You are on page 1of 147

s

เอกสารชุดแนวทางพัฒนาการเรียนรู้
ชุดที่ 4 สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

เล่มที่ 1
เทคนิค วิธกี ารและสื่อ
สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั
กษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ กษาขัน้ พื้นฐาน
เอกสารชุดแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้
สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

ชุดที่ 4
เทคนิควิธีการและสื่อ
สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
เล่มที่ 1

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง เทคนิควิธีการและสื่อสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1
ผู้จัดพิมพ์ กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาในศูนย์การศึกษาพิเศษและเรียนร่วม
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานาครั้งที่
เอกสาร “ชุด แนวทางพั ฒ นาการเรียนรู้ ส าหรับนั กเรียนที่ มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ”
ฉบับ นี้ได้ปรับปรุงมาจากเอกสารที่ได้จัดทาและเผยแพร่ ในปี พ.ศ.2555 โดยที่ผ่านมาพบว่า เอกสารชุด
ดังกล่าว เป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาผู้เรียนที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้
ด้านต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐานจึงได้ปรับปรุง พัฒนา
เอกสารดังกล่าวให้มีความชัดเจนสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น เพื่อให้ ครูผู้สอนนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒ นา
ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพต่อไป
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารชุดนี้
หวังเป็น อย่างยิ่งว่าเอกสารชุดนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิตของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คานา
เอกสารชุด “แนวทางพัฒนาการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ” นี้ได้
จัดทาและเผยแพร่ครั้งแรกในปี พ.ศ.2551 โดยในครั้งนั้นได้จัดทาเป็นเอกสาร 5 เล่ม คือ เล่มที่ 1 ความรู้
พื้น ฐานและแนวทางพั ฒ นานั กเรี ย นที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เล่ มที่ 2 การเตรียมความพร้อม
ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ องทางการเรีย นรู้เล่ ม ที่ 3 เทคนิ ค วิธีก ารและสื่ อ ส าหรับ นั กเรียนที่ มี
ความบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ด้ า นการอ่ า น เล่ ม ที่ 4 เทคนิ ค วิ ธี ก ารและสื่ อ ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี
ความบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ด้ า นการเขี ย น และเล่ ม ที่ 5 เทคนิ ค วิ ธี ก ารและสื่ อ ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์ โดยที่ ผ่านมาพบว่าเอกสารชุดดังกล่าวเป็นประโยชน์
กับครูผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านต่างๆได้เป็นอย่างดี
อย่ า งไรก็ ต ามเพื่ อ ให้ เ อกสารชุ ด นี้ มี ค วามเป็ น ปั จ จุ บั น และมี ค วามสมบู ร ณ์ มากยิ่ ง ขึ้ น
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงเห็นควรปรับปรุงเอกสารดังกล่าว โดยในการปรับปรุงครั้งนี้
นอกจากความเหมาะสมของเทคนิค วิธีการและสื่อสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง ก ารเรี ย น รู้ แ ล้ ว
ยังได้คานึงถึงความสะดวกของครู และผู้ที่เกี่ยวข้องในการนาไปใช้ด้วยเป็น สาคัญ ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดพิมพ์
เอกสารชุดนี้ แบ่ งออกเป็ น 4 ชุด จานวน 14 เล่ม เพื่อให้เอกสารแต่ละเล่มมีขนาดไม่ห นาจนเกินไปโดย
ประกอบด้วยเอกสารต่าง ๆ ดังนี้
เอกสารชุ ด ที่ 1 การเตรี ย มความพร้ อ มส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้
ประกอบด้วยเอกสาร 3 เล่ม
เอกสารชุ ด ที่ 2 เทคนิ ค วิ ธี ก ารและสื่ อ ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้
ด้านการอ่าน ประกอบด้วยเอกสาร 3 เล่ม
เอกสารชุ ด ที่ 3 เทคนิ ค วิ ธี ก ารและสื่ อ ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้
ด้านการเขียน ประกอบด้วยเอกสาร 3 เล่ม
เอกสารชุ ด ที่ 4 เทคนิ ค วิ ธี ก ารและสื่ อ ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้
ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยเอกสาร 5 เล่ม
สาหรับเอกสารนี้เป็นเล่มที่ 1 ในเอกสารชุดที่ 4 เทคนิควิธีการและสื่อ สาหรับนักเรียนที่มีความ
บกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์ ซึ่งในเอกสารจะกล่าวถึงสภาพปัญหา แนวทางพัฒ นาเทคนิค
วิธีการและสื่อการเรีย นการสอน รวมทั้งกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และแบบฝึ ก ที่จะนาไปสู่ การแก้ไข
ปัญหาที่ เกิดกับนักเรียนที่ มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ใน
การนาไปใช้ครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้ ที่เกี่ยวข้องอาจพิจาณาปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารชุดนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อครูผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับซึ่งจะ
ได้น าไปประยุ กต์ใช้ เพื่ อพั ฒ นานั กเรี ย นที่ มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสม กล่ าวคื อ
นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ แต่ ละคนจะได้รับการช่วยเหลือและส่งเสริมให้ได้รับการพัฒนา
เต็มศักยภาพซึ่งย่อมส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิตของผู้เรียน

(นายชินภัทร ภูมิรัตน)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คาชี้แจง
เอกสารชุดแนวทางการพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทาขึ้น
เพื่อให้ครูผู้สอนได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน สาหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ รายละเอียดของเอกสารทั้งหมดมี 14 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
เล่ ม ที่ 2 การเตรี ย มความพร้ อ มนั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ด้ า นสมาธิ
ด้านการรับรู้ทางการเห็น และด้านการรับรู้ทางการได้ยิน
เล่มที่ 3 การเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการประสาน
ความสัมพันธ์ระหว่างสายตากับมือ และการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ
เล่ ม ที่ 4 เทคนิ ค วิ ธี ก ารส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ด้ า นการอ่ า น
การเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
เล่ ม ที่ 5 เทคนิ ค วิ ธี ก าร ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ด้ า นการอ่ า น
การอ่านเบื้องต้น
เล่มที่ 6 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การอ่าน
คล่อง และอ่านจับใจความ
เล่มที่ 7 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน ปัญหา
การเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย
เล่มที่ 8 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน ปัญหา
การเขียนพยัญชนะ สระ และเลขกลับด้านคล้ายมองจากกระจกเงา การเขียนพยัญชนะ และตัวเลขไทยที่
มีลักษณะคล้ายกัน และการเขียนตัวหนังสือที่อ่านไม่ออก
เล่มที่ 9 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน ปัญหา
การเขียนเรียงลาดับพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ผิดตาแหน่ง การเขียนสะกดคาผิด คาพ้องเสียง คาที่มี
ตัวสะกด และการเขียนไม่ได้ใจความ
เล่มที่ 10 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการบอกค่าและความหมายของจานวนนับ การจาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ การจาแนกตัวเลข
ที่คล้ายกัน การนับเรียงลาดับจานวน การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน และการอ่านและการเขียน
จานวนนับ
เล่มที่ 11 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการบวกจานวนที่มีหนึ่งหลักและสองหลัก การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคาตอบจากโจทย์
ปัญหาการบวก การลบจานวนที่มีหนึ่งหลักและสองหลัก และการเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคาตอบ
จากโจทย์ปัญหา
เล่มที่ 1 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการคูณ การหาร และการบวกลบเศษส่วน
เล่มที่ 13 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญหาการเรียงลาดับวันในสัปดาห์ การเรียงเดือนในรอบปี การอ่านเวลา การบอกตาแหน่งและทิศทางการ
เปรี ย บเที ย บและวัด ความยาว การชั่งและการน าไปใช้ ในชี วิ ต ประจาวั น การตวงและการน าไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน และเงิน
เล่มที่ 14 เทคนิค วิธีการสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ปัญ หารูป เรขาคณิ ตสองมิติ การเขีย นรูปเรขาคณิ ตสองมิติ การบอกและจาแนกรูปเรขาคณิ ตสามมิติ
ความคิดรวบยอดเกี่ย วกับ แบบรู ป และความสั มพันธ์ของรูปด้านรูปร่าง ขนาด สี และจานวน การเก็บ
รวบรวมและนาเสนอข้อมูล การอ่านแผนภูมิ การเขียนแผนภูมิ และ ความสมเหตุสมผลในการคาดการณ์
แนวทางการใช้เอกสารชุดแนวทางการพัฒนา
นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ครูผู้สอนควรดาเนินการ ดังนี้
1. ใช้แบบคัดกรองผู้ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ตามกฎกระทรวงฯ เพื่อทราบความบกพร่อง
ทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน หรือด้านคณิตศาสตร์
2. ประเมินความสามารถและทักษะการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล
3. วางแผนจัดการเรียนการสอนเป็นรายบุ คคล โดยจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
4. ให้เลือกใช้เอกสาร ชุดแนวทางการพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ให้สอดคล้อง
กับแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
5. ควรใช้สื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและกระตุ้นให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีความสุขโดย
คานึงถึงความสนใจของผู้เรียนเป็นสาคัญ
6. วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอด้วยเครื่องมือและวิธีการที่
เหมาะสม
7. นาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะ
บุคคล (IIP)
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา
สารบัญ
บทนา
ความสาคัญ................................................................................................................................................ 1
สภาพปัญหา............................................................................................................................................... 1
จุดประสงค์................................................................................................................................................. 2
ปัญหา............................................................................................................................. ............................ 3
แนวการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์………................. 6
วิธีใช้เทคนิค วิธีการและสื่อการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์…………………………………………………………………………………………………………………………. 7
การวัดและประเมินผล................................................................................................................................ 8
สรุปการนาเทคนิค วิธีการ สื่อไปใช้กับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์............... 9

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ…………………………………………………………………………………………….. 10
ปัญหาที่ 1 การบอกค่าและความหมายของจานวนนับ............................................................................ 10
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง จานวนอะไรเอ่ย.................................................... 11
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หยิบ 1,2,3…......................................................... 17
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 ฉันหยิบได้...................................................................... 22
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 คู่หนูอยู่ไหน.................................................................... 28
ปัญหาที่ 2 การจาลักษณะตัวเลขและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์........................................................... 37
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 จาฉันได้ไหม.................................................................. 38
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การจาสัญลักษณ์ควรจา............................................... 48
เรื่อง หน้า

ปัญหาที่ 3 การจาแนกตัวเลขที่คล้ายกัน............................................................................................... 53
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 หาคู่ให้หนูหน่อย......................................................... 54
ปัญหาที่ 4 การนับเรียงลาดับจานวน.................................................................................................... 59
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 ฉันนับได้..................................................................... 60
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เปรียบเทียบจานวน.................................................... 67
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรียงเลขต่อกัน.......................................................... 73
ปัญหาที่ 5 การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน..................................................................................... 80
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เติมให้เต็ม.................................................................. 81
ปัญหาที่ 6 การอ่านและเขียนจานวนหลายหลัก.................................................................................... 97
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 สีมหัศจรรย์................................................................. 98
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 มัดครบสิบ.................................................................103

บรรณานุกรม........................................................................................................................................ 109
ภาคผนวก............................................................................................................................................. 110
การสอนด้วยวิธี Touch Mat……………………………………………………………………………….. 111
ตัวอย่างสื่อ........................................................................................................................ 122
คณะทางานปรับเอกสาร........................................................................................................................ 132
บทนา
ความสาคัญ
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability : LD) หรือ แอลดี หมายถึง ความบกพร่อง
อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งอย่างทางกระบวนการพื้นฐานทาง จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ
หรื อ การใช้ ภ าษา การพู ด การอ่ า นการเขี ย น การสะกดค า หรื อ การคิ ด ค านวณทางคณิ ต ศาสตร์
ความบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ นั บ เป็ น ประเภทของความพิ ก าร หรื อ บกพร่ อ งที่ พ บมากที่ สุ ด
ในประชากรวัยเรียน โดยคิดเป็น ประมาณร้อยละ 5 ของประชากรวัยเรียน และคิดเป็นประมาณร้อยละ
50 ของจานวน นักเรียนที่มีความพิการหรือบกพร่องทุกประเภทรวมกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน
สาหรับเด็กกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นเด็กที่มี สติปัญญาปกติ ถ้าหากครูผู้สอนไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับ ความบกพร่อง
และลักษณะของปัญหาที่เด็กประสบแล้ว ย่อมส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้
และสภาพความบกพร่องที่ต้องการแก้ไขหรือพัฒ นา และ ยังอาจส่ งผลให้ เด็กเหล่ านี้ขาดความเชื่อมั่น
ในตนเอง รวมทั้งอาจมีปัญหาพฤติกรรมหรือ ปัญหาอื่นๆ ตามมาได้
เนื่ องจากคณิ ตศาสตร์ เป็ น วิช าที่ เป็ น นามธรรม และประกอบด้ ว ยสั ญ ลั ก ษณ์ ดั งนั้ น อาจยาก
ต่อการเรี ยนรู้และเข้าใจ โดยเฉพาะส าหรับนั กเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิ ตศาสตร์
อาจมีลั กษณะความบกพร่องด้านดังกล่าวแตกต่างกันไป เช่น เด็กบาง คนมีปัญ หาในการรับรู้เกี่ยวกับ
สัญลักษณ์ซึ่งส่งผลให้มีปัญหาในการเรียนคณิตศาสตร์ หรือ เด็กบางคนมีปัญหาในการอ่านก็อาจส่งผลใน
การท าโจทย์ ปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ เป็ น ต้ น โดย ความรุ น แรงของปั ญ หาในด้ านการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์
อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
สานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐานตระหนั กถึงปัญ หาดังกล่ าว จึงเห็ นความส าคั ญ
ในการเสริ มสร้ างการเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย นที่ มี ความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยมุ่ งหวังจะให้ เกิ ดความ
เสมอภาคทางการศึกษาและให้เด็กเหล่านี้ได้เรียนรู้อย่า งมี ประสิทธิภาพเช่นเดียวกับเด็กทั่วไป จึงได้จัดทา
เอกสารวิธีการและสื่อการเรีย นรู้สาหรับ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิ ตศาสตร์ขึ้น
เพื่ อ เป็ น แนวทางหนึ่ ง ในการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ท างด้ า น
คณิตศาสตร์

สภาพปัญหา

นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ที่พบได้ในโรงเรียนทั่วไปจะมีความ
ยากลาบากในเรื่องต่อไปนี้
1. ความคิดรวบยอดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น เรื่องขนาด ความยาว น้าหนัก ทิศทาง ตาแหน่ง
รูปเรขาคณิต เวลา พื้นสัมผัส สี ลักษณะเส้น การจาแนก การเปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรียงลาดับจานวน
เป็นต้น
2. ระบบจ านวน เช่ น ค่าและความหมายของจานวนค่าประจาหลั ก การกระจายจานวนตาม

1
ค่าประจาหลัก เป็นต้น
3. ขั้นตอนกระบวนการในการคิดคานวณ เช่น ไม่สามารถจาและหรือเขียนสัญลักษณ์แทนการ
กระทาทางคณิตศาสตร์ขั้นตอนในการบวกลบคูณหารการทดและการกระจายจานวนในการลบ เป็นต้น
4. การนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การเรียงลาดับที่ของขนาด จานวน
การบอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัด เป็นต้น
5. การนับจานวนการจาแนกตัวเลขจานวนที่คล้ายคลึงกัน การบอกค่าของตัวเลขในจานวนต่าง ๆ
การอ่านจานวนที่มีหลายหลัก
6. ภาษาคณิตศาสตร์ เช่น การบอกสัญลักษณ์ การบวก การเปรียบเทียบขนาด ตาแหน่ง ทิศทาง
เวลา น้าหนัก ส่วนสูง ความยาว เป็นต้น
7. ข้อเท็จจริงพื้นฐานของจานวน เช่น ไม่เข้าใจจานวนมากกว่าหรือน้อยกว่า
8. การบอกความเหมือนหรือความต่างกัน ของวัตถุสิ่งของ รูปภาพ จานวนที่เท่ากันหรือต่างกัน
9. การเรียงลาดับจานวนจากมากไปหาน้อย หรือจากน้อยไปหามาก
10. การเขียนตัวเลขที่คล้ายกันหรือสลับที่กัน เช่น 6-9, 3-8, 1-7, 12-21
11. การรับรู้ทางการได้ยินโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ทาให้ไม่เข้าใจโจทย์ และคาถามทาง
คณิตศาสตร์ทาให้ตอบไม่ตรงคาถาม
12. การเขียนค่าประจาหลักไม่ตรงหลักจานวน
13. การใช้เส้นจานวน
14. การนับเรียงวันใน 1 สัปดาห์ / เดือน / ปี
15. การนับเพิ่ม การนับลด ครั้งละเท่า ๆ กัน
16. การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
17. การจาแนกรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ
18. การหาความสัมพันธ์ของแบบรูป เช่น แบบรูปที่เป็นรูปภาพ จานวน สี สัญลักษณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
19. การอ่านแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง กราฟ แผนผัง และทิศทาง
20. การหาเหตุผลเชิงปริมาณ

จุดประสงค์

1. เพื่อให้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีพัฒนาการในการเรียนได้
อย่างมีคุณภาพ
2. เพื่อให้ครูผู้สอนได้แนวทางในการแก้ปัญหานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์
3. เพื่อผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์

2
ปัญหา

สาระ ปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน กิจกรรมการแก้ปัญหา


1. จานวนและการ 1. การบอกค่าและความหมายของ กิจกรรมที่ 1 จานวนอะไรเอ่ย
ดาเนินการ จานวนนับ กิจกรรมที่ 2 หยิบ 1,2,3…
กิจกรรมที่ 3 ฉันหยิบได้
กิจกรรมที่ 4 คู่หนูอยู่ไหน
2. การจาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ กิจกรรม จาฉันได้ไหม
3. การจาแนกตัวเลขที่คล้ายกัน กิจกรรม หาคู่ให้หนูหน่อย
4. การนับเรียงลาดับจานวน กิจกรรมที่ 1 ฉันนับได้
กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทียบจานวน
กิจกรรมที่ 3 เรียงเลขต่อกัน
5. การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน กิจกรรม เติมให้เต็ม
6. การอ่านและเขียนจานวนที่มีหลาย กิจกรรมที่ 1 สีมหัศจรรย์
หลัก กิจกรรมที่ 2 มัดครบสิบ
7. การบวกจานวนที่มีหนึ่งหลักและสอง กิจกรรมที่ 1 ใบไม้นาโชค
หลัก กิจกรรมที่ 2 การบวกโดยการสัมผัส
กิจกรรมที่ 3 บวกง่ายนิดเดียว
กิจกรรมที่ 4 ผลบวกน้อยกว่า 10
กิจกรรมที่ 5 ผลลัพธ์ไม่เกิน 20
กิจกรรมที่ 6 การบวกแนวตั้งที่ไม่มีการทด
กิจกรรมที่ 7 การบวกจานวนที่มสี องหลักมี
ทด
กิจกรรมที่ 8 ทดด้วยลูกคิด
8. การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหา กิจกรรมที่ 1 คาที่มีความหมาย
คาตอบจากโจทย์ปัญหาการบวกง่าย ๆ กิจกรรมที่ 2 ปัญหาพาสนุก
9. การลบจานวนที่มีหนึ่งหลักและสอง กิจกรรมที่ 1 เหลือเท่าไหร่
หลักและหาคาตอบจากโจทย์ปญ ั หา กิจกรรมที่ 2 ดาวกระจาย
10. การเขียนประโยคสัญลักษณ์และหา กิจกรรมที่ 1 เกมใบ้คา
คาตอบจากโจทย์ปัญหาการลบ กิจกรรมที่ 2 ลบหรรษาพาสนุก
11. การคูณ กิจกรรมที่ 1 นับเพิ่ม
กิจกรรมที่ 2 ฝาแฝดออมทรัพย์
กิจกรรมที่ 3 มาคูณกันเถอะ
กิจกรรมที่ 4 ผลไม้ที่ฉันชอบ
กิจกรรมที่ 5 คูณแบบ Touch Math
กิจกรรมที่ 6 ฉันไปซื้อของ
12. การหาร กิจกรรมที่ 1 ความหมายของการหาร
กิจกรรมที่ 2 ความสัมพันธ์การคูณ กับการ
หาร
กิจกรรมที่ 3 โจทย์ปัญหาการหาร

3
สาระ ปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน กิจกรรมการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ 4 การหารเลขคณิต แบบตาราง
13. การบวกลบเศษส่วน กิจกรรมที่ 1 เศษส่วนสดใสด้วย สีสัน
กิจกรรมที่ 2 มาบวกเศษส่วนกันเถอะ
กิจกรรมที่ 3 ไม่เท่ากันก็บวกได้
กิจกรรมที่ 4 ลบเศษส่วนกันเถอะ
กิจกรรมที่ 5 ไม่เท่ากันก็ลบได้
2. การวัด 14. การเรียงลาดับวันในสัปดาห์ การเรียง กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมวันใดมาก่อน
เดือนในรอบปี และการอ่านเวลา กิจกรรมที่ 2 เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้
กิจกรรมที่ 3 เดือนใดมาก่อนหลัง
กิจกรรมที่ 4 เดือนที่ผา่ นมา เดือนนี้
เดือนต่อไป
กิจกรรมที่ 5 เวลานีเ้ วลาอะไร
15. การบอกตาแหน่งและทิศทาง กิจกรรมที่ 1 ฉันอยู่ที่ไหนเอ่ย
กิจกรรมที่ 2 เธออยู่ไหน
กิจกรรมที่ 3 โบนัสจัดห้อง
16. การเปรียบเทียบและวัดความยาว กิจกรรมที่ 1 มาวัดกันเถอะ
กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทียบกันนะจ๊ะ
กิจกรรมที่ 3 หน่วยมาตรฐาน
17. การชั่งและการนาไปใช้ใน กิจกรรมที่ 1 เครื่องชั่ง 2 แขน
ชีวิตประจาวัน กิจกรรมที่ 2 มาเปรียบเทียบน้าหนักกัน
เถอะ
กิจกรรมที่ 3 ตาชั่งวิเศษ
กิจกรรมที่ 4 ชั่งได้ชั่งดี
18. การตวงและการนาไปใช้ใน กิจกรรมที่ 1 ตวงน้าหรรษา
ชีวิตประจาวัน กิจกรรมที่ 2 ตวงน้ามหาสนุก
19. เงิน กิจกรรม ค่าของเงิน
3. เรขาคณิต 20. รูปเรขาคณิตสองมิติ กิจกรรมที่ 1 แยกฉันให้ถูก
กิจกรรมที่ 2 ลีลาหาพวก
กิจกรรมที่ 3 สี่เหลี่ยมอยู่ที่ไหน
21. การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ กิจกรรมที่ 1 สองมิติหลากหลาย
กิจกรรมที่ 2 สี่เหลี่ยมเดินเล่น
กิจกรรมที่ 3 สมมาตรได้อย่างไร
22. การบอกและจาแนกรูปเรขาคณิต กิจกรรมที่ 1 ฉันคือรูปเรขาคณิตสามมิติอะไร
สามมิติ กิจกรรมที่ 2 พิระมิดยอดแหลม
กิจกรรมที่ 3 สร้างรูปเรขาคณิต
กิจกรรมที่ 4 ส่วนสูงรูปเรขาคณิตสามมิติอยู่
ที่ไหน
4. พีชคณิต 23. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรูป กิจกรรม บอกได้เติมได้
และความสัมพันธ์ของรูปด้านรูปร่าง

4
สาระ ปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน กิจกรรมการแก้ปัญหา
24. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรูป กิจกรรม ฉันอยู่ไหน
และความสัมพันธ์ของรูปด้านขนาด
25. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรูป กิจกรรม เติมสีสร้างสรรค์
และความสัมพันธ์ของรูปด้านสี
26. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรูป กิจกรรม ต่อไปเป็นอะไรเอ่ย
และความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
27. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับแบบรูป กิจกรรม บอกได้ไหม
และความสัมพันธ์ของจานวน
5. การวิเคราะห์ ข้อมูลและ 28. การเก็บรวบรวมและนาเสนอข้อมูล กิจกรรม ตารางแสนกล
ความน่าจะเป็น
29. การอ่านแผนภูมิ กิจกรรมที่ 1 อ่านสักนิดคิด สักหน่อย
กิจกรรมที่ 2 อ่านได้ทาได้
กิจกรรมที่ 3 วงกลมมหัศจรรย์
กิจกรรมที่ 4 เกมชิงเหรียญ
30. การเขียนแผนภูมิ กิจกรรมที่ 1 แผนภูมิรูปภาพ แสนสนุก
กิจกรรมที่ 2 แท่งสี่เหลี่ยมหรรษา
31. ความสมเหตุสมผลในการคาดการณ์ กิจกรรมที่ 1 คาดเดาเร้าใจ
กิจกรรมที่ 2 ตามล่าหาความจริง

5
แนวการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์

แนวการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีแนว
การจัดการเรียนรู้ ดังนี้
1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนจะได้ทราบว่า
สิ่งใดทาได้ สิ่งใดทาไม่ได้
2. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดสื่อที่จะเรียน
3. พยายามใช้ เทคนิ ค วิ ธี ก ารถ่ า ยทอดให้ นั ก เรี ย นประสบผลส าเร็ จ และพึ ง ระวั ง อย่ า ให้
คณิตศาสตร์ทาลายภาพพจน์ที่มีต่อตนเอง
4. ดาเนินการเสริมวิชาการให้นักเรียนเป็นรายบุคคล
5. แยกขั้นตอนการสอนออกเป็นขั้นย่อย ๆ หลาย ๆ ขั้นตอน (Task Analysis)
6. เลือกใช้เทคนิควิธีการสอนหลากหลายวิธี เพื่อให้มีความเหมาะสมกับนักเรียน เป็นรายบุคคล
7. ใช้กิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรมในการสอน เพื่อให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดและสรุปแนวคิดได้
8. ให้ นั ก เรี ย นมี โ อกาสได้ เรี ย นรู้ จ ากประสบการณ์ ห รื อ กิ จ กรรมตามความถนั ด แล้ ว จึ ง
เพิ่มระดับความยากง่ายตามความสามารถของนักเรียน
9. เน้นย้าซ้าทวนกฎเกณฑ์ต่าง ๆ โดยใช้ภาษาของนักเรียน
10. ใช้สื่ อ ที่ เป็ น รูป ธรรมเป็ น เครื่อ งน าทางเมื่ อนั กเรีย นเข้าใจความคิด รวบยอดแล้ ว จึงเน้ น
กระบวนการคิดที่เป็นนามธรรม
11. สอนให้นักเรียนสามารถคาดคะเนหรือประเมินคาตอบ
12. มีการทาสัญญาร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียน
13. จับคู่เพื่อนรู้ใจให้ช่วยเหลือ (Buddy)
14. เน้น ย้า ซ้า ทวน คาสั่ง หลักการ วิธีการ ขั้นตอน
15. ให้โอกาสนักเรียนในการเลือกกิจกรรมที่ปฏิบัติ
16. ตรวจสอบความเข้าใจนักเรียนก่อนสอนทุกครั้ง
17. ให้เวลากับนักเรียนในการทากิจกรรมหรือปฏิบัติงาน
18. ฝึกให้นักเรียนรู้จักการสังเกต จดจา และบันทึกข้อมูล
19. เปิดโอกาสให้ใช้เครื่องคานวณได้ (Calculator)
20. ให้นักเรียนพบความสาเร็จ และเสริมแรงให้นักเรียนมีกาลังใจ
21. ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
22. ปรับเนื้อหาสาระหลักสูตรตามความเหมาะสมกับนักเรียนเฉพาะบุคคล
23. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อรู้จุดเด่นจุดด้อย
24. ครูควรทาความเข้าใจกับนักเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้ เข้าใจข้อจากัดของ
นักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ และนาบุคคลนั้นเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วยเหลือพัฒนานักเรียน
25. ให้การเสริมแรงเชิงบวก เช่น การชมเชย ยกย่อง ให้รางวัล

6
วิธีใช้เทคนิค วิธีการและสื่อการเรียนการสอน
สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์

1. ให้นักเรียนประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนจะได้ทราบว่า
สิ่งใดทาได้ สิ่งใดทาไม่ได้
2. สอนต่อจากสิ่งที่นักเรียนรู้แล้ว
3. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดสิ่งที่จะเรียน (ตั้งจุดมุ่งหมายด้วย)
4. พยายามแสวงหาวิธีทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จและพึงระวังอย่าให้คณิตศาสตร์ ทาลาย
ภาพพจน์ที่มีต่อตนเอง
5. ควรเน้นการเสริมวิชาการให้นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่เรียนไม่ทัน
เพื่อน
6. แยกขั้นตอนการสอนออกเป็นขั้นย่อย ๆ หลาย ๆ ขั้นตอน (Task Analysis)
7. หากนักเรียนไม่ประสบความสาเร็จเมื่อครูสอนโดยใช้วิธีหนึ่ง ครูควรเปลี่ยน วิธีสอน เพราะวิธี
เดิมอาจนาไปสู่ความล้มเหลว
8. ใช้กิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรมในการสอนความคิดรวบยอด จะช่วยให้นักเรียนสามารถสรุป
แนวคิดได้
9. ให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์หรือกิจกรรมตามความถนัด แล้วจึงเพิ่มระดับ
ความยากขึ้นตามระดับความสามารถ
10. เน้นย้า ซ้าทวนกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยใช้ภาษาของนักเรียน
11. ใช้สิ่ งที่ เป็ น รู ป ธรรมเป็ น เครื่อ งนาทาง เมื่อนั กเรียนเข้าใจความคิดรวบยอด แล้ วจึงเน้ น
กระบวนการคิดที่เป็นนามธรรม
12. สอนให้นักเรียนสามารถคาดคะเนหรือประเมินคาตอบ
13. การทาสัญญาร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียน
14. ออกคาสั่งให้ง่าย ชัดเจน เจาะจง
15. จับคู่เพื่อนรู้ใจให้ช่วยเหลือ
16. เน้น ย้า ซ้า ทวน คาสั่ง หลักการ วิธีการ ขั้นตอน
17. เตรียมงานที่หลากหลายให้นักเรียนมีโอกาสได้เลือกปฏิบัติ
18. ก่อนลงมือปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องแน่ใจว่า นักเรียนเข้าใจขั้นตอน วิธีการภาระงาน มิฉะนั้น
การทากิจกรรมอาจไม่มีความหมาย
19. ให้เวลาเรียนอย่างเพียงพอ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจใช้ เวลานาน จึงจะ
เกิดทักษะ
20. แนะนาวิธีการสังเกต จดจา บันทึกข้อมูล
21. สาหรับนักเรียนบางคนอาจใช้เครื่องคิดคานวณในการคิดคานวณได้
22. ฝึกการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์โดยไม่ใช้เครื่องคิดคานวณ
23. จั ด กลุ่ ม ปั ญ หาที่ ค ล้ ายคลึ ง กั น เข้ า ด้ ว ยกั น แบ่ งโจทย์ ปั ญ หาออกเป็ น ส่ ว นๆ ให้ ง่ า ยต่ อ
การทาความเข้าใจ

7
24. ถ้ านั ก เรี ย นมีปั ญ หาในการคัด ลอกงาน อาจให้ เพื่ อ นหรือครูช่ว ยคัด ลอกให้ ก่อ นที่ จะให้
นักเรียนทางานตามภาระงานนั้นด้วยตนเอง
25. หลังจากอธิบายจากตัวอย่าง ให้นักเรียนทางานที่คล้ายคลึงกับตัวอย่างก่อนที่จะให้โจทย์
พลิกแพลง
26. ให้นักเรียนพบความสาเร็จและเสริมแรงให้นักเรียนมีกาลังใจ
27. ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

การวัดและประเมินผล

1. วิธีการวัด
- สังเกตพฤติกรรมในการเรียนหรือการปฏิบัติกิจกรรม
- ตรวจแบบฝึกทักษะหรือผลงานการปฏิบัติงาน
2. เครื่องมือการวัด
- แบบสังเกตพฤติกรรมในการเรียนหรือการปฏิบัติกิจกรรม
- แบบบันทึกการตรวจแบบฝึกทักษะหรือผลงานการปฏิบัติงาน
3. เกณฑ์การประเมิน
- แสดงพฤติกรรมในการเรียนหรือการปฏิบัติกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
- คะแนนแบบฝึกทักษะหรือผลงานการปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
เทคนิค วิธีการ สื่อ นวัตกรรมทางคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ที่
นาเสนอในเอกสารเล่มนี้ เป็นเพียงการนาเสนอทางเลือกให้ครูได้ใช้เป็น แนวทางการพัฒนาเทคนิค วิธีการ
สื่อ นวัตกรรมของครูหรือครูจะน าไปใช้กับนักเรียน โดยตรงหรือเลือกใช้เฉพาะกิจกรรมที่เหมาะสมกับ
นักเรียนและบริบทของโรงเรียน ซึ่งครู ควรได้นาไปปรับเพิ่มหรือลดให้เหมาะสมกับนักเรียนเป็นสาคัญ
เสียก่อน

การปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์

1. ปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระ หลักสูตร ตามความเหมาะสมกับนักเรียนเฉพาะบุคคล


2. ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติของครูต่อนักเรียน
3. ปรับเปลี่ยนวิธีในการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น เพิ่มเวลาในการทาแบบฝึกทักษะเป็นต้น
4. ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน เช่น จัดเนื้อหาหรือกิจกรรมออกเป็นขั้นตอนย่อย ๆ เป็นต้น
5. ให้นักเรียนมีทางเลือกในการทางานหรือกิจกรรม เช่น ใช้เครื่องคิดคานวณตอบปากเปล่าหรือ
การพิมพ์แทนการเขียนตอบ
6. เปลี่ยนระบบการเรียนการสอน เช่น สอนเป็นรายบุคคล ให้เพื่อนช่วยเพื่อน ใช้คอมพิวเตอร์
ช่วยสอน เป็นต้น
7. ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

8
8. เรียนรู้จากสื่อของจริง เช่น การจัดลาดับสิ่งของการเปรียบเทียบ ขนาด สี รูปร่าง ระยะทาง
เป็นต้น
9. การออกคาสั่งที่ชัดเจน เจาะจง สั้น ไม่ซับซ้อน
10. การทาสัญญาร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียน
11. จับคู่เพื่อน (Buddy) ให้แก่นักเรียน

สรุปการนาเทคนิค วิธีการ สื่อ ไปใช้กับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้


ด้านคณิตศาสตร์
การที่ครูจะนาเทคนิค วิธีการ สื่อ สาหรับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ไปพัฒนานักเรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนจนรู้จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่ผู้เรียนทาไม่ได้
2. เลือกปัญหาที่เร่งด่วนจาเป็นมาแก้ไขก่อน จากนั้นจึงแก้ปัญหาที่มีความสาคัญ ในลาดับต่อ ๆ
ไป ไม่ควรแก้ไขหลาย ๆ เรื่องไปพร้อมกัน
3. ในการออกแบบกิจกรรม หรือจัดการเรียนรู้ครูควรได้จัดลาดับขั้นเนื้อหาที่จะสอนออกเป็น
ขั้นตอนย่อย ๆ (Task Analysis) ตามระดับพื้นฐานความสามารถของผู้เรียน
4. ระหว่างการพัฒ นานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ครูควรบันทึกพฤติกรรมของ
ผู้เรียนระหว่างการพัฒนาและนาไปใช้วางแผนการพัฒนาให้เหมาะสมกับ นักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพมาก
ขึ้น
5. ครูควรเน้นการจัดประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติจริง โดยยกตัวอย่างประกอบให้มากและ
เน้นย้า ซ้า ทวน สิ่งที่เรียน
6. ครู ควรทาความเข้าใจกับ นั กเรียนปกติ บุคคลรอบข้างของนักเรียนให้ เข้าใจข้อจากัดของ
นั ก เรี ย นที่ บ กพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ แ ละน าบุ ค คลเหล่ า นั้ น เข้ า มาร่ ว มเป็ น ผู้ ช่ ว ยเหลื อ พั ฒ นานั ก เรี ย น
กลุ่มเป้าหมายต่อไป
7. ครู ค วรให้ เวลากั บ นั ก เรี ย นในการคิ ด หรื อ ท ากิ จ กรรม โดยพิ จ ารณานั ก เรี ย นเป็ น หลั ก
ไม่ควรเร่งรีบใจร้อนเกินไป
8. ครูควรให้แรงเสริมเชิงบวกให้มากที่สุด การชมเชย ยกย่อง ให้รางวัลพิ เศษจะช่วยให้นักเรียน
มีกาลังใจ มีเจตคติที่ดี และร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข
สาหรับเอกสารเล่มนี้เป็นเอกสารเล่มที่ 1 ในชุดที่ 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ สาหรับนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วยปัญหาและเทคนิค การแก้ปัญหาสาหรับ
นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์เกี่ยวกับปัญหาต่อไปนี้
ปัญหาที่ 1 การบอกค่าและความหมายของจานวน
ปัญหาที่ 2 การจาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ปัญหาที่ 3 การจาแนกตัวเลขที่คล้ายกัน
ปัญหาที่ 4 การนับเรียงลาดับจานวน
ปัญหาที่ 5 การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน
ปัญหาที่ 6 การอ่านและเขียนจานวนที่หลายหลัก

9
10
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง จานวนอะไรเอ่ย

1. ปัญหา การบอกค่าและความหมายของจานวนนับ 1–5

2. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่1–3

3. กิจกรรมที่ 1 จานวนอะไรเอ่ย

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกจานวนสิ่งของหรือบัตรภาพและใช้สัญลักษณ์แทนจานวนได้
2. บอกค่าจานวนได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูสนทนาและซักถามเกี่ยวกับชื่อสิ่งของต่างๆที่จัดเตรียมไว้
2. ครูสาธิตโดยการหยิบสิ่งของตามจานวน ครูนับจานวนสิ่งของและให้นักเรียนนับตามจากนั้นครู
หยิบบัตรตัวเลขที่เป็น Touch Math ที่เท่ากับจานวน (ครูศึกษา Touch Math ในภาคผนวก)
3. ครูหยิบบัตรตัวเลขครั้งละ 1 บัตรแบบ Touch Math โดยการนับจุดต่อ ให้นักเรียนหยิบสิ่งของ
ที่มตี ามจานวนที่ครูกาหนด พร้อมกับอ่านบัตรตัวเลขที่เป็น Touch Math โดยให้นักเรียนเรียนรู้ 1 2 3 4
5 ตามลาดับ เช่น

4. ครูนาบัตรภาพให้นักเรียนดูนักเรียนหยิบบัตรตัวเลขและฝึกการนับแบบ Touch Math ที่มีค่า


เท่ากับบัตรภาพพร้อมกับอ่าน

11
5. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ตามข้อ 3 – 4 จานวน 1 - 5
6. ให้นักเรียนเล่นเกมจับคู่ ระหว่างบัตรภาพกับบัตรตัวเลข Touch Math 1 – 5 ใครจับคู่
ได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ
7. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. ของจริง
2. ของจาลอง
3. บัตรภาพ
4. บัตรตัวเลข TouchMath
5. แบบฝึกทักษะ

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝึกทักษะได้ร้อยละ 80

12
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ .......................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

13
สื่อ Touch Math
การรับรู้ทางการใช้สายตา การฟังและการสัมผัส ตัวเลขแต่ละตัวจะมีลักษณะพิเศษ คือ

- มีจุดอยู่บนเส้นตัวเลข ตามจานวนตัวเลขนั้น เช่น


ตัวเลข 1 มีจุด 1 จุด มีคา่ เป็ น 1
ตัวเลข 2 มีจุด 2 จุด มีคา่ เป็ น 2
ตัวเลข 3 มีจุด 3 จุด มีคา่ เป็ น 3
ตัวเลข 4 มีจุด 4 จุด มีคา่ เป็ น 4
ตัวเลข 5 มีจุด 5 จุด มีคา่ เป็ น 5
- เลข 6 ขึ้นไป มีจุดและมีวงกลมล้อมจุด ในการนับครูสอนให้นับเลขที่มีวงกลมซ้อน 2 ครั้ง
(จุด 2 ชั้น)
ตัวเลข 6 มีจุด 2 ชั้น 3 จุด มีค่าเป็น 6
ตัวเลข 7 มีจุด 2 ชั้น 3 จุด จุดชั้นเดียว 1 จุด มีค่าเป็น 7
ตัวเลข 8 มีจุด 2 ชั้น 4 จุด มีค่าเป็น 8
ตัวเลข 9 มีจุด 2 ชั้น 4 จุด จุดชั้นเดียว 1 จุด มีค่าเป็น 9

หมายเหตุ
1. ในเด็ก LD จะไม่ได้มองถึงตัวเลข แต่จะมองแค่จุดเท่านั้น
2. ครูผู้สอนควรเน้นสีท่ีมีความแตกต่างกันระหว่างตัวเลขกับจุดที่กากับอย่างเห็น
ชัดเจน
3. จุดที่มี 2 ชั้น ควรมีความแตกต่างอย่างเห็นชัดเจน
4. ในขณะนับครูควรให้เด็กสัมผัสจุดไปพร้อมกับการนับ
จุด 1 ชั้น สัมผัสจุด 1 ครั้ง นับ 1
จุด 2 ชั้น สัมผัสจุด 2 ครั้ง นับ 1 – 2 (แต่ต้องนับตามลาดับของจุด) เช่น

14
แบบฝึกทักษะที่ 1
ชื่อ......................................................................................ชั้น.................เลขที่..............
คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย X ลงบนภาพที่มีจานวนตามที่กาหนดให้

4
1
5
2
3

15
แบบฝึกทักษะที่

ชื่อ......................................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ภาพกับตัวเลขที่มีค่าเท่ากัน

16
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เรื่อง หยิบ 1... ...3...

1. ปัญหา การบอกค่าและความหมายของจานวนนับ

. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่1–3

3. กิจกรรมที่ หยิบ 1...2...3...

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนบอกค่าและความหมายของจานวนได้ถูกต้อง

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ให้นักเรียนนั่งเป็นวงกลมแล้วสนทนาซักถามเกี่ยวกับสื่อที่ครูเตรียมไว้สาหรับการจัดกิจกรรม
ว่ามีอะไรบ้าง
2. ครูสาธิตการเล่นเกมให้นักเรียนดู โดยครูเปิดเพลงและปรบมือตามจังหวะ ครูปิดเพลงแล้วพูด
ว่า “หยิบเลข 3” พร้อมกับชูบัตรเลข 3 ให้นักเรียนดูแล้วครูหยิบลูกปัดที่เตรียมไว้ 3 ลูกใส่ถาด
3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูกาหนด โดยครูบอกจานวน นักเรียนหยิบลูกปัดตามจานวน
ที่ครูบอก
4. ให้นักเรียนจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมในข้อที่ 3 เปลี่ยนจากครูเป็นนักเรียน
5. ทบทวนเรื่องจานวนโดยครูบอกจานวน 1-10 นักเรียนชูบัตรจานวน 1-10 พร้อมกับอ่าน
จานวนพร้อมกับชมเชยนักเรียนที่ปฏิบัติกิจกรรมได้ถูกต้อง
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. ลูกปัด
2. ถาดลูกปัด
3. บัตรตัวเลข 1-10
4. แบบฝึกทักษะ

17
8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือวัด
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- คะแนนผ่านร้อยละ 80

18
แบบบันทึกคะแนน

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ........................ เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………

เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

19
แบบฝึกทักษะที่ 1

ชื่อ......................................................................................ชั้น.................เลขที่..............
คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ภาพกับตัวเลขที่มีค่าเท่ากัน

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

20
21
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง ฉันหยิบได้

1. ปัญหา การบอกค่าและความหมายของจานวนนับ

. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–3

3. กิจกรรมที่ 3 ฉันหยิบได้

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนบอกค่าจานวนแทนจานวนสิ่งของได้
2. นักเรียนจับคู่จานวนเลขกับภาพได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6.วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาและซักถามเกี่ยวกับชื่อสิ่งของต่าง ๆ ที่ ครูจัดเตรียมไว้
2. นักเรียนฝึกร้องเพลง จานวน 1- 10
- หยิบบัตรตัวเลขไทยจานวน ๑-๑๐ แล้วหยิบสิ่งของจานวนเท่ากับ ๑-๑๐
- หยิบบัตรตัวเลขอารบิกจานวน 1-10 แล้วหยิบบัตรภาพที่เตรียมไว้ให้เท่ากับจานวน 1-10
3. ให้นักเรียนจับคู่ฝึกกิจกรรม ฉันหยิบได้
4. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. ของจริง เช่น ดินสอ ยางลบ ก้อนหิน ฯลฯ
2. ของจาลอง เช่น หุ่นจาลอง รูปภาพสัตว์ สิ่งของ
3. รูปภาพ เช่น บัตรภาพสัตว์ สิ่งของ
4. บัตรตัวเลข 1-10 เลขไทยและเลขฮินดูอารบิก
5. แบบฝึกทักษะ

22
8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝึกทักษะได้ถูกต้องให้ข้อละ 1 คะแนนทั้ง 2 รายการต้องได้คะแนน
ร้อยละ 80

ข้อเสนอแนะ
1. สิ่งของที่นามาให้นักเรียนนับอาจเปลี่ยนได้ตามความสนใจของนักเรียน
2. ถ้าจานวนนักเรียนมากกว่า 1 คน อาจให้มีการแข่งขันเพื่อความสนุกสนาน
3. ปรับเปลี่ยนตัวเลขและจานวนตามความยากง่ายและระดับความสามารถของนักเรียน
4. ครูควรสร้างแบบฝึกทักษะให้สอดคล้องกับเนื้อหาและกิจกรรม

23
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ........................ เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

24
แบบฝึกทักษะที่ 1

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ระหว่างตัวเลขกับภาพ

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

25
แบบฝึกทักษะที่
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ระหว่างตัวเลขกับภาพ






ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

26
แบบฝึกทักษะที่ 3
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวเลขไทยหรือตัวเลขอารบิกที่หายไปให้ตรงกับภาพ


2


4
ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

27
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง คู่หนูอยู่ไหน

1. ปัญหา บอกค่าและความหมายของจานวนนับ

2. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–3

3. กิจกรรมที่ 4 คู่หนูอยู่ไหน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนบอกค่าของจานวนได้
2. นักเรียนจับคู่ จานวนที่เป็นเลขไทย จานวนที่เป็นเลขฮินดูอารบิกกับภาพที่กาหนดให้ได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูนาบัตรภาพ บัตรจานวนให้นักเรียนดู พร้อมทั้งบอกจานวนของภาพ
2. ครูติดบัตรภาพบนกระดานให้ตัวแทนนักเรียนหาบัตรจานวนที่เป็นตัวเลขไทยและบัตรจานวน
ที่เป็นตัวเลขฮินดูอารบิกเพื่อแสดงจานวนของภาพ
3. แบ่งนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ถือบัตรภาพ กลุ่มที่ 2 ถือบัตรจานวนที่เป็นตัวเลขไทยและ
กลุ่มที่ 3 ถือบัตรจานวนที่เป็นตัวเลขฮินดูอารบิก
4. ตัวแทนกลุ่มที่ 1 ชูบัตรภาพ นักเรียนกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 ร่วมกันหาบัตรจานวนที่ถูกต้อง
เพื่อแสดงจานวนของภาพให้เพื่อนดู ครูตรวจสอบความถูกต้องจนครบจานวนบัตรตัวเลข
5. ครูแจกบัตรจานวนที่เป็นตัวเลขไทยหรือตัวเลขฮินดูอารบิกหรือตัวอักษรให้นักเรียนคนละ
1 บัตร (อย่างใดอย่างหนึ่ง) นักเรียนจับคู่ราวงพร้อมกับร้องเพลง เมื่อเพลงจบให้นักเรียนจับกลุ่มจานวน
ที่มีค่าเท่ากันเช่น 2 - ๒ - สอง, 4 - ๔ - สี่ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความถูกต้อง
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. บัตรภาพ
2. บัตรจานวน 1 - 10 (ตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบิก)
3. เพลงจับคู่
4. แบบฝึกทักษะ

28
8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- บอกค่าจานวนโดยการจับคู่ภาพกับจานวนได้ถูกต้องให้ครั้งละ 1 คะแนน
- จับคู่ในแบบฝึกทักษะได้ข้อละ 1 คะแนน ทั้ง 2 รายการต้องได้คะแนนร้อยละ 80

ข้อเสนอแนะ
1. ในการนาบัตรจานวนมาใช้ควรให้เหมาะสมกับระดับความสามารถของแต่ละบุคคล
2. ฝึกทักษะซ้าหลาย ๆ ครั้งโดยเปลี่ยนกิจกรรมให้หลากหลาย
3. ครูควรจะสร้างแบบฝึกทักษะให้สอดคล้องกับเนื้อหาและกิจกรรม
4. ให้แรงเสริมตามความเหมาะสม

29
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ....................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

30
ภาคผนวก

31
32
33
แบบฝึกทักษะที่ 1
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่จานวนและภาพ

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

34
แบบฝึกทักษะที่
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่จานวนและภาพ

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

35
แบบฝึกทักษะที่ 3
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............
คาชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพเท่ากับจานวนตัวเลขที่กาหนด

๓ 5

๔ 6

8 ๙

10 1
ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

36
ปั ญ หาที่ 2 การจาลั ก ษณะตั ว เลขและสั ญ ลั ก ษณ์ ท างคณิ ต ศาสตร์

กิ จกรรมที่ 1 จำฉันได้ไหม แก้ปัญหำกำรจำลักษณะตัวเลข


กิ จกรรมที่ 2 สัญลักษณ์ควรจำ แก้ไขปัญหำกำรจำสัญลักษณ์ ทำงคณิ ตศำสตร์ไม่ได้

37
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง จาฉันได้ไหม

1. ปัญหา การจาตัวเลข

. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3

3. กิจกรรมที่ 1 จาฉันได้ไหม

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนบอกลักษณะ 1–10 ตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบิกได้ถูกต้อง
2. นักเรียนเขียนตัวเลขแทนจานวนได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. นักเรียนดูบัตรตัวเลข 1-10 อารบิก พร้อมกับบัตรภาพคู่กัน ให้นักเรียนสังเกตและจาตัวเลข
ที่มีลักษณะคล้ายส่วนใดส่วนหนึ่งของภาพ ดังนี้

เลข 1 เหมือนดอกไม้ เลข 2 เหมือนคอห่าน

1 2
เลข 3 เหมือนผีเสื้อ เลข 4 เหมือนเรือใบ

3 4
38
เลข 5 เหมือนปากสิงโต เลข 6 เหมือนลาตัวกระต่าย

5 6
เลข 7 เหมือนสายยางฉีดน้า เลข 8 เหมือนลิง

7 8
เลข 9 เหมือนต้นถั่วงอก เลข 10 เหมือนกบ

9 10
2. นักเรียนดูบัตรตัวเลข 1-10 ไทย พร้อมกับบัตรภาพคู่กัน ให้นักเรียนสังเกตลักษณะ
ความเหมือนหรือคล้ายกับภาพจากบัตรภาพ เช่น

เลขไทย
เลข ๑ เหมือนหอยทาก เลข ๒ เหมือนแมวนอนขด

๑ ๒
39
เลข ๓ เหมือนอูฐ เลข ๔ เหมือนงู

๓ ๔
เลข ๕ เหมือนหางกระรอก เลข ๖ เหมือนปากสุนัขจิ้งจอก

๕ ๖
เลข ๗ เหมือนตัวนาก เลข ๘ เหมือนแมว

๗ ๘
เลข ๙ เหมือนหนู เลข ๑๐ เหมือนโลมา

๙ ๑๐

40
3. นักเรียนเล่นเกมจาฉันได้ไหม ครูชี้แจงกฎกติกาและวิธีเล่นให้นักเรียนทราบก่อนเล่นเกม
3.1 ครูและนักเรียนติดแผนภูมิตัวเลขที่ไม่เรียงลาดับบนกระดานดา
3.2 แจกแผ่นเกมตัวเลขให้กับนักเรียนทุกคน
3.3 ครูชี้ไปที่ตัวเลขตัวใดบนแผนภูมิตัวเลขให้นักเรียนแข่งขันกันหาตัวเลขนั้นจากแผ่น
เกมตัวเลขใครพบก่อนให้ใช้ปากกาสีวงกลมล้อมรอบตัวเลขนั้น
3.4 จัดกิจกรรมจนหมดตัวเลขที่นักเรียนวงกลมรอบแล้วครูตรวจสอบความถูกต้อง
และให้คะแนน
4. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. แผนภูมิตัวเลขฮินดูอารบิก
2. บัตรตัวเลขฮินดูอารบิก เลขไทย
3. แผ่นเกมตัวเลข
4. ปากกาสีต่างๆหรือสีเมจิก สีไม้ สีเทียน
5. แบบฝึกทักษะ

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกการตรวจแบบฝึก
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝึกทักษะได้ร้อยละ 80

ข้อเสนอแนะ
1. การทาแผนภูมิตัวเลขควรมีขนาดใหญ่มองเห็นชัดเจน
2. ให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
3. ขณะเล่นเกมควรเสริมเพลงประกอบการเล่นเพื่อความสนุกสนาน
4. ครูควรจะสร้างแบบฝึกทักษะให้สอดคล้องกับเนื้อหาและกิจกรรม

41
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ........................ เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

42
แผ่นเกมตัวเลข
วิธีใช้แผ่นเกมตัวเลข
1. ครูชูบัตรภาพตัวเลข หรือบัตรตัวเลขไทยหรือตัวเลขอารบิกให้นักเรียนดู
2. นักเรียนวงกลมล้อมรอบตัวเลขที่เหมือนกับที่ครูชูให้ดู

๕ ๒
๑ ๖ ๓
๕ ๕ ๙

๕ ๗
๔ ๑๐ ๑
๖ ๘

43
แบบฝึกทักษะที่ 1
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมตัวเลขให้ตรงตามลักษณะที่กาหนดให้

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

44
แบบฝึกทักษะที่
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมตัวเลขให้ตรงตามลักษณะที่กาหนดให้

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

45
แบบฝึกทักษะที่ 3
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ภาพที่มีจานวนตัวเลขเท่ากับจานวนภาพที่กาหนด

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

46
แบบฝึกทักษะที่ 4
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ใน  ที่ตรงกับตัวเลขแสดงจานวนภาพที่ถูกต้อง

1.
.

2.

3.

1.4.

ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

47
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6
เรื่อง สัญลักษณ์ควรจา

1. ปัญหา การจาสัญลักษณ์คณิตศาสตร์

2. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–3

3. กิจกรรมที่ สัญลักษณ์ควรจา

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เปรียบเทียบจานวนนับได้
2. เขียนเครื่องหมายการเปรียบเทียบจานวนได้

5. สอดคล้องกับสาระที่1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูติดบัตรภาพมังคุดที่มีจานวนเท่ากัน ให้นักเรียนนาบัตรตัวเลขที่มีค่าเท่ากันติดใต้ภาพและ
รูปภาพมะม่วงที่มีจานวนแตกต่างกัน ดังตัวอย่าง

5 5

8 6

48
2. ให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบจานวนมังคุดทั้งสองภาพและเปรียบเทียบจานวนมะม่วง
ทั้งสองภาพ
สรุป - ของสองสิ่งมีค่าเท่ากันหรือจานวนเท่ากันใช้เครื่องหมาย เท่ากับ (=)
- ของสองสิ่งมีค่าหรือจานวนแตกต่างกันใช้เครื่องหมาย ไม่เท่ากับ (≠)
3. ครูยกตัวอย่าง จานวนนับอื่น ๆ แล้วให้นักเรียนฝึกการใช้เครื่องหมาย = และ ≠ จนคล่อง
4. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
1. บัตรภาพผลไม้
2. บัตรเครื่องหมาย =, ≠

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- นักเรียนทาทาแบบฝึกทักษะได้ร้อยละ 80
9. ข้อเสนอแนะ
1. ครูควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนหลาย ๆ ครั้งเพื่อให้นักเรียนจาเครื่องหมาย

49
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ....................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

50
แบบฝึกทักษะที่ 1
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย =, ≠ใน ให้ถูกต้อง

1.

3 3

2.

5 5

3.

13 11

4.

10 12
5.

8 4
ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

51
แบบฝึกทักษะที่
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย = ≠ใน  ให้ถูกต้อง

1.

10 12
2.

25 52
3.

65 65
4.

86 68
5.

45 45
ได้......................................คะแนน
สรุป  ผ่าน  ไม่ผ่าน

52
53
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7
เรื่อง หาคู่ให้หนูหน่อย

1. ปัญหา ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการจาแนกตัวเลขที่คล้ายกัน

2. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3

3. กิจกรรม หาคู่ให้หนูหน่อย

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนจับคู่ตัวเลขที่เหมือนกันได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูทบทวนการเขียนตัวเลข 1 – 10 อารบิก
2. ครูนาบัตรตัวเลข 1 – 9 ให้นักเรียนดูและช่วยกันบอกความแตกต่างของตัวเลข เช่น
เลข 1 – 2 ให้นักเรียนเล่นเกมหาคู่ให้หนูหน่อย ใช้ผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
- นาบัตรตัวเลขวางคว่าเรียงเป็นแถว 2 แถว แถวละ 2 ใบ
- ให้ผู้เล่นคนที่ 1 เปิดบัตรใบที่ 1 และใบที่ 2 ดูว่าเหมือนกันหรือไม่ ถ้าไม่เหมือนกันวางคว่าไว้
ที่เดิม แต่ถ้าเหมือนกันถือว่าได้ 1 คู่ ได้สิทธิที่จะเปิดดูต่อไป ถ้าไม่เหมือนกันนักเรียนคนต่อไปจะเป็นผู้
เล่น ผู้เล่นเกมที่ได้คู่มากที่สุดเป็นผู้ชนะ
3. ครูแจกบัตรให้กับนักเรียน 2 ชุด โดยเป็นบัตรตัวเลข 1 ชุดและบัตรจานวน 1 ชุด แล้วให้
นักเรียนจับคู่ตัวเลขและจานวนที่เหมือนกันและครูตรวจสอบความถูกต้อง
4. นักเรียนร้องเพลงจับคู่

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. ของจริง เช่น ดินสอ ยางลบ หนังสือ สมุด
2. ชุดบัตรภาพ
3. ชุดบัตรตัวเลข
4. เพลงจับคู่

54
8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝึกทักษะถูกต้องทุกข้อ

ข้อเสนอแนะ
1. อุปกรณ์ที่นามาจาแนกตัวเลขอาจเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาของนักเรียน
2. ครูควรตั้งเกณฑ์การผ่านการประเมินตามรายการประเมินย่อย ตามความสามารถ
ของนักเรียนเป็นรายบุคคล
3. ครูผู้สอนต้องคอยดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและให้การเสริมแรงเมื่อนักเรียนทาสาเร็จ

55
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ .......................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

56
แบบฝึกทักษะที่ 1
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ตัวเลขจานวนที่เหมือนกัน

1. 8,3 ,1
. 9,9 9,6
3. ,1 1,7
4. 9,6 9,9
5. 1,7 8,3
ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

57
58
59
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
เรื่อง ฉันนับได้
1. ปัญหา การนับเรียงลาดับจานวน

2. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3

3. กิจกรรมที่ 1 ฉันนับได้

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนนับจานวนด้วยปากเปล่า 1 – 10 ได้
2. นักเรียนเรียงลาดับจานวนตัวเลขได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ให้นักเรียนร้องเพลง เพลงนับจานวน โดยครูร้องเพลงให้นักเรียนฟัง จากนั้นให้นักเรียน
ร้องตามครูทีละวรรค 1 - 2 รอบ จากนั้น ครูและนักเรียนร้องพร้อมๆ กัน ฝึกให้นักเรียนร้องเพลง
จนคล่อง
2. ครูสาธิตท่าทางประกอบเพลงและให้นักเรียนทาตามดังนี้
12345 ทาท่าดังนี้ ให้นักเรียนกามือและยกนิ้วออกมาทีละนิ้ว
จับปูม้ามาได้ 1 ตัว ทาท่าดังนี้ ท่ากามือและแบมือแล้วยกนิ้วขึ้นมา 1 นิ้ว
6 7 8 9 10 ทาท่าดังนี้ กามือที่เหลือและยกนิ้วออกมาทีละนิ้ว จนครบสิบนิ้ว
ปูมันหนีบฉันต้องสั่นหัว ทาท่าดังนี้ ใช้มือขวาจับที่หัวแม่มือข้างซ้ายพร้อมกับสั่นหัว
ฉันกลัว ฉันกลัว ทาท่าดังนี้เอามือกอดอกและสั่นตัวทาท่ากลัว
ปูหนีบฉันที่หัวแม่มือ ทาท่าดังนี้ เอามือขวาทาท่าหนีบหัวแม่มือซ้าย
3. สรุปบทเรียนโดยการพูดปากเปล่า 1 – 10 ตามครูแล้วจึงให้นักเรียนนับเรียงจานวนปากเปล่า 1– 10
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะการเรียงลาดับจานวน 1 – 10

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. เพลงนับจานวน
2. เพลง 1 2 3 4
3. เพลงกบ
4. เพลงนกกระจิบ
5. เพลงปลาฉลาม
6. แบบฝึกทักษะ
60
8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ทดสอบการนับเลขปากเปล่า 1 - 10
- ตรวจแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
- แบบฝึกทักษะ
8.3 เกณฑ์
- นับปากเปล่าได้ถูกต้อง
- ทาแบบฝึกทักษะได้ถูกต้องร้อยละ 80

ข้อเสนอแนะ
1. กิจกรรมนี้สอนต่อเนื่องโดยใช้เพลงอื่นสลับ เช่น เพลงจานวนนับเพลง 1 2 3 4 เพลงกบ
เพลงนกระจิบ ให้นักเรียนคิดท่าทางประกอบเพลงด้วยตนเองจะทาให้มีความสนุกสนานมากขึ้น
2. ครูควรจะสร้างแบบฝึกทักษะเพิ่มเติมตั้งเกณฑ์การผ่านการประเมินตามรายการประเมินย่อย
ตามความสามารถของนักเรียนเป็นรายบุคคล

61
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ....................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

62
เพลงกบ
ทานอง Are you Sleeping
1 2 3 4 (ซ้า) มาดูซี (ซ้า) ตัวฉันนี้เป็นลูกกบ อ๊บ อ๊บ อ๊บ (ซ้า)

เพลงนกกระจิบ
นั่นนกบินมาลิบ ๆ กระจิบ 1 2 3 4 5
อีกฝูงหนึ่งบินล่องลอยมา 6 7 8 9 10 ตัว
เพลง 1 3 ปลาฉลาม
1 2 3 ปลาฉลามขึ้นบก
4 5 6 จิ้งจกยัดไส้
ไอแอมซอรี่จั๊กจี้หัวใจ
ไอแอมตกบันได 7 8 9 10

63
แบบบันทึกกิจกรรม
กิจกรรมนับจานวน ระดับคุณภาพ ผลการประเมิน

รวมคะแนน

ปรับปรุง )1(
พอใช้ ) (
ชื่อ – สกุล

ดี )3(
/ / / / ผ่าน/ไม่ผ่าน

64
แบบฝึกทักษะที่ 1
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง เรียงลาดับจานวน 5 – 6 โดยเติมจานวนที่หายไปในช่องว่าง

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

65
แบบฝึกทักษะที่
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง จงเรียงลาดับจานวน 6 – 10 โดยเติมจานวนที่หายไปในช่องว่าง

6 7 8 9 10
6 7 9 10
6 9
7 10
7 9
ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

66
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9
เรื่อง เปรียบเทียบจานวน
1. ปัญหา การเรียงลาดับจานวน

2. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3

3. กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทียบจานวน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนบอกจานวนมากกว่าหรือน้อยกว่าจานวนที่กาหนดได้
2. นักเรียนเปรียบเทียบจานวนที่มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่าได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ทบทวนด้วยการร้องเพลงจานวนนับ
2. ครูชูบัตรภาพส้มแล้วนักเรียนเลือกบัตรจานวนให้มีค่าเท่ากับบัตรภาพ จากนั้นครูชูบัตรภาพ
มะม่วง นักเรียนเลือกบัตรจานวนให้มีค่าเท่ากับบัตรภาพนั้น เช่น

3. นักเรียนโยงเส้นจับคู่ส้มกับมะม่วง แล้วถามว่าส้มมีมากกว่าหรือน้อยกว่ามะม่วง จากนั้นครู


ถามจานวน 3 มากกว่าหรือน้อยกว่า 4 แล้วสรุปว่าจานวนมะม่วงที่เหลือมีค่ามากกว่า
4. ครูและนักเรียนดาเนินกิจกรรมข้อ 2–3 อีกหลาย ๆ ครั้ง โดยเปลี่ยนเป็นจานวนตัวเลขอื่น ๆ
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะเปรียบเทียบจานวน 1 – 10

67
7. สื่อ/อุปกรณ์
1. รูปภาพจานวน
2. บัตรจานวน 1 – 10
3. แบบฝึกทักษะ

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- นักเรียนตอบคาถามปากเปล่า
- ทาแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
1. นักเรียนตอบคาถามปากเปล่าได้ร้อยละ 80
2. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะได้ร้อยละ 80

68
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ............................เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

69
แบบประเมิน

การตอบคาถาม แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะ สรุปผล


ชื่อ-ชื่อสกุล ปากเปล่า ที่ 1 ที่ ผ่าน ไม่ผ่าน
)5 คะแนน( )5 คะแนน( )5 คะแนน(

70
แบบฝึกทักษะที่ 1 เปรียบเทียบจานวน
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย × ทับจานวนที่มีค่ามากกว่า

 3  6
 4  5

 2  7

8  4



 5

 8 
 6 
9


ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

71
แบบฝึกทักษะที่ เปรียบเทียบจานวน
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย × ทับจานวนที่มีค่าน้อยกว่า

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

72
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10
เรื่อง เรียงเลขต่อกัน
1. ปัญหา การนับเรียงลาดับจานวน

2. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3

3. กิจกรรมที่ 3 เรียงเลขต่อกัน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนเรียงตัวเลขจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูแจกบัตรตัวเลขให้นักเรียนคนละ 1 ชุด (0 – 10)
2. อธิบายการเล่นเกม โดยครูสาธิตการเล่นเกมก่อน ดังนี้ครูจะเป็นคนเรียงบัตรตัวเลข
ตัวแรกก่อนต่อไปให้นักเรียนวางบัตรตัวเลขของนักเรียนต่อจากบัตรตัวเลขของครูทีละคนโดยเรียงจาก
จานวนที่มีค่าน้อยไปหาจานวนที่มีค่ามาก ครูสาธิตให้นักเรียนดู เช่น

ถ้ามีนักเรียน 1 คน ครูกับนักเรียนผลัดกันวางบัตรตัวเลขต่อกันโดยเรียงจานวนจากน้อยไปหามาก
3. เล่นเกม โดยวางบัตรตัวเลขตัวแรกเปลี่ยนไปโดยวางจากตัวเลขที่มีค่าน้อยไปหาตัวเลขที่มี
ค่ามาก (การเริ่มวางบัตรคนแรกอาจเป็นครูหรือนักเรียนเป็นผู้วางบัตรคนแรก)

73
4. เมื่อนักเรียนเรียงตัวเลขจากน้อยไปหามากได้แล้ว ครูเปลี่ยนให้นักเรียนเรียงจาก
ตัวเลขที่มีค่ามากไปหาตัวเลขที่มีค่าน้อย โดยวิธีเดียวกันตามกิจกรรมที่ 3

74
ในการปฏิบัติกิจกรรมครูกับนักเรียนสลับกันวางต่อตัวเลขหรือให้นักเรียนเล่นกันเอง โดยครูคอย
ตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

75
7. สื่อ/อุปกรณ์
1. บัตรตัวเลข 0 – 10 จานวน 2 – 3 ชุดๆ ละ 1 สี
2. แบบฝึกทักษะ

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ทาแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝึกทักษะได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

76
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ .................เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

77
แบบฝึกทักษะที่ 1 เปรียบเทียบจานวน
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเรียงลาดับจากจานวนที่มีค่าน้อยไปหาจานวนที่มีค่ามาก

1.

2.

3.

4.
5 7 1 3 9

5.
7 5 9 3 2

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

78
แบบฝึกทักษะที่ เปรียบเทียบจานวน
ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเรียงลาดับจากจานวนที่มีค่ามากไปหาจานวนที่มีค่าน้อย

1.

2.

3.

4. 8 2 5 6 4
5. 5 9 1 3 7

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

79
กิ จกรรม เติ มให้เต็ม แก้ปัญหำกำรเขียนตัวเลขไม่ได้

80
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11
เรื่อง เติมให้เต็ม
1. ปัญหา การจาและเขียนตัวเลขแทนจานวน

2. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3

3. กิจกรรมที่ เติมให้เต็ม

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนบอกจานวนและเขียนตัวเลขแทนจานวนได้ถูกต้อง

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูนาบัตรตัวเลข 1 และ 2 มาสนทนากับนักเรียนถึงความหมายของจานวนให้นักเรียน
ยกตัวอย่างประกอบ เช่น

2. ครูนาร่องอักษรที่เป็นสัญลักษณ์แทนจานวนตัวเลข 1 และ 2 ให้นักเรียนพิจารณา ครูแนะนา


ว่าครูจะใช้นิ้วมือลากตามร่องอักษรโดยเริ่มจาก จุด ๏ แล้วสาธิตให้นักเรียนสังเกต

81
3. นักเรียนแต่ละคนใช้นิ้วลากร่องอักษรตามครูกาหนด ครูคอยสังเกตทิศทาง
การลากของนิ้วมือ ถ้านักเรียนลากผิดทิศทางครูแนะนาให้ถูกต้อง
4. นักเรียนทดลองเขียนบนอากาศทั้งเลข 1 และ 2 ครูสังเกตทิศทาง
5. ครูนาตัวเลขอื่นๆ มาทากิจกรรมในลักษณะเดียวกัน
6. ครูสุ่มนักเรียนให้เขียนตัวเลข 0-9 บนกระดาน
7. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะฝึกการเขียนตัวเลขแทนจานวน

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. ดินสอ กระเป๋า
2. ร่องอักษรที่เป็นสัญลักษณ์แทนจานวน
3. บัตรตัวเลข
4. แบบฝึกทักษะ

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- ทาแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
8.3 เกณฑ์
- ทาแบบฝึกทักษะได้ ร้อยละ 80

82
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ....................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

83
ตัวอย่าง แบบฝึกทักษะที่ 1

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

84
แบบฝึกทักษะที่ 1

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

85
แบบฝึกทักษะที่

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

86
แบบฝึกทักษะที่ 3

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

87
แบบฝึกทักษะที่ 4

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

88
แบบฝึกทักษะที่ 5

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

89
แบบฝึกทักษะที่ 6

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนดให้

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

90
แบบฝึกทักษะที่ 7

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

91
แบบฝึกทักษะที่ 8

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

92
แบบฝึกทักษะที่ 9

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้ ..........................................................คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

93
แบบฝึกทักษะที่ 10

ชื่อ.............................................................................................. ชั้น............ เลขที่...........

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนตัวเลขตามรอยประที่กาหนด

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

94
แบบฝึกทักษะที่ 11

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง จงเขียนค่าของตัวเลขเท่ากับจานวนภาพที่กาหนด

ตัวตัเลขไทย
วเลขไทย ตัตัวเลขอารบิ
เลขอำรบิก ก

95
ตัวเลขไทย ตัวเลขอำรบิ ก

96
97
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12
เรื่อง สีมหัศจรรย์

1. ปัญหา การอ่านและเขียนจานวนที่มีหลายหลัก

2. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3

3. กิจกรรมที่ 1 สีมหัศจรรย์

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนอ่านจานวนหลักเลขได้ถูกต้อง

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง

6. วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ครูนากรอบสีหลักหน่วยมาวาง แล้วทาบัตรตัวเลขใส่ลงไปในกรอบสีหลักหน่วยแล้วอ่านค่า
ของจานวนนั้นให้นักเรียนฟัง
2. ครูนากรอบสีจานวนหลักสิบ มาวางคู่กับกรอบสีหลักหน่วยให้ถูกหลัก แล้วนาบัตรตัวเลข 2
มาวางเรียงกันให้เป็นจานวน 2 หลัก แล้วให้นักเรียนอ่านจานวนก่อน ต่อจากนั้นครูนาบัตรตัวเลขใส่ลงใน
กรอบสีให้ถูกหลัก ให้นักเรียนอ่านแล้วเปรียบเทียบการอ่านจานวนของตนเอง ครั้งที่ 1 กับ ครั้งที่ 2
ว่าต่างกันหรือไม่ ถ้านักเรียนอ่านผิด ครูแก้โดยการให้นักเรียนสังเกตสีตามหลักเลข

กรอบสีแต่ละหลักใช้สีแตกต่างกัน เช่น หลักหน่วยใช้สีแดง หลักสิบใช้สีเหลือง


3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมจนคล่อง จนนักเรียนสามารถอ่านจานวนได้ถูกต้อง
4. เมื่อนักเรียนอ่านจานวน 2 หลัก ได้ถูกต้องไม่สลับหลักฝึกการอ่านจานวน 3 หลัก
โดยทากรอบสีหลักร้อยเพิ่ม กรอบสีหลักร้อยต้องไม่ซ้ากับกรอบสีหลักหน่วย หลักสิบแล้วดาเนินกิจกรรม
ลักษณะเดียวกัน
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ
98
7. สื่อ/อุปกรณ์
1. กรอบสี ค่าประจาหลัก เช่น สีเหลืองแทนหลักหน่วย สีแดงแทนหลักสิบ เป็นต้น
2. บัตรตัวเลข ลักษณะหนึ่งบัตรมีตัวเลขหนึ่งตัว บัตรหนึ่งชุดมีเลข 0 – 9

8. การวัดและประเมินผล
วิธีการ
- ทาแบบฝึกทักษะ 2 ชุด
เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนน
เกณฑ์
- ทาแบบฝึกแต่ละชุดได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

99
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ....................... เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………
เกณฑ์การประเมิน ผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80

100
แบบฝึกทักษะที่ 1

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค่าประจาหลักให้ถูกต้อง

สิบ หน่วย
20
สิบ หน่วย
35
สิบ หน่วย
44
สิบ หน่วย
69
สิบ หน่วย
87
ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

101
แบบฝึกทักษะที่

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค่าประจาหลักให้ถูกต้อง

ร้อย สิบ หน่วย


13 0
ร้อย สิบ หน่วย
25 8
ร้อย สิบ หน่วย
40 5
ร้อย สิบ หน่วย
67 5
ร้อย สิบ หน่วย
83 4
ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

102
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13
เรื่อง มัดครบสิบ

1. ปัญหา การอ่านและเขียนจานวนที่มีหลายหลัก

2. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3

3. กิจกรรมที่ 2 มัดครบสิบ

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนบอกค่าตัวเลขในแต่ละหลักได้
2. นักเรียนเขียนจานวนในรูปกระจายได้

5. สอดคล้องกับสาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐานการเรียนรู้ที่ ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและ
การใช้จานวนในชีวิตจริง

6.วิธีดาเนินกิจกรรม
1. ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนช่วยกันนับหลอดกาแฟที่ครูแจกให้
2. ให้นับหลอดกาแฟให้ครบสิบหลอดแล้วใช้ยางรัดไว้ มัดละสิบจนหมดหลอด ส่วนที่เหลือ
ไม่ครบสิบไม่ต้องมัด
3. ครูแนะนากระป๋องหลักเลข หลักหน่วยและหลักสิบ
4. ให้นักเรียนนาหลอดกาแฟสองมัดใส่ลงในกระป๋องหลักสิบ ทั้งหมดมีค่า 20

5. นาหลอดกาแฟที่ไม่ครบสิบ คือ อีก 7 ใส่ลงในกระป๋องหลักหน่วย นั่นคือ หลอดจะมีค่าเป็น 7


6. ครูแนะนาการอ่านค่าของตัวเลขในกระป๋องทั้งสองกระป๋องมีค่าเท่ากับ 2 สิบกับ 7 หน่วย
อ่านว่า 27 (ยี่สิบเจ็ด)

103
7. ให้นักเรียนแต่ละคู่แข่งขันกันใส่หลอดกาแฟลงในกระป๋องหลักเลข ตามจานวนที่ครูกาหนด
เช่น 32 19 48 ฯลฯ จากนั้นครูสอนนักเรียนให้รู้จักตัวเลขในรูปของการกระจาย เช่น 32 = 30 + 2,
19 = 10 + 9, 48 = 40 + 8
8. ครูกาหนดตัวเลขให้นักเรียนแสดงค่าประจาหลักตามที่ครูกาหนด
8.1 แสดงค่าโดยนาหลอดกาแฟใส่ลงในกระป๋องหลักเลข
8.2 เขียนแสดงค่าในรูปกระจายลงในแบบบันทึก
9. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตาม ข้อ 8 จนคล่อง
10. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ

7. สื่อ/อุปกรณ์
1. หลอดกาแฟ ยางรัด
2. กระป๋องหลักเลข (หลักสิบ หลักหน่วย)
3. บัตรตัวเลขฮินดูอารบิก
4. แบบฝึกทักษะ

8. การวัดและประเมินผล
8.1 วิธีการ
- การตอบปากเปล่า
- ทาแบบฝึกทักษะ
8.2 เครื่องมือ
- แบบบันทึกคะแนนการตอบปากเปล่า
- แบบบันทึกคะแนนการทาแบบฝึก
8.3 เกณฑ์
- ทากิจกรรมทั้ง 2 รายการได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป

104
แบบบันทึกคะแนน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ........................ เรื่อง.................................................

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....

แบบฝึกทักษะที่ ....
ชื่อ
รวม สรุป
เลขที่ ร้อยละ

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ .......................................ผู้ประเมิน
…………./………………………/…………………

105
แบบฝึกทักษะที่ 1

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค่าประจาหลักให้ถูกต้อง

ตัวอย่าง หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก


25 หน่วย 5 5
สิบ 2 20

หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก


32 หน่วย
สิบ
หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก
70 หน่วย
สิบ
หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก
87 หน่วย
สิบ

106
หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก
18 หน่วย
สิบ
หลัก ตัวเลข ค่าประจาหลัก
24 หน่วย
สิบ

107
แบบฝึกทักษะที่

ชื่อ.................................................................................ชั้น................เลขที่.............

คาชี้แจง เขียนจานวนในรูปกระจาย

ได้.......................................................... คะแนน
สรุป ⃝ ผ่าน ⃝ ไม่ผ่าน

108
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการใช้แบบทดสอบความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้าน คณิตศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์การศาสนา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 . กรุงเทพมหานคร : ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553.
กรุงเทพมหาคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ดารณี ศักดิศ์ ิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 5 การหาร และโจทย์
ปัญหา เล่ม 1 ความหมายของการหารและความสัมพันธ์กับการคูณ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท
โกลบอลเอ็ด จากัด.
ดารณี ศักดิ์ศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 1 จานวนและตัวเลข
เล่ม 2 การเขียนตัวเลขไทยแทนจานวน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทโกลบอลเอ็ด จากัด.
ดารณี ศักดิ์ศิริผล และคณะ. (2552). แบบฝึกอ่านเขียนเรียนรู้กับลุงฮูก ชุดที่ 1 จานวนและตัวเลข
เล่ม 1 จานวนนับ 1 ถึง 10 และ 0. กรุงเทพมหานคร: บริษัทโกลบอลเอ็ด จากัด.
ผดุง อารยะวิญญู. (2544). เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แว่นแก้ว.
ผดุง อารยะวิญญู. (2546). วิธีสอนเด็กเรียนยาก. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แว่นแก้ว.
ไพเราะ พุ่มมั่น. (2537). กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้านความคิดรวบยอด. กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพ์
แว่นแก้ว.
ไพเราะ พุ่มมั่น. (2546). กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้านความคิดรวบยอด. กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพ์
แว่นแก้ว.
หน่วยศึกษานิเทศก์. คู่มือครูแนวการจัดกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
ด้านคณิตศาสตร์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ISBN.97480051-3.
Bakken, J.P. Strategy Instruction Ideas for Students with Learning Disabilities. Illinois
State University.
Lerner, J. (2006). Learning Disabilities: Theories, Diagnosis, and Teaching Strategies.
Boston : Houghton Mifflin Company.

109
ภาคผนวก

110
การสอนด้วยวิธี Touch Math

วิธีที่เกี่ยวข้องกับประสาทสัมผัส
Touch Math เป็นการใช้ประสาทสัมผัสหลายด้านผสมผสานกัน เป็นการออกแบบเพื่อการได้ยิน
การมองเห็น และการสัมผัส/การเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว นักเรียนได้เห็น พูด ได้ยิน และสัมผัส โดยการ
สัมผัสจุดบนตัวเลขต่างๆ จึงทาให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าเพราะเขาเรียนรู้ผ่านหลากหลายช่องทางการเรียนรู้

ให้นักเรียนได้เคลื่อนที่หรือเดิน
Touch Math ก็คือ การสัมผัสจุด เมื่อได้สั มผั ส จะทาให้ เกิดการเรียนรู้ ไปในตัว การนับที่เป็ น
รูปแบบการสัมผัสจุด เป็นสื่อการสอนที่ใช้ได้ผลกับนักเรียนโดยมีหลักการเรียนรู้เป็นรูปธรรมเป็นภาพที่
ชัดเจนหรือเป็นสัญลักษณ์ ในการสัมผัสจุดนักเรียนสามารถใช้ดินสอเขียนตามลงไปบนกระดาษหรือการใช้
นิ้วมือลากตามจุดได้นี่เป็นการเรียนรู้ที่สาคัญของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

การใช้สื่อการมองเพื่อการช่วยเหลือ
การสอนในระดับ แรกด้ว ยวิธี Touch Math เป็น การสอนให้นักเรีย นใช้ก ารมองซึ่งเป็นการ
พัฒนาเรื่องทิศทาง ซ้าย ขวา ลดการมองตัวเลขแบบกลับหัวกลับหาง ทาให้ก ารคานวณง่ า ยขึ้น และ
ลดการคานวณ นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ที่ ดี มี ค วามมั่น ใจ มี ค วามกระตือรือร้น ในการทาเลขที่มีความ
สลับซับซ้อนหรือยากขึ้นไป วิธีนี้ เหมาะสาหรับเด็กอายุ 6 ปี หรือเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ที่
อาจจะกลัวตัวเลขที่เต็มหน้ากระดาษแต่หน้ากระดาษของเราจะไม่ยุ่งเหยิง เพราะจะใช้ตัวพิมพ์ที่มีขนาด
ใหญ่ที่เหมาะสม และตัวเลขทีเ่ ป็นปัญหา การสอน Touch Math เป็น เรื่องสนุกและไม่ซับซ้อน ทำให้
เด็กทำคณิตศาสตร์ได้
การใช้การสัมผัส /การนับที่เป็นรูปแบบนั้น เด็กเล็กๆ สามารถเรียนรู้จานวนได้จากจุดที่แสดง

111
ขั้นตอนในการใช้ตัวเลขโดยการใช้การสัมผัส (Touch Math)
1. การฝึกประสาทสัมผัสระหว่างตากับมือ โดยการใช้กิจกรรมระบายสี (color code)
ตัวอย่าง

ชื่อ....................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะให้นักเรียนลงสีตามจุดที่กาหนดให้และถามนักเรียนว่าเมื่อลงสีตามจุดแล้วเป็น
รูปภาพอะไร
สีเขียว สีสม้

112
2. เรียนรู้โดยนารูปภาพ เป็นตัวนาสายตา และให้นักเรียนเปรียบเทียบกับตัวเลขที่มีภาพนาสายตา
(Touchpoint Object) กับตัวเลขจุด (Touch Point) ที่อยู่ด้านล่างที่มีลักษณะเหมือนกัน เพื่อให้นักเรียน
สามารถจาภาพสัญลักษณ์ตัวเลข แล้วค่อยถอดจุดออกจากตัวเลขเหลือเฉพาะสัญลักษณ์ตัวเลขธรรมดา

ตัวอย่าง
หนึ่ ง สอง

113
3. การนับตัวเลขโดยการใช้การสัมผัส (Touch Math) ตั้งแต่ 6 ถึง 9 อาจใช้วงกลม รอบจุด
แล้วให้นับซ้าอีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อป้องกันจานวนจุดที่มีจานวนมากเกินไป บนตัวเลขนั้นๆ
ตัวอย่าง

4. การนับจุดของตัวเลข Touch Math

114
5. การเขียนตัวเลข

ตัวอย่าง

115
116
6. การรู้ค่าตัวเลข
ตัวอย่าง จับคู่ตัวเลขให้ตรงกับรูปภาพ

117
7. การบวกโดยการนับภาพบนตัวเลข ของ Touch Math Object จะมีภาพบนตัวเลข เท่า
จานวนตัวเลข

ชื่อ....................................................................... ชั้น....................... เลขที่.....................


คาชี้แจง จงหาผลบวกให้ถูกต้อง

รวม

118
ชื่อ....................................................................... ชั้น....................... เลขที่.....................
คาชี้แจง จงหาผลบวกให้ถูกต้อง

119
8. การบวกเลขด้วยตัวเลขจุด
ตัวอย่าง 5 บวก 7 ในระยะแรกให้นับจุดของเลข 5 มี 5 จุด จากนั้นนับต่อที่เลข 7
โดยเริ่มจากจุดเริ่มต้น คาตอบคือ 12
2 1

3
4
5
6 7
12
8 9
10 11

จากนั้นเริ่มถอดจุดในตัวบวกออกเพื่อให้เด็กคิดเอง

สุดท้ายเริ่มถอดจุดทั้งตัวตั้งและตัวบวกเป็นตัวเลข

120
9. การลบเลข
ตัวอย่าง 9 -7 ในระยะแรกให้นับจุดของตัวตั้งคือเลข 9 จากตาแหน่งสุดท้าย โดย
หักออก 7 คาตอบคือ 2

จากนั้นเริ่มถอดจุดในตัวลบออกเพื่อให้เด็กคิดเอง สุดท้ายเริ่มถอดจุดทั้งตัวตั้งและ ตัวลบเป็น


ตัวเลข เหมือนกับการบวก

10. การคูณโดยการนับจุดบนตัวเลข
การคู ณ เป็ น การบวกตั ว ตั้งซ้ ากี่ เท่ า ซึ่ งนั ก เรีย นอาจจะใช้ กิจ กรรมนั บ เม็ ด ลู ก ปั ด มาก่ อนเพื่ อ ให้ เข้ าใจ
ความหมายของการคูณ ตัวอย่าง 7x2 คือ 7 บวกตัวเอง 2 ครั้ง ดังนั้นเด็กจะนับตัวตั้ง 2 รอบ คาตอบคือ
14

จากนั้ น เริ่ม ถอดจุ ดในตัว คูณ ออกเพื่ อให้ เด็กคิดเอง สุ ดท้ ายเริ่มถอดจุดทั้ งตัว ตั้งและตัวคู ณ เป็น ตัวเลข
เหมื อ นกั บ การบวก จากนั้ น อาจจะน าตารางการคู ณ มาช่ ว ยในการคิ ด อี ก ก็ ได้ (หาข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จาก
TouchMath.com)

121
ตัวอย่างสื่อสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

จานวนตัวเลข
ชุด Carry and Borrow Line
ช่วยสอนค่าของตัวเลขและการบวก ลบ จานวนที่มีสองหลัก

เส้นจานวน
จะช่วยให้เด็กจัดระบบตัวเลขอย่างเป็นแบบแผน

อุปกรณ์คณิตศาสตร์แท่งจานวน MeasureLine
เป็นบรรทัด 12 หน่วยเพื่อการคานวณ

อุปกรณ์คณิตศาสตร์แท่งจานวน เศษส่วน
เป็นแท่งหลักเศษส่วนเพื่อการคานวณ

122
เศษส่วน
ชุด เส้นจานวนเศษส่วน FractionLine
อุปกรณ์ที่สอนให้เด็กเข้าใจรูปเศษส่วน

กระดาษเส้นจานวน เศษส่วน
เพื่อการคานวณ

เศษส่วนพิซซ่า

ลูกเต๋าเศษส่วน

บัตรเศษส่วน

123
จานวนเงิน
ชุด Coin-U-Lator
อุปกรณ์ที่บอกค่าของเหรียญเงิน การนับเงิน

ร้านขายของจาลอง

ตารางแลกเงิน

124
เวลา นาฬิกาวงกลม
จะมี 2 ขนาดสอนเรื่องเวลา การบอกเวลา

บัตรเวลา

125
การคานวณ เครื่องคิดเลขขนาดใหญ่

ง่ายต่อการมอง การหาตัวเลข และการกดปุ่มคานวณ

ตาราง 100 ช่องเกี่ยวกับการบวก ลบ คูณ


ช่วยในการคานวณการบวก การลบ การคูณ

ตัวบล็อคต่อคานวณ

ลูกปัดแท่งหลัก
ใช้คานวณเลขตามหลัก

ไม้คิดคานวณการบวกลบคูณหาร

126
บัตรภาพประโยคสัญลักษณ์

กระดาษหาคาตอบและแผ่นพลาสติกสี

127
กราฟ

พื้นที่
บล็อคพื้นที่ตาราง

128
รูปเรขาคณิต

กระดานสร้างรูปเรขาคณิต

แท่งต่อรูปทรงเรขาคณิต

129
การวัด ไม้บรรทัด

ร้อยละ

130
การชั่งน้าหนัก

131
คณะทางานปรับเอกสาร
เทคนิค วิธีการและสื่อ
สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ที่ปรึกษา
1. นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. นายสมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. นายเสน่ห์ ขาวโต รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. นางเบญจา ชลธาร์นนท์ ข้าราชการบานาญ (อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ)
6. นางสุจินดา ผ่องอักษร ที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษและผู้ด้อยโอกาส
7. นายธีระ จันทรรัตน์ ผู้อานวยการสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นผู้ตรวจพิจารณาเอกสาร
1. นางสุจินดา ผ่องอักษร ที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษและผู้ด้อยโอกาส
2. นางดารณี ศักดิ์ศิริผล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
3. นางเกตุมณี มากมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

ผู้กาหนดกรอบในการปรับเอกสาร
1. นางสุจินดา ผ่องอักษร ที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษและผู้ด้อยโอกาส
2. นางผ่องศรี สุรัตน์เรืองชัย สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
3. นางสาวเจษฎา กิตติสุนทร สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

132
คณะผู้ปรับเอกสาร
1. นางเรืองรอง ศรแก้ว โรงเรียนบ้านอุโมงค์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการเขต 1
2. นางเรไร ตาปนานนท์ โรงเรียนวัดพระยาปลา สังกัดกรุงเทพมหานคร
3. นางสายสวาท อรรถมานะ รองผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9
4. นายยุทธนา ขาเกื้อ รองผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4
5. นางสาวพรรณา นรินทร ศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง
6. นางนภัสวรรณ อุปศรี โรงเรียนวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1
7. นางกนิษฐา ลี้ถาวร โรงเรียนวัดด่านสาโรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สมุทรปราการ เขต 1
8. นางวรรณิภา ภัทรวงศ์สินธุ์ โรงเรียนชุมชนบ้านหนองบัวระเหว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 3
9. นางจุฬาภรณ์ ด้วงบาง โรงเรียนบ้านคลองน้าเย็น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 1
10. นางกฤติยา กริ่นใจ โรงเรียนชุมชนบ้านหลุมรัง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี
เขต 2
11.นางอารีรัตน์ สงวนทรัพย์ โรงเรียนบ้านโคกเจริญ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา
12. นายสมชาย กาซอ โรงเรียนชุมชนบ้านสะนิง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี เขต 1
13. น.ส.สุกัญญา จิวัฒนาชวลิตกุล โรงเรียนบ้านกอแนะเหนือ
14. นางผ่องศรี สุรัตน์เรืองชัย สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
15. นางสาวเจษฎา กิตติสุนทร สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

133
เอกสารชุดที่ 4 เทคนิค วิธีการและสื่อ
สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
1. นางกานดา พุทธรักษา ศึกษานิเทศก์ ประธานกรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1
2. นายนิรันดร์ แสงกุหลาบ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4
3. นายวารสาร เมืองพวน ผู้อานวยการโรงเรียน โรงเรียนพัฒนาคาแก้ว กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1
4. นายประจิต พินธะ ครู โรงเรียนโพนศิลางามวิทยา กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1
5. นางเพ็ญพรรณ ยุวพัฒน ครู โรงเรียนวัดขะจาว กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1
6. นางสาวจตุพร ธนันไชย ครู โรงเรียนวัดขะจาว กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1
7. นางลัดดาวัลย์ แย้มทอง ครู โรงเรียนอนุบาลตรัง กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
8. นางสาวอรอุมา ชูสุวรรณ์ ครู โรงเรียนอนุบาลตรัง กรรมการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
9. นางปัญญดา กันจินะ ครู ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8
จังหวัดเชียงใหม่ กรรมการ
10. นางฉวีวรรณ โยคิน ศึกษานิเทศก์ กรรมการและเลขานุการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1

บรรณาธิการ
นางสาวพรรณี คุณากรบดินทร์ นักวิชาการศึกษาชานาญการ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ภาพปก
นางทองพูน สร้อยดอกจิก โรงเรียนบ้านท่าทุ่ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1

134
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

You might also like