้วย 3) 4 – (-2) 4) (-8) – (-1)

ตอบ -4
ย ส ห จำ�นวนตรงข้ามของ 12

ิธ์โด ปลง
ตัวอย่างที ่ 2 จงหาผลลบ (-11) – 6
ส ิท ัดแ
วิธท
ี �ำ (-11) – 6 = (-11) + (-6)
งวน ด
= -17
ตอบ -17

ตัวอย่างที ่ 3 จงหาผลลบ 0 – (-15)
ี �ำ 0 – (-15) = 0 + [-(-15)]
วิธท
= 0 + 15
= 15
ตอบ 15

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
34 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ตัวอย่างที ่ 4 จงหาผลลบ 9 – (-3)


มุมเทคโนโลยี วิธท
ี �ำ 9 – (-3) = 9 + [-(-3)]
= 9 + 3
นั ก เรี ย นสามารถตรวจสอบคำ � ตอบ = 12
โดยใช้เครื่องคิดเลขได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตอบ 12
ซา

่ ทา้
1) (-11) – 6

1 1 +/- – 6 =
พ ร
ตัวอย่างที ่ 5 จงหาผลลบ -7 – (-4)

2) -7 – (-4)
วิธท

ี �ำ -7 – (-4) = -7 + 4

เ ผ
= -3
7 +/- – 4 +/- =
้หาม น่าย
ตอบ -3

ท . จ้าห [ตัวอย่างที ่ 6 จงหาผลลบ (-4) – 5] – (-13)

ชวนคิด 1.8 สส
ว รือ [ ] วิธท
ี �ำ (-4) – 5 – (-13) = (-9) – (-13)

ด ย ง ห = (-9) + 13


ิ์โ
[ ิทธ ] ปล = 4
ท้า ซ


จงหาผลลบ (-4) – 5 – (-13)

ั แ ตอบ 4
ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ตัวอย่างที ่ 7 เรือดำ�น้�ำ ลำ�หนึง่ ถูกปล่อยออกจากฐานส่งเรือซึง่ อยูส่ งู กว่าระดับ
น้ำ � ทะเล 6 เมตร เรื อ ดำ � น้ำ � เริ่ ม ออกสำ � รวจท้ อ งทะเลที่ ร ะดั บ -80 เมตร

ท. จ้าห
จากระดับน้ำ�ทะเล เป็นระยะทาง 3 กิโลเมตร แล้วดำ�ต่อไปอีก -40 เมตร จาก
ส ว รือ
ส ห
ระดับเดิม เพื่อสำ�รวจอีก 2 กิโลเมตร จากนั้น เรือจึงลอยขึ้นมา 65 เมตร และ


ิธ์โด ปลง
สำ�รวจย้อนกลับมาเป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร อยากทราบว่าขณะนี้เรือดำ�น้ำ�
อยู่ห่างจากฐานส่งเรือกี่เมตร
วิธท
ี �ำ
ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 35

ให้ระดับน้ำ�ทะเลเป็น 0 เมตร
จากโจทย์ เรือดำ�น้ำ�เริ่มออกสำ�รวจท้องทะเลที่ระดับ -80 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล
แล้วจึงดำ�ต่อไปอีก -40 เมตร จากระดับเดิม
จะได้ว่า ตำ�แหน่งที่เรือดำ�น้ำ�อยู่ลึกที่สุดเป็น
-80 + (-40) = -120 เมตร จากระดับน้�ำ ทะเล
ซา

่ ทา้
จากนั้น เรือจึงลอยขึ้นมา 65 เมตร เกร็ดน่ารู้

จะได้ว่า ตำ�แหน่งที่เรือดำ�น้ำ�อยู่ขณะนี้เป็น



-120 + 65 = -55 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล


ดังนั้น เรือดำ�น้�ำ อยู่ห่างจากฐานส่งเรืออยู่ 6 – (-55) = 61 เมตร

ตอบ 61 เมตร
้หาม น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ตัวอย่างที ่ 8 จากการรวบรวมสถิตข
ิ องพีจเี อ ทัวร์ (PGA tour) เพือ
่ จัดอันดับ

ย ส ห
นักกอล์ฟระดับโลก โดยนับเฉพาะพาร์ 3 (par 3 performance) ตั้งแต่เดือน


ิธ์โด ปลง ซ
มกราคมถึงตุลาคมของ ค.ศ. 2016 ปรากฏคะแนนรวมของนักกอล์ฟ 8 คน “โปรเม เอรียา จุฑานุกาล นักกอล์ฟ

ดังตารางต่อไปนี้
ส ิท ัดแ ร ่ ท้า
ชาวไทย ลงสนามเก็บเพิ่มอีก
3 อันเดอร์พาร์ ก่อนจบสกอร์รวมสีว่ น

ว น ด แพ ที่ 17 อันเดอร์พาร์ จากชัยชนะใน

สง นั ก กอล์ ฟ คะแนนรวม
เ ผ ย วันนี้ท�ำ ให้โปรเมขยับขึ้นเป็น

ฟิล มิคเคลสัน -20


้หาม น่าย นักกอล์ฟหญิงมือ 1 ของโลก จาก
การจัดอันดับเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน
ริกกี้ บาร์เนส -7
ท. จ้าห 2560”
อเล็กซ์ เคจกา -5
ส ว รือ การเล่นกอล์ฟ 1 รอบ ผู้เล่นจะต้องเล่น

อดัม สก็อตต์
ย ส ห
-1
ทั้งหมด 18 หลุม โดยแต่ละหลุมจะกำ�หนด

ิธ์โด ปลง
จำ � น ว น ค รั้ ง ที่ นั ก ก อ ล์ ฟ ค ว ร ตี ลู ก ก อ ล์ ฟ
เดวิด เอียน E ให้ลงหลุม เรียกว่า ค่าพาร์ (par) เช่น หลุมที่

ส ิท ัดแ กำ�หนดเป็นพาร์ 3 ถ้าผูเ้ ล่นตีลก


ู กอล์ฟลงหลุม
เจสัน เดย์

งวน ด
+1
ได้ใน 3 ครั้ง จะได้ 0 คะแนน หรือ E (even)
พอล คาเซย์
มาร์ค วิลสัน
ส +8
+12
หรือเรียกว่า พาร์ ถ้าตีลงหลุมได้ใน 2 ครั้ง
จะได้ -1 คะแนน แต่หากตีลงหลุมได้ใน 4 ครัง้
จะได้ +1 คะแนน ดังนั้น ในการเล่นกอล์ฟ
ทีม
่ า : http://www.pgatour.com สืบค้นเมือ
่ 25 ตุลาคม 2559 ผูท
้ ม
ี่ ค
ี ะแนนน้อยทีส
่ ด
ุ จะเป็นผูช
้ นะ และจาก
การรายงานข่าว จะเห็นว่า เอรียา จุฑานุกาล
จากตาราง จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ นั้นสามารถทำ�คะแนนได้ -3 คะแนน และ
1) ฟิล มิคเคลสัน มีคะแนนนำ�ริกกี้ บาร์เนส อยู่เท่าไร คะแนนรวมตลอดสี่วันเป็น -17 คะแนน

2) ถ้านำ�คะแนนรวมของริกกี้ บาร์เนส อเล็กซ์ เคจกา และอดัม สก็อตต์


มารวมกันจะทำ�ให้มีคะแนนรวมชนะฟิล มิคเคลสัน ได้หรือไม่
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
36 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

วิธท
ี �ำ 1) เนื่องจาก ฟิล มิคเคลสัน และริกกี้ บาร์เนส มีคะแนนรวม
เป็น -20 และ -7 ตามลำ�ดับ นั่นคือ ฟิล มิคเคลสัน
จะได้ว่า ฟิล มิคเคลสัน มีคะแนนนำ�ริกกี้ บาร์เนส เท่ากับ มีคะแนนนำ�ริกกี้ บาร์เนส
อยู่ 13 อันเดอร์พาร์
-20 – (-7) = -13 คะแนน
ตอบ -13 คะแนน

ซา

่ ทา้
2) เนื่องจาก ริกกี้ บาร์เนส อเล็กซ์ เคจกา และอดัม สก็อตต์ มีคะแนนรวมเป็น -7, -5 และ -1 ตามลำ�ดับ


เมื่ อ นำ � คะแนนรวมของนั ก กอล์ ฟ ทั้ ง สามคนมารวมกั น โดยรวมคะแนนของสองคนแรกก่ อ น จะได้ เ ป็ น

[ ]
ผ ย
-7 + (-5) + (-1) = -12 + (-1) = -13 คะแนน แต่ฟิล มิคเคลสัน มีคะแนนรวมเป็น -20 คะแนน

้หาม น่าย
ดังนั้น ถ้านำ�คะแนนรวมของนักกอล์ฟทั้งสามคนมารวมกันยังไม่สามารถชนะฟิล มิคเคลสัน ได้
ตอบ ไม่ได้

ท . จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

แบบฝึกหัด 1.3 ด
ิธ์โ ล ง ซ
ิสท ัดแป ร ่ ท้า
1. จงหาผลลบ
ว น ด แพ
สง ย
1) 13 – 16 2) 40 – 52
3) (-14) – 0
เ ผ
4) 33 – 0
5) 0 – (-74) ้หาม น่าย
6) 0 – 37
7) (-20) – 20
. จ้าห
8) -18 – (-36)

ส ว รือ
2. จงหาผลลบ
ย ส ห
ชวนคิด 1.9
ิธ์โด ปลง
1) (-100) – 20 2) 20 – (-100)
3) -22 – 15 4) 15 – (-22)

ส ิท ัดแ
จากข้อ 2 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร


ง น ด
5) (-63) – 27

7) -24 – (-28)
6) 27 – (-63)
8) -28 – (-24)

3. จงหาผลลบ
ชวนคิด 1.10 1) (18 – 11) – 15 2) 18 – (11 – 15)
3) (-25 – 12) – 27 4) -25 – (12 – 27)
จากข้อ 3 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร 5) [36 – (-13)] – (-21) 6) 36 – [(-13) – (-21)]
7) [(-50) – (-18)] – (-32) 8) (-50) – [(-18) – (-32)]

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 37

4. จงหาผลลัพธ์
1) (-21) + [14 – (-7)] 2) (-42 + 16) – (-8)
3) -19 – (-28 + 16) 4) [(-12) – (-23)] + (-11)
5. จงหาจำ�นวนเต็มที่เติมลงใน แล้วทำ�ให้ประโยคเป็นจริง
ซา

่ ทา้
1) – 11 = 10 2) 32 – = -1
3) -10 – = -15
พ ร 4) – 0 = -17
5) – (-28) = 28
ยแ 6) 0 – = 24
7) (-8) – = 0
เ ผ 8) – (-40) = 5
9)
11) 20 –
้หาม น่าย
– (-13) = -20
= -14
10) (-72) –
12) -27 –
= -72
= -43

ท. จ้าห
สว รือ
6. จงหาค่าของ (a – b) + c และ a – (b + c) เมื่อกำ�หนด a, b และ c ดังต่อไปนี้
1) a = 2
ย ส ห b = -5 c = 4


2) a = 3
ิธ์โด ปลง b = -2 c = -1 มุมคณิต
ท้า ซ

ส ิท ัดแ
3) a = -7 b = -7 c = -1
ร ่
ว น ด
7. ให้ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็ม ซึ่งปรากฏบนเส้นจำ�นวนในแต่ละข้อ
แพ การหาค่าของ (a – b) + c

สง
ต่อไปนี้ ถ้า c = a – b แล้ว c อยู่ในตำ�แหน่งที่สมเหตุสมผลหรือไม่
เ ผ ย เมื่อ a = 4, b = -5 และ c = -6 ทำ�ได้

้หาม น่าย[
ดังนี้
ถ้าไม่สมเหตุสมผล จงหาว่า c ควรอยู่ที่ต�ำ แหน่งใด
(a – b) + c = 4 – (-5)] + (-6)
1)
b a
ท. จ้าห c = 9 + (-6)

ส ว รือ = 3

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
2) c a b

ส ิท ัดแ
3) b c
งวน ด a

4) a c b

5) b c a

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
38 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

8. เรือดำ�น้�ำ ลำ�หนึง่ ออกสำ�รวจเรืออับปางซึง่ จมอยูก่ น


้ ทะเลทีร่ ะดับ -92 เมตร
เกร็ดน่ารู้ จากระดับน้�ำ ทะเล ในสภาพหงาย เมือ
่ เรือดำ�น้�ำ ลงไปถึงระดับ -68 เมตร
จากระดับน้ำ�ทะเล จึงได้พบกับดาดฟ้าของเรือที่อับปาง อยากทราบว่า
เรือที่อับปางนี้มีความสูงจากท้องเรือถึงดาดฟ้าประมาณกี่เมตร

ซา

่ ทา้
9. จากบันทึกสถิตกิ ารแข่งขันกีฬากระโดดน้�ำ

พ ร นั ก กี ฬ า ค น ห นึ่ ง ก ร ะ โ ด ด อ อ ก จ า ก

ยแ แพลตฟอร์ม ซึง่ อยูส่ งู จากผิวน้�ำ 10 เมตร

เ ผ แล้วลอยตัวขึ้นไป 2 เมตร จากนั้น เขา



้หาม น่าย
อับปาง เป็นคำ�กริยา แปลว่า ล่ม จม หรือ ทิ้งตัวลงไปเป็นระยะ 15 เมตร จากจุด

ท. จ้าห
แตก ซึง่ คำ�ว่าอับปางนีจ้ ะใช้กบ
ั เรือเดินทะเล ทีล่ อยขึน
้ ไปสูงทีส่ ด
ุ ถ้าสระนีล้ ก
ึ 5 เมตร

สว รือ อยากทราบว่าในการกระโดดครั้งนี้เขา

เกร็ดน่ารู้ ย
ส ห จะลงไปแตะถึงก้นสระหรือไม่


ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ่
10. กราฟต่อไปนี้แสดงอุณหภูมิต่ำ�สุด และสูงสุดในสัปดาห์หนึ่ง ของเมือง


น ด
การแข่ ง ขั น กระโดดน้ำ � ในปั จ จุ บั น มี
ว พ
เซ็นทรัล รัฐอะแลสกา ประเทศสหรัฐอเมริกา

สง ย
2 แบบ คือ แบบแพลตฟอร์ม (platform) 10
เ ผ
้หาม น่าย
และแบบกระดานสปริง (springboard)
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

สำ � หรั บ การแข่ ง ขั น แบบแพลตฟอร์ ม นั้ น 5


อุณหภูมิ
มีความสูงด้วยกัน 3 ระดับ คือ 5 เมตร 7.5

ท. จ้าห
0 สูงสุด
เมตร และ 10 เมตร โดยในการแข่งขันกีฬา

ส ว รือ
โอลิมปิกยุคปัจจุบน
ั กำ�หนดความสูงทีร่ ะดับ

ย ส ห -5 อุณหภูมิ

ิธ์โด ปลง
10 เมตร ส่วนการแข่งขันแบบกระดาน ต่ำสุด
สปริงกำ�หนดความสูงที่ระดับ 3 เมตร
-10

ส ิท ัดแ -15
น ด
อังคาร

พุธ

พฤหัสบดี
อาทิตย�

จันทร�

ศุกร�

เสาร�

ส งว
ที่มา : http://www.yourweatherservice.com สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2559

จากกราฟ จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
1) เมือ่ เปรียบเทียบอุณหภูมสิ งู สุดของแต่ละวันแล้ว วันใดมีอณ
ุ หภูมต
ิ �ำ่ ทีส่ ด

2) ในวันพุธ อุณหภูมิสูงสุดต่างจากอุณหภูมิต�่ำ สุดอยู่เท่าไร
3) วั น ใดที่ อุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด และอุ ณ หภู มิ ต่ำ � สุ ด แตกต่ า งกั น น้ อ ยที่ สุ ด
และต่างกันอยู่เท่าไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 39

ชวนคิด 1.11

เวลาในประเทศทั่วโลกนั้นแตกต่างกัน อันเนื่องมาจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ และหมุนรอบตัวเองไปด้วย



ทำ�ให้พื้นที่บนผิวโลกมืดและสว่างไม่พร้อมกัน เวลาที่กำ�หนดขึ้นในแต่ละประเทศบางครั้งจะเรียกว่า เวลาท้องถิ่น

่ ทา้
ซึ่งกำ�หนดตามเวลากรีนิช (Greenwich Mean Time หรือ GMT)


เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 24 ชั่วโมง เราจึงแบ่งเขตเวลาออกเป็น 24 เขตเวลา


โดยเริ่มที่เส้นลองจิจูด 0˚ ซึ่งผ่านเมืองกรีนิช ประเทศสหราชอาณาจักร เมื่อนับไปทางขวาหรือทางตะวันออกของ

เ ผ
เส้นลองจิจูดนี้จะบวกเวลาไปทีละ 1 ชั่วโมง ต่อ 1 เขตเวลา และเมื่อนับไปทางซ้ายหรือทางตะวันตกจะลบเวลาไปทีละ

้หา˚ม น่าย
1 ชั่วโมง ต่อ 1 เขตเวลา และที่เส้นลองจิจูด 180 จะเป็นเส้นลองจิจูดที่เขตเวลาทางฝั่งตะวันออกและตะวันตกเป็นเส้น

. จ้าห
เดียวกัน เรียกเส้นนี้ว่า เส้นแบ่งเขตวันสากล (International Date Line) ดังภาพ

สว รือ
ส ห
-12 -11 -10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 +1 +2 +3 +4 +5 +6 +7 +8 +9 +10 +11 +12


ิธ์โด ปลง ซ า

ส ิท ัดแ
สหราช
อาณาจักร
ร ่ ท้า
ว น ด แพ
สง

เส�นแบ�งเขตวันสากล

เส�นแบ�งเขตวันสากล

เ ผ
้หาม น่าย
ฮาวาย
ไทย

เปรู
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
180 ํ 165 ํ 150 ํ 135 ํ 120 ํ 105 ํ 90 ํ
24 1 2 3 4 5 6
75 ํ
7
60 ํ
8
45 ํ
9
ส ิท ัดแ
30 ํ
10
15 ํ
11
0ํ
12
15 ํ
13
30 ํ
14
45 ํ
15
60 ํ
16
75 ํ
17
90 ํ 105 ํ 120 ํ 135 ํ 150 ํ 165 ํ 180 ํ
18 19 20 21 22 23 24

งวน ด

จากภาพ ให้พิจารณาแถบตัวเลขด้านบน จะเห็นว่า ประเทศไทยอยู่ในเขตเวลา GMT +7 และถ้าขณะนี้ประเทศ
สหราชอาณาจักรเป็นเวลา 11 นาฬิกาของวันหนึง่ ประเทศไทยก็จะเป็นเวลา 18 นาฬิกาของวันเดียวกัน แต่ถา้ ขณะนี้
ประเทศไทยเป็นเวลา 12 นาฬิกาของวันหนึ่ง เกาะฮาวาย ซึ่งอยู่ในเขตเวลา GMT -10 จะเป็นเวลา 19 นาฬิกาของ
วันก่อนหน้าวันนั้นหนึ่งวัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
40 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

จากข้อมูลข้างต้น จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
สื่อเสริม
1) ถ้ า ต้ น ข้ า วซึ่ ง เรี ย นอยู่ ที่ ป ระเทศสหราชอาณาจั ก ร นั ด คุ ย ทาง
เพิ่มความรู้
โทรศัพท์กบ
ั ข้าวโอ๊ต ซึง่ ไปทำ�งานทีป
่ ระเทศเปรู ในเวลา 19 นาฬิกา
นั ก เรี ย นสามารถศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ เวลา ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศเปรู อยากทราบว่า ต้นข้าวจะต้อง
สากลเพิ่มเติมได้ที่ goo.gl/eEFdgz
ซา

่ ทา้
โทรศัพท์หาข้าวโอ๊ตในเวลาเท่าไรของประเทศสหราชอาณาจักร

พ ร

2) ถ้าคุณแม่ของต้นข้าวและข้าวโอ๊ตซึ่งอยู่ที่ประเทศไทย ต้องการคุยทางโทรศัพท์กับลูกทั้งสองคนพร้อมกัน


โดยคุณแม่จะสะดวกโทรศัพท์ในช่วงเวลา 17–21 นาฬิกา ส่วนต้นข้าวนั้นสะดวกรับโทรศัพท์ในช่วงเวลา

้หาม น่าย
7–12 นาฬิกา แต่ข้าวโอ๊ตไม่สะดวกรับโทรศัพท์ในช่วงเวลา 6–17 นาฬิกา ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศที่
ตนเองอาศัยอยู่ อยากทราบว่า คุณแม่สามารถโทรศัพท์หาลูกทั้งสองคนในช่วงเวลาใด ตามเวลาท้องถิ่นของ

ท . จ้าห
ประเทศไทย จึงจะได้คุยทางโทรศัพท์กับลูกทั้งสองคนพร้อม ๆ กัน

สว รือ
ย ส ห า

1.4 การคูณจำธ�ิ์โดนวนเต็มลง ซ
ิสท ัดแป ร ่ ท้า
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
การคูณจำ�นวนเต็มบวกด้วยจำ�นวนเต็มบวก

้หาม น่าย
คือ การคูณจำ�นวนนับด้วยจำ�นวนนับ นั่นเอง

ท. จ้าห
เช่น 2 × 9 = 9 + 9 = 18
ส ว รือ
3 × 8 = 8 + 8 + 8 = 24
ย ส ห
4 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 = 28 ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด
ส การคูณจำ�นวนเต็มบวกด้วยจำ�นวนเต็มลบ สามารถหาผลคูณ
โดยใช้ความหมายของการคูณและหลักการบวกจำ�นวนเต็มลบ

เช่น 2 × (-9) = (-9) + (-9) = -18


3 × (-8) = (-8) + (-8) + (-8) = -24
4 × (-7) = (-7) + (-7) + (-7) + (-7) = -28

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 41

การคูณจำ�นวนเต็มบวกด้วยจำ�นวนเต็มลบ จะได้ผลคูณเป็นจำ�นวนเต็มลบ
ที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำ�นวนนั้น

ซา

จากตัวอย่าง การหาผลคูณ 2 × (-9) อาจทำ�ได้โดยพิจารณาว่าค่าสัมบูรณ์ของ 2 เท่ากับ 2 และค่าสัมบูรณ์ของ -9 เท่ากับ
9 จึงได้ว่า
ร ่ ทา้
2 × (-9) = -(2 × 9)
แพ


= -18

เ ผ
้หาม น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห การคูณจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มบวก อาจพิจารณา



ิธ์โด ปลง
การหาผลคูณได้จากแบบรูปต่อไปนี้

ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น
พิจารณาผลคูณต่อไปนี้ ด แพ
สง เ ผ ย


้หาม น่าย
3 × 5 = 15
2 × 5 = 10
-5

ท. จ้าห -5

ว รือ
1 × 5 = 5
ส -5

ส ห
0 × 5 = 0


ิธ์โด ปลง
(-1) × 5 =
(-2) × 5 =

ส ิท ัดแ
(-3) × 5 =

งวน ด

หากสังเกตจากผลคูณในลำ�ดับก่อนหน้า ซึ่งลดลงทีละ 5 ทำ�ให้คาดเดาว่าผลคูณในลำ�ดับต่อมาจะลดลงทีละ 5 เช่นเดิม
ทำ�ให้ได้ว่า
(-1) × 5 = -5
(-2) × 5 = -10
และ (-3) × 5 = -15

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
42 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

จากแนวคิดข้างต้น จะเห็นได้ว่า การคูณจำ�นวนเต็มลบด้ว ยจำ � นวนเต็ มบวก จะมีผ ลคู ณเป็นไปตามหลัก การคู ณ
จำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มบวกที่ว่า



การคูณจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มบวก จะได้ผลคูณเป็นจำ�นวนเต็มลบ

่ ทา้
ที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำ�นวนนั้น

พ ร
ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
ค่าสัมบูรณ์ของ -7 เท่ากับ 7
ตัวอย่างที ่ 1 จงหาผลคูณ (-7) × 3
ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3
วิธท
ี �ำ (-7) × 3 = -(7 × 3)

ท. จ้าห
= -21

สว รือ
ตอบ -21

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
ตัวอย่างที ่ 2 จงหาผลคูณ -9 × 10 ค่าสัมบูรณ์ของ -9 เท่ากับ 9
ท้า ซ
วิธท
ี �ำ
ส ิท ัดแ
-9 × 10 = -(9 × 10) ่
ค่าสัมบูรณ์ของ 10 เท่ากับ 10


ว น ด = -90
แพ
ตอบ -90 สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ในทางคณิตศาสตร์ เมื่อ a และ b เป็นจำ�นวนใด ๆ อาจเขียนแทน a × b ด้วย a . b หรือ ab หรือ (a)(b) เช่น
3 . (-5) ท. จ้าห
หมายถึง 3 × (-5)
ส ว รือ
(-3)(-2) หมายถึง (-3) × (-2)

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
(4 . 3)(-2) หมายถึง (4 × 3) × (-2)

ตัวอย่างที ่ 3 จงหาผลคูณ (-8)12


ส ิท ัดแ
วิธท
ี �ำ (-8)12 = -(8 × 12)
งวน ด

ตอบ -96
= -96 ส

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 43

การคูณจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบ อาจพิจารณา
การหาผลคูณได้จากแบบรูปต่อไปนี้

ซา

พิจารณาผลคูณต่อไปนี้
ร ่ ทา้
แพ


เ ผ ย (-2) × 4 = -8
(-2) × 3 = -6
+2

้หาม น่าย
(-2) × 2 = -4
+2
+2

ท. จ้าห
(-2) × 1 = -2

สว รือ
(-2) × 0 =

ย ส ห
(-2) × (-1) =


ิธ์โด ปลง
(-2) × (-2) =

ท้า ซ
ส ิท ัดแ (-2) × (-3) =
ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
หากสังเกตจากผลคูณในลำ�ดับก่อนหน้า ซึ่งเพิ่มขึ้นทีละ 2 ทำ�ให้คาดเดาว่าผลคูณในลำ�ดับต่อมาจะเพิ่มขึ้นทีละ 2
เช่นเดิม ทำ�ให้ได้ว่า
้หาม น่าย
(-2) × 0 = 0
ท. จ้าห
(-2) × (-1) = 2
ส ว รือ
(-2) × (-2) = 4
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
และ (-2) × (-3) = 6

ส ิท ัดแ
เต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบที่ว่า
งวน ด
จากแนวคิดข้างต้น จะเห็นได้ว่า การคูณจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบ จะมีผลคูณเป็นไปตามหลักการคูณจำ�นวน


การคูณจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบจะได้ผลคูณเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ที่มีค่าเท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำ�นวนนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
44 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ตัวอย่างที ่ 4 จงหาผลคูณ (-5) × (-4) ค่าสัมบูรณ์ของ -5 เท่ากับ 5


วิธท
ี �ำ (-5) × (-4) = 5 × 4 ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4
= 20
ตอบ 20

ซา

ตัวอย่างที ่ 5 จงหาผลคูณ (-3) . (-7)
ร ่ ทา้
ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3
วิธท
ี �ำ (-3) . (-7) = 3 . 7
แพ ค่าสัมบูรณ์ของ -7 เท่ากับ 7
= 21
เ ผ ย
ตอบ 21
้หาม น่าย
[ ] . า
้ ห

ตัวอย่างที ่ 6 จงหาผลคูณ (-5) . 4 (-3)
[ว ] อ
ื จ
[ ] ส
ี �ำ (-5) . 4 (-3) = -(5 . 4) (-3)
วิธท
ส ห ร
= (-20)(-3)

ิธ์โด ปลง ซ า

ท้า
= (20)(3)
= 60
ส ิท ัดแ ร ่
ตอบ 60
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
ตัวอย่างที ่ 7 บอลลูนลูกหนึ่งลอยขึ้นจากพื้นดินได้ 13 เมตร ในเวลา
1 นาที ด้วยอัตราเร็วคงตัว อยากทราบว่าเมือ
่ เวลาผ่านไป 5 นาที บอลลูนนี้ ้หาม น่าย
จะอยู่สูงจากพื้นดินกี่เมตร
ท. จ้าห
ส ว รือ
วิธท
ี �ำ ในเวลา 1 นาที บอลลูนลอยขึน
้ ไปได้ 13 เมตร

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
จะได้วา่ ในเวลา 5 นาที บอลลูนจะลอยขึ้นไปได้
5 × 13 = 65 เมตร
ตอบ 65 เมตร
ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 45

ตัวอย่างที ่ 8 อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในฤดูหนาวของเมืองเบราน์ชไวก์
ประเทศเยอรมนี คือ -2 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิบนยอดเขาซึ่งอยู่ใน ชวนคิด 1.12
เมืองนี้ต่ำ�กว่า 0 องศาเซลเซียส อยู่ 9 เท่าของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ
ในเมือง อยากทราบว่าอุณหภูมิบนยอดเขาเป็นกี่องศาเซลเซียส เมืองเบราน์ชไวก์
วิธท
ี �ำ อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในเมืองเท่ากับ -2 องศาเซลเซียส
ซา
้ (Braunschweig)

่ ท้า
อุณหภูมิบนยอดเขาต่ำ�กว่า 0 องศาเซลเซียส อยู่ 9 เท่าของ ประเทศเยอรมนี
เป็นบ้านเกิดของ
อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในเมือง
พ ร เกาส์ (Gauss, Carl
จะได้ว่า อุณหภูมบ

ิ นยอดเขาเป็น 9 × (-2) = -18 องศาเซลเซียส
ย Friedrich, ค.ศ. 1777–1855) ผู้ที่ได้รับ
ตอบ -18 องศาเซลเซียส
เ ผ ฉายาว่ า เป็ น เจ้ า ชายของนั ก คณิ ต ศาสตร์

้หาม น่าย (The Prince of Mathematicians) ในสมัย

ท. จ้าห เด็ก เกาส์สามารถหาผลบวกของจำ�นวนนับ

สว รือ ตั้ ง แต่ 1 ถึ ง 100 ได้ ใ นเวลาอั น รวดเร็ ว

ย ส ห แล้วถ้านักเรียนต้องบวกจำ�นวนนับเหล่านั้น



ิธ์โด ปลง
เช่นเดียวกับเกาส์ นักเรียนจะมีวธิ ห
ี าผลบวก
ให้รวดเร็วได้อย่างไร

ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
แบบฝึกหัด 1.4 ้หาม น่าย
ท. จ้าห
1. จงหาผลคูณ
ส ว รือ
1) 7 × 14 2) 35 . 0
ย ส ห
3) -95 × 1
ิธ์โด ปลง
4) (-1)(44)
5) 50 . (-5)
ส ิท ัดแ
6) -14 × 8
7) -8 × (-13)
งวน ด
8) (-20)(-20)

2. จงหาผลคูณ

1) 6(-22) 2) (-22) × 6
3) (-9) . 13 4) 13 × (-9)
ชวนคิด 1.13
5) -12 × (-25) 6) -25(-12)
7) (-17) × (-8) 8) (-8) × (-17) จากข้อ 2 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
46 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

3. จงหาผลคูณ
ชวนคิด 1.14 1) (11 × 3) × 7 2) 11 × (3 × 7)
3) [5 × (-8)] × 4 4) 5 × [(-8) × 4]
-10[6(-3)] 6) [(-10)6](-3)
จากข้อ 3 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร
5)
ซา

่ ท้า
7) (-7)[(-4) . (-6)] 8) [-7(-4)] . (-6)
[(-13)(-5)] × (-20) 10) -13[(-5) × (-20)]
พ ร 9)

ยแ
เ ผ 4. จงหาผลลัพธ์
ชวนคิด 1.15
้หาม [ น่าย]

1) 20(8 + 12)
3) 14 10 + (-9)
2) (20 × 8) + (20 × 12)
4) (14 × 10) + [14 × (-9)]

ท. จ้า[ห ] 5) 28 × -2 + (-3) 6) [28(-2)] + [28(-3)]



ว รือ
จากข้อ 4 นักเรียนได้ข้อสังเกตอะไร
ส 8) [(-6) . (-20)] + [(-6) . 5]

ย ส ห [ 7) -6 × (-20 + 5)
9) (-10) × (-5) + (-15)] 10) [-10(-5)] + [-10(-15)]


ิธ์โด ปลง [ ]

11) 2 × 27 + (-9) 12) [2(27)] + [2(-9)]
ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด 5. จงหาจำ�นวนเต็มที่เติมลงใน
แพ แล้วทำ�ให้ประโยคเป็นจริง
สงมุมคณิต 1) × 7 = 63
เ ผ ย 2) 15 × = 225
3) 33 ×
้หาม น่าย
= 33 4) × 33 = -33

ในการหาจำ � นวนเต็ ม ที่ ม าคู ณ กั บ -5


5)
ท. จ้าห
× 1 = 50 6) (-1) × = 50
แล้วได้ 50 กล่าวคือ (-5) × = 50 7) -20 ×
ส ว รือ
= -40 8) × (-20) = 40
อาจใช้การคิดเป็นขั้น ๆ ดังนี้ 9)
ย ส ห
× (-3) = 63 10) -4 × = -144

ิธ์โด ปลง
✤ คำ�ตอบต้องเป็นจำ�นวนเต็มลบ เพราะ 11) (-48) × = 240 12) × (-13) = -169
เมื่อคูณกับ -5 แล้ว จึงจะได้ผลคูณเป็น
จำ�นวนเต็มบวก
ส ิท ัดแ
✤ เพือ
่ ให้ได้ผลคูณเป็น 50 จำ�นวนเต็มลบ
งวน ด
นั้น ต้องมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับ 10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 47

6. ให้ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็ม ซึ่งปรากฏบนเส้นจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้


ถ้า c = a × b แล้ว c อยู่ในตำ�แหน่งที่สมเหตุสมผลหรือไม่ ถ้าไม่สมเหตุสมผล จงหาว่า c ควรอยู่ที่ต�ำ แหน่งใด
1)
a c b

ซา

2)
ร c b ่ ทา้ a

แพ
เ ผ ย
3)
้หาม น่าย c b a

ท. จ้าห
สว รือ
4)

ย ส ห a c b



ิธ์โด ปลง ท้า ซ
5)
ส ิท ัดแ a b
ร ่ c

ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม เกร็
7. น้ำ�แข็งก้อนหนึ่งมีอุณหภูมิ -6 องศาเซลเซียส น้�ำ แข็งแห้งมีอุณหภูมิเป็น
่นายดน่ารู้
13 เท่ า ของน้ำ � แข็ ง ก้ อ นนี้ อยากทราบว่ า น้ำ � แข็ ง แห้ ง มี อุ ณ หภู มิ

ท. จ้าห
กี่องศาเซลเซียส
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
8. เรือดำ�น้ำ�ลำ�หนึ่งถูกปล่อยจากระดับน้ำ�ทะเลและเคลื่อนที่ในแนวดิ่งไปอยู่
ในระดับ -17 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล ภายในเวลา 1 นาที ถ้าเรือดำ�น้ำ�

ส ิท ัดแ
ลำ�นี้ยังคงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม อยากทราบว่าเมื่อเวลาผ่านไป

งวน
8 นาที เรือดำ�น้ำ�นี้จะอยู่ที่ระดับเท่าไรจากระดับน้ำ�ทะเล ด เรามักพบก้อนคล้ายน้�ำ แข็งทีม
่ ค
ี วันสีขาว


9. ปลาทูน่าอาศัยอยู่ใต้ท้องทะเลที่ระดับประมาณ -150 เมตร จากระดับ
ในตู้แช่ไอศกรีม ก้อนนี้เรียกว่า น้ำ�แข็งแห้ง
หรื อ คาร์ บ อนไดออกไซด์ แ ข็ ง ซึ่ ง มี ส มบั ติ ที่
สามารถให้ความเย็นได้มากกว่าน้ำ�แข็งทั่วไป
น้�ำ ทะเล และกุง้ อาศัยอยูห
่ า่ งจากระดับน้�ำ ทะเลประมาณ 4 เท่า ของระดับ เราจึ ง มั ก นำ � น้ำ � แข็ ง แห้ ง มาใส่ ไ ว้ ใ นตู้ แ ช่
ที่ปลาทูน่าอาศัยอยู่ อยากทราบว่ากุ้งอาศัยอยู่ท่ีระดับเท่าไรจากระดับ ไอศกรีม หรือใช้เพือ
่ รักษาสภาพของซากสัตว์
น้ำ�ทะเล และเนื่องจากน้ำ�แข็งแห้งมีอุณหภูมิที่ต่ำ�มาก
การสัมผัสด้วยมือเปล่าอาจจะทำ�ให้ผิวหนัง
ไหม้ และปวดแสบปวดร้อนได้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
48 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

1.5 การหารจำ�นวนเต็ม
ในระดับประถมศึกษา นักเรียนได้เรียนการหารจำ�นวนนับด้วยจำ�นวนนับ ซึ่งมีทั้งการหารลงตัวและการหารไม่ลงตัว
ในหัวข้อนี้ จะขยายการหารดังกล่าวไปสู่การหารจำ�นวนเต็มด้วยจำ�นวนเต็ม และมีผลหารเป็นจำ�นวนเต็ม

ซา

่ ทา้
เมื่อ a และ b เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ ที่ b ไม่เท่ากับ 0

พ ร
ถ้ามีจำ�นวนเต็ม c ที่ทำ�ให้ a = b × c

ยแเราจะกล่าวว่า c เป็นผลหารของ a ด้วย b

เ ผ นั่นคือ a ÷ b = c

้หาม น่าย
. จ้าห
เรียก a ว่าตัวตัง้ เรียก b ว่าตัวหาร และเรียก c ว่าผลหาร

ตัวหาร × ผลหาร = ตัวตั้ง

สว รือ
ย ส ห
เนื่องจากการหารจำ�นวนเต็มด้วยจำ�นวนเต็ม เราจะอาศัยการคูณในการหาผลหาร ซึ่งความสัมพันธ์ของการคูณและ


การหาร เป็นดังนี้
ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด ถ้า a ÷ b = c แล้ว a = b × c
แพ
สง และ ถ้า a = b × c แล้ว a ÷ b = c
เ ผ ย
้หาม น่าย
เมื่อ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ ที่ b ไม่เท่ากับ 0

ท. จ้าห
ส ว รือ
ดังนั้น การหาผลหาร a ÷ b คือ การหาจำ�นวนเต็ม c ที่ c คูณกับ b แล้วได้ผลคูณเป็น a ทำ�ให้ได้ว่า จำ�นวนเต็ม c
ดังกล่าว มีเพียงจำ�นวนเดียว
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ตัวอย่างที ่ 1 จงหาผลหาร 24 ÷ 3
ส ิท ัดแ
วิธท
ี �ำ เนื่องจาก 3 × 8 = 24
งวน ด
จะได้ว่า
ตอบ 8
24 ÷ 3 = 8
ส หาจำ�นวนเต็ม
ที่คูณกับ 3 แล้วได้ 24

ตัวอย่างที ่ 2 จงหาผลหาร (-24) ÷ 6


วิธท
ี �ำ เนื่องจาก 6 × (-4) = -24 หาจำ�นวนเต็ม
จะได้ว่า (-24) ÷ 6 = -4 ที่คูณกับ 6 แล้วได้ -24
ตอบ -4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 49

ตัวอย่างที ่ 3 จงหาผลหาร 36 ÷ (-4)


วิธท
ี �ำ เนื่องจาก (-4) × (-9) = 36 ชวนคิด 1.16
จะได้ว่า 36 ÷ (-4) = -9
ตอบ -9 จำ�นวนคู่ คือ จำ�นวนเต็มที่สามารถเขียน

ซา
้ อยู่ในรูป 2m เมื่อ m เป็นจำ�นวนเต็ม

่ ท้า
ตัวอย่างที ่ 4 จงหาผลหาร (-36) ÷ (-3) จำ�นวนคี่ คือ จำ�นวนเต็มที่ไม่ใช่จำ�นวนคู่
วิธท
ี �ำ เนื่องจาก (-3) × 12 = -36
พ ร จำ�นวนทีก่ �ำ หนดให้ตอ่ ไปนี้ จำ�นวนใดบ้าง
จะได้ว่า (-36) ÷ (-3) = 12
ยแ เป็นจำ�นวนคู่ และจำ�นวนใดบ้างเป็นจำ�นวนคี่
ตอบ 12
เ ผ 5, 440, -3, -50, 0

้หาม น่าย
เนือ่ งจากการหารมีความสัมพันธ์กบ
ั การคูณ และจากหัวข้อ “การคูณจำ�นวนเต็ม” เราสามารถหาผลคูณโดยใช้คา่ สัมบูรณ์ ได้

ท. จ้าห
ดังนั้น การหารจำ�นวนเต็มด้วยจำ�นวนเต็มจึงสามารถทำ�ได้โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
✤ ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำ�นวนเต็มบวกทั้งคู่ ใช้วิธีเดียวกับการหารจำ�นวนนับด้วยจำ�นวนนับ ซึ่งได้ผลหาร
เป็นจำ�นวนเต็มบวก
ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
✤ ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำ�นวนเต็มลบทั้งคู่ ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร

ว น ด
แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็มบวก
แพ
สง เ ผ ย
✤ ถ้าตัวตั้งหรือตัวหาร ตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำ�นวนเต็มลบ โดยที่อีกตัวหนึ่งเป็นจำ�นวนเต็มบวก ให้น�ำ ค่าสัมบูรณ์

้หาม น่าย
ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็มลบ

ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ตัวอย่างที ่ 5 จงหาผลหาร -36 ÷ 4 ค่าสัมบูรณ์ของ -36 เท่ากับ 36
วิธท
ี �ำ -36 ÷ 4 = -(36 ÷ 4) ค่าสัมบูรณ์ของ 4 เท่ากับ 4
= -9
ส ิท ัดแ
ตอบ -9
งวน ด
ตัวอย่างที ่ 6 จงหาผลหาร (-72) ÷ (-9)
ส ค่าสัมบูรณ์ของ -72 เท่ากับ 72
ค่าสัมบูรณ์ของ -9 เท่ากับ 9
วิธท
ี �ำ (-72) ÷ (-9) = 72 ÷ 9
= 8
ตอบ 8

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
50 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลหาร 93 ÷ (-3)


วิธท
ี �ำ 93 ÷ (-3) = -(93 ÷ 3)
มุมเทคโนโลยี
= -31
นักเรียนสามารถตรวจสอบคำ�ตอบของ ตอบ -31
การคู ณ และการหารจำ � นวนเต็ ม โดยใช้

ซา

่ ทา้ ]
เครื่ อ งคิ ด เลขได้ โดยกดเครื่ อ งคิ ด เลข ตัวอย่างที่ 8 จงหาผลลัพธ์ [(-9 × 15) + (-21)] ÷ (-12)
ี �ำ [(-9 × 15) + (-21) ÷ (-12) = [-135 + (-21)] ÷ (-12)
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1) 17 × (-9)
พ ร
วิธท

ยแ = -156 ÷ (-12)
1 7 × 9 +/-


=
เ ผ = 13

2) 5 × 5
ห า
้ า
่ ย
ตอบ 13

5 × 5
.ท จ้าหน
=
ตัวอย่างที่ 9 ห้องห้องหนึ่งมีอุณหภูมิของอากาศภายในห้องเป็น 30 องศา
สว รือ
หรือ 5 × =

ย ส ห เซลเซียส ต้นอ้อรู้สึกร้อนจึงเปิดเครื่องปรับอากาศ โดยตั้งอุณหภูมิไว้ที่ 23 องศา



ิธ์โด ปลง
เซลเซียส เมื่อเวลาผ่านไป 14 นาที อุณหภูมิของอากาศภายในห้องจึงเท่ากับ
3) (-45) ÷ (-5)
ท้า
อุณหภูมิที่ต้นอ้อตั้งไว้ อยากทราบว่าอุณหภูมิของอากาศภายในห้องที่ลดลงซ
4 5 +/-
ส÷ิท ัดแ 5 +/- =
ร ่
1 องศาเซลเซียส ใช้เวลาโดยเฉลี่ยนานเท่าไร

ว น ด วิธท
แพ
ี �ำ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของอากาศภายในห้อง คือ 30 – 23 = 7
สสืง่อเสริม องศาเซลเซียส
เ ผ ย
เพิ่มความรู้ ้หาม น่าย
และอากาศภายในห้องใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ 14 นาที

. จ้าห
จะได้ว่า อุณหภูมิของอากาศภายในห้องที่ลดลง 1 องศาเซลเซียส

นักเรียนสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบวก
ส ว รือ
ใช้เวลาโดยเฉลี่ย 14 ÷ 7 = 2 นาที
ลบ คูณ และหารจำ�นวนเต็มเพิม
่ เติมได้ท่ี ตอบ 2 นาที
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
goo.gl/xThL3t

ส ิท ัดแ
งวน ด
ตัวอย่างที ่ 10 ทิวเมฆต้องการทราบอุณหภูมิเฉลี่ยของวันนี้ เขาจึงหาข้อมูล และพบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยในแต่ละวันหาได้จาก
การนำ�ผลรวมของอุณหภูมส
ิ งู สุดและต่�ำ สุดในวันนัน ส
้ ๆ หารด้วยสอง และวันนีอ
้ ณ
ต่ำ�สุดเป็น -4 องศาเซลเซียส อยากทราบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของวันนี้เป็นเท่าไร
ุ หภูมส
ิ งู สุดเป็น 2 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิ

วิธท
ี �ำ เนื่องจาก อุณหภูมิเฉลี่ยในแต่ละวันหาได้จากการนำ�ผลรวมของอุณหภูมิสูงสุดและต่ำ�สุดในวันนั้น ๆ หารด้วยสอง
และอุณหภูมิสูงสุดและต่�ำ สุดของวันนี้เป็น 2 และ -4 องศาเซลเซียส ตามลำ�ดับ
จะได้ อุณหภูมิเฉลี่ยของวันนี้เป็น [2 + (-4)] ÷ 2 = -1 องศาเซลเซียส
ตอบ -1 องศาเซลเซียส

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 51

แบบฝึกหัด 1.5
1. จงหาผลหาร
1) 75 ÷ 5 2) 880 ÷ 22
3) 0 ÷ 2 4) -10 ÷ 1
ซา

่ ทา้
5) -150 ÷ (-1) 6) (-27) ÷ 9
7) 56 ÷ (-8)
พ ร 8) 10,000 ÷ (-100)
9) (-196) ÷ (-14)
ย แ 10) -2,250 ÷ (-25)
11) [ ]
(-100) ÷ (-2) ÷ 10
มเ ผ 12) (-25 ÷ 5) ÷ 5
13) -300 ÷ (-35 ÷ 7)
]ห า
้ า
่ ย [ 14) (-450) ÷ (-90) ÷ (-3)]
15) [ ] [
.ท จ้าหน
(-144) ÷ 3 ÷ (-78) ÷ (-13)

สว รือ
] ยส
2. จงหาผลลัพธ์
1) [ 10 × (-6) ÷ 4
ด ง ห [ ] 2) (-54) + (-9) ÷ 7


ธ ิ์โ
3) (-200) ÷ (13 – 53)
ป ล [ 4) 169 ÷ 47 + (-60)]
ท้า ซ
[ ิท ] แ ร ่
5)
น ส ด

225 ÷ (-15) ∙ (-3)

[ ] 6) (-81) ÷ (-3) – (-23)


7) -21 + (-440 ÷ 11)
สง
[ ] แ
8) -1 (-322) ÷ (-14)

เ ผ
3. จงหาจำ�นวนเต็มที่เติมลงใน แล้วทำ�ให้ประโยคเป็นจริง
้หาม น่าย
1) ÷7 = 4
. จ้าห
2) 350 ÷

= 14
3) 17 ÷ = 17 4)
ส ว รือ
÷ 1 = -17
5) ÷ 1 = -1
ย ส ห
6) (-1) ÷ = 1

ิธ์โด ปลง
7) -100 ÷ = -10 8) ÷ (-20) = 40
9) ÷ (-9) = 16 10) -225 ÷ = -9

ส ิท ัดแ
วน ด
สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
52 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

4. ให้ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็ม ซึ่งปรากฏบนเส้นจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้


ถ้า c = a ÷ b แล้ว c อยู่ในตำ�แหน่งที่สมเหตุสมผลหรือไม่ ถ้าไม่สมเหตุสมผล จงหาว่า c ควรอยู่ที่ต�ำ แหน่งใด
1)
b a c

ซา

2)
ร ่ ทา้
แพ a b c

เ ผ ย
3)
้หาม น่าย
c b a

ท. จ้าห
สว รือ
4)

ย ส ห a b c


ิธ์โด ปลง ท้า ซ
5)
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด c a b
แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
เกร็ดน่ารู้ ท. จ้าห
5. เมื่อเวลา 9 นาฬิกา จุ๊บแจงได้แล่นเรือออกไปทำ�งานยังเกาะแห่งหนึ่ง

ส ว รือ
เขาสังเกตว่าในขณะทีอ่ อกไปนัน
้ น้�ำ ทะเลอยูใ่ นระดับเดียวกับท่าเทียบเรือพอดี

ส ห
แต่เมื่อจุ๊บแจงกลับมาจากเกาะในเวลา 15 นาฬิกา ปรากฏว่าน้�ำ ทะเลอยู่

ิธ์โด ปลง
น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่ระดับ -6 เมตร จากท่าเทียบเรือ เขาจึงต้องนำ�บันไดมาพาดเพื่อขึ้นจาก
ทีเ่ กิดขึน
้ จากแรงโน้มถ่วงทีก
่ ระทำ�ระหว่างโลก เรือ อยากทราบว่า ในช่วงเวลา 9 นาฬิกา ถึง 15 นาฬิกา น้ำ�ทะเล
ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ซึ่งในวันหนึ่ง ๆ
ส ิท ัดแ
เพิ่มขึ้นหรือลดลงเฉลี่ยกี่เมตรต่อชั่วโมง
จะเกิดน้�ำ ขึ้น 2 ครั้ง และน้�ำ ลง 2 ครั้ง

งวน ด

6. มีส้มอยู่สามสายพันธุ์ สายพันธุ์ที่หนึ่งมี 48 ผล สายพันธุ์ที่สองมี 60 ผล
และสายพันธุ์ที่สามมี 84 ผล ถ้าต้องการแบ่งส้มออกเป็นกอง กองละ
เท่า ๆ กัน ให้แต่ละกองมีจำ�นวนส้มมากที่สุด โดยที่ส้มแต่ละสายพันธุ์
ไม่ปนกัน และไม่เหลือเศษ จะแบ่งส้มได้กี่กอง กองละกี่ผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 53

7. การเดินทางจากเมือง ก ไปเมือง ข ไปได้สามเส้นทาง ในแต่ละวันนายท่าจะปล่อยรถโดยสารออกพร้อมกันทั้งสาม


เส้นทางเมื่อเวลา 07:30 น. และจะปล่อยรถโดยสารแต่ละเส้นทางในครั้งต่อไปดังนี้
เส้นทางที่ 1 รถออกทุก 30 นาที
เส้นทางที่ 2 รถออกทุก 40 นาที
ซา

่ ทา้
เส้นทางที่ 3 รถออกทุก 50 นาที


จงหาว่านายท่าจะปล่อยรถโดยสารทั้งสามเส้นทางพร้อมกันครั้งต่อไปในเวลาใด

ยแ

8. กราฟต่อไปนี้แสดงอุณหภูมิต่ำ�สุด และอุณหภูมิสูงสุดในสัปดาห์หนึ่งของหมู่บ้านแห่งหนึ่ง

้หาม น่าย 6

ท. จ้าห
สว รือ 4
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

อุณหภูมิ

ย ส ห 2
สูงสุด


ิธ์โด ปลง 0

ท้า ซ
ส ิท ัดแ -2
ร ่ อุณหภูมิ

ว น ด -4
แพ ต่ำสุด

สง -6
เ ผ ย
้หาม น่าย
อังคาร

พุธ

พฤหัสบดี
อาทิตย�

จันทร�

ศุกร�

เสาร�

ท. จ้าห
จากกราฟ จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
ส ว รือ
1) ในสัปดาห์นี้ มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยเป็นเท่าไร
ย ส ห เกร็ดน่ารู้
2) ในสัปดาห์นี้ มีอุณหภูมิต�่ำ สุดเฉลี่ยเป็นเท่าไร
ิธ์โด ปลง
3) วันศุกร์มีอุณหภูมิเฉลี่ยเป็นเท่าไร
ส ิท ัดแ อุ ณ หภู มิ ข องอากาศนั้ น เปลี่ ย นไปใน
4) อุณหภูมิเฉลี่ยของวันใดสูงที่สุด
งวน ด ทุกเวลา ขึน
้ อยูก่ บ
ั การตกกระทบของแสงจาก

5) อุณหภูมิเฉลี่ยของสัปดาห์นี้เป็นเท่าไร
ส ดวงอาทิตย์บนพืน

้ โลก
สำ�หรับการหาอุณหภูมเิ ฉลีย่ ของอากาศ
ในแต่ละเดือน ทำ�ได้โดยการนำ�อุณหภูมเิ ฉลีย่
ในแต่ละวันของเดือนนัน
้ มารวมกัน แล้วหาร
ด้วยจำ�นวนวันในเดือนนัน
้ ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
54 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ชวนคิด 1.17



หากนักเรียนต้องหาค่าของ 5 + 5 × 5 – 5 ÷ 5 นักเรียนจะได้ค�ำ ตอบเป็นเท่าไร และคำ�ตอบที่ได้นั้น ตรงกับ

่ ทา้
เพื่อน ๆ หรือไม่


โดยปกติ เมื่อมีการบวก ลบ คูณ หรือหาร ระคนกัน เรานิยมใช้วงเล็บช่วยในการกำ�หนดลำ�ดับของการคำ�นวณ


เพื่อให้ได้ค�ำ ตอบเดียว ในกรณีที่ไม่มีการกำ�หนดวงเล็บมาให้ เราใช้หลักการที่ตกลงกันดังนี้


✤ ถ้ามีการคูณ หรือหาร ให้ท�ำ เป็นลำ�ดับแรก โดยทำ�จากซ้ายไปขวา

้หาม น่าย
✤ ถ้ามีการบวก หรือลบ ให้ท�ำ เป็นลำ�ดับถัดมา โดยทำ�จากซ้ายไปขวา
เช่น 5 + (-14) – 9 = (-9) – 9

ท. จ้าห
= -18
สว รือ
ย ส ห
(-64) ÷ (-8) × 2 = 8 × 2



ิธ์โด ปลง
= 16
100 + (-25) × 2 ÷ (-5) – 36 = 100 + (-50) ÷ (-5) – 36
ท้า ซ

ส ิท ัดแ = 100 + 10 – 36
ร ่

ว น ด = 74
แพ
สง
ดังนั้น 5 + 5 × 5 – 5 ÷ 5 จึงได้คำ�ตอบเป็น 29
เ ผ ย
้หาม น่าย
จงหาค่าของ
ท. จ้าห
1) 5 – (-14) + 9
ส ว รือ
2) (-12) × 4 ÷ (-6)
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
3) 10 × (-7) + 100 ÷ (-4)
4) 50 – (-8) × (-3) ÷ 4 + 11

ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 55

1.6 สมบัติของการบวกและการคูณจำ�นวนเต็ม

ในทางคณิตศาสตร์ มีสมบัติของการบวกและการคูณจำ�นวนเต็ม ดังนี้

ซา

่ ทา้
สมบัติการสลับที่

พ ร
✤ เมือ

่ นำ�จำ�นวนเต็มสองจำ�นวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวบวกได้ โดยที่ผลบวกยังคงเท่ากัน เช่น

1) 10 + 9 = 19
เ ผ
และ 9 + 10 = 19
2) 7 + (-5) = 2
3) (-14) + 5 = -9
้หาม น่าย
และ
และ
(-5) + 7 = 2
5 + (-14) = -9
4) (-2) + (-6) = -8
ท. จ้าห และ (-6) + (-2) = -8
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง เมื่อ a และ b เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ
ท้า ซ
ส ิท ัดแ a + b = b + a
ร ่
ว น ด สมบัตินี้เรียกว่า สมบัตก
ิ ารสลับทีส
แพ
่ �ำ หรับการบวก

สง (commutative property for addition)


เ ผ ย
้หาม น่าย

ท . จ้าห
เมื่อนำ�จำ�นวนเต็มสองจำ�นวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและตัวคูณได้ โดยที่ผลคูณยังคงเท่ากัน เช่น
1) 5 × 8 = 40 และ 8 × 5 = 40
ส ว รือ
2) 3 × (-4) = -12 และ (-4) × 3 = -12
ย ส ห
3) (-11) × 2 = -22 และ
ิ์โ ด
2 × (-11) = -22
ล ง ข้อควรระวัง
4) (-6) × (-5) = 30 และ ธ
ิท ัดแ
(-5) × (-6) = 30 ป
น ส ด สมบัติการสลับที่เป็นจริงสำ�หรับการบวก

ส งว
เมื่อ a และ b เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ
และการคูณเท่านัน
นัน
้ สำ�หรับการลบและการหาร
้ ไม่มสี มบัตก
ิ ารสลับที่ กล่าวคือ เมือ
่ a และ
a × b = b × a b เป็นจำ�นวนเต็ม
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัตก
ิ ารสลับทีส
่ �ำ หรับการคูณ a – b อาจไม่เท่ากับ b – a
(commutative property for multiplication) และ a ÷ b อาจไม่เท่ากับ b ÷ a

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
56 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

สมบัติการเปลี่ยนหมู่

✤ เมื่อนำ�จำ�นวนเต็มสามจำ�นวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถบวกจำ�นวนเต็ม


ข้อสังเกต คู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้ โดยที่ผลบวกสุดท้ายยังคงเท่ากัน เช่น
1) (1 + 2) + 3 = 6
ซา
้ และ 1 + (2 + 3) = 6

่ ท้า
เนื่องจาก (a + b) + c = a + (b + c) 2) [2 + (-9)] + 1 = -6 และ 2 + [(-9) + 1] = -6
ดั ง นั้ น การหาผลลั พ ธ์ ข อง a + b + c
สามารถทำ�ได้โดยไม่จ�ำ เป็นต้องเขียนวงเล็บ
[ แพ]
ร 3) (-5 + 6) + (-4) = -3 และ -5 + [6 + (-4)] = -3
4) -3 + (-4) + (-8) = -15 และ -3 + [(-4) + (-8)] = -15

ผ ย
้หามเ น่าย เมื่อ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ

ท. จ้าห (a + b) + c = a + (b + c)

สว รือ สมบัตินี้เรียกว่า สมบัตก


ิ ารเปลีย
่ นหมูส
่ �ำ หรับการบวก

ย ส ห (associative property for addition)




ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ เมือ
ร ่
่ นำ�จำ�นวนเต็มสามจำ�นวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถคูณจำ�นวนเต็มคูแ่ รก
ข้อวสันงเกต ด พ

สง ยแ
หรือคู่หลังก่อนก็ได้ โดยที่ผลคูณสุดท้ายยังคงเท่ากัน เช่น
1) (3 × 4) × 5 = 60
มเ ผ และ 3 × (4 × 5) = 60
[ ย ]
เนื่องจาก (a × b) × c = a × (b × c) [ ] 2) 8 × (-5) × 1 = -40
[ ] หา
้ น่าและ 8 × (-5) × 1 = -40

] ท. [ห
ดั ง นั้ น การหาผลลั พ ธ์ ข อง a × b × c 3) -2 × 3 × (-4) = 24 และ (-2 × 3) × (-4) = 24
สามารถทำ�ได้โดยไม่จ�ำ เป็นต้องเขียนวงเล็บ [
ว จ า

4) (-5) × (-6) × (-7) = -210 และ ] (-5) × (-6) × (-7) = -210

ส ส หรือ
ิธ์โ ด ย ล ง
เมื่อ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ

ิสท ัดแป (a × b) × c = a × (b × c)

ข้อควรระวัง
งวน ด
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัตก
ิ ารเปลีย
่ นหมูส
่ �ำ หรับการคูณ
(associative property for multiplication)

สมบั ติ ก ารเปลี่ ย นหมู่ เ ป็ น จริ ง สำ � หรั บ



การบวกและการคูณเท่านัน
้ สำ�หรับการลบ
และการหารนั้น ไม่มีสมบัติการเปลี่ยนหมู่
กล่าวคือ เมื่อ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็ม
a – (b – c) อาจไม่เท่ากับ (a – b) – c
และ a ÷ (b ÷ c) อาจไม่เท่ากับ (a ÷ b) ÷ c

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 57

ถ้านักเรียนต้องการหาผลลัพธ์ของปัญหาบางปัญหาให้ง่ายขึ้น นักเรียนอาจใช้สมบัติการเปลี่ยนหมู่ช่วยในการคำ�นวณ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวก 899 + 96


899 + 96 = [900 + (-1)] + 96
วิธท
ี �ำ
ซา

่ ทา้
= 900 + [(-1) + 96] ชวนคิด 1.18
= 900 + 95
พ ร
= 995
ยแ ลองหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ โดยใช้การคิด
ตอบ 995
เ ผ ในใจ

้หาม น่าย
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณ 35 × (-4)


1) 198 + 202
2) 202 + 299

วิธท
ี �ำ
ท. จ้าห
35 × (-4) = (7 × 5) × (-4) 3) (-256) – 457

สว [ รือ ] 4) 18 × 5
= 7 × 5 × (-4)

ย ส ห 5) 15 × (-6)


ิธ์โด ปลง
= 7 × (-20)
= -140
6) (-55) × 4

ท้า ซ
ตอบ -140
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สมบัสตงิการแจกแจง ผ ย

้หาม น่าย
. จ้าห
สมบัติการแจกแจง เป็นสมบัติที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

] สว
1) 10 × (7 + 1) = 80 และ (10 × 7) + (10 × 1) = 80
2) 2 × [(-3) + 4] = 2 และ [
ส รือ
2 × (-3) + (2 × 4) = 2



3) (-6) × [4 + (-5)] = 6
4) (-3) × [(-2) + (-3)] = 15 ด ย[ ]

และ (-6 × 4) + -6 × (-5) = 6
และ [ ธิ์โ ] [ ปล ]
(-3) × (-2) + (-3) × (-3) = 15

ส ิท ัดแ
งวน
เมื่อ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ
ด ข้อสังเกต

a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัตก
ิ ารแจกแจง (distributive property) จากสมบัติการแจกแจง
a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
เมื่ อ ใช้ ส มบั ติ ก ารสลั บ ที่ สำ � หรั บ การคู ณ
ทำ�ให้ได้ว่า
(b + c) × a = (b × a) + (c × a)
ซึ่งก็เป็นสมบัติการแจกแจงอีกแบบหนึ่ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
58 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลคูณ 99 × (-18)


ชวนคิด 1.19 วิธท
ี �ำ 99 × (-18) = (100 – 1) × (-18)
= [100 + (-1)] × (-18)
= [100 × (-18)] + [(-1) × (-18)]
จงหาค่าของ (-3)(2 – 4)
= (-1,800) + 18
ซา

่ ทา้
= -1,782

พ ร ตอบ -1,782

ยแ
เ ผ ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลัพธ์ [(-3) × 5] + [(-3) × (-7)]

้หาม [ น่า]ย [วิธท


ี �ำ

(-3) × 5 + (-3) × (-7)] = (-3) × [5 + (-7)]
= (-3) × (-2)

ท. จ้าห = 6
สว รือ
ย ส ห ตอบ 6



ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ต้องจ่ายเท่าไร ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ข้าวกล้อง เมื่อวานเราพาคุณยายยุพินไปตลาด
ท. จ้าห
ว รือ
คุณยายซื้อทุเรียนมาผลหนึ่ง หนัก 2 กิโลกรัม กับอีก 8 ขีด

ส ห
แม่ค้าคิดราคารวดเร็วมากเลย นี่ขนาดไม่มีเครื่องคิดเลขนะ


ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ เอ... แล้วแม่ค้าคิดยังไงกันนะ ถึงได้รวดเร็ว

งวน ด ข้าวหอมได้ถามวิธีคิดจากแม่ค้ามาไหม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 59

ถามจ้ะ แม่ค้าบอกว่าทุเรียนที่คุณยายซื้อ ราคากิโลกรัมละ 80 บาท


ถ้าคิดเป็นขีด จะได้ขีดละ 8 บาท แม่ค้าเลยคิดราคาจากทุเรียนหนัก
3 กิโลกรัม แล้วหักออกด้วยราคาของทุเรียน 2 ขีด

ทุเรียน 3 กิโลกรัม
ซา

ราคา 3 × 80 = 240 บาท

่ ทา้
ทุเรียน 2 ขีด ราคา 2 × 8 = 16 บาท


จึงได้ราคาทุเรียนเป็น 240 – 16 = 224 บาท

ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
ท. จ้าห ถ้าเป็นข้าวกล้องจะคิดจากราคาทุเรียนหนัก 2 กิโลกรัม

สว รือ รวมกับราคาทุเรียนหนัก 8 ขีด

ย ส ห ทุเรียน 2 กิโลกรัม ราคา 2 × 80 = 160 บาท



ิธ์โด ปลง
ทุเรียน 8 ขีด ราคา 8 × 8 = 64 บาท
จึงได้ราคาทุเรียนเป็น 160 + 64 = 224 บาท
ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ว รือ
ก็ได้ข้าวกล้อง หรือจะคิดราคาจากนํ้าหนักของทุเรียนเป็นขีด

ก็ได้เหมือนกันนะ แบบนี้ไง

ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ทุเรียน 2 กิโลกรัม กับอีก 8 ขีด
คิดเป็นทุเรียน 28 ขีด

ส ิท ัดแ
ทุเรียน 28 ขีด ราคา 28 × 8 = 224 บาท

งวน ด
ส แล้วเพื่อน ๆ ล่ะครับ
มีวิธีคิดราคาทุเรียนผลนี้แบบอื่นกันอีกไหม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
60 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

สมบัติของหนึ่งและศูนย์

✤ การคูณกันระหว่างจำ�นวนเต็มใด ๆ กับ 1 จะได้ผลคูณเท่ากับจำ�นวนนั้น เช่น


1) 30 × 1 = 30 และ 1 × 30 = 30
2) 0 × 1 = 0 และ 1×0 = 0
ซา

่ ทา้
3) (-28) × 1 = -28 และ 1 × (-28) = -28

พ ร
ยแ ถ้า a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ แล้ว

เ ผ a×1 = a = 1×a
้หาม น่าย
ท. จ้าห
จากความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร จะได้ข้อสังเกตเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 1 ดังต่อไปนี้
สว รือ

ส ห
ถ้า a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ แล้ว a ÷ 1 = a

ย า

ิธ์โด ปลง
◆ ถ้า a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ ที่ a ≠ 0 แล้ว a ÷ a = 1

ท้า ซ
ส ิท ัดแ
การบวกกันระหว่างจำ�นวนเต็มใด ๆ กับ 0 จะได้ผลบวกเท่ากับจำ�นวนนั้น เช่น
ร ่
น ด พ

สงว
1) 20 + 0 = 20 และ 0 + 20 = 20
ยแ
2) (-15) + 0 = -15 และ 0 + (-15) = -15
เ ผ
3) 0 + 0 = 0
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
เมื่อ a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ
ส ห
a+0 = a = 0+a

ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
การคูณกันระหว่างจำ�นวนเต็มใด ๆ กับศูนย์ จะได้ผลคูณเท่ากับศูนย์ เช่น

1) 18 × 0 = 0 และ
งวน
0 × 18 = 0 ด
2) (-55) × 0 = 0
3) 0 × 0 = 0
และ ส
0 × (-55) = 0

เมื่อ a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ
a×0 = 0 = 0×a

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 61

จากความสั ม พั น ธ์ ข องการคู ณ และการหาร จะได้ ข้ อ สั ง เกตเพิ่ ม เติ ม


เกี่ยวกับ 0 ดังต่อไปนี้ ชวนคิด 1.20
◆ ถ้า a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 แล้ว 0 ÷ a = 0
1) ถ้า 0 ÷ 0 = a แล้วจะเขียนในรูป
ถ้า a เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 จะเห็นว่า มีเพียง 0
ซา
้ การคูณได้อย่างไร

่ ท้า
จำ�นวนเดียวเท่านั้น ที่ a × 0 = 0 และ 0 × a = 0 ทำ�ให้ได้ว่า 2) จงหา a ที่ท�ำ ให้ 0 × a = 0 เป็นจริง

พ ร 3) a ที่ ห าได้ จ ากข้ อ 2) มี ม ากกว่ า



ถ้าผลคูณของจำ�นวนเต็มสองจำ�นวนใดเท่ากับศูนย์ จำ�นวนใดจำ�นวนหนึ่ง

หนึ่งจำ�นวนหรือไม่


4) ถ้า a เป็นคำ�ตอบของ 0 ÷ 0 แล้วจะ
อย่างน้อยหนึ่งจำ�นวนต้องเป็นศูนย์

้หาม น่าย
หา a ที่แน่นอนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
5) จงหา 8 ÷ 0 โดยการหา b ที่ท�ำ ให้

. จ้าห
เมื่อ a และ b เป็นจำ�นวนเต็มใดๆ ที่ a × b = 0

0×b = 8

สว รือ
แล้วจะได้ a = 0 หรือ b = 0 6) มีค�ำ ตอบของ 8 ÷ 0 หรือไม่

ย ส ห เพราะเหตุใด



ิธ์โด ปลง
7) การหารจำ�นวนใด ๆ ด้วย 0 เกิดปัญหา
อย่างไรบ้าง
ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
62 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

แบบฝึกหัด 1.6

1. จงหาผลลัพธ์
1) (-420) ∙ [39 + (-40)] 2) [(-27) – (-27)] × (-582)
3)
ซา

[(-24) – (-24)] ÷ (-50) 4) 199 ÷ [17 + (-18)]



่ ทา้
5) (-23 × 10) + (22 × 10)
[(-9)(-5)] – [(-9)(-12)]
6) (-4 × 13) – (9 × 13)

แพ 7) 8) 97 × 15

เ ผ ย 9) -12 × 198 10) (-496) × (-25)

ชวนคิด 1.21 ้หาม น่าย 2. จงหาจำ�นวนเต็มที่เติมลงใน แล้วทำ�ให้ประโยคเป็นจริง

ท. จ้าห 1) 33 + (-66) = (-66) +



สว รือ
พชรซื้อสินค้าชิ้นหนึ่ง ราคา 234 บาท 2) × (-26) = (-26) × 20
ส ห
เมื่ อ เขาชำ � ระสิ น ค้ า ด้ ว ยธนบั ต รฉบั บ ละ

3) (-5 + ) + 32 = -5 + (-17 + 32)


ิธ์โด ปลง
500 บาท 1 ใบ แม่ค้าทอนเงินให้เขาเป็น 4) (-123) ÷ = -123
× [12 × (-7)]
ท้า ซ
ิท ัดแ
ลำ�ดับ ดังนี้


แม่ค้าทอนเงินให้เขาก่อน 6 บาท

5) (-11 × 12) × (-7) =
ร ่
ว น 6) (-72) × = 0
แพ
สง
แล้วพูดว่า “240”
✤ แม่ค้าทอนเงินให้อีก 60 บาท
[
7) (-100 – ) ÷ 99 = 0
] เ ผ ย
้หา[ ม ]น่าย
แล้วพูดว่า “300” 8) × 65 + (-64) = -104
✤ สุดท้ายแม่ค้าทอนเงินให้อีก 200 9) [ ]
14 + (-10) + = 14 + -7 + (-10)
บาท แล้วพูดว่า “ขอบใจจ้ะ” 10) [ ]
ท. [

้ ห ] [
(-13) + (-20) × (-20) = (-20) × (-13) + (-20) ×
]ว จ
]
จากข้อมูลข้างต้น นักเรียนได้เรียนรูอ้ ะไรบ้าง
[
[
] [ส ส
11) -15 × (-4) + 6 = 60 +
] ห รอ

12)

5 × (-8) – (-9) × (-8) = (5 +

ิธ์โด ปลง
) × (-8)

ิท ัดแ
3. น้ำ�เย็นซื้อกุ้งฝอยราคากิโลกรัมละ 100 บาท มา 3 กิโลกรัม กับอีก 4 ขีด น้�ำ เย็นจะมีวิธีคิดราคากุ้งฝอยได้อย่างไรบ้าง

งวน ด

4. ปูนปั้นขายเสื้อราคาตัวละ 99 บาท และขายกางเกงราคาตัวละ 199 บาท ถ้ามีลูกค้ามาซื้อเสื้อ 3 ตัว และกางเกง
4 ตัว ปูนปั้นจะมีวิธีคิดราคาเสื้อและกางเกงได้อย่างไรบ้าง

5. พริกหวานต้องการซื้อนมไปบริจาค 18 ลัง ราคาลังละ 250 บาท พริกหวานจะมีวิธีคิดราคานมได้อย่างไรบ้าง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 63

ตรวจสอบความเข้าใจ

รายการ
ซา

่ ทา้
สบายมาก ขอทบทวนอีกนิด
1. การเปรียบเทียบจำ�นวนเต็ม
พ ร
ยแ
2. การบวกจำ�นวนเต็ม
เ ผ
3. การลบจำ�นวนเต็ม ้หาม น่าย
ท. จ้าห
4. การคูณจำ�นวนเต็ม
สว รือ
5. การหารจำ�นวนเต็ม
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
6. การนำ�สมบัติของการบวกและการคูณจำ�นวนเต็มไปใช้
ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง สรุปท้ายบท เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห

ส ว รือ
จำ�นวนเต็ม ประกอบด้วย จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มลบ และศูนย์ โดยทีศ
่ น
ู ย์เป็นจำ�นวนเต็มทีไ่ ม่ใช่จ�ำ นวนเต็มบวก
และไม่ใช่จ�ำ นวนเต็มลบ
ย ส ห
✤ การบวกจำ�นวนเต็ม ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด
1. การบวกจำ�นวนเต็มบวกด้วยจำ�นวนเต็มบวก ทำ�โดยใช้หลักการเดียวกับการบวกจำ�นวนนับด้วยจำ�นวนนับ
2. การบวกจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบ ให้น�ำ ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเต็มลบทั้งสองจำ�นวนมาบวกกัน แล้วตอบ
เป็นจำ�นวนเต็มลบ ส
3. การบวกกันของจำ�นวนเต็มบวกกับจำ�นวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์ไม่เท่ากัน ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วย
ค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็มชนิดเดียวกับจำ�นวนเต็มที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า

✤ การลบจำ�นวนเต็ม ให้เขียนการลบในรูปของการบวก แล้วจึงหาผลบวกของจำ�นวนเต็ม


ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำ�นวนตรงข้ามของตัวลบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
64 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

✤ การคูณจำ�นวนเต็ม
1. การคู ณ จำ � นวนเต็ ม บวกด้ ว ยจำ � นวนเต็ ม บวก คื อ การคู ณ จำ � นวนนั บ ด้ ว ยจำ � นวนนั บ ซึ่ ง ได้ ผ ลคู ณ เป็ น
จำ�นวนเต็มบวก



2. การคูณกันของจำ�นวนเต็มบวกกับจำ�นวนเต็มลบ ได้ผลคูณเป็นจำ�นวนเต็มลบ ที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของ

่ ทา้
ค่าสัมบูรณ์ของสองจำ�นวนนั้น


3. การคูณจำ�นวนเต็มลบด้วยจำ�นวนเต็มลบ ได้ผลคูณเป็นจำ�นวนเต็มบวก ที่มีค่าเท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของ

สองจำ�นวนนั้น
ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
✤ การหารจำ�นวนเต็ม
1. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำ�นวนเต็มบวกทั้งคู่ ใช้วิธีเดียวกับการหารจำ�นวนนับด้วยจำ�นวนนับ ซึ่งได้ผลหารเป็น
จำ�นวนเต็มบวก
ท. จ้าห
สว รือ
2. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำ�นวนเต็มลบทั้งคู่ ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วตอบ
เป็นจำ�นวนเต็มบวก
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง
3. ถ้าตัวตั้งหรือตัวหาร ตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำ�นวนเต็มลบ โดยที่อีกตัวหนึ่งเป็นจำ�นวนเต็มบวก ให้นำ�ค่าสัมบูรณ์ของ

ท้า ซ
ิท ัดแ
ตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วตอบเป็นจำ�นวนเต็มลบ
ส ร ่
น ด
4. ในการหาร ตัวหารต้องไม่เป็น 0
ว แพ

สง
สมบัตข
เ ผ ย
ิ องการบวกและการคูณจำ�นวนเต็ม เมื่อ a, b และ c เป็นจำ�นวนเต็มใด ๆ มีดังนี้
1. สมบัติการสลับที่
้หาม น่าย
a + b = b + a
ท. จ้าห
a × b = b × a
ส ว รือ
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
(a + b) + c = a + (b + c)
(a × b) × c = a × (b × c)
3. สมบัติการแจกแจง
ส ิท ัดแ
a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
งวน ด
4. สมบัติของหนึ่งและศูนย์
a × 1 = a = 1 × a

a + 0 = a = 0 + a
a × 0 = 0 = 0 × a
0 ÷ a = 0 เมื่อ a ไม่เท่ากับ 0
ถ้า a × b = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 65

กิจกรรมท้ายบท : นักขุดเพชร

ช่วยผมหาทางไปเจอเพชรเม็ดใหญ่ โดยที่ผมมีวิธีในการเลือกเส้นทางดังนี้

✤ ผมจะไม่เดินซํ้าเส้นทางเดิม
ซา

✤ ทุกครั้งที่เจอทางแยก ผมจะเลือกเส้นทางที่ให้ค�ำ ตอบน้อยที่สุด
20 ฟ้า

่ ทา้
อ้อ! ถ้าหาทางให้ผมได้แล้ว ช่วยนำ�คำ�ตอบที่ได้ไปจับคู่กับคำ�ที่อยู่ด้านข้าง 19 ไก่


แล้วจะพบรหัสคำ�ที่สามารถสร้างเป็นข้อความแทนความในใจจากผม 18 ผลัก

แพ 17 แก้ว

เ ผ ย 16 โจร
15 ครั้ง

้หาม น่าย
14 ไป
13 180
12 เดียว

ท. จ้าห 11 จู

สว รือ 10 กด

ย ส ห 9 ปิด
8 เล่น


ิธ์โด ปลง ซ
7 ไม่

ท้า
6 กับ

ส ิท ัดแ ร ่ 5 ปล้น

ว น ด แพ 4 ดวง
3 ฝน

สง เ ผ ย 2 เปิด
1 พนัน

้หาม น่าย 0 ลิฟต์


-1 1

ท. จ้าห -2 โหล

ส ว รือ -3 เช่น
-4 ถ้า

ย ส ห -5 นี

ิธ์โด ปลง
-6 500
-7 ลัด

ส ิท ัดแ -8 เป็น
-9 สูญ

งวน ด -10 ไฟ
-11 เท่า
ส -12 ออน
-13 บ้าน
-14 อ๊อฟ
-15 พัน
-16 ใส่
-17 เทียน
-18 12
-19 แทบ
-20 ไหม้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
66 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

แบบฝึกหัดท้ายบท

1. จงหาผลลัพธ์
1) (-35) – [(-14) + (-82)]
ซา
้ 2) 99 + (-33) – (-66)
มุมเทคโนโลยี


่ ทา้ ]
3) (-21) ∙ [(-22) + 23
5) -10[54 ÷ (-27)](-1)
4) [(-30) – (-90)] ÷ (-12)
[22 ∙ (-4)] ÷ [24 + (-16)]
[ พ
แ] [

5 – (-3) × (-8) ÷ 2]
6)
นักเรียนสามารถดาวน์โหลดไฟล์ GSP
[ เผ
ย ]
7)
(8 – 5) × (-2) + [(-27) ÷ (-3)]
8) 5 – (-3) × (-8) ÷ 2

้หาม น่าย
เพื่อฝึกทำ�โจทย์การบวก ลบ คูณ และหาร 9)
จำ�นวนเต็มเพิม
่ เติมได้ท่ี goo.gl/KH8KSK 10) 8 – 5 × (-2) + (-27) ÷ (-3)

ท. จ้าห
สว รือ 2. จงหาจำ�นวนเต็มที่เติมลงใน แล้วทำ�ให้ประโยคเป็นจริง

ย ส ห[ ] 1) (-22 – ) + 12 = 0


ิธ์โด ปลง 2) – (-16) × (-4) = -120

ท้า ซ
ส ิท ัดแ 3) (-990) ÷ 30 = 13 +
ร ่
งว น ด 4) × (-2) = (-480) ÷ 20
แ พ]
ส [
[
] 5) 25 – (-39) ÷
] [
[ ย
= (-4) × (-56) ÷ (-14)
]ผ

้หาม น่าย
6) ∙ (-17) – (-7) = 42 + (-2) ÷ (-4)
[ ]
7) 600 ÷ (-53) + 47 = (-1) +
8) (-14) +
ท. [

้ ห ]
× (-2) = 20 × (-35) + 34
]ว จ
[

9) -8 (-88) – (-88) =
ส ห ร อ
ื + 1 × (-88)

เกร็ดน่ารู้
10)

– (-72) ÷ 18 + (-16) = 0 × (-19) + 35 ÷ (-7)

ิธ์โด ปลง
ิท ัดแ
3. นางเปรมปรีดิ์มีลูกชายสามคน คือ ข้าวกล้อง ข้าวเปลือก และข้าวปั้น

วั น ที่ 14 เมษายน ของทุ ก ปี เ ป็ น
งวน ด
ลูกชายทั้งสามคนทำ�งานแล้ว และแยกไปอยู่ต่างหาก แต่ทุกคนจะแวะมา

“วันครอบครัว” คนไทยจะนิยมกลับบ้านเกิด
เพือ
่ ไปรดน้�ำ ดำ�หัวและขอพรจากญาติผใู้ หญ่
ส เยี่ ย มแม่ เ สมอ โดยตกลงกั น ว่ า ข้ า วกล้ อ งจะมาเยี่ ย มแม่ ทุ ก 4 วั น
ข้าวเปลือกจะมาเยีย
่ มแม่ทก
ุ 5 วัน และข้าวปัน
้ มาเยีย
่ มแม่ทก
ุ 6 วัน ถ้าลูก
ทัง้ ยังทำ�บุญอุทศ
ิ ส่วนกุศลให้บพ
ุ การีผลู้ ว่ งลับ ทัง้ สามคนมาเยีย่ มแม่พร้อมกันในวันที่ 14 เมษายน จงหาว่าครัง้ ต่อไปแม่
จะได้พบลูกพร้อมกันสองคนเมื่อใด และพบลูกพร้อมกันทั้งสามคนเมื่อใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 67

4. นั ก เรี ย นกลุ่ ม หนึ่ ง เป็ น ชาย 64 คน เป็ น หญิ ง 96 คน ถ้ า ต้ อ งการจั ด แถวนั ก เรี ย นชายและนั ก เรี ย นหญิ ง ให้ ไ ด้
แถวละเท่า ๆ กัน และให้ได้แถวยาวที่สุด โดยไม่ให้นักเรียนชายและนักเรียนหญิงอยู่ในแถวเดียวกัน จะจัดได้กี่แถว
และแถวละกี่คน
ซา

5. โรงงานผลิตอาหารแช่แข็งแห่งหนึ่ง ผลิตอาหารทะเลแช่แข็งโดยการนำ�
ร ่ ทา้
แพ
อาหารทะเลมาล้างทำ�ความสะอาด แล้วตัดแต่งให้มีลักษณะตามต้องการ เกร็ดน่ารู้
เ ผ ย
โดยใช้ น้ำ � แข็ ง ช่ ว ยในการควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ข องอาหารให้ อ ยู่ ที่ 5 องศา

้หาม น่าย
เซลเซียส จากนั้น นำ�อาหารไปต้มให้สุกโดยเพิ่มอุณหภูมิของอาหารขึ้น การแช่แข็งแบบเร็ว เป็นการทำ�ให้อาหาร
120 องศาเซลเซียส แล้วจึงนำ�มาแช่แข็งแบบเร็ว โดยการทำ�ให้อาหารมี ทั้งชิ้นเยือกแข็งอย่างรวดเร็ว ซึ่งช่วยรักษา

ท. จ้าห
อุณหภูมิ -25 องศาเซลเซียส ภายในเวลา 30 นาที ขั้นตอนสุดท้าย คือ คุณภาพของอาหาร คงคุณค่าทางโภชนาการ

สว รือ
การเก็บอาหารแช่แข็งไว้ในห้องเย็น โดยรักษาอุณหภูมิของอาหารไว้ที่ และยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของจุ ลิ น ทรี ย์

ย ส ห
-18 องศาเซลเซียส ก่อนที่จะส่งไปยังร้านค้าต่อไป เมื่ อ เรานำ � อาหารแช่ แ ข็ ง ไปละลายเพื่ อ


ิธ์โด ปลง
จากข้อมูลที่กำ�หนด จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ ซ
ประกอบอาหาร อาหารนีจ้ ะยังคงมีน�ำ้ อยูใ่ น

ท้า
ส ิท ัดแ
1) ก่อนที่จะนำ�อาหารไปแช่แข็งแบบเร็ว อาหารมีอุณหภูมิกี่องศา
ร ่ เนื้อสัตว์ และโปรตีนส่วนใหญ่จะไม่ออกไป

ว นเซลเซียส ด แพ จากอาหาร

สง
2) อาหารทีต
่ ม
้ สุกแล้วถูกลดอุณหภูมลิ งเท่าไร เพือ
่ ให้กลายเป็นอาหาร
เ ผ ย
แช่แข็ง
3) ในขัน
้ ตอนของการแช่แข็งแบบเร็ว เมือ
่ เวลาผ่านไป 1 นาที อุณหภูมิ้หาม น่าย
ของอาหารแช่แข็งเปลี่ยนแปลงไปโดยเฉลี่ยเท่าไร
ท. จ้าหเกร็ดน่ารู้
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
6. ใน ค.ศ. 1999 ทีมสำ�รวจของประเทศสหรัฐอเมริกาวัดความสูงของ
ยอดเขาเอเวอเรสต์ได้ประมาณ 29,000 ฟุต จากระดับน้�ำ ทะเล ถ้าทีร่ ะดับ

ส ิท ัดแ
น้ำ�ทะเลมีอุณหภูมิเป็น 15 องศาเซลเซียส อยากทราบว่า บนยอดเขา

วน ด
เอเวอเรสต์จะมีอุณหภูมิประมาณกี่องศาเซลเซียส เมื่อความสูงที่เพิ่มขึ้น


ทุก ๆ 1,000 ฟุต จากระดับน้ำ�ทะเล อุณหภูมิจะลดลง 2 องศาเซลเซียส

ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นยอดเขาหนึ่งใน
เทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเป็นเขตพรมแดนของ
ทิเบตและเนปาล ยอดเขาเอเวอเรสต์น้น
ี ับ
เป็นยอดเขาทีส่ งู ทีส่ ด
ุ จากระดับน้�ำ ทะเล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
68 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1

ภาพแสดงอุณหภูมิเฉลี่ยบนพื้นผิว 7. จงใช้ ข้ อ มู ล จากอุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย บนพื้ น ผิ ว ในหน่ ว ยองศาเซลเซี ย สของ


ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในระบบสุริยะที่แสดงดังภาพด้านซ้าย ตอบคำ�ถาม
ต่อไปนี้
ฟาเรนไฮต� เซลเซียส
1) ดาวเคราะห์ดวงใด มีอณ
ซา

ุ หภูมเิ ฉลีย่ บนพืน
้ ผิวสูงทีส่ ด
ุ และมีอณ
ุ หภูมิ

่ ทา้
1,000 ํ
ประมาณกี่องศาเซลเซียส

900 ํ 500 ํ
ดาวศุกร�

แพ 2) ดาวเคราะห์ดวงใด มีอณ
ุ หภูมเิ ฉลีย่ บนพืน
้ ผิวต่�ำ ทีส่ ด
ุ และมีอณ
ุ หภูมิ
800 ํ
400 ํ
ดาวพุธ

เ ผ ย ประมาณกี่องศาเซลเซียส

้หาม น่าย
700 ํ 3) ดาวพฤหั ส บดี มี อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย บนพื้ น ผิ ว มากกว่ า ดาวเนปจู น
200 ํ 100 ํ อยู่ประมาณกี่องศาเซลเซียส

ท. จ้าห 4) ผลรวมของอุณหภูมเิ ฉลีย่ บนพืน


้ ผิวของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์
100 ํ

สว รือ โลก สู ง กว่ า หรื อ ต่ำ � กว่ า อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย บนพื้ น ผิ ว ของดาวเนปจู น
0ํ
0ํ

ย ส ห ดาวอังคาร อยู่ประมาณกี่องศาเซลเซียส


-100 ํ
ิธ์โด ปลง ดาวพฤหัสบดี
5) ดาวเคราะห์ดวงใดทีม
่ อี ณ
ุ หภูมเิ ฉลีย่ บนพืน
ท้า ซ
้ ผิวน้อยกว่าอุณหภูมเิ ฉลีย่
-200 ํ
-100 ํ

ส ิท ัดแ ่
บนพื้นผิวโลกอยู่ประมาณ 3 เท่า ของอุณหภูมิเฉลี่ยบนพื้นผิวโลก

ว น ด ดาวเสาร�

6) ถ้าอุณหภูมิเฉลี่ยบนพื้นผิวของดาวอังคารลดลงไปอีก 6 เท่าของ

สง ย
-300 ํ ดาวยูเรนัส
-200 ํ
ดาวเนปจูน
เ ผ
อุณหภูมิเฉลี่ยบนดาวอังคาร แล้วอุณหภูมิเฉลี่ยบนพื้นผิวของดาว

้หาม น่าย
-400 ํ อังคารจะสูงกว่าหรือต่�ำ กว่าอุณหภูมเิ ฉลีย่ บนพืน
้ ผิวของดาวยูเรนัส
อยู่ประมาณกี่องศาเซลเซียส

ท. จ้าห
7) นักเรียนคิดว่าอุณหภูมิเฉลี่ยบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ส่วนใหญ่
ภาพดาวเคราะห�ไม�ได�แสดงขนาดตามอัตราส�วนจริง
ส ว รือ
สั ม พั น ธ์ อ ย่ า งไรกั บ ระยะห่ า งจากดวงอาทิ ต ย์ ถึ ง ดาวเคราะห์
ที่มา : http://solarsystem.nasa.gov
ย ส ห
ดวงนั้น ๆ
สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2559
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด
เกร็ดน่ารู้ ส
ระบบสุริยะ เป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์
เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์อีก 8 ดวง
เป็นบริวาร ซึง่ โลกทีเ่ ราอยูน
่ เี้ ป็นดาวเคราะห์
ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นอันดับที่ 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม 69

ซา

ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like