You are on page 1of 57

แบบฝึกเสริมทักษะ

การสร้างคาในภาษาไทย
เรื่องคาสมาส

โดย
นางขนิษฐา วงคาโสม
ตาแหน่ง ครู

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนภูเรือวิทยา
แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

คานา
แบบฝึกเสริมทักษะการสร้ างค าในภาษาไทย เรื่องคาสมาส สาหรับนักเรียนชั้นมัธ ยมศึก ษาปีที่
๒ เล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของนวัตกรรมที่ผู้จัด ทา จัดทาขึน้ ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
โรงเรียนภูเรือวิทยา และใช้ประกอบการจัดการเรี ยนการสอนรายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

โดยแบบฝึกเสริมทักษะชุดนี้ ประกอบด้วย คาแนะนาการใช้ ขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะ ผล


การเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน –หลังเรียน เฉลยแบบฝึกทักษะ เฉลย
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน แบบบันทึกคะแนน ครูและนักเรียนควรปฏิบัติ ตามขั้ นตอนการใช้
แบบฝึกเสริมทักษะ มีความรับผิดชอบ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง จึงจะทาให้การเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพ

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ ได้จัดทาขึน้ นี้จะทาให้นักเรี ยนเกิด การเรียนรู้


อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนเห็นความก้าวหน้ าของตนเองได้อย่ างเป็นระบบ เป็นประโยชน์ตอ่ การ
เรียนรายวิชาภาษาไทยของนัก เรี ยน ต่อการสอนรายวิชาภาษาไทยของครู และเป็นประโยชน์ตอ่
ผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรี ยนการสอนภาษาไทยอันส่งผลให้นัก เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในระดับ
ที่พึงพอใจ

ขนิษฐา วงคาโสม

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ก


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาแนะนาการใช้ ๑
ขั้นตอนการใช้แบบฝึกหัด ๒
ผลการเรียนรู้และจุด ประสงค์ก ารเรี ยนรู้ ๓
แบบทดสอบก่อนเรียน ๔

ใบความรู้ ๗
แบบฝึกทักษะที่ ๑ ๑๖
แบบฝึกทักษะที่ ๒ ๑๗
แบบฝึกทักษะที่ ๓ ๑๘
แบบฝึกทักษะที่ ๔ ๑๙
แบบฝึกทักษะที่ ๕ ๒๐
แบบฝึกทักษะที่ ๖ ๒๑
แบบฝึกทักษะที่ ๗ ๒๒
แบบฝึกทักษะที่ ๘ ๒๓
แบบฝึกทักษะที่ ๙ ๒๔
แบบฝึกทักษะที่ ๑๐ ๒๕
แบบฝึกทักษะที่ ๑๑ ๒๖
แบบฝึกทักษะที่ ๑๒ ๒๘
แบบฝึกทักษะที่ ๑๓ ๒๙
แบบฝึกทักษะที่ ๑๔ ๓๐
แบบฝึกทักษะที่ ๑๕ ๓๑
แบบทดสอบหลังเรียน ๓๒
เฉลยแบบฝึกทักษะ ๓๕
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน – หลังเรียน ๕๑
บรรณานุกรม ๕๔

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ข


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

คำแนะนำกำรใช้
ครูควรศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกั บรายละเอี ยดของแบบฝึกทัก ษะดัง นี้ แบบฝึก เสริมทักษะ
การสร้างคาภาษาไทย เรื่อง คาสมาส สาหรับนักเรียนชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ ในเล่มนี้ประกอบด้วย
๑. คาแนะนาการใช้
๒. ขั้นตอนการใช้แบบฝึกหัด
๓. ผลการเรียนรู้และจุด ประสงค์ก ารเรี ยนรู้
๔. แบบทดสอบก่อนเรียน
๕. ใบความรู้
๖. แบบฝึกทักษะ
๗. แบบทดสอบหลังเรียน
๘. เฉลยแบบฝึกทักษะ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
แบบฝึกเสริมทักษะการสร้ างค าในภาษาไทย เรื่อง คาสมาส สาหรับนักเรียนชั้นมัธ ยมศึกษา
ปีที่ ๒ ใช้เวลาเรียน ๗ คาบ

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

ขั้นตอนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ

เริ่มศึกษา

ทดสอบก่อนเรียน

อ่านคาแนะนาการใช้และศึกษา
จุดประสงค์การเรียนรู้

ศึกษาใบความรู้
ครูแนะนา ชี้แนะ สังเกต ทากิจกรรม
ประเมินผล และแบบฝึกหัด

ตรวจแบบฝึกหัดจากเฉลย
ไม่ผ่าน
ทดสอบหลังเรียน ศึกษาเพิ่มเติม
ผ่าน
จบการศึกษาแบบฝึกเสริม
ทักษะเล่มนี้ ศึกษาเรื่องอื่น

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

ผลการเรียนรู้
๑. สามารถอธิบายลักษณ ะ วิธีการสร้าง และบอกที่มาของคาสมาสได้
๒. สามารถแยกประเภทคาสมาสได้อ ย่างถูกต้อง
๓. มีมารยาทในการอ่ านการเขี ยน

จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการสร้างค าสมาส
๒. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการสร้างค าสมาสได้
๓. นักเรียนสามารถอธิบายลัก ษณะของคาสมาสได้
ด้านทักษะกระบวนการ
๑. สามารถสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๒. ใช้กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
๓. ปฏิบัตงิ านอย่างมีระบบ
ด้านคุณลักษณะ
๑. ซื่อสัตย์สุจริต
๒. มีวินัย
๓. ใฝ่เรียนรู้
๔. มุ่งมั่นในการทางาน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๑. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมและใช้ภ าษาอย่ างเหมาะสม
๒. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
๓. สามารถแก้ปัญหาและอุ ปสรรคต่ าง ๆ ที่เผชิญได้
๔. เรียนรู้ดว้ ยตนเองได้ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถทางานร่วมกั บ
คนอื่นได้
๕. เลือกและใช้เทคโนโลยีได้ เหมาะสมตามวัย

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่องคาสมาส
คาชี้แจง

๑. แบบทดสอบนีเ้ ป็นแบบปรนั ย ชนิด ๔ ตัวเลือก จานวน ๒๐ ข้อ ๒๐ คะแนน


๒. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ ถูกต้องที่สุ ดเพี ยงข้อเดี ยวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
๓. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ ๔๐ นาที

๑. คาในภาษาใดไม่สามารถสร้างค าสมาสได้
ก. ภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต ข. ภาษาสันสกฤตกับภาษาสั นสกฤต
ค. ภาษาไทยกับภาษาบาลี ง. ภาษาบาลีกับภาษาบาลี
๒. ใครคือผู้ใช้ประโยชน์จากค าสมาส
ก. มุทิตาอ่านและเขียนคาภาษาไทยไม่ถู กเนื่องจากไม่รู้หลัก เกณฑ์ของการสร้างค าสมาส
ข. ปารมิตาสร้างคาสมาสจากคาภาษาเขมรกับคาภาษาสันสกฤต
ค. อานนท์อ่านบทสวดมนต์จากตัวอักษรภาษาบาลีสั นสกฤตทุกวัน
ง. ปพลตัง้ ชื่อให้ลูกชายเพื่อนว่า “นพรัตน์”
๓. ข้อใดไม่ใช่คาสมาสทั้งหมด
ก. มเหสี ชนมายุ ไตรทวาร ข. อุทกภัย ภัตตาคาร เทพเจ้า
ค. คมนาคม ชนบท เทวาลัย ง. วาตภัย มหันตโทษ สุขารมณ์
๔. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. คาสมาสกับคาประสมคือค าชนิดเดียวกัน
ข. การสร้างคาสมาสมี ๒ วิธี คือแบบสมาสและแบบสนธิ
ค. คาสมาส คือการสร้างคาจากภาษาบาลีและคาภาษาสั นสกฤต
ง. การประสมคาไทยกับคาภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตไม่ถือ เป็ นคาสมาส
๕. ข้อใดอ่านคาสมาสได้ถูกต้องตามหลัก เกณฑ์การสร้างค าสมาส
ก. คณิตศาสตร์ อ่านว่า คะ – นิด – ตะ – สาด
ข. แพทยศาสตร์ อ่านว่า แพด – สาด
ค. อักษรศาสตร์ อ่านว่า อัก – สอน – สาด
ง. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – สาด

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๖. “วาทศิลป์” แปลตามหลักคาสมาสว่าอย่างไร
ก. ศิลปะและวาทะ ข. วาทะและศิลปะ
ค. ถ้อยคาที่เป็นศิลปะ ง. ศิลปะแห่งถ้อยคา
๗. ข้อใดเป็นคาสมาส
ก. ประวัตบิ ุคคล ข. ประวัตกิ วี ค. ประวัตกิ ารณ์ ง. ประวัตสิ ุนทรภู่
๘. ข้อใดไม่ใช่คาสมาส
ก. สังคมศึกษา ข. วิทยาศาสตร์ ค. พานิชยกรรม ง. บรรจุภัณฑ์
๙. ข้อใดแยกคาสมาสแบบสนธิไม่ถูกต้อง
ก. อัคโยภาส = อัคคี + โยภาส ข. สุขารมณ์ = สุข + อารมณ์
ค. ทักษิโณทก = ทักษิณ + อุทก ง. สามัคยาจารย์ = สามัคคี + อาจารย์
๑๐. ข้อใดแยกคาสมาสแบบสนธิได้ถู กต้อง
ก. ภัตตาคาร = ภัต + อาคาร ข. พุทธานุภาพ = พุทธ + อานุภาพ
ข. ราชูปถัมภ์ = ราช + อุปถัมภ์ ง. ดรุโณวาท = ดรุณ + โณวาท
๑๑. ข้อใดจัดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. มหรรณพ ข. วิทยาลัย ค. ธันวาคม ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. ข้อใดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. กลเม็ด ข. วาตภัย ค. อรุโณทัย ง. เทพเจ้า
๑๓. ข้อใดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. อรรถคดี ข. จตุรงค์ ค. คเชนทร์ ง. อดิศร
๑๔. คาว่า “มเหสี” แยกสนธิได้อย่างไร
ก. มหิ+อิสี ข. มหา+อิสี ค. มเห+เอสี ง. มเห+เอสี
๑๕. คาในข้อใดเกิดจากการสมาสค าโดยที่ท้ายค าหน้ามี เครื่องหมายทัณฑฆาต
ก. จันทรคติ ข. จักรยาน ค. จักษุแพทย์ ง. สัจจอธิฐาน
๑๖. คาว่า “พระ” พระในข้อใดไม่ใช่การสร้างคาแบบสมาส
ก. พระอู่ ข. พระกร ค. พระบิดา ง. พระนาภี
๑๗. ข้อใดกล่าวถึงการสมาสแบบสนธิได้ถูกต้อง
ก. สมาสมีสนธิไม่มีการเปลี่ยนแปลงพยางค์ระหว่างคา
ข. คาสมาสมีสนธิเป็นคาที่ มาจากภาษาบาลี - สันสกฤต
ค. สมาสมีสนธิมีการเปลี่ยนแปลงพยางค์ ระหว่างค า
ง. สมาสมีสนธิเป็นการนาค ามาต่อกันเท่านัน้

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๕


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๑๘. ข้อใดมีคาสมาส
ก. คนทาดีเทพเจ้าก็จะยกย่อง ข. จงทาตนให้มีคุณค่าต่อสังคม
ค. นี่คือผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท ง. ฟิลปิ ปินส์ประสบอุทกภั ยอย่ างหนัก
๑๙. ข้อใดมีคาสมาสแบบสมาส และคาสมาสแบบสนธิอย่างละ ๑ คา
ก. เขาตัง้ ใจเรียนวิชาเคมี เพื่อสอบเข้ าเรียนในระดั บอุดมศึก ษา
ข. วิทยาลัยแห่งนี้มีศาสตราจารย์หลายคน
ค. ใครเป็นเจ้าของเคหสถานอั นสุขารมณ์ น้ีหนอ
ง. ภูมิอากาศขณะนี้อยู่ในฤดูฝนที่ เรี ยกว่าวสันตฤดู
๒๐. ข้อใดไม่มีคาสมาส
ก. ระบบนิเวศวิทยาทางทะเล ข. ธุรกิจขายตรงในปัจจุบัน
ค. ชีวิตของชาวประมงไทย ง. คุณค่าของโภชนาการของน้าปลา

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๖


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

คาสมาส
คาสมาส คือ การสร้างคาใหม่ชนิดหนึ่ง เป็นการนาคาภาษาบาลี สันสกฤต ตัง้ แต่ ๒ คา
ขึน้ ไปมารวมกันให้เป็นค าเดี ยว ทาให้เกิดคาใหม่ที่มี ความหมายใหม่ แต่ยังคงเค้าความหมายเดิมอยู่
การแปลความหมายแปลจากข้างหลังไปข้างหน้า
ลักษณะทั่วไปของคาที่มาจากภาษาบาลีและสัน สกฤต
หลักสังเกตภาษาบาลีและสั นสกฤต มีดังนี้

บาลี สันสกฤต
๑. ใช้สระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เช่น ๑. ใช้สระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ และเพิ่ม
บิดา บุรี บุญ บูชา เมตตา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา เช่น ไมตรี ฤกษ์ ฤดู
ฤทธิ์ ไพศาล เมาลี เสาร์
๒. ใช้ ส เช่น สาสนา สันติ วิสาสะ ๒. ใช้ ศ ษ เช่น ศิษย์ ศานติ พิศวาส
สาลา สีสะ ศาลา ศีรษะ
๓. ใช้ ฬ เช่น กีฬา จุฬา ครุฬ ๓. ใช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ
๔. ใช้พยัญชนะเรียงพยางค์ เช่น ปฐม ๔. ใช้อักษรควบกล้า เช่น ประถม ประณีต
ปณีต จักก สัจ ปชา กิริยา สามี ฐาน จักร ประชา กริยา สวามี สถาน สถาวร
ถาวร
๕. ใช้พยัญชนะสะกดและตัวตามตัว ๕. ใช้ตัว รร แทน ร เช่น ธรรม
เดียวกัน เช่น ธัมม กัมม กรรม มรรค จรรยา สุวรรณ
๖. มีหลักตัวสะกดตัวตามที่แน่นอน ๖. ไม่มีหลักตัวสะกดตัวตาม

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๗


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

ชนิดของคาสมาส คาสมาส แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ สมาสแบบสมาสกับสมาสแบบสนธิ

สมาสแบบสมาส

หมายถึง การนาคาภาษาบาลี สันสกฤต ตัง้ แต่ ๒ คา ขึน้ ไปมาเรียงต่อกัน เมื่อรวมกันแล้ว


ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรู ปค าศัพ ท์
โดยมีหลักดังนี้
๑. ต้องเป็นคา ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านัน้
๒. ศัพท์ประกอบไว้หน้า ศัพท์หลักไว้หลัง
๓. แปลจากหลังมาหน้า
๔. มีการเปลี่ยนแปลงรู ปศัพ ท์ตามหลัก ที่จะกล่าวต่อ ไป
๑. นาคามาสมาสกันเลยโดยไม่ต้องเปลี่ ยนแปลงรูปค า เช่น
ไตร + ทวาร สมาสเป็น ไตรทวาร
อักษร + ศาสตร์ สมาสเป็น อักษรศาสตร์
กาย + กรรม สมาสเป็น กายกรรม
กาล + เทศะ สมาสเป็น กาลเทศะ
กาม + เทพ สมาสเป็น กามเทพ
อรรถ + รส สมาสเป็น อรรถรส
ธาตุ + เจดีย์ สมาสเป็น ธาตุเจดีย์
๒. ตัดเครื่องหมายทัณฑฆาต ( ) ของพยัญชนะตัวสุดท้ายในคาหน้ าออกแล้วจึงน าค ามา
สมาสกัน เช่น
มหันต์ + โทษ สมาสเป็น มหันตโทษ
แพทย์ + ศาสตร์ สมาสเป็น แพทยศาสตร์
ขัณฑ์ + สีมา สมาสเป็น ขัณฑสีมา
อินทร์ + ธนู สมาสเป็น อินทรธนู
สังฆ์ + เภท สมาสเป็น สังฆเภท
ทรัพย์ + สิทธิ สมาสเป็น ทรัพยสิทธิ

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๘


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๓. ตัดเครื่องหมายประวิส รรชนี ย์ (ะ) ของพยัญชนะตัวสุดท้ายของคาหน้าออกแล้วจึงนามา


สมาสกัน เช่น
วิทยะ + ฐานะ สมาสเป็น วิทยฐานะ
กายะ + ภาพ สมาสเป็น กายภาพ
เอกะ + ชน สมาสเป็น เอกชน
พละ + ศึกษา สมาสเป็น พลศึกษา
ศิลปะ + วัฒนธรรม สมาสเป็น ศิลปวัฒนธรรม
๔. คาที่ลงท้ายด้วยคาว่า ศาสตร์ กรรม ภัย ภาพ ส่วนมากจะเป็นคาสมาส
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ไสยศาสตร์ ครุศาสตร์
สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วจีกรรม สังฆกรรม
จิตรกรรม คหกรรม อุตสาหกรรม อัคคีภัย
อุทกภัย วาตภัย โจรภัย ทุพภิกขภัย
มโนภาพ จินตภาพ เสรีภาพ สหภาพ
เอกภาพ ศิลปกรรมศาสตร์
๕. คาที่ขึ้นต้นด้วย วร หรือ พระ ส่วนมากเป็นคาสมาส พระ แผลงมาจาก วร เช่น
วรกาย วรชายา วรองค์ วรวิหาร วรดิตถ์
พระบาท พระองค์ พระโอษฐ์ พระนาสิก พระเนตร
พระกรรณ พระบัปผาสะ พระหทัย พระนลาภ พระสโท
คาว่า พระ ที่ประสมกับภาษาอื่นไม่ใช่ คาสมาส เช่น
พระอู่ เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + อู่ (ท.)
พระเก้าอี้ เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + เก้าอี้ (จ.)
พระขนง เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + ขนง (ข.)
พระเขนย เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + เขนย (ข.)
พระสุหร่าย เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + สุหร่าย (เปอร์.)
พระโธรน เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + โธรน (อ.)

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๙


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

คาสมาสเทียม
ดังที่กล่าวมาแล้ว องค์ประกอบของคาสมาสจะต้องอยู่ในรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่ง ได้แก่
คาบาลี + คาบาลี
คาสันสกฤต + คาสันสกฤต
คาบาลี + คาสันสกฤต
คาสันสกฤต + คาบาลี
ในภาษาไทยมีคาประสมและค าซ้อน ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนหนึ่งเป็นคายืม ที่ม าจากภาษาบาลี
หรือสันสกฤต ประสมรวมกันกับคาไทยหรือค ายื มภาษาอื่น คาส่วนนี้ไม่ใช่คาสมาสด้วยมีองค์ประกอบ
และมีวิธีผิดไปจากคาสามาสทั่วไป เรียกคาลักษณะดังกล่าวว่า คาสมาสเทียม ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม
คาประสม ของไทย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พระอู่ เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + อู่ (ท.)
พระเก้าอี้ เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + เก้าอี้ (จ.)
พระขนง เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + ขนง (ข.)
พระเขนย เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + เขนย (ข.)
พระสุหร่าย เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + สุหร่าย (เปอร์.)
พระโธรน เกิดจาก พระ (ป.,ส.) + โธรน (อ.)
คุณค่า เกิดจาก คุณ (ป.,ส.) + ค่า (ท.)
ภูมิลาเนา เกิดจาก ภูมิ (ป.,ส.) + ลาเนา (ข.)
เทพเจ้า เกิดจาก เทพ (ป.,ส.) + เจ้า (ท.)
ผลไม้ เกิดจาก ผล (ป.,ส.) + ไม้ (ท.)
พลขับ เกิดจาก พล (ป.,ส.) + ขับ (ท.)
พลเมือง เกิดจาก พล (ป.,ส.) + เมือง (ท.)
ราชวัง เกิดจาก ราช (ป.,ส.) + วัง (ท.)
ราชสานัก เกิดจาก ราช (ป.,ส.) + สานัก (ข.)
ศักดินา เกิดจาก ศักดิ (ป.,ส.) + นา (ท.)
สรรพสินค้า เกิดจาก สรรพ (ส.) + สินค้า (ท.)
คริสตกาล เกิดจาก คริสต์ (อ.) + กาล (ป.,ส.)
ทุนทรัพย์ เกิดจาก ทุต (ท.) + ทรัพย์ (ส.)

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๐


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

สมาสแบบสนธิ

คาสมาสแบบมีสนธิ หมายถึง การนาคาภาษาบาลี สันสกฤต ตัง้ แต่ ๒ คาขึน้ ไปมาเชื่อมต่อ


กัน เมื่อรวมกันแล้วมีการเปลี่ยนแปลงรู ปค าศัพ ท์ ท้ายเสียงของคาหน้ากั บต้นเสี ยงของค าหลัง มีเสี ยง
กลมกลืนกัน กลายเป็นคาใหม่ขึ้นมา เพื่อให้เกิดความสละสลวยของคา และเป็ นประโยชน์ตอ่ การ
นาไปแต่งคาประพันธ์
การสนธิคา เป็นลักษณะสาคัญของภาษาบาลี และสั นสกฤต เพราะเป็นคามากพยางค์ ออก
เสียงจังหวะเร็ว ต้องอาศัยสนธิเข้าช่วย เพื่อออกเสียงคานัน้ สัน้ ลง (ละเอียด, ๒๕๓๗)
โดยมีหลักดังนี้
๑. ต้องเป็นคา ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านัน้
๒. ศัพท์ประกอบไว้หน้า ศัพท์หลักไว้หลัง
๓. แปลจากหลังมาหน้า
๔. ถ้าเป็นสระสนธิ ศัพท์ตัวหลังจะขึน้ ต้นด้วย ตัว อ
๕. มีการเปลี่ยนแปลงรู ปศัพ ท์ตามหลัก ที่จะกล่าวต่อ ไป
ลักษณะของคาสมาสแบบมีสนธิ
ลักษณะของคาสมาสแบบมีสนธิ สังเกตได้ดังต่อไปนี้
๑. มุ่งการนาคามาเชื่อมให้เสียงกลมกลืนกัน
๒. คาที่นามาเชื่อมต้องมาจากภาษาบาลี และสัน สกฤต
๓. มีการเปลี่ยนเสียงตัวอักษรระหว่างคาที่นามาเชื่อม
๔. การเรียงลาดับคาและการแปลความหมายเหมือนอย่ างคาสมาส
๕. ชนิดของคาสมาสแบบมีสนธิมี ๓ ชนิด คือ สระสนธิ พยัญชนะสนธิ และนิคหิตสนธิ
ชนิดของคาสมาสแบบมีสนฺธิ มี ๓ ชนิด คือ
 สระสนธิ คือ การเชื่อมคาโดยที่ท้ายค าหน้ าและต้นคาหลัง เป็นสระ
ตัวอย่างการสมาสนแบบสระสนธิ
คาหน้า คาหลัง

วชิระ + อาวุธ
ท้ายคาหน้า ต้นคาหลัง

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๑


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

 พยัญชนะสนธิ คือ การเชื่อมคาเมื่อท้ายคาหน้าและต้น คาหลังเป็นพยัญชนะ


ตัวอย่างการสมาสแบบพยัญชนะสนธิ
คาหน้า คาหลัง

ราช + อธิราช
ท้ายคาหน้า ต้นคาหลัง

 นฤคหิตสนธิ หรือนิคหิตสนธิ คือ การเชื่อมคาเมือคาหน้า เป็น นฤคหิ ต


ตัวอย่างการสมาสนแบบนฤคหิตสนธิ

คาหน้า คาหลัง

ส + อาคม
สระสนธิ
สระสนธิ คือ การเชื่อมค าให้มี เสี ยงกลมกลื นกั น ระหว่างเสี ยงสระพยางค์ ท้ายของคาหน้ากับเสียง
สระพยางค์แรกของคาหลัง เมื่อเชื่อมกันแล้วเสียงสระเหลือ เพี ยงเสี ยงเดี ยว ซึ่งอาจเป็นเสียงสระ
พยางค์ท้ายของคาหน้า หรือเสียงสระพยางค์แ รกของค าหลัง หรือ เสี ยงสระคงที่ หรืออาจแปลงเป็น
เสียงสระอื่น มี ๓ แบบ ดังนี้
ก. ลบสระท้ายของคาหน้าใช้สระของคาหลัง เช่น
วิทยา + อาคม สนธิเป็น วิทยาคม
วิชิระ + อาวุธ สนธิเป็น วชิราวุธ
มัคคะ + อุเทศก์ สนธิเป็น มัคคุเทศก์
ธน + อาคาร สนธิเป็น ธนาคาร
คณะ + อาจารย์ สนธิเป็น คณาจารย์
มหา + อรรณพ สนธิเป็น มหรรณพ
พุทธ + โอวาท สนธิเป็น พุทโธวาท
ภูมี + อินทร์ สนธิเป็น ภูมินทร์

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๒


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

หมายเหตุ คาที่ไม่มีสระท้ายปรากฏอยู่ ในค า เช่น คาว่า ธน ให้ถือว่าสระท้ายเป็น สระอะ


เช่นเดียวกับคาว่า ธนะ
นิล = นิละ เบญจ = เบญจะ
ราช = ราชะ พุทธ = พุทธะ

ข. ลบสระท้ายของคาหน้าใช้สระหน้าของคาหลัง โดยเปลี่ยนสระหน้าของคาหลัง
ดังต่อไปนี้
สระอะ เปลี่ยนเป็น สระอา
สระอิ เปลี่ยนเป็น สระเอ
สระอุ เปลี่ยนเป็น สระอูหรือสระโอ
เช่น
นร + อิศวร สนธิเป็น นเรศวร
ปร + อินทร์ สนธิเป็น ปรมินทร์
มหา + อิสี สนธิเป็น มเหสี
กุศล + อุบาย สนธิเป็น กุศโลบาย
ชล + อุทร สนธิเป็น ชโลทร
ปรม + อาจารย์ สนธิเป็น ปรมาจารย์
มหา + อุฬาร สนธิเป็น มโหฬาร
นย + อุบาย สนธิเป็น นโยบาย
ราช + อุปโภค สนธิเป็น ราชูปโภค
พุทธ + โอวาท สนธิเป็น พุทธโทวาท
จุฬ + อลงกรณ์ สนธิเป็น จุฬาลงกรณ์
นร + อินทร์ สนธิเป็น นเรนทร์

ค. เปลี่ยนสระท้ายของคาหน้า เป็นสระดังต่อไปนี้
สระอิและสระอี เปลี่ยนเป็น ย
สระอุและสระอู เปลี่ยนเป็น ว
แล้วใช้สระหน้าของคาหลัง จะเปลี่ยนรูปสระหน้าของคาหลังแบบข้อ ข ก็ได้
ถ้าไม่เปลี่ยนให้ใช้หลักข้อ ก

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๓


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เช่น มติ + อธิบาย  มตย + อธิบาย = มตยธิบาย


กิติ + อากร  กิตย + อากร = กิตยากร
อัคคี + โอภาส  อัคย + โอภาส = อัคโยภาส
อัธิ + อาศัย  อัธย + อาศัย = อัธยาศัย
สามัคี + อาจารย์  สามัคย + อาจารย์ = สามัคยาจารย์
สินธุ + อานนท์  สินว + อานนท์ = สินธวานนท์
ธนู + อาคม  ธนว + อาคม = ธันวาคม

พยัญชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิ คือ การเชื่อมคาให้เสียงกลมกลืนกัน ระหว่างพยัญชนะคาท้ายของพยางค์
หน้ากับคาหน้าของคาหลัง เช่น
๑. เปลี่ยน ส เป็น โอ เช่น
มนสฺ + รถ = มโนรถ มนสฺ + ภาว = มโนภาว
มนสฺ + มย = มโนมัย มนสฺ + รมย = มโนรมย์
ยสสฺ + ธร = ยโสธร สรสฺ + ช = สโรชา
รหัส + ฐาน = รโหฐาน มนส + ภาพ = มโนภาพ
๒. คาหน้าที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ น ให้ลบ น ทิง้ เช่น
พฺรหฺมนฺ + ชาติ = พรหมชาติ อาตฺมนฺ + ภาว = อาตมภาว
๓. คาหน้าซึ่งเป็น นิสฺ, ทุสฺ แผลง ส เป็น ร เช่น
นิสฺ + ภย = นิรภัย นิสฺ + มล = นิรมล
นิสฺ + มิต = นิรมิต นิส + ทุกข์ = นิรทุกข์
นิร + โศก = นิรโศก ทุสฺ + พิษ = ทุรพิษ
ทุส + ชน = ทุรชน ทุส + อาจารย์= ทุรจารย์

นฤคหิตสนธิ หรือ นิคหิตสนธิ


นฤคหิตสนธิ หรือนิคหิตสนธิ คือ การเชื่อมเสียงของคาที่มีนฤคหิต หรือมี พยางค์ ท้ายเป็น
นฤคหิตกับคาอื่น ๆ เมื่อสนธิแล้วนฤคหิตจะเปลี่ยนเป็น ง ญ ณ น ม ซึ่งเป็นพยัญชนะท้าย
วรรค มีหลักในการสนธิ ดังนี้
๑. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค กะ (ก ข ค ฆ ง) แผลงนฤคหิตเป็น ง เช่น
ส + คม = สังคม ส + เคราะห์ = สังเคราะห์
ส + คีต = สังคีต ส + ขาร = สังขาร

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๔


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๒. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ) แผลงนฤคหิตเป็น ญ เช่น


ส + จร = สัญจร ส + ชาติ = สัญชาติ
ส + ญา = สัญญา
๓. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ฏะ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) แผลงนฤคหิตเป็น ณ เช่น
ส + ฐาน = สัณฐาน
๔. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) แผลงนฤคหิตเป็น น เช่น
ส + ตน (ตาน) = สันดาน ส + นิษฐาน = สันนิษฐาน
ส + ธาน = สันธาน
๕. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ปะ (ป ผ พ ภ ม ) แผลงนฤคหิตเป็น ม เช่น
ส + ผัส = สัมผัส ส + มน = สัมมนา
ส + ภาษณ์ = สัมภาษณ์ ส + ปตฺติ = สัมปัตติ
๖. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค เศษวรรค (ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ) แผลงนฤคหิตเป็น
ง เช่น
ส + วร = สังวร ส + สัย = สงสัย
ส + สรรค์ = สังสรรค์ ส + สนทนา = สังสนทนา
๗. นฤคหิตสนธิกับสระ (พยางค์แรกของคาหลังเป็นสระ) แผลงนฤคหิตเป็น ม เช่น
ส + โอสร = สโมสร ส + อาทาน = สมาทาน
ส + อุทัย = สมุทัย ส + อาคม = สมาคม

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๕


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑
ภาษาบาลี สันสกฤต

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแยกคาภาษาบาลี สันสกฤตที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

กิเลส กีฬา ขมา ศึกษา ครรชิต กรีฑา จันทรา คิมหันต์


บุปผา เมรัย อัชฌาสัย ลาวัณย์ มโน จักร ครรภ์ วิตถาร ไมตรี
ปฐพี ชิวหา นิทรา ศิษย์ เพศ มัตสยา วิเศษ อริยะ ศูนย์ ศรี
ฉัททันต์ เสมหะ สมปฤดี จุติ ทัพพี โบกขรณี นมัสการ
กิตติ เกษตร เมตตา อัปสร มิจฉา ดัสกร อักษร สนาน
สกุล ทิฐิ ปกติ อาจารย์ นักษัตร นิจการ วิญญาณ อัศจรรย์
ปัจจัย มารุต วุฒิ ประเวณี สัจจะ นาที สตรี สวรรค์
ขณะ โลมา บุษบา อรัญ ภิกษุ สุวรรณ ประพันธ์ ปัญญา
กิริยา นิพพาน พิสดาร ดิถี รัตนา ทฤษฎี อัคคี ปัญหา
วัตถุ โกรธะ วัฏฏะ สนธยา อวกาศ วิชา อาตมา มหัศจรรย์
มัสสุ จุฬา พรรษา สถิติ มัจฉา สิริ ดิรัจฉาน มหันต์

ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๖


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๒
การสร้างคาสมาสแบบสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ไตร + ทวาร คาสมาส ..............................................................................
๒. มหา + โจร คาสมาส ..............................................................................
๓. คณิต + ศาสตร์ คาสมาส ..............................................................................
๔. ฆาต + กร คาสมาส ..............................................................................
๕. มหา + นิกาย คาสมาส ..............................................................................
๖. ฉัตร + มงคล คาสมาส ..............................................................................
๗. วุฒิ + สภา คาสมาส ..............................................................................
๘. เทว + รูป คาสมาส ..............................................................................
๙. ไตร + ลักษณ์ คาสมาส ..............................................................................
๑๐. วีระ + ชน คาสมาส ..............................................................................
๑๑. ถาวร + วัตถุ คาสมาส ..............................................................................
๑๒. อักขร + วิธี คาสมาส ..............................................................................
๑๓. โบราณ + คดี คาสมาส ..............................................................................
๑๔. วรรณ + คดี คาสมาส ..............................................................................
๑๕. กิจ + กรรม คาสมาส ..............................................................................
๑๖. ครุ + ภัณฑ์ คาสมาส ..............................................................................
๑๗. กิตติ + คุณ คาสมาส ..............................................................................
๑๘. คุณ + ลักษณะ คาสมาส ..............................................................................
๑๙. อนุ + ชน คาสมาส ..............................................................................
๒๐. นคร + รัฐ คาสมาส ..............................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๗


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๓
การสร้างคาสมาสแบบสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. พละ + ศึกษา คาสมาส ..............................................................................
๒. ศิลปะ + ศึกษา คาสมาส ..............................................................................
๓. ฌาปนะ + สถาน คาสมาส ..............................................................................
๔. ศิลปะ + วัฒนธรรม คาสมาส ..............................................................................
๕. ธุระ + การ คาสมาส ..............................................................................
๖. ราชะ + วงศ์ คาสมาส ..............................................................................
๗. พันธะ + สัญญา คาสมาส ..............................................................................
๘. วาตะ + ภัย คาสมาส ..............................................................................
๙. ขัตยิ ะ + นารี คาสมาส ..............................................................................
๑๐. สุภะ + นิมิตร คาสมาส ..............................................................................
๑๑. โยธะ + วิทิต คาสมาส ..............................................................................
๑๒. อุตสาหะ + กรรม คาสมาส ..............................................................................
๑๓. สมณะ + พราหมณ์ คาสมาส ..............................................................................
๑๔. อักขระ + วิธี คาสมาส ..............................................................................
๑๕. เบญจะ + ศีล คาสมาส ..............................................................................
๑๖. เนระ + คุณ คาสมาส ..............................................................................
๑๗. นามะ + ธรรม คาสมาส ..............................................................................
๑๘. มหะ + กรรม คาสมาส ..............................................................................
๑๙. ชีวะ + วิทยา คาสมาส ..............................................................................
๒๐. นาฏะ + ศิลป์ คาสมาส ..............................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๘


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๔
การสร้างคาสมาสแบบสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. มหันต์ + โทษ คาสมาส ..............................................................................
๒. สัตว์ + แพทย์ คาสมาส ..............................................................................
๓. แพทย์ + ศาสตร์ คาสมาส ..............................................................................
๔. ขัณฑ์ + สีมา คาสมาส ..............................................................................
๕. อินทร์ + ธนู คาสมาส ..............................................................................
๖. สังฆ์ + เภท คาสมาส ..............................................................................
๗. ทรัพย์ + สิทธิ คาสมาส ..............................................................................
๘. หัตถ์ + กรรม คาสมาส ..............................................................................
๙. ทัณฑ์ + สถาน คาสมาส ..............................................................................
๑๐. มนุษย์ + ศาสตร์ คาสมาส ..............................................................................
๑๑. จันทร์ + คราส คาสมาส ..............................................................................
๑๒. ทุกข์ + ภาพ คาสมาส ..............................................................................
๑๓. ทิพย์ + สถาน คาสมาส ..............................................................................
๑๔. พาณิชย์ + การ คาสมาส ..............................................................................
๑๕. มนุษย์ + ชาติ คาสมาส ..............................................................................
๑๖. แพทย์ + สภา คาสมาส ..............................................................................
๑๗. สุคนธ์ + รส คาสมาส ..............................................................................
๑๘. เยาว์ + ชน คาสมาส ..............................................................................
๑๙. ทันต์ + กรรม คาสมาส ..............................................................................
๒๐. สวรรค์ + โลก คาสมาส ..............................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๑๙


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๕
การอ่านคาสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. วิทยฐานะ  ........................................................................................................................
๒. มัธยมศึกษา  ........................................................................................................................
๓. สุนทรพจน์  ........................................................................................................................
๔. วรรณคดี  ........................................................................................................................
๕. ทัศนคติ  ........................................................................................................................
๖. อักขรวิธี  ........................................................................................................................
๗. กิจการ  ........................................................................................................................
๘. ประวัตศิ าสตร์  ........................................................................................................................
๙. ธุรกิจ  ........................................................................................................................
๑๐. อิสรภาพ  ........................................................................................................................
๑๑. แพทยศาสตร์  ........................................................................................................................
๑๒. ถาวรวัตถุ  ........................................................................................................................
๑๓. ศัลยแพทย์  ........................................................................................................................
๑๔. คณิตศาสตร์  ........................................................................................................................
๑๕. จักรวรรดิวัตร  ........................................................................................................................
๑๖. เกียรตินยิ ม  ........................................................................................................................
๑๗. ประธานาธิบดี  ........................................................................................................................
๑๘. รัฐศาสตร์  ........................................................................................................................
๑๙. อิสรภาพ  ........................................................................................................................
๒๐. ภูมิทัศน์  ........................................................................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๐


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๖
คาสมาสแบบสนธิ (สระสนธิ แบบ ก)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. กุมภ + อาพันธ์ สนธิเป็น ..............................................................................
๒. ขีปน + อาวุธ สนธิเป็น ..............................................................................
๓. คงคา + อาลัย สนธิเป็น ..............................................................................
๔. คมน + อาคม สนธิเป็น ..............................................................................
๕. เทศ + อภิบาล สนธิเป็น ..............................................................................
๖. ธัญญ + อาหาร สนธิเป็น ..............................................................................
๗. ปรม + อณุ สนธิเป็น ..............................................................................
๘. พละ + อนามัย สนธิเป็น ..............................................................................
๙. พันธน + อาการ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๐. ชล + อาลัย สนธิเป็น ..............................................................................
๑๑. มหา + อัศจรรย์ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๒. วิทยา + อาคม สนธิเป็น ..............................................................................
๑๓. วิชิระ + อาวุธ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๔. มัคคะ + อุเทศก์ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๕. ธน + อาคาร สนธิเป็น ..............................................................................
๑๖. คณะ + อาจารย์ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๗. มหา + อรรณพ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๘. สวรรค์ + อาลัย สนธิเป็น ..............................................................................
๑๙. อน + เอก สนธิเป็น ..............................................................................
๒๐. มุนี + อินทร์ สนธิเป็น ..............................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๑


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๗
คาสมาสแบบสนธิ (สระสนธิ แบบ ข)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. จุฬ + อลงกรณ์ สนธิเป็น ..............................................................................
๒. ราช + อธิราช สนธิเป็น ..............................................................................
๓. ราช + อุปถัมภ์ สนธิเป็น ..............................................................................
๔. สุข + อุทัย สนธิเป็น ..............................................................................
๕. คช + อินทร์ สนธิเป็น ..............................................................................
๖. นร + อินทร์ สนธิเป็น ..............................................................................
๗. บรรณา + อธิการ สนธิเป็น ..............................................................................
๘. บุญญา + อธิการ สนธิเป็น ..............................................................................
๙. ประธาน + อธิบดี สนธิเป็น ..............................................................................
๑๐. พจนา + อนุกรม สนธิเป็น ..............................................................................
๑๑. นร + อิศวร สนธิเป็น ..............................................................................
๑๒. ปร + อินทร์ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๓. มหา + อิสี สนธิเป็น ..............................................................................
๑๔. กุศล + อุบาย สนธิเป็น ..............................................................................
๑๕. ชล + อุทร สนธิเป็น ..............................................................................
๑๖. ปรม + อาจารย์ สนธิเป็น ..............................................................................
๑๗. มหา + อุฬาร สนธิเป็น ..............................................................................
๑๘. นย + อุบาย สนธิเป็น ..............................................................................
๑๙. ราช + อุปโภค สนธิเป็น ..............................................................................
๒๐. พุทธ + โอวาท สนธิเป็น ..............................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๒


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๘
คาสมาสแบบสนธิ (สระสนธิ แบบ ค)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ธนู + อาคม
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๒. สินธุ + อานนท์
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๓. สามัคคี + อาจารย์
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๔. อัคคี + โอภาส
เปลีย่ นสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๕. มติ + อธิบาย
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๖. สติ + อารมณ์
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๗. กิติ + อากร
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๘. จักษุ + อาพาธ
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๙. อัธิ + อาศัย
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๑๐. สุ + อกขาโต
เปลี่ยนสระ = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๓


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๙
คาสมาสแบบสนธิ (พยัญชนะสนธิ)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. มนส + รถ
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๒. มนส + รมย
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๓. มนส + มย
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๔. ทุส + ยศ
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๕. ทุส + พิษ
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๖. นิส + ภัย
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๗. นิส + มล
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๘. นิส + มิต
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๙. รหส + ฐาน
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................
๑๐. ยสส + ธร
เปลี่ยน ส = ........................ + ......................... สนธิเป็น ................................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๔


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑๐
พยัญชนะวรรคและเศษวรรค

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมพยัญชนะวรรคบาลี สันสกฤตให้ถูกต้อง


แถว แถวที่ ๑ แถวที่ ๒ แถวที่ ๓ แถวที่ ๔ แถวที่ ๕
วรรค
วรรค กะ
วรรค จะ
วรรค ฏะ
วรรค ตะ
วรรค ปะ
เศษวรรค

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๕


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑๑
คาสมาสแบบสนธิ (นฤคหิตสนธิ)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาต่อไปนี้ให้ถูกต้องแล้วระบายสีทับตัวเลือกว่านฤคหิตแบบใด

๑. ส + อาคม สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๒. ส + วร สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๓. ส + ผสฺส สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๔. ส + คม สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๕. ส + สย สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๖. ส + สรรค์ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๗. ส + อุทย สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๘. ส + มน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๙. ส + นิษฐาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๖


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๑๐. ส + ชาติ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๑. ส + คีต สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๒. ส + ขาร สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๓. ส + ญา สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๔. ส + ชาติ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๕. ส + พุทธ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๖. ส + ฐาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๗. ส + อาทาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๘. ส + หาร สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๑๙. ส + ธาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................


๒๐. ส + โยค สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค

เปลี่ยนนฤคหิตเป็น......................สนธิ ได้ค าว่า........................................................

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๗


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑๒
คาสมาสคาจาให้แม่น

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสร้างคาสามาสต่อไปนี้ด้วยวิธีการสมาสหรือสนธิให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง สามัคยาจารย์ = สามัคคี + อาจารย์
๑. สิรยากร = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๒. พลิสร = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๓. ธาตวากร = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๔. มตยาธิบาย = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๕. จักขุนทรีย์ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๖. วิทยาคม = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๗. เทศาภิบาล = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๘. หัตถาจารย์ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๙. นิโลบล = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๐. ราชินูปถัมภ์ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๑. มหัศจรรย์ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๒. มหรรณพ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๓. อัคโยภาส = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๔. มโนภาพ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๕. รโหฐาน = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๖. ยโสธร = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๗. สมมุติ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๘. สันนิษฐาน = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๑๙. สนเทศ = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..
๒๐. สัมผัส = ………...............…....................….. + ………...............…....................…..

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๘


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑๓
คาสมาสคาจาให้แม่น

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสร้างคาสามาสต่อไปนี้ด้วยวิธีการสมาสหรือสนธิให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง สามัคคี + อาจารย์ = สามัคยาจารย์
๑. กต + อัญชลี = ………………………………………………………………………………..
๒. ฐาน + อันตร = ………………………………………………………………………………..
๓. กุมภ + อาพันธ์ = ………………………………………………………………………………..
๔. ปรม + อณุ = ………………………………………………………………………………..
๕. พันธนะ + อาการ = ………………………………………………………………………………..
๖. จุล + อินทรีย์ = ………………………………………………………………………………..
๗. คช + อินทร์ = ………………………………………………………………………………..
๘. ราช + อุปโภค = ………………………………………………………………………………..
๙. ชิน + โอรส = ………………………………………………………………………………..
๑๐. ปิย + โอรส = ………………………………………………………………………………..
๑๑. กริน + อินทร์ = ………………………………………………………………………………..
๑๒. ธานี + อินทร์ = ………………………………………………………………………………..
๑๓. ครุ + อุปกรณ์ = ………………………………………………………………………………..
๑๔. สินธุ + อานนท์ = ………………………………………………………………………………..
๑๕. สรสฺ + ช = ………………………………………………………………………………..
๑๖. มนสฺ + รมย = ………………………………………………………………………………..
๑๗. ส + นิษฐาน = ………………………………………………………………………………..
๑๘. ส + ภาษณ์ = ………………………………………………………………………………..
๑๙. ส + สย = ………………………………………………………………………………..
๒๐. ส + อาคม = ………………………………………………………………………………..

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๒๙


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑๔
คู่ฉันอยู่หนใด

คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่คาสมาสกับตัวเลือกที่กาหนดให้ให้ถูกต้อง
๑. คณาจารย์   ส + ธิ
๒. อัคโยภาส   พุทธ + พจน์
๓. ฆาตกร   มหา + กาพย์
๔. พระเศียร   ผลิต + ภัณฑ์
๕. สนธิ   ฆาต + กร
๖. สมมุติ   ชน + อุปถัมภ์
๗. กรรมกร   ชน + บท
๘. สมาส   ส + วาส
๙. สังขาร   เทว + อาลัย
๑๐. สันดาร   กัมป + นาท
๑๑. มหากาพย์   ส + มุติ
๑๒. รามเกียรติ์   พระ + เศียร
๑๓. พุทธพจน์   รหส + ฐาน
๑๔. เทวาลัย   ส + อาส
๑๕. สังวาส   ส + ดาร
๑๖. รโหฐาน   อัคคี + โอภาส
๑๗. ชนบท   ส + ขาร
๑๘. กัมปนาท   ราม + เกียรติ์
๑๙. ชนูปถัมภ์   คณะ + อาจารย์
๒๐. ผลิตภัณฑ์   กรรม + กร

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๐


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบฝึกทักษะที่ ๑๕
อ่านแล้วทา จาให้แม่น

คาชี้แจง : ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาสมาส และระบายสีคาสนธิจากตัวเลือกที่กาหนดให้


ให้ถูกต้อง
๑. พเนจร ธนาณัติ มฤคมาศ
๒. เมฆนาท สนธยากาล สุโขทัย
๓. วิทยาทาน วิทยาลัย ประวัตชิ ีวิต
๔. สังฆาธิการ รุกขมูล สมจร
๕. คเชนทร์ วิบากกรรม ทรัพย์สมบัติ
๖. เคมีภัณฑ์ จรรยาบัน มัณฑณศิลป
๗. สันโดษ สหประชาชาติ ยานพาหนะ
๘. มูลผลา บาดทะยัก สนเทศ
๙. คุรุกรรม คุรโวปกรณ์ ซากศพ
๑๐. บรรณศาลา บรรณาคาร บรรณารักษ์
๑๑. แพทยศาตร์ สังสาร ชาติวุฒิ
๑๒. คเชนทร์ กุญชรชาติ วิเชียรโชติ
๑๓. มังสวิรัติ พลเมือง ศาลทหาร
๑๔. กรณีพิพาท วัยวุฒิ กิตยากร
๑๕. เจตนากรรม เจตนารมณ์ เจตนากร
๑๖. อิทธิบาท นรากร ไตรทวาร
๑๗. กรรมวิธี คดีแพ่ง ธนาลัย
๑๘. ธันวาคม ญาณวิถี พิธีพราหมณ์
๑๙. วิชชุบดี บาทหลวง สมาทาน
๒๐. จามเทวี เตโชธาตุ นครภัณฑ์

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๑


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่องคาสมาส
คาชี้แจง

๑. แบบทดสอบนีเ้ ป็นแบบปรนั ย ชนิด ๔ ตัวเลือก จานวน ๒๐ ข้อ ๒๐ คะแนน


๒. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ ถูกต้องที่สุ ดเพี ยงข้อเดี ยวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
๓. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ ๓๐ นาที

๑. คาในภาษาใดไม่สามารถสร้างค าสมาสได้
ก. ภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต ข. ภาษาสันสกฤตกับภาษาสั นสกฤต
ค. ภาษาไทยกับภาษาบาลี ง. ภาษาบาลีกับภาษาบาลี
๒. ใครคือผู้ใช้ประโยชน์จากค าสมาส
ก. มุทิตาอ่านและเขียนคาภาษาไทยไม่ถู กเนื่องจากไม่รู้หลัก เกณฑ์ของการสร้างค าสมาส
ข. ปารมิตาสร้างคาสมาสจากคาภาษาเขมรกับคาภาษาสันสกฤต
ค. อานนท์อ่านบทสวดมนต์จากตัวอักษรภาษาบาลีสั นสกฤตทุกวัน
ง. ปพลตัง้ ชื่อให้ลูกชายเพื่อนว่า “นพรัตน์”
๓. ข้อใดไม่ใช่คาสมาสทั้งหมด
ก. มเหสี ชนมายุ ไตรทวาร ข. อุทกภัย ภัตตาคาร เทพเจ้า
ค. คมนาคม ชนบท เทวาลัย ง. วาตภัย มหันตโทษ สุขารมณ์
๔. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. คาสมาสกับคาประสมคือค าชนิดเดียวกัน
ข. การสร้างคาสมาสมี ๒ วิธี คือแบบสมาสและแบบสนธิ
ค. คาสมาส คือการสร้างคาจากภาษาบาลีและคาภาษาสั นสกฤต
ง. การประสมคาไทยกับคาภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตไม่ถือ เป็ นคาสมาส
๕. ข้อใดอ่านคาสมาสได้ถูกต้องตามหลัก เกณฑ์การสร้างค าสมาส
ก. คณิตศาสตร์ อ่านว่า คะ – นิด – ตะ – สาด
ข. แพทยศาสตร์ อ่านว่า แพด – สาด
ค. อักษรศาสตร์ อ่านว่า อัก – สอน – สาด
ง. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – สาด

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๒


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๖. “วาทศิลป์” แปลตามหลักคาสมาสว่าอย่างไร
ก. ศิลปะและวาทะ ข. วาทะและศิลปะ
ค. ถ้อยคาที่เป็นศิลปะ ง. ศิลปะแห่งถ้อยคา
๗. ข้อใดเป็นคาสมาส
ก. ประวัตบิ ุคคล ข. ประวัตกิ วี ค. ประวัตกิ ารณ์ ง. ประวัตสิ ุนทรภู่
๘. ข้อใดไม่ใช่คาสมาส
ก. สังคมศึกษา ข. วิทยาศาสตร์ ค. พานิชยกรรม ง. บรรจุภัณฑ์
๙. ข้อใดแยกคาสมาสแบบสนธิไม่ถูกต้อง
ก. อัคโยภาส = อัคคี + โยภาส ข. สุขารมณ์ = สุข + อารมณ์
ค. ทักษิโณทก = ทักษิณ + อุทก ง. สามัคยาจารย์ = สามัคคี + อาจารย์
๑๐. ข้อใดแยกคาสมาสแบบสนธิได้ถู กต้อง
ก. ภัตตาคาร = ภัต + อาคาร ข. พุทธานุภาพ = พุทธ + อานุภาพ
ข. ราชูปถัมภ์ = ราช + อุปถัมภ์ ง. ดรุโณวาท = ดรุณ + โณวาท
๑๑. ข้อใดจัดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. มหรรณพ ข. วิทยาลัย ค. ธันวาคม ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. ข้อใดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. กลเม็ด ข. วาตภัย ค. อรุโณทัย ง. เทพเจ้า
๑๓. ข้อใดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. อรรถคดี ข. จตุรงค์ ค. คเชนทร์ ง. อดิศร
๑๔. คาว่า “มเหสี” แยกสนธิได้อย่างไร
ก. มหิ+อิสี ข. มหา+อิสี ค. มเห+เอสี ง. มเห+เอสี
๑๕. คาในข้อใดเกิดจากการสมาสค าโดยที่ท้ายค าหน้ามี เครื่องหมายทัณฑฆาต
ก. จันทรคติ ข. จักรยาน ค. จักษุแพทย์ ง. สัจจอธิฐาน
๑๖. คาว่า “พระ” พระในข้อใดไม่ใช่การสร้างคาแบบสมาส
ก. พระอู่ ข. พระกร ค. พระบิดา ง. พระนาภี
๑๗. ข้อใดกล่าวถึงการสมาสแบบสนธิได้ถูกต้อง
ก. สมาสมีสนธิไม่มีการเปลี่ยนแปลงพยางค์ระหว่างคา
ข. คาสมาสมีสนธิเป็นคาที่ มาจากภาษาบาลี - สันสกฤต
ค. สมาสมีสนธิมีการเปลี่ยนแปลงพยางค์ ระหว่างค า
ง. สมาสมีสนธิเป็นการนาค ามาต่อกันเท่านัน้

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๓


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๑๘. ข้อใดมีคาสมาส
ก. คนทาดีเทพเจ้าก็จะยกย่อง ข. จงทาตนให้มีคุณค่าต่อสังคม
ค. นี่คือผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท ง. ฟิลปิ ปินส์ประสบอุทกภั ยอย่ างหนัก
๑๙. ข้อใดมีคาสมาสแบบสมาส และคาสมาสแบบสนธิอย่างละ ๑ คา
ก. เขาตัง้ ใจเรียนวิชาเคมี เพื่อสอบเข้ าเรียนในระดั บอุดมศึก ษา
ข. วิทยาลัยแห่งนี้มีศาสตราจารย์หลายคน
ค. ใครเป็นเจ้าของเคหสถานอั นสุขารมณ์ น้ีหนอ
ง. ภูมิอากาศขณะนี้อยู่ในฤดูฝนที่ เรี ยกว่าวสันตฤดู
๒๐. ข้อใดไม่มีคาสมาส
ก. ระบบนิเวศวิทยาทางทะเล ข. ธุรกิจขายตรงในปัจจุบัน
ค. ชีวิตของชาวประมงไทย ง. คุณค่าของโภชนาการของน้าปลา

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๔


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑
ภาษาบาลี สันสกฤต
คาชี้แจง : ให้นักเรียนแยกคาภาษาบาลี สันสกฤตที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

สีน้าเงิน คือ ภาษาบาลี


สีแดง คือ ภาษาสันสกฤต

กิเลส กีฬา ขมา ศึกษา ครรชิต กรีฑา จันทรา คิมหันต์


บุปผา เมรัย อัชฌาสัย ลาวัณย์ มโน จักร ครรภ์ วิตถาร ไมตรี
ปฐพี ชิวหา นิทรา ศิษย์ เพศ มัตสยา วิเศษ อริยะ ศูนย์ ศรี
ฉัททันต์ เสมหะ สมปฤดี จุติ ทัพพี โบกขรณี นมัสการ
กิตติ เกษตร เมตตา อัปสร มิจฉา ดัสกร อักษร สนาน
สกุล ทิฐิ ปกติ อาจารย์ นักษัตร นิจการ วิญญาณ อัศจรรย์
ปัจจัย มารุต วุฒิ ประเวณี สัจจะ นาที สตรี สวรรค์
ขณะ โลมา บุษบา อรัญ ภิกษุ สุวรรณ ประพันธ์ ปัญญา
กิริยา นิพพาน พิสดาร ดิถี รัตนา ทฤษฎี อัคคี ปัญหา
วัตถุ โกรธะ วัฏฏะ สนธยา อวกาศ วิชา อาตมา มหัศจรรย์
มัสสุ จุฬา พรรษา สถิติ มัจฉา สิริ ดิรัจฉาน มหันต์
รัถยา วรรณะ ลักษณะ จิต กัลป์ มฤตยู สรรพ ขันธ์ วิสาขะ ปฏิทิน

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๕


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๒
การสร้างคาสมาสแบบสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ไตร + ทวาร คาสมาส ไตรทวาร
๒. มหา + โจร คาสมาส มหาโจร
๓. คณิต + ศาสตร์ คาสมาส คณิตศาสตร์
๔. ฆาต + กร คาสมาส ฆาตกร
๕. มหา + นิกาย คาสมาส มหานิกาย
๖. ฉัตร + มงคล คาสมาส ฉัตรมงคล
๗. วุฒิ + สภา คาสมาส วุฒิสภา
๘. เทว + รูป คาสมาส เทวรูป
๙. ไตร + ลักษณ์ คาสมาส ไตรลักษณ์
๑๐. วีระ + ชน คาสมาส วีระชน
๑๑. ถาวร + วัตถุ คาสมาส ถาวรวัตถุ
๑๒. อักขร + วิธี คาสมาส อักขรวิธี
๑๓. โบราณ + คดี คาสมาส โบราณคดี
๑๔. วรรณ + คดี คาสมาส วรรณคดี
๑๕. กิจ + กรรม คาสมาส กิจกรรม
๑๖. ครุ + ภัณฑ์ คาสมาส ครุภัณฑ์
๑๗. กิตติ + คุณ คาสมาส กิตติคุณ
๑๘. คุณ + ลักษณะ คาสมาส คุณลักษณะ
๑๙. อนุ + ชน คาสมาส อนุชน
๒๐. นคร + รัฐ คาสมาส นครรัฐ

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๖


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๓
การสร้างคาสมาสแบบสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. พละ + ศึกษา คาสมาส พลศึกษา
๒. ศิลปะ + ศึกษา คาสมาส ศิลปศึกษา
๓. ฌาปนะ + สถาน คาสมาส ฌาปนสถาน
๔. ศิลปะ + วัฒนธรรม คาสมาส ศิลปวัฒนธรรม
๕. ธุระ + การ คาสมาส ธุรการ
๖. ราชะ + วงศ์ คาสมาส ราชวงศ์
๗. พันธะ + สัญญา คาสมาส พันธสัญญา
๘. วาตะ + ภัย คาสมาส วาตภัย
๙. ขัตยิ ะ + นารี คาสมาส ขัตยิ นารี
๑๐. สุภะ + นิมิตร คาสมาส สุภนิมิตร
๑๑. โยธะ + วิทิต คาสมาส โยทวาทิต
๑๒. อุตสาหะ + กรรม คาสมาส อุตสาหกรรม
๑๓. สมณะ + พราหมณ์ คาสมาส สมณพราหมณ์
๑๔. อักขระ + วิธี คาสมาส อักขรวิธี
๑๕. เบญจะ + ศีล คาสมาส เบญจศีล
๑๖. เนระ + คุณ คาสมาส เนรคุณ
๑๗. นามะ + ธรรม คาสมาส นามธรรม
๑๘. มหะ + กรรม คาสมาส มหกรรม
๑๙. ชีวะ + วิทยา คาสมาส ชีววิทยา
๒๐. นาฏะ + ศิลป์ คาสมาส นาฏศิลป์

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๗


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๔
การสร้างคาสมาสแบบสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. มหันต์ + โทษ คาสมาส มหันตโทษ
๒. สัตว์ + แพทย์ คาสมาส สัตวแพทย์
๓. แพทย์ + ศาสตร์ คาสมาส แพทยศาสตร์
๔. ขัณฑ์ + สีมา คาสมาส ขัณฑสีมา
๕. อินทร์ + ธนู คาสมาส อินทรธนู
๖. สังฆ์ + เภท คาสมาส สังฆเภท
๗. ทรัพย์ + สิทธิ คาสมาส ทรัพยสิทธิ
๘. หัตถ์ + กรรม คาสมาส หัตถกรรม
๙. ทัณฑ์ + สถาน คาสมาส ทัณฑสถาน
๑๐. มนุษย์ + ศาสตร์ คาสมาส มนุษยศาสตร์
๑๑. จันทร์ + คราส คาสมาส จันทรคาส
๑๒. ทุกข์ + ภาพ คาสมาส ทุกขภาพ
๑๓. ทิพย์ + สถาน คาสมาส ทิพยสถาน
๑๔. พาณิชย์ + การ คาสมาส พาณิชยการ
๑๕. มนุษย์ + ชาติ คาสมาส มนุษยชาติ
๑๖. แพทย์ + สภา คาสมาส แพทยสภา
๑๗. สุคนธ์ + รส คาสมาส สุคนธรส
๑๘. เยาว์ + ชน คาสมาส เยาวชน
๑๙. ทันต์ + กรรม คาสมาส ทันตกรรม
๒๐. สวรรค์ + โลก คาสมาส สวรรคโลก

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๘


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๕
การอ่านคาสมาส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาสมาสคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. วิทยฐานะ  วิด – ทะ – ยะ – ถา - นะ
๒. มัธยมศึกษา  มัด – ทะ – ยม – มะ – สึก – สา
๓. สุนทรพจน์  สุน – ทอน – ระ – พด / สุน – ทอ – ระ – พด
๔. วรรณคดี  วัน – นะ – คะ – ดี
๕. ทัศนคติ  ทัด – สะ – นะ – คะ – ดี
๖. อักขรวิธี  อัก – ขะ – หระ – วิ – ที
๗. กิจการ  กิด – จะ – กาน
๘. ประวัตศิ าสตร์  ประ – หวัด – ติ -สาด
๙. ธุรกิจ  ทุ – ระ – กิด
๑๐. อิสรภาพ  อิด – สะ – ระ -พาบ
๑๑. แพทยศาสตร์  แพด – ทะ –ยะ – สาด
๑๒. ถาวรวัตถุ  ถา – วอ – ระ –วัด -ทุ
๑๓. ศัลยแพทย์  สัน – ละ – ยะ – แพด
๑๔. คณิตศาสตร์  คะ – นิด – ตะ – สาด
๑๕. จักรวรรดิวัตร  จัก – กะ – หวัด – นิ - ยม
๑๖. เกียรตินยิ ม  เกียด – นิ -ยม
๑๗. ประธานาธิบดี  ประ – ทา – นา – ทิ – บอ – ดี / ประ – ทา – นา – ทิบ – บอ – ดี
๑๘. รัฐศาสตร์  รัด – ทะ – สาด
๑๙. อิสรภาพ  อิด –สะ – หระ – พาบ
๒๐. ภูมิทัศน์  พู – มิ – ทัด

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๓๙


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๖
คาสมาสแบบสนธิ (สระสนธิ แบบ ก)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. กุมภ + อาพันธ์ สนธิเป็น กุมภาพันธ์
๒. ขีปน + อาวุธ สนธิเป็น ขีปนาวุธ
๓. คงคา + อาลัย สนธิเป็น คงคาลัย
๔. คมน + อาคม สนธิเป็น คมนาคม
๕. เทศ + อภิบาล สนธิเป็น เทศาภิบาล
๖. ธัญญ + อาหาร สนธิเป็น ธัญญาหาร
๗. ปรม + อณุ สนธิเป็น ปรมาณู
๘. พละ + อนามัย สนธิเป็น พลานามัย
๙. พันธน + อาการ สนธิเป็น พันธนาการ
๑๐. ชล + อาลัย สนธิเป็น ชลาลัย
๑๑. มหา + อัศจรรย์ สนธิเป็น มหัศจรรย์
๑๒. วิทยา + อาคม สนธิเป็น วิทยาคม
๑๓. วิชิระ + อาวุธ สนธิเป็น วชิราวุธ
๑๔. มัคคะ + อุเทศก์ สนธิเป็น มัคคุเทศก์
๑๕. ธน + อาคาร สนธิเป็น ธนาคาร
๑๖. คณะ + อาจารย์ สนธิเป็น คณาจารย์
๑๗. มหา + อรรณพ สนธิเป็น มหรรณพ
๑๘. สวรรค์ + อาลัย สนธิเป็น สวรรคาลัย
๑๙. อน + เอก สนธิเป็น อเนก
๒๐. มุนี + อินทร์ สนธิเป็น มุนนิ ทร์

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๐


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๗
คาสมาสแบบสนธิ (สระสนธิ แบบ ข)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. จุฬ + อลงกรณ์ สนธิเป็น จุฬาลงกรณ์
๒. ราช + อธิราช สนธิเป็น ราชาธิราช
๓. ราช + อุปถัมภ์ สนธิเป็น ราชูปถัมภ์
๔. สุข + อุทัย สนธิเป็น สุโขทัย
๕. คช + อินทร์ สนธิเป็น คชินทร์
๖. นร + อินทร์ สนธิเป็น นรินทร์
๗. บรรณา + อธิการ สนธิเป็น บรรณาธิการ
๘. บุญญา + อธิการ สนธิเป็น บุญญาธิการ
๙. ประธาน + อธิบดี สนธิเป็น ประธานาธิบดี
๑๐. พจนา + อนุกรม สนธิเป็น พจนานุกรม
๑๑. นร + อิศวร สนธิเป็น นเรศวร
๑๒. ปร + อินทร์ สนธิเป็น ปรมินทร์
๑๓. มหา + อิสี สนธิเป็น มเหสี
๑๔. กุศล + อุบาย สนธิเป็น กุศโลบาย
๑๕. ชล + อุทร สนธิเป็น ชโลทร
๑๖. ปรม + อาจารย์ สนธิเป็น ปรมาจารย์
๑๗. มหา + อุฬาร สนธิเป็น มโหฬาร
๑๘. นย + อุบาย สนธิเป็น นโยบาย
๑๙. ราช + อุปโภค สนธิเป็น ราชูปโภค
๒๐. พุทธ + โอวาท สนธิเป็น พุทธโทวาท

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๑


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๘
คาสมาสแบบสนธิ (สระสนธิ แบบ ค)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ธนู + อาคม
เปลี่ยนสระ = ธนว + อาคม สนธิเป็น ธันวาคม
๒. สินธุ + อานนท์
เปลี่ยนสระ = สินธว + อานนท์ สนธิเป็น สินธวานนท์
๓. สามัคคี + อาจารย์
เปลี่ยนสระ = สามัคคย + อาจารย์ สนธิเป็น สามัคคยาจารย์
๔. อัคคี + โอภาส
เปลี่ยนสระ = อัคย + โอภาส สนธิเป็น อัคโยภาส
๕. มติ + อธิบาย
เปลี่ยนสระ = มตย + อธิบาย สนธิเป็น มตยาธิบาย
๖. สติ + อารมณ์
เปลี่ยนสระ = สตย + อารมณ์ สนธิเป็น สตยารมณ์
๗. กิติ + อากร
เปลี่ยนสระ = กิตย + อากร สนธิเป็น กิตยากร
๘. จักษุ + อาพาธ
เปลี่ยนสระ = จักษว + อาพาธ สนธิเป็น จักษวาพาธ
๙. อัธิ + อาศัย
เปลี่ยนสระ = อัธย + อาศัย สนธิเป็น อัธยาศัย
๑๐. สุ + อกขาโต
เปลี่ยนสระ = สว + อกขาโต สนธิเป็น สวาขาโต

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๒


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๙
คาสมาสแบบสนธิ (พยัญชนะสนธิ)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. มนส + รถ
เปลี่ยน ส = มโน + รถ สนธิเป็น มโนรถ
๒. มนส + รมย์
เปลี่ยน ส = มโน + รมย์ สนธิเป็น มโนรมย์
๓. มนส + มย
เปลี่ยน ส = มโน + มย สนธิเป็น มโนมัย
๔. ทุส + ยศ
เปลี่ยน ส = ทุร + ยศ สนธิเป็น ทุรยศ
๕. ทุส + พิษ
เปลี่ยน ส = ทุร + พิษ สนธิเป็น ทุรพิษ
๖. นิส + ภัย
เปลี่ยน ส = นิร + ภัย สนธิเป็น นิรภัย
๗. นิส + มล
เปลี่ยน ส = นิร + มล สนธิเป็น นิรมล
๘. นิส + มิต
เปลี่ยน ส = นิร + มิต สนธิเป็น นิรมิต
๙. รหส + ฐาน
เปลี่ยน ส = รโห + ฐาน สนธิเป็น รโหฐาน
๑๐. ยสส + ธร
เปลี่ยน ส = ยโส + ธร สนธิเป็น ยโสธร

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๓


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑๐
พยัญชนะวรรคและเศษวรรค

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมพยัญชนะวรรคบาลี สันสกฤตให้ถูกต้อง


แถว แถวที่ ๑ แถวที่ ๒ แถวที่ ๓ แถวที่ ๔ แถวที่ ๕
วรรค
วรรค กะ ก ข ค ฆ ง
วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรค ตะ ต ถ ท ธ น
วรรค ปะ ป ผ พ ภ ม
เศษวรรค ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๔


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑๑
คาสมาสแบบสนธิ (นฤคหิตสนธิ)

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสนธิคาต่อไปนี้ให้ถูกต้องแล้วระบายสีทับตัวเลือกว่านฤคหิตแบบใด

๑. ส + อาคม สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค


เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สมาคม
๒. ส + วร สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สังวร
๓. ส + ผสฺส สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สัมผัส
๔. ส + คม สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สมาคม
๕. ส + สย สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สงสัย
๖. ส + สรรค์ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สังสรรค์
๗. ส + อุทย สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สมุทัย
๘. ส + มน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สัมมนา
๙. ส + นิษฐาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น น สนธิได้คาว่า สันนิษฐาน

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๕


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๑๐. ส + ชาติ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค


เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ญ สนธิได้คาว่า สัญชาติ
๑๑. ส + คีต สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สังคีต
๑๒. ส + ขาร สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สังขาร
๑๓. ส + ญา สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ญ สนธิได้คาว่า สัญญา
๑๔. ส + ชาติ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ญ สนธิได้คาว่า สัญชาติ
๑๕. ส + พุทธ สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สัมพุทธ
๑๖. ส + ฐาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ณ สนธิได้คาว่า สัณฐาน
๑๗. ส + อาทาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม สนธิได้คาว่า สมาทาน
๑๘. ส + หาร สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สังหาร
๑๙. ส + ธาน สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น น สนธิได้คาว่า สันธาน
๒๐. ส + โยค สนธิกับสระ สนธิกับพยัญชนะ สนธิกับเศษวรรค
เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง สนธิได้คาว่า สังโยค

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๖


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑๒
คาสมาสคาจาให้แม่น

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสร้างคาสามาสต่อไปนี้ด้วยวิธีการสมาสหรือสนธิให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง สามัคยาจารย์ = สามัคคี + อาจารย์
๑. สิรยากร = สิริ + อากร
๒. พลิสร = พล + อิสร
๓. ธาตวากร = ธาตุ + อากร
๔. มตยาธิบาย = มติ + อธิบาย
๕. จักขุนทรีย์ = จักขุ + อินทรีย์
๖. วิทยาคม = วิทย + อาคม
๗. เทศาภิบาล = เทศะ + อภิบาล
๘. หัตถาจารย์ = หัตถี + อาจารย์
๙. นิโลบล = นีล + อุบล
๑๐. ราชินูปถัมภ์ = ราชินี + อุปถัมภ์
๑๑. มหัศจรรย์ = มหา + อัศจรรย์
๑๒. มหรรณพ = มหา + อรรณพ
๑๓. อัคโยภาส = อัคคี + โอภาส
๑๔. มโนภาพ = มนส + ภาพ
๑๕. รโหฐาน = รหสฺ + ฐาน
๑๖. ยโสธร = ยสฺส + ธร
๑๗. สมมุติ = ส + มุติ
๑๘. สันนิษฐาน = ส + นิษฐาน
๑๙. สนเทศ = ส + เทศ
๒๐. สัมผัส = ส + ผัส

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๗


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑๓
คาสมาสคาจาให้แม่น

คาชี้แจง : ให้นักเรียนสร้างคาสามาสต่อไปนี้ด้วยวิธีการสมาสหรือสนธิให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง สามัคคี + อาจารย์ = สามัคยาจารย์
๑. กต + อัญชลี = กตัญชลี
๒. ฐาน + อันตร = ฐานันดร
๓. กุมภ + อาพันธ์ = กุมภาพันธ์
๔. ปรม + อณุ = ปรมณู
๕. พันธนะ + อาการ = พันธนาการ
๖. จุล + อินทรีย์ = จุลินทรีย์
๗. คช + อินทร์ = คชินทร์
๘. ราช + อุปโภค = ราชูปโภค
๙. ชิน + โอรส = ชิโนรส
๑๐. ปิย + โอรส = ปิโยรส
๑๑. กริน + อินทร์ = กรินทร์
๑๒. ธานี + อินทร์ = ธานินทร์
๑๓. ครุ + อุปกรณ์ = ครุปกรณ์
๑๔. สินธุ + อานนท์ = สินธานนท์
๑๕. สรสฺ + ช = สโรชา
๑๖. มนสฺ + รมย = มโนรมย์
๑๗. ส + นิษฐาน = สันนิษฐาน
๑๘. ส + ภาษณ์ = สัมภาษณ์
๑๙. ส + สย = สงสัย
๒๐. ส + อาคม = สมาคม

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๘


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑๔
คู่ฉันอยู่หนใด

คาชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่คาสมาสกับตัวเลือกที่กาหนดให้ให้ถูกต้อง
๑. คณาจารย์   ส + ธิ
๒. อัคโยภาส   พุทธ + พจน์
๓. ฆาตกร   มหา + กาพย์
๔. พระเศียร   ผลิต + ภัณฑ์
๕. สนธิ   ฆาต + กร
๖. สมมุติ   ชน + อุปถัมภ์
๗. กรรมกร   ชน + บท
๘. สมาส   ส + วาส
๙. สังขาร   เทว + อาลัย
๑๐. สันดาร   กัมป + นาท
๑๑. มหากาพย์   ส + มุติ
๑๒. รามเกียรติ์   พระ + เศียร
๑๓. พุทธพจน์   รหส + ฐาน
๑๔. เทวาลัย   ส + อาส
๑๕. สังวาส   ส + ดาร
๑๖. รโหฐาน   อัคคี + โอภาส
๑๗. ชนบท   ส + ขาร
๑๘. กัมปนาท   ราม + เกียรติ์
๑๙. ชนูปถัมภ์   คณะ + อาจารย์
๒๐. ผลิตภัณฑ์   กรรม + กร

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๔๙


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑๕
อ่านแล้วทา จาให้แม่น

คาชี้แจง : ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาสมาส และระบายสีคาสนธิจากตัวเลือกที่กาหนดให้


ให้ถูกต้อง
๑. พเนจร ธนาณัติ มฤคมาศ
๒. เมฆนาท สนธยากาล สุโขทัย
๓. วิทยาทาน วิทยาลัย ประวัตชิ ีวิต
๔. สังฆาธิการ รุกขมูล สมจร
๕. คเชนทร์ วิบากกรรม ทรัพย์สมบัติ
๖. เคมีภัณฑ์ จรรยาบัน มัณฑณศิลป์
๗. สันโดษ สหประชาชาติ ยานพาหนะ
๘. มูลผลา บาดทะยัก สนเทศ
๙. คุรุกรรม คุรโวปกรณ์ ซากศพ
๑๐. บรรณศาลา บรรณาคาร บรรณารักษ์
๑๑. แพทยศาตร์ สังสาร ชาติวุฒิ
๑๒. คเชนทร์ กุญชรชาติ วิเชียรโชติ
๑๓. มังสวิรัติ พลเมือง ศาลทหาร
๑๔. กรณีพิพาท วัยวุฒิ กิตยากร
๑๕. เจตนากรรม เจตนารมณ์ เจตนากร
๑๖. อิทธิบาท นรากร ไตรทวาร
๑๗. กรรมวิธี คดีแพ่ง ธนาลัย
๑๘. ธันวาคม ญาณวิถี พิธีพราหมณ์
๑๙. วิชชุบดี บาทหลวง สมาทาน
๒๐. จามเทวี เตโชธาตุ นครภัณฑ์

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๕๐


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียน-หลังเรียน
คาชี้แจง
เรื่องคาสมาส
๑. แบบทดสอบนีเ้ ป็นแบบปรนั ย ชนิด ๔ ตัวเลือก จานวน ๒๐ ข้อ ๒๐ คะแนน
๒. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ ถูกต้องที่สุ ดเพี ยงข้อเดี ยวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
๓. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ ๓๐ นาที

๑. คาในภาษาใดไม่สามารถสร้างค าสมาสได้
ก. ภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต ข. ภาษาสันสกฤตกับภาษาสั นสกฤต
ค. ภาษาไทยกับภาษาบาลี ง. ภาษาบาลีกับภาษาบาลี
๒. ใครคือผู้ใช้ประโยชน์จากค าสมาส
ก. มุทิตาอ่านและเขียนคาภาษาไทยไม่ถู กเนื่องจากไม่รู้หลัก เกณฑ์ของการสร้างค าสมาส
ข. ปารมิตาสร้างคาสมาสจากคาภาษาเขมรกับคาภาษาสันสกฤต
ค. อานนท์อ่านบทสวดมนต์จากตัวอักษรภาษาบาลีสั นสกฤตทุกวัน
ง. ปพลตัง้ ชื่อให้ลูกชายเพื่อนว่า “นพรัตน์”
๓. ข้อใดไม่ใช่คาสมาสทั้งหมด
ก. มเหสี ชนมายุ ไตรทวาร ข. อุทกภัย ภัตตาคาร เทพเจ้า
ค. คมนาคม ชนบท เทวาลัย ง. วาตภัย มหันตโทษ สุขารมณ์
๔. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. คาสมาสกับคาประสมคือค าชนิดเดียวกัน
ข. การสร้างคาสมาสมี ๒ วิธี คือแบบสมาสและแบบสนธิ
ค. คาสมาส คือการสร้างคาจากภาษาบาลีและคาภาษาสั นสกฤต
ง. การประสมคาไทยกับคาภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตไม่ถือ เป็ นคาสมาส
๕. ข้อใดอ่านคาสมาสได้ถูกต้องตามหลัก เกณฑ์การสร้างค าสมาส
ก. คณิตศาสตร์ อ่านว่า คะ – นิด – ตะ – สาด
ข. แพทยศาสตร์ อ่านว่า แพด – สาด
ค. อักษรศาสตร์ อ่านว่า อัก – สอน – สาด
ง. ประหวัดศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – สาด

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๕๑


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๖. “วาทศิลป์” แปลตามหลักคาสมาสว่าอย่างไร
ก. ศิลปะและวาทะ ข. วาทะและศิลปะ
ค. ถ้อยคาที่เป็นศิลปะ ง. ศิลปะแห่งถ้อยคา
๗. ข้อใดเป็นคาสมาส
ก. ประวัตบิ ุคคล ข. ประวัตกิ วี ค. ประวัตกิ ารณ์ ง. ประวัตสิ ุนทรภู่
๘. ข้อใดไม่ใช่คาสมาส
ก. สังคมศึกษา ข. วิทยาศาสตร์ ค. พานิชยกรรม ง. บรรจุภัณฑ์
๙. ข้อใดแยกคาสมาสแบบสนธิไม่ถูกต้อง
ก. อัคโยภาส = อัคคี + โยภาส ข. สุขารมณ์ = สุข + อารมณ์
ค. ทักษิโณทก = ทักษิณ + อุทก ง. สามัคยาจารย์ = สามัคคี + อาจารย์
๑๐. ข้อใดแยกคาสมาสแบบสนธิได้ถู กต้อง
ก. ภัตตาคาร = ภัต + อาคาร ข. พุทธานุภาพ = พุทธ + อานุภาพ
ข. ราชูปถัมภ์ = ราช + อุปถัมภ์ ง. ดรุโณวาท = ดรุณ + โณวาท
๑๑. ข้อใดจัดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. มหรรณพ ข. วิทยาลัย ค. ธันวาคม ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. ข้อใดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. กลเม็ด ข. วาตภัย ค. อรุโณทัย ง. เทพเจ้า
๑๓. ข้อใดเป็นคาสมาสแบบสนธิ
ก. อรรถคดี ข. จตุรงค์ ค. คเชนทร์ ง. อดิศร
๑๔. คาว่า “มเหสี” แยกสนธิได้อย่างไร
ก. มหิ+อิสี ข. มหา+อิสี ค. มเห+เอสี ง. มเห+เอสี
๑๕. คาในข้อใดเกิดจากการสมาสค าโดยที่ท้ายค าหน้ามี เครื่องหมายทัณฑฆาต
ก. จันทรคติ ข. จักรยาน ค. จักษุแพทย์ ง. สัจจอธิฐาน
๑๖. คาว่า “พระ” พระในข้อใดไม่ใช่การสร้างคาแบบสมาส
ก. พระอู่ ข. พระกร ค. พระบิดา ง. พระนาภี
๑๗. ข้อใดกล่าวถึงการสมาสแบบสนธิได้ถูกต้อง
ก. สมาสมีสนธิไม่มีการเปลี่ยนแปลงพยางค์ระหว่างคา
ข. คาสมาสมีสนธิเป็นคาที่ มาจากภาษาบาลี - สันสกฤต
ค. สมาสมีสนธิมีการเปลี่ยนแปลงพยางค์ ระหว่างค า
ง. สมาสมีสนธิเป็นการนาค ามาต่อกันเท่านัน้

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๕๒


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

๑๘. ข้อใดมีคาสมาส
ก. คนทาดีเทพเจ้าก็จะยกย่อง ข. จงทาตนให้มีคุณค่าต่อสังคม
ค. นี่คือผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท ง. ฟิลปิ ปินส์ประสบอุทกภั ยอย่ างหนัก
๑๙. ข้อใดมีคาสมาสแบบสมาส และคาสมาสแบบสนธิอย่างละ ๑ คา
ก. เขาตัง้ ใจเรียนวิชาเคมี เพื่อสอบเข้ าเรียนในระดั บอุดมศึก ษา
ข. วิทยาลัยแห่งนี้มีศาสตราจารย์หลายคน
ค. ใครเป็นเจ้าของเคหสถานอั นสุขารมณ์ น้ีหนอ
ง. ภูมิอากาศขณะนี้อยู่ในฤดูฝนที่ เรี ยกว่าวสันตฤดู
๒๐. ข้อใดไม่มีคาสมาส
ก. ระบบนิเวศวิทยาทางทะเล ข. ธุรกิจขายตรงในปัจจุบัน
ค. ชีวิตของชาวประมงไทย ง. คุณค่าของโภชนาการของน้าปลา

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๕๓


แบบฝึกเสริมทักษะการสร้างคาในภาษาไทย เรื่องคาสมาส

บรรณานุกรม

คณะกรรมการการศึก ษาขั้นพื้ นฐาน, สานักงาน. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิวธิ ภาษา


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒. ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๕๐.
ผกาศรี เย็นบุตร (รศ.) และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๒ เล่ม ๑.
พิมพ์ครั้งที่ ๒. นนทบุรี : โรงพิมพ์เอมพันธ์, ๒๕๖๒.
สุระ ดามาพงษ์ และคณะ (กษ.บ.,กศ.ม.). คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ภาษาไทย ม. ๒ เล่ม ๑ . กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วัฒนาพานิชย์ จากัด, ๒๕๖๒.
เสนีย์ วิลาวรรณ และคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๒ เล่ม ๑ . กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์วัฒนาพานิชย์ จากัด, ๒๕๖๒.
ครูลักษณ์. คาสมาส สนธิ. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/dreamdear02/kha-smas-snthi.
(วันที่สบื ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๖๓).
ทรูปลุกปัญญา. คาสมาส คาสนธิ. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/26083. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม
๒๕๖๓).
นงคราญ เจริญพงษ์. คาสมาส สนธิ. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
https://kunkrunongkran.wordpress.com. (วันที่สบื ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๖๓).
พี่ติวน้อง พิชิตภาษาไทย. คาสมาส. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/studythaiby66/home/lecture/kha-smas-snthi.
(วันที่สบื ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๖๓).
mutharin.301. ภาษาไทย ( คาสมาส คาสนธิ ). [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/mutharin301/phasa-thiy-kha-smas-kha-snthi.
(วันที่สบื ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๖๓).

ระดั บชั้นมั ธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน้า ๕๔

You might also like