You are on page 1of 54

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เล่ม ๑

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผู้เรียบเรียง
เฉลิมพงศ์ วรวรรโณทัย
วรกฤษณ์ ศุภพร

ผู้ตรวจ
อรพรรณ สุวรรณเสน
ศิริชัย เพชรชู
ภานุมาส มหาทรัพย์สกุล

บรรณาธิการ
อภิชาติ ทวีบุตร
ไกรวิชญ์ เหล่าปรีดา

พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ๒๕๖๒
จ�ำนวน : ๓๐,๐๐๐ เล่ม
ISBN : 978-616-8172-07-0

จัดพิมพ์และจ�ำหน่ายโดย
บริษัทเลิร์น เอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด
254 อาคารวิทยกิตติ์ ชั้น 13 ถนน พระราม 1
แขวง ปทุมวัน เขต ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ : 0-2251-6842-4
โทรสาร : 0-2251-6841
Website : www.learneducation.co.th

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. ๒๕๕๘


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เล่ม ๑ ได้เรียบเรียงเนื้อหา
สาระให้มีความสอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ส�ำหรับให้
สถานศึกษาใช้ประกอบการเรียนการสอนและใช้เป็นแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่
ผูเ้ รียน เพือ่ น�ำไปสูก่ ระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน โดยหนังสือเล่มนี้
มีการจัดเรียงล�ำดับหน่วยการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงเป็นไปในทิศทางเดียวกันและล�ำดับเนื้อหา
มีความต่อเนือ่ ง เรียงจากง่ายไปยาก ซึ่งประกอบด้วยส่วนของเนื้อหา แบบฝึกหัด กิจกรรมการเรียนรู้
มีการวัดผลและประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ การคิดแก้ปัญหา เสริมสร้างทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้เป็นอย่างดี
คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และเป็น
ส่วนส�ำคัญในการพัฒนาเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับยุคปัจจุบัน
ขอขอบคุณคณะครู ตลอดจนหน่วยงานและบุคลากรทุกท่านที่มีส่วนในการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ไว้
ณ โอกาสนี้ หากมีข้อบกพร่องหรือข้อเสนอแนะประการใด ทางคณะผู้จัดท�ำยินดีน้อมรับค�ำติชม
เพื่อน�ำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น

คณะผู้จัดท�ำ
ค�ำชีแ้ จงในการใช้หนังสือ
หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์เล่มนีถ้ กู ออกแบบมาให้แต่ละหน่วยการเรียนรู้
มีส่วนท�ำให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความคิดทางคณิตศาสตร์ที่ดีและชัดเจนมากขึ้น
ซึ่งสามารถแยกอธิบายได้ดังนี้

แบบทดสอบความรู้ที่จ�ำเป็น เพื่อประเมินความพร้อมก่อนเข้าสู่บทเรียน

สรุปแนวทางการให้ความหมายของศัพท์คณิตศาสตร์ และขั้นตอนวิธีการต่าง ๆ

โจทย์ที่ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตาม หลังจากศึกษาตัวอย่าง

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดที่แทรกระหว่างเนื้อหา เพื่อทดสอบความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาที่เรียนและ
ช่วยเน้นประเด็นส�ำคัญ โดยมีการระบุระดับความยากง่ายของแบบฝึกหัดดังนี้
* ง่าย
** ปานกลาง
*** ยาก
ค�ำชีแ้ จงในการใช้หนังสือ

ค�ำถามเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนตัวเอง ว่าได้เรียนรู้และได้รับประสบการณ์
อะไรจากบทเรียนบ้าง

ค�ำถามหรือกิจกรรมเสริม เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนน�ำเรื่องที่ได้เรียนรู้ไปคิดเพิ่มเติม
ต่อยอดหรือประยุกต์ใช้นอกชั่วโมงเรียน

แบบทดสอบทบทวนความรู้หลังบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนประเมินว่าส่วนใดที่ท�ำได้ดีและ
ส่วนใดที่ยังต้องพัฒนา

รวบรวมแนวข้อสอบที่ใกล้เคียงกับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O-NET) และข้อสอบแข่งขันจากสนามสอบต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคุ้นเคย
1 เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 1
1. ทบทวนเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 5
2. การเปรียบเทียบและการเรียงล�ำดับเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 10
3. การบวกและการลบเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 16
4. การคูณเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 21
5. การหารเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 26
6. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 31
7. โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - 33
8. โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - 39
ทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 46
ข้อสอบประลองยุทธ์ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 48

2 ทศนิยม และการบวก การลบทศนิยม 49


1. ทศนิยม และเศษส่วน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 52
2. การหาค่าประมาณของทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 59
3. ทบทวนการบวก และการลบทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 65
ทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 73
ข้อสอบประลองยุทธ์ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 75

3 การคูณ และการหารทศนิยม 77
1. การคูณทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 80
2. การหารทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 92
3. การบวก ลบ คูณ หารระคนของทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 97
4. โจทย์ปัญหาการคูณ และการหารทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -100
5. โจทย์ปัญหาระคนของทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -102
ทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 108
ข้อสอบประลองยุทธ์ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 111

4 ความยาว 113
1. ทบทวนการวัดความยาว - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 116
2. ความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 121
3. การเขียนความยาวในรูปทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 125
4. โจทย์ปัญหาการวัดความยาว - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 127
ทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 135
ข้อสอบประลองยุทธ์ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 138

5 น�้ำหนัก 141
1. ทบทวนการชั่งน�้ำหนัก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 144
2. ความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน�้ำหนัก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 149
3. การเขียนนน�้ำหนักในรูปทศนิยม - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 153
4. โจทย์ปัญหาการชั่งน�้ำหนัก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 156
ทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 163
ข้อสอบประลองยุทธ์ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 166

แหล่งอ้างอิงรูปภาพ

บรรณานุกรม
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1
เศษส่วนและการบวก การลบ
การคูณ การหารเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ เศษส่วนและการบวก การลบ
1 การคูณ การหารเศษส่วน

เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน

1. ทบทวนเศษส่วน

2. การเปรียบเทียบและการเรียงล�ำดับเศษส่วน

3. การบวกและการลบเศษส่วน

4. การคูณเศษส่วน

5. การหารเศษส่วน

6. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน

7. โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน

8. โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน


ตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.5/3 หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจ�ำนวนคละ
ค 1.1 ป.5/4 หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจ�ำนวนคละ
ค 1.1 ป.5/5 แสดงวิธีหาค�ำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 2 ขั้นตอน

จุดประสงค์การเรียนรู้
• นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเรียงล�ำดับของเศษส่วนและจ�ำนวนคละได้
• นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ และการหารของเศษส่วนและจ�ำนวนคละได้
• นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจ�ำนวนคละได้
• นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาของเศษส่วนและจ�ำนวนคละได้
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ในชีวิตประจ�ำวัน นักเรียนจะพบกับเศษส่วนได้หลากหลายรูปแบบ ยกตัวอย่างเช่น
ถ้วยตวงหนึ่งถ้วยจะแบ่งออกเป็นส่วน ส่วนละ 18 ของถ้วย หรือตัดเค้กมา 10
1 ของก้อน
เป็นต้น
8
7
6
5
4
3
2
1

รูปที่ 1 ถ้วยตวง [1] รูปที่ 2 เค้ก [2]

ในหน่วยการเรียนรูน้ นี้ กั เรียนจะได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับการเปรียบเทียบและการเรียงล�ำดับ


ของเศษส่วนและจ�ำนวนคละ การหาผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ และการหารของ
เศษส่วนและจ�ำนวนคละ การหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ
จ�ำนวนคละ และการแก้โจทย์ปัญหาของเศษส่วนและจ�ำนวนคละ

1. จงพิจารณาว่าจ�ำนวนต่อไปนี้เป็นเศษส่วนแท้ เศษเกิน หรือจ�ำนวนคละ


1) 95 4) 23
1
2) 20 5) 5 15
3) 1 45 6) 66
2. จงพิจารณาว่าจ�ำนวนใดต่อไปนี้เป็นเศษส่วนอย่างต�่ำ
1) 23 4) 156
2) 46 5) 38
3
3) 12 6) 134

4
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
1 ทบทวนเศษส่วน

เศษส่วนประกอบไปด้วยตัวเศษและตัวส่วน
เช่น 3 ตัวเศษ
5 ตัวส่วน
เศษส่วนสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของการหารได้
เช่น 3 = 3'5
5

1.1 เศษส่วนแท้ เศษเกินและจ�ำนวนคละ


8 , 4, 2
เศษส่วนแท้ เป็นเศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน เช่น 10 6 8
เศษเกิน เป็นเศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน เช่น 10 , 27 , 11
8 21 11
จ�ำนวนคละ เป็นจ�ำนวนทีป่ ระกอบด้วยจ�ำนวนนับกับเศษส่วนแท้ เช่น 1 43 , 4 75 , 12 10
7

การเขียนเศษเกินในรูปจ�ำนวนคละ
ท�ำได้โดยน�ำตัวส่วนไปหารตัวเศษ ผลหารที่ได้จะเป็นจ�ำนวนนับ เศษที่เหลือจะเป็น
ตัวเศษ และมีตัวส่วนคงเดิม

ตัวอย่างที่ 1
แนวคิด
จงเขียน 28
9g 2 8
9 ในรูปจำ�นวนคละ 3
วิธีทำ� เนื่องจาก 28 ÷ 9 ได้ 3 เศษ 1 -
2 77 -
ดังนั้น 28 1
9 = 3 9
11

ตอบ ๓ ๙๑

จงเขียนเศษเกินต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนคละ
1) 95 2) 50
3

5
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
การเขียนจ�ำนวนคละในรูปเศษเกิน
ท�ำได้ โดยน�ำตัวส่วนไปคูณกับจ�ำนวนนับแล้วบวกกับตัวเศษ โดยมีตัวส่วนคงเดิม
ตัวอย่างที่ 2
จงเขียน 6 35 ในรูปเศษเกิน
วิธีทำ� 6 35 = (5 # 6)5 + 3 แนวคิด
= 305+ 3 จำ�นวนนับ ตัวเศษ = (ตัวส่วน × จำ�นวนนับ) + ตัวเศษ
ตัวส่วน ตัวส่วน
= 5 33

ดังนั้น 6 35 = 33
5
ตอบ ๓๓ ๕

จงเขียนจ�ำนวนคละต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษเกิน
1) 5 32 2) 9 73

แบบฝึกหัด 1.1.1
1. (*) จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนคละ
1) 49 4) 21
9
2) 43 79
5) 15
17
3) 12 35
6) 11
2. (*) จงเขียนจ�ำนวนคละต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษเกิน
1) 2 49 5
4) 4 12
2) 7 12 8
5) 15 11
3) 1 25 4
6) 6 15
6
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
1.2 เศษส่วนที่เท่ากัน
การหาเศษส่วนที่เท่ากัน ท�ำได้ โดยน�ำจ�ำนวนที่เท่ากันซึ่งไม่ใช่ศูนย์มาคูณทั้งตัวเศษ
และตัวส่วน หรือหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน

ตัวอย่างที่ 3
8 มา 2 จำ�นวน โดยวิธีการคูณและวิธีการหาร
จงหาเศษส่วนที่เท่ากันกับ 12
วิธีทำ� 8 8 # 2 16
12 = 12 # 2 = 24
8 8'4 2
12 = 12 ' 4 = 3
ดังนั้น 16 2 8
24 และ 3 เป็นเศษส่วนที่เท่ากันกับ 12
ตอบ ๑๖ ๒๔ และ ๓

จงหาเศษส่วนที่เท่ากันกับเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้ มา 2 จ�ำนวน โดยวิธีการคูณและวิธีการหาร


9
1) 15 2) 224

แบบฝึ กหักดหัด1.1.1
แบบฝึ 1.1.2 แบบฝึกหัด 1.1.1
1. (*) จงหาเศษส่วนที่เท่ากันกับเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้ มา 2 จ�ำนวน โดยวิธีการคูณและ
วิธีการหาร
1) 1133
7
5) 28
2) 128 6) 10
25
3) 30 5
7) 8 10
40
4) 189 8) 2 93

7
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
2. (*) จงหาจ�ำนวนที่แทน แล้วท�ำให้ประโยคเป็นจริง
d
1) 12 = 18 4) 16
40 =
2
d
d
2) 43 = 12 5) 8 = 96
d 144

3) 36 = 12 6) d 20
d 3
400 = 25
1.3 เศษส่วนอย่างต�่ำ
เศษส่วนอย่างต�ำ่ คือ เศษส่วนทีไ่ ม่มจี ำ� นวนนับใดยกเว้น 1 หารทัง้ ตัวเศษและตัวส่วน
ได้ลงตัว
การท�ำเศษส่วนให้เป็นเศษส่วนอย่างต�ำ่
ท�ำได้ โดยน�ำจ�ำนวนนับทีเ่ ท่ากันหารทัง้ ตัวเศษและตัวส่วน จนกว่าจะไม่มจี ำ� นวนนับใด
ยกเว้น 1 ที่หารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้ลงตัว

ตัวอย่างที่ 4
จงท�ำ 16
24 ให้เป็นเศษส่วนอย่างต�่ำ
วิธีท�ำ น�ำจ�ำนวนที่หาร 16 และ 24 ลงตัว มาหาร 16 และ 24 ต่อเนื่องกันไป
จนกว่าจะไม่มีจ�ำนวนนับใดยกเว้น 1 ที่หารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้ลงตัว
16 = 16 ' 2
24 24 ' 2
= 4612 8 น�ำ 2 มาหารทั้งตัวเศษ และตัวส่วน
= 2 46 น�ำ 2 มาหารทั้งตัวเศษ และตัวส่วน
3
= 32 ไม่มีจ�ำนวนนับใด ยกเว้น 1 ที่หาร 2 และ 3 ได้ลงตัว
ดังนั้น เศษส่วนอย่างต�่ำของ 16 24 คือ 3
2
ตอบ ๓๒
8
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงท�ำเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้ให้เป็นเศษส่วนอย่างต�่ำ
1) 18
36 2) 56
42

การเขียนเศษเกินในรูปจ�ำนวนคละ ท�ำได้ โดยน�ำตัวส่วนไปหารตัวเศษ ผลหารที่ได้


จะเป็นจ�ำนวนนับ เศษที่เหลือจะเป็นตัวเศษ และมีตัวส่วนคงเดิม
การเขียนจ�ำนวนคละในรูปเศษเกิน ท�ำได้ โดยน�ำตัวส่วนไปคูณกับจ�ำนวนนับแล้วบวก
กับตัวเศษ โดยมีตัวส่วนคงเดิม
การหาเศษส่วนทีเ่ ท่ากัน ท�ำได้ โดยน�ำจ�ำนวนทีเ่ ท่ากันซึง่ ไม่ใช่ศนู ย์มาคูณทัง้ ตัวเศษและ
ตัวส่วน หรือหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน
การท�ำเศษส่วนให้เป็นเศษส่วนอย่างต�ำ่ ท�ำได้ โดยน�ำจ�ำนวนนับทีเ่ ท่ากันหารทัง้ ตัวเศษ
และตัวส่วนจนกว่าจะไม่มีจ�ำนวนนับใดยกเว้น 1 ที่หารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้ลงตัว

แบบฝึกหัด 1.1.3
(*) จงท�ำเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้ให้เป็นเศษส่วนอย่างต�่ำ
1) 11
22 6) 18 9
4
2) 12 7) 1525
7
3) 21 8) 4914
4) 15
45 9) 144
156
30
5) 70 124
10) 186

9
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
2 การเปรียบเทียบและการเรียงล�ำดับเศษส่วน
2.1 การเปรียบเทียบเศษส่วน

การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
พิจารณา
เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน เศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่า จะเป็นเศษส่วนที่มากกว่า

พิจารณารูปต่อไปนี้
3 จากรูป เปรียบเทียบ 36 กับ 46
6
จะเห็นว่า 36 น้อยกว่า 46 ใช้สัญลักษณ์ 36 < 46
4 หรือ 4 มากกว่า 3 ใช้สัญลักษณ์ 4 > 3
6 6 6 6 6

การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน

ท�ำได้ 2 วิธี คือ


วิธีที่ 1 ท�ำเศษส่วนให้ตัวส่วนเท่ากันก่อน แล้วจึงเปรียบเทียบโดยพิจารณาจากตัวเศษ
“เศษส่วนใดที่มีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า”
วิธีที่ 2 ใช้วิธีคูณไขว้ โดยน�ำตัวส่วนของจ�ำนวนหนึ่งคูณกับตัวเศษของอีกจ�ำนวนหนึ่ง
แล้วน�ำผลคูณที่ได้มาเปรียบเทียบกัน
“เศษส่วนฝั่งที่มีผลคูณมากกว่า จะเป็นเศษส่วนที่มากกว่า”

ถ้าจ�ำนวนที่น�ำมาเปรียบเทียบเป็น “จ�ำนวนคละ” อาจใช้วิธี


การเปรียบเทียบจ�ำนวนนับกับจ�ำนวนนับ และเปรียบเทียบ
เศษส่วนกับเศษส่วน หรืออาจท�ำจ�ำนวนคละให้เป็นเศษเกิน
ก่อนแล้วจึงน�ำมาเปรียบเทียบกัน

10
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 1
จงเปรียบเทียบ 35 กับ 1 16
วิธีทำ� ทำ�จำ�นวนคละให้เป็นเศษเกิน
จะได้ 1 16 = (6 # 1) 6
+1 = 7
6
เขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน
วิธีที่ 1 ทำ�ตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 6
5 = 5 # 2 = 10
3 3#2 6
เนื่องจาก 10 7
6 > 6 หรือ 6 < 6
7 10
ดังนั้น 35 > 1 16 หรือ 1 16 < 35

วิธีที่ 2 คูณไขว้ได้ดังนี้
5 × 6 = 30 7 × 3 = 21 แนวคิด
5 7 น�ำตัวส่วนของจ�ำนวนหนึ่งไปคูณ
3 6 กับตัวเศษของอีกจ�ำนวนหนึ่ง
เนื่องจาก 30 > 21 หรือ 21 < 30
ดังนั้น 35 > 1 16 หรือ 1 16 < 35
ตอบ ๓๕ > ๑ ๖๑ หรือ ๑ ๖๑ < ๓๕

จงเปรียบเทียบเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้
22 กับ 2 2 2) 1 7 กับ 9
1) 10 5 18 6

แบบฝึกหัด 1.2.1
1. (*) จงเปรียบเทียบเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 89 กับ 1 32 5) 95 กับ 1 10
7
2) 1 73 กับ 14
16 3 กับ 3 1
6) 1 24 6
3) 1 203 กับ 1 1 7) 3 12 กับ 14
4 4 11
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
2. (*) จงเติมเครื่องหมาย < หรือ > หรือ = ลงใน ให้ถูกต้อง
1) 1 65 7
12 5) 15
16
9
4
2) 75 1 208 6) 1 154 2 15

3) 11
21
4
7 7) 3 45 7
1 30

4) 11
7
39
21 8) 1 12
15 1 45

2.2 การเรียงล�ำดับเศษส่วน
การเรียงล�ำดับเศษส่วนจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย จะต้องใช้หลักการของ
การเปรียบเทียบเศษส่วนมาช่วยในการพิจารณา
ถ้าตัวส่วนของเศษส่วนเท่ากัน ให้พิจารณาที่ตัวเศษ ดังนี้
6 , 3 , 10
11 11 11 จะเห็นว่าตัวส่วนของเศษส่วนทั้ง 3 มีค่าเท่ากัน ให้พิจารณาที่ตัวเศษ
จะเห็นว่า 3 < 6 < 10 หรือ 10 > 6 > 3
3 < 6 < 10 หรือ 10 > 6 > 3
ดังนั้น 11 11 11 11 11 11

ตัวอย่างที่ 2
จงเรียงล�ำดับ 15 9 , 11 , 4 จากน้อยไปมาก
15 15
วิธีท�ำ เนื่องจากตัวส่วนมีค่าเท่ากันให้พิจารณาที่ตัวเศษ
จะได้ว่า 4 < 9 < 11
ดังนั้น เรียงล�ำดับเศษส่วนจากน้อยไปมาก จะได้ 15 4 , 9 , 11
15 15
๔ ,
ตอบ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๙ , ๑๑

12
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
13 , 11 , 15 จากน้อยไปมาก
จงเรียงล�ำดับ 17 17 17

ตัวอย่างที่ 3
5 , 8 , 2 มากไปน้อย
จงเรียงล�ำดับ 11 11 11
วิธีท�ำ เนื่องจากตัวส่วนมีค่าเท่ากันให้พิจารณาที่ตัวเศษ
จะได้ว่า 8 > 5 > 2
8 , 5 , 2
ดังนั้น เรียงล�ำดับเศษส่วนจากมากไปน้อย จะได้ 11 11 11
๘ ๕
ตอบ ๑๑ , ๑๑ , ๑๑ ๒

7 , 11 , 2 จากมากไปน้อย
จงเรียงล�ำดับ 13 13 13

ถ้าตัวส่วนของเศษส่วนไม่เท่ากัน ต้องท�ำให้ตัวส่วนเท่ากันก่อน จากนั้นพิจารณาที่


ตัวเศษ ดังนี้
1 , 1 , 5 จะเห็นว่าตัวส่วนของเศษส่วนทั้ง 3 มีค่าไม่เท่ากัน จึงต้องท�ำตัวส่วนให้มีค่า
2 4 8
เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 8 จะได้
1 = 1#4 = 4
2 2#4 8
1 1#2 2
4 = 4#2 = 8
5 5#1 5
8 = 8#1 = 8
เนื่องจาก 28 < 48 < 85 หรือ 85 > 48 > 28
ดังนั้น 41 < 12 < 85 หรือ 85 > 12 > 41
13
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 4
จงเรียงล�ำดับ 32 , 1 13 , 65 จากน้อยไปมาก
วิธีท�ำ ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 6
32 = 32 ## 33 = 96
1 13 = (3 # 1) 3
+1 = 4 = 4#2 = 8
3 3#2 6
เนื่องจาก 65 1 86 1 96
จะได้ว่า 65 1 1 13 1 32
ดังนั้น เรียงล�ำดับเศษส่วนจากน้อยไปมาก จะได้ 65 , 1 13 , 32
ตอบ ๕๖ , ๑ ๓๑ , ๓๒

จงเรียงล�ำดับ 76 , 1 21 , 14
15 จากน้อยไปมาก

ตัวอย่างที่ 5
จงเรียงล�ำดับ 2 35 , 72 , 10
19 จากมากไปน้อย
วิธีท�ำ ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 10
2 35 = (5 # 2)5 + 3 = 13 13 # 2
5 = 5 # 2 = 10
26
72 = 72 ## 55 = 10 35
เนื่องจาก 10 35 2 26 2 19
10 10
จะได้ว่า 2 2 2 35 2 10
7 19
ดังนั้น เรียงล�ำดับเศษส่วนจากมากไปน้อย จะได้ 72 , 2 35 , 10
19
ตอบ ๗๒ , ๒ ๕๓ , ๑๐ ๑๙

14
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงเรียงล�ำดับ 13 , 3, 2
10 1 20 1 5 จากมากไปน้อย

การเปรียบเทียบและการเรียงล�ำดับเศษส่วน
ถ้าตัวส่วนเท่ากัน ให้ดูที่ตัวเศษ ถ้าเศษส่วนใดมีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า

ท�ำตัวส่วนให้เท่ากันก่อน แล้วดูที่ตัวเศษ
เศษส่วนใดที่มีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า
ถ้าตัวส่วนไม่เท่ากัน
คูณไขว้ แล้วน�ำผลคูณที่ได้มาเปรียบเทียบกัน
เศษส่วนฝั่งที่มีผลคูณมากกว่า จะเป็นเศษส่วนที่มากกว่า

แบบฝึกหักดหัด2.21.2.2
แบบฝึ
1. (*) จงเรียงล�ำดับเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้จากน้อยไปมาก
4 , 1 1, 5
1) 18 3) 2 41 , 13 , 15
6 9 8 16
2) 2 13 , 76 , 1 12
5 4 , 3 4,1 2
4) 2 15 5 3
2. (*) จงเรียงล�ำดับเศษส่วนแต่ละข้อต่อไปนี้จากมากไปน้อย
4 , 3 2, 2 1
1) 1 15 4) 38 , 1 65 , 25
3 5 9
4 1 5
2) 18 , 1 6 , 9 5) 1 24 , 2 8 , 3 13
6 4
3) 2 43 , 2 12
5,7
8 6) 2 95 , 1 184 ,21
3

15
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
3 การบวกและการลบเศษส่วน
3.1 ทบทวนการบวกและการลบเศษส่วน
การบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
ให้น�ำตัวเศษมาบวกหรือลบกัน โดยตัวส่วนคงเดิม

ผลบวกหรือผลลบที่ได้จากการบวกหรือการลบเศษส่วนควรท�ำให้อยู่
ใน “รูปอย่างง่าย” นั่นคืออยู่ในรูปของเศษส่วนอย่างต�่ำ จ�ำนวนคละ
จ�ำนวนนับ หรือศูนย์

ตัวอย่างที่ 1
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 42 + 41 2) 65 - 36
2 1
วิธีท�ำ 1) 42 + 41 = 2 4+ 1 4
6 44 7 44 8?
4

= 43 1 4444 2 4444 3
3
4
ดังนั้น 42 + 41 = 43
ตอบ ๓๔
3
3
44
44 6
2 44
2

2) 65 - 36 = 5 6- 3
6 14
4
6 44 7 44 8

= 2 1 4444444 2 4444444 3
6 5
6
= 2 ' 2 น�ำ 2 มาหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน
6'2
= 1 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
3
ดังนั้น 65 - 36 = 1
3
ตอบ ๑๓

16
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
2 + 3 3)
1) 10 14 5
- 16
10 16
8 4 4)
2) 13 + 13 10 4
- 15
15

การบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน
การบวกและการลบเศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนไม่เท่ากัน จะต้องท�ำตัวส่วนให้เท่ากันก่อน แล้ว
จึงหาผลบวกหรือผลลบ
ตัวอย่างที่ 2
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 79 + 32 2) 10 9 -1
2
วิธีท�ำ 1) 79 + 32 = 79 + c 32 ## 33 m ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 9
= 79 + 69 2
3
= 7 +9 6 6
9
= 13
9 2 = 6
3 9
= 1 49 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนั้น 79 + 32 = 1 49
ตอบ ๑ ๙๔
9 - 1 = 9 - 1 # 5 ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 10
2) 10 2 10 c 2 # 5 m
= 10 9-5
10 1
= 10 9 - 5 2
5
= 10 4 2 น�ำ 2 มาหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน 10
5
1 = 5
= 25 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย 2 10
ดังนั้น 10 9 -1=2
2 5
ตอบ ๒

17
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
7 + 2 3)
1) 15 4- 4
5 7 14
5 1
2) 6 + 18 4) 13 - 3
16 4

แบบฝึกหักดหัด3.11.3.1
แบบฝึ
1. (*) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 41 + 42 5) 5 1
3-3
2) 65 + 65 6) 4-1
7 7
3) 43 + 32 7) 5 3
13 - 13
4) 125 + 11 8) 23 17
12 30 - 30

2. (**) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 49 + 32 5) 1-3
3 9
2) 12 + 11
6 6) 5 1
18 - 6
3) 12 + 32
7 7) 17 - 3
21 7
4) 38 + 32 8) 5 5
4 - 12

3.2 การบวกและการลบเศษส่วนกับจ�ำนวนคละ
การบวกและการลบเศษส่วนกับจ�ำนวนคละ ให้เปลี่ยนจ�ำนวนคละเป็นเศษเกินก่อน
แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ

18
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 3
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 85 + 4 12 2) 2 13 - 1 12
7
วิธีท�ำ 1) 85 + 4 12 = 85 + 92 เขียนจ�ำนวนคละในรูปเศษเกิน
= 85 + ` 92 ## 44 j ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 8
= 85 + 36 8
= 5 +836
= 41 8 41 ÷ 8 ได้ 5 เศษ 1
= 5 18 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนั้น 85 + 4 12 = 5 18
เพราะ 1 + 4 1 = 5
ตอบ ๕ ๘๑ 2
และ > หรือ 1
5 4
2
8 8 2
ค�ำตอบที่ได้ควรมากกว่า 5
ดังนั้น 5 1 เป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
8

2) 2 13 - 1 12
7 = 7 - 19 เขียนจ�ำนวนคละในรูปเศษเกิน
3 12
= ` 73 ## 44 j - 12 19 ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 12
= 12 28 - 19
12
= 12- 28 19
= 12 9 34 น�ำ 3 มาหารทั้งตัวเศษ และตัวส่วน
= 43 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนั้น 2 13 - 1 12
7 = 3
4 เพราะ 2 - 1 = 1
ตอบ ๓๔ และ 1 = 4
3 12
แต่ 4 < 7
12 12
ค�ำตอบที่ได้ควรน้อยกว่า 1
ดังนั้น 3 เป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
4
19
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2 79 + 1 23 3 -9
2) 3 15 5

การบวกและการลบเศษส่วน
วิธีการ 1. ถ้าเศษส่วนเป็นจ�ำนวนคละให้ท�ำเป็นเศษเกินก่อน
2. ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน
3. หาผลบวกหรือผลลบของเศษส่วน
4. ค�ำตอบสุดท้ายท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

แบบฝึกหัด 1.3.2
(**) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 5 43 - 45
8
2) 8 25 - 3 10
6
3) 115 - 1 25
2
4) 2 75 + 1 149
3 +23
5) 12 4
6) 1 95 - 1 27
5
7) 3 207 +2 9
10
8) 19
8 -14
3

20
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
4 การคูณเศษส่วน
4.1 การคูณเศษส่วนกับจ�ำนวนนับ
การคูณเศษส่วนกับจ�ำนวนนับ ท�ำได้โดยน�ำจ�ำนวนนับคูณกับตัวเศษ โดยตัวส่วนคงเดิม

ผลคูณที่ได้จากการคูณเศษส่วนควรท�ำให้อยู่ใน
“รูปอย่างง่าย” นั่นคืออยู่ในรูปของเศษส่วนอย่างต�่ำ
จ�ำนวนคละ จ�ำนวนนับ หรือศูนย์

ตัวอย่างที่ 1
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2 × 35 2) 85 × 12
วิธีท�ำ 1) 2 × 35 = 2 #5 3
= 6
5
= 1 15 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนัน้ 2 # 35 = 1 15
เพราะ 2×1=2
ตอบ ๑ ๕๑ แต่ 3 < 1
5
ค�ำตอบที่ได้ควรน้อยกว่า 2
ดังนั้น 1 1 เป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
5
2) 85 × 12 = 5 #812
= 60 15
8 2 น�ำ 4 มาหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน
= 15 2
= 7 12 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนัน้ 85 # 12 = 7 12
เพราะ 1 × 12 = 12
ตอบ ๗ ๒๑ แต่ 5 < 1
18
ค�ำตอบที่ได้ควรน้อยกว่า 12
ดังนั้น 7 1 เป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
2
21
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 89 # 6 7
2) 14 # 10

แบบฝึ
แบบฝึกกหัหัดด4.11.4.1
(*) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2 # 35 5) 16 # 43
2) 85 # 12 6) 72 # 50
3) 95 # 6 7) 21 # 38
4) 14 # 16 5 #5
8) 12

4.2 การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน
การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน ท�ำได้โดยน�ำตัวเศษคูณกับตัวเศษและน�ำตัวส่วนคูณกับ
ตัวส่วน ถ้ามีจ�ำนวนใดหารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้ลงตัว ให้น�ำจ�ำนวนนั้นมาหารทั้งตัวเศษ
และตัวส่วนก่อน แล้วจึงหาผลคูณ

ตัวอย่างที่ 2
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 47 # 29 8 #5
2) 10 6
วิธีท�ำ 1) 47 # 29 = 47 ## 29
= 8
63
ดังนัน้ 47 # 29 = 63 8
ตอบ ๖๓ ๘

22
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
8 × 5 = 4 8 × 5 1 น�ำ 2 มาหาร 8 และ 6
2) 10 6 2 10 6 3 น�ำ 5 มาหาร 5 และ 10
= 4 # 1
2#3
= 4 3 น�ำ 2 มาหารทั้งตัวเศษ และตัวส่วน
2
6
= 2 ท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
3
8 #5 = 2
ดังนัน้ 10
6 3
ตอบ ๒

“การคูณเศษส่วนกับจ�ำนวนนับ” สามารถเปลี่ยนจ�ำนวนนับ
ให้เป็นเศษส่วนแล้วน�ำจ�ำนวนที่หารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้
ลงตัว มาหารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้เช่นกัน เช่น
5 # 12 = 5 # 12 3= 5 # 3 = 15 = 7 1
8 2 8 1 2 1 2 2

จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
6 # 7 2) 5 # 16
1) 14 9 12 15

แบบฝึกหักดหัด4.21.4.2
แบบฝึ
(*) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
8 #5
1) 10 5) 80 # 36
6 45 48
2) 47 # 35 6) 22 # 20
5 121
3) 32 # 85 7) 13 # 6
24 39
6 # 15
4) 10 8) 155 # 3
24 29 31
23
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
4.3 การคูณจ�ำนวนคละ
การคูณจ�ำนวนคละ ต้องท�ำจ�ำนวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน แล้วจึงน�ำมาหาผลคูณ
ระหว่างเศษส่วนกับจ�ำนวนนับ หรือเศษส่วนกับเศษส่วน

ตัวอย่างที่ 3
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 10 × 2 35 11 × 3 1
2) 12 2 3) 4 75 × 1 32
วิธีท�ำ 1) 10 × 2 35 =210 × 1351
= 2 #113
= 26
ดังนั้น 10 × 2 35 = 26
เพราะ 10 × 2 = 20
ตอบ ๒๖ และ 2 3 > 2
5
ค�ำตอบที่ได้ควรมากกว่า 20
ดังนั้น 26 เป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล

11 × 3 1 = 11 × 7
2) 12 2 12 2
= 11 # 7
12 # 2
= 24 77
= 3 24 5
11 × 3 1 = 3 5
ดังนั้น 12 เพราะ
1×4=4
2 24
๕ และ 11 < 1
ตอบ ๓ ๒๔ 12
31 <4
2
ค�ำตอบที่ได้ควรน้อยกว่า 4
ดังนัน้ 3 5 เป็นค�ำตอบทีส่ มเหตุสมผล
24

24
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
11
2
3) 4 7 × 1 3 = 33
5
7 ×31
5
= 11 # 5
7#1
= 55 7
= 7 76
ดังนั้น 4 75 × 1 32 = 7 76
เพราะ 5 × 2 = 10

ตอบ ๗ ๗๖ และ 4 5 < 5


7
12 <2
3
ค�ำตอบที่ได้ควรน้อยกว่า 10
ดังนั้น 7 6 เป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
7

จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 3 18 # 4 3) 1 95 # 4 12
2) 25 # 3 43 4) 2 72 # 1 86

การคูณเศษส่วนกับจ�ำนวนนับ น�ำจ�ำนวนนับคูณกับตัวเศษ โดยตัวส่วนคงเดิม


การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน น�ำตัวเศษคูณกับตัวเศษ และตัวส่วนคูณกับตัวส่วน
การคูณจ�ำนวนคละ ท�ำจ�ำนวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน แล้วจึงน�ำมา
หาผลคูณระหว่างเศษส่วนกับจ�ำนวนนับหรือ
เศษส่วนกับเศษส่วน

25
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
แบบฝึ
แบบฝึกหักหัด ด4.31.4.3
(**) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
6
1) 12 # 2 10 1 #34
10) 2 10 7
2) 45 # 1 95 8 # 70
11) 4 10 12
3) 16
3 #15
2 17
12) 1 23 # 3 151
4) 15 # 18 32 13) 6 13 # 4 12
25
6
5) 12 # 2 10 14) 9 5 # 2 13
4
4
6) 15 # 3 10 15) 2 # 1 45 # 2 38
4 #1 3
7) 15 16) 5 # 5 29 # 10
15
40
9 #1 3
8) 1 10 17) 2 13 # 3 10
9 #42
12 5
9) 8 10 # 5 75
2 1 2
18) 7 2 # 5 9 # 3 103

5 การหารเศษส่วน
5.1 การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน และการหารเศษส่วนด้วยจ�ำนวนนับ
การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน และการหารเศษส่วนด้วยจ�ำนวนนับ ท�ำได้โดยน�ำ
เศษส่วนที่เป็นตัวตั้งคูณกับส่วนกลับของเศษส่วนหรือจ�ำนวนนับที่เป็นตัวหาร

“ส่วนกลับของเศษส่วน” คือ เศษส่วนที่คูณกับเศษส่วนแล้ว


ได้ผลลัพธ์เป็น 1 เรียกเศษส่วนทั้งสองจ�ำนวนนั้นว่า
เป็นส่วนกลับซึ่งกันและกัน

พิจารณา 32 # 32 = 32 ## 23 พิจารณา 5 # 15 = 15 × 15
= 66 = 15 ## 51
= 1 = 55

3 เป็นส่วนกลับของ 2 =1
2 3

1 เป็นส่วนกลับของ 5 หรือ 5
5 1
26
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 1
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 73 ÷ 35 2) 49 ÷ 16
1
วิธีท�ำ 1) 73 ' 35 = 73 # 35 คูณด้วยส่วนกลับของตัวหาร “ 35 เป็นส่วนกลับของ 35 ”
1
= 1 # 5
ตัวตั้ง ตัวหาร 7 # 1
= 75 ผลหาร
ดังนัน้ 73 ' 35 = 75
ตอบ ๗๕ การตรวจค�ำตอบ
1
5
ตรวจค�ำตอบ 7 # 5 = 7 # 5 3 5 3 ผลหาร × ตัวหาร = ตัวตั้ง
1
= 17 ## 31
ผลหาร ตัวหาร
= 73 ตัวตั้ง
2) 49 ÷ 16 = 49 ' 16 1
1
4
= 9 # 16 1 คูณด้วยส่วนกลับของตัวหาร
4 “ 1 เป็นส่วนกลับของ 16 หรือ 16”
= 9#4 1 # 1 16 1

= 36 1
ดังนัน้ 49 ÷ 16 = 36 1
ตอบ ๓๖ ๑
ตรวจค�ำตอบ 36 1 × 16 = 1 # 16 4
36 9
= 9 4

จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
9 ' 3 3)
1) 16 21
10 12 ' 7
5 4)
2) 15 ' 18 9
11 ' 6

27
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
แบบฝึ
แบบฝึกหักดหัด5.11.5.1
(**) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 49 ' 16 7) 4 ' 12
3 9
2) 73 ' 35 8) 9 ' 63
5 25
3) 72 ' 12 9) 7 ' 14
6 3
4) 85 ' 10
7 10) 3'7
5 9
5) 29 ' 12
21 11) 3 21
15 ' 25
4
6) 5 ' 108 12) 27 ' 9
35 5
5.2 การหารจ�ำนวนคละ
การหารจ�ำนวนคละ ต้องท�ำจ�ำนวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน แล้วจึงน�ำมาหาผลหาร

ตัวอย่างที่ 2
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 6 ' 9 43 2) 32 ' 1 79 3 '5 1
3) 1 11 2
3
วิธีท�ำ 1) 6 ÷ 9 4 = 6 ÷ 4 39

2
= 6 × 39 4
13
2
= 13 # 4
8
= 13
ดังนั้น 6 ÷ 9 43 = 13 8
ตอบ ๑๓ ๘
2 3
8 3
ตรวจค�ำตอบ 13 × 9 4 = 13 × 4 18 39
1
= 12 ## 13
= 6

28
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
2) 32 ÷ 1 79 = 32 ÷ 1693
12 9
= 3 × 16 8
1
1
= 1#8# 3
= 38
ดังนั้น 32 ÷ 1 79 = 38
ตอบ ๘๓
1 2
ตรวจค�ำตอบ 38 × 1 79 = 1 38 × 16
93
= 11 ## 23
= 32

3 ÷ 5 1 = 14 ÷ 11
3) 1 11 2 11 2
= 14 11 × 11
2
= 11 14 # 2
# 11
= 121 28
3 ÷ 5 1 = 28
ดังนั้น 1 11
2 121
ตอบ ๑๒๑๒๘
ตรวจค�ำตอบ 12128 × 5 1 = 14 28 × 11 1
2 11 121 2 1
= 14 #1
11 # 1
= 14
11
3
= 1 11

29
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 48 ' 2 23 3) 4 13 ' 3 82
9 ' 5 2 4) 3 3 ' 1 8
2) 10 5 4 12

การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน และการหารเศษส่วนด้วยจ�ำนวนนับ
วิธีการ 1. น�ำเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งคูณกับส่วนกลับของตัวหาร
2. หาผลคูณและท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
การหารจ�ำนวนคละ
วิธีการ 1. ท�ำจ�ำนวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน
2. คูณตัวตั้งด้วยส่วนกลับของตัวหาร
(เปลี่ยนเครื่องหมายหารเป็นเครื่องหมายคูณ)
3. หาผลคูณและท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

แบบฝึ
แบบฝึกหักดหัด5.21.5.2
(**) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1) 11
2 '36
3 8) 26 ' 3 171
2) 21 ' 2 13 9) 3 19 ' 1 12
7
9 '3
3) 2 10 10) 21 65 ' 7 43
4) 3 75 ' 1 14
6 11) 33 16 ' 11 25
2 '5 2
5) 2 11 12) 3 47 ' 5 14
4 25
6) 12
10 ' 3 5
4 13) 9 16 ' 11 22
25
1 '3 5
7) 3 10 8 103
14) 22 9 ' 1 108
6
30
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
6 การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน จะต้องหาผลลัพธ์ในวงเล็บก่อนเสมอ แล้วจึง
น�ำมาบวก ลบ คูณ หรือหารจ�ำนวนที่เหลือ
ตัวอย่าง
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
1 - 3 ' 1 2) `3 16 + 5 12 j # 4 12
1) 1 15 ` 10 2 j
1 - 3 ' 1 = 16 - 3 ' 1
วิธีท�ำ 1) 1 15 ` 10 2 j 15 c 10 2 m
= 16 3 2 1
15 - ` 10 5# 1 j หาผลลัพธ์ในวงเล็บก่อน
= 16 3
15 - 5
= 16 - 3 # 3 ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 15
15 5 # 3 m
c

= 16 9
15 - 15
7
= 15
1 - 3 '1 = 7
ดังนัน้ 1 15 ` 10 2 j 15
ตอบ ๑๕ ๗

2) c3 16 + 5 12 m # 4 12 = c 19 11 9
6 + 2 m# 2
= c 19 11 # 3 9
6 + 2 # 3 m # 2 ท�ำตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งเท่ากับ 6
= c 19 33 9
6 + 6 m# 2 หาผลลัพธ์ในวงเล็บก่อน
=26 52 #9
3
2 6 21
= 26 #3
2#1 อย่าลืมตรวจ
= 782 ค�ำตอบกันด้วยนะ
= 39
ดังนัน้ c3 16 + 5 12 m # 4 12 = 39
ตอบ ๓๙
31
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
10 ' 5 # 3 1 2) 2 2 # 1 + 5 1
1) ` 12 j 5 5 `8 2j

การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน


ต้องหาผลลัพธ์ในวงเล็บก่อนแล้วจึงน�ำมาบวก ลบ คูณ หรือหาร
จ�ำนวนที่เหลือ และค�ำตอบสุดท้ายต้องท�ำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

แบบฝึกหัด 1.6
(**) จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้
2 - 3 '1 11) b1 43 # 1 13 l ' 65
1) 1 15 ` 10 2 j
2) `7 32 + 3 16 j ' 105 12) `2 38 - 167 + 14 1
j 2
3) `1 183 - 2 +11 13) 9 # ` 43 - 85 j
6j 2
4) 7 # ` 35 - 10
1
j 14) b1 73 # 3 45 l ' 12
15
5) `2 12 - 41 j # 4 15) ` 15 # 32 j ' 304
6) ` 45 + 103 '4
j 5 16) b2 46 # 3 45 l + 1230
7) 7 # ` 35 - 10
1
j 17) b 13 # 2 45 l ' b1 72 # 1 78 l
8) 11 ' `4 45 + 20 3
j 18) b 25 + 1 201 ' 13 + 5
l b 8 24 l

9) 12 # ` 16 + 1 24 1
j 19) b2 47 + 1 14 5 - 9 '3 3
l _7 14 i
10) `3 41 - 2 201 #22
j 5 20) b1 95 - 13 l # b3 12 + 1 38 l

32
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
7 โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน
ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน
1. อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
2. เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
3. เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
4. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ

ตัวอย่างที่ 1
7 กิโลกรัม ซื้อมะม่วงมา 4 1 กิโลกรัม แม่ซื้อผลไม้มาทั้งหมด
แม่ซื้อส้มมา 5 10 2
กี่กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 1 อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
โจทย์ก�ำหนด แม่ซื้อส้มมา 7 = 57
5 10 กิโลกรัม
10
ซื้อมะม่วงมา 4 12 = 92 กิโลกรัม
โจทย์ถามหา แม่ซื้อผลไม้มาทั้งหมดกี่กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 2 เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
แม่ซื้อส้มและมะม่วง หาน�้ำหนักของผลไม้ทั้งหมด ใช้วิธกี ารบวก

7 กิโลกรัม
5 10 4 21 กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 3 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
ประโยคสัญลักษณ์ 5 10 7 +41 =
2
วิธีท�ำ 5 10 7 + 4 1 = 57 + 9 กิโลกรัม
2 10 2
57 + ` 9 # 5 j
= 10 กิโลกรัม
2#5
1 57 + 45
= 10 กิโลกรัม
102 = 10 2
10 10 5
10
= 10 15 = 102
10 กิโลกรัม
= 10 15 กิโลกรัม
ดังนั้น แม่ซื้อผลไม้มาทั้งหมด 10 15 กิโลกรัม
33
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
ซื้อส้มมาเกือบ 6 กิโลกรัม และซื้อมะม่วงมา 4 กิโลกรัมครึ่ง
แสดงว่า ควรซื้อผลไม้มาทั้งหมดเกือบ 10 กิโลกรัมครึ่ง
ดังนั้น 10 15 กิโลกรัม จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล

ตอบ แม่ซื้อผลไม้มาทั้งหมด ๑๐ ๕๑ กิโลกรัม

สายฟ้าใช้เวลาท�ำการบ้านวิชาภาษาไทย 35 ชั่วโมง ใช้เวลาท�ำการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ 1 10


1
ชั่วโมง สายฟ้าใช้เวลาท�ำการบ้านทั้งหมดกี่ชั่วโมง

ตัวอย่างที่ 2
1 ลิตร ใช้ไป 5 3 ลิตร จะเหลือน�้ำในถังกี่ลิตร
ถังใบหนึ่งมีน�้ำอยู่ 10 12 4
ขั้นตอนที่ 1 อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
โจทย์ก�ำหนด ถังใบหนึ่งมีน�้ำอยู่ 10 12 1 = 23 ลิตร
4
ใช้ไป 5 4 = 92 ลิตร 3
โจทย์ถามหา จะเหลือน�้ำในถังกี่ลิตร
ขั้นตอนที่ 2 เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
มีน�้ำอยู่ปริมาณหนึ่งแล้วใช้ไปถามว่าน�้ำจะเหลืออยู่เท่าใด ใช้วิธกี ารลบ

1 5 43
10 12

34
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ขั้นตอนที่ 3 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
ประโยคสัญลักษณ์ 10 12 1 -53 =
4
วิธีท�ำ 10 12 1 - 5 3 = 121 - 23 ลิตร
4 12 4
= 12 - ` 23
121 #3
4#3 j ลิตร
= 121 69
1213- 12 ลิตร
= 1252 ลิตร
3
= 3 13 ลิตร
= 4 13 ลิตร
ดังนั้น จะเหลือน�้ำในถัง 4 13 ลิตร

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
มีน�้ำอยู่มากกว่า 10 ลิตรเล็กน้อย ใช้ ไปเกือบ 6 ลิตร
แสดงว่า ควรเหลือน�้ำในถังมากกว่า 4 ลิตร
ดังนั้น 4 13 ลิตร จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล

ตอบ จะเหลือน�้ำในถัง ๔ ๓๑ ลิตร

ผ้าผืนหนึ่งยาว 8 21 เมตร แบ่งไปตัดกระโปรง 5 10


4 เมตร จะเหลือผ้ายาวกี่เมตร

35
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 3
น�ำ้ หอมเลีย้ งแกะ 120 ตัว เป็นแกะตัวผูจ้ ำ� นวน 45 ของแกะทัง้ หมด น�ำ้ หอมเลีย้ งแกะ
ตัวผู้จ�ำนวนกี่ตัว
ประโยคสัญลักษณ์ 45 # 120 =
4 # 120 เพราะเป็นแกะตัวผู้จ�ำนวน 4 ของแกะทั้งหมด และมีแกะทั้งหมด 120 ตัว
5 5
วิธีท�ำ น�้ำหอมเลี้ยงแกะ 120 ตัว
เป็นตัวผู้ 45 ของแกะทั้งหมด
24
น�้ำหอมเลี้ยงแกะตัวผู้ 45 # 120 = 4 #51201
ตัว
= 4 × 24 ตัว
= 96 ตัว
ดังนั้น น�้ำหอมเลี้ยงแกะตัวผู้จ�ำนวน 96 ตัว
ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
มีแกะอยู่ทั้งหมด 120 ตัว เป็นแกะตัวผู้มากกว่าครึ่งของแกะทั้งหมด
แสดงว่า ควรมีแกะตัวผู้มากกว่า 60 ตัว
ดังนั้น 96 ตัว จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล

ตอบ น�ำ้ หอมเลีย้ งแกะตัวผู้จ�ำนวน ๙๖ ตัว

4 ของผลไม้ที่มีทั้งหมด พ่อค้าซื้อส้มมา
พ่อค้ามีผลไม้ทั้งหมด 45 กิโลกรัม ซื้อส้มมาเพิ่มอีก 1 15
เพิ่มอีกกี่กิโลกรัม

36
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 4
น�้ำหวานมีนมอยู่ 16 12 ลิตร น�้ำหวานแบ่งนมใส่ขวด ขวดละ 1 12 ลิตร เท่า ๆ กัน
น�้ำหวานจะแบ่งนมได้ทั้งหมดกี่ขวด
ประโยคสัญลักษณ์ 16 12 ' 1 12 =
วิธีท�ำ น�้ำหวานมีนมอยู่ 16 12 = 33 2 ลิตร
น�้ำหวานแบ่งนมใส่ขวด ขวดละ 1 2 = 21 3 ลิตร เท่า ๆ กัน
จะแบ่งนมได้ทั้งหมด 16 12 ' 1 12 = 33 2 '3
21 ขวด
11
= 2 # 32 33 ขวด
1 1
= 1 # 1 11 # 1 ขวด
= 11 ขวด
ดังนั้น น�้ำหวานจะแบ่งนมได้ทั้งหมด 11 ขวด
ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
แบ่งนมใส่ขวด ขวดละ 1 12 ลิตร ทั้งหมด 11 ขวด
แสดงว่า มีนมอยู่ทั้งหมด 1 12 × 11 = 32 × 11 = 33 1
2 หรือ 16 2 ลิตร
โจทย์ก�ำหนดว่ามีนมอยู่ 16 12 ลิตร
ดังนั้น 11 ขวด จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล

ตอบ น�้ำหวานจะแบ่งนมได้ทั้งหมด ๑๑ ขวด

ที่ดิน 9 35 ไร่ แบ่งออกเป็นแปลง แปลงละ 15


8 ไร่ เท่า ๆ กัน จะแบ่งที่ดินได้ทั้งหมดกี่แปลง

37
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน
วิธีการ 1. อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
2. เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
3. เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
4. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ

แบบฝึกหัด 1.7
1. (**) แก้วซื้อส้ม 2 13 กิโลกรัม ซื้อแอปเปิล 3 65 กิโลกรัม แก้วซื้อส้มและแอปเปิลรวมกัน
กี่กิโลกรัม
2. (**) แป้งมีข้าวสาร 15 43 กิโลกรัม แบ่งให้ปุ๊ 7 85 กิโลกรัม แป้งเหลือข้าวสารกี่กิโลกรัม
3. (**) สวนรุ่งเรืองปลูกต้นไม้ 2 ชนิด ปลูกทุเรียน 36 40 ของเนื้อที่ทั้งหมด อยากทราบว่า
ปลูกขนุนเป็นเศษส่วนเท่าใดของเนื้อที่ทั้งหมด
4. (**) เชือกเส้นหนึ่งยาว 20 25 เมตร ตัดแบ่งเป็นเส้น เส้นละ 35 เมตร เท่า ๆ กัน จะตัดได้
ทั้งหมดกี่เส้น
5. (**) วันใหม่มีเงิน 480 บาท แบ่งให้น้อง 38 ของเงินที่มีอยู่ วันใหม่ให้เงินน้องไปกี่บาท
6. (**) กรองแก้วมีริบบิ้น 65 เมตร ตัดแบ่งไปใช้ท�ำโบ 13 เมตร เหลือริบบิ้นที่ยังไม่ได้ใช้
เท่าใด
7. (**) ทับทิมซ้อมเต้นวันแรกใช้เวลา 35 ชั่วโมง วันที่สองใช้เวลา 10 3 ชั่วโมง รวมสองวัน
ทับทิมใช้เวลาซ้อมเต้นกี่ชั่วโมง
8. (**) แม่มเี งิน 200 บาท แบ่งให้ลกู คนละ 15 ของเงินทีม่ อี ยู่ ลูกแต่ละคนจะได้รบั เงินคนละ
กี่บาท
9. (**) นิดอ่านหนังสือวันแรกไป 72 ของเล่ม วันที่สองอ่านไป 14 9 ของเล่ม รวมสองวัน
นิดอ่านหนังสือไปแล้วเป็นเศษส่วนเท่าใดของเล่ม
10. (**) ลุงมีที่ดิน 12 41 ไร่ แบ่งให้หลาน 3 คน คนละเท่า ๆ กัน หลานแต่ละคนจะได้
ที่ดินคนละกี่ไร่

38
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
8 โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
1. อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
2. เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
3. เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
4. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ

ตัวอย่างที่ 1
จ๋อมมีเงิน 540 บาท แบ่งให้เจี๊ยบ 13 ของเงินที่มีอยู่ จ๋อมเหลือเงินกี่บาท
ขั้นตอนที่ 1 อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
โจทย์ก�ำหนด จ๋อมมีเงิน 540 บาท
แบ่งให้เจี๊ยบ 1 ของเงินที่มีอยู่
3
โจทย์ถามหา จ๋อมเหลือเงินกี่บาท
ขั้นตอนที่ 2 เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 1 หาจ�ำนวนเงินที่จ๋อมแบ่งให้เจี๊ยบ ใช้วิธกี ารคูณ
ขั้นที่ 2 หาจ�ำนวนเงินที่จ๋อมเหลืออยู่ ใช้วิธกี ารลบ
ขั้นตอนที่ 3 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
ประโยคสัญลักษณ์ 540 - ` 13 # 540j =
วิธีท�ำ ขั้นที่ 1 หาจ�ำนวนเงินที่จ๋อมแบ่งให้เจี๊ยบ
จ๋อมมีเงิน 540 บาท
แบ่งให้เจี๊ยบ 13 ของเงินที่มีอยู่
180
แบ่งให้เจี๊ยบ 1 # 540 = 180 บาท
13
ขั้นที่ 2 หาจ�ำนวนเงินที่จ๋อมเหลืออยู๋
จ๋อมเหลือเงิน 540 - 180 = 360 บาท
ดังนั้น จ๋อมเหลือเงิน 360 บาท

39
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
จ๋อมมีเงินอยู่ 540 บาท แบ่งให้เจี๊ยบ 13 ของเงินที่มีอยู่
แสดงว่า แบ่งให้เจี๊ยบน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของเงินที่มี คือ 540 × 12 = 270 บาท
จะได้ว่า จ๋อมควรเหลือเงินมากกว่า 540 - 270 = 270 บาท
ดังนั้น 360 บาท จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
ตอบ จ๋อมเหลือเงิน ๓๖๐ บาท

ตัวอย่างที่ 2
พุดจีบซื้อส้ม 3 21 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 28 บาท ซื้อมังคุด 12 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 30 บาท พุดจีบจะต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
ขั้นตอนที่ 1 อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
โจทย์ก�ำหนด พุดจีบซื้อส้ม 3 21 กิโลกรัม
ส้มราคากิโลกรัมละ 28 บาท
ซื้อมังคุด 1 กิโลกรัม
2
มังคุดราคากิโลกรัมละ 30 บาท
โจทย์ถามหา พุดจีบจะต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
ขั้นตอนที่ 2 เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 1 หาจ�ำนวนเงินที่ใช้ซื้อส้ม ใช้วิธกี ารคูณ
ขั้นที่ 2 หาจ�ำนวนเงินที่ใช้ซื้อมังคุด ใช้วิธกี ารคูณ
ขั้นที่ 3 หาจ�ำนวนเงินทีพ่ ุดจีบจะต้องจ่ายทั้งหมด ใช้วิธกี ารบวก

40
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ขั้นตอนที่ 3 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
ประโยคสัญลักษณ์ `3 12 # 28j + ` 12 # 30j =
วิธีท�ำ ขั้นที่ 1 หาจ�ำนวนเงินที่ใช้ซื้อส้ม
พุดจีบซื้อส้ม 3 12 = 72 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 28 บาท
14
พุดจีบซื้อส้มเป็นเงิน 7 # 28 = 98 บาท
12
ขั้นที่ 2 หาจ�ำนวนเงินที่ใช้ซื้อมังคุด
พุดจีบซื้อมังคุด 1 กิโลกรัม
2
ราคากิโลกรัมละ 30 บาท
15
พุดจีบซื้อมังคุดเป็นเงิน 1 12 # 30 = 15 บาท
ขั้นที่ 3 หาจ�ำนวนเงินทีพ่ ุดจีบจะต้องจ่ายทั้งหมด
พุดจีบจะต้องจ่ายเงินทั้งหมด 98 + 15 =113 บาท
ดังนั้น พุดจีบจะต้องจ่ายเงินทั้งหมด 113 บาท
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
ซื้อส้มมากกว่า 3 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 28 บาท
จะได้ว่า ควรจะจ่ายเงินค่าส้มมากกว่า 3 × 28 = 84 บาท
ซื้อมังคุดครึ่งกิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 30 บาท
จะได้ว่า ต้องจ่ายเงินค่ามังคุด 30 × 12 = 15 บาท
แสดงว่า ควรจ่ายเงินซื้อผลไม้ทั้งหมดมากกว่า 84 + 15 = 99 บาท
ดังนั้น 113 บาท จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
ตอบ พุดจีบจะต้องจ่ายเงินทั้งหมด ๑๑๓ บาท

41
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 3
มีน�้ำองุ่นแท้ 7 37 ลิตร เติมน�้ำเชื่อมลงไป 14 8 ลิตร แล้วแบ่งใส่ขวดขนาด 1 ลิตร
4
จะแบ่งน�้ำองุ่นได้ทั้งหมดกี่ขวด
ประโยคสัญลักษณ์ `7 73 + 14 8 ÷1=
j 4
ขั้นตอนที่ 1 อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
โจทย์ก�ำหนด มีน�้ำองุ่นแท้ 7 37 ลิตร
เติมน�้ำเชื่อมลงไป 8
14 ลิตร
แบ่งใส่ขวดขนาด 1 ลิตร
4
โจทย์ถามหา จะแบ่งน�้ำองุ่นได้ทั้งหมดกี่ขวด
ขั้นตอนที่ 2 เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 1 หาปริมาณน�้ำองุ่นแท้ผสมน�้ำเชื่อมทั้งหมด ใช้วิธกี ารบวก
ขั้นที่ 2 หาจ�ำนวนขวดที่แบ่งน�้ำองุ่นผสมน�้ำเชื่อมได้ทั้งหมด ใช่วิธกี ารหาร
ขั้นตอนที่ 3 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
ประโยคสัญลักษณ์ `7 73 + 14 8 ÷1=
j 4
วิธีท�ำ ขั้นที่ 1 หาปริมาณน�้ำองุ่นแท้แผสมน�้ำเชื่อมทั้งหมด
มีน�้ำองุ่น 7 37 = 52
7 ลิตร
เติมน�้ำเชื่อม 8
14 ลิตร
รวมกันได้ทั้งหมด 52 8 52 # 2 8
7 + 14 = ` 7 # 2 j + 14 ลิตร
= 104 8
14 + 14 ลิตร
= 112 14 ลิตร
ขั้นที่ 2 หาจ�ำนวนขวดที่แบ่งน�้ำองุ่นผสมน�้ำเชื่อมได้ทั้งหมด
แบ่งใส่ขวดขนาด 1
4 16 2
ลิตร
จะแบ่งได้ทั้งหมด 112 1 112 4
14 ÷ 4 =1 7 14 × 1 ขวด
= 16 × 2 ขวด
= 32 ขวด
ดังนั้น จะแบ่งได้ทั้งหมด 32 ขวด

42
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ
มีน�้ำองุ่นผสมน�้ำเชื่อมทั้งหมด 32 ขวด ขวดละ 41 ลิตร
จะได้ว่า มีน�้ำองุ่นทั้งหมด 32 × 41 = 8 ลิตร
8 ลิตร
น�้ำองุ่นมีน�้ำเชื่อมผสมอยู่ 14
แสดงว่า ควรมีน�้ำองุ่นแท้อยู่ไม่ถึง 8 ลิตร
โจทย์ก�ำหนดว่ามีน�้ำองุ่นแท้ 7 37 ลิตร ซึ่ง 7 37 น้อยกว่า 8
ดังนั้น 32 ขวด จึงเป็นค�ำตอบที่สมเหตุสมผล
ตอบ จะแบ่งน�้ำองุ่นได้ทั้งหมด ๓๒ ขวด

1) แป้งสาลีถุงที่หนึ่งหนัก 5 79 กิโลกรัม ถุงที่สองหนักกว่าถุงแรก 1 23 กิโลกรัม แป้งสาลีสอง


ถุงรวมกันหนักกี่กิโลกรัม
2) แม่คา้ มีขา้ วสารถุงใหญ่ 6 ถุง หนักถุงละ 7 21 กิโลกรัม น�ำมาแบ่งใส่ถงุ เล็ก ถุงละ 2 12 กิโลกรัม
แม่ค้าจะแบ่งข้าวสารใส่ถุงเล็กได้กี่ถุง
3) พ่อซื้อเชือกมาสองเส้น เส้นแรกยาว 7 12 เมตร เส้นที่สองยาวกว่าเส้นแรก 13 เมตร ถ้าพ่อ
แบ่งเชือกเส้นที่สองเส้นออกเป็น เส้นละ 16 เมตร เท่า ๆ กัน พ่อจะแบ่งเชือกเส้นที่สองได้
ทั้งหมดกี่เส้น

การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน


วิธีการ 1. อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจว่าโจทย์ก�ำหนดอะไรมาให้ และถามหาอะไร
2. เลือกใช้วิธีแก้ปัญหาให้ถูกต้อง
3. เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีท�ำ
4. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของค�ำตอบ

43
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
แบบฝึกหัด 1.8
1. (*) โรงเรียนแห่งหนึง่ มีนกั เรียนทัง้ หมด 760 คน เป็นนักเรียนชาย 25 ของนักเรียนทัง้ หมด
จะมีนักเรียนหญิงกี่คน
2. (**) มีน�้ำมันอยู่ 6 แกลลอน แกลลอนละ 5 13 ลิตร น�ำมาแบ่งใส่ขวด ขวดละ 1 35 ลิตร
จะแบ่งน�้ำมันได้กี่ขวด
3. (**) แม่ซื้อส้มมา 1 12 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 30 บาท และซือ้ องุน่ มา 2 15 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 120 บาท แม่ซอื้ ส้มและองุน่ รวมกันเป็นเงินกีบ่ าท
4. (**) แม่ซื้ออุปกรณ์ส�ำหรับท�ำขนมโดยซื้อแป้งข้าวเจ้า 43 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ
48 บาท ซื้อแป้งข้าวเหนียว 65 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 24 บาท แม่จะต้องจ่ายเงิน
ทั้งหมดกี่บาท
5. (***) แม่ค้ามีมะม่วง 1,800 ผล แบ่งขายครั้งแรกไป 25 ของจ�ำนวนมะม่วงทั้งหมด
แบ่งขายครั้งที่สองไป 29 ของที่เหลือ เหลือมะม่วงที่ยังไม่ได้ขายอีกเท่าใด
6. (***) อิงฟ้ามีเงินอยู่ 1,000 บาท ซื้อเสื้อ 25 ของเงินที่มีอยู่ และซื้อกระโปรง 25 ของเงิน
ที่เหลือ อิงฟ้าซื้อเสื้อและกระโปรงเป็นเงินเท่าใด
7. (***) แม่มีเงิน 40,000 บาท พ่อมีเงิน 25 ของแม่ พ่อและแม่มีเงินรวมกันกี่บาท
8. (***) ลุงนึกมีที่ดิน 41 11
3 ไร่ แบ่งให้ลูกไป 3 ไร่ ที่เหลือขายไปไร่ละ 50,000 บาท
ลุงนึกขายที่ดินได้เงินเท่าใด
9. (***) แป้งสะสมเหรียญไว้ทั้งหมด 320 เหรียญ เป็นเหรียญสิบบาท 20 7 เท่าของเหรียญ
ทั้งหมด และเป็นเหรียญบาท 20 บาท แป้งมีเหรียญสิบบาทและเหรียญบาทรวมกัน
เท่ากับกี่บาท
10. (***) พ่อแบ่งที่ดินให้ลูก 2 คน โดยให้ลูกชายคนโต 38 ไร่ น้องชายได้น้อยกว่าพี่ 41 ไร่
พ่อแบ่งที่ดินให้ลูกทั้งหมดกี่ไร่

44
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงตอบค�ำถามต่อไปนี้
• จงอธิบายวิธีการเปรียบเทียบและเรียงล�ำดับเศษส่วนและจ�ำนวนคละ
• จงอธิบายวิธีการบวกและลบเศษส่วนและจ�ำนวนคละ
• จงอธิบายวิธีการคูณและหารเศษส่วนและจ�ำนวนคละ
• จงอธิบายวิธีการบวก ลบ คูณ หารระคนเศษส่วนและจ�ำนวนคละ
• จงบอกล�ำดับการหาผลลัพธ์ของ `4 13 + 3 21 j - 65

ถังน�้ำมีน�้ำอยู่ปริมาณหนึ่ง น้องจิ๊บเติมน�้ำลงไปอีก 3 ลิตร เมื่อยกถังน�้ำท�ำให้น�้ำหกไป 41 ของ


ปริมาณน�้ำทั้งหมด หลังจากเทน�้ำ 25 ของที่เหลือใส่ขวดแล้ว ท�ำให้น�้ำในถังเหลืออยู่ 18 ลิตร
จงหาว่า ในตอนแรกมีน�้ำอยู่ในถังกี่ลิตร

3 ลิตร หกไป 41 ของ


ปริมาณน�ำ้ ทัง้ หมด เทน�้ำ 25 ของ
ที่เหลือใส่ขวด
เหลืออยู่ 18 ลิตร

45
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
จงเลือกค�ำตอบที่ถูกต้อง
1. d6 = 54 จงหาจ�ำนวนมาเติมใน แล้วท�ำให้ประโยคเป็นจริง
63
ก. 6
ข. 7
ค. 8
ง. 9

2. ข้อใดเติมเครื่องหมาย < แล้วท�ำให้ประโยคเป็นจริง


ก. 125 3
8
ข. 910 9
10
12
ค. 16 3
4
ง. 122
248
1
2

3. ข้อใดเป็นเศษส่วนอย่างต�่ำทุกจ�ำนวน
ก. 12 , 32 , 39
ข. 45 , 65 , 68
ค. 65 , 78 , 109
ง. 76 , 89 , 12
10

1 +12 =
4. จงหาผลลัพธ์ของ 27 9
1
ก. 1 3
ข. 3
7
ค. 1 27
ง. 27
46
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
5. จงหาผลลัพธ์ของ 6 14 3
25 - 4 5
ก. 1 45
ข. 1 24
25
ค. 2 45
ง. 2 251

6. 2 45 ของ 2 76 มีค่าเท่าใด
ก. 8
ข. 35
ค. 18
ง. 351

7. จงหาผลลัพธ์ของ 2 32 ' `6 # 2 32 j =
ก. 16
ข. 41
ค. 13
ง. 12

8. จงหาผลลัพธ์ของ 32 # ` 72 + 141 j =
ก. 1
ข. 6
5
ค. 21
ง. 6
7

47
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
9. ถังน�้ำที่จุน�้ำได้ 20 ลิตร มีน�้ำอยู่เพียง 6 76 ลิตร ต้องเติมน�้ำอีกเท่าใดจึงจะเต็มถังพอดี
ก. 12 76 ลิตร
ข. 13 17 ลิตร
ค. 12 13 ลิตร
ง. 13 13 ลิตร

10. บอลมีเงิน 400 บาท บาสมีเงินเป็น 85 ของบอล และโบ๊ทมีเงินเป็น 35 ของบาส


ทั้ง 3 คน มีเงินรวมกันเท่าใด
ก. 900 บาท
ข. 880 บาท
ค. 820 บาท
ง. 800 บาท

(แนวข้อสอบ TEDET)
1. จงหาค่าของ 2 2 + 2 + 1 7
3 6 12
(แนวข้อสอบ O-NET)
2. 98 # 10 14
21 # 25 มีค่าเท่ากับเท่าใด

(แนวข้อสอบ TEDET)
3. จ�ำนวนจ�ำนวนหนึ่งเท่ากับ 7 ของ 55 จงหาว่า 10 เท่าของจ�ำนวนนี้เท่ากับเท่าใด
11
(แนวข้อสอบ O-NET)
4. ราตรีใช้เวลาออกก�ำลังกายเป็น 43 ของเวลาที่ทิวาออกก�ำลังกาย ถ้าราตรีออกก�ำลังกาย
45 นาที แล้วทิวาออกก�ำลังกายกี่นาที

48
เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน

You might also like