You are on page 1of 210

คู่มือครู

Teacher Script

ฟิสิกส์ ม. 6
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
ตามผลการเรียนรู เล่ม 2
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


ดร.สุธิสา เละเซ็น ผศ. ดร.อารียา เอี่ยมบู ผศ. ดร.สุโกสินทร ทองรัตนาศิริ
รศ. ดร.ณรงค สังวาระนที ดร.จามรี อมรโกศลพันธ นางสาวชุลีพร สุวัฒนาพิบูล
น.ท.หญิง ปวีณา ธารรักษ ดร.เขม พุมสะอาด
ดร.อุดมเดช ภักดี

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นางสาวปยะดา วังวร นางสาวชุลีพร สุวัฒนาพิบูล
นางสาวศรีภัทรา นาเลิศ นายธนากร เสรีสกุลธร

พิมพครั้งที่ 2
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 3648016
คํ า แนะนํ า การใช้
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6
เลม 2 เลมนี้ จัดทําขึน้ สําหรับใหครูผสู อนใชเปนแนวทางวางแผนจัดการเรียน
การสอน เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และการประกันคุณภาพผูเ รียน
ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได


เพ นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)
การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)

ิ่ม
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนของ
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา
5
หน่วยการเรียนรู้ที่

เพ คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา
หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา เพื่อ
ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเป น ราย
บุคคลกอนเขาสูกิจกรรมการเรียนการสอน
ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่หลักสูตรกําหนด 2. ครู ท บทวนความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดย
เรื่อง ทฤษฎีแมเหล็กไฟฟา จากนั้นครูแจงจุด สนามทั้งสองมีทิศตั้งฉากกันและกัน และตั้งฉากกับทิศการแผ่หรือทิศการถ่ายโอนพลังงานของ
ประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นคลืน่ ตามขวาง การเกิดและการแผ่ออกไปจากแหล่ง

ิ่ม Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ


ก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นผลจากการเหนี่ยวน�าอย่างต่อเนื่องระหว่างสนาม
3. นักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเองกอน

เพ
แม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าที่เป็นองค์ประกอบ
เขาสูกิจกรรมการเรียนการสอน จากกรอบ
Check for Understanding ในหนังสือเรียน กลไกการเกิดและการแผ่ออกจากแหล่ง

การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี โดยบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัวนักเรียน


4. ครู ตั้ ง ประเด็ น คํ า ถามกระตุ  น ความสนใจ
กําเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือกลไกใด

ประสิทธิภาพ นั ก เรี ย นว า คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เกิ ด ขึ้ น ได
อยางไร และคลืน่ แมเหล็กไฟฟาจะมีคณ ุ สมบัติ
ตางกันอยางไร โดยใหนกั เรียนรวมกันอภิปราย
ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ โดยไมมีการ

เพ เฉลยวาถูกหรือผิด

จั ด การเรี ย นการสอนทั้งหมดของรายวิชากอนที่จะลงมือ
สอนจริง
Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
ิ่ม
เพ Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง
ความถี่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีคาคงตัว

ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาแบงสัญญาณออกเปนสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล
สิ่งที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาสงผาน คือ ความยาวคลื่น
ทฤษฎีของแมกซเวลล กลาววา เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลงจะการเหนี่ยวนําทําใหเกิดสนามไฟฟา
แนวตอบ Check for Understanding
ิ่ม Chapter Concept Overview ชวยใหเ ห็นภาพรวม
เพ
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก 4. ผิด 5. ถูก

Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


เกิ ด จากการที่ ป ระจุ ไ ฟฟ า เคลื่ อ นที่ ด  ว ยความเร ง ในกรณี ข อง
ครูอาจเขาสูบ ทเรียนโดยการทบทวนเนือ้ หาเกีย่ วกับไฟฟาสถิต ไฟฟากระแส
คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสายอากาศ เมื่อตอแหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม และแมเหล็กไฟฟา ซึ่งมีหลักการที่สําคัญ ดังนี้

เพ
เขากับสายอากาศที่วางตัวในแนวดิ่ง ประจุไฟฟาในสายอากาศที่เคลื่อนที่
• เมือ่ มีประจุอสิ ระจะทําใหเกิดสนามไฟฟารอบๆ ประจุอสิ ระ โดยความเขม
กลับไปกลับมาในแนวดิง่ ดวยความเรงจะแผคลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกมาโดย
ของสนามไฟฟา ณ ตําแหนงใดๆ จะแปรผกผันกับระยะทางกําลังสอง
รอบ สงผลใหเกิดคลืน่ แมเหล็กไฟฟากระจายออกมาจากสายอากาศในทุก
ความพรอมของผูเรียนสูการสอบในระดับตาง ๆ จากประจุไฟฟานั้น (กฎของคูลอมบ)
• เมือ่ มีประจุไฟฟาเคลือ่ นทีใ่ นตัวนําไฟฟา จะมีสนามแมเหล็กเกิดขึน้ รอบๆ
ทิศทาง ยกเวนทิศทางที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกับแนวการเคลื่อนที่ของ
ประจุไฟฟาหรือแนวการวางตัวของสายอากาศ
ตัวนํา โดยทิศของสนามแมเหล็กจะวนรอบตัวนําและตั้งฉากกับทิศของ
กระแส ซึ่งเออรสเตดเปนผูคนพบ
ิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา • เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กจะมีการเหนี่ยวนําทําใหเกิดกระแส
เพ ไฟฟาขึ้น แสดงวาไดมีการเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟาในตัวนํา ซึ่ง
โซน 3
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต
ฟาราเดยเปนผูคนพบ
โซน 2
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21 T6

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


การเรียนการสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหครูผูสอน ประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ที่เปนประโยชนสําหรับครู
โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรมอยางละเอียด เพื่อนําไปประยุกตใชจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน
เพื่อใหนักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู เกร็ดแนะครู
ความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอสังเกต แนวทางการจัด
นํา สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรม และอื่น ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรูเ พิม่ เติมจากเนือ้ หา สําหรับอธิบายเสริมเพิม่ เติมใหกบั นักเรียน
โดยใช้หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 และแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ากัด เป็นสือ่ หลัก (Core Materials) ประกอบ
การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ของกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้
มีองค์ประกอบที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
Key Question
ทฤษฎีคลืน ่ แมเหล็กไฟฟา 1. ท ฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ 1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ตามความ ประกอบด้ ว ยแนวทางส� า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
สมัครใจ จากนั้นใหแตละกลุมรวมกันสืบคน
เกี่ยวของกับการทดลอง
ของเฮิรตซอยางไร
แมกซ์เวลล์และการทดลองของ
เฮิรตซ์
เกี่ ย วกั บ การเกิ ด และลั ก ษณะเฉพาะของ
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากแหลงการเรียนรูต า งๆ
เสนอแนะแนวข้อสอบ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผสู้ อน
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic wave) เป็นคลืน่ ทีเ่ กิดจากการถูกรบกวนทางแม่เหล็ก เชน ใบความรู หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต โดย
ไฟฟ้า โดยท�าให้สนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้ามีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลืน่ ครูกําหนดประเด็นตอไปนี้
ตามขวางที่ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากซึ่งกันและกัน
ความส�าเร็จทางฟิสกิ ส์ครัง้ ส�าคัญในคริสต์ศตวรรษที ่ 19 คือ ความส�าเร็จในการพัฒนาทฤษฎี
• ทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล
• การทดลองของเฮิรตซ
กิจกรรม 21st Century Skills
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใน พ.ศ. 2416 เจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell) ได้
รวบรวมกฎต่าง ๆ เกีย่ วกับสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ซึง่ เป็นการค้นพบของคาร์ล ฟรีดริช เกาส์
(Carl Friedrich Gauss) อองเดร-มารี อองแปร์ (André-Marie Ampère) ไมเคิล ฟาราเดย์
• การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ได กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ ใช้ความรู้สร้างชิ้นงานหรือ
ศึกษา จากนั้นรวมกันสรุปความรูที่ไดจาก
(Michael Faraday) และเฮนรี คาเวนดิช (Henry Cavendish) เข้าด้วยกัน และแมกซ์เวลล์
ได้เพิ่มเติมผลบางประการลงไปในสมการของแอมแปร์ แล้วสรุปเป็นทฤษฎี เรียกว่า ทฤษฎี
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ โดยน�าเสนอในรูปสมการ 4 สมการ เรียกว่า สมการของ
การศึกษาคนควาลงในสมุดบันทึกประจําตัว
นักเรียน
ท�ากิจกรรมรวบยอด เพือ่ ให้เกิดทักษะทีจ่ า� เป็นในศตวรรษที ่ 21
แมกซ์เวลล์ (Maxwell’s equation) 3. นักเรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลจากการ
ศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนํา
ผลส�าคัญประการหนึง่ ของสมการของแมกซ์เวลล์ คือ การท�านายว่าคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าสามารถ
แผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง และผลจากการแก้สมการของแมกซ์เวลล์
ได้ค�าตอบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนผ่านสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว 3 × 108 เมตรต่อวินาที
เสนอ ครูคอยใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให ขอสอบเนนการคิด
นักเรียนมีความเขาใจถูกตอง
P hysics
Focus สมการของแมกซ์เวลล์
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
แมกซ์เวลล์เป็นคนแรกทีเ่ สนอสมการคณิตศาสตร์ทเี่ กีย่ วกับสนาม
แม่เหล็กและสนามไฟฟ้า และได้สรุปเป็นสมการของแมกซ์เวลล์ ดังนี้ เฉลยอย่างละเอียด
กฎของเกาส์ส�าหรับสนามไฟฟ้า E• dA = εq
0
กฎของเกาส์ส�าหรับสนามแม่เหล็ก B• dA = 0

กฎการเหนี่ยวน�าแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์ LE• dl = - dtB
กฎของแอมแปร์-แมกซ์เวลล์

B• dl = μ0(i + ε0 dtE)
ภาพที่ 5.1 เจมส์
คลาร์ก แมกซ์เวลล์
ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ
L
ที่มา : คลังภาพ อจท.
สมการที่ 1 หมายความว่า ฟลักซ์ไฟฟ้าสุทธิที่ผ่านผิวปิดเท่ากับประจุภายในผิวปิดหารด้วย
ε0 สมการที่ 2 หมายความว่า ฟลักซ์แม่เหล็กสุทธิที่ผ่านผิวปิดเป็นศูนย์ สมการที่ 3 หมายความว่า
ฟลักซ์แม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงท�าให้เกิดสนามไฟฟ้า และสมการที่ 4 หมายความว่า ฟลักซ์ไฟฟ้าที่
เปลี่ยนแปลงท�าให้เกิดสนามแม่เหล็ก
แนวตอบ Key Question
การทดลองของเฮิ ร ตซ ส นั บ สนุ น ทฤษฎี แนวข้อสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง
คลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและยืนยันถึง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 3
การมีอยูจริงของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ละเอียด
ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู
คลื่นกลและคลื่นแมเหล็กไฟฟาแตกตางกันอยางไร ครูอาจเขาสูบทเรียนโดยกลาววา มนุษยรูจักและคุนเคยกับคลื่นกลมานาน
กิจกรรมทาทาย
1. องคประกอบของคลื่นแตกตางกัน
2. ตัวกลางในการเคลื่อนที่แตกตางกัน
แลว จนถึง พ.ศ. 2416 เจมส คลารก แมกซเวลล (James Clerk Maxwell) ได
เสนอทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งนําเสนอวา มีคลื่นอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากการ เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
3. ความหลากหลายของชนิดของคลื่น เปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก และเดินทางผานสุญญากาศ
4. การสั่นของอนุภาคตัวกลางแตกตางกัน
5. คลืน่ กลมีสนั คลืน่ และทองคลืน่ แตในคลืน่ แมเหล็กไฟฟาไมมี
ได เรียกวา คลื่นแมเหล็กไฟฟา ตอมาใน พ.ศ. 2431 ไฮนริช รูดอลฟ เฮิรตซ
(Heinrich Rudolf Hertz) ทําการทดลองยืนยันวาคลื่นแมเหล็กไฟฟามีอยูจริงได
ทีเ่ รียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว และต้องการท้าทายความสามารถใน
(วิเคราะหคําตอบ คลื่นกลเปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการ
เคลื่อนที่ ขณะที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาไมจําเปนตองอาศัยตัวกลาง
สําเร็จเปนคนแรก โดยคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีเ่ ฮิรตซคน พบในครัง้ นัน้ คือ คลืน่ วิทยุ
ระดับที่สูงขึ้น
ในการเคลื่อนที่ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

โซน 3 โซน 2 กิจกรรมสรางเสริม


เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียนที่
T7
ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) สื่อ Digital


ค�าอธิบายหรือข้อเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือข้อควรปฏิบัติ แนะน�าแหล่งเรียนรู้และแหล่งค้นคว้าจากสื่อ Digital ต่าง ๆ
ตามเนื้อหาในบทเรียน
แนวทางการวัดและประเมินผล
เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตรก�าหนด
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
ฟิสิกส์ เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง 

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น แผ่น


โพลารอยด์ การน�ำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ฟิสิกส์อะตอม อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน รังสีแคโทด การทดลองของทอมสัน การทดลองของมิลลิแกน แบบจ�ำลอง
อะตอม แบบจ�ำลองอะตอมของทอมสัน แบบจ�ำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด สเปกตรัมของอะตอม สเปกตรัมจากอะตอม
ของแก๊ส การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากวัตถุดำ � ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของอะตอม การทดลองของฟรังก์และ
เฮิรตซ์ รังสีเอกซ์ ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์ ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ปรากฏการณ์คอมป์ตัน สมมติฐานเดอบรอยล์ กลศาสตร์ควอนตัม หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก โครงสร้างอะตอม
ตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม ฟิสิกส์นิวเคลียร์ การค้นพบกัมมันตภาพรังสี การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส องค์ประกอบของ
นิวเคลียส การค้นพบนิวตรอน การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ไอโซโทป เสถียรภาพของนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์ พลังงาน
ยึดเหนี่ยว ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ฟิวชัน ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและการใช้พลังงานนิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาติ
อันตรายจากรังสี และการป้องกัน การค้นคว้าวิจัยและประโยชน์ด้านฟิสิกส์อนุภาค
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์
การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้อง

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น และแผ่นโพลารอยด์
รวมทั้งอธิบายการน�ำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลักการท�ำงานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
2. สืบค้นและอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการสื่อสารด้วย
สัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัลได้
3. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมทั้งค�ำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและค�ำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอน และฟังก์ชันงาน
ของโลหะ
5. อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค รวมทั้งอธิบายและค�ำนวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์
6. อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกต่างของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
7. อธิบายและค�ำนวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทั้งทดลอง อธิบาย และค�ำนวณจ�ำนวนนิวเคลียส
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิต
8. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทั้งค�ำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
9. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน และฟิวชัน รวมทั้งค�ำนวณพลังงานนิวเคลียร์
10. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์และรังสี รวมทั้งอันตรายและการป้องกันรังสีในด้านต่าง ๆ
11. อธิบายการค้นคว้าวิจยั ด้านฟิสกิ ส์อนุภาคแบบจ�ำลองมาตรฐานและการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจยั ด้านฟิสกิ ส์อนุภาค
ในด้านต่าง ๆ

รวม 11 ผลการเรียนรู้
Pedagogy
คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิ
สิก ส์ ม.6 เล่ม 2 รวมถึงสือ่ การเรียนรูร้ ายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ม.6 ผู้จัดท�ำได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และ
เทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตาม
ผลการเรียนรู้ รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�ำหนดไว้ โดยครูสามารถน�ำไปใช้
จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม ส�ำหรับ Pedagogy หลักที่น�ำมาใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบด้วย

รูปแบบการสอน Concept Based Teaching

ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ ขั้นเข้าใจ

1 Prior Knowledge 2 Knowing 3 Understanding 4 Doing

ขั้นรู้ ขั้นลงมือท�ำ

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เนื่องจากความรู้วิทยาศาสตร์


ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการและความคิดรวบยอดต่าง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ ดังนั้น Concept
Based Teaching เป็นการจัดการเรียนการสอนทีน่ ำ� พาผูเ้ รียน เพือ่ ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจ มีทกั ษะ และเกิดความคิดรวบยอด
ผลของการจัดการเรียนการสอนในลักษณะนี้ จะท�ำให้ผู้เรียนได้ความรู้และมีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซึ่งจะเป็น
ทักษะส�ำคัญติดตัวผู้เรียนไปตลอดชีวิต

วิธีสอน (Teaching Method)

เลือกใช้วธิ กี ารสอนทีห่ ลากหลาย เช่น อุปนัย นิรนัย การสาธิต การทดลอง แบบแก้ปญั หา แบบบรรยาย ซึง่ สนับสนุน
การจัดการเรียนการสอนแบบ Concept Based Teaching ที่ทำ� ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ท�ำให้ได้ความคิดรวบยอด
ที่ส�ำคัญ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิทยาศาสตร์อย่างถ่องแท้

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

เลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เช่น การใช้คำ� ถาม การใช้ตวั อย่างกระตุน้ ความคิด
การใช้สอื่ การเรียนรูท้ นี่ า่ สนใจ เพือ่ ส่งเสริมวิธกี ารสอนและรูปแบบการสอนให้มปี ระสิทธิภาพในการจัดการเรียนรูใ้ ห้มากยิง่ ขึน้
ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขและสามารถฝึกฝนทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้
Teacher Guide Overview
ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 2
หน่วย
ผลการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

5 1. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการทดลอง
- ตรวจแบบทดสอบ
ก่อนเรียน
- หนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติม
คลื่นแม่เหล็ก แสงโพลาไรส์เชิงเส้น และแผ่นโพลารอยด์ - สังเกตการน�ำเสนอ
- ทักษะการเปรียบเทียบ วิทยาศาสตร์และ
ไฟฟ้า รวมทั้งอธิบายการน�ำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการส�ำรวจค้นหา ผลงานเกี่ยวกับ เทคโนโลยี ฟิสิกส์
ในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และ - ทักษะการจ�ำแนกประเภท คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ม.6 เล่ม 2
หลักการท�ำงานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง - ทักษะการลงความเห็น - สังเกตการปฏิบัติการ - แบบฝึกหัด
2. สืบค้นและอธิบายการสื่อสารโดยอาศัย จากข้อมูล จากการท�ำกิจกรรม รายวิชาเพิ่มเติม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่าน ความสว่างของแสงเมื่อ วิทยาศาสตร์และ
สารสนเทศและเปรียบเทียบการสื่อสาร ผ่านแผ่นโพลารอยด์ เทคโนโลยี ฟิสิกส์
ด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม ม.6 เล่ม 2
ได้ ความสว่างของแสงเมื่อ - แบบทดสอบ
22 ผ่านแผ่นโพลารอยด์
- ตรวจผังมโนทัศน์
ก่อนเรียน
- แบบทดสอบ
ชั่วโมง - ตรวจป้ายนิเทศ หลังเรียน
- ตรวจแผ่นพับน�ำเสนอ - ใบงาน
- ตรวจใบงาน - PowerPoint
- ตรวจแบบฝึกหัด - QR Code
- สังเกตพฤติกรรม - ภาพยนต์สารคดี
การท�ำงานรายบุคคล สั้น Twig
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน

6 3. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอม
ของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของ
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการสื่อสาร
- ตรวจแบบทดสอบ
ก่อนเรียน
- หนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติม
ฟิสิกส์อะตอม อะตอมไฮโดรเจน รวมทั้งค�ำนวณปริมาณ - สังเกตการน�ำเสนอและ
- ทักษะการทดลอง วิทยาศาสตร์และ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - ทักษะการวิเคราะห์ อภิปรายเกี่ยวกับอะตอม เทคโนโลยี ฟิสิกส์
4. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและ - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน และการค้นพบอิเล็กตรอน ม.6 เล่ม 2
ค�ำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ - ทักษะการน�ำความรูไ้ ปใช้ แบบจ�ำลองอะตอม - แบบฝึกหัด
ของโฟโตอิเล็กตรอน และฟังก์ชันงานของ การแผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า รายวิชาเพิ่มเติม
โลหะ ของวัตถุดำ � ทฤษฎีอะตอม วิทยาศาสตร์และ
5. อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค ของโบร์ ปรากฏการณ์ เทคโนโลยี ฟิสิกส์
รวมทั้งอธิบายและค�ำนวณความยาวคลื่น โฟโตอิเล็กทริก ปรากฏ ม.6 เล่ม 2
เดอบรอยล์ การณ์คอมป์ตันและ - แบบทดสอบ
28 สมมติฐานเดอบรอยล์ ก่อนเรียน
ชั่วโมง และกลศาสตร์ควอนตัม - แบบทดสอบ
- สังเกตการปฏิบัติการ หลังเรียน
จากการท�ำกิจกรรม - ใบงาน
การเปรียบเทียบลักษณะ - PowerPoint
การกระเจิงของอนุภาค - QR Code
แอลฟา และการศึกษา - ภาพยนต์สารคดี
สเปกตรัมของแก๊สร้อน สั้น Twig
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
การเปรียบเทียบลักษณะ
การกระเจิงของอนุภาค
แอลฟา และการศึกษา
สเปกตรัมของแก๊สร้อน
หน่วย
ผลการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้
- ตรวจแผ่นพับความรู้
- ตรวจอินโฟกราฟิก
- ตรวจใบความรู้
- ตรวจใบงาน
- ตรวจแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน

7 6. อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกต่าง
ของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการสื่อสาร
- ตรวจแบบทดสอบ
ก่อนเรียน
- หนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติม
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 7. อธิบายและค�ำนวณกัมมันตภาพของ - สังเกตการน�ำเสนอและ
- ทักษะการทดลอง วิทยาศาสตร์และ
นิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทั้งทดลอง - ทักษะการวิเคราะห์ อภิปรายเกี่ยวกับการ เทคโนโลยี ฟิสิกส์
อธิบาย และค�ำนวณจ�ำนวนนิวเคลียส - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน ค้นพบกัมมันตภาพรังสี ม.6 เล่ม 2
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย - ทักษะการน�ำความรู้ไปใช้ การเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส - แบบฝึกหัด
และครึ่งชีวิต การสลายของนิวเคลียส รายวิชาเพิ่มเติม
8. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของ กัมมันตรังสีไอโซโทป วิทยาศาสตร์และ
นิวเคลียส และพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทั้ง เสถียรภาพของนิวเคลียส เทคโนโลยี ฟิสิกส์
ค�ำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ม.6 เล่ม 2
9. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน และ ประโยชน์ของกัมมันตภาพ - แบบทดสอบ
ฟิวชัน รวมทั้งค�ำนวณพลังงานนิวเคลียร์ รังสีและพลังงานนิวเคลียร์ ก่อนเรียน
10. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ และการค้นคว้าวิจัยด้าน - แบบทดสอบ
และรังสี รวมทั้งอันตรายและการป้องกัน ฟิสิกส์อนุภาค หลังเรียน
รังสีในด้านต่าง ๆ - สังเกตการปฏิบัติการ - ใบงาน
11. อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค จากการท�ำกิจกรรม - PowerPoint
แบบจ�ำลองมาตรฐานและการใช้ประโยชน์
จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค 30 สถานการณ์จ�ำลอง
การสลายของธาตุ
- QR Code
- ภาพยนต์สารคดี
ในด้านต่าง ๆ ชั่วโมง กัมมันตรังสี สั้น Twig
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
สถานการณ์จ�ำลองการ
สลายของธาตุกมั มันตรังสี
- ตรวจแผ่นพับความรู้
- ตรวจผังมโนทัศน์
- ตรวจอินโฟกราฟิก
- ตรวจใบงาน
- ตรวจแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน
สารบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หน่วยการเรียนรู้ท
ี่ 5 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า T2 -T3 T4 -T5 T6

• ท ฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลอง
ของเฮิรตซ์ T7 -T15
• โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า T16 -T21
• สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า T22 -T33
• อุปกรณ์ที่ทำ� งานโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า T34 -T43
• การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า T44 -T49
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 T50 -T59

หน่วยการเรียนรู้ท ี่ 6 ฟิสิกส์อะตอม T60-T61 T62-T63 T64

• อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน T65 -T75
• แบบจ�ำลองอะตอม T76 -T78
• สเปกตรัมของอะตอม T79 -T88
• ทฤษฎีอะตอมของโบร์ T89 -T103
• ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค T104 -T112
• กลศาสตร์ควอนตัม T113 -T116
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 T117 -T127

หน่วยการเรียนรู้ท
ี่ 7 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ T128 -T129 T130 -T131 T132

• การค้นพบกัมมันตภาพรังสี T133 -T138
• การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส T139 -T143
• การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี T144 -T158
• ไอโซโทป T159 -T162
• เสถียรภาพของนิวเคลียส T163 -T169
• ปฏิกิริยานิวเคลียร์ T170 -T175
• ประโยชน์และอันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ T176 -T180
• การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค T181-T186
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 T187 -T196

Fun Science Activity T197


บรรณานุกรม T198
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายหลักการเกิด แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ทฤษฎีคลื่น - หนังสือเรียนรายวิชา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แนวคิด มโนทัศน์ - ตรวจการน�ำเสนอข้อมูล - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
แม่เหล็กไฟฟ้า เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Concept ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการท�ำงาน - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ของแมกซ์เวลล์ และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ของแมกซ์เวลล์ และการแผ่ Based - ตรวจใบงาน เรื่อง ทฤษฎี ร่วมกัน - มีความซื่อสัตย์
และการทดลอง ม.6 เล่ม 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (K) Teaching) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ
ของเฮิรตซ์ - แบบฝึกหัดรายวิชา 2. สืบค้นข้อมูลและนําเสนอ แมกซ์เวลล์และการทดลอง
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นแม่เหล็ก ของเฮิรตซ์
4 และเทคโนโลยี ฟิสิกส์
ม.6 เล่ม 2
ไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
การทดลองของเฮิรตซ์ และ
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง
ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ชั่วโมง - ใบงาน การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ของแมกซ์เวลล์และ
- PowerPoint อย่างถูกต้อง (P) การทดลองของเฮิรตซ์
- QR Code 3. ความเป็นคนช่างสังเกต - ตรวจแบบฝึกหัด เรื่อง
ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
และมุง่ มัน่ ในการเสาะแสวงหา ของแมกซ์เวลล์และ
ความรู้ (A) การทดลองของเฮิรตซ์
- ประเมินการน�ำเสนอผลงาน
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
รายบุคคล

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความหมายของโพลา แบบเน้น - ตรวจใบงาน เรื่อง โพลาไร - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
โพลาไรเซชัน เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ไรเซชันของคลื่นแม่เหล็ก มโนทัศน์ เซชันของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ของคลืน่ แม่เหล็ก และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ไฟฟ้าได้ (K) (Concept - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัดจาก - ทักษะการท�ำงาน - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ไฟฟ้า ม.6 เล่ม 2 2. บอกความแตกต่างระหว่าง Based Unit Questions 5 ร่วมกัน - มีความซื่อสัตย์
- แบบฝึกหัดรายวิชา แสงไม่โพลาไรส์และ Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัด เรื่อง - ทักษะการน�ำความรู้
6 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์
แสงโพลาไรส์ได้ (K)
3. อธิบายวิธีการท�ำให้แสง
โพลาไรเซชันของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า
ไปใช้
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 ไม่โพลาไรส์เปลี่ยนเป็น - ประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
- ใบงาน แสงโพลาไรส์ได้ (K) ความสว่างของแสงที่ผ่าน
- PowerPoint 4. แก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับโพลา แผ่นโพลารอยด์
- QR Code ไรเซชันของแสงโดยใช้กฎ - ประเมินการน�ำเสนอผลงาน
ของบรูสเตอร์ได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
5. ท�ำการทดลองการใช้แผ่น การท�ำงานรายบุคคล
โพลารอยด์ตรวจสอบแสงไม่ - สังเกตการตอบค�ำถาม
โพลาไรส์และแสงโพลาไรส์ การร่วมกันท�ำผลงาน และ
ได้ (P) การน�ำเสนอผลงาน
6. ความเป็นคนช่างสังเกต
ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้
และมุ่งมั่นในการเสาะแสวง
หาความรู้ (A)

T2
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกความหมายของ แบบเน้น - ตรวจใบงาน เรือ่ ง สเปกตรัม - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
สเปกตรัมคลื่น เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ สเปกตรัมคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า มโนทัศน์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แม่เหล็กไฟฟ้า และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ได้ (K) (Concept - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัดจาก - ทักษะการท�ำงาน - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับประโยชน์ Based Unit Questions 5 ร่วมกัน - มีความซื่อสัตย์
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
และการป้องกันอันตรายจาก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้อย่าง
Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัด เรื่อง
สเปกตรัมคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
- ทักษะการน�ำความรู้
ไปใช้
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ถูกต้อง (P) - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง
ม.6 เล่ม 2 3. ความเป็นคนช่างสังเกต สเปกตรัมคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
- ใบงาน ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ - ประเมินการน�ำเสนอผลงาน
- PowerPoint และมุ่งมั่นในการเสาะแสวง - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code หาความรู้ (A) การท�ำงานกลุ่ม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - สังเกตการตอบค�ำถาม
Twig การร่วมกันท�ำผลงาน
และการน�ำเสนอผลงาน

แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายหลักการท�ำงานของ แบบเน้น - ตรวจใบงาน เรือ่ ง หม้อแปลง - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
อุปกรณ์ทที่ ำ� งาน เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ที่ท�ำงานโดยอาศัย มโนทัศน์ - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัด เรือ่ ง - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
โดยอาศัยคลื่น และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ (K) (Concept อุปกรณ์ที่ท�ำงานโดยอาศัย - ทักษะการสื่อสาร - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
แม่เหล็กไฟฟ้า ม.6 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ Based คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการท�ำงาน - มีความซื่อสัตย์
- แบบฝึกหัดรายวิชา อุปกรณ์ที่ท�ำงานโดยอาศัย Teaching) - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัดจาก ร่วมกัน
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้อย่าง
ถูกต้อง (P)
Unit Questions 5
- ประเมินการน�ำเสนอผลงาน
- ทักษะการน�ำความรู้
ไปใช้
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 3. ความเป็นคนช่างสังเกต - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ การท�ำงานกลุ่ม
- PowerPoint และมุ่งมั่นในการเสาะแสวง - สังเกตการตอบค�ำถาม
- QR Code หาความรู้ (A) การร่วมกันท�ำผลงาน
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น และการน�ำเสนอผลงาน
Twig

แผนฯ ที่ 5 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. บอกความหมายของสัญญาณ แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย


การสื่อสารโดย - หนังสือเรียนรายวิชา แอนะล็อกและสัญญาณดิจทิ ลั มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
อาศัยคลื่น เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ได้ (K) (Concept การสื่อสารโดยอาศัย - ทักษะการท�ำงาน - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
แม่เหล็กไฟฟ้า และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ 2. สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบ Based คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ร่วมกัน - มีความซื่อสัตย์
ม.6 เล่ม 2 การสือ่ สารด้วยสัญญาณแอนะ Teaching) - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัดจาก - ทักษะการน�ำความรู้
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
ล็ อ กกั บ สั ญ ญาณดิ จิ ทั ล ได้
อย่างถูกต้อง (P)
Unit Questions 5
- ตรวจและประเมินผลงาน
ไปใช้

ชั่วโมง และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ 3. ความเป็นคนช่างสังเกต จากผังมโนทัศน์ เรื่อง


ม.6 เล่ม 2 ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็ก
- ใบงาน และมุง่ มัน่ ในการเสาะแสวงหา ไฟฟ้า
- PowerPoint ความรู้ (A) - ประเมินการน�ำเสนอผลงาน
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
Twig รายบุคคล

T3
Chapter Concept Overview

ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์
• คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่ก�ำลัง E
เปลีย่ นแปลงอยูใ่ นระนาบทีต่ งั้ ฉากกันและตัง้ ฉากกับทิศการแผ่ไปของคลืน่ แม่เหล็ก y
E
ไฟฟ้า B c
• ทฤษฎีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ ท�ำนายว่ามีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ซึง่ เกิดจากการเหนีย่ วน�ำอย่างต่อเนือ่ งกันของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กทีเ่ ป็น z
องค์ประกอบ B
• การทดลองของเฮิรตซ์ เป็นการทดลองเพื่อยืนยันการมีอยู่จริงของ c
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เฮิรตซ์ค้นพบ คือ คลื่นวิทยุ ที่มี x
ความยาวคลื่นสั้น ขนาดและทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
• การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
- สายอากาศที่ต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับจะมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกมาในทุกทิศทาง ยกเว้นทิศทางที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับ
แนวการวางตัวของสายอากาศ
- ไฟฟ้ากระแสสลับท�ำให้ประจุไฟฟ้าในสายอากาศเคลื่อนที่กลับไปกลับมาด้วยความเร่งในแนวเดียวกับแนวการวางตัวของสาย
อากาศ ประจุไฟฟ้าจึงปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาโดยรอบแนวการเคลื่อนที่

การกระจายออกจากแหล่งก�ำเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
• โพลาไรเซชัน (polarization) เป็นสมบัตขิ องคลืน่ ตามขวาง โดยทัว่ ไปคลืน่ ตามขวางมีระนาบของการสัน่ ตัง้ ฉากกับแนวการแผ่ของ
คลื่น ถ้าคลื่นตามขวางใดมีระนาบการสั่นนี้เพียงระนาบเดียว จะเรียกคลื่นตามขวางนั้นว่า คลื่นโพลาไรส์ (polarized wave)
• วิธีทำ� ให้แสงไม่โพลาไรส์เปลี่ยนเป็นแสงโพลาไรส์ ซึ่งมีหลายวิธี ได้แก่ การสะท้อน การหักเห การดูดกลืน และการกระเจิงของแสง
ดังนี้
- การสะท้อน เมือ่ แสงไม่โพลาไรส์ทตี่ กกระทบผิววัตถุ โดยท�ำมุมตกกระทบทีท่ �ำให้ได้รงั สีสะท้อน ตัง้ ฉากกับรังสีหกั เหแสงทีส่ ะท้อน
จากผิววัตถุจะเป็นแสงโพลาไรส์
- การหักเห เมื่อแสงไม่โพลาไรส์ตกกระทบและหักเหผ่านเข้าไปในแคลไซต์หรือควอตซ์ รังสีหักเหจะแยกออกเป็น 2 รังสี โดยรังสี
หักเหทั้ง 2 รังสี เป็นแสงโพลาไรส์
- การดูดกลืน เมือ่ แสงไม่โพลาไรส์ผา่ นแผ่นโพลารอยด์จะเปลีย่ นเป็นแสงโพลาไรส์ เนือ่ งจากแสงทีส่ นามไฟฟ้ามีทศิ การเปลีย่ นแปลง
ขนานกับแกนส่งผ่าน หรือทิศของโพลาไรส์ของแผ่นโพลารอยด์เท่านั้นที่ผ่านไปได้ ส่วนแสงที่สนามไฟฟ้ามีทิศการเปลี่ยนแปลง
ตั้งฉากกับแกนส่งผ่านจะถูกแผ่นโพลารอยด์ดูดกลืนไว้
- การกระเจิงของแสง เมื่อแสงอาทิตย์ซึ่งเป็นแสงไม่โพลาไรส์ตกกระทบโมเลกุลอากาศ สนามไฟฟ้าของแสงจะท�ำให้อิเล็กตรอนใน
โมเลกุลของอากาศสั่นในแนวเดียวกับแนวการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า ซึ่งมี 2 แนวหลัก คือ แนวระดับกับแนวดิ่ง และปลด
ปล่อยแสงออกมา เมื่อมองขึ้นไปในแนวดิ่งจึงเห็นแสงโพลาไรส์ในแนวระดับ และเมื่อมองไปที่ขอบฟ้า (แนวระดับ) จะเห็นแสง
โพลาไรส์ในแนวดิ่ง

T4
หนวยการเรียนรูที่ 5
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างประมาณ 104-1024 เฮิรตซ์ โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกย่านความถี่หรือ
ความยาวคลื่นรวมกัน เรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic spectrum) ซึ่งประกอบด้วยคลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
รังสีอินฟราเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา เมื่อเรียงลําดับจากความถี่ตํ่าไปสูง หรือเรียงลําดับจากความยาวคลื่น
ยาวไปสั้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในแต่ละช่วงความถี่นั้นจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามแหล่งกําเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น
ความถี่
24 22 20 18 16 14 12 10 8 6 4 2
10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 100 ν (Hz)

รังสีแกมมา X-rays UV รังสีอินฟราเรด ไมโครเวฟ FM AM คลื่นวิทยุ


วิทยุ
10-16 10-14 10-12 10-10 10-8 10-6 10-4 10-2 100 102 104 106 108 λ (m)
ความยาวคลื่น
สเปกตรัมของแสง
380

450

495

570
590

620

750
V B G Y O R

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

อุปกรณ์ที่ทํางานโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้านําไปใช้ประโยชน์ในการทํางานของอุปกรณ์บางชนิด ได้แก่ อุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (รังสีอนิ ฟราเรดและคลืน่ วิทยุ)
เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (รังสีเอกซ์) และเครื่องถ่ายภาพการสั่นพ้องแม่เหล็ก (คลื่นวิทยุ) และใช้ในการสื่อสารเพื่อส่งผ่าน
สารสนเทศจากทีห่ นึง่ ไปอีกทีห่ นึง่ ผ่านสือ่ กลางแบบใช้สาย (แสงเลเซอร์) และสือ่ กลางแบบไร้สาย (รังสีอนิ ฟราเรด ไมโครเวฟ และคลืน่ วิทยุ)

การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร มี 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล
• สัญญาณแอนะล็อก เป็นสัญญาณทีม่ ลี กั ษณะเป็นคลืน่ ต่อเนือ่ ง โดยแต่ละคลืน่ อาจมีความถีแ่ ละความเข้มของสัญญาณ (แอมพลิจดู )
ต่างกัน โดยความถีแ่ ละความเข้มของสัญญาณจะเปลีย่ นแปลงตามเวลาอย่างต่อเนือ่ งแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์
• สัญญาณดิจิทัล เป็นสัญญาณที่มีลักษณะเป็นคลื่นไม่ต่อเนื่อง คล้ายขั้นบันได ขนาดของสัญญาณดิจิทัลมีค่าคงที่เป็นช่วง ๆ และการ
เปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณเป็นแบบทันทีทันใด เช่น สัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทํางานและติดต่อสื่อสารกัน
ระดับสัญญาณ
ระดับสัญญาณ

เวลา เวลา

ลักษณะของสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล

สัญญาณดิจิทัลส่งผ่านได้ง่ายกว่าและมีโอกาสเกิดความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณแอนะล็อก ซึ่งนําไปสู่การส่งข้อมูลที่ถูกต้อง อัตรา


การส่งข้อมูลที่เร็วกว่า และได้ผลลัพธ์ที่ดี

T5
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนของ
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา
5
หน่วยการเรียนรู้ที่
หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา เพื่อ
ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเป น ราย
บุคคลกอนเขาสูกิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครู ท บทวนความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดย
เรื่อง ทฤษฎีแมเหล็กไฟฟา จากนั้นครูแจงจุด สนามทั้งสองมีทิศตั้งฉากกันและกัน และตั้งฉากกับทิศการแผ่หรือทิศการถ่ายโอนพลังงานของ
ประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นคลืน่ ตามขวาง การเกิดและการแผ่ออกไปจากแหล่ง
ก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นผลจากการเหนี่ยวน�าอย่างต่อเนื่องระหว่างสนาม
3. นักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเองกอน แม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าที่เป็นองค์ประกอบ
เขาสูกิจกรรมการเรียนการสอน จากกรอบ
Check for Understanding ในหนังสือเรียน กลไกการเกิดและการแผ่ออกจากแหล่ง
โดยบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัวนักเรียน กําเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือกลไกใด

4. ครู ตั้ ง ประเด็ น คํ า ถามกระตุ  น ความสนใจ


นั ก เรี ย นว า คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เกิ ด ขึ้ น ได
อยางไร และคลืน่ แมเหล็กไฟฟาจะมีคณ ุ สมบัติ
ตางกันอยางไร โดยใหนกั เรียนรวมกันอภิปราย
แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ โดยไมมีการ
เฉลยวาถูกหรือผิด

Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง
ความถี่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีคาคงตัว
การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาแบงสัญญาณออกเปนสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล
สิ่งที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาสงผาน คือ ความยาวคลื่น
ทฤษฎีของแมกซเวลล กลาววา เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลงจะการเหนี่ยวนําทําใหเกิดสนามไฟฟา
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก 4. ผิด 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


เกิ ด จากการที่ ป ระจุ ไ ฟฟ า เคลื่ อ นที่ ด  ว ยความเร ง ในกรณี ข อง
ครูอาจเขาสูบ ทเรียนโดยการทบทวนเนือ้ หาเกีย่ วกับไฟฟาสถิต ไฟฟากระแส
คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสายอากาศ เมื่อตอแหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
และแมเหล็กไฟฟา ซึ่งมีหลักการที่สําคัญ ดังนี้
เขากับสายอากาศที่วางตัวในแนวดิ่ง ประจุไฟฟาในสายอากาศที่เคลื่อนที่
• เมือ่ มีประจุอสิ ระจะทําใหเกิดสนามไฟฟารอบๆ ประจุอสิ ระ โดยความเขม
กลับไปกลับมาในแนวดิง่ ดวยความเรงจะแผคลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกมาโดย
ของสนามไฟฟา ณ ตําแหนงใดๆ จะแปรผกผันกับระยะทางกําลังสอง
รอบ สงผลใหเกิดคลืน่ แมเหล็กไฟฟากระจายออกมาจากสายอากาศในทุก
จากประจุไฟฟานั้น (กฎของคูลอมบ)
ทิศทาง ยกเวนทิศทางที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกับแนวการเคลื่อนที่ของ
• เมือ่ มีประจุไฟฟาเคลือ่ นทีใ่ นตัวนําไฟฟา จะมีสนามแมเหล็กเกิดขึน้ รอบๆ
ประจุไฟฟาหรือแนวการวางตัวของสายอากาศ
ตัวนํา โดยทิศของสนามแมเหล็กจะวนรอบตัวนําและตั้งฉากกับทิศของ
กระแส ซึ่งเออรสเตดเปนผูคนพบ
• เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กจะมีการเหนี่ยวนําทําใหเกิดกระแส
ไฟฟาขึ้น แสดงวาไดมีการเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟาในตัวนํา ซึ่ง
ฟาราเดยเปนผูคนพบ

T6
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
Key Question
ทฤษฎีคลืน ่ แมเหล็กไฟฟา 1. ท ฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ 1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ตามความ
เกี่ยวของกับการทดลอง สมัครใจ จากนั้นใหแตละกลุมรวมกันสืบคน
ของเฮิรตซอยางไร
แมกซ์เวลล์และการทดลองของ เกี่ ย วกั บ การเกิ ด และลั ก ษณะเฉพาะของ
เฮิรตซ์ คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากแหลงการเรียนรูต า งๆ
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic wave) เป็นคลืน่ ทีเ่ กิดจากการถูกรบกวนทางแม่เหล็ก เชน ใบความรู หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต โดย
ไฟฟ้า โดยท�าให้สนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้ามีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลืน่ ครูกําหนดประเด็นตอไปนี้
ตามขวางที่ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากซึ่งกันและกัน • ทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล
ความส�าเร็จทางฟิสกิ ส์ครัง้ ส�าคัญในคริสต์ศตวรรษที ่ 19 คือ ความส�าเร็จในการพัฒนาทฤษฎี • การทดลองของเฮิรตซ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใน พ.ศ. 2416 เจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell) ได้ • การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา
รวบรวมกฎต่าง ๆ เกีย่ วกับสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ซึง่ เป็นการค้นพบของคาร์ล ฟรีดริช เกาส์
(Carl Friedrich Gauss) อองเดร-มารี อองแปร์ (André-Marie Ampère) ไมเคิล ฟาราเดย์ 2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ได
(Michael Faraday) และเฮนรี คาเวนดิช (Henry Cavendish) เข้าด้วยกัน และแมกซ์เวลล์ ศึกษา จากนั้นรวมกันสรุปความรูที่ไดจาก
ได้เพิ่มเติมผลบางประการลงไปในสมการของแอมแปร์ แล้วสรุปเป็นทฤษฎี เรียกว่า ทฤษฎี การศึกษาคนควาลงในสมุดบันทึกประจําตัว
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ โดยน�าเสนอในรูปสมการ 4 สมการ เรียกว่า สมการของ นักเรียน
แมกซ์เวลล์ (Maxwell’s equation) 3. นักเรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลจากการ
ผลส�าคัญประการหนึง่ ของสมการของแมกซ์เวลล์ คือ การท�านายว่าคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าสามารถ ศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนํา
แผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง และผลจากการแก้สมการของแมกซ์เวลล์ เสนอ ครูคอยใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให
ได้ค�าตอบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนผ่านสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว 3 × 108 เมตรต่อวินาที นักเรียนมีความเขาใจถูกตอง
P hysics
Focus สมการของแมกซ์เวลล์
แมกซ์เวลล์เป็นคนแรกทีเ่ สนอสมการคณิตศาสตร์ทเี่ กีย่ วกับสนาม
แม่เหล็กและสนามไฟฟ้า และได้สรุปเป็นสมการของแมกซ์เวลล์ ดังนี้
กฎของเกาส์ส�าหรับสนามไฟฟ้า E• dA = εq
0
กฎของเกาส์ส�าหรับสนามแม่เหล็ก B• dA = 0
กฎการเหนี่ยวน�าแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์ LE• dl = - dtB

ภาพที่ 5.1 เจมส์
กฎของแอมแปร์-แมกซ์เวลล์

B• dl = μ0(i + ε0 dtE) คลาร์ก แมกซ์เวลล์
L
ที่มา : คลังภาพ อจท.
สมการที่ 1 หมายความว่า ฟลักซ์ไฟฟ้าสุทธิที่ผ่านผิวปิดเท่ากับประจุภายในผิวปิดหารด้วย
ε0 สมการที่ 2 หมายความว่า ฟลักซ์แม่เหล็กสุทธิที่ผ่านผิวปิดเป็นศูนย์ สมการที่ 3 หมายความว่า
ฟลักซ์แม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงท�าให้เกิดสนามไฟฟ้า และสมการที่ 4 หมายความว่า ฟลักซ์ไฟฟ้าที่
เปลี่ยนแปลงท�าให้เกิดสนามแม่เหล็ก แนวตอบ Key Question

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 3
การทดลองของเฮิ ร ตซ ส นั บ สนุ น ทฤษฎี
คลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและยืนยันถึง
การมีอยูจริงของคลื่นแมเหล็กไฟฟา

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


คลื่นกลและคลื่นแมเหล็กไฟฟาแตกตางกันอยางไร ครูอาจเขาสูบทเรียนโดยกลาววา มนุษยรูจักและคุนเคยกับคลื่นกลมานาน
1. องคประกอบของคลื่นแตกตางกัน แลว จนถึง พ.ศ. 2416 เจมส คลารก แมกซเวลล (James Clerk Maxwell) ได
2. ตัวกลางในการเคลื่อนที่แตกตางกัน เสนอทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งนําเสนอวา มีคลื่นอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากการ
3. ความหลากหลายของชนิดของคลื่น เปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก และเดินทางผานสุญญากาศ
4. การสั่นของอนุภาคตัวกลางแตกตางกัน ได เรียกวา คลื่นแมเหล็กไฟฟา ตอมาใน พ.ศ. 2431 ไฮนริช รูดอลฟ เฮิรตซ
5. คลืน่ กลมีสนั คลืน่ และทองคลืน่ แตในคลืน่ แมเหล็กไฟฟาไมมี (Heinrich Rudolf Hertz) ทําการทดลองยืนยันวาคลื่นแมเหล็กไฟฟามีอยูจริงได
(วิเคราะหคําตอบ คลื่นกลเปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการ สําเร็จเปนคนแรก โดยคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีเ่ ฮิรตซคน พบในครัง้ นัน้ คือ คลืน่ วิทยุ
เคลื่อนที่ ขณะที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาไมจําเปนตองอาศัยตัวกลาง
ในการเคลื่อนที่ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T7
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูตงั้ ประเด็นคําถามกระตุน ความคิดนักเรียน 1.1 ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
โดยให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป ราย ตามกฎการเหนี่ยวน�าของฟาราเดย์ สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาจะเหนี่ยวน�าให้
แสดงความคิดเห็นเพื่อหาคําตอบ ดังนี้ เกิดสนามไฟฟ้าที่ก�าลังเปลี่ยนแปลง แมกซ์เวลล์ได้เสนอแนวคิดในทางกลับกัน คือ สนามไฟฟ้า
• คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดขึ้นไดอยางไร ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาจะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามแม่เหล็กที่ก�าลังเปลี่ยนแปลง
• แมกซ เ วลล ร วบรวมกฎเกี่ ย วกั บ แม เ หล็ ก เมือ่ น�าแนวคิดทัง้ สองมาประกอบกันจะอธิบายเกีย่ วกับการเกิดและการแผ่ออกไปจากแหล่ง
ไฟฟ า จากการค น พบของใครบ า งมาตั้ ง ก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ว่า สนามไฟฟ้าที่ก�าลังเปลี่ยนแปลงตามเวลาจะเหนี่ยวน�าให้เกิด
ทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล สนามแม่เหล็กทีก่ า� ลังเปลีย่ นแปลงขึน้ ในระนาบทีต่ งั้ ฉากกับระนาบการเปลีย่ นแปลงของสนามไฟฟ้า
• กลไกในการเกิ ด และการแผ อ อกไปจาก บริเวณรอบ ๆ ไม่ว่าบริเวณนั้นจะเป็นบริเวณในตัวน�า ฉนวน หรือที่ว่าง โดยทิศของสนามแม่เหล็ก
แหลงกําเนิดของคลืน่ แมเหล็กไฟฟาคืออะไร ที่เกิดขึ้นหาได้จากกฎมือขวา กล่าวคือ เมื่อให้นิ้วหัวแม่มือขวาชี้ตามทิศของสนามไฟฟ้าที่ก�าลัง
• การทดลองของเฮิ ร ตซ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ เปลี่ยนแปลง (ΔE) และถ้าสนามไฟฟ้าก�าลังเพิ่มขึ้นในทิศทางนั้น ทิศของสนามแม่เหล็ก B ที่
ทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล เกิดขึน้ จะวนไปในทิศเดียวกับทิศการวนของนิว้ ทัง้ สี ่ ดังภาพที ่ 5.2 (ก) แต่ถา้ สนามไฟฟ้าก�าลังลดลง
อยางไร ในทิศทางนั้น ทิศของสนามแม่เหล็ก B ที่เกิดขึ้น จะวนสวนทิศกับทิศการวนของนิ้วทั้งสี่ ดังภาพ
• คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เฮิรตซคนพบจากการ ที่ 5.2 (ข)
ทดลอง คือ คลื่นแมเหล็กไฟฟารูปแบบใด ΔE E ΔE
E
(E เพิ่มขึ้น) ( E ลดลง)
หรือชนิดใด และการทดลองของเฮิรตซนํา
ไปสูการสรุปวา แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
รูปแบบหนึ่งไดอยางไร
B B
(ก) (ข)
ภ าพที่ 5.2 ทิศของสนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากสนามไฟฟ้าทีก่ า� ลังเปลีย่ นแปลง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
กรณีของสนามแม่เหล็กก็เช่นเดียวกัน เมื่อสนามแม่เหล็กในบริเวณหนึ่งเปลี่ยนแปลง (ΔB)
จะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามไฟฟ้า E โดยสนามไฟฟ้าที่ถูกเหนี่ยวน�าจะมีระนาบตั้งฉากกับทิศของ
สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์จะประกอบด้วยสนามแม่
เหล็กและสนามไฟฟ้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามเวลาในระนาบทีต่ งั้ ฉากกัน โดยการเหนีย่ วน�าอย่างต่อเนือ่ ง
ระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าที่เป็นองค์ประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กล่าวคือ
สนามแม่เหล็กที่ก�าลังเปลี่ยนแปลงตามเวลาจะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามไฟฟ้าใหม่ขึ้นมา และสนาม
ไฟฟ้าที่ก�าลังเปลี่ยนแปลงตามเวลาจะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามแม่เหล็ก ซึ่งการเหนี่ยวน�าลักษณะนี้
จะเกิดสลับกันอย่างต่อเนื่องและเกิดขึ้นได้แม้แต่ในสุญญากาศ
4

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมวา สนามแมเหล็กที่กําลังเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนํา สนามแม เ หล็ ก ที่ ม าพร อ มกั บ การเคลื่ อ นที่ ข องแสงนั้ น จะมี
ใหเกิดสนามไฟฟาขึ้นในระนาบที่ตั้งฉากกับระนาบการเปลี่ยนแปลงของสนาม ทิศทางเปนอยางไร
แมเหล็ก บริเวณรอบๆ สนามแมเหล็ก ไมวาบริเวณนั้นจะเปนบริเวณในตัวนํา 1. มีทิศทางไมแนนอน
ฉนวนหรือที่วาง โดยทิศของสนามไฟฟาที่เกิดขึ้นหาไดจากกฎมือซาย กลาวคือ 2. ขนานกับสนามไฟฟาและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
เมื่อใหนิ้วหัวแมมือซายชี้ตามทิศของสนามแมเหล็กที่กําลังเปลี่ยนแปลง (ΔB) 3. ตั้งฉากกับสนามไฟฟาและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
ทิศของสนามไฟฟา E ที่เกิดขึ้นจะวนไปในทิศเดียวกับทิศการวนของนิ้วทั้งสี่ 4. ตัง้ ฉากกับสนามไฟฟา แตขนานกับทิศทางการเคลือ่ นทีข่ อง
ถาสนามแมเหล็กกําลังเพิ่มขึ้นในทิศทางนั้น แตทิศของสนามไฟฟา E ที่เกิด แสง
ขึ้นจะวนสวนทิศกับทิศการวนของนิ้วทั้งสี่ ถาสนามแมเหล็กกําลังลดลงใน 5. ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง แตขนานกับสนาม
ทิศทางนั้น ไฟฟา
(วิเคราะหคําตอบ สนามแมเหล็ก สนามไฟฟา และทิศทางการ
เคลื่อนที่ของแสง จะตองตั้งฉากกันทั้งหมด ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)

จากภาพที่ 5.3 ถ้าสนามไฟฟ้า E1 ซึง่ อยูใ่ นระนาบแนวดิง่ ก�าลังเพิม่ ขึน้ จากกฎมือขวา สนาม 5. ครู อ ธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจเกี่ ย วกั บ คลื่ น
ไฟฟ้า E1 ที่ก�าลังเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามแม่เหล็ก B1 ในระนาบแนวระดับ มีทิศ แม เ หล็ ก ไฟฟ า ว า คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เกิ ด
วนทวนเข็มนาฬิการอบสนามไฟฟ้า E1 จากการรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา โดยการ
ทํ า ให ส นามไฟฟ า หรื อ สนามแม เ หล็ ก มี ก าร
E1 E2 E3
เปลี่ยนแปลง ซึ่งคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่น
ตามขวางทีป่ ระกอบดวยสนามไฟฟาและสนาม
2 4
1 3 แมเหล็กที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู
B1
E2
B2
E3
B3 บนระนาบตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ

าพที่ 5.3 การแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแสดงได นอกจากนี้ ยังเปนคลื่นที่ไม
ที่มา : คลังภาพ อจท. ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ จึงทําให
เคลื่อนที่ในสุญญากาศได
ที่ต�าแหน่ง 1 สนามแม่เหล็ก B1 มีทิศพุ่งเข้าระนาบหน้ากระดาษ สนามแม่เหล็ก B1 ที่
ก�าลังเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามไฟฟ้า E2 ในระนาบแนวดิ่ง มีทิศวนทวนเข็มนาฬิกา เขาใจ (Understanding)
รอบสนามแม่เหล็ก B1 ที่ต�าแหน่ง 1 6. ครู อ ธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจเกี่ ย วกั บ ทฤษฎี
ที่ต�าแหน่ง 2 สนามไฟฟ้า E2 มีทิศพุ่งขึ้นตามแนวดิ่ง จากกฎมือขวา สนามไฟฟ้า E2 ที่ คลืน่ แมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล โดยสามารถ
ก�าลังเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามแม่เหล็ก B2 ในระนาบแนวระดับ มีทิศวนทวนเข็ม สรุปได ดังนี้
นาฬิการอบสนามไฟฟ้า E2 ที่ต�าแหน่ง 2 • บริเวณรอบๆ ประจุไฟฟาจะมีสนามไฟฟา
ที่ต�าแหน่ง 3 และ 4 สามารถอธิบายได้ในท�านองเดียวกันกับผลที่เกิดขึ้นที่ต�าแหน่ง เกิดขึน้ ขนาดและทิศของสนามไฟฟา ณ จุด
1 และต�าแหน่ง 2 โดยการเหนี่ยวน�าในลักษณะดังกล่าวจะเกิดต่อเนื่องกันไป ส่งผลให้เกิด หนึง่ ๆ คือ ขนาดและทิศของแรงทีก่ ระทําตอ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิด 1 หนวยประจุที่จุดนั้น
• บริเวณรอบๆ ตัวนําที่มีกระแสไฟฟาจะมี
1.2 การทดลองของเฮิรตซ์
สนามแมเหล็กเกิดขึ้นและทิศของสนามแม
หลังจากแมกซ์เวลล์ทา� นายเกีย่ วกับการมีอยูข่ องคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าและตัง้ ทฤษฎีขนึ้ มาเพือ่
เหล็กจะตั้งฉากกับทิศของกระแสไฟฟา ซึ่ง
อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในตอนแรกยังไม่ได้รับการยืนยันว่าค�าท�านายเกี่ยวกับการมีอยู่ของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นจริงหรือไม่ จนเวลาผ่านไปประมาณ 15 ปี เปนผลจากการคนพบของเออรสเตด
คือ ใน พ.ศ. 2430 ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์1 (Heinrich Rudolf Hertz) ได้ท�าการทดลองเพื่อ • การเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็กเหนี่ยว
พิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ โดยใช้ขดลวด 2 ขด พันรอบแกนเหล็กวงแหวน นําใหเกิดกระแสไฟฟาได ซึ่งฟาราเดยเปน
ดังภาพที่ 5.4 ผูคนพบ
1
เนื่องจากราชบัณฑิตยสภาก�าหนดให้สะกดตัวสะกดชื่อและสกุล ตามเสียงในเชื้อชาติดั้งเดิมตามก�าเนิดของนักวิทยาศาสตร์ผู้นั้น กล่าวคือ ชื่อ
Heinrich Rudolf Hertz ก�าหนดให้ใช้ว่า ไฮน์ริช รูดอล์ฟ แฮทซ์ แต่เพื่อให้ง่ายต่อการการท�าความเข้าใจ ในหนังสือเล่มนี้จะใช้ว่า ไฮน์ริช
รูดอล์ฟ เฮิรตซ์
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 5

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ในการเคลื่อนที่แบบคลื่นจะมีการขนสงพลังงานไป
1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเคลื่อนที่ในสุญญากาศได พรอมๆ กับคลืน่ ดวย สงผลใหเกิดการถายโอนพลังงานจากแหลงกําเนิดคลืน่ ไป
2. คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เฮิรตซคนพบ คือ คลื่นวิทยุความยาว ยังตําแหนงหรือบริเวณทีค่ ลืน่ เคลือ่ นผาน คลืน่ แมเหล็กไฟฟาจึงเปนปรากฏการณ
คลื่นสั้น การถายโอนพลังงานแบบคลืน่ จากแหลงกําเนิดเชนเดียวกับคลืน่ กล แตตา งจาก
3. สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กในคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีม่ เี ฟส คลื่นกลตรงที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาไมตองอาศัยตัวกลางเปนสื่อในการถายโอน
เหมือนกัน พลังงาน
4. ในตัวกลางเดียวกัน คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทุกความถีม่ คี วามเร็ว
เทากันหมด
5. การเปลีย่ นแปลงสนามไฟฟาเหนีย่ วนําใหเกิดสนามแมเหล็ก
แตการเปลีย่ นแปลงสนามแมเหล็กไมเหนีย่ วนําใหเกิดสนาม
ไฟฟา
(วิเคราะหคําตอบ การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟาจะเหนี่ยวนําให
เกิดสนามแมเหล็กและการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กจะเหนี่ยว
นําใหเกิดสนามไฟฟาไดเชนเดียวกัน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
7. ครูอธิบายตอวา แมกซเวลลไดนําสมการของ ด้านส่ง ด้านรับ
R
แมกซเวลลมาทํานายคุณสมบัติที่เกี่ยวของกับ S
คลื่นแมเหล็กไฟฟาไว ดังนี้
A B G G′
• คลืน่ แมเหล็กไฟฟาเกิดขึน้ จากการเหนีย่ วนํา - +
อยางตอเนือ่ งระหวางสนามไฟฟาและสนาม
แมเหล็ก ทําใหสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก แบตเตอรี่ ขดลวดเหนีย่ วน�า
เคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิด ภาพที่ 5.4 อุปกรณ์การทดลองของเฮิรตซ์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• คลืน่ แมเหล็กไฟฟาเคลือ่ นทีไ่ ปในสุญญากาศ
ดวยอัตราเร็วเทากับอัตราเร็วแสง จึงกลาว จากภาพที ่ 5.4 อุปกรณ์ดา้ นส่ง จะประกอบด้วยขดลวดเหนีย่ วน�า แบตเตอรี ่ สวิตช์ และโลหะ
ไดวา แสงเปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีม่ คี วามถี่ ทรงกลม 2 ลูก ขดลวดเหนี่ยวน�าประกอบด้วยขดลวด A และขดลวด B พันรอบแกนวงแหวน
ชวงหนึ่ง โลหะ R (จ�านวนรอบของขดลวด B มากกว่าจ�านวนรอบของขดลวด A มาก) โดยปลายทั้งสอง
8. ครูถามคําถามนักเรียนวา การทดลองของ ของขดลวด A ต่อกับขั้วทั้งสองของแบตเตอรี่ และมีสวิตช์ S ต่ออยู่ระหว่างปลายข้างหนึ่งของ
เฮิรตซมีความสําคัญตอทฤษฎีคลื่นแมเหล็ก ขดลวด A กับแบตเตอรี่ ส่วนปลายทั้งสองของขดลวด B ต่อกับโลหะทรงกลม โดยระหว่างโลหะ
ไฟฟาของแมกซเวลลอยางไร และการทดลอง ทรงกลมทั้งสองเป็นช่องอากาศแคบ ๆ (G)
ของเฮิ ร ตซ นํ า ไปสู  ก ารสรุ ป ว า แสงเป น คลื่ น ส่วนอุปกรณ์ดา้ นรับ จะเป็นลวดตัวน�าทีโ่ ค้งเป็นวงกลมโดยเว้นช่องว่างระหว่างปลายทัง้ สองไว้
แมเหล็กไฟฟารูปแบบหนึ่งไดอยางไร แล้วน�าโลหะทรงกลมมาติดไว้ที่ปลายทั้งสอง ระหว่างโลหะทั้งสองจะเป็นช่องอากาศแคบ ๆ (G′)
สวิตช์ S เป็นสวิตช์แบบสัน่ ปิด-เปิด ท�าหน้าทีป่ ดิ -เปิดวงจรไฟฟ้าของขดลวด A กับแบตเตอรี่
ซึ่งส่งผลให้มีกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ไหลผ่านขดลวด A ตามจังหวะการปิด-เปิดของสวิตช์ S
ส่วนขดลวดเหนี่ยวน�าท�าหน้าที่เป็นหม้อแปลงไฟฟ้า (ขดลวด A เป็นขดลวดปฐมภูมิ ขดลวด B
เป็นขดลวดทุติยภูมิ วงแหวนโลหะ R เป็นแกนของหม้อแปลงไฟฟ้า) โดยจะเพิ่มความต่างศักย์
ไฟฟ้าระหว่างโลหะทรงกลมตรงช่องอากาศ G ให้สงู กว่าค่าแรงเคลือ่ นไฟฟ้าของแบตเตอรี ่ ซึง่ มาก
พอที่จะท�าให้โมเลกุลอากาศบริเวณช่องอากาศ G แตกตัวเป็นไอออนและเคลื่อนผ่านช่องอากาศ
ได้ เมื่อปิด-เปิดสวิตช์ S อย่างรวดเร็ว ก็จะท�าให้เกิดประกายไฟฟ้าบริเวณช่องอากาศ G
จากการทดลองเฮิรตซ์พบว่า ทุกครั้งที่สวิตช์ปิดหรือเปิดจะเกิดประกายไฟฟ้าที่ช่องอากาศ
G และจะเกิดประกายไฟบริเวณช่องอากาศ G′ ของลวดวงกลมที่อยู่ห่างออกไปเสมอ โดยไม่ได้
ต่อเป็นวงจรไฟฟ้าเดียวกัน
เฮิรตซ์อธิบายผลที่เกิดขึ้นว่า ขณะสวิตช์ S สับลง (วงจรปิด) กระแสไฟฟ้าในขดลวด A
จะเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วและเหนีย่ วน�าให้เกิดสนามแม่เหล็กในแกนวงแหวน R ซึง่ ตัดผ่านขดลวด B
แต่เมื่อโยกสวิตช์ S ขึ้น (วงจรเปิด) กระแสไฟฟ้าในขดลวด A จะลดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิด

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเสริมเกี่ยวกับคลื่นวิทยุวา ในอดีตเรียกวา คลื่นเฮิรตซ ขอใดทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา
(Hertzian waves) โดยใน พ.ศ. 2441 มารโกนี นักประดิษฐชาวอิตาลีสามารถ 1. ประจุไฟฟาที่อยูนิ่ง
สรางระบบโทรเลขเปนผลสําเร็จ จากนั้นอีก 3 ป มารโกนีสามารถสงคลื่นเฮิรตซ 2. ประจุไฟฟาที่เปนประจุบวก
ขามมหาสมุทรแอตแลนติก จากประเทศอังกฤษไปยังนิวฟนดแลนด ประเทศ 3. ประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ดวยความเรง
แคนาดา ซึ่งเปนความสําเร็จครั้งใหญของการติดตอสื่อสารระยะไกลโดยใช 4. ประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนครั้งแรก มีผลทําใหการสื่อสารเปนไปอยางสะดวก 5. ประจุไฟฟาที่เกิดการเคลื่อนที่ไมวาจะดวยความเร็วคงตัว
และรวดเร็ว ตอมาเมื่อมีการผสมสัญญาณเสียง และสัญญาณภาพเขากับ หรือมีความเรง
คลื่นแมเหล็กไฟฟาได ทําใหเกิดวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน (วิเคราะหคําตอบ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เกิ ด จากประจุ ไ ฟฟ า ที่
เคลื่อนที่ดวยความเรง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)

การเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กเหนี่ยวน�าบริเวณขดลวด B จึงเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามไฟฟ้า 9. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นจํ า นวน 2-3 คน เพื่ อ ตอบ


บริเวณช่องอากาศ G ขณะที่สวิตช์ S ปิด-เปิดเป็นจังหวะอย่างรวดเร็ว สนามไฟฟ้าเหนี่ยวน�า คําถาม
บริเวณช่องอากาศ G จะเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาตามจังหวะการปิด-เปิดสวิตช์ และเหนี่ยวน�า 10. ครู อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การทดลองของเฮิ ร ตซ
ให้เกิดสนามแม่เหล็ก ซึง่ มีคา่ เปลีย่ นแปลงตามสนามไฟฟ้าขึน้ สนามแม่เหล็กทีก่ า� ลังเปลีย่ นแปลง ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน ซึ่งผลการ
จะเหนี่ยวน�าให้เกิดสนามไฟฟ้า เป็นเช่นนี้สลับกันต่อเนื่องกันไป ทดลองของเฮิรตซสามารถสรุปได ดังนี้
การแผ่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากช่องอากาศ G ไปยังช่องอากาศ G′ ของลวด • การทดลองของเฮิ ร ตซ ส นั บ สนุ น ทฤษฎี
วงกลม ที่ช่องอากาศ G′ สนามแม่เหล็กจะมีทิศกลับไปกลับมาในแนวตั้งฉากกับระนาบของลวด คลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและ
วงกลม ขณะที่สนามไฟฟ้าซึ่งท�าให้เกิดประกายไฟบริเวณช่องอากาศ G′ จะมีทิศกลับไปกลับมา แสดงใหเห็นวาคลืน่ แมเหล็กไฟฟามีอยูจ ริง
ในแนวดิ่งเช่นเดียวกับสนามไฟฟ้าที่ช่องอากาศ G จึงกล่าวได้ว่า การเกิดประกายไฟที่ช่องอากาศ โดยคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีเ่ ฮิรตซคน พบจาก
G′ เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางจากช่องอากาศ G ไปถึงช่องอากาศ G′ การทดลองครั้งนี้ คือ คลื่นวิทยุ
ผลการทดลองของเฮิรตซ์จึงสนับสนุนทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ที่ว่า • เฮิ ร ตซ ทํ า การทดลองจนได ผ ลสรุ ป ที่ ว  า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากการเหนี่ยวน�าอย่างต่อเนื่องระหว่างสนามไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็กที่ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า มี อั ต ราเร็ ว เท า กั บ
เปลี่ยนแปลง และยืนยันว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอยู่จริง โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เฮิรตซ์ค้นพบ อัตราเร็วแสง
จากการทดลองครั้งนี้ คือ คลื่นวิทยุ นอกจากนี้ 11. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับ
เฮิรตซ์ยังพบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอัตราเร็ว Con���t Q�e����n ทฤษฎี ค ลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ของแมกซ เ วลล
การทดลองของเฮิ ร ตซ นํ า ไปสู  ก ารสรุ ป ว า
เท่ากับอัตราเร็วแสง และแสงเป็นคลืน่ แม่เหล็ก แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟารูปแบบหนึ่งได และการทดลองของเฮิรตซวา แมกซเวลล
ไฟฟ้า ซึง่ สอดคล้องกับผลจากการค�านวณตาม อยางไร
ไดเสนอทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาวา มีคลื่น
ทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟา
และสนามแมเหล็ก และสามารถเคลื่อนที่
P hysics
Focus ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ ผานสุญญากาศไดโดยไมอาศัยตัวกลางใน
ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน จบการศึกษา การเคลื่ อ นที่ (จึ ง ไม ใ ช ค ลื่ น กล) เรี ย กว า
จากมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน สาขาวิชาฟิสิกส์ เมื่อจบการศึกษาเขาได้เป็น คลื่นแมเหล็กไฟฟา และตอมาเฮิรตซ ได
อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยคีล ก่อนที่จะได้เป็นศาสตราจารย์เมื่ออายุเพียง ทดลองพิสูจนทฤษฎีของแมกซเวลล แลวพบ
28 ป โดยสอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยคาร์ลสรูเออ วาคลื่นแมเหล็กไฟฟามีอยูจริงในธรรมชาติ
เฮิรตซ์ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ต่อยอดการ โดยคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ เ ฮิ ร ตซ ค  น พบใน
ค้นพบของแมกซ์เวลล์จนสามารถพัฒนาสายอากาศส�าหรับส่งสัญญาณ
แม่เหล็กไฟฟ้า และทดสอบคุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้าของวัสดุหลาย
ครั้งนั้น คือ คลื่นวิทยุ
ภ าพที่ 5.5 ไฮน์ริช
ชนิด และในช่วงนี้ที่หน่วยความถี่คลื่น “เฮิรตซ์ (Hertz)” ได้ถือก�าเนิดขึ้น รูดอล์ฟ เฮิรตซ์
ในขณะที่เขาอายุได้เพียง 32 ป ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Concept Question
เฮิรตซทําการทดลองจนไดผลสรุปวา คลื่น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 7
แมเหล็กไฟฟามีอัตราเร็วเทากับอัตราเร็วของแสง
ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ผลจากการคํ า นวณตามทฤษฎี
คลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคนพบคลื่นวิทยุวา การทดลองใหเห็น
1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง การเกิ ด คลื่ น วิ ท ยุ แ ละการหาอั ต ราเร็ ว ของคลื่ น วิ ท ยุ นั บ เป น ความสํ า เร็ จ ที่
2. คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิดมีอัตราเร็วในสุญญากาศเทากัน สําคัญที่สุดในความสําเร็จมากมายของเฮิรตซ หลังการคนพบวาคลื่นวิทยุมี
3. แมกซเวลลเปนผูร วบรวมกฎทีเ่ กีย่ วกับไฟฟาและแมเหล็กมา อัตราเร็วเทากับแสง เฮิรตซไดแสดงใหเห็นวาคลื่นวิทยุมีสมบัติในการสะทอน
สรุปเปนทฤษฎีที่แสดงดวยสมการทางคณิตศาสตร การหักเห และการเลี้ยวเบนเชนเดียวกับแสง ซึ่งนําไปสูขอสรุปวา แสงเปน
4. การทดลองของแมกซเวลลสนับสนุนทฤษฎีคลื่นแมเหล็ก คลื่นแมเหล็กไฟฟาเชนเดียวกับคลื่นวิทยุ เฮิรตซเสียชีวิตจากโรคโลหิตเปนพิษ
ไฟฟาของเฮิรตซและแสดงใหเห็นวาคลื่นแมเหล็กไฟฟามี
แมอายุจะสัน้ แตเฮิรตซไดสรางผลงานทางวิทยาศาสตรไวมากมาย หนวยเฮิรตซ
อยูจริง
หมายถึง การสั่นครบ 1 รอบ หรือรอบตอวินาที ก็ตั้งตามชื่อของเขา
5. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจากการรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา
โดยการทํ า ให ส นามไฟฟ า หรื อ สนามแม เ หล็ ก มี ก าร
เปลี่ยนแปลง
(วิเคราะหคําตอบ การทดลองของเฮิรตซสนับสนุนทฤษฎีคลื่น
แมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและแสดงใหเห็นวาคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟามีอยูจริง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
12. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การแผ ค ลื่ น 1.3 การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
แมเหล็กไฟฟาออกจากสายอากาศตามราย ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ นอกจากท�าให้ทราบ
ละเอียดในหนังสือเรียน ถึงกลไกการเกิดและการแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแล้ว ยังท�าให้ทราบ
13. ครูตงั้ ประเด็นคําถามกระตุน ความคิดนักเรียน ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ซึ่งน�าไปอธิบายการแผ่ของ
โดยใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เห็นเพื่อหาคําตอบ ดังนี้ ในการทดลองของเฮิรตซ์ใช้การเร่งประจุไฟฟ้าด้วยการปิด-เปิดไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่
• คลืน่ แมเหล็กไฟฟาเกิดขึน้ และแผออกจาก การเร่งประจุไฟฟ้านอกจากวิธีการแบบเฮิรตซ์แล้ว อาจเร่งประจุไฟฟ้าด้วยไฟฟ้ากระแสสลับซึ่ง
สายอากาศไดอยางไร เป็นวิธีที่ใช้ในสายอากาศ ท�าได้โดยต่อสายอากาศเข้ากับแหล่งก�าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ส่งผลให้
• สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กของคลื่น ประจุไฟฟ้าในสายอากาศเคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic
แมเหล็กไฟฟาที่แผออกจากสายอากาศมี motion) เนื่องจากการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง
การเปลี่ยนแปลงแบบใด และการเปลี่ยน จึงท�าให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไปจากสายอากาศ โดยกลไกการเกิดและการแผ่ของ
แปลงของสนามทั้งสองสัมพันธกันอยางไร คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศพิจารณาได้จากภาพที่ 5.6 เมื่อสายอากาศเป็นแบบครึ่งคลื่น
• คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสายอากาศจะแผ (half-wave dipole antenna) ที่วางตัวในแนวดิ่ง
ออกไปทุกทิศทางยกเวนทิศทางใด
ท่อนโลหะ

L = λ/2 แหล่งก�าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

ท่อนโลหะ

ภาพที่5.6 สายอากาศแบบครึ่งคลื่น
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เมื่อต่อแหล่งก�าเนิดไฟฟ้ากระแสกลับเข้ากับสายอากาศที่วางตัวในแนวดิ่ง ดังภาพที่ 5.6


ประจุไฟฟ้าในสายอากาศจะเคลือ่ นทีข่ นึ้ ลงกลับไปกลับมาในท่อนโลหะทัง้ สายด้วยความเร่งในแนวดิง่
ประจุไฟฟ้าที่มีความเร่งจะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกไปโดยรอบ จึงท�าให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
กระจายออกมาจากสายอากาศในทุกทิศทุกทาง ยกเว้นในแนวเดียวกับแนวเส้นตรงของสายอากาศ
การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในทิศทางตั้งฉากกับสายอากาศ ดังภาพที่ 5.7
8

ขอสอบเนน การคิด
จากภาพ เปนลวด 2 เสน ซึง่ ตออยูก บั แหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
แลวทําใหเกิดการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกจากเสนลวด การเกิด
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเชนนี้เกิดขึ้นเนื่องมาจากสาเหตุใด
1. การไหลของกระแสไฟฟาระหวางเสนลวด
2. เกิดการเหนี่ยวนําไฟฟาขึ้นภายในเสนลวด
3. การเคลื่อนที่ของประจุดวยความเรงระหวางเสนลวด
4. การเคลื่อนที่ของประจุดวยความเร็วสมํ่าเสมอระหวางเสนลวด
5. การเคลื่อนที่ของประจุดวยความเร็วสูงในทุกสวนของเสนลวด
(วิเคราะหคําตอบ กระแสไฟฟามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา แสดงวาประจุเคลื่อนที่ดวยความเรง
หรือความหนวง ทําใหเกิดการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกจากเสนลวด ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)

t = 0 ที่ เ วลา t = 0 โลหะท่ อ นล่ า งจะได้ รั บ 14. ครู อ ธิ บ ายเพื่ อ เฉลยคํ า ตอบจากคํ า ถามว า
λ ประจุไฟฟ้าบวกมากที่สุด และโลหะท่อน กลไกการเกิดและการแผออกไปจากแหลง
y 4 บนจะได้รับประจุไฟฟ้าลบมากที่สุด ท�าให้ กําเนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ ประจุ
P - E เกิดสนามไฟฟ้าซึ่งมีค่ามากที่สุดที่จุด P ไฟฟาที่เคลื่อนที่ดวยความเรง ในกรณีของ
(สนามไฟฟ้าทีม่ คี า่ มากทีส่ ดุ จะเคลือ่ นทีจ่ าก
x สายอากาศด้วยอัตราเร็ว c ซึ่งมีค่าเท่ากับ คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสายอากาศ เมื่อตอ
+ อัตราเร็วแสง) เมือ่ เวลาผ่านไปสนามไฟฟ้า แหล ง กํ า เนิ ด ไฟฟ า กระแสสลั บ เข า กั บ สาย
E
จะมีค่าลดลง ท�าให้สนามไฟฟ้าใกล้สาย อากาศที่วางตัวในแนวดิ่ง ประจุไฟฟาในสาย
อากาศมีค่าลดลงด้วย อากาศที่เคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนวดิ่ง
t = 4T ที่เวลา t = T4 เมื่อประจุไฟฟ้าเป็นกลาง ณ ดวยความเรงจะแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาออก
y
λ มาโดยรอบ สงผลใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา
E เวลา t = T4 สนามไฟฟ้าจะมีคา่ ลดลงจนเป็น
กระจายออกมาจากสายอากาศในทุกทิศทาง
P x ศูนย์ (T คือ คาบซึ่งเป็นเวลาที่ประจุไฟฟ้า
ในโลหะทั้งสองเคลื่อนที่กลับไปกลับมาครบ ยกเวนทิศทางที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกับ
E 1 รอบ) แนวการเคลือ่ นทีข่ องประจุไฟฟาหรือแนวการ
วางตัวของสายอากาศ
y t = 2T ทีเ่ วลา t = T2 โลหะท่อนล่างจะมีประจุไฟฟ้า
+ E ลบมากที่สุด และโลหะท่อนบนจะมีประจุ
x บวกมากที่สุด สนามไฟฟ้าที่จุด P จะมี
ค่ามากที่สุด และจะเคลื่อนที่ออกจากสาย
P-
E อากาศด้วยอัตราเร็วเดียวกับอัตราเร็วแสง
y t = 3T
E 4
ที่เวลา t = 3T
4 ประจุไฟฟ้าในท่อนโลหะ
P x ทั้งสองเป็นกลาง ท�าให้ไฟฟ้าใกล้กับสาย
อากาศมีค่าเป็นศูนย์ที่จุด P
E

y t = T
P- E ที่เวลา t = T เมื่อเวลาของการเคลื่อนที่
กลับไปกลับมาของประจุไฟฟ้าครบรอบ จะ
x
ได้สนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามกระบวนการ
+ เช่นเดิมเสมอ
E

ภาพที่ 5.7 การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเนื่องจากประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในสายอากาศและสนามไฟฟ้า E


ซึ่งเคลื่อนที่จากสายอากาศด้วยความเร็วแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 9

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ถามีประจุคูหนึ่งเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในตัวนํา ดังภาพ ตาม ครูอาจอธิบายภาพที่ 5.7 เพิ่มเติมวา เมื่อประจุบวกเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงปลาย
ทฤษฎีของแมกซเวลล ประจุคูนี้จะแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา บนของทอนโลหะทอนบนและประจุลบเคลือ่ นทีล่ งไปถึงปลายลางของทอนโลหะ
แตจะมีแนวหนึ่งที่ไมมีคลื่นแผออกมา แนวนั้นคือแนวใด ทอนลาง จากนั้นประจุบวกและประจุลบเคลื่อนที่กลับเขาหากันจนประจุบวก
E 1. A เคลื่อนที่กลับลงมาถึงปลายลางของทอนโลหะทอนบนและประจุลบเคลื่อนที่
2. B กลับมาถึงปลายบนของทอนโลหะทอนลาง เสนแรงไฟฟาจะวนครบรอบเปน
A 3. C วงปด และเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาชุดที่สองแผออกไปจากเสาอากาศ โดยเสน
4. D แรงไฟฟาของคลื่นแมเหล็กไฟฟาชุดที่สองจะวนสวนทิศกับเสนแรงไฟฟาของ
5. E คลื่นแมเหล็กไฟฟาชุดแรก โดยการแผผานอากาศของคลื่นแมเหล็กไฟฟาแตละ
D C B
ชุดเปนผลจากการเหนีย่ วนําอยางตอเนือ่ งระหวางสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก
(วิเคราะหคําตอบ แนว C จะไมมีคลื่นแมเหล็กไฟฟาแผออกมา ในคลื่นแมเหล็กไฟฟาแตละชุด
ในทิศนี้ เพราะทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นจะตองตั้งฉากกับทิศของ
สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กเสมอ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T13
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
15. นั ก เรี ย นทุ ก คนทํ า ใบงาน เรื่ อ ง ทฤษฎี การเคลื่อนที่ของคู่ประจุบวกและลบในลักษณะดังกล่าว ท�าให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่
คลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและการ ออกไปจากสายอากาศ ดังภาพที่ 5.8 (สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นอยู่ในระนาบที่ตั้งฉากกับระนาบ
ทดลองของเฮิรตซ พรอมทั้งสังเกตคําตอบ การเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า) โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะแผ่ออกไปทุกทิศทุกทาง ยกเว้นใน
ของนักเรียน เพื่อประเมินพฤติกรรมนักเรียน แนวเส้นตรงเดียวกับการเคลื่อนที่ของประจุบวกและประจุลบ หรือแนวการวางตัวของสายอากาศ
เปนรายบุคคล พรอมใหคําแนะนําเพิ่มเติม เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กในแนวการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
16. นักเรียนแตละคนทําแบบฝกหัด เรื่อง ทฤษฎี -
คลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและการ
ทดลองของเฮิรตซ จากแบบฝกหัดรายวิชา +
เพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสิกส
ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 5 คลืน่ แมเหล็ก
ไฟฟา เปนการบานสงในชั่วโมงถัดไป ภ
าพที่ 5.8 การกระจายออกจากแหล่งก�าเนิดของคลืน
่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ขัน้ สรุป
ประจุไฟฟ้าที่ก�าลังเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายท�าให้เกิดกระแสไฟฟ้าไม่สม�่าเสมอ
1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับกลไกการ
(ไม่คงตัว) และมีทิศกลับไปกลับมา เช่นเดียวกับไฟฟ้ากระแสสลับ ดังภาพที่ 5.9
เกิดและการแผของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากนัน้
นั ก เรี ย นเขี ย นเป น แผนที่ ค วามคิ ด หรื อ ผั ง กระแสไฟฟ้า
มโนทัศน (Concept Mapping) เรื่อง กลไก
T
การเกิดและการแผของคลื่นแมเหล็กไฟฟา 0 2 เวลา
T 3T
2


าพที่ 5.9 กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ที่มา : คลังภาพ อจท.

กระแสไฟฟ้าทีไ่ หลนีจ้ ะเหนีย่ วน�าให้เกิดสนามแม่เหล็กขึน้ รอบ ๆ บริเวณทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่าน


โดยสนามแม่เหล็กทีเ่ กิดขึน้ จะมีขนาดไม่สม�า่ เสมอและมีทศิ กลับไปกลับมาเช่นเดียวกับกระแสไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กทีก่ า� ลังเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะเหนีย่ วน�าให้เกิดสนามไฟฟ้าทีม่ คี า่ ไม่คงตัว การเปลีย่ นแปลง
ค่าสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะแบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเช่นเดียวกับ
การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าที่เป็นแหล่งก�าเนิด
10

ขอสอบเนน การคิด
ในการติดตั้งเสาตรวจรับสนามแมเหล็กที่มากับคลื่นแมเหล็กไฟฟา ลักษณะของเสาอากาศและการติดตั้งจะมีลักษณะอยางไร
1. ใชแทงโลหะตรง และใหความยาวของโลหะตั้งฉากกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก
2. ใชแทงโลหะตรง และใหความยาวของโลหะขนานกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก
3. ใชโลหะขดเปนวงกลม และใหระนาบของวงกลมตั้งฉากกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก
4. ใชโลหะขดเปนวงกลม และใหระนาบของวงกลมขนานกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก
5. ใชโลหะขดเปนวงกลม และใหระนาบของวงกลมตั้งฉากหรือขนานกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก
(วิเคราะหคําตอบ เพือ่ ตรวจรับสนามแมเหล็กทีม่ ากับคลืน่ แมเหล็กไฟฟาจะใชโลหะขดเปนวงกลม แลววางใหระนาบ
ของวงกลมตั้งฉากกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก เพราะสนามแมเหล็กที่เปลี่ยนแปลงในแนวตั้งฉากกับ B
ขดลวดจึงจะสามารถเหนี่ยวนําใหเกิดกระแสเหนี่ยวนําในขดลวดได
ในขณะที่ถาใชสายอากาศเปนแทงโลหะตรง จะใชสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟา จึงตองจัดให
ความยาวแทงโลหะขนานกับทิศการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟา ซึ่งความยาวของสายอากาศที่เหมาะสมจะทําให
รับสัญญาณไดดี โดยความยาวนั้นจะตองทําใหเกิดเรโซแนนซขึ้นในสายอากาศ เพื่อใหไดกระแสเหนี่ยวนําในสาย
อากาศสูงสุด คือ ความยาวนั้นจะตองเทากับครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่น ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
y E
E ศึกษาผานมาแลววา มีสว นใดทีย่ งั ไมเขาใจ แลว
ใหความรูเ พิม่ เติมในสวนนัน้ โดยทีค่ รูอาจจะใช
z PowerPoint เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟา
B ของแมกซ เ วลล แ ละการทดลองของเฮิ ร ตซ
c B c มาชวยในการอธิบาย
x
3. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นฝ ก ทํ า แบบฝ ก หั ด
ภาพที่ 5.10 ขนาดและทิศทางการเคลือ
่ นทีข่ องคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า Topic Questions เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแมเหล็ก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ไฟฟ า ของแมกซ เ วลล แ ละการทดลองของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงประกอบด้วยสนามแม่เหล็ก (B) และสนามไฟฟ้า (E) ที่เปลี่ยนแปลง เฮิ ร ตซ จากหนั ง สื อ เรี ย นลงในสมุ ด บั น ทึ ก
ตามเวลาในระนาบทีต่ งั้ ฉากกัน โดยการเหนีย่ วน�ากันอย่างต่อเนือ่ งระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนาม ประจําตัว เพื่อนําสงครูทายชั่วโมง
ไฟฟ้าที่เป็นส่วนประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นกลไกในการแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดของ
4. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก เสริ ม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากการเหนี่ยวน�าระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าเกิดขึ้นได้แม้แต่
ประสบการณจาก Unit Questions 5 เรื่อง
ในสุญญากาศ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเคลื่อนผ่านสุญญากาศได้ด้วยอัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วแสง
คือ 3 × 108 เมตรต่อวินาที และการเคลื่อนที่แบบคลื่นจะมีการถ่ายโอนพลังงานไปพร้อม ๆ กับ ทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและ
คลื่นด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นปรากฏการณ์การถ่ายโอนพลังงานด้วยคลื่นจากแหล่งก�าเนิด การทดลองของเฮิรตซ จากหนังสือเรียนลงใน
เช่นเดียวกับคลื่นกล แต่ต่างจากคลื่นกลที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่าย สมุดบันทึกประจําตัว และศึกษาเนื้อหา เรื่อง
โอนพลังงาน และทิศการเคลื่อนที่หรือทิศการถ่ายโอนพลังงานของคลื่นอยู่ในทิศเดียวกับทิศของ โพลาไรเซชันของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งจะ
E × B (ผลคูณแบบเวกเตอร์ของ E และ B) ดังภาพที่ 5.10 เรียนในชั่วโมงตอไปมาลวงหนา
จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ที่
ผ่านมานัน้ สามารถสรุปได้วา่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
Core Concept ขัน้ ประเมิน
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
มีสมบัตเิ หมือนคลืน่ ตามขวาง ได้แก่ การสะท้อน ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ 1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม
การหักเห การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด และการทดลองของเฮิรตซ์ เหล็กไฟฟาของแมกซเวลลและการทดลองของ
เฮิรตซ โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม
Topic
Questions การทําแบบฝกหัด ใบงาน และการสรุปสาระ
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ สําคัญ
1. สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกจากสายอากาศมีการเปลี่ยนแปลง 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
สัมพันธ์กันอย่างไร ศาสตร โดยสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศจะแผ่ออกไปทุกทิศทางยกเว้นทิศทางใด การปฏิบัติกิจกรรม และการนําความรูที่ไดไป
3. การท�าให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในสายอากาศต่างจากวิธีการของเฮิรตซ์อย่างไร ใชประโยชน
และประจุไฟฟ้าในสายอากาศเคลื่อนที่แบบใด
3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 11 สั ง เกตพฤติ ก รรมจากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม
การอภิปราย และการทําแบบฝกหัด

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กของคลื่นแมเหล็กไฟฟาจะมีเฟสตรงกัน
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแมเหล็ก
คือ เปลี่ยนแปลงถึงคาสูงสุดและตํ่าสุดพรอมกัน
ไฟฟาของแมกซเวลลและการทดลองของเฮิรตซ จากการนําเสนอผังมโนทัศน
2. คลื่นแมเหล็กไฟฟากระจายออกมาจากสายอากาศทุกทิศทาง ยกเวน จากที่นักเรียนไดทําการศึกษาคนควา โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล
ทิศทีอ่ ยูใ นแนวเสนตรงเดียวกับสายอากาศ เพราะไมมกี ารเปลีย่ นแปลง จากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการ
ของสนามแมเหล็กในแนวการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟา เรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
3. ในการทดลองของเฮิรตซใชการเรงประจุไฟฟาดวยการปด-เปดไฟฟา
กระแสตรงจากแบตเตอรี่ สวนการทําใหประจุไฟฟาเคลื่อนที่ดวย แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 4

ประเด็นที่ประเมิน
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน

ความเรงในสายอากาศ ทําไดโดยตอสายอากาศเขากับแหลงกําเนิด
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ 4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

ไฟฟากระแสสลับ สงผลใหประจุไฟฟาในสายอากาศเคลื่อนที่กลับไป
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ

กลับมาแบบฮารมอนิกอยางงาย (simple harmonic motion)


4 ความเป็นระเบียบ 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T15
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครู ท บทวนเกี่ ย วกั บ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ว า โพลาไรเซชันของแสงคือ 2. โพลาไรเซซันของ
ประกอบดวยสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กที่ อะไร แตกตางจากการ
กําลังเปลี่ยนแปลงอยูในแนวตั้งฉากกันและตัง้ กระจายแสงอยางไร
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ฉากกับทิศที่คลื่นแผไป แนวการเปลี่ยนแปลง โพลาไรเซชัน (polarization) เป็นสมบัตขิ องคลืน่ ตามขวาง
ทิศทางกลับไปกลับมาของสนามไฟฟาหรือ โดยทั่วไปคลื่นตามขวางมีระนาบของการสั่นตั้งฉากกับแนวการแผ่ของคลื่น ถ้าคลื่นตามขวางใดมี
สนามแมเหล็กกับแนวการแผไปของคลื่นจะ ระนาบการสั่นนี้เพียงระนาบเดียว จะเรียกคลื่นตามขวางนั้นว่า คลื่นโพลาไรส์ (polarized wave)
ประกอบกันเปนระนาบ เรียกวา ระนาบของ 2.1 โพลาไรเซชันของแสง
การโพลาไรส โดยระนาบของการโพลาไรสของ จากทฤษฎีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ท�าให้ทราบว่าแสงเป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึง่ ประกอบ
สนามไฟฟาจะตั้งฉากกับระนาบของการโพลา ด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าในระนาบที่ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น และเนื่องจาก
ไรสของสนามแมเหล็ก สนามทั้งสองตั้งฉากกันตลอดเวลา จึงสามารถพิจารณาเพียงสนามเดียวได้ โดยจะพิจารณาเพียง
2. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ สนามไฟฟ้าเท่านั้น
เรียน โดยใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามและ ถ้าคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าใดทีม่ รี ะนาบการสัน่ ของสนามไฟฟ้าเพียงระนาบเดียว เรียกคลืน่ แม่เหล็ก
แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคําตอบของคําถาม ไฟฟ้านัน้ ว่า คลืน่ โพลาไรส์ อย่างไรก็ตาม แสงในธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ เทียนไข จะมีระนาบของ
เพือ่ เชือ่ มโยงไปสูก ารเรียนรู เรือ่ ง โพลาไรเซชัน การโพลาไรส์หรือทิศของการโพลาไรส์ตา่ งกัน จึงเป็นแสงทีไ่ ม่โพลาไรส์ (unpolarized light) กล่าว
ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ ระนาบการสั่นของสนามไฟฟ้าจะท�ามุมอย่างต่อเนื่องกับแนวการแผ่ของคลื่น ดังภาพที่ 5.11
สนามไฟฟ้าสั่นระนาบเดียว สนามไฟฟ้าสั่นทุกทิศทาง

ทิศของคลื่น ทิศของคลื่น

(ก) แสงโพลาไรส์ (ข) แสงที่ไม่โพลาไรส์


ภาพที่5.11 แสงโพลาไรส์และแสงไม่โพลาไรส์
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2.2 การสร้างแสงโพลาไรส์ โดยใช้แผ่นโพลารอยด์


แสงโพลาไรส์
แนวตอบ Key Question การท�าให้แสงไม่โพลาไรส์เป็นแสงโพลาไรส์ สนามไฟฟ้าสั่น
มีหลายวิธี แต่วิธีท่ีสะดวก คือ การใช้แผ่น ทุกทิศทาง
โพลาไรเซชัน (polarization) เปนปรากฏการณ
โพลารอยด์ (polaroid) เนือ่ งจากแผ่นโพลารอยด์
ที่ ค ลื่ น มี ร ะนาบการสั่ น ในระนาบใดระนาบหนึ่ ง แผ่นโพลารอยด์
ยอมให้แสงที่มีระนาบของการสั่นของสนามใน
เพียงระนาบเดียว โดยโพลาไรเซชันจะเกิดในคลื่น แนวของแผ่นโพลารอยด์เท่านั้นที่ผ่านออกมา แหล่งก�าเนิดแสง
ตามขวาง ส ว นการกระจายแสง (dispersion) ได้ ดังภาพที่ 5.12 ภาพที่5.12 แสงโพลาไรส์โดยใช้แผ่นโพลารอยด์
เปนปรากฏการณที่แสงจะเกิดการหักเห ทําใหแสง 12 ที่มา : คลังภาพ อจท.
สีตา งๆ แยกออกจากกันอยางเปนระเบียบเรียงตาม
ความยาวคลื่นและความถี่

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับโพลาไรเซชันของคลื่นแมเหล็กไฟฟากับ ใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแสงไมโพลาไรส
สายอากาศวา สายอากาศโทรทัศนที่อยูในแนวดิ่ง เมื่อสงคลื่นแมเหล็กไฟฟา ใหเปนแสงโพลาไรสดวยวิธีตางๆ เชน การนําแสงไมโพลาไรสไป
ออกไป สนามไฟฟาจะเปลีย่ นแปลงทิศกลับไปกลับมาในแนวดิง่ เสมอ จึงกลาววา ผานแผนโพลารอยด ทั้งจากหนังสือเรียนและแหลงขอมูลตางๆ
คลื่นแมเหล็กไฟฟานี้เปนคลื่นโพลาไรส (polarized wave) ในแนวดิ่ง สําหรับ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด วารสารตางๆ โดยสรุปขอมูลที่ศึกษา
สายอากาศที่อยูในแนวระดับ เมื่อสงคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกไป สนามไฟฟาจะ ไดลงในกระดาษ A4 แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล
เปลี่ยนแปลงทิศกลับไปกลับมาในแนวระดับ ซึ่งเปนคลื่นโพลาไรสในแนวระดับ
กิจกรรม ทาทาย
ใหนกั เรียนทํากิจกรรมหาตําแหนงบนทองฟาทีม่ แี สงโพลาไรส
มากที่สุด ดวยการนําแผนโพลารอยดไปวิเคราะหแสงจากทองฟา
สีฟา โดยพยายามหาดูวาตําแหนงบนทองฟาตําแหนงใดที่มีแสง
โพลาไรสมากที่สุด จากนั้นบันทึกขอมูลไว แลวลองสรุปวาเปน
ตําแหนงใด จากนั้นอีกประมาณ 3 ชั่วโมง จึงออกไปวิเคราะหเพื่อ
ทดสอบขอสรุปที่สรุปไววาเปนจริงตามนั้นหรือไม

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)

การยอมให้แสงที่มีระนาบการสั่นในทิศทางเดียวผ่านแผ่นโพลารอยด์ได้ ท�าให้เมื่อน�าแผ่น 1. ครู อ ธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจเกี่ ย วกั บ โพลา


โพลารอยด์ 2 แผ่น ที่มีทิศทางเดียวกันมาวางซ้อนกัน แสงจะผ่านแผ่นโพลารอยด์ทั้งสองได้ ไรเซชันของแสงวา จากการเรียนที่ผานมา
และเมื่อเอียงแผ่นโพลารอยด์แผ่นใดแผ่นหนึ่ง โดยยังคงให้แผ่นโพลารอยด์อีกแผ่นอยู่ในทิศเดิม ทําใหทราบวา แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
แสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์ทั้งสองจะค่อย ๆ ลดลง จนเมื่อทิศของแผ่นโพลารอยด์ตั้งฉากกัน ก็จะ รูปแบบหนึ่ง และแสงจากแหลงกําเนิดทั่วไป
ไม่มีแสงผ่านออกมาเลย (ดวงอาทิตย หลอดไฟ) เปนแสงไมโพลาไรส
เนื่องจากสนามไฟฟาของแสงที่แผออกมามี
2.3 การสร้างแสงโพลาไรส์ โดยการสะท้อน ทิศทางตางกันมากมายรอบแนวการแผออกไป
ถ้าแสงตกกระทบบนตัวกลางที่ยอมให้แสงผ่านไปได้ เช่น ผิวแก้ว ผิวน�้า หรือพลาสติก ของแสงจากแหลงกําเนิดแสง แตจากหลักการ
จะเกิดการสะท้อนและการหักเหในเวลาเดียวกัน รังสีตกกระทบ ระนาบของการสะท้อน รังสีสะท้อน รวมเวกเตอรสามารถรวมสนามไฟฟาของแสง
จะพบว่า เมื่อมุมระหว่างแนวการแผ่ของรังสี
ใหเหลือเพียง 2 ทิศทาง ในแนวแกนที่ตั้งฉาก
สะท้อนและหักเหเป็น 90 องศา จะได้ว่า แสง
θp θp กันได เมื่อสนามไฟฟาในแนวแกนหนึ่งหายไป
สะท้อนทั้งหมดเป็นแสงโพลาไรส์ และเรียกมุม แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์
ตกกระทบที่ท�าให้รังสีสะท้อนทั้งหมดเป็นแสง เหลือเพียงแนวแกนเดียว แสงไมโพลาไรสจะ
φ
โพลาไรส์นวี้ า่ มุมโพลาไรส์ (polarizing angle; เปลี่ยนเปนแสงโพลาไรส โดยวิธีการทําให
θp) หรือมุมบรูสเตอร์ (Brewster's angle; θB) รังสีหักเห แสงไมโพลาไรสเปลี่ยนเปนแสงโพลาไรสจะมี
ดังภาพที่ 5.13 ภ าพที่ 5.13 แสงโพลาไรส์จากการสะท้อน
หลายวิธี
มุมโพลาไรส์จะขึน้ อยูก่ บั ดรรชนีหกั เห (n) ที ่มา : คลังภาพ อจท.
เขาใจ (Understanding)
ของพื้นผิวเรียบที่แสงหักเหผ่านเข้าไป ซึ่งพิจารณาได้ ดังนี้ 2. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ตามความ
จากกฎของสเนลล์ n1 sin θ1 = n2 sin θ2
สมัครใจของนักเรียน จากนั้นใหแตละกลุม
จะได้ n1 sin θp = n2 sin φ รวมกันศึกษาคนควาขอมูล วิธีการทําใหแสง
n1 sin θp = n2 sin (90 � - θp) ไมโพลาไรสเปลีย่ นเปนแสงโพลาไรสจะมีหลาย
n1 sin θp = n2 cos θp วิธี จากหนังสือเรียนหรือแหลงการเรียนรูต า งๆ
sin θp = n2 เชน อินเทอรเน็ต
cos θp n1 3. ครูสมุ นักเรียนใหออกมานําเสนอผลการศึกษา
n
และ tan θp = n2 (5.1) หนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 4 กลุม ซึ่ง
1
ถ้าแสงไม่โพลาไรส์เคลื่อนผ่านอากาศไปตกกระทบพื้นผิวเรียบที่มีดรรชนีหักเหเป็น n คือ ครูเปนคนเลือกวาจะใหกลุมใดนําเสนอเรื่อง
และ n1 = 1 และ n2 = n จากสมการที่ 2.1 จะได้ อะไร ตามหัวขอเรื่องดังตอไปนี้
tan θp = n • แสงโพลาไรสจากการสะทอน
-1 • แสงโพลาไรสจากการหักเห
ดังนั้น θp = tan (n) (5.2)
• แสงโพลาไรสจากการดูดกลืน
13
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
• แสงโพลาไรสจากการกระเจิง

ขอสอบเนน การคิด
แสงสีเขียวตกกระทบแทงแกวดวยมุมบรูสเตอร แลวหักเหใน (แนวตอบ เมื่อพิจารณาภาพโจทย จะไดวา
แทงผลึกดวยมุม 33.7 องศากับแนวกลาง ดังภาพ จงหามุมโพลาไรส 180 ํ = θp + 90 ํ + 33.7 ํ
และคาดรรชนีหักเหของแทงผลึกแคลไซต เมื่อกําหนดให ดรรชนี θp = 180 ํ - 90 ํ - 33.7 ํ
หักเหของแสงในสุญญากาศเทากับ 1 θp = 56.3 ํ
คํานวณหาคาดรรชนีหักเหของแทงแกว
n
จากกฎของบรูสเตอร tan θp = n2
1
θp θp n
สุญญากาศ tan 56.3 ํ = 12
แกว n2 = 1.50
33.7 ํ เนื่ อ งจากมุ ม บรู ส เตอร แ ละมุ ม โพลาไรส เ ป น มุ ม เดี ย วกั น จึ ง ได ว  า
มุมโพลาไรสเทากับ 56.3 องศา และคาดรรชนีหักเหของแทงแกวเทากับ
1.50)

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
4. ขณะทีน่ กั เรียนแตละกลุม กําลังนําเสนอ ครูอาจ ตัวอย่างที่ 5.1
เสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิม่ เติมในเรือ่ งนัน้ ๆ แสงไม่โพลาไรส์เดินทางผ่านน�้าไปตกกระทบแผ่นแก้ว ถ้าแสงสะท้อนจากผิวแก้วเป็นแสงโพลาไรส์
เพือ่ ใหนกั เรียนทุกคนไดมคี วามเขาใจทีถ่ กู ตอง มุมตกกระทบผิวแผ่นแก้วมีค่าเท่าใด เมื่อดรรชนีหักเหของน�้าและแก้วมีค่าเป็น 43 และ 32 ตามล�าดับ
มากยิ่งขึ้น
วิธีท�า มุมตกกระทบที่ท�าให้แสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรส์ คือ มุมโพลาไรส์
5. นักเรียนและครูรว มกันอภิปรายสรุปเกีย่ วกับวิธี n
จากสมการ tan θp = n2
การทําใหแสงไมโพลาไรสเปลีย่ นเปนแสงโพลา 1
3
ไรส จะได้ tan θp = 24
6. นักเรียนศึกษาตัวอยางการคํานวณจากโจทย 3
ปญหาในตัวอยางที่ 5.1-5.2 จากหนังสือเรียน θp = tan ( 9 )
-1
8
จากนั้ น จั บ คู  กั บ เพื่ อ นในชั้ น เรี ย นตามความ θp = 48.4 �
สมัครใจของนักเรียน รวมกันทําใบงาน เรื่อง ดังนั้น มุมตกกระทบผิวแผ่นแก้วจึงมีค่าเท่ากับ 48.4 องศา
โพลาไรเซชันของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
7. ครูสมุ นักเรียนจํานวน 2 คู ออกมาเฉลยใบงาน ตัวอย่างที่ 5.2
โดยครูใหนกั เรียนรวมกันพิจารณาวาคําตอบใด แสงไม่โพลาไรส์เดินทางผ่านอากาศไปตกกระทบผิวน�า้ ถ้าแสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรส์ จงหามุมตกกระทบ
ถูกตอง จากนั้นครูเฉลยคําตอบที่ถูกตอง และมุมหักเหของแสงในน�้า เมื่อดรรชนีหักเหของน�้ามีค่าเป็น 43
8. นักเรียนแบงกลุมออกเปนกลุม กลุมละ 5 คน อากาศ
ตามความสมัครใจของนักเรียน จากนั้นให θp θp
แตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม ความสวาง
น�้า
ของแสงเมื่อผานแผนโพลารอยด จากหนังสือ φ

เรียน โดยครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือ
มาจั ด กระบวนการเรี ย นรู  โดยกํ า หนดให ภาพที่ 5.14 ภาพประกอบตัวอย่างที่ 5.2
สมาชิกแตละคนภายในกลุมมีบทบาทหนาที่ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ของตนเอง ดังนี้ วิธีท�า มุมตกกระทบที่ท�าให้แสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรส์ คือ มุมโพลาไรส์
• สมาชิ ก คนที่ 1-2 ทํ า หน า ที่ เ ตรี ย มวั ส ดุ จากสมการ tan θp = n
อุปกรณใชในการทํากิจกรรม จะได้ tan θp = 43
θp = tan ( 4 )
-1
• สมาชิกคนที่ 3-4 ทําหนาที่อานวิธีการทํา จึงได้ 3
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน θp = 53 �
เมื่อแสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรส์ระนาบ θp + φ = 90 �
กลุมฟง
มุมหักเหของแสงในน�้า จึงมีค่าเป็น φ = 90 � - 53 � = 37 �
• สมาชิกคนที่ 5 ทําหนาที่บันทึกผลการทํา ดังนั้น มุมตกกระทบของแสงในน�้าเท่ากับ 53 องศา และมุมหักเหของแสงในน�้าเท่ากับ 37 องศา
กิจกรรม 14
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบประเมินการปฏิบัติการ)

ขอสอบเนน การคิด
แสงในอากาศตกกระทบผิวนํ้าเชื่อมที่มุมบรูสเตอร โดยสวนของ (แนวตอบ พิจารณาที่ผิวอากาศกับนํ้าเชื่อม จะไดวา
n
ลําแสงที่หักเหเขาไปในนํ้าเชื่อมตกกระทบกับแทงแกวที่มีดรรชนีหักเห จากกฎของบรูสเตอร tan θp = n2 tan θp = 1.43
1
1
เทากับ 1.57 ดังภาพ ถาแสงที่สะทอนจากผิวบนของแทงแกวเปนแสงโพ nนํ้าเชื่อม θp = tan-1 (1.43)
ลาไรสอยางสมบูรณ จงหามุมบรูสเตอรและมุมระหวางลําแสงหักเหและ tan θp = n
อากาศ θp = 55.0 ํ
ผิวบนของแทงแกว กําหนดให ดรรชนีหักเหของนํ้าเชื่อมเทากับ 1.43 พิจารณาที่ผิวนํ้าเชื่อมกับแทงแกว จะไดวา
n
จากกฎของบรูสเตอร tan θp = n2 tan θ2 = 1.57
1.43
1
nแกว -1 1.57
θp θp tan θp = n θ 2 = tan ( 1.43 )
อากาศ นํ้าเชื่อม θ2 = 47.7 ํ
นํ้าเชื่อม พิจารณาภาพโจทย จะไดวา θ = 90 ํ - θ2
θ θ2 = 90 ํ - 47.7 ํ
θ = 42.3 ํ

แทงแกว
มุมบรูสเตอรเทากับ 55.0 องศา และมุมระหวางลําแสงหักเหและผิวบนของ
แทงแกวเทากับ 42.3 องศา)

T18
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การวัด 9. นักเรียนแตละกลุม รวมกันแลกเปลีย่ นความรู
ความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ • การทดลอง และวิเคราะหผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม แลวรวม
• การจัดกระท�าและสื่อความหมาย
ข้อมูล กันอภิปรายผล
วัสดุอปุ กรณ์ จิตวิทยาศาสตร์
• ความซื่อสัตย์
10. นักเรียนแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอ
1. กล่องแสง
• ความมุ่งมั่นอดทน ผลการทํากิจกรรม ในระหวางที่นักเรียนนํา
2. หม้อแปลงไฟโวลต์ต�่า เสนอครูคอยใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให
3. แผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่น นักเรียนมีความเขาใจทีถ่ กู ตอง จากนัน้ รวมกัน
ตอบคําถามทายกิจกรรม โดยใหนักเรียน
วิธปี ฏิบตั ิ แต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ หาคํ า ตอบ
1. ต ่อชุดกล่องแสงโดยปรับค่าความต่างศักย์ที่กล่องแสงประมาณ 8-10 โวลต์ พรอมทั้งสรุปผลจากการทํากิจกรรม
2. สงั เกตหลอดไฟผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่น และหมุนแผ่นโพลารอยด์ไปรอบ ๆ จนครบหนึ่งรอบ ดังภาพ
ที ่ 5.15 (ก) สังเกตความสว่างของแสงทีผ่ า่ นแผ่น
โพลารอยด์ แล้วบันทึกผล
3. น�าแผ่นโพลารอยด์อีกแผ่นมาประกบแผ่นแรก
แล้วหมุนแผ่นโพลารอยด์แผ่นที่ 2 ไปรอบ ๆ จน
ครบ 1 รอบ ดังภาพที่ 5.15 (ข) สังเกตแสงที่
(ก) (ข)
ผ่านออกมาขณะที่แผ่นโพลารอยด์ทั้งสองท�ามุม
ภาพที่ 5.15 การจัดอุปกรณ์กิจกรรมความสว่าง
ต่างกัน แล้วบันทึกผล
ของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์
ที่มา : คลังภาพ อจท.

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม
1. แสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่น ขณะที่หมุนแผ่นโพลารอยด์ไปรอบ ๆ ความสว่างของแสงที่มองเห็น
แตกต่างกันหรือไม่
2. ความสว่างของแสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่น แตกต่างกับความสว่างของแสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์
2 แผ่นหรือไม่ อย่างไร แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
3. เมื่อหมุนแผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่น ที่ประกบกัน มุมต่าง ๆ มีผลต่อความสว่างของแสงหรือไม่ อย่างไร
1. แสงผานแผนโพลารอยดจะสวางนอยกวาแสงที่
อภิปรายผลทายกิจกรรม
มองดวยตาเปลา และมีความสวางคงตัว
2. แสงผานแผนโพลารอยด 2 แผน จะมีความสวาง
แสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่น จะสว่างน้อยกว่าการมองด้วยตาเปล่า แต่จะมีค่าความสว่างคงตัวแม้
จะหมุนแผ่นโพลารอยด์ไปรอบ ๆ ครบ 1 รอบ ส่วนแสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่น จะมีความสว่างไม่คงตัว
ไมคงตัว
เมื่อหมุนแผ่นโพลารอยด์ไปรอบ ๆ และแสงจะมีความสว่างน้อยที่สุดเมื่อแกนโพลาไรส์ของแผ่นโพลารอยด์ 3. มีผล เมื่อมุมที่แผนโพลารอยดทั้ง 2 แผน ทํามุม
แต่ละแผ่นตั้งฉากกัน ตางๆ กัน ความสวางของแสงที่สังเกตเห็นก็จะ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15
มีลักษณะเปลี่ยนไป โดยจะมีลักษณะสวางมาก
มัวลง มืด สวางขึ้น สวางมาก สลับเปลี่ยนไป
ตามมุมที่เปลี่ยนไป

บันทึก กิจกรรม หองปฏิบัติการ


• แสงของหลอดไฟทีผ่ า นแผนโพลารอยด 1 แผน จะมีความสวางนอยกวา  à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
แสงทีม่ องดวยตาเปลา และเมือ่ หมุนแผนโพลารอยดไปรอบๆ จนครบ 1
• การใชแผนโพลารอยด ควรจับที่กรอบกระดาษแข็ง เพื่อปองกันไมให
รอบ ความสวางของแสงทีส่ งั เกตไดจะมีความสวางคงตัวไมเปลีย่ นแปลง
โพลารอยดเสื่อมคุณภาพ
• แสงของหลอดไฟที่ผานออกมาเมื่อหมุนแผนโพลารอยด ดังภาพที่
5.15 (ข) จะมีความสวางเปลี่ยนไปตามมุมที่หมุน โดยแสงที่สังเกตได • นักเรียนควรมองแสงจากหลอดไฟกอนดวยตาเปลา แลวจึงมองแสงจาก
จะสวางมาก มัวลง มืด สวางขึ้น สวางมาก สลับเปลี่ยนไปตามมุมที่ หลอดไฟผานแผนโพลารอยด เพื่อเปรียบเทียบความสวาง
เปลี่ยนไป • นักเรียนควรมีความรู เรื่อง ทิศทางของการโพลาไรสของแสง เพื่อชวย
อธิบายในการทํากิจกรรม

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. นักเรียนและครูรว มกันอภิปรายสรุปเกีย่ วกับวิธี
การทําใหแสงไมโพลาไรสเปลีย่ นเปนแสงโพลา 2.4 การสร้างแสงโพลาไรส์ โดยการหักเห
ไรส ซึ่งไดขอสรุปรวมกัน ดังนี้ การหักเหของแสงในแท่งแก้วหรือน�้าจะเป็นไปตามกฎของสเนลล์ แต่รังสีหักเหของรังสี
• เมือ่ แสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ ทํามุม ตกกระทบหนึ่งที่ตกกระทบและหักเหผ่านเข้าไปในแคลไซต์หรือควอตซ์จะแยกออกเป็น 2 รังสี
ตกกระทบคาหนึง่ ทีท่ าํ ใหรงั สีสะทอนตัง้ ฉาก ส่งผลให้เห็นภาพของวัตถุในแคลไซต์แยกออกเป็น 2 ภาพ ซึง่ การหักเหในผลึกแคลไซต์หรือควอตซ์
กับรังสีหักเห แสงสะทอนจะเปนแสงโพลา ดังกล่าว เรียกว่า การหักเหสองแนว (double refraction หรือ birefringence) โดยรังสีหักเหจาก
ไรสที่มีสนามไฟฟาตั้งฉากกับระนาบของ การหักเหสองแนวทั้ง 2 รังสี ต่างเป็นแสงโพลาไรส์ที่มีระนาบของการโพลาไรส์หรือทิศของการ
การสะทอน โพลาไรส์ตั้งฉากกันและกัน รังสีหักเหทั้งสองจะแสดงแทนด้วยจุดและลูกศร รังสีที่แทนด้วยจุด
• เมื่อแสงไมโพลาไรสตกกระทบและหักเห เรียกว่า รังสีธรรมดา (ordinary ray) และรังสีที่แทนด้วยลูกศร เรียกว่า รังสีพิเศษ (extraordinary
ผานเขาไปในแคลไซตหรือควอตซ รังสีหกั เห ray) โดยรังสีธรรมดาจะมีอตั ราเร็วเท่ากันในทุกทิศทาง ขณะทีร่ งั สีพเิ ศษมีอตั ราเร็วต่างกันในทิศทาง
จะแยกออกเปน 2 รังสี โดยรังสีหักเหทั้ง 2 ที่ต่างกัน ขณะอยู่ภายในแคลไซต์แนวรังสีทั้งสองจะไม่ขนานกัน แต่เมื่อผ่านพ้นแคลไซต์ออกมา
รังสีเปนแสงโพลาไรส แนวรังสีทั้งสองจะขนานกัน และระนาบของการโพลาไรส์หรือทิศของการโพลาไรส์ของรังสีทั้งสอง
• เมื่อแสงไมโพลาไรสผานแผนโพลารอยดจะ ยังคงตั้งฉากกัน ดังภาพที่ 5.16
เปลี่ยนเปนแสงโพลาไรส เนื่องจากแสงที่ วัสดุที่ท�าให้เกิดการหักเหสองแนว
แสงไม่โพลาไรส์
สนามไฟฟามีทิศการเปลี่ยนแปลงขนานกับ
แกนสงผานของแผนโพลารอยดเทานั้นที่ รังสีพิเศษ
ผานไปได สวนแสงที่สนามไฟฟามีทิศการ รังสีธรรมดา
เปลี่ยนแปลงตั้งฉากกับแกนสงผานจะถูก
แผนโพลารอยดดูดกลืนไว ภาพที่ 5.16 แสงโพลาไรส์โดยการหักเหสองแนว
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• เมื่ อ แสงอาทิ ต ย ซึ่ ง เป น แสงไม โ พลาไรส
ตกกระทบโมเลกุ ล อากาศ สนามไฟฟ า 2.5 การสร้างแสงโพลาไรส์ โดยการกระเจิง
ของแสงจะทํ า ให อิ เ ล็ ก ตรอนในโมเลกุ ล แสงอาทิตย์ที่เดินทางผ่านบรรยากาศโลกจะตกกระทบอนุภาคต่าง ๆ ในบรรยากาศโลก เช่น
ของอากาศสั่ น ในแนวเดี ย วกั บ แนวการ โมเลกุลของอากาศและอนุภาคอื่น ๆ อนุภาคเหล่านี้จะดูดกลืนแสงอาทิตย์ไว้ ส่งผลให้อิเล็กตรอน
เปลีย่ นแปลงของสนามไฟฟา ซึง่ มี 2 แนวหลัก ในโมเลกุลของอากาศเคลื่อนที่กลับไปกลับมาด้วยความเร่ง อิเล็กตรอนในโมเลกุลของอากาศจึง
คือ แนวระดับกับแนวดิ่ง และปลดปลอย ปลดปล่อยแสงที่โมเลกุลอากาศดูดกลืนไว้ออกมาในทุกทิศทาง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ เรียกว่า
แสงออกมา เมื่อมองขึ้นไปในแนวดิ่งจึงเห็น การกระเจิง (scattering)
แสงโพลาไรสในแนวระดับ และเมื่อมองไป แสงอาทิ ต ย์ ที่ เ ดิ น ทางผ่ า นบรรยากาศโลกเกิ ด การกระเจิ ง โดยโมเลกุ ล ของอากาศใน
ที่ขอบฟา (แนวระดับ) จะเห็นแสงโพลาไรส บรรยากาศโลก ซึ่งระนาบของการโพลาไรส์ของแสงที่กระเจิงโดยโมเลกุลอากาศสัมพันธ์กับทิศ
ในแนวดิ่ง การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของอิเล็กตรอนในโมเลกุลอากาศ

16 โพลาไรเซชันของแสง

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมจากภาพที่ 5.17 เกีย่ วกับการกระเจิงแสงไมโพลาไรส นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน แลวรวมกันทํากิจกรรม
โดยโมเลกุลอากาศวา เมือ่ มองขึน้ ไปในแนวดิง่ (ตามแนวแกน Z ในภาพ) จะเห็น เรื่อง แสงโพลาไรสจากการกระเจิงแสงอาทิตยของโมเลกุลอากาศ
เฉพาะแสงที่สนามไฟฟามีทิศของการโพลาไรสในแนวระดับเทานั้น แสงที่เห็น ในบรรยากาศโลก โดยใชแผนโพลารอยด 1 แผน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
จึงเปนแสงโพลาไรสในแนวระดับ แตเมื่อมองไปในแนวระดับในทิศตั้งฉากกับ 1. ออกไปยืนในที่โลงในตอนเชาขณะที่แดดยังไมจัด
แนวที่แสงอาทิตยตกกระทบโมเลกุลของอากาศ (แนวแกน X ในภาพ) จะเห็น 2. ยืนหันหนาไปทางทิศตะวันออก แลวมองทองฟาผานแผน
เฉพาะแสงที่สนามไฟฟามีทิศของการโพลาไรสในแนวดิ่งเทานั้น แสงที่เห็นจึง โพลารอยดขึ้นไปในแนวดิ่ง จากนั้นหมุนแผนโพลารอยดรอบแกน
เปนแสงโพลาไรสในแนวดิ่ง และเมื่อมองไปในแนวระดับในทิศเดียวกับแนวที่ แนวดิ่ง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของความเขมของแสง แลวบันทึก
แสงอาทิตยตกกระทบ (แนวแกน Y ในภาพ) จะเห็นทัง้ แสงทีส่ นามไฟฟามีทศิ ของ ผล
การโพลาไรสในแนวระดับและแนวดิ่ง แสงที่เห็นจึงเปนแสงไมโพลาไรส 3. ยืนหันหนาไปทางทิศเหนือ ทิศตะวันตก ทิศใต ทิศตะวันออก
เฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต ตามลําดับ แลวมองทองฟา
ผานแผนโพลารอยด จากนั้นหมุนแผนโพลารอยดรอบแกนแนว
ระดับ สังเกตการเปลีย่ นแปลงของความเขมของแสง แลวบันทึกผล
4. สรุปผลการทํากิจกรรมรวมกัน แลวสงตัวแทนออกมานํา
เสนอหนาชั้นเรียน
T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
2. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เรือ่ ง โพลาไรเซชัน
Z ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยเขียนเปนแผนที่
แสงโพลาไรส์ในแนวระดับ ความคิดหรือผังมโนทัศน (Concept Map-
ping)
X 3. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง
แสงไม่โพลาไรส์ โพลาไรเซชันของคลื่นแมเหล็กไฟฟา และให
แสงโพลาไรส์ในแนวดิ่ง
90 �
90 � ความรูเพิ่มเติมจากคําถามของนักเรียน โดย
แสงโพลาไรส์ในแนวดิ่ง แสงไม่โพลาไรส์ ครูใช PowerPoint เรื่อง โพลาไรเซชันของ
คลื่นแมเหล็กไฟฟา ในการอธิบายเพิ่มเติม
ทิศการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของอิเล็กตรอน Y 4. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นฝ ก ทํ า แบบฝ ก หั ด
ภาพที่ 5.17 การกระเจิงของแสงไม่โพลาไรส์โดยโมเลกุลของอากาศ Topic Questions เรื่อง โพลาไรเซชันของ
ที่มา : คลังภาพ อจท. คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากหนังสือเรียนลงในสมุด
จากภาพที่ 5.17 แสงอาทิตย์ซึ่งเป็นแสงไม่โพลาไรส์เดินทางในแนวแกน Y เมื่อตกกระทบ บันทึกประจําตัว เพื่อนําสงครูทายชั่วโมง
โมเลกุลของอากาศ สนามไฟฟ้าของแสงไม่โพลาไรส์ซ่ึงมีทิศของการโพลาไรส์ต่าง ๆ รอบแนว 5. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก เสริ ม
แกน Y จะท�าให้อเิ ล็กตรอนในโมเลกุลของอากาศเคลือ่ นทีก่ ลับไปกลับมาทุกทิศทางในระนาบ XZ ประสบการณจาก Unit Questions 5 เรื่อง
โดยสนามไฟฟ้าของแสงที่มีทิศของการโพลาไรส์ในแนวระดับท�าให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่กลับไป โพลาไรเซชั น ของคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า จาก
กลับมาในแนวระดับ และสนามไฟฟ้าของแสงที่มีทิศของการโพลาไรส์ในแนวดิ่งท�าให้อิเล็กตรอน หนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว และ
เคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนวดิ่ง อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนวระดับจะให้แสง ศึกษาเนือ้ หา เรือ่ ง สเปกตรัมคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
โพลาไรส์อยู่ในแนวระดับ และอิเล็กตรอนที่ ซึ่งจะเรียนในชั่วโมงตอไปมาลวงหนา
เคลื่ อ นที่ ก ลั บ ไปกลั บ มาในแนวดิ่ ง จะให้ แ สง Core Concept
โพลาไรส์อยู่ในแนวดิ่ง ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ขัน้ ประเมิน
1. ประเมินความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง โพลาไรเซชันของ
Topic คลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยสังเกตพฤติกรรมการ
Questions ตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด ใบงาน และ
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ การสรุปสาระสําคัญ
1. แสงไม่โพลาไรส์ต่างจากแสงโพลาไรส์อย่างไร 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
2. แสงไม่โพลาไรส์ทา� มุม 58 องศากับแผ่นแก้วในแนวระดับ พบว่า แสงทีส่ ะท้อนออกมาเป็นแสงโพลาไรส์
จงหาดรรชนีหักเหของแก้ว และมุมที่แสงหักเหในแก้ว
ศาสตร โดยสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
3. แผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่น มีทิศของโพลาไรส์ ท�ามุมกัน 90 องศา ถูกกั้นกลางด้วยสารละลายน�้าตาล การปฏิบัติกิจกรรม ความสวางของแสงเมื่อ
เมื่อน�าแสงที่ไม่โพลาไรส์ผ่านระบบนี้ แสงจะเป็นอย่างไร ผานแผนโพลารอยด และการนําความรูที่ได
ไปใชประโยชน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 17 3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
สั ง เกตพฤติ ก รรมจากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม
การอภิปราย และการทําแบบฝกหัด

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. แสงไมโพลาไรส คือ แสงที่มีระนาบสนามไฟฟาหลายทิศทาง เชน
ครูสามารถวัดและประเมินทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร จากการ
แสงที่ไดจากแหลงกําเนิดแสงทั่วไป (หลอดไฟ แสงจากดวงอาทิตย)
ปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง ความสวางของแสงเมื่อผานแผนโพลารอยด โดยศึกษา
สวนแสงโพลาไรส คือ แสงทีม่ รี ะนาบสนามไฟฟาเพียงระนาบเดียว เชน
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติการที่แนบมาทาย
แสงเลเซอร แสงที่ผานแผนโพลารอยด
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. คาดรรชนีหักเหของแกวเทากับ 1.6 และมุมที่แสงหักเหในแกวเทากับ
32 องศา แบบประเมินการปฏิบัติการ เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ

3. แสงสามารถผานแผนโพลารอยดทั้ง 2 แผนได เนื่องจากสารละลาย คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน

1. การปฏิบัติการ
4
ทาการทดลองตาม
3
ทาการทดลองตาม
ระดับคะแนน
2
ต้องให้ความช่วยเหลือ
1
ต้องให้ความช่วยเหลือ

นํา้ ตาลทําหนาทีเ่ ปนสารออปติคลั ลิแอกทิฟ ซึง่ จะหมุนระนาบโพลาไรส


ระดับคะแนน ทดลอง ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้างในการทาการ อย่างมากในการทาการ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้
1 การปฏิบัติการทดลอง ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ

ของแสงที่ตกกระทบ ทําใหแสงผานแผนโพลารอยดแผนที่สองได 3 การนาเสนอ


รวม
2. ความ
คล่องแคล่ว
ในขณะ
มีความคล่องแคล่ว
ในขณะทาการทดลอง
โดยไม่ต้องได้รับคา
มีความคล่องแคล่ว
ในขณะทาการทดลอง
แต่ต้องได้รับคาแนะนา
ขาดความคล่องแคล่ว
ในขณะทาการทดลอง
จึงทาการทดลองเสร็จ
ทาการทดลองเสร็จไม่
ทันเวลา และทา
อุปกรณ์เสียหาย
ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา
ชี้แนะ และทาการ
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน เสร็จทันเวลา
............../................../................ ทดลองเสร็จทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุป และนาเสนอผล
เป็นขั้นตอนชัดเจน ทดลองยังไม่เป็น การทดลอง
ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T21
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครู ท บทวนความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ มนุษยใชประโยชนจาก 3. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การเกิดและการแผของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา เพือ่ คลืน
่ แมเหล็กไฟฟา
นํามาเชือ่ มโยงในการอธิบายเกีย่ วกับสเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง โดย
อยางไรบาง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกย่านความถี่หรือความยาวคลื่น รวมกัน
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากนัน้ ครูแจงจุดประสงค
เรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic spectrum) ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน
การเรียนรูใหนักเรียนทราบ
แต่ละช่วงความถี่นั้นจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามแหล่งก�าเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น
2. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ สเปกตรั ม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีหลายรูปแบบและมีชื่อเรียกต่างกัน
คลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยครูนําภาพตัวอยาง
ได้แก่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็น รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์
หรืออุปกรณจริง เชน รีโมตคอนโทรล โทรศัพท รังสีแกมมา ซึ่งเรียงล�าดับจากความถี่ต�่าไปยังความถี่สูงหรือเรียงล�าดับจากความยาวคลื่นยาวไป
มือถือ การวัดอุณหภูมิแบบไมสัมผัส มาให ยังความยาวคลื่นสั้น แต่ไม่มีเส้นแบ่งที่ชัดเจนระหว่างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างชนิดที่อยู่ถัดกันใน
นักเรียนพิจารณาวา ใชประโยชนจากคลื่น สเปกตรัมคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า กล่าวคือ มีการเหลือ่ มซ้อนกันของช่วงความถีข่ องคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
แมเหล็กไฟฟาชนิดใด จากนั้นครูถามคําถาม ที่มีชื่อเรียกต่างกันดังข้อมูลช่วงถี่ โดยประมาณของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแสดงดังภาพที่ 5.18
Key Question จากหนั ง สื อ เรี ย น เพื่ อ ให
นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น สเปกตรัมของแสง
อยางอิสระ โดยไมมีการเฉลยวาถูกหรือผิด คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด รังสีอัลตรา รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา
ไวโอเลต
ความยาวคลื่น (m)
103 102 10 1 10-1 10-2 10-3 10-4 10-5 10-6 10-7 10-8 10-9 10-10 10-11 10-12

AM radio FM radio

แนวตอบ Key Question 106 107 108 109 1010 1011 1012 1013 1014 1015 1016 1017 1018 1019 1020 1021

คลืน่ แมเหล็กไฟฟาเกีย่ วของและมีความสําคัญ ความถี่ (Hz)


ตอการดํารงชีวิตของมนุษยมาตั้งแตสมัยโบราณ ภาพที่ 5.18 สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จนถึงปจจุบัน เชน แสงสวางที่ชวยใหมองเห็นวัตถุ
ตาง ๆ คลืน่ วิทยุ ไมโครเวฟ และแสงเลเซอรทใี่ ชใน
การสื่อสารโทรคมนาคม เรดารที่ใชในการตรวจจับ 18
คลื่นแมเหล็กไฟฟา
วัตถุและควบคุมการบิน รังสีเอกซและแสงเลเซอรใช www.aksorn.com/interactive3D/RNC24

ในวงการแพทยและอุตสาหกรรม

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมวา แมวาคลื่นแมเหล็กไฟฟาจะมีแหลงกําเนิดและ เพราะเหตุใดคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่แบงออกเปนแถบตางๆ จึง
วิธีตรวจวัดตางกัน แตคลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกรูปแบบจะมีสมบัติเหมือนกัน 2 มีชื่อเรียกตางกันทั้งที่มีความถี่อยูในชวงเดียวกัน
ประการ คือ เคลื่อนผานสุญญากาศ (หรืออากาศโดยประมาณ) ดวยอัตราเร็ว 1. มีสมบัติตางกัน
เดียวกัน คือ 3◊ × 108 เมตรตอวินาที (หรือ 300,000 กิโลเมตรตอวินาที) และมี 2. มีความเร็วตางกัน
การสงพลังงานไปพรอมกับคลื่น 3. การใชงานตางกัน
4. แหลงกําเนิดตางกัน
5. มีความยาวคลื่นตางกัน
สื่อ Digital (วิเคราะหคําตอบ เชน รังสีเอกซมีความถี่ 1016-1022 เฮิรตซ
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากสแกน QR Code เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึง่ มีความถีบ่ างสวนเทากับความถีข่ องรังสีแกมมาทีม่ คี วามถีต่ งั้ แต
1018 เฮิรตซขึ้นไป แตรังสีแกมมาเกิดจากการปลดปลอยพลังงาน
ของธาตุกมั มันตรังสี สวนรังสีเอกซเกิดจากอิเล็กตรอนถูกทําใหลด
ความเร็วลง แลวปลดปลอยพลังงานออกมา ซึง่ มาจากแหลงกําเนิด
คลื่นแมเหล็กไฟฟา ตางกัน ดังนั้น ตอบขอ 4.)
www.aksorn.com/interactive3D/RKC24
T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

3.1 คลื่นวิทยุ 1. นักเรียนแบงกลุม ออกเปน 7 กลุม กลุม ละเทาๆ


คลื่นวิทยุ (radio wave) มีความถี่ในช่วง 104-109 เฮิรตซ์ คลื่นวิทยุผลิตโดยวงจรออสซิล กั น ตามความสมั ค รใจ จากนั้ น ให นั ก เรี ย น
เลเตอร์ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์และตรวจวัดได้จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ประโยชน์ในระบบ แตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลากเรื่องที่
สือ่ สารวิทยุและโทรทัศน์ โดยทัว่ ไปใช้ในการส่งข่าวสารและสาระบันเทิงจากสถานีสง่ ไปยังผูร้ บั โดย ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลขไวหนา
การแปลงสัญญาณข่าวสารให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าก่อนแล้วน�าไปผสม (modulate) กับคลื่นวิทยุ ชั้นเรียน ซึ่งหมายเลขจะระบุเรื่องทีใ่ หนกั เรียน
ซึ่งเรียกว่า คลื่นพาหะ (carrier wave) โดยคลื่นผสมของสัญญาณไฟฟ้าของข่าวสารกับคลื่นพาหะ ศึกษา ดังนี้
จะส่งออกจากสายอากาศของสถานีสง่ ไปยังเครือ่ งรับ ซึง่ เครือ่ งรับจะแยกสัญญาณข่าวออกจากคลืน่ • หมายเลข 1 ศึกษาคลื่นวิทยุ
พาหะ แล้วขยายสัญญาณข่าวสารนัน้ ก่อนจะแปลงกลับเป็นเสียงผ่านล�าโพงหรือภาพและเสียงผ่าน • หมายเลข 2 ศึกษาคลื่นไมโครเวฟ
หน้าจอและล�าโพงทีส่ ถานีสง่ นัน้ ส่งมา เนือ่ งจากคลืน่ วิทยุมอี ตั ราเร็ว 3 × 108 เมตรต่อวินาที ท�าให้ • หมายเลข 3 ศึกษารังสีอินฟราเรด
เครือ่ งรับตามสถานทีต่ า่ ง ๆ บนโลก แม้จะอยูใ่ กล้หรือไกลจากสถานีสง่ ก็สามารถรับชมรายการออก • หมายเลข 4 ศึกษาแสงที่มองเห็นได
อากาศรายการเดียวกันพร้อมกันได้ การผสมสัญญาณข่าวสารกับคลืน่ วิทยุทเี่ ป็นคลืน่ พาหะซึง่ นิยม • หมายเลข 5 ศึกษารังสีอัลตราไวโอเลต
ใช้กันในปัจจุบันมี 2 ระบบ คือ ระบบเอเอ็ม (Amplitude Modulation; AM) และระบบเอฟเอ็ม • หมายเลข 6 ศึกษารังสีเอกซ
(Frequency Modulation; FM) • หมายเลข 7 ศึกษารังสีแกมมา
2. นักเรียนแตละกลุม รวมกันศึกษาคนควาขอมูล
ระบบเอเอ็ม เรือ่ งทีก่ ลุม ตนเองจับสลากไดจากหนังสือเรียน
เป็นการผสมสัญญาณไฟฟ้าของข่าวสารกับคลื่นพาหะ โดยคลื่นที่ หรือแหลงการเรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต
ผ่านหน่วยผสมจะมีความถี่เท่ากับความถี่ของคลื่นพาหะ แต่มีแอมพลิจูด หองสมุด จากนั้นรวมกันสรุปความรูที่ไดจาก
เปลี่ยนแปลงตามแอมพลิจูดและความถี่ของสัญญาณไฟฟ้าของข่าวสาร
การศึกษาคนควาลงในกระดาษฟลิปชารตที่
คลื่นพาหะ คลื่นวิทยุ ครูแจกใหแตละกลุม
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
3. นักเรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลจากการ
ศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนํา
สัญญาณเสียง ภาคขยาย เสนอ ครูคอยใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให
นักเรียนมีความเขาใจถูกตอง
เมือ่ คลืน่ วิทยุทผี่ สมสัญญาณไฟฟ้าของข่าวสารกระจายออกจากสายอากาศไปยังเครือ่ งรับวิทยุ เครือ่ ง
รับวิทยุจะท�าหน้าที่แยกสัญญาณไฟฟ้าของเสียงออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ แล้วขยายให้มีแอมพลิจูดสูง
ขึ้น เพื่อส่งให้ล�าโพงแปลงสัญญาณไฟฟ้าของข่าวสารออกมาเป็นสัญญาณเสียง
ภาพที่ 5.19 การส่งคลื่นวิทยุระบบเอเอ็ม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 19

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


คลื่นแมเหล็กไฟฟาในขอใดตอไปนี้มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สเปกตรัมของ
1. คลื่นวิทยุ คลื่นแมเหล็กไฟฟา https://www.twig-aksorn.com/film/the-electromag-
2. รังสีเอกซ netic-spectrum-8245/
3. รังสีแกมมา
4. รังสีอินฟราเรด
5. แสงที่ตามองเห็น
(วิเคราะหคําตอบ คลืน่ แมเหล็กไฟฟาสามารถเรียงลําดับชนิดของ
คลื่นแมเหล็กไฟฟาไดจากความถี่สูงสุดไปตํ่าสุด คือ รังสีแกมมา
รังสีเอกซ รังสีอัลตราไวโอเลต แสงที่ตามองเห็น รังสีอินฟราเรด
คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ดังนั้น ตอบ ขอ 3.)

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการกระจายเสียง ระบบเอฟเอ็ม
คลื่นวิทยุระบบเอเอ็มวา นอกจากใชคลื่นวิทยุ
เปนการผสมสัญญาณไฟฟาของขาวสารกับคลืน่ พาหะ โดยคลืน่ ทีผ่ า น
ที่มีความถี่ 530-1,600 กิโลเฮิรตซแลว ยังใช หนวยผสมจะมีความถีเ่ ปลีย่ นแปลงตามสัญญาณขาวสาร แตมแี อมพลิจดู
คลืน่ วิทยุทมี่ คี วามถีต่ าํ่ และสูงกวานี้ ซึง่ เรียกวา เทากับแอมพิจูดของคลื่นพาหะ
คลื่นยาวและคลื่นสั้น ซึ่งเปนการเรียกตามคา
คลื่นพาหะ คลื่นวิทยุ
ความยาวคลืน่ เมือ่ เทียบกับความยาวคลืน่ ของ
คลื่นวิทยุระบบเอเอ็มที่มีความถี่ 530-1,600
กิ โ ลเฮิ ร ตซ การกระจายเสี ย งวิ ท ยุ ค ลื่ น สั้ น
สงกระจายเสียงไปไดไกลเกินระยะที่สวนโคง
ของโลกบังไวได เนือ่ งจากสงไปในลักษณะคลืน่
ฟาได (คลืน่ วิทยุสะทอนกลับไปกลับมาระหวาง สัญญาณเสียง ภาคขยาย
บรรยากาศชั้ น ไอโอโนสเฟ ย ร กั บ พื้ น ผิ ว โลก ภาพที่ 5.20 การสงคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม
คลืน่ สัน้ จึงเหมาะสําหรับการสือ่ สารระยะไกล) ที่มา : คลังภาพ อจท.
สําหรับการกระจายเสียงทางวิทยุแบงเปนระบบเอเอ็มและระบบเอฟเอ็มตามลักษณะการ
ผสมคลื่น ระบบเอเอ็มใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่ชวง 530-1,600 กิโลเฮิรตซ ขณะที่ระบบเอฟเอ็มใช
คลื่นวิทยุที่มีความถี่ชวง 88-108 เมกะเฮิรตซ เนื่องจากการกระจายเสียงในระบบเอเอ็มมีความถี่
ตํา่ กวาระบบเอฟเอ็มจึงสะทอนไดดกี วาทีบ่ รรยากาศชัน้ ไอโอโนสเฟยร เครือ่ งรับวิทยุจงึ รับคลืน่ วิทยุ
เอเอ็มได 2 ทาง คือ รับไดทั้งคลื่นดิน (ground wave) เปนคลื่นที่สงไปตรง ๆ ในระดับสายตา และ
คลื่นฟา (sky wave) เปนคลื่นที่สงออกจากสายอากาศขึ้นสูบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยรซึ่งอยูสูง
จากพื้นดิน 50-500 กิโลเมตร แลวสะทอนกลับมายังพื้นผิวโลกเขาสูเครื่องรับ ดังภาพที่ 5.21
บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร

คลื่นฟา
คลื่นดิน

ภาพที่ 5.21 การสงคลืน่ วิทยุในลักษณะของคลืน่ ดินและคลืน่ ฟา


20 ที่มา : คลังภาพ อจท.

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง การสื่อสารของเรือ ถาสถานีวิทยุ ก. ภาค AM กระจายเสียงดวยความถี่ 1,150
ดํานํ้า https://www.twig-aksorn.com/film/submarine-communication- กิโลเฮิรตซ สถานีวิทยุ ข. ภาค AM ตองสงกระจายเสียงตาม
8249/ ความถี่ใดที่ใกลเคียงสถานีวิทยุ ก. โดยไมรบกวนกัน
1. 1,140 กิโลเฮิรตซ 2. 1,157 กิโลเฮิรตซ
3. 1,167 กิโลเฮิรตซ 4. 1,200 กิโลเฮิรตซ
5. 1,250 กิโลเฮิรตซ
(วิเคราะหคําตอบ สถานีวิทยุ ก. สงกระจายดวยความถี่ 1,150
กิโลเฮิรตซ แสดงวาแถบความถี่ของสถานีวิทยุ ก. จะอยูในชวง
1,145.5-1,154.5 กิโลเฮิรตซ จึงไมรบกวนกัน ขอ 2. ผิด เนื่องจาก
แถบความถี่จะอยูในชวง 1,152.5-1,161.5 กิโลเฮิรตซ จะรบกวน
สถานี ก. สวนขอ 3. 4. และ 5. มีแถบความถี่หางจากสถานี ก.
มากเกินไป ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1
ขณะที่ระบบเอฟเอ็มใช้ความถี่สูงจึงสามารถทะลุผ่านบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร์ไปได้ 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา คลื่นวิทยุเมื่อตกกระทบ
ไม่สะท้อนกลับมายังพืน้ ผิวโลก เครือ่ งรับวิทยุรบั ได้เพียงคลืน่ ดิน การส่งกระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม สิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกลเคียงกับความยาว
จึงส่งไปได้ไม่ไกลเท่าระบบเอเอ็มเนื่องจากผิวโค้งของโลกบังไว้ ในกรณีที่ต้องการให้รับฟังได้ใน คลื่น 188-566 เมตร สําหรับระบบเอเอ็ม และ
ที่ซึ่งอยู่ไกลจากเครื่องส่งมาก ๆ สถานีส่งต้องใช้เสาอากาศสูง ๆ และมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ 2.8-3.4 เมตร สําหรับระบบเอฟเอ็ม จะเลี้ยว
ส่วนผู้รับต้องติดตั้งเสาอากาศในที่สูง เบนผานสิ่งกีดขวางไปได แตถาสิ่งกีดขวาง
Physics มีขนาดใหญมาก เชน ภูเขา คลื่นวิทยุโดย
การกระจายเสียงระบบเอเอ็มถูกรบกวนง่ายกว่าระบบ in real life
เอฟเอ็ม เนื่องจากมีความถี่อยู่ในช่วงที่ถูกรบกวนได้ง่ายจาก ขณะฟังวิทยุในรถยนต์ หาก เฉพาะระบบเอฟเอ็มจะออมผานสิ่งกีดขวาง
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจ�าวัน เช่น คลืน่ วิทยุจาก รถยนต์ขบั เคลือ่ นผ่านใต้สะพาน ไมได ดังนั้น บริเวณดานหลังสิ่งกีดขวางจึง
การเปิด-ปิดสวิตช์ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากฟ้าแลบ ทีม่ โี ครงสร้างเป็นเหล็ก สัญญาณ เปนจุดปลอดคลื่น
หรือฟ้าผ่า แต่ระบบเอฟเอ็มมีความถีต่ า่ งจากคลืน่ วิทยุเหล่านีม้ าก จะหายไป เนือ่ งจากโลหะมีสมบัติ 6. นักเรียนแตละกลุม (กลุมเดิม) ศึกษา เรื่อง
และไม่อาจผสมรวมกันได้จึงไม่ถูกรบกวน ท�าให้ระบบเอฟเอ็ม ในการสะท้ อ นและดู ด กลื น ระบบการสงสัญญาณโทรทัศนและระบบการ
มีคุณภาพเสียงดีกว่า ประกอบกับสัญญาณคลื่นผสมจากแต่ละ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดี แพรภาพโทรทัศน จากแหลงการเรียนรูตางๆ
สถานีที่ส่งกระจายเสียงระบบเอเอ็มมีค่าแอมพลิจูดไม่แน่นอน แลวรวมกันวิเคราะหและแสดงความคิดเห็น
เมือ่ เข้าสูเ่ ครือ่ งรับทีร่ บั สัญญาณจากสถานีสง่ ทีส่ ง่ กระจายเสียงด้วยความถีใ่ กล้เคียงกันได้ จึงรบกวน ในกลุมวา ระบบการสงสัญญาณโทรทัศนและ
กันได้ง่ายท�าให้ได้ยินเสียงของแต่ละสถานีนั้นไม่ชัดเจน และหากคลื่นวิทยุลากกระทบสิ่งกีดขวาง ระบบการแพรภาพโทรทัศน (สัญญาณภาพ
ที่มีขนาดใกล้เคียงกับความยาวคลื่นจะสามารถเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางไปได้ แต่ถ้าสิ่งกีดขวาง และเสียง) มีหลายระบบ ไดแกระบบอะไรบาง
มีขนาดใหญ่มาก เช่น ภูเขา คลื่นวิทยุจะไม่สามารถอ้อมผ่านสิ่งกีดขวางไปได้ บริเวณด้านหลัง
เมื่อไดขอสรุปในกลุมที่ตรงกันแลว ใหเขียน
สิ่งกีดขวางจึงเป็นจุดปลอดคลื่น
อธิบายคําตอบลงในสมุดบันทึกประจําตัวของ
คลืน่ วิทยุในย่านความถีน่ อกเหนือจากการส่งกระจายเสียงตามปกติ อาจน�าไปใช้ในการสือ่ สาร ตนเอง
เฉพาะกรณี เช่น ใช้สื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ต�ารวจ ทหาร หน่วยงานทางราชการ และใช้ในระบบ
วิทยุสมัครเล่น โดยที่ทางราชการยังไม่อนุญาตให้เอกชนมีเครื่องส่งวิทยุไว้ในครอบครอง ยกเว้น
เพื่อกิจการวิทยุสมัครเล่นเพื่อกิจกรรมสาธารณประโยชน์เท่านั้น
P hysics
Focus การตรวจวัดคลื่นวิทยุดวยวงจรจูน
คลื่นวิทยุตรวจรับได้ด้วยวงจรจูน (tuned circuit) ประกอบด้วยตัวเก็บประจุที่ปรับค่าความจุ
ไฟฟ้าได้กับขดลวดเหนี่ยวน�า โดยการปรับค่าความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุจนได้ค่าความถี่ธรรมชาติ
ของวงจรจูนเท่ากับความถี่ของคลื่นจากสถานีที่ต้องการรับฟัง (หมุนปุ่มหาความถี่บนหน้าปัดวิทยุ)
เครื่องรับจะน�าคลื่นวิทยุที่มีความถี่ค่านั้นไปแปลงเป็นเสียงที่ล�าโพงของเครื่องรับวิทยุ โลหะจะสะท้อน
และดูดกลืนคลื่นวิทยุที่ตกกระทบ คลื่นวิทยุจึงทะลุผ่านเข้าไปในโลหะได้ยาก

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 21

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เพราะเหตุใดคลื่นวิทยุระบบ AM จึงดีกวาระบบ FM 1 บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร โมเลกุลอากาศในบรรยากาศชั้นไอโอโน
1. ระบบถูกรบกวนไดยากกวา สเฟยรอยูในสภาพไอออน บรรยากาศชั้นนี้จึงเต็มไปดวยประจุไฟฟาอิสระ เมื่อ
2. ระบบสงสัญญาณใชไฟนอยกวา คลื่นวิทยุที่สงจากพื้นผิวโลกขึ้นมาถึงบรรยากาศชั้นนี้ ถาคลื่นวิทยุมีความถี่ไม
3. รับคลื่นไดในระยะทางที่ไกลกวา สูงนัก คลื่นวิทยุจะสูญเสียพลังงานใหกับประจุไฟฟาเหลานั้น ประจุไฟฟาที่ดูด
4. ใหเสียงดังกวาเพราะกําลังสงถูกกวา กลืนพลังงานไวจะสัน่ ไปมาดวยความเรงจึงแผคลืน่ แมเหล็กไฟฟาความถีเ่ ทากัน
5. ใหกําลังสงสูงกวาเมื่อพลังงานเทากัน ออกมา ผลจึงเหมือนกับวาคลื่นวิทยุจากพื้นผิวโลกที่ขึ้นไปถึงชั้นบรรยากาศ
(วิเคราะหคําตอบ เพราะคลื่นวิทยุระบบ AM สามารถสะทอน ไอโอโนสเฟยรแลวสะทอนกลับลงมายังพื้นผิวโลก แตถาคลื่นวิทยุมีความถี่สูง
กลับโดยบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร เปนคลื่นฟาที่สะทอนกลับ มาก คลื่นวิทยุจะมีพลังงานสูงมาก จึงทะลุผานชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟยรไป
ลงมา ทําใหเครื่องรับที่อยูไกลรับคลื่นได แตคลื่นวิทยุระบบ FM ไมสะทอนกลับลงมายังพื้นผิวโลก
จะทะลุชั้นบรรยากาศออกไป เครื่องรับที่อยูไกลจึงรับคลื่นไมได
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
7. ครู อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ระบบการส ง สั ญ ญาณ 3.2 คลื่นโทรทัศน์
โทรทัศนวา ระบบการสงสัญญาณโทรทัศน คลื่นโทรทัศน์ (television wave) มีความถี่ประมาณ 108 เฮิรตซ์ เนื่องจากมีความถี่สูงจึง
ทั้งภาพและเสียงมีหลายระบบ ไดแก ระบบ ทะลุผา่ นชัน้ บรรยากาศไปนอกโลก ดังนัน้ การส่งคลืน่ โทรทัศน์ระยะไกล ๆ จึงต้องมีสถานีถา่ ยทอด
VHF ระบบ UHF ระบบ MMDS ระบบดาวเทียม คลืน่ เป็นระยะเพือ่ รับคลืน่ โทรทัศน์จากสถานีสง่ ในแนวตรง (คลืน่ ดิน) แล้วขยายสัญญาณให้แรงขึน้
และระบบสงสัญญาณโทรทัศนทางสาย แตละ ก่อนส่งไปยังสถานีถ่ายทอดที่อยู่ถัดไป ดังภาพที่ 5.22 (ก) เนื่องจากสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง
ระบบมีประโยชนแตกตางกันไป เชน ระบบ แต่ผิวโลกโค้ง สัญญาณจึงไปได้ไกลสุดประมาณ 80 กิโลเมตร บนผิวโลก นอกจากจะใช้คลื่น
VHF เปนระบบแอนะล็อก สงสัญญาณในยาน ไมโครเวฟเป็นสือ่ น�าสัญญาณจากสถานีสง่ ไปยังดาวเทียมค้างฟ้า ดาวเทียมนีจ้ ะส่งคลืน่ โทรทัศน์ตอ่
ความถี่ 30 MHz-300 MHz หรือความถี่สูงมาก ไปยังสถานีรบั ทีอ่ ยูไ่ กล ๆ เกิน 80 กิโลเมตรได้ เพราะไม่ถกู ผิวโค้งของโลกบังไว้ ดังภาพที ่ 5.22 (ข)
(very high frequency) ใชในการกระจายเสียง
วิทยุและการแพรภาพโทรทัศน สงสัญญาณได
ไกลหลายรอยกิโลเมตร รับสัญญาณดวยสาย
อากาศ
8. ครูอธิบายเกี่ยวกับระบบการแพรภาพโทรทัศน
วา มีหลายระบบ ไดแก ระบบ NTSC ระบบ PAL
และระบบ SECAM โดยระบบการแพรภาพ
โทรทัศนที่ใชในประเทศไทยเปนระบบ PAL (ก) การใช้สถานีถ่ายทอดเป็นระยะ (ข) การถ่ายทอดผ่านดาวเทียม
(phase alternation line) ภาพที่ 5.22 การส่งคลื่นโทรทัศน์ในระยะทางไกล
ที่มา : คลังภาพ อจท.

คลื่นโทรทัศน์มีความยาวคลื่นสั้น จึงไม่สามารถเลี้ยวเบนอ้อมผ่านสิ่งกีดขวางขนาดใหญ่ได้
เมื่อคลื่นโทรทัศน์ตกกระทบรถยนต์หรือเครื่องบินจะสะท้อนกลับไปแทรกสอดกับคลื่นที่ส่งตรงมา
จากสถานีส่งแล้วเข้าสู่เครื่องรับโทรทัศน์ท�าให้เกิดภาพซ้อนบนจอภาพ ซึ่งสามารถแก้ได้โดยใช้
ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ทางสาย
ปัจจุบันนิยมใช้ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ตามสายโดยส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่ยังไม่ได้แปลง
เป็ น คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ไปตามสายเคเบิ ล
Con���t Q�e����n
ประกอบด้วยสายโคแอกซ์ (coaxial cable)
ปรากฏการณใดที่ทําใหเกิดคลื่นรบกวน
ซึ่ ง สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ ใ นสายโคแอกซ์ เ ป็ น เครื่องรับวิทยุและโทรทัศน
สัญญาณไฟฟ้า และเส้นใยน�าแสง (fiber optic)
แนวตอบ Concept Question ซึ่ ง สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ ใ นเส้ น ใยน� า แสงเป็ น
ปรากฏการณฟา แลบหรือฟาผา สามารถทําให สัญญาณแสง
เกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาได ซึ่งคลื่นใหมที่เกิดขึ้นนี้
22
สามารถรวมกั บ คลื่ น วิ ท ยุ ทํ า ให เ กิ ด คลื่ น รบกวน
เครื่องรับวิทยุและโทรทัศน

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครู อ าจอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ระบบส ง สั ญ ญาณโทรทั ศ น ท างสายว า ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสงสัญญาณ
จะใชสายอากาศเปนอุปกรณที่ใชแปลงสัญญาณไฟฟาของเครื่องสงเปนคลื่น คลื่นโทรทัศน ทั้งจากหนังสือเรียนและแหลงขอมูลตางๆ เชน
แมเหล็กไฟฟาและแปลงคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนสัญญาณไฟฟาที่เครื่องรับ สาย อินเทอรเน็ต หองสมุด วารสารตางๆ ซึ่งมีหัวขอ ดังนี้
อากาศที่ใชในระบบการสื่อสารดวยคลื่นวิทยุและโทรทัศนมีหลายรูปแบบ เชน • การสงสัญญาณคลื่นโทรทัศนภาคพื้นดิน
เสนตรง เสนงอโคง จานพาราโบลา สายอากาศของเครื่องรับวิทยุที่ใชกันทั่วไป • การสงสัญญาณคลื่นโทรทัศนผานชองนําสัญญาณ
มี 2 แบบ คือ แบบเสนและแบบลูป (loop) สําหรับรับสัญญาณสนามไฟฟาและ • การสงสัญญาณคลื่นโทรทัศนผานดาวเทียม
สนามแมเหล็กของคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยสายอากาศแบบเสนจะรับสัญญาณ • การสงสัญญาณคลื่นโทรทัศนผานอินเทอรเน็ต
วิทยุไดดีที่สุด โดยครูมอบหมายใหนกั เรียนสรุปขอมูลทีศ่ กึ ษาลงในกระดาษ
A4 แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
3.3 คลื่นไมโครเวฟ 9. ครูใหความรูเ พิม่ เติมกับนักเรียนเกีย่ วกับคลืน่
คลื่นไมโครเวฟ (microwave) มีความถี่ประมาณ 108-1012 เฮิรตซ์ หรืออยู่ในช่วงความยาว ไมโครเวฟวา มีความถี่อยูในชวงที่ใชในการ
คลื่น 10-3-0.3 เมตร มีสมบัติและการใช้ประโยชน์หลายประการ ดังนี้ สื่อสาร โดยเฉพาะการสื่อสารทางไกล เชน
1. คลื่นไมโครเวฟมีความถี่อยู่ในช่วงที่ใช้ในการสื่อสารได้ โดยเฉพาะการสื่อสารทางไกล การติ ด ต อ ระหว า งโลกกั บ ยานอวกาศหรื อ
เช่น การติดต่อระหว่างโลกกับยานอวกาศหรือสถานีอวกาศ การสื่อสารผ่านระบบดาวเทียมโดยมี สถานีอวกาศ การสือ่ สารผานระบบดาวเทียม
จานสายอากาศส�าหรับส่งสัญญาณติดต่อกับดาวเทียมและถ่ายทอดสัญญาณ การถายทอดสัญญาณโทรทัศนหรือโทรศัพท
2. คลื่นไมโครเวฟสะท้อนผิวโลหะได้ดี จึงน�าไปใช้ในระบบเรดาร์ที่ใช้น�าทางเครื่องบินหรือ ทางไกล โดยมี จ านสายอากาศสํ า หรั บ ส ง
ตรวจค้นหาต�าแหน่งและทิศทางของวัตถุ โดยส่งคลืน่ ไมโครเวฟเป็นห้วง ๆ ออกจากแหล่งก�าเนิดที่ สั ญ ญาณติ ด ต อ กั บ ดาวเที ย มและถ า ยทอด
อยูท่ โี่ ฟกัสของจานเรดาร์ เมือ่ คลืน่ ไมโครเวฟไปกระทบวัตถุจะสะท้อนกลับสูจ่ านเรดาร์ แล้วสะท้อน สัญญาณ โดยดาวเทียมที่ใชในการรับ-สง
ไปรวมกันที่โฟกัสของจานเรดาร์ซึ่งมีเครื่องรับไมโครเวฟติดตั้งอยู่ ดังภาพที่ 5.23 สัญญาณ คือ ดาวเทียมสื่อสารกลุมจีโอ เชน
ดาวเทียมไทยคม สวนดาวเทียมทีใ่ ชกบั ระบบ
สือ่ สารทางโทรศัพท คือ ดาวเทียมสือ่ สารกลุม
เป้าหมาย ลีโอ
10. ครูถามคําถามเพือ่ ใหนกั เรียนไดรว มกันคิดวา
ความกว้าง คลื่นสะท้อน คล่ื่นส่งผ่าน
คลื่นไมโครเวฟเคลื่อนผานนํ้าไดหรือไม (ทิ้ง
ของล�าเรดาร์ จากเป้าหมาย ช ว งเวลาในการคิ ด ของนั ก เรี ย น) จากนั้ น
จานเรดาร์ อธิบายวา คลืน่ ไมโครเวฟเคลือ่ นผานนํา้ ไมได
ซึ่งนักเรียนสังเกตไดจากการที่ไมสามารถชม
รายการโทรทัศนที่รับสัญญาณผานจานสาย
ภาพที่ 5.23 การตรวจหาต�าแหน่งของวัตถุด้วยเรดาร์ อากาศได (ทีวีดิจิทัล) ขณะฝนตกหนัก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

3. คลื่นไมโครเวฟน�ามาใช้เป็นแหล่งก�าเนิดความร้อน เช่น การท�าให้อาหารสุกโดยใช้เตา


ไมโครเวฟ แหล่งก�าเนิดคลื่นในเตาจะผลิตคลื่นไมโครเวฟที่มีความถี่พอเหมาะ ซึ่งท�าให้โมเลกุล
ของน�า้ ทีเ่ ป็นส่วนประกอบในอาหารสัน่ อย่างรุนแรง น�า้ จึงมีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้ อย่างรวดเร็ว ความร้อน
จากน�้าที่ถ่ายโอนไปยังอาหารส่งผลให้อาหารสุก
4. ทางการแพทย์มีการใช้คลื่นไมโครเวฟเพื่อการรักษาโรคด้วยความร้อน (diathermy)
โดยมีหลักการ คือ ความร้อนทีไ่ ด้รบั จากคลืน่ ไมโครเวฟจะท�าให้การหมุนเวียนเลือดดีขนึ้ เนือ่ งจาก
การขยายตัวของหลอดเลือดน�าไปสู่กระบวนการซ่อมแซมของร่างกายที่มีการอักเสบหรือได้
รับบาดเจ็บ ลักษณะของการทีส่ ามารถน�าคลืน่ ไมโครเวฟมาใช้ในการรักษา (microwave therapy)
เช่น การบวมแดง เคล็ดขัดยอก ข้อกระดูกอักเสบ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 23

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ระบบเรดารมีหลักการทํางานอยางไร ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอควรระวังในการใชเตาไมโครเวฟ คือ ไม
(แนวตอบ ระบบเรดารเปนระบบทีน่ าํ มาใชนาํ ทางเครือ่ งบินหรือ ควรนําโลหะเขาไปในเตา เพราะโลหะจะสะทอนคลื่นไมโครเวฟกลับสูแหลง
ตรวจคนหาตําแหนงและทิศทางของวัตถุ โดยสงคลื่นไมโครเวฟ กําเนิด ทําใหแหลงกําเนิดคลืน่ ไมโครเวฟในเตาเสียหายได และถาโลหะมีรปู ราง
เปนหวงๆ (pulse) ออกจากแหลงกําเนิดทีอ่ ยูท โ่ี ฟกัสของจานเรดาร โคงหรือมีปลายแหลม อาจทําใหเกิดประกายไฟขึน้ ในเตาไมโครเวฟและเกิดการ
เพื่อใหคลื่นที่สงออกไปเปนลําคลื่นขนาน เมื่อคลื่นไมโครเวฟไป ลุกไหมได
กระทบวัตถุจะสะทอนกลับสูจานเรดาร แลวสะทอนไปรวมกันที่
โฟกัสของจานเรดารซึ่งมีเครื่องรับคลื่นไมโครเวฟติดตั้งอยู เมื่อ
ทราบอัตราเร็วคลื่นและเวลาที่คลื่นเดินทางไป-กลับ จะสามารถ
สื่อ Digital
หาระยะหางของวัตถุจากแหลงกําเนิดคลื่น (ที่อยูที่โฟกัสของ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตร
จานเรดาร) ได) สารคดีสั้น Twig เรื่อง โทรศัพทมือถือ
ทํางานอยางไร https://www.twig-
aksorn.com/film/how-do-mobile-
phones-work-8248/

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
11. ครู อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ รั ง สี อิ น ฟราเรดว า รั ง สี 3.4 รังสีอินฟราเรด
อินฟราเรดเมื่อตกกระทบวัตถุจะถูกดูดกลืน รังสีอินฟราเรด (infrared ray) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 1011-1014
และทํ า ให วั ต ถุ มี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น เนื่ อ งจาก เฮิรตซ์ ซึ่งมีความถี่ต�่ากว่าแสงสีแดง จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า รังสีใต้แดง มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง
พลังงานจากรังสีอนิ ฟราเรดทีว่ ตั ถุไดรบั สงผล 1 - 1,000 ไมโครเมตร รังสีอินฟราเรดแบ่งตามช่วงค่าความยาวคลื่นได้ 3 ช่วง ได้แก่
ใหอะตอมหรือโมเลกุลของวัตถุสั่นเร็วและ 1. อินฟราเรดใกล้ มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 0.7 -1.5 ไมโครเมตร
แรงขึ้นหรือเกิดการเคลื่อนที่ 2. อินฟราเรดปานกลาง มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 1.5 - 4.0 ไมโครเมตร
12. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา เมื่อเทียบกับคลื่นวิทยุ 3. อินฟราเรดไกล มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 4.0 -1,000 ไมโครเมตร
แลว รางกายมนุษยจะรับรูรังสีอินฟราเรดได รังสีอินฟราเรดเมื่อตกกระทบวัตถุจะถูกดูดกลืนและท�าให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจาก
ดี โดยประสาทสัมผัสของผิวหนังจะรูสึกรอน พลังงานจากรังสีอนิ ฟราเรดทีว่ ตั ถุได้รบั ส่งผลให้อะตอมหรือโมเลกุลของวัตถุสนั่ เร็วขึน้ หรือเกิดการ
เมื่อไดรับรังสีอินฟราเรด เชน เมื่อเอามือไป เคลือ่ นที ่ หากเทียบรังสีอนิ ฟราเรดกับคลืน่ วิทยุ ร่างกายของมนุษย์สามารถรับรูร้ งั สีอนิ ฟราเรดได้ดี
อังใกลๆ หลอดไฟที่ติดอยู หรือเตารีดขณะ โดยประสาทสัมผัสของผิวหนังจะรู้สึกร้อนเมื่อได้รับรังสีอินฟราเรด เช่น จะรู้สึกร้อนเมื่อน�ามือไป
กําลังรีดผา หรือหลังจากเลิกใชงานใหมๆ อังใกล้ ๆ หลอดไฟที่ติดอยู่ หรือสัมผัสกับเตารีดขณะก�าลังรีดผ้า รังสีอินฟราเรดน�ามาใช้ประโยชน์
รังสีอินฟราเรดจึงตรวจวัดไดดวยกายสัมผัส ได้หลายประการ ดังนี้
1. รังสีอินฟราเรดจากแสงแดดช่วยให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายมนุษย์โดยไม่เกิดอันตราย
2. ใช้ในรีโมตคอนโทรลเพื่อควบคุมการท�างานของเครื่องรับโทรทัศน์หรือเครื่องเสียง เช่น
ใช้ในการเปิด-ปิดเครื่อง การเปลี่ยนช่อง การปรับระดับเสียง
3. รังสีอินฟราเรดความเข้มสูงจากเลเซอร์ไดโอด (infrared laser diode) ใช้ในการอ่าน
ข้อมูลในแผ่นซีดีและการบันทึกข้อมูลลงในแผ่นซีดี
4. อุณหภูมิภายในร่างกายมนุษย์มีค่าประมาณ 37 องศาเซลเซียส จึงแผ่รังสีอินฟราเรด
ออกมาได้ จึงมีผู้ประดิษฐ์เทอร์มอมิเตอร์ส�าหรับวัดอุณหภูมิของร่างกาย เรียกว่า อินฟราเรดเทอร์
มอมิเตอร์ (infrared thermometer) ขึ้นมาใช้งาน ซึ่งเป็นการวัดอุณหภูมิแบบไม่สัมผัส ข้อดีของ
การวัดอุณหภูมิแบบนี้ คือ ปราศจากการปน
เปื้อนของสิ่งสกปรกหรือเชื้อโรค และนอกจาก
วัดอุณหภูมิของร่างกายแล้ว อินฟราเรดเทอร์
มอมิเตอร์ยงั ใช้วดั อุณหภูมใิ นพืน้ ทีท่ ยี่ ากต่อการ
เข้าถึงหรือพืน้ ทีอ่ นั ตราย เช่น พืน้ ทีอ่ ณุ หภูมสิ งู
พืน้ ทีไ่ ฟฟ้าแรงสูง โดยเลือกใช้อนิ ฟราเรดเทอร์
มอมิเตอร์ที่มีย่านการวัดอุณหภูมิที่เหมาะสม
และครอบคลุมช่วงอุณหภูมิของวัตถุที่ต้องการ
วัด ดังภาพที่ 5.24 ภาพที่ 5.24 การวัดอุณหภูมิแบบไม่สัมผัสโดยใช้
อินฟราเรดเทอร์มอมิเตอร์
24 ทีม่ า : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมวา เนื่องจากวัตถุรอนจะแผรังสีอินฟราเรดออกมา จึงมี คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใดที่ทําใหถายรูปในที่มืดได
ผูประดิษฐฟลมที่ไวตอรังสีอินฟราเรดขึ้นมา เพื่อใชถายภาพตอนกลางคืนหรือ 1. รังสีเอกซ
ในหองมืดได แตมีความยุงยากในการเก็บรักษา ตองเก็บในที่ที่มีอุณหภูมิตํ่าเพื่อ 2. รังสีแกมมา
ไมใหไดรบั รังสีอนิ ฟราเรดกอนนําไปถายภาพ การบรรจุฟล ม ตองทําในทีม่ ดื สนิท 3. รังสีอินฟราเรด
และขัน้ ตอนการถายภาพมีขนั้ ตอนคอนขางยุง ยากกวาการถายภาพปกติ ปจจุบนั 4. คลื่นไมโครเวฟ
มีผูประดิษฐกลองถายรูปดิจิทัลและกลองสองทางไกลกลางคืน ซึ่งมีเซ็นเซอรที่ 5. รังสีอัลตราไวโอเลต
ไวตอรังสีอินฟราเรด ทําใหถายภาพสิ่งตางๆ หรือมองดูสิ่งตางๆ ในที่มืดได (วิเคราะหคําตอบ รังสีอินฟราเรดเปนรังสีความรอน มีความยาว
คลื่นเกินที่ตาของมนุษยจะสามารถมองเห็นได วัตถุที่มีความรอน
จะปลอยรังสีอินฟราเรดออกมา ถาใชอุปกรณหรือฟลมพิเศษจึง
สามารถมองเห็นหรือถายภาพวัตถุนั้นได ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
5. ในทางการทหารจะน�ารังสีอนิ ฟราเรดมาใช้ควบคุมจรวดน�าวิถใี ห้เคลือ่ นทีไ่ ปยังเป้าหมาย 13. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแสงวา แสงบาง
ได้อย่างถูกต้อง แม่นย�า โดยจรวดจะติดตามเป้าหมายจากรังสีอินฟราเรดที่แผ่ออกมาจากแหล่ง อยางไมไดเกิดจากการกระตุนใหอิเล็กตรอน
ความร้อนของเป้าหมาย แล้วน�าสัญญาณนั้นไปควบคุมการเคลื่อนที่ของจรวดต่อไป เปลี่ยนระดับพลังงานดวยความรอนโดยตรง
6. ในทางอุตสาหกรรมใช้รังสีอินฟราเรดในการอบสีที่ทับซ้อนกันหลาย ๆ ชั้น เช่น การอบ ที่พบเห็นกันโดยทั่วไป ไดแก แสงจากหลอด
สีรถยนต์ ฟลูออเรสเซนต แสงจากจอโทรทัศน แสง
7. รังสีอินฟราเรดจะทะลุผ่านเมฆหมอกที่หนาเกินกว่าแสงธรรมดาจะผ่านได้ ประกอบกับ และเลเซอร ซึ่งเปนแสงประดิษฐ และที่เปน
สิ่งต่าง ๆ แผ่รังสีอินฟราเรดได้ไม่เท่ากัน จึงมีการน�าวิธีถ่ายภาพด้วยรังสีอินฟราเรดไปใช้ในการ
แสงธรรมชาติ ไดแก แสงจากหิ่งหอย แสง
ถ่ายภาพพื้นผิวโลกจากที่สูง เช่น เครื่องบิน ดาวเทียม ซึ่งเรียกว่า ภาพถ่ายทางอากาศ (aerial
จากหนอนเรืองแสง และแสงจากเห็ดเรืองแสง
photography) โดยภาพถ่ายทางอากาศจะบอกถึงความแตกต่างของบริเวณที่เป็นพื้นผิวน�้า ภูเขา
ป่าไม้ และแหล่งแร่ได้ จากผลของการแผ่รงั สีอนิ ฟราเรดทีแ่ ตกต่างกัน ภาพถ่ายทางอากาศจึงอาจ 14. ครู อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ แสงเลเซอร ซึ่ ง นํ า ไป
ใช้ในการศึกษาการแปรสภาพของป่าไม้ การส�ารวจแหล่งแร่หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ การ ประยุกตใชในงานตางๆ ทัง้ ดานอุตสาหกรรม
ตรวจหาไฟป่าหรือพายุ ดานการแพทย ดานการศึกษา และดานการ
สื่ อ สาร ตามรายละเอี ย ดในหนั ง สื อ เรี ย น
3.5 แสงที่มองเห็นได้ จากนัน้ ถามนักเรียนวา นอกเหนือจากทีก่ ลาว
แสงที่มองเห็นได้ (visible light) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 1014-1015 มาแลว นักเรียนสามารถพบการใชประโยชน
เฮิรตซ์ และมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 400-700 นาโนเมตร ซึ่งประสาทตาของมนุษย์จะไวต่อ จากแสงเลเซอรในดานไดบาง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงนี้มาก โดยวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมาก ๆ จะเปล่งแสงที่ตามองเห็นได้ เช่น
ดวงอาทิตย์ หลอดไฟ เมือ่ แสงขาวหักเหผ่านปริซมึ หรือสเปกโทรสโคปจะแยกออกเป็นแสงสีตา่ ง ๆ
เรียงชิดติดกันเป็นแถบสี เรียกว่า สเปกตรัมของแสงขาว ประกอบด้วยแสงสีม่วงแสงสีน�้าเงิน
แสงสีเขียว แสงสีเหลือง แสงสีสม้ และแสงสีแดง
ดังภาพที่ 5.25
เมือ่ วัตถุได้รบั ความร้อนจนมีอณ ุ หภูมสิ งู
วัตถุจะแผ่รงั สีทมี่ คี วามยาวคลืน่ ทีต่ ามนุษย์มอง
เห็นได้ โดยแสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ ประมาณ 700
นาโนเมตร ประสาทตาจะรับรู้เป็นแสงสีแดง
ส่วนแสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ น้อยกว่า ประสาทตา ภาพที่ 5.25 สเปกตรัมของแสงขาวที่ส่องผ่านปริซึม
จะรับรูเ้ ป็นแสงสีสม้ สีเหลือง สีเขียว สีนา�้ เงิน ที่มา : คลังภาพ อจท.
จนถึงแสงสีม่วง ซึ่งมีความยาวคลื่นประมาณ 400 นาโนเมตร โดยแสงสีของวัตถุที่เปล่งออก
มาเนื่องจากความร้อนนั้นเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงอุณหภูมิของวัตถุนั้นได้ อย่างน้อยท�าให้ทราบว่า
วัตถุใดร้อนหรือมีอุณหภูมิสูงกว่า เช่น ดาวฤกษ์สีน�้าเงินจะมีอุณหภูมิผิวสูงกว่าดาวฤกษ์สีแดง
เปลวไฟจากเตาแก๊สมีอุณหภูมิสูงกว่าเปลวไฟจากเตาถ่าน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 25

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ความแตกตางระหวางคลื่นวิทยุกับคลื่นแสงคือขอใด ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง แสงคืออะไร
1. ความเร็วตางกัน https://www.twig-aksorn.com/film/what-is-light-8238/
2. ความยาวคลื่นตางกัน
3. คลื่นวิทยุใหคลื่นเสียง คลื่นแสงใหความสวาง
4. คลื่นวิทยุเปนคลื่นตามขวาง คลื่นแสงเปนคลื่นตามยาว
5. คลื่นวิทยุเปนคลื่นตามยาว คลื่นแสงเปนคลื่นตามขวาง
(วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ผิด เนือ่ งจากคลืน่ วิทยุและคลืน่ แสงเปน
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จึงมีความเร็วเทากัน ขอ 2. ถูก เพราะคลืน่ วิทยุ
มีความยาวคลื่น 104-109 เฮิรตซ สวนคลื่นแสงมีความยาวคลื่น
400-700 นาโนเมตร ขอ 3. ผิด เพราะคลื่นวิทยุไมใชคลื่นเสียง
แตใชเปนพาหะนําคลื่นเสียงแพรออกไป ขอ 4. และขอ 5. ผิด
เพราะคลื่นวิทยุและคลื่นแสงเปนคลื่นตามขวางเหมือนกัน ดังนั้น
ตอบขอ 2.)

T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
15. ครูใชเวลาประมาณ 5-10 นาที ใหนักเรียน แสงขาวจากแหล่งก�าเนิด เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ แสงจากหลอดไฟชนิดต่าง ๆ เป็นแสง
ไดพูดคุยกันเพื่อหาคําตอบ ซึ่งครูคอยสังเกต ที่กระจายออกได้ทุกทิศทาง ซึ่งมีความถี่แตกต่างกันไป แต่มีแหล่งก�าเนิดอีกชนิดหนึ่งที่ให้แสง
คําตอบที่จะได และคอยแนะนําหรือคัดคาน ที่มีความถี่เดียวกัน เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน และมีความเข้มสูง เราเรียกแสงนี้ว่า เลเซอร์ (laser)
ตามจังหวะที่เหมาะสม ซึ่งเป็นแสงที่มีความยาวคลื่นเพียงขนาดเดียว จึงมีสีบริสุทธิ์เพียงสีเดียว เลเซอร์สามารถน�าไป
16. ครูยกตัวอยางการใชงานของแสงเลเซอรที่ ประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง ดังนี้
สามารถพบไดในชีวติ ประจําวัน เชน การอาน 1. ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคมผ่านเส้นใยน�าแสง โดยส่งสัญญาณแสงเลเซอร์ที่เป็น
แถบรหัส (barcode) สินคา เพื่อบอกขอมูล สัญญาณดิจทิ ลั ไปตามเส้นใยน�าแสง ซึง่ เส้นใยน�าแสงส่งข้อมูลในระยะไกลโดยไม่ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์
ของสิ น ค า การสร า งภาพเคลื่ อ นไหวตาม พักและขยายสัญญาณเป็นระยะ ๆ เพราะการลดทอนของสัญญาณต�่า ท�าให้ไม่มีสัญญาณรบกวน
จังหวะดนตรีในสถานบันเทิง มีความถูกต้องและความปลอดภัยของข้อมูลสูง นิยมใช้ในการสื่อสารด้วยความเร็วสูงและการ
17. ครูใหความรูกับนักเรียนเกี่ยวกับรังสีอัลตรา เชือ่ มต่อระยะไกล เช่น การสือ่ สารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยข้อมูลทีส่ ง่ มีทงั้ ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวอักษร
ไวโอเลตตามรายละเอี ย ดในหนั ง สื อ เรี ย น ข้อความ เสียง ภาพ และภาพเคลื่อนไหว
ซึ่ ง สามารถอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ รั ง สี 2. ด้านการแพทย์และศัลยกรรม ใช้ในการผ่าตัดแทนมีดผ่าตัด เช่น การผ่าตัดเนื้องอกและ
มะเร็ง การท�าเลสิกโดยใช้เลเซอร์ปรับสภาพกระจกตาเพื่อแก้ไขสายตาสั้นหรือสายตายาว รวมถึง
อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย ไ ด ว  า จะ
การท�าศัลยกรรมตกแต่ง ซึ่งไม่ท�าให้เนื้อเยื่อรอบข้างถูกท�าลายหรือเกิดความเสียหาย ผู้ป่วยจึง
กระตุนใหผิวหนังมนุษยผลิตวิตามินดี แต
เสียเลือดน้อยและฟื้นตัวเร็วหลังการผ่าตัด
ถ า ได รั บ มากเกิ น ไปอาจเป น อั น ตรายต อ 3. ด้านทางอุตสาหกรรม ใช้ในกระบวนการผลิต เช่น การเชื่อม การตัด การเจาะ การวัด
ผิวหนังได การทดสอบ การตรวจสอบ การควบคุมการผลิต
4. ด้านการศึกษา การวิจัยและพัฒนา เช่น ใช้เลเซอร์ในการศึกษาการเลี้ยวเบนและการ
แทรกสอดของแสง ศึกษาอะตอม ปฏิกิริยาทางเคมี การแยกไอโซโทป
P hysics
Focus เลเซอร์
เลเซอร์ หรือ laser เป็นตัวอักษรที่ย่อมาจากข้อความว่า light amplification by stimulated
emission of radiation หมายถึง การขยายแสงด้วยการกระตุน้ ให้แผ่รงั สี เลเซอร์เป็นแสงทีไ่ ม่ได้เกิดจาก
วัตถุรอ้ น แต่เกิดจากการกระตุ้นให้อเิ ล็กตรอนในสถานะพืน้ (ground state) กระโดดขึน้ ไปอยูใ่ นสถานะ
กระตุ้น (excited state) แล้วกระตุ้นอีกครั้งให้กระโดดกลับลงมาสถานะพื้นพร้อมกับคายพลังงานแสง
ออกมา เนื่องจากแสงที่ปลดปล่อยออกมาแต่ละอะตอมมีความถี่เดียว คลื่นแสงจึงมีความเข้มสูงมาก
สถานะถูกกระตุ้น
โฟตอน ภาพที่ 5.26 ขั้นตอนการท�าให้เกิดแสงเลเซอร์
เลเซอร์ ที่มา : คลังภาพ อจท.
สถานะพื้น

26

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับการใชประโยชนของเลเซอรวา เลเซอรไดรับ คลื่นแมเหล็กไฟฟามีความถี่ 1.5 × 1015 เฮิรตซ เปนคลื่นชนิดใด
ความนิยมและถูกนํามาใชในงานอุตสาหกรรม เชน ฮีเลียม-นีออน เลเซอร 1. รังสีเอกซ
(He-Ne laser) ใชในการสรางภาพฮอโลแกรม อารกอน-อิออน เลเซอร (Ar-Ion 2. คลื่นวิทยุ FM
laser) ใชในวงการแพทยในดานการผาตัด เอ็กไซเมอรเลเซอร (excimer laser) 3. รังสีอินฟราเรด
ใชในการผาตัดแกไขภาวะสายตาผิดปกติ 4. คลื่นไมโครเวฟ
5. รังสีอัลตราไวโอเลต
สื่อ Digital (วิเคราะหคําตอบ รั ง สี เ อกซ มี ช  ว งความถี่ 10 16-10 22 เฮิ ร ตซ
คลื่นวิทยุระบบ FM มีชวงความถี่ 88-108 เมกะเฮิรตซ (MHz)
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตร รังสีอนิ ฟราเรดมีชว งความถี่ 1011-1014 เฮิรตซ คลืน่ ไมโครเวฟมีชว ง
สารคดีสั้น Twig เรื่อง เลเซอรทํางาน ความถี่ 108-1012 เฮิรตซ และรังสีอัลตราไวโอเลตมีชวงความถี่
อยางไร https://www.twig-aksorn. 1015-1018 เฮิรตซ ดังนั้น ตอบขอ 5.)
com/film/how-do-lasers-work-
8241/

T30
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
3.6 รังสีอัลตราไวโอเลต 18. ครูใชเวลาประมาณ 10 นาที ถามคําถาม
รังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet ray) หรือรังสียูวี เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ใน นักเรียนเกี่ยวกับรังสีเอกซและรังสีแกมมา
ช่วง 1015-1018 เฮิรตซ์ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า รังสีเหนือม่วง เนื่องจากมีความถี่สูงกว่าแสง ดังนี้
สีม่วงซึ่งเป็นแสงที่มีความถี่สูงที่สุด รังสีอัลตราไวโอเลตมีความยาวคลื่นสั้นเกินกว่านัยน์ตามนุษย์ • นักเรียนทราบไดอยางไรวารังสีเอกซเปน
จะรับรู้ได้ โดยปกติรังสีอัลตราไวโอเลตไม่สามารถเคลื่อนที่ทะลุผ่านสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ แต่ คลื่นแมเหล็กไฟฟา
สามารถทะลุผ่านแก้วได้เล็กน้อยและทะลุผ่านควอตซ์ได้ดี โดยแหล่งก�าเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต (แนวตอบ เนื่องจากรังสีเอกซไมเบี่ยงเบน
ที่ส�าคัญ คือ ดวงอาทิตย์ ในสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา และมี
1 Physics
รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ส่วนใหญ่จะถูกโอโซน in real life
อัตราเร็วเทากับแสง)
(ozone; O3) ในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ (stratosphere) ตาของคนเราไม่อาจมองเห็น • นักเรียนทราบประโยชนของรังสีเอกซตงั้ แต
ดูดกลืนไว้ ชั้นโอโซนจึงเป็นเหมือนเกราะป้องกันรังสีอัลตรา รังสีอัลตราไวโอเลตได้ เพราะ เมื่อใด
ไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ แต่ปัจจุบันชั้นโอโซนบางลงท�าให้รังสี รังสีจะถูกดูดกลืนโดยกระจกตา ( แนวตอบ เริ น ท แ กนพบว า รั ง สี เ อกซ
อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ผา่ นลงมาถึงพืน้ ผิวโลกได้มากขึน้ (cornea) ก่อนจะตกกระทบ สามารถใชถายภาพของแทงโลหะที่อยูใน
ซึง่ รังสีนจี้ ะกระตุน้ ให้ผวิ หนังมนุษย์ผลิตวิตามินดี หากได้รบั มาก จอตา (retina) ถ้ากระจกตา
กระเปาได และภรรยาของเขาไดรับการ
เกินไปผิวหนังจะมีสีคล�้าขึ้น และอาจท�าให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ได้รับรังสีมาก ๆ อาจท�าให้เกิด
ต้อกระจก (cataract) ได้ จึงไม่ ถายภาพดวยรังสีเอกซ (ภาพกระดูกนิ้ว
นอกจากนี้ รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถผลิตขึ้นได้จาก ควรมองดวงอาทิ ต ย์ โ ดยตรง มือ))
การผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดที่บรรจุไอปรอทไว้ อะตอม หรื อ มองแสงที่ เ กิ ด จากการ • ปจจุบนั เราใชรงั สีแกมมาทําประโยชนอะไร
ปรอทที่ได้รับพลังงานจากอิเล็กตรอนในกระแสไฟฟ้าจะปลด เชื่อมไฟฟ้า ได
ปล่อยรังสีอัลตราไวโอเลตออกมา โดยหลักการนี้น�าไปใช้ในการ (แนวตอบ ใชในวงการแพทยรกั ษาโรคมะเร็ง
ผลิต อัลตราไวโอเลตในหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดแบล็กไลต์ และหลอดรังสีอัลตราไวโอเลต ใชอาบผลผลิตทางการเกษตร เชน ผลไม
ใหปราศจากแมลง)
ในหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อรังสีอัลตราไวโอเลตตกกระทบสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของ
หลอดและถ่ายโอนพลังงานให้สารวาวแสง สารวาวแสงจะแผ่แสงสว่างออกมาเป็นแสงขาว โดย • รังสีเอกซและรังสีแกมมาตางกันอยางไร
แก้วที่ใช้ท�าหลอดจะกั้นรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ให้แผ่ออกมานอกหลอด (แนวตอบ รังสีเอกซและรังสีแกมมาตาง
ก็ เ ป น คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เหมื อ นกั น มี
ในหลอดแบล็กไลต์ เมื่อรังสีอัลตราไวโอเลตตกกระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอด ความถี่สูงเหมือนกัน แตมีแหลงกําเนิด
สารเรืองแสงจะดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตไว้ แล้วแผ่รังสีออกมาเป็นแสงสีน�้าเงินอ่อน ๆ นิยม ตางกัน รังสีเอกซเกิดจากการเปลีย่ นแปลง
น�าไปใช้ในงานโฆษณาและการแสดงละคร ภายนอกนิวเคลียส สวนรังสีแกมมาเกิด
ในหลอดรังสีอัลตราไวโอเลต ตัวหลอดท�าจากควอตซ์ มีลักษณะเป็นแสงสีม่วงจาง ๆ นิยมน�า จากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียส)
ไปใช้ในงานเฉพาะด้าน เช่น ใช้ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัด ฆ่าเชื้อโรคในการผลิตน�้าดื่ม และรังสี
อัลตราไวโอเลตปริมาณพอเหมาะสามารถใช้รักษาโรคผิวหนังบางชนิดได้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 27

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับรังสีอัลตราไวโอเลต 1 รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย
1. เปนรังสีที่มองไมเห็น จะกระตุนใหผิวหนังมนุษยผลิตวิตามินดี แตถาไดรับมากเกินไปผิวหนังจะมีสี
2. เปนรังสีที่สวางมาก คลํ้าขึ้น เนื้อเยื่อคอลลาเจนและอีลาสติกจะถูกทําลายทําใหเกิดริ้วรอยเหี่ยวยน
3. เปนรังสีที่ไมเปนอันตราย และอาจทําใหเกิดมะเร็งผิวหนัง จึงมีการคิดคนครีมปองกันรังสีอัลตราไวโอเลต
4. มีความยาวคลื่นมากกวาแสงขาว สําหรับทาผิวเมื่อจําเปนตองอยูกลางแดด เพื่อลดปริมาณรังสีที่ทะลุผานไปถึง
5. มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา รังสีใตแดง ผิวหนัง ระดับการปองกันรังสีพจิ ารณาไดจากคาการปกปองแสงแดดหรือคา SPF
(วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ถูก เพราะรังสีอลั ตราไวโอเลตมีความถีส่ งู (sun protect factor) ซึ่งระบุเปนตัวเลขแสดงจํานวนเทาของเวลาที่ผิวหนังที่
เกินความสามารถทีต่ าจะมองเห็นได ดังนัน้ ขอ 2. จึงผิด ขอ 3. ผิด ทาครีมปองกันรังสีอัลตราไวโอเลตได เมื่อเทียบกับเวลาที่ผิวหนังที่ไมไดทาครีม
เพราะรังสีอัลตราไวโอเลตถารับในปริมาณที่มากเกินไปอาจทําให ปองกัน ซึง่ มีคา ประมาณ 20-30 นาที เชน เมือ่ ทาครีมปองกันรังสีอลั ตราไวโอเลต
เกินอันตรายตอผิวหนังได ขอ 4. ผิด เพราะรังสีอัลตราไวโอเลต ทีม่ คี า SPF 15 ผิวหนังจะทนตอรังสีอลั ตราไวโอเลตในแสงแดดได 300-450 นาที
มีความถี่สูง ความยาวคลื่นจะสั้น และความยาวคลื่นสั้นกวาแสง
ขาว และขอ 5. ผิด เพราะรังสีอัลตราไวโอเลตมีชื่อเรียกอีกอยาง
หนึ่งวา รังสีเหนือมวง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T31
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
19. นักเรียนจับคู จากนั้นรวมกันทําใบงาน เรื่อง 3.7 รังสีเอกซ์
สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา รังสีเอกซ์ (X-rays) เป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ คี วามถีอ่ ยูใ่ นช่วง 1016-1019 เฮิรตซ์ เกิดจาก
20. ครูสมุ นักเรียนจํานวน 2 คู ออกมาเฉลยใบงาน การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของอะตอม หรือเกิดจากอิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูงมาก
โดยครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวาคําตอบ ถูกหน่วงให้ชา้ ลงหรือหยุดลงเมือ่ ชนเป้าโลหะ และจากสมบัตดิ งั กล่าวจึงน�ารังสีเอกซ์ไปใช้ประโยชน์
ใดถูกตอง จากนั้นครูเฉลยคําตอบที่ถูกตอง ในงานด้านต่าง ๆ ดังนี้
ใหนักเรียน 1. ทางการแพทย์ใช้ในการถ่ายภาพรังสีเอกซ์ (radiography) เพื่อตรวจดูอวัยวะภายใน
21. ครูถามคําถามนักเรียนวา “คลืน่ แมเหล็กไฟฟา ร่างกายประกอบกับการวินิจฉัยโรค เช่น การตรวจหามะเร็งปอด นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ การถ่าย
ก อ ให เ กิ ด โทษต อ มนุ ษ ย แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ภาพโครงสร้างกระดูกและฟัน รวมทั้งในบางกรณีสามารถใช้ในการถ่ายภาพเนื้อเยื่อบางชนิด เช่น
หรือไม อยางไร” โดยใหนักเรียนแตละคน สมองและกล้ามเนื้อได้
บั น ทึ ก คํ า ตอบของตนเองลงในสมุ ด บั น ทึ ก 2. ทางอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจสอบรอยรัว่ หรือรอยร้าวของโลหะ และตรวจสอบภายใน
ประจําตัวนักเรียนเปนการบานสงชัว่ โมงถัดไป ของเครื่องจักรกล
3. ใช้ตรวจหาอาวุธและสิ่งผิดกฎหมายโดยไม่ต้องเปิดกระเป๋าเดินทางหรือหีบห่อสัมภาระ
ขัน้ สรุป 4. ในการศึกษาโครงสร้ 1 างของสารและวัสดุโดยอาศัยการ H. O. T. S.
1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกีย่ วกับสเปกตรัม นอะตอม (X-ray diffraction) เพื่อใช้ คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
เลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ผ่านอะตอม (
คลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยนักเรียนเขียนเปน ในการวิเคราะห์โครงสร้างผลึก แนวโน้มการเรียงตัวของผลึก และ รังสีเอกซ์ช่วยให้
ความสมบูรณ์ของผลึก มองเห็ น อวั ย วะ
แผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน (Concept ภายในได้อย่างไร
รังสีเอกซ์เป็นอันตรายต่อเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจึงต้องระวัง
Mapping) ลงในกระดาษ A4 พรอมตกแตง
อย่าให้ได้รบั รังสีเอกซ์ในปริมาณมากจนถึงค่าทีท่ า� ให้เกิดอันตราย
ใหสวยงาม
แนวตอบ H. O. T. S. P hysics
Focus การคนพบรังสีเอกซ์
เมื่อรังสีเอกซผานเขาสูรางกาย เนื้อเยื่อตางๆ รังสีเอกซ์ (X-rays) ถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2438 โดยนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ วิลเฮล์ม
รวมทั้ ง กระดู ก จะดู ด ซั บ รั ง สี ไ ว โดยจะดู ด ซั บ ใน คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Konrad Röntgen) รังสีเอกซ์
ปริมาณที่แตกตางกันขึ้นอยูกับความหนาแนนของ เขาพบรังสีนี้โดยบังเอิญ ในขณะที่ท�าการทดลอง
สสาร ธาตุเบาจะยอมใหรังสีผานไปไดมาก ใน เกี่ยวกับรังสีแคโทดในห้องมืด เขาสังเกตว่า แร่
แคโทด แอโนด
ขณะที่ธาตุหนักจะดูดซับรังสีไว ภาพเอกซเรยที่ได แบเรียมแพลทิโนไซยาไนด์เกิดเรืองแสงขึน้ ท�าให้
จึงมีเฉดสีขาวและดําที่แตกตางกัน เชน แคลเซียม คิดว่าจะต้องมีรงั สีบางอย่างเกิดขึน้ จากหลอดรังสี
แคโทดและมีอ�านาจทะลุผ่านสูงจนสามารถผ่าน
ในกระดูกสามารถดูดซับรังสีเอกซไดมากที่สุด จึง ผนังหลอดแคโทดไปยังก้อนแร่ได้ เรินต์เกนจึง
ทําใหมองเห็นภาพเอกซเรยกระดูกเปนสีขาว สวน เรียกรังสีนี้ว่า รังสีเอกซ์ ภาพที่ 5.27 หลอดรังสีเอกซ์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คารบอน ไฮโดรเจน และไนโตรเจนในเนื้อเยื่อและ
อวัยวะภายในดูดซับรังสีไดนอ ยกวาจึงมองเห็นภาพ 28
เปนสีเทา ในขณะทีอ่ อกซิเจนดูดซับรังสีไดนอ ยทีส่ ดุ
จึงมองเห็นปอดเปนสีขาว

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ จะใชหลักการการเลี้ยวเบน (diffraction) ของ คลื่น T เปนคลื่นที่มีความยาวคลื่นตํ่า สามารถทําใหแผนฟลม
รังสีเอกซ โดยผานชัน้ ตางๆ ของอะตอมหรือโมเลกุลภายในวัสดุหรือสารตัวอยาง ที่หอกระดาษไวเปนรอยได สมมติฐานในขอใดถูกตอง
นัน้ แลวทําการวัดการเลีย้ วเบนรังสีเอกซทมี่ มุ ตางๆ ขอมูลทีต่ รวจวัดไดเมือ่ ผาน 1. คลื่น T คือ คลื่นวิทยุ
การแปรผลแลว ทําใหสามารถพิสจู นเอกลักษณ (identification) โครงสรางผลึก 2. คลื่น T คือ คลื่นแสง
ของวัสดุหรือสารตัวอยางนั้นๆ ได 3. คลื่น T คือ รังสีเอกซ
4. คลื่น T คือ คลื่นโทรทัศน
5. คลื่น T คือ รังสีอินฟราเรด
สื่อ Digital
(วิเคราะหคําตอบ คลื่นที่สามารถทะลุแผนกระดาษไดตองเปน
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตร คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีม่ พี ลังงานสูง ไดแก รังสีแกมมาและรังสีเอกซ
สารคดีสั้น Twig เรื่อง การใชคลื่น ดังนั้น ตอบขอ 3.)
ในทางการแพทย https://www.
twig-aksorn.com/film/waves-in-
medicine-8246/

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
3.8 รังสีแกมมา ศึกษาผานมาแลววา มีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ
รังสีแกมมา (gamma ray) เป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ คี วามถีส่ งู ตัง้ แต่ประมาณ 1019 เฮิรตซ์ แลวใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น โดยที่ครู
ขึ้นไป และมีช่วงคลื่นที่สั้นมาก ท�าให้มีพลังงานสูงที่สุดเมื่อเทียบกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ อาจจะใช PowerPoint เรื่ อ ง สเปกตรั ม
รังสีแกมมาอาจปลดปล่อยออกจากปฏิกิริยานิวเคลียร์บางปฏิกิริยา หรือปลดปล่อยมาจากการเร่ง คลื่นแมเหล็กไฟฟา มาชวยในการอธิบาย
อนุภาคที่มีประจุในเครื่องเร่งอนุภาคพลังงานสูง หรือออกมาจากการระเบิดของระเบิดนิวเคลียร์ 3. นักเรียนทํา Topic Questions เรื่อง สเปกตรัม
นอกจากนี้ ยังมีรังสีแกมมาที่มาจากอวกาศและจากรังสีคอสมิก รังสีแกมมามีอ�านาจทะลุทะลวง คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากหนังสือเรียนลงในสมุด
สูงมาก จึงอันตรายมากกว่ารังสีเอกซ์ บันทึกประจําตัวนักเรียน
ในทางการแพทย์ ไ ด้ น� า รั ง สี แ กมมาจากโคบอลต์ - 60 Physics 4. ครูมอบหมายใหนกั เรียนฝกทําแบบฝกหัด Unit
in real life
(Co-60) และซีเซียม-137 (Se-137) มาใช้ในการรักษาโรค การฉายรังสีลงบนผลิตภัณฑ์ Questions เรือ่ ง สเปกตรัมคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
มะเร็ง โดยการฉายรังสีในบริเวณทีเ่ ป็นโรค และใช้สา� หรับฆ่าเชือ้ อาหาร เป็นการแปรรูปอาหาร จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
แบคทีเรีย ซึง่ แบคทีเรียบางชนิดเป็นเชือ้ โรคทีช่ อบอาศัยอยูใ่ นที่ โดยไม่ใช้ความร้อน เพื่อฆ่า 5. นักเรียนแตละคนทําแบบฝกหัด เรือ่ ง สเปกตรัม
อับชื้นหรือในภาชนะปิด จึงใช้รังสีแกมมาฉายทะลุผ่านภาชนะ จุลินทรีย์ที่ท�าให้เกิดโรค ยืด คลื่นแมเหล็กไฟฟา จากแบบฝกหัดรายวิชา
เหล่านั้น เพราะรังสีแกมมามีอ�านาจทะลุทะลวงสูง สามารถ อายุการเก็บรักษา ชะลอการสุก เพิม่ เติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสกิ ส ม.6
ท�าลายเซลล์ของเชื้อโรคร้ายนั้นได้ ลดปริ ม าณปรสิ ต ยั บ ยั้ ง การ
เลม 2หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
งอกระหว่างการเก็บรักษา และ
รังสีแกมมายังใช้ในการศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุของราก เปนการบานสงชั่วโมงถัดไป และศึกษาเนื้อหา
ยับยั้งการแพร่พันธุ์ของแมลง
พืชและการสังเคราะห์ด้วยแสง การรักษาโรคพืชบางชนิด การ เรื่อง อุปกรณที่ทํางานโดยอาศัยคลื่นแมเหล็ก
เปลี่ยนแปลงพันธุ์พืช และการฉายลงบนผลผลิตทางการเกษตร ไฟฟา ซึ่งจะเรียนในคาบตอไปมาลวงหนา
บางชนิดเพื่อให้สามารถเก็บรักษาผลผลิต
ขัน้ ประเมิน
Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง 1. ประเมิ น ความรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง สเปกตรั ม
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยสังเกตพฤติกรรมการ
Topic ตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด ใบงาน และ
Questions การสรุปสาระสําคัญ
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบใดบ้างที่ใช้ในการสื่อสารได้ ศาสตร โดยสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบใดที่ประสาทสัมผัสของผิวหนังรับรู้ได้โดยตรง
3. เตาไมโครเวฟท�าให้อาหารร้อนขึ้นได้อย่างไร
การปฏิบัติกิจกรรม และการนําความรูที่ไดไป
4. การตรวจหาต�าแหน่งของวัตถุด้วยเรดาร์อาศัยสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบใด ใชประโยชน
5. การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้าท�าให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบใด 3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
สั ง เกตพฤติ ก รรมจากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 29 การอภิปราย และการทําแบบฝกหัด

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน คลื่นไมโครเวฟ และรังสีอินฟราเรด
ครู ส ามารถวั ด และประเมิ น ความเข า ใจในเนื้ อ หา เรื่ อ ง สเปกตรั ม
2. รังสีอินฟราเรด และรังสีอัลตราไวโอเลต
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดทาํ การศึกษาคนควาและจัดทํา
3. แหลงกําเนิดคลื่นในเตาจะผลิตคลื่นไมโครเวฟที่มีความถี่ประมาณ
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
2,500 เมกะเฮิรตซ ทําใหโมเลกุลของนํ้าที่เปนสวนประกอบในอาหาร
(รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูท ี่ 5 คลืน่ แมเหล็ก
สั่นอยางรุนแรง นํ้าจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ความรอนจากนํ้า
ไฟฟา
ที่ถายโอนไปยังอาหารสงผลใหอาหารสุก
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 4

4. คลื่นไมโครเวฟ
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ 4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ

5. การเชื่อมโลหะดวยไฟฟาทําใหเกิดรังสีอัลตราไวโอเลตความเขมสูง
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T33
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครู ท บทวนความรู  เ ดิ ม เกี่ ย วกั บ สเปกตรั ม อุปกรณทท ี่ าํ งานโดย 4. อุปกรณ์ที่ท�างานโดยอาศัย
คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ว า หลั ง การค น พบ อาศัยคลืน
่ แมเหล็กไฟฟา
คลื่นวิทยุของเฮิรตซ นักวิทยาศาสตรคนพบ มีอะไรบาง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า รู ป อื่ น ๆ อี ก หลายชนิ ด นอกจากใช้ประโยชน์จากพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
และพบว า คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า มี ค วามถี่ ต  อ โดยตรงแล้ว มนุษย์มวี ธิ ใี ช้ประโยชน์จากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าในลักษณะอืน่ อีกหลายแบบ ได้แก่ การ
เนื่ อ งกั น เป น ช ว งกว า ง (104-10 23 เฮิ ร ตซ ) สร้างอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทีท่ า� งานโดยอาศัยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเพือ่ น�าไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น
เครือ่ งฉายรังสีเอกซ์ เครือ่ งควบคุมระยะไกล เครือ่ งถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เครือ่ งถ่ายภาพ
คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ทุ ก ย า นความถี่ ห รื อ
การสั่นพ้องแม่เหล็ก เครื่องสแกนรังสีเอกซ์ เครื่องระบุต�าแหน่งบนพื้นโลก
ความยาวคลื่ น รวมกั น เรี ย กว า สเปกตรั ม
คลื่นแมเหล็กไฟฟา 4.1 เครื่องควบคุมระยะไกล
2. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ อุ ป กรณ ที่ เครื่องควบคุมระยะไกลหรือรีโมตคอนโทรล (remote control) หรือเรียกกันทั่วไปว่า รีโมต
ทํางานโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยครู (remote) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการท�างานของเครื่องมือหรืออุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งเป็นการควบคุม
นําตัวอยางภาพอุปกรณตางๆ เชน กุญแจ จากระยะไกลแบบไร้สาย คือ ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการส่งสัญญาณ โดยรีโมตแบ่ง
รีโมตรถยนต เครื่องซีทีสแกน (CT scanner) ตามชนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้เป็นสื่อกลางในการส่งสัญญาณเป็น 2 ชนิด ดังนี้
เครื่ อ งสแกนกระเป า สั ม ภาระในสนามบิ น 1. รีโมตอินฟราเรด (IR remote control) หรือรีโมตไออาร์ เป็นรีโมตทีใ่ ช้แสงอินฟราเรด
มาใหนักเรียนพิจารณาวา ใชประโยชนจาก เป็นสื่อกลางในการส่งสัญญาณ ส่วนประกอบหลักของรีโมตไออาร์ คือ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใด อุปกรณ์ส่งสัญญาณอินฟราเรด (IR transmitter) อุปกรณ์ประมวลผล (microprocessor) และ
3. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ หลอดแอลอีดี (1 หลอด หรือ 2 หลอด)
เรียน เพื่อเชื่อมโยงไปสูการเรียนการสอน รีโมตไออาร์ทพี่ บเห็นได้ทวั่ ไป คือ รีโมตทีใ่ ช้กบั เครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น โทรทัศน์
เครื่องเสียง เครื่องเล่นดีวีดี เครื่องปรับอากาศ โดยในเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ต้องติดตั้งอุปกรณ์รับ
สัญญาณอินฟราเรด (IR receiver) และอุปกรณ์ประมวลผล
2. รีโมตคลื่นวิทยุ (RF remote control) หรือรีโมตอาร์เอฟ เป็นรีโมตใช้คลื่นวิทยุเป็น
สื่อกลางในการส่งสัญญาณ ส่วนประกอบหลัก
ของรีโมตอาร์เอฟ คือ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
อุ ป กรณ์ ส ่ ง สั ญ ญาณคลื่ น วิ ท ยุ และอุ ป กรณ์
ประมวลผล รีโมตอาร์เอฟที่พบเห็นได้ทั่วไป
ได้แก่ กุญแจรีโมตที่ใช้เปิด-ปิดประตูรถยนต์
รีโมตที่ใช้เปิด-ปิดประตูโรงเก็บรถ รีโมตที่ใช้
เปิด-ปิดประตูรั้วบ้าน
ภาพที่ 5.28 กุญแจรีโมตที่ใช้คลื่นวิทยุเปิด-ปิดประตู
แนวตอบ Key Question รถยนต์
อุ ป กรณ ค วบคุ ม ระยะไกล เครื่ อ งถ า ยภาพ ที่มา : คลังภาพ อจท.
30
เอกซเรยคอมพิวเตอร เครื่องถายภาพการสั่นพอง
แมเหล็ก

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับรีโมตอินฟราเรดวา เมือ่ กดปุม บนรีโมต รีโมต ใหนกั เรียนศึกษาคนควาเพิม่ เติมเกีย่ วกับรีโมตอินฟราเรดและ
จะสงรหัสทีต่ รงกับคําสัง่ บนปุม กดไปยังอุปกรณรบั สัญญาณ โดยใชพลั สของรังสี รีโมตคลื่นวิทยุจากแหลงขอมูลตางๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด
อินฟราเรดจากหลอดไฟ LED ซึง่ คลายกับการกะพริบสัญญาณขอความชวยเหลือ วารสารตางๆ ซึ่งระบุถึงการใชงานที่พบเห็นไดทั่วไป หลักการ
(SOS signal) แตแทนที่จะเปนตัวอักษร แสงกะพริบจากหลอดไฟ LED จะแทน ทํางาน ขอจํากัดของรีโมต โดยครูมอบหมายใหนกั เรียนสรุปขอมูล
ชุดของเลข 1 และเลข 0 ซึ่งเปนรหัสของคําสั่งบนปุมกด โดย “1” อาจแทนดวย ที่ศึกษาลงในกระดาษ A4 แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล
ไฟกะพริบชาๆ ขณะที่ “0” เปนไฟกะพริบเร็วๆ ตัวอยางเชน การใชรีโมตเพิ่ม
ระดับความดังของเสียงจากเครื่องรับโทรทัศน แตรีโมตมีขอจํากัดบางอยางซึ่ง
สัมพันธกับธรรมชาติของรังสีอินฟราเรด คือ รีโมตมีระยะทําการไมเกิน 30 ฟุต
(9.144 เมตร) และเนือ่ งจากสัญญาณอินฟราเรดไมสามารถทะลุผา นกําแพงหรือ
ออมผานมุมไปได การสงสัญญาณของรีโมตอินฟราเรดจึงตองสงเปนเสนทางตรง
ไปยังอุปกรณรับสัญญาณโดยไมมีสิ่งกีดขวาง

T34
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

รีโมตอาร์เอฟมีหลักการท�างานเหมือนรีโมตไออาร์ แต่เปลีย่ นจากส่งสัญญาณอินฟราเรด 1. นักเรียนแบงกลุม ออกเปน 5 กลุม กลุม ละเทาๆ


เป็นการส่งสัญญาณคลื่นวิทยุที่สอดคล้องกับค�าสั่งตัวเลขฐานสองของปุ่มกดไปยังเครื่องรับคลื่น กั น ตามความสมั ค รใจ จากนั้ น ให นั ก เรี ย น
วิทยุในอุปกรณ์ที่ควบคุมการท�างานโดยรีโมตอาร์เอฟ เครื่องรับคลื่นวิทยุจะถอดรหัสของสัญญาณ แตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลากเรื่องที่
ที่ได้รับ ท�าให้อุปกรณ์นั้นรับรู้และเข้าใจค�าสั่งที่ได้รับ ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลขไวหนา
ปัญหาของรีโมตอาร์เอฟ คือ การแทรกสอดกับสัญญาณคลื่นวิทยุจากแหล่งก�าเนิดอื่น ชั้นเรียน ซึ่งหมายเลขจะระบุเรื่องทีใ่ หนกั เรียน
เช่น โทรศัพท์มือถือ วิทยุสื่อสาร (walkie-talkie) สัญญาณไวไฟ (Wi - Fi) ข้อได้เปรียบของรีโมต ศึกษา ดังนี้
อาร์เอฟทีเ่ หนือกว่ารีโมตไออาร์ คือ ระยะท�าการ เพราะรีโมตอาร์เอฟส่งสัญญาณได้ไกลถึง 100 ฟุต • หมายเลข 1 ศึกษาเครื่องควบคุมระยะไกล
(30.48 เมตร) และสัญญาณสามารถทะลุผ่านผนังและตู้กระจกได้ • หมายเลข 2 ศึกษาเครือ่ งถายภาพเอกซเรย
คอมพิวเตอร
4.2 เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ • หมายเลข 3 ศึกษาเครื่องถายภาพการ
เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือเครื่องซีทีสแกน (CT scanner) พัฒนามาจาก สั่นพองแมเหล็ก
เครื่องเอกซเรย์ดิจิทัล (ไม่ใช้ฟิล์ม แสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์) ที่สร้างภาพอวัยวะทั้งก้อนเหมือน • หมายเลข 4 ศึกษาเครื่องสแกนรังสีเอกซ
เครื่องเอกซเรย์ธรรมดา (ใช้ฟิล์ม) มาเป็นการสร้างภาพภาคตัดขวาง (cross section) ของล�าตัว • หมายเลข 5 ศึกษาเครื่องระบุตําแหนงบน
ผู้รับการตรวจ ท�าให้ได้ภาพอวัยวะเป็นชั้น ๆ หนา 0.2-1.0 มิลลิเมตร พื้นโลก
ตามขนาดอวัยวะที่ตรวจ ลักษณะเหมือนซอยอวัยวะนั้นเป็น
2. นักเรียนแตละกลุม รวมกันศึกษาคนควาขอมูล
แผ่นบาง ๆ แล้วน�ามาถ่ายภาพรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องเอกซเรย์
เรือ่ งทีก่ ลุม ตนเองจับสลากไดจากหนังสือเรียน
ธรรมดา โดย CT ย่อมาจาก Computed Tomography ซึง่ หมายถึง
การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดโดยอาศัยคอมพิวเตอร์ หรือแหลงการเรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต
หองสมุด จากนั้นรวมกันสรุปความรูที่ไดจาก
แหล่งก�าเนิดรังสีเอกซ์ การศึกษาคนควาลงในกระดาษฟลิปชารตที่
ครูแจกใหแตละกลุม
3. นักเรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลจากการ
ศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนํา
(ก) ลักษณะภายนอกของเครื่องซีทีสแกน
เสนอ ครูคอยใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให
นักเรียนมีความเขาใจถูกตอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ภาพที่ 5.29 เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์ แบบประเมินการนําเสนอผลงาน)
คอมพิวเตอร์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เตียงขับเคลื่อน
ด้วยมอเตอร์
หัววัดรังสี
(ข) ส่วนประกอบหลักของเครื่องซีทีสแกน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 31

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องถายภาพ ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอไดเปรียบของรีโมตคลื่นวิทยุเหนือกวา
เอกซเรยคอมพิวเตอรจากแหลงขอมูลตางๆ เชน อินเทอรเน็ต รีโมตอินฟราเรดวา จากขอไดเปรียบเรื่อง ระยะทําการ จึงเกิดแนวคิดในการ
หองสมุด วารสารตางๆ ซึ่งระบุถึงหลักการทํางานของเครื่อง ขยายระยะทําการของรีโมตอินฟราเรด โดยเชือ่ มตอเขากับอุปกรณแปลงสัญญาณ
สวนประกอบหลักของเครื่อง พรอมอธิบายลักษณะของภาพที่ได อินฟราเรดเปนสัญญาณคลืน่ วิทยุ (IR to RF converter) หรือรวมรีโมตอินฟราเรด
จากการทําซีทีสแกน โดยครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปขอมูลที่ เขากับรีโมตคลื่นวิทยุ เพื่อขยายชวงการทํางานของรีโมตไออาร (30 ฟุต เปน
ศึกษาลงในกระดาษ A4 แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล 100 ฟุต) และทําใหสง สัญญาณทะลุผา นผนังและตูก ระจกได โดยสงทัง้ สัญญาณ
อินฟราเรดและสัญญาณความถี่คลื่นวิทยุพรอมกันโดยอัตโนมัติในทุกๆ คําสั่ง
อุปกรณแปลงสัญญาณคลื่นวิทยุเปนสัญญาณอินฟราเรด (RF to IR converter)
จะรับและแปลงสัญญาณกลับไปเปนพัลสอนิ ฟราเรดทีอ่ ปุ กรณปลายทางสามารถ
รับรูได ทําใหมีรีโมตที่สงสัญญาณผานสิ่งกีดขวางได

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
4. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนไดรวมกันแสดงความ เครือ่ งซีทสี แกนแบ่งหน่วยการท�างานเป็น 3 หน่วย คือ หน่วยสแกน หน่วยเก็บและประมวล
คิดเห็น ดังนี้ ผลข้อมูล และหน่วยแสดงผล โดยหน่วยสแกน ประกอบด้วยหลอดรังสีเอกซ์ ตัวบังคับรังสีเอกซ์
• อธิบายกระบวนการผลิตรังสีเอกซในหลอด และหัววัดรังสีเอกซ์ ส�าหรับเครื่องซีทีสแกนที่ใช้งานกันในปัจจุบันเป็นเครื่องซีทีสแกนที่มีลักษณะ
รังสีเอกซที่ใชในทางการแพทย ภายนอก ดังภาพที่ 5.29 (ก)
• การทําซีทสี แกนนิยมใชกบั การตรวจสวนใด การท�าซีทีสแกน หลอดรังสีเอกซ์จะฉายล�ารังสีเอกซ์รูปพัดผ่านตัวผู้รับการตรวจไปยังหัว
ของรางกายและไมนยิ มใชกบั การตรวจสวน วัดรังสีเอกซ์ซ่ึงอยู่ตรงกันข้าม โดยหลอดรังสีเอกซ์และหัววัดรังสีเอกซ์จะหมุนไปรอบตัวผู้รับการ
ใดของรางกาย ตรวจพร้อมกัน ดังภาพที่ 5.29 (ข) หัววัดรังสีเอกซ์จะส่งสัญญาณความเข้มรังสีเอกซ์ในมุมต่าง ๆ
• อธิบายหลักการสรางภาพเนือ้ เยือ่ หรืออวัยวะ ขณะหมุนรอบตัวผู้รับการตรวจที่ผ่านการแปลงเป็นสัญญาณดิจิทัล แล้วให้หน่วยเก็บและประมวล
ของเครื่องเอ็มอารไอ ผลข้อมูลท�าการวิเคราะห์และสร้างภาพภาคตัดขวางของร่างกายหรืออวัยวะที่ต�าแหน่งนั้นแล้วจัด
• เหตุใดแมเหล็กตัวนํายวดยิง่ จึงเหมาะสําหรับ เก็บไว้ จากนั้นมอเตอร์จะท�าให้เตียงขยับไปข้างหน้าเล็กน้อยเพื่อท�าการสแกนที่ต�าแหน่งใหม่จน
ใชเปนแมเหล็กในเครื่องเอ็มอารไอ ครบทุกภาคตัดขวางที่ก�าหนด
• จงเปรียบเทียบภาพทีไ่ ดจากเครือ่ งเอ็มอารไอ
กับภาพที่ไดจากการทําซีทีสแกน
5. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ประมาณ
2-3 กลุม เพื่อตอบคําถาม

ภาพที่ 5.30 ภาพซีทีสแกนแสดงลักษณะของเลือดออกในเนื้อสมอง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาพซีทสี แกนมีรายละเอียดและชัดเจนกว่าถ่ายภาพรังสีเอกซ์จากเครือ่ งเอกซเรย์ทวั่ ไป ท�าให้
เห็นความผิดปกติได้ดีกว่า ประกอบกับสมบัติการดูดกลืนรังสีเอกซ์ที่แตกต่างกันของเนื้อเยื่อชนิด
ต่าง ๆ เลือด น�้า และอากาศ ท�าให้ส่วนต่าง ๆ ของภาพซีทีสแกนมีความแตกต่างกันจนสามารถ
แยกส่วนที่เป็นรอยโรคออกจากส่วนเนื้อเยื่อปกติได้ เช่น ภาพซีทีสแกนของสมองในภาพที่ 5.30
ช่วยให้สังเกตเห็นบริเวณเลือดออกในเนื้อสมอง (บริเวณสีขาวในภาพ)
จุดประสงค์หลักในการท�าซีทีสแกน คือ การตรวจหาความผิดปกติในเนื้อเยื่อ กระดูก หรือ
โครงสร้างของร่างกาย และใช้ช่วยในการบอกต�าแหน่งที่แม่นย�าในการวางเครื่องมือเข้าไปรักษา
โดยการท�าซีทสี แกนนิยมใช้กบั การตรวจร่างกาย Con���t Q�e����n
แนวตอบ Concept Question บริเวณศีรษะและคอ บริเวณช่องท้อง บริเวณ ภาพที่ ไ ด จ ากเครื่ อ งถ า ยภาพเอกซเรย
ซีทีสแกนจะใหภาพที่แสดงรายละเอียดและ ช่องอกและกระดูกสันหลัง ส่วนกล้ามเนื้อและ คอมพิวเตอรตางจากเครื่องเอกเรยทั่วไป
กระดูกส่วนอื่น ๆ ไม่นิยมใช้การตรวจด้วยวิธีนี้ อยางไร
โครงสรางของอวัยวะไดชัดเจนกวาเครื่องเอกซเรย
ทั่วไป สามารถแยกแตละสวนของอวัยวะไมใหซอน
32
กัน แยกความทึบของเนือ้ เยือ่ ตางๆ เชน เนือ้ เยือ่ สมอง
ไดละเอียดมาก

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิม่ เติมวา ขอดีในการทําซีทสี แกน คือ ใหภาพทีแ่ สดงรายละเอียด ใหนักเรียนยกตัวอยางขอควรระวังในการตรวจรางกายดวย
และโครงสรางของอวัยวะไดชัดเจน แยกแตละสวนของอวัยวะไมใหซอนกัน เครื่องซีทีสแกน
แยกความทึบของเนื้อเยื่อตางๆ เชน เนื้อเยื่อสมอง ไดละเอียดมาก ชวยลด (แนวตอบ การทําซีทีสแกนทั้งรางกายเพื่อหาสาเหตุของโรคที่
ความปวดและอันตรายจากการตรวจพิเศษทางรังสีแบบอื่นๆ เชน การตรวจ อาจหลบซอนหรือคนหามะเร็งระยะแรกในบุคคลที่ยังมีสุขภาพดี
ระบบหลอดเลือด อยู อาจเกิดผลเสียมากกวาประโยชนที่จะไดรับ เพราะการทําซีที
สแกนบอยๆ ทําใหมคี วามเสีย่ งระยะยาวในการเกิดมะเร็งจากรังสี
สื่อ Digital เพิ่มมากขึ้น และมีโอกาสแพสารทึบรังสีสูง โดยเฉพาะผูสูงอายุ
ผูปวยโรคไตและโรคหัวใจ เนื่องจากการทําซีทีสแกนมักมีการฉีด
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการ สารทึบรังสี (หรือฉีดสี) รวมดวย เพื่อชวยใหเห็นภาพตางๆ ได
ทํางานของเครื่องซีทีสแกน ไดจาก ชัดเจน สารทึบรังสีที่ใชมักมีธาตุไอโอดีนเปนสวนผสม จึงทําให
https://www.youtube.com/ เกิดการแพไดคลายกับการแพอาหารทะเล)
watch?v=l9swbAtRRbg

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
4.3 เครื่องถ่ายภาพการสั่นพ้องแม่เหล็ก 6. ครูใหตวั แทนแตละกลุม ออกมาอธิบายคําตอบ
เครือ่ งถ่ายภาพการสัน่ พ้องแม่เหล็ก (magnetic resonance scanner) หรือเครือ่ งเอ็มอาร์ไอ จากคําถามใหเพื่อนกลุมอื่นฟง จากนั้นครู
(MRI scanner) เป็นอุปกรณ์ถ่ายภาพภาคตัดขวางเนื้อเยื่อหรืออวัยวะของร่างกายเช่นเดียวกับ อธิบายเพิม่ เติมเพือ่ ใหนกั เรียนเกิดความเขาใจ
เครือ่ งซีทโี ดยใช้สนามแม่เหล็กและคลืน่ วิทยุรว่ มกับคอมพิวเตอร์สร้างภาพเสมือนจริงของเนือ้ เยือ่ ที่ถูกตอง
หรืออวัยวะ ภาพทีไ่ ด้มรี ายละเอียดเหมือนภาพถ่าย 7. ครูอธิบายเพิ่มเติมจากคําถามวา หลอดรังสี
จริง จึงให้ขอ้ มูลได้มากกว่าเครือ่ งซีท ี ท�าให้สามารถ เอกซผลิตรังสีเอกซโดยใชความตางศักยหรือ
จ�าแนกสมบัตทิ แี่ ตกต่างกันของเนือ้ เยือ่ ได้ดกี ว่าและ แรงดันไฟฟาสูงๆ เรงอิเล็กตรอน ซึ่งปลด
สามารถตรวจได้ทุกทิศทางและทุกระนาบโดยไม่ ปลอยออกมาจากไสหลอดที่ถูกเผาใหรอนให
ต้องเปลีย่ นท่าทางของผูร้ บั การตรวจ และเนือ่ งจาก เคลือ่ นทีเ่ ขาชนเปาซึง่ เปนโลหะทีม่ เี ลขอะตอม
ไม่ใช้รงั สีเอกซ์หรือรังสีใด ๆ ใช้เพียงสนามแม่เหล็ก สูงๆ เชน ทังสเตน โมลิบดีนัม ทําใหเกิดการ
และคลืน่ วิทยุเครือ่ งเอ็มอาร์ไอจึงเป็นอุปกรณ์บนั ทึก เปลี่ยนแปลงระดับชั้นพลังงานในอะตอมของ
ภาพเพื่อการวินิจฉัยที่ปลอดภัยที่สุดของวงการ โลหะทีเ่ ปนเปาและปลดปลอยรังสีเอกซออกมา
แพทย์ เมื่อกลับสูสถานะพื้น
ขดลวดส่งและรับคลื่นวิทยุ ผู้รับการตรวจ

ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก เตียง
ค่าลดหลั่น

แม่เหล็กก�าลังสูง
เครื่องสแกน
ภาพที่ 5.31 ลักษณะภายนอกและส่วนประกอบภายในของเครื่องเอ็มอาร์ไอ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เครือ่ งเอ็มอาร์ไอมีสว่ นประกอบส�าคัญ 4 ส่วน คือ แม่เหล็กก�าลังสูง ขดลวดแม่เหล็กเกรเดียนต์
(gradient coil) ขดลวดส่งและรับคลื่นวิทยุ (radio frequency coil) และคอมพิวเตอร์ ดังภาพที่
5.31 โดยส่วนประกอบแต่ละส่วนท�าหน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้
1. แม่เหล็กก�าลังสูง เป็นแม่เหล็กตัวน�ายวดยิ่ง (superconductive magnet) อยู่ภายใน
โครงสร้างรูปโดนัท (donut shape) ขณะใช้งานต้องหล่อเย็นด้วยไนโตรเจนเหลวหรือฮีเลียมเหลว
ให้อยู่ที่อุณหภูมิวิกฤต (ประมาณ 10 เคลวิน หรือ -263 องศาเซลเซียส) ในสภาวะดังกล่าว
แม่เหล็กตัวน�ายวดยิ่งท�าให้เกิดสนามแม่เหล็กที่มีค่าสูงถึง 2.0-3.0 เทสลา ในช่องว่างตรงกลาง
ของโครงสร้างรูปโดนัท สนามแม่เหล็กนี้มีค่าคงตัวและเสถียรมาก ปกติการเปลี่ยนแปลงต้อง
น้อยกว่า 10 ส่วนในล้านส่วน (10 ppm) ตลอดบริเวณที่ต้องการถ่ายภาพ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 33

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


เครื่องเอ็มอารไอใชประโยชนจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใด ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความแตกตางของเครื่องซีทีสแกนกับเครื่องเอ็มอาร
1. คลื่นวิทยุ ไอ ไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=aQZ8tTZnQ8A
2. คลื่นแสง
3. รังสีเอกซ
4. คลื่นโทรทัศน
5. รังสีอินฟราเรด
(วิเคราะหคําตอบ เครือ่ งเอ็มอารไอจะประกอบดวยขดลวด (radio
frequency coil) ซึ่งทําหนาที่สงคลื่นวิทยุเขาไปยังเนื้อเยื่อหรือ
อวัยวะทีต่ อ งการถายภาพและรับคลืน่ วิทยุทปี่ ลดปลอยออกมาจาก
เนื้อเยื่อหรืออวัยวะนั้น เพื่อนําไปสรางภาพดวยระบบคอมพิวเตอร
ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
8. ครูอธิบายเกี่ยวกับการทําซีทีสแกนวา การทํา 2. ขดลวดแม่เหล็กเกรเดียนต์ อยูภ่ ายในโพรงแม่เหล็กก�าลังสูง โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์
ซีทีสแกนนิยมใชกับการตรวจรางกายบริเวณ ควบคุมการเปิดสวิตช์ให้กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าสู่ขดลวดนี้ เพื่อปรับเปลี่ยนค่าสนามแม่เหล็กตาม
ศีรษะและคอ บริเวณชองทอง บริเวณชองอก ต้องการ ขดลวดนีท้ า� หน้าทีส่ ร้างสนามแม่เหล็กให้แก่เนือ้ เยือ่ ทีต่ อ้ งการสร้างภาพ การปรับค่าสนาม
และกระดูกสันหลัง สวนกลามเนื้อและกระดูก แม่เหล็กนี้ท�าให้สามารถสร้างภาพในระนาบใดระนาบหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นภาพตัดขวาง ตัดตามยาว
สวนอื่นๆ ไมนิยมใชการตรวจดวยการทําซีที หรือตัดตามเฉียงที่หนาหรือบางตามต้องการได้ โดยไม่ต้องเปลี่ยนท่าทางของผู้รับการตรวจ
สแกน 3. ขดลวดส่งและรับคลืน่ วิทยุ ท�าหน้าทีส่ ง่ คลืน่ วิทยุเข้าไปยังเนือ้ เยือ่ หรืออวัยวะทีต่ อ้ งการ
9. ครูอธิบายหลักการสรางภาพเนือ้ เยือ่ ของเครือ่ ง ถ่ายภาพและรับคลื่นวิทยุที่ปลดปล่อยออกมาจากเนื้อเยื่อหรืออวัยวะนั้นเพื่อน�าไปสร้างภาพด้วย
เอ็มอารไอวา เปนการใชพัลสของคลื่นวิทยุ ระบบคอมพิวเตอร์ โดยขดลวดส่งและรับคลื่นวิทยุอาจสร้างเป็นขดเดียวกันหรือแยกกันเป็น 2 ขด
จากขดลวดสงคลื่นวิทยุกระตุนนิวเคลียสของ ส่วนความถี่คลื่นวิทยุที่ใช้อยู่ในแถบความถี่สูง (High Frequency; HF) หรือแถบความถี่สูงมาก
ไฮโดรเจนในเนื้อเยื่อที่อยูในสนามแมเหล็ก (Very High Frequency; VHF) บนสเปกตรัมคลื่นวิทยุ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับค่าสนามแม่เหล็กของ
ความเขมสูงใหเปลี่ยนแนวการวางตัวไปจาก แม่เหล็กตัวน�ายวดยิ่ง
แนวการวางตัวเดิม (การวางตัวในลักษณะที่ 4. คอมพิวเตอร์ ท�าหน้าที่น�าข้อมูลของคลื่นวิทยุที่ปลดปล่อยออกมาจากเนื้อเยื่อไป
โมเมนตแมเหล็กชี้ไปในทิศเดียวกับสนามแม สร้างภาพโดยทั่วไปเครื่องเอ็มอาร์ไอจะสร้างภาพจากการตรวจรับข้อมูลของคลื่นวิทยุจากเนื้อเยื่อ
เหล็ก) และเกิดการหมุนสายพรอมกับปลด ประมาณ 256 แห่ง ส่วนความเปรียบต่างของภาพ (image contrast) จากเครื่องเอ็มอาร์ไอจะขึ้น
ปลอยคลื่นวิทยุความถี่เดียวกันออกมาขณะ อยู่กับลักษณะเฉพาะของเนื้อเยื่อแต่ละชนิด
กลับสูแนวการวางตัวเดิม ขดลวดรับคลื่นวิทยุ เครื่องเอ็มอาร์ไอให้ภาพถ่ายที่มีความละเอียดสูงของเนื้อเยื่อในร่างกายของผู้รับการตรวจ
จะตรวจจั บ สั ญ ญาณคลื่ น วิ ท ยุ ที่ ป ลดปล อ ย ซึ่งอาศัยการสั่นพ้องทางแม่เหล็กของนิวเคลียส (nuclear magnetic resonance) โดยให้ผู้รับการ
ออกมาจากนิวเคลียสไฮโดรเจนในเนื้อเยื่อที่ ตรวจไปนอนในอุโมงค์ของแม่เหล็กตัวน�ายวดยิ่ง เมื่ออยู่ในสนามแม่เหล็กความเข้มสูง นิวเคลียส
ถูกกระตุน แลวนําไปสรางภาพและจัดเก็บไวใน ของไฮโดรเจนในเนื้อเยื่อจะวางตัวในลักษณะที่โมเมนต์แม่เหล็กชี้ไปในทิศเดียวกับสนามแม่เหล็ก
ระบบคอมพิวเตอร โดยเนื้อเยื่อที่มีไฮโดรเจน แต่เมือ่ ถูกกระตุน้ ด้วยพัลส์ (pulse) ของคลืน่ วิทยุจาก
ขดลวดส่งคลืน่ วิทยุ นิวเคลียสไฮโดรเจนในเนือ้ เยือ่ จะ
นอย เชน กระดูก จะแสดงภาพเปนสีดํา สวน
เปลีย่ นแนวการวางตัวและเกิดการหมุนส่ายพร้อมกับ
เนื้อเยื่อที่มีไฮโดรเจนมาก เชน เนื้อเยื่อไขมัน
ปลดปล่อยคลืน่ วิทยุความถีเ่ ดียวกันออกมาขณะกลับ
จะแสดงภาพเปนสีขาวกวา สู่แนวการวางตัวเดิม ขดลวดรับคลื่นวิทยุจะตรวจจับ
สัญญาณคลื่นวิทยุท่ีปลดปล่อยออกมาจากนิวเคลียส
ไฮโดรเจนในเนื้อเยื่อที่ถูกกระตุ้นแล้วน�าไปสร้างภาพ
และจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยเนื้อเยื่อที่
มีไฮโดรเจนน้อย เช่น กระดูก จะแสดงภาพเป็นสีด�า
ส่วนเนื้อเยื่อที่มีไฮโดรเจนมาก เช่น เนื้อเยื่อไขมัน
ภาพที่ 5.32 ภาพถ่ายเอ็มอาร์ไอของสมอง
จะแสดงภาพเป็นสีขาวกว่า ดังภาพที่ 5.32 ที่มา : คลังภาพ อจท.
34

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอธิบายเพิม่ เติมวา เครือ่ งเอ็มอารไอใหภาพ 3 มิติ ของเนือ้ เยือ่ หรืออวัยวะ ใหนกั เรียนศึกษาคนควาเพิม่ เติมเกีย่ วกับขอดีและขอควรระวัง
และสามารถแสดงเปนภาพตัดขวางแผนบางๆ ไดเชนเดียวกับเครื่องซีทีสแกน ในการตรวจรางกายดวยเครื่องเอ็มอารไอ จากแหลงขอมูลตางๆ
แตดวยเทคโนโลยีที่สูงกวา เครื่องเอ็มอารไอจึงใหไดทั้งภาพแนวแบงซายขวา เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด วารสารตางๆ โดยครูมอบหมายให
(sagittal view) และแนวแบงหนาหลัง (coronal view) และใหภาพที่มีความ นักเรียนสรุปขอมูลที่ศึกษาลงในกระดาษ A4 แลวสงครูผูสอน
เปรียบตางมากกวาและคมชัดกวาการทําซีทสี แกน ในการตรวจภาพเนือ้ เยือ่ หรือ เปนรายบุคคล
อวัยวะบางอยาง ภาพจากเครื่องเอ็มอารไอจะชวยในการวินิจฉัยโรคไดแมนยํา
กวาภาพจากการทําซีทีสแกน แตมีคาใชจายสูงกวาการทําซีทีสแกนประมาณ กิจกรรม ทาทาย
1-3 เทา ซึ่งการเลือกตรวจดวยเครื่องเอ็มอารไอหรือการทําซีทีสแกนจึงขึ้นอยู
ใหนกั เรียนแบงกลุม อยางอิสระ กลุม ละ 4-5 คน ศึกษาคนควา
กับดุลยพินิจของแพทย
เพิ่มเติมวา เครื่องเอ็มอารไอสามารถใชงานกับผูปวยแบบใด และ
สามารถใชตรวจอวัยะสวนใดของรางกายไดบาง จากแหลงขอมูล
ตางๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด วารสารตางๆ โดยครูมอบหมาย
ใหแตละกลุม สรุปขอมูลทีศ่ กึ ษา พรอมภาพประกอบลงในกระดาษ
A4 แลวสงครูผูสอนเปนกลุม

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
เครื่องเอ็มอาร์ไอเหมาะส�าหรับการตรวจหารอยโรคในสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาท 10. ครูอธิบายตอวา การสรางภาพของเครื่องเอ็ม
เช่น ภาวะสมองขาดเลือด ความผิดปกติบริเวณก้านสมอง ซึ่งตรวจหาความผิดปกติได้ดีกว่าการ อารไอตองการสนามแมเหล็กคงตัวที่ความ
ท�าซีทีสแกน โรคเนื้องอกของสมอง และโรคลมชัก เครื่องเอ็มอาร์ไอยังใช้ได้ดีในการตรวจกระดูก เขมสูงและเสถียรมาก แมเหล็กตัวนํายวดยิ่ง
สันหลัง ระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นยึดกระดูก จะทําใหเกิดสนามแมเหล็กที่มีความเขมสูง
ถึง 2-3 เทสลา และปกติมีการเปลี่ยนแปลง
นอยกวา 10 สวนในลานสวน ตลอดบริเวณ
ที่ตองการถายภาพ ดังนั้น แมเหล็กตัวนํา
ยวดยิ่งจึงเหมาะสําหรับใชเปนแมเหล็กใน
เครื่องเอ็มอารไอ
11. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนคิดวา แลวภาพที่ได
จากเครื่องเอ็มอารไอกับภาพที่ไดจากการทํา
ซีทีสแกนตางกันหรือไม อยางไร
ภาพที่ 5.33 ภาพถ่ายเอ็มอาร์ไอของข้อเข่าและกล้ามเนื้อ 12. ครูใหนักเรียนตอบคําถามตามความสมัครใจ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากนัน้ ครูอธิบายวา เครือ่ งเอ็มอารไอใหภาพ
เครื่องเอ็มอาร์ไอจึงเหมาะที่จะใช้ในการวินิจฉัยรอยโรคต่าง ๆ ในกระดูกสันหลังและระบบ 3 มิติ ของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ และสามารถ
กล้ามเนือ้ และข้อ เช่น หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท หรือการบาดเจ็บต่อเส้นเอ็นบริเวณข้อต่าง ๆ แสดงเปนภาพตัดขวางแผนบางๆ ไดเชน
ภาพถ่ายเอ็มอาร์ไอช่วยให้เห็นความผิดปกติท่ีเกิดขึ้นภายในโพรงกระดูกหรือไขกระดูกได้ เดียวกับการทําซีทีสแกน แตดวยเทคโนโลยี
อย่างชัดเจน เช่น เนื้องอกภายในกระดูก โดยบอกขอบเขตของโรคได้ถูกต้องแม่นย�า ซึ่งเป็น ที่สูงกวา เอ็มอารไอจึงใหไดทั้งภาพแนวแบง
ประโยชน์ในการวางแผนการรักษาโรคของกระดูกบางอย่าง เช่น การขาดเลือดไปเลี้ยงที่กระดูก ซายขวาและแนวแบงหนาหลัง และใหภาพที่
ต้นขา มีความเปรียบตางมากกวาและคมชัดกวาการ
ทําซีทีสแกน
4.4 เครื่องสแกนรังสีเอกซ์
เครื่องสแกนรังสีเอกซ์หรือเครื่องสแกน
กระเป๋า (X-ray baggage scanner) เป็นเครือ่ ง
ตรวจสอบสัมภาระของผู้โดยสารด้วยรังสีเอกซ์
เพื่อความปลอดภัยในสนามบินหรือสถานี ซึ่ง
กระเป๋าเดินทางจะถูกตรวจด้วยรังสีเอกซ์จาก
เครื่องสแกนกระเป๋าว่ามีวัตถุอันตรายชนิดใด
อยู่บ้าง ดังภาพที่ 5.34 ภาพที่ 5.34 เครื่องสแกนรังสีเอกซ์
ที่มา : คลังภาพ อจท.

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 35

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับเครื่องเอ็มอารไอ ครูอธิบายเพิม่ เติมวา ในระบบกลามเนือ้ กระดูกและขอ ขอทีต่ รวจดวยเครือ่ ง
1. เนือ้ เยือ่ ทีม่ ไี ฮโดรเจนนอย เชน กระดูก จะแสดงภาพเปนสีดาํ เอ็มอารไอมากที่สุด คือ ขอเขา รองลงมา คือ ขอไหล ซึ่งแพทยจะใหตรวจเมื่อ
2. เครื่องเอ็มอารไอกอใหเกิดอันตรายตอเนื้อเยื่อมากกวาการ สงสัยวาจะมีการฉีกขาดของเสนเอ็นหรือกระดูกออนภายในขอ เนือ่ งจากการถาย
ทําซีทีสแกน ภาพรังสีเอกซธรรมดา อาจเห็นเพียงเงาของนํา้ ในขอ แตเครือ่ งเอ็มอารไอจะทําให
3. แมเหล็กกําลังสูงทีเ่ ปนสวนประกอบของเครือ่ งเอ็มอารไอ คือ เห็นสวนประกอบตางๆ ภายในขอไดอยางชัดเจน และบอกไดอยางแมนยําวามี
แมเหล็กตัวนํายวดยิ่ง การบาดเจ็บตอสวนประกอบเหลานั้นอยางไรบาง
4. เครือ่ งเอ็มอารไอตรวจโดยอาศัยการสัน่ พองทางแมเหล็กของ
นิวเคลียสของไฮโดรเจน
5. ความถีข่ องคลืน่ วิทยุทใี่ ชอยูใ นแถบความถีส่ งู (HF) หรือแถบ
ความถี่สูงมาก (VHF) บนสเปกตรัมคลื่นวิทยุ
(วิเคราะหคําตอบ เครื่ อ งเอ็ ม อาร ไ อไม ก  อ ให เ กิ ด อั น ตรายต อ
เนือ้ เยือ่ อยางการทําซีทสี แกน เพราะไมใชรงั สีใดๆ ในการถายภาพ
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
13. ครู ใ ห ค วามรู  กั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ เครื่ อ ง รังสีเอกซ์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สามารถทะลุผ่านวัตถุต่าง ๆ ได้ พลังงานของรังสีเอกซ์
เอกซเรยวา เครื่องจะตรวจหาวัตถุ 3 ชนิด บางส่วนจะถูกวัตถุดดู กลืนไว้ ซึง่ จะขึน้ อยูก่ บั ชนิดของวัตถุ พลังงานของเครื
1 อ่ งสแกนรังสีเอกซ์ทใี่ ช้
หลักๆ คือ สารอินทรีย สารอนินทรีย และ ( energy x-ray system)
ระบบตรวจจับรังสีเอกซ์ (dual
กันในสนามบินโดยทัว่ ไปเป็นระบบทีเ่ รียกว่า ระบบตรวจจั
โลหะตางๆ ซึง่ สีทใี่ ชแสดงผลบนหนาจอเครือ่ ง
เอกซเรยของวัตถุจะแตกตางกันออกไปตาม แหล่งก�าเนิดรังสีเอกซ์
แตผูผลิตนั้น รังสีเอกซ์พลังงานต�่า
14. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนทราบหรือไมวา รังสีเอกซ์พลังงานสูง
วัตถุประเภทใดที่ทุกบริษัทผูผลิตเครื่องจะ กระเป๋าสัมภาระ
ตองใชสีสมแสดงผลเทานั้น
15. ครู ใ ห เ วลานั ก เรี ย นคิ ด จากนั้ น อธิ บ ายว า สายพานล�าเลียง
ทุ ก บริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต เครื่ อ งจะกํ า หนดให เ ครื่ อ ง
เอกซเรยใชสีสมแสดงถึงสารอินทรียเทานั้น ภาพที่ 5.35 ระบบตรวจจับรังสีเอกซ์
เพราะวา สารเสพติดและสารระเบิดทั้งหลาย ที่มา : คลังภาพ อจท.
เปนสารอินทรียทั้งสิ้น เมือ่ รังสีเอกซ์สอ่ งผ่านวัตถุตา่ ง ๆ ในกระเป๋าเดินทาง รังสีจะทะลุผา่ นไปยังตัวตรวจจับตัวแรก
(1st detector) และทะลุผ่านไปยังตัวกรอง (filter) ซึ่งส่วนใหญ่ท�าจากทองแดง โดยตัวกรองนี้จะ
กั้นรังสีเอกซ์พลังงานต�่าไว้ และยอมให้รังสีเอกซ์ส่วนที่เหลือซึ่งมีพลังงานสูงผ่านต่อไปยังตัวตรวจ
จับรังสีชุดที่ 2 (2nd detector) ดังภาพที่ 5.35 ภาพที่ปรากฏบนหน้าจอแสดงผลนั้นจะเห็นเป็น
สีต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุและความสามารถในการดูดกลืนรังสีเอกซ์ของวัตถุนั้น ๆ โดยโลหะ
และธาตุหนักอื่น ๆ จะดูดกลืนรังสีเอกซ์พลังงานต�่า และวัตถุอินทรีย์ (organic materials) จะดูด
กลืนรังสีเอกซ์พลังงานสูงได้ดีกว่า ดังภาพที่ 5.36

ภาพที่ 5.36 ตัวอย่างการแสดงผลของวัตถุชนิดต่าง ๆ ที่ถูกสแกนโดยเครื่องสแกนรังสีเอกซ์


ที่มา : คลังภาพ อจท.
36

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 ระบบตรวจจับรังสีเอกซ ระบบนี้จะมีแหลงกําเนิดรังสีเอกซ 1 ชุด สงคลื่น ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีหรือเทคนิคการ
ออกไปในชวง 140-160 kVp (kilovoltage peak) ซึ่งคา kVp นี้เปนคาที่บอกถึง ผานเครื่องสแกนรังสีเอกซในสนามบินอยางราบรื่น เชน การบรรจุ
ปริมาณการทะลุผานวัตถุตางๆ ของรังสีเอกซ ยิ่งคา kVp สูง แสดงวารังสีเอกซ ของเหลว (สบูเหลว แชมพู ครีม) ในภาชนะบรรจุที่มีขนาดความ
จุไมเกิน 100 มิลลิลิตร จากแหลงขอมูลตางๆ เชน อินเทอรเน็ต
สามารถทะลุผานวัตถุไดดีขึ้น ซึ่งในระบบนี้จะใชรังสีเอกซที่มีคาพลังงานทั้งสูง
โดยครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปขอมูลที่ศึกษาลงในกระดาษ A4
และตํ่ารวมอยูดวยกัน
แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล

สื่อ Digital
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการ
ของเครื่องสแกนรังสีเอกซ ไดจาก
https://www.youtube.com/
watch?v=zlt8wH36bKc

T40
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
เครือ่ งสแกนรังสีเอกซ์จะตรวจหาวัตถุ 3 ประเภท และแบ่ง Physics 16. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับขอดี
เป็นสีเพื่อแสดงบนหน้าจอ เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบ in real life และขอเสียของระบบ GPS เชน ขอดี คือ
ได้งา่ ย คือ วัตถุอนิ ทรีย ์ (organic) วัตถุอนินทรีย ์ (inorganic) สิ่ ง ที่ ไ ม่ ส ามารถน� า ติ ด ตั ว ขึ้ น สามารถใชไดทงั้ การคมนาคมทางบก ทางนํา้
และโลหะ (metal) สีทใี่ ช้แสดงผลบนหน้าจอของเครือ่ งของวัตถุ เครือ่ งบินได้ คือ กลุม่ วัตถุระเบิด หรือในอวกาศ และไมมคี า ใชจา ยอืน่ ๆ ในการ
อาวุธต่าง ๆ กระป๋องอัดแก๊สที่
อนินทรีย์และโลหะจะแตกต่างกันตามแต่บริษัทผู้ผลิตเครื่อง ติดไฟได้ สารฟอกขาว ยาพิษ
ใชงาน สวนขอเสียของระบบ GPS คือ อาจ
แต่จะก�าหนดให้เครือ่ งสแกนรังสีเอกซ์ใช้สสี ม้ แสดงถึงวัตถุอนิ ทรีย์ สารหนู สารไซยาไนด์ สาร เกิดปญหาที่เกิดจากดาวเทียม ซึ่งเกิดจากวง
เท่านัน้ ซึง่ มักเป็นส่วนผสมส�าคัญของวัตถุระเบิด หรือวัตถุทอี่ าจ กัดกร่อน เช่น แบตเตอรีร่ ถยนต์ โคจรคลาดเคลื่อนเนื่องจากแรงโนมถวงของ
เป็นส่วนผสมของระเบิด (IED) สีทใี่ ช้แสดงผลของวัตถุชนิดต่าง ๆ กรด ปรอท ดวงจันทรและดวงอาทิตย
เช่น สีฟา้ แสดงถึงวัตถุอนินทรีย ์ สีเขียวแสดงถึงโลหะเบาและของ
ผสมระหว่างสารอินทรียแ์ ละสารอนินทรีย์ ลงมือทํา (Doing)
17. นักเรียนแตละคนทําแบบฝกหัด เรือ่ ง อุปกรณ
4.5 เครื่องระบุต�าแหน่งบนพื้นโลก ที่ทํางานโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา จาก
เครือ่ งระบุตา� แหน่งบนพืน้ โลก หรือ GPS (Global Positioning System) เป็นระบบการระบุ แบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและ
ต�าแหน่งและน�าทางด้วยดาวเทียม ซึง่ ถูกพัฒนาเสร็จสมบูรณ์และน�ามาใช้งานตัง้ แต่ พ.ศ. 2533 เทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการเรียน
ประกอบด้วยดาวเทียมจ�านวน 24 ดวง ที่โคจรรอบโลกวันละ 2 รอบ ท�าให้เครื่องรับสัญญาณ รูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
มองเห็นดาวเทียมไม่นอ้ ยกว่า 4 ดวง บนท้องฟ้า ไม่วา่ จะอยูท่ ใี่ ดบนพืน้ ผิวโลก เป็นผลท�าให้สามารถ 18. ครูสุมนักเรียนจํานวน 2-3 คน ออกมาเฉลย
น�าข้อมูลการรับสัญญาณ GPS ไปค�านวณหาต�าแหน่งได้ตลอดเวลา 24 ชัว่ โมง ในทุกสภาพอากาศ
แบบฝกหัด โดยครูใหนกั เรียนรวมกันพิจารณา
และทุกแห่งบนพืน้ โลก
วาคําตอบใดถูกตอง จากนั้นครูเฉลยคําตอบ
1. ส่วนประกอบของ GPS ที่ถูกตองใหนักเรียน
1) ส่วนอวกาศ (space segment) ประกอบด้วยดาวเทียมจ�านวน 24 ดวง ซึ่งโคจร
รอบโลก วงโคจรของดาวเทียมจะอยู่สูงจากพื้น
โลก 20,162.81 กิโลเมตร (หรือ 12,600 ไมล์)
ท�ามุมกับเส้นศูนย์สูตร (equator) เป็นมุม 55
องศา ในลักษณะสานกันคล้ายลูกตะกร้อ ดังภาพ
ที่ 5.37 มีวงโคจรทั้งหมด 6 เส้นทาง ในแต่ละ
เส้นทางจะมีดาวเทียมโคจรอยู่ 4 ดวง โดย
ดาวเทียม 1 ดวง จะสามารถโคจรรอบโลกได้ 1
รอบ ใน 12 ชัว่ โมง (ประมาณ 1.8 ไมล์ตอ่ วินาที)
ในระหว่างการโคจรรอบโลกนั้น ดาวเทียมจะมี
การส่งสัญญาณสู่พื้นโลกผ่านเสาส่งสัญญาณที่ ภาพที่ 5.37 การโคจรของดาวเทียม GPS รอบโลก
ติดตั้งจากดาวเทียมมายังโลก ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 37

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


สถานีในขอใดที่ไมมีการผสมคลื่นในกระบวนการสงสัญญาณ ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับระบบการบอกตําแหนงหรือจีพเี อส (Global
ก. สถานีวิทยุ ข. สถานีเรดาร Positioning System; GPS) วา เปนระบบบอกตําแหนงบนพื้นผิวโลก โดยอาศัย
ค. สถานีโทรทัศน ง. สถานีสื่อสารดาวเทียม การคํานวณจากความถีส่ ญ ั ญาณนาฬกาทีส่ ง มาจากดาวเทียมทีโ่ คจรอยูร อบโลก
1. ขอ ก. และขอ ข. ซึง่ ทราบตําแหนง ทําใหระบบนีส้ ามารถบอกตําแหนง ณ จุดทีส่ ามารถรับสัญญาณ
2. ขอ ก. และขอ ค. ไดทั่วโลก นักเรียนจึงควรรูเกี่ยวกับระบบบอกตําแหนงเพื่อสะดวกตอการคนหา
3. ขอ ข. และขอ ค. ตําแหนงที่ตั้งตางๆ ไดอยางแมนยํา
4. ขอ ก. ขอ ค. และขอ ง.
5. ขอ ก. ขอ ข. และขอ ง.
(วิเคราะหคําตอบ สถานีวิทยุ สถานีโทรทัศน และสถานีสื่อสาร
ดาวเทียมตองมีการผสมคลื่นเสียงหรือคลื่นแสงไปกับคลื่นพาหะ
แตสถานีเรดารเปนสถานีสงและรับคลื่นไมโครเวฟ ดังนั้น ตอบ
ขอ 4.)

T41
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. นักเรียนและครูรว มกันอภิปรายแสดงความเห็น
ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา คลื่นแมเหล็กไฟฟา 2) ส่วนสถานีควบคุม (control station segment) ท�าหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับดาวเทียม
นําไปใชประโยชนในการทํางานของอุปกรณ ด้วยสัญญาณเรดาร์ ท�าการค�านวณผลเพื่อให้ดาวเทียมอยู่ในวงโคจร ในความสูง ความเร็ว และ
บางชนิด เชน อุปกรณควบคุมระยะไกล (รังสี ต�าแหน่งที่ถูกต้อง แล้วส่งข้อมูลที่ได้ไปยังดาวเทียมอยู่ตลอดเวลา สถานีควบคุมจะประกอบด้วย
อิ น ฟราเรดและคลื่ น วิ ท ยุ ) เครื่ อ งถ า ยภาพ 5 สถานียอ่ ย ตัง้ อยูท่ หี่ มูเ่ กาะดีเอโกการ์เซีย (Diego Garcia) มหาสมุทรอินเดีย หมูเ่ กาะอัสเซนชัน
เอกซเรยคอมพิวเตอร (รังสีเอกซ) และเครื่อง (Ascension Island) มหาสมุทรแอตแลนติก หมูเ่ กาะควาจาเลียน (Kwajalein) ประเทศฟิลปิ ปินส์
ถายภาพการสั่นพองแมเหล็ก (คลื่นวิทยุ) และหมู่เกาะฮาวาย (Hawaii) ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมีสถานีควบคุมหลัก ตั้งอยู่ที่เมือง
2. นักเรียนแตละคนสรุปเกีย่ วกับอุปกรณทที่ าํ งาน โคโลราโดสปริงส์ (Colorado Springs) ประเทศสหรัฐอเมริกา
โดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยเขียนเปน 3) ส่วนผู้ใช้ (user segment) ประกอบด้วยเครื่องรับสัญญาณ (GPS receiver) แบบ
แผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน (Concept เคลือ่ นทีท่ ใี่ ช้กนั ทัว่ ไป ภายในเครือ่ ง GPS นัน้ จะมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์อยูใ่ นตัวเครือ่ งเพือ่ ท�าการ
Mapping) ลงในกระดาษ A4 พรอมตกแตง ค�านวณ ตรวจสอบ และถอดรหัสสัญญาณทีไ่ ด้จากดาวเทียม แล้วจึงส่งข้อมูลออกมาทางหน้าจอของ
ใหสวยงาม เครื่อง GPS นั้น ๆ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ทราบข้อมูล การแสดงผลอาจแตกต่างกันได้ขึ้นอยู่กับโปรแกรม
3. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได ในเครื่อง GPS แต่ละรุ่นและแต่ละยี่ห้อ
ศึกษาผานมาแลววา มีสวนใดที่ยังไมเขาใจ 2. หลักการท�างานของ GPS การค�านวณระยะทางระหว่างดาวเทียมกับเครื่อง GPS
แลวใหความรูเ พิม่ เติมในสวนนัน้ โดยทีค่ รูอาจ จะต้องใช้ระยะทางจากดาวเทียมอย่างต�่า 3 ดวง เพื่อให้ได้ต�าแหน่งที่แน่นอน เมื่อเครื่อง GPS
จะใช PowerPoint เรื่อง อุปกรณที่ทํางานโดย สามารถรับสัญญาณจากดาวเทียมได้ 3 ดวงขึ้นไปแล้ว จะมีการค�านวณระยะทางที่คลื่นวิทยุใช้
อาศัยคลืน่ แมเหล็กไฟฟา มาชวยในการอธิบาย ในการเดินทางจากดาวเทียมถึงเครื่อง GPS (ความเร็ว × เวลาที่ใช้เดินทาง = ระยะทาง) โดย
4. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นฝ ก ทํ า แบบฝ ก หั ด ดาวเทียมทั้ง 3 ดวง จะส่งสัญญาณที่เหมือนกันมายังเครื่อง GPS ด้วยความเร็วคงตัว (186,000
Topic Questions เรื่อง อุปกรณที่ทํางานโดย ไมล์ต่อวินาที) แต่ระยะเวลาในการรับสัญญาณจากดาวเทียมแต่ละดวงนั้นจะไม่เท่ากัน เนื่องจาก
อาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากหนังสือเรียนลง ระยะทางไม่เท่ากัน
ในสมุดบันทึกประจําตัวเปนการบานสงชั่วโมง จากภาพที ่ 5.38 จะเห็นได้วา่ จะเหลือ
ดาวเทียม 1 ส่วนที่เป็นอวกาศ ต�าแหน่งอยู่ 2 จุด ที่บริเวณวงกลมทั้งสาม
ถัดไป และศึกษาเนื้อหา เรื่อง การสื่อสารโดย
อาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งจะเรียนในชั่วโมง ดาวเทียม 2 ตัดกัน คือ ต�าแหน่งที่อยู่ในอวกาศ ซึ่งแน่นอน
ว่าเราไม่สามารถไปอยู่ในอวกาศได้ ต�าแหน่งนี้
ตอไปมาลวงหนา โลก จึงถูกตัดทิ้งโดยอัตโนมัติ โดยเครื่อง GPS อีก
ต�าแหน่งคือ ต�าแหน่งบนพื้นโลก ซึ่งความถูก
ต้องแม่นย�าของต�าแหน่งจะขึ้นอยู่กับจ�านวน
ดาวเทียม 3 ดาวเทียมที่สามารถรับสัญญาณได้ในขณะนั้น
หากมีดาวเทียมมากกว่า 3 ดวง ก็จะมีความ
ภาพที่ 5.38 ระยะสัญญาณของดาวเทียมทั้ง 3 ดวง ละเอียดมากขึ้น และขึ้นอยู่กับความสามารถ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ของเครื่อง GPS
38

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง จีพีเอสคืออะไร ดาวเทียมสื่อสารมีหนาที่อยางไร
ไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/what-is-gps-7806/ 1. ชวยรับและถายทอดสัญญาณไมโครเวฟกลับลงสูพื้นดิน
2. ช ว ยแปลงสั ญ ญาณไฟฟ า ของเครื่ อ งส ง เป น สั ญ ญาณ
ไมโครเวฟ
3. ชวยผสมสัญญาณไฟฟาของเสียงกับสัญญาณไฟฟาความถี่
ไมโครเวฟ
4. ชวยแยกสัญญาณไฟฟาของเสียงออกจากสัญญาณไฟฟา
ความถี่ไมโครเวฟ
5. ชวยรับสัญญาณไมโครเวฟแลวขยายใหมีความเขมมากขึ้น
เทาสัญญาณเดิม
(วิเคราะหคําตอบ ดาวเทียมสื่อสาร ทําหนาที่รับและถายทอด
สัญญาณไมโครเวฟกลับลงสูพื้นดิน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T42
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง อุปกรณที่ทํางาน
3. การประยุกต์ใช้งานเครือ่ ง GPS ปัจจุบนั ได้ผนวกระบบ GPS ลงในโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยอาศั ย คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า โดยสั ง เกต
เพือ่ ประโยชน์ในการค้นหาต�าแหน่งของสถานทีต่ า่ ง ๆ อีกทัง้ ผนวกระบบ GPS เข้ากับรถยนต์เพือ่ เป็น พฤติกรรมการตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด
ระบบน�าทางให้แก่ผู้ขับขี่ โดยเฉพาะระยะทางไกลหรือในเส้นทางที่ไม่คุ้นเคย ซึ่งจะมีระบบน�าทาง ใบงาน และการสรุปสาระสําคัญ
(navigation) ช่วยเตือนผู้ขับขี่ให้ได้ทราบถึงลักษณะของเส้นทางต่าง ๆ ล่วงหน้า เช่น ทางเลี้ยว 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
ทางเบี่ยง ทางโค้ง พร้อมกับการบอกเส้นทางด้วยเสียง ศาสตร โดยสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ประโยชน์การใช้งานของระบบ GPS ไม่ได้มีเพียงแค่ในรถยนต์หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ การปฏิบัติกิจกรรม และการนําความรูที่ไดไป
เท่านั้น แต่ระบบ GPS สามารถประยุกต์ใช้กับระบบทางน�้า ทางบก และทางอากาศได้ ตัวอย่าง ใชประโยชน
เช่น 3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
สั ง เกตพฤติ ก รรมจากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม
การคมนาคมทางน�า้ ระบบติดต่อสือ่ สาร การสร้างแผนที่ การอภิปราย และการทําแบบฝกหัด
ใช้ประกอบในการเดิน (mobile telecommu- (mapping) เช่น บอก
เรื อ เพื่ อ บอกต� า แหน่ ง ของ nication) เช่น บอกต�าแหน่ง ต� า แหน่ ง ของสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง
การเดินเรือน่านน�้า รวมทั้ง ของคู ่ ส นทนา หรื อ ค้ น หา ต่าง ๆ สร้างแผนที่จราจร
ระบุต�าแหน่งผู้บุกรุกน่านน�้า สถานที่ ใ กล้ กั บ ต� า แหน่ ง ทั้งทางบก ทางน�้า และทาง
ของแต่ละประเทศ ผู้ใช้งาน อากาศ

การวางแผนใน การคมนาคมใน การจราจรและขนส่ง


การส�ารวจ (survey) อวกาศ (space naviga- ใช้ ใ นการแก้ ป ั ญ หา
เช่น การบอกต�าแหน่งของ tion) เช่น การบอกต�าแหน่ง การจราจร การปรับปรุงเพิม่
สิ่ ง ที่ ส� า รวจ ได้ แ ก่ ทอง ที่อยู่ของอุกกาบาตในระยะ ความปลอดภั ย ในระบบ
แร่ ธ รรมชาติ และแหล่ ง ที่เป็นอันตรายต่อโลก บอก การจราจร และการรายงาน
น�้ามัน ต�าแหน่งของวัตถุแปลกปลอม สภาพการจราจร
ที่เข้ามายังโลก

ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ า นสุ ข ภาพและ การค้นหาสถานทีต่ งั้


(environment) เช่น การกีฬา การวัดความเร็ว ต่าง ๆ เช่น ปัมน�้ามัน
บอกต�าแหน่งการเกิดไฟป่า เพื่อใช้ในการฝกฝน ระยะ ธนาคาร โรงพยาบาล ร้าน
ต�าแหน่งทีม่ กี ารตัดไม้ทา� ลาย ทาง ซึ่ ง น� า ไปใช้ ร ่ ว มกั บ อาหาร ห้างสรรพสินค้า และ
ป่า รวมทัง้ บอกต�าแหน่งของ การค�านวณการเผาผลาญ อื่น ๆ อีกมากมาย
สัตว์ป่า แคลอรี

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 39

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4-5 คน และใหเวลา ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง อุปกรณทที่ าํ งานโดย
นักเรียนประมาณ 30-40 นาที เพื่อออกไปสํารวจภายในโรงเรียน อาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากการสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม การปฏิบัติ
วามีสิ่งใดที่เกี่ยวของกับคลื่นแมเหล็กไฟฟาบาง สิ่งนั้นใชคลื่น กิจกรรม และการนําความรูที่ไดไปใชประโยชน โดยศึกษาเกณฑการวัดและ
แมเหล็กไฟฟาชวงใด และมีความสําคัญอยางไร โดยใหบันทึกลง ประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงานที่แนบมาทายแผนการจัดการ
ในสมุดบันทึกประจําตัว จากนั้นจึงใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอ เรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
ใหเพื่อนๆ กลุมอื่นฟง ประมาณ 5 นาที แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา   
2 ความคิดสร้างสรรค์   
3 วิธีการนาเสนอผลงาน   
4 การนาไปใช้ประโยชน์   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/................./..................

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T43
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครู ท บทวนเกี่ ย วกั บ การใช ป ระโยชน จ าก สัญญาณแอนะล็อกและ 5. การสื่อสารโดยอาศัย
คลืน่ แมเหล็กไฟฟาจากการทํางานของอุปกรณ สั ญ ญาณดิ จิ ทั ล ต า งกั น
บางชนิด เชน อุปกรณควบคุมระยะไกล (รังสี อยางไร
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
อิ น ฟราเรดและคลื่ น วิ ท ยุ ) เครื่ อ งถ า ยภาพ การสื่อสารข้อมูลจะพบลักษณะร่วมกัน คือ การส่งข้อมูล
เอกซเรยคอมพิวเตอร (รังสีเอกซ) และเครื่อง หรือสารสนเทศต้องส่งผ่านสื่อกลาง แต่ข้อมูลหรือสารสนเทศจะส่งผ่านสื่อกลางโดยตรงไม่ได้
ถายภาพการสั่นพองแมเหล็ก (คลื่นวิทยุ) ต้องแปลงเป็นสัญญาณหรือรหัสก่อน แล้วจึงส่งผ่านสือ่ กลางไปยังผูร้ บั และเมือ่ ถึงปลายทางหรือผูร้ บั
จะต้องแปลงสัญญาณหรือรหัสนัน้ กลับมาเป็นข้อมูลหรือสารสนเทศเหมือนทีส่ ง่ มา ในระหว่างการส่ง
2. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ การใช
อาจมีสิ่งรบกวน (noise) จากภายนอก ท�าให้ข้อมูลบางส่วนเสียหายหรือผิดเพี้ยนไป โดยการส่ง
คลื่นแมเหล็กไฟฟาในการสื่อสารขอมูล และ
ในระยะไกลจะเกิดสิ่งรบกวนมากกว่าการส่งในระยะใกล้ จึงต้องหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดยการ
ถามคําถามนักเรียนวา การสื่อสารขอมูลมี พัฒนาตัวกลางในการสื่อสารให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
ความหมายวาอยางไร โดยใหนักเรียนรวมกัน
อภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระโดยไมมี 5.1 กระบวนการรับและส่งข้อมูล
การเฉลยวาถูกหรือผิด ข้อมูลไม่สามารถส่งไปในระยะทางไกลได้โดยตรง การส่งข้อมูลในระยะทางไกลต้องแปลง
3. ครู ถ ามคํ า ถามว า สั ญ ญาณแอนะล็ อ กและ ข้อมูลให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า สัญญาณข้อมูล (data signal) ก่อนส่งผ่านสื่อกลางในการ
สัญญาณดิจิทัลตางกันอยางไร เพื่อเชื่อมโยง ส่งข้อมูล ซึ่งนอกจากจะส่งข้อมูลไปได้ในระยะทางไกลแล้ว ยังเป็นการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง
ไปสูการเรียนการสอน ด้วย สัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล
1. สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) เป็นสัญญาณที่มีลักษณะเป็นคลื่นต่อเนื่อง
โดยแต่ละคลื่นอาจมีความถี่และความเข้มของสัญญาณหรือแอมพลิจูดต่างกัน โดยความถี่และ
ความเข้มของสัญญาณจะเปลี่ยนแปลงตามเวลาอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น สัญญาณ
เสียงในสายโทรศัพท์ ลักษณะของสัญญาณแอนะล็อกพิจารณาได้จากภาพที่ 5.39
ระดับสัญญาณ

เวลา

ภาพที่ 5.39 ลักษณะของสัญญาณแอนะล็อก


แนวตอบ Key Question ที่มา : คลังภาพ อจท.
สัญญาณแอนะล็อกเปนสัญญาณทีม่ คี า ความถี่ สัญญาณแอนะล็อกถูกรบกวนให้เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เนื่องจากสัญญาณรบกวนจะเติม
และแอมพลิจดู เปลีย่ นแปลงอยางตอเนือ่ งตามเวลา เข้าไปในสัญญาณจริงโดยตรง ท�าให้เกิดความผิดเพี้ยนของสัญญาณซึ่งส่งผลให้แปลความหมาย
ตัวอยางของสัญญาณแอนะล็อก เชน เสียงพูด ผิดพลาดไป โดยเฉพาะการส่งสัญญาณแอนะล็อกไปในระยะไกล ๆ ไม่ว่าจะส่งไปตามสายหรือ
เสียงดนตรี สวนสัญญาณดิจทิ ลั เปนชุดของสัญญาณ คลื่นวิทยุ การรบกวนโดยสัญญาณรบกวนจากสิ่งแวดล้อม เช่น การส่งสัญญาณไปยังดาวเทียมจะ
ที่ไมตอเนื่อง มีสถานะเพียง 2 สถานะเทานั้น คือ 40
เปด (1) และปด (0) ไมมีคาระหวางสถานะ 2
สถานะ

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจนําเขาสูบทเรียนดวยการจัดกิจกรรมใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึง ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารขอมูล ซึ่งมีนิยามไวหลายแบบ ดังนี้ ขอมูลตอไปนี้
- การสือ่ สารขอมูลเปนกระบวนการถายโอนขอมูลหรือสารสนเทศจากแหลง 1. การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ
กําเนิดผานสื่อกลาง เพื่อสงไปยังจุดหมายปลายทางที่ตองการ 2. การสื่อสารทางโทรศัพท
- การสื่อสารขอมูล หมายถึง กระบวนการถายโอนหรือแลกเปลี่ยนขอมูล 3. การสื่อสารผานทางไลน (LINE)
ระหวางผูสงและผูรับผานชองทางสื่อสาร โดยมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกส โดยครูมอบหมายใหนกั เรียนสรุปขอมูลทีศ่ กึ ษาลงในกระดาษ
หรือคอมพิวเตอรเปนตัวกลางในการสงขอมูล เพื่อใหผูสงและผูรับเกิด A4 แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล
ความเขาใจซึ่งกันและกัน
- การสือ่ สารขอมูล หมายถึง การแลกเปลีย่ นขอมูลหรือสารสนเทศผานทาง
สื่อกลางในการสื่อสาร ซึ่งอาจเปนสื่อกลางแบบใชสายหรือสื่อกลางแบบ
ไรสาย
- การสื่อสารขอมูลเปนการสงผานขอมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปอีก
ที่หนึ่ง โดยขอมูลหรือสารสนเทศถูกแปลงใหอยูในรูปสัญญาณสงไปยัง
ปลายทาง แลวแปลงสัญญาณกลับมาเปนสารสนเทศที่เหมือนเดิม
T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

มีการรบกวนเนือ่ งจากการแผ่รงั สีและฟ้าแลบ ท�าให้สญั ญาณผิดเพีย้ นได้งา่ ย จึงไม่นยิ มใช้สญั ญาณ 1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ ข อ มู ล หรื อ
แอนะล็อกในการส่งสัญญาณเพื่อการสื่อสารที่ต้องการความแม่นย�าสูง แต่มักใช้ในการสื่อสารทาง สารสนเทศวาไมสามารถสงไปในระยะทางไกล
วิทยุในระยะใกล้ เช่น ใช้ในระบบวิทยุเอเอ็มและเอฟเอ็ม ไดโดยตรง การสงขอมูลในระยะทางไกลตอง
2. สัญญาณดิจิทัล (digital signal) เป็นสัญญาณที่มีลักษณะเป็นคลื่นไม่ต่อเนื่อง คล้าย แปลงขอมูลใหเปนสัญญาณไฟฟาที่เรียกวา
ขั้นบันได ขนาดของสัญญาณดิจิทัลมีค่าคงตัวเป็นช่วง ๆ และการเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณ สัญญาณขอมูล กอนสงผานสื่อกลางในการ
เป็นแบบทันทีทนั ใด เช่น สัญญาณทีค่ อมพิวเตอร์ใช้ในการท�างานและติดต่อสือ่ สารกัน ลักษณะของ สงขอมูล ซึง่ นอกจากจะสงขอมูลไปไดในระยะ
สัญญาณดิจิทัลพิจารณาได้จากภาพที่ 5.40 ทางไกลแลว ยังเปนการสงขอมูลดวยความเร็ว
สูงดวย ซึ่งสัญญาณขอมูลที่ใชในการสื่อสาร
ระดับสัญญาณ มี 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณ
ดิจิทัล
2. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ตามความ
เวลา สมัครใจของนักเรียน จากนั้นใหแตละกลุม
รวมกันศึกษาคนควาขอมูล เรือ่ ง องคประกอบ
ภาพที่ 5.40 ลักษณะของสัญญาณดิจิทัล
ที่มา : คลังภาพ อจท. พื้นฐานของระบบการสื่อสารขอมูล กระบวน
การรับ-สงขอมูล และสื่อกลางในการสื่อสาร
เมื่อสัญญาณดิจิทัลถูกรบกวนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้น้อย เนื่องจาก ขอมูล จากหนังสือเรียนหรือแหลงการเรียนรู
สัญญาณรบกวนต้องมีคา่ สูงกว่าค่าทีต่ งั้ ไว้เท่านัน้ จึงจะเกิดการเปลีย่ นแปลง ส่งผลให้การส่งสัญญาณ ตางๆ เชน อินเทอรเน็ต
ดิจิทัลไปในระยะไกลน่าเชื่อถือมากกว่าการส่ง 3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่อง
สัญญาณแอนะล็อก เพราะความผิดเพี้ยนที่ Con���t Q�e����n ที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียน
เกิดจากการรบกวนโดยสัญญาณรบกวนจาก การส งและรับสัญญาณดิจท
ิ ลั แตกตางจากการ
สงสัญญาณแอนะล็อกอยางไร สรุปความรูที่ไดจากการศึกษาคนควาลงใน
สิ่ ง แวดล้ อ มมี น ้ อ ยกว่ า ซึ่ ง เป็ น จุ ด เด่ น ของ สมุดบันทึกประจําตัว เพื่อนําสงครูทายชั่วโมง
สัญญาณดิจิทัลที่เหนือกว่าสัญญาณแอนะล็อก (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
5.2 สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลต้องอาศัยสื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูลเพื่อน�าข้อมูลไปยังจุดหมาย
ปลายทาง สือ่ กลางในการสือ่ สารข้อมูลมีความส�าคัญเพราะเป็นปัจจัยหนึง่ ทีก่ า� หนดประสิทธิภาพใน
การสื่อสาร เช่น ความเร็วในการส่งข้อมูล ปริมาณของข้อมูลที่สามารถน�าไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
รวมถึงคุณภาพของการส่งข้อมูล โดยสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลแบ่งได้ 2 ประเภท คือ สื่อกลาง
แบบใช้สายและสื่อกลางแบบไร้สาย
แนวตอบ Concept Question
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 41
สัญญาณดิจทิ ลั สงไดงา ยกวาและมีโอกาสทีจ่ ะ
เกิดความผิดพลาดนอยกวาสัญญาณแอนะล็อก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


สือ่ กลางในการสือ่ สารขอมูลแบงเปนกีป่ ระเภท อะไรบาง พรอม ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ สั ญ ญาณแอนะล็ อ กกั บ สั ญ ญาณดิ จิ ทั ล ว า
ยกตัวอยางสื่อกลางในการสื่อสารขอมูลแตละประเภท สัญญาณดิจิทัลสงไดงายกวาและมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดนอยกวา
(แนวตอบ สื่อกลางในการสื่อสารขอมูลแบงเปน 2 ประเภท คือ ถูกตองและนาเชื่อถือกวาสัญญาณแอนะล็อก ซึ่งนําไปสูการสงขอมูลที่ถูกตอง
สื่อกลางแบบใชสายและสื่อกลางแบบไรสาย ตัวอยางสื่อกลาง อัตราการสงขอมูลที่เร็วกวาและไดผลลัพธที่ดี ประกอบกับอุปกรณที่ใชในการ
แบบใชสาย ไดแก สายเกลียวคู สายโคแอกซ และเสนใยนําแสง ประมวลผลและเก็บรักษาสัญญาณดิจิทัลมีราคาถูกกวา ประสิทธิภาพสูงกวา
สวนตัวอยางสื่อกลางแบบไรสาย ไดแก คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ (จัดเก็บงายและมีความผิดพลาดนอย) สงผลใหการสงขอมูลในรูปสัญญาณ
และอินฟราเรด) ดิจิทัลเปนที่นิยมกวาการสงขอมูลในรูปสัญญาณแอนะล็อก

T45
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูสมุ นักเรียนใหออกมานําเสนอผลการศึกษา 1. สื่อกลางแบบใช้สาย มีดังนี้
หนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 3 กลุม ซึ่ง 1) สายน�าสัญญาณไฟฟ้า ส่งข้อมูลด้วยระดับสัญญาณไฟฟ้าที่แตกต่างกัน อุปกรณ์รับ
ครูเปนคนเลือกวาจะใหกลุมใดนําเสนอเรื่อง สัญญาณทีป่ ลายทางจะตรวจวัดระดับสัญญาณเพือ่ แปลงกลับเป็นข้อมูลหรือสารสนเทศทีใ่ กล้เคียง
อะไร ตามหัวขอเรื่อง ดังตอไปนี้ หรือเหมือนกับทางด้านส่งสัญญาณ สายน�าสัญญาณไฟฟ้าทีส่ า� คัญ ได้แก่ สายบิดเกลียวคู ่ (twisted
• องคประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสาร pair cable) เป็นสายทองแดงจะถูกพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลบการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ขอมูล จากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือจากภายนอก ท�าให้สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง
• กระบวนการรับ-สงขอมูล และสายโคแอกซ์ (coaxial cable) เป็นสายน�าสัญญาณที่เรารู้จักกันดี โดยใช้เป็นสายน�าสัญญาณ
• สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล ที่ต่อจากเสาอากาศเครื่องรับโทรทัศน์หรือสายเคเบิลทีวี
5. ขณะทีน่ กั เรียนแตละกลุม กําลังนําเสนอ ครูอาจ
เสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิม่ เติมในเรือ่ งนัน้ ๆ
ใหนกั เรียนทุกคนไดมคี วามเขาใจทีถ่ กู ตองมาก
ยิ่งขึ้น

(ก) สายบิดเกลียวคู่ (ข) สายโคแอกซ์


ภาพที่ 5.41 สายน�าสัญญาณไฟฟ้าทีใ่ ช้ในการส่งสัญญาณ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2) สายเส้นใยน�าแสง ประกอบด้วย
เส้นใยน�าแสงหลาย ๆ เส้นอยู่รวมกัน ดังภาพที่
5.42 ข้อดีของสายเส้นใยน�าแสง คือ ขนาดเล็ก
กว่าและน�า้ หนักน้อยกว่าสายน�าสัญญาณไฟฟ้า
มาก มีการลดทอนของสัญญาณต�่า ท�าให้ส่ง
สัญญาณไปได้ในระยะทางไกลโดยไม่ตอ้ งอาศัย
อุปกรณ์พักและขยายระดับสัญญาณเป็นระยะ
และข้อมูลทีส่ ง่ ผ่านเส้นใยน�าแสงมีความถูกต้อง
ภาพที่ 5.42 เส้นใยน�าแสงที่ใช้ และความปลอดภัยสูงเนื่องจากไม่มีสัญญาณ
ในการส่งสัญญาณ รบกวน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

42

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสายเกลียวคูและสายโคแอกซ ดังนี้ ขอใดเปนเทคโนโลยีการสื่อสารทางสาย
• สายเกลียวคู นิยมใชเปนสื่อกลางในการสงผานขอมูลระหวางอุปกรณใน 1. บลูทูท
เครือขายระยะใกล (ไมเกิน 100 เมตร) โดยปจจุบันใชสายยูทีพีเปนหลัก 2. โมเด็ม
เพราะมีราคาถูกกวาสายเอสทีพแี ละไดรบั การพัฒนาใหสง ขอมูลไดเร็วขึน้ 3. ไวไฟ
และไกลขึน้ สายเกลียวคูใ ชรบั -สงไดทงั้ สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณ 4. อินฟราเรด
ดิจิทัล โดยสายเกลียวคูที่ใชรับ-สงสัญญาณแอนะล็อก คือ สายยูทีพีที่ใช 5. โฮมอารเอฟ
เปนสายโทรศัพท (วิเคราะหคําตอบ โมเด็มเปนอุปกรณที่ทําหนาที่แปลงสัญญาณ
• สายโคแอกซ ทํางานไดดีกับการสงสัญญาณแอนะล็อก โดยสายโคแอกซ ดิ จิ ทั ล จากเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ผู  ส  ง ให เ ป น สั ญ ญาณแอนะล็ อ ก
นอกจากจะใชเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรในเครือขายระยะใกล (ไมเกิน (modulation) และแปลงสัญญาณแอนะล็อกที่สงผานสายสง
500 เมตร) แลว ยังนิยมใชเปนสายนําสัญญาณในอุปกรณภาพและเสียง สัญญาณใหกลับเปนสัญญาณดิจิทัลเหมือนเดิม (demodulation)
ตางๆ ภายในบานและสํานักงาน ที่พบเห็นไดทั่วไป คือ สายนําสัญญาณ ที่คอมพิวเตอรผูรับ ดังนั้น ตอบขอ 2.)
ที่ตอจากเสาอากาศเขากับเครื่องรับโทรทัศนหรือสายเคเบิล

T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
การส่งข้อมูลผ่านสายเส้นใยน�าแสงสามารถส่งด้วยความเร็วสูงระดับกิกะบิตต่อวินาที 6. นักเรียนรวมกันตอบคําถามเพื่อทบทวนความ
(Gbps) และส่งด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก ท�าให้สามารถส่งข้อมูลทัง้ ทีเ่ ป็น เขาใจ ดังนี้
ตัวอักษร เสียง ภาพกราฟิก หรือวีดิทัศน์ในเวลาเดียวกันได้ และส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง • เพราะเหตุใดสัญญาณแอนะล็อกจึงถูก
ระดับหลายร้อยเมกะบิต ส่วนข้อเสียของสายเส้นใยน�าแสง คือ การบิดงอของสายจะท�าให้เส้นใย รบกวนไดงายกวาสัญญาณดิจิทัล
น�าแสงหัก จึงไม่สามารถวางสายเส้นใยน�าแสงไปตามมุมตึกได้ เหมาะกับการเชือ่ มต่อแบบจุดต่อจุด (แนวตอบ สั ญ ญาณแอนะล็ อ กถู ก รบกวน
(Point-to-Point) และเหมาะส�าหรับใช้เชือ่ มโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรือระหว่างเมืองกับเมือง ใหเปลี่ยนแปลงไดงาย เนื่องจากสัญญาณ
2. สื่อกลางแบบไร้สาย สื่อกลางแบบไร้สาย คือ การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการสื่อสาร รบกวนจะเติมเขาไปในสัญญาณจริงโดยตรง
ข้อมูล ได้แก่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ และรังสีอินฟราเรด แตสัญญาณดิจิทัลจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
1) คลื่นวิทยุ ใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารได้ทั้งระยะไกลและใกล้ โดยเครื่องหรือ ขึ้นเมื่อถูกรบกวนจากสัญญาณรบกวนที่มี
อุปกรณ์ส่งจะส่งข้อมูลในรูปสัญญาณคลื่นวิทยุ (ช่วงความถี่ 3-300 เมกะเฮิรตซ์) ผ่านอากาศไป คาสูงกวาคาที่ตั้งไวเทานั้น)
ยังเครื่องรับหรืออุปกรณ์รับสัญญาณ ตัวอย่างการใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระยะไกล • สื่อกลางในการสื่อสารขอมูลแบงเปน
ได้แก่ การกระจายเสียงวิทยุระบบเอเอ็มและระบบเอฟเอ็ม ส่วนตัวอย่างการใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อ กี่ประเภท อะไรบาง
กลางในการสื่อสารระยะใกล้ ได้แก่ การสื่อสารข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีไวไฟ (Wi-Fi) และบลูทูท (แนวตอบ สื่อกลางในการสื่อสารขอมูลแบง
(Bluetooth) ดังภาพที่ 5.43 ซึ่งใช้คลื่นวิทยุในแถบความถี่ต่างกันในการส่งข้อมูล เปน 2 ประเภท คือ สือ่ กลางแบบใชสายและ
สือ่ กลางแบบไรสาย ตัวอยางสือ่ กลางแบบใช
สาย ไดแก สายเกลียวคู สายโคแอกซ และ
อุปกรณ์รับ
ข้อมูล เสนใยนําแสง สวนตัวอยางสื่อกลางแบบ
ข้อมูล ไรสาย ไดแก คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ และ
อุปกรณ์รับ
อินฟราเรด)
อุปกรณ์ส่ง
AT&T

อุปกรณ์รับ
เครื่องส่ง เครือ่ งรับ

ภาพที่ 5.43 การใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล


ที่มา : คลังภาพ อจท.

2) คลืน่ ไมโครเวฟ ใช้เป็นสือ่ กลางในการสือ่ สารในระยะไกล โดยเครือ่ งส่งจะส่งข้อมูลในรูป


สัญญาณไมโครเวฟ (ช่วงความถี ่ 3-30 กิกะเฮิรตซ์) ผ่านอากาศไปยังเครือ่ งรับเช่นเดียวกับคลืน่ วิทยุ
สัญญาณไมโครเวฟเดินทางเป็นเส้นตรงจึงสามารถปรับทิศทางการส่งได้แน่นอนและสามารถส่ง
สัญญาณออกไปเป็นล�าแคบ ๆ ได้ ท�าให้มีพลังงานสูง รบกวนได้ยาก แต่คลื่นไมโครเวฟเดินทาง
ผ่านวัตถุที่กีดขวางไม่ได้ การใช้คลื่นไมโครเวฟเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่าง 2 ต�าแหน่ง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 43

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


จงระบุสื่อกลางการสื่อสารแบบใชสายและแบบไรสายที่ใชกับ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสงขอมูลผานเสนใยนําแสงวา การสงขอมูล
เครือขายคอมพิวเตอรแตละประเภท ผานเสนใยนําแสงอาศัยหลักการสะทอนกลับหมดภายใน ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อแสง
(แนวตอบ เดินทางจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมากกวาไปยังตัวกลางที่ดรรชนีหักเห
เครือขาย สื่อกลาง สื่อกลาง นอยกวาโดยทํามุมตกกระทบโตกวามุมวิกฤต ภายใตเงือ่ นไขนีจ้ ะไมมแี สงหักเห
คอมพิวเตอร แบบใชสาย แบบไรสาย ผานเขาสูตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหนอยกวาเลย แมวาจะเปนตัวกลางโปรงใส
เครือขายเฉพาะที่ สายยูทีพี คลื่นวิทยุ เชน แกว พลาสติกใส แสงตกกระทบทั้งหมดจะสะทอนกลับมายังตัวกลางที่มี
ดรรชนีหักเหมากกวา เสมือนวาตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหนอยกวาเปนกระจก
เครือขายวงกวาง สายเสนใยนําแสง คลื่นวิทยุและไมโครเวฟ
เงาสะทอนแสงที่ตกกระทบกลับไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมากกวา สําหรับ
เครือขายชุมชน เสนใยนําแสง คลื่นวิทยุและไมโครเวฟ เสนใยนําแสง ถาสัญญาณแสงที่สงเขาไปในใยแกวที่เปนแกนกลางทํามุมตก
เครือขายสวนบุคคล - อินฟราเรดและคลื่นวิทยุ กระทบโตกวามุมวิกฤต (โตกวา 42 องศา เมื่อใยแกวที่เปนแกนกลางมีดรรชนี
)
หักเห 1.5) ใยแกวที่เปนสวนหอหุมจะเปนเหมือนกระจกเงาลอมรอบใยแกวที่
เปนแกนกลางไว สัญญาณแสงที่สงเขาไปจึงสะทอนไปมาภายในใยแกวที่เปน
แกนกลางจากตนทางไปถึงปลายทาง

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
7. ครูถามคําถามนักเรียนวา การใชดาวเทียมเปน จึงต้องอาศัยจานรับหรือส่งสัญญาณไมโครเวฟซึง่ ติดตัง้ อยูใ่ นทีส่ งู เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดเขา
สถานีพกั หรือขยายสัญญาณเปนการแกปญ  หา โดยติดตั้งในลักษณะหันจานรับ-ส่งสัญญาณเข้าหากัน เพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวางการเดินทางของ
ในเรื่องใด สัญญาณไมโครเวฟ แต่การสื่อสารระหว่าง 2 ต�าแหน่ง โดยใช้คลื่นไมโครเวฟเป็นสื่อกลางมีรัศมี
8. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม โดยอาจตอบเปน ท�าการอยู่ในช่วง 40-50 กิโลเมตร การสื่อสารในระยะไกลจึงต้องมีสถานีพักและขยายสัญญาณ
รายบุคคลหรือตอบเปนกลุมยอย ซึ่งจะไดขอ (relay station) เป็นระยะ ๆ ภายในรัศมีท�าการดังกล่าว ดังภาพที่ 5.44 ซึ่งเป็นข้อจ�ากัดของ
สรุปรวมกันวา การใชดาวเทียมเปนสถานีพัก การส่งสัญญาณไมโครเวฟภาคพื้นดิน (terrestrial microwave transmission)
หรือขยายสัญญาณเปนการแกปญหาขอจํากัด จานรับ - ส่งสัญญาณ
เกี่ ย วกั บ ระยะทํ า การของการส ง สั ญ ญาณ
ไมโครเวฟภาคพื้ น ดิ น ที่ ต  อ งมี ส ถานี พั ก และ
ขยายสัญญาณทุกๆ ระยะ 40-50 กิโลเมตร
โดยดาวเทียมจะชวยกระจายสัญญาณไปยัง
สถานีตามจุดตางๆ บนพื้นผิวโลกหรือจาน
รั บ สั ญ ญาณที่ ติ ด ตั้ ง ไว ต ามสถานที่ ต  า งๆ สถานีไมโครเวฟ
ครอบคลุมพื้นที่เปนวงกวาง
9. ครู ใ ห ค วามรู  เ พิ่ ม เติ ม กั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ ภาพที่ 5.44 การส่งสัญญาณไมโครเวฟภาคพื้นดิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เทคโนโลยีไวแมกซ (WiMAX) เปนเทคโนโลยี
นอกจากการส่งสัญญาณไมโครเวฟภาคพื้นดินแล้ว ยังมีการส่งสัญญาณไมโครเวฟ
บรอดแบนดไรสายความเร็วสูง มีรัศมีทําการ อีกแบบ คือ การส่งสัญญาณไมโครเวฟผ่านดาวเทียม (satellite microwave transmission)
ประมาณ 50 กิโลเมตร และมีความเร็วในการ ซึ่งพัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาที่เป็นข้อจ�ากัดเกี่ยวกับระยะท�าการของการส่งสัญญาณไมโครเวฟ
สงผานขอมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตตอวินาที ภาคพื้นดิน โดยใช้ดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลกเป็นสถานีพักหรือขยายสัญญาณและกระจาย
สงสัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลาย สัญญาณไปยังสถานีตามจุดต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกหรือจานรับสัญญาณที่ติดตั้งไว้ตามสถานที่ต่าง ๆ
จุด (point-to-multipoint) ไดพรอมๆ กัน และ ครอบคลุมพื้นที่เป็นวงกว้าง ดังภาพที่ 5.45
ทํางานไดเปนอยางดีแมจะมีสิ่งกีดขวาง เชน ดาวเทียมกระจายสัญญาณ
ตนไม อาคาร บังหรือขวางอยูระหวางอุปกรณ
สงสัญญาณบนเสาสัญญาณ โดยสื่อกลางใน
การสงขอมูล คือ คลืน่ ไมโครเวฟทีม่ คี วามถีอ่ ยู
ในชวง 2-11 กิกะเฮิรตซ

สถานีส่งภาคพื้นดิน บ้านเรือน สถานศึกษา


ภาพที่ 5.45 การส่งสัญญาณไมโครเวฟผ่านดาวเทียม
44 ที่มา : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสงสัญญาณไมโครเวฟภาคพื้นดินวา เหมาะ การใชดาวเทียมเปนสถานีพักหรือขยายสัญญาณเปนการแก
สําหรับพืน้ ทีท่ วี่ างสายสัญญาณไมได สําหรับสถานีพกั และขยายสัญญาณโดยปกติ ปญหาในเรื่องใด
จะมีทุกๆ ชวง 30-50 กิโลเมตร สวนเสาอากาศที่ติดตั้งจานรับ-สงสัญญาณสูง (แนวตอบ การใชดาวเทียมเปนสถานีพักหรือขยายสัญญาณ
ประมาณ 12-15 เมตร สถานีพักและขยายสัญญาณเหลานี้จะกระจายสัญญาณ เปนการแกปญ หาขอจํากัดเกีย่ วกับระยะทําการของการสงสัญญาณ
ไปยังจานรับสัญญาณที่อยูในรัศมีทําการของแตละสถานีตอไป การสงสัญญาณ ไมโครเวฟภาคพื้นดินที่ตองมีสถานีพักและขยายสัญญาณทุกๆ
ไมโครเวฟภาคพืน้ ดินโดยทัว่ ไปใชในการออกอากาศรายการโทรทัศน แตปจ จุบนั ระยะ 40-50 กิโลเมตร โดยดาวเทียมจะชวยกระจายสัญญาณไป
นํามาใชในการสงผานขอมูลดวยเทคโนโลยีไวแมกซ (Worldwide Interope- ยังสถานีตามจุดตางๆ บนพื้นผิวโลกหรือจานรับสัญญาณที่ติดตั้ง
rability of Microwave Access; WiMAX) ไวตามสถานที่ตางๆ ครอบคลุมพื้นที่เปนวงกวาง)

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
การสื่อสารโดยใช้คลื่นไมโครเวฟเป็นสื่อกลางจะส่งข้อมูลด้วยอัตราการส่งข้อมูล 10. ครูสุมเรียกนักเรียนเพื่อตอบคําถาม โดยให
สูง แต่มีข้อจ�ากัด คือ สัญญาณจะถูกรบกวนจากพายุและฝน ท�าให้สัญญาณขาดหายไปในระหว่าง นักเรียนระบุสื่อกลางแบบไรสายที่ใชในการ
การส่ง ที่พบบ่อย ๆ คือ การขาดหายไปของสัญญาณโทรทัศน์ที่รับสัญญาณด้วยจานสายอากาศ สื่อสารขอมูลจากสถานการณหรือเงื่อนไขที่
ขณะมีพายุหรือฝนตกหนัก กําหนดตอไปนี้
3) รังสีอินฟราเรด ใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารระยะใกล้โดยไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่าง • การสื่อสารระยะใกลโดยไมมีสิ่งกีดขวาง
ผู้สง่ กับผูร้ บั เช่น การรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์กบั เครือ่ งพิมพ์หรือเมาส์แบบไร้สาย ระหวางผูสงกับผูรับ
การเชือ่ มต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กบั คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายระยะใกล้ (2-4 เมตร) ดังภาพที ่ 5.46 (แนวตอบ รังสีอินฟราเรด)
• การสื่อสารระยะไกลที่ตองอาศัยจานรับ-
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี)
โทรศัพท์เคลื่อนที่ สงสัญญาณ
(แนวตอบ คลื่นไมโครเวฟ)
พอร์ตไออาร์ดีเอ
กล้องดิจิทัล • การสื่อสารขอมูลโดยใชเทคโนโลยีบลูทูท
(แนวตอบ คลื่นวิทยุ)
• การสื่ อ สารข อ มู ล ที่ อ าศั ย ดาวเที ย มเป น
โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์
สถานีพักและขยายสัญญาณ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) (แนวตอบ คลื่นไมโครเวฟ)

พอร์ตไออาร์ดีเอ พอร์ตไออาร์ดีเอ

ภาพที่ 5.46 การใช้อินฟราเรดเป็นสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล


ที่มา : คลังภาพ อจท.
Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
อุปกรณ์ที่ท�างานโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
และการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. การท�างานของอุปกรณ์ควบคุมระยะไกลหรือรีโมตคอนโทรลต้องอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดบ้าง
2. สัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารมีกี่ชนิด อะไรบ้าง และสัญญาณเหล่านั้นแตกต่างกันอย่างไร
3. โทรทัศน์ที่ใช้ระบบสัญญาณดิจิทัลแตกต่างจากระบบสัญญาณแอนะล็อกหรือไม่ อย่างไร

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 45

แนวตอบ Topic Questions เกร็ดแนะครู


1. รังสีอินฟราเรดและคลื่นวิทยุ
2. สัญญาณที่ใชในการสื่อสารแบงไดออกเปน 2 ประเภท คือ สัญญาณ ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ข อ จํ า กั ด ในการใช รั ง สี อิ น ฟราเรดและคลื่ น
แอนะล็อกและสัญญาณดิจทิ ลั สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจทิ ลั ไมโครเวฟเปนสื่อกลางในการสื่อสารขอมูลวา ขอจํากัดในการใชรังสีอินฟราเรด
ที่มีขนาดแอมพลิจูดที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเปนคาตอเนื่อง เชน เปนสื่อกลางในการสื่อสารขอมูล คือ ใชในการสื่อสารระยะใกล (2-4 เมตร)
เสียงพูด เสียงดนตรี สวนสัญญาณดิจิทัลเปนสัญญาณที่ไมมีความ โดยไมมีสิ่งกีดขวางระหวางผูสงกับผูรับขอมูล และเปนการรับ-สงขอมูลระหวาง
ตอเนื่อง ถูกแทนดวยระดับแรงดันไฟฟา 2 ระดับเทานั้น โดยแสดง อุปกรณครั้งละ 2 อุปกรณเทานั้น สวนขอจํากัดในการใชคลื่นไมโครเวฟเปน
ลักษณะเปน “0” และ “1” ซึ่งตรงกับตัวเลขฐานสอง สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล คือ คลื่นไมโครเวฟเดินทางเปนเสนตรงและเดิน
3. ตางกัน เชน คุณภาพของสัญญาณภาพ สัญญาณภาพของระบบ ทางผานวัตถุที่กีดขวางไมได นอกจากนี้ สัญญาณไมโครเวฟอาจขาดหายไปใน
สัญญาณดิจิทัลจะมีคุณภาพดี คมชัด ตางกับระบบสัญญาณแอนะ ระหวางการสงเมื่อถูกรบกวนดวยฝนและพายุ
ล็อกที่สัญญาณจะเปลี่ยนไปตามระดับความแรงของสัญญาณที่รับได

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
11. นักเรียนแตละคนทําแบบฝกหัด เรื่อง การ Physics
in real life แว่นตาโพลารอยด์
สื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา จาก
แบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและ ภาพยนตร์ 3 มิติ ถ่ายท�าโดยใช้เครื่องถ่ายภาพยนตร์ 2
เครื่อง ถ่ายภาพเดียวกันในเวลาเดียวกัน แต่ถ่ายคนละมุมกัน
เทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ (ขวาและซ้าย) และการฉายต้องใช้เครือ่ งฉายภาพยนตร์ 2 เครือ่ ง
เรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา ฉายภาพ 2 ภาพ ลงบนจอภาพพร้อม ๆ กัน ส่วนวิธีการดูภาพยนตร์
12. ครูสุมนักเรียนจํานวน 2-3 คน ออกมาเฉลย 3 มิติ ต้องสวมแว่นตาแล้วดูผ่านแว่นตา โดยแว่นตาส�าหรับดู ภาพที่ 5.47 แว่นตาโพลารอยด์
แบบฝกหัด โดยใหนักเรียนรวมกันพิจารณา ภาพยนตร์ 3 มิติ เช่น แว่นตาโพลารอยด์ (polarized 3D glasses) ที่มา : คลังภาพ อจท.
วาคําตอบใดถูกตอง จากนั้นครูเฉลยคําตอบ แว่นตาโพลารอยด์ทใี่ ช้ดภู าพยนตร์ 3 มิต ิ จะต่างจากแว่นตาโพลารอยด์ทใี่ ช้กนั แดดตรงทีแ่ ผ่น
ที่ถูกตองใหนักเรียน โพลารอยด์ทางด้านซ้ายและขวาของแว่นตาโพลารอยด์ที่ใช้ดูภาพยนตร์ 3 มิติ มีแนวแกนโพลาไรส์
ตั้งฉากกัน ขณะที่แผ่นโพลารอยด์ทางด้านซ้ายและขวาของแว่นตาโพลารอยด์ที่ใช้เป็นแว่นกันแดด
13. นักเรียนทุกคนทําใบงาน เรื่อง การสื่อสาร
จะมีแนวแกนโพลาไรส์ขนานกัน
โดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา
การฉายภาพยนตร์ 3 มิติ ที่ดูโดยใช้แว่นตาโพลารอยด์ ใช้เครื่องฉายภาพยนตร์ 2 เครื่อง
ฉายภาพลงบนจอ (โลหะ) พร้อมกัน โดยฉายผ่านกระจกโพลารอยด์ที่กั้นอยู่หน้าเลนส์ฉาย ภาพ
จากเครื่องฉายทั้งสองจึงเป็นแสงโพลาไรส์ เนื่องจากกระจกโพลารอยด์หน้าเลนส์ฉายของเครื่อง
ฉากทัง้ สองมีแนวแกนโพลาไรส์ตงั้ ฉากกันและการสะท้อนแสงของโลหะจะไม่เปลีย่ นทิศการโพลาไรส์
ของแสง ท�าให้ทิศของการโพลาไรส์ของแสงโพลาไรส์จากเครื่องฉายทั้งสองอยู่ในแนวตั้งฉากกัน
ภาพที่ปรากฏบนจอจะเหลื่อมซ้อนกันในลักษณะ ดังภาพที่ 5.48

ภาพที่ 5.48 ภาพที่เกิดจากการฉายภาพจากกล้อง 2 สี (น�้าเงิน-แดง) ลงบนจอภาพยนตร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

46

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแวนตาโพลารอยดวา เมื่อผูชมสวมแวนตาโพลา ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4-5 คน และใหเวลา
รอยด แวนตาแตละขางจะยอมใหภาพจากเครื่องฉายที่มีแนวแกนโพลาไรสอยู นักเรียน 60 นาที เพื่อออกไปสํารวจภายในชุมชนวามีสิ่งใดที่
ในแนวเดียวกันผานเขาสูตาไดเทานั้น แตจะไมยอมใหภาพจากเครื่องฉายที่มี เกี่ยวของกับคลื่นแมเหล็กไฟฟาบาง ใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงใด
แนวแกนโพลาไรสอยูใ นแนวตัง้ ฉากกันผานเขาสูต าได (กัน้ ไว) ภาพทีต่ าทางดาน มีความสําคัญอยางไร โดยใหนักเรียนบันทึกลงในใบงานและออก
ซายและตาทางดานขวาเห็นจึงแตกตางกัน มีแนวแกนโพลาไรสตา งกัน 90 องศา มานําเสนอใหเพื่อนๆ ในกลุมอื่นไดรับฟง จากนั้นครูอาจเลือก
สมองจะรวมภาพจากตาทั้ง 2 ขาง และสรางภาพในการรับรูเปนภาพ 3 มิติ ประเด็นที่นาสนใจมาอภิปรายรวมกับนักเรียน
ใบงาน
กิจกรรมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชุมชน
1. สมาชิกภายในกลุ่ม
ชื่อ – สกุล …………………………………………………………………………………….……. เลขประจำตัว …………………
ชื่อ – สกุล …………………………………………………………………………………….……. เลขประจำตัว …………………
ชื่อ – สกุล …………………………………………………………………………………….……. เลขประจำตัว …………………
ชื่อ – สกุล …………………………………………………………………………………….……. เลขประจำตัว …………………
ชื่อ – สกุล …………………………………………………………………………………….……. เลขประจำตัว …………………

2. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ช่วงคลื่นที่ใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. บริเวณที่พบ (ภาพประกอบ)

5. ความสำคัญ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
Summary 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกีย่ วกับการสือ่ สาร
โดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยนักเรียน
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า เขี ย นเป น แผนที่ ค วามคิ ด หรื อ ผั ง มโนทั ศ น
(Concept Mapping) ลงในกระดาษ A4
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พรอมตกแตงใหสวยงาม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดยสนามทั้งสองมี 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
ทิศตั้งฉากกันและกันและตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น จึงจัดให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง
ศึกษาผานมาแลววามีสวนใดที่ยังไมเขาใจ
ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ แลวใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น โดยครูอาจ
ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ ท�านายว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถแผ่ออกจากแหล่งก�าเนิดได้ ใช PowerPoint เรื่อง การสื่อสารโดยอาศัย
โดยไม่ตอ้ งอาศัยตัวกลาง คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเคลือ่ นผ่านสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว 3 × 108 เมตรต่อวินาที และ คลื่นแมเหล็กไฟฟา มาชวยในการอธิบาย
แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ช่วงหนึ่ง
การทดลองของเฮิรตซ์ เฮิรตซ์ได้ท�าการทดลองซึ่งยืนยันว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีจริง และพิสูจน์ทฤษฎีคลื่น
3. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด Unit
แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ โดยเฮิรตซ์ใช้อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยขดลวดเหนี่ยวน�า 2 ขด พันรอบแกนเหล็ก Questions 5 เรื่ อ ง การสื่ อ สารโดยอาศั ย
ด้านส่ง ด้านรับ คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากหนังสือเรียนลงในสมุด
R
S บันทึกประจําตัวเปนการบานสงชั่วโมงถัดไป
A B G G′
- +

แบตเตอรี่
ภาพที่ 5.49 การทดลองของเฮิรตซ์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากการทดลองเฮิรตซ์ พบว่า ทุกครั้งที่เกิดประกายไฟที่ช่องอากาศ G จะเกิดประกายไฟบริเวณช่องอากาศ
G′ของลวดวงกลมที่อยู่ห่างออกไปและไม่ได้ต่อเป็นวงจรไฟฟ้าเดียวกันเสมอ
การแผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ การเคลือ่ นทีข่ องคูป่ ระจุบวกและลบจะท�าให้เกิดคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
แผ่ออกไปจากสายอากาศ (สนามแม่เหล็กทีเ่ กิดขึน้ อยูใ่ นระนาบทีต่ งั้ ฉากกับระนาบการเปลีย่ นแปลงของสนาม
ไฟฟ้า) โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะแผ่ออกไปทุกทิศทาง ยกเว้นในแนวเส้นตรงเดียวกับการเคลื่อนที่ของประจุ
บวกและประจุลบ หรือแนวการวางตัวของสายอากาศ เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กใน
แนวการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า

ภาพที่ 5.50 การกระจายออกจากแหล่งก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 47

ขอสอบเนน การคิด
แผนวัตถุโปรงใสผิวเรียบแผนบางๆ 2 แผน วางซอนกันบนโตะ ถาแสงเดินทางผานอากาศไปตกกระทบแผนวัตถุแผนบนซึ่งมีดรรชนีหักเห
เปน 1.6 ทํามุมตกกระทบเปนมุมโพลาไรส และแสงที่หักเหผานแผนวัตถุแผนบนไปตกกระทบผิวรอยตอระหวางแผนวัตถุทั้งสองแลวหักเห
ผานไปทํามุมหักเหเทากับ 37 องศา ดรรชนีหักเหของแผนวัตถุแผนลางมีคาเทาใด
(แนวตอบ จากโจทย สามารถเขียนภาพได ดังภาพ เมื่อพิจารณาตรงผิวรอยตอระหวางอากาศกับแผนวัตถุแผนบน
n
จาก tan θP = n2 จะได tan θP = 1.6
1
จึงได θP = tan-1(1.6) = 58 ํ
n1 = 1 θP θP
เนื่องจาก θP + φ = 90 ํ จึงได φ = 90 ํ - θP = 90 ํ - 58 ํ = 32 ํ
เมื่อพิจารณาตรงผิวรอยตอระหวางแผนวัตถุทั้งสอง
n2 = 1.6 φ
θ2
จากกฎของสเนลล จะได n2 sin θ2 = n3 sin θ3 เมื่อ θ2 = φ, θ3 = 37 ํ
จึงได 1.6 sin 32 ํ = n3 sin 37 ํ และ n3 = 1.6 ( sin 32 ํ ) = 1.4
sin 37 ํ
n3 37 ํ ดังนั้น ดรรชนีหักเหของแผนวัตถุแผนลางจึงมีคาเปน 1.4)

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา เพื่อ โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน โพลาไรเซชัน (polarization) เป็นสมบัตขิ องคลืน่ ตามขวาง โดยทัว่ ไปคลืน่ ตามขวางมีระนาบของการสัน่ ตัง้ ฉาก
5. ครู ต รวจสอบผลการตรวจสอบความเข า ใจ กับแนวการแผ่ของคลื่น ถ้าคลื่นตามขวางใดมีระนาบการสั่นนี้เพียงระนาบเดียว จะเรียกคลื่นตามขวางนั้นว่า
ของตนเองจากกรอบ Self Check เรื่ อ ง คลื่นโพลาไรส์ (polarized wave)
คลื่นแมเหล็กไฟฟา จากหนังสือเรียน วิธีท�าให้แสงไม่โพลาไรส์เปลี่ยนเป็นแสงโพลาไรส์
6. นั ก เ รี ย น แ ล ะ ค รู ร  ว ม กั น ส รุ ป เ กี่ ย ว กั บ • การสะท้อน แสงไม่โพลาไรส์ที่ตกกระทบผิววัตถุ โดยท�ามุมตกกระทบที่ท�าให้ได้รังสีสะท้อนตั้งฉากกับ
รังสีหักเห แสงที่สะท้อนจากผิววัตถุจะเป็นแสงโพลาไรส์
คลื่นแมเหล็กไฟฟาวา คลื่นแมเหล็กไฟฟา • การหักเห แสงไม่โพลาไรส์ทผี่ า่ นเข้าไปในผลึกแคลไซต์หรือควอตซ์จะเกิดการหักเห โดยรังสีหกั เหจะแยก
ประกอบดวยสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา ออกเป็น 2 รังสี โดยทั้ง 2 รังสี ต่างเป็นแสงโพลาไรส์
ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดยสนามทั้งสองมี • การกระเจิง แสงอาทิตย์เมื่อตกกระทบโมเลกุลอากาศ สนามไฟฟ้าของแสงจะท�าให้อิเล็กตรอนใน
ทิศตั้งฉากกันและกันและตั้งฉากกับทิศการ โมเลกุลอากาศสัน่ ไปมาในแนวเดียวกับแนวการเปลีย่ นแปลงของสนามไฟฟ้า แล้วปลดปล่อยแสงออกมา
เคลือ่ นทีข่ องคลืน่ จึงจัดใหคลืน่ แมเหล็กไฟฟา (กระเจิงแสง) เป็นแสงโพลาไรส์ในแนวระดับและแสงโพลาไรส์ในแนวดิ่ง
เปนคลืน่ ตามขวาง คลืน่ แมเหล็กไฟฟาแผออก สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ไปจากแหลงกําเนิดโดยไมตองอาศัยตัวกลาง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง (104 - 1023 เฮิรตซ์) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกย่านความถี่
และเคลื่อนที่ผานสุญญากาศหรืออากาศดวย (หรือความยาวคลื่น) รวมกัน เรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ
อัตราเร็วเทากับแสง คือ 3 × 108 เมตรตอ รังสีอินฟราเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา เมื่อเรียงล�าดับจากความถี่ต�่าไปสูง หรือ
เรียงล�าดับจากความยาวคลื่นยาวไปสั้น
วิ น าที มี ค วามถี่ ต  อ เนื่ อ งกั น เป น ช ว งกว า ง
(10 4-10 23 เฮิ ร ตซ ) ทุ ก ย า นความถี่ ร วมกั น อุปกรณ์ที่ท�างานโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

เรียกวา สเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าน�าไปใช้ประโยชน์ในการท�างานของอุปกรณ์บางชนิด ได้แก่ อุปกรณ์ควบคุมระยะไกล


(รังสีอนิ ฟราเรดและคลืน่ วิทยุ) เครือ่ งถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (รังสีเอกซ์) และเครือ่ งถ่ายภาพการสัน่ พ้อง
สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานของ
แม่เหล็ก (คลืน่ วิทยุ) และใช้ในการสือ่ สารเพือ่ ส่งผ่านสารสนเทศจากทีห่ นึง่ ไปอีกทีห่ นึง่ ผ่านสือ่ กลางแบบใช้สาย
อุปกรณบางชนิด เชน อุปกรณควบคุมระยะ (แสงเลเซอร์) และสื่อกลางแบบไร้สาย (รังสีอินฟราเรด คลื่นไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ)
ไกล (รังสีอนิ ฟราเรดและคลืน่ วิทยุ) เครือ่ งถาย
การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ภาพเอกซเรยคอมพิวเตอร (รังสีเอกซ) และ สัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร มี 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล
เครือ่ งถายภาพการสัน่ พองแมเหล็ก (คลืน่ วิทยุ) • สัญญาณแอนะล็อก เป็นสัญญาณทีม ่ ลี กั ษณะเป็นคลืน่ ต่อเนือ่ ง โดยแต่ละคลืน่ อาจมีความถีแ่ ละความเข้ม
รวมทั้งการสื่อสาร ของสัญญาณ (แอมพลิจดู ) ต่างกัน โดยความถีแ่ ละความเข้มของสัญญาณจะเปลีย่ นแปลงตามเวลาอย่าง
ต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์
• สัญญาณดิจท ิ ลั เป็นสัญญาณทีม่ ลี กั ษณะเป็นคลืน่ ไม่ตอ่ เนือ่ ง คล้ายขัน้ บันได ขนาดของสัญญาณดิจทิ ลั มีคา่
คงทีเ่ ป็นช่วง ๆ และการเปลีย่ นแปลงขนาดของสัญญาณเป็นแบบทันทีทนั ใด เช่น สัญญาณทีค่ อมพิวเตอร์
ใช้ในการท�างานและติดต่อสื่อสารกัน
สัญญาณดิจทิ ลั ส่งผ่านได้งา่ ยกว่าและมีโอกาสเกิดความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณแอนะล็อก ซึง่ น�าไปสูก่ ารส่ง
ข้อมูลที่ถูกต้อง อัตราการส่งข้อมูลที่เร็วกว่าและได้ผลลัพธ์ที่ดี
48

ขอสอบเนน การคิด
จงตอบคําถามเกี่ยวกับอุปกรณที่ใชคลื่นแมเหล็กไฟฟา ดังตอไปนี้
ก) ภาพบนแผนฟลมถายภาพรังสีเอกซจะเปนสีดํา เทา หรือขาว ขึ้นอยูกับอะไร และอยางไร
(แนวตอบ ภาพบนแผนฟลมถายภาพรังสีเอกซจะเปนสีดํา เทา หรือขาว ขึ้นอยูกับความหนาแนนของเนื้อเยื่อและชนิดของแรธาตุในเนื้อเยื่อนั้น
โดยเนื้อเยื่อที่มีแคลเซียมสูง เชน กระดูก ภาพอวัยวะบนแผนฟลมจะเปนสีขาว แตถาเนื้อเยื่อที่มีอากาศอยู เชน ปอด ภาพอวัยวะบนแผนฟลม
จะเปนสีดํา สวนเนื้อเยื่ออื่นๆ ที่มีความหนาแนนของแรธาตุผสมระหวางกระดูกกับอากาศตางกัน ภาพบนฟลมจะเปนสีเทาลดหลั่นกัน)
ข) การทําซีทีสแกนนิยมใชกับการตรวจสวนใดของรางกาย และไมนิยมใชกับการตรวจสวนใดของรางกาย
(แนวตอบ การทําซีทีสแกนนิยมใชกับการตรวจรางกายบริเวณศีรษะและคอ บริเวณชองทอง บริเวณชองอก และกระดูกสันหลัง สวนกลามเนื้อและ
กระดูกสวนอื่นๆ ไมนิยมใชการตรวจดวยซีทีสแกน)
ค) การสรางภาพอวัยวะของเครื่องเอ็มอารไออาศัยผลจากปรากฏการณใด
(แนวตอบ การสรางภาพของเครื่องเอ็มอารไออาศัยผลจากปรากฏการณการสั่นพองทางแมเหล็กของนิวเคลียสไฮโดรเจน)
ง) จงเปรียบเทียบภาพที่ไดจากเครื่องเอ็มอารไอกับภาพที่ไดจากการทําซีทีสแกน
(แนวตอบ เครื่องเอ็มอารไอจะใหภาพ 3 มิติ ของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ และสามารถแสดงเปนภาพตัดขวางแผนบางๆ ไดเชนเดียวกับการทําซีทีสแกน
แตดวยเทคโนโลยีที่สูงกวา เครื่องเอ็มอารไอจึงใหไดทั้งภาพแนวแบงซายขวาและแนวแบงหนาหลัง และใหภาพที่มีความเปรียบตางมากกวาและ
คมชัดกวาการทําซีทีสแกน)
T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง อุปกรณที่ทํางาน
และการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา
Apply Your Knowledge โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม การทํา
ค�าชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน แล้วร่วมกันอ่านข้อความและตอบค�าถามที่ก�าหนดให้ แบบฝกหัด ใบงาน และการสรุปสาระสําคัญ
ภาพบนจอของโทรทัศน์ ประกอบด้วยเส้นสแกนตามแนวขวางจ�านวนมาก เส้นเหล่านี้เกิดจาก 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
ล�าอิเล็กตรอนทีย่ งิ ออกมาจากปืนอิเล็กตรอนจะให้ภาพจากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง ไปกระทบจากภาพ ศาสตร โดยสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ที่ฉาบสารเรืองแสง ท�าให้เกิดเส้นเรืองแสงขึ้น การปฏิบัติกิจกรรม และการนําความรูที่ไดไป
เมือ่ นักเรียนใช้กล้องถ่ายภาพจากหน้าจอโทรทัศน์ บนภาพถ่ายจะมีแถบสีดา� หรือสีขาวขนาดใหญ่ ใชประโยชน
หรือภาพของโทรทัศน์ที่ปรากฏในภาพยนตร์ จะมีแถบสีด�าเคลื่อนที่ขึ้นลงบนจอโทรทัศน์ เหตุใดแถบ 3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
เหล่านี้จึงเกิดขึ้น สั ง เกตพฤติ ก รรมจากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม
การอภิปราย และการทําแบบฝกหัด
Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. ค ลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง 2.
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง ความเร็วของ 3.
คลื่นจึงไม่มีการแปรผันแต่อย่างใด
3. แนวคิดที่ส�าคัญของแมกซ์เวลล์เกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ ทิศ 3.
การเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจะต้องอยูใ่ นทิศเดียวกับสนามแม่เหล็ก
4. จากทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อประจุมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร่งหรือ 4.
ความหน่วงจะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา
ุ ด

5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งออกมาจากสายอากาศโทรทัศน์เป็นคลื่นโพลาไรส์ 5.
ส ม

ง ใ

6. แผ่นโพลารอยด์ทา� ให้แสงทีไ่ ม่โพลาไรส์เป็นแสงมีโพลาไรส์ได้ โดยแสงทีผ่ า่ น 5.


ก ล
ท ึ

ออกมาจะโพลาไรส์ในแนวที่ตั้งฉากกับแกนของโพลารอยด์
บ ั น

7. ความแตกต่างระหว่างคลื่นวิทยุกับคลื่นแสง คือ คลื่นวิทยุเป็นคลื่นตามยาว 5.


ส่วนคลื่นแสงเป็นคลื่นตามขวาง
8. ดาวเทียมสือ่ สารมีหน้าทีร่ บั และถ่ายทอดสัญญาณไมโครเวฟกลับลงสูพ่ นื้ ดิน 6.
9. เครื่องเอ็มอาร์ไอจะใช้สนามแม่เหล็กและรังสีเอกซ์ร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อ 7.
สร้างภาพเสมือนจริง แนวตอบ Self Check
10. สัญญาณแอนะล็อกส่งผ่านได้โดยมีความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณดิจิทัล 8. 1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 49
4. ถูก 5. ถูก 6. ผิด
7. ผิด 8. ถูก 9. ผิด
10. ผิด

แนวตอบ Apply Your Knowledge แนวทางการวัดและประเมินผล


เมือ่ ใชกลองถายรูปถายภาพจากจอโทรทัศน จะพบวาภาพถายจะมีแถบ
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง อุปกรณที่ทํางาน
สีดําหรือสีขาวขนาดใหญ เนื่องจากความเร็วชัตเตอรกับเวลาที่ใชในการ
และการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากพฤติกรรมการตอบคําถาม
สแกนภาพ กลาวคือ ถาใชความเร็วของชัตเตอรเปน 1/60 ในชวงเวลาทีร่ บั การทําแบบฝกหัด ใบงาน และการสรุปสาระสําคัญ โดยศึกษาเกณฑการวัด
แสงจะยังสแกนภาพไมครบทั้งหมด คือ สแกนไปไดเพียง 50/60 สวนของ และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทาย
ภาพทัง้ หมด ยังมีอกี 10/60 สวนทีย่ งั ไมไดสแกนออกมา ภาพถายทีไ่ ดจะมี แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
แถบสีดาํ ซึง่ มีความกวางเทากับ 1/6 ของความสูงของภาพ หากใชความเร็ว
ชัตเตอรมากความกวางของแถบสีดําก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น ถาตองการใช แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 4 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน

กลองถายรูปถายภาพจากจอโทรทัศน ควรตั้งความเร็วชัตเตอรเทากับ
ประเด็นที่ประเมิน
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ 4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน

เวลาที่ใชในการสแกนภาพ จึงจะสามารถปองกันการเกิดแถบสีดําหรือ
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ

แถบสวางได 4 ความเป็นระเบียบ
รวม
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง
ความประณีต
ผลงานส่วนใหญ่มีความ
เป็นระเบียบแต่ยังมี
ข้อบกพร่องเล็กน้อย
ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T53
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions 5


1. สนามแมเหล็กมีทศิ พุง ขึน้ ตามแนวดิง่ มีคา ลดลง
ใหนวิ้ หัวแมมอื ชีข้ นึ้ ไปแนวดิง่ ปรากฏวานิว้ ทัง้ สี่
จะวนรอบแกนแนวดิ่งตามเข็มนาฬกา เมื่อมอง
w ww
U nit Questions 5
คําชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
ลงมาตามแนวดิ่ง สนามไฟฟาเหนี่ยวนําที่เกิด
1. จากภาพที่ 5.51 ถ้าสนามแม่เหล็กในทิศพุ่งขึ้นตามแนวดิ่งก�าลังมีค่าลดลง จงหาทิศของสนาม
ขึ้นจึงวนรอบสนามแมเหล็กทวนเข็มนาฬกา ไฟฟ้าเหนี่ยวน�าที่เกิดขึ้น
2. ตามทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล B
ประกอบดวยสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาที่ ΔB (ก�าลังลดลง)
เปลี่ยนแปลงตามเวลาในระนาบที่ตั้งฉากกัน
โดยกลไกในการเกิ ด และการแผ อ อกไปจาก
แหลงกําเนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ การ
เหนี่ยวนําอยางตอเนื่องระหวางสนามแมเหล็ก
และสนามไฟฟาที่เปนองคประกอบของคลื่น ภาพที่ 5.51 ภาพประกอบ Unit Question 5 ข้อ 1.
แมเหล็กไฟฟา กลาวคือ สนามแมเหล็กที่กําลัง ที่มา : คลังภาพ อจท.
เปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟา 2. จงอธิบายเกี่ยวกับองค์ประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กลไกการเกิด และการแผ่ออกจากแหล่ง
ใหมขนึ้ มา และสนามไฟฟาทีก่ าํ ลังเปลีย่ นแปลง ก�าเนิดของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าตามทฤษฎีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ พร้อมทัง้ อธิบายว่า
จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กใหมขึ้นมา เหตุใดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเดินทางผ่านสุญญากาศได้
โดยการเหนี่ยวนําในลักษณะนี้จะเกิดสลับกัน 3. เพราะเหตุใดจึงจัดให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง
อยางตอเนือ่ งและเกิดขึน้ ไดแมแตในสุญญากาศ 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก�าลังแผ่ไปในทิศ +X และมีสนามแม่เหล็กอยู่ในทิศ +Z ดังภาพที่ 5.53
ส ง ผลให ค ลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เคลื่ อ นผ า น จงหาว่าสนามไฟฟ้าของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้อยู่ในทิศใด
สุญญากาศได Z
3. คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า จั ด เป น คลื่ น ตามขวาง
B
เพราะสนามแม เ หล็ ก และสนามไฟฟ า ที่ เ ป น
องคประกอบของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปลี่ยน
แปลงในแนวตั้งฉากกับทิศการแผของคลื่น
4. X c Y
ภาพที่ 5.52 ภาพประกอบ Unit Question 5 ข้อ 4.
ที่มา : คลังภาพ อจท.
5. ปรากฏการณ์ใดทีช่ ใี้ ห้เห็นว่า มีการถ่ายโอนพลังงานไปพร้อมกับการแผ่ไปของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
E
c 6. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า การทดลองของเฮิรตซ์เป็นการยืนยันความถูกต้องของทฤษฎีคลื่น
B แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
50

c E

5. จากปรากฏการณเห็นไดวามีการถายโอนพลังงานไปพรอมกับการแผของคลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหลังจากดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟา


ที่มาตกกระทบ เชน วัตถุที่วางอยูกลางแดด คนที่นั่งลอมรอบกองไฟ
6. โดยการทดลองของเฮิรตซแสดงใหเห็นวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจากการเหนี่ยวนํากันอยางตอเนื่องระหวางสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กที่กําลัง
เปลี่ยนแปลง และคลื่นแมเหล็กไฟฟาแผออกจากแหลงกําเนิดโดยไมตองอาศัยตัวกลาง ซึ่งเปนไปตามทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแมกซเวลล

T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

7. การเรงประจุไฟฟาจากการทดลองของเฮิรตซ
ใชการปด-เปดไฟฟากระแสตรงจากแบตเตอรี่
7. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง จงอธิบายว่า การเร่งประจุไฟฟ้า สวนการเรงประจุไฟฟาในสายอากาศเปนการ
จากการทดลองของเฮิรตซ์กับการเร่งประจุไฟฟ้าในสายอากาศต่างกันอย่างไร
เรงดวยไฟฟากระแสสลับ
8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่จากสายอากาศในทุกทิศทาง ยกเว้นทิศทางใด เพราะเหตุใด
8. ประจุไฟฟาที่กําลังเคลื่อนที่ดวยความเรงจะ
9. จงเรียงล�าดับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากความยาวคลื่นยาวไป
แผคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมารอบๆ แนวการ
ความยาวคลื่นสั้น
เคลือ่ นทีข่ องประจุไฟฟา ยกเวนในแนวเสนตรง
10. จงระบุแหล่งก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ต่อไปนี้
เดียวกับแนวการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟา
ก) คลื่นวิทยุ
ข) รังสีอินฟราเรด 9. คลืน่ แมเหล็กไฟฟาในสเปกตรัมแมเหล็กไฟฟา
ค) แสงที่ตามองเห็น เรียงลําดับจากความยาวคลืน่ ยาวไปความยาว
ง) รังสีอัลตราไวโอเลต คลื่นสั้น ไดแก คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ รังสี
จ) รังสีเอกซ์ อิ น ฟราเรด แสงที่ ม องเห็ น ได รั ง สี อั ล ตรา
ฉ) รังสีแกมมา ไวโอเลต รังสีเอกซ และรังสีแกมมา ตามลําดับ
11. ถ้าคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ และแสงเลเซอร์ มีความถี่อยู่ในช่วง 104 -108 เฮิรตซ์ 109 -1012 เฮิรตซ์
และ 1014 เฮิรตซ์ ตามล�าดับ หากส่งคลื่นเหล่านี้จากโลกไปยังดาวเทียมดวงหนึ่ง คลื่นทั้งสามจะ 10. ก) แหลงกําเนิดของคลื่นวิทยุ คือ วงจรออส
ใช้เวลาเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด ซิลเลเตอร
12. จากข้อมูลต่อไปนี้ จงระบุชนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข) แหลงกําเนิดของรังสีอินฟราเรด คือ วัตถุ
ก) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานต�่าสุด รอน และการสั่นของอะตอมหรือโมเลกุล
ข) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีอ�านาจทะลุผ่านสูงสุด ของวัตถุ
ค) เกิดจากการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดบรรจุไอปรอท ทะลุผา่ นแก้วได้นอ้ ย แต่ทะลุผา่ น ค) แหลงกําเนิดของแสง คือ การเปลีย่ นระดับ
ควอตซ์ได้ดี พลั ง งานของอิ เ ล็ ก ตรอนในอะตอมหรื อ
ง) ใช้ในระบบเรดาร์เพื่อน�าทางเครื่องบินหรือตรวจค้นหาต�าแหน่งและทิศทางของวัตถุ โมเลกุลของสารและวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงๆ
จ) ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างผลึกของของแข็ง ง) แหลงกําเนิดของรังสีอัลตราไวโอเลต คือ
13. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดบ้างที่ประสาทสัมผัสของมนุษย์สามารถรับรู้ได้โดยตรง เป็นการรับรู้ การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
โดยประสาทสัมผัสใด และรับรู้ในลักษณะใด วงนอกในอะตอมและแหล ง กํ า เนิ ด รั ง สี
14. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่ใดสามารถน�าข่าวสารออกไปนอกโลกได้ ความรอน โดยแหลงกําเนิดรังสีอัลตรา
15. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ใดบ้างที่ใช้ในการสื่อสาร และมีวิธีการใช้อย่างไร ไวโอเลตที่สําคัญ คือ ดวงอาทิตย
16. เพราะเหตุใดการส่งคลืน่ วิทยุระบบเอเอ็มจึงครอบคลุมพืน้ ทีไ่ ด้มากกว่าการส่งคลืน่ วิทยุระบบเอฟเอ็ม จ) แหลงกําเนิดของรังสีเอกซ คือ การเปลี่ยน
17. รังสีชนิดใดที่นิยมใช้ในการอาบรังสีเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช ก�าจัดแมลง และถนอมอาหาร ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนวงในของ
อะตอม และการหนวงการเคลื่อนที่ของ
18. ระบุความเหมือนและความแตกต่างระหว่างรังสีเอกซ์และรังสีแกมมา
อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูงๆ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 51 ฉ) แหลงกําเนิดของรังสีแกมมา คือ การสลาย
ของนิวเคลียสธาตุกัมมันตรังสี ปฏิกิริยา
นิวเคลียรบางปฏิกิริยา และอนุภาคไฟฟา
ในเครื่องเรงอนุภาคพลังงานสูง
11. คลื่นทั้งสามใชเวลาเทากันในการเดินทางไปถึงดาวเทียม เนื่องจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิดเดินทางผานตัวกลางเดียวกันดวยอัตราเร็วเทากัน
12. ก) คลื่นวิทยุ เนื่องจากมีความถี่ตํ่าสุด
ข) รังสีแกมมา เนื่องจากมีความถี่สูงสุด
ค) รังสีอัลตราไวโอเลต เนื่องจากเปนสมบัติเฉพาะของรังสีอัลตราไวโอเลต
ง) คลื่นไมโครเวฟ เนื่องจากไมโครเวฟสะทอนกับผิวโลหะไดดี
จ) รังสีเอกซ เนื่องจากการวิเคราะหโครงสรางของผลึกของของแข็งอาศัยการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซผานอะตอมของของแข็ง
13. รังสีอนิ ฟราเรดและแสง โดยรังสีอนิ ฟราเรดเปนการรับรูโ ดยผิวหนังและเปนการรับรูใ นลักษณะของความรูส กึ รอน สวนแสงเปนการรับรูข องตาและเปนการ
รับรูในลักษณะของการมองเห็น
14. ยานความถี่ 108-1010 เฮิรตซ ซึ่งประกอบดวยคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม คลื่นโทรทัศน และไมโครเวฟ
15. คลื่นวิทยุ ซึ่งมีความถี่อยูในชวง 106-109 เฮิรตซ คลื่นโทรทัศนและไมโครเวฟ ซึ่งมีความถี่อยูในชวง 108-1010 เฮิรตซ
16. คลื่นวิทยุระบบเอเอ็มมีความถี่ตํ่ากวาคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม คลื่นวิทยุระบบเอเอ็มจึงสะทอนที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยรกลับมายังพื้นผิวโลก
17. รังสีแกมมา
18. เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาในยานความถี่สูงสงผลใหมีพลังงานและมีอํานาจทะลุผานสูง
T55
นํา สอน สรุป ประเมิน

19. ทางการแพทยใชรังสีเอกซถายภาพเอกซเรย
เพื่อตรวจสอบอวัยวะภายในของมนุษย ทาง
ดานอุตสาหกรรมใชรงั สีเอกซในการตรวจสอบ 19. บอกประโยชน์ของรังสีเอกซ์ที่นักเรียนพบเห็น พร้อมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
รอยราวของโลหะ ใชตรวจหาอาวุธและสิ่งผิด 20. กาแล็กซีที่อยู่ใกล้กาแล็กซีของเรามากที่สุด คือ กาแล็กซีแอนโดรเมดา โดยอยู่ห่างออกไปเป็น
กฎหมาย ระยะ 2.2 ล้านปแสง จงหาว่ากาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีของเรากี่กิโลเมตร
21. ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลก 150 ล้านกิโลเมตร จงหาเวลาที่แสงอาทิตย์เดินทางจากดวงอาทิตย์
20. กาแล็กซีแอนดรอเมดาอยูห า งจากกาแล็กซีของ
มาถึงโลก
เราเทากับ 20.8 × 1018 กิโลเมตร หรือ 20.8
22. สถานีวิทยุ จส.100 ออกอากาศด้วยความถี่ 100 เมกะเฮิรตซ์ จงหาความยาวคลื่นของคลื่น
ลานลานลานกิโลเมตร
แม่เหล็กไฟฟ้าทีส่ ง่ จากสถานีวทิ ยุ จส.100 และความยาวของเสาอากาศทีใ่ ช้ในการส่งกระจายเสียง
21. แสงอาทิตยเดินทางจากดวงอาทิตยมาถึงโลก ถ้าเสาอากาศที่ใช้เป็นแบบไดโพลครึ่งคลื่น
ใชเวลา 500 วินาที 23. จงหาช่วงความถี่ของรังสีอัลตราไวโอเลตต่อไปนี้
22. ความยาวของเสาอากาศทีใ่ ชในการสงกระจาย ก) รังสีอัลตราไวโอเลต A ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 320 นาโนเมตร ถึง 400 นาโนเมตร
เสียงจึงมีคาเปน 1.5 เมตร ข) รังสีอัลตราไวโอเลต B ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 280 นาโนเมตร ถึง 320 นาโนเมตร
24. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นดังข้อต่อไปนี้ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใด
23. ก) รังสีอัลตราไวโอเลต A มีความถี่อยูในชวง ก) 0.1 นาโนเมตร จ) 1 เซนติเมตร
7.50 × 1014 Hz ถึง 9.38 × 1014 Hz ข) 100 นาโนเมตร ฉ) 1 เมตร
ข) รังสีอัลตราไวโอเลต B มีความถี่อยูในชวง ค) 0.5 ไมโครเมตร ช) 1 กิโลเมตร
9.38 × 1014 Hz ถึง 10.7 × 1014 Hz ง) 1 ไมโครเมตร
24. ก) รังสีเอกซ 25. แสงไม่โพลาไรส์เดินทางผ่านอากาศไปตกกระทบผิวของของเหลวใสอย่างหนึง่ โดยท�ามุมตกกระทบ
ข) รังสีอัลตราไวโอเลต 53.7 องศา ปรากฏว่าแสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรส์ จงหาว่าดรรชนีหักเหของของเหลวนี้มีค่า
ค) แสง เท่าใด
ง) รังสีอินฟราเรด 26. ถ้าน�้ามีดรรชนีหักเหเท่ากับ 34 จงหามุมโพลาไรส์ที่เกิดขึ้น เมื่อแสงมีการเดินทางดังต่อไปนี้
จ) คลื่นไมโครเวฟ ก) แสงเดินทางจากอากาศไปตกกระทบและสะท้อนกลับที่ผิวน�้า
ฉ) คลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม ข) แสงเดินทางจากน�้าไปตกกระทบและสะท้อนกลับที่ผิวน�้า โดยเหนือผิวน�้าเป็นอากาศ
ช) คลื่นวิทยุระบบเอเอ็ม 27. แสงไม่โพลาไรส์เดินทางผ่านอากาศไปตกกระทบแผ่นแก้วใส ถ้าแสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรส์ จงหา
มุมตกกระทบและมุมหักเหของแสงในแผ่นแก้ว เมื่อดรรชนีหักเหของแผ่นแก้วมีค่าเท่ากับ 1.54
25. ดรรชนีหกั เหของของเหลวนีจ้ งึ มีคา เทากับ 1.36
28. แสงไม่โพลาไรส์เดินทางผ่านอากาศไปตกกระทบแผ่นแก้วท�ามุมตกกระทบเป็นมุมโพลาไรส์ ถ้า
26. ก) เมื่อแสงเดินทางจากอากาศไปตกกระทบ มุมหักเหในแผ่นแก้วมีขนาด 32.0 องศา มุมโพลาไรส์และดรรชนีหักเหของแผ่นแก้วมีค่าเท่าใด
และสะทอนกลับที่ผิวนํ้า มุมโพลาไรสมีคา 29. มุมโพลาไรส์ของแท่งแก้วมีขนาด 57 องศา เมื่อวางในอากาศ โดยแสงเดินทางผ่านอากาศไป
เทากับ 53.1 องศา ตกกระทบแท่งแก้ว จงหามุมโพลาไรส์ของแท่งแก้วเมื่อวางใต้น�้า โดยแสงเดินทางผ่านน�้าไปตก
ข) เมื่อแสงเดินทางจากนํ้าไปตกกระทบและ กระทบแท่งแก้ว (ก�าหนดให้น�้ามีดรรชนีหักเหเท่ากับ 1.33)
สะทอนกลับที่ผิวนํ้า โดยเหนือผิวนํ้าเปน
52
อากาศ มุ มโพลาไรส มี ค  า เท า กั บ 36.9
องศา
27. มุมตกกระทบและมุมหักเหจึงมีคาเทากับ 57
องศา และ 33 องศา ตามลําดับ
28. ดรรชนีหักเหของแผนแกวมีคาเทากับ 1.60
29. มุมโพลาไรสของแทงแกวเมื่อวางใตนํ้าจึงมีคาเทากับ 49.2 องศา

T56
นํา สอน สรุป ประเมิน

30. θ1 = θ3 จึงได n1 = n3 กลาวไดวา ดรรชนีหก


ั เห
ของแผนวัตถุแผนบนกับแผนลางมีคาเทากัน
30. แผ่นวัตถุโปร่งใสผิวเรียบแผ่นบาง ๆ 3 แผ่น ซึ่งมีดรรชนีหักเห n1 n2 และ n3 ตามล�าดับ วาง
ซ้อนกัน ถ้าแสงเดินทางจากแผ่นวัตถุที่มีดรรชนีหักเห n1 ไปตกกระทบผิวของแผ่นวัตถุที่มี 31. tan θp = csc θc
ดรรชนีหักเห n2 ท�ามุมตกกระทบ θ1 ซึ่งเป็นมุมบรูสเตอร์ที่ผิวรอยต่อระหว่างแผ่นวัตถุที่มี 32. มุมวิกฤตของนิลมีขนาด 34.5 องศา โดยมุม
ดรรชนีหักเห n1 และ n2 แล้วหักเหผ่านแผ่นวัตถุที่มีดรรชนีหักเห n2 ไปตกกระทบผิวของแผ่น วิกฤตนี้เปนมุมตกกระทบในนิลที่ใหรังสีหักเห
วัตถุที่มีดรรชนีหักเห n3 ท�ามุมตกกระทบ θ2 ซึ่งเป็นมุมบรูสเตอร์ที่ผิวรอยต่อระหว่างแผ่นวัตถุ ในแนวขนานกับรอยตอระหวางนิลกับอากาศ
ที่มีดรรชนีหักเห n2 และ n3 จงแสดงว่าแผ่นวัตถุแผ่นบนและแผ่นล่างมีดรรชนีหักเหเท่ากัน
(n1 = n3) 33. รังสีธรรมดากับรังสีพเิ ศษเกิดจากปรากฏการณ
การหักเหสองแนวในผลึกแคลไซต โดยรังสีทั้ง
θ1 θ1
สองเปนรังสีหกั เหและเปนแสงโพลาไรสเหมือน
n1
กัน แตตางกันที่อัตราเร็วในการเดินทางผาน
θ2
θ2 θ2
ผลึกแคลไซต โดยรังสีธรรมดามีอัตราเร็วเทา
n2
กันในทุกทิศทาง ขณะที่รังสีพิเศษมีอัตราเร็ว
θ3
ตางกันในทิศทางที่ตางกัน
n3
34. ความเขมของแสงไมโพลาไรสเมื่อผานโพลา
ภาพที่ 5.53 ภาพประกอบ Unit Question 5 ข้อ 30. รอยดแผนหนึ่งจะลดเหลือครึ่งหนึ่งของความ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เขมแสงเดิม เนื่องจากแสงครึ่งหนึ่งซึ่งมีสนาม
31. จงหาความสัมพันธ์ระหว่างมุมโพลาไรส์ (θp) กับมุมวิกฤต (θc) ของตัวกลางหนึง่ ทีว่ างอยูใ่ นอากาศ ไฟฟาที่มีทิศของการโพลาไรสอยูในแนวเดียว
32. ถ้ามุมบรูสเตอร์ของนิลในอากาศมีคา่ เป็น 60.5 องศา มุมวิกฤตของนิลมีคา่ เท่าใด และมุมวิกฤตนี้ กับแกนสงผานของแผนโพลารอยดเทานั้นที่
เป็นมุมตกกระทบหรือมุมหักเหในนิล ผานได แสงอีกครึง่ หนึง่ ซึง่ มีสนามไฟฟาทีม่ ที ศิ
33. รังสีธรรมดากับรังสีพิเศษเกิดขึ้นได้อย่างไร และรังสีทั้งสองเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร ของการโพลาไรสอยูใ นแนวตัง้ ฉากแกนสงผาน
34. ความเข้มของแสงไม่โพลาไรส์เมื่อผ่านโพลารอยด์แผ่นหนึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ของแผนโพลารอยดถกู แผนโพลารอยดดดู กลืน
เพราะเหตุใด ไว
35. เมือ่ มองผ่านโพลารอยด์แผ่นหนึง่ ไปยังแหล่งก�าเนิดแสงพร้อม ๆ กับหมุนแผ่นโพลารอยด์รอบแกน 35. ก) ไมเห็นการเปลี่ยนแปลงของความเขมแสง
ที่ตั้งฉากกับระนาบของแผ่นโพลารอยด์ จะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสงหรือไม่ เนื่องจากแสงจากกองไฟเปนแสงไมโพลา
อย่างไร เพราะเหตุใด ไรส
ก) เมื่อแหล่งก�าเนิดแสงเป็นกองไฟ ข) เห็นการเปลี่ยนแปลงของความเขมแสงใน
ข) เมื่อแหล่งก�าเนิดแสงเป็นแสงที่สะท้อนจากผิวแท่งแก้ว เมื่อรังสีสะท้อนตั้งฉากกับรังสีหักเห ลักษณะสวางมาก มัวลง มืด สวางขึน้ และ
ในแท่งแก้ว
สวางมากสลับกัน เนื่องจากแสงที่สะทอน
ค) เมื่อแหล่งก�าเนิดแสงเป็นแสงที่หักเหผ่านผลึกควอตซ์
จากผิวแทงแกว เมือ่ รังสีสะทอนตัง้ ฉากกับ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 53 รังสีหักเหในแทงแกวเปนแสงโพลาไรส
ค) เห็นการเปลี่ยนแปลงของความเขมแสง
ในลักษณะสวางมาก มัวลง มืด สวางขึ้น
และสวางมากสลับกัน เนื่องจากหักเหผาน
ผลึกควอตซ เปนแสงโพลาไรส

T57
นํา สอน สรุป ประเมิน

36. ก) ความเขมแสงเริ่มตนบนฉากมีคาครึ่งหนึ่ง
ของความเขมแสงกอนผานแผนโพลารอยด
แต ใ นระหว า งการหมุ น แผ น โพลารอยด 36. สองแสงผานแผนโพลารอยดแผนหนึ่งไปตกบนฉาก ขณะที่แกนสงผานของแผนโพลารอยดอยู
ในแนวระดับ จากนั้นใหคนที่ยืนหันหนาเขาหาฉากหมุนแผนโพลารอยดไป 45 องศา ทิศตาม
ความเขมแสงบนฉากยังคงเทาเดิม
เข็มนาฬกา ความเขมแสงเริ่มตนบนฉากมีคาเทาใดเมื่อเทียบกับความเขมแสงกอนผานแผน
ข) โพลารอยด และในระหวางการหมุนแผนโพลารอยด ความเขมของแสงบนฉากจะเพิ่มขึ้น ลดลง
ตําแหนงเริ่มตนของแกนสงผาน หรือเทาเดิม ถาแสงที่สองผานแผนโพลารอยดเปนแสงดังกรณีตอไปนี้
E45 ํ หมุนไป 15 ํ ก) แสงไมโพลาไรส
E30 ํ E15 ํ หมุนไป 30 ํ
หมุนไป 45 ํ ข) แสงโพลาไรสที่สนามไฟฟาของแสงมีทิศของการโพลาไรสอยูในแนวดิ่ง
ค) แสงโพลาไรสที่สนามไฟฟาของแสงมีทิศของการโพลาไรสอยูในแนวระดับ
ง) แสงโพลาไรสทสี่ นามไฟฟาของแสงมีทศิ ของการโพลาไรสเอียงทํามุม 45 องศากับแนวระดับ
ค)
ตําแหนงเริ่มตนของแกนสงผาน
โดยเอียงลงมาทางขวา เมื่อหันหนาเขาหาฉาก

หมุนไป 15 ํ 37. ถาตองการตัดแสงจากดวงไฟของรถคันหนึ่งไมใหพุงเขาตาคนขับรถอีกคันหนึ่งที่วิ่งสวนทางกัน


E45 ํ หมุนไป 30 ํ
E30 ํ E
15 ํ หมุนไป 45 ํ
เพื่อปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุ โดยใหรถยนตทั้ง 2 คัน ติดแผนโพลารอยดไวหนาดวงไฟและ
กระจกหนารถยนต จะตองติดตั้งแผนโพลารอยดอยางไร เพราะเหตุใด
ง) ทิศทางของการโพลาไรส
ของสนามไฟฟาของแสง 38. ถายืนหันหนาเขาหาดวงอาทิตยในตอนเชา แสงอาทิตยในทิศทางใดบางที่เปนแสงโพลาไรส
E0 ํ ตําแหนงเริ่มตนของแกนสงผาน
39. แผนโพลารอยด 2 แผน วางซอนกัน ถาแสงเคลื่อนที่ผานแผนโพลารอยดทั้ง 2 แผน ไปไดเปน
หมุนไป 15 ํ 45 เปอรเซ็นต ของแสงไมโพลาไรสที่ตกกระทบโพลารอยดแผนแรก จงหามุมระหวางแกน
E15 ํ หมุนไป 30 ํ
E30 ํ E45 ํ หมุนไป 45 ํ สงผานของโพลารอยด 2 แผนนี้
40. แสงไมโพลาไรสผานแผนโพลารอยด 2 แผน ที่มุมระหวางแกนสงผานเปน 60 องศา จงหาสวน
37. ตองติดตั้งแผนโพลารอยดใหแกนสงผานเอียง
ของพลังงานของแสงตกกระทบที่แผนโพลารอยดทั้งสองดูดกลืนไว
ทํามุม 45 องศากับแนวดิ่ง และเอียงไปทาง
เดี ย วกั น ทั้ ง ที่ ห น า ดวงไฟและกระจกหน า
เพราะเมื่อรถทั้ง 2 คันวิ่งสวนทางกัน แกนสง
ผานของแผนโพลารอยดทตี่ ดิ ตัง้ ไวหนาดวงไฟ
ของรถคันหนึ่งจะตั้งฉากกับแกนสงผานของ
แผนโพลารอยดทตี่ ดิ ตัง้ ไวทกี่ ระจกหนาของรถ
ทีว่ งิ่ สวนทางมา แสงจากดวงไฟของรถคันหนึง่
จึงถูกดูดกลืนโดยแผนโพลารอยดที่ติดตั้งไวที่
กระจกหนาของรถที่วิ่งสวนทางมา ขณะที่คน
ขับรถแตละคันจะมองเห็นแสงจากดวงไฟของ
รถตัวเองที่สองไปขางหนา เพราะแกนสงผาน 54
ของแผนโพลารอยดทตี่ ดิ ตัง้ ไวหนาดวงไฟและ
กระจกหนาของรถแตละคันมีแนวขนานกัน
38. แสงอาทิตยทางดานขวามือ (ทิศใต) ซายมือ
(ทิศเหนือ) และเหนือศีรษะเปนแสงโพลาไรส
39. cos2θ = 2(0.45) = 0.90 และ cos θ = 0.90 มุมระหวางแกนสงผานของโพลารอยด 2 แผนนี้จึงมีคาเทากับ cos-1 0.90 = 18.4 ํ
I 7I
40. ความเขมแสงที่ผานโพลารอยดทั้ง 2 แผนไปได มีคาเปน 80 และความเขมแสงที่แผนโพลารอยดทั้งสองดูดกลืนไวจึงมีคา 80 เนื่องจากความเขมแสง
เปนสัดสวนโดยตรงกับพลังงานแสงที่ตกกระทบ และกรณีนี้แสงตกกระทบบนพื้นที่เทากัน พลังงานแสงที่แผนโพลารอยดทั้งสองดูดกลืนไว จึงมีคาเปน
7 ของพลังงานแสงตกกระทบ
8

T58
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Test for U

1. แอมพลิจูดของแรงเคลื่อนไฟฟาที่ถูกเหนี่ยวนํา

Test for U ในขดลวดมีคาเทากับ 3.6 มิลลิโวลต


2. มุมบรูสเตอรและมุมโพลาไรสเปนมุมเดียวกัน
ค�าชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้ จึงไดวา มุมโพลาไรสเทากับ 57 องศา และคา
ดรรชนีหักเหของแทงผลึกแคลไซตเทากับ 1.54
1. เสาอากาศไดโพลชนิดแม่เหล็กถูกใช้ในการตรวจวัดคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า เสาอากาศประกอบไปด้วย
ขดลวดจ�านวน 50 รอบ มีรัศมี 5.0 เซนติเมตร ถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ 870 กิโลเฮิรตซ์ 3. แอมพลิจูดของสนามไฟฟาของสัญญาณที่
สนามไฟฟ้ามีแอมพลิจดู 0.50 โวลต์ตอ่ เมตร และสนามแม่เหล็กมีแอมพลิจดู 1.7 × 10-9 เทสลา เครื่องบินตรวจวัดได 86.8 มิลลิโวลตตอเมตร
จงหาแอมพลิจูดของแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ถูกเหนี่ยวน�าในขดลวด
4. มุมโพลาไรสของผลึกแซปไฟรเทากับ 60.5 องศา
2. แสงสีเขียวตกกระทบแท่งผลึกแคลไซต์ด้วยมุมบรูสเตอร์ แล้วหักเหในแท่งผลึกด้วยมุม 33 องศา
กับแนวฉาก ดังภาพที่ 5.54 จงหามุมโพลาไรส์และค่าดรรชนีหักเหของแท่งผลึกแคลไซต์ เมื่อ 5. สนามแมเหล็กของคลื่นนี้ คือ
ก�าหนดให้ดรรชนีหักเหของแสงในสุญญากาศเท่ากับ 1 B(x, t) = (6.7 nT ) cos [(π × 1015 s-1)(t - cx )]

θp θp
สุญญากาศ
ผลึกแคลไซต์
33 �

ภาพที่ 5.54 ภาพประกอบ Test for U ข้อ 2.


ที่มา : คลังภาพ อจท.

3. เครื่องบินล�าหนึ่งได้รับสัญญาณวิทยุความเข้ม 10.0 ไมโครวัตต์ต่อตารางเมตร จากเครื่องส่ง


สัญญาณ จงหาแอมพลิจูดของสนามไฟฟ้าของสัญญาณที่เครื่องบินตรวจวัดได้
4. มุมวิกฤตส�าหรับการสะท้อนกลับหมดของผลึกแซฟไฟร์ทถี่ กู ล้อมรอบด้วยอากาศเป็น 34.4 องศา
มุมโพลาไรส์ของผลึกแซฟไฟร์มีค่าเป็นเท่าใด
5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าระนาบเคลื่อนที่ในทิศทาง +X ในสุญญากาศมีสนามไฟฟ้า ดังสมการ
E(x, t) = (2.0 V/m) cos [(π × 1015s-1)(t - x )] c
จงเขียนสนามแม่เหล็กของคลื่นนี้

Key Test for U 5 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 55

T59
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. บอกความหมายและ แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
อะตอมและ - หนังสือเรียนรายวิชา ส่วนประกอบของอะตอม มโนทัศน์ - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
การค้นพบ เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ของสสารได้ (K) (Concept อะตอมและการค้นพบ - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
อิเล็กตรอน และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ 2. อธิบายที่มาของอนุภาคที่มี Based อิเล็กตรอน - ทักษะการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 ประจุไฟฟ้าลบที่เรียกว่า Teaching) - ตรวจแผ่นพับความรู้ ร่วมกัน
- แบบฝึกหัดรายวิชา อิเล็กตรอนได้ (K) - ตรวจใบงาน
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ 3. คำ� นวณหาปริมาณทีเ่ กีย่ วข้อง - ตรวจแบบฝึกหัด
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ กับการทดลองของทอมสัน - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 และการทดลองของมิลลิแกน Topic Questions
- ใบงาน ได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint 4. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้ การท�ำงานรายบุคคล
- QR Code อยากเห็น และท�ำงานร่วมกับ - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A) การท�ำงานกลุ่ม
Twig - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายลักษณะของแบบ แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
แบบจ�ำลอง เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ จ�ำลองอะตอมของทอมสัน มโนทัศน์ แบบจ�ำลองอะตอม - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
อะตอม และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ และแบบจ�ำลองอะตอมของ (Concept - สังเกตการปฏิบัติการจาก - ทักษะการทดลอง - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 รัทเทอร์ฟอร์ดได้ (K) Based การท�ำกิจกรรม ลักษณะการ - ทักษะการวิเคราะห์
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. บอกความแตกต่างของแบบ Teaching) กระเจิงของอนุภาคแอลฟา
2 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ จ�ำลองอะตอมของทอมสัน - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ และแบบจ�ำลองอะตอมของ ลักษณะการกระเจิงของ
ชั่วโมง
ม.6 เล่ม 2 รัทเทอร์ฟอร์ดได้ (K) อนุภาคแอลฟา
- ใบงาน 3. เขียนแผนภาพแสดง - ตรวจแผ่นพับความรู้
- PowerPoint วิวัฒนาการของแบบจ�ำลอง - ตรวจใบงาน
- QR Code อะตอมได้ (P) - ตรวจแบบฝึกหัด
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 4. มีความรับผิดชอบต่องาน - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Twig ที่ได้รับมอบหมาย (A) Topic Questions
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกความแตกต่างของ แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
สเปกตรัมของ เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ลักษณะของสเปกตรัมที่เกิด มโนทัศน์ การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
อะตอม และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ จากอะตอมของแก๊สได้ (K) (Concept ของวัตถุดำ� - ทักษะการทดลอง - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. อธิบายหลักการแผ่คลื่น Based - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์
- แบบฝึกหัดรายวิชา แม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุดำ� Teaching) เกี่ยวกับสเปกตรัมของ - ทักษะการท�ำงาน
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ตามสมมติฐานของพลังค์ได้ อะตอม ร่วมกัน
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ (K) - สังเกตการปฏิบัติการจาก
ชั่วโมง
ม.6 เล่ม 2 3. ใช้จ�ำนวนในการหาปริมาณ การท�ำกิจกรรม การศึกษา
- ใบงาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ สเปกตรัมของแก๊สร้อน
- PowerPoint ดูดกลืนหรือคายพลังงาน - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ตามสมมติฐานของพลังค์จาก การศึกษาสเปกตรัมของ
Twig สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ (P) แก๊สร้อน
4. ให้ความร่วมมือในการ - ตรวจอินโฟกราฟิก
ปฏิบัติกิจกรรมการศึกษา - ตรวจใบงาน
สเปกตรัมของแก๊สร้อน - ตรวจแบบฝึกหัด
ด้วยความกระตือรือร้น (A) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Topic Questions
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T60
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายโครงสร้างและการ แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ทฤษฎีอะตอม เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เกิดสเปกตรัมของอะตอม มโนทัศน์ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ของโบร์ และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ไฮโดรเจนตามสมมติฐาน (Concept - ตรวจแผ่นพับความรู้ - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 ของโบร์ได้ (K) Based - ตรวจใบงาน - ทักษะการท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. ค�ำนวณหารัศมีวงโคจรของ Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัด ร่วมกัน
8 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ อิเล็กตรอนและพลังงาน - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ อะตอมของไฮโดรเจนได้ (P) Topic Questions
ม.6 เล่ม 2 3. มีความรับผิดชอบต่องานที่ - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติ การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint งานตรงตามเวลาทีค่ รูกำ� หนด - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code (A) การท�ำงานกลุ่ม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - สังเกตคุณลักษณะ
Twig อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายให้เห็นลักษณะส�ำคัญ แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ปรากฏการณ์ เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ทางฟิสิกส์ของปรากฏการณ์ มโนทัศน์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
โฟโตอิเล็กทริก และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ โฟโตอิเล็กทริกได้ (K) (Concept - ตรวจแผ่นพับความรู้ - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. คำ� นวณหาพลังงานโฟตอน Based - ตรวจใบงาน - ทักษะการท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา พลังงานจลน์ของโฟโต Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัด ร่วมกัน
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ อิเล็กตรอน และฟังก์ชันงาน - สังเกตพฤติกรรม
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ของโลหะ รวมทั้งปริมาณที่ การท�ำงานรายบุคคล
ม.6 เล่ม 2 เกี่ยวข้องได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน 3. ความรับผิดชอบต่องานที่ได้ การท�ำงานกลุ่ม
- PowerPoint รับมอบหมาย และปฏิบตั งิ าน - สังเกตคุณลักษณะ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ตรงตามเวลาทีค่ รูกำ� หนด (A) อันพึงประสงค์
Twig
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายสมบัติทวิภาวะของ แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ปรากฏการณ์ เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ คลื่นและอนุภาคจาก มโนทัศน์ ปรากฏการณ์คอมป์ตันและ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
คอมป์ตันและ และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ปรากฏการณ์คอมป์ตันและ (Concept สมมติฐานเดอบรอยล์ - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
สมมติฐาน ม.6 เล่ม 2 สมมติฐานเดอบรอยล์ได้ (K) Based - ตรวจใบความรู้ - ทักษะการท�ำงาน
เดอบรอยล์ - แบบฝึกหัดรายวิชา 2. ค�ำนวณหาความยาวคลื่น Teaching) - ตรวจใบงาน ร่วมกัน
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เดอบรอยล์และปริมาณที่ - ตรวจแบบฝึกหัด
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ เกี่ยวข้องได้ (P) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
2 ม.6 เล่ม 2
- ใบงาน
3. มีความรับผิดชอบต่องาน
ที่ได้รับมอบหมาย และ
Topic Questions
- สังเกตพฤติกรรม
ชั่วโมง - PowerPoint ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ การท�ำงานรายบุคคล
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ครูกำ� หนด (A) - สังเกตพฤติกรรม
Twig การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 7 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายหลักความไม่แน่นอน แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
กลศาสตร์ - หนังสือเรียนรายวิชา ของไฮเซนเบิร์กได้ (K) มโนทัศน์ - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ควอนตัม เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ 2. ค�ำนวณหาปริมาณทีเ่ กีย่ วข้อง (Concept กลศาสตร์ควอนตัม - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ กับหลักความไม่แน่นอนของ Based - ตรวจแผ่นพับความรู้ - ทักษะการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 ไฮเซนเบิร์กได้ (P) Teaching) - ตรวจใบงาน ร่วมกัน
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา 3. มีความรับผิดชอบต่องาน - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับมอบหมาย และ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก ไปใช้
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ Topic Questions
ม.6 เล่ม 2 ครูกำ� หนด (A) - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัด
- ใบงาน จาก Unit Questions
- PowerPoint - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น การท�ำงานรายบุคคล
Twig - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T61
Chapter Concept Overview

อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน
รังสีแคโทด
ล�ำอิเล็กตรอนทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าลบเกิดขึน้ เมือ่ ผ่านศักย์ไฟฟ้าแรงสูงเข้าไปในหลอดสุญญากาศ และจะเกิดรังสีจากขัว้ ไฟฟ้าลบหรือแคโทด
ไปยังขั้วไฟฟ้าบวกหรือแอโนด เรียกว่า รังสีแคโทด
การทดลองของทอมสัน
การศึกษารังสีแคโทดในหลอดสุญญากาศของทอมสันได้ขอ้ สังเกตว่า อนุภาครังสีแคโทดซึง่ ต่อมาได้ชอื่ ว่าอิเล็กตรอน (electron) ทีอ่ อก
มาจากขั้วโลหะต่างชนิดกันจะมีอัตราส่วนประจุไฟฟ้าต่อมวล ( mq  ) เท่ากันเป็น 1.75 × 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม ทอมสันจึงสรุปว่า “อะตอม
ไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด สามารถแบ่งย่อยได้อีก และอิเล็กตรอนก็เป็นองค์ประกอบหนึ่งของอะตอม”
การทดลองของมิลลิแกน
ประจุไฟฟ้าและมวลของอิเล็กตรอนได้ถูกค้นพบจากท�ำการทดลองวัดประจุไฟฟ้าและมวลของอิเล็กตรอน โดยการวัดประจุไฟฟ้า
บนหยดน�้ำมันของมิลลิแกน ซึ่งพบว่าประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนมีค่าเป็น 1.602 × 10-19 คูลอมบ์ และมวลของอิเล็กตรอนมีค่าเป็น 9.11
-31
× 10 กิโลกรัม

แบบจ�ำลองอะตอม

แบบจ�ำลองอะตอมของทอมสัน
ทอมสันได้ทำ� การทดลองและเสนอแนวคิดว่า “อะตอมเป็นทรงกลมประกอบไปด้วยเนือ้ อะตอม
ทีเ่ ป็นประจุบวก และมีอเิ ล็กตรอนทีเ่ ป็นประจุลบกระจายตัวอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ รักษาสมดุลระหว่าง
ประจุทั้ง 2 ชนิด”

แบบจ�ำลองอะตอมของทอมสัน
แบบจ�ำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำ� การทดลองและเสนอแนวคิดว่า “อะตอมประกอบไปด้วยประจุบวกรวมตัว
กันที่จุดศูนย์กลาง เรียกว่า นิวเคลียส และจะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส” โดยที่
เส้นผ่านศูนย์กลางของนิวเคลียสประมาณ 10-15-10-14 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางของอะตอม
ประมาณ 10-10 เมตร
แบบจ�ำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

สเปกตรัมของอะตอม
สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส
สเปกตรัมของแก๊สแต่ละชนิดจะประกอบด้วยชุดของแสงสีเฉพาะแตกต่างกัน จึงถือได้ว่าสเปกตรัมเป็นสมบัติเฉพาะตัวของธาตุแต่ละ
ชนิด โดยสเปกตรัมของแสงขาวจะเป็นสเปกตรัมแบบต่อเนื่อง และสเปกตรัมจากหลอดบรรจุแก๊สจะเป็นสเปกตรัมแบบเส้น
การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุด�ำ
วัตถุอุดมคติที่สามารถปลดปล่อยและดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดีทุกย่านความถี่ เรียกว่า วัตถุด�ำ จากการศึกษาสเปกตรัม
ของการแผ่รังสีความร้อนจากวัตถุด�ำ โดยการวัดความเข้มของคลื่นกับความยาวคลื่นที่แผ่ออกมา พบว่า อุณหภูมิของวัตถุสัมพันธ์กับ
ความยาวคลื่นที่ให้ค่าความเข้มสูงสุดของสเปกตรัมที่แผ่ออกมา ซึ่งมีสมการเป็น  λmaxT  =  2.9 × 10-3 m K
สมมติฐานของพลังค์สรุปได้ว่า พลังงานที่วัตถุด�ำดูดกลืนหรือแผ่ออกมามีค่าได้เฉพาะบางค่าเท่านั้น และค่านี้เป็นจ�ำนวนเท่าของ hf
เรียกว่า ควอนตัมของพลังงาน ดังสมการ E  =  nhf

T62
หน่วยการเรียนรู้ท ี่ 6
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ระดับพลังงานของอะตอม
เนื่องจากแบบจ�ำลองของรัทเทอร์ฟอร์ดไม่สามารถอธิบายได้ว่า ท�ำไมอิเล็กตรอนไม่สูญเสียพลังงาน
ขณะก�ำลังเคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียส โบร์จงึ เสนอแนวคิดว่า “อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียสในวงโคจรทีม่ รี ศั มี
จ�ำเพาะเท่านั้น โดยรัศมีของวงโคจรจะมีความยาวเส้นรอบวงสอดคล้องกับความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนใน
วงโคจรนั้น”
โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในระดับชั้นพลังงานต่าง ๆ การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
ค�ำนวณได้จากสมการ การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ เป็นการทดลองที่สนับสนุน
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทว่ี า่ ระดับชัน้ พลังงานของอิเล็กตรอนเป็นค่า
L  =  mvnrn  =  nћ  =  nh2π ไม่ต่อเนื่อง และมีค่าจ�ำเพาะค่าใดค่าหนึ่งเป็นไปตามทฤษฎีอะตอม
ของโบร์
อิเล็กตรอนสามารถเปลี่ยนวงโคจรโดยการดูดกลืนหรือคาย
รังสีเอกซ์
พลังงานปริมาณ ΔE ค�ำนวณได้จากสมการ
รังสีเอกซ์เกิดจากการยิงอิเล็กตรอนพลังงานจลน์สูงเข้าชน
hf  =  ∙ΔE∙  =  ∙Eni - Enf∙ อะตอมของเป้าโลหะ แล้วอิเล็กตรอนมีความเร็วลดลงและปล่อย
พลังงานในรูปของรังสีเอกซ์ ซึ่งการเกิดรังสีเอกซ์มี 2 กระบวนการ
ส�ำหรับอะตอมไฮโดรเจน พลังงานของอิเล็กตรอนในแต่ละ คือ การเกิดรังสีเอกซ์ต่อเนื่องและการเกิดรังสีเอกซ์เฉพาะตัว
วงโคจร ค�ำนวณได้จากสมการ ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์สามารถอธิบายสเปกตรัมของอะตอม
En  =  -13.62 eV ของไฮโดรเจนได้ดี และท�ำให้ทราบถึงการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
n
อะตอมของไฮโดรเจน แต่ไม่สามารถค�ำนวณและอธิบายสเปกตรัม
ของอะตอมอื่น ๆ ได้
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
เมื่อแสงความถี่ f ตกกระทบผิวโลหะ ถ้าความถี่ของแสงมากกว่าความถี่ค่าหนึ่ง เรียกว่า ความถี่ขีดเริ่ม ( f0) อิเล็กตรอนจะหลุดออก
จากโลหะนั้นโดยทันที เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก โดยมีสมการที่อธิบายปรากฏการณ์เป็น hf  =  W + Ekmax
ปรากฏการณ์คอมป์ตัน
แนวคิดโฟตอนของไอน์สไตน์ได้รับการสนับสนุนจากการทดลองของคอมป์ตันโดยฉายรังสีเอกซ์ไปกระทบอิเล็กตรอนในแท่งแกรไฟต์
พบว่า มีอิเล็กตรอนและรังสีเอกซ์ที่ความยาวคลื่นเปลี่ยนไปจากค่าเริ่มต้นกระเจิงออกมาจากแท่งแกรไฟต์ คอมป์ตันจึงยืนยันได้ว่า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประพฤติตัวเป็นอนุภาคได้
สมมติฐานเดอบรอยล์
การที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงแสดงคุณสมบัติเป็นอนุภาคได้ เดอบรอยล์จึงเสนอว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงก็แสดงคุณสมบัติ
เป็นคลื่นได้ สามารถค�ำนวณหาความยาวคลื่นของอนุภาคมวล m ที่มีอัตราเร็ว v ได้ จากสมการ λ  =  ph  =  mv h

กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม เป็นศาสตร์หรือวิชาที่ศึกษาธรรมชาติของสสารในระดับอะตอมได้อย่างกว้างขวาง โดยมีพื้นฐานจากทวิภาวะของ
คลื่นและอนุภาค สามารถอธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในอะตอมได้เป็นอย่างดี โดยแทนอิเล็กตรอนด้วยกลุ่มคลื่น และบอกความ
น่าจะเป็นในการพบอิเล็กตรอนในรูปของกลุ่มหมอก ณ ต�ำแหน่งและเวลาหนึ่ง ๆ โดยหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก กล่าวว่า “เราไม่
สามารถที่จะรู้ต�ำแหน่งและความเร็วของอนุภาคที่เวลาเดียวกันได้อย่างแม่นย�ำ” หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์กที่กล่าวถึงความไม่
แน่นอนของต�ำแหน่งและความไม่แน่นอนของโมเมนตัม สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังสมการ (Δx)(Δp) ≥ ћ

T63
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง
ฟสิกสอะตอม
6
หนวยการเรียนรูที่
ฟสิกสอะตอม ซึ่งเปนปรนัยจํานวน 10 ขอ
ใชเวลา 10 นาที เพื่อตรวจสอบความรูพื้นฐาน
ของนักเรียนกอนเขาสูเนื้อหา
2. ครูใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเกิดปญหาและ ในหน่วยการเรียนรู้นี้ จะศึกษาสมบัติทางกายภาพของโครงสร้างอะตอม เพื่อให้ได้ภาพร่างของ
หาความรูเพื่อใหไดคําตอบ โดยใชคําถาม Big ลักษณะอะตอม ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า การศึกษาดังกล่าวนอกจาก
Question จากหนังสือเรียน โดยเมื่อนักเรียน จะได้ทราบถึงโครงสร้างของอะตอมแล้ว ยังท�าให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ ทางฟิสิกส์ และต่อยอดไปสู่
ศึ ก ษาเรี ย นรู  จ นจบหน ว ยการเรี ย นรู  นี้ แ ล ว ฟิสิกส์ยุคใหม่ รวมไปถึงเทคนิควิธีการ และเครื่องมือต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอีกด้วย
นักเรียนจะตองตอบคําถามและใหเหตุผลของ
ขอคําถามนี้ได แสงที่ประพฤติตัวเปนคลื่นแตกตางจาก
3. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบความเขาใจกอน แสงที่ประพฤติตัวเปนอนุภาคอยางไร

เรียนจาก Check for Understanding จาก


หนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว

Check fo r U n de r s t a n d i ng
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
กระแสของอิเล็กตรอนที่สังเกตไดในหลอดสุญญากาศ เรียกวา รังสีแอโนด
อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวกและประจุไฟฟาลบในจํานวนที่เทากัน อะตอมจึงมี
สภาพเปนกลางทางไฟฟา เปนไปตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน
อนุกรมความยาวคลื่นของสเปกตรัมเสนสวางในชวงแสงที่ตามองเห็น คือ อนุกรมบัลเมอร
คาคงตัวของพลังค เปนคาคงตัวที่ใชในการคํานวณหาพลังงานของเสนสเปกตรัม
อิเล็กตรอนที่หลุดออกจากผิวโลหะ เมื่อมีแสงความถี่คาหนึ่งไปตกกระทบ เรียกวา โฟโตอิเล็กตรอน
แนวตอบ Check for Understanding
1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก 4. ถูก 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


แสงมี ส มบั ติ เ ป น ได ทั้ ง คลื่ น และอนุ ภ าค ขึ้ น อยู  กั บ สถานการณ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม
ณ ขณะนั้ น โดยที่ แ สงที่ ป ระพฤติ ตั ว เป น คลื่ น มั ก อยู  ใ นรู ป ที่ เ รี ย กว า
ครูควรใชวธิ กี ารสอนแบบเนนมโนทัศน โดยมุง เนนใหนกั เรียนเขาใจหลักการและ
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา สวนแสงทีป่ ระพฤติตวั เปนอนุภาคมักอยูใ นรูปทีเ่ รียกวา
ความคิดรวบยอดตางๆ เพื่อประยุกตใช และควรจัดการเรียนการสอนที่นําพา
โฟตอน ซึ่งเปนอนุภาคที่ไมมีมวล แมวาจะพิจารณาในรูปที่ตางกันแตมี
ผูเรียนไปสูความคิดรวบยอดนั้น โดยครูสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากบทความ
สิ่งที่เหมือนกัน คือ คลื่นแมเหล็กไฟฟาและโฟตอนมีอัตราเร็วเทากับ
ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน ในเว็บไซต https://www.spu.ac.th/
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ (3 × 10 8 เมตรตอวินาที) และไมอาศัย
tlc/files/2016/03/รูปแบบการสอน-รศ.ดร.ทิศนา.pdf
ตัวกลางในการเคลื่อนที่

T64
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า
การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
อะตอมมีสว นประกอบ 1. อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน 4. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ
อะไรบาง เรี ย นกั บ นั ก เรี ย น โดยนั ก เรี ย นร ว มกั น ตอบ
การศึกษาเกี่ยวกับอะตอมหรือส่วนประกอบของธาตุแต่ละ
คําถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคําตอบ
ธาตุ มีจุดเริ่มต้นมาจากข้อสงสัยของมนุษย์ว่า สารแต่ละชนิด
เพือ่ เชือ่ มโยงเขาสูเ นือ้ หาทีก่ าํ ลังจะศึกษาเรียนรู
เกิดขึน้ มาจากอะไร สามารถแบ่งแยกต่อไปได้เรือ่ ย ๆ ได้หรือไม่ ซึง่ ในหัวข้อนีจ้ ะศึกษาเพือ่ หาค�าตอบ
มาอธิบายข้อสงสัยเหล่านั้น ตอไป
5. ครูถามคําถามกระตุนความสนใจกับนักเรียน
จุดเริ่มต้นที่ส�าคัญที่ท�าให้มีการเริ่มศึกษาเกี่ยวกับอะตอม เริ่มจากนักวิทยาศาสตร์สังเกต
ว า “เราสามารถมองเห็ น อะตอมของสสาร
ข้อมูลที่ได้จากการทดลองว่า อะตอมของธาตุต่าง ๆ มีสมบัติทางไฟฟ้า สามารถใช้กระแสไฟฟ้า
แยกธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารได้ ท�าให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า น่าจะมีส่วนย่อยที่เล็กกว่า ตางๆ ไดดวยตาเปลาหรือไม” โดยใหนักเรียน
อะตอม และมีสมบัติทางไฟฟ้า จึงได้มีการทดลองเพื่อค้นหาส่วนประกอบของอะตอม รวมกันแสดงความคิดเห็น
( แนวตอบ ไม ส ามารถมองเห็ น ด ว ยตาเปล า
1.1 รังสีแคโทด เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก)
หลอดรังสีแคโทด (cathode ray tube) เป็น 6. ครูอธิบายคําตอบที่วา อะตอมมีขนาดเล็กซึ่ง
อุปกรณ์ส�าคัญที่ใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับอะตอม ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลาเพิ่มเติม
สร้างจากหลอดแก้วทีส่ บู เอาอากาศจากภายในออก
จนเกือบเป็นสุญญากาศ แล้วบรรจุแก๊สชนิดอื่น ขัน้ สอน
เข้าไป เมือ่ จ่ายความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงประมาณ 10- รู้ (Knowing)
20 กิโลโวลต์ ให้กับขั้วที่ปลายทั้ง 2 ข้างของหลอด 1. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาโดยใชคําถามวา
จะเกิดการเรืองแสงในหลอด ดังภาพที่ 6.1 ภาพที่ 6.1 การเรืองแสงในหลอดรังสีแคโทด
ที่มา : http://wps.prenhall.com • นักเรียนทราบหรือไมวาจุดเริ่มตนที่สําคัญ
การศึกษาเกี่ยวกับอะตอมโดยใช้หลอดรังสี ของการศึกษาเกี่ยวกับอะตอมคือสิ่งใด
แคโทดมีการศึกษามายาวนานและมีนักวิทยาศาสตร์หลายคนสนใจท�าการศึกษา จึงมีการค้นพบ
(แนวตอบ เริ่มจากนักวิทยาศาสตรสังเกต
ข้อมูลเกีย่ วกับอะตอมทีน่ า่ สนใจหลายข้อมูล เช่น การค้นพบอิเล็กตรอน การค้นพบอัตราส่วนประจุ
ขอมูลที่ไดจากการทดลองวา อะตอมของ
ต่อมวล การค้นพบรังสีเอกซ์ โดยในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงเพียงการค้นพบรังสีแคโทด ซึ่งสามารถ
ล�าดับข้อมูลได้ ดังนี้ ธาตุตางๆ มีสมบัติทางไฟฟา สามารถใช
กระแสไฟฟาแยกธาตุทเี่ ปนองคประกอบของ
ใน พ.ศ. 2398 ไฮน์ริช ไกสส์เลอร์ (Heinrich Geissler) ช่างเปาแก้วชาวเยอรมันได้พัฒนา
สารได จึงเชื่อวานาจะมีสวนยอยที่เล็กกวา
เครื่องดูดอากาศสุญญากาศ จึงท�าให้เขาประดิษฐ์หลอดแก้วที่บรรจุด้วยแก๊สชนิดต่าง ๆ แทนที่
อะตอมและมีสมบัติทางไฟฟา จึงไดมีการ
อากาศ และสูบออกให้เหลือความดันต่าง ๆ ได้ เมือ่ ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปก็จะได้หลอดเรืองแสงที่
มีสสี นั ต่างกันตามชนิดของแก๊สทีบ่ รรจุไว้ ซึง่ หลอดแก้วเหล่านีม้ รี ปู ร่างและขนาดหลากหลาย และ ทดลองเพือ่ คนหาสวนประกอบของอะตอม)
ถูกเรียกว่า หลอดไกสส์เลอร์ (Geissler)
แนวตอบ Key Question

ฟิสิกส์อะตอม 57
อะตอมประกอบดวยโปรตอนกับนิวตรอนซึง่ อยู
รวมกัน เรียกวา นิวเคลียส และรอบๆ นิวเคลียสจะ
มีกลุมหมอกของอิเล็กตรอน

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาหรือสืบคนขอมูล เมือ่ เริม่ กิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ ง อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน
เกี่ยวกับเรื่อง อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน จากแหลงขอมูล ในสวนของหัวขอทีเ่ กีย่ วกับรังสีแคโทด ในกรณีทที่ างโรงเรียนมีอปุ กรณหรือหลอด
สารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด วารสาร งานวิจัย ซึ่งจะ รังสีแคโทดของจริง ครูอาจนํามาใชประกอบการเรียนการสอนในหองเรียน และ
ตองเปนแหลงขอมูลที่สามารถเชื่อถือได จากนั้นใหนักเรียนสรุป หากโรงเรียนใดไมมอี ปุ กรณของจริงหรืออุปกรณชาํ รุดไมพรอมใชงาน ครูอาจเปด
ขอมูลที่ไดลงในสมุดบันทึกประจําตัวเปนองคความรูของตนเอง วีดทิ ศั นจากแหลงขอมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วกับหลอดรังสีแคโทดประกอบการเรียน
กอนที่จะศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน เพื่อใหเกิดการเรียนรูดวย การสอน เพือ่ ใหนกั เรียนไดมองเห็นภาพลักษณะรูปรางหรือสวนประกอบตางๆ
ตนเองและสรางความเขาใจในเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่อง อะตอมและ สงเสริมใหมคี วามเขาใจมากขึน้
การคนพบอิเล็กตรอน

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2. ครู ถ ามคํ า ถามกระตุ  น กั บ นั ก เรี ย นต อ ว า ใน พ.ศ. 2402 ยูลีอุส พลึคเคอร์ (Julius Plücker) ได้ศึกษาหลอดไกสส์เลอร์ โดย
“อุปกรณใดที่มีสวนสําคัญที่ใชในการศึกษา การสูบอากาศออกจากหลอดไกสส์เลอร์ให้มากที่สุด แล้วผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไป ท�าให้เกิดแสง
เกี่ยวกับอะตอม” ครูทิ้งชวงเวลาใหนักเรียน สีเขียวเรืองแสงปรากฏอยู่ที่ผนังหลอดแก้วบริเวณขั้วแอโนด (ขั้วบวก) ดังภาพที่ 6.2
คิดโดยที่ครูยังไมตองการคําตอบ เพื่อเปนการ 2
ชักนําเขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษา 1 (+) ขั้วแอโนด
ขัว้ แคโทด (-)
3. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนที่นั่งขางๆ จากนั้น
รวมกันศึกษา เรื่อง อะตอมและการคนพบ
อิเล็กตรอน ในหัวขอที่เกี่ยวกับรังสีแคโทดจาก (-) (+)
หนังสือเรียนในลักษณะของเพื่อนคูคิด โดย แอมมิเตอร์
10,000 V แหล่งก�าเนิดไฟฟ้าความต่างศักย์สูง
นักเรียนทุกคนจะตองจดบันทึกความรูท ไี่ ดจาก
การศึกษาลงในสมุดบันทึกประจําตัว ภาพที่ 6.2 แสงสีเขียวที่ปรากฏบนผนังหลอดแก้วในการทดลองของพลึคเคอร์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept
Question จากหนังสือเรียน ต่อมาใน พ.ศ. 2408 เซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) ได้ท�าการทดลอง
กับหลอดสุญญากาศ (หลอดไกสส์เลอร์) แต่ดัดงอหลอดเป็นมุมฉาก แล้วต่อขั้วไฟฟ้าของหลอด
ที่บรรจุแก๊สความดันต�่านี้เข้ากับแหล่งก�าเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง ดังภาพที่ 6.3
พบว่า การเรืองแสงสีเขียวจะเกิดมากที่สุดตามบริเวณผนังหลอดด้านในที่อยู่ตรงข้ามขั้วแคโทด
ซึ่งเป็นขั้วลบ แสดงว่าการเรืองแสงดังกล่าวเกิดจากรังสีที่ออกมาจากขั้วแคโทด จึงเรียกรังสีนี้ว่า
รังสีแคโทด (cathode ray)
ขั้วแคโทด (-) Conc��t Q�e����n
เพราะเหตุใดขัว้ ทีต่ อ กับศักยไฟฟาลบจึงเรียกวา
ขั้ ว แคโทด และขั้ ว ที่ ต  อ กั บ ศั ก ย ไ ฟฟ า บวกจึ ง
เรียกวา ขั้วแอโนด

(+) ขั้วแอโนด
(-) (+)
แนวตอบ Concept Question แอมมิเตอร์ ภ าพที่ 6.3 แสงสีเขียวที่ปรากฏบนผนังหลอดแก้วใน
10,000 V แหล่งก�าเนิดไฟฟ้า การทดลองของครูกส์
ขั้วแคโทด คือ ขั้วที่เกิดการรับอิเล็กตรอนจาก ความต่างศักย์สูง ที่มา : คลังภาพ อจท.
ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้วนี้จะ
เรียกวา ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน ขัว้ แอโนด คือ ขัว้ ทีเ่ กิดการ
58
ใหอิเล็กตรอนจากปฏิกิริยาไฟฟาเคมี โดยปฏิกิริยา
ที่เกิดขึ้นที่ขั้วนี้จะเรียกวา ปฏิกิริยาออกซิเดชัน

นักเรียนควรรู กิจกรรม ทาทาย


1 แคโทด (cathode) คือ บริเวณดานที่เกิดการรับอิเล็กตรอนจากปฏิกิริยา ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนอยางอิสระ แลวมอบหมายให
ไฟฟาเคมี โดยปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ทีด่ า นนีจ้ ะเรียกเปนปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน (reduction นักเรียนไปศึกษาคนควาหรือสืบคนขอมูลเกี่ยวกับเรื่อง อะตอม
reaction) ในทางฟสิกส ขั้วแคโทดมักจะตอเขากับขั้วลบของแหลงกําเนิดไฟฟา และการคนพบอิเล็กตรอน จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน
อินเทอรเน็ต หองสมุด วารสาร งานวิจัย ซึ่งจะตองเปนแหลง
2 แอโนด (anode) คือ บริเวณดานทีเ่ กิดการใหอเิ ล็กตรอนจากปฏิกริ ยิ าไฟฟา
ขอมูลที่สามารถเชื่อถือได นั่นหมายถึง นักเรียนแตละคนจะ
เคมี โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ดานนี้จะเรียกเปนปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation
ตองมีวิจารณญาณหรือมีสมรรถนะในการรูเทาทันสื่อสารสนเทศ
reaction) ในทางฟสกิ ส ขัว้ แอโนดมักจะตอเขากับขัว้ บวกของแหลงกําเนิดไฟฟา
และดิจิทัล จากนั้นใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดมาจัดทําเปนรายงาน
โดยการเขียนดวยลายมือตัวบรรจงลงในกระดาษ A4 อยางนอย
10 หนา พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวตัวแทนนักเรียน
เก็บรวบรวมสงครู

T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1.2 การทดลองของทอมสัน 5. ครูใหนักเรียนแตละคู (คูที่เคยรวมกันศึกษา
เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (Sir Joseph John Thomson) ได้ทา� การทดลองเกีย่ วกับการน�า เนือ้ หากอนหนานี)้ รวมกันศึกษาเนือ้ หาเกีย่ วกับ
ไฟฟ้าของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด โดยการดัดแปลงลักษณะของหลอดรังสีแคโทดจากเดิมแล้วน�า การทดลองของทอมสันจากหนังสือเรียน ซึ่ง
ไปท�าการทดลอง ซึ่งผลการทดลองที่ได้น�ามาสรุปเป็นแบบจ�าลองอะตอม ซึ่งมีล�าดับการทดลอง ประกอบไปดวยหัวขอหลักๆ ดังนี้
ดังนี้ • การทดลองเพื่อใหเห็นรังสีแคโทด
1. การทดลองเพือ่ ให้เห็นรังสีแคโทด ทอมสันได้ทา� การทดลองโดยเจาะรูเล็ก ๆ ตรงกลาง • การทดลองเพือ่ ทดสอบอนุภาคทีก่ ระทบฉาก
ขั้วแอโนด และเพิ่มฉากเรืองแสงที่ฉาบด้วยซิงค์ซัลไฟด์ (ZnS) ไว้ที่ต�าแหน่งปลายหลอด เรืองแสง
ดังภาพที่ 6.4 • ผลการศึกษาเพิ่มเติมของทอมสัน
ขั้วแคโทด ขั้วแอโนด ฉากเรืองแสงที่ฉาบด้วย ZnS 6. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาโดยใชคําถามวา
“ทอมสั น ได ตั้ ง สมมติ ฐ านหลั ง จากที่ เ ขาได
ทําการทดลองและปรากฏวามีจดุ เรืองแสงหรือ
จุดสวางบนฉากเรืองแสงไววาอยางไรบาง”
ครูสุมตัวแทนนักเรียนเพื่อตอบคําถาม
ต่อกับเครื่องสูบอากาศ
(-) (+)
10,000 V แหล่งก�าเนิดไฟฟ้าความต่างศักย์สูง

ภาพที่ 6.4 โครงสร้างหลอดรังสีแคโทดที่ทอมสันใช้ในการทดลองเพื่อให้เห็นรังสีแคโทด


ที่มา : คลังภาพ อจท.

เมื่อปรับความดันภายในหลอดรังสีแคโทดโดยการสูบอากาศออก ในช่วงแรกความดัน
ในหลอดมีมาก จะยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่ฉากเรืองแสง แม้ว่าจะใช้ศักย์ไฟฟ้าสูง ๆ แต่
เมื่อความดันในหลอดรังสีแคโทดลดต�่าลงมากจนเกือบเป็นสุญญากาศ จะพบว่า มีจุดเรืองแสง
หรือมีจุดสว่างบนฉากเรืองแสง เนื่องจากซิงค์ซัลไฟด์ที่เคลือบบนฉากมีสมบัติพิเศษ ถ้าอนุภาคที่
มีประจุไฟฟ้ามากระทบจะท�าให้เกิดการเรืองแสงขึ้น จึงท�าให้ทอมสันตั้งสมมติฐานได้ว่า
1) จะต้องมีรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีประจุไฟฟ้าพุ่งเป็นเส้นตรงจากขั้วแคโทดมายังฉากเรือง
แสง ซึง่ รังสีนอี้ าจจะเกิดจากแก๊สทีม่ อี ยูใ่ นหลอดแก้วนัน้ หรืออาจจะเกิดจากโลหะทีท่ า� ขัว้ ไฟฟ้าก็ได้
2) รังสีที่พุ่งออกมาจากขั้วแคโทดนั้นมีประจุไฟฟ้า
3) รูปทรงของอะตอมอาจจะไม่ใช่เป็นทรงกลมตัน ตามแบบจ�าลองอะตอมของดอลตัน
แต่จะต้องมีอนุภาคเล็ก ๆ ที่มีประจุไฟฟ้าเป็นองค์ประกอบด้วย
ฟิสิกส์อะตอม 59

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมอยางอิสระกลุมละ 4-5 คน เพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณและชัดเจนเพียงพอตอการจัดกิจกรรมการเรียน
2. ครูใหแตละกลุม รวมกันสืบคนขอมูลและศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับ การสอน เรือ่ ง การทดลองของทอมสัน ครูอาจไปศึกษาเพิม่ เติมเพือ่ ทบทวนและ
รั ง สี แ คโทดและการทดลองของทอมสั น จากแหล ง ข อ มู ล เตรียมการสอนไดจาก YouTube เรือ่ ง จําลองการนําไฟฟาของอากาศ ตอนที่ 1
สารสนเทศ จากนั้นสมาชิกแตละกลุมรวมกันพูดคุยอภิปราย หลอดรังสีแคโทด แบบ Electrostatic ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https://www.
ผลการศึกษา youtube.com/watch?v=H05-I6RHL3U&feature=youtu.be
3. สมาชิกแตละกลุมรวมกันจัดทําคลิปวิดีโอ เรื่อง รังสีแคโทด
และการทดลองของทอมสัน เพื่อใชในการอธิบายหรือนําไปใช
ในการเรียนการสอน โดยคลิปวิดีโอของแตละกลุมตองมีความ
ยาวไมนอยกวา 3 นาที
4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนา
ชัน้ เรียน จากนัน้ ครูสมุ ตัวแทนของกลุม อืน่ ๆ แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับผลงานของเพื่อน

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อธิ บ ายสมมติ ฐ านที่ 2. การทดลองเพื่อทดสอบอนุภาคที่กระทบฉากเรืองแสง เพื่อเป็นการทดสอบว่า
ทอมสันไดตั้งไว ดังนี้ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่มากระทบฉากเรืองแสงเป็นประจุบวกหรือประจุลบ ทอมสันจึงได้ท�าการ
• จะตองมีรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีประจุไฟฟาพุง ทดลองต่อไปโดยใช้สนามไฟฟ้าเข้าช่วย ตามหลักการที่ว่า อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะต้องเกิดการ
เปนเสนตรงจากขั้วแคโทดมายังฉากเรือง เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกจะเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วลบของสนาม
แสง ซึ่งรังสีนี้อาจจะเกิดจากแกสที่มีอยูใน ไฟฟ้า และถ้ามีประจุไฟฟ้าเป็นลบจะเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า ซึ่งศึกษาได้จาก
หลอดแกวนั้น หรืออาจจะเกิดจากโลหะที่ การเบี่ยงเบนไปจากฉากเรืองแสง เมื่อเพิ่มขั้วไฟฟ้าเข้าไป 2 ขั้ว โดยให้ขั้วไฟฟ้าทั้งสองมีสนาม
ทําขั้วไฟฟาก็ได ไฟฟ้าตั้งฉากกับทิศทางของรังสี ดังภาพที่ 6.5
ขั้วแคโทด ขั้วแอโนด ฉากเรืองแสง
• รังสีที่พุงออกมาจากขั้วแคโทดนั้นมีประจุ
(+)
ไฟฟา
(-)
• อะตอมนาจะไมใชเปนทรงกลมตันดังแบบ
จํ า ลองของดอลตั น แต จ ะต อ งมี อ นุ ภ าค (-) (+) 10 V
เล็กๆ ที่มีประจุเปนองคประกอบดวย
10,000 V
8. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น
จากนั้นครูใหอธิบายการทดลองเพื่อทดสอบ แหล่งก�าเนิดไฟฟ้าความต่างศักย์สงู ขั้วไฟฟ้า ต่อกับเครื่องสูบอากาศ
อนุภาคทีก่ ระทบฉากเรืองแสงของทอมสันตาม ภาพที่ 6.5 โครงสร้างหลอดรังสีแคโทดทีท
่ อมสันใช้ในการการทดลองเพือ่ ทดสอบอนุภาคทีก่ ระทบฉากเรืองแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ความเขาใจของตนเองหลังจากไดศึกษาจาก
หนังสือเรียนแลว เมือ่ ทอมสันท�าการทดลองแล้ว พบว่า จุดสว่างบนฉากเรืองแสงเบนไปจากต�าแหน่งเดิม
คือ เบี่ยงเบนขึ้นสู่ด้านบน ถ้าลากเส้นตามแนวเส้นรังสีจากขั้วไฟฟ้า จะเห็นได้ว่า รังสีนั้นเบี่ยงเบน
เข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า แสดงว่ารังสีจะต้องประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ และ
เนื่องจากรังสีนี้เคลื่อนที่ออกมาจากขั้วแคโทดซึ่งเป็นขั้วลบ จึงเรียกรังสีนี้ว่า รังสีแคโทด และเรียก
หลอดแก้วที่ใช้ในการทดลองว่า หลอดรังสีแคโทด ดังนั้น ทอมสันจึงสรุปได้ว่า รังสีแคโทดเป็นล�า
อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ และสามารถเรียกอนุภาคดังกล่าวว่า อนุภาครังสีแคโทด (cathode ray
particle)
P hysics
Focus เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน
เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน หรือ เจ. เจ. ทอมสัน (J. J. Thomson) (พ.ศ. 2399 - 2483)
นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ใน พ.ศ. 2449 จากการค้นพบอิเล็กตรอน
นอกจากนี้ ทอมสันยังได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้ค้นพบอิเล็กตรอนและไอโซโทป และเป็นผู้ประดิษฐ์
เครื่องมือแมสสเปกโทรมิเตอร์ (mass spectrometer) ที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลการวัดอัตราส่วนประจุ
ต่อมวลของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า และผลงานเกี่ยวกับการน�าไฟฟ้าในแก๊ส

60

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําหรือแทรกความรูเสริมใหกับนักเรียน เพื่อประกอบกับสิ่งที่ เพราะเหตุใดจึงทราบวารังสีแคโทดเปนอนุภาค
นักเรียนกําลังศึกษา เชน ครูอาจนําความรูเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟามา (แนวตอบ จากผลการทดลองของทอมสันจะเห็นไดวา รังสี
อธิบายเนนยํ้าใหนักเรียนไดเกิดความเขาใจเกี่ยวกับการทดลองของทอมสัน แคโทดสามารถเบี่ยงเบนไดในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กใน
โดยใชสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก เนื่องจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก ลักษณะเชนเดียวกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟา เพราะถารังสีแคโทด
การรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา โดยการทําใหสนามไฟฟาหรือสนามแมเหล็กมี เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาจะไมเกิดการเบี่ยงเบนทั้งในสนามไฟฟา
การเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนาม และสนามแมเหล็ก)
แมเหล็ก หรือสนามแมเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟา
ซึ่งสมบัติหนึ่งของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่แตกตางจากอนุภาคที่มีประจุไฟฟา คือ
คลื่นแมเหล็กไฟฟาไมมีประจุไฟฟา จึงไมเกิดการเบี่ยงเบนในสนามไฟฟาและ
สนามแมเหล็ก

T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

3. ผลการศึกษาเพิ่มเติมของทอมสัน เป็นการศึกษาสมบัติของรังสีแคโทดโดยหา 9. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการ


อัตราส่วนระหว่างประจุตอ่ มวลของรังสีนนั้ โดยอาศัยหลักการทีว่ า่ นอกจากรังสีแคโทดจะเบีย่ งเบน ทดลองเพือ่ ทดสอบอนุภาคทีก่ ระทบฉากเรือง
ได้ในสนามไฟฟ้าแล้ว ยังสามารถเบี่ยงเบนได้ในสนามแม่เหล็ก ซึ่งในตอนแรกทอมสันได้ท�าการ แสงของทอมสันจนไดขอสรุปวา รังสีแคโทด
ทดลองโดยเปลี่ยนแก๊สชนิดต่าง ๆ ในหลอดรังสีแคโทด และเปลี่ยนชนิดของขั้วไฟฟ้าที่ใช้ท�า เปนลําอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟาลบ และสามารถ
ขั้วแคโทดแต่ก็ยังปรากฏผลการทดลองแบบเดิม คือ จุดสว่างบนฉากเรืองแสงเบี่ยงเบนไปจาก เรียกอนุภาคดังกลาวไดวา อนุภาครังสีแคโทด
ต�าแหน่งเดิม ทอมสันจึงได้ปรับการทดลองโดยน�าหลอดรังสีแคโทดวางไว้ในสนามแม่เหล็กและ 10. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา “นักเรียนรูจัก
ให้ทิศทางของสนามแม่เหล็กตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า ดังภาพที่ 6.6 อิเล็กตรอนหรือไม และอนุภาครังสีแคโทด
(-) (+) เหมือนหรือตางจากอิเล็กตรอนอยางไร” โดย
แหล่งก�าเนิดไฟฟ้าความต่างศักย์สงู
ขั้วแอโนด
(+) ครูสมุ นักเรียนเพือ่ ตอบคําถามประมาณ 5-10
คน เพื่อดูแนวทางของคําตอบนักเรียน ซึ่งครู
จะยังไมเฉลยวาคําตอบที่นักเรียนตอบมานั้น
ขั้วแคโทด ฉากเรืองแสง
(-) ถูกหรือผิด
ต่อกับเครื่องสูบอากาศ
ภาพที่ 6.6 โครงสร้างหลอดรังสีแคโทดที่ทอมสันใช้ในการทดสอบหาค่าประจุไฟฟ้าต่อมวล
ที่มา : คลังภาพ อจท.

หากก�าหนดให้ m คือ มวลของอนุภาครังสีแคโทดที่มีประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ในแนว


เส้นตรงด้วยอัตราเร็ว v ในบริเวณทีม่ สี นามแม่เหล็กขนาด B แนวการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาครังสีแ1คโทด
จะเบีย่ งเบนเป็นเส้นโค้งส่วนหนึง่ ของวงกลมทีม่ รี ศั มี R โดยแรงที
โดยแรงทีท่ า� หน้าทีเ่ ป็นแรงสูศ่ นู ย์กลาง (F
ลาง ( C)
ในกรณีน ี้ คือ แรงเนือ่ งจากสนามแม่เหล็ก (FB) ซึง่ เป็นแรงทีม่ ที ศิ ทางตัง้ ฉากกับทิศทางการเคลือ่ นที่
ตลอดเวลา สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เพื่อหาอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลได้ ดังนี้
mv2 = qvB
R
q v (6.1)
m = BR
q คือ ประจุไฟฟ้าของอนุภาครังสีแคโทด มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ ((C)
m คือ มวลของอนุภาครังสีแคโทด มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( (kg)
v คือ อัตราเร็วของอนุภาครังสีแคโทด มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ((m/s)
B คือ ขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เทสลา (
เทสลา (T)
R คือ รัศมีของการเคลื่อนที่ มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)

ฟิสิกส์อะตอม 61

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


“การทดลองของทอมสันทําใหทราบคาประจุไฟฟาและมวลของ 1 แรงสูศูนยกลาง (centripetal force; FC) คือ แรงที่กระทําตอวัตถุในขณะ
อิเล็กตรอน” ขอความขางตนกลาวถูกตองหรือไม อยางไร ที่วัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่แบบวงกลมหรือมีทิศทางการเคลื่อนที่เปนสวนหนึ่งของ
(แนวตอบ ไมถกู ตอง เพราะการทดลองของทอมสันทําใหทราบ วงกลม แรงชนิดนีม้ ที ศิ ทางเขาสูจ ดุ ศูนยกลางของวงกลมนัน้ และแรงสูศ นู ยกลาง
คาอัตราสวนของประจุไฟฟาตอมวลของอิเล็กตรอน ซึ่งทอมสัน นี้จะมีขนาดเทากับแรงหนีศูนยกลาง (centrifugal force)
ไดทําการทดลองโดยอาศัยหลักการเบี่ยงเบนในสนามไฟฟาและ
สนามแมเหล็ก เมื่อนําแรงเนื่องจากสนามไฟฟาและแรงเนื่องจาก FC
สนามแมเหล็กทีก่ ระทําตออนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟาลบมาคํานวณหา
อัตราสวนของประจุไฟฟาตอมวลของอิเล็กตรอนจะไดคา คงตัว คือ
q 11
m = 1.76 × 10 คูลอมบตอกิโลกรัม)

T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
11. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ผลการศึ ก ษา เมื่อใส่สนามแม่เหล็กเข้าไปและเพิ่มอ�านาจสนามแม่เหล็กทีละน้อย พบว่า จุดสว่างบน
เพิ่มเติมของทอมสันจากหนังสือเรียน โดย ฉากเรืองแสงค่อย ๆ มีการเบี่ยงเบนน้อยลงและแสงค่อย ๆ เลื่อนกลับมาสู่ต�าแหน่งเดิมของช่วงที่
ครูมอบหมายใหนกั เรียนจดบันทึกสรุปความรู ไม่มสี นามไฟฟ้า ซึง่ แสดงว่าความแรงของสนามไฟฟ้าทีก่ ระท�ากับรังสีแคโทดมีคา่ เท่ากับความแรง
ลงในสมุดบันทึกประจําตัวเพื่อนําสงครูหลัง ของสนามแม่เหล็กที่กระท�ากับรังสีแคโทด จุดสว่างบนฉากเรืองแสงจึงไม่มีการเบี่ยงเบน จากผล
จบชั่วโมง การทดลองที่ได้ ท�าให้ทอมสันหาความเร็วในการเคลื่อนที่ของอนุภาครังสีแคโทดได้ โดยพิจารณา
12. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับผล ว่า เมื่อยิงรังสีแคโทดซึ่งมีอิเล็กตรอนอยู่ผ่านเข้าไปในสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า อิเล็กตรอน
การศึกษาเพิ่มเติมของทอมสันจนไดขอสรุป จะถูกแรงกระท�า 2 แรง คือ แรงจากสนามไฟฟ้า (FE) และแรงจากสนามแม่เหล็ก (FB) หากแรง
วา อนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบในรังสีแคโทด ทัง้ สองมีคา่ เท่ากันและมีทศิ ทางตรงข้ามกัน จะท�าให้อนุภาครังสีแคโทดเคลือ่ นทีเ่ ป็นเส้นตรงอยูใ่ น
จะตองมีลักษณะเหมือนกัน และอะตอมทุก แนวระดับ สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ของอัตราเร็วของอนุภาครังสีแคโทดได้ ดังนี้
ชนิ ด ย อ มมี อ นุ ภ าคที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ า ลบเป น FE = FB
องค ป ระกอบเหมื อ นกั น เรี ย กอนุ ภ าคที่ มี qE = qvB
ประจุไฟฟาลบนี้วา อิเล็กตรอน และอะตอม v = EB
ไมใชสิ่งที่เล็กที่สุด อะตอมสามารถแบงยอย
ไดอีก และอิเล็กตรอนจะเปนองคประกอบ เนื่องจากสนามไฟฟ้า E และสนามแม่เหล็ก B เป็นปริมาณที่สามารถวัดได้ หากน�าค่า
อัตราเร็ว v แทนลงในสมการที่ 6.1 จะได้ว่า
หนึ่งของทุกอะตอม
q E (6.2)
m = B2R
q คือ ประจุไฟฟ้าของอนุภาครังสีแคโทด มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ ((C)
m คือ มวลของอนุภาครังสีแคโทด มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( (kg)
E คือ ขนาดของสนามไฟฟ้า มีหน่วยเป็น นิวตันต่อคูลอมบ์ ((N/C)
B คือ ขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เทสลา (
เทสลา (T)
R คือ รัศมีของการเคลื่อนที่ มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)

เมื่อน�าแรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าและแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กที่กระท�าต่ออนุภาคที่
มีประจุไฟฟ้าลบ มาค�านวณหาอัตราส่วนของประจุต่อมวลของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ จะได้ค่า
คงตัวเท่ากันทุกครั้ง คือ mq = 1.76 × 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม ไม่ว่าทอมสันจะใช้แก๊สชนิดใด
หรือไม่วา่ จะใช้โลหะใดเป็นขัว้ แคโทด ทอมสันจึงสรุปได้วา่ อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าลบในรังสีแคโทดจะ
ต้องมีลักษณะเหมือนกัน อะตอมทุกชนิดย่อมมีอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบเป็นองค์ประกอบ เรียก
อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบนี้ว่า อิเล็กตรอน (electron) อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด อะตอมสามารถ
แบ่งย่อยได้อีก โดยอิเล็กตรอนจะเป็นองค์ประกอบหนึ่งของทุกอะตอม
62

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


หลังจากที่นักเรียนศึกษาและทราบถึงสมการที่ 6.2 จากหนังสือเรียนแลว ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับรังสีแคโทด
ครูอาจแนะนําใหนักเรียนไดลองแสดงวิธีคํานวณเพื่อหาคาอัตราสวนของประจุ 1. ไมมีประจุไฟฟา
ตอมวลของอนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบ เพื่อใหนักเรียนไดทําความเขาใจถึงที่มา 2. มีอะตอมเปนทรงกลมตัน
ของคาคงตัวจากการทดลองของทอมสัน ไมใชเพียงแคการทองจําเทานั้น โดย 3. เกิดจากการแตกตัวของแกส
สามารถแสดงวิธีการคํานวณและแทนคาตัวแปรได ดังนี้ 4. สามารถเบี่ยงเบนไดดวยสนามไฟฟา
q e 5. ไมสามารถเบี่ยงเบนไดดวยสนามแมเหล็ก
m = m e
q 1.6 × 10-19 C (วิเคราะหคําตอบ จากการทดลองของทอมสันเกี่ยวกับการนํา
m = 9.1 × 10-31 kg ไฟฟาของแกสในหลอดรังสีแคโทด ทําใหทราบวารังสีแคโทดเปน
q 11
m = 1.76 × 10 C/kg รังสีทมี่ ปี ระจุไฟฟา รูปทรงของอะตอมไมใชทรงกลมตัน แตจะตอง
มีอนุภาคเล็กๆ ที่มีประจุไฟฟาเปนองคประกอบ เมื่อทดลองโดย
ใชสนามไฟฟา พบวา รังสีแคโทดเบี่ยงเบนเขาหาขั้วบวกของ
สนามไฟฟา นอกจากนี้ รังสีแคโทดยังสามารถเบีย่ งเบนไดในสนาม
แมเหล็กดวยเชนกัน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

ตัวอย่างที่ 6.1
13. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 6.1-6.2 โดย
อนุภาครังสีแคโทดอนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 4 × 107 เมตรต่อวินาที พุ่งเข้าตั้งฉากกับ จดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัว
สนามแม่เหล็กทีม่ คี วามเข้ม 0.001 เทสลา ท�าให้อนุภาครังสีแคโทดเคลือ่ นทีเ่ ป็นส่วนโค้งของวงกลมรัศมี 14. ครูขออาสาสมัครเปนตัวแทนนักเรียน 2 คน
0.23 เมตร อัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอนุภาครังสีแคโทดมีค่าเท่าใด ออกมาหนาชัน้ เรียน เพือ่ อธิบายผลการศึกษา
วิธีท�า เมือ่ ไม่มสี นามไฟฟ้ากระท�า แรงเนือ่ งจากสนามแม่เหล็กจะท�าหน้าทีเ่ ป็นแรงสูศ่ นู ย์กลาง สามารถ ตัวอยางที่ 6.1 และ 6.2 ซึ่งถายังไมมีใครออก
ค�านวณหาค่าประจุต่อมวลของอนุภาครังสีแคโทดได้ มา ครูอาจมีเงือ่ นไขในการใหคะแนนจิตพิสยั
จากสมการที่ 6.1 q v เพิ่มสําหรับผูกลาและใหความรวมมือออกมา
m = BR
หนาชั้นเรียน
q 4 × 107 m/s
m = (0.001 T)(0.23 m) 15. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลการ
q 11 ศึกษาตัวอยางที่ 6.1-6.2 อีกครั้ง
m = 1.74 × 10 C/kg
ดังนั้น อัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอนุภาครังสีแคโทดมีค่าเท่ากับ 1.74 × 1011 คูลอมบ์ต่อ
กิโลกรัม

ตัวอย่างที่ 6.2
ในการทดลองหนึ่งได้ท�าการยิงอนุภาครังสีแคโทดให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 1.30 × 107 เมตรต่อวินาที
เข้าสู่สนามแม่เหล็ก โดยมีทิศทางการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ปรากฏว่ารังสีแคโทดเคลื
1 ่อนที่
เป็นส่วนโค้งของวงกลมรัศมี 0.2 เมตร สนามแม่เหล็กที่ใช้ในการทดลองนี้มีขนาดกี่เทสลา ก�าหนดให้
อัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนเป็น 1.76 × 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
วิธีท�า ในการทดลองนี้ เมื่อไม่มีสนามไฟฟ้ากระท�า แรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กจะท�าหน้าที่เป็น
แรงสู่ศูนย์กลาง สามารถค�านวณหาค่าประจุต่อมวลของอนุภาครังสีแคโทดได้
จากสมการที่ 6.1 q v
m = BR
× 107 m/s
1.76 × 1011 C/kg = 1.30(B)(0.2 m)
B = 1.30 × 107 m/s
(1.76 × 1011 C/kg)(0.2 m)
B = 3.69 × 10-4 T
ดังนั้น สนามแม่เหล็กที่ใช้ในการทดลองนี้มีขนาด 3.69 × 10-4 เทสลา

ฟิสิกส์อะตอม 63

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การศึกษาเกี่ยวกับรังสีแคโทดทําใหทราบวาสวนประกอบหนึ่ง 1 เทสลา (tesla; T) คือ หนวยอนุพทั ธในระบบหนวยวัดระหวางประเทศหรือ
ของอะตอม คือ อิเล็กตรอน นอกจากนี้ ยังนําไปสูการคนพบสิ่งใด ระบบเอสไอ (SI unit) โดยกําหนดใหเปนหนวยที่ใชในการวัดการเหนี่ยวนําทาง
1. โปรตอน 2. คลื่นวิทยุ 3. รังสีเอกซ แมเหล็กไฟฟา สนามแมเหล็ก รวมถึงความหนาแนนฟลักซแมเหล็กดวย ซึ่งเมื่อ
4. กัมมันตรังสี 5. รังสีอินฟราเรด นําไปเทียบกับหนวยฐานในระบบเอสไอ 1 เทสลา (T) จะมีคาเทากับ 1 เวเบอร
(วิเคราะหคําตอบ เรินตเกน นักฟสิกสชาวเยอรมัน ไดคนพบรังสี ตอตารางเมตร (Wb/m2) หนวยเทสลาไดมีการประกาศใชโดยทั่วกันในระหวาง
ชนิดใหมจากการทดลองโดยบังเอิญ ในขณะที่เขาทําการทดลอง การประชุมของทีป่ ระชุมใหญวา ดวยการชัง่ ตวงวัดใน พ.ศ. 2503 และเพือ่ เปนการ
เกี่ยวกับการนํากระแสไฟฟาผานแกสในหลอดรังสีแคโทดในหอง ใหเกียรติแกผูประดิษฐขดลวดเทสลาและคนพบวิธีการเปลี่ยนสนามแมเหล็ก
ที่มืดสนิท ปรากฏวาแรแบเรียมแพลทิโนไซยาไนดที่วางอยูไมไกล เปนสนามไฟฟา จึงตัง้ ชือ่ หนวยวัดสนามแมเหล็กนีเ้ พือ่ ใหเกียรติแกนโิ คลา เทสลา
จากหลอดรังสีแคโทดเกิดการเรืองแสงขึ้น นั่นหมายถึงจะตองมี (Nikola Tesla)
รังสีบางอยางเกิดขึ้นจากหลอดรังสีแคโทด และมีอํานาจทะลุผาน
สูงจนสามารถผานผนังหลอดรังสีแคโทดไปยังแรนั้นได เรินตเกน
จึงเรียกรังสีชนิดนี้วา รังสีเอกซ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
16. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การทดลองของ 1.3 การทดลองของมิลลิแกน
มิลลิแกน จากหนังสือเรียน การทดลองของทอมสันท�าให้ทราบค่าอัตราส่วนระหว่างประจุตอ่ มวลของอนุภาครังสีแคโทด
17. ครูใหนักเรียนใชโทรศัพทมือถือสแกน QR หรืออิเล็กตรอน แต่ยังไม่ทราบค่าประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน ใน พ.ศ. 2452 รอเบิร์ต แอนดรูส์
Code เรื่ อ ง การทดลองหยดนํ้ า มั น ของ มิลลิแกน (Robert Andrews Millikan) นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกนั ได้ทา� การทดลองหาค่าประจุ
มิลลิแกน จากหนังสือเรียน เพือ่ เปนการศึกษา ของอิเล็กตรอน โดยเรียกการทดลองนี้ว่า การทดลองหยดน�้ามัน (oil drop experiment) ซึ่งมี
เพิ่ ม เติ ม จากสื่ อ ดิ จิ ทั ล ซึ่ ง อาจเป น ความรู  ส่วนประกอบของอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง ดังภาพที่ 6.7
เพิ่มเติมที่นอกเหนือจากหนังสือเรียน
รูขนาดเล็ก
กระบอกฉีดน�้ามัน (+) แผ่นโลหะ A
แหล่งก�าเนิด
รังสีเอกซ์
กล้องโทรทรรศน์

(-) แผ่นโลหะ B
หยดน�า้ มันทีเ่ ห็นจาก
กล้องโทรทรรศน์

ภาพที่6.7 อุปกรณ์การทดลองหยดน�้ามันของมิลลิแกน
ที่มา : http://wps.prenhall.com

หยดน�้ามันที่ถูกฉีดออกมาจากกระบอกฉีดน�้ามันในตอนแรกจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า
แต่เมือ่ หยดน�า้ มันเข้าไปอยูร่ ะหว่างแผ่นโลหะ A และ B จะไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า เนือ่ งจากอากาศ
ที่แตกตัวโดยการยิงรังสีเอกซ์ชนกับโมเลกุลของอากาศ จึงท�าให้หยดน�้ามันที่ให้อิเล็กตรอนแก่
อากาศมีประจุไฟฟ้าบวกและหยดน�า้ มันทีร่ บั อิเล็กตรอนจากอากาศมีประจุไฟฟ้าลบ และเนือ่ งจาก
หยดน�้ามันมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ หยดน�้ามันจึงเคลื่อนที่ลงสู่ด้านล่างตามแรงโน้มถ่วง
ของโลก (ในกรณีที่ไม่คิดแรงต้านอากาศ)
เมื่อต่อขั้วไฟฟ้าบวกกับแผ่นโลหะ A และต่อขั้วไฟฟ้าลบกับแผ่นโลหะ B แล้วปรับค่าความ
ต่างศักย์ไฟฟ้า (สนามไฟฟ้า) พบว่า จะมีหยดน�้ามันบางหยดเคลื่อนที่ลงเร็วขึ้นและเคลื่อนที่ลอย
กลับขึ้นไปด้านบน หากปรับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าให้มีค่าพอเหมาะ พบว่า เริ่มมีหยดน�้ามัน
บางหยดเคลือ่ นทีล่ งด้วยอัตราเร็วคงตัวหรือลอยตัวอยูน่ งิ่ ซึง่ เป็นการแสดงให้เห็นว่า แรงเนือ่ งจาก
สนามไฟฟ้ากับแรงเนื่องจากความเร่งโน้มถ่วงของโลกกระท�ากับหยดน�้ามันสมดุลกันพอดี

64 การทดลองหยดนํ้ามันของมิลลิแกน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับการทดลองของมิลลิแกน นอกจาก หยดนํ้ามันในการทดลองหนึ่งมีมวล 1.2 × 10-15 กิโลกรัม มี
ภาพหรือวีดิทัศนจากการสแกน QR Code เรื่อง การทดลองหยดนํ้ามันของ จํานวนอิเล็กตรอนมากกวาจํานวนโปรตอนอยู 5 ตัว ลอยนิ่งอยู
มิลลิแกน จากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําคลิปวิดีโอจากแหลงขอมูลสารสนเทศ ระหวางแผนประจุในอุปกรณการทดลองของมิลลิแกน มีความเขม
ทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วกับการทดลองหยดนํา้ มันของมิลลิแกนมาเปดใหนกั เรียนไดศกึ ษา ของสนามไฟฟา 1.4 × 104 นิวตันตอคูลอมบ จากการทดลองนี้
เพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนไดเห็นถึงอุปกรณการทดลองและวิธกี ารทําการทดลองกับ จงหาประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว
อุปกรณจริง เชน คลิปวิดีโอจาก YouTube เรื่อง Millikan’s Experiment, Part
2: The Experiment ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.youtube.com/ (แนวตอบ จากสมการ FE = Fg
watch?v=_683PGqG1M4 qE = mg
q(1.4 × 10 N/C) = (1.2 × 10-15 kg)(9.8 m/s2)
4
-15
q = (1.2 × 10 kg)(9.8 m/s2)
4
14 × 10 N/C
q = 8.4 × 10-19 C
-19
ประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว = 8.4 × 10 5
C = 1.68 × 10-19 C
ดังนั้น ประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัวเทากับ 1.68 × 10-19 คูลอมบ)
T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
จากภาพที่ 6.8 จะได้ว่า แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า (FE) แผ่นโลหะ A 18. ครูถามคําถามทบทวนความรูของนักเรียนวา
(+)
กับแรงเนื่องจากความเร่งโน้มถ่วงของโลก (Fg) ที่กระท�ากับ qE “อั ต ราส ว นของประจุ ไ ฟฟ า ต อ มวลของ
E
หยดน�้ามันสมดุลกัน จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน d อิเล็กตรอนที่ไดจากการทดลองของทอมสัน
จะได้ว่า (ΣF = 0) mg มีคาเทาใด” โดยครูอาจสุมนักเรียนจากการ
FE = Fg (-) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
แผ่นโลหะ B
qE = mg ภ าพที่ 6.8 แรงที่กระท�าต่อ
(แนวตอบ 1.76 × 1011 คูลอมบตอกิโลกรัม)
mg หยดน�้ามันที่ลอยนิ่ง 19. ครูถามคําถามกับนักเรียนตอวา
q = E (6.3) ที่มา : คลังภาพ อจท. • จากคาอัตราสวนของประจุไฟฟาตอมวล
ในการทดลองหามวลของหยดน�้ามัน (m) สามารถท�าได้โดยการวัดขนาดของหยดน�้ามัน ของอิเล็กตรอนสามารถทําใหทราบมวล
แล้วค�านวณหามวลจากปริมาตรและความหนาแน่นของหยดน�า้ มัน ส่วนความเข้มของสนามไฟฟ้า ของอิเล็กตรอนไดอยางไร
สามารถหาได้จากความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) และระยะห่างระหว่างแผ่นตัวน�าคู่ขนาน (d) ซึ่งเป็นไป (แนวตอบ เมื่อแทนคาประจุไฟฟาของอิเล็ก
ตามสมการสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นตัวน�าคู่ขนาน ดังสมการที่ 6.4 ตรอนเขาไปในสมการจะทําใหไดมวลของ
E = Vd (6.4) อิเล็กตรอนเทากับ 9.1 × 10-31 กิโลกรัม)
20. ครูใหนักเรียนปดหนังสือเรียน ครูอานโจทย
เมื่อน�าสมการที่ 6.4 แทนลงในสมการที่ 6.3 สามารถหาค่าประจุไฟฟ้าได้ ดังสมการที่ 6.5
ปญหาจากตัวอยางที่ 6.3 จากหนังสือเรียน
q = mgdV (6.5) ใหนกั เรียนจดลงในสมุดบันทึกประจําตัว แลว
จากสมการที่ 6.5 มิลลิแกนได้ทดลองกับหยดน�้ามันหลายชนิด แล้วพบว่า ประจุไฟฟ้าที่ กําหนดเวลาใหนักเรียนใชความรูที่ไดศึกษา
ได้มีค่าเป็นจ�านวนเต็มเท่าของค่าคงตัวค่าหนึ่ง คือ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ มิลลิแกนจึงสรุปได้ว่า มาแลวในการแสดงวิธคี าํ นวณแกโจทยปญ  หา
“ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน 1 ตัว มีขนาดเท่ากับ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์” และใช้สัญลักษณ์ e แทน จากนัน้ ครูทาํ เชนเดิมโดยใชตวั อยางที่ 6.4-6.5
ค่าประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน
เมื่อน�าสมการความสัมพันธ์ประจุต่อมวลที่ได้จากการทดลองของทอมสันมาแทนค่า
ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนที่ได้จากการทดลองของมิลลิแกน จะสามารถค�านวณหามวลของ
อิเล็กตรอน (me) ได้ ดังนี้
จากความสัมพันธ์ q 11
m = 1.76 × 10 C/kg
e 11
me = 1.76 × 10 C/kg
me = e
1.76 × 1011 C/kg
-19
me = 1.6 × 1011 C = 9.1 × 10-31 kg
1.76 × 10 C/kg
จะได้ว่า อิเล็กตรอนจ�านวน 1 อนุภาค มีมวลเท่ากับ 9.1 × 10-31 กิโลกรัม
ฟิสิกส์อะตอม 65

ขอสอบเนน การคิด
จากการทดลองหยดนํ้ามันของมิลลิแกน ถาหยดนํ้ามันมีรัศมี 60 ไมโครเมตร และสามารถลอยนิ่งอยูไดระหวางแผนโลหะที่วางหางกันเปนระยะ
10.0 เซนติเมตร ซึ่งมีความตางศักยไฟฟาเทากับ 120 โวลต อยากทราบวา จะมีอิเล็กตรอนแฝงอยูในหยดนํ้ามันนี้กี่ตัว กําหนดให หยดนํ้ามันนี้มี
ความหนาแนน 0.980 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร (ไมคํานึงถึงแรงตานอากาศ)
1. 35.25 × 106 ตัว 2. 37.05 × 106 ตัว 3. 41.55 × 106 ตัว 4. 45.25 × 106 ตัว 5. 50.75 × 106 ตัว
(วิเคราะหคําตอบ q = mgd
จากสมการ ρ = m V -10
m/s2)(10.0 × 10-2 m)
V q = (8.867 × 10 kg)(9.8
120 V
m = ρV
10-3
kg 4 3 q = 7.24 × 10-12 C
m = (0.980 × -6 3 )( 3 πr ) เนื่องจากอิเล็กตรอน (e) แตละตัวมีประจุไฟฟาเทากับ 1.6 × 10-19 คูลอมบ
10 m
m = (0.980 × 10-6 kg3 )( 43 π(60 × 10-6 m)3)
-3 สามารถคํานวณหาจํานวนอิเล็กตรอนที่แฝงอยูในหยดนํ้ามันได
10 m จากสมการ n = qe
-10
m = 8.867 × 10 kg 7.24 × 10-12 C = 45.25 × 106
เนื่องจากหยดนํ้ามันลอยนิ่ง แสดงวาแรงเนื่องจากสนามไฟฟา n =
1.6 × 10-19 C
กับแรงเนื่องจากความเรงโนมถวงของโลกที่กระทํากับหยดนํ้ามัน จะไดวา จํานวนอิเล็กตรอนแฝงอยูในหยดนํ้ามันนี้เทากับ 45.25 × 106 ตัว
สมดุลกัน จะไดวา ดังนั้น ตอบขอ 4.)
T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
21. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน ตัวอย่างที่ 6.3
ไดเรียนรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง อะตอมและการคนพบ นักวิทยาศาสตร์คนหนึง่ ได้ทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบว่า หยดน�า้ มันหยดหนึง่ ลอยนิง่ อยูไ่ ด้ระหว่าง
อิเล็กตรอน โดยครูสุมนักเรียนจํานวนหนึ่ง แผ่นโลหะขนาน 2 แผ่น ซึ่งห่างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นเท่ากับ 12,000
ออกมาหนาชั้นเรียนเพื่ออธิบายผลการศึกษา โวลต์ ดังภาพที่ 6.9 ถ้าหยดน�้ามันมีประจุไฟฟ้า 8 × 10-19 คูลอมบ์ หยดน�้ามันนี้มีมวลเท่าใด
ในแตละหัวขอ A (+)
qE
22. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ
12,000 V 0.8 cm E
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง
mg
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด B (-)
ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ ภ
าพที่ 6.9 หยดน�า้ มันลอยนิง่ อยูร่ ะหว่างแผ่นโลหะขนาน 2 แผ่น
ที่มา : คลังภาพ อจท.
สิ่งที่แตกตาง
23. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ วิธีท�า เนื่องจากหยดน�้ามันหยุดนิ่ง ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จะได้ว่า
เกี่ยวกับอะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน จากสมการที่ 6.5 q = mgdV
เพิ่ ม เติ ม จากแบบฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม m = qVgd
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 -19
หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม m = (8 × 10 2 C)(12,000 V) = 1.2 × 10-13 kg
(9.8 m/s )(0.8 × 10-2 m)
ลงมือท�า (Doing) ดังนั้น หยดน�้ามันนี้มีมวลเท่ากับ 1.2 × 10-13 กิโลกรัม
24. ครูใหนักเรียนศึกษาแบบฝกหัดจาก Topic
ตัวอย่างที่ 6.4
Questions จากหนังสือเรียน โดยครูมอบ
หมายใหนักเรียนแตละคนเขียนแสดงวิธีการ หากต้องการให้หยดน�้ามันมวล 5.2 × 10-15 กิโลกรัม ลอยนิ่งอยู่ระหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ที่วางขนาน
ห่างกัน 1.0 เซนติเมตร ต้องใช้ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะ 500 โวลต์ อยากทราบว่า หยดน�้ามัน
แกโจทยปญหาลงในสมุดบันทึกประจําตัว จะมีอิเล็กตรอนเกาะอยู่กี่ตัว
25. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ อะตอม
และการคนพบอิเล็กตรอน โดยสรางสรรค วิธีท�า เนื่องจากหยดน�้ามันหยุดนิ่ง ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จะได้ว่า
ออกมาในรูปแบบของแผนพับความรูทําลง จากสมการที่ 6.5 q = mgd V
ในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม ne = V mgd
เสร็จแลวนําสงครูเพื่อตรวจใหคะแนน n = mgdeV
26. ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาใบงาน เรื่อง -15 2)(1.0 × 10-2 m)
อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน เปนการ n = (5.2 × 10 kg)(9.8 m/s
-19 = 6
(1.6 × 10 C)(500 V)
บาน ดังนั้น หยดน�้ามันจะมีอิเล็กตรอนเกาะอยู่ 6 ตัว

66

ขอสอบเนน การคิด
ในการทดลองหยดนํ้ามันของมิลลิแกน พบวา ถาตองการใหหยดนํ้ามันซึ่งมีมวล m และอิเล็กตรอนเกาะติดอยู N ตัว ลอยนิ่งอยูระหวางแผนโลหะ
2 แผน ซึ่งวางขนานกัน โดยหางกันเปนระยะทาง L และมีความตางศักยไฟฟา V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดในการทดลองนี้มีคาเทาใด
mg
1. LNV 2. mgLV 3. mgL LV
4. mgN NV
5. mgL
N NV
(วิเคราะหคําตอบ หยดนํ้ามันลอยนิ่งไดเนื่องจากสมดุลของแรงเนื่องจาก นําสมการที่ (2) และ (3) แทนลงในสมการที่ (1)
สนามไฟฟาและแรงเนื่องจากความเรงโนมถวงของโลก จะไดวา Ne VL = mg
จะไดวา qE = mg (1) e = mgL
NV
พิจารณาประจุอิเล็กตรอน จากความสัมพันธ q = ne เมื่อ n คือ
ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดในการทดลองนี้มีคาเทากับ
จํานวนอิเล็กตรอน mgL ดังนั้น ตอบขอ 3.)
จะไดวา q = Ne (2) NV
พิจารณาสนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนาน จากสมการ E = Vd
จะไดวา E = VL (3)

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
ตัวอย่างที่ 6.5 นักเรียนอธิบายสรุปความรูที่ไดศึกษามาแลว
จากการทดลองของมิลลิแกน พบว่า หยดน�้ามันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 ไมโครเมตร สามารถลอยนิ่ง ทั้งเนื้อหาและตัวอยางจากหนังสือเรียน และ
อยู่ระหว่างแผ่นตัวน�าที่อยู่ห่างกัน 0.1 เซนติเมตร โดยใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้า 1.6 × 104 โวลต์ เมื่อไม่ กิจกรรมทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียน พรอมทัง้
ค�านึงถึงผลของแรงต้านอากาศ ประจุไฟฟ้าของหยดน�า้ มันนีม้ คี า่ กีค่ ลู อมบ์ ก�าหนดให้ความหนาแน่นของ ยกตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่
น�้ามันที่ใช้เท่ากับ 0.980 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
Trick เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ
วิธีท�า ค�านวณหามวลของหยดน�้ามัน ประมาณว่าหยดน�้ามันเป็น 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
จากสมการความหนาแน่น ρ = V m ทรงกลม ปริ ม าตรของหยด ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ
น�้ามันจึงหาได้จาก V = 43 πr3
m = ρV และรัศมีเท่ากับครึ่งหนึ่งของ สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น
4
m = ρ ( 3 πr ) 3
เส้นผ่านศูนย์กลาง จะได้ว่า โดยครูอาจใช PowerPoint เรื่อง อะตอมและ
3
m = ρ ( 43 π)( d2 )3 V = 43 π ( d2 ) การคนพบอิเล็กตรอน มาเปดใหนักเรียนดู
-3 -6 m 3 ประกอบเพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมาก
m = (0.980 × 10-6 kg3 )( 43 π)(50 × 10 2 ) ยิ่งขึ้น
10 m
m = 6.41 × 10-11 kg
เนือ่ งจากหยดน�า้ มันลอยนิง่ แสดงว่าแรงเนือ่ งจากสนามไฟฟ้ากับแรงเนือ่ งจากความเร่งโน้มถ่วง ขัน้ ประเมิน
ของโลกที่กระท�ากับหยดน�้ามันสมดุลกัน จึงได้ว่า 1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง อะตอมและการ
จากสมการที่ 6.5 q = mgd
V คนพบอิเล็กตรอน โดยสังเกตพฤติกรรมการ
(6.41 × 10-11 kg)(9.8 m/s2)(0.1 × 10-2 m) ตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด และการสรุป
q =
1.6 × 104 V
q = 3.93 × 10 C -17 สาระสําคัญ
ดังนัน้ เมือ่ ไม่คา� นึงถึงผลของแรงต้านอากาศ ประจุไฟฟ้าของหยดน�า้ มันนีม้ คี า่ เป็น 3.93 × 10-17 คูลอมบ์ 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
ศาสตรจากการคํานวณเกี่ยวกับการทดลอง
Core Concept ของทอมสันและการทดลองของมิลลิแกนจาก
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง ตัวอยางที่ครูกําหนดให และการนําความรูที่
Topic อะตอมและการคนพบอิเล็กตรอน ไดไปใชประโยชน
Questions 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น
1. ในการทดลองของมิลลิแกน เมื่อท�าให้หยดน�้ามันมวล 1.63 × 10-14 กิโลกรัม ลอยอยู่นิ่งระหว่างแผ่น และการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค
โลหะขนานซึ่งวางห่างกัน 1.0 เซนติเมตร โดยแผ่นโลหะที่อยู่ด้านบนมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าแผ่นโลหะที่อยู่
ด้านล่างอยู่ 400 โวลต์ ประจุไฟฟ้าของหยดน�้ามันมีค่าเท่าใด
2. จากโจทย์ข้อ 1. หยดน�้ามันนี้มีอิเล็กตรอนแฝงอยู่กี่ตัว

ฟิสิกส์อะตอม 67

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. จากสมการ q = mgd V ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง อะตอมและการ
-14
q = (1.63 × 10 kg)(9.8 m/s2)(1.0 × 10-2 m) คนพบอิเล็กตรอน ไดจากแผนพับความรูที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นลงมือทํา
400 V
q = 3.99 × 10-18 C โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ดังนั้น ประจุไฟฟาของหยดนํ้ามันนี้มีคาเทากับ 3.99 × 10-18 คูลอมบ (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกส
อะตอม
2. จากสมการ q = ne แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 5 เกณฑ์ประเมินแผ่นพับความรู้

n = qe
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
แบบประเมินผลงานแผ่นพับความรู้ 4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแผ่นพับความรู้ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

-18
ลาดับที่ รายการประเมิน

n = 3.99 × 10-19 C
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ

1.6 × 10 C 4 ความเป็นระเบียบ 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น


รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

n = 24.9375 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

n ≈ 25 14–16
11–13
8–10
ต่ากว่า 8
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง

ดังนั้น หยดนํ้ามันนี้มีอิเล็กตรอนแฝงอยูประมาณ 25 ตัว

T75
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ เพราะเหตุใดนักวิทยา- 2. แบบจําลองอะตอม
เรียนกับนักเรียน เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาที่ ศาสตรจึงคิดวาอะตอม
กําลังจะศึกษาเรียนรูตอไป เปนทรงกลม
นักปราชญ์กรีกยุคโบราณมีความเชือ่ ว่า สสารต่าง ๆ ประกอบ
ด้วยอนุภาคขนาดเล็กมาก เมื่อแบ่งสสารต่าง ๆ ออกไปเรื่อย ๆ
2. ครูถามคําถามกระตุนความสนใจกับนักเรียน
จนมีขนาดเล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป เรียกอนุภาคที่
วา “ในการพัฒนาแบบจําลองอะตอม ผูท าํ การ
เล็กที่สุดนี้ว่า อะตอม (atom) ซึ่งเป็นค�าที่มาจากภาษากรีกว่า atomos
พัฒนามีกี่คน และมีใครบาง” โดยใหนักเรียน จากที่ทราบกันดีว่า สสารต่าง ๆ นั้นประกอบด้วยอะตอม แต่ก็ยังไม่มีผู้ใดเคยเห็นรูปร่าง
รวมกันแสดงความคิดเห็น ที่แท้จริงของอะตอม รูปร่างหรือโครงสร้างของอะตอมจึงเป็นเพียงจินตนาการหรือมโนภาพที่
สร้างขึน้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับการทดลอง เรียกว่า แบบจ�าลองอะตอม (atomic model) แบบจ�าลอง
ขัน้ สอน อะตอมอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ตามผลการทดลองหรือข้อมูลใหม่ ๆ เมื่อแบบจ�าลองอะตอมเดิม
รู้ (Knowing) อธิบายไม่ได้ ดังนั้น แบบจ�าลองอะตอมจึงได้มีการแก้ไขและพัฒนาหลายครั้ง เพื่อให้สอดคล้อง
1. ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนความรูเกี่ยวกับ กับการทดลองที่ได้
แบบจําลองอะตอมของดอลดัน พรอมทั้งบอก
ถึ ง ข อ บกพร อ งของแบบจํ า ลองอะตอมของ
2.1 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
ดอลตัน ทอมสันได้ท�าการศึกษาเกี่ยวกับอะตอมโดยใช้หลอดรังสี
2. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง แบบจําลองอะตอม แคโทดในการทดลอง และน�าผลการทดลองที่ได้มาเสนอ
ของทอมสัน จากหนังสือเรียน จากนัน้ นักเรียน เป็นแบบจ�าลองอะตอม ซึ่งเขาได้เสนอแนวความคิดและ
อธิบายแบบจ�าลองอะตอมของตนเองไว้ว่า “อะตอม
และครูรว มกันอภิปรายแนวคิดและแบบจําลอง
มีลักษณะเป็นทรงกลม ประกอบด้วยเนื้อ
อะตอมของทอมสัน
อะตอมที่เป็นประจุไฟฟ้าบวก และ
3. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง แบบจําลองอะตอม มีอิเล็กตรอนที่เป็นประจุไฟฟ้าลบ
ของรัทเทอรฟอรด จากหนังสือเรียน กระจายตัวอย่างสม�่าเสมอในเนื้อ
4. ครูเปดวีดทิ ศั นเกีย่ วกับการทดลองของรัทเทอร อะตอม เพื่อรักษาสมดุลระหว่าง ภาพที่ 6.10 แบบจ�าลองอะตอมของทอมสัน
ฟอรดใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม ประจุไฟฟ้าทั้ง 2 ชนิด” ดังภาพที่ 6.10 ที่มา : คลังภาพ อจท.
อะตอมจึงอยู่ในสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า และมีความเสถียรมาก
แนวตอบ Key Question
แบบจ�าลองอะตอมของทอมสันถือได้ว่าเป็นความก้าวหน้าเกี่ยวกับการศึกษาแบบจ�าลอง
มโนภาพของนักวิทยาศาสตรในอดีตทีค่ าดเดา อะตอม เพราะทอมสันเป็นนักวิทยาศาสตร์ท่านแรกที่ได้เสนอรายละเอียดภายในอะตอม ท�าให้
แบบจําลองอะตอมไววา สิ่งที่มีขนาดเล็กมากๆ ภาพของอะตอมมีความชัดเจนมากขึ้น แต่ทอมสันไม่ได้น�าเสนอว่าอิเล็กตรอนมีการยึดตัวกับเนื้อ
จนไมสามารถแบงแยกไดอีก จะมีรูปรางเปนทรง อะตอมได้อย่างไร แบบจ�าลองอะตอมของทอมสันก็ไม่สามารถอธิบายสมบัติต่าง ๆ ของอะตอมได้
กลม ซึ่งเปนรูปทรงพื้นฐานที่มักพบเห็นไดทั่วไป รวมทั้งยังไม่สามารถอธิบายผลการทดลองอื่น ๆ ได้มากนัก ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงต้องมีการ
เชน ดวงอาทิตย ลูกบอล ลูกปงปอง จากนั้นรูปทรง ค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อน�าเสนอแบบจ�าลองอะตอมที่มีความใกล้เคียงกับอะตอมของธาตุมากที่สุด
ของอะตอมไดเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ตามผลการทดลอง 68
ปจจุบันพบวาอะตอมมีลักษณะคลายทรงกลมแต
เปนกลุมหมอก

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง แบบจําลองอะตอม ครูอาจนําภาพ แบบจําลองอะตอมของทอมสันและแบบจําลองอะตอมของ
แบบจําลองอะตอมของดอลตันมาแสดงใหนักเรียนดู โดยที่ครูยังไมบอกวาภาพ รัทเทอรฟอรดตางกันอยางไร
นัน้ คืออะไร หรือยังไมบอกวาภาพนัน้ คือแบบจําลองอะตอมของดอลดัน จากนัน้ (แนวตอบ ทอมสันไดเสนอแนวความคิดและอธิบายแบบจําลอง
ครูถามนักเรียนวา “นักเรียนคนไหนทราบบางวาภาพที่ครูแสดงใหดูนี้คือสิ่งใด” อะตอมไววา อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบดวยเนื้อ
เพื่อเปนการตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนและเปนการเชื่อมโยงความรูจาก อะตอมที่เปนประจุไฟฟาบวก และมีอิเล็กตรอนที่เปนประจุไฟฟา
วิชาเคมี และนําเขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษาตอไป ลบกระจายตัวอยางสมํ่าเสมอในเนื้ออะตอม แตรัทเทอรฟอรดได
เสนอแนวความคิดและอธิบายแบบจําลองอะตอมไววา อะตอม
ประกอบดวยนิวเคลียสที่มีโปรตอนซึ่งเปนประจุไฟฟาบวกรวมกัน
อยูตรงกลาง และมีอิเล็กตรอนซึ่งเปนประจุไฟฟาลบเคลื่อนที่อยู
รอบๆ นิวเคลียส ดังนั้น สรุปไดวาแบบจําลองอะตอมทั้งสองมี
ตําแหนงของอนุภาคในอะตอมที่ตางกัน)

T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2.2 แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 5. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุมเทาๆ กัน กลุม
ใน พ.ศ. 2449 ลอร์ด เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Lord Ernest Rutherford) ได้ศึกษาแบบ ละประมาณ 6 คน โดยคละความสามารถของ
จ�าลองอะตอมของทอมสัน และเกิดความสงสัยว่า แบบจ�าลองอะตอมของทอมสันถูกต้องหรือไม่ นักเรียนตามผลสัมฤทธิใ์ หอยูใ นกลุม เดียวกัน
โดยได้ตงั้ สมมติฐานไว้วา่ “ถ้าอะตอมมีโครงสร้างตามแบบจ�าลองอะตอมของทอมสันจริง เมือ่ ยิงอนุภาค เพือ่ รวมกันศึกษากิจกรรม ลักษณะการกระเจิง
แอลฟาซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวกเข้าไปในอะตอม อนุภาคแอลฟาทุกอนุภาคจะทะลุผ่านเป็นเส้นตรง ของอนุภาคแอลฟา จากหนังสือเรียน
ทั้งหมด เนื่องจากอะตอมมีความหนาแน่นสม�่าเสมอเหมือนกันหมดทั้งอะตอม” รัทเทอร์ฟอร์ดท�า 6. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
การทดลองเพือ่ พิสจู น์สมมติฐานของตนเอง โดยยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองค�าบาง ๆ ซึง่ มีฉาก ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
ที่เคลือบสารเรืองแสงรองรับ ดังภาพที่ 6.11 (ก) และได้ปรากฏผลการทดลอง ดังภาพที่ 6.11 (ข) ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
แหล่งก�าเนิดอนุภาคแอลฟา แผ่นทองค�า นิวเคลียส อนุภาคแอลฟา 7. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
พรอมทั้งตอบคําถามทายกิจกรรม
อนุภาคแอลฟา เข้าใจ (Understanding)
ฉากเรืองแสง 8. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน
ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่อง แบบจําลองอะตอม
อะตอมของทองค�า
(ก) การจัดอุปกรณ์การทดลอง (ข) ผลการทดลอง โดยครูสุมนักเรียนจํานวนหนึ่งออกมาหนา
ภาพที่ 6.11 การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด ชั้นเรียนเพื่ออธิบายผลการศึกษา
ที่มา : คลังภาพ อจท. 9. ครูยกตัวอยางหรือปรับเปลี่ยนสถานการณ
จากผลการทดลอง ถ้าหากแบบจ�าลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง เมื่อยิงอนุภาคแอลฟา จากตั ว อย า งที่ ไ ด ศึ ก ษา แล ว ให นั ก เรี ย น
ไปยังแผ่นทองค�าบาง ๆ อนุภาคแอลฟาควรพุ่งทะลุผ่านเป็นเส้นตรงทั้งหมด หรือเบี่ยงเบนเพียง อธิบายสิ่งที่เหมือนและสิ่งที่แตกตาง
เล็กน้อย และเนื่องจากอนุภาคแอลฟาส่วนมากทะลุผ่านเป็น 10. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
เส้นตรง แสดงว่าองค์ประกอบของอะตอมส่วนมากเป็นที่ว่าง เกี่ยวกับแบบจําลองอะตอมเพิ่มเติมจากแบบ
และมีอนุภาคแอลฟาบางส่วนมีการกระเจิง (scattering) กลับ ฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร แ ละ
แสดงว่าประจุบวกรวมกันอยู่ตรงกลาง โดยมีขนาดเล็กมาก เทคโนโลยี ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรู
แต่มีมวลมาก เรียกกลุ่มประจุบวกที่รวมกันอยู่ตรงกลางว่า ที่ 6 ฟสิกสอะตอม
นิวเคลียส (nucleus) เขาจึงเสนอแนวคิดขึ้นมาและอธิบายไว้ว่า
“อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง ภาพที่ 6.12 แบบจ�าลองอะตอม ลงมือท�า (Doing)
นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมาก และมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ของรัทเทอร์ฟอร์ด 11. ครูใหนกั เรียนสรุปความรูเ กีย่ วกับแบบจําลอง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นลบและมีมวลน้อยมาก อะตอม โดยสรางสรรคออกมาในรูปของแผน
จะเคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส” ดังภาพที่ 6.12 พับความรูล งในกระดาษ A4 พรอมทัง้ ตกแตง
แบบจําลองอะตอม ฟิสิกส์อะตอม 69 ใหสวยงาม เสร็จแลวรวบรวมสงครู
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNC52
12. ครูใหนักเรียนศึกษาใบงาน เรื่อง แบบจําลอง
อะตอม

กิจกรรม 21st Century Skills สื่อ Digital


1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมอยางอิสระกลุมละ 3-4 คน ศึศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง แบบจําลองอะตอม
2. ครูใหแตละกลุม รวมกันสืบคนขอมูลเกีย่ วกับแบบจําลองอะตอม
จากนั้นสมาชิกแตละกลุมรวมกันพูดคุยอภิปรายผลการศึกษา
3. สมาชิกแตละกลุม รวมกันจัดทํารายงาน เรือ่ ง แบบจําลองอะตอม
โดยวิธีการพิมพหรือเขียนลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตง แบบจําลองอะตอม
ใหสวยงาม www.aksorn.com/interactive3D/RKC52
4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนา
ชั้นเรียนดวยวิธีการนําเสนอที่นาสนใจ และวิธีการสื่อสารที่
เขาใจไดงาย

T77
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
นักเรียนอธิบายสรุปความรูที่ไดศึกษามาแลว • การสังเกต
ทั้งเนื้อหาและตัวอยางจากหนังสือเรียน และ ลักษณะการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา • การทดลอง
• การตีความหมายข้อมูลและ
กิจกรรมทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียน พรอมทัง้ ลงข้อสรุป
จิตวิทยาศาสตร์
ยกตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ วัสดุอปุ กรณ์ • ความรอบคอบ
เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ 1. เม็ดพลาสติกขนาดเล็ก 3. แม่เหล็กแผ่นกลม 6 อัน
• ความมุ่งมั่น อดทน
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได 2. ถาดลดแรงเสียดทานหรือถาดที่มีผิวเรียบ
ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ
วิธปี ฏิบตั ิ
สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น
โดยครูอาจใช PowerPoint เรื่อง อะตอมและ 1. น�าแม่เหล็กแผ่นกลมวางซ้อนกัน 3 อัน บนถาดลดแรงเสียดทาน เรียกแม่เหล็กชุดนี้ว่า แม่เหล็ก A
การคนพบอิเล็กตรอน มาเปดใหนักเรียนดู 2. โรยเม็ดพลาสติกรอบ ๆ แม่เหล็ก A โดยเกลี่ยให้สม�่าเสมอทั่วกันทั้งถาด ดังภาพที่ 6.13 (ก)
3. วางแม่เหล็กแผ่นกลมอีก 3 อัน โดยจัดเรียงให้อยู่ในระนาบเดียวกัน เรียกระนาบนี้ว่า แนว B ดังภาพที่
ประกอบ 6.13 (ข) จากนัน้ ผลักแผ่นแม่เหล็กในแนว B แต่ละอันในแนวตรงให้เคลือ่ นทีเ่ ข้าหาแม่เหล็ก A แล้วบันทึก
เส้นทางการเคลื่อนที่ของแผ่นแม่เหล็กแต่ละอัน
ขัน้ ประเมิน
(ก) ถาดลดแรงเสียดทานที่มี (ข)
1. ประเมิ น ความรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง แบบจํ า ลอง เม็ดพลาสติกกระจายตัว
แม่เหล็ก A
อะตอม โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม
การทําแบบฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา แม่เหล็กแผ่นกลมซ้อนกัน 3 อัน
ศาสตร จ ากการเขี ย นแผนภาพสรุ ป ความรู  เรียกว่า แม่เหล็ก A
วิวัฒนาการของแบบจําลองอะตอม ภ
าพที่ 6.13 การจัดอุปกรณ์ลักษณะการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต ที่มา : คลังภาพ อจท.
พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น
ค�าถามท้ายกิจกรรม
และการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค ?
1. แรงระหว่างแม่เหล็ก A และแม่เหล็กตามแนว B เป็นแรงแบบดูดหรือแรงแบบผลัก และแรงที่แม่เหล็ก
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม ทั้งสองได้รับเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
1. แรงระหวางแมเหล็ก A และแมเหล็ก B เปนแรง 2. การเคลื่อนที่ของแม่เหล็กแผ่นกลมในแนว B แต่ละต�าแหน่งเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
ผลัก ซึ่งแรงที่แมเหล็กทั้งสองไดรับหรือกระทํา อภิปรายผลท้ายกิจกรรม
ตอกันมีขนาดเทากัน จากการท�ากิจกรรมแผ่นแม่เหล็กในแนว B กับแม่เหล็ก A จะชนกันแต่ไม่สมั ผัสกัน แสดงว่าแผ่นแม่เหล็ก
2. ตางกัน เมื่อแมเหล็ก B เขาใกลแมเหล็ก A จะมี ในแนว B มีแรงกระท�ากับแม่เหล็ก A และเมื่อพิจารณาเส้นทางการเคลื่อนที่ของแม่เหล็ก B จะคล้ายกับ
แรงกระทําตอกัน สงผลใหแมเหล็ก B เบนแนว เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟาเมื่อผ่านอะตอมของโลหะต่าง ๆ
การเคลือ่ นที่ โดยทีแ่ นวการเคลือ่ นทีข่ องแมเหล็ก 70
B หางจากแมเหล็ก A มาก ก็จะเบนนอยลง แต
ถายิ่งเขาใกลก็จะยิ่งเบนมากขึ้น

แนวทางการวัดและประเมินผล บันทึก กิจกรรม


แมเหล็ก A และแมเหล็ก B ตางมีแรงกระทําซึ่งกันและกัน เนื่องจาก
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง แบบจําลองอะตอม
แมเหล็ก A มีมวลมากกวาแมเหล็ก B ถึง 3 เทา แรงที่กระทําตอกันจึงไม
ไดจากการทํากิจกรรม ลักษณะการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา โดยศึกษาเกณฑ
สามารถทําใหแมเหล็ก A เคลื่อนที่ได จึงสงผลใหแมเหล็ก B มีทิศทางการ
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติการที่แนบมาทายแผนการ
เคลื่อนที่เปลี่ยนไปเมื่อเขาใกลแมเหล็ก A โดยที่ทิศทางของแมเหล็ก B ที่
จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม
เปลี่ยนแปลงไปจะแปรผกผันกับระยะหางจากแมเหล็ก A กลาวคือ หาก
แบบประเมินการปฏิบัติการ เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ

ระดับคะแนน
แนวการเคลื่อนที่ของแมเหล็ก B เขาใกลแมเหล็ก A มากขึ้น ก็จะเกิดการ
เบนหรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มากขึ้น และหากมีแนวการเคลื่อนที่
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
ระดับคะแนน
1. การปฏิบัติการ ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน ทดลอง ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้างในการทาการ อย่างมากในการทาการ
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง แต่ อ าจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้
4 3 2 1

เปนเสนตรงเขาหาแมเหล็ก A แมเหล็ก B อาจเคลื่อนที่ยอนกลับในแนว


ได้อย่างถูกต้อง
ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์
1 การปฏิบัติการทดลอง
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ
3 การนาเสนอ 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่

การเคลื่อนที่เดิมได ดังภาพตัวอยาง
รวม คล่องแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา
ในขณะ โดยไม่ต้องได้รับคา แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึงทาการทดลองเสร็จ อุปกรณ์เสียหาย
ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา
ชี้แนะ และทาการ
เสร็จทันเวลา
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ทดลองเสร็จทันเวลา
............../................../................ 3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ

B A
และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุป และนาเสนอผล
เป็นขั้นตอนชัดเจน ทดลองยังไม่เป็น การทดลอง
ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
10-12
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
B
B
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T78
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
การระบุวา วัตถุประกอบ 3. สเปกตรัมของอะตอม 1. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับสเปกตรัม
ดวยธาตุใดบาง สามารถ โดยครูนําภาพสเปกตรัมที่เกิดจากแสงที่ตา
ทําไดอยางไร
จากแบบจ�าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดท�าให้ทราบถึง มองเห็นใหนักเรียนดู
การจัดโครงสร้างของอนุภาคต่าง ๆ ในนิวเคลียส แต่ไม่ได้อธิบาย
2. ครูสุมนักเรียนใหยืนขึ้น แลวใชคําถามถามกับ
ว่า ประจุบวกในนิวเคลียสและอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยู่ในลักษณะใด นักวิทยาศาสตร์จึงได้ใช้
นักเรียนวา “สเปกตรัมที่ครูเปดใหดูมีกี่สี และ
วิธีการศึกษาสมบัติและปรากฏการณ์ของคลื่นและแสง แล้วน�ามาสร้างเป็นแบบจ�าลอง
มีสีอะไรบาง” จากนั้นครูสุมถามนักเรียนไป
3.1 สเปกตรัมจากอะตอมของแกส เรื่อยๆ โดยที่ครูยังไมเฉลยวาคําตอบคืออะไร
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงแสงขาว ประกอบด้วยแสงที่มีความยาวคลื่นหลายค่า 3. ครูอธิบายคําตอบทีไ่ ดถามไปจากภาพทีเ่ ปดให
ที่เราไม่สามารถแบ่งแยกส่วนประกอบของคลื่นต่าง ๆ ออกจากกันได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องใช้ ดู โดยสเปกตรัมทีเ่ กิดขึน้ จะมี 7 สี ไดแก สีมว ง
เครื่องมือช่วย เช่น ปริซึม สเปกโทรสโคป เมื่อแสงขาวผ่านไปยังปริซึม แสงจะแยกออกมาเป็น สีคราม สีนํ้าเงิน สีเขียว สีเหลือง สีแสด และ
แถบสีตา่ ง ๆ เรียงกันตามความยาวคลืน่ โดยแถบสีทแี่ ยกออกมาได้ เรียกว่า สเปกตรัม (spectrum) สีแดง โดยแตละสีจะเรียงกันอยางตอเนื่อง
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 4. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ
1. สเปกตรัมต่อเนื่อง (continuous spectrum) เมื่อแสงผ่านเกรตติงหรือปริซึม ท�าให้ เรียนกับนักเรียน เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาที่
แสงแยกออกและปรากฏบนฉากเป็นสีต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องกัน เป็นสเปกตรัมที่ประกอบด้วยแสง กําลังจะศึกษาเรียนรูตอไป
ที่มีความยาวคลื่นและความถี่ต่อเนื่องจนเห็นเป็นแถบสเปกตรัม ดังภาพที่ 6.14 โดยทั่วไปมักเกิด
จากแสงที่เปล่งออกมาจากของแข็งร้อน (หรือของเหลว หรือแก๊สภายใต้ความดันสูง) ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ช่องทางเดินแสง สเปกตรัมแบบต่อเนื่อง
1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ แลวรวม
ปริซึม กันศึกษา เรื่อง สเปกตรัมจากอะตอมของแกส
แสงขาว
จากนั้นแตละคูรวมกันอภิปรายผลการศึกษา
เพื่อใหไดขอสรุปรวมกัน
2. ครูเปดวีดิทัศนจากสื่อดิจิทัล เชน YouTube
ที่ มี เ นื้ อ หาสาระเกี่ ย วกั บ สเปกตรั ม ของแสง
ภาพที่ 6.14 สเปกตรัมต่อเนื่องที่เกิดจากการหักเหของแสงขาว
ที่มา : คลังภาพ อจท. ให นั กเรี ยนไดศึ ก ษาหาองค ค วามรู เ พิ่ม เติม
จากนั้ น ครู อ าจสุ  ม ถามความรู  ที่ ไ ด จ ากการ
2. สเปกตรัมไม่ต่อเนื่อง (discontinuous spectrum) เมื่อแสงผ่านเกรตติงหรือปริซึม ศึกษาสื่อดิจิทัลนี้
ท�าให้แสงแยกออกและปรากฏบนฉากเป็นสีตา่ ง ๆ เป็นเส้น ๆ โดยแต่ละเส้นจะแยกออกจากกันและ
เรียงกันอย่างเป็นระเบียบ อาจเรียกว่า สเปกตรัมแบบเส้น (line spectrum) ดังภาพที่ 6.15 โดย
ทั่วไปมักเกิดจากแสงที่เปล่งออกมาจากแก๊สร้อนหรือจากการเผาสารประกอบของธาตุบางชนิด แนวตอบ Key Question

ฟิสิกส์อะตอม 71
วิ ธีก ารหนึ่ ง ที่ จ ะทํ า ให ท ราบถึ ง ธาตุ ที่ เ ป น
องคประกอบของวัตถุใดๆ คือ การนําวัตถุหรือ
สารนั้นไปเผา แลวสังเกตสีของเปลวไฟ

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาค น คว า ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง สเปกตรัมของอะตอม เพื่อเปนการ
สเปกตรัมจากอะตอมของแกส จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน เพิม่ เติมความรูท นี่ อกเหนือจากหนังสือเรียน ครูอาจนําสือ่ ดิจทิ ลั หรือสือ่ ออนไลน
หองสมุด วารสาร อินเทอรเน็ต จากนั้นเขียนสรุปความรูที่ไดลง ตางๆ มาเปดใหนกั เรียนศึกษา เชน คลิปวิดโี อจาก YouTube เรือ่ ง ปรากฏการณ
ในสมุดบันทึกประจําตัว โดยรูปแบบการสรุปความรูขึ้นอยูกับ แสง วิทยาศาสตร ม.4-6 (ฟสิกส) ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับสเปกตรัมของแสง
ดุลยพินิจของนักเรียน อาจเปนการจดบันทึกปกติหรือจัดทําเปน สามารถคนหาไดจาก https://youtu.be/GHUbIFyqiMU โดยการจัดกิจกรรม
อินโฟกราฟกก็ได ซึ่งถาจัดทําเปนอินโฟกราฟกจะตองตกแตง การเรียนการสอนเชนนีจ้ ะทําใหนกั เรียนไดเกิดการเรียนรูด ว ยตนเองจากสือ่ ตางๆ
ใหสวยงาม เสร็จแลวตัวแทนรวบรวมสมุดบันทึกประจําตัวสงครู และเปนการเพิ่มความสนใจของนักเรียนอีกดวย
ทายชั่วโมง

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายความรูเกี่ยว หลอดไฟบรรจุ ช่องทางเดินแสง
แก๊สไฮโดรเจน สเปกตรัมแบบเส้น
กับสเปกตรัม จนไดขอสรุปเกี่ยวกับพลังงาน
ปริซึม
และความถีข่ องคลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกมาเปน
สมการแสดงความสัมพันธ E = hf = hc λ
4. ครูใหนักเรียนแตละคูรวมกันศึกษาคนควา
เกี่ยวกับการศึกษาสเปกตรัมที่เกิดจากการเผา
สารประกอบและธาตุบางชนิด หรือการทดสอบ
สีของเปลวไฟจากสื่อดิจิทัลตางๆ จากนั้นนํา ภาพที่ 6.15 สเปกตรัมแบบเส้นที่เกิดจากการให้ความร้อนแก่แก๊สไฮโดรเจน
ขอมูลที่ไดมาสรุปเปนองคความรูของคูตนเอง ที่มา : คลังภาพ อจท.

เนือ่ งจากสเปกตรัมแต่ละเส้นเป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า จึงสามารถน�าข้อสรุปเกีย่ วกับพลังงาน


และความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่กล่าวว่า พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับ
ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (E ∝ f ) และเมื่อก�าหนดให้ h เป็นค่าคงตัวของการแปรผัน และ
เนื่องจาก c = fλ สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เพื่อค�านวณหาค่าพลังงานของเส้นสเปกตรัม
แต่ละเส้นได้ ดังสมการที่ 6.6

E = hf = hc
λ
(6.6)

E คือ พลังงานของเส้นสเปกตรัม มีหน่วยเป็น จูล ( (J)


h คือ ค่าคงตัวของพลังค์ ((Plank’s constant) มีค่าเท่ากับ 6.626 × 10-34 จูล วินาที (J s)
f คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสง มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ ((Hz)
c คือ อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 3 × 108 เมตรต่อวินาที (m/s)
λ คือ ความยาวคลื่นของเส้นสเปกตรัม มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)
1
นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาเส้นสเปกตรัมที่เกิดจากการเผาสารประกอบและธาตุบางชนิด
แล้วสังเกตสีของเปลวไฟที่เกิดขึ้น โดยการส่องดูสีของเปลวไฟด้วยสเปกโทรสโคป เพื่อศึกษา
สเปกตรัมที่ได้ พบว่า
1. สารประกอบของโลหะชนิดเดียวกันจะให้สีของเปลวไฟเป็นสีเดียวกัน และได้เส้น
สเปกตรัมเป็นแบบเฉพาะ นั่นคือ มีสีและต�าแหน่งของเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน ดังตารางที่ 6.1
หากสารประกอบของโลหะต่างชนิดกันอาจจะมีสีของสเปกตรัมคล้ายกัน แต่จะมีต�าแหน่งของเส้น
สเปกตรัมต่างกันเป็นแถบเฉพาะของโลหะนัน้ ๆ ดังนัน้ สีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมสามารถน�า
มาใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารได้ โดยน�าสารประกอบนั้นไปเผา แล้วน�าสีของเปลวไฟ
72

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สารประกอบ (compound) เปนสารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากการรวม สเปกตรัมทีไ่ ดจากอะตอมของธาตุตา งๆ จะมีลกั ษณะเปนอยางไร
ของธาตุตั้งแต 2 อะตอมขึ้นไป สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุ โดย (แนวตอบ สเปกตรัมที่ไดจากอะตอมของธาตุตางๆ จะแสดง
วิธีการทางเคมี (โดยพันธะเคมี) ดวยอัตราสวนของสวนประกอบที่แนนอน คุณสมบัติเฉพาะของแตละธาตุ เนื่องจากการเปลี่ยนระดับชั้น
สารประกอบสามารถแยกสลายใหเกิดเปนสารใหมหรือกลับคืนเปนธาตุเดิมได ของพลังงานของอิเล็กตรอนของแตละธาตุจะมีลักษณะเฉพาะตัว
โดยตัวกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสารประกอบ คือ สูตรเคมี (chemical ขึ้นอยูกับโครงสรางการจัดเรียงชั้นของอิเล็กตรอนของแตละธาตุ
formula) ซึ่งจะแสดงอัตราสวนของอะตอมในสารประกอบนั้นๆ และจํานวน ดังนัน้ แถบสีทไี่ ดจะมีแถบทีไ่ มเหมือนกันหรือไดคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
อะตอมในโมเลกุลเดียว เชน นํ้า มีสูตรเคมี คือ H2O ซึ่งเปนสารประกอบที่ ที่ปลอยออกมาไมเหมือนกัน)
ประกอบดวยไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม โดยที่เชื่อมติดกัน
ดวยพันธะโคเวเลนต

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
และเส้นสเปกตรัมที่ได้มาเปรียบเทียบกับผลการทดลองที่นักวิทยาศาสตร์ได้สรุปไว้ การวิเคราะห์ 5. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียนออกมาหนาชัน้ เรียนเปน
สารวิธีนี้ เรียกว่า การทดสอบสีของเปลวไฟ (flame test) คูๆ เพื่อใหนําเสนอและอธิบายผลการศึกษา
ของตนเอง เปนการแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกัน
ตารางที่ 6.1 : ตัวอยางสีของเปลวไฟที่เกิดจากการเผาสารประกอบ และกัน โดยครูคอยเสนอแนะและใหคาํ แนะนํา
สารประกอบ ตัวอย่าง สีของเปลวไฟ 6. ครูใหนักเรียนศึกษาการทดสอบสีของเปลว
ลิเทียม LiCl, LiNO3, Li2CO3 สีแดง ไฟจากหนังสือเรียนอีกครั้ง เพื่อสรุปความรูที่
ตนเองไดศึกษาจากสื่อดิจิทัลตางๆ ใหเปนไป
โซเดียม NaCl, Na2SO4, Na2CO3 สีเหลือง ในแนวทางเดียวกัน
7. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 6.6 รวมกัน
โพแทสเซียม KCl, K2SO4, KNO3 สีม่วง บนกระดานหนาชั้นเรียน

แคลเซียม CaCl2, CaSO4, Ca(NO3)2 สีแดงอิฐ

ทองแดง CuCl2, CuSO4, Cu(NO3)2 สีเขียว

2. เมื่อน�าสารประกอบมาเผา องค์ประกอบส่วนที่เป็นอโลหะจะให้สเปกตรัมในช่วงแสงที่
มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงท�าให้มองไม่เห็นเส้นสเปกตรัม
3. ในการศึกษาสเปกตรัมของธาตุที่เป็นแก๊ส จะน�าแก๊สไปบรรจุหลอดแก้วที่มีความดันต�่า
และผ่านกระแสไฟฟ้าทีม่ คี วามต่างศักย์สงู เข้าไปแทนการเผาด้วยความร้อน เมือ่ แก๊สได้รบั พลังงาน
ไฟฟ้าจะปล่อยแสงเป็นสเปกตรัมลักษณะเฉพาะของธาตุนั้น ๆ และธาตุอโลหะบางชนิดก็ให้แสงที่
มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น ฮีเลียม (He) นีออน (Ne) อาร์กอน (Ar)

ตัวอย่างที่ 6.6
เส้นสเปกตรัมสีน�้าเงินมีความยาวคลื่น 490 นาโนเมตร จะมีความถี่เท่ากับเท่าใด
วิธีท�า จากสมการที่ 6.6 E = hc
λ
hf = hc
λ
f c
= λ
8
f = 3 × 10 -9m/s = 6.12 × 1014 Hz
490 × 10 m
ดังนั้น เส้นสเปกตรัมสีน�้าเงินนี้จะมีความถี่เท่ากับ 6.12 × 1014 เฮิรตซ์
ฟิสิกส์อะตอม 73

กิจกรรม สรางเสริม สื่อ Digital


ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กันอยางอิสระกลุม ละ 4-5 คน จากนัน้ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สีของเปลวไฟ
ครู อ าจนํ า สารประกอบบางชนิ ด ที่ มี ใ นห อ งปฏิ บั ติ ก าร เช น กับดอกไมไฟ https://www.twig-aksorn.com/film/flame-colours-and-
โพแทสเซียมคารบอเนต โพแทสเซียมซัลเฟต โซเดียมคารบอเนต fireworks-8159/
โซเดียมซัลเฟต หรือครูอาจเตรียมสารประกอบดังตัวอยางใน
ตารางที่ 6.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 มาใหนักเรียนแตละกลุม เพื่อทําการ
ศึกษาสีของเปลวไฟที่ไดจากการเผาธาตุหรือสารประกอบตามที่
กลุมตนเองได โดยทําการบันทึกชื่อธาตุและสารประกอบที่ทําการ
ทดลอง พรอมทั้งสีของเปลวไฟที่สังเกตไดจากการเผา เสร็จแลว
ครูอาจสุมนักเรียนออกมานําเสนอผลการทดลองของกลุมตนเอง
หรือครูอาจใหกลุมตัวอยางออกมาสาธิตการทดลองสารประกอบ
ทุกชนิดที่ครูเตรียมมาหนาชั้นเรียน

T81
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
8. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุมเทาๆ กัน กลุม
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร
• การสังเกต
ละประมาณ 5-6 คน โดยคละความสามารถ การศึกษาสเปกตรัมของแกสร้อน • การทดลอง
• การจัดกระท�าและสื่อความหมาย
ของนักเรียนตามผลสัมฤทธิ์ ใหอยูในกลุม ข้อมูล
เดียวกัน เพือ่ รวมกันศึกษากิจกรรม การศึกษา วัสดุอปุ กรณ จิตวิทยำศำสตร
• ความรอบคอบ
สเปกตรัมของแกสรอน จากหนังสือเรียน 1. เกรตติง 3. ไม้เมตร
• ความมุ่งมั่น อดทน
9. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน 2. ชุดสเปกตรัม 4. หลอดบรรจุแก๊สไฮโดรเจนและนีออน
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
10. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ วิธปี ฏิบตั ิ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม 1. มองแสงขาวของหลอดฟลูออเรสเซนต์ผ่านเกรตติง โดยสังเกตแถบสีบริเวณด้านข้าง แล้วบันทึกลักษณะ
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน ของแถบสีที่เห็น
11. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล 2. จัดอุปกรณ์การทดลอง ดังภาพที่ 6.16 โดยวางจุดกึ่งกลางของไม้เมตรอยู่ตรงต�าแหน่งกึ่งกลางของหลอด
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน บรรจุแก๊สไฮโดรเจน และระยะห่างจากเกรตติงถึงไม้เมตร (D) เป็นระยะ 1 เมตร
ชุดสเปกตรัม
หลอดบรรจุแก๊สไฮโดรเจน
ไม้เมตร
D
เกรตติง
ภำพที่ 6.16 ชุดการทดลองการศึกษาสเปกตรัมของแก๊สร้อน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. เปดสวิตช์ชุดสเปกตรัม แล้วมองแสงของหลอดบรรจุแก๊สไฮโดรเจนผ่านเกรตติง จากนั้นจัดระนาบให้มอง
เห็นเส้นสเปกตรัมปรากฏชัดที่ทั้ง 2 ข้าง ของไม้เมตร
4. บันทึกภาพและสีท่ีมองเห็น จากนั้นบันทึกต�าแหน่งต่าง ๆ ของเส้นสเปกตรัมที่ปรากฏบนไม้เมตรแต่ละ
ข้าง โดยบันทึกระยะห่างของสเปกตรัมจากขีดกลางไม้เมตรไปทางด้านซ้ายเป็นระยะ x1 และระยะห่างของ
สเปกตรัมจากขีดกลางไม้เมตรไปทางด้านขวาเป็นระยะ x2 ดังภาพที่ 6.17
ชุดสเปกตรัม
ต�าแหน่งเส้นสเปกตรัมด้านซ้าย ต�าแหน่งเส้นสเปกตรัมด้านขวา
x1 x2 ภ
ำพที่ 6.17 ต�าแหน่งของเส้น
สเปกตรัมบนไม้เมตร
D ที่มา : คลังภาพ อจท.
θ
เกรตติง

74

ขอสอบเนน การคิด
ถาอะตอมของไฮโดรเจนเปลีย่ นระดับพลังงานจากสถานะกระตุน ที่ 2 มายังสถานะพืน้ อยากทราบวา อะตอมจะปลดปลอยโฟตอนทีม่ คี วามยาวคลืน่
ประมาณเทาใด
1. 57.68 นาโนเมตร 2. 98.56 นาโนเมตร 3. 102.56 นาโนเมตร 4. 160.02 นาโนเมตร 5. 220.00 นาโนเมตร
-9
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ E = hf λ = 1,240 × Δ10E m eV
E = hc -9
λ
-34 8 = 1,240 E× 10
λ
- E
m eV
E = (6.626 × 10 J s)(3
-19
× 10 m/s) 3 1
λ(1.6 × 10 J/eV) จากอนุกรมเสนสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
-9
E = 1,240 × 10-9 m eV จะไดวา λ = 1,240 × 10 m eV
λ -1.51 eV - (-13.6 eV)
-9
การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนจากวงนอกเขาสูวงใน (n = 3 λ = 1,24012.09
× 10 m eV
eV
ไป n = 1) จะใหโฟตอนที่มีความยาวคลื่นตามผลตางพลังงานของระดับ
= 102.56 × 10-9 m = 102.56 nm
λ
ชั้นทั้งสอง -9 นั่นคือ อะตอมจะปลดปลอยโฟตอนที่มีความยาวชวงคลื่นประมาณ
จะไดวา ΔE = 1,240 × 10 m eV
λ 102.56 นาโนเมตร ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
5. ค�านวณหาระยะห่างจากขีดกลางไม้เมตรของเส้นสเปกตรัมแต่ละสี xav 12. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
ซึ่งหาได้จากค่าเฉลี่ยของค่า x1 และ x2 ซึ่งมีสมการเป็น จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
x +x เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ
xav = 1 2 2
6. ค�านวณหาระยะด้านตรงข้ามมุมฉาก (c) ของสเปกตรัมแต่ละสีซึ่ง จากการปฏิบัติกิจกรรม
D
เป็นระยะด้านตรงข้ามมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี D และ c 13. ครูนําอภิปรายและใหความรูเกี่ยวกับเรื่อง
xav เป็นด้านประกอบมุมฉาก ดังภาพที่ 6.18 จากสมการ สเปกตรัมของแสงที่ไดจากการทํากิจกรรม
c = D2 + (xav)2 จากนั้นชักชวนนักเรียนสนทนาตอวา เมื่อ
7. ค�านวณหาค่า sin θ ของสเปกตรัมแต่ละสี จากสมการ θ วิเคราะหสเปกตรัมของแกสที่ประกอบดวย
xav อะตอมของธาตุไฮโดรเจนจะเห็นเสนสวางที่
sin θ = c

ำพที่ 6.18 แผนภาพส�าหรับ
8. ค�านวณหาค่าความยาวคลื่นของสเปกตรัมแต่ละสี จากสมการ การค�านวณหาค่ามุม θ
มีความยาวคลื่นเรียงกันเปนกลุมอยางเปน
λ = d sin θ เมื่อ d คือ ระยะระหว่างเส้นของเกรตติงที่ใช้ใน ที่มา : คลังภาพ อจท. ระเบียบ เรียกวา อนุกรม จนกระทั่งบัลเมอร
การทดลอง แล้วบันทึกผล สามารถคิดคนสมการที่ใชในการคํานวณหา
9. ทา� การทดลองข้อ 1.-8. ซ�า้ โดยเปลีย่ นหลอดบรรจุแก๊สเป็นหลอดบรรจุแก๊สนีออนหรือแก๊สชนิดอืน่ ๆ สังเกต ความยาวคลื่นของสเปกตรัมเสนสวางตางๆ
ลักษณะสีและต�าแหน่งของสเปกตรัมต่าง ๆ แล้วน�าข้อมูลมาเปรียบเทียบกับข้อมูลก่อนหน้านี้ ของอะตอมไฮโดรเจนในชวงแสงทีต่ ามองเห็น
ไดดวยตาเปลา ดังสมการ
2
?
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม λ = b ( 2n 2 )
n -2
1. สเปกตรัมของแสงขาวที่ได้จากหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อมองผ่านเกรตติงมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่าง
จากสเปกตรัมของหลอดบรรจุแก๊สอย่างไร
2. สเปกตรัมของหลอดบรรจุแก๊สแต่ละชนิดที่ได้จากการทดลองมีลักษณะเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
3. สเปกตรัมจากแก๊สแต่ละชนิดประกอบด้วยแสงที่มีความยาวคลื่นใดบ้าง แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
1. สเปกตรัมทีไ่ ดจากหลอดไฟหรือหลอดฟลูออเรส
อภิปรายผลท้ายกิจกรรม
เซนตจะเปนสเปกตรัมตอเนื่อง สวนสเปกตรัมที่
เมื่อสังเกตสเปกตรัมของแสงที่ได้จากหลอดบรรจุแก๊สไฮโดรเจนและหลอดบรรจุแก๊สนีออนจะมีลักษณะ ไดจากหลอดบรรจุแกสจะเปนสเปกตรัมแบบเสน
เหมือนกัน คือ เป็นเส้น ๆ แยกออกจากกัน และไม่เรียงต่อกันอย่างต่อเนื่อง แต่จะประกอบด้วยแสงสีต่างกัน 2. มีลักษณะเหมือนกัน คือ สเปกตรัมมีลักษณะ
เรียกว่า สเปกตรัมแบบเส้น โดยสเปกตรัมของแก๊สแต่ละชนิดจะประกอบด้วยชุดของแสงสีเฉพาะ แตกต่างกัน
เปนเสนๆ แยกออกจากกันอยางชัดเจน โดยที่
อาจกล่าวได้วา่ สเปกตรัมเป็นสมบัตเิ ฉพาะตัวของธาตุแต่ละชนิด และเมือ่ พิจารณาสเปกตรัมทีไ่ ด้จากหลอดบรรจุ
แก๊สทั้ง 2 ชนิด เทียบกับสเปกตรัมจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ จะเห็นได้ว่า มีความแตกต่างกัน โดยสเปกตรัม แตละเสนจะประกอบดวยแสงสีตา งๆ เชน สีแดง
จากหลอดฟลูออเรสเซนต์จะเป็นสเปกตรัมต่อเนื่อง และสเปกตรัมจากหลอดบรรจุแก๊สจะเป็นสเปกตรัมไม่ สีนํ้าเงิน สีมวง สีสม สีเหลือง
ต่อเนื่องหรือเรียกว่า สเปกตรัมแบบเส้น 3. แกสไฮโดรเจนประกอบดวยแสงที่มีความยาว
คลื่น 669 นาโนเมตร 492 นาโนเมตร และ 422
ฟิสิกส์อะตอม 75
นาโนเมตร แก ส นี อ อนประกอบด ว ยแสงที่ มี
ความยาวคลื่น 669 นาโนเมตร 615 นาโนเมตร
และ 575 นาโนเมตร

บันทึก กิจกรรม
หากกําหนดใหระยะระหวางเสนของเกรตติง d = 1.886 × 10-4 เซนติเมตร
เสนสเปกตรัมทางซาย เสนสเปกตรัมทางขวา
สีของ
แหลงกําเนิด เสนสเปกตรั ระยะเฉลี่ย ระยะ c ความยาวคลื่น
ม ตําแหนง ระยะ x1 ตําแหนง ระยะ x2 xav (cm) (cm) sin θ λ (cm)
(cm) (cm) (cm) (cm)
สีแดง 14.0 36.0 90.0 40.0 38.0 106.98 0.355 6.69 × 10-5
แกส
สีนํ้าเงิน 23.0 27.0 77.0 27.0 27.0 103.58 0.261 4.92 × 10-5
ไฮโดรเจน
สีมวง 16.0 24.0 72.0 22.0 23.0 102.61 0.224 4.22 × 10-5
สีแดง 12.5 37.5 88.5 38.5 38.0 106.98 0.355 6.69 × 10-5
แกสนีออน สีสม 14.5 35.5 83.5 33.5 34.5 105.78 0.326 6.15 × 10-5
สีเหลือง 19.0 31.0 83.0 33.0 32.0 104.99 0.305 5.75 × 10-5
(ขอมูลขางตนเปนเพียงตัวอยางของผลการทํากิจกรรม การพิจารณาและตรวจสอบผลการทํากิจกรรมจริงขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
14. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง การแผคลืน่ แมเหล็ก เมื่อวิเคราะห์สเปกตรัมของแก๊สที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุไฮโดรเจน จะเห็นเส้นสว่าง
ไฟฟาของวัตถุดํา จากหนังสือเรียน ที่มีความยาวคลื่นเรียงกันเป็นกลุ่มอย่างเป็นระเบียบ เรียกว่า อนุกรม (series) ท�าให้นักฟิสิกส์
15. ครูสุมถามคําถามกับนักเรียนวา พยายามแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของสเปกตรัมเส้นสว่างในรูปแบบของสมการ
• วัตถุดําคืออะไร ทางคณิตศาสตร์ ใน พ.ศ. 2428 โยฮันน์ ยาคอบ บัลเมอร์ (Johann Jacob Balmer) สามารถ
(แนวตอบ วัตถุดาํ คือ วัตถุอดุ มคติทสี่ ามารถ คิดค้นสมการที่ใช้ในการค�านวณหาค่าความยาวคลื่นของสเปกตรัมเส้นสว่างต่าง ๆ ของอะตอม
ดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มาตกกระทบ ไฮโดรเจนในช่วงแสงทีม่ องเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า มีทงั้ หมด 4 เส้น สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์
ไดอยางสมบูรณ เมือ่ วัตถุดาํ เกิดสมดุลของ ได้ ดังสมการที่ 6.7 ซึ่งเป็นสมการที่ได้จากการทดลอง แต่ภายหลังสามารถพิสูจน์ได้จากแบบ
อุณหภูมิจะแผรังสีความรอนออกมาเปน จ�าลองของโบร์ (ฺBohr model) และเนื่องจากบัลเมอร์เป็นคนแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์นี้ จึงเรียก
สเปกตรัมที่มีลักษณะเฉพาะตัว ตําแหนง อนุกรมความยาวคลื่นของสเปกตรัมเส้นสว่างนี้ว่า อนุกรมบัลเมอร์ (Balmer series)
สูงสุดของสเปกตรัม ณ ความยาวคลื่นคา 2
หนึ่งจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของวัตถุดําและ λ = b( 2 n 2 ) (6.7)
n - 2
คาคงตัวบางตัวเทานั้น) λ คือ ความยาวคลื่นของสเปกตรัมเส้นสว่าง มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)
16. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายความรูเกี่ยว b คือ ค่าคงตัว มีค่าเท่ากับ 364.56 × 10-9 เมตร
กับวัตถุดํา โดยจากการศึกษาสเปกตรัมของ n คือ จ�านวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 2 (
2 (n = 3, 4, 5, …)
การแผรังสีความรอนจากวัตถุดํา โดยการ
วัดความเขมของคลื่นกับความยาวคลื่นที่แผ 3.2 การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาของวัตถุดํา
ออกมา พบวา อุณหภูมิของวัตถุสัมพันธกับ วัตถุตา่ ง ๆ เมือ่ มีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้ จะปลดปล่อยคลื1น่ แม่เหล็กไฟฟ้าออกมาในปริมาณทีส่ มั พันธ์
ความยาวคลื่นที่ใหคาความเขมสูงสุดของ กับอุณหภูมขิ องวัตถุนนั้ เรียกว่า การแผ่รงั สีความร้อน เช่น เมือ่ เผาแท่งเหล็กให้รอ้ น จะเริม่ เห็นเนือ้
สเปกตรัมที่แผออกมา ดังสมการ เหล็กเปลี่ยนเป็นสีแดง (แท่งเหล็กปล่อยคลื่นแสงในช่วงสีแดง)
λmaxT = 2.9 × 10-3 m K Physics
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นไปอีกจะเป็นสีเหลือง และเปล่งแสงสีขาวเมื่อ in real life
17. ครูใหความรูเพิ่มเติมวา จากแบบจําลองของ ร้อนจัด นักวิทยาศาสตร์พบว่า คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากการแผ่รงั สี สีดา� สามารถดูดกลืนแสงในทุก
วัตถุดํา รังสีที่หลุดเล็ดลอดออกมาจากรูเปด ความร้อน ประกอบด้วยความยาวคลื่นในช่วงต่าง ๆ เกิดเป็น ย่านความถี ่ รวมทัง้ ย่านอินฟาเรด
เปนรังสีที่ถูกปลอยจากผนังไมใชรังสีสะทอน สเปกตรัมต่อเนื่อง ซึ่งมีความเข้มแสงในแต่ละความยาวคลื่น วัตถุที่มีสีด�าจึงดูดความร้อนไว้
และวั ต ถุ ทุ ก ชนิ ด ในจั ก รวาลจะแผ รั ง สี ใ น ต่างกัน ทั้งนี้ การศึกษาการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุเริ่มต้น กับตัวเองได้มากทีส่ ดุ ซึง่ วัตถุทมี่ ี
ลักษณะเดียวกับวัตถุดํา จากวัตถุทเี่ ป็นตัวแผ่รงั สีแบบอุดมคติ กล่าวคือ การแผ่รังสีของ สีอ่อนและสีฉูดฉาดจะสะท้อน
18. ครูใหนกั เรียนศึกษากราฟแสดงความสัมพันธ วัตถุขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของวัตถุเท่านั้น เนื่องจากวัตถุอุดมคติจะ แสงได้มากและดูดกลืนเฉพาะ
บางย่านความถี่เท่านั้น ดังนั้น
ระหวางอุณหภูมิกับการแผรังสีของวัตถุจาก ปลดปล่อยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าได้ทกุ ย่านความถี ่ และสามารถดูดกลืน เมือ่ เราใส่เสือ้ ผ้าสีดา� เราจึงรูส้ กึ
หนังสือเรียน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดีทุกย่านความถี่ (เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ร้อนกว่าเวลาเราใส่เสือ้ ผ้าสีออ่ น
ตกกระทบวัตถุ คลื่นจะไม่สะท้อนออกมา เนื่องจากวัตถุดูดกลืน หรือสีฉูดฉาด
คลื่นไว้หมด) เรียกวัตถุอุดมคตินี้ว่า วัตถุด�า (black body)
76

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 การแผรังสีความรอน (heat radiation) คือ การถายโอนความรอนโดย ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ไมอาศัยตัวกลาง โดยสสารที่เปนแหลงกําเนิดความรอนสามารถแผรังสีออกมา เรื่อง การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาของวัตถุดํา จากแหลงขอมูล
ในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟาในทุกทิศทางรอบจุดกําเนิด โดยสสารที่มีความ สารสนเทศ โดยที่นักเรียนจะตองใชทักษะการรูเทาทันสื่อและ
รอนมากกวาสามารถแผรังสีออกมาไดมากกวาสสารที่มีความรอนนอยกวา เชน วิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลจากแหลงขอมูลนั้นๆ วามี
ดวงอาทิตยสามารถแผรังสีความรอนออกมาไดมากกวาเปลวไฟบนเตาแกส ซึ่ง ความนาเชือ่ ถือมากนอยเพียงใด จากนัน้ นําขอมูลเหลานัน้ มาเขียน
สสารทุกชนิดทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู กวาศูนยองศาสัมบูรณ จะสามารถแผรงั สีความรอน สรุปความรูล งในสมุดบันทึกประจําตัว พรอมทั้งยกตัวอยางการใช
ไดทั้งสิ้น ความรูเกี่ยวกับการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาของวัตถุดําในชีวิตจริง
เพือ่ เปนการศึกษาหาความรูด ว ยตนเองประกอบกับการศึกษาจาก
หนังสือเรียน เสร็จแลวตัวแทนรวบรวมสมุดบันทึกประจําตัวของ
แตละคนสงครู

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

ในทางปฏิบัติ นักฟิสิกส์สร้างแบบจ�าลองวัตถุด�า โดยเจาะ แสง


19. ครูสุมนักเรียนเพื่อตอบคําถามเกี่ยวกับกราฟ
ช่องเล็ก ๆ เป็นโพรง (cavity) ในเนื้อวัตถุ เมื่อแสงผ่านช่อง แสดงความสั ม พั น ธ ร ะหว า งอุ ณ หภู มิ กั บ
เล็ก ๆ เข้าไป แสงจะสะท้อนไปมาภายใน และถูกดูดกลืนจนหมด การแผรังสีของวัตถุ เชน
กล่าวได้ว่า โพรงเปรียบเสมือนวัตถุด�า ดังภาพที่ 6.19 • กราฟความสัมพันธนี้เกิดจากการแผรังสี
จากการศึกษาสเปกตรัมของการแผ่รังสีความร้อนจาก ของวัตถุ ณ อุณหภูมิใดบาง
วัตถุด�า โดยการวัดความเข้มของคลื่นกับความยาวคลื่นที่แผ่ ภ าพที่ 6.19 แบบจ�าลองวัตถุด�า (แนวตอบ 2,000 เคลวิน 3,000 เคลวิน 4,000
ออกมา พบว่า อุณหภูมิของวัตถุสัมพันธ์กับความยาวคลื่นที่ให้ ที่มา : https://phys.libretexts. เคลวิน และ 5,000 เคลวิน)
org/Bookshelves/University_
ค่าความเข้มสูงสุดของสเปกตรัมที่แผ่ออกมา ดังสมการที่ 6.8 Physics • จากกราฟ สามารถสรุปแนวโนมการแผรงั สี
ของวัตถุเทียบกับอุณหภูมิไดอยางไร
λmaxT = 2.9 × 10-3 m K (6.8) (แนวตอบ วัตถุทมี่ อี ณ
ุ หภูมติ าํ่ กวาจะแผรงั สี
ที่มีความยาวคลื่นสูงกวา)
λmax คือ ความยาวคลื่นที่ให้ค่าความเข้มสูงสุดของสเปกตรัม มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m) • หากตองการทําใหวัตถุหนึ่งๆ สามารถแผ
T คือ อุณหภูมิของวัตถุ มีหน่วยเป็น เคลวิน ( (K)
รังสีความรอนใหไดความยาวคลื่นที่ใหคา
ความเขมสูงสุดของสเปกตรัมในชวงรังสี
จากสมการที่ 6.8 เรียกความสัมพันธ์นี้ว่า กฎการกระจัดของวีน (Wien’s displacement อัลตราไวโอเลตจะตองทําอยางไร
law) ซึ่งใช้ในการประมาณค่าอุณหภูมิของวัตถุที่ได้จากความยาวคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมา
(แนวตอบ ตองทําใหวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้น
จากภาพที่ 6.20 จะเห็นว่า เมื่ออุณหภูมิของวัตถุสูงขึ้น วัตถุจะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงาน
กวานี้มากๆ)
สูงออกมา ค่าความยาวคลืน่ ทีใ่ ห้ความเข้มสูงสุด (λmax) จะมีคา่ น้อยลง หรือจุดยอดของสเปกตรัม
จะเลื่อนไปทางซ้ายอยู่ในช่วงที่ความยาวคลื่นสั้นลง ดังนั้น สามารถประมาณอุณหภูมิได้จากการ 20. ครูใหนกั เรียนศึกษาสมมติฐานของพลังคจาก
สังเกตความยาวคลื่นที่แผ่ออกมาหรือสีของวัตถุ เช่น เปลวไฟสีน�้าเงินจะร้อนกว่าเปลวไฟสีแดง หนังสือเรียน โดยจดบันทึกลงในสมุดบันทึก
อัลตรา แสงที่ตา ประจําตัว
ไวโอเลต มองเห็น อินฟราเรด

λmax

T = 5,000 K
ความเข้ม

T = 4,000 K
T = 3,000 K
T = 2,000 K

0 1.0 2.0 3.0


ความยาวคลื่น (μm)
ภ าพที่ 6.20 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับการแผ่รังสีของวัตถุ
ที่มา : https://phys.libretexts.org/Bookshelves/University_Physics
ฟิสิกส์อะตอม 77

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาและทดลองใชสถานการณ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา
จําลองบนสื่อดิจิทัลแบบมีปฏิสัมพันธ (interactive simulation) ของวัตถุดาํ ในสวนของเนือ้ หาทีก่ ลาวถึงกฎการกระจัดของวีน (Wien’s displace-
เรื่อง Blackbody Spectrum ในหมวดของปรากฏการณควอนตัม ment law) หลังจากที่นักเรียนไดศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหาแลว ครู
สามารถคนหาไดจาก https://phet.colorado.edu/sims/html/ อาจอธิบายสรุปในภาพรวมจากภาพที่ 6.20 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง
blackbody-spectrum/latest/blackbody-spectrum_en.html อุณหภูมิกับการแผรังสีของวัตถุ จากหนังสือเรียนโดยละเอียดกอน จากนั้นครู
ซึ่งเปนการศึกษาผลของอุณหภูมิของวัตถุดํา โดยนักเรียนจะตอง อาจนํากราฟแสดงความสัมพันธระหวางอุณหภูมกิ บั การแผรงั สีของวัตถุทเี่ งือ่ นไข
ทดลองเปลี่ยนคาของอุณหภูมิและสังเกตผลที่เกิดขึ้น จากนั้น อื่นๆ ซึ่งแตกตางจากหนังสือเรียนมาเปดใหนักเรียนดู แลวรวมกันอภิปราย
นักเรียนจะตองนําความรูที่ไดมาเขียนสรุปเปนใบความรูลงใน สรุปโดยอางอิงจากแนวโนมของคาความยาวคลื่นที่ใหความเขมสูงสุดในแตละ
กระดาษ A4 เสร็จแลวตัวแทนเก็บรวบรวมสงครูเพือ่ ตรวจสอบและ อุณหภูมิและในแตละกราฟ เพื่อเปนการสรางความเขาใจของนักเรียนใหเพิ่ม
ใหคะแนน มากขึ้น

T85
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
21. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายความรูเพื่อ ใน พ.ศ. 2443 มักซ์ พลังค์ (Max Planck) ได้เสนอสมมติฐานเพื่ออธิบายการแผ่รังสีของ
ใหเขาใจไปในแนวทางเดียวกันวา สมมติฐาน วัตถุดา� ทีไ่ ด้จากการทดลอง โดยคิดว่ารังสีทแี่ ผ่ออกมาเกิดจากตัวแผ่รงั สีระดับจุลภาคทีเ่ หมือนประจุ
ของพลังคสรุปไดวา พลังงานทีว่ ตั ถุดาํ ดูดกลืน แกว่งกวัดอยู่ในวัตถุ ซึ่งสั่นด้วยความถี่ที่ขึ้นอยู่กับพลังงานของวัตถุ โดยพลังงานในการสั่นจะเป็น
หรือแผออกมามีคาไดเฉพาะบางคาเทานั้น ค่าไม่ต่อเนื่องและมีค่าเป็นขั้น ๆ ซึ่งการพิจารณานี้เสมือนว่าภายในวัตถุจ1ะมีการสั่นเป็นค่าเฉพาะ
และคานี้จะเปนจํานวนเทาของ hf เรียกวา คล้ายกับคลืน่ นิง่ ในเส้นเชือกทีก่ ารสัน่ จะเป็นจ�านวนเท่าของความถีม่ ลู ฐาน ซึง่ สมมติฐานของพลังค์
ควอนตัมพลังงาน โดยที่คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Plank’s hypothesis) สรุปได้ว่า “พลังงานที่วัตถุด�าดูดกลืนหรือแผ่ออกมามีค่าได้เฉพาะบางค่า
หรือแสงความถี่ f จะมีพลังงาน ดังสมการ เท่านั้น” และค่านี้จะเป็นจ�านวนเท่าของ hf เรียกว่า ควอนตัมของพลังงาน (quantum of energy)
E = nhf และคาพลังงานที่วัตถุปลดปลอย โดยที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงความถี่ f จะมีพลังงาน ดังสมการที่ 6.9
หรื อ ดู ด กลื น ในรู ป ของคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า
เรียกวา โฟตอน E = nhf (6.9)
22. ครูใหนกั เรียนปดหนังสือเรียน จากนัน้ ครูอา น
Ε คือ พลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุ มีหน่วยเป็น จูล (
(J)
ขอคําถามในตัวอยางที่ 6.7-6.8 จากหนังสือ
n คือ จ�านวนเต็มบวกใด ๆ เรียกว่า เลขควอนตัม ( (n = 1, 2, 3, …)
เรียน ใหนักเรียนจดลงกระดาษ A4 h คือ ค่าคงตัวของพลังค์ ((Plank’s constant) มีค่าเท่ากับ 6.626 × 10-34 จูล วินาที (J s)
23. ครูใหเวลานักเรียนในการศึกษาและแสดงวิธี f คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสง มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ ((Hz)
แกโจทยปญหาเพื่อหาคําตอบจากขอคําถาม
ที่ครูมอบหมายให โดยนักเรียนคนใดทําเสร็จ การตั้งสมมติฐานของพลังงานที่เป็นล�าดับขั้นของพลังงาน ในช่วงแรกเริ่มที่เสนอทฤษฎีน้ ี
แลวใหเขียนชื่อ-สกุล เลขที่ และชั้น ไวที่มุม นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่เชื่อมั่นในทฤษฎีว่าจะเป็นจริง ต่อมาภายหลังเมื่อมีการทดลองต่าง ๆ
ขวาบนของกระดาษ จากนั้นนําสงครูหนาชั้น ที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ในระดับอะตอม พบว่า ทฤษฎีที่ตั้งบนพื้นฐานของความเป็นขั้น ๆ ไม่
เรียน ต่อเนื่อง (quantum) อธิบายผลต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เช่น การอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
การเกิดรังสีเอกซ์ การกระเจิงคอมป์ตนั เมือ่ วัตถุปลดปล่อยพลังงานออกมาจะมีการเปลีย่ นขัน้ ของ
24. ครูตรวจคําตอบของนักเรียนในเบื้องตน แลว
สถานะ ท�าให้ระดับพลังงานลดลง และในทางกลับกัน เมือ่ วัตถุดดู กลืนพลังงานเข้าไประดับพลังงาน
สุมตัวแทนนักเรียนออกมาอธิบายและแสดง
จะสูงขึ้น การที่พลังงานมีค่าต่างกันเป็นขั้น ๆ เรียกว่า ควอนไตเซชัน (quantization) และค่า
วิธีแกโจทยปญหาเพื่อหาคําตอบบนกระดาน พลังงานทีว่ ตั ถุปลดปล่อยหรือดูดกลืนในรูปของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า เรียกว่า โฟตอน (photon) ดังนัน้
หน า ชั้ น เรี ย นคนละ 1 ข อ โดยครู ค อย อาจพิจารณาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใดที่มีความถี่ f เป็นโฟตอนที่มีพลังงาน E = hf
สังเกตการณและใหคําแนะนําเมื่อนักเรียน
เกิดปญหาหรือมีขอสงสัย P hysics
Focus มักซ์ พลังค์
มักซ์ พลังค์ (พ.ศ. 2401-2490) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันที่บุกเบิกการศึกษาทฤษฎี
ควอนตัม อันเป็นส่วนส�าคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ โดยน�าแนวคิดเกี่ยวกับควอนตัมพลังงานมา
ใช้อธิบายการแผ่รังสีของวัตถุด�า และพลังค์ยังได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ พ.ศ. 2461 จากแนวคิด
เรื่อง ควอนตัมพลังงาน

78

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ความถีม่ ลู ฐาน (fundamental frequency) เปนความถีต่ าํ่ สุดของคลืน่ นิง่ จากกฎการกระจัดของวีน หากพิจารณารางกายมนุษยที่มี
ในหลอดทดลอง ในเสนเชือก หรือเครื่องดนตรี ซึ่งจะทําใหคลื่นที่ไดมีความ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส จะมีความยาวคลื่นจากการแผรังสีที่
ยาวคลืน่ มากทีส่ ดุ เชน ในเชือกเสนหนึง่ (ทีม่ คี วามยาวคาหนึง่ ) จะเกิดคลืน่ นิง่ ได มีความเขมมากที่สุดเทาใด
หลายแบบ เราเรียกแบบของคลื่นนิ่งเหลานี้วา ฮารมอนิก (harmonic) ความถี่ (แนวตอบ จากสมการ λmaxT = 2.9 × 10-3 m K
-3
ที่ตํ่าที่สุดที่จะทําใหเกิดคลื่นนิ่งบนเชือกเสนนั้นได เรียกวา ความถี่มูลฐานหรือ λmax = 2.9 × 10T m K
ฮารมอนิกที่ 1 ความถี่ที่สูงขึ้นเปนลําดับถัดมาจากความถี่มูลฐานที่ทําใหเกิด -3
คลื่นนิ่งในเสนเชือกไดอีก เรียกวา ฮารมอนิกที่ 2 (second harmonic) หรือ λmax = 2.937×+10273mK K
โอเวอรโทนที่ 1 (first overtone) 10-3 m K
= 2.9 ×310
λmax
K
λmax = 9.355 × 10-6 m
λmax = 9,355 × 10-9 m
ดังนัน้ รางกายมนุษยทมี่ อี ณ
ุ หภูมิ 37 องศาเซลเซียส จะมีความ
ยาวคลื่นจากการแผรังสีที่มีความเขมมากที่สุด 9,355 นาโนเมตร)

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 6.7 25. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน
ที่ความถี่ 3 × 1014 เฮิรตซ์ พลังงานของอนุภาคแสงต่อไปนี้มีค่าเท่าใดในหน่วยจูล ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่อง สเปกตรัมจากอะตอม
ของแกส และการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาของ
ก อนุภาคแสง 1 ตัว
วัตถุดาํ โดยครูสมุ นักเรียนจํานวนหนึง่ ออกมา
วิธีท�า พลังงานของอนุภาคแสง คือ พลังงานโฟตอน ซึ่งพลังงานโฟตอนแต่ละตัวจะหาได้ หนาชัน้ เรียนเพือ่ อธิบายผลการศึกษาในแตละ
จากสมการที่ 6.9 E = nhf หัวขอ
ค�านวณหาพลังงานโฟตอน 1 ตัว ที่ความถี่ 3 × 1014 เฮิรตซ์ หรือต่อวินาที 26. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ
จะได้ว่า E1 = (1)(6.626 × 10-34 J s)(3 × 1014 s-1)
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง
E1 = 1.99 × 10-19 J
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด
ดังนั้น พลังงานของอนุภาคแสง 1 ตัว มีค่าเท่ากับ 1.99 × 10-19 จูล
ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ
ข อนุภาคแสง 2 ตัว สิ่งที่แตกตาง
วิธีท�า จากสมการที่ 6.9 E = nhf 27. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
ค�านวณหาพลังงานโฟตอน 2 ตัว ที่ความถี่ 3 × 1014 เฮิรตซ์ หรือต่อวินาที เกี่ยวกับสเปกตรัมของอะตอมเพิ่มเติมจาก
จะได้ว่า E2 = (2)(6.626 × 10-34 J s)(3 × 1014 s-1) แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร
E2 = 3.98 × 10-19 J และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ
ดังนั้น พลังงานของอนุภาคแสง 2 ตัว มีค่าเท่ากับ 3.98 × 10-19 จูล เรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม
ค อนุภาคแสง 10 ตัว ลงมือท�า (Doing)
วิธีท�า จากสมการที่ 6.9 E = nhf 28. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับ
ค�านวณหาพลังงานโฟตอน 10 ตัว ที่ความถี่ 3 × 1014 เฮิรตซ์ หรือต่อวินาที
สเปกตรัมจากอะตอมของแกส และการแผ
จะได้ว่า E10 = (10)(6.626 × 10-34 J s)(3 × 1014 s-1)
คลืน่ แมเหล็กไฟฟาของวัตถุดาํ โดยสรางสรรค
E10 = 1.99 × 10-18 J
ออกมาในรู ป แบบของอิ น โฟกราฟ ก ลงใน
ดังนั้น พลังงานของอนุภาคแสง 10 ตัว มีค่าเท่ากับ 1.99 × 10-18 จูล
กระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
ง อนุภาคแสง 100 ตัว เสร็จแลวนําสงครูเพื่อตรวจใหคะแนน
วิธีท�า จากสมการที่ 6.9 E = nhf 29. ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาใบงาน เรื่อง
ค�านวณหาพลังงานโฟตอน 100 ตัว ที่ความถี่ 3 × 1014 เฮิรตซ์ หรือต่อวินาที สมมติ ฐ านของพลั ง ค เสร็ จ แล ว ตั ว แทน
จะได้ว่า E100 = (100)(6.626 × 10-34 J s)(3 × 1014 s-1) รวบรวมสงครู
E100 = 1.99 × 10-17 J 30. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น แลวรวมกันศึกษา
ดังนั้น พลังงานของอนุภาคแสง 100 ตัว มีค่าเท่ากับ 1.99 × 10-17 จูล แบบฝกหัด Topic Questions จากหนังสือ
เรียน โดยครูมอบหมายใหนักเรียนแตละคน
79
ฟิสิกส์อะตอม
เขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหาลงในสมุด
บันทึกประจําตัว

ขอสอบเนน การคิด
เมื่อเรงอิเล็กตรอนใหชนกับเปาโลหะของหลอดกําเนิดรังสีเอกซโดยใชความตางศักย พลังงาน
25 กิโลโวลต แลวเขียนกราฟความสัมพันธของพลังงานกับความยาวคลื่นของรังสีเอกซที่
เกิดขึ้นจะไดกราฟความสัมพันธดังภาพ จงหาวา ที่จุด ก. มีคาความยาวคลื่นเทาใด
1. 0.0497 นาโนเมตร 2. 0.0507 นาโนเมตร 3. 0.0717 นาโนเมตร ความยาวคลื่น
4. 0.1925 นาโนเมตร 5. 0.2478 นาโนเมตร ก.
-34 8
(วิเคราะหคําตอบ รั ง สี เ อกซ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นระดั บ พลั ง งานของ (1.6 × 10-19 C)(25 × 103 V) = (6.626 × 10 Jλs)(3 × 10 m/s)
อิเล็กตรอนวงใน ซึง่ จะมีคา พลังงานทีต่ อ เนือ่ ง เพราะมีระดับชัน้ พลังงาน 1.9878 × 10-25 J m
λ =
ทีเ่ ปนไปไดหลายคา แตความยาวคลืน่ เริม่ ตนจะขึน้ กับระดับพลังงานมาก (1.6 × 10-19 C)(25 × 103 V)
-25
ที่สุดที่เปนไปได ซึ่งก็คือการถายเทพลังงานทั้งหมดของอิเล็กตรอนที่ยิง λ = 1.9878 × 10 -15
Jm
เขาไปใหกบั อิเล็กตรอนในอะตอมของเปา ดังนัน้ ความยาวคลืน่ ทีจ่ ดุ ก. 4 × 10 J
หาไดจากสมการ λ = 4.9695 × 10-11 m

Ep = Ek λ ≈ 0.0497 × 10-9 m
นั่นคือ ที่จุด ก. มีคาความยาวคลื่น 0.0497 นาโนเมตร ดังนั้น
qV = hc λ ตอบขอ 1.)
T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
นักเรียนอธิบายสรุปความรูที่ไดศึกษามาแลว ตัวอย่างที่ 6.8
ทั้งเนื้อหาและตัวอยางจากหนังสือเรียน และ ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) เป็นดาวยักษ์แดง และดาวไรเจล (Rigel) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่ม
กิจกรรมทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียน พรอมทัง้ ดาวนายพราน ได้แผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าออกมาวัดความยาวคลืน่ ได้ 970 นาโนเมตร และ 145 นาโนเมตร
ยกตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ ตามล�าดับ อยากทราบว่า อุณหภูมิพื้นผิวของดาวทั้งสองเป็นเท่าใด
เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ วิธีท�า จากกฎการกระจัดของวีนทีส่ ร้างสมการความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมขิ องวัตถุกบั ความยาวคลืน่
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได มากที่สุดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่วัตถุนั้นแผ่ออกมาได้
ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ จากสมการที่ 6.8 λmaxT = 2.9 × 10-3 m K
สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น
-3
T = 2.9 × 10 m K
λ max
โดยครูอาจใช PowerPoint เรื่อง สเปกตรัม
ค�านวณหาอุณหภูมิพื้นผิวของดาวบีเทลจุส ที่มีความยาวคลื่น 970 นาโนเมตร
ของอะตอม มาเปดใหนักเรียนดูประกอบเพื่อ -3
T = 2.9 × 10 -9m K
ชวยในการอธิบายใหเขาใจมากยิ่งขึ้น 970 × 10 m
T = 3 × 103 K ≈ 3,000 K
ขัน้ ประเมิน ค�านวณหาอุณหภูมิพื้นผิวของดาวไรเจล ที่มีความยาวคลื่น 145 นาโนเมตร
-3
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง สเปกตรัมของ T = 2.9 × 10 -9m K
145 × 10 m
อะตอม โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม T = 20 × 103 K = 20,000 K
การทําแบบฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ ดังนั้น อุณหภูมิพื้นผิวของดาวบีเทลจุสมีค่าประมาณ 3,000 เคลวิน และอุณหภูมิพื้นผิวของดาวไรเจล
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา มีค่าเท่ากับ 20,000 เคลวิน
ศาสตรจากการคํานวณเกี่ยวกับการดูดกลืน
หรือคายพลังงานตามสมมติฐานของพลังค Core Concept
จากสถานการณตางๆ และจากตัวอยางที่ครู ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
Topic สเปกตรัมของอะตอม
กําหนดให Questions
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น 1. แบบจ�าลองอะตอมของทอมสันต่างจากแบบจ�าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดอย่างไร
และการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค 2. สาเหตุใดทีท่ า� ให้รทั เทอร์ฟอร์ดเสนอแนวคิดว่าทุก ๆ อะตอมจะมีนวิ เคลียสทีม่ โี ปรตอนรวมกันอยูต่ รงกลาง
3. ถ้าพื้นผิวของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิประมาณ 5,800 เคลวิน ช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมาจาก
ดวงอาทิตย์จะมีความเข้มมากที่สุดที่ความยาวคลื่นเท่าใด
4. พลังงานของโฟตอนที่มีความถี่ 5 × 1014 เฮิรตซ์ มีค่าเท่าใด
5. เส้นสเปกตรัมสีแดงมีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร เส้นสเปกตรัมสีเขียวมีความถี่ 580 × 1012 เฮิรตซ์
เส้นสเปกตรัมทั้งสองจะมีพลังงานต่างกันเท่าใด

80

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. แบบจําลองอะตอมของทอมสัน คือ ภายในอะตอมนั้นมีโปรตอน
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง สเปกตรัมของอะตอม
และอิเล็กตรอนกระจายตัวอยูเทาๆ กัน แตแบบจําลองอะตอมของ
ไดจากอินโฟกราฟกทีน่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ลงมือทํา โดยศึกษาเกณฑการวัด
รัทเทอรฟอรด คือ ภายในอะตอมมีนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู
และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทาย
ตรงกลางและมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูรอบนอกนิวเคลียส
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม
2. การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบางๆ แลวทําใหอนุภาค
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3 เกณฑ์ประเมินอินโฟกราฟิก แอลฟาบางสวนทะลุผานไป และบางสวนมีการกระเจิงกลับ นั่นแสดง
ใหเห็นวามีประจุบวกรวมตัวกันอยูตรงกลาง
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
แบบประเมินผลงานอินโฟกราฟิก
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน

3. ช ว งคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ แ ผ อ อกมาจะมี ค วามเข ม มากที่ สุ ด ที่


ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ

ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร


4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

4. พลังงานของโฟตอนเทากับ 3.313 × 10-19 จูล


ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13
8–10
ต่ากว่า 8
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
5. พลังงานของเสนสเปกตรัมสีแดงและสีเขียวเทากับ 2.8397 × 10-19 จูล
และ 3.8431 × 10-19 จูล ตามลําดับ ดังนั้น เสนสเปกตรัมทั้งสองมี
พลังงานตางกันประมาณ 10-19 จูล

T88
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
เพราะเหตุใดอิเล็กตรอนจึง 4. ทฤษฎีอะตอมของโบร์ 1. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นสนทนาทบทวนความรู 
เคลือ่ นทีร่ อบ ๆ นิวเคลียส เกี่ยวกับแบบจําลองอะตอมของทอมสันและ
ไดโดยไมถูกดูดเขาไปใน
เนือ่ งจากโบร์ได้เสนอแบบจ�าลองอะตอมไฮไดรเจนโดยอาศัย แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด โดยสุม
นิวเคลียส แนวคิด เรือ่ ง กลศาสตร์ควอนตัม มาใช้กบั แบบจ�าลองอะตอมของ
นักเรียนเพื่อใหอธิบายโครงสรางและลักษณะ
รัทเทอร์ฟอร์ด จึงท�าให้ค้นพบข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนา
พอสังเขป
แนวคิดทางกลศาสตร์ควอนตัมเกี่ยวกับสมบัติทวิภาพของสสารในรูปของคลื่นและอนุภาค
2. ครูใชคําถามเพื่อถามทบทวนความรูเดิมของ
4.1 ระดับพลังงานของอะตอม นักเรียน เชน
ใน พ.ศ. 2456 นีล โบร์ (Niels Bohr) ได้ใช้อะตอมของ • สเปกตรัมของแสงขาวมีกสี่ ี และมีสอี ะไรบาง
ไฮโดรเจนเป็นแบบจ�าลองอะตอม โดยอะตอมของไฮโดรเจนมี อิเล็กตรอน (แนวตอบ มี 7 สี ไดแก แสงสีมว ง แสงสีคราม
โปรตอนเป็นนิวเคลียส 1 ตัว และมีอเิ ล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส แสงสีนํ้าเงิน แสงสีเขียว แสงสีเหลือง แสงสี
1 ตัว โบร์ได้ตั้งสมมติฐานโดยอาศัยแนวคิดจากทฤษฎีควอนตัม แสด และแสงสีแดง)
อธิบายโครงสร้างของไฮโดรเจนและการเกิดสเปกตรัมของ โปรตอน • แสงสีใดในสเปกตรัมของแสงขาวมีความยาว
ไฮโดรเจนได้ชัดเจน โดยสมมติฐานสรุปเป็น 2 ข้อ ดังนี้ คลื่นมากที่สุดและนอยที่สุด
1. สมมติฐานข้อที่ 1 อิเล็กตรอนจะเคลือ่ นทีเ่ ป็นวงกลม ภาพที่ 6.21 อะตอมของไฮโดรเจน (แนวตอบ แสงสี แ ดงมี ค วามยาวคลื่ น มาก
รอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงได้โดยไม่แผ่รงั สีคลื1น่ แม่เหล็กไฟฟ้า ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่สุด และแสงสีมวงมีความยาวคลื่นนอย
ออกมา ในวงโคจรที่เสถียรนี้ โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน ที่สุด)
(L) จะมีค่าคงตัวเป็นจ�านวนเท่าของอนุภาคมูลฐาน (ℏ) เรียกสถานะเช่นนี้ว่า สถานะคงตัว 3. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ
(stationary state) ส�าหรับอิเล็กตรอนมวล m ขณะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวงโคจรที่ n สามารถ
เรี ย นกั บ นั ก เรี ย น โดยนั ก เรี ย นร ว มกั น ตอบ
ค�านวณหาโมเมนตัมเชิงมุมของวงโคจรได้ ดังสมการที่ 6.10
คําถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคําตอบ
L = mvnrn = nℏ (6.10) เพือ่ เชือ่ มโยงเขาสูเ นือ้ หาทีก่ าํ ลังจะศึกษาเรียนรู
ตอไป
L คือ โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน มีหน่วยเป็น กิโลกรัม เมตร2 ต่อวินาที (kg m2/s) หรือ จูล วินาที (J s)
m คือ มวลของอิเล็กตรอน มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( (kg)
vn คือ อัตราเร็วเชิงเส้นของอิเล็กตรอนในวงโคจร
ตรอนในวงโคจร n นั้น ๆ มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
rn คือ รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนวงที่ n
n คือ จ�านวนเต็มบวก (
บวก (n = 1, 2, 3, …)
ℏ คือ ค่าคงตัวมูลฐาน มีค่าเท่ากับ อัตราส่วนระหว่างค่าคงตัวของพลังค์กับ 2π (ℏ = 2hπ)

แนวตอบ Key Question


จ�านวนเต็มบวก n จากสมการที่ 6.10 อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
เลขควอนตัม (quantum number) ของวงโคจร พลั ง งานศั ก ย ไ ฟฟ า ซึ่ ง เกิ ด จากแรงดึ ง ดู ด
อะตอมของไฮโดรเจน ฟิสิกส์อะตอม 81
ระหวางประจุไฟฟามีคานอยกวาพลังงานจลนของ
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNC51 อิเล็กตรอนมาก อิเล็กตรอนจึงถูกยึดเหนี่ยวไวใน
วงโคจรรอบนิวเคลียส

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ในทฤษฎีอะตอมของโบรมีสมมติฐานวา โมเมนตัมเชิงมุมของ 1 โมเมนตัมเชิงมุม (angular momentum) คือ ปริมาณเวกเตอรที่แสดงถึง
อิเล็กตรอนมีไดเฉพาะบางคา จงหาขนาดของโมเมนตัมเชิงมุมของ การหมุนของวัตถุ มีคาเทากับมวลของวัตถุคูณกับผลคูณเชิงเวกเตอรของ
อิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 และวงโคจรที่ 4 เวกเตอรตําแหนงและเวกเตอรความเร็ว หรือผลคูณระหวางโมเมนตความเฉื่อย
(แนวตอบ จากสมการ L = nℏ กับความเร็วเชิงมุม
L = nh
2π -34
พิจารณาวงโคจรที่ 2; L2 = (2)(6.6262×π 10 J s)
L2 = 2.1 × 10-34 kg m2/s
สื่อ Digital
-34
พิจารณาวงโคจรที่ 4; L4 = (4)(6.6262×π 10 J s) ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง อะตอมของไฮโดรเจน
L4 = 4.2 × 10-34 kg m2/s
ดังนั้น ขนาดของโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนของอะตอม
ไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 และวงโคจรที่ 4 มีคาเทากับ 2.1 × 10-34 อะตอมของไฮโดรเจน
กิโลกรัม เมตร2ตอวินาที และ 4.2 × 10-34 กิโลกรัม เมตร2ตอวินาที www.aksorn.com/interactive3D/RKC51
ตามลําดับ)
T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนที่นั่งขางๆ แลว ตัวอย่างที่ 6.9
รวมกันศึกษา เรื่อง ระดับพลังงานของอะตอม โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 1 3 และ 5 มีค่าเท่าใด
จากนั้นแตละคูรวมกันอภิปรายผลการศึกษา
เพื่อใหไดขอสรุปรวมกัน วิธีท�า ตามสมมติฐานข้อที่ 1 ของโบร์ สามารถค�านวณหาโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในวงโคจร
ต่าง ๆ ได้ จากสมการที่ 6.10 L = nℏ
2. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นเพื่ อ ถามคํ า ถามว า “สถานะ
L = 2nhπ
คงตัวคืออะไร” โดยสุมนักเรียนประมาณ 3-4
พิจารณาอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 1 จะได้ว่า
คน เพื่อดูแนวคําตอบ
L1 = (1)h
(แนวตอบ สถานะที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปน 2π
-34
วงกลมรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไม L1 = (1)(6.626 2×π 10 J s) = 1.05 × 10-34 J s
แผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา โดยในวง พิจารณาอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 3 จะได้ว่า
โคจรนีโ้ มเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนจะมีคา L3 = (3)h

-34
คงตัวเปนจํานวนเทาของอนุภาคมูลฐาน) L3 = (3)(6.626 2×π 10 J s) = 3.16 × 10-34 J s
3. ครูเปดวีดิทัศนจากสื่อดิจิทัลที่มีเนื้อหาสาระ พิจารณาอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 5 จะได้ว่า
เกีย่ วกับแบบจําลองอะตอมของโบรใหนกั เรียน L5 = (5)h

ไดศกึ ษาหาองคความรูเ พิม่ เติม จากนัน้ ครูอาจ (5)(6.626 × 10-34 J s)
L5 = 2π = 5.27 × 10-34 J s
สุมถามความรูที่ไดจากการศึกษาสื่อดิจิทัลนี้
ดังนั้น โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 1 3 และ 5 เท่ากับ 1.05 × 10-34 จูล วินาที
4. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้ 3.16 × 10-34 จูล วินาที และ 5.27 × 10-34 จูล วินาที ตามล�าดับ
รวมกันศึกษาตัวอยางที่ 6.9-6.10 จากหนังสือ
เรียน โดยครูเนนยํ้ากับนักเรียนวา เมื่อศึกษา
ตัวอย่างที่ 6.10
ตัวอยางนี้เสร็จแลว นักเรียนจะตองสามารถ
โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 5 มีค่าเป็นกี่เท่าของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 2
อธิบายสมมติฐานขอที่ 1 ของโบรได เพื่อเปน
การกระตุน ความสนใจใหนกั เรียนกระตือรือรน วิธีท�า ตามสมมติฐานข้อที่ 1 ของโบร์ สามารถค�านวณหาโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน
ที่ จ ะต อ งพยายามทํ า ความเข า ใจจากโจทย ในวงโคจรต่าง ๆ ได้ จากสมการที่ 6.10 L = nℏ = 2nhπ
ปญหาหรือขอคําถามมากขึ้น ในวงโคจรที่ 5; L5 = (5)h 5h
2π = 2π
5. ครูสุมนักเรียนจากการสังเกตพฤติกรรมความ
ในวงโคจรที่ 2; L2 = (2)h
2π = π
h
สนใจและความตัง้ ใจในการศึกษาตัวอยาง โดย L5 5h π
ใหนักเรียนออกมาอธิบายวิธีการหรือขั้นตอน จะได้ว่า L2 = ( 2π )( h )
การแสดงวิธีแกโจทยปญหาเพื่อหาคําตอบบน L5 5
L2 = 2 = 2.5
กระดานหนาชั้นเรียน
ดังนัน้ โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที ่ 5 มีคา่ เป็น 2.5 เท่า ของอิเล็กตรอนในวงโคจรที ่ 2
82

เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทาทาย


ครูอาจนําความรูเสริมที่นอกเหนือจากหนังสือเรียนที่เกี่ยวของกับความรู ครูมอบหมายใหนกั เรียนกลับไปศึกษาคนควาเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
เรื่อง ระดับพลังงานของอะตอม มาอธิบายใหนักเรียนไดศึกษาและทําความ เรือ่ ง โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน จากแหลงขอมูลสารสนเทศ
เขาใจเพิ่มเติม เชน ครูอาจชักชวนนักเรียนสนทนาและนํานักเรียนอภิปรายสรุป เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจัย โดยครูกําหนดให
สมการที่สําคัญที่ใชในการคํานวณเพื่อแกโจทยปญหาเกี่ยวกับโมเมนตัมเชิงมุม นักเรียนนําความรูที่ไดมาสรุปลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งสืบคน
ของอิเล็กตรอน ไมวาจะเปนคาของตัวแปรที่สําคัญที่นักเรียนควรรูเพื่อใชแทน โจทยปญหาที่เกี่ยวของมาเขียนแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบดวย
คาในสมการ ไดแก มวลของอิเล็กตรอน อัตราเร็วเชิงเสนของอิเล็กตรอนใน ซึ่งแตละคนจะตองสืบคนโจทยปญหามาอยางนอยคนละ 5 ขอ
วงโคจร n นั้นๆ และรัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอน (พยายามไมซํ้ากับเพื่อน) เสร็จแลวตัวแทนเก็บรวบรวมสงครู

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

2. สมมติฐานข้อที่ 2 อิเล็กตรอนจะดูดกลืนหรือคายพลังงานทุกครัง้ เมือ่ อิเล็กตรอนเปลีย่ น 6. ครู นํ า ข อ คํ า ถามหรื อ โจทย ป  ญ หาเพิ่ ม เติ ม


วงโคจร โดยพลังงานที่อิเล็กตรอนดูดกลืนหรือคายจะปรากฏในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ นอกเหนือจากหนังสือเรียนมาใหนักเรียนได
ตามสมมติฐานของพลังค์ สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังสมการที่ 6.11 ศึกษาและทําความเขาใจมากขึ้น
7. ครู ข ออาสาสมั ค รตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมา
hf = ∙ ΔE ∙ = ∙En - En ∙ (6.11) หนาชั้นเรียนเพื่ออภิปรายผลการศึกษาเกี่ยว
i f
ΔE คือ พลังงานทีอ่ เิ ล็กตรอนใช้ในการเปลีย่ นวงโคจร มีหน่วยเป็น จูล ( (J)
กับสมมติฐานขอที่ 1 ของโบร ในกรณีที่ไมมี
Eni คือ พลังงานของอิเล็กตรอนก่อนการเปลี่ยนวงโคจร มีหน่วยเป็น จูจูล (J)
( นักเรียนคนใดออกมา ครูอาจเพิ่มเงื่อนไขของ
En คือ พลังงานของอิเล็กตรอนหลังการเปลี่ยนวงโคจร มีหน่วยเป็น จูจูล (J)
( การเปนตัวแทนดวยการใหคะแนนพิเศษ
f 8. ครูถามคําถามทบทวนความรูท ไี่ ดศกึ ษามาแลว
จากสมการที่ 6.11 ถ้า ΔE มีค่าเป็นบวก (En > En ) แสดงว่าเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยน เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาใหมวา
i f
วงโคจร อิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมา ถ้า ΔE มีคา่ เป็นลบ (En < En ) แสดงว่าเมือ่ อิเล็กตรอน • สมมติฐานขอที่ 1 ของโบร มุง เนนศึกษาและ
i f
เปลี่ยนวงโคจร อิเล็กตรอนจะดูดกลืนพลังงานเข้าไป อธิบายเกี่ยวกับสิ่งใด
พิจารณาอิเล็กตรอนมวล m หากโคจรรอบนิวเคลียสโดยมีวงโคจรเป็นวงกลมรัศมี rn ได้ (แนวตอบ สมมติฐานขอที่ 1 ของโบร มุงเนน
ด้วยอัตราเร็วเชิงเส้น vn แสดงว่ามีแรงสูศ่ นู ย์กลาง (FC) ซึง่ มีคา่ เท่ากับแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้า ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การที่ อิ เ ล็ ก ตรอนเคลื่ อ นที่
บวก (q1) ของนิวเคลียสกับประจุไฟฟ้าลบ (q12) ของอิเล็กตรอน ซึ่งมีขนาดของแรงดึงดูดระหว่าง เปนวงกลมรอบนิวเคลียสในบางวงโคจรได
ประจุไฟฟ้า (FE) เป็นไปตามกฎของคูลอมบ์ และส�าหรับอะตอมไฮโดรเจน ขนาดประจุไฟฟ้าของ โดยไมแผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา
นิวเคลียสกับอิเล็กตรอนมีค่าเท่ากันเท่ากับ e จะได้ว่า
โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนจะมีคา เปน
FC = FE
จํานวนเทาของอนุภาคมูลฐาน)
mv2n ke2
rn = r2 (6.12)
n
คูณด้วย mr3n ทั้ง 2 ข้างของสมการที่ 6.12 จะได้ว่า
mv2n 3 ke2 3
rn (mrn) = r2 (mrn)
n
(mvnrn) = mke2rn
2

จากสมมติฐานข้อที่ 1 ของโบร์ สมการที่ 6.10 (mvnrn = nℏ) สามารถหารัศมีของ


วงโคจรของอิเล็กตรอนแต่ละวงโคจรได้ ดังนี้
n2ℏ2 = mke2rn
2

rn = (
mke )
2
n 2 (6.13)

ฟิสิกส์อะตอม 83

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


หากอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเคลือ่ นจากระดับพลังงาน 1 กฎของคูลอมบ คือ กฎที่กลาวถึงแรงระหวางจุดประจุ 2 จุด ที่กระทํากัน
ที่ 4 มาสูระดับพลังงานที่ 2 อยากทราบวา อิเล็กตรอนจะตองคาย ในแนวเสนตรงระหวางจุดประจุทงั้ สอง โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุ
พลังงานออกมากี่อิเล็กตรอนโวลต ตางชนิดกันจะดึงดูดกัน ขนาดของแรงจะแปรผันตรงกับขนาดของประจุทงั้ สอง
(แนวตอบ การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน พลังงานที่ (F ∝ q1q2) และขนาดของแรงแปรผกผันกับระยะหางระหวางจุดประจุยกกําลัง
คายออกมาสามารถหาได สอง (F ∝ 12 )
r
จากสมการ ∙ΔE ∙ = ∙Eni - Enf∙
r + F12
∙ΔE ∙ = ∙E4 - E2∙
q2
∙ΔE ∙ = -13.62 eV - (-13.62 eV ) +
4 2 q1
∙ΔE ∙ = -0.85 eV + 3.40 eV F21 -
F12
∙ΔE ∙ = 2.55 eV q2
F21
ดังนัน้ อิเล็กตรอนจะตองคายพลังงานออกมา 2.55 อิเล็กตรอน q1
โวลต) +
T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
9. ครูใหนักเรียนคูเดิมที่เคยรวมกันศึกษาเกี่ยว หากพิจารณาวงโคจรชั้นในสุด (n = 1) โดยแทนค่าคงตัวต่าง ๆ ลงในสมการที่ 6.13
กับสมมติฐานขอที่ 1 ของโบร รวมกันศึกษา จะได้ว่า r1 = 5.28 × 10-11 m กล่าวได้ว่า r1 เป็นรัศมีวงโคจรชั้นในสุดของอิเล็กตรอนส�าหรับ
สมมติฐานขอที่ 2 ของโบร จากหนังสือเรียน อะตอมไฮโดรเจน เรียกว่า รัศมีโบร์ (Bohr radius) สามารถเขียนแทนได้ดว้ ยสัญลักษณ์ a0 ส�าหรับ
10. ครู สั ง เกตพฤติ ก รรมนั ก เรี ย นรายบุ ค คล วงโคจรอื่น ๆ ที่อิเล็กตรอนของไฮโดรเจนสามารถอยู่ได้โดยไม่แผ่รังสี สามารถค�านวณหาค่ารัศมี
โดยครูสุมนักเรียนที่ไมคอยมีสมาธิหรือไม วงโคจรได้ จากสมการที่ 6.14
กระตือรือรน จากนั้นถามคําถามกับนักเรียน rn = a0n2 (6.14)
วา โบร์ตั้งข้อสังเกตว่า ตอนเริ่มต้นนิวเคลียสไม่เคลื่อนที่ จึงท�าให้พลังงานรวมของอะตอม
• สมมติฐานขอที่ 2 ของโบร มุงเนนศึกษา เท่ากับพลังงานรวมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ n รอบนิวเคลียส (En) หรือเท่ากับผลรวม
และอธิบายเกี่ยวกับสิ่งใด ของพลังงานศักย์ไฟฟ้ากับพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้
(แนวตอบ สมมติฐานขอที่ 2 ของโบร มุง เนน ดังสมการที่ 6.15
ศึกษาเกี่ยวกับการที่อิเล็กตรอนจะดูดกลืน En = Ep + Ek (6.15)
หรือคายพลังงานทุกครั้งเมื่ออิเล็กตรอน
เปลีย่ นวงโคจร โดยพลังงานทีอ่ เิ ล็กตรอนดูด พลังงานศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในสนามไฟฟ้าของนิวเคลียสในวงโคจรที่ n มีค่าเท่ากับ
กลืนหรือคายจะปรากฏในรูปคลืน่ แมเหล็ก Ep = ke(-e) ke2
r = - r
n n
ไฟฟาที่มีความถี่ f ตามสมมติฐานของ โดยที่เครื่องหมายลบ (-) คือ การที่อิเล็กตรอนถูกยึดไว้กับนิวเคลียสในอะตอม และ
พลังค) ส�าหรับพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนจะมีค่าเท่ากับ
11. ครูสุมถามคําถามกับนักเรียนวา 2
Ek = 12 mv2n = 12 ker
• รัศมีโบรคืออะไร n
(แนวตอบ รัศมีวงโคจรชั้นในสุดของ เมื่อน�าค่าพลังงานศักย์ไฟฟ้ากับพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนแทนลงในสมการที่ 6.15
อิเล็กตรอนสําหรับอะตอมไฮโดรเจน) จะได้ว่า
2
En = - ker + 12 ker
2
n n
2
En = - 12 kern (6.16)
จากสมการที่ 6.13 น�าค่า rn มาแทนลงในสมการที่ 6.16 จะได้ว่า
2 4
En = - 12 mk 2e ( 12 ) (6.17)
n

เมื่อพิจารณาที่ n = 1 จากสมการที่ 6.17 จะได้ว่า


2 4
E1 = - 12 mk 2e ( 12 ) = -2.176 × 10-18 J (6.18)
ℏ 1
84

ขอสอบเนน การคิด
จากทฤษฎีอะตอมของโบรที่วา โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนมีไดเฉพาะบางคาเทานั้น อยากทราบวา โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนขอใด
ตอไปนี้ไมสามารถเปนคาโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในสถานะใดๆ ของอะตอมไฮโดรเจนได
1. 1.05 × 10-34 จูล วินาที 2. 3.15 × 10-34 จูล วินาที 3. 4.20 × 10-34 จูล วินาที
4. 7.35 × 10-34 จูล วินาที 5. 8.20 × 10-34 จูล วินาที
(วิเคราะหคาํ ตอบ จากทฤษฎีอะตอมของโบร สามารถคํานวณหาโมเมนตัม พิจารณาที่ n = 1; L1 = 1(1.05 × 10-34 J s) = 1.05 × 10-34 J s
เชิงมุมของอิเล็กตรอนได พิจารณาที่ n = 2; L2 = 2(1.05 × 10-34 J s) = 2.10 × 10-34 J s
จากสมการ L = nℏ พิจารณาที่ n = 3; L3 = 3(1.05 × 10-34 J s) = 3.15 × 10-34 J s
L = n 2hπ พิจารณาที่ n = 4; L4 = 4(1.05 × 10-34 J s) = 4.20 × 10-34 J s
-34
L = n ( 6.626 ×2π10 J s ) พิจารณาที่ n = 5; L5 = 5(1.05 × 10-34 J s) = 5.25 × 10-34 J s
พิจารณาที่ n = 6; L6 = 6(1.05 × 10-34 J s) = 6.30 × 10-34 J s
L = n(1.05 × 10-34 J s) (1)
พิจารณาที่ n = 7; L7 = 7(1.05 × 10-34 J s) = 7.35 × 10-34 J s
จากสมการที่ (1) สามารถนํามาพิจารณาโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน
พิจารณาที่ n = 8; L8 = 8(1.05 × 10-34 J s) = 8.40 × 10-34 J s
ที่ระดับชั้นพลังงานตางๆ ดังนี้
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T92
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
จากสมการที ่ 6.18 กล่าวได้วา่ พลังงานรวมของอิเล็กตรอนมีคา่ เป็นลบ แสดงว่าพลังงาน 12. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการศึกษา
ศักย์ไฟฟ้าซึ่งเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้ามีค่าน้อยกว่าพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนมาก รวมกัน โดยครูอาจถามคําถามเพือ่ ใหนกั เรียน
อิเล็กตรอนจึงถูกยึดเหนี่ยวไว้ในวงโคจรรอบนิวเคลียส พลังงานนี้อาจเรียกว่า พลังงานยึดเหนี่ยว ไดเกิดกระบวนการคิดวา “เมือ่ ธาตุแตละชนิด
(binding energy) ของอะตอม สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ของพลังงานรวมของอิเล็กตรอน ไดรับพลังงานกระตุนจะมีการปลอยพลังงาน
ในวงโคจรที่ n รอบนิวเคลียสได้ ดังสมการที่ 6.19 ออกมา เราสามารถอธิบายการเกิดสเปกตรัม
ที่เกิดขึ้นในกรณีนี้ไดวาอยางไร” ครูท้ิงชวง
E1 (6.19)
En = เวลาใหนักเรียนคิดสักครูหนึ่ง
n2
13. ครูนาํ อภิปรายวา เมือ่ อะตอมของธาตุใดๆ ได
En คือ พลังงานรวมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ n มีหน่วยเป็น จูล (J)
E1 คือ พลังงานรวมของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 1 มีค่าเท่ากับ -2.176 × 10-18 จูล (J) รับพลังงานจํานวนหนึง่ ทําใหอเิ ล็กตรอนทีอ่ ยู
n คือ วงโคจร ซึ่งเป็นจ�านวนเต็มบวก (
บวก (n = 1, 2, 3, …) ในวงโคจรหนึง่ ๆ มีพลังงานสูงขึน้ อิเล็กตรอน
จึงเคลื่อนที่จากสถานะพื้น (ground state)
เมื่อพิจารณาสมการที่ 6.19 แล้ว พบว่า พลังงานรวมของอิเล็กตรอนจะมีได้เฉพาะ ไปยังสถานะถูกกระตุน (excited state) แต
บางค่า โดยมีค่าเป็นขั้นหรือระดับตามวงโคจร n เรียกได้ว่าเป็น ระดับพลังงาน (energy level) อิเล็กตรอนที่อยูในสถานะถูกกระตุนจะไม
ของอะตอมไฮโดรเจน กล่าวได้ว่า พลังงานรวมของอะตอมไฮโดรเจนที่ระดับพลังงานต่าง ๆ มีค่า เสถียร จึงเคลื่อนที่กลับมายังสถานะพื้นหรือ
แปรผกผันกับ n2 ดังนัน้ พลังงานรวมของอะตอมจะมีคา่ น้อยทีส่ ดุ เมือ่ อิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส สถานะเดิมที่มีพลังงานตํ่ากวา พรอมกับคาย
ที่วงโคจรชั้นในสุด (n = 1) เรียกสภาวะนี้ว่า สถานะพื้น (ground state) ซึ่งเป็นสภาวะที่อะตอมมี พลังงานออกมาในรูปพลังงานแสงสเปกตรัม
เสถียรภาพมากทีส่ ดุ หากอิเล็กตรอนได้รบั พลังงานเพิม่ ขึน้ พลังงานรวมของอิเล็กตรอนก็จะเพิม่ ขึน้
ไปอยูร่ ะดับพลังงานทีส่ งู กว่าสถานะพืน้ (n ≥ 2) สถานะถูกกระตุ้น (n)
ตั้ ง แต่ ที่ ร ะดั บ พลั ง งาน E 2 , E 3 , E 4 , …
เรียกสภาวะเหล่านีว้ า่ สถานะถูกกระตุน้ (excited
state) ดังภาพที่ 6.22 และในทางกลับกัน หาก สถานะพื้น (n = 1)
อิเล็กตรอนอยูใ่ นสถานะถูกกระตุน้ พร้อมจะกลับ
ภาพที่ 6.22 การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
สูส่ ถานะพืน้ ตลอดเวลาซึง่ จะปลดปล่อยหรือคาย จากสถานะถูกกระตุ้นกลับสู่สถานะพื้น โดยการแผ่
พลังงานออกมาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
P hysics
Focus หน่วยวัดพลังงานของอะตอม
อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) เป็นหน่วยวัดพลังงานของอะตอมหน่วยหนึง่ โดยเมือ่ น�าไปเทียบกับหน่วย
จูล ซึ่งเป็นหน่วยวัดพลังงานในระบบเอสไอ กล่าวได้ว่า “พลังงาน 1 อิเล็กตรอนโวลต์ เทียบเท่ากับงาน
ทีใ่ ช้ในการเคลือ่ นทีอ่ นุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้า e ผ่านความต่างศักย์ 1 โวลต์ ได้พอดี” จากสมการ W = qV
จะได้ว่า 1 eV = (1.6 × 10-19 C)(1 V) = 1.6 × 10-19 J
ฟิสิกส์อะตอม 85

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


จากทฤษฎีอะตอมของโบร หากกระตุน ใหอะตอมของไฮโดรเจน ครูอาจนําขอมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนจาก
ที่อยูในสถานะกระตุนใหเปลี่ยนระดับชั้นพลังงานไปยัง n = 4 สถานะพื้นไปสูสถานะกระตุนโดยการดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟามาอธิบาย
สเปกตรัมแบบเสนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมีพลังงานเทาใด หรือใหนักเรียนไดศึกษากอน เพื่อเปนการศึกษาความรูนอกเหนือจากหนังสือ
E
(แนวตอบ จากสมการ En = 12 เรี ย น ซึ่ ง จากหนั ง สื อ เรี ย นจะเป น การแสดงให เ ห็ น ถึ ง การคายหรื อ การแผ
n -18 คลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมาเพื่อที่อิเล็กตรอนจากสถานะถูกกระตุนจะกลับสู
E4 = -2.176 ×210 J
4 สถานะพื้น ในทางกลับกัน อิเล็กตรอนที่จะเปลี่ยนไประดับพลังงานที่สูงกวาจะ
E4 = -0.136 × 10-18 J ตองมีพลังงานมากกวาพลังงานยึดเหนีย่ วในระดับพลังงานทีโ่ คจรอยู ณ ปจจุบนั
จากสมการ ∙ΔE ∙ = ∙Eni - Enf ∙
∙ΔE ∙ = ∙E1 - E4∙ E2 สถานะกระตุน สถานะกระตุน
∙ΔE ∙ = ∙(-2.176 × 10-18 J) - (-0.136 × 10-18 J)∙
∙ΔE ∙ = 2.04 × 10-18 J โฟตอนถูกดูดกลืน
∙ΔE ∙ = 2.04 ×-19 10-18 J = 12.75 eV โฟตอนถูกปลอยออกมา
1.6 × 10 J/eV E1 สถานะพื้น สถานะพื้น
ดังนั้น สเปกตรัมแบบเสนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมี
พลังงานเทากับ 12.75 อิเล็กตรอนโวลต)
T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
14. ครูถามนักเรียนวา จากสมมติฐานของโบร์ สามารถน�าไปค�านวณหาความยาวคลืน่ ของแสงในสเปกตรัมเส้น
• นักเรียนรูจักหนวยอิเล็กตรอนโวลตหรือไม สว่างของอะตอมไฮโดรเจน (โฟตอนที่อิเล็กตรอนแผ่ออกมา) ได้ โดยมีความสัมพันธ์ ดังนี้
คือหนวยของปริมาณใด และมีคาเทากับ จากสมการที่ 6.11 hf = Eni - Enf
เทาใดเมื่อเทียบกับหนวยในระบบเอสไอ hc = - 1 mk2e4 1 - - 1 mk2e4 1
(แนวตอบ หนวยของพลังงานของอะตอม จะได้ว่า λ 2 ℏ2 ( n2) ( 2 ℏ2 ( n2))
i f
เมื่อเทียบกับหนวยของพลังงานในระบบ 2 2 4
1 = 2π mk e 1 - 1
h3c ( n2f n2i )
เอสไอจะมีคาเทากับ 1.6 × 10-19 จูล) λ
(6.20)
15. ครูใหนักเรียนศึกษาความสัมพันธของความ 2 2 4
ยาวคลื่ น แสงในสเปกตรั ม เส น สว า งของ เมื่อแทนค่าต่าง ๆ ในเทอม 2π mk 3
e จะได้เท่ากับ 1.0974 × 107 ต่อเมตร ซึ่งเป็น
hc
อะตอมไฮโดรเจน และอนุกรมเสนสเปกตรัม ค่าคงตัว เรียกว่า ค่าคงตัวริดเบิร์ก (Rydberg constant; RH) และเมื่อน�าไปแทนในสมการที่ 6.20
ของอะตอมไฮโดรเจน จากหนังสือเรียน จะสามารถค�านวณหาความยาวคลื่นของแสงในสเปกตรัมเส้นสว่างของอะตอมไฮโดรเจนได้
16. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สนทนาเกี่ ย วกั บ ดังสมการที่ 6.21
อนุกรมเสนสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
จนไดขอสรุปตามตารางที่ 6.2 จากหนังสือ 1 = R 1 1 (6.21)
เรียน
λ H ( n2f - n2i )
λ คือ ความยาวคลืน่ ของแสงในสเปกตรัมเส้นสว่างของอะตอมไฮโดรเจน มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)
RH คือ ค่าคงตัวริดเบิร์ก มีค่าเท่ากับ 1.0974 × 107 ต่อเมตร (m-1)
ni คือ ระดับพลังงานเริ่มต้นของอิเล็กตรอน
nf คือ ระดับพลังงานสุดท้ายของอิเล็กตรอน
n E∞ = 0 eV
ความยาวคลื่ น ที่ ไ ด้ จ าก ∞

8
การค�านวณโดยใช้สมการที่ 6.21 7
6
5 E = -0.54 eV
จะสอดคล้องกับระดับพลังงานของ 4
3
อนุกรมฟุนด์ (อินฟราเรด)
อนุกรมแบรกเกต (อินฟราเรด) E54 = -0.85 eV
อนุกรมพาสเชน (อินฟราเรด) E3 = -1.51 eV
เส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
ที่เกิดจากการที่อิเล็กตรอนเปลี่ยน 2
อนุกรมบัลเมอร์ (แสงที่ตามองเห็น)
E2 = -3.40 eV

ระดับพลังงาน แล้วคายออกมาในรูป พลังงาน


ของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า โดยแบ่งเป็น
อนุกรมต่าง ๆ ตามระดับพลังงานที่
อิเล็กตรอนเปลี่ยนลงมาอยู่ ดังภาพ
1 E1 = -13.60 eV
ที่ 6.23 อนุกรมไลมาน (รังสีอัลตราไวโอเลต)
ภาพที่ 6.23 อนุกรมเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
86

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหนักเรียนไดลองแทนคาตัวแปรตางๆ ในเทอมของ 2π2mk2e4 ในชวงระดับพลังงานตํ่าสุด 3 ระดับแรก ของอะตอมของ
3
hc ไฮโดรเจน จากทฤษฎีอะตอมของโบร คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ตรวจ
เพือ่ คํานวณออกมาใหไดคา ทีต่ รงกับคาคงตัวริดเบิรก (RH) ซึง่ มีคา เทากับ 1.0974
× 107 ตอเมตร โดยครูมอบหมายใหนักเรียนแตละคนเขียนแสดงวิธีการคํานวณ พบจะอยูในชุดความถี่ที่เรียกวาอะไร
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว เพือ่ เปนหลักฐานในการตรวจสอบความรูค วามเขาใจ (แนวตอบ จากโจทย สามารถเขียนแผนภาพอนุกรมเสนสเปกตรัม
ของนักเรียนในเบื้องตน และครูอาจตองกําชับกับนักเรียนวา หนวยของตัวแปร ของอะตอมของไฮโดรเจนได ดังนี้
E3
แตละตัวเปนสิ่งสําคัญ นักเรียนจะตองใสหนวยลงไปในการคํานวณเพื่อสุดทาย f2
แลวจะเหลือหนวยที่ถูกตอง E2
f1 f3
E1
จะเห็นไดวา ระดับพลังงานตํ่าสุด 3 ระดับแรก เมื่ออะตอม
ไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจากสถานะกระตุนลงมาสูสถานะ
พื้นจะคายคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมามีความถี่ f1 f2 และ f3 ตาม
ลําดับ ดังนั้น จะอยูในชุดอนุกรมไลมานและอนุกรมบัลเมอร)
T94
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
จากภาพที่ 6.23 สามารถสรุปอนุกรมเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนได้จากการที่ 17. ครูใหนักเรียนปดหนังสือเรียน ครูอานโจทย
อิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงาน ดังตารางที่ 6.2 หรือขอคําถามจากตัวอยางที่ 6.11 ใหนกั เรียน
จดลงในสมุดบันทึกประจําตัว จากนัน้ ใหเวลา
ตารางที่ 6.2 : อนุกรมเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
นักเรียนสักครูหนึ่งในการแสดงวิธีแกโจทย
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่เปลี่ยนไป
อนุกรม ปญหาเพือ่ หาคําตอบ เสร็จแลวครูทาํ เชนเดิม
ระดับพลังงาน ni ระดับพลังงาน nf โดยใชตวั อยางที่ 6.12-6.13 จนนักเรียนแสดง
อนุกรมไลมาน (Lyman series) 2, 3, 4, … 1 วิธีทําจนเสร็จทุกคน
อนุกรมบัลเมอร์ (Balmer series) 3, 4, 5, … 2 18. ครู เ ดิ น ตรวจคํ า ตอบของนั ก เรี ย นทุ ก คน
อนุกรมพาสเชน (Paschen series) 4, 5, 6, … 3 จากนั้นครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมาแสดง
อนุกรมแบรกเกต (Brackett series) 5, 6, 7, … 4 วิธีทําและอธิบายขั้นตอนการแกโจทยปญหา
อนุกรมฟุนด์ (Pfund series) 6, 7, 8, … 5 หนาชัน้ เรียนคนละ 1 ขอ โดยครูคอยสอบถาม
นักเรียนคนอื่นๆ วามีใครที่แสดงวิธีทําตาง
แบบจ�าลองอะตอมโบร์สามารถอธิบายได้วา่ เหตุใดอิเล็กตรอนในอะตอมจึงอยูไ่ ด้โดยไม่ถกู
จากบนกระดานบาง ถามี ครูใหนักเรียนคน
ดูดเข้าไปในนิวเคลียส และอธิบายการเกิดสเปกตรัมได้สอดคล้องกับการทดลอง แต่ไม่สามารถน�าไป
นั้นออกมาอธิบายวิธีของตนเองหนาชั้นเรียน
อธิบายอะตอมที่มีอิเล็กตรอนหลายตัวได้ และเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนเมื่อใช้สเปกโทรมิเตอร์
ที่มีก�าลังขยายสูง พบว่า แต่ละเส้นยังมีเส้นย่อยเล็ก ๆ อยู่ชิดกันมาก ซึ่งแบบจ�าลองอะตอมของ จากนั้นครูชี้แนะและอธิบายวิธีการที่ถูกตอง
โบร์ไม่สามารถอธิบายได้ว่าเกิดจากสาเหตุใด 19. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน
ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่อง ระดับพลังงานของ
ตัวอย่างที่ 6.11 อะตอมตามสมมติฐานทั้ง 2 ขอของโบร โดย
อิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน ถูกกระตุ้นจนขึ้นไปอยู่ในระดับพลังงานที่ 3 จากนั้นอิเล็กตรอนจึงกลับ ครู สุ  ม นั ก เรี ย นจํ า นวนหนึ่ ง ออกมาหน า ชั้ น
สู่สถานะพื้น แล้วปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้มีความยาวคลื่นเท่าใด เรียน เพื่ออธิบายผลการศึกษาในแตละหัวขอ
วิธีท�า ค�านวณหาความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากการเปลี่ยนระดับพลังงาน
จากระดับพลังงานที่ 3 ไปยังระดับพลังงานที่ 1
จากสมการที่ 6.21 λ1 = RH 12 - 12

( nf ni )
1 = (1.0974 × 107 m-1) 1 - 1 = (1.0974 × 107 m-1)( 8 )
λ ( 12 32 ) 9
λ = 9 = 102.5 × 10-9 m
(1.0974 × 107 m-1)(8)
ดังนั้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากการคายพลังงานของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานที่ 3
ลงไปยังระดับพลังงานที่ 1 มีความยาวคลื่นเท่ากับ 102.5 นาโนเมตร

ฟิสิกส์อะตอม 87

ขอสอบเนน การคิด
เมื่ออิเล็กตรอนชนแกสไฮโดรเจน อยากทราบวา อิเล็กตรอนจะตองมีพลังงานอยางนอยกี่จูลจึงจะสามารถใหสเปกตรัมเสนแรกของแสงยานที่
ตาเรามองเห็นได
1. 3.02 × 10-19 จูล 2. 3.44 × 10-19 จูล 3. 4.03 × 10-19 จูล 4. 3.02 × 10-18 จูล 5. 5.20 × 10-18 จูล
(วิเคราะหคําตอบ การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่ให คํานวณหาพลังงานที่ใชในการเปลี่ยนจากระดับพลังงานชั้นที่ 3
คลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงที่ตามองเห็นได คือ อนุกรมบัลเมอร หรือ มาระดับพลังงานชั้นที่ 2
การเปลี่ยนจากวงนอกใดๆ มาที่ระดับพลังงานชั้นที่ 2 จากสมการ ∙ΔE ∙ = ∙En - En ∙
i f
จากสมการ En = -13.6 eV ∙ΔE ∙ = ∙E3 - E2 ∙
n2 ∙ΔE ∙ = ∙-1.51 eV - (-3.40 eV)∙
ระดับพลังงานที่ 2; E2 = -13.6 eV
∙ΔE ∙ = 1.89 eV
22
E2 = -3.40 eV เนื่องจาก 1 อิเล็กตรอนโวลต มีคาเทากับ 1.6 × 10-19 จูล
-19
ระดับพลังงานที่ 3; E3 = -13.62 eV จะไดวา ΔE = (1.89 eV)(1.6 × 10 J/eV)
3 ΔE = 3.02 × 10 J
-19
E3 = -1.51 eV นั่นคือ อิเล็กตรอนจะตองมีพลังงานอยางนอย 3.02 × 10-19 จูล
ดังนั้น ตอบขอ 1.)
T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
20. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ ตัวอย่างที่ 6.12
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง อิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุ้นจนขึ้นไประดับพลังงานที่ 4 จากนั้นอิเล็กตรอนคายพลังงาน
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด กลับสู่ระดับพลังงานที่ 2 แล้วปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้มีความยาวคลื่น
ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ เท่าใด และเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชนิดใด
สิ่งที่แตกตาง วิธีท�า ค�านวณหาความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากการเปลี่ยนระดับพลังงาน
21. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ จากระดับพลังงานที่ 4 ไปยังระดับพลังงานที่ 2
เกี่ยวกับระดับพลังงานของอะตอมเพิ่มเติม จากสมการที่ 6.21 λ1 = RH ( 12 - 12)
จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร nf ni
และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ λ1 = (1.0974 × 107 m-1)( 12 - 12 ) = (1.0974 × 107 m-1)(163 )
2 4
เรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม λ = 16 = 486 × 10-9 m
(1.0974 × 107 m-1)(3)
ลงมือท�า (Doing) ดังนั้น คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีป่ ล่อยออกมามีความยาวคลืน่ เท่ากับ 486 นาโนเมตร ซึง่ เป็นคลืน่ แม่เหล็ก
22. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ ทฤษฎี ไฟฟ้าในช่วงแสงที่ตามองเห็น
อะตอมของโบร โดยสรางสรรคผลงานออกมา
ในรูปแบบของผังมโนทัศน ลงในกระดาษ A4 ตัวอย่างที่ 6.13
พรอมทัง้ ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครู พลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนในระดับพลังงานที่ 2 และ 6 มีค่าเท่ากับเท่าใดในหน่วยจูล
เพื่อตรวจใหคะแนน และหน่วยอิเล็กตรอนโวลต์
23. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอผลงาน
วิธีท�า พลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนสามารถหาค่าได้
ของตนเองหนาชั้นเรียน E
จากสมการที่ 6.19 En = 21
n
ระดับพลังงานที่ 2; E2 = -2.176 × 10-18 J = -5.44 × 10-19 J
22
-19 J
E2 = -5.44 × 10
-19 = -3.4 eV
1.6 × 10 J/eV
-18
ระดับพลังงานที่ 6; E6 = -2.176 ×2 10 J = -6.04 × 10-20 J
6
E6 = -6.04 × 10-20 J = -0.38 eV
1.6 × 10-19 J/eV
ดังนั้น พลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนที่ระดับพลังงานที่ 2 มีค่าเท่ากับ -5.44 × 10-19 จูล
หรือ -3.4 อิเล็กตรอนโวลต์ และที่ระดับพลังงานที่ 6 มีค่าเท่ากับ -6.04 × 10-20 จูล หรือ -0.38
อิเล็กตรอนโวลต์
88

ขอสอบเนน การคิด
พิจารณาสเปกตรัมเสนสวางของอะตอมไฮโดรเจน หากเสนสวางลําดับแรกที่สังเกตเห็นไดอยางชัดเจนมีความยาวคลื่นมากที่สุดเทากับ 700
นาโนเมตร จากอนุกรมบัลเมอร อยากทราบวา เสนสวางลําดับที่สองจะมีความยาวคลื่นประมาณเทาใด
1 = R 1 - 1
H( 2
nf ni2 )
(แนวตอบ จากสมการ λ
พิจารณา ni = 4 และ λ = x จะไดวา
1 = R 1 - 1
อนุกรมบัลเมอรระดับพลังงานตํ่าสุด คือ n = 2 x H( 2 2)
2 4
1 = R 1 - 1 1 = R 3
H( 2
2 ni2 )
จะไดวา H ( 16 ) (2)
λ x
พิจารณา ni = 3 และ λ = 700 นาโนเมตร จะไดวา นําสมการที่ (1) หารดวยสมการที่ (2) จะไดวา
1 x = 5 16
700 × 10-9 m
= RH ( 12 - 12 )
2 3 700 × 10-9 m ( 36 )( 3 )
5 16 (700 × 10-9 m)
x = ( 36
1 = RH ( 365 )( 3 )
700 × 10-9 m ) (1)
x = 518.52 × 10-9 m
x = 518 nm
ดังนั้น เสนสวางลําดับที่สองจะมีความยาวคลื่นประมาณ 518 นาโนเมตร)

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
24. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นสนทนาเกี่ ย วกั บ นั ก
4.2 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ วิทยาศาสตรที่นักเรียนชื่นชอบและรูจัก โดย
ใน พ.ศ. 2457 เจมส์ ฟรังก์ (James Franck) และกุสตาฟ เฮิรตซ์1 (Gustav Hertz) ได้ ครู สุ  ม ถามนั ก เรี ย นเป น รายบุ ค คลเพื่ อ ให
ท�าการทดลองที่สนับสนุนทฤษฎีอะตอมของโบร์ที่ว่า อะตอมมีระดับพลังงานเป็นขั้น ๆ โดยใช้ชุด
นั ก เรี ย นได นํ า เสนอชื่ อ และข อ มู ล ของนั ก
การทดลองที่ปรับพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนให้เคลื่อนที่ไปชนกับอะตอมของปรอท เพื่อที่จะ
ศึกษาการรับพลังงานของอะตอม ดังภาพที่ 6.25 วิทยาศาสตรในใจตนเอง
(-) ตะแกรงส�าหรับเร่งอิเล็กตรอน 25. ครูมอบหมายใหนกั เรียนใชสอื่ ดิจทิ ลั ทัง้ หลาย
ไอปรอท
(+)
(-) ในการสืบคนขอมูลเกีย่ วกับ เจมส ฟรังก และ
e- กุสตาฟ เฮิรตซ โดยกําหนดใหเขียนขอมูล
e- ที่เกี่ยวของกับทั้ง 2 คน ลงในกระดาษ A4

าพที่ 6.24 ชุดอุปกรณ์การทดลอง
ของฟรังก์และเฮิรตซ์ ใหไดมากที่สุดในเวลาที่ครูกําหนด
ที่มา : คลังภาพ อจท.
26. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนทราบขอมูลอะไร
แคโทด A แผ่นรองรับ ของทั้ง 2 คนบาง และขอมูลอะไรที่มีสวน
จากการทดลอง พบว่า ถ้าพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนน้อยกว่า 4.9 อิเล็กตรอนโวลต์ สํ า คั ญ และเกี่ ย วข อ งกั บ ฟ สิ ก ส อ ะตอมบ า ง
อิเล็กตรอนจะไม่สูญเสียพลังงานจลน์เลย เมื่อเพิ่มพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนไปถึงประมาณ 5 จากนั้นครูสุมนักเรียนใหยืนขึ้นแลวนําเสนอ
อิเล็กตรอนโวลต์ อิเล็กตรอนจะถ่ายโอนพลังงานให้อะตอมของปรอทประมาณ 4.9 อิเล็กตรอน ขอมูลทีไ่ ดศกึ ษามาพรอมทัง้ ตอบคําถามทีค่ รู
โวลต์ และถ้าเพิม่ พลังงานจลน์ขนึ้ ไปอีก การถ่ายโอนพลังงานของอิเล็กตรอนให้อะตอมของปรอทก็ กําหนดให
ยังคงเป็น 4.9 อิเล็กตรอนโวลต์ จึงสรุปได้ว่า พลังงานของอะตอมปรอท มีลักษณะเป็นระดับ 27. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง การทดลองของฟรังก
ชั้นที่ไม่ต่อเนื่อง และจากทฤษฎีอะตอมของโบร์ เมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมของปรอทลดระดับ และเฮิรตซ จากหนังสือเรียน โดยจดบันทึก
พลังงานมายังสถานะพื้น จะต้องให้โฟตอนที่มีพลังงานเท่ากับ 4.9 อิเล็กตรอนโวลต์ ซึ่งจากการ ขอมูลลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ทดลองปรากฏว่า วัดความยาวคลื่นแสงที่เปล่งออกมาจากไอปรอทได้ 253.5 นาโนเมตร ตรงกับ 28. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept
พลังงานของแสงเท่ากับ 4.9 อิเล็กตรอนโวลต์ พอดี ดังภาพที่ 6.25
Question จากหนังสือเรียน
300 Conc��t Q�e����n
กระแสไฟฟ้า (Arbitrary Unit)

จากการทดลองของฟรังกและเฮิรตซ สามารถ
200 คํานวณเพื่อใหไดคาความยาวคลื่นแสงที่เปลง
ออกมาจากไอปรอทไดอยางไร
100

าพที่ 6.25 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้าของปรอท แนวตอบ Concept Question
00 5 10 ที่มา : คลังภาพ อจท.
ความต่างศักย์ (V) สามารถหาไดโดยอาศัยสมมติฐานของพลังค
1
เนื่องจากราชบัณฑิตยสภาก�าหนดให้สะกดตัวสะกดชื่อและสกุล ตามเสียงในเชื้อชาติดั้งเดิมตามก�าเนิดของนักวิทยาศาสตร์ผู้นั้น กล่าวคือ ชื่อ
จากสมการ E = hc λ
โดยเมื่อแทนคาปริมาณตางๆ
Gustav Hertz ก�าหนดให้ใช้ว่า กุสตาฟ แฮทซ์ แต่เพื่อให้ง่ายต่อการการท�าความเข้าใจ ในหนังสือเล่มนี้จะใช้ว่า กุสตาฟ เฮิรตซ์
ฟิสิกส์อะตอม 89
ลงไปในสมการแลวคํานวณออกมา จะไดคาความ
ยาวคลื่ น แสงที่ เ ปล ง ออกมาจากไอปรอทเท า กั บ
253.5 นาโนเมตร

ขอสอบเนน การคิด
พลังงานตํ่าสุดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเทากับ -13.6 อิเล็กตรอนโวลต หากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 3 ไปยัง n = 2
จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัมเทาใด
1. 1.89 อิเล็กตรอนโวลต 2. 2.09 อิเล็กตรอนโวลต 3. 2.77 อิเล็กตรอนโวลต
4. 3.92 อิเล็กตรอนโวลต 5. 4.35 อิเล็กตรอนโวลต
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ En = -13.62 eV จากสมการ ∙ΔE ∙ = ∙Eni - Enf ∙
n
-13.6 eV ∙ΔE ∙ = ∙(-1.51 eV) - (-3.40 eV)∙
พิจารณาที่ n = 2; E2 =
22 ∙ΔE ∙ = 1.89 eV
E2 = -13.6 eV
4 นั่นคือ หากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 3 ไปยัง n = 2
E2 = -3.40 eV จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัมเทากับ 1.89 อิเล็กตรอนโวลต ดังนั้น
พิจารณาที่ n = 3; E3 = -13.6 eV ตอบขอ 1.)
32
E3 = -13.6 eV
9
E3 = -1.51 eV

T97
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
29. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุป และหลังจากที่ฟรังก์และเฮิรตซ์ได้ท�าการทดลองแล้ว ได้มีนักวิทยาศาสตร์ท�าการทดลอง
เกี่ยวกับการทดลองของฟรังกและเฮิรตซวา เพิ่มเติม พบว่า อะตอมปรอทสามารถดูดกลืนหรือรับพลังงานค่าอื่น ๆ ได้อีก ดังภาพที่ 6.26
นอกจากไอปรอทแลว นักวิทยาศาสตรหลาย n = 4 10.4 eV E = 10.4 eV
n = 3 E = 6.7 eV
คนยังไดทําการทดลองเพิ่มเติมโดยใชธาตุ 6.7 eV
ชนิ ด อื่ น ซึ่ ง ก็ ใ ห ผ ลคล า ยคลึ ง กั บ ไอปรอท n = 2 E = 4.9 eV
คือ ในการชนระหวางอิเล็กตรอนกับอะตอม
อะตอมจะดูดกลืนพลังงานไดบางคาเทานั้น 4.9 eV

กลาวคือ พลังงานของอะตอมมีคา ไมตอ เนือ่ ง n = 1 E = 0 eV


เปนไปตามสมมติฐานของโบร ภาพที่
6.26 การดูดกลืนพลังงานของอะตอมปรอท
30. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจกับนักเรียน ที่มา : คลังภาพ อจท.
วา นักเรียนรูจ กั รังสีเอกซหรือไม และรังสีเอกซ เมื่อได้ท�าการทดลองกับธาตุชนิดอื่นก็ให้ผลคล้ายคลึงกับกรณีปรอท คือ ในการชนระหว่าง
สามารถนําไปใชประโยชนอะไรไดบา งในชีวติ อิเล็กตรอนกับอะตอม อะตอมจะดูดกลืนพลังงานได้เพียงบางค่าเท่านั้น กล่าวได้ว่า พลังงานของ
ประจําวัน จากนัน้ ครูสมุ นักเรียนเพือ่ ใหแสดง อะตอมมีค่าไม่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานของโบร์
ความคิดเห็นของตนเอง 4.3 รังสีเอกซ์
ใน พ.ศ. 2438 วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen) นักฟิสิกส์
ชาวเยอรมัน ได้คน้ พบรังสีชนิดใหม่จากการทดลองโดยบังเอิญ ในขณะทีเ่ ขาท�าการทดลองเกีย่ วกับ
การน�ากระแสไฟฟ้าผ่านแก๊สในหลอดรังสีแคโทดในห้องที่มืดสนิท เขาสังเกตว่า แร่แบเรียม
แพลทิโนไซยาไนด์ (Barium Platinocyanide) ทีว่ างอยูห่ า่ งจากหลอดรังสีแคโทดเกิดการเรืองแสง
ขึ้น ซึ่งในขณะนั้นเขาทราบดีว่าแร่ชนิดนี้จะเรืองแสงได้เมื่อได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตเท่านั้น ท�าให้
เขาคิดว่า จะต้องมีรังสีบางอย่างเกิดขึ้นจากหลอดรังสีแคโทด และมีอ�านาจทะลุผ่านสูงจนสามารถ
ผ่านผนังหลอดแคโทดไปยังก้อนแร่ได้ ซึ่งเป็นรังสีบางอย่างที่ยังไม่มีใครรู้จักมากก่อน เรินต์เกน
จึงเรียกรังสีนี้ว่า รังสีเอกซ์ (X-rays)
P hysics
Focus วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (พ.ศ. 2388-2466) นักฟิสิกส์ชาว
เยอรมัน ผูค้ น้ พบและสร้างคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีเ่ รียกว่า รังสีเอกซ์ (X-rays)
อาจเรียกรังสีนี้เพื่อให้เกียรติผู้ค้นพบว่า รังสีเรินต์เกน ความส�าเร็จจาก
การค้นพบรั1งสีเอกซ์โดยบังเอิญของเรินต์เกนนี้เองที่ท�าให้เรินต์เกนได้รับ
รางวัลโนเบลรางวัลแรก ใน พ.ศ. 2444
ภาพที่ 6.27 วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
90

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 รางวัลโนเบล (Nobel Prize) คือ รางวัลประจําประดับนานาชาติ ซึ่งจัด ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง
โดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและ รังสีเอกซ จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด
ความเชี่ยวชาญที่โดดเดนหรือสรางคุณประโยชนใหกับมนุษยชาติ ทั้งในดาน จากนั้นนําความรูที่ไดมาสรุปเปนองคความรูตามความเขาใจของ
วิทยาศาสตรและวัฒนธรรม ตามเจตจํานงของอัลเฟรด เบิรนฮารด โนเบล ตนเอง โดยเขียนลงในสมุดบันทึกประจําตัวดวยลายมือตัวบรรจง
(Alfred Bernhard Nobel) (พ.ศ. 2376-2439) นักเคมี วิศวกร และนักประดิษฐ ซึง่ ครูกาํ หนดใหแตละคนเขียนสรุปมาไมนอ ยกวา 3 หนา เสร็จแลว
ชาวสวีเดน ผูผลิตอาวุธและผูคิดคนดินระเบิดไดนาไมต รางวัลโนเบลกอตั้งขึ้น ตัวแทนเก็บรวบรวมสงครูเพื่อครูตรวจและใหเปนคะแนนจิตพิสัย
ครั้งแรกใน พ.ศ. 2438 โดยการมอบรางวัลโนเบลครั้งแรกในสาขาฟสิกส สาขา
เคมี สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย สาขาวรรณกรรม และสาขาสันติภาพ เริ่ม
มอบรางวัลใน พ.ศ. 2444 และในปนี้เอง วิลเฮลม คอนราด เรินเกนต เปนผูได
รับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสเปนคนแรก จากการคนพบรังสีเอกซ

T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)

ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้ศกึ ษาและทดลองเกีย่ วกับรังสีชนิดนีม้ ากขึน้ และสรุปคุณสมบัตขิ อง 31. ครูถามคําถามกับนักเรียนตอวา นักเรียนทราบ


รังสีเอกซ์ได้ ดังนี้ หรือไมวารังสีเอกซมีที่มาอยางไร โดยครูทิ้ง
1. รังสีเอกซ์เป็นทั้งคลื่นและอนุภาค เพราะรังสีเอกซ์สามารถแสดงคุณสมบัติของคลื่นได้ ชวงเวลาใหนักเรียนคิดหาคําตอบสักครูหนึ่ง
คือ มีการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน นอกจากนี้ ยังมีคุณสมบัติของ เพื่อนําเขาสูบทเรียน
อนุภาคเพราะมีโมเมนตัมเหมือนอนุภาคทั่วไป 32. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
2. รังสีเอกซ์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ไม่สามารถที่จะถูกเบี่ยงเบนโดยสนามแม่เหล็กและ รวมกันศึกษา เรื่อง รังสีเอกซ จากหนังสือ
สนามไฟฟ้า ซึ่งรังสีเอกซ์มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงประมาณ 0.01-10 นาโนเมตร ที่ไม่ใช่ช่วงแสง เรียน โดยจดบันทึกและสรุปความรูที่ไดลงใน
ที่ตามองเห็น เราจึงไม่สามารถมองเห็นรังสีเอกซ์ได้ สมุดบันทึกประจําตัว
3. รังสีเอกซ์ ประกอบด้วยรังสีทมี่ คี วามยาวคลืน่ แตกต่างกันมาก เคลือ่ นทีเ่ ป็นเส้นตรงด้วย 33. ครูใหนักเรียนปดหนังสือเรียน ครูสุมตัวแทน
อัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ คือ 3 × 108 เมตรต่อวินาที นักเรียน 6 คน ใหพดู สมบัตขิ องรังสีเอกซจาก
4. รังสีเอกซ์สามารถทะลุผ่านวัตถุที่ไม่หนาจนเกินไปและมีความหนาแน่นน้อย ๆ ได้ เช่น หนังสือเรียนมาคนละ 1 ขอ หามซํ้ากัน เพื่อ
กระดาษ ไม้ เนื้อเยื่อของคนและสัตว์ แต่ถ้าผ่านวัตถุที่มีความหนาแน่นมาก ๆ เช่น แพลทินัม ทดสอบความกระตือรือรนและใสใจในการ
ตะกั่ว กระดูก อ�านาจทะลุผ่านก็จะลดลง ศึกษา
5. รังสีเอกซ์สามารถท�าให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนได้
6. เมื่อรังสีเอกซ์สัมผัสกับฟิล์มถ่ายภาพ ฟิล์มนั้นจะกลายเป็นสีด�า ผลที่เกิดขึ้นจึงน�าไปสู่
การประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ คือ การถ่ายภาพบนฟิล์มเอกซเรย์
โดยปกติการผลิตรังสีเอกซ์จะใช้ล�าอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูงพุ่งชนเป้าที่ท�าด้วยอะตอม
ของโลหะหนัก ดังภาพที่ 6.28 เริ่มต้นจากขั้วไฟฟ้า A ถูกท�าให้ร้อนด้วยความต่างศักย์ V ท�าให้
อิเล็กตรอนหลุดออกมาจากขั้วไฟฟ้า A ซึ่งจะถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ V0 แล้วเข้าชนเป้าโลหะ
B ส่งผลให้เกิดรังสีเอกซ์แผ่ออกมา

ขั้วไฟฟ้า A เป้าโลหะ B

V รังสีเอกซ์

แหล่งก�าเนิดไฟฟ้า
มีความต่างศักย์สูง V0


าพที่ 6.28 หลอดทดลองเพื่อผลิตรังสีเอกซ์จากล�าอิเล็กตรอน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ฟิสิกส์อะตอม 91

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลอดทดลองเพื่อผลิตรังสีเอกซจากลําอิเล็กตรอน
รังสีเอกซ จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด ไดจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน ศึกษาคนควาจาก YouTube เรือ่ ง Production
วารสาร งานวิจัย (ทั้งในประเทศและตางประเทศ) จากนั้นนํา of X Rays ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=
ความรูที่ไดมาสรุปเปนองคความรูตามความเขาใจของตนเอง T1WwHh4b__M
แลวจัดทําเปนรายงานโดยเขียนลงในกระดาษ A4 ดวยลายมือ
ตัวบรรจง พรอมทัง้ ตกแตงใหสวยงาม ซึง่ ครูกาํ หนดใหเลมรายงาน
ของแตละคนตองมีจํานวนไมนอยกวา 5 หนา และมีการเสริม
ความรูเกี่ยวกับประโยชนของรังสีเอกซดวย เสร็จแลวตัวแทน
เก็บรวบรวมสงครูเพื่อครูตรวจและใหเปนคะแนนจิตพิสัย

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
34. ครูใหนักเรียนคูเดิมที่เคยรวมกันศึกษา เรื่อง การเกิดรังสีเอกซ์ มีกระบวนการเกิด 2 กระบวนการ ดังนี้
รังสีเอกซ รวมกันศึกษาเกี่ยวกับการเกิดรังสี
1. การเกิดรังสีเอกซ์ต่อเนื่อง (continuous X-rays) รังสีเอกซ์ชนิดนี้เกิดขึ้นเมื่อ
เอกซ ซึ่งมีกระบวนการเกิด 2 กระบวนการ อิเล็กตรอนพลังงานสูง เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูง อิเล็กตรอนตกกระทบ
คือ การเกิดรังสีเอกซตอ เนือ่ งและการเกิดรังสี เข้าใกล้นิวเคลียสซึ่งมีประจุบวก ท�าให้อิเล็กตรอน
เอกซเฉพาะตัว โดยครูมอบหมายใหแตละคู เปลี่ ย นทิ ศ ทางหรื อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอั ต ราเร็ ว รังสีเอกซ์
3 2 จากการถูกหน่วง
แบงกันศึกษาคนควาขอมูลจากแหลงขอมูล ในลักษณะที่พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนลดลง 1
สารสนเทศคนละ 1 กระบวนการ จากนั้นนํา เป็นเหตุให้มีการแผ่พลังงานออกมาในรูปของคลื่น อิเล็กตรอน
ขอมูลที่ไดมาอภิปรายรวมกันใหไดเปนผล แม่เหล็ก1ไฟฟ้าหรือโฟตอนเป็นรังสีเอกซ์จากการ สะท้อนแบบยืดหยุ่น
การศึกษาของคูตนเอง พรอมทั้งจดบันทึก ถูกหน่วง (ง (Bremsstrahlung) ดังภาพที่ 6.29 อิเล็กตรอน
สะท้อนแบบไม่ยดื หยุน่
ขอมูลและองคความรูที่ไดลงในสมุดบันทึก เนื่องจากจ�านวนอิเล็กตรอนที่ชนเป้ามี ภาพที่ 6.29 การเกิดรังสีเอกซ์ต่อเนื่อง
ประจําตัว จ�านวนมาก แต่ละตัวสูญเสียพลังงานค่าต่างกัน รังสี ที่มา : คลังภาพ อจท.
35. ครูสมุ นักเรียนเพือ่ ใหความหมายของการเกิด เอกซ์ที่แผ่ออกมาจึงมีสเปกตรัมต่อเนื่อง ส่วนอะตอมของเป้าที่จะรับพลังงานบางส่วนเข้าไปท�าให้
รังสีเอกซทั้ง 2 กระบวนการ เกิดการสัน่ ส่งผลให้โลหะทีเ่ ป็นเป้าร้อนขึน้ อิเล็กตรอนบางตัวอาจชนกับอะตอมของเป้าโดยตรงและ
36. ครูใหนักเรียนแตละคูรวมกันศึกษาการเกิด หยุดลง ในกรณีนพี้ ลังงานจลน์ทงั้ หมดของอิเล็กตรอนจะเปลีย่ นเป็นพลังงานคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ซึง่
รังสีเอกซจากหนังสือเรียน อยูใ่ นรูปของรังสีเอกซ์ทมี่ คี วามถีส่ งู สุด จากกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน จะเห็นว่า รังสีเอกซ์ทม่ี คี วามถี่
37. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กันอยางอิสระ กลุม ละ สูงสุด จะมีพลังงานสูงสุดเท่ากับพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน (hfmax = Ek) ซึ่งพลังงานจลน์สูงสุด
3-4 คน ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษา ของอิเล็กตรอนนั้นได้จากการเร่งด้วยความต่างศักย์ V จึงได้ว่า
คนควาเกี่ยวกับการวิเคราะหการเลี้ยวเบน hfmax = eV (6.22)
รังสีเอกซจากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ
เนื่องจาก f = c เมื่อน�าไปแทนค่าในสมการที่ 6.22 จะได้ว่า
max
เชน วารสารงานวิจัยของทั้งในประเทศไทย λmin

และต า งประเทศ ห อ งสมุ ด อิ น เทอร เ น็ ต hc = eV


λmin
จากนัน้ นําขอมูลทีไ่ ดมาทําเปนรายงาน พรอม
ทั้ ง ตกแต ง ให ส วยงาม เสร็ จ แล ว ตั ว แทน
λmin hc
= eV (6.23)
นักเรียนเก็บรวบรวมนําสงครู
λmin คือ ความยาวคลื่นต�่าสุดของรังสีเอกซ์ มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)
h คือ ค่าคงตัวของพลังค์ ((Plank’s constant) มีค่าเท่ากับ 6.626 × 10-34 จูล วินาที (J s)
c คือ อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 3 × 108 เมตรต่อวินาที (m/s)
e คือ ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน มีค่าเท่ากับ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ (C)
V คือ ความต่างศักย์ระหว่างขั้วหลอด มีหน่วยเป็น โวลต์ ((V)

92

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 รังสีเอกซจากการถูกหนวง (Bremsstrahlung) คือ รังสีเอกซชนิดที่เกิด หลอดรังสีเอกซหลอดหนึ่งมีความตางศักยไฟฟา 9,800 โวลต
ขึ้นเมื่ออิเล็กตรอนพลังงานสูงวิ่งดวยความเร็วเขาใกลนิวเคลียสซึ่งมีประจุบวก อยากทราบวา รังสีเอกซทแี่ ผออกมาจะมีความยาวคลืน่ ตํา่ สุดเทาใด
ทําใหอิเล็กตรอนเปลี่ยนทิศทางหรือมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วในลักษณะที่ 1. 0.0118 นาโนเมตร 2. 0.1004 นาโนเมตร
พลังงานจลนของอิเล็กตรอนลดลง เปนเหตุใหมีการแผพลังงานออกมาในรูป 3. 0.1268 นาโนเมตร 4. 0.2485 นาโนเมตร
ของคลื่นแมเหล็กไฟฟาหรือโฟตอน หากพิจารณารังสีเอกซจากการถูกหนวง 5. 0.4806 นาโนเมตร
ในขอบเขตที่กวางขึ้นยังหมายรวมถึงรังสีใดๆ ก็ตามที่เกิดจากความเรงหรือ (วิเคราะหคําตอบ
ความหนวงของอนุภาคใดๆ ดังนั้น รังสีหรือแสงซินโครตรอน (Synchrotron จากสมการ λmin = eV hc
Light) ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากอนุภาคถูกเรงใหเร็วขึ้นดวยสนามแมเหล็ก และ -34 8
λmin = (6.626 × 10 -19J s)(3 × 10 m/s)
เคลื่อนที่เร็วขึ้นวนเปนเกลียวไปตามแนวสนามแมเหล็กพรอมกับปลอยรังสี (1.6 × 10 C)(9,800 V)
คลื่นวิทยุออกมา ก็จัดเปนรังสีเอกซจากการถูกหนวงเชนกัน λmin = 1.268 × 10-10 m
λmin = 0.1268 × 10-9 m
นั่นคือ รังสีเอกซที่แผออกมาจะมีความยาวคลื่นตํ่าสุดเทากับ
0.1268 นาโนเมตร ดังนั้น ตอบขอ 3.)
T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2. การเกิดรังสีเอกซ์เฉพาะตัว (characteristic X-rays) เกิดจากการที่อิเล็กตรอน 38. นักเรียนรวมกันศึกษาตัวอยางที่ 6.14-6.15
ถูกเร่งจนมีพลังงานสูง เคลื่อนที่เข้าชนเป้า เกิดการชนกับอิเล็กตรอนที่อยู่วงโคจรในของเป้า ถ้า จากหนังสือเรียน โดยครูคอยสังเกตการณและ
พลังงานของอิเล็กตรอนตัวทีเ่ คลือ่ นทีเ่ ข้าชนมีพลังงานมากกว่าพลังงานยึดเหนีย่ วของอิเล็กตรอน ใหคาํ ปรึกษาเมือ่ นักเรียนเกิดปญหาหรือสงสัย
ทีอ่ ยูใ่ นวงโคจรในของเป้า ก็จะท�าให้อเิ ล็กตรอนในวงโคจรนัน้ หลุดออกจากอะตอม อิเล็กตรอนจาก 39. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาวา ทฤษฎีอะตอม
วงโคจรทีอ่ ยูห่ า่ งจากนิวเคลียสมากกว่าจะเคลือ่ นทีเ่ ข้าไปแทนที ่ พร้อมทัง้ คายพลังงานออกมาในรูป ของโบรสามารถอธิบายสเปกตรัมของอะตอม
รังสีเอกซ์ทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะตัว ดังภาพที ่ 6.30 ซึง่ รังสีเอกซ์ทไี่ ด้จะมีพลังงานเท่ากับผลต่างระหว่าง ไฮโดรเจนและทําใหทราบถึงการจัดเรียงตัว
พลังงานที่อิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจร ดังสมการที่ 6.11 ของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนได แลว
อิเล็กตรอนที่ถูกเร่งเข้าชนเป้า ถาเปนอะตอมของธาตุอื่นๆ ยังจะสามารถ
รังสีเอกซ์เฉพาะตัว
ใชทฤษฎีอะตอมของโบรอธิบายและคํานวณ
หาปริ ม าณต า งๆ ได เ ช น เดี ย วกั บ อะตอม
อิเล็กตรอนที่หลุดออกจากวงโคจร ไฮโดรเจนหรือไม
ภาพที่ 6.30 การเกิดรังสีเอกซ์เฉพาะตัว 40. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความไมสมบูรณ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ของทฤษฎีอะตอมของโบรจากหนังสือเรียน
ภาพที่ 6.31 เป็นกราฟแสดง ความเข้มของรังสีเอกซ์
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นกับ Kα
ความเข้มของรังสีเอกซ์ ซึ่งเป็นตัวอย่าง Kβ
ในการเปรียบเทียบให้เห็นว่า รังสีเอกซ์ รังสีเอกซ์เฉพาะตัว
แบบต่อเนื่องต่างจากรังสีเอกซ์เฉพาะตัว รังสีเอกซ์ตอ่ เนือ่ ง
มีความต่างกันอย่างไร
พลังงาน
ภาพที่ 6.31 กราฟแสดงความแตกต่างระหว่างรังสีเอกซ์
ต่อเนื่องกับรังสีเอกซ์เฉพาะตัว
ที่มา : https://www.radiologycafe.com
P hysics
Focus การวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์
เครือ่ งวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer; XRD) เป็นเครือ่ งมือวิเคราะห์
วัสดุขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นการวิเคราะห์แบบไม่ท�าลายตัวอย่าง (non-destructive analysis) เพื่อศึกษา
เกีย่ วกับโครงสร้างของผลึก การจัดเรียงตัวของอะตอมในโมเลกุลของสารประกอบต่าง ๆ ทัง้ ในเชิงคุณภาพ
และปริมาณ โดยอาศั1 ยหลักการเลี้ยวเบนและการกระเจิงของรังสีเอกซ์ และความรู้เกี่ยวกับวิชาระบบ
โครงสร้างผลึก เครื่องมือชนิดนี้มีความส�าคัญมากในกระบวนการควบคุมคุณภาพการผลิต ใช้ส�าหรับ
ตรวจสอบสมบัติของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ในกระบวนการผลิตตามขั้นตอนต่าง ๆ

ฟิสิกส์อะตอม 93

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมอยางอิสระ กลุมละ 3-4 คน 1 โครงสรางผลึก (crystal structure) คือ การจัดเรียงกันของอะตอมเปนการ
2. ครูใหแตละกลุมรวมกันสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎี เฉพาะตัวในผลึก โครงสรางผลึกจะประกอบไปดวยผลึกขนาดเล็กๆ และผลึก
อะตอมของโบร จากนัน้ สมาชิกแตละกลุม รวมกันพูดคุยอภิปราย จะประกอบไปดวยหนวยเซลล (unit cell) โดยที่หนวยเซลลก็จะประกอบไปดวย
ผลการศึกษา อะตอมซึ่งอยูในตําแหนงที่เฉพาะเจาะจงภายในเซลล ดังนั้น หนวยเซลลก็คือ
3. แตละกลุมรวมกันจัดทําปายนิเทศ เรื่อง ทฤษฎีอะตอมของโบร สวนที่เล็กที่สุดในโครงสรางผลึกซึ่งสามารถแสดงรูปรางของโครงสรางผลึก
โดยปายนิเทศตองมีขนาด A3 หรือใหญกวา พรอมทั้งตกแตง ได ผลึกที่สมบูรณใดๆ จะประกอบดวยหนวยเซลลจํานวนหนึ่งมาจัดเรียงตัว
ใหสวยงาม กันเขาเปน 3 มิติ เรียกวา Crystal Lattice หรือ Space Lattice ดังนั้น
4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนาชั้น คําวา Crystal Lattice หรือ Space Lattice จึงหมายถึงรูปทรงที่เกิดขึ้นจาก
เรียน ดวยวิธีการนําเสนอที่นาสนใจและวิธีการสื่อสารที่เขาใจ การเรียงตัวของหนวยเซลลใน 3 มิติ เมื่อมองแตละมิติจะเห็นเหมือนกับตาขาย
ไดงาย ที่คลายกันทั้งหมด

T101
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
41. ครูถามคําถามใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีน่ กั เรียน ตัวอย่างที่ 6.14
ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่อง การทดลองของฟรังก หลอดรังสีเอกซ์ที่มีความต่างศักย์ระหว่างขั้วทั้งสองเท่ากับ 16,000 โวลต์ จะผลิตรังสีเอกซ์ที่มีความยาว
และเฮิรตซ รังสีเอกซ และความไมสมบูรณ คลื่นต�่าสุดเท่าใด
ของทฤษฎีอะตอมของโบร โดยครูสมุ นักเรียน
วิธีท�า รังสีเอกซ์ที่มีความยาวคลื่นต�่าสุดจะมีพลังงานเท่ากับพลังงานของอิเล็กตรอนที่ถูกเร่งด้วย
จํานวนหนึ่งออกมาหนาชั้นเรียนเพื่ออธิบาย ความต่างศักย์ระหว่างขั้วเท่ากับ V
ผลการศึกษาในแตละหัวขอ hc
จากสมการที่ 6.23 λmin = eV
42. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ
-34 8
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง = (6.626 × 10-19 J s)(3 × 10 m/s)
λmin
(1.6 10 C)(16,000 V)
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด × -6
λmin = 1.24 10 J m/C = 0.0775 × 10 m
-9
ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ 16,000 V
สิ่งที่แตกตาง ดังนั้น หลอดรังสีเอกซ์ที่มีความต่างศักย์ระหว่างขั้วทั้งสองเท่ากับ 16,000 โวลต์ จะผลิตรังสีเอกซ์ที่มี
43. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ ความยาวคลื่นต�่าสุดเท่ากับ 0.0775 นาโนเมตร
เกีย่ วกับการทดลองของฟรังกและเฮิรตซและ
รังสีเอกซ เพิ่มเติมจากแบบฝกหัดรายวิชา
ตัวอย่างที่ 6.15
เพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฟสิกส
เพื่อให้ได้รังสีเอกซ์ที่มีความถี่มากที่สุดเท่ากับ 2 × 1019 เฮิรตซ์ จะต้องจ่ายความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่าใด
ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ฟสกิ สอะตอม
วิธีท�า ค�านวณหาค่าความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ที่มีความถี่ 2 × 1019 เฮิรตซ์
ลงมือทํา (Doing) จากสมการ c = fλ
44. ครูใหนกั เรียนสรุปความรูเ กีย่ วกับการทดลอง λ = c = 3 × 1019 m/s
8
= 1.5 × 10-11 m
f 2 10 s-1
×
ของฟรังกและเฮิรตซ รังสีเอกซ และความ
แสดงว่าความยาวคลื่นต�่าสุดที่จะเกิดขึ้นได้ของรังสีเอกซ์
ไมสมบูรณของทฤษฎีอะตอมของโบร โดย เท่ากับ 1.5 × 10-11 เมตร Trick
การค�านวณโดยใช้สมการที ่
สร า งสรรค อ อกมาในรู ป แบบของแผ น พั บ จากสมการที่ 6.23 λmin = eV hc 6.23 เมือ่ แทนค่าเทอมของ hce
ความรู ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตง -6 ซึ่งเป็นค่าคงตัว จะเท่ากับ
1.5 × 10-11 m = 1.24 × 10 J m/C
ใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพื่อตรวจให V
1.24 × 10-6 J m/C ซึง่ สามารถ
-6 J m/C
คะแนน V = 1.24 × 10 น� า ค่ า นี้ ไ ปแทนค่ า ในสมการ
1.5 × 10-11 m
45. ครูแจกใบงาน เรื่อง รังสีเอกซ ใหนักเรียน V = 82.7 × 10 J/C 3 ได้เลย
คนละ 1 ชุด จากนัน้ มอบหมายใหนกั เรียนนํา V = 82.7 × 103 V
กลับไปศึกษาเปนการบาน เสร็จแลวตัวแทน ดังนั้น เพือ่ ให้ได้รงั สีเอกซ์ทมี่ คี วามถีม่ ากทีส่ ดุ เท่ากับ 2 × 1019 เฮิรตซ์ จะต้องจ่ายความต่างศักย์ไฟฟ้า
รวบรวมสงครู เท่ากับ 82.7 กิโลโวลต์
46. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น แลวรวมกันศึกษา
94
แบบฝกหัด Topic Questions จากหนังสือ
เรียน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับแสงซินโครตรอน ซึ่ง หลอดรังสีเอกซหลอดหนึง่ ผลิตรังสีเอกซออกมาทีค่ วามยาวคลืน่
เปนความรูที่เชื่อมโยงกับรังสีเอกซ โดยที่แสงซินโครตรอนเปนรังสีเอกซจากการ ตํ่าสุด 0.2475 นาโนเมตร อยากทราบวา ความตางศักยระหวาง
ถูกหนวงเชนเดียวกับการเกิดรังสีเอกซตอเนื่อง เชน ศึกษาขอมูลของแสง ขั้วภายในหลอดรังสีเอกซนี้มีคาเทาใด
ซินโครตรอน สมบัตเิ ครือ่ งกําเนิด วิธกี ารผลิต ระบบลําเลียงแสง รวมทัง้ ประโยชน (แนวตอบ
ไดจากเว็บไซตหลักของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) ซึ่ง จากสมการ λmin = eV hc
สามารถคนหาไดจาก https://www.slri.or.th/th/
V = ehc
λmin
-34 8
V = (6.626 ×-1910 J s)(3 × 10 m/s)
-9
(1.6 × 10 C)(0.2475 × 10 m)
V = 5.020 × 103 V
V = 5.02 kV
ดังนั้น ความตางศักยระหวางขั้วภายในหลอดรังสีเอกซนี้มีคา
5.020 กิโลโวลต)

T102
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
4.4 ความไมสมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์ นักเรียนอภิปรายสรุปความรูท ไี่ ดศกึ ษามาแลว
ทั้งเนื้อหาและตัวอยางจากหนังสือเรียนและ
แม้ ท ฤษฎี อ ะตอมของโบร์ ส ามารถอธิ บ ายสเปกตรั ม สเปกตรัมเมื่อไม่มีสนามแม่เหล็ก
ของอะตอมของไฮโดรเจนได้ดี และท�าให้ทราบถึงการจัดเรียง กิจกรรมทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียน พรอมทัง้
อิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจน แต่ก็ไม่สามารถค�านวณ ยกตัวอยางสถานการณทเี่ กีย่ วของเพือ่ ทดสอบ
และอธิบายสเปกตรัมของอะตอมอื่น ๆ ได้ นอกจากนี้ ยังมีการ ความเขาใจ
ทดลองที่แสดงว่าอะตอมที่อยู่ในสนามแม่เหล็กจะให้สเปกตรัม 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
ที่ต่างจากเมื่อไม่อยู่ในสนามแม่เหล็ก คือ สเปกตรัมเส้นหนึ่ง ๆ สเปกตรัมเมื่อมีสนามแม่เหล็ก ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ
อาจแยกออกเป็นหลายเส้น ดังภาพที่ 6.32 ภ
าพที่ 6.32 เส้นสเปกตรัมเมื่อ สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น
อะตอมอยู่ในสนามแม่เหล็ก
หากพิจารณาทฤษฎีอะตอมของโบร์ จะพบว่า โบร์ได้น�า ที่มา : คลังภาพ อจท. โดยที่ครูอาจใช PowerPoint เรื่อง ทฤษฎี
แนวความคิดฟิสิกส์แบบดั้งเดิม (classical physics) ของนิวตันและคูลอมบ์ผสมกับฟิสิกส์แผน อะตอมของโบร มาเปดใหนักเรียนดูประกอบ
ใหม่ (modern physics) ที่ว่าด้วยควอนตัมของพลังงานของพลังค์ จะเห็นได้ว่า ตอนแรกของ เพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมากยิ่งขึ้น
ทฤษฎีอะตอมของโบร์กล่าวถึงการโคจรของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส ซึ่งถือว่า แรงสู่ศูนย์กลางที่
กระท�ากับอิเล็กตรอนเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนกับนิวเคลียสซึง่ เป็นหลัก ขัน้ ประเมิน
ของฟิสกิ ส์แบบดัง้ เดิม แต่โบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนทีเ่ คลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร่งในวงโคจรไม่จา� เป็นต้อง 1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง ทฤษฎีอะตอม
ปลดปล่อยพลังงาน และอิเล็กตรอนถูกจ�ากัดให้โคจรอยู่ในวงโคจรที่เป็นวงกลมบางวงเท่านั้น ของโบร โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม
จะเห็นได้ว่า ทฤษฎีอะตอมของโบร์มีบางส่วนที่ยอมรับและบางส่วนที่ปฏิเสธทฤษฎีฟิสิกส์ การทําแบบฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ
แบบดั้งเดิม ดังนั้น ทฤษฎีอะตอมของโบร์จึงไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ของอะตอมได้อย่าง 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
สมบูรณ์ จึงไม่น่าจะมีทฤษฎีใหม่ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ซึ่งน�าไป ศาสตรจากการคํานวณเพื่อหาคาของปริมาณ
สู่การพัฒนาวิชากลศาสตร์ควอนตัม จึงท�าให้ ที่เกี่ยวของกับระดับพลังงานของอะตอมจาก
เกิดการพัฒนาแนวคิดทางกลศาสตร์ควอนตัม Core Concept สถานณการณตางๆ และจากตัวอยางที่ครู
ในเรื่องสมบัติทวิภาพของสสารในรูปของคลื่น ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง กําหนดให
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
และอนุภาค
3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
Topic สังเกตพฤติกรรมความสนใจใฝรูหรืออยากรู
Questions อยากเห็ น การทํ า งานร ว มกั บ ผู  อื่ น อย า ง
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ สรางสรรค
1. แบบจ�าลองอะตอมไฮโดรเจนของของโบร์สามารถอธิบายอะไรได้บ้าง
2. แบบจ�าลองอะตอมของโบร์มีข้อบกพร่องอะไรบ้าง
3. เพื่อให้ได้รังสีเอกซ์ที่มีความถี่มากสุดเท่ากับ 15 × 1019 เฮิรตซ์ จะต้องจ่ายความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่าใด

ฟิสิกส์อะตอม 95

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. สามารถอธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจน
โดยที่อิเล็กตรอนจะอยูกันเปนชั้นๆ แตละชั้นเรียกวา ระดับพลังงาน ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ทฤษฎีอะตอมของ
และสเปกตรั ม ของไฮโดรเจนเกิ ด จากการเปลี่ ย นระดั บ พลั ง งาน โบร ไดจากแผนพับความรูที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นลงมือทํา โดยศึกษาเกณฑ
ของอิ เ ล็ ก ตรอน จากสถานะกระตุ  น มายั ง สถานะพื้ น โดยจะแผ การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
คลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกมา อาจเห็นเปนเสนสวางทีไ่ มตอ เนือ่ ง และอาจ ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม
มีความถี่อื่นๆ ที่ตามองไมเห็น แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 5 เกณฑ์ประเมินแผ่นพับความรู้

2. โบรไดสรางแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนซึ่งใชไดกับอะตอมที่มี แบบประเมินผลงานแผ่นพับความรู้
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแผ่นพับความรู้ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้อง

อิเล็กตรอนตัวเดียวเทานั้น ไมสามารถนําไปใชในการอธิบายอะตอมที่
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

ซับซอนหรือมีอิเล็กตรอนหลายๆ ตัวได 2
3
4
ความถูกต้องของเนื้อหา
ความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นระเบียบ
รวม
4. ผลงานมีความเป็น
ระเบียบ
แปลกใหม่และเป็น
ระบบ
ผลงานมีความเป็น
ระเบียบแสดงออกถึง
ผลงานส่วนใหญ่มีความ
เป็นระเบียบแต่ยังมี
แปลกใหม่

ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี

3. จากสมการ hfmax = eV
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

hf
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................

V = emax
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

จะไดวา ช่วงคะแนน
14–16
11–13
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
ดี

-34 19
V = (6.626 × 10 J s)(15 × 10 Hz)
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

-19
1.6 × 10 C
V = 0.62 × 106 V
ดังนั้น จะตองจายความตางศักยไฟฟา 0.62 เมกะโวลต
T103
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นสนทนาทบทวนความรู  แสงเปนคลืน
่ หรืออนุภาค 5. ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
เกีย่ วกับคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีน่ กั เรียนไดศกึ ษา
มาแลว จากนั้นครูถามนักเรียนวา นักเรียน การโต้แย้งกันเกีย่ วกับธรรมชาติของแสงว่าเป็นคลืน่ หรือเป็น
รูจักปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกหรือไม อนุภาคมีมานานนับศตวรรษ เช่น นิวตันเชือ่ ว่าแสงประกอบด้วยอนุภาคทีเ่ คลือ่ นทีด่ ว้ ยอัตราเร็วสูง
2. ครูถามคําถามกับนักเรียนตอวา ปรากฏการณ แต่ฮอยเกนส์ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์ร่วมสมัยกับนิวตันได้โต้แย้งว่าแสงเป็นคลื่น หลังจากมีการ
โฟโตอิเล็กทริกเกิดจากปจจัยใด โดยครูยังไม ทดลองที่แสดงสมบัติการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสงแล้ว แนวคิดที่ว่าแสงเป็นคลื่นจึงได้
ตองการคําตอบจากนักเรียน เพียงถามคําถาม มีการยอมรับในเวลาต่อมา โดยในหัวข้อนี้ จะศึกษาปรากฏการณ์ที่แสดงว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค
และคลื่น ดังต่อไปนี้
กระตุนความสนใจเพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาที่
กําลังจะศึกษา 5.1 ปรากฏการณ์ โฟโตอิเล็กทริก
3. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ ใน พ.ศ. 2430 ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ (Heinrich Rudolf Hertz) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน
เรี ย นกั บ นั ก เรี ย น โดยนั ก เรี ย นร ว มกั น ตอบ ค้นพบว่า เมือ่ มีแสงทีม่ คี วามถีเ่ หมาะสมมาตกกระทบผิวโลหะ จะท�าให้อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าหลุด
คํ า ถามเพื่ อ เชื่ อ มโยงเข า สู  เ นื้ อ หาที่ กํ า ลั ง จะ ออกจากผิวโลหะได้ เนือ่ งจากเป็นปรากฏการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับแสงและไฟฟ้า จึงเรียกปรากฏการณ์
ศึกษาเรียนรูตอไป ที่เกิดขึ้นนี้ว่า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (photoelectric effect)
ต่อมาใน พ.ศ. 2441 ทอมสัน (Thomson) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ท�าการวัดอัตราส่วน
ขัน้ สอน ระหว่างประจุไฟฟ้าต่อมวลของอนุภาคที่หลุดออกมาจากผิวโลหะ ซึ่งพบว่า ค่าที่ได้เป็นค่าเดียว
รู้ (Knowing) กับอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากขั้วแคโทด จึงเชื่อว่า โฟโตอิเล็กตรอน
1. ครูใหนักเรียนใชโทรศัพทมือถือในการศึกษา อนุภาคนั้น คือ อิเล็กตรอน และเรียกอิเล็กตรอน
คนควา เรื่อง ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก ที่หลุดออกมาเนื่องจากการที่แสงตกกระทบนี้ว่า
โฟโตอิเล็กตรอน (photoelectrons) ดังภาพที ่ 6.33 แสง
จากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ โดยนําขอมูล
ที่ตนเองไดคนความาจดบันทึกสรุปเปนองค โดยจ� า นวนโฟโตอิ เ ล็ ก ตรอนที่ ห ลุ ด ออกมานี้ จ ะ
ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว เพิ่มขึ้นตามความเข้มแสง และพลังงานจลน์สูงสุด
แผ่นโลหะ
2. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกันอยางอิสระ 10 กลุม ของโฟโตอิเล็กตรอนจะขึ้นกับความถี่ของแสงนั้น ภาพที่ 6.33 การเกิดโฟโตอิเล็กตรอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แตละกลุมมีจํานวนสมาชิกใกลเคียงกันมาก P hysics
ทีส่ ดุ แลวรวมกันอภิปรายความรูท แี่ ตละคนได Focus เฮิรตซ์กับการค้นพบคลื่นวิทยุ
ศึ ก ษามาแล ว จากนั้ น สรุ ป ผลการอภิ ป ราย ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ (พ.ศ. 2400-2437) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ใน พ.ศ. 2428 เฮิรตซ์เป็น
เปนความคิดเห็นของกลุม แลวเขียนผลการ คนแรกทีพ่ สิ จู น์ถงึ การมีอยูข่ องคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ และทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
อภิ ป รายที่ ไ ด ล งในกระดาษฟลิ ป ชาร ต ที่ ค รู ของแสง ซึง่ เป็นจุดเริม่ ต้นทีท่ า� ให้ใน พ.ศ. 2430 เขาได้คน้ พบคลืน่ วิทยุ การทดลองของเฮิรตซ์ได้พสิ จู น์
ว่า คลื่นวิทยุเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ใช่คลื่นเสียง เฮิรตซ์พิสูจน์ทฤษฎีโดยการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้
เตรียมไว พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม ส่งและรับคลืน่ วิทยุ และนัน่ ก็เป็นจุดเริม่ ต้นของปรากฏการณ์แบบไร้สายอืน่ ๆ ทีใ่ ช้งานกันอยูใ่ นปจจุบนั
แนวตอบ Key Question
96
แสงเปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีส่ ามารถประพฤติ
ตัวเปนไดทั้งคลื่นและอนุภาค

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ กลุมละ 2-3 คน
เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูดวยตนเองและมีความสนใจในเนื้อหามากขึ้น ครูอาจ แลวมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควา เรื่อง ทวิภาวะของคลื่น
แนะนําใหนักเรียนไดลองเขาไปศึกษาสถานการณจําลองบนสื่อดิจิทัลแบบมี และอนุภาค โดยเนนเนื้อหาเกี่ยวกับปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก
ปฏิสัมพันธ (interactive simulation) ในหมวดของปรากฏการณควอนตัม โดย จากนั้นเขียนสรุปองคความรูลงในกระดาษ A4 เพื่อเปนการเรียนรู
ใหนักเรียนไดทดลองปรับเปลี่ยนความเขมหรือความยาวคลื่นของแสงที่ฉาย ดวยตนเอง หลังจากที่นักเรียนสรุปองคความรูเสร็จแลว ครูสุม
ลงบนแผนโลหะ จากนั้นสังเกตผลที่เกิดขึ้น เชน แนวโนมของความเขมหรือ นักเรียนออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเอง โดยครูอาจถาม
ความยาวคลื่นลักษณะใดที่ทําใหเกิดปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก หรือปจจัยใด คําถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่สําคัญในสวนนั้น เพื่อเปนการเนนยํ้าให
ที่มีผลตอการเกิดโฟโตอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://phet. นักเรียนมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น และเพื่อใหทุกคนมีความเขาใจ
colorado.edu/th/simulation/legacy/photoelectric ไปในแนวทางเดียวกัน นอกจากนี้ ยังเปนกิจกรรมการเรียนการ
สอนที่มุงเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง โดยที่นักเรียนและครูจะไดมี
ปฏิสัมพันธกันในการตอบคําถาม

T104
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

เครื่องมือที่ใช้ทดลองปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกจะประกอบด้วยหลอดแก้วสุญญากาศ 3. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของ
เรียกว่า โฟโตเซลล์ (photocell) ภายในมีแผ่นโลหะ E ต่อกับขัว้ ลบของแหล่งก�าเนิดไฟฟ้ากระแสตรง กลุมตนเองตามลําดับ
ที่ปรับความต่างศักย์ได้และท�าหน้าที่ให้อิเล็กตรอน (emitter) ส่วนแผ่นโลหะ C ต่อเข้ากับขั้วบวก 4. ครูมอบหมายใหแตละกลุมรวมกันเขียนแสดง
และท�าหน้าที่รับอิเล็กตรอน (collector) ที่หลุดออกจากแผ่นโลหะ E เมื่อหลอดอยู่ในที่มืด กระแส ความคิ ด เห็ น แนะนํ า หรื อ ติ ช มผลงานและ
ไฟฟ้าในวงจรจะเป็นศูนย์ เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าค่าเฉพาะค่าหนึ่งซึ่งขึ้นกับชนิด การนําเสนอผลงานของกลุมอื่นๆ พรอมทั้ง
ของวัสดุที่แผ่นโลหะ E พบว่า มีกระแสไฟฟ้าในวงจร ซึ่งวัดได้โดยใช้แอมมิเตอร์ แสดงให้เห็นว่า รวมกันลงขอสรุปเปนความคิดเห็นของกลุม
มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากแผ่นโลหะ E ไปยังแผ่นโลหะ C ดังภาพที่ 6.34 (ก) และเนื่องจาก ในการใหคะแนนแตละกลุม เสร็จแลวตัวแทน
เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากโฟโตอิเล็กตรอน จึงเรียกกระแสไฟฟ้านี้ว่า กระแสโฟโตอิเล็กตรอน นําสงครูหนาชั้นเรียน
(photoelectron current) หากพิจารณาจ�านวนโฟโตอิเล็กตรอนทีเ่ กิดขึน้ ท�าได้โดยการเพิม่ ความเข้ม 5. ครู สุ  ม ถามเพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจของ
แสงที่ตกกระทบแผ่นโลหะ E จะพบว่า กระแสโฟโตอิเล็กตรอนในวงจรจะเพิ่มขึ้น ดังภาพที่ 6.34 นักเรียน เชน
(ข) จึงสรุปได้ว่า โฟโตอิเล็กตรอนจะแปรผันตรงหรือขึ้นอยู่กับความเข้มแสง • พลังงานจลนสูงสุดของอิเล็กตรอนที่หลุด
แสง แสง
ออกจากผิวโลหะมีคาขึ้นอยูกับปริมาณใด
(แนวตอบ ความถี่ของแสง)
6. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง ปรากฏการณโฟโต
E C E C
อิเล็กทริก จากหนังสือเรียน เพื่อสรางความ
μA μA
เขาใจใหเปนแนวทางเดียวกัน
(ก) (ข) 7. ครูสุมถามนักเรียนเพื่อกระตุนใหนักเรียนมี

าพที่ 6.34 การทดลองปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ความกระตือรือรนและสนใจในเนื้อหาที่กําลัง
ที่มา : คลังภาพ อจท. ศึกษา เชน
เมือ่ ลดความต่างศักย์ V ระหว่างแผ่นโลหะ C กับแผ่นโลหะ E กระแสไฟฟ้าในวงจรจะลดลง • ถาโฟตอนของแสงแตละตัวที่ตกกระทบผิว
จนเมื่อความต่างศักย์เป็นลบหรือกลับขั้วไฟฟ้าที่แผ่นโลหะ C เป็นลบ และแผ่นโลหะ E เป็นบวก โลหะมีพลังงานนอยกวาฟงกชันงาน ผลที่
กระแสไฟฟ้าจะลดลงมาก เนื่องจากโฟโตอิเล็กตรอนถูกผลักโดยแผ่นโลหะ C โฟโตอิเล็กตรอนที่ เกิดขึ้นจะเปนอยางไร
จะไปถึงแผ่นโลหะ C (แล้วท�าให้เกิดกระแสไฟฟ้าในวงจร) ได้นั้น จะต้องมีพลังงานจลน์มากกว่า (แนวตอบ จะไมมีโฟโตอิเล็กตรอนเกิดขึ้น)
ค่า eV เมื่อ e เป็นประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน และ V เป็นความต่างศักย์ของแหล่งก�าเนิดขณะนั้น
กล่าวได้ว่า ถ้าให้ความต่างศักย์เป็นลบมากขึ้นจนกระแสไฟฟ้าเป็นศูนย์พอดี (โฟโตอิเล็กตรอนไป
หยุดที่แผ่นโลหะ C พอดี) ค่าความต่างศักย์ที่ใช้หยุดอิเล็กตรอนนี้ เรียกว่า ความต่างศักย์หยุดยั้ง
(stopping potential; Vs) ดังนั้น พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมา (Ek )
max
สามารถค�านวณได้ จากสมการที่ 6.24
Ekmax = eVs (6.24)

ฟิสิกส์อะตอม 97

ขอสอบเนน การคิด
หากสมมติใหฟงกชันงานของแทนทาลัมและทองคํามีคาเทากับ 3.5 อิเล็กตรอนโวลต และ 4.2 อิเล็กตรอนโวลต ตามลําดับ อยากทราบวา หาก
ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 320 นาโนเมตร ลงไปบนวัตถุทั้งสอง วัตถุใดจะเกิดปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก
-34 8
(แนวตอบ จากสมการ W = hf0 พิจารณาทองคํา; 4.2 eV = (6.626 × 10 λJ s)(3 × 10 m/s)
W = hc
0
-34 8
λ 0 λ0 = (6.626 × 10 J s)(3 -19
× 10 m/s)
-34 8 (4.2 eV)(1.6 × 10 J/eV)
พิจารณาแทนทาลัม; 3.5 eV = (6.626 × 10 λJ s)(3 × 10 m/s) λ0 = 2.96 × 10-7 m
0
-34 8
λ0 = (6.626 × 10 J s)(3 -19× 10 m/s) λ0 = 296 × 10-9 m
(3.5 eV)(1.6 × 10 J/eV) จะไดวาความยาวคลื่นขีดเริ่มของทองคําเทากับ 296 นาโนเมตร
λ0 = 3.55 × 10-7 m เนื่องจากแสงที่จะทําใหโลหะใดๆ เกิดปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกได
λ0 = 355 × 10-9 m นัน้ จะตองมีความยาวคลืน่ ทีน่ อ ยกวาหรือไมเกินความยาวคลืน่ ขีดเริม่ ของ
จะไดวาความยาวคลื่นขีดเริ่มของแทนทาลัมเทากับ 355 นาโนเมตร โลหะนั้นๆ
ดังนั้น หากฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 320 นาโนเมตร ลงไปบนวัตถุ
ทั้งสอง จะมีเพียงทองคําเทานั้นที่เกิดปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก)

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
8. ครู ใ ห นั ก เรี ย นร ว มกั น ตอบคํ า ถามท า ทาย จากการทดลองจะเห็นได้วา่ ผลการทดลองไม่สามารถใช้ทฤษฎีแบบเดิมอธิบายได้ เนือ่ งจาก
การคิดขั้นสูง (H. O. T. S.) จากหนังสือเรียน แสงทีม่ ีความเข้มสูงควรถ่ายโอนพลังงานเพื่อกระตุน้ ให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาได้ จนกระทั่ง พ.ศ.
9. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นรวมกัน 2448 แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ได้อาศัยกฎการอนุรักษ์พลังงานและสมมติฐาน
ศึกษาตัวอยางที่ 6.16-6.17 จากหนังสือเรียน ของพลังค์ในการอธิบายผลการทดลอง โดยคิดว่าแสงเป็นอนุภาคที่เรียกว่า โฟตอน (photon) ที่
เสร็จแลวครูสมุ นักเรียนออกมาอธิบายผลการ มีพลังงานเป็น E = hf เมื่อโฟตอนตกกระทบพื้นผิวโลหะจะถ่ายโอนพลังงานให้กับอิเล็กตรอน
ศึกษาหนาชั้นเรียน ทั้งนี้ อิเล็กตรอนที่ผิวโลหะจะถูกยึดให้อยู่ในเนื้อโลหะด้วยพลังงานยึดเหนี่ยวค่าหนึ่ง ถ้าพลังงาน
ของโฟตอนที่มาตกกระทบและถ่ายโอนให้อิเล็กตรอนมากพอจะเอาชนะพลังงานยึดเหนี่ยวนี้ได้
เขาใจ (Understanding)
อิเล็กตรอนก็จะหลุดออกจากผิวโลหะและมีพลังงานจลน์เท่ากับพลังงานที่เหลืออยู่ สามารถเขียน
10. ครูถามคําถามนักเรียน เพือ่ ใหนกั เรียนอธิบาย แสดงความสัมพันธ์ได้ ดังสมการที่ 6.25
สิง่ ทีไ่ ดเรียนรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง ปรากฏการณโฟโต
hf = W + Ekmax (6.25)
อิเล็กทริก
11. ครูยกตัวอยางหรือปรับเปลี่ยนสถานการณ โดยที่ W เป็นพลังงานที่อิเล็กตรอนจะต้องเสียไปปริมาณหนึ่งเท่ากับพลังงานที่ใช้ในการยึด
จากตั ว อย า งที่ ไ ด ศึ ก ษา แล ว ให นั ก เรี ย น อิเล็กตรอนไว้ในอะตอม เรียกพลังงานจ�านวนนี้ว่า ฟงก์ชันงาน (work function) ถ้าโฟตอนแต่ละ
อธิบายสิ่งที่เหมือนและสิ่งที่แตกตาง ตัวทีต่ กกระทบผิวโลหะมีพลังงานน้อยกว่า W ก็จะไม่มโี ฟโตอิเล็กตรอนเกิดขึน้ เนือ่ งจากอิเล็กตรอน
12. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ มีพลังงานไม่เพียงพอที่จะหลุดออกจากผิวโลหะ แต่ถ้าหากโฟตอนตัวใดตัวหนึ่งมีพลังงานเท่ากับ
เกีย่ วกับปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก เพิม่ เติม W ก็จะเริ่มมีโฟโตอิเล็กตรอนหลุดออกจากผิวโลหะ โดยที่อิเล็กตรอนนั้นไม่มีพลังงานจลน์เลย
จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร (Ek = 0) กล่าวได้ว่า ค่าฟงก์ชันงานเป็นค่าเฉพาะของโลหะชนิดต่าง ๆ โดยอิเล็กตรอนจะหลุด
max
และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ ออกมาเมื่อความถี่ของแสงที่ใช้มากกว่าความถี่ขีดเริ่ม (threshold frequency; f0) ซึ่งโฟตอน
เรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม ของแสงจะมีพลังงานเท่ากับฟงก์ชันงานพอดี จากสมการที่ 6.25 จะได้ว่า
ลงมือทํา (Doing)
hf0 = W + 0
13. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ ปรากฏ W = hf0 (6.26)
การณโฟโตอิเล็กทริก โดยสรางสรรคออกมา โฟตอนพลังงาน hf อิเล็กตรอนพลังงานสูงสุด
ในรูปแบบของใบความรู ลงในกระดาษ A4 เท่ากับ hf - W H. O. T. S.
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม ถ้ า ใช้ แ สงที่ มี
14. ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาใบงาน เรื่อง ความถี่ ต�่ า กว่ า
ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก เสร็จแลวตัวแทน ผิวโลหะมีฟงก์ชันงาน W
ความถี่ ขี ด เริ่ ม
แต่เพิ่มความเข้มแสงจะท�าให้
รวบรวมสงครู เกิ ด โฟโตอิเล็กตรอนหรือไม่
ภาพที่ 6.35 การอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
แนวตอบ H. O. T. S. อย่างไร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แสงทีม่ คี วามถีต่ าํ่ กวาความถีข่ ดี เริม่ (f0) แสดง 98
ว า โฟตอนที่ ต กกระทบโลหะมี พ ลั ง งานน อ ยกว า
ฟงกชนั งานของโลหะนัน้ จึงไมเกิดโฟโตอิเล็กตรอน

ขอสอบเนน การคิด
ถาใหแสงความถี่ 8 × 1014 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะชนิดหนึ่ง โฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมามีความเร็วสูงสุด 7 × 105 เมตรตอวินาที คาความถี่
ขีดเริ่มสําหรับโลหะนี้มีคาเทาใด
(แนวตอบ พลังงานของโฟตอนทีต่ กกระทบผิวโลหะถามากพอทําให จากสมการ hf = W + Ekmax
เกิดโฟโตอิเล็กตรอน และจะมีพลังงานเหลือใหโฟโตอิเล็กตรอนได W = hf - Ekmax
เคลื่อนที่ ในที่นี้พลังงานจลนมากสุดของโฟโตอิเล็กตรอนสามารถหา W = (6.626 × 10-34 J s)(8 × 1014 Hz) - (2.23 × 10-19 J)
จากอัตราเร็วของอิเล็กตรอนได ดังสมการ W = (5.3008 × 10-19 J) - (2.23 × 10-19 J)
Ekmax = 12 mv2 W = 3.07 × 10-19 J
Ekmax = 12 mev2 จากสมการ W = hf0
f0 W=
Ekmax = 12 (9.1 × 10-31 kg)(7 × 105 m/s)2 h -19
Ekmax = 2.23 × 10-19 J f0 = 3.07 × 10-34 J = 4.63 × 10-14 Hz
6.626 × 10 J s
คํานวณหาพลังงานที่ทําใหโฟโตอิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะได ดังนั้น คาความถี่ขีดเริ่มสําหรับโลหะนี้มีคาเทากับ 4.63 × 10-14 เฮิรตซ)
หรือฟงกชันงานของอิเล็กตรอน

T106
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครูและนักเรียนรวมกันลงขอสรุป โดยครูให
ตัวอย่างที่ 6.16
นั ก เรี ย นอภิ ป รายสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง
โลหะซีเซียมมีพลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอน 2.10 อิเล็กตรอนโวลต์ ถูกฉายด้วยแสงสีฟ้าซึ่งมี ปรากฏการณ โ ฟโตอิ เ ล็ ก ทริ ก พร อ มทั้ ง ยก
ความยาวคลืน่ 410 นาโนเมตร โฟโตอิเล็กตรอนทีห่ ลุดออกมาจะมีพลังงานจลน์มากทีส่ ดุ เท่าใดในหน่วย ตัวอยางสถานการณที่เกี่ยวของเพื่อทดสอบ
อิเล็กตรอนโวลต์ ความเขาใจ
วิธีท�า พลังงานของโฟตอนที่ให้แก่ผิวโลหะนั้นจะแบ่งพลังงานออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก คือ ท�าให้ 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ยัง
อิเล็กตรอนหลุดออกจากผิว พลังงานที่ใช้จะมีค่าเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอน ส่วนที่ ไมเขาใจหรือสงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่ม
เหลือจะกลายเป็นพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน เติมในสวนนั้น โดยที่ครูอาจใช PowerPoint
จากสมการที่ 6.25 hf = W + Ek เรื่อง ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก มาเปดให
max
E kmax= hf - W = hc - W λ
นักเรียนดูประกอบเพื่อชวยในการอธิบายให
-34 × 108 m/s) เขาใจมากยิ่งขึ้น
Ek = (6.626 × 10 J s)(3 - 2.10 eV
max -9
(410 × 10 m) 3. ครูใหนกั เรียนสรุปความรูเ กีย่ วกับปรากฏการณ
Ek = (4.85 × 10-19 J) - 2.10 eV โฟโตอิเล็กทริก โดยสรางสรรคออกมาในรูป
max
เนื่องจาก 1 อิเล็กตรอนโวลต์ มีค่าเท่ากับ 1.6 × 10-19 จูล จะได้ว่า แบบของแผนพับความรู ลงในกระดาษ A4
Ek = 4.85 × 10
-19
J - 2.10 eV = 0.93 eV พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครู
max 1.6 × 10-19 J/eV เพื่อตรวจใหคะแนน
ดังนั้น โฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลน์มากที่สุดเป็น 0.93 อิเล็กตรอนโวลต์
ขัน้ ประเมิน
ตัวอย่างที่ 6.17 1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง ปรากฏการณ
เมื่อค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของแผ่นเงินเท่ากับ 4.26 อิเล็กตรอนโวลต์ จะต้องฉายแสงที่มีความยาวคลื่น โฟโตอิเล็กทริก โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบ
กี่นาโนเมตรจึงจะท�าให้แผ่นเงินเกิดปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
คําถาม การทําแบบฝกหัด และการสรุปสาระ
วิธีท�า พลังงานน้อยสุดทีจ่ ะท�าให้เกิดปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกได้ ต้องมีคา่ อย่างน้อยเท่ากับพลังงาน สําคัญ
ยึดเหนีย่ วของอิเล็กตรอนในโลหะ ซึ่งในที่นี้เท่ากับ 4.26 อิเล็กตรอนโวลต์ นั่นคือ พลังงานของ 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
โฟตอนที่ใช้ต้องมีค่าเท่ากับ 4.26 อิเล็กตรอนโวลต์ ศาสตร จ ากการคํ า นวณหาพลั ง งานโฟตอน
จากสมการที่ 6.26 W = hf0
พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอน และฟงกชนั
E = hc
photon λ0 งานของโลหะ รวมทัง้ ปริมาณทีเ่ กีย่ วของตางๆ
-34 8
λ0 = (6.626 × 10 J s)(3 ×-19 10 m/s) จากตัวอยางที่ครูกําหนดให
(4.26 eV)(1.6 10 J/eV)
×
3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
λ0 = 2.92 × 10-7 m = 292 × 10-9 m
สังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบตองานที่ได
ดังนัน้ แสงทีท่ า� ให้โลหะเงินเกิดปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกได้จะต้องมีความยาวคลืน่ ไม่เกิน 292 นาโนเมตร
รับมอบหมาย และปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่
ฟิสิกส์อะตอม 99 ครูกําหนด

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


แสงความถี่ 5 × 1014 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะชนิดหนึ่ง ถา ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ปรากฏการณโฟโต
อิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะดวยพลังงานจลนสูงสุด 1.6 × 10-19 อิเล็กทริก ไดจากใบความรูที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นสรุป โดยศึกษาเกณฑ
จูล พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะมีคากี่จูล การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
(แนวตอบ พลังงานของโฟตอนที่ตกกระทบผิวโลหะจะแบงเปน ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม
พลังงานที่ทําใหอิเล็กตรอนที่ผิวโลหะหลุดออกจากผิวไดและสวน
ที่เหลือจะกลายเปนพลังงานจลนของอิเล็กตรอน แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 6-7 เกณฑ์ประเมินใบความรู้
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
แบบประเมินผลงานใบความรู้ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง

จากสมการ hf = W + Ekmax คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ

ลาดับที่
คะแนน
รายการประเมิน
4 3
ระดับคุณภาพ
2 1
จุดประสงค์ที่กาหนด
2. ผลงานมีความ
ถูกต้องสมบูรณ์
3. ผลงานมีความคิด
จุดประสงค์ทุกประเด็น
เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องครบถ้วน
ผลงานแสดงออกถึง
จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น
เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น
ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ
กับจุดประสงค์
เนื้อหาสาระของผลงาน
ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด

W = hf - Ekmax
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ

W = (6.626 × 10-34 J s)(5 × 1014 Hz) -


ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

(1.6 × 10-19 J)
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก

W = (3.313 × 10-19 J) - (1.6 × 10-19 J)


11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

W = 1.713 × 10-19 J
ดังนั้น พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะมีคาเทากับ 1.713 × 10-19 จูล)

T107
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาทบทวนความรูเดิม 5.2 ปรากฏการณ์คอมป์ตัน
เกี่ยวกับปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมป์ตัน (Arthur Holly Compton) (พ.ศ. 2435-2505) ได้ศึกษาการ
2. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นอธิ บ ายสรุ ป เกี่ ย วกั บ กระเจิงของรังสีเอกซ์ โดยให้รังสีเอกซ์ท�าอันตรกิริยากับอนุภาคเป้า แล้วพบว่า เกิดการเบนของ
แนวคิดของปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก รังสีเอกซ์ นอกจากนี้ ความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ยังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วย กระบวนการนี
1 ้
3. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา “รังสีเอกซเปนคลืน่ เรียกว่า การกระเจิง ซึ่งตามทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ (กลศาสตร์ดั้งเดิม) เมื่อ
ชนิดใด และมีกระบวนการเกิดกี่กระบวนการ รังสีชนกับอนุภาคที่มีประจุซึ่งมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับความยาวคลื่นของรังสีตกกระทบ
อะไรบาง” โดยครูสมุ นักเรียนใหยนื ขึน้ แลวตอบ รังสีจะกระเจิงออกมาทุกทิศทางด้วยความยาวคลื่นเท่าเดิม
คําถาม เพื่อทบทวนความรูเดิมที่ศึกษามาแลว ใน พ.ศ. 2466 คอมป์ตันได้ทดลองฉายรังสีเอกซ์ที่มีความยาวคลื่นค่าเดียวให้กระทบ
(แนวตอบ รังสีเอกซเปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟาชนิด อิเล็กตรอนในแท่งแกรไฟต์ ปรากฏว่า มีอิเล็กตรอนและรังสีเอกซ์กระเจิงออกมา ดังภาพที่ 6.36
หนึ่ง มีกระบวนการเกิด 2 กระบวนการ คือ ซึ่งเป็นหลักฐานชัดเจนที่แสดงให้เห็นธรรมชาติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าว่ามีลักษณะเป็นอนุภาค
การเกิ ด รั ง สี เ อกซ ต  อ เนื่ อ งและการเกิ ด รั ง สี จึงเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์คอมป์ตัน (Compton effect)
เอกซเฉพาะตัว) หัววัด

ขัน้ สอน เป้าแกรไฟต์ λ′

รู้ (Knowing) หลอดรังสีเอกซ์


λ θ
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง ปรากฏการณคอมป
ตัน จากหนังสือเรียน อิเล็กตรอน
2. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นอธิ บ ายผลการศึ ก ษา
เกี่ ย วกั บ ปรากฏการณ ค อมป ตั น จากนั้ น
นักเรียนและครูรวมกันสนทนาและอภิปราย
ภาพที่ 6.36 การกระเจิงของรังสีเอกซ์ในการทดลองของคอมป์ตัน
เกี่ยวกับปรากฏการณคอมปตัน ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูชกั ชวนนักเรียนสนทนาวา มีทฤษฎี แนวคิด
หรือสมมติฐานใดอีกบางที่สนับสนุนแนวคิด เมื่อวัดความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมาที่มุมต่าง ๆ (λ′) พบว่า ความยาวคลื่น
ของไอนสไตนทวี่ า แสงหรือคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมามีทั้งความยาวคลื่นเท่าเดิมและมากกว่าเดิม ซึ่งความยาวคลื่น
สามารถแสดงสมบัตเิ ปนอนุภาคได ซึง่ ครูจะยัง ที่มากกว่าเดิมนี้แปรผันกับมุมที่กระเจิง (θ ) กล่าวคือ ยิ่งรังสีเอกซ์เบี่ยงเบนจากแนวเดิมมาก
ไมเฉลยคําตอบวาถูกหรือผิด ความยาวคลื่นยิ่งมีค่ามากขึ้นด้วย และความยาวคลื่นที่เปลี่ยนไปนี้ไม่ขึ้นกับความเข้มของรังสี
เอกซ์ที่กระทบอิเล็กตรอน ซึ่งทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ ไม่สามารถอธิบายผล
การทดลองนีไ้ ด้ เพราะว่ารังสีเอกซ์เป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลืน่ ของรังสีเอกซ์ทกี่ ระเจิงจึง
ขึ้นอยู่กับความเข้มและช่วงเวลาที่ฉายรังสีเอกซ์ไปบนเป้าแกรไฟต์

100

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 กลศาสตรดั้งเดิม (classical mechanics) คือ 1 ใน 2 วิชา ที่สําคัญที่สุด นักวิ่งคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม วิ่งดวยอัตราเร็ว 5.2 กิโลเมตร
ของกลศาสตร โดยอีกวิชาหนึง่ คือ กลศาสตรควอนตัม กลศาสตรดงั้ เดิมอธิบาย ตอชั่วโมง ความยาวคลื่นเดอบรอยลของนักวิ่งมีคาเทาใด
ถึงการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุตา ง ๆ บนโลก รวมทัง้ เทหวัตถุหรือวัตถุทางดาราศาสตร (แนวตอบ นักกีฬาวิ่งดวยอัตราเร็ว
ที่อยูนอกโลกดวย ภายใตอิทธิพลจากระบบของแรง โดยวิชานี้ถือเปนวิชาที่ 5.2 × 103 m/h = 1.4 m/s
(60 m/h)(60 s/m)
ครอบคลุมในดานวิทยาศาสตร วิศวกรรม และเทคโนโลยีมากที่สุดวิชาหนึ่ง อีก จากสมมติฐานเดอบรอยล สามารถหาความยาวคลื่นของวัตถุ
ทั้งยังเปนวิชาที่เกาแก ซึ่งมีการศึกษาในการเคลื่อนที่ของวัตถุตั้งแตสมัยโบราณ ที่มีโมเมนตัมใดๆ ได
โดยกลศาสตรดั้งเดิมรูจักในวงกวางวา กลศาสตรนิวตัน จากสมการ λ = Wh
λ h
= mv
λ 6.626 × 10-34 J s = 7.8 × 10-36 m
= (60 kg)(1.4 m/s)
ดังนั้น ความยาวคลื่นเดอบรอยลของนักวิ่งมีคาเทากับ
7.8 × 10-36 เมตร)

T108
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)

เมือ่ ทฤษฎีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ไม่สามารถอธิบายผลการทดลองทีไ่ ด้ คอมป์ตนั 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล ที่ ค รู ตั้ ง ประเด็ น
จึงได้น�าแนวคิดควอนตัมของพลังงานของไอน์สไตน์มาอธิบาย โดยพิจารณาให้รังสีเอกซ์ที่มี คําถามไวจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน
ความถี่ f ประกอบด้วยก้อนพลังงานหรือโฟตอนซึ่งมีพลังงานเท่ากับ1 hf มีโมเมนตัมเท่ากับ hfc อินเทอรเน็ต
และให้การชนระหว่างโฟตอนของรังสีเอกซ์กับอิเล็กตรอนในแกรไฟต์เป็นการชนระหว่างอนุภาค 5. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนไดแสดงความคิดเห็น
กับอนุภาคตามกฎการอนุรักษ์พลังงานและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม ดังนั้น การที่รังสีเอกซ์ จากประเด็นคําถามหลังจากที่สืบคนขอมูลมา
กระเจิงออกมาโดยมีความยาวคลื่นเท่าเดิม แสดงว่าโฟตอนของรังสีเอกซ์กับอิเล็กตรอนในแท่ง แลว
แกรไฟต์ชนกันแบบยืดหยุ่น และถ้าความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ท่ีกระเจิงออกมามากกว่าเดิม 6. ครูใหนักเรียนคูเดิมรวมกันศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง
แสดงว่าโฟตอนกับอิเล็กตรอนชนกันแบบไม่ยืดหยุ่น ซึ่งท�าให้เห็นได้ว่า ผลที่ได้จากการวัดใน สมมติฐานเดอบรอยล จากหนังสือเรียน
การทดลองกับการค�านวณสอดคล้องกัน กล่าวได้ว่า ปรากฏการณ์คอมป์ตันเป็นปรากฏการณ์ที่ 7. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามวา
สนับสนุนแนวคิดของไอน์สไตน์ที่ว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถแสดงสมบัติความเป็นอนุภาคได้
• สมมติฐานเดอบรอยลคืออะไร
5.3 สมมติฐานเดอบรอยล์ (แนวตอบ สมมติฐานเดอบรอยล เปนแนวคิด
ใน พ.ศ. 2467 หลุยส์ วิกเตอร์ เดอ บรอยล์1 (Louis Victor De Broglie) (พ.ศ. 2435- ของหลุยส วิกเตอร เดอ บรอยล ที่วา แสงมี
2530) นักฟิสิกส์ ชาวฝรั่งเศส ได้เสนอแนวความคิดว่า แสงมีสมบัติเป็นได้ทั้งคลื่นแสงและอนุภาค สมบัตเิ ปนไดทงั้ คลืน่ และอนุภาค และถาคลืน่
กล่าวคือ ในกรณีทแี่ สงมีการเลีย้ วเบนและการแทรกสอด แสดงว่าขณะนัน้ แสงประพฤติตวั เป็นคลืน่ แมเหล็กไฟฟาแสดงสมบัติของอนุภาคได
ส�าหรับกรณีแสงในปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและปรากฏการณ์คอมป์ตัน แสดงให้เห็นว่าแสง สิ่งตางๆ ที่เปนอนุภาค เชน อิเล็กตรอน
เป็นอนุภาค ดังนั้น สสารทั่วไปที่มีสมบัติเป็นอนุภาคก็น่าจะมีสมบัติเป็นคลื่นด้วย เดอบรอยล์จึง โปรตอน นิ ว ตรอน อะตอม โมเลกุ ล
พยายามหาความยาวคลื่นมวลสสารซึ่งเริ่มจากความยาวคลื่นของแสงก่อน โดยได้เสนอสมการ ลูกฟุตบอล ก็สามารถแสดงสมบัติของคลื่น
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นกับโมเมนตัมของโฟตอนซึ่งอาศัยทฤษฎีสัมพัทธภาพ ได)
ของไอน์สไตน์ ดังนี้
8. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลการศึกษา
จากสมการ E = mc2 เรือ่ ง สมมติฐานเดอบรอยล วา “ตามสมมติฐาน
เริ่มจากพิจารณาอนุภาคที่มีมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v โมเมนตัมที่เกิดขึ้นเท่ากับ เดอบรอยล ไมวา อนุภาคจะมีมวลหรือไมกต็ าม
p = mv ถ า อนุ ภ าคนั้ น มี ก ารเคลื่ อ นที่ ก็ จ ะสามารถ
น�าค่า m จากทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์มาแทนในสมการโมเมนตัม จะได้ว่า แสดงสมบัติของคลื่นไดทั้งสิ้น สรุปไดวา คลื่น
p = E2 v สามารถแสดงสมบัตขิ องอนุภาคไดและอนุภาค
c แสดงสมบัตขิ องคลืน่ ได เรียกสมบัตดิ งั กลาววา
หากอนุภาคที่พิจารณาในที่นี้ คือ โฟตอน อัตราเร็วของอนุภาคจะเท่ากับอัตราเร็วของแสง ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค”
ในสุญญากาศ 9. ครูใหนกั เรียนศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎีสมั พัทธภาพ
จะได้ว่า p = E2 c = Ec ของไอน ส ไตน เ พิ่ ม เติ ม จากแหล ง ข อ มู ล
c
1
เนื่องจากราชบัณฑิตยสภาก�าหนดให้สะกดตัวสะกดชื่อและสกุล ตามเสียงในเชื้อชาติดั้งเดิมตามก�าเนิดของนักวิทยาศาสตร์ผู้นั้น กล่าวคือ ชื่อ สารสนเทศ เพื่อประกอบการศึกษาเกี่ยวกับ
Louis Victor De Broglie ก�าหนดให้ใช้วา่ ลุย วิกตอร์ เดอ เบรย แต่เพือ่ ให้งา่ ยต่อการสือ่ สาร ในหนังสือเล่มนีจ้ ะใช้วา่ หลุยส์ วิกเตอร์ เดอ บรอยล์
ฟิสิกส์อะตอม 101
สมมติฐานเดอบรอยลใหมีความเขาใจมาก
ยิ่งขึ้น

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


จงหาความยาวคลืน่ เดอบรอยลของอิเล็กตรอนซึง่ เคลือ่ นทีด่ ว ย 1 แกรไฟต (graphite) คือ อัญรูปหนึ่งของธาตุคารบอน มีนํ้าหนักเบาผิด
พลังงานจลน 5 อิเล็กตรอนโวลต ปกติจากแรโลหะ สีแรคลายแรโมลิบดีไนตแตสีผงตางกัน เห็นไดชัดเจนเพียง
(แนวตอบ ขูดบนแผนกระเบื้องเคลือบหรือกระดาษมันก็จะไดเปนสีเทาเขมถึงดํา สวนแร
จากสมการ Ek = 2m p2 โมลิบดีไนตสผี งเปนสีเทาออกไปทางเขียว มักพบในหินแปร เชน หินออน หินชีสต
p = 2mEk แกรไฟตมกั เกิดจากกระบวนการแปรสภาพของหินทีม่ เี นือ้ คารบอนหรือเนือ้ ถาน
p = 2(9.1 × 10-31 kg)(5 eV)(1.6 × 10-19 J/eV) และมีตนกําเนิดจากพวกสารอินทรีย ในประเทศไทยมักพบในหลายจังหวัด เชน
p = 1.2 × 10-24 kg m/s จันทบุรี เชียงใหม พะเยา เชียงราย ประจวบคีรขี นั ธ แกรไฟตใชในการทําดินสอดํา
จากสมการ λ = ph ใชผสมนํ้ามันทํานํ้ามันเครื่อง ใชทําเบาหลอมโลหะชนิดทนไฟไดดี
-34
λ = 6.626 ×-2410 J s
1.2 × 10 kg m/s
= 5.52 × 10-10 m = 0.552 × 10-9 m
λ
ดังนั้น ความยาวคลื่นเดอบรอยลของอิเล็กตรอนมีคาเทากับ
0.552 นาโนเมตร)
T109
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
10. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นอยางอิสระ จากนัน้ เนื่องจากโฟตอนที่มีความถี่ f จะมีพลังงาน E = hf และอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ
ใหรวมกันศึกษาตัวอยางที่ 6.18-6.21 จาก c = fλ สามารถเขียนโมเมนตัมของโฟตอนในเทอมของความยาวคลื่นได้เป็น
หนังสือเรียน
11. ครู ถ ามคํ า ถามหรื อ โจทย ป  ญ หาเพิ่ ม เติ ม ที่
p = fhfλ = λh (6.27)
นอกเหนือจากหนังสือเรียนเพื่อใหนักเรียนได จากแนวความคิดนี้ เดอบรอยล์ จึงได้เสนอแนวคิดขึ้นมาใหม่ว่า ถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ศึกษาและทําความเขาใจมากขึ้น แสดงสมบัติของอนุภาคได้ สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นอนุภาค เช่น อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน อะตอม
12. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้น โมเลกุล ลูกฟุตบอล หรือก้อนหิน ก็สามารถแสดงสมบัติของคลื่นได้ เรียกแนวคิดนี้ว่า สมมติฐาน
ครูใหนักเรียนอธิบายขั้นตอนและวิธีการหา ของเดอบรอยล์ (de Broglie’s hypothesis) และจากความสัมพันธ์ของโมเมนตัมของโฟตอน
คําตอบจากตัวอยางและคําถามทีค่ รูใหเพิม่ เติม ดังสมการที ่ 6.27 สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เพือ่ ค�านวณหาความยาวคลืน่ ของอนุภาคมวล m
บนกระดาน ที่มีอัตราเร็ว v ได้ ดังสมการที่ 6.28
13. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง λ = hp = mv
h (6.28)
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด
λ คือ ความยาวคลื่นของอนุภาค มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)
ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ h คือ ค่าคงตัวของพลังค์ ((Plank’s constant) มีค่าเท่ากับ 6.626 × 10-34 จูล วินาที (J s)
สิ่งที่แตกตาง p คือ โมเมนตัมของอนุภาค มีหน่วยเป็น กิโลกรัม เมตรต่อวินาที ((kg m/s)
14. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept m คือ มวลของอนุภาค มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( (kg)
Question จากหนังสือเรียน v คือ อัตราเร็วของอนุภาค มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ((m/s)

ความยาวคลื่นของอนุภาคหรือสสาร จากสมการที่ 6.28 เรียกว่า ความยาวคลื่นเดอบรอยล์


(de Broglie wavelength) กล่าวได้ว่า ตามสมมติฐานของเดอบรอยล์ ไม่ว่าอนุภาคจะมีมวลหรือ
ไม่มีมวล (เช่น โฟตอน เป็นอนุภาคที่ไม่มีมวล) ถ้าอนุภาคนั้นมีการเคลื่อนที่ก็จะสามารถแสดง
สมบัตขิ องคลืน่ ได้ทงั้ สิน้ จากแนวความคิดของไอน์สไตน์และสมมติฐานของเดอบรอยล์ ท�าให้สรุป
ได้ว่า คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคได้และอนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นได้ สมบัติดังกล่าว เรียกว่า
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค (wave-particle duality)
P hysics
Focus ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้คิดค้นและพัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Relativity Theory) ขึ้นมาซึ่ง
เป็นรากฐานความส�าคัญของฟิสกิ ส์ยคุ ใหม่ โดยทฤษฎีนไี้ ด้แยกออกเป็น 2 ตอน คือ ทฤษฎีสมั พัทธภาพ
พิเศษ เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ทางกายภาพทั้งหมดยกเว้นความโน้มถ่วง และทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ทั่วไป เกี่ยวข้องกับความโน้มถ่วงหรือแรงดึงดูดระหว่างมวล
102

ขอสอบเนน การคิด
โฟตอนของรังสีเอกซวิ่งในแนว +X เขาชนนิวเคลียสของคารบอนมวล 2.0 × 10-26 กิโลกรัม ซึ่งอยูนิ่ง พบวา โฟตอนวิ่งกลับในแนว -X ในขณะที่
นิวเคลียสของคารบอนวิ่งออกไปในแนว +X ดวยความเร็ว 280 เมตรตอวินาที ความยาวคลื่นของโฟตอนของรังสีเอกซที่วิ่งเขามาชนมีคาเทาใด
(แนวตอบ การชนดังกลาวเปนการชนใน 1 มิติ การชนในทุกกรณี จากสมการ Σpกอน = Σpหลัง
จะถือวาโมเมนตัมคงตัว โมเมนตัมเริ่มตนของนิวเคลียสคารบอนเปน pX = pC - pX
ศูนย หลังชนแลวโมเมนตัมของนิวเคลียสคารบอนมีคา ดังสมการ 2pX = pC
p = mv 6.626 × 10-34 J s ) = 5.60 × 10-24 kg m/s
pC = (2.0 × 10-26 kg)(280 m/s)
2 ( λ
pC = 5.60 × 10-24 kg m/s 13.252 × 10-34 J s = 5.60 × 10-24 kg m/s
λ -34
สวนโมเมนตัมของรังสีเอกซหาไดจากความยาวคลื่นเดอบรอยล λ = 13.252 ×-2410 J s
จากสมการ p = λh 5.60 × 10 kg m/s
-34 λ = 2.37 × 10-10 m
pX = 6.626 × 10 J s
λ λ = 0.237 × 10-9 m
รังสีเอกซวิ่งกลับในทางเดิม สามารถหาโมเมนตัมของรังสีเอกซได ดังนั้น ความยาวคลื่นของโฟตอนของรังสีเอกซที่วิ่งเขามาชนมีคา
จากกฎการอนุรักษโมเมนตัม เทากับ 0.237 นาโนเมตร)
T110
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)

ตัวอย่างที่ 6.18
15. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
อนุภาคหนึ่งมีมวล 1.67 × 10-27 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 90 เมตรต่อวินาที ความยาวคลื่น เกี่ยวกับเรื่อง ปรากฏการณคอมปตันและ
เดอบรอยล์ของอนุภาคนี้เท่ากับเท่าใด สมมติฐานเดอบรอย เพิ่มเติมจากแบบฝกหัด
h รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
วิธีท�า จากสมการที่ 6.28 λ = mv
ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ฟสกิ ส
λ = 6.626 × 10-34 J s อะตอม
(1.67 × 10-27 kg)(90 m/s)
λ = 4.4 × 10-9 m ลงมือท�า (Doing)
ดังนั้น ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของอนุภาคนี้เท่ากับ 4.4 นาโนเมตร 16. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ ปรากฏ
การณ ค อมป ตั น และสมมติ ฐ านเดอบรอย
ตัวอย่างที่ 6.19
โดยสร า งสรรค อ อกมาในรู ป แบบของใบ
รถยนต์คันหนึ่งมวล 2.0 × 103 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หากพิจารณา ความรู ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตง
ว่ารถยนต์คันนี้ประพฤติตัวเป็นคลื่น ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของรถยนต์คันนี้มีค่าเท่าใด ใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพื่อตรวจให
วิธีท�า จากสมการที่ 6.28 λ h
= mv
คะแนน
-34
17. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น แลวรวมกันศึกษา
λ = 6.626 ×3 10 J s แบบฝกหัด Topic Questions จากหนังสือ
(2.0 × 10 kg)(90 m/s)
เรียน โดยครูมอบหมายใหนักเรียนแตละคน
λ = 3.7 × 10-39 m
เขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหาลงในสมุด
ดังนั้น ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของรถยนต์คันนี้เท่ากับ 3.7 × 10-39 เมตร
บันทึกประจําตัว
18. ครูแจกใบงาน เรื่อง สมมติฐานเดอบรอยล
ตัวอย่างที่ 6.20 ใหนักเรียนคนละ 1 ชุด จากนั้นมอบหมายให
อิเล็กตรอนในหลอดโทรทัศน์มีอัตราเร็ว 4.2 × 107 เมตรต่อวินาที ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของ นักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน เสร็จ
อิเล็กตรอนนี้เท่ากับเท่าใด
แลวตัวแทนรวบรวมสงครู
วิธีท�า จากสมการที่ 6.28 λ h
= mv
λ = 6.626 × 10-34 J s
(9.11 × 10-31 kg)(4.2 × 107 m/s)
λ = 0.017 × 10-9 m
ดังนั้น ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของอิเล็กตรอนนี้เท่ากับ 0.017 นาโนเมตร

ฟิสิกส์อะตอม 103

ขอสอบเนน การคิด
อิเล็กตรอนตัวหนึ่งจะตองเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วเทาใดในหนวยเมตรตอวินาที จึงจะมีโมเมนตัมเปน 1 ใน 10 ของโมเมนตัมของโฟตอนของแสง
ความถี่ 4.5 × 1014 เฮิรตซ
1. 98.67 เมตรตอวินาที 2. 109.22 เมตรตอวินาที 3. 129.22 เมตรตอวินาที
4. 187.42 เมตรตอวินาที 5. 200.54 เมตรตอวินาที
(วิเคราะหคําตอบ พิจารณาโมเมนตัมของโฟตอนของแสงความถี่ คํานวณหาอัตราเร็วของอิเล็กตรอนโดยใชคาโมเมนตัมของโฟตอน
14
4.5 × 10 เฮิรตซ จากสมการ p = mv
จากสมการ λ = h เนื่องจากโมเมนตัมของอิเล็กตรอนเปน 1 ใน 10 ของโมเมนตัมของ
p -28
c = h โฟตอน จะไดวา 9.94 × 1010 kg m/s = (9.1 × 10-31 kg)v
f p
p = hf c
9.94 × 10-29 kg m/s = (9.1 × 10-31 kg)v
-29
-34
p = (6.626 × 10 J s)(4.5
14
× 10 Hz) v = 9.94 × 10 -31kg m/s
8
3 × 10 m/s 9.1 × 10 kg
2.9817 × 10
-19
J v = 109.22 m/s
p = 8 นัน่ คือ อิเล็กตรอนจะตองเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 109.22 เมตรตอวินาที
3 × 10 m/s
p = 9.94 × 10-28 kg m/s ดังนั้น ตอบขอ 2.)
T111
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
นักเรียนอภิปรายสรุปความรูท ไี่ ดศกึ ษามาแลว ตัวอย่างที่ 6.21
ทัง้ เนือ้ หาและตัวอยางจากหนังสือเรียน พรอม อนุภาคหนึ่งในหลอดสุญญากาศประพฤติตัวเปนคลื่น เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 9.8 × 107 เมตรตอวินาที
ทั้ ง ยกตั ว อย า งสถานการณ ที่ เ กี่ ย วข อ งเพื่ อ ถาความยาวคลื่นเดอบรอยลของอนุภาคนี้เทากับ 0.55 นาโนเมตร อนุภาคนี้จะมีมวลกี่กิโลกรัม
ทดสอบความเขาใจ วิธีทํา จากสมการที่ 6.28 = mvλh
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
m = λhv
ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ
มีขอสงสัย จากนั้นครูใหความรูเ พิ่มเติมโดยใช m = 6.626 × 10-34 J s
(0.55 × 10-9 kg)(9.8 × 107 m/s)
PowerPoint เรื่อง ปรากฏการณคอมปตัน m = 1.2 × 10-32 kg
และสมมติฐานเดอบรอยล มาเปดใหนักเรียน ดังนั้น อนุภาคนี้จะมีมวลเทากับ 1.2 × 10-32 กิโลกรัม
ดูประกอบ
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค เปนปรากฏการณที่คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคไดและ
ขัน้ ประเมิน อนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นไดเชนกัน โดยสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่คนทั่วไปจะรูสึกวาไกลตัวและยาก
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง ปรากฏการณ ตอการจินตนาการและทําความเขาใจ แตนกั วิทยาศาสตรหลาย ๆ ทานไดพยายามทําการทดลองและ
คอมปตนั และสมมติฐานเดอบรอยล โดยสังเกต แสดงใหเห็นวา ทวิภาวะของคลืน่ และอนุภาคนัน้ Con���t Q�e����n
พฤติกรรมการตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด เปนจริง ซึง่ ไดมกี ารนําความรูต า ง ๆ ไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวันคลื่นของอนุภาคมีอิทธิพล
และการสรุปสาระสําคัญ และไดมกี ารสรางกลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอนขึน้ ตอปรากฏการณที่สังเกตไดหรือไม อยางไร
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา เพือ่ ชวยขยายขอบเขตการรับรูข องมนุษย ทําให
ศาสตรจากการคํานวณหาความยาวคลื่นเดอ เกิดประโยชนทั้งในดานการแพทย การศึกษา
บรอยลและปริมาณที่เกี่ยวของจากตัวอยางที่ และอุตสาหกรรม อีกทั้งยังเปนแนวทางสูวิชา Core Concept
ครูกําหนดให หรือศาสตรใหม อยางเชน กลศาสตรควอนตัม ให นักเรียนสรุปสาระสําคัญ เรื่อง
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
พฤติ ก รรมความรั บ ผิ ด ชอบต อ งานที่ ไ ด รั บ Topic
Questions
มอบหมาย และปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
กําหนด 1. สําหรับผิวโลหะชนิดหนึ่ง พบวา ความถี่ขีดเริ่มของแสงสําหรับผิวโลหะนี้เทากับ 8.75 × 1014 เฮิรตซ
พลังงานจลนสูงสุดของอิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวโลหะนี้เทากับเทาใด
แนวตอบ Concept Question
2. ทําการทดลองปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกโดยใชแสงที่มีความยาวคลื่น 400 อังสตรอม พบวา ความ
หนึ่งในอิทธิพลของคลื่นของอนุภาคในชีวิต ตางศักยที่ทําใหกระแสไฟฟาในวงจรเปนศูนยมีคาเปน 0.6 โวลต
ประจําวัน คือ เซลลแสงอาทิตย โดยการเลือกวัสดุ ก) พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนมีคาเทาใด
ข) ฟงกชันงานของโลหะมีคาเทาใดในหนวยอิเล็กตรอนโวลต
ที่มีแถบพลังงานใหเหมาะสมกับชนิดของแสงหรือ
เหมาะสมกับพลังงานของโฟตอนที่มาตกกระทบ 104
และสามารถกระตุนอิเล็กตรอนในวัสดุใหหลุดออก
จากผิวโลหะที่เปนขั้วไฟฟา

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. เมือ่ พิจารณาทีค่ วามถีข่ ดี เริม่ พลังงานของโฟตอนจะเทากับฟงกชนั งาน
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ปรากฏการณ
ของโลหะนัน้ แสดงวาหากมีโฟโตอิเล็กตรอนตัวใดตัวหนึง่ เริม่ หลุดออก
คอมปตันและสมมติฐานเดอบรอยล ไดจากใบความรูที่นักเรียนไดสรางขึ้นใน
จากผิวโลหะ พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนตัวนั้นจะเปนศูนย
ขั้นลงมือทํา โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/
2. ก) จากสมการ Ekmax = eVs
ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6
Ekmax = (1.6 × 10-19 C)(0.6 V ) = 0.96 × 10-19 J
ฟสิกสอะตอม
ดังนัน้ พลังงานจลนสงู สุดของอิเล็กตรอนทีห่ ลุดออกจากผิวโลหะนี้
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 6-7

ประเด็นที่ประเมิน
เกณฑ์ประเมินใบความรู้
ระดับคะแนน
เทากับ 0.96 × 10-19 จูล
ข) จากสมการ hf = W + Ekmax
แบบประเมินผลงานใบความรู้ 4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน

W = hc
2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน

- Ekmax
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น
ระบบ
ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น λ
8
4 ความเป็นระเบียบ

-34
W = (6.626 ×10 J s)(3 ×10 m/s)
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม

- 0.96 ×10-19 J
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

-10
400 × 10 m
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

W = 48.735 × 10-19 J
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้

-19
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

W = 48.735 ×-1910 J = 30.46 eV


1.6 × 10 J/eV
ดังนั้น ฟงกชันงานของโลหะมีคาเทากับ 30.46 อิเล็กตรอนโวลต
T112
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
กลศาสตรควอนตัม 6. กลศาสตร์ควอนตัม 1. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นสนทนาทบทวนความรู 
เปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ เกี่ยวกับทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
สิง่ ใด
หลังจากเดอบรอยล์ได้เสนอสมมติฐานว่า อนุภาคก็สามารถ 2. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับทวิภาวะของคลื่นและ
แสดงสมบัติคลื่นได้ นักฟิสิกส์หลายคนจึงพยายามใช้สมมติฐานนี้
อนุภาคจาก YouTube ใหนักเรียนศึกษา เพื่อ
สร้างทฤษฎีเพือ่ อธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ในอะตอม จนกระทัง่ มีการศึกษาวิชากลศาสตร์ควอนตัม
เปนการทบทวนความรูเ ดิม โดยเมือ่ ดูเสร็จแลว
(quantum mechanics) ขึ้น ท�าให้มีการศึกษาธรรมชาติในระดับอะตอมได้อย่างถูกต้อง
ครูสุมตัวแทนนักเรียนอภิปรายความรูที่ได
กลศาสตร์ควอนตัม เป็นศาสตร์หรือวิชาทีศ่ กึ ษาธรรมชาติในระดับอะตอมได้อย่างกว้างขวาง
โดยมีพื้นฐานจากทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค อาจกล่าวได้ว่า กลศาสตร์ควอนตัมเป็นศาสตร์ที่ ขัน้ สอน
เน้นอธิบายพฤติกรรมของอนุภาคขนาดเล็ก ซึง่ ต่างจากกลศาสตร์อนื่ ๆ ทีเ่ คยศึกษามา การพัฒนา รู้ (Knowing)
กลศาสตร์ควอนตัมเริ่มต้นจาก แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrödinger) (พ.ศ. 2430-2504)
นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ได้ศึกษาสมมติฐานของเดอบรอยล์และวิเคราะห์ว่า เนื่องจากอิเล็กตรอน 1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง กลศาสตรควอนตัม
เป็นอนุภาคแต่สามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้ จากหนังสือเรียน
ดังนั้น สมการการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนควร 2. ครูใหนักเรียนใชโทรศัพทมือถือสืบคนขอมูล
จะคล้ายกับสมการคลื่น เขาจึงได้สร้างสมการ เกี่ ย วกั บ กลศาสตร ค วอนตั ม รวมทั้ ง ข อ มู ล
คลืน่ ของอิเล็กตรอนขึน้ ในป พ.ศ. 2468 เรียกว่า เกี่ยวกับแอรวิน ชเรอดิงเงอร เพิ่มเติมจาก
สมการชเรอดิงเงอร์ จากการค้นพบสมการ สื่อสารสนเทศแบบออนไลน
ชเรอดิงเงอร์ ท�าให้แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ได้รับ 3. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น
รางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ใน พ.ศ. 2476 โดย
1 จากนั้ น ให นั ก เรี ย นอภิ ป รายผลการศึ ก ษา
แทนอิเล็กตรอนด้วยกลุ่มคลื่น ( (wave packet) เกี่ยวกับกลศาสตรควอนตัม
ซึง่ เคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วกลุม่ (group velocity) ภ าพที่ 6.37 แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ ผู้คิดค้นสมการ 4. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาแลวถามคําถามวา
ที่เท่ากับความเร็วของอนุภาค ชเรอดิงเงอร์
ที่มา : https://www.qute-th.com/ • การศึกษาการเคลื่อนที่ของอนุภาคในระดับ
หากศึ ก ษาและพิ จ ารณากลศาสตร์ ควอนตั ม เราสามารถใช ส มการความ
ควอนตัมจะพบว่า กลศาสตร์ควอนตัมจะบอกถึงความน่าจะเป็นในการพบอนุภาคในรูปของกลุม่ คลืน่ สัมพันธใดในการแกปญหาเพื่อใหไดมาซึ่ง
ณ ต�าแหน่งและเวลาหนึง่ ๆ ซึง่ แตกต่างจากกลศาสตร์นวิ ตันทีบ่ อกได้อย่างแน่ชดั ถึงการพบอนุภาค คําตอบ
ณ ต�าแหน่งและเวลาหนึ่ง ๆ กล่าวได้ว่า กลศาสตร์ควอนตัมเป็นทฤษฎีที่ประสบความส�าเร็จในการ (แนวตอบ สมการชเรอดิงเงอร (SchrÖdinger
อธิบายอะตอมไฮโดรเจน การแก้สมการชเรอดิงเงอร์ให้ผลลัพธ์ที่แสดงให้เห็นความไม่ต่อเนื่อง Equation))
ของพลังงานและโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนซึ่งตรงกับที่ได้จากสมมติฐานในทฤษฎีอะตอม
ของโบร์ นอกจากนั้น กลศาสตร์ควอนตัมยังสามารถค�านวณระดับพลังงานชั้นต่าง ๆ ของอะตอม
ที่มีอิเล็กตรอนมากกว่าหนึ่งตัวขึ้นไปได้ สรุปได้ว่า กลศาสตร์ควอนตัมสามารถอธิบายอะตอมได้
กว้างขวางกว่าและดีกว่าทฤษฎีอะตอมของโบร์มาก ทฤษฎีนี้จึงเป็นที่ยอมรับกันมาจนถึงปจจุบัน

ฟิสิกส์อะตอม 105
แนวตอบ Key Question
เปนวิชาที่ศึกษาธรรมชาติในระดับอะตอม

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 2-3 คน 1 กลุมคลื่น (wave packet) คือ การรวมตัวกันของคลื่นสสารจํานวนมาก
2. ครูมอบหมายใหแตละกลุมรวมกันสืบคนขอมูลและสนทนา ทีม่ คี วามยาวคลืน่ ตางกัน กลุม คลืน่ ใชแทนอนุภาค โดยถือวาตําแหนงของอนุภาค
เกี่ยวกับนักฟสิกส แอรวิน ชเรอดิงเงอร ในเรื่องของประวัติ จะอยูที่เดียวกับตําแหนงของกลุมอื่น ซึ่งไดมาจากกลุมของฟงกชันคลื่นซึ่งเปน
สวนตัวและผลงานที่เขาไดสรางขึ้นในขณะที่ยังมีชีวิตอยู โดย คําตอบของสมการชเรอดิงเงอร
สมาชิกภายในกลุม อาจแบงหนาทีก่ นั สืบคนใหชดั เจน เสร็จแลว
นําขอมูลที่ไดมาอภิปรายรวมกันภายในกลุม
3. ครูแจกกระดาษ A3 ใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน โดยแตละกลุม
จะตองรวมกันจัดทําโปสเตอรเกีย่ วกับสิง่ ทีก่ ลุม ตนเองศึกษา ซึง่
รูปแบบการนําเสนอขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของแตละกลุม พรอมทัง้
ตกแตงใหสวยงาม
4. ครูใหแตละกลุม ออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชัน้ เรียน
ดวยทักษะการสื่อสารที่ทําใหเขาใจงายแตเนื้อหาตองครบถวน
และถูกตอง

T113
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับสมการชเรอ 6.1 หลักความไมแนนอน
ดิงเงอรจากอินเทอรเน็ต ใน พ.ศ. 2470 เวอร์เนอร์ คาร์ล ไฮเซนเบิร์ก1 (Werner Karl Heisenberg) (พ.ศ. 2444-
6. ครูสุมนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับสมการชเรอ 2519) ได้เสนอหลักความไม่แน่นอน (uncertainty principle) ไว้วา่ “เราไม่สามารถทีจ่ ะรูต้ า� แหน่ง
ดิงเงอร รวมทั้งใหขอคิดเห็นเปรียบเทียบกับ และความเร็วของอนุภาคในเวลาเดียวกันได้อย่างแม่นย�า” เช่น ถ้าต้องการรู้ต�าแหน่งของอนุภาค
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เราต้องให้อนุภาคหยุด แต่ถ้าต้องการรู้ความเร็วของอนุภาค แสดงว่า อนุภาคต้องมีการเคลื่อนที่
7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหเกิดความ ดังนั้น เราจะไม่สามารถรู้ต�าแหน่งหรือโมเมนตัมของอนุภาคได้แน่ชัดพร้อมกัน
เข า ใจที่ ต รงกั น ว า “สมการของนิ ว ตั น และ จากหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก จะเห็นได้ว่า ในการวัดปริมาณใด ๆ จะมีความ
สมการของชเรอดิงเงอร เปนเครือ่ งมือทีท่ วั่ โลก ไม่แน่นอนปรากฏอยูเ่ สมอโดยธรรมชาติ นอกเหนือจากความไม่แน่นอนทีเ่ กิดจากผูว้ ดั เครือ่ งมือวัด
ตองใชในการศึกษาสภาพการเคลื่อนที่ของ และวิธีการวัดแล้ว หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์กที่กล่าวถึงความไม่แน่นอนของต�าแหน่ง
วัตถุหรืออนุภาคทีม่ แี รงมาเกีย่ วของ โดยสมการ และความไม่แน่นอนของโมเมนตัม สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังสมการที่ 6.29
ทั้ ง สองต า งกั น ตรงที่ ส มการของนิ ว ตั น เป น
สมการทีใ่ ชสาํ หรับศึกษาการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ Δ xΔp ≥ ℏ (6.29)
2
ขนาดใหญและมีความเร็วไมสูง สวนสมการ Δx คือ ความไม่แน่นอนของต�าแหน่ง มีหน่วยเป็น เมตร (
เมตร (m)
ของชเรอดิงเงอรเปนสมการที่ใชสําหรับการ Δp คือ ความไม่แน่นอนของโมเมนตัม มีหน่วยเป็น กิโลกรัม เมตรต่อวินาที ((kg m/s)
แก ป  ญ หาเกี่ ย วกั บ การเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ ใ น ℏ คือ ค่าคงตัวมูลฐาน มีค่าเท่ากับ อัตราส่วนระหว่างค่าคงตัวของพลังค์กับ 2π (ℏ = 2hπ)
ระดับควอนตัม”
8. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนไดแสดงความคิดเห็น หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก จากสมการที่ 6.29 แสดงขอบเขตจ�ากัดการวัดใน
ธรรมชาติ ถึงแม้ว่าจะท�าการวัดต�าแหน่งและโมเมนตัมของอนุภาคอย่างสมบูรณ์ที่สุด แต่ยังคงมี
จากขอมูลที่ไดรวมกันอภิปราย
ความไม่แน่นอนเสมอ โดยผลคูณของความไม่แน่นอนของต�าแหน่งและโมเมนตัมของอนุภาคจะ
9. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง หลักความไมแนนอน
มีค่าอย่างน้อยเท่ากับหรือมากกว่า ℏ2 = 4hπ เสมอ
จากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ จากนั้นครู
มอบหมายใหนกั เรียนเขียนสรุปความรูเ กีย่ วกับ หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก นอกจากจะมีส่วนส�าคัญในการพัฒนาวิชากลศาสตร์
ควอนตัมแล้ว ยังสามารถท�าให้เราได้เข้าใจธรรมชาติได้มากขึน้ โดยแสดงให้เห็นว่าเหตุการณ์ตา่ ง ๆ
เรื่องที่ศึกษาลงในกระดาษ A4 แลวนําสงครู
มีความน่าจะเป็น (probability) หรือโอกาสที่จะเกิดขึ้นในรูปของสถิติทางคณิตศาสตร์ด้วย
P hysics
Focus เวอร์เนอร์ คาร์ล ไฮเซนเบิร์ก
เวอร์เนอร์ คาร์ล ไฮเซนเบิร์ก นักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมัน เป็นหนึ่งในผู้วางหลักการพื้นฐาน
ของวิชากลศาสตร์ควอนตัม และเป็นผูท้ มี่ สี ว่ นในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม จนได้รบั การยกย่องว่า
เป็น “บิดาแห่งกลศาสตร์ควอนตัม” ซึ่งเขาได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ใน พ.ศ. 2475

1 เนือ่ งจากราชบัณฑิตยสภาก�าหนดให้สะกดตัวสะกดชือ่ และสกุล ตามเสียงในเชือ้ ชาติดงั้ เดิมตามก�าเนิดของนักวิทยาศาสตร์ผนู้ นั้ กล่าวคือ ชือ่ Werner
Karl Heisenberg ก�าหนดให้ใช้วา่ แวร์เนอร์ คาร์ล ไฮเซนแบร์ก แต่เพือ่ ให้งา่ ยต่อการสือ่ สาร ในหนังสือเล่มนีจ้ ะใช้วา่ เวอร์เนอร์ คาร์ล ไฮเซนเบิรก์
106

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง หลักความไมแนนอน ครู อนุภาคแอลฟามวล 6.7 × 10-27 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว
อาจใหความรูเ สริมเพือ่ แนะนําการอานออกเสียงชือ่ และสกุลของนักวิทยาศาสตร 4.0 × 106 เมตรตอวินาที ถาความไมแนนอนของการวัดอัตราเร็ว
ผูเ สนอหลักความไมแนนอน ซึง่ ก็คอื Werner Karl Heisenberg โดยการอานออก เปน 0.5 × 106 เมตรตอวินาที ความไมแนนอนของตําแหนงอนุภาค
เสียงตามสัญชาติหรือเชื้อชาติของนักวิทยาศาสตรผูนี้ซึ่งมีถิ่นกําเนิดในประเทศ แอลฟาจะเปนเทาใด เมื่อกําหนดใหมวลของอนุภาคคงตัว
เยอรมนี ทางราชบัณฑิตยสภาไดกําหนดใหอานวา แวรเนอร คารล ไฮเซนแบรก (แนวตอบ
แตเพื่อใหงายตอการทําความเขาใจในเนื้อหาเกี่ยวกับหลักความไมแนนอนใน จากสมการ ΔxΔp ≥ ℏ2
หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม จึงนิยมอานออกเสียงแบบอังกฤษหรือแบบ h
Δx(mΔv) ≥
สหรัฐอเมริกา คือ เวอรเนอร คารล ไฮเซนเบิรก 4π
Δx ≥
h
4π(mΔv)
Δx ≥ 6.626 × 10-34 J s
4π(6.7 × 10-27 kg)(0.5 × 106 m/s)
-14
Δx ≥ 1.57 × 10 m
ดังนั้น ความไมแนนอนของตําแหนงอนุภาคแอลฟาจะเปน
1.57 × 10-14 เมตร)
T114
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

ตัวอย่างที่ 6.22
10. ครูใหนักเรียนเปดหนังสือเรียน เพื่อศึกษา
ลูกกระสุนปืนมวล 0.040 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 1,000 เมตรต่อวินาที ความไม่แน่นอนใน เกีย่ วกับหลักความไมแนนอน เปนการเนนยํา้
การวัดต�าแหน่งเป็น 2 มิลลิเมตร ความไม่แน่นอนในการวัดโมเมนตัมมีค่าเท่าใด กับผลการศึกษาและขอมูลทีไ่ ดสบื คนมากอน
หนานี้
วิธีท�า จากสมการที่ 6.29 ΔxΔp ≥ ℏ
2 11. ครูสมุ นักเรียนยืนขึน้ แลวอธิบายเกีย่ วกับหลัก
แสดงว่า ต้องค�านวณหาความไม่แน่นอนของต�าแหน่ง จึงประมาณค่าความไม่แน่นอนของ
ความไมแนนอนที่ตนเองไดศึกษามา
โมเมนตัมได้ จะได้ว่า Δp ≥ ℏ
2(Δx)
h เข้าใจ (Understanding)
Δp ≥
4π(Δx)
-34 12. ครูใหนกั เรียนปดหนังสือเรียน จากนัน้ ครูอา น
Δp ≥ 6.626 × 10-3 J s
4π(2 × 10 m) โจทยปญหาของตัวอยางที่ 6.22-6.23 จาก
-32
Δp ≥ 2.64 × 10 kg m/s หนังสือเรียน ใหนักเรียนจดลงในสมุดบันทึก
ดังนั้น ความไม่แน่นอนของโมเมนตัมของลูกกระสุนปืนมีค่าเป็น 2.64 × 10-32 กิโลกรัม เมตรต่อวินาที ประจําตัว แลวแสดงวิธีแกโจทยปญหาเพื่อ
หาคําตอบ
ตัวอย่างที่ 6.23 13. ครู นํ า คํ า ถามหรื อ โจทย ป  ญ หาเพิ่ ม เติ ม ซึ่ ง
อิเล็กตรอนตัวหนึง่ เคลือ่ นทีด่ ว้ ยอัตราเร็ว 280 เมตรต่อวินาที วัดด้วยความแม่นย�าร้อยละ 0.02 จงหาความ นอกเหนือจากหนังสือเรียนมาใหนักเรียนได
ไม่แน่นอนในการบอกต�าแหน่งของอิเล็กตรอนตัวนี้ ศึกษาและทําความเขาใจมากขึ้น
วิธีท�า ค�านวณหาโมเมนตัมของอิเล็กตรอน 14. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้น
p = mv = (9.11 × 10-31 kg)(280 m/s) = 2.55 × 10-28 kg m/s ครู ใ ห นั ก เรี ย นอธิ บ ายขั้ น ตอนและวิ ธีก าร
ในการวัดครัง้ นีม้ คี วามคลาดเคลือ่ นร้อยละ 0.02 ดังนัน้ ความไม่แน่นอนของโมเมนตัมจะเท่ากับ หาคําตอบจากตัวอยางและคําถามที่ครูให
Δp = (2.55 × 10 kg m/s)(0.02) = 5.10 × 10 kg m/s
-28 -32 เพิ่มเติมบนกระดาน
100
15. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ
จากสมการที่ 6.29 ΔxΔp ≥ ℏ
2 เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง
แสดงว่า ต้องค�านวณหาความไม่แน่นอนของโมเมนตัม จึงประมาณค่าความไม่แน่นอนของ หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด
ต�าแหน่งได้ จะได้ว่า Δx ≥ ℏ
2(Δp) ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ
h
Δx ≥ สิ่งที่แตกตาง
4π(Δp)
Δx ≥ 6.626 × 10-34 J s
4π(5.10 × 10-32 kg m/s)
-2
Δx ≥ 0.1033 × 10 m
Δx ≥ 1.03 mm
ดังนั้น ความไม่แน่นอนในการบอกต�าแหน่งของอิเล็กตรอนตัวนี้เป็น 1.03 มิลลิเมตร
ฟิสิกส์อะตอม 107

ขอสอบเนน การคิด
ภายในปอดมีถุงลมขนาดเล็กจํานวนมาก แตละถุงมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 0.250 มิลลิเมตร ถาประมาณวาโมเลกุลของออกซิเจนมีมวล
เทากับ 5.30 × 10-26 กิโลกรัม จงประมาณวาคาความไมแนนอนของความเร็วของแกสออกซิเจนมีขนาดประมาณเทาใด
1. 2.47 × 10-6 เมตรตอวินาที 2. 3.98 × 10-6 เมตรตอวินาที 3. 5.12 × 10-6 เมตรตอวินาที
4. 7.96 × 10-6 เมตรตอวินาที 5. 8.44 × 10-6 เมตรตอวินาที -34
(วิเคราะหคําตอบ จากหลักความไมแนนอนของไฮเซนเบิรก สามารถ Δp ≥ 6.626 × 10 -3J s
4π(0.250 × 10 m)
คํานวณหาคาความไมแนนอนของตําแหนงไดถารูคาความไมแนนอน -34
mΔv ≥ 6.626 × 10 -3J s
ของโมเมนตัม 4π(0.250 × 10 m)
จากสมการ ΔxΔp ≥
ℏ 6.626 × 10-34 J s
2 Δv ≥
h 4πm(0.250 × 10-3 m)
ΔxΔp ≥
4π Δv ≥ 6.626 × 10-34 J s
เนื่องจากแกสที่อยูในถุงลมปอดจะเคลื่อนที่ไปมาไดภายในถุงลม 4π(5.30 × 10-26 kg)(0.250 × 10-3 m)
-34
ดังนั้น ความไมแนนอนของตําแหนงก็จะเปนความกวางของถุงลม จึง Δv ≥ 6.626 × 10 -28
Js
นําคานี้ไปหาความไมแนนอนของความเร็วไดโดยการหาคาความไม 1.665 × 10 kg m
-6
Δv ≥ 3.98 × 10 m/s
แนนอนของโมเมนตัม -34 นั่นคือ คาความไมแนนอนของความเร็วของแกสออกซิเจนมีขนาด
จะไดวา (0.250 × 10-3 m)Δp ≥ 6.626 ×4π10 J s
ประมาณ 3.98 × 10-6 เมตรตอวินาที ดังนั้น ตอบขอ 2.)
T115
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
16. ครูใหนกั เรียนศึกษาเกีย่ วกับโครงสรางอะตอม 6.2 โครงสรางอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม
ตามแนวคิดกลศาสตรควอนตัมจากหนังสือ ตามหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก เราไม่สามารถระบุได้ว่าอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่
เรียน รอบนิวเคลียสของอะตอมนัน้ อยูท่ ใี่ ดได้แน่นอนหรือเคลือ่ นทีใ่ นลักษณะใดได้อกี ต่อไป นัน่ หมายถึง
17. ครูสุมนักเรียนอภิปรายผลการศึกษาเกี่ยวกับ เราจะบอกได้เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ณ ต�าแหน่งต่าง ๆ
โครงสร า งอะตอมตามแนวคิ ด กลศาสตร ว่าเป็นเท่าใด โดยพฤติกรรมต่าง ๆ ของอิเล็กตรอนในอะตอม
ควอนตัม จะหาได้จากการค�านวณสมการคลื่นของชเรอดิงเงอร์ ซึ่งให้
18. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ ค� า ตอบที่ ส มบู ร ณ์ ก ว่ า ทฤษฎี อ ะตอมของโบร์ ท� า ให้ มี ก าร
เกี่ยวกับกลศาสตรควอนตัมเพิ่มเติม จาก จินตนาการภาพโอกาสการค้นพบอิเล็กตรอนรอบอะตอมเหมือน
แบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและ กลุม่ หมอกห่อหุม้ นิวเคลียสอยู ่ หากโอกาสทีจ่ ะพบอิเล็กตรอน ณ n = 2, 𝓁𝓁 = 0
เทคโนโลยี ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรู ที่ใดมากที่นั่นจะมีกลุ่มหมอกหนาแน่น
ที่ 6 ฟสิกสอะตอม ภาพกลุ ่ ม หมอกหรื อ โอกาสที่ จ ะพบอิ เ ล็ ก ตรอนรอบ ๆ
อะตอมเป็นไปได้หลายรูปแบบ อะตอมไฮโดรเจนซึ่งอิเล็กตรอน
มีระดับพลังงานต�่าสุด กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจะหนาแน่นรอบ
นิวเคลียส มีลักษณะเป็นกลุ่มทรงกลม คือ โอกาสหรือความ
น่าจะเป็นในการที่จะพบอิเล็กตรอน ถ้า n = 1 จะมีค่ามากที่สุด n = 2, 𝓁𝓁 = 1
ที่รัศมีเท่ากับรัศมีของโบร์ r0 กรณีที่อิเล็กตรอนมีระดับพลังงาน ภาพที่ 6.38 กลุ่มหมอกของอะตอม
สูงขึ้น ท�าให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยโมเมนตัมเชิงมุมที่สูงขึ้น ไฮโดรเจนที่ n = 2
กลุ่มหมอกจะจัดตัวแตกต่างจากรูปทรงกลม ซึ่งรูปร่างของ ทีม่ า : https://quantamagazine.org
กลุ่มหมอกจะขึ้นอยู่กับเลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม (𝓁𝓁) ที่จะ
เกิดขึ้นได้ในแต่ละระดับพลังงาน ดังภาพที่ 6.38 Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
กลศาสตร์ควอนตัม
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. หากอนุภาคแอลฟามีมวลคงตัว 6.7 × 10-27 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 7.5 × 106 เมตรต่อวินาที
ถ้าความไม่แน่นอนของอัตราเร็วเป็น 0.2 × 106 เมตรต่อวินาที ความไม่แน่นอนของต�าแหน่งของ
อนุภาคแอลฟามีค่าเป็นเท่าใด
2. ถ้าอิเล็กตรอนติดอยู่ในกล่องกว้าง 2 × 10-10 เมตร ความไม่แน่นอนในการวัดความเร็วของอิเล็กตรอน
มีค่าเป็นเท่าใด

108

แนวตอบ Topic Questions



กิจกรรม 21st Century Skills
1. จากสมการ ΔxΔp ≥
2
h ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ กลุมละ 3-4 คน
Δx ≥
4π(mΔv) แลวมอบหมายใหนกั เรียนไปศึกษาคนควาเกีย่ วกับเรือ่ ง กลศาสตร
Δx ≥ 6.626 × 10-34 J s ควอนตัม โดยเนนเนื้อหาเกี่ยวกับหลักความไมแนนอนของไฮเซน
4π(6.7 × 10-27 kg)(0.2 × 10 6 m/s) เบิรกและโครงสรางอะตอมตามแนวคิดกลศาสตรควอนตัม จาก
-14
Δx ≥ 3.93 × 10 m
นั้นสรุปองคความรูโดยจัดทําเปนรูปเลมรายงานลงในกระดาษ A4
ดังนัน้ ความไมแนนอนของตําแหนงอนุภาคแอลฟาจะเปน 3.93 × 10-14 เมตร
เพื่อเปนการทบทวนความรูหลังจากที่ไดรวมกันศึกษาในชั้นเรียน
2. จากสมการ ΔxΔp ≥

2 หลังจากที่นักเรียนสรุปองคความรูเสร็จแลว ครูสุมนักเรียนออก
Δv ≥
h มานําเสนอผลงานของกลุมตนเอง โดยครูอาจถามคําถามเกี่ยวกับ
4π(mΔx)
6.626 × 10-34 J s เนื้อหาที่สําคัญในสวนนั้น เพื่อใหนักเรียนไดอภิปรายความรูของ
Δv ≥
4π(9.1 × 10-31 kg)(2 × 10 -10 m) ตนเอง ซึ่งเปนการเนนยํ้าใหนักเรียนมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น และ
5 เพื่อใหทุกคนมีความเขาใจไปในแนวทางเดียวกัน
Δv ≥ 2.897 × 10 m/s
ดังนั้น ความไมแนนอนในการวัดความเร็วของอิเล็กตรอนมีคาเทากับ
2.897 × 105 เมตรตอวินาที

T116
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือท�า (Doing)
Physics 19. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น แลวรวมกันศึกษา
in real life เลเซอร์
แบบฝกหัด Topic Questions จากหนังสือ
เลเซอร์ (laser) ย่อมาจาก light amplification by stimulated emission of radiation เรียน โดยครูมอบหมายใหนักเรียนแตละคน
หมายถึง การเพิม่ ปริมาณคลืน่ แสงโดยการกระตุน้ ให้ปล่อยคลืน่ แสงออกมาในทางฟิสกิ ส์ เลเซอร์ คือ
อุปกรณ์ก�าเนิดล�าแสงที่มีลักษณะเฉพาะโดยเป็นเทคโนโลยีที่รวมกันระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมกับ เขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหาลงในสมุด
อุณหพลศาสตร์ซึ่งพลังงานของแสงเลเซอร์สามารถมีคุณสมบัติได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ บันทึกประจําตัว โดยที่ครูกําหนดใหใชหลัก
ในการออกแบบเลเซอร์ส่วนมากจะเป็นล�าแสงที่มีขนาดเล็ก มีการเบี่ยงเบนน้อย และสามารถระบุ การแกโจทยปญหา 4 ขั้นตอน ของโพลยา
ความยาวคลื่นได้ง่าย โดยดูจากสีของเลเซอร์ ถ้าอยู่ในสเปกตรัมที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดังนี้
(visible spectrum) • ขั้นที่ 1 ทําความเขาใจโจทย
หลักการเกิดเลเซอร์สามารถอธิบายได้โดยใช้แบบจ�าลองการเปลี่ยนระดับพลังงานเริ่มจาก
• ขั้นที่ 2 วางแผนแกปญหา
อิเล็กตรอนในอะตอมจากสถานะพื้นถูกกระตุ้นโดยพลังงานภายนอก ท�าให้มีพลังงานสูงขึ้นและ
เคลื่อนที่ไปยังสถานะถูกกระตุ้นที่ไม่เสถียร เมื่ออิเล็กตรอนไปอยู่ที่สถานะถูกกระตุ้นชั่วขณะจะ • ขั้นที่ 3 ปฏิบัติตามแผน
ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของแสงธรรมดา • ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ
ที่ไม่ใช่แสงอาพันธ์ แล้วตกลงมาอยู่ที่สถานะ 20. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง เลเซอร ใน
ถูกกระตุ้นกึ่งเสถียร เมื่ออิเล็กตรอนจากสถานะ กรอบ Physics in real life จากหนังสือเรียน
ถู ก กระตุ ้ น กึ่ ง เสถี ย รกลั บ มาที่ ส ถานะพื้ น จะ โดยครูใหนักเรียนจดบันทึกสรุปความรูลงใน
ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของแสง กลไก
เครื่องก�าเนิดเลเซอร์ประกอบด้วยกระจกพิเศษ
สมุดบันทึกประจําตัว
2 บาน ท�าหน้าที่สะท้อนแสงกลับไปกลับมา
ในเครื่องท�าให้อะตอมตัวอื่นที่อยู่ในสถานะถูก
กระตุ้นกึ่งเสถียรปลดปล่อยพลังงานออกมาใน
รูปของแสงเพิ่มมากขึ้น เพือ่ เสริมแสงเดิมท�าให้
ภาพที่ 6.39 แสงสีของเลเซอร์ทมี่ คี วามแตกต่างกัน
ได้แสงทีม่ ที ศิ ทางเดียวกัน มีความเข้มสูงเป็นแสง ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น
อาพันธ์ ซึ่งมีความถี่และเฟสตรงกัน เรียกว่า ที่มา : https://unisci24.com
แสงเลเซอร์
ก่อนปลดปล่อย ขณะปลดปล่อย หลังปลดปล่อย
สถานะถูกกระตุ้น E2
โฟตอน
โฟตอน โฟตอน
โฟตอน

สถานะพื้น E1
ภาพที่ 6.40 หลักการเกิดแสงเลเซอร์
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ฟิสิกส์อะตอม 109

ขอสอบเนน การคิด
อนุภาคมวล m เคลื่อนที่ดวยความเร็ว v ถาความไมแนนอนของการวัดตําแหนงของอนุภาคมีคาเปน 2 เทาของความยาวคลื่นเดอบรอยล
ความไมแนนอนในการวัดความเร็วของอนุภาคมีคาเปนเทาใด
1. 2vπ
2. 4v
π
3. 4vπ 4. 8vπ 5. mv

(วิเคราะหคําตอบ จากหลักความไมแนนอนของไฮเซนเบิรก สามารถ Δp ≥
p
4π(2)
เขียนเปนความสัมพันธระหวางความไมแนนอนในการวัดตําแหนงและ Δp ≥
p (1)
ความไมแนนอนในการวัดโมเมนตัมได ดังนี้ 8 π
จากสมการ ΔxΔp ≥
ℏ เนื่องจากอิเล็กตรอนมีมวลที่แนนอน ดังนั้น ∆Δp จึงเกิดจาก Δ∆ v
2
h จากสมการที่ (1) จะไดวา mΔv ≥ mv 8π
ΔxΔp ≥
4π v
h Δv ≥
8
(2λ)Δp ≥ 4π π
h h นั่นคือ ความไมแนนอนในการวัดความเร็วของอนุภาคมีคาเปน 8vπ
2 ( p )Δp ≥ 4π
ดังนั้น ตอบขอ 4.)
h p
2Δp ≥ 4π ( h )

T117
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือท�า (Doing)
21. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับกลศาสตร
Summary
ควอนตัม โดยสรางสรรคออกมาในรูปแบบ ฟิสกิ ส์อะตอม
ของใบความรู ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้ง
ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพื่อ อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน
ตรวจใหคะแนน รังสีแคโทด
22. ครูแจกใบงาน เรื่อง หลักความไมแนนอน ล�าอิเล็กตรอนที่มีประจุไฟฟ้าลบ เกิดขึ้นเมื่อผ่านศักย์ไฟฟ้าแรงสูงเข้าไปในหลอดสุญญากาศ และจะเกิดรังสี
ของไฮเซนเบิรก ใหนักเรียนคนละ 1 ชุด จากขั้วไฟฟ้าลบหรือแคโทดไปยังขั้วไฟฟ้าบวกหรือแอโนด เรียกว่า รังสีแคโทด
จากนั้นครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาและ การทดลองของทอมสัน
ลงมือทํา เสร็จแลวตัวแทนรวบรวมสงครู การการศึกษารังสีแคโทดในหลอดสุญญากาศของทอมสันได้ขอ้ สังเกตว่า อนุภาครังสีแคโทด ซึง่ ต่อมาได้ชอื่ ว่า
23. ครูใหนักเรียนศึกษากิจกรรม Apply Your อิเล็กตรอน (electron) ที่ออกมาจากขั้วโลหะต่างชนิดกันจะมีอัตราส่วนประจุไฟฟ้าต่อมวล (mq ) เท่ากันเป็น
Knowledge จากหนังสือเรียน โดยจดบันทึก 1.75 × 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม ทอมสันจึงสรุปว่า “อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด สามารถแบ่งย่อยได้อีกและ
อิเล็กตรอนก็เป็นองค์ประกอบหนึ่งของอะตอม”
และตอบคําถามลงในสมุดบันทึกประจําตัว
24. ครู ใ ห นั ก เรี ย นตรวจสอบความเข า ใจของ การทดลองของมิลลิแกน
ตนเอง ดวยกรอบ Self Check เรื่อง ฟสิกส ประจุไฟฟ้าและมวลของอิเล็กตรอน ได้ถกู ค้นพบจากการทดลองวัดประจุไฟฟ้าและมวลของอิเล็กตรอน โดยการ
วัดประจุไฟฟ้าบนหยดน�้ามันของมิลลิแกน ซึ่งได้พบว่า ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนมีค่าเป็น 1.602 × 10-19
อะตอม จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึก คูลอมบ์ และมวลของอิเล็กตรอนมีค่าเป็น 9.11 × 10-31 กิโลกรัม
ประจําตัว
แบบจ�าลองอะตอม

แบบจ�าลองอะตอมของทอมสัน
ทอมสันท�าการทดลองและได้เสนอแนวคิดว่า “อะตอม
เป็นทรงกลมประกอบไปด้วยเนื้ออะตอมที่มีประจุ
เป็นบวก และมีอิเล็กตรอนที่มีประจุเป็นลบกระจาย
ภาพที่ 4.41 แบบจ�าลองอะตอมของทอมสัน ตัวอย่างสม�่าเสมอ เพื่อรักษาสมดุลระหว่างประจุทั้ง
ที่มา : คลังภาพ อจท. 2 ชนิด”
แบบจ�าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอแนวคิดว่า “อะตอมประกอบ
ไปด้วยประจุบวกรวมตัวกันที่จุดศูนย์กลาง เรียกว่า
นิวเคลียส และจะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ
นิวเคลียส” โดยที่เส้นผ่านศูนย์กลางของนิวเคลียส
ประมาณ 10-15 - 10-14 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง
ภาพที่ 4.42 แบบจ�าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ของอะตอมประมาณ 10-10 เมตร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
110

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


หลังจากที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเนื้อหาความรูเกี่ยวกับเรื่อง ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาคนควาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
ฟสิกสอะตอมเสร็จแลว ครูอาจใหนักเรียนสรุปความรูที่ไดจากการรวมกันศึกษา เรื่อง ฟสิกสอะตอม จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน หองสมุด
หาความรูที่ผานมา โดยครูอาจมุงเนนไปในหัวขอแบบจําลองอะตอม เพื่อให อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจัยทั้งของในประเทศและของตาง
นักเรียนบูรณาการความรูรวมกับรายวิชาเคมีในการจัดทําสรุปความรูออกมาใน ประเทศ จากนั้นสรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว โดยครู
รูปแบบของอินโฟกราฟก เรื่อง วิวัฒนาการของแบบจําลองอะตอม ที่แสดงให ใหนักเรียนมุงเนนศึกษาเกี่ยวกับหัวขอที่ตนเองมีความเขาใจหรือ
เห็นถึงลักษณะ รูปราง สวนประกอบ รวมทัง้ แนวคิดของนักวิทยาศาสตรเกีย่ วกับ สนใจมากทีส่ ดุ เพิม่ เติมจากหนังสือเรียน เสร็จแลวตัวแทนนักเรียน
แบบจําลองอะตอมนัน้ ๆ ตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั โดยจะเปนผลงานทีใ่ หนกั เรียน เก็บรวบรวมสมุดบันทึกประจําตัวสงครู ครูอาจสุมนักเรียนออกมา
ไดแสดงความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและศิลปะในใบเดียวกัน หนาชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียนออกมาอภิปรายสรุปความรูที่ตนเอง
สนใจ

T118
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือท�า (Doing)
สเปกตรัมของอะตอม 25. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
สเปกตรัมจากอะตอมของแกส Unit Questions หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกส
สเปกตรัมของแก๊สแต่ละชนิดจะประกอบด้วยชุดของแสงสีเฉพาะแตกต่างกันจึงถือได้ว่า สเปกตรัมเป็นสมบัติ อะตอม จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุด
เฉพาะตัวของธาตุแต่ละชนิด โดยสเปกตรัมของแสงขาวจะเป็นจะสเปกตรัมแบบต่อเนื่องและสเปกตรัมจาก บันทึกประจําตัว แลวรวบรวมสงครูเพื่อตรวจ
หลอดบรรจุแก๊สจะเป็นสเปกตรัมแบบเส้น สอบและใหคะแนน
การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุด�า 26. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
วัตถุอุดมคติปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดีทุกย่านความถี่ และสามารถดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดี Test for U หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ฟสกิ สอะตอม
ทุกย่านความถี่ เรียกตัวแผ่รังสีอุดมคตินี้ว่า วัตถุด�า จากการศึกษาสเปกตรัมของการแผ่รังสีวัตถุด�า โดย
การวัดความเข้มกับความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมา พบว่า อุณหภูมิของวัตถุสัมพันธ์กับ
จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุดบันทึก
ความยาวคลื่นที่ให้ค่าความเข้มสูงสุดของสเปกตรัมที่แผ่ออกมา ซึ่งมีสมการเป็น ประจําตัวเปนการบาน แลวรวบรวมสงครูเพือ่
λmaxT = 2.9 × 10-3 m K ตรวจสอบและใหคะแนน
27. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ
สมมติฐานของพลังค์สรุปได้ว่า พลังงานที่วัตถุด�าดูดกลืนหรือแผ่ออกมามีค่าได้เฉพาะบางค่าเท่านั้น และ
ค่านี้เป็นจ�านวนเท่าของ hf เรียกว่า ควอนตัมของพลังงาน ดังสมการ ทดสอบความรูค วามเขาใจหลังจากทีไ่ ดศกึ ษา
E = nhf
แลว

ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ขัน้ สรุป


ระดับพลังงานของอะตอม 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
เนือ่ งจากแบบจ�าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดไม่สามารถอธิบายได้วา่ ท�าไม นักเรียนอธิบายสรุปความรูเ กีย่ วกับกลศาสตร
อิเล็กตรอนไม่สูญเสียพลังงานขณะก�าลังเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส โบร์จึง
เสนอแนวคิดว่า “อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวงโคจรที่มีรัศมี ควอนตั ม ที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว ทั้ ง เนื้ อ หาและ
จ�าเพาะเท่านั้น โดยรัศมีของวงโคจรจะมีความยาวเส้นรอบวงสอดคล้อง ตัวอยางจากหนังสือเรียน และกิจกรรมทีน่ อก
กับความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนในวงโคจรนั้น” เหนือจากหนังสือเรียน พรอมทั้งยกตัวอยาง
• โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานต่าง ๆ สามารถ ที่เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ
หาได้จากสมการ ภาพที่ 4.43 แบบจ�าลอง
อะตอมของโบร์
L = mvnrn = nℏ = 2nhπ ที่มา : คลังภาพ อจท.

• อิเล็กตรอนสามารถเปลี่ยนวงโคจรโดยการดูดกลืนหรือคายพลังงาน ปริมาณ ΔE ซึ่งหาได้จากสมการ

hf = ∙ΔE ∙ = ∙En - En ∙
i f
• ส�าหรับอะตอมไฮโดรเจน พลังงานของอิเล็กตรอนในแต่ละวงโคจร จะเป็นไปตามสมการ
En = -13.6 eV
n2

แบบจําลองอะตอมของโบรของอะตอมไฮโดรเจน ฟิสิกส์อะตอม 111


https://www.aksorn.com/interactive3D/RNC53

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาคนควาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง แบบจําลองอะตอมของ
เรื่อง ฟสิกสอะตอม จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน หองสมุด โบรของอะตอมไฮโดรเจน
อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจัยทั้งของในประเทศและของตาง
ประเทศ จากนัน้ นําความรูท ไี่ ดทงั้ หมดมาจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
ลงในกระดาษ A4 โดยนักเรียนสามารถแทรกความรูเ พิม่ เติมทีน่ อก
เหนือจากหนังสือเรียนลงไปในรูปเลมรายงานของนักเรียนไดตาม
แบบจําลองอะตอมของโบรของอะตอมไฮโดรเจน
www.aksorn.com/interactive3D/RKC53
ประเด็นที่นักเรียนสนใจ พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลว
ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมสงครู เมื่อนักเรียนและครูเจอกันใน
ชั่วโมงถัดไป ครูอาจสุมนักเรียนจากการตรวจรูปเลมรายงานเพื่อ
ใหนักเรียนออกมาอภิปรายสรุปความรูหนาชั้นเรียน

T119
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ เป็นการทดลองที่สนับสนุนทฤษฎีอะตอมของโบร์ที่ว่า ระดับชั้นพลังงานของ
โดยครูอาจใช PowerPoint เรื่อง กลศาสตร อิเล็กตรอนเป็นค่าไม่ต่อเนื่อง และมีค่าจ�าเพาะค่าใดค่าหนึ่งเป็นไปตามทฤษฎีอะตอมของโบร์
ควอนตัม มาเปดใหนกั เรียนดูประกอบเพือ่ ชวย รังสีเอกซ์
รังสีเอกซ์เกิดจากการยิงอิเล็กตรอนพลังงานจลน์สูงเข้าชนอะตอมของเป้าโลหะ แล้วอิเล็กตรอนมีความเร็ว
ในการอธิบายใหเขาใจมากยิ่งขึ้น ลดลงและปล่อยพลังงานในรูปรังสีเอกซ์ ซึ่งการเกิดรังสีเอกซ์มี 2 กระบวนการ คือ การเกิดรังสีเอกซ์ต่อเนื่อง
3. ครูใหนักเรียนทําสรุปความรู โดยสรางสรรค และการเกิดรังสีเอกซ์เฉพาะตัว
ออกมาในรูปแบบของแผนพับความรู เรื่อง ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์
กลศาสตรควอนตัม ลงในกระดาษ A4 พรอม ทฤษฎีอะตอมของโบร์สามารถอธิบายสเปกตรัมของอะตอมของไฮโดรเจนได้ดี และท�าให้ทราบถึงการจัดเรียง
ทัง้ ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวตัวแทนนักเรียน อิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจน แต่ก็ไม่สามารถค�านวณและอธิบายสเปกตรัมของอะตอมอื่น ๆ ได้
เก็บรวบรวมสงครู ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ขัน้ ประเมิน เมื่อแสงความถี่ f ตกกระทบผิวโลหะ ถ้าความถี่ของแสงมากกว่าความถี่ค่าหนึ่ง เรียกว่า ความถี่ขีดเริ่ม (f0)
1. ประเมินความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง กลศาสตรควอนตัม อิเล็กตรอนจะหลุดออกจากโลหะนัน้ โดยทันที ปรากฏการณ์นเี้ รียกว่า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก โดยมีสมการ
ที่อธิบายปรากฏการณ์เป็น
โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม การทํา
hf = W + Ek
แบบฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ max

2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา ปรากฏการณ์คอมป์ตัน


แนวคิดโฟตอนของไอน์สไตน์ได้รับการสนับสนุนจากการทดลองของคอมป์ตันโดยฉายรังสีเอกซ์ไปกระทบ
ศาสตรจากการคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ อิเล็กตรอนในแท่งแกรไฟต์ พบว่า มีอิเล็กตรอนและรังสีเอกซ์ที่ความยาวคลื่นเปลี่ยนไปจากค่าเริ่มต้นกระเจิง
กับหลักความไมแนนอนของไฮเซนเบิรกจาก ออกมาจากแท่งแกรไฟต์ จึงยืนยันว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประพฤติตัวเป็นอนุภาคได้
ตัวอยางที่ครูกําหนดให สมมติฐานเดอบรอยล์
3. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย การทีค่ ลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงแสดงคุณสมบัตเิ ป็นอนุภาคได้ เดอบรอยล์จงึ เสนอว่า คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าหรือ
สังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบตองานที่ได แสงก็แสดงคุณสมบัติเป็นคลื่นได้ สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เพื่อค�านวณหาความยาวคลื่นของอนุภาค
มวล m ที่มีอัตราเร็ว v ได้ ดังสมการ
รับมอบหมายและปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่
λ = hp = mvh
ครูกําหนด
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม เป็นศาสตร์หรือวิชาที่ศึกษาธรรมชาติในระดับอะตอมได้อย่างกว้างขวาง โดยมีพื้นฐาน
จากทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค สามารถอธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในอะตอมได้เป็นอย่างดี โดยแทน
อิเล็กตรอนด้วยกลุม่ คลืน่ และจะบอกความน่าจะเป็นในการพบอิเล็กตรอนในรูปของกลุม่ หมอก ณ ต�าแหน่งและ
เวลาหนึง่ ๆ โดยหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิรก์ กล่าวว่า “เราไม่สามารถทีจ่ ะรูต้ า� แหน่งและความเร็วของ
อนุภาคที่เวลาเดียวกันได้อย่างแม่นย�า” หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์กที่กล่าวถึง ความไม่แน่นอนของ
ต�าแหน่งและความไม่แน่นอนของโมเมนตัม สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังสมการ
ΔxΔp ≥ ℏ
112
2

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง กลศาสตรควอนตัม อิเล็กตรอนมีความไมแนนอนในการวัดตําแหนงเทากับ 10-9
ไดจากแผนพับความรูที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นสรุป โดยศึกษาเกณฑการวัด เมตร จะมีความไมแนนอนในการวัดความเร็วมีคาเทาใด
และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทาย (แนวตอบ จากหลักความไมแนนอนของไฮเซนเบิรก สามารถ
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 ฟสิกสอะตอม เขี ย นเป น ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งความไม แ น น อนของการวั ด
ตําแหนงและความไมแนนอนของการวัดโมเมนตัมได
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 5

แบบประเมินผลงานแผ่นพับความรู้
ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินแผ่นพับความรู้

3
ระดับคะแนน
2 1
จากสมการ ΔxΔp ≥ ℏ2
h
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแผ่นพับความรู้ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์

Δx(mΔv) ≥
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน


ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

h
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ

Δv ≥
4 ความเป็นระเบียบ 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น

4π(mΔx)
รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

6.626 × 10-34 J s
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................

Δv ≥
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16
11–13
8–10
ต่ากว่า 8
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
4π(9.1 × 10-31 kg)(10-9 m)
4
Δv ≥ 5.79 × 10 m/s
ดังนั้น ความไมแนนอนในการวัดความเร็วมีคาเทากับ
5.79 × 104 เมตรตอวินาที)
T120
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด
4. ผิด 5. ถูก 6. ถูก
Apply Your Knowledge 7. ถูก 8. ถูก 9. ถูก
ค�าชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน แล้วร่วมกันศึกษาและตอบค�าถามจากสถานการณ์ท่ี 10. ผิด
ก�าหนดให้ต่อไปนี้
ปจจุบนั สามารถพูดได้วา่ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นส่วนส�าคัญอย่างหนึง่ ในชีวติ ประจ�าวันของมนุษย์ ไม่วา่
จะเป็นอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน นาฬิกาอัจฉริยะ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเกิดขึ้นมาได้จาก
กลศาสตร์ควอนตัมทัง้ สิน้ เนือ่ งจากภายในอุปกรณ์สว่ นใหญ่มสี ารกึง่ ตัวน�าเป็นองค์ประกอบ อาศัยทฤษฎี
แถบพลังงาน กลศาสตร์ควอนตัมสามารถช่วยให้จัดการกับสมบัติทางไฟฟ้าของสารกึ่งตัวน�าได้ เช่น
การผสมธาตุอนื่ เข้าไป แม้เพียงเล็กน้อยก็สามารถเปลีย่ นรูปแบบแถบพลังงานของสารกึง่ ตัวน�านัน้ ๆ ได้
นอกจากด้านอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์แล้ว กลศาสตร์ควอนตัมยังสามารถน�าไป
ประยุกต์ใช้หรืออธิบายโครงสร้างหรือกระบวนการท�างานในด้านใดได้อีกบ้าง

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาว่าข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. ร งั สีแคโทด คือ อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้า เนือ่ งจากเบีย่ งเบนได้เมือ่ ผ่านสนามแม่เหล็ก 1.2
และสนามไฟฟ้า
2. หลอดรังสีแคโทดจ�าเป็นต้องเป็นสุญญากาศ เพราะจะช่วยลดความร้อนให้กบั ขัว้ 1.2
ของหลอด
3. การทดลองของมิลลิแกน หยดน�้ามันจะลอยนิ่งได้ก็ต่อเมื่อแรงเนื่องจากสนาม 1.3
ไฟฟ้ามากกว่าแรงเนื่องจากความเร่งโน้มถ่วงของโลก
4. ความยาวคลืน่ ของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ พี ลังงานมากทีส่ ดุ ทีว่ ตั ถุหนึง่ ๆ สามารถ 3.2
ุ ด
ส ม

ปลดปล่อยออกมาได้จะมีค่าแปรผันตรงกับอุณหภูมิของวัตถุนั้น ๆ

ง ใ
ก ล

5. เส้นสเปกตรัมในช่วงทีส่ ามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า เรียกว่า อนุกรมบัลเมอร์ 4.1


ท ึ
บ ั น

6. จากทฤษฎีอะตอมของโบร์ รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนในสถานะ n = 4 เป็น 4.1


16 เท่าของรัศมีวงโคจรในสถานะ n = 1
7. พลังงานต�า่ สุดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเท่ากับ -13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ 4.1
8. การทดลองฟรังก์และเฮิรตซ์สรุปได้ว่า อะตอมมีระดับพลังงานเป็นขั้น ๆ 4.2
9. พลังงานจลน์สงู สุดของโฟโตอิเล็กตรอนไม่ขน้ึ กับความเข้มของแสงทีม่ าตกกระทบ 5.1
10. ผลคูณระหว่างความไม่แน่นอนของต�าแหน่งกับความไม่แน่นอนของโมเมนตัม 6.1
จะมีค่าน้อยกว่าอัตราส่วนระหว่างค่าคงตัวของพลังค์กับ 4π
ฟิสิกส์อะตอม 113

แนวตอบ Apply Your Knowledge


อุตสาหกรรมคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสเกิดขึน้ มาจากกลศาสตรควอนตัม เพราะอิเล็กทรอนิกสสมัยใหมทสี่ รางขึน้ บนสารกึง่ ตัวนํา (semiconductor)
เมื่อเรามีความรูเกี่ยวกับทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคเปนอยางดี จะทําใหสามารถบริหารจัดการกับสมบัติทางไฟฟาของซิลิคอนไดตามตองการ นอกจากนี้
กลศาสตรควอนตัมยังเปนสวนสําคัญในการผลิตหรือพัฒนาในดานตางๆ อีก เชน
• เลเซอรและโทรคมนาคม การสื่อสารโทรคมนาคมในโลกปจจุบันตองอาศัยเสนใยนําแสง (fiber optic) ซึ่งไมเกี่ยวอะไรกับกลศาสตรควอนตัม แตลําพัง
มีเพียงเสนใยนําแสงก็นําไปใชทําประโยชนอะไรไมได เสนใยนําแสงจําเปนตองใชคูกับตนกําเนิดแสง ซึ่งก็คือแสงเลเซอร ซึ่งในชีวิตจริงไมวาจะเปนเครื่องเลน
ซีดี เครื่องเลนดีวีดี หรือเครื่องอานบารโคดสินคาตามรานสะดวกซื้อหรือหางสรรพสินคา ลวนเปนการใชประโยชนจากวิชากลศาสตรควอนตัมทั้งสิ้น
• นาฬกาอะตอมและ GPS การนําทางดวยสมารตโฟนสามารถทําไดโดยอาศัยระบบ Global Positioning System หรือ GPS ซึ่งเปนโครงขายดาวเทียมที่
ถายทอดเกี่ยวกับเวลาเปนหลัก ตัวรับสัญญาณ GPS ในสมารตโฟนหรือโทรศัพทมือถือจะรับสัญญาณเวลาจากดาวเทียมเหลานี้ หนวยประมวลผลในโทรศัพท
มือถือจะคํานวณตําแหนงจากความแตกตางของเวลาจากสัญญาณที่โทรศัพทมือถือไดรับจากดาวเทียม โดยใชหลักการที่วา แสงมีความเร็วคงตัว เมื่อทราบ
ความแตกตางของเวลาก็สามารถคํานวณระยะทางและเปลี่ยนเปนการระบุตําแหนงบนผิวโลกได แตจะเห็นไดวาในกระบวนการนี้ความเที่ยงตรงของเวลาจะ
ตองสูง มิฉะนั้นจะขาดความแมนยําในการระบุตําแหนงของโทรศัพทมือถือ ดังนั้น นาฬกาในดาวเทียมทุกดวงของระบบ GPS จะตองเปนนาฬกาอะตอม
• เครื่องถายภาพการสั่นพองแมเหล็ก หรือเครื่องเอ็มอารไอ (MRI scanner) โดยหลักการทํางานของเครื่องตองอาศัยการพลิกกลับของสปน (spin) ของ
นิวเคลียสในอะตอมไฮโดรเจน สปนของอนุภาคตางๆ เปนสมบัติเฉพาะที่มีอยูในกลศาสตรควอนตัมเทานั้น โดยการปรับตั้งทิศทางของสนามแมเหล็กอยาง
เหมาะสมจะทําใหสามารถทราบความหนาแนนของอะตอมไฮโดรเจนตามสวนตางๆ ของรางกายไดอยางแมนยํา สงผลใหสามารถเห็นภาพของเนื้อเยื่อออน
(soft tissue) ตามอวัยวะตางๆ ไดอยางคมชัด ซึ่งทําไมไดดวยเครื่องเอกซเรยทั่วไป
T121
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions 6


1. เมือ่ ความเขมเพิม่ ขึน้ ความถีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ดวย แต
ความยาวคลื่นจะลดลง
w ww
U nit Questions 6
คําชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
2. แรงเนื่องจากสนามไฟฟาที่กระทําในทิศลงจะ
เสริมกับแรงเนื่องจากความโนมถวงของโลก 1. โดยธรรมชาติโลหะหนึ่ง ๆ จะแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าถ้าโลหะนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้น พลังงานที่
หากตองการใหหยดนํ้ามันลอยนิ่งอยูกับที่ จะ ปลดปล่อยออกมาโดยการแผ่รังสีจะมากขึ้น และที่ความยาวคลื่นของรังสีที่มีความเข้มมากที่สุด
ตองทําการกลับทิศของสนามไฟฟาที่เปนทิศ จะเป็นอย่างไร
ขึ้ น ให ส วนทางกั บ ทิ ศ ทางของแรงเนื่ อ งจาก 2. ในการทดลองหยดน�า้ มันของมิลลิแกน ปรากฏว่า เมือ่ ยังไม่ได้ใส่สนามไฟฟ้าเข้าไป หยดน�า้ มันจะ
ความเรงโนมถวงของโลก ตกลงด้านล่างด้วยความเร็วคงตัวค่าหนึง่ เมือ่ ใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปเพือ่ จะให้หยดน�า้ มันลอยนิง่ อยู่
3. เนื่องจากรัทเทอรฟอรดใชอนุภาคแอลฟาซึ่งมี กับที่ แต่ผลปรากฏว่า หยดน�้ามันกลับตกลงด้านล่างด้วยความเร็วที่สูงกว่าเดิม สามารถอธิบาย
ประจุบวกยิงเขาไปในบริเวณอะตอมของทองคํา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ว่าอย่างไร
แลวอนุภาคแอลฟาเกิดการกระเจิงหรือเบนจาก 3. เพราะเหตุใดรัทเทอร์ฟอร์ดจึงเชื่อว่านิวเคลียสของอะตอมเป็นประจุบวกมีขนาดเล็กมาก และจะ
แนวเดิมและมีบางสวนสะทอนกลับ จึงทําให ต้องมีอนุภาคอื่นเป็นส่วนประกอบภายในนิวเคลียสด้วย
เชือ่ วา นิวเคลียสของอะตอมเปนประจุบวกและ 4. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเล็กตรอน ถ้าใช้สนามแม่เหล็กความเข้ม 1 × 10-3 เทสลา และใช้
มีขนาดเล็กมาก เพราะอนุภาคแอลฟาสวนใหญ สนามไฟฟ้าที่เกิดจากแผ่นโลหะคู่ขนานที่อยู่ห่างกัน 0.01 เมตร และมีความต่างศักย์ 200 โวลต์
ผานไปไดโดยไมเบนจากแนวเดิม และการที่ ท�าให้รังสีแคโทดเป็นเส้นตรงพอดี จงหาความเร็วของอนุภาครังสีแคโทดในหน่วยเมตรต่อวินาที
อนุภาคประจุบวกปริมาณมากอยูในปริมาตร
5. ความเร็วของอิเล็กตรอนทีว่ งิ่ จากหยุดนิง่ ผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้า 1,500 โวลต์ มีคา่ เท่าใด ก�าหนด
ที่เล็กมากนาจะมีอันตรกิริยาอื่นๆ หรืออนุภาค ให้ประจุอิเล็กตรอนเท่ากับ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ และมวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ 9.11 × 10-31
อื่นๆ รวมอยูในนิวเคลียสดวย กิโลกรัม
4. ความเร็วของอนุภาครังสีแคโทดเทากับ 2 × 107 6. เมื่อยิงอิเล็กตรอนความเร็ว 5 × 107 เมตรต่อวินาที พุ่งเข้าตัดสนามแม่เหล็กความเข้ม 0.001
เมตรตอวินาที เทสลา ท�าให้อเิ ล็กตรอนเคลือ่ นทีเ่ ป็นวงกลมรัศมี 0.2 เมตร จงหาค่าประจุตอ่ มวลของอิเล็กตรอน
5. อิเล็กตรอนจะวิง่ ดวยความเร็ว 2.295 × 107 เมตร ในหน่วยคูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
ตอวินาที 7. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2.8 × 107 เมตรต่อวินาที เข้าสู่สนามแม่เหล็กโดยมีทิศทาง
6. คาประจุตอ มวลของอิเล็กตรอนเทากับ 2.5 × 1011 การเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ปรากฏว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี 0.1 เมตร
คูลอมบตอกิโลกรัม จงหาว่า สนามแม่เหล็กที่ใช้มีขนาดกี่เทสลา ก�าหนดให้ประจุไฟฟ้าต่อมวลของอิเล็กตรอนเป็น
1.76 × 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
7. สนามแมเหล็กที่ใชมีขนาด 1.59 × 10-3 เทสลา
8. ถ้าสังเกตเห็นว่ารัศมีความโค้งของทางวิ่งของอิเล็กตรอนที่มีประจุ e มวล m ในสนามแม่เหล็ก
8. อิเล็กตรอนวิง่ ดวยอัตราเร็ว eBR
m เมตรตอวินาที B ในหลอดรังสีแคโทดมีค่าเป็น R จงหาว่า อิเล็กตรอนนั้นวิ่งด้วยอัตราเร็วเท่าไร

114

T122
นํา สอน สรุป ประเมิน

9. ขนาดประจุบนหยดนํ้ามันเทากับ 6.4 × 10-19


คูลอมบ
9. ในการทดลองหยดน�า้ มันของมิลลิแกนหยดน�า้ มันมีความหนาแน่น 930 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 10. ความตางศักยระหวางแผนโลหะทั้งสองมีคา
มีปริมาตร 2.8 × 10-17 ลูกบาศก์เมตร ลอยนิง่ อยูใ่ นสนามไฟฟ้าขนาดสม�า่ เสมอ 4 × 105 นิวตันต่อ เปน 1,184 โวลต
คูลอมบ์ จงหาขนาดประจุบนหยดน�้ามันในหน่วยคูลอมบ์
11. แบบจําลองอะตอมของทอมสันพัฒนาขึ้นมา
10. ในการทดลองหยดน�้ามันของมิลลิแกน ถ้าหยดน�้ามันมีมวล 6.4 × 10-15 กิโลกรัม และได้รับ จากการค น พบอนุ ภ าคภายในอะตอมที่ มี
อิเล็กตรอนเพิ่ม 5 ตัว เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 5 เมตรต่อวินาที2 ถ้าระยะห่างระหว่างแผ่น อํานาจทางไฟฟาที่ตางกัน คือ ประจุบวกและ
โลหะคู่ขนานเท่ากับ 1 เซนติเมตร ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองมีค่ากี่โวลต์ ก�าหนด
ประจุลบ ซึ่งตางจากแบบจําลองอะตอมของ
ให้ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์
ดอลตั น ที่ ว  า ส ว นที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของสสารคื อ
11. แบบจ�าลองอะตอมของทอมสันมีข้อแตกต่างจากแบบจ�าลองอะตอมของดอลตันอย่างไร อะตอม แตทอมสันพบสวนประกอบยอยของ
12. อนุภาคแอลฟาจะต้องถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์ เพื่อให้วิ่งตรงเข้าไปใกล้นิวเคลียส อะตอม คือ ประจุบวกและประจุลบ
ของทองค�า (79Au) ได้มากที่สุด 7.9 × 10-15 เมตร 12. อนุภาคแอลฟาจะตองถูกเรงดวยความตาง
13. จงหาอุณหภูมิของวัตถุที่แผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านที่ก�าหนดให้ต่อไปนี้ออกมามีค่ามาก ศักยไฟฟา 14.4 เมกะโวลต
ที่สุดเท่าใด 13. ก) วัตถุที่แผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาในยาน
ก) รังสีอินฟราเรดความยาวคลื่น 10-5 เมตร รังสีอนิ ฟราเรดทีม่ คี วามยาวคลืน่ 10-5 เมตร
ข) รังสีเอกซ์ความยาวคลื่น 1 อังสตรอม
จะมีอุณหภูมิ 290 เคลวิน
ค) รังสีแกมมาความยาวคลื่น 10-4 อังสตรอม
ข) วัตถุท่ีแผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาในยาน
14. ดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิที่พื้นผิวประมาณ 5,727 องศาเซลเซียส จงหาความยาวคลื่นที่ดวงอาทิตย์ รังสีเอกซที่มีความยาวคลื่น 1 อังสตรอม
แผ่ออกมาได้มากที่สุด จะมีอุณหภูมิ 2.9 × 107 เคลวิน
15. แบบจ�าลองอะตอมของโบร์สามารถอธิบายข้อปญหาของแบบจ�าลองอะตอมของทอมสันได้อย่างไร ค) วัตถุท่ีแผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาในยาน
รั ง สี แ กมมาที่ มี ค วามยาวคลื่ น 10 -4
16. หากอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเคลือ่ นจากระดับพลังงานที ่ 4 มาสูร่ ะดับที ่ 2 จะคายพลังงาน
ออกมากี่อิเล็กตรอนโวลต์ อังสตรอม จะมีอณ ุ หภูมิ 2.9 × 1011 เคลวิน

17. พลังงานต�่าสุดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน คือ -13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าอิเล็กตรอน


14. ความยาวคลื่นที่ดวงอาทิตยแผออกมาไดมาก
เปลีย่ นสถานะจาก n = 3 ไปสู ่ n = 2 จะให้แสงทีม่ พี ลังงานควอนตัมเท่าใด และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ที่สุดเทากับ 483.3 นาโนเมตร
ที่ปล่อยออกมามีความยาวคลื่นเท่าใด 15. แบบจํ า ลองอะตอมของทอมสั น กล า วว า
18. ความยาวคลื่นขีดจ�ากัดของแคลเซียมเท่ากับ 3,840 อังสตรอม ภายในโครงสรางของอะตอมมีประจุบวกและ
ก) ฟงก์ชันงานของแคลเซียมมีค่าเท่าใด ประจุลบอยูดวยกัน แตเพราะอิเล็กตรอนมี
ข) พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวโลหะนี้ เมื่อแสงความยาวคลื่น 2,000 ประจุเปนลบ มีมวลเบา จึงไมถูกเรง เนื่องจาก
อังสตรอม ตกกระทบมีค่าเท่าใด ประจุบวกหรือในภาวะปกติจะไมมีการเปลง
ฟิสิกส์อะตอม 115 แสงเนื่องจากอิเล็กตรอนถูกเรง

16. อิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมา 2.55 อิเล็กตรอนโวลต


17. ถาอิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสู n = 2 จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัม 1.89 อิเล็กตรอนโวลต และคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ปลอยออกมา
มีความยาวคลื่นเทากับ 656 นาโนเมตร
18. ก) ฟงกชันงานของแคลเซียมเทากับ 3.23 อิเล็กตรอนโวลต
ข) พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวโลหะเทากับ 2.97 อิเล็กตรอนโวลต

T123
นํา สอน สรุป ประเมิน

19. ความยาวคลื่ น ที่ ย าวที่ สุ ด ในอนุ ก รมไลมาน


เทากับ 68.3 นาโนเมตร
19. ความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในอนุกรมไลมานมีค่าเท่าใด
20. อนุภาค A จะประพฤติตัวเปนคลื่นที่มีความ
ยาวคลื่นเปน 2 เทาของอนุภาค B 20. ถ้ามวลของอนุภาค A เป็นครึ่งหนึ่งของมวลของอนุภาค B เมื่ออนุภาคทั้งสองมีพลังงานเท่ากัน
อนุภาค A จะประพฤติตัวเป็นคลื่นที่มีความยาวคลื่นเป็นกี่เท่าของอนุภาค B
21. ความเร็วสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนทีห่ ลุดออก
มาเทากับ 9.74 × 105 เมตรตอวินาที 21. โซเดียมมีค่าฟงก์ชันงาน 2.3 อิเล็กตรอนโวลต์ เมื่อแสงอัลตราไวโอเลตความยาวคลื่น 2,480
อังตรอม ตกกระทบ จงหาความเร็วสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมา
22. ความถี่ขีดเริ่มของรังสีอัลตราไวโอเลตเทากับ
9.8 × 1014 เฮิรตซ 22. รังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น 1.2 × 10-7 เมตร เมื่อตกกระทบโลหะชนิดหนึ่ง จะได้
พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเท่ากับ 10-18 จูล จงหาความถี่ขีดเริ่มของ
23. เสาสงกําลังปลอยโฟตอนออกมา 1.16 × 1033 รังสีอัลตราไวโอเลต
อนุภาคตอวินาที
23. เสาส่งคลื่นวิทยุเอเอ็ม (AM) ส่งคลื่นด้วยก�าลัง 80 กิโลวัตต์ ที่สัญญาณความถี่ 104 กิโลเฮิรตซ์
24. ก) ฟงกชนั งานของโลหะเทากับ 0.72 อิเล็กตรอน จงหาว่า เสาส่งนี้ก�าลังปล่อยโฟตอนออกมากี่ตัวใน 1 วินาที
โวลต
24. เมื่อให้แสงที่มีความยาวคลื่น 560 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะชนิดหนึ่ง ปรากฏว่าต้องใช้
ข) ถาตองการใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากผิว ความต่างศักย์ในการหยุดยั้งโฟโตอิเล็กตรอนเท่ากับ 1.5 โวลต์
โลหะพอดีจะตองใชแสงที่มีความยาวคลื่น ก) ฟงก์ชันงานของโลหะมีค่าเท่าใด
เทากับ 1,725 นาโนเมตร ข) ถ้าต้องการให้อเิ ล็กตรอนหลุดออกจากผิวโลหะได้พอดี จะต้องใช้แสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ เท่าใด
25. ความยาวคลื่นที่สั้นที่สุดของรังสีเอกซเทากับ 25. ในหลอดผลิตรังสีเอกซ์ ถ้าใช้ความต่างศักย์เร่งอิเล็กตรอน 10,000 โวลต์ จงหาความยาวคลื่นที่
1.24 × 10-10 เมตร หรือ 1.24 อังสตรอม สั้นที่สุดของรังสีเอกซ์ในหน่วยเมตร
26. ก) ความยาวคลื่นของโฟตอนกอนชนเทากับ 26. โฟตอนของรังสีเอกซ์ชนกับอิเล็กตรอน ท�าให้มมุ กระเจิงของโฟตอนเท่ากับ 90 องศา อิเล็กตรอน
1.62 × 10-11 เมตร และหลังชนเทากับ ได้รับพลังงานจลน์ 104 อิเล็กตรอนโวลต์
1.86 × 10-11 เมตร ก) ความยาวคลื่นของโฟตอนก่อนชนและหลังชนมีค่าเท่าใด
ข) อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในทิศทางทํามุม 41.3 ข) อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปทิศทางใด
องศา กับแนวแกน +X 27. จงค�านวณหาความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนที่มีความเร็ว 2 × 104 เมตรต่อวินาที
27. อิเล็กตรอนทีม่ คี วามเร็ว 2 × 104 เมตรตอวินาที 28. อิเล็กตรอนและโปรตอนถูกเร่งจากสภาพหยุดนิ่งด้วยความต่างศักย์ไฟฟ้า 100 กิโลโวลต์ จงหา
จะมีความยาวคลื่น 36.4 นาโนเมตร อัตราส่วนความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนและโปรตอน
28. อัตราสวนความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนและ 29. จงหาความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่ด้วยพลังงานจลน์ 5 อิเล็กตรอนโวลต์
โปรตอนเทากับ 42.8
30. อนุภาคมวล m มีประจุไฟฟ้า q ถูกเร่งจากสภาพหยุดนิง่ ด้วยสนามไฟฟ้าสม�า่ เสมอความต่างศักย์
29. อิเล็กตรอนดังกลาวจะมีความยาวคลื่น V อนุภาคนี้จะประพฤติตัวเป็นคลื่นมีความยาวคลื่นเท่าใด
5.48 × 10-10 เมตร
116
30. อนุภาคจะประพฤติตัวเปนคลื่นที่มีความยาว
คลื่น ดังสมการ h
2mqV

T124
นํา สอน สรุป ประเมิน

31. พลังงานจลนของอิเล็กตรอนเทากับ 2.4 × 10-17


จูล
31. ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของอิเล็กตรอนเท่ากับ 0.10 นาโนเมตร พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน
เท่ากับเท่าใด 32. ก) ความยาวคลื่นของอนุภาคแอลฟาเทากับ
5.98 × 10-15 เมตร
32. นิวเคลียสของธาตุยูเรเนียมปล่อยอนุภาคแอลฟาซึ่งมีพลังงานจลน์ 5.78 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ข) เส น ผ า นศู น ย ก ลางของนิ ว เคลี ย สมี ค  า
ออกมา
ก) ความยาวคลื่นของอนุภาคแอลฟามีค่าเท่าใด
มากกวาความยาวคลืน่ ของอนุภาคแอลฟา
ข) จงเปรียบเทียบความยาวคลื่นของอนุภาคกับเส้นผ่านศูนย์กลางของนิวเคลียส ซึ่งมีขนาด ประมาณ 3.34 เทา
ประมาณ 2 × 10-14 เมตร 33. อุณหภูมิของนํ้าจะเปลี่ยนไป 0.05375 เคลวิน
33. ยิงแสงความยาวคลื่น 0.66 ไมโครเมตร จ�านวน 2 × 1022 โฟตอน เข้าไปในน�้ามวล 16 กิโลกรัม หรือ 0.05375 องศาเซลเซียส
ถ้าสมมติวา่ น�า้ ดูดกลืนพลังงานจากแสงไว้ได้รอ้ ยละ 60 อุณหภูมขิ องน�า้ ทีเ่ ปลีย่ นไปจะมีคา่ เท่าใด 34. รถยนตคนั นีจ้ ะมีความยาวคลืน่ เดอบรอยลเปน
ก�าหนดให้ความจุความร้อนจ�าเพาะของน�้าเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม เคลวิน 3.3 × 10-38 เมตร
34. รถยนต์คันหนึ่งมีมวล 1,000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ถ้าคิดว่ารถยนต์ 35. ความไม แ น น อนในการวั ด โมเมนตั ม มี ค  า
คันนี้เป็นคลื่น จะมีความยาวคลื่นเดอบรอยล์กี่เมตร ประมาณ 5.28 × 10-32 กิโลกรัม เมตรตอวินาที
35. ลูกปืนมวล 0.050 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1,000 เมตรต่อวินาที ความไม่แน่นอนในการ 36. ความไมแนนอนในการวัดตําแหนงของอนุภาค
วัดต�าแหน่งเป็น 1 มิลลิเมตร จงหาความไม่แน่นอนในการวัดโมเมนตัม แอลฟามีคาประมาณ 1.58 × 10-14 เมตร
36. อนุภาคแอลฟาเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 6.0 × 106 เมตรต่อวินาที ถ้าความไม่แน่นอนของการวัด 37. ความไมแนนอนของโมเมนตัมคิดเปนรอยละ
ความเร็วเป็น 0.5 × 106 เมตรต่อวินาที ความไม่แน่นอนของต�าแหน่งอนุภาคแอลฟาเป็นกี่เมตร 13.2
ก�าหนดให้มวลอนุภาคแอลฟามีค่า 6.67 × 10-27 กิโลกรัม
38. ความไมแนนอนในกระบวนการวัดพลังงานของ
37. ถ้าความไม่แน่นอนในการวัดต�าแหน่งของโมเลกุลไฮโดรเจนซึง่ มีมวลประมาณ 2 × 10-27 กิโลกรัม
สถานะกระตุนเทากับ 5.28 × 10-27 จูล
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอะตอมมีค่าประมาณ 10-10 เมตร ร้อยละของความไม่แน่นอนของ
โมเมนตัมมีค่าเท่าใด ก�าหนดให้ที่อุณหภูมิห้องโมเลกุลมีความเร็ว 2,000 เมตรต่อวินาที 39. พลังงานจลนที่ตําแหนงนี้มีคาเปนศูนย
38. อะตอมซึ่งอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ปล่อยพลังงานออกมาในรูปโฟตอนและกลับมาสู่สถานะพื้นใน 40. อนุภาคนิวตรอนเกิดการเบี่ยงเบนไปจากแนว
เวลา 10-8 วินาที ความไม่แน่นอนในการวัดพลังงานที่สถานะกระตุ้นมีค่าเท่าใด เดิมนอยที่สุด
39. รังสีแอลฟาเคลื่อนที่เฉียดนิวเคลียสของทองค�า อยากทราบว่า พลังงานจลน์ของรังสีแอลฟา ณ
ต�าแหน่งที่เข้าใกล้นิวเคลียสของทองค�ามากที่สุดมีค่าเป็นอย่างไร
40. หากก�าหนดให้ โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน และแอลฟา เป็นอนุภาคที่มีพลังงานจลน์เท่ากัน
เมือ่ วิง่ เข้าใกล้นวิ เคลียสของยูเรเนียม อนุภาคใดมีโอกาสเบีย่ งเบนทิศทางการเคลือ่ นทีไ่ ปจากเดิม
น้อยที่สุด
ฟิสิกส์อะตอม 117

T125
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Test for U

1. ค า ประจุ ต  อ มวลของอนุ ภ าคของรั ง สี แ คโทด


เทากับ 1.75 × 1011 คูลอมบตอกิโลกรัม
2. จะตองเพิ่มความตางศักยเปน 4,042.5 โวลต
Test for U
3. ค า ความต า งศั ก ย ที่ ต  อ งใช ใ นการหยุ ด โฟโต ค�าชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้

อิเล็กตรอนทีม่ พี ลังงานจลนสงู สุดจากแผนโลหะ 1. ในการทดลองของทอมสัน เพือ่ หาค่าอัตราส่วนของประจุตอ่ มวลของอนุภาครังสีแคโทด ถ้าใช้เพียง


แบเรียมเทากับ 0.606 อิเล็กตรอนโวลต สนามแม่เหล็กขนาด 1.0 × 10-3 เทสลา อย่างเดียว รังสีจะเบี่ยงเบนโดยมีรัศมีความโค้ง 0.114
เมตร ถ้าใส่สนามไฟฟ้าที่เกิดจากแผ่นโลหะคู่ขนานที่อยู่ห่างกัน 0.01 เมตร ที่มีความต่างศักย์
4. ถาตองการกระตุนใหอะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยน 200 โวลต์ ท�าให้รังสีเดินทางเป็นเส้นตรง จงหาค่าประจุต่อมวลของอนุภาคของรังสีในหน่วย
ระดับพลังงานจาก n = 2 ไปยัง n = 3 จะตอง คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
ใชแสงที่มีความถี่ 4.54 × 1014 เฮิรตซ
2. ในการทดลองหยดน�้ามันของมิลลิแกน หยดน�้ามันมีมวล 2.2 × 10-15 กิโลกรัม โดยมีระยะห่าง
ระหว่างแผ่นขั้วโลหะเท่ากับ 3.0 เซนติเมตร ถ้าใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้า 200 โวลต์ จะท�าให้
หยดน�้ามันลอยอยู่นิ่ง ดังภาพที่ 6.44 อยากทราบว่า มีอิเล็กตรอนที่ท�าให้หยดน�้ามันเป็น
ประจุไฟฟ้ากี่ตัว และหากต้องการให้จ�านวนอิเล็กตรอนดังกล่าวลดลงเหลือเพียง 1 ตัว จะต้อง
เพิ่มหรือลดความต่างศักย์เป็นเท่าใด
A (+)
qE
200 V 3.0 cm E
mg
B (-)
ภาพที่6.44 ภาพประกอบ Test for U ข้อ 2.
ที่มา : คลังภาพ อจท.

3. แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบแผ่นโลหะแบเรียม ถ้าก�าหนดให้ฟงก์ชันงานของ


แบเรียมเป็น 2.5 อิเล็กตรอนโวลต์ ค่าความต่างศักย์ที่ต้องใช้ในการหยุดโฟโตอิเล็กตรอนที่มี
พลังงานจลน์สูงสุดจากแผ่นโลหะแบเรียมเท่ากับเท่าใด
4. อะตอมไฮโดรเจนเมื่อเปลี่ยนระดับพลังงานจากสถานะ n = 3 สู่สถานะพื้น จะให้โฟตอนที่มี
พลังงาน 19.34 × 10-19 จูล และเมื่อเปลี่ยนสถานะจาก n = 2 สู่สถานะพื้น จะให้โฟตอนที่มี
พลังงาน 16.33 × 10-19 จูล ถ้าต้องการกระตุ้นให้อะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก
n = 2 ไปยังสถานะ n = 3 จะต้องใช้แสงความถี่เท่าใด

118

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

5. อัตราสวนระหวางประจุไฟฟาตอมวลในรังสี
แคโทดมีคาเทากับ mV
2
B dR
5. ในการทดลองวัดอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอนุภาคในรังสีแคโทดโดยวิธีการทดลองของ 6. เมื่อเทียบกับฟงกชันงานของโลหะทั้ง 3 ชนิด
ทอมสัน พบว่า เมือ่ ใส่สนามแม่เหล็กซึง่ มีความเข้ม B รังสีแคโทดจะเบีย่ งเบนเป็นวิถโี ค้งส่วนหนึง่ พบว า แคลเซี ย มจะไม เ กิ ด ปรากฏการณ
ของวงกลมที่มีรัศมี R ต่อมาเมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปท�าให้เกิดความต่างศักย์ V ระหว่าง โฟโตอิเล็กทริก
แผ่นโลหะทัง้ 2 แผ่น ซึง่ วางห่างกันเป็นระยะ d รังสีแคโทดจะเดินทางเป็นเส้นตรงโดยไม่เกิดการ 7. อัตราเร็วสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนเทากับ
เบี่ยงเบน อัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอนุภาคในรังสีแคโทดมีค่าเท่าใด 2hf0
6. โลหะ 3 ชนิด ประกอบด้วยซีเซียม (Cs) แบเรียม (Ba) และแคลเซียม (Ca) มีฟงก์ชันงานเป็น m
1.8 อิเล็กตรอนโวลต์ 2.5 อิเล็กตรอนโวลต์ และ 3.2 อิเล็กตรอนโวลต์ ตามล�าดับ หากมีแสงที่ 8. จะมีโฟตอนที่แพรออกมาจากชองดังกลาว
มีความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบบนโลหะทั้งสาม โลหะชนิดใดจะแสดงปรากฏการณ์ 4 × 108 ตัว
โฟโตอิเล็กทริก
9. อะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุน ไปทีร่ ะดับพลังงาน
7. ส�าหรับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ที่ผิวโลหะหนึ่งมีค่าความถี่ขีดเริ่มเท่ากับ f0 ถ้าหากมีการใช้ ที่ n = 2
แสงทีม่ คี วามถีเ่ ป็น 2 เท่า ของความถีข่ ดี เริม่ อัตราเร็วสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนมีคา่ เป็นเท่าใด
10. จะตองฉายแสงทีม่ ีความยาวคลืน่ 188.2 นาโน
ก�าหนดให้มวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ m และค่าคงตัวของพลังค์เท่ากับ h
เมตร
8. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ภายในวัตถุทึบแสงมีลักษณะภายในกลวง และวัตถุนี้มีช่องขนาด 1 ตาราง
มิลลิเมตร อยูจ่ า� นวน 1 ช่อง หากสมมติวา่ เมือ่ ให้ความร้อนแก่วตั ถุแล้วท�าให้วตั ถุรอ้ นขึน้ จนกระทัง่
มีอุณหภูมิค่าหนึ่งจะมีแสงที่มีความยาวคลื่น 660 นาโนเมตร เปล่งออกมาจากช่องดังกล่าวด้วย
ความเข้มคงตัว 10-6 วัตต์ต่อตารางเมตร ในเวลา 2 นาที จะมีโฟตอนที่แพร่ออกมาจากช่อง
ดังกล่าวนี้กี่ตัว
9. จากทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนต�่าสุด -13.6 อิเล็กตรอนโวลต์
ถ้าอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุ้นไปอยู่ที่ระดับพลังงานสูงขึ้นและกลับสู่สถานะพื้นโดยที่มีพลังงาน
ต�า่ สุด มีการปล่อยโฟตอนออกมาด้วยพลังงาน 10.20 อิเล็กตรอนโวลต์ แสดงว่าอะตอมไฮโดรเจน
ถูกกระตุ้นไปที่ระดับพลังงานที่ n เท่ากับเท่าใด
10. จะต้องฉายแสงที่มีความยาวคลื่นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร จึงจะท�าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจาก
ขั้วแคโทดที่ท�าจากโลหะชนิดหนึ่ง แล้วสามารถเคลื่อนที่ไปถึงขั้วแอโนดได้พอดี เมื่อศักย์ไฟฟ้า
ที่แอโนดและแคโทดต่างกัน 1.80 โวลต์ ก�าหนดให้ฟงก์ชันงานของโลหะชนิดนี้มีค่าเท่ากับ 4.80
อิเล็กตรอนโวลต์

Key Test for U 6 ฟิสิกส์อะตอม 119

T127
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายวิธีการทดลองของ แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การค้นพบ - หนังสือเรียนรายวิชา แบ็กเกอแรลที่นำ� ไปสู่การค้น มโนทัศน์ - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
กัมมันตภาพรังสี เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ พบกัมมันตภาพรังสีได้ (K) (Concept การค้นพบกัมมันตภาพรังสี - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ 2. บอกความหมายของ Based - ตรวจแผ่นพับความรู้ - ทักษะการท�ำงาน - มีความซื่อสัตย์
ม.6 เล่ม 2 กัมมันตภาพรังสีและธาตุ Teaching) - ตรวจใบงาน ร่วมกัน
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา กัมมันตรังสีได้ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการน�ำความรู้
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ 3. สืบค้นข้อมูลและเขียนสรุป - ตรวจแบบฝึกหัดจาก ไปใช้
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ องค์ความรู้เกี่ยวกับการ Topic Questions
ม.6 เล่ม 2 ค้นพบกัมมันตภาพรังสี - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน ได้อย่างถูกต้อง (P) การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint 4. มีความรับผิดชอบต่องาน - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ที่ได้รับมอบหมายและ การท�ำงานกลุ่ม
Twig ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู - สังเกตคุณลักษณะ
ก�ำหนด (A) อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการค้นพบนิวตรอน แบบเน้น - สงั เกตและตรวจการน�ำเสนอ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลีย่ นสภาพ เพิม่ เติมวิทยาศาสตร์
ตามสมมติฐานโปรตอน- มโนทัศน์ เกี่ยวกับการเปลี่ยนสภาพ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
นิวเคลียส และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ นิวตรอนได้ (K) (Concept นิวเคลียส - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลและเขียน Based - ตรวจผังมโนทัศน์ - ทักษะการท�ำงาน - มีความซื่อสัตย์
- แบบฝึกหัดรายวิชา สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัด ร่วมกัน
3 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ องค์ประกอบของนิวเคลียส - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ และการค้นพบนิวตรอนได้ Topic Questions
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 อย่างถูกต้อง (P) - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint 3. มีความรับผิดชอบต่องาน การท�ำงานรายบุคคล
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ที่ได้รับมอบหมายและ - สังเกตพฤติกรรม
Twig ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู การท�ำงานกลุ่ม
ก�ำหนด (A) - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกความหมายของการ แบบสืบเสาะ - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การสลาย เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ สลายให้อนุภาคแอลฟา หาความรู้ การสลายของนิวเคลียส - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ของนิวเคลียส และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา (5Es กัมมันตรังสี - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
กัมมันตรังสี ม.6 เล่ม 2 ได้ (K) Instructional - สังเกตการปฏิบัติการจาก - ทักษะการท�ำงาน - มีความซื่อสัตย์
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. คำ� นวณหาปริมาณทีเ่ กีย่ วข้อง Model) การท�ำกิจกรรม ร่วมกัน
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ กับการสลายของนิวเคลียส - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม - ทักษะการน�ำความรู้
6 และเทคโนโลยี ฟิสิกส์
ม.6 เล่ม 2
กัมมันตรังสีได้อย่างถูกต้อง
(P)
- ตรวจอินโฟกราฟิก
- ตรวจใบงาน
ไปใช้
- ทักษะการทดลอง
ชั่วโมง - ใบงาน 3. ปฏิบัติกิจกรรมสถานการณ์ - ตรวจแบบฝึกหัด
- PowerPoint จ�ำลองการสลายของ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- QR Code นิวเคลียสกัมมันตรังสีได้ Topic Questions
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อย่างถูกต้องและเป็นล�ำดับ - สังเกตพฤติกรรม
Twig ขั้นตอน (P) การท�ำงานรายบุคคล
4. มีความรับผิดชอบต่องาน - สังเกตพฤติกรรม
ที่ได้รับมอบหมายและ การท�ำงานกลุ่ม
ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู - สังเกตคุณลักษณะ
ก�ำหนด (A) อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกความแตกต่างระหว่าง แบบเน้น - สังเกตการน�ำเสนอเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ไอโซโทป เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ไอโซโทปกัมมันตรังสีกับ มโนทัศน์ ไอโซโทป - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ไอโซโทปเสถียรได้ (K) (Concept - ตรวจอินโฟกราฟิก - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. ค�ำนวณหาปริมาณที่ Based - ตรวจแบบฝึกหัด
3 - แบบฝึกหัดรายวิชา เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
ชั่วโมง เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ไอโซโทปด้วยแมสสเปกโทร Topic Questions
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ มิเตอร์ได้อย่างถูกต้อง (P) - สังเกตพฤติกรรม
ม.6 เล่ม 2 3. มีความรับผิดชอบต่องาน การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint ที่ได้รับมอบหมายและ - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์อธิบาย ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู การท�ำงานกลุ่ม
ค�ำศัพท์วิทยาศาสตร์ ก�ำหนด (A) - สังเกตคุณลักษณะ
Twig อันพึงประสงค์

T128
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความหมายของ แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
เสถียรภาพของ เพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ แรงนิวเคลียร์และพลังงาน มโนทัศน์ แรงนิวเคลียร์ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
นิวเคลียส และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ยึดเหนี่ยวได้ (K) (Concept - ตรวจอินโฟกราฟิก - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. ค�ำนวณหาปริมาณทีเ่ กีย่ วข้อง Based - ตรวจใบงาน - ทักษะการท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา กับเสถียรภาพของนิวเคลียส Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัด ร่วมกัน
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ได้อย่างถูกต้อง (P) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - ทักษะการน�ำความรู้
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ 3. มีความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้ Topic Questions ไปใช้
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 รับมอบหมายและปฏิบัติงาน - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน ตรงตามเวลาทีค่ รูกำ� หนด (A) การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์อธิบาย การท�ำงานกลุ่ม
ค�ำศัพท์วิทยาศาสตร์ - สังเกตคุณลักษณะ
Twig อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์จาก แบบเน้น - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ปฏิกิริยา เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ สมการปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มโนทัศน์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
นิวเคลียร์ และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ (K) (Concept - ตรวจอินโฟกราฟิก - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. ค�ำนวณหาพลังงานนิวเคลียร์ Based - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา ได้อย่างถูกต้อง (P) Teaching) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก ร่วมกัน
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ 3. มคี วามรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้ Topic Questions - ทักษะการน�ำความรู้
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ รับมอบหมายและปฏิบัติงาน - สังเกตพฤติกรรม ไปใช้
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 ตรงตามเวลาทีค่ รูกำ� หนด (A) การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น การท�ำงานกลุ่ม
Twig - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 7 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกประโยชน์และอันตราย แบบเน้น - สังเกตและประเมินการน�ำ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
กลศาสตร์ เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ที่เกิดจากรังสีและพลังงาน มโนทัศน์ เสนอผลงานเกี่ยวกับ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ควอนตัม และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ นิวเคลียร์ได้ (K) (Concept ประโยชน์ของกัมมันตภาพ - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลและน�ำเสนอ Based รังสีและพลังงานนิวเคลียร์ - ทักษะการท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา ผลการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ Teaching) - ตรวจแผ่นพับความรู้ ร่วมกัน
2 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ พลังงานนิวเคลียร์ได้อย่าง - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการน�ำความรู้
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ถูกต้อง (P) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก ไปใช้
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 3. มีความรับผิดชอบต่องาน Topic Questions
- PowerPoint ที่ได้รับมอบหมายและ - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู การท�ำงานรายบุคคล
Twig ก�ำหนด (A) - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 8 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การค้นคว้า - หนังสือเรียนรายวิชา แรงกับอนุภาคมูลฐาน มโนทัศน์ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
วิจัยด้านฟิสิกส์ เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ในรูปแบบของแบบจ�ำลอง (Concept เกี่ยวกับการค้นคว้าวิจัย - ทักษะการวิเคราะห์ - มุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
อนุภาค และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ มาตรฐานได้ (K) Based ด้านฟิสิกส์อนุภาค - ทักษะการท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลและน�ำเสนอผล Teaching) - ตรวจอินโฟกราฟิก ร่วมกัน
- แบบฝึกหัดรายวิชา การศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการน�ำความรู้
4 เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ฟิสิกส์
ด้านฟิสิกส์อนุภาคได้ (P)
3. มคี วามรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้
- ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจแบบฝึกหัดจาก
ไปใช้
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 รับมอบหมาย และปฏิบตั งิ าน Topic Questions
- ใบงาน ตรงตามเวลาทีค่ รูกำ� หนด (A) - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัดจาก
- PowerPoint Unit Questions
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - ตรวจการท�ำแบบฝึกหัดจาก
Twig Test for U
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
T129
Chapter Concept Overview
การค้นพบกัมมันตภาพรังสี
ธาตุที่มีสมบัติสามารถแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) และปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสี
ได้เองอย่างต่อเนื่องนี้ เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (radioactivity)
รังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีแผ่ออกมามี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา โดยเมื่อให้รังสีทั้งสามผ่านเข้าไปในบริเวณที่มี
สนามแม่เหล็ก รังสีแอลฟาจะเบนทิศการเคลื่อนที่เล็กน้อย รังสีบีตาจะเบนทิศการเคลื่อนที่มากกว่ารังสีแอลฟา ส่วนรังสีแกมมาจะมีทิศการ
เคลื่อนที่คงเดิม ความสามารถในการท�ำให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนเมื่อเรียงล�ำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสี
แกมมา ตามล�ำดับ อ�ำนาจทะลุผ่านของรังสีเมื่อเรียงล�ำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ รังสีแกมมา รังสีบีตา และรังสีแอลฟา ตามล�ำดับ

การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
จากการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปยังนิวเคลียสของไนโตรเจน ท�ำให้รวู้ า่ มีอนุภาคบวกอยูภ่ ายในนิวเคลียส และได้ตงั้ ชือ่ ว่า โปรตอน
การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปชนกับเบริลเลียมของแชดวิก ท�ำให้คน้ พบนิวตรอน จึงสรุปได้วา่ ทุก ๆ นิวเคลียสจะประกอบด้วยอนุภาค
บวกและเป็นกลาง คือ โปรตอนและนิวตรอน

การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
อนุกรมกัมมันตรังสี คือ การที่นิวเคลียสของอะตอมของธาตุที่ไม่เสถียรจะมีการสลายตัวไปเป็นนิวเคลียสอื่น และจะมีการสลายตัวไป
เรื่อย ๆ จนกระทั่งได้นิวเคลียสผลิตผลสุดท้าย ซึ่งอนุกรมกัมมันตรังสีสามารถจ�ำแนกได้ 4 อนุกรม คือ อนุกรมทอเรียม อนุกรมเนปทูเนียม
อนุกรมยูเรเนียม และอนุกรมแอกทิเนียม
สมมติฐานของรัทเทอร์ฟอร์ดและซอดดี มีใจความส�ำคัญว่า “หลังจากการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีจะได้ธาตุใหม่ที่อาจ
จะเป็นหรือไม่เป็นธาตุกัมมันตรังสีก็ได้ โดยการสลายของธาตุกัมมันตรังสีนี้จะไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อม ทุกนิวเคลียสมีโอกาสสลายได้
เท่า ๆ กัน แต่บอกไม่ได้ว่านิวเคลียสใดจะสลายตัวก่อนหรือหลัง ทั้งนี้ อัตราการสลายตัวจะขึ้นกับจ�ำนวนนิวเคลียสเดิม”
กัมมันตภาพ คือ อัตราการแผ่รังสีขณะหนึ่งหรืออัตราการสลายของนิวเคลียส สามารถหาได้จากสมการ
A = λN
ครึ่งชีวิต คือ ช่วงเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีลดจ�ำนวนลงเหลือครึ่งหนึ่งของตอนเริ่มต้น สามารถหาได้จากสมการ
T1  =  lnλ 2
2

สมการที่ใช้ในการค�ำนวณเกี่ยวกับการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี สามารถสรุปได้ ดังนี้


หาจ�ำนวนนิวเคลียสจากสมการ N = N0e-λt หรือ N  =  Nn0 โดยที่ n  =  Tt
2 1
2

หามวลของธาตุกัมมันตรังสีจากสมการ m = m0e-λt หรือ m  =  mn0 โดยที่ n  =  Tt


2 1
2

หาปริมาณกัมมันตภาพจากสมการ A = A0e-λt หรือ A  =  An0 โดยที่ n  =  Tt


2 1
2

ไอโซโทป
ไอโซโทป คือ นิวเคลียสที่มีจ�ำนวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีจ�ำนวนนิวตรอนต่างกัน การพิจารณาหรือวิเคราะห์ไอโซโทป
ของธาตุชนิดเดียวกันต้องอาศัยเครือ่ งมือทีม่ คี วามสามารถในการวัดมวลได้ละเอียดมาก คือ แมสสเปกโทรมิเตอร์ โดยอาศัยหลักการเกีย่ วกับ
การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ซึ่งเครื่องมือนี้มีส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน ได้แก่ ส่วน
เร่งอนุภาค ส่วนคัดเลือกความเร็ว และส่วนวิเคราะห์

T130
หน่วยการเรียนรู้ท ี่ 7
เสถียรภาพของนิวเคลียส
แรงนิวเคลียร์ คือ แรงที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนต่าง ๆ ให้อยู่รวมกันเป็นนิวเคลียส โดยเป็นแรงดึงดูดซึ่งมีค่ามากกว่าแรงผลักระหว่าง
ประจุไฟฟ้า และเป็นแรงที่เกิดขึ้นในระยะสั้น ๆ
พลังงานยึดเหนี่ยว คือ พลังงานที่ใช้ในการยึดเหนี่ยวนิวคลีออนทั้งหมดเอาไว้ในนิวเคลียส อาจกล่าวได้ว่า พลังงานยึดเหนี่ยวเป็น
พลังงานของมวลที่หายไปเนื่องจากการรวมกันของนิวคลีออนในนิวเคลียส หรือเรียกว่า มวลพร่อง สามารถหาได้จากสมการ
E = (Δm)(931 MeV/u) โดยที่ Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M

ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ คือ กระบวนการหรือปฏิกิริยาที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ สามารถเขียนได้ ดังสมการ
X + a Y + b หรือ X(a, b)Y
ปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบดูดพลังงาน ผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีค่ามากกว่าผลรวมของมวลก่อนเกิดปฏิกิริยา ท�ำให้พลังงาน
ยึดเหนี่ยวมีค่าน้อยลง พลังงานจลน์รวมก็น้อยลงเช่นเดียวกัน
ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์แบบคายพลังงาน ผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกริ ยิ าจะมีคา่ น้อยกว่าผลรวมของมวลก่อนเกิดปฏิกริ ยิ า ท�ำให้พลังงาน
ยึดเหนี่ยวมีค่ามากขึ้น พลังงานจลน์รวมก็มากขึ้นเช่นเดียวกัน
ฟิชชัน คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวเป็นนิวเคลียสขนาดเล็กลง
ฟิวชัน คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากการรวมกันของนิวเคลียสของธาตุเบาได้เป็นนิวเคลียสของธาตุที่หนักกว่า

ประโยชน์และอันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ธาตุกัมมันตรังสีสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช การฉายรังสีลงบนอาหาร การวิเคราะห์และ
รักษาโรค การตรวจการไหลเวียนโลหิต การตรวจวัดในบริเวณที่มองไม่เห็น การเปลี่ยนสมบัติของสินค้า การตรวจสอบอายุของสสารต่าง ๆ
การสร้างระเบิดท�ำลายล้าง การผลิตกระแสไฟฟ้า
ในธรรมชาติรอบตัวเรามีรังสีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีจากนอกโลก เรียกว่า รังสีคอสมิก รังสีที่เกิดขึ้นบนโลก และรังสีที่มนุษย์
สร้างขึ้น การเกิดอันตรายจากรังสีต่อมนุษย์แบ่งได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ การได้รับรังสีจากแหล่งก�ำเนิดรังสีจากภายนอกและการได้รับสาร
กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกาย โดยหลักการป้องกันอันตรายจากรังสีมี 3 ข้อ ได้แก่ เวลา ระยะทาง และเครื่องก�ำบัง

การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค
ภายในโปรตอนและนิวตรอนประกอบด้วยอนุภาคอืน่ ทีม่ ขี นาดเล็กลงไปอีก เรียกว่า ควาร์ก ซึง่ เป็นอนุภาคมูลฐานหนึง่ ทีเ่ ป็นหน่วยย่อย
ที่สุดในทางทฤษฎีฟิสิกส์ มีขนาดเล็กกว่าโปรตอนประมาณ 1,000 เท่า ควาร์กมีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ อัป (u) ดาวน์ (d) ชาร์ม (c)
สเตรนจ์ (s) ท็อป (t) และบอตทอม (b) โดยควาร์กทุกชนิดจะแอนติควาร์ก ซึ่งจะแตกต่างกันแค่ประจุไฟฟ้า
ในทฤษฎีแบบจ�ำลองมาตรฐาน อันตรกิริยาทั้งหลายในธรรมชาติเกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคหรือเป็นสื่อของแรงต่าง ๆ เช่น
อันตรกิริยาไฟฟ้า เกิดจากการแลกเปลี่ยนโฟตอน อันตรกิริยานิวเคลียร์อย่างอ่อนหรือแรงอ่อน เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาค W-โบซอน
และ Z-โบซอน ส่วนอันตรกิริยานิวเคลียร์อย่างเข้มหรือแรงเข้ม เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคกลูออน
การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคน�ำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีที่น�ำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น
1. การใช้เครื่องเร่งอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ง อนุภาคโปรตอนมาจากนิวเคลียสของไฮโดรเจนจะถูกเร่งในเครื่องเร่งอนุภาค แล้ว
ถูกปล่อยมาผ่านท่อน�ำโดยบังคับด้วยทิศทางของสนามแม่เหล็กไปยังจุดที่ถูกบังคับทิศทางไปยังเซลล์ที่ต้องการฉายรังสี
2. การใช้เครือ่ งถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอนในการวินจิ ฉัยโรคมะเร็ง คือ การตรวจทางเวชศาสตร์นวิ เคลียร์ทใี่ ช้ศกึ ษา
การท�ำงานของอวัยวะเป้าหมายที่ต้องการ โดยอาศัยการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารกัมมันตรังสีที่แตกตัวให้โพซิตรอน
3. การใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในการตรวจวัตถุอันตรายในสนามบิน เมื่อรังสีเอกซ์ผ่านวัตถุ พลังงานของรังสีเอกซ์บางส่วน
จะถูกวัตถุดูดกลืนไว้ และที่เหลือจะผ่านสิ่งของหรือสัมภาระ แล้วหัววัดจะตรวจวัดปริมาณรังสีเอกซ์ที่ผ่านมา

T131
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครู ชั ก ชวนนั ก เรี ย นสนทนาเกี่ ย วกั บ แหล ง
ฟสิกสนิวเคลียร
7
หน่วยการเรียนรู้ที่
พลังงานไฟฟาในประเทศไทย โดยครูขออาสา
สมัครออกมาอภิปรายเกี่ยวกับแหลงพลังงาน
ไฟฟาในประเทศไทย
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ แหล ง ฟิสกิ ส์นวิ เคลียร์ (Nuclear Physics) เป็นสาขาหนึง่ ของวิชาฟิสกิ ส์ทศี่ กึ ษาโครงสร้างภายในนิวเคลียส
พลังงานไฟฟาในประเทศไทย โดยนําขอมูลที่ ของอะตอม องค์ประกอบและสมบัติต่าง ๆ ของนิวเคลียส ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส
ไดมาจัดกระทําในรูปของใบงานสรุปความรู ของธาตุที่ไม่เสถียร โดยการค้นคว้าวิจัยต่าง ๆ เกี่ยวกับอนุภาคย่อยของอะตอมท�าให้ทราบถึง
ลงในกระดาษ A4 เสร็จแลวครูเก็บรวบรวม สมบัติของอนุภาคมูลฐานและเกิดเป็นแบบจ�าลองมาตรฐานขึ้น
ผลงานของนักเรียนเพื่อตรวจในเบื้องตน
3. ครูสมุ ผลงานนักเรียนทีโ่ ดดเดน แลวใหเจาของ การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค
ผลงานออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนา สามารถนําไปอธิบายเกี่ยวกับจักรวาลวิทยา
ได้หรือไม่ อย่างไร
ชั้นเรียน
4. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับโรงไฟฟานิวเคลียรที่มี
เนื้อหาแสดงหลักการทํางานในเบื้องตน รวม
ทั้งเนื้อหาที่แสดงใหเห็นถึงประโยชนและโทษ
ของโรงไฟฟานิวเคลียร เพือ่ กระตุน ความสนใจ
ของนักเรียนกอนเขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษา
5. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง
ฟสิกสนิวเคลียร เพื่อตรวจสอบความรูพื้นฐาน
ของนักเรียนกอนเขาสูเนื้อหา
6. ครูถามคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน
กับนักเรียน โดยครูเนนยํ้ากับนักเรียนวา เมื่อ
ศึ ก ษาเนื้ อ หาในหน ว ยการเรี ย นรู  นี้ จ บแล ว Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
นักเรียนจะตองตอบคําถามนี้ไดอยางถูกตอง ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
และชัดเจน ปรากฏการณที่ธาตุแผรังสีไดเองอยางตอเนื่อง เรียกวา กัมมันตภาพรังสี
7. ครูใหนกั เรียนตรวจสอบความรูค วามเขาใจของ กรณีที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงกลายเปนนิวเคลียสของธาตุใหมที่มีเลขมวลลดลง 4 และ
ตนเองกอนทีจ่ ะศึกษาเนือ้ หาในหนวยการเรียนรู เลขอะตอมลดลง 2 คือ การสลายใหอนุภาคแอลฟา
นี้ โดยการทํา Check for Understanding กัมมันตภาพ คือ อัตราการลดลงของจํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว ครึ่งชีวิต คือ เวลาที่จํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีลดลงไปครึ่งหนึ่งจากเริ่มตน
พลังงานยึดเหนี่ยวเปนพลังงานของมวลที่หายไปเนื่องจากการรวมกันของนิวคลีออนในนิวเคลียส
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก 4. ถูก 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


ได เนื่องจากการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาคทําใหคนพบอนุภาค
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
มูลฐานตางๆ ไดเปนแบบจําลองมาตรฐาน โดยอนุภาคมูลฐานเหลานั้น
ครูควรใชวธิ กี ารสอนแบบเนนมโนทัศน โดยมุง เนนใหนกั เรียนเขาใจหลักการและ
เปนพื้นฐานหนึ่งของสสารในอวกาศ นักฟสิกสและนักดาราศาสตรหลาย
ความคิดรวบยอดตางๆ เพื่อประยุกตใช และควรจัดการเรียนการสอนที่นําพา
คนไดพยายามศึกษาพฤติกรรมและอันตรกิริยาของอนุภาคมูลฐานใน
ผูเรียนไปสูความคิดรวบยอดนั้น โดยครูสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากบทความ
อวกาศเพื่อใหไดคําตอบของปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นแลวและอาจ
ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน ในเว็บไซต https://www.spu.ac.th/
เกิดขึ้นในอนาคต การไดมาซึ่งผลการทดลองหรือผลการศึกษาตางๆ
tlc/files/2016/03/รูปแบบการสอน-รศ.ดร.ทิศนา.pdf
ทําใหคาดการณและวิเคราะหเหตุปจจัยทั้งหลาย เกิดเปนการแจงเตือน
หรือรับมือกับสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้น นับไดวาการคนควาวิจัยดานฟสิกส
อนุภาคเปนหนึ่งในความกาวหนาของโลกในยุคปจจุบัน

T132
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
Key Question
ธาตุทวั่ ไปสามารถ 1. การค้นพบกัมมันตภาพรังสี 1. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน
เรืองแสงไดเองหรือ โดยใชคาํ ถาม Key Question จากหนังสือเรียน
มีแสงในตอนกลางคืนได
การค้นพบว่าธาตุบางชนิดสามารถแผ่รังสีได้ในการทดลอง 2. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนตามเลขที่ เชน
หรือไม ของ อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล (Antoine Henri Becquerel)
เลขที่ 1 จับคูกับเลขที่ 2 จากนั้นใหนักเรียน
(พ.ศ. 2395-2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เป็นจุดเริ่มต้นที่ท�าให้
ทุกคนไปนั่งกับคูของตนเอง จากนั้นครูมอบ
นักวิทยาศาสตร์อีกหลายคนท�าการศึกษาการแผ่รังสีของธาตุและน�าไปสู่การสรุปที่ว่า รังสีที่ธาตุ
กัมมันตรังสีสามารถแผ่ออกมาได้จะมี 3 ชนิด หมายใหแตละคูร ว มกันศึกษา เรือ่ ง การคนพบ
กั ม มั น ตภาพรั ง สี ในหั ว ข อ การทดลองของ
1.1 การทดลองของแบ็กเกอแรล แบ็กเกอแรล
ใน พ.ศ. 2439 แบ็กเกอแรลได้ท�าการทดลองและศึกษาว่า เมื่อสารใด ๆ เกิดการเรืองแสง 3. ครูใชคําถามทดสอบความสนใจในการศึกษา
สารนัน้ จะแผ่รงั สีเอกซ์ออกมาพร้อมกับการเรืองแสงได้หรือไม่ ซึง่ เริม่ จากทดลองการเรืองแสงของ หาความรูวา
สารต่าง ๆ ที่เกิดการเรืองแสงได้เมื่อถูกแสงแดด โดยการใส่ฟิล์มถ่ายรูปไว้ในซองกระดาษสีด�าที่ • การทดลองของแบ็กเกอแรลคืออะไร มีวิธี
แสงไม่สามารถทะลุผ่านได้ จากนั้นน�าไปวางไว้ใต้สารที่ท�าการทดลอง เพื่อตรวจสอบว่ามีการแผ่ การอยางไร และผลการทดลองเปนอยางไร
รังสีเอกซ์ออกมาหรือไม่ โดยแบ็กเกอแรลได้ตั้งสมมติฐานว่า ถ้าหากสารนั้นเรืองแสงพร้อมกับแผ่ (แนวตอบ แบ็กเกอแรลไดทาํ การทดลองเพือ่
รังสีเอกซ์ รังสีเอกซ์จะทะลุผ่านซองกระดาษสีด�าไปยังแผ่นฟิล์มด้านใน ส่งผลให้มีรอยด�าปรากฏ ศึกษาวา เมื่อสารใดๆ เกิดการเรืองแสง
ขึ้นบนแผ่นฟิล์ม สารนั้ น จะแผ รั ง สี เ อกซ อ อกมาพร อ มกั บ
เมือ่ แบ็กเกอแรลได้ทดลองการเรืองแสงของสารประกอบยูเรเนียม โดยการน�าแผ่นฟิลม์ ทีใ่ ส่ไว้ การเรื อ งแสงหรื อ ไม โดยเขาได ท ดลอง
ในซองกระดาษสีดา� ทึบไปวางไว้ใต้เกลือยูเรเนียม (โพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต) แล้วน�าไปตากแดด การเรืองแสงของสารประกอบยูเรเนียม วิธี
ดังภาพที่ 7.1 เพื่อดูว่าเกลือยูเรเนียมมีการแผ่รังสีแล้วทะลุผ่านซองกระดาษสีด�าเข้าไปแล้วท�าให้ การทดลอง คือ นําแผนฟลมที่ใสไวในซอง
แผ่นฟิล์มปรากฏรอยด�าหรือไม่ ซึ่งผลการทดลองที่ได้ก็เป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ คือ มี กระดาษสีดําทึบไปวางไวใตเกลือยูเรเนียม
รอยด�าปรากฏบนแผ่นฟิล์ม แต่เขาก็ยังไม่สรุปว่า รังสีที่แผ่ออกมานั้นเป็นรังสีเอกซ์ หลังจากนั้น แลวนําไปตากแดด ผลการทดลองของเขา
แบ็กเกอแรลได้ท�าการทดลองซ�้า แต่ช่วงที่แบ็กเกอแรลท�าการทดลองซ�้านั้น ไม่มีแดด เขาจึง เปนไปตามสมมติฐาน คือ มีรอยดําปรากฏ
น� า แผ่ น ฟิ ล ์ ม ที่ ใ ส่ ไ ว้ ใ นซอง แสงแดด บนแผนฟลม)
กระดาษสีด�าทึบไปวางไว้ใต้
เกลื อ ยู เ รเนี ย มเหมื อ นเดิ ม
แต่ ไ ด้ น� า ไปเก็ บ ไว้ ใ นลิ้ น ชั ก
หลายวัน เมื่อแบ็กเกอแรลได้
เกลือยูเรเนียม
น�าแผ่นฟิล์มไปล้างก็พบว่า มี
รอยด�าบนแผ่นฟิล์มเช่นกัน ซองกระดาษสีด�า
ที่ใส่แผ่นฟิล์มไว้ แนวตอบ Key Question

าพที่ 7.1 การทดลองของแบ็กเกอแรล ธาตุโดยทั่วไปมีทั้งที่สามารถเรืองแสงไดและ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ฟิสิกส์อะตอม 121
เรืองแสงไมได ขึ้นอยูกับความเสถียรของนิวเคลียส
ของธาตุนนั้ ๆ โดยสวนมากธาตุทมี่ มี วลอะตอมมาก
มักจะอยูในสภาวะไมเสถียรจึงมีการแผรังสีออกมา

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง การคนพบกัมมันตภาพรังสี
เรื่อง การทดลองของแบ็กเกอแรล จากแหลงขอมูลสารสนเทศ นอกจากภาพหรือเนื้อหาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดิทัศนจากแหลง
กอนที่จะศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน โดยที่นักเรียนจะตองใช ขอมูลสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือมาเปดใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให
ทักษะการรูเทาทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล และมีวิจารณญาณ นักเรียนไดเขาใจเกี่ยวกับความหมายและสิ่งที่เกี่ยวของมากขึ้น เชน คลิปวิดีโอ
ในการพิจารณาขอมูลจากแหลงขอมูลนั้นๆ วามีความนาเชื่อถือ จาก YouTube เรื่อง การคนพบกัมมันตภาพรังสี วิทยาศาสตร ม.4-6 (ฟสิกส)
มากนอยเพียงใด จากนั้นนําขอมูลเหลานั้นมาเขียนสรุปความรูลง ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=7DcpIZXE-sM
ในสมุดบันทึกประจําตัว เพื่อเปนการศึกษาหาความรูดวยตนเอง
ประกอบกับการศึกษาจากหนังสือเรียน เสร็จแลวครูใหนักเรียน
ศึ ก ษาเนื้ อ หาจากหนั ง สื อ เรี ย น จากนั้ น ครู สุ  ม ตั ว แทนออกมา
อภิปรายสิ่งที่ตนเองศึกษามากับสิ่งที่ไดจากหนังสือเรียน เพื่อให
นักเรียนมีความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง

T133
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูใหนักเรียนคูเดิมรวมกันศึกษา เรื่อง การ ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการทดลองทัง้ 2 ครัง้ ท�าให้แบ็กเกอแรลประหลาดใจ จึงได้ทา� การทดลองซ�า้
ศึ ก ษารั ง สี ที่ แ ผ อ อกมาจากธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี อีกหลายครัง้ แม้กระทัง่ น�าไปเก็บไว้ในความมืดเป็นเวลาหลายเดือน ผลลัพธ์ทไี่ ด้กย็ งั เป็นเหมือนกัน
ในสวนของหัวขอทีเ่ กีย่ วกับการเบนของรังสีใน ดังนัน้ รอยด�าทีป่ รากฏบนแผ่นฟิลม์ เป็นผลมาจากเกลือยูเรเนียม การน�าเกลือไปวางไว้กลางแดดนัน้
สนามแมเหล็ก จากหนังสือเรียน ไม่ใช่สิ่งจ�าเป็นที่จะท�าให้เกิดผลลัพธ์ดังกล่าว และยังพบอีกว่า ไม่ว่าจะน�าเกลือไปท�าให้ร้อนขึ้น
5. ครูใหนักเรียนแตละคูรวมกันอภิปรายผลการ น�าเกลือไปบด หรือน�าเกลือไปละลายน�1้า ก็ไม่มีผลต่อรังสีที่แผ่ออกมา แบ็กเกอแรลจึงสรุปได้ว่า
ศึกษารวมกันจนไดเปนองคความรู จากนั้นครู ยิง่ ตัวอย่างเกลือยูเรเนียมมีธาตุยเู รเนียมประกอบอยูม่ ากเท่าใด รังสีทแี่ ผ่ออกมาก็ยงิ่ จะรุนแรงมาก
ใหนกั เรียนจดบันทึกองคความรูท ไี่ ดลงในสมุด เท่านั้น จากผลการทดลองท�าให้รู้ว่า รังสีที่เกิดขึ้นมีสมบัติบางประการคล้ายคลึงกับรังสีเอกซ์ เช่น
บันทึกประจําตัว ทะลุผ่านวัตถุต่าง ๆ ได้ ท�าให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนได้ แต่รังสีนี้เกิดขึ้นได้เองตลอดเวลาซึ่ง
6. ครู ถ ามคํ า ถามนั ก เรี ย นโดยการสุ  ม ตั ว แทน รังสีเอกซ์เกิดขึน้ เองไม่ได้ โดยการตรวจสอบภายหลังก็ได้ยนื ยันผลลัพธ์ของแบ็กเกอแรลและแสดง
นักเรียนใหยืนขึ้นแลวตอบคําถาม ดังนี้ ให้เห็นว่า สารประกอบยูเรเนียมทุกชนิดจะท�าให้เกิดรอยด�าบนฟิล์มได้ แบ็กเกอแรลจึงได้เสนอ
• ธาตุกัมมันตรังสีคืออะไร ความคิดว่า รังสีที่เกิดขึ้นนี้เกิดจากธาตุยูเรเนียม (Uranium; U)
(แนวตอบ ธาตุที่มีสมบัติสามารถแผรังสี 1.2 การศึกษารังสีที่แผออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี
ไดเองอยางตอเนื่อง) การที่แบ็กเกอแรลพบรังสีดังกล่าว ท�าให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนเกิดความสงสัยว่า มี
• สภาวะไมเสถียรของนิวเคลียสคืออะไร ธาตุอื่นที่มีการแผ่รังสีเช่นเดียวกับธาตุยูเรเนียมอีกหรือไม่ โดยปีแอร์ กูรี (Pierre Curie) (พ.ศ.
(แนวตอบ สภาวะที่นิวเคลียสของธาตุมี 2402-2449) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส และมารี กูรี (Marie Curie) (พ.ศ. 2410-2477) นักฟิสิกส์
สัดสวนของจํานวนโปรตอนตอจํานวน ชาวโปแลนด์ ได้ท�าการทดลองกับธาตุอื่น ๆ บางชนิด เช่น ทอเรียม เรเดียม พอโลเนียม และได้
นิวตรอนไมเหมาะสม) ค้นพบว่า ธาตุเหล่านี้มีการแผ่รังสีเช่นเดียวกันกับธาตุยูเรเนียม โดยธาตุที่มีสมบัติสามารถแผ่รังสี
7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากสื่ อ ดิ จิ ทั ล ได้เองอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) และปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่
เชน ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับการเบี่ยงเบนของ รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องนี้ เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (radioactivity)
อนุ ภ าคเมื่ อ เคลื่ อ นที่ ผ  า นสนามแม เ หล็ ก ให ปีแอร์และมารี กูรี ได้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสีด้วยการหาว่า อะไรเป็นต้นเหตุที่ท�าให้
นักเรียนดู เกิดกัมมันตภาพรังสีขึ้น ซึ่งทั้ง 2 คน ได้ค้นพบว่า ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากการค้นพบของ
แบ็กเกอแรล เกิดจากการที่นิวเคลียสของธาตุนั้นอยู่ในสภาวะไม่เสถียร และเพื่อปรับตัวเองให้
เสถียร ธาตุนั้นจึงมีการปล่อยอนุภาคบางชนิดหรือพลังงานในรูปของโฟตอนออกมา ซึ่งเป็น
กระบวนการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
P hysics
Focus สภาวะไม่เสถียรของนิวเคลียส
สภาวะไม่เสถียรของนิวเคลียสเกิดจากส่วนประกอบภายในของนิวเคลียสไม่เหมาะสม ซึ่ง
หมายความว่า ในนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนซึ่งมีประจุบวกและนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า
สัดส่วนของจ�านวนโปรตอนต่อจ�านวนนิวตรอนไม่เหมาะสมจนท�าให้ธาตุนั้นไม่เสถียร

122

นักเรียนควรรู กิจกรรม ทาทาย


1 ยูเรเนียม (Uranium) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ U ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง
มีเลขอะตอม 92 ยูเรเนียมบริสุทธิ์เปนโลหะหนัก มีสีขาวเงิน เปนโลหะที่มี การคนพบกัมมันตภาพรังสี จากแหลงขอมูลสารสนเทศ จากนั้น
กัมมันตภาพรังสีออนโดยธรรมชาติ ยูเรเนียมมีความแข็งนอยกวาเหล็กเล็กนอย ครูใหนักเรียนแตละคนสรุปความรูที่ไดลงในกระดาษ A4 พรอม
มีความออนตัว บิดงอได มีความเปนแมเหล็กเล็กนอย โลหะยูเรเนียมมีความ ทั้ ง ตกแต ง ให ส วยงาม ซึ่ ง รู ป แบบการนํ า เสนอขึ้ น อยู  กั บ ความ
หนาแนนสูงมาก โดยมีความหนาแนนมากกวาตะกั่วรอยละ 65 สารประกอบ สามารถของแตละคน เสร็จแลวตัวแทนเก็บรวบรวมสงครู จากนั้น
ยูเรเนียมทุกไอโซโทปเปนสารพิษและมีกัมมันตภาพรังสี ถาไดรับรังสีในปริมาณ ครูอาจสุมนักเรียนออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน
ที่ตํ่า อาจไดรับผลจากความเปนพิษตอไต ผลที่เกิดจากรังสีสวนใหญจะเกิดขึ้น เพื่อเปนการอภิปรายสรุปความรูที่ไดจากการศึกษารวมกัน
เฉพาะที่ เนือ่ งจากรังสีแอลฟาซึง่ สวนใหญมาจากการสลายตัวของยูเรเนียม-238
เคลื่อนที่ไดในระยะสั้นเทานั้น

T134
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
หลังจากทีแ่ บ็กเกอแรลพบรังสีได้ไม่นาน รัทเทอร์ฟอร์ดได้ศกึ ษาเพิม่ เติมและแสดงให้เห็นว่า 8. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น เพื่ อ
รังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีแผ่ออกมาจากเกลือยูเรเนียมนั้นมี 2 ชนิด โดยชนิดที่ 1 ไม่สามารถเคลื่อน อภิปรายผลการศึกษาเกี่ยวกับการเบี่ยงเบน
ทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมบาง ๆ ได้ เรียกว่า รังสีแอลฟา (alpha ray) และชนิดที่ 2 มีอ�านาจทะลุ ของอนุภาคเมื่อเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็ก
ผ่านสูงกว่าชนิดที่ 1 เรียกว่า รังสีบีตา (beta ray) ในเวลาต่อมา วิลลาร์ด นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ที่ตนเองไดศึกษาจากหนังสือเรียนและจาก
ได้แสดงให้เห็นว่า ยังมีรังสีอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากเกลือยูเรเนียม โดยรังสีชนิดนี้มีอ�านาจทะลุผ่าน วีดิทัศนที่ครูนํามาเปดใหดู
สูงกว่า 2 ชนิดแรก เรียกว่า รังสีแกมมา (gamma ray) โดยรังสีดังกล่าวมีสมบัติ ดังนี้ 9. ครูเนนยํา้ กับนักเรียนเกีย่ วกับสัญลักษณ ประจุ
1. การเบนของรังสีในสนามแม่เหล็ก เมื่อให้รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา ผ่านเข้าไป และมวลของอนุภาคที่ปลดปลอยออกมาจาก
ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กทิศพุ่งเข้าและตั้งฉากกับกระดาษ พบว่า แนวการเคลื่อนที่ของรังสี ธาตุกัมมันตรังสี โดยมอบหมายใหนักเรียน
แยกออกเป็น 3 แนว ดังภาพที่ 7.2 โดยรังสีที่โค้งน้อยและเบนไปทางด้านซ้ายของแนวเดิม คือ ทําความเขาใจ และจดบันทึกตารางที่ 7.1
รังสีแอลฟา (α) รังสีที่โค้งมากและเบนไปในทิศตรงข้ามกับรังสีแอลฟา คือ รังสีบีตา (β) ส่วนรังสี จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ที่ไม่เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ คือ รังสีแกมมา (γ) และจากการที่รังสีทั้ง 3 ชนิด เบนในสนาม 10. ครูสุมถามนักเรียนเกี่ยวกับลัญลักษณ ประจุ
แม่เหล็กจึงท�าให้ทราบว่า รังสีแอลฟาต้องมีประจุไฟฟ้าบวก รังสีบีตาต้องมีประจุไฟฟ้าลบ และมวลของอนุภาคที่ปลดปลอยออกมาจาก
และรังสีแกมมาต้องมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ธาตุกัมมันตรังสี โดยหามนักเรียนดูคําตอบ
ที่ ถู ก ต อ งจากหนั ง สื อ เรี ย นและสมุ ด บั น ทึ ก
แผ่นฟิล์ม
γ ประจําตัว เพื่อทดสอบความรูและความจํา
γ β
α α β หลังจากที่ไดศึกษามาแลว
11. ครูถามคําถามทบทวนความรูเ ดิมกับนักเรียน
(-) (+) B
เกี่ ย วกั บ สมบั ติ ก ารเบนของรั ง สี ใ นสนาม
แมเหล็ก
แผ่นตะกั่ว แผ่นตะกั่ว
ธาตุกัมมันตรังสี 12. ครูใหนกั เรียนคูเ ดิมรวมกันศึกษาสมบัตติ อ ไป
ธาตุกัมมันตรังสี
ภาชนะตะกั่ว
ภาชนะตะกั่ว ของรังสีแอลฟา รังสีบตี า และรังสีแกมมา คือ
ความสามารถในการทําใหเกิดการแตกตัว
ภาพที ่ 7.2 แนวการเคลือ่ นทีข
่ องรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา ในสนามแม่เหล็ก เปนไอออน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
รังสีบตี าสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ บีตาบวก (β+) ซึง่ มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เรียกว่า
โพซิตรอน (positron) และบีตาลบ (β−) ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน (electron)
โดยธาตุกัมมันตรังสีส่วนมากจะปล่อยรังสีบีตาลบออกมา ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงรังสีบีตามักจะ
หมายถึง อิเล็กตรอนเสมอ และนอกจากรังสีทั้ง 3 ชนิด ธาตุกัมมันตรังสียังสามารถปล่อยอนุภาค
อื่น ๆ ออกมาพร้อมกับรังสีดังกล่าวได้อีก เช่น นิวตรอน นิวทริโน แอนตินิวทริโน ซึ่งสัญลักษณ์
ประจุและมวลของอนุภาคทีป่ ลดปล่อยออกมาจากธาตุกมั มันตรังสี สามารถแสดงได้ ดังตารางที ่ 7.1
ฟิสิกส์อะตอม 123

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เพราะเหตุใดจึงทําใหเราทราบวารังสีแอลฟา รังสีบตี า และรังสี การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง การคนพบกัมมันตภาพรังสี
แกมมามีประจุไฟฟาเปนบวก ลบ หรือเปนกลางทางไฟฟา นอกจากภาพหรือเนือ้ หาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดทิ ศั นจากแหลงขอมูล
(แนวตอบ เพราะจากการทดลองใหรังสีแอลฟา รังสีบีตา และ สารสนเทศทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนกั เรียนไดศกึ ษา
เพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนไดเขาใจเกีย่ วกับความหมายและสิง่ ทีเ่ กีย่ วของกับเนือ้ หา
รังสีแกมมา เคลือ่ นทีผ่ า นเขาไปในบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กซึง่ เกิด
มากขึ้น เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวิทยาศาสตรจาก Twig เรื่อง อิเล็กตรอน
จากการเหนีย่ วนําดวยสนามไฟฟา แลวสังเกตแนวการเคลือ่ นทีข่ อง
ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/glossary/
รังสีทั้งสาม พบวา รังสีแอลฟาจะมีแนวการเคลื่อนที่ที่เบนไปทาง electron-6798/
ฝงของขั้วลบของแผนโลหะที่ตออยูกับแหลงกําเนิดไฟฟา แสดงวา
รังสีแอลฟามีประจุไฟฟาเปนบวก รังสีบีตาจะมีแนวการเคลื่อนที่
ที่เบนไปทางฝงตรงขามกับรังสีแอลฟา แสดงวารังสีบีตามีประจุ
ไฟฟาเปนลบ และรังสีแกมมาจะมีแนวการเคลื่อนที่เปนเสนตรง
คงเดิม แสดงวารังสีแกมมาไมมีประจุไฟฟาหรือมีสภาพเปนกลาง
ทางไฟฟา)

T135
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
13. ครูสุมถามนักเรียนวา
ตารางที่ 7.1 : สัญลักษณ์ ประจุ และมวลของอนุภาคที่ปลดปล่อยออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี
• ความสามารถในการเคลือ่ นทีแ่ ละทําใหเกิด
อนุภาคหรือรังสี สัญลักษณ์ ประจุไฟฟ้า มวล
การแตกตัวเปนไอออนของรังสีแอลฟา รังสี
บีตา และรังสีแกมมา มีความเหมือนหรือ แอลฟา α +2e = 3.2 × 10-19 C 6.65 × 10-27 kg
แตกตางกัน อยางไร บีตาลบ (อิเล็กตรอน) -
β หรือ e- -1e = -1.6 × 10-19 C 9.11 × 10-31 kg
(แนวตอบ มีความแตกตางกัน เนื่องจาก แกมมา 0 0
γ
รั ง สี แ ต ล ะชนิ ด มี ม วลต า งกั น โดยที่ รั ง สี
+
แอลฟาสามารถเคลื่อนที่ไปไดระยะทาง บีตาบวก (โพซิตรอน) β หรือ e+ +1e = 1.6 × 10-19 C 9.11 × 10-31 kg
นอยทีส่ ดุ และรังสีแกมมาสามารถเคลือ่ นที่ นิวตรอน n หรือ n0 0 1.67 × 10-27 kg
ไปไดระยะทางมากที่สุด ซึ่งรังสีแอลฟา
โปรตอน p หรือ p+ +1e = 1.6 × 10-19 C 1.67 × 10-31 kg
ทําใหตัวกลางที่เคลื่อนที่ผานแตกตัวเปน
ไอออนไดมากที่สุด เพราะอนุภาคแอลฟา น้อยกว่ามวลของ β
นิวทริโน v 0
มาก ๆ แต่ไม่เป็นศูนย์
1 อนุภาค มีมวลมากกวาอนุภาคบีตา 1
อนุภาค และเนื่องจากรังสีแกมมาไมมีมวล แอนตินิวทริโน v 0
น้อยกว่ามวลของ β
จึงทําใหความสามารถในการทําใหตวั กลาง มาก ๆ แต่ไม่เป็นศูนย์
แตกตัวเปนไอออนไดดีรองลงมา) 2. ความสามารถในการท�าให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออน เนื่องจากรังสีแอลฟา บีตา
14. ครูใหนกั เรียนรวมกันศึกษาตอในหัวขออํานาจ และแกมมา เป็นรังสีที่มีสมบัติท�าให้สารหรือตัวกลางที่อนุภาคเคลื่อนที่ผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้
ทะลุผานของรังสีจากหนังสือเรียน โดยครูให หากให้รงั สีบตี าซึง่ เป็นอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าลบเคลือ่ นทีเ่ ข้าไปในสารชนิดหนึง่ ก็มโี อกาสทีร่ งั สีบตี า
นักเรียนศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากแหลง จะเคลื่อนที่เข้าไปชนอะตอมของสาร เนื่องจากรังสีบีตามีพลังงานสูงมาก สามารถชนอิเล็กตรอน
ขอมูลสารสนเทศ ของอะตอมของสารให้หลุดออกมาเป็นอิเล็กตรอนอิสระ ขณะเดียวกันอะตอมตัวที่ถูกชนซึ่งเสีย
เข้าใจ (Understanding) อิเล็กตรอนไปก็จะแสดงสภาวะประจุบวก เรียกว่า ไอออนบวก กล่าวได้ว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้
เป็นกระบวนการที่รังสีท�าให้สารหรือตัวกลางแตกตัวเป็นไอออน ดังภาพที่ 7.3
15. ครูใหนักเรียนแตละคูไปจับกลุมกับเพื่อนคู
e
อื่นๆ อีก 2 คู รวมเปนกลุมละ 6 คน จากนั้น β
ครูแจกกระดาษฟลิปชารตและปากกาเมจิก β

ใหนักเรียนกลุมละ 1 ชุด
16. ครู ม อบหมายให แ ต ล ะกลุ  ม เขี ย นสรุ ป องค

าพที ่ 7.3 กระบวนการแตกตัวเป็น
ความรูเกี่ยวกับสมบัติของรังสีที่แผออกมา ไอออนเนื่องจากรังสีบีตา
จากธาตุกมั มันตรังสีลงในกระดาษฟลิปชารต อะตอมของสาร ไอออนบวก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
โดยใหนักเรียนสรางสรรคผลงานของกลุม
124
ตนเองในรูปแบบตางๆ ตามความสนใจ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมื่อครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนถึงหัวขอความสามารถในการทําให พิจารณาขอความทีก่ าํ หนดให แลวระบุวา ขอความใดเปนสมบัติ
เกิดการแตกตัวเปนไอออน ซึ่งเปนสมบัติหนึ่งของรังสีที่ถูกปลอยออกมาจาก ของรังสีบีตา พรอมใหเหตุผล
ธาตุกัมมันตรังสี ครูอาจทบทวนความรูพื้นฐานใหกับนักเรียนเพื่อสรางความ ก. ตองใชวัสดุที่มีความหนามากในการกั้นรังสี
เขาใจในเนือ้ หาทีก่ าํ ลังศึกษามากยิง่ ขึน้ โดยการตัง้ คําถามเปนประเด็นใหนกั เรียน ข. อัตราสวนระหวางประจุไฟฟาตอมวลมีคามากที่สุด
สงสัยและไดใชความคิดในการบูรณาการความรูรวมกับวิชาเคมีที่เคยศึกษามา ค. มีความสามารถทําใหอากาศแตกตัวเปนไอออนไดดีที่สุด
แลวเกีย่ วกับนิยามหรือความหมายของคําวา “ไอออน” ซึง่ ครูอาจสุม นักเรียนเพือ่ ง. เมือ่ เคลือ่ นทีเ่ ขาไปในบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กจะมีแนวการ
ตอบคําถามหรือแสดงความคิดเห็น โดยที่ครูยังไมเฉลยวาคําตอบนั้นถูกหรือผิด เคลื่อนที่ที่เบนไปจากเดิมมากที่สุด
เพื่อเปนการสรางความมั่นใจใหกับนักเรียนวาคําตอบเหลานั้นถูกตองแลวหรือ (แนวตอบ รังสีบีตาสามารถกั้นไดดวยแผนโลหะบาง รังสีบีตา
ไม ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาอภิปรายเกี่ยวกับนิยามของคําวาไอออน มีคาประจุไฟฟาตอมวลมากที่สุด สวนความสามารถในการทําให
แลวรวมกันสรุปนิยามของไอออน เกิดการแตกตัวเปนไอออน รังสีแอลฟาจะทําไดดีที่สุด และเมื่อ
รังสีทั้ง 3 ชนิด เคลื่อนที่เขาไปในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก รังสี
บีตาจะมีแนวการเคลือ่ นทีเ่ บนไปจากเดิมมากทีส่ ดุ และรังสีแกมมา
ไมมีประจุจึงไมเบนการเคลื่อนที่ ดังนั้น ขอ ข. และขอ ง. เปน
สมบัติของรังสีบีตา)
T136
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
หากปล่อยให้รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา เคลื่อนที่ผ่านไปในสารหนึ่ง ๆ เช่น เคลื่อนที่ 17. เมือ่ นักเรียนสรางสรรคผลงานเสร็จแลว ครูให
ผ่านไปในอากาศ พบว่า รังสีแอลฟาเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางน้อยที่สุด และรังสีแกมมาสามารถ นักเรียนนําผลงานของตนเองไปติดตามผนัง
เคลื่อนที่ไปได้ระยะทางมากที่สุด ดังภาพที่ 7.4 โดยรอบชั้นเรียน จากนั้นครูใหนักเรียนแตละ
กลุมเดินชมผลงานของกลุมอื่นๆ โดยวิธีการ
α อากาศ เดินชมและวิเคราะหผลงานแบบหมุนวนกลุม
β ละประมาณ 1-2 นาที
γ 18. ครูใหนักเรียนกลับเขากลุมตนเอง จากนั้น
ภาพที่ 7.4 ระยะทางของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา ที่ท�าให้อากาศเกิดการแตกตัว เขียนชืน่ ชมหรือเสนอแนะพรอมทัง้ ใหคะแนน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ลงในกระดาษโนตของแตละกลุม แลวนําไป
จากภาพที่ 7.4 แสดงให้เห็นว่า รังสีแอลฟาสามารถท�าให้ตัวกลางที่เคลื่อนที่ผ่านไป แปะไวที่ผลงานของกลุมนั้นๆ
แตกตัวเป็นไอออนได้ดที สี่ ดุ หากพิจารณารังสีแอลฟาเป็นอนุภาค นัน่ คือ อนุภาคแอลฟา 1 อนุภาค 19. ครูเดินตรวจนับคะแนนของแตละกลุม แลวให
มีมวลเท่ากับ 6.65 × 10-27 กิโลกรัม จึงสูญเสียพลังงานให้ตัวกลางอย่างรวดเร็ว ท�าให้เคลื่อนที่ กลุมที่ไดคะแนนมากที่สุด 1-2 กลุม ออกมา
ผ่านไปในตัวกลางได้ไม่มากนัก ส่วนอนุภาคบีตา 1 อนุภาค มีมวลเท่ากับ 9.11 × 10-31 กิโลกรัม นําเสนอและอภิปรายผลงานของกลุมตนเอง
และเนือ่ งจากรังสีแกมมาไม่มมี วล จึงท�าให้รงั สีบตี าและแกมมามีความสามารถในการท�าให้ตวั กลาง หนาชั้นเรียน
แตกตัวเป็นไอออนได้ดีรองลงมา ตามล�าดับ 20. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
3. อ�านาจทะลุผ่านของรังสี เมื่อทดลองให้รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา เคลื่อนที่ผ่าน เกี่ยวกับการคนพบกัมมันตภาพรังสีเพิ่มเติม
ไปในตัวกลางต่าง ๆ เช่น แผ่นกระดาษ แผ่นอะลูมิเนียม แผ่นตะกั่ว จะเห็นได้ว่า รังสีแอลฟาไม่ จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
สามารถเคลื่อนที่ผ่านแผ่นกระดาษได้ ส่วนรังสีบีตาสามารถเคลื่อนที่ผ่านแผ่นกระดาษได้ แต่ไม่ และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ
สามารถเคลื่อนที่ผ่านแผ่นอะลูมิเนียมได้ และรังสีแกมมาสามารถเคลื่อนที่ผ่านแผ่นกระดาษและ เรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
แผ่นอะลูมิเนียมได้ แต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านแผ่นตะกั่วได้ ดังภาพที่ 7.5 จึงสรุปได้ว่า รังสี
ลงมือทํา (Doing)
แกมมามีอ�านาจทะลุผ่านสูงที่สุด รองลงมา คือ รังสีบีตาและรังสีแอลฟา ตามล�าดับ
21. ครูใหนกั เรียนรวมกันศึกษาแบบฝกหัด Topic
P hysics Questions จากหนังสือเรียน โดยครูมอบ
Focus รังสี (ray)
หมายใหนักเรียนแตละคนเขียนแสดงวิธีการ
รังสี ในทางฟิสิกส์ หมายถึง พลังงานที่ปล่อยออกมาจากแหล่งก�าเนิด เช่น ความร้อนหรือแสง
สว่างจากดวงอาทิตย์ คลื่นไมโครเวฟจากเตาไมโครเวฟ รังสีเอกซ์จากหลอดเอกซเรย์ แต่ในวิชาฟิสิกส์ แกโจทยปญหาลงในสมุดบันทึกประจําตัว
นิวเคลียร์ รังสี นิยมใช้เรียกแทนกลุ่มอนุภาคขนาดเล็กที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องจน 22. ครูแจกใบงาน เรื่อง การคนพบกัมมันตภาพ
เกิดเป็นล�าอนุภาค (beam of particles) รังสีจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ รังสีก่อประจุ (ionizing รังสี ใหนกั เรียนคนละ 1 ชุด จากนัน้ มอบหมาย
radiation) และรังสีไม่กอ่ ประจุ (non-ionizing radiation) และเมือ่ พิจารณารังสีนใี้ นรูปคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาและลงมื อ ทํ า เสร็ จ แล ว
อาจเรียกว่า โฟตอน
ตัวแทนรวบรวมสงครู

ฟิสิกส์อะตอม 125

กิจกรรม 21st Century Skills สื่อ Digital


1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระกลุมละ 3-4 คน ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สารกัมมันตรังสี
2. ครูมอบหมายใหนกั เรียนไปศึกษาคนควาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ https://www.twig-aksorn.com/film/radioactive-substances-8325/
สมบัตขิ องรังสีทแี่ ผออกมาจากธาตุกมั มันตรังสี จากแหลงขอมูล
สารสนเทศที่สามารถเชื่อถือได
3. แตละกลุมนําขอมูลที่ไดมาจัดทําเปนสื่อประกอบการสอนดวย
โปรแกรม Microsoft PowerPoint โดยครูกําหนดวา ผลงาน
ของแตละกลุม จะตองมีเนือ้ หาทีค่ รบถวนตามหนังสือเรียน และ
สามารถเพิ่มเติมสิ่งใหมที่ไดศึกษามาเขาไปไดดวย พรอมทั้ง
จัดทําใหสวยงามและนาสนใจ เสร็จแลวตัวแทนกลุม สงไฟลงาน
ใหครูทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส เพื่อตรวจใหคะแนน
4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนาชั้น
เรียน จากนั้นครูสุมตัวแทนของกลุมอื่นๆ แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับผลงานของเพื่อน

T137
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
นักเรียนอธิบายสรุปความรูเกี่ยวกับการคนพบ
อนุภาคแอลฟา
กัมมันตภาพรังสีที่ไดศึกษามาแลว พรอมทั้ง
ยกตัวอยางทีเ่ กีย่ วของเพือ่ ทดสอบความเขาใจ อนุภาคบีตา
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ รังสีแกมมา

สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น โลหะบาง แผ่นตะกั่วหนา


แผ่นกระดาษ
โดยที่ครูอาจใช PowerPoint เรื่อง การคนพบ ภาพที่ 7.5 อ�านาจทะลุผ่านวัสดุแต่ละชนิดของอนุภาคและรังสีที่ได้จากธาตุกัมมันตรังสี
กัมมันตภาพรังสี มาเปดใหนักเรียนดูประกอบ ที่มา : คลังภาพ อจท.
เพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมากยิ่งขึ้น จากการศึกษารังสีทแี่ ผ่ออกมาจากธาตุกมั มันตรังสีทกี่ ล่าวในหัวข้อนีท้ งั้ หมดสามารถสรุป
3. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับการคนพบ สมบัติอ�านาจทะลุผ่านได้ ดังตารางที่ 7.2
กัมมันตภาพรังสี โดยสรางสรรคออกมาในรูป
แบบของแผนพับความรู ลงในกระดาษ A4 ตารางที่ 7.2 : สมบัติอํานาจทะลุผ่านของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครู รังสี สัญลักษณ์ ประจุไฟฟ้า มวล อ�านาจทะลุผ่าน
เพื่อตรวจใหคะแนน ไม่สามารถทะลุผ่าน
แอลฟา α หรือ 42He +2e 6.65 × 10-27 kg
แผ่นกระดาษได้
ขัน้ ประเมิน บีตาลบ -
β หรือ -1
0e
-1e ไม่สามารถทะลุผ่าน
9.11 × 10-31 kg
1. ประเมิ น ความรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง การค น พบ บีตาบวก + 0
β หรือ 1e +1e แผ่นโลหะบางได้
กัมมันตภาพรังสี โดยสังเกตพฤติกรรมการ ไม่สามารถทะลุผ่าน
แกมมา γ 0 0
ตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด และการสรุป แผ่นตะกั่วหนาได้
สาระสําคัญ
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา Core Concept
ศาสตร จ ากการสื บ ค น ข อ มู ล และเขี ย นสรุ ป ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
การค้นพบกัมมันตภาพรังสี
องคความรูเ กีย่ วกับการคนพบกัมมันตภาพรังสี
ไดอยางถูกตอง Topic
Questions
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
พฤติ ก รรมความรั บ ผิ ด ชอบต อ งานที่ ไ ด รั บ 1. เพราะเหตุใดเมื่อให้รังสีแอลฟาและรังสีบีตาเคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กทิศพุ่งเข้า
มอบหมาย และปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู และตั้งฉากกับกระดาษ รังสีแอลฟาจึงเบนไปจากแนวการเคลื่อนที่เดิมน้อยกว่ารังสีบีตา
กําหนด 2. รังสีแอลฟาอันตรายต่อร่างกายมนุษย์อย่างไร ในเมื่อรังสีแอลฟาไม่สามารถทะลุผ่านผิวหนังได้

126

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. เนือ่ งจากรังสีแอลฟาซึง่ ก็คอื นิวเคลียสของฮีเลียม มีประจุไฟฟามากกวา
ครู ส ามารถวั ด และประเมิ น ความเข า ใจในเนื้ อ หา เรื่ อ ง การค น พบ
รังสีบีตาประมาณ 2 เทา มีมวลเทากับนิวเคลียสของฮีเลียมหรือ
กัมมันตภาพรังสี ไดจากแผนพับความรูท นี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ สรุป โดยศึกษา
ประมาณ 7,000 เทาของอิเล็กตรอน (บีตาลบ) ดวยเหตุนี้จึงทําใหรังสี
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่
แอลฟาเมือ่ ผานเขาไปในสนามแมเหล็กแลวจะมีแนวการเคลือ่ นทีท่ เี่ บน
แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
ไปจากแนวเดิมนอยกวารังสีบีตา
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1, 7 เกณฑ์ประเมินแผ่นพับความรู้
2. รังสีแอลฟาเปนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาเปนบวก จะถูกหยุดยั้งไดดวย
แบบประเมินผลงานแผ่นพับความรู้
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแผ่นพับความรู้ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
จุดประสงค์ที่กาหนด
4
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ทุกประเด็น
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น
1
ผลงานไม่สอดคล้อง
กับจุดประสงค์
กระดาษหรือผิวหนังของรางกายมนุษย แตจะเปนอันตรายเมื่อรังสี
ลาดับที่

1
คะแนน
รายการประเมิน

ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
4 3
ระดับคุณภาพ
2 1
2. ผลงานมีความ
ถูกต้องสมบูรณ์
3. ผลงานมีความคิด
สร้างสรรค์
เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องครบถ้วน
ผลงานแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์
เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น
ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ
ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด
เนื้อหาสาระของผลงาน
ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด
ใหม่
แอลฟาสามารถทะลุวัสดุกั้นรังสีเขาสูรางกายโดยการกลืนหรือหายใจ
เขาไป
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T138
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
นิ ว เคลี ย สของอะตอม 2. การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส 1. ครูชกั ชวนนักเรียนสนทนาทบทวนความรูเ กีย่ ว
ประกอบดวยอนุภาค กับการคนพบกัมมันตภาพรังสีและรังสีที่แผ
ใดบาง
การศึกษาเกี่ยวกับอะตอมหรือส่วนประกอบของธาตุแต่ละ ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุเริม่ ต้นมาจากความสงสัยของมนุษย์วา่ สารแต่ละชนิดเกิดขึน้
2. ครู เ ป ด วี ดิ ทั ศ น เ กี่ ย วกั บ สมบั ติ ข องรั ง สี ที่ แ ผ
มาจากอะไร สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีกหรือไม่ จนมีนักวิทยาศาสตร์ได้ท�าการศึกษาและค้นพบ
ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ใหนักเรียนศึกษา
ว่า การแผ่รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีเกิดจากการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส (nuclear transformation)
ของธาตุกัมมันตรังสี ทบทวนอีกครั้ง
3. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน
เมื่อนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีเกิดการเปลี่ยนแปลง ธาตุกัมมันตรังสีจะปลดปล่อยหรือ
มีการแผ่รังสีออกมา และเมื่อท�าการศึกษาธาตุกัมมันตรังสีต่าง ๆ สามารถสรุปข้อมูลได้ ดังนี้ ว า “เมื่ อ ธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี มี ก ารแผ รั ง สี อ อก
มา นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีนั้นจะยัง
1. กรณีที่มีการแผ่รังสีแอลฟา หรือมีการปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา เช่น
คงสภาพเดิมหรือไม อยางไร” โดยครูอาจสุม
ธาตุทอเรียม (Thorium; Th) เมื่อปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาจะกลายเป็นธาตุเรเดียม
(Radium; Ra) โดยธาตุใหม่ที่เกิดขึ้นหลังจากการแผ่รังสีแอลฟาจะมีมวลอะตอมน้อยกว่าธาตุเดิม นักเรียนใหแสดงความคิดเห็นและยังไมเฉลย
หรือประมาณเท่ากับมวลของอนุภาคที่ธาตุนั้นปลดปล่อยออกมา และประจุไฟฟ้าของนิวเคลียส วาคําตอบนั้นถูกหรือผิด
ของธาตุใหม่ที่เกิดขึ้น คือ เรเดียม จะมีค่าน้อยกว่าของทอเรียมอยู่ +2e เนื่องจากมวลของธาตุ 4. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาตอวา แลวนักเรียน
1 อะตอม มีค่าใกล้เคียงกับมวลของนิวเคลียส ทั้งนี้ เนื่องจากมวลของอิเล็กตรอนมีค่าน้อยมาก ทราบไหมวา นิวเคลียสของธาตุแตละธาตุ
เมื่อเทียบกับมวลของโปรตอน ดังนั้น อนุภาคแอลฟาได้มาจากการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสของ ประกอบดวยอะไรบาง เพื่อนําเขาสูบทเรียน
ทอเรียมไปเป็นเรเดียม
2. กรณีที่มีการแผ่รังสีบีตา หรือมีการปลดปล่อยอนุภาคบีตาออกมา เช่น ธาตุตะกั่ว ขัน้ สอน
(Lead; Pb) เมื่อปลดปล่อยอนุภาคบีตาออกมาจะกลายเป็นธาตุบิสมัท (Bismuth; Bi) โดยธาตุ รู้ (Knowing)
ใหม่ทเี่ กิดขึน้ หลังจากการแผ่รงั สีบตี าจะมีมวลอะตอมใกล้เคียงกันกับธาตุเดิม และประจุไฟฟ้าของ 1. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน
นิวเคลียสของธาตุใหม่ทเ่ี กิดขึน้ คือ บิสมัท จะมีคา่ มากกว่าของตะกัว่ อยู ่ +1e เนือ่ งจากพลังงานจลน์ โดยใชคาํ ถาม Key Question จากหนังสือเรียน
ของอนุภาคบีตาหรืออิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมานี้ มีค่าสูงมากเมื่อเทียบกับพลังงานจลน์ของ 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ข อ มู ล สรุ ป
อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส แสดงว่า อนุภาคบีตานี้ไม่ใช่อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบ เมื่ อ นิ ว เคลี ย สของธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี เ กิ ด การ
นิวเคลียส ดังนั้น อนุภาคบีตานี้ต้องเกิดจากการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสของตะกั่วไปเป็นบิสมัท เปลี่ยนแปลงจากหนังสือเรียน โดยเมื่อศึกษา
3. กรณีที่มีการแผ่รังสีแกมมา เนื่องจากพลังงานของรังสีแกมมามีค่าสูงมาก ซึ่งสูง แล ว ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมาอภิ ป รายผลการ
เกินกว่าจะเป็นพลังงานที่ได้จากการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอม ดังนั้น ศึกษาหนาชั้นเรียน
การแผ่รังสีแกมมาจึงไม่มีธาตุใหม่เกิดขึ้น 3. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลและศึกษาที่มาของ
ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวได้ว่า รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา เกิดจากการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส สมมติฐานโปรตอน-อิเล็กตรอน ทั้งจากแหลง
และเนื่องจากกัมมันตภาพรังสีมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส ดังนั้น การศึกษา ขอมูลสารสนเทศและหนังสือเรียน
เกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสีจะท�าให้ทราบองค์ประกอบของนิวเคลียสได้
ฟิสิกส์อะตอม 127
แนวตอบ Key Question
อนุภาคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอน

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครูใหนกั เรียนศึกษาขอมูลสรุปของการเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
ในกรณีที่มีการแผรังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา จาก นอกจากภาพหรือเนือ้ หาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดทิ ศั นจากแหลงขอมูล
หนังสือเรียน จากนั้นครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาขอมูล สารสนเทศทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนกั เรียนไดศกึ ษา
เพิ่มเติมจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต แลวนํา เพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนไดเขาใจเกีย่ วกับความหมายและสิง่ ทีเ่ กีย่ วของกับเนือ้ หา
ขอมูลทั้งหมดมาสรางสรรคผลงานสรุปความรูออกมาในรูปแบบ มากขึ้น เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวิทยาศาสตรจาก Twig เรื่อง นิวเคลียส
ของแผนพับความรู ลงในกระดาษ A4 พรอมทัง้ ตกแตงใหสวยงาม (เคมี) ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/glossary/
ตามความสามารถของแตละบุคคล เสร็จแลวตัวแทนนักเรียน nucleus-chemistry-6680/
เก็บรวบรวมสงครู

T139
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูสุมนักเรียนแลวถามคําถามกับนักเรียนวา 2.1 องค์ประกอบของนิวเคลียส
• สมมติฐานโปรตอน-อิเล็กตรอน มีใจความ เนื่องจากการแผ่รังสีของธาตุกัมมันตรังสีจะท�าให้มีธาตุใหม่เกิดขึ้นพร้อมกับการแผ่รังสี
สําคัญวาอยางไร และสมมติฐานนี้สามารถ แอลฟาหรือบีตาเสมอ นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นจึงได้มีการเสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบ
อธิบายการแผรังสีแอลฟาไดอยางไร ของนิวเคลียสว่า นิวเคลียสประกอบด้วยอนุภาค 2 ชนิด คือ อนุภาคแอลฟาและบีตารวมกันอยู่
(แนวตอบ นิวเคลียสประกอบดวยโปรตอน แต่แนวคิดนีต้ อ้ งล้มเลิกไป เนือ่ งจากมวลของนิวเคลียสทัง้ หลายไม่ได้เป็นจ�านวนเท่าของมวลของ
และอิเล็กตรอน โดยสมมติฐานนี้สามารถ อนุภาคแอลฟา นอกจากนี ้ นิวเคลียสของบางธาตุยงั มีมวลน้อยกว่ามวลของอนุภาคแอลฟาอีกด้วย
อธิบายการแผรังสีแอลฟาได ซึ่งรังสีหรือ เช่น นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจน
อนุภาคแอลฟาเกิดจากโปรตอน 4 อนุภาค ต่อมาใน พ.ศ. 2462 รัทเทอร์ฟอร์ดได้ท�าการทดลองยิงอนุภาคแอลฟา (42He) เข้าไปให้พุ่ง
และอิเล็กตรอน 2 อนุภาค ในนิวเคลียส ชนกับนิวเคลียสของไนโตรเจน (147N) ท�าให้เกิดนิวเคลียสของธาตุใหม่ คือ ออกซิเจน (178O) และ1
รวมตั ว กั น เป น นิ ว เคลี ย สของธาตุ ฮี เ ลี ย ม ไฮโดรเจน (11H) ดังภาพที่ 7.6 ซึ่งรัทเทอร์ฟอร์ดเสนอให้เรียกนิวเคลียสของไฮโดรเจนว่า โปรตอน
โปรตอน
แลววิ่งออกมาจากนิวเคลียส) (proton)
5. ครูถามคําถามกับนักเรียนตอวา 7p
1p
• จากสมมติฐานโปรตอน-อิเล็กตรอน นักเรียน 2p 7n
นิวเคลียส 1
2n
สามารถอธิบายเพื่อเชื่อมโยงกับการทดลอง ไฮโดรเจน (1H)
ยิงอนุภาคแอลฟาใหพุงชนแผนทองคําของ 8p
9n
อนุภาคแอลฟา นิวเคลียส
รัทเทอรฟอรดไดหรือไม อยางไร (42He) ไนโตรเจน
(แนวตอบ จากการทดลองยิงอนุภาคแอลฟา โปรตอน (p) (147N)
ใหพุงชนแผนทองคํา รัทเทอรฟอรดทําเพื่อ นิวตรอน (n) นิวเคลียส 17
ออกซิเจน ( 8O)
ยื น ยั น แบบจํ า ลองอะตอมของทอมสั น
ภาพที่ 7.6 การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสของไนโตรเจนเนื่องจากการชนของอนุภาคแอลฟา
ที่วา “โปรตอนและอิเล็กตรอนกระจายทั่ว ที่มา : คลังภาพ อจท.
อะตอม” ซึ่งรัทเทอรฟอรดตั้งสมมติฐานวา
P hysics
“ถาแบบจําลองอะตอมของทอมสันถูกตอง Focus ฮีเลียม
อนุภาคแอลฟาควรมีรอ ยละของการสะทอน ฮีเลียม (Helium; He) เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแกส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น
กลับสูงมาก” แตเมือ่ รัทเทอรฟอรดไดทาํ การ ไม่เป็นพิษ มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แกสมีตระกูลหรือแกสเฉื่อยบนตารางธาตุ จุดเดือดและ
ทดลอง และผลการทดลองออกมาขัดแยง จุดหลอมเหลวของฮีเลียมมีค่าต�่ากว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตาราง
กับแบบจําลองอะตอมของทอมสัน เขาจึง ธาตุ และจะปรากฏอยู่ในรูปของแกสเท่านั้น โดยจะไม่ท�าปฏิกิริยา
ไดสรางแบบจําลองอะตอมใหม) เคมีกับธาตุอื่น จึงไม่พบฮีเลียมในสารประกอบใด ๆ นอกจากนี้
ฮีเลียมยังมีความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศ จึงนิยมน�าแกสฮีเลียม
6. ครูใหนักเรียนศึกษาสมบัติ ประโยชน และ ไปบรรจุในลูกโป่งหรือบอลลูน เพื่อที่จะท�าให้ลูกโป่งนั้น ๆ ลอยขึ้น ภ าพที่ 7.7 สัญลักษณ์ธาตุฮีเลียม
โทษของธาตุฮีเลียม เพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต ไปบนท้องฟ้าได้ ที่มา : คลังภาพ อจท.
โดยจดลงในสมุดบันทึกประจําตัว 128

นักเรียนควรรู กิจกรรม ทาทาย


1 โปรตอน (proton) คือ อนุภาคยอยของอะตอมซึ่งเปนองคประกอบของ ครูมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับธาตุ
นิวเคลียสในอะตอม โปรตอนมีสัญลักษณเปน p หรือ p+ โปรตอนมีประจุไฟฟา ฮีเลียม ธาตุไนโตรเจน ธาตุไฮโดรเจน และธาตุออกซิเจน จาก
เปนบวก มีคา ประจุมลู ฐานเทากับ +1e (1.6 × 10-19 คูลอมบ) โปรตอน 1 อนุภาค แหลงขอมูลสารสนเทศ โดยนักเรียนทุกคนจะตองมีทักษะการรู
มีมวลประมาณ 1.67 × 10-27 กิโลกรัม จํานวนโปรตอนในอะตอมที่เสถียรจะมี เทาทันสือ่ รวมทัง้ มีวจิ ารณญาณในการศึกษาขอมูลจากแหลงขอมูล
คาเทากับจํานวนอิเล็กตรอนของอะตอมนั้นๆ โปรตอนเปนชื่อที่ถูกกําหนดให ที่เชื่อถือได โดยครูกําหนดประเด็นที่จะตองศึกษา ไดแก ขอมูล
เปนชื่อของนิวเคลียสของไฮโดรเจน เพราะไฮโดรเจนมีโปรตอนเพียง 1 อนุภาค เบื้องตน ประวัติการคนพบ และการนําไปใชประโยชน จากนั้น
เทานั้น นอกจากนี้ การมีหรือการขาดโปรตอนของอะตอมสามารถบอกถึงความ นักเรียนนําขอมูลทีไ่ ดมาเขียนสรุปความรูล งในกระดาษ A4 พรอม
เปนกรดและเบสของสารได เนือ่ งจากจํานวนโปรตอนเปนตัวกําหนดเลขอะตอม ทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมสงครู
และมวลของอะตอม ดังนั้น เมื่อเราทราบจํานวนของโปรตอนแลว เราก็จะทราบ
ไดวาอะตอมนั้นเปนอะตอมชนิดใด

T140
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ในขณะนั้น (ช่วง พ.ศ. 2462) สามารถสรุปได้เพียงว่า นิวเคลียสประกอบด้วยอนุภาคที่มี 7. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง การคนพบนิวตรอน
ประจุบวก คือ โปรตอนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งไม่สามารถอธิบายโครงสร้างของนิวเคลียสได้ จากหนังสือเรียน โดยครูใหนกั เรียนจดบันทึก
อย่างถูกต้อง เนื่องจากการที่ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุมีการปล่อยอนุภาคบีตาหรืออิเล็กตรอนออก สรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
มาได้ ท�าให้คิดว่า อิเล็กตรอนก็อาจเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสของธาตุต่าง ๆ ได้เช่นกัน จึง 8. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept
ท�าให้มกี ารตัง้ สมมติฐานโปรตอน-อิเล็กตรอน (proton-electron hypothesis) ซึง่ มีอยูว่ า่ “นิวเคลียส Question จากหนังสือเรียน
ประกอบด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอน” สมมติฐานนีส้ ามารถอธิบายการแผ่รงั สีแอลฟาได้ การสลาย 9. ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลและศึกษาทีม่ าของ
ตัวให้รังสีแอลฟานั้น เกิดจากโปรตอน 4 อนุภาค และอิเล็กตรอน 2 อนุภาค ในนิวเคลียสรวมตัว สมมติฐานโปรตอน-นิวตรอน ทั้งจากแหลง
กันเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม แล้ววิ่งออกมาจากนิวเคลียส แต่เนื่องจากหลักความไม่แน่นอน ขอมูลสารสนเทศและหนังสือเรียน โดยครู
ของไฮเซนเบิร์กได้ชี้ให้เห็นว่า อิเล็กตรอนจะอยู่ภายในนิวเคลียสไม่ได้ ถ้าอิเล็กตรอนอยู่ภายใน มอบหมายใหนักเรียนจดบันทึกสรุปความรู
นิวเคลียสความไม่แน่นอนของต�าแหน่งของอิเล็กตรอนจะมีคา่ น้อยมาก ท�าให้ความไม่แน่นอนของ ลงในสมุดบันทึกประจําตัวทุกคน
โมเมนตัมของอิเล็กตรอนมีค่าสูงมาก นั่นหมายถึง อิเล็กตรอนจะมีอัตราเร็วและพลังงานสูงมาก 10. ครูสุมตัวแทนนักเรียนยืนขึ้นแลวถามคําถาม
อิเล็กตรอนจึงไม่สามารถอยูภ่ ายในนิวเคลียสได้ อีกทัง้ ยังขัดแย้งกับผลการทดลอง เรือ่ ง โมเมนตัม กับนักเรียนวา
เชิงมุมของนิวเคลียส จึงท�าให้ต้องยกเลิกสมมติฐานนี้ไป
• สมมติฐานโปรตอน-นิวตรอน มีใจความ
2.2 การค้นพบนิวตรอน สําคัญวาอยางไร
ใน พ.ศ. 2463 รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับชนิดของอนุภาคในนิวเคลียสว่า (แนวตอบ ใจความสําคัญของสมมติฐาน
อิเล็กตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสอาจรวมกันเป็นอนุภาคที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ซึ่ง โปรตอน-นิวตรอน คือ นิวเคลียสประกอบ
เรียกว่า นิวตรอน (neutron) จึงท�าให้นกั ฟิสกิ ส์ในสมัยนัน้ ท�าการทดลองเพือ่ ค้นหาอนุภาคนิวตรอน ดวยอนุภาคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอน
แต่กไ็ ม่ประสบความส�าเร็จ เพราะยังไม่มแี หล่งก�าเนิดนิวตรอนในธรรมชาติ และวิธกี ารทีน่ า� ไปตรวจ โดยเรียกอนุภาคที่เปนองคประกอบของ
สอบต้องอาศัยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ซึง่ วิธกี ารนีไ้ ม่สามารถตรวจสอบอนุภาคนิวตรอนได้ นิวเคลียสวา นิวคลีออน)
จากการที่รัทเทอร์ฟอร์ดได้ท�าการทดลองโดยการยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในนิวเคลียสของ 11. ครูใหนักเรียนศึกษาสัญลักษณของนิวเคลียส
ไนโตรเจนแล้วท�าให้มโี ปรตอนหลุดออกมา ได้ทา� ให้มนี กั ฟิสกิ ส์สนใจศึกษาเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง หรือสัญลักษณนิวเคลียร รวมทั้งวิธีการหา
สภาพของนิวเคลียสอย่างแพร่หลาย เช่น การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในนิวเคลียสของธาตุ จํานวนนิวตรอนในนิวเคลียสจากผลตางของ
เบริลเลียม (Beryllium; Be) แล้วมีการปล่อยรังสีที่มีสมบัติคล้ายรังสีแกมมาออกมา ซึ่งในระยะ เลขมวลกับเลขอะตอม
แรกนักฟิสิกส์เข้าใจว่ารังสีนั้นเป็นรังสีแกมมา เพราะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า และสามารถ
ทะลุผ่านวัตถุได้ และพบว่า รังสีนี้มีพลังงาน 10 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ซึ่งมากกว่าพลังงานของ
รังสีแกมมาที่พบในธาตุกัมมันตรังสี แต่เมื่อ
ศึกษาการทดลองนี้โดยการใช้กฎการอนุรักษ์ Con���t Q�e����n
ใดอนุภาคนิวตรอนจึงไมสามารถ
โมเมนตั ม และกฎการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานกลั บ เพราะเหตุ
ตรวจสอบไดดวยวิธีการที่อาศัยสนามไฟฟา
พบว่า รังสีที่ปล่อยออกมาจากการยิงอนุภ1 าค และสนามแมเหล็ก แนวตอบ Concept Question
แอลฟาให้มุ่งชนนิวเคลียสของเบริลเลียมนั้น นิวตรอนเปนอนุภาคมูลฐานที่ไมมีประจุไฟฟา
ไม่ใช่รังสีแกมมา ฟิสิกส์อะตอม 129
จึงไมเกิดการเลี้ยวเบนทิศทางการเคลื่อนที่เมื่อผาน
เขาไปในบริเวณที่มีสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


นิวตรอน สามารถเขียนแทนไดดว ยสัญลักษณ γ ไดหรือไม อยางไร 1 เบริลเลียม (Beryllium) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ Be
(แนวตอบ สัญลักษณของนิวตรอน คือ 01n ไมสามารถเขียน มีเลขอะตอม 4 เปนธาตุทปี่ รากฏอยูใ นธรรมชาติในสภาวะทีร่ วมตัวอยูก บั ธาตุอนื่
แทนได ด  ว ยสั ญ ลั ก ษณ γ ซึ่ ง เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องรั ง สี แ กมมา กลาวไดวา เปนสารประกอบเทานั้น เบริลเลียมเปนธาตุที่มีประโยชนมากมาย
ถึงแมวานิวตรอนเปนอนุภาคที่มีสภาพเปนกลางทางไฟฟาเชน สามารถนําไปใชในอุตสาหกรรมตางๆ ได เชน อุตสาหกรรมผลิตวัสดุเพื่อสราง
เดียวกับรังสีแกมมา แตเนื่องจากนิวตรอนมีเลขมวลเทากับ 1 แต จรวด ยานอวกาศ อากาศยาน หรือผลิตเปนจานเบรก และยังนําไปใชประโยชน
รังสีแกมมามีมวลเปน 0 ดังนั้น นิวตรอนจึงไมสามารถเขียนแทน ทางดานเทคโนโลยีนิวเคลียรไดอีกดวย นอกจากนี้ เบริลเลียมยังสามารถนําไป
ไดดวยสัญลักษณ γ) ผสมกับโลหะอื่นใหเปนโลหะเจือที่มีความแข็งแรงทนทานเปนพิเศษ เพื่อผลิต
เครื่องมือชางบางชนิดได

T141
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
12. ครูสุมนักเรียนออกมาอภิปรายผลการศึกษา ใน พ.ศ. 2475 เซอร์ เจมส์ แชดวิก (Sir James Chadwick) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ
ของตนเองเกี่ยวกับการคนพบนิวตรอน ได้วเิ คราะห์ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดและได้เสนอความคิดเกีย่ วกับการทดลองทีผ่ า่ นมาว่า
13. เมื่อนักเรียนอภิปรายผลการศึกษาตามความ รังสีที่ปล่อยออกมาน่าจะเป็นอนุภาคนิวตรอน จากนั้นแชดวิกได้ท�าการศึกษาการชนของอนุภาค
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง ที่เขาคิดว่าเป็นนิวตรอนกับพาราฟิน เพื่อวัดความเร็วของโปรตอนที่กระเด็นหลุดออกมาจาก
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด แผ่นพาราฟิน ดังภาพที่ 7.8 และเขาก็ได้ท�าการทดลองให้อนุภาคที่คิดว่าเป็นนิวตรอนนี้วิ่งพุ่ง
ศึกษา แลวใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีเ่ หมือนและ ชนนิวเคลียสของไนโตรเจน แล้ววัดความเร็วของนิวเคลียสของไนโตรเจนที่ถูกชน ซึ่งแชดวิกได้
สิ่งที่แตกตาง จากนั้นแสดงวิธีการแกโจทย วิเคราะห์ผลการทดลองโดยสมมติให้การชนดังกล่าวเป็นการชนแบบยืดหยุน่ แล้วใช้กฎการอนุรกั ษ์
ปญหาดังกลาวบนกระดานหนาชั้นเรียน โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์พลังงาน ค�านวณหามวลของอนุภาคดังกล่าว พบว่า มีค่าใกล้เคียง
กับมวลของโปรตอนมาก จึงสรุปได้ว่า อนุภาคที่ได้จากการยิงอนุภาคแอลฟาให้พุ่งชนนิวเคลียส
ลงมือทํา (Doing) ของเบริลเลียม คือ อนุภาคนิวตรอน ซึ่งผลที่ได้เป็นการสนับสนุนความคิดของรัทเทอร์ฟอร์ดที่ว่า
14. ครูใหนกั เรียนรวมกันศึกษาแบบฝกหัด Topic มีอนุภาคนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียส
Questions จากหนังสือเรียน โดยครูมอบ
หมายใหนักเรียนแตละคนเขียนแสดงวิธีการ ล�าอนุภาคนิวตรอน
แกโจทยปญหาลงในสมุดบันทึกประจําตัว แหล่งก�าเนิดอนุภาคแอลฟา
15. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
เกี่ยวกับการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสเพิ่มเติม
ล�าอนุภาคโปรตอน
จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร หัววัดที่ใช้ตรวจจับและ
และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ เป้าเบริลเลียม แผ่นพาราฟิน นับจ�านวนโปรตอน
เรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร ภ
าพที่ 7.8 แผนภาพแสดงการทดลองของแชดวิกเพื่อศึกษาการชนของอนุภาคนิวตรอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให เมื่อแชดวิกพบอนุภาคนิวตรอนแล้ว จึงได้ตั้งสมมติฐานของโครงสร้างนิวเคลียสใหม่ เรียก
นั ก เรี ย นอธิ บ ายสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ การ ว่า สมมติฐานโปรตอน-นิวตรอน (proton-neutron hypothesis) ซึ่งกล่าวว่า “นิวเคลียสประกอบ
เปลี่ ย นสภาพนิ ว เคลี ย สที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว ด้วยอนุภาคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอน โดยเรียกอนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสว่า
พรอมทั้งยกตัวอยางที่เกี่ยวของเพื่อทดสอบ นิวคลีออน (nucleon)”
ความเขาใจ ผลรวมของจ�านวนโปรตอนกับจ�านวนนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส เรียกว่า เลขมวล (mass
number) และจ�านวนโปรตอนในนิวเคลียส เรียกว่า เลขอะตอม (atomic number) เลขมวลของ
ธาตุเป็นเลขจ�านวนเต็มที่มีค่าใกล้เคียงกับมวลอะตอมของธาตุนั้น ส่วนเลขอะตอมเป็นตัวเลขที่
แสดงจ�านวนโปรตอนที่อยู่ในนิวเคลียส และเป็นตัวเลขที่บอกค่าประจุไฟฟ้าของนิวเคลียสด้วย
130

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระกลุมละ 3-4 คน
นอกจากภาพหรือเนือ้ หาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดทิ ศั นจากแหลงขอมูล 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนักเรียนได สมมติ ฐ านโปรตอน-อิ เ ล็ ก ตรอน และสมมติ ฐ านโปรตอน-
ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจเกี่ยวกับความหมายและสิ่งที่เกี่ยวของ นิวตรอน จากแหลงขอมูลสารสนเทศที่สามารถเชื่อถือได
กับเนื้อหามากขึ้น เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวิทยาศาสตรจาก Twig เรื่อง 3. สมาชิกนําขอมูลมาอภิปรายรวมกันภายในกลุม จากนั้นเขียน
เลขอะตอม ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/ สรุปความรูลงในกระดาษฟลิปชารตที่ครูจัดเตรียมไวให พรอม
glossary/atomic-number-6791/ ทั้งตกแตงใหสวยงาม
4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนาชั้น
เรียน จากนั้นครูสุมตัวแทนของกลุมอื่นๆ แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับผลงานของเพื่อน

T142
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
2. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept
นักฟิสิกส์จึงมีการก�าหนดให้เขียนสัญลักษณ์ที่แสดงจ�านวนอนุภาคในนิวเคลียสของธาตุ Question จากหนังสือเรียน
ด้วยเลขมวลและเลขอะตอม เรียกว่า สัญลักษณ์ของนิวเคลียสหรือสัญลักษณ์นิวเคลียร์ (nuclear 3. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ยัง
symbol) ดังภาพที่ 7.9 ไมเขาใจหรือสงสัย จากนัน้ ครูใหความรูเ พิม่ เติม
โดยใช PowerPoint เรื่อง การเปลี่ยนสภาพ
A
X
เลขมวล นิวเคลียส มาเปดใหนกั เรียนดูประกอบเพือ่ ชวย
ตัวเลขแสดงผลรวมของจ�านวน ในการอธิบายใหเขาใจมากยิ่งขึ้น
โปรตอนและนิวตรอน สัญลักษณ์ของธาตุ
4. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับการเปลี่ยน
เลขอะตอม
ตัวเลขแสดงจ�านวนโปรตอน
Z สภาพนิวเคลียส โดยสรางสรรคออกมาในรูป
ภาพที่ 7.9 สัญลักษณ์ของนิวเคลียส แบบของผังมโนทัศน ลงในกระดาษ A4 พรอม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพื่อ
ตรวจใหคะแนน
จากภาพที่ 7.9 สัญลักษณ์ของนิวเคลียสสามารถบอกจ�านวนอนุภาคที่รวมกันอยู่ภายในได้
เช่น เรเดียม เขียนสัญลักษณ์ได้วา่ 22688Ra เมือ่ พิจารณาสัญลักษณ์แล้วสามารถกล่าวได้วา่ เรเดียมนี้
มีโปรตอน 88 ตัว หรือมีประจุไฟฟ้า +88e ผลรวมของจ�านวนโปรตอนและนิวตรอนเป็น 226 ขัน้ ประเมิน
นัน่ คือ มีจา� นวนนิวตรอนเท่ากับ 226 - 88 = 138 1. ประเมินความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง การเปลีย่ นสภาพ
ตัว ดังนั้น สามารถหาจ�านวนนิวตรอน (N) Con���t Q�e����n นิ ว เคลี ย ส โดยสั ง เกตพฤติ ก รรมการตอบ
ได้จากผลต่างระหว่างเลขมวลกับเลขอะตอม การศึ กษาการเปลี่ยนสภาพของนิวเคลียส คําถาม การทําแบบฝกหัด และการสรุปสาระ
นําไปสูการคนพบสิ่งใด
ดังสมการที่ 7.1 สําคัญ
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
N = A - Z (7.1)
ศาสตร จ ากการสื บ ค น ข อ มู ล และเขี ย นสรุ ป
องคความรูเ กีย่ วกับการเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส
Core Concept ไดอยางถูกตอง
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
การเปลี่ยนสภาพของนิวเคลียส
พฤติ ก รรมความรั บ ผิ ด ชอบต อ งานที่ ไ ด รั บ
Topic มอบหมายและปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู
Questions กําหนด
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. ธาตุไฮโดรเจน ฮีเลียม และยูเรเนียม เขียนสัญลักษณ์ของนิวเคลียสได้เป็น 11H 42He และ 23892U
ตามล�าดับ จงหาจ�านวนโปรตอนและนิวตรอนของธาตุทั้งสาม
2. จากข้อ 1. จ�านวนนิวคลีออนและประจุไฟฟ้าของธาตุทั้งสามมีค่าเท่ากับเท่าใด
แนวตอบ Concept Question
ฟิสิกส์อะตอม 131
อนุภาคนิวตรอนทีอ่ ยูร วมกับอนุภาคโปรตอนใน
นิวเคลียส

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ธาตุไฮโดรเจน (11H) มีจํานวนโปรตอนเทากับ 1 อนุภาค มีจํานวน
นิวตรอนเทากับศูนย ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การเปลี่ยนสภาพ
ธาตุฮเี ลียม (42He) มีจาํ นวนโปรตอนเทากับ 2 อนุภาค มีจาํ นวนนิวตรอน นิวเคลียส ไดจากผังมโนทัศนที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นสรุป โดยศึกษาเกณฑ
เทากับ 2 อนุภาค การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
ธาตุยูเรเนียม ( 23892U) มีจํานวนโปรตอนเทากับ 92 อนุภาค มีจํานวน ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
นิวตรอนเทากับ 146 อนุภาค
2. ธาตุไฮโดรเจน (11H) มีจํานวนนิวคลีออนเทากับ 1 อนุภาค และมี แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 2

แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์
ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

3
ระดับคะแนน
2 1

ประจุไฟฟาเทากับ +1e
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน

ธาตุฮีเลียม ( 42He) มีจํานวนนิวคลีออนเทากับ 4 อนุภาค และมี


4 3 2 1 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น

ประจุไฟฟาเทากับ +2e รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี


ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ธาตุยูเรเนียม ( 23892U) มีจํานวนนิวคลีออนเทากับ 238 อนุภาค และมี


ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก

ประจุไฟฟาเทากับ +92e 11–13


8–10
ต่ากว่า 8
ดี
พอใช้
ปรับปรุง

T143
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ (Engage)
Key Question
1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย น โดยถามคํ า ถามว า สิง่ ใดบางทีไ่ ดจาก 3. การสลายของนิวเคลียส
“ถ า ธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี เ กิ ด การเปลี่ ย นสภาพ การสลายของธาตุ
นิวเคลียสโดยมีการแผรังสีออกมา นักเรียน กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
คิดวา มีสิ่งใดที่นอกเหนือจากรังสีแอลฟา รังสี การค้นพบรังสีแอลฟาและบีตาท�าให้เชื่อได้ว่า อะตอม
บีตา และรังสีแกมมาปลดปลอยออกมาจาก ไม่ใช่ส่วนที่เล็กที่สุด การสลายของธาตุกัมมันตรังสีท�าให้พบไอโซโทปต่าง ๆ การใช้รังสีแอลฟายิง
นิวเคลียสของธาตุนั้นหรือไม” และใหนักเรียน สารต่าง ๆ ท�าให้ได้แนวความคิดเกี่ยวกับอะตอม การเปลี่ยนแปลงของอะตอมท�าให้พบนิวตรอน
ชวยกันตอบคําถามปากเปลา จึงกล่าวได้ว่า ความก้าวหน้าของวิชาฟิสิกส์จึงเป็นผลมาจากการศึกษา เรื่อง กัมมันตภาพรังสี
2. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีมี 3 แบบ ดังนี้
โดยใชคาํ ถาม Key Question จากหนังสือเรียน 1. การสลายให้อนุภาคแอลฟา (alpha decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสลายของธาตุ
3. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเพื่ อ ชั ก ชวนเข า สู  บ ท กัมมันตรังสี ซึ่งนิวเคลียสของอะตอมจะปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา กล่าวได้ว่า กรณีที่
เรียน โดยการเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับการสลาย นิวเคลียสของธาตุหนึง่ มีการปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาจะมีการเปลีย่ นแปลงสภาพของนิวเคลียส
ของนิ ว เคลี ย สกั ม มั น ตรั ง สี จากนั้ น ครู ถ าม เกิดขึ้น โดยที่นิวเคลียสของธาตุนั้นจะมีเลขมวลลดลง 4 และเลขอะตอมลดลง 2 เมื่อเลขอะตอม
คํ า ถามกั บ นั ก เรี ย นว า “หากนิ ว เคลี ย สของ เปลี่ยนไป จึงหมายถึงจ�านวนโปรตอนที่เปลี่ยนไป นั่นคือ นิวเคลียสของธาตุเดิมสลายกลายเป็น
ธาตุกัมมันตรังสีหนึ่งเกิดการสลาย นักเรียน นิวเคลียสของธาตุใหม่ พร้อมกับการปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา เช่น ยูเรเนียม-238 สลายกลาย
จะสามารถเขียนสมการแสดงการสลายของ เป็นทอเรียม-234 พร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา ดังภาพที ่ 7.10 โดยสามารถเขียนสมการ
นิวเคลียสนั้นไดหรือไม อยางไร” จากนั้นครู แสดงการสลายให้อนุภาคแอลฟารูปทั่วไปได้ ดังสมการที่ 7.2
4
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ โดย 2He

ยังไมเฉลยวาถูกหรือผิด โปรตอน
นิวตรอน
4. ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนความรูเ กีย่ วกับ 234
90Th
การคนพบกัมมันตภาพรังสีและการเปลี่ยน
สภาพนิวเคลียส 238
92U

ภาพที ่ 7.10 แผนภาพแสดงการเปลีย่ นสภาพนิวเคลียสโดยการสลายให้อนุภาคแอลฟา


ที่มา : คลังภาพ อจท.

A A - 4
ZX Z - 2Y + 42He (7.2)
A
Z X คือ นิวเคลียสตั้งต้น
Y คือ นิวเคลียสลูก
A - 4
Z - 2
แนวตอบ Key Question 4
2He คือ อนุภาคแอลฟา
อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตาบวก (โพซิตรอน) 132
อนุ ภ าคบี ต าลบ (อิ เ ล็ ก ตรอน) อนุ ภ าคนิ ว ทริ โ น
อนุภาคแอนตินิวทริโน และรังสีแกมมา

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง การสลายใหอนุภาคแอลฟา นิวเคลียสของพอโลเนียม-210 (21084Po) มีการสลายพรอมกับ
นอกจากจะใช ภ าพหรื อ เนื้ อ หาจากหนั ง สื อ เรี ย นประกอบการสอนแล ว ครู ปลอยอนุภาคแอลฟาออกมา 1 อนุภาค จะทําใหพอโลเนียม-210
อาจแสดงสถานการณจําลองบนคอมพิวเตอรแบบมีปฏิสัมพันธ (interactive กลายเปนธาตุใด
simulation) เรื่อง การสลายตัวใหอนุภาคแอลฟา เพื่อใหนักเรียนไดเห็นภาพ (แนวตอบ การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีพรอมกับปลอย
อนุภาคแอลฟาที่หลุดออกจากนิวเคลียสของธาตุพอโลเนียม ซึ่งจะนําไปสูความ อนุภาคแอลฟา จะทําใหนิวเคลียสของธาตุเดิมเปลี่ยนไป ทําให
เขาใจในเนือ้ หาสวนนีม้ ากขึน้ โดยครูสามารถเขาไปศึกษาเพือ่ เตรียมการสอนไดที่ เลขมวลของธาตุลดลง 4 และเลขอะตอมของธาตุลดลง 2 จะไดวา
https://phet.colorado.edu/en/simulation/legacy/alpha-decay ธาตุใหมที่เกิดจากการสลายใหอนุภาคแอลฟาของนิวเคลียสของ
พอโลเนียม-210 จะเปนธาตุที่มีเลขมวลเปน 206 และเลขอะตอม
เปน 82 ดังนั้น เมื่อนิวเคลียสของพอโลเนียม-210 สลายพรอมกับ
ปลอยอนุภาคแอลฟาออกมาจะกลายเปนนิวเคลียสของตะกัว่ -206
( 20682Pb))

T144
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
เมือ่ เกิดการเปลีย่ นนิวเคลียสจากธาตุหนึง่ ไปเป็นนิวเคลียสอีกธาตุหนึง่ ด้วยกระบวนการ 1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
สลายให้อนุภาคแอลฟา กระบวนการนี้อาจเรียกว่า การสลายแบบเกิดขึ้นเอง (spontaneous รวมกันสืบเสาะหาความรู เรื่อง การสลายให
decay) ซึง่ ในกระบวนการการสลายแบบเกิดขึน้ เองใด ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานและโมเมนตัม อนุภาคแอลฟา จากหนังสือเรียน และสืบคน
ของนิวเคลียสตั้งต้นจะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงานและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเสมอ ขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงขอมูลสารสนเทศ โดย
2. การสลายให้อนุภาคบีตา (beta decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสลายของธาตุ ใหนกั เรียนจดบันทึกเปนองคความรูล งในสมุด
กัมมันตรังสี ซึง่ นิวเคลียสของอะตอมจะปลดปล่อยอนุภาคบีตาออกมา โดยทีน่ วิ เคลียสของธาตุนนั้ บันทึกประจําตัว
จะมีเลขมวลคงเดิม และเลขอะตอมจะเปลี่ยนไป 1 เมื่อเลขอะตอมเปลี่ยนไป จึงหมายถึงจ�านวน 2. ครู ข ออาสาสมั ค รออกมาหน า ชั้ น เรี ย นเพื่ อ
โปรตอนที่เปลี่ยนไป โดยสามารถเขียนสมการแสดงการสลายให้อนุภาคบีตาได้ ดังนี้ อธิบายการสลายใหอนุภาคแอลฟาที่ตนเอง
การสลายให้อนุภาคบีตาลบ และคูของตนเองไดรวมกันศึกษาและคนควา
A A
ขอมูลมาแลว
ZX Z + 1Y + -10 e (7.3) 3. ครูใหนักเรียนเขียนสมการแสดงความสัมพันธ
การสลายให้อนุภาคบีตาบวก ของการสลายใหอนุภาคแอลฟา พรอมทั้งยก
A A ตัวอยางธาตุและเขียนสมการการสลายของ
ZX Z - 1Y + +10 e (7.4)
ธาตุที่ตนเองยกตัวอยาง โดยหามซํ้ากับเพื่อน
โดยสมการที่ 7.3-7.4 เป็นสมการที่อธิบายการสลายให้อนุภาคบีตาได้ไม่สมบูรณ์นัก ที่เปนคูของตนเอง
ใน พ.ศ. 2473 โวลฟกัง เพาลี (Wolfgang Pauli) ได้เสนอความคิดว่า จะต้องมีอนุภาค 4. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมานํ า เสนอและเขี ย น
ทีส่ ามอยูใ่ นผลลัพธ์จากการสลายให้อนุภาคบีตา โดยในเวลาต่อมาเพาลี1 และเอนริโก แฟร์มี (Enrico สมการแสดงการสลายใหอนุภาคแอลฟาของ
Fermi) ได้เสนออนุภาคใหม่ ซึ่งแฟร์มีได้ตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า นินิวทริโน ((neutrino) เป็นอนุภาคที่มี นิวเคลียสของธาตุที่ตนเองเลือกบนกระดาน
ขนาดเล็ก ไม่มีมวล และมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า โดยจากการศึกษาและค้นพบ ดังกล่าวท�าให้ หนาชั้นเรียนประมาณ 5-10 คน แบบไมซํ้ากัน
สามารถเขียนสมการแสดงการสลายให้อนุภาคบีตารูปทั่วไปในรูปแบบที่ถูกต้องและสมบูรณ์ได้ 5. นักเรียนและครูรวมกันตรวจสอบคําตอบที่อยู
ดังนี้ บนกระดาน จากนั้นอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับ
การสลายให้อนุภาคบีตาลบ จะมีอนุภาคแอนตินิวทริโนปล่อยออกมาด้วย การสลายใหอนุภาคแอลฟา โดยครูเนนยํ้าวา
ธาตุที่จะเกิดการสลายใหอนุภาคแอลฟา เลข
A A + -10 e + ν อะตอมของธาตุนั้นจะตองมากกวา 82
ZX Z + 1Y
(7.5)
A
6. นั ก เรี ย นแต ล ะคู  ร  ว มกั น สื บ เสาะหาความรู 
Z X คือ นิวเคลียสตั้งต้น เรื่อง การสลายใหอนุภาคบีตา จากหนังสือ
Y คือ นิวเคลียสลูก
A
Z + 1
เรียน และสืบคนขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงขอมูล
e คือ อนุภาคบีตาลบ (อิเล็กตรอน)
0
-1
ν คือ อนุภาคแอนตินิวทริโน
สารสนเทศ โดยให นั ก เรี ย นจดบั น ทึ ก เป น
องคความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ฟิสิกส์อะตอม 133

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


จากการสลายของนิ ว เคลี ย สของธาตุ ค าร บ อน-14 ( 146C) 1 นิ ว ทริ โ น (neutrino) คื อ อนุ ภ าคมู ล ฐานชนิ ด หนึ่ ง ที่ ต รวจจั บ ได ย าก
นิวเคลียสดังกลาวจะปลอยอนุภาคบีตาลบออกมา 1 อนุภาค เนื่องจากมีมวลอยูนอยมาก (ประมาณไดวาไมมีมวล) มีสภาพเปนกลางทาง
อยากทราบวา นิวเคลียสใหมที่เกิดขึ้นจะมีประจุไฟฟาเปนกี่เทา ไฟฟา สามารถทะลุผา นวัตถุตา งๆ ไดโดยไมทาํ ใหเกิดปฏิกริ ยิ าใดๆ จนเปนทีม่ า
ของประจุไฟฟาของอนุภาคโปรตอน ของฉายาวา อนุภาคผี (ghost particle) โดยปกติแลวอนุภาคนิวทริโนที่พบบน
(แนวตอบ เมื่อนิวเคลียสของธาตุคารบอน-14 เกิดการสลาย โลกสวนใหญมาจากดวงอาทิตย โดยนิวทริโนปริมาณราว 1 แสนลานอนุภาค
พรอมกับปลอยอนุภาคบีตาลบ (อิเล็กตรอน) ออกมา 1 อนุภาค จะเคลื่อนที่ผานพื้นที่ขนาดเทาปลายนิ้วของเราในทุกวินาที และเมื่อวันที่ 22
จะทําใหไดนิวเคลียสของธาตุใหมที่มีเลขอะตอมเทากับ 7 นั่นคือ กันยายน พ.ศ. 2560 เครื่องมือตรวจจับอนุภาคนิวทริโนที่ขั้วโลกใตของโครงการ
นิวเคลียสของธาตุใหมจะมีประจุไฟฟาเทากับ +7e ซึ่งอนุภาค ไอซคิวบ (IceCube) ซึ่งประกอบดวยเซ็นเซอรจํานวนมากที่ฝงในกอนนํ้าแข็ง
โปรตอนมีประจุไฟฟาเทากับ +1e ดังนั้น นิวเคลียสของธาตุใหม ขนาด 1 ลูกบาศกกิโลเมตร ไดตรวจพบนิวทริโนที่เดินทางขามหวงอวกาศมา
ที่เกิดจากการสลายของนิวเคลียสของธาตุคารบอน-14 พรอมกับ จากหลุมดํามวลยิง่ ยวดใจกลางกาแล็กซีแหงหนึง่ ทีต่ งั้ อยูบ ริเวณบาของกลุม ดาว
ปลอยอนุภาคบีตาลบมีประจุไฟฟาเปน 7 เทาของประจุไฟฟาของ นายพราน ซึ่งหางจากโลกประมาณ 3,700 ลานปแสง
อนุภาคโปรตอน)

T145
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
7. ครูถามคําถามเพือ่ ตรวจสอบความเขาใจของ การสลายให้อนุภาคบีตาบวก จะมีอนุภาคนิวทริโนปล่อยออกมาด้วย
นักเรียนวา
• นิวทริโนคืออะไร AX A + +10 e + ν
Z - 1Y
Z
(7.6)
(แนวตอบ นิวทริโนเปนอนุภาคทีม่ ขี นาดเล็ก A
ไมมีมวล และมีสภาพเปนกลางทางไฟฟา) Z X คือ นิวเคลียสตั้งต้น
YA
Z - 1 คือ นิวเคลียสลูก 1
8. ครูใหนกั เรียนเขียนสมการแสดงความสัมพันธ 0
e
+1 คือ อนุภาคบีตาบวก (โพซิตรอน)
ของการสลายใหอนุภาคบีตา (ทัง้ อนุภาคบีตา ν คือ อนุภาคนิวทริโน
ลบและอนุภาคบีตาบวก) พรอมทัง้ ยกตัวอยาง
ธาตุ แ ละเขี ย นสมการการสลายของธาตุ ที่ ตัวอย่างการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสโดยการสลายให้
2 อนุภาคบีตา เช่น
ตนเองยกตัวอยาง โดยหามซํ้ากับเพื่อนที่เปน 1) คาร์บอน-14 สลายกลายเป็นไนโตรเจน-14 พร้อมกับปล่อยอนุภาคบีตาลบและอนุภาค
คูของตนเอง แอนตินิวทริโนออกมา ดังภาพที่ 7.11
9. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมานํ า เสนอและเขี ย น 0
-1e

สมการแสดงการสลายใหอนุภาคบีตาลบและ
การสลายใหอนุภาคบีตาบวกของนิวเคลียส โปรตอน
นิวตรอน ν
ของธาตุที่ตนเองเลือกบนกระดานหนาชั้น
เรียนประมาณ 5-10 คน แบบไมซํ้ากัน 14
6C

10. นักเรียนและครูรว มกันตรวจสอบคําตอบทีอ่ ยู 14N


7

บนกระดาน จากนั้นอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับ ภาพที่ 7.11 แผนภาพแสดงการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสโดยการสลายให้อนุภาคบีตาลบ


การสลายใหอนุภาคบีตาลบและการสลายให ที่มา : คลังภาพ อจท.
อนุภาคบีตาบวก 2) ไนโตรเจน-12 สลายกลายเป็นคาร์บอน-12 พร้อมกับปล่อยอนุภาคบีตาบวกและ
อนุภาคนิวทริโนออกมา ดังภาพที่ 7.12
0
+1e

โปรตอน ν
นิวตรอน
12
7N
12C
6

าพที ่ 7.12 แผนภาพแสดงการเปลีย่ นสภาพนิวเคลียสโดยการสลายให้อนุภาคบีตาบวก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
134

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 โพซิตรอน (positron) คือ อนุภาคที่มีมวลเทากับมวลของอิเล็กตรอน และ เมื่อนิวเคลียสของไอโอดีน-131 (13153I) เกิดการสลายใหอนุภาค
มีประจุไฟฟาเทากับประจุไฟฟาของอิเล็กตรอน แตเปนประจุบวก บีตาลบ นิวเคลียสใหมที่เกิดขึ้นจะเปนธาตุใด
2 ไนโตรเจน (Nitrogen) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ N มี (แนวตอบ การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร ผลรวมของเลขมวลและ
เลขอะตอม 7 เปนธาตุอโลหะทีม่ สี ถานะเปนแกส สามารถพบไดทวั่ ไป ไมมสี ี ไมมี เลขอะตอมกอนและหลังทําปฏิกิริยาจะเทากัน
A A 0
กลิ่น ไมมีรสชาติ ไนโตรเจนแตละโมเลกุลมี 2 อะตอม โดยไนโตรเจนเปนสวน จากสมการ ZX Z + 1Y + -1e
ประกอบของบรรยากาศของโลกประมาณรอยละ 78 และเปนสวนประกอบของ จะไดวา 131 131 0
53 I 53 + 1Y + -1e
เนือ้ เยือ่ ในสิง่ มีชวี ติ ดวย นอกจากนี้ ไนโตรเจนยังเปนสวนประกอบในสารประกอบ 131 131 0
ที่สําคัญหลายชนิด เชน กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจําพวก 53 I 54 Y + -1e
131 131 0
ไซยาไนด 53 I 54 Xe + -1e
ดังนัน้ นิวเคลียสของไอโอดีน-131 เกิดการสลายใหอนุภาคบีตา
ลบ นิวเคลียสใหมที่เกิดขึ้นจะเปนธาตุซีนอน-131 (13154 Xe))

T146
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
3. การสลายให้รังสีแกมมา (gamma decay) โดยทั่วไปธาตุกัมมันตรังสีเมื่อเกิดการ 11. นั ก เรี ย นแต ล ะคู  ร  ว มกั น สื บ เสาะหาความรู 
เปลี่ยนนิวเคลียสจากธาตุหนึ่งไปเป็นอีกธาตุหนึ่งโดยการสลายให้อนุภาคแอลฟา บีตาลบ และ เรื่อง การสลายใหรังสีแกมมา จากหนังสือ
บีตาบวก มักจะปล่อยรังสีแกมมาออกมาด้วย เนื่องจากบ่อยครั้งที่นิวเคลียสซึ่งเกิดจากการ เรียน และสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากแหลง
สลายของธาตุกัมมันตรังสีนั้น อาจค้างอยู่ในระดับพลังงานของสถานะกระตุ้น ซึ่งการเปลี่ยน ขอมูลสารสนเทศ โดยใหนักเรียนจดบันทึก
ระดับพลังงานเพื่อลงไปสู่ระดับพลังงานที่ต�่ากว่าที่จะเกิดขึ้นหลังจากนี้ นิวเคลียสของธาตุ เปนองคความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
กัมมันตรังสีจะเกิดการสลายครั้งที่สอง มีความเป็นไปได้ว่า ในบางครั้งอาจสลายลงไปสู่สถานะพื้น 12. ครูใหนกั เรียนเขียนสมการแสดงความสัมพันธ
โดยการปล่อยโฟตอนพลังงานสูงออกมา ซึง่ นิวเคลียสทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะมีเลขมวลและ ของการสลายใหรังสีแกมมา พรอมทั้งยก
เลขอะตอมคงเดิม เช่น โบรอน-12 สลายกลายเป็นคาร์บอน-12 ดังภาพที่ 7.13 ตัวอยางธาตุและเขียนสมการการสลายของ
0
โปรตอน -1e ธาตุทตี่ นเองยกตัวอยาง โดยหามซํา้ กับเพือ่ น
นิวตรอน
γ ที่เปนคูของตนเอง
ν 12
6C
13. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมานํ า เสนอและเขี ย น
12C*
สมการแสดงการสลายให รั ง สี แ กมมาของ
12B
5 6
นิวเคลียสของธาตุที่ตนเองเลือกบนกระดาน
หนาชั้นเรียน ประมาณ 5-10 คน แบบไมซํ้า
ภาพที่ 7.13 แผนภาพแสดงการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสโดยการสลายให้รังสีแกมมา กัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
14. นักเรียนและครูรว มกันตรวจสอบคําตอบทีอ่ ยู
การสลายครัง้ แรกจะได้นวิ เคลียสของคาร์บอน-12 ทีอ่ ยูใ่ นสถานะกระตุน้ พร้อมกับปล่อย บนกระดาน จากนั้นอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับ
อนุภาคบีตาลบและอนุภาคแอนตินิวทริโนออกมา ดังสมการที่ 7.7 การสลายใหรังสีแกมมา
12 12
5B 6C* + -10 e + ν (7.7)
การสลายครั้งที่สองจะได้นิวเคลียสของคาร์บอน-12 ที่อยู่ในสถานะพื้น พร้อมกับปล่อย
รังสีแกมมาออกมา ดังสมการที่ 7.8
12 12
6C* 6C +γ (7.8)
สามารถเขียนสมการแสดงการสลายให้รังสีแกมมารูปทั่วไปได้ ดังสมการที่ 7.9
A A (7.9)
Z X* ZX +γ
A
Z X* คือ นิวเคลียสที่อยู่ในสถานะกระตุ้น
A
Z X คือ นิวเคลียสที่อยู่ในสถานะพื้น
γ คือ รังสีแกมมา

ฟิสิกส์อะตอม 135

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


เมือ่ นิวเคลียสของเรเดียม-226 (22688Ra) เกิดการสลายใหอนุภาค การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง การสลายของนิวเคลียส
แอลฟา 1 อนุภาค และรังสีแกมมาออกมา นิวเคลียสใหมที่เกิดขึ้น กัมมันตรังสี นอกจากภาพหรือเนื้อหาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดิทัศน
จะเปนธาตุใด จากแหลงขอมูลสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือมาใชประกอบการสอนหรือเปด
(แนวตอบ การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร ผลรวมของเลขมวลและ ใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจเกี่ยวกับความหมายและ
เลขอะตอมกอนและหลังทําปฏิกิริยาจะเทากัน สิ่งที่เกี่ยวของกับเนื้อหามากขึ้น เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวิทยาศาสตร
จากสมการ A A - 4Y + 4He + γ จาก Twig เรือ่ ง รังสีแกมมา ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.
ZX Z-2 2
226 226 - 4 4
com/film/glossary/gamma-ray-6854/
จะไดวา 88Ra 88 - 2Y + 2He + γ
226 222 4
88Ra 86Y + 2He + γ
226 222 4
88Ra 86Rn + 2He + γ
ดังนั้น นิวเคลียสของเรเดียม-226 ( 22688Ra) เกิดการสลายให
อนุภาคแอลฟา 1 อนุภาค และรังสีแกมมาออกมา นิวเคลียสใหม
ที่เกิดขึ้นจะเปนธาตุเรดอน-222 ( 22286Rn))

T147
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้ (Explain)
15. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกันอยางอิสระกลุมละ หากศึกษาการสลายของนิวเคลียสของยูเรเนียม-238 จะพบว่า นอกจากจะมีการสลาย
4-5 คน จากนั้นครูมอบหมายใหแตละกลุม กลายเป็นทอเรียม-234 พร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาแล้วนั้น ทอเรียมยังคงสลายต่อ
รวมกันพูดคุยอภิปรายผลการศึกษาเกี่ยวกับ ไปได้อีก โดยสามารถเขียนแผนภาพแสดงล�าดับการสลายของยูเรเนียม-238 ได้เป็นอนุกรม
การสลายใหอนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และ ดังภาพที่ 7.14 โดยเวลาที่แสดงในภาพนั้นเป็นค่าครึ่งชีวิต (half life) หมายถึง ช่วงเวลาที่อะตอม
รังสีแกมมา แลวสรุปเปนความคิดเห็นและ ของธาตุกัมมันตรังสีลดจ�านวนลงเหลือครึ่งหนึ่งของจ�านวนเริ่มต้น
องคความรูของกลุมตนเอง
4.51 × 109 ปี
16. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตพรอมปากกาเมจิก ยูเรเนียม-238
24.1 วัน
ใหนักเรียนกลุมละ 1 ชุด แลวมอบหมายให α
ทอเรียม-234
แตละกลุมรวมกันเขียนสรุปความรูเกี่ยวกับ β, γ
1 1.18 นาที
โพรแทกทิเนียม-234
การสลายให อ นุ ภ าคแอลฟา อนุ ภ าคบี ต า β, γ 2.48 × 105 ปี
ยูเรเนียม-234
และรังสีแกมมา ตามความคิดเห็นของกลุม α 8.0 × 104 ปี
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม ทอเรียม-230
α, γ
17. เมื่อนักเรียนสรางสรรคผลงานเสร็จแลว ครู α, γ เรเดียม-226
ใหตัวแทนเก็บรวบรวมสงครู 2
α เรดอน-222
18. ครูใหนักเรียนศึกษาการสลายของนิวเคลียส 3 1,620 ปี
α พอโลเนียม-218 3.82 วัน
ของยูเรเนียม-238 จากหนังสือเรียน เพื่อเปน
ความรู  เ พิ่ ม เติ ม ให เ ข า ใจหลั ก การของการ β, γ ตะกั่ว-214
3.05 นาที
สลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีมากขึ้น β, γ บิสมัท-214 26.8 นาที
20.7 นาที
พอโลเนียม-214 1.64 × 10-4 วินาที
α 20.4 ปี
ตะกั่ว-210
β, γ 5.0 วัน
บิสมัท-210
β พอโลเนียม-210 138.4 วัน
α, γ
ตะกั่ว-206

ภาพที่ 7.14 แผนภาพแสดงล�าดับการสลายของธาตุกัมมันตรังสีในอนุกรมยูเรเนียม-238


ที่มา : คลังภาพ อจท.

136

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 โพรแทกทิเนียม (Protactinium) หรือโพรโทแอกทิเนียม (Protoactinium) “ธาตุที่เกิดการสลายตามปฏิกิริยานิวเคลียร แลวไดเลขมวล
คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ Pa มีเลขอะตอม 91 เปนธาตุโลหะ เทากับ 178 เปนธาตุที่จัดวาอยูในอนุกรมยูเรเนียม” ขอความที่
ที่อยูในกลุมแอกทิไนด (actinide group) มีสีเงินวาว มีสมบัติเปนตัวนําไฟฟา กําหนดใหขางตนกลาวถูกตองหรือไม อยางไร
ยิ่งยวดที่อุณหภูมิตํ่ากวา 1.4 เคลวิน (แนวตอบ ถูกตอง เพราะเลขมวลเทากับ (4 × 44) + 2 = 178
2 เรดอน (Radon) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ Rn มีเลข จัดวาอยูในอนุกรม 4n + 2 ซึ่งก็คืออนุกรมยูเรเนียม)
อะตอม 86 เปนธาตุกัมมันตรังสีที่เปนแกสเฉื่อย เรดอนเปนแกสที่หนักที่สุด
และเปนอันตรายตอสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอน คือ Rn-222 ใชในงานรักษา
ผูป ว ยแบบรังสีบาํ บัด (radiotherapy) แกสเรดอนทีส่ ะสมในบานเปนสาเหตุของ
โรคมะเร็งปอด
3 พอโลเนียม (Polonium) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ Po
มีเลขอะตอม 84 เปนธาตุที่มีอยูนอยในธรรมชาติ และเปนธาตุกัมมันตรังสี
กึ่งโลหะ มีสมบัติทางเคมีคลายกับเทลลูเรียม (Te) และบิสมัท (Bi)

T148
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
จากการสลายของธาตุกัมมันตรังสีในอนุกรมยูเรเนียม-238 พบว่า ตะกั่ว-206 ซึ่งเป็นธาตุ 19. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น ศึ ก ษาและอธิ บ าย
สุดท้ายในอนุกรมนี้เป็น ธาตุเสถียร (stable element) จึงไม่มีการสลายต่อไป และอะตอมของ เกี่ ย วกั บ การสลายของธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี ใ น
พอโลเนียม-218 จะลดจ�านวนลงครึ่งหนึ่งในเวลาเพียง 3.05 นาที ในขณะที่อะตอมเรเดียม-226 อนุ ก รมยู เ รเนี ย ม โดยนั ก เรี ย นจะทราบว า
ต้องใช้เวลาถึง 1,620 ปี จึงจะลดจ�านวนลงครึ่งหนึ่ง จึงกล่าวได้ว่า ธาตุกัมมันตรังสีแต่ละชนิดจะ ธาตุ สุ ด ท า ยของอนุ ก รมจะเป น ธาตุ เ สถี ย ร
มีอัตราการสลายต่างกัน นอกจากอนุกรมการสลายของยูเรเนียม-238 แล้ว ยังมีอนุกรมของธาตุ นั่นหมายถึง ธาตุนั้นจะไมมีการสลายของ
กัมมันตรังสีในธรรมชาติอกี 3 อนุกรม ซึง่ มีธาตุเริม่ ต้น ธาตุสดุ ท้าย และเลขมวลของธาตุในอนุกรม นิวเคลียสตอไป โดยที่ธาตุกัมมันตรังสีแตละ
สามารถแสดงได้ ดังตารางที่ 7.3 ชนิดจะมีอัตราการสลายตางกัน ซึ่งนอกจาก
อนุกรมยูเรเนียมแลว ยังมีอนุกรมของธาตุ
ตารางที่ 7.3 : ขอมูลอนุกรมการสลายของธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติ
กัมมันตรังสีในธรรมชาติอีก 3 อนุกรม ดังนั้น
อนุกรมการสลาย ธาตุเริ่มต้น ธาตุสุดท้าย
1 ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตารางที่ 7.3 ข อ มู ล
ม (Thorium series)
อนุกรมทอเรียม ( ทอเรียม-232 (232Th) ตะกั่ว-208 (208Pb) อนุ ก รมการสลายของธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี ใ น
2
ม (Neptunium series)
อนุกรมเนปทูเนียม ( เนปทูเนียม-237 (237Np) บิสมัท-209 (209Bi) ธรรมชาติ จากหนังสือเรียน
3 20. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา
ม (Actinium series)
อนุกรมแอกทิเนียม ( ยูเรเนียม-235 (235U) ตะกั่ว-207 (207Pb)
• อุณหภูมิและความดันในสภาพแวดลอม
ใน พ.ศ. 2445 รัทเทอร์ฟอร์ด และเฟรเดอริก ซอดดี (Frederick Soddy) ได้กล่าวถึงการ ทั่วๆ ไป สงผลตอการสลายของนิวเคลียส
สลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีว่า “หลังจากการสลายด้วยการปล่อยอนุภาคแอลฟาหรือ กัมมันตรังสีหรือไม
บีตาจะได้ธาตุใหม่ทอี่ าจจะเป็นหรือไม่เป็นธาตุกมั มันตรังสีกไ็ ด้ และการสลายของธาตุกมั มันตรังสีนี้ (แนวตอบ ไมมีผล)
จะไม่ขนึ้ กับสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูม ิ ความดัน โดยทุก ๆ นิวเคลียสมีโอกาสสลายได้เท่า ๆ กัน 21. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาสมการแสดงความ
ในช่วงเวลาหนึ่ง แต่บอกไม่ได้ว่านิวเคลียสใดจะสลายก่อนหรือหลัง ทั้งนี้อัตราการสลายจะขึ้นกับ สัมพันธและความหมายของอัตราการสลาย
จ�านวนนิวเคลียสเดิม” นอกจากนี้ อัตราการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีขณะหนึ่งจะ
ของนิวเคลียสกัมมันตรังสี จากหนังสือเรียน
มีค่าแปรผันตรงกับจ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ในขณะนั้น สามารถเขียนแสดง
โดยครูใหนักเรียนจดบันทึกความรู หลักการ
ความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
ΔN ∝ N และที่มาของสมการความสัมพันธเกี่ยวกับ
Δt อัตราการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
Δ N = - λN (7.10)
Δt

ΔN คือ จ�านวนนิวเคลียสที่สลายไปในช่วงเวลาสั้น ๆ Δt นับจากเวลา t


ΔN คือ อัตราการสลายของนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสี มีหน่วยเป็น ต่อวินาที ((s-1)
Δt
การสลาย (decay constant) มีหน่วยเป็น ต่อวินาที (s-1)
λ คือ ค่าคงตัวการสลาย (
N คือ จ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ขณะเวลา t
ฟิสิกส์อะตอม 137

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


คาคงตัวการสลายของธาตุทอเรียม-232 เทากับ 1.6 × 10-18 1 ทอเรียม (Thorium) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ Th มี
ตอวินาที หากธาตุทอเรียมนี้จํานวน 9.03 × 1023 อะตอม จะเกิด เลขอะตอม 90 เป น ธาตุ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามธรรมชาติ มี ส มบั ติ เ ป น โลหะที่ มี
การสลายกี่ลานอะตอมตอวินาที กัมมันตภาพรังสีเล็กนอย สามารถใชเปนเชื้อเพลิงนิวเคลียรไดเชนเดียวกับ
(แนวตอบ อัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสีจะขึ้นอยูกับคา ยูเรเนียม
คงตัวการสลายและจํานวนนิวเคลียสทั้งหมดที่เกิดการสลาย 2 เนปทูเนียม (Neptunium) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ
จากสมการ ΔΔNt = -λN Np มีเลขอะตอม 93 เปนธาตุกัมมันตรังสีที่ไมปรากฏในธรรมชาติ ไดจากการ
จะไดวา ΔN = -(1.6 × 10-18 s-1)(9.03 × 1023 atoms) สังเคราะหและเปนผลที่ไดจากเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรและการผลิตพลูโตเนียม
Δt ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ Np-237 ในธรรมชาติพบปริมาณเล็กนอยในสินแร
ΔN = -1.44 × 106 atoms/s
Δt ยูเรเนียม
ดังนั้น ธาตุทอเรียม-232 จะเกิดการสลายประมาณ 1.44 ลาน 3 แอกทิเนียม (Actinium) คือ ธาตุชนิดหนึ่งในตารางธาตุ มีสัญลักษณ Ac
อะตอมตอวินาที) มีเลขอะตอม 89 เปนธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสีที่มีลักษณะเปนสีเงินมันวาว
สามารถเรืองแสงสีนํ้าเงินในที่มืดได ในธรรมชาติพบอยูในแรยูเรเนียม

T149
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
22. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา การที่ค่าคงตัวการสลาย (λ) ในสมการที่ 7.10 มีเครื่องหมายเป็นลบ หมายถึง การลดลง
• อัตราการลดลงของจํานวนนิวเคลียสของ ของจ�านวนนิวเคลียส ถ้าช่วงเวลา Δt มีค่าน้อยมาก (Δt 0) ซึ่งเมื่อใช้หลักการทางคณิตศาสตร์
ธาตุกัมมันตรังสีหรืออัตราการแผรังสีใน เขียนเป็นสมการได้ ดังนี้
ขณะหนึ่งเรียกวาอะไร lim ΔN = -λN
Δt → 0 Δt
(แนวตอบ กัมมันตภาพของธาตุกมั มันตรังสี) dN = -λN
23. ครูสุมนักเรียนใหยืนขึ้นแลวถามคําถามวา dt
• กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีสามารถ - dN
เขียนแทนดวยสัญลักษณอะไร และสามารถ dt = λN (7.11)

คํานวณหาปริมาณดังกลาวไดจากสมการ จากสมการที่ 7.11 ปริมาณ - dN dt แสดงถึง อัตราการลดลงของจ�านวนนิวเคลียสของธาตุ


ใด กัมมันตรังสีหรืออัตราการแผ่รงั สีในขณะหนึง่ เรียกว่า กัมมันตภาพ (activity) ของธาตุกมั มันตรังสี
(แนวตอบ กัมมันตภาพของธาตุกมั มันตรังสี และหากก�าหนดให้ปริมาณดังกล่าวเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A จะได้ว่า
สามารถเขียนแทนดวยสัญลักษณ A และ A = λN (7.12)
สามารถคํานวณหาปริมาณดังกลาวไดจาก
สมการ A = λN) โดยที่ A จากสมการที่ 7.12 นี้ หาได้จากจ�านวนนิวเคลียสที่สลายต่อวินาที จึงมีหน่วยเป็น
24. ครูใหนักเรียนศึกษาและทําความเขาใจการ ต่อวินาที (s-1) ซึ่งในระบบเอสไอมีหน่วยเป็น เบ็กเคอเรล (Bq) นั่นคือ 1 Bq = 1 s1-1 แต่ในทาง
แสดงวิธีหาคําตอบของสมการ - dN dt = λN
ปฏิบัติหน่วยที่นิยมใช้ในการวัดกัมมันตภาพรังสี คือ คูรี (Ci) โดยนิยามว่า 1 คูรี มีค่าเท่ากับ
ซึง่ เปนสมการอนุพนั ธ เพือ่ หาจํานวนนิวเคลียส 3.7 × 1010 เบ็กเคอเรล เช่น ถ้าธาตุกมั มันตรังสีธาตุหนึง่ เกิดการสลายให้อนุภาคบีตา ขณะทีธ่ าตุนนั้
ของธาตุ กั ม มั น ตรั ง สี ที่ ยั ง ไม ส ลายได เ ป น มีกัมมันตภาพ 1 คูรี จะสลายให้อนุภาคบีตา 3.7 × 1010 อนุภาคต่อวินาที
สมการแสดงความสัมพันธ N = N0e-λt จากสมการที่ 7.11 ซึ่งเป็นสมการอนุพันธ์ หากแสดงวิธีการหาค�าตอบของสมการโดยใช้
วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาจ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่ยังไม่สลาย จะได้ว่า
- dN
dt = λN
dN = -λdt
N
N 1
∫N ( )dN = -λ∫ 0Ndt
0N
N
[ln N] N = -λ [t]t0
0
ln N - ln N0 = -λ (t - 0)
ln NN = -λt
0
138

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจทบทวนความรูพ นื้ ฐานเกีย่ วกับเรือ่ ง ลิมติ และอนุพนั ธ ใหกบั นักเรียน ธาตุกัมมันตรังสีจํานวนหนึ่งมีกัมมันตภาพ 1 มิลลิคูรี หากธาตุ
ไปพรอมๆ กับการศึกษา เรื่อง การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ในสวน กัมมันตรังสีนี้มีครึ่งชีวิตเทากับ 1,500 วินาที จํานวนนิวเคลียส
ของการใชหลักการทางคณิตศาสตรเพื่อใหไดมาซึ่งคากัมมันตภาพของธาตุ กัมมันตรังสีขณะนั้นเปนเทาใด
กัมมันตรังสี เพราะการที่จะทําความเขาใจสมการที่ใชอธิบายความสัมพันธของ (แนวตอบ จากสมการ A = λN
ปริมาณที่เกี่ยวของจะตองมีความเขาใจ เรื่อง ลิมิตและอนุพันธ เปนพื้นฐาน จะไดวา A = lnT 2 N
1
2
0.693 N
1 × 10-3 Ci = (1,500 s)
นักเรียนควรรู (1 × 10-3 Ci)(3.7 × 1010 Bq/Ci) = (4.62 × 10-4 s-1)N
1 คูรี (curie) คือ หนวยเดิมทีใ่ ชวดั กัมมันตภาพ โดย 1 คูรี หมายถึง การสลาย 37 × 106 Bq = (4.62 × 10-4 s-1)N
N 37 × 106 s-1
=
ของนิวไคลดกัมมันตรังสี 3.7 × 1010 ครั้งตอวินาที ซึ่งมาจากอัตราการสลาย 4.62 × 10-4 s-1
โดยประมาณของธาตุเรเดียมหนัก 1 กรัม หนวยคูรีนี้ตั้งขึ้นตามชื่อของมารี กูรี N = 8.0087 × 1010
(Marie Curie) และปแอร กูรี (Pierre Curie) ปจจุบันหนวยวัดกัมมันตภาพใช N = 80,087 × 106
เปนเบ็กเคอเรล แทนหนวยคูรี โดย 1 คูรี เทากับ 3.7 × 1010 เบ็กเคอเรล ดังนั้น จํานวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีขณะนั้นเปน 80,087 ลาน
T150 อนุภาค)
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
N -λt 25. ครูใหนักเรียนศึกษาเครื่องมือวัดกัมมันตรังสี
N0 = e
แบบฟลมแบดจและไกเกอรเคาเตอร จาก
หนังสือเรียน จากนัน้ ครูมอบหมายใหนกั เรียน
N = N0e-λt (7.13)
ใชโทรศัพทมอื ถือในการสืบคนขอมูลเกีย่ วกับ
N คือ จ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่ยังไม่สลายหรือที่มีอยู่ในขณะเวลาหนึ่ง
เครื่ อ งมื อ วั ด กั ม มั น ตภาพรั ง สี เ พิ่ ม เติ ม จาก
N0 คือ จ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่เมื่อเริ่มสลายหรือเริ่มพิจารณา (
ารณา (t = 0) อินเทอรเน็ต แลวจดบันทึกและสรุปขอมูลที่
e คือ ค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ เป็นฐานของลอการิทมึ ธรรมชาติ มีคา่ ประมาณ 2.7182818 ไดลงในสมุดบันทึกประจําตัว
การสลาย (decay constant) มีหน่วยเป็น ต่อวินาที (s-1)
λ คือ ค่าคงตัวการสลาย ( 26. ครูสุมตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมาอธิบาย
t คือ เวลาของการสลายของนิวเคลียส มีหน่วยเป็น วินาที ((s) ลักษณะและหลักการทํางานของเครื่องมือ
วั ด กั ม มั น ตภาพรั ง สี แ บบฟ ล  ม แบดจ แ ละ
การวัดกัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสี สามารถวัดได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะของ ไกเกอรเคาเตอรหนาชั้นเรียน
เครื่องมือวัด เช่น
1) ฟิลม์ แบดจ์ (film badge) เป็นเครือ่ งมือวัดชนิดหนึง่ ทีน่ ยิ ม
ใช้มาก มีราคาไม่แพง ดังภาพที่ 7.15 (ก) มีวิธีการวัดโดยใช้ฟิล์มที่
ไวต่อรังสีและท�าให้แผ่นฟิล์มมีสีเข้มขึ้น นิยมใช้กับนักวิทยาศาสตร์
หรือช่างเทคนิคที่ท�างานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี มีหลักการ คือ
กัมมันตภาพรังสีจะไปกระตุน้ เงินเฮไลด์ (silver
halide) ท�าให้เกิดปฏิกริ ยิ ารีดกั ชันเป็นเงิน (Ag)
แล้วปรากฏเป็นสีด�าบนฟิล์มซึ่งสามารถเทียบ
ปริมาณกัมมันตภาพได้จากความเข้มของสีด�า
(ก)
2) ไกเกอร์เคาเตอร์ (geiger counter)
เป็นเครื่องวัดรังสีชนิดหนึ่ง ดังภาพที่ 7.15 (ข)
ซึ่ ง ใช้ ห ลั ก การตรวจวั ด ไอออนที่ เ กิ ด จาก
การแตกตัวของแกสเฉื่อยหรือแกสอาร์กอน
เนือ่ งจากมีอนุภาคของการสลายของนิวเคลียส
ของธาตุกมั มันตรังสีเคลือ่ นทีผ่ า่ น จากนัน้ แปลง
ปริมาณไอออนให้เป็นปริมาณทางไฟฟ้า โดย
อัตราการแตกตัวเป็นไอออนทีว่ ดั ได้ขณะหนึง่ จะ
แปรผันตรงกับกัมมันตภาพของธาตุในขณะนัน้ (ข)
ภาพที่ 7.15 เครื่องมือวัดกัมมันตภาพ (ก) ฟิล์มแบดจ์
(ข) ไกเกอร์เคาเตอร์
ที่มา : คลังภาพ อจท. ฟิสิกส์อะตอม 139

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


“กัมมันตภาพไมสามารถบอกคาครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับการวัดกัมมันตภาพของธาตุ
ได แตกราฟระหวางกัมมันตภาพกับเวลาสามารถบอกคาครึ่งชีวิต กัมมันตรังสี เนื่องจากเนื้อหาในหนังสือเรียนจะยกตัวอยางเครื่องมือวัดมาเพียง
ได” ขอความที่กําหนดใหขางตนกลาวถูกตองหรือไม อยางไร 2 ชนิด คือ ฟลมแบดจและไกเกอรเคาเตอร ซึ่งครูอาจเตรียมการสอนโดยสืบคน
(แนวตอบ ไมถกู ตอง เพราะกัมมันตภาพเปนอัตราการสลายหรือ ขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับขอมูลเบือ้ งตนและหลักการทํางานของเครือ่ งมือทัง้ 2 ชนิด
อัตราการลดลงของจํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีซึ่งเทียบ รวมทั้งครูอาจนําขอมูลเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชในการวัดกัมมันตภาพชนิดอื่น
กับเวลาอยูแลว ดังนั้น ถาทราบคากัมมันตภาพและจํานวนของ ทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียนมานําเสนอและอธิบายใหความรูเ พิม่ เติมกับนักเรียน
นิวเคลียสเริ่มตนก็จะสามารถหาคาครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่อง การสลายของนิวเคลียส
นั้นๆ ได) กัมมันตรังสี เพิ่มมากยิ่งขึ้น

T151
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
27. ครูใหนกั เรียนปดหนังสือเรียน จากนัน้ ครูอา น ตัวอย่างที่ 7.1
คําถามจากตัวอยางที่ 7.1 จากหนังสือเรียนให ธาตุทอเรียม-232 มีคา่ คงตัวการสลายเท่ากับ 1.6 × 10-18 ต่อวินาที หากธาตุทอเรียมมีจา� นวน 464 กรัม
นักเรียนจดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัว กัมมันตภาพของธาตุทอเรียม-232 เท่ากับเท่าใด
เสร็จแลวครูใหเวลานักเรียนแสดงวิธีการแก
วิธีท�า ค�านวณหาจ�านวนนิวเคลียสของธาตุทอเรียม-232 จ�านวน 464 กรัม
โจทยปญหาเพื่อหาคําตอบ มวล (g) × N
จากสมการ จ�านวนอะตอม (N) = มวลอะตอม (M)
28. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอและ A

อธิบายวิธีการแกโจทยปญหาจากตัวอยาง 464 g × 6.02 × 1023 mol-1


N = 232 g/mol
ที่ 7.1 บนกระดานหนาชั้นเรียน โดยครูเดิน N = 12.04 × 1023 atoms
สังเกตการณและตรวจสอบวิธที าํ และคําตอบ กัมมันตภาพหรืออัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสีจะขึ้นกับค่าคงตัวการสลายและจ�านวน
ของแตละคนในเบื้องตน นิวเคลียสทั้งหมดที่จะเกิดการสลาย
29. ครูนํานักเรียนอภิปรายวิธีการแกโจทยปญหา จากสมการที่ 7.12 A = λN
ดังกลาว เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน A = (1.6 × 10-18 s-1)(12.04 × 1023 atoms)
A = 19.264 × 105 atoms/s
A = 1.9264 × 106 atoms/s
ดังนั้น กัมมันตภาพของธาตุทอเรียม-232 เท่ากับ 1.9264 × 106 อะตอมต่อวินาทีหรือเบ็กเคอเรล

จากสมการที่ 7.13 กล่าวได้ว่า เป็นสมการที่ใช้ในการอธิบายการสลายของธาตุกัมมันตรังสี


ในเชิงปริมาณ เมือ่ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสี N
กับเวลา t จะได้ ดังภาพที่ 7.16
จ�านวนนิวเคลียส (N)
N0

N0
2
N0
N = N0e-λt
4
N0
8
0 เวลา (t)
T1 2T 1 3T 1
2 2 2

าพที่ 7.16 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่เหลืออยู่ ณ เวลาใด ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

140

ขอสอบเนน การคิด
ถาธาตุ X มีจํานวนนิวเคลียสเปน 5 เทาของธาตุ Y และมีกัมมันตภาพเปน 2 เทาของธาตุ Y อยากทราบวา ครึ่งชีวิตของธาตุ X จะเปนกี่เทาของธาตุ Y
1. 1.5 เทา 2. 2 เทา 3. 2.5 เทา 4. 3 เทา 5. 3.5 เทา
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ A = λN นําสมการที่ (2) ไปแทนลงในสมการที่ (1)
AX λXNX 2 = 5TY
จะไดวา AY = λYNY จะไดวา 1 TX
2AY λX(5NY) 5T
AY = λYNY TX = 2Y
2 = 5λX (1) Tx = 2.5TY
1 λY
นั่นคือ ครึ่งชีวิตของธาตุ X จะเปน 2.5 เทาของธาตุ Y ดังนั้น
กําหนดให ครึ่งชีวิตของธาตุ X เปน TX และครึ่งชีวิตของธาตุ Y เปน TY
ตอบขอ 3.)
โดยที่ T 1 = ln 2 = 0.693
2 λ λ
λX T
จะไดวา λY
= TY (2)
X

T152
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
หากพิจารณากราฟแสดงความสัมพันธ์ ดังภาพที่ 7.16 จะได้ว่า ตอนเริ่มต้นมีจ�านวน 30. ครูใหนกั เรียนศึกษากราฟแสดงความสัมพันธ
นิวเคลียสกัมมันตรังสีอยู่ N0 เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากับครึ่งชีวิต (T1) จ�านวนนิวเคลียสกัมมันตรังสี ของจํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่
N 2
ยังเหลืออยู ณ เวลาใดๆ จากหนังสือเรียน
จะลดลงเหลือเพียง 20 และถ้าให้เวลาผ่านไปอีกครึง่ ชีวติ นัน่ คือ เวลาผ่านไป 2T1 จากตอนเริม่ ต้น
N 2 31. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจดบั น ทึ ก การแก ส มการจน
จ�านวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีก็จะลดลงไปอีกครึ่งหนึ่ง ซึ่งจะเหลือ 40 และจ�านวนนิวเคลียส ไดเปนสมการแสดงความสัมพันธครึ่งชีวิต
กัมมันตรังสีจะลดลงเรื่อย ๆ ตามเวลาที่ผ่านไป ตามล�าดับ กล่าวได้ว่า ถ้าเวลาผ่านไป nT1 ของธาตุกัมมันตรังสี ตลอดไปจนถึงสมการ
2
จากตอนเริ่มต้น จ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี (N) จะเหลืออยู่เท่ากับ แสดงความสัมพันธของกัมมันตภาพของธาตุ
N กัมมันตรังสีขณะหนึง่ ทีเ่ วลาใดๆ จากหนังสือ
N = n0 (7.14)
2 เรียน
จากสมการที่ 7.14 หากพิจารณาการสลายของธาตุกัมมันตรังสีที่เวลา t = T1 และขณะนั้น
N 2
มีจ�านวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีอยู่ 20 เมื่อน�าไปแทนลงในสมการที่ 7.13 จะได้ว่า
N0 -λT
2 = N0e 12
N0 1 -λT
2 (N ) = e 12
0
eλT 1
2 = 2
ln(eλT 12 ) = ln 2
จากสมบัติของลอการิทึมธรรมชาติ (natural logarithm) ln (e A) = A จะได้ว่า
λT 1 = ln 2
2

T1 = lnλ2 (7.15)
2
T 12 คือ ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
ln 2 คือ ลอการิทึม 2 ฐาน
2 ฐาน e มีค่าเท่ากับ 0.693
λ การสลาย (decay constant) มีหน่วยเป็น ต่อวินาที (s-1)
คือ ค่าคงตัวการสลาย (

สมการที่ 7.15 เป็นสมการแสดงความสัมพันธ์ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี โดยครึ่งชีวิต


ของธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งจะมีค่าคงตัว ซึ่งเป็นค่าเฉพาะและมีค่าไม่ซ�้ากันกับครึ่งชีวิตของธาตุ
กัมมันตรังสีอนื่ ๆ ดังนัน้ ค่าคงตัวการสลายแสดงถึงโอกาสของการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
ใน 1 หน่วยเวลา
ฟิสิกส์อะตอม 141

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


นักโบราณคดีตรวจพบเรือไมโบราณลําหนึ่ง พบวา มีอัตราสวน ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ครึ่งชีวิตของสาร
ของปริมาณคารบอน-14 ตอคารบอน-12 เทากับรอยละ 25 ของ กัมมันตรังสี https://www.twig-aksorn.com/film/radioactive-half-life-8326/
อัตราสวนสําหรับสิง่ ทีย่ งั มีชวี ติ จะสามารถสันนิษฐานไดวา ซากเรือ
ลํานีม้ อี ายุมาแลวประมาณกีป่  กําหนดให ครึง่ ชีวติ ของคารบอน-14
เปน 5,730 ป
(แนวตอบ กําหนดให เดิมมีมวล 100 แลวลดลงเหลือ 25
N
จากสมการ N = n0 จากสมการ
2
t = nT 1
25 = 100n 2
2 t = (2)(5,730 years)
2n = 4
2n = 22 t = 11,460 years
n = 2
ดังนั้น จะสามารถสันนิษฐานไดวาซากเรือลํานี้มีอายุมาแลว
ประมาณ 11,460 ป)
T153
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
32. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตั กิ ารหาจ�านวนนิวเคลียสโดยตรงจะท�าได้ยาก จึงท�าให้การค�านวณ
Question จากหนังสือเรียน โดยมอบหมาย โดยใช้สมการที่ 7.13 (N = N0e-λt) โดยตรงท�าได้ยากเช่นกัน ดังนั้น หากน�าสมการที่ 7.13 แทน
ใหแตละคนเขียนคําตอบหรือความคิดเห็น ลงในสมการที่ 7.12 สามารถเขียนความสัมพันธ์ใหม่ได้ ดังสมการที่ 7.16
ของตนเองลงในสมุดบันทึกประจําตัว A = λN0e-λt (7.16)
33. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 7.2 จาก
หนั ง สื อ เรี ย น โดยครู ใ ห นั ก เรี ย นจดบั น ทึ ก เมือ่ ก�าหนดให้ A0 เป็นกัมมันตภาพของธาตุกมั มันตรังสีขณะเริม่ ต้นของการสลายตัว จะได้วา่
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว A0 = λN0 ดังนั้น สามารถเขียนสมการความสัมพันธ์ของกัมมันตภาพได้ ดังนี้

A = A0e-λt (7.17)

A คือ กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีขณะหนึ่งที่เวลา
วลา t ใด ๆ นับจากเริ่มต้น
A0 คือ กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีขณะเริ่มต้นสลายตัว
การสลาย (decay constant) มีหน่วยเป็น ต่อวินาที (s-1)
λ คือ ค่าคงตัวการสลาย (
t คือ เวลาของการสลายของนิวเคลียส มีหน่วยเป็น วินาที ((s)

สมการที่ 7.17 แสดงถึงกัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีขณะหนึ่งที่เวลา t ใด ๆ นับจาก


เริม่ ต้น ถ้าหากรูก้ มั มันตภาพเริม่ ต้น A0 จะสามารถหากัมมันตภาพเมือ่ เวลาผ่านไป t ได้ เช่นเดียว
กับสมการที่ 7.13 และเนื่องจากกัมมันตภาพเป็นปริมาณที่สามารถหาได้จากอัตราการแตกตัว
เป็นไอออนของแกสในเครือ่ งวัดรังสีดงั ทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว จึงสามารถใช้สมการที ่ 7.17 ในการศึกษา
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีได้
นอกจากนี้ สมการที่ 7.13 และสมการที่ 7.17 ยังสามารถบอกถึงมวลของธาตุกัมมันตรังสี
ที่เปลี่ยนไปขณะหนึ่งที่เวลา t ใด ๆ ได้ เพราะ Con���t Q�e����n
มวลของธาตุมคี า่ แปรผันตรงกับจ�านวนนิวเคลียส การสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี
ของธาตุนนั้ ๆ สามารถเขียนสมการความสัมพันธ์ สามารถใชสมการใดในการอธิบายไดบาง
ได้ ดังสมการที่ 7.18

m = m0e-λt (7.18)
แนวตอบ Concept Question
ในการคํานวณและอธิบายการสลายของ
m คือ มวลของธาตุกัมมันตรังสีขณะหนึ่งที่เวลา
วลา t ใด ๆ นับจากเริ่มต้น
m0 คือ มวลของธาตุกมั มันตรังสีขณะเริม่ ต้นสลายตัว ซึง่ ขณะนัน้ จ�านวนนิวเคลียสเท่ากับ N0
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี สมการที่ใชจะ การสลาย (decay constant) มีหน่วยเป็น ต่อวินาที (s-1)
λ คือ ค่าคงตัวการสลาย (
เกี่ยวของกับปริมาณ ดังตอไปนี้ t คือ เวลาของการสลายของนิวเคลียส มีหน่วยเป็น วินาที ((s)
- ทราบจํานวนนิวเคลียส N = N0e-λt 142
- ทราบกัมมันตภาพ A = A0e-λt
- ทราบมวล m = m0e-λt

ขอสอบเนน การคิด
สารกัมมันตรังสี A ในตอนเริ่มตนกอนการสลายมีกัมมันตภาพ 1.92 คูรี ขณะที่สารกัมมันตรังสี
B มีกัมมันตภาพ 240 มิลลิคูรี เมื่อเวลาผานไป 36 ชั่วโมง สารกัมมันตรังสีทั้งสองจะเหลือคา
กัมมันตภาพเทากันจํานวน 30 มิลลิคูรี จงหาอัตราสวนของคาคงตัวการสลายของสาร A ตอสาร B
(แนวตอบ จากสมการ A = A0e-λt
จะไดวา A -λt
A = e 0
ln ( AA ) = -λt
0
1 A
λ = - ln ( )
t A0
-3
พิจารณาสาร A; λA = - 361 h ln (30 1.92 × 10 Ci
Ci ) = 0.116 h
-1

-3
พิจารณาสาร B; λB = - 361 h ln ( 30 × 10 -3 Ci ) = 0.0578 h-1
240 × 10 Ci
= 2
-1
จะไดวา
λA
= 0.116 h
λB 0.0578 h-1 1
ดังนั้น อัตราสวนของคาคงตัวการสลายของสาร A ตอสาร B เทากับ 2 ตอ 1)
T154
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Explore)
ตัวอย่างที่ 7.2 34. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม เทาๆ กัน กลุม ละ
ไอโซโทปไอโอดีน-131 เป็นสารกัมมันตรังสี มีครึง่ ชีวติ 8.0252 วัน ถ้าค่ากัมมันตภาพเริม่ ต้นของตัวอย่าง ประมาณ 6 คน โดยคละความสามารถของ
หนึ่งเป็น 64.5 มิลลิคูรี มวลของไอโอดีน-131 เท่ากับเท่าใด นักเรียนตามผลสัมฤทธิใ์ หอยูใ นกลุม เดียวกัน
เพื่ อ ร ว มกั น ศึ ก ษากิ จ กรรม สถานการณ
วิธีท�า จากโจทย์ ครึ่งชีวิตของไอโซโทปไอโอดีน-131 เท่ากับ
T 1 = (8.0252 d)(24 h/d)(60 min/h)(60 s/min) จําลองการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
2
T 1 = 6.93 × 105 s จากหนังสือเรียน โดยใหนักเรียนแตละกลุม
ค�านวณหาค่าคงตัวการสลาย
2
กําหนดใหสมาชิกแตละคนมีบทบาทหนาที่
จากสมการที่ 7.15 T 1 = ln 2 ของตนเอง เชน
2 λ
λ = ln 2 • สมาชิกคนที่ 1 : เตรียมวัสดุอุปกรณ
T1
2 • สมาชิกคนที่ 2 : อานและศึกษาวิธีปฏิบัติ
= 0.693 = 1.0 × 10-6 s-1
λ
6.93 × 105 s กิจกรรม แลวนํามาอธิบายสมาชิกในกลุม
ค�านวณหาจ�านวนนิวเคลียสที่สลายไป • สมาชิกคนที่ 3 : บันทึกผลการปฏิบัติ
จากสมการที่ 7.12 A = λN
A กิจกรรม
จะได้ว่า N0 = λ0
-3 10 Bq/Ci)
• สมาชิกคนที่ 4-5 : คนควาเพิ่มเติมและหา
N0 = (64.5 × 10 Ci)(3.7 -6× 10 -1 แหลงขอมูลอางอิงเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั ิ
1.0 × 10 s
N0 = 2.386 × 1015 atoms กิจกรรม
ค�านวณหามวลอะตอม (g) ของไอโอดีน-131 • สมาชิกคนที่ 6 : นําเสนอผลการปฏิบัติ
N g
จากสมการ NA = M กิจกรรม
จะได้ว่า
N0 g 35. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
NA = M
g
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
2.386 × 1015 atoms =
6.02 × 1023 atoms/mol 131 g/mol 36. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
15 atoms
g = ( 2.386 × 10 ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
6.02 × 1023 atoms/mol)
(131 g/mol)
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
g = 5.19 × 10-7 g
ดังนั้น มวลของไอโอดีน-131 ของตัวอย่างนี้เท่ากับ 5.19 × 10-7 กรัม 37. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
ตามปกติการสลายของธาตุกมั มันตรังสีนนั้ การหาโอกาสทีน่ วิ เคลียสจะสลายเป็นไปตามหลัก
การทางสถิต ิ โดยถ้าพิจารณาการทอดลูกบาศก์หรือลูกเต๋า โอกาสทีล่ กู บาศก์หรือลูกเต๋าจะหงายหน้าใด
หน้าหนึ่งขึ้นก็เป็นไปตามหลักการทางสถิติเช่นกัน สามารถศึกษาได้จากกิจกรรม สถานการณ์
จ�าลองการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
ฟิสิกส์อะตอม 143

ขอสอบเนน การคิด
ไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีคาครึ่งชีวิต 20 นาที อยากทราบวา จะตองใชเวลากี่นาที จํานวนนิวเคลียสของไอโซโทปชนิดนี้จะมีจํานวนลดลง
เหลือเพียง 1 ใน 10 ของจํานวนเริ่มตน
1. 66.45 นาที 2. 68.20 นาที 3. 70.66 นาที 4. 72.55 นาที 5. 74.88 นาที
(วิเคราะหคําตอบ คํานวณหาคาคงตัวการสลาย 1 -λt
10 = e
จากสมการ T 1 = ln 2 ln (101 ) = -λt
2 λ
จะไดวา λ = lnT 2 ln (101 ) = -(34.65 × 10-3 min-1)t
1
2
-2.3026 = -(34.65 × 10-3 min-1)t
λ = 200.693
min
t = -2.3026
λ = 34.65 × 10-3 min-1 -34.65 × 10-3 min-1
คํานวณหาเวลาการสลาย t = 66.45 min
จากสมการ N = N0e-λt นั่นคือ จะตองใชเวลา 66.45 นาที จํานวนนิวเคลียสของไอโซโทปชนิดนี้
N0 -λt จะมีจํานวนลดลงเหลือเพียง 1 ใน 10 ของจํานวนเริ่มตน ดังนั้น ตอบขอ 1.)
จะไดวา 10 = N0e
T155
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา (Explore)
38. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การสังเกต
สถานการณ์จําลองการสลายของ
จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว นิวเคลียสกัมมันตรังสี
• การใช้จ�านวน
• การตีความหมายข้อมูลและ
เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ ลงข้อสรุป
จากการปฏิบัติกิจกรรม วัสดุอปุ กรณ์ จิตวิทยาศาสตร์
• ความซื่อสัตย์
39. ในระหว า งที่ นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรม ครู 1. กล่องพลาสติก
• ความมีเหตุผล
เดินสังเกตการณและคอยใหคําปรึกษาเมื่อ 2. ลูกบาศก์ 6 หน้า ที่แต้มสีไว้เพียงหน้าเดียวจ�านวน 40 ลูก
นักเรียนเกิดปญหาหรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับ
กิจกรรม วิธปี ฏิบตั ิ
อธิบายความรู (Explain) ตอนที่ 1

40. ครูชกั ชวนนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับการปฏิบตั ิ 1. นา� ลูกบาศก์ทงั้ หมดใส่กล่องพลาสติก แล้วทอดลงพืน้ ราบพร้อม ๆ กัน
กิจกรรมวา เกิดปญหาหรือมีอุปสรรคอะไร 2. คัดลูกบาศก์โดยหยิบลูกบาศก์ที่หงายหน้าที่แต้มสีขึ้นออก ดังภาพที่
7.17 จากนั้นนับจ�านวนลูกบาศก์ที่เหลือ แล้วบันทึกจ�านวนลูกเตาที่
บางในระหวางปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติ นับได้
โดยเป น การแลกเปลี่ ย นและมี ป ฏิ สั ม พั น ธ 3. น�าลูกบาศก์ที่เหลือมาท�าการทดลองซ�้าต่อไปเรื่อย ๆ โดยการหยิบ ภาพที่ 7.17 หยิบลูกบาศก์ที่
ซึ่งกันและกัน ลูกบาศก์ทหี่ งายหน้าทีแ่ ต้มสีขนึ้ ออกทุกครัง้ พร้อมกับบันทึกจ�านวน หงายหน้าที่แต้มสีขึ้นออก
41. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาหนาชั้น ลูกบาศก์ทเี่ หลือในแต่ละครัง้ จนกระทัง่ เหลือลูกบาศก์ทจี่ ะทอดเพียง ที่มา : คลังภาพ อจท.
เรียน เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม 2-3 ลูก หรือไม่เหลือเลย
42. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นเพื่ อ ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ ง 4. น�าข้อมูลที่ได้มาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนครั้งที่ทอดกับจ�านวนลูกบาศก์ที่เหลือ โดย
ให้จ�านวนครั้งที่ทอดเป็นตัวแปรต้น (แกน X) และให้จ�านวนลูกบาศก์ที่เหลือเป็นตัวแปรตาม (แกน Y)
กับกิจกรรม เพื่อตรวจสอบความเขาใจหลัง
ปฏิบัติกิจกรรม ตอนที่ 2
43. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลท า ย 1. น�าลูกบาศก์ทั้งหมด 40 ลูก มาแต้มสีเพิ่มอีกลูกละ 1 หน้า โดยแต้มหน้าที่อยู่ฝงตรงข้ามกับหน้าเดิมที่แต้ม
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน ไว้แล้ว ท�าให้ลูกบาศก์แต่ละลูกจะมีหน้าที่แต้มสี 2 หน้า
44. ครูใหนักเรียนศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจาก 2. น�าลูกบาศก์ทั้งหมดใส่กล่องพลาสติก แล้วท�าการทดลองซ�้า เช่นเดียวกับตอนที่ 1
3. น�าข้อมูลที่ได้มาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนครั้งที่ทอดกับจ�านวนลูกบาศก์ที่เหลือ เช่น
การสแกน QR Code เรื่อง สถานการณ
เดียวกับตอนที่ 1
จําลองการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
จากหนังสือเรียน คําถามทายกิจกรรม
?
1. กราฟที่ได้จากตอนที่ 1 และ 2 มีลักษณะคล้ายกับกราฟแสดงการลดจ�านวนของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
เมื่อเวลาผ่านไปหรือไม่ อย่างไร
2. จ�านวนครั้งที่ทอดลูกบาศก์เหลืออยู่ 20 ลูก 10 ลูก และ 5 ลูก ในกิจกรรมทั้ง 2 ตอน มีค่าเท่าใดบ้าง
3. ค่าคงตัวการสลายจากกิจกรรมทั้ง 2 ตอน มีค่าเท่าใด
144

แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม บันทึก กิจกรรม


1. เมื่อนําขอมูลที่ไดทั้งตอนที่ 1 และตอนที่ 2 มาเขียนกราฟ ตัวอยาง ตารางบันทึกกิจกรรม ตอนที่ 1
แสดงความสัมพันธระหวางจํานวนลูกบาศกที่เหลือกับ จํานวน จํานวนลูกบาศกที่เหลือ จํานวน จํานวนลูกบาศกที่เหลือ
จํานวนครั้งที่ทอด กราฟมีลักษณะเชนเดียวกับกราฟความ ครั้งที่ ของการทอดครั้งที่ คาเฉลี่ย ครั้งที่ ของการทอดครั้งที่ คาเฉลี่ย
สัมพันธที่แสดงการลดจํานวนของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ทอด 1 2 3 ทอด 1 2 3
เมื่อเวลาผานไป 0 40 40 40 40.00 8 10 9 11 10.00
2. จํานวนครั้งที่ทอดลูกบาศกแลวลดลงจาก 40 ลูก เหลือ 20 1 34 32 34 33.33 9 8 8 9 8.33
ลูก 10 ลูก และ 5 ลูก จากกิจกรรมตอนที่ 1 มีคาเทากับ 2 29 29 28 28.66 10 6 8 7 7.0
4 8 และ 12 ตามลําดับ และจากกิจกรรมตอนที่ 2 มีคา
3 24 25 23 24.00 11 6 8 5 6.33
เทากับ 2 4 และ 6 ตามลําดับ
3. คาคงตัวการสลายเปรียบไดกับโอกาสที่ลูกบาศกจะหงาย 4 20 19 21 20.00 12 4 6 5 5.00
หนาขึ้น โดยตอนที่ 1 ลูกบาศกแตมสี 1 หนา โอกาสหรือ 5 19 17 16 17.33 13 2 4 4 3.33
ความนาจะเปนเทากับ 16 และตอนที่ 2 ลูกบาศกแตมสี 6 14 16 15 15.00 14 2 2 1 1.66
2 หนา โอกาสหรือความนาจะเปนเทากับ 13 7 12 11 13 12.00 15 1 1 1 1.00

T156
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้ (Explain)

อภิปรายผลท้ายกิจกรรม 45. นั ก เรี ย นศึ ก ษาและแสดงวิ ธีก ารแก โ จทย


ปญหาจากตัวอยางที่ 7.3 จากหนังสือเรียน
จากกิจกรรม พบว่า กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนลูกบาศก์ที่เหลือกับจ�านวนครั้งของ
การทอดลูกบาศก์มีลักษณะเช่นเดียวกันกับกราฟแสดงจ�านวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีที่เหลือจากการสลาย ณ ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
เวลาต่าง ๆ เมื่อพิจารณาครึ่งชีวิตของการทอดลูกบาศก์ที่แต้มสี 1 และ 2 หน้า จะพบว่า มีค่าไม่เท่ากัน 46. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
โดยครึ่งชีวิตของการทอดลูกบาศก์ที่แต้มสี 1 หน้า จะมีค่ามากกว่า ด้วยเหตุนี้จึงท�าให้ค่าคงตัวการสลายจาก เกี่ยวกับการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
การทดลองทั้ง 2 ตอน มีค่าไม่เท่ากันด้วย กล่าวได้ว่า ชุดลูกบาศก์ที่แต้มสี 1 และ 2 หน้า เปรียบเสมือน เพิ่ ม เติ ม จากแบบฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม
นิวเคลียสกัมมันตรังสีคนละชนิดกัน ซึ่งค่าคงตัวการสลายในการทอดลูกบาศก์สามารถบอกได้ถึงโอกาสหรือ วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ฟ สิ ก ส ม.6
ความน่าจะเป็นที่ลูกบาศก์จะหงายหน้าที่แต้มสีขึ้น เป็นไปตามหลักการของความน่าจะเป็นในวิชาคณิตศาสตร์
เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
เข้าใจ (Understanding)
จากกิจกรรม สามารถสรุปความสัมพันธ์ของการทอดลูกบาศก์กับการสลายของนิวเคลียส 47. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับการสลาย
กัมมันตรังสีได้ ดังนี้ ของนิวเคลียสกัมมันตรังสี โดยสรางสรรค
1. จ�านวนลูกบาศก์ทั้งหมดที่ใช้ในการทอดเทียบได้กับจ�านวนนิวเคลียสตั้งต้น (N0) ออกมาในรูปแบบของอินโฟกราฟก ลงใน
2. จ�านวนลูกบาศก์ทเี่ หลือจากการทอดในแต่ละครัง้ เทียบได้กบั จ�านวนนิวเคลียสทีเ่ หลือจาก กระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
การสลายขณะเวลา t ใด ๆ (N) เสร็จแลวนําสงครูเพื่อตรวจใหคะแนน
3. จ�านวนลูกบาศก์ที่คัดออกเทียบได้กับจ�านวนนิวเคลียสที่สลายไป (N0 - N) 48. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกไปนําเสนอผลงาน
4. จ�านวนครั้งที่ทอดลูกบาศก์เทียบได้กับช่วงเวลาที่นิวเคลียสเกิดการสลาย (t) อินโฟกราฟกของตนเองหนาชั้นเรียน
5. จ�านวนครั้งที่ทอดลูกบาศก์แล้วท�าให้ลูกบาศก์ลดจ�านวนลงครึ่งหนึ่งจากเริ่มต้นเทียบได้ 49. ครูแจกใบงาน เรื่อง การสลายของนิวเคลียส
กับครึ่งชีวิตของนิวเคลียสกัมมันตรังสี (T12) กั ม มั น ตรั ง สี ให นั ก เรี ย นนํ า กลั บ ไปศึ ก ษา
6. โอกาสที่ลูกบาศก์จะหงายหน้าใด ๆ ที่ต้องการเทียบได้กับค่าคงตัวการสลาย (λ) เปนการบาน เสร็จแลวตัวแทนรวบรวมสงครู
N = N0 N
N = 20
N
N = 40 50. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น แลวรวมกันศึกษา
แบบฝกหัด Topic Questions จากหนังสือ
เรียน โดยครูมอบหมายใหนักเรียนแตละคน
t = T1
2
t = 2T 1
2
เขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหาลงในสมุด
บันทึกประจําตัว


าพที ่ 7.18 แผนภาพแสดงการเปรียบเทียบระหว่างการทอดลูกบาศก์กบ
ั การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
ที่มา : คลังภาพ อจท.

สถานการณจําลองการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ฟิสิกส์อะตอม 145

บันทึก กิจกรรม
ตัวอยาง ตารางบันทึกกิจกรรม ตอนที่ 2 จากขอมูลที่ไดจากตอนที่ 1 และตอนที่ 2 สามารถ
จํานวน จํานวนลูกบาศกที่เหลือ จํานวน จํานวนลูกบาศกที่เหลือ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนครั้งที่ทอดกับ
ครั้งที่ ของการทอดครั้งที่ คาเฉลี่ย ครั้งที่ ของการทอดครั้งที่ คาเฉลี่ย จํานวนลูกบาศกที่เหลือได ดังนี้
ทอด 1 2 3 ทอด 1 2 3 จํานวนลูกบาศกที่เหลือ
0 40 40 40 40.00 8 3 2 3 2.66 40
1 29 31 28 29.33 9 2 2 3 2.33 35
ลูกบาศกแตมสี 1 หนา
2 20 22 18 20.00 10 1 1 2 1.33 30
3 14 16 16 15.33 11 1 1 1 1.00 25
4 9 11 10 10.00 20 ลูกบาศกแตมสี 2 หนา
5 9 8 8 8.33 15
10
6 5 4 6 5.00
5
7 4 4 5 4.33
0 จํานวนครั้งที่ทอด
2 4 6 8 10 12 14 16
T157
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
นักเรียนอธิบายสรุปความรูเกี่ยวกับการสลาย ตัวอย่างที่ 7.3
ของนิวเคลียสกัมมันตรังสีที่ไดศึกษามาแลว ลูกเตาจ�านวน 100 ลูก น�ามาใส่กล่องรวมกัน จากนัน้ ทอดลูกเตาลงบนพืน้ พร้อม ๆ กัน โดยคิดลูกทีห่ งาย
ทั้งเนื้อหาและตัวอยางจากหนังสือเรียน และ หน้าที่มีแต้มเท่ากับ 1 ออก อยากทราบว่า ต้องท�าซ�้ากี่ครั้งจึงจะเหลือลูกเตาจ�านวน 25 ลูก
กิจกรรมทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียน พรอมทัง้ วิธีท�า ค�านวณหาโอกาสที่ลูกเต๋าจะหงายหน้าที่มีแต้มเท่ากับ 1 ขึ้น
ยกตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ จากสมการความน่าจะเป็น P(E) = n(E) n(S)
เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ
λ = จ�านวนหน้ามีแต้มเท่ากับ 1 = 1
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได จ�านวนหน้าทั้งหมด 6
ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ ค�านวณหาครึ่งชีวิตของการทอดลูกเต๋า
จากสมการที่ 7.15 T 1 = ln 2
สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น 2 λ
โดยทีค่ รูอาจจะใช PowerPoint เรือ่ ง การสลาย T 1 = 0.693 1
2
ของนิวเคลียสกัมมันตรังสี มาเปดใหนักเรียน 6
T 1 = (0.693) ( 61 ) = 4 ครั้ง
ดูประกอบเพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมาก 2
N
ยิ่งขึ้น จากสมการที่ 7.14 N = n0
2
n N0 100
2 = N = 25
ขัน้ ประเมิน 2n = 4 = 22
ตรวจสอบผล (Evaluate) n = 2
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง การสลายของ จากสมการ t = nT 1
2
นิวเคลียสกัมมันตรังสี โดยสังเกตพฤติกรรม t = (2)(4 ครั้ง) = 8 ครั้ง
การตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด และการ ดังนั้น ต้องทอดลูกเต๋าและคัดออกซ�้า 8 ครั้ง จึงจะท�าให้ลูกเต๋าลดลงจาก 100 ลูก เหลือเพียง 25 ลูก
สรุปสาระสําคัญ
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา Core Concept
ศาสตรจากการคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
กับการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี และ Topic
Questions
จากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมสถานการณ จํ า ลอง
การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีไดอยาง ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. นักวิทยาศาสตร์ท�าการทดลองในห้องปฏิบัติการหนึ่ง โดยใช้ฟิล์มแบดจ์วัดปริมาณของรังสีเรดอน-222
ถูกตองและตามลําดับขั้นตอน ได้ 15 หน่วย หากนักวิทยาศาสตร์ทา� การเปลีย่ นเครือ่ งมือวัดไปใช้หลอดไกเกอร์ชนิดหุม้ ด้วยอะลูมเิ นียม
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต จะสามารถวัดปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาจากเรดอน-222 ได้เท่ากับเท่าใด
พฤติ ก รรมความรั บ ผิ ด ชอบต อ งานที่ ไ ด รั บ 2. ถ้าปัจจุบันโลกมีอายุ 4.5 × 109 ปี ปริมาณของทอเรียม-232 ที่เหลืออยู่บนโลก ณ ปัจจุบันมีค่าเท่าใด
มอบหมาย และปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ครู โดยที่ทอเรียม-232 มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 1.41 × 1010 ปี
กําหนด 146

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. หากนิวเคลียสของเรดอน-222 สลายใหรังสีแอลฟา ฟลมแบดจจะทํา
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การสลายของ
หนาที่เปนเครื่องมือวัดรังสีแอลฟา สวนหลอดไกเกอรเปนเครื่องมือวัด
นิวเคลียสกัมมันตรังสี ไดจากอินโฟกราฟกที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยาย
รังสีอกี ประเภทหนึง่ โดยเมือ่ นําเอาอะลูมเิ นียมมาหุม หัววัด รังสีแอลฟา
ความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/
ทีไ่ ดจากการสลายของนิวเคลียสของเรดอน-222 จะไมสามารถทะลุผา น
ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7
ฟสิกสนิวเคลียร เขาไปยังเครื่องวัดได ดังนั้น หลอดไกเกอรจะอานคาปริมาณรังสีที่แผ
ออกมาจากเรดอน-222 ไดเปนศูนย
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3-6, 8 เกณฑ์ประเมินอินโฟกราฟิก 2. จากสมการ t = nT 1
2
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
แบบประเมินผลงานอินโฟกราฟิก

4.5 × 109 years = n(1.41 × 1010 years)


1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
4 3 2 1

n = 0.32
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ

กําหนดให ปริมาณของทอเรียม-232 กอนการสลายมีคาเปน 100%


ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


N
จากสมการ N = n0
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

2
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี

100%
N = (0.32) = 100%
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

2 1.25 = 80%
ดังนัน้ ปริมาณของทอเรียม-232 ทีเ่ หลืออยูบ นโลก ณ ปจจุบนั จะเหลือ
T158 รอยละ 80 ของปริมาณเริ่มตนกอนการสลาย
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
4. ไอโซโทป 1. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาทบทวนความรูเดิม
ไอโซโทปของธาตุ
กัมมันตรังสีเกิดขึน
้ ได โดยถามคําถามกับนักเรียนวา “อะตอมคืออะไร
จากการศึกษาในหัวข้อ การสลายของธาตุกัมมันตรังสี เมื่อ แลวอะตอมมีลักษณะอยางไร”
อยางไร พิจารณาอนุกรมการสลาย ดังภาพที ่ 7.14 จะเห็นได้วา่ มีนวิ เคลียส
2. ครูสนทนาทบทวนเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม
บางกลุม่ ทีท่ กุ นิวเคลียสจะมีเลขอะตอมเท่ากัน แต่มเี ลขมวลต่างกัน ซึง่ ในหัวข้อนีจ้ ะศึกษาเกีย่ วกับ
ในยุคสมัยตางๆ แลวใหนักเรียนสังเกตการ
นิวเคลียสเหล่านั้น รวมทั้งยังศึกษาเครื่องมือที่จะใช้ในการวิเคราะห์มวลอะตอมของธาตุอีกด้วย
เปลีย่ นแปลงของแบบจําลองอะตอมในยุคสมัย
ไอโซโทป (isotope) คือ นิวเคลียสที่มีจ�านวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีจ�านวน ตางๆ
นิวตรอนต่างกันหรือเลขมวลต่างกัน โดยไอโซโทปของธาตุท่ีมีการสลายตัว เรียกว่า ไอโซโทป
3. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน
กัมมันตรังสี (radioactive isotopes) ส่วนไอโซโทปของธาตุที่ไม่มีการสลายตัว เรียกว่า ไอโซโทป
โดยใชคาํ ถาม Key Question จากหนังสือเรียน
เสถียร (stable isotopes) เช่น ไอโซโทปของตะกั่ว ประกอบด้วย
• ไอโซโทปเสถียร : ตะกั่ว-204 (204Pb) ตะกั่ว-206 (206Pb) ตะกั่ว-207 (207Pb) และ 4. ครูสนทนากับนักเรียนเพือ่ ชักชวนเขาสูบ ทเรียน
ตะกั่ว-208 (208Pb) โดยการเป ด วี ดิ ทั ศ น เ กี่ ย วกั บ ไอโซโทปของ
• ไอโซโทปกัมมันตรังสี : นอกเหนือจากกลุ่มไอโซโทปเสถียร เช่น ตะกั่ว-210 (210Pb) อะตอมของธาตุ เพื่อกระตุนความสนใจของ
ตะกั่ว-214 (214Pb) นักเรียน
หากพิจารณาไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีเลขมวลต่างกัน
จะพบว่า สมบัตทิ างเคมีของธาตุทเี่ ป็นไอโซโทป ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
กันจะเหมือนกัน เนื่องจากเป็นธาตุเดียวกัน
การวิเคราะห์ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่ง ๆ จึง 1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
ไม่สามารถกระท�าได้โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี รวมกันศึกษา เรือ่ ง ไอโซโทป จากหนังสือเรียน
แต่เนื่องจากไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน และสื บ ค น ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จากแหล ง ข อ มู ล
มีสมบัติทางกายภาพต่างกัน เนื่องจากมีมวล สารสนเทศ โดยใหนักเรียนจดบันทึกเปนองค
ต่างกัน ดังนัน้ การวิเคราะห์ไอโซโทปจึงกระท�า ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ได้โดยการจ�าแนกมวล ทั้งนี้ มวลของแต่ละ
ไอโซโทปแตกต่างกันน้อยมาก การวิเคราะห์
ต้องอาศัยเครือ่ งมือทีม่ คี วามสามารถในการวัด
มวลได้ละเอียดมาก ได้แก่ แมสสเปกโทรมิเตอร์
(mass spectrometer) ดังภาพที่ 7.19 ซึ่งเป็น
เครือ่ งมือทีใ่ ช้วเิ คราะห์มวลอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ
ภาพที่ 7.19 ตัวอย่างเครื่องแมสสเปกโทรมิเตอร์
โดยอาศัยหลักการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ ที่มา : https://www.directindustry.com
อนุ ภ าคที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า ในบริ เ วณที่ มี ส นาม แนวตอบ Key Question
แม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
ฟิสิกส์อะตอม 147
เกิดขึ้นเมื่ออะตอมของธาตุกัมมันตรังสีใดๆ
มีจํานวนโปรตอนหรืออิเล็กตรอนหรือเลขอะตอม
เทากัน

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


สําหรับไอโซโทปของธาตุหนึ่งๆ ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง ไอโซโทป นอกจากภาพ
1. มีเลขมวลเทากัน แตเลขอะตอมตางกัน หรือเนื้อหาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดิทัศนจากแหลงขอมูลสารสนเทศ
2. มีจํานวนโปรตอนและจํานวนนิวคลีออนเทากัน ที่มีความนาเชื่อถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม
3. มีผลรวมของจํานวนโปรตอนและนิวตรอนเทากัน เพือ่ ใหนกั เรียนไดเขาใจเกีย่ วกับความหมายและสิง่ ทีเ่ กีย่ วของกับเนือ้ หามากขึน้
4. มีจํานวนนิวตรอนเทากัน แตจํานวนโปรตอนตางกัน เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวทิ ยาศาสตรจาก Twig เรือ่ ง ไอโซโทป ซึง่ สามารถ
5. มีจํานวนโปรตอนเทากัน แตจํานวนนิวตรอนตางกัน คนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/glossary/isotope-6860/
(วิเคราะหคําตอบ ไอโซโทป (isotope) คือ กลุมของนิวไคลดที่
มีเลขอะตอมหรือจํานวนโปรตอนเทากัน ถาธาตุกลุมใดที่มีเลข
อะตอมเทากันจะสามารถกลาวไดวา ธาตุนั้นๆ เปนไอโซโทปกัน
นั่ น คื อ ไอโซโทปของธาตุ ห นึ่ ง ๆ จะมี จํ า นวนโปรตอนเท า กั น
สวนจํานวนของอนุภาคอื่นจะไมเทากัน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T159
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2. ครูถามคําถามกระตุน ความคิดของนักเรียนใน แมสสเปกโทรมิเตอร์มีส่วนประกอบที่ส�าคัญซึ่งสามารถอธิบายได้ ดังภาพที่ 7.20
ขณะที่กําลังศึกษาหาความรูวา
• เพราะเหตุใดจึงตองใชแมสสเปกโทรมิเตอร (ก)
ในการวิเคราะหไอโซโทปของธาตุ m, q
(แนวตอบ ไอโซโทปมีเลขอะตอมเทากันแต V
v
มีเลขมวลตางกัน ซึ่งตางกันนอยมากๆ จึง 1
จําเปนตองใชเครื่องมือที่สามารถวัดมวลได
ละเอียดมาก)
2
3. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกันอยางอิสระ กลุมละ (ข)
ประมาณ 5-6 คน จากนั้นครูแจกกระดาษ
ฟลิปชารตใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน แลว FE = qE FE FB FB = qvB
3
มอบหมายให แ ต ล ะกลุ  ม สร า งสรรค ผ ลงาน
สรุปความรูเกี่ยวกับไอโซโทปและแมสสเปก
โทรมิเตอร พรอมทัง้ ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลว ภาพที่ 7.20 ส่วนประกอบที่ส�าคัญของ
แมสสเปกโทรมิเตอร์
แต ล ะกลุ  ม นํ า ผลงานไปติ ด ที่ ผ นั ง โดยรอบ ความเร็ว ความเร็ว ที่มา : คลังภาพ อจท.
บริเวณหองเรียน น้อยเกินไป มากเกินไป
ความเร็วพอเหมาะ
4. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนไปนําเสนอผลงาน
ของตนเองตามตําแหนงที่ติดผลงานไว
5. นักเรียนและครูอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับหลัก
1 ส่วนเร่งอนุภาค มีหน้าที่ท�าให้ไอโซโทปที่อยู่ในสภาพแกสกลายสภาพเป็นอนุภาคที่มี
ประจุไฟฟ้า จากนั้นอนุภาคจะถูกเร่งให้มีความเร็วสูงขึ้นโดยใช้สนามไฟฟ้าให้วิ่งผ่านช่องเข้าไปยัง
การทํางานของแมสสเปกโทรมิเตอรแตละสวน
ส่วนคัดเลือกความเร็ว กล่าวได้ว่า พลังงานศักย์ของประจุหรืองานที่ท�าให้ประจุเคลื่อนที่จะมีค่า
เท่ากับพลังงานจลน์ของประจุ ดังภาพที่ 7.20 (ก) จะได้ว่า
Ep = Ek
qV = 12 mv2

v = 2qV
m (7.18)

2 ส่วนคัดเลือกความเร็ว บริเวณที่มีทั้งสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก โดยสนามทั้งสองมี


ทิศตัง้ ฉากกัน และตัง้ ฉากกับทิศทางการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าทีผ่ า่ นเข้ามา ท�าให้แรง
อันเนือ่ งมาจากสนามทัง้ สองทีก่ ระท�าต่ออนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้ามีทศิ ตรงข้ามกัน ดังภาพที ่ 7.20 (ข)
148

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง ไอโซโทป นอกจากภาพ ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาคนควาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
หรือเนื้อหาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดิทัศนจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เครื่องแมสสเปกโทรมิเตอร จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน
ที่มีความนาเชื่อถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม หองสมุด อินเทอรเน็ต วารสาร จากนั้นนําความรูที่ไดมาสรุป
เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจเกี่ยวกับความหมายและสิ่งที่เกี่ยวของกับเนื้อหามากขึ้น ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว โดยครูใหนักเรียนมุงเนนศึกษา
เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวทิ ยาศาสตรจาก Twig เรือ่ ง แมสสเปกโทรมิเตอร เกี่ ย วกั บ หลั ก การทํ า งานของเครื่ อ งแมสสเปกโทรมิ เ ตอร แ ละ
ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/glossary/mass- ประโยชนในดานงานวิจัยตางๆ เสร็จแลวตัวแทนนักเรียนเก็บ
spectrometer-6764/ รวบรวมสมุดบันทึกประจําตัวสงครู ครูอาจสุมนักเรียนออกมา
หนาชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียนออกมาอภิปรายสรุปความรูที่ได
ศึกษามา

T160
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ถ้าอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าทีว่ งิ่ ผ่านเข้ามาในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กด้วยความเร็ว 6. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน
ที่พอเหมาะ ขนาดของแรงเนื่องจากสนามทั้งสองจะมีค่าเท่ากันและมีทิศตรงข้ามกัน จึงท�าให้ ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่อง ไอโซโทป โดยครูสุม
เกิดสมดุลของแรง 2 แรง ท�าให้อนุภาคนั้นเคลื่อนที่ต่อไปได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแนวการเคลื่อนที่ นักเรียนจํานวนหนึ่งออกมาหนาชั้นเรียนเพื่อ
และสามารถวิง่ ตรงผ่านไปยังช่องเปิดอีกช่องหนึง่ เพือ่ ทีจ่ ะผ่านไปยังส่วนต่อไปได้ ส�าหรับอนุภาคทีม่ ี อธิบายผลการศึกษา
ประจุไฟฟ้าที่มีความเร็วต่างไปจากความเร็วที่พอเหมาะ แรงเนื่องจากสนามทั้งสองจะท�าให้แนว 7. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ
การเคลื่อนที่เปลี่ยนไป จึงไม่สามารถผ่านไปยังช่องเปิดเพื่อไปยังส่วนถัดไปได้ เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง
ถ้าก�าหนดให้อนุภาคมีประจุไฟฟ้า +q เคลื่อนที่ผ่านช่องเปิดที่หนึ่งผ่านเข้าไปยังบริเวณ หรือปรับเปลี่ยนสถานการณจากตัวอยางที่
ที่มีสนามไฟฟ้าที่มีขนาด E และสนามแม่เหล็กที่มีขนาด B มีอัตราเร็วเท่ากับ v จะได้ว่า ไดศึกษา แลวใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่เหมือน
FB = FE และสิ่งที่แตกตาง
qvB = qE ลงมือทํา (Doing)

v = EB (7.19) 8. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม Concept


Question จากหนังสือเรียน โดยมอบหมาย
จากสมการที่ 7.19 กล่าวได้ว่า อัตราเร็ว v หาได้จากอัตราส่วนระหว่างขนาดของสนาม ใหแตละคนเขียนคําตอบหรือความคิดเห็น
ไฟฟ้ากับขนาดของสนามแม่เหล็กในบริเวณส่วนคัดเลือกความเร็ว ของตนเองลงในสมุดบันทึกประจําตัว
3 ส่วนวิเคราะห์ เป็นส่วนที่ประกอบด้วยบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก B′ ที่มีทิศตั้งฉากกับ 9. ครูใหนกั เรียนรวมกันศึกษาแบบฝกหัด Topic
แนวการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่ผ่านเข้ามาจากส่วนคัดเลือกความเร็ว ท�าให้เกิดแรง Questions จากหนังสือเรียน โดยครูมอบหมาย
เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะบังคับให้อนุภาคที่มีมวลต่างกันเบนแนวการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งส่วน ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนเขี ย นแสดงวิ ธีก ารแก
ของวงกลมด้วยรัศมีที่แตกต่างกัน ดังภาพที่ 7.21 โจทยปญหาลงในสมุดบันทึกประจําตัว
10. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
1 2 3 แผ่นฟิล์ม เกี่ ย วกั บ ไอโซโทปเพิ่ ม เติ ม จากแบบฝ ก หั ด
R1 รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
R2 R3
B′ ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 7 ฟสกิ ส
นิวเคลียร

ภาพที่ 7.21 ส่วนประกอบที่ส�าคัญของแมสสเปกโทรมิเตอร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเบนแนวการเคลื่อนที่เป็นส่วนโค้งวงกลมแล้วไปกระทบ
แผ่นฟิล์ม จะท�าให้แผ่นฟิล์มปรากฏรอยด�า ถ้าก�าหนดให้ R เป็นรัศมีความโค้งของวงกลม m เป็น
มวลของอนุภาค และ B′ เป็นขนาดของสนามแม่เหล็กบริเวณส่วนวิเคราะห์นี้ จะได้ว่า
ฟิสิกส์อะตอม 149

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ไอโซโทปและการวัดมวลดวยแมสสเปกโทร
ไอโซโทป จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด มิเตอร ไดจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน ศึกษาคนควาจาก YouTube เรื่อง
วารสาร งานวิจัย (ของทั้งในประเทศและตางประเทศ) รวมทั้ง ไอโซโทปของธาตุ วิทยาศาสตร ม.4-6 (ฟสกิ ส) ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https://
จากหนังสือเรียน วิชาเคมี จากนั้นนําความรูที่ไดมาสรุปเปนองค www.youtube.com/watch?v=C6ZiIxQkonM
ความรูตามความเขาใจของตนเอง แลวจัดทําเปนรายงานโดย
เขียนลงในกระดาษ A4 ดวยลายมือตัวบรรจง พรอมทั้งตกแตงให
สวยงาม ซึ่งครูกําหนดใหเลมรายงานของแตละคนตองมีจํานวน
ไมนอยกวา 5 หนากระดาษ และมีการเสริมความรูเกี่ยวกับที่
นอกเหนือจากหนังสือเรียนดวย เสร็จแลวตัวแทนเก็บรวบรวมสง
ครูเพื่อครูตรวจและใหเปนคะแนนจิตพิสัย

T161
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
นักเรียนอธิบายสรุปความรูเกี่ยวกับไอโซโทป FC = FB
ที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว พร อ มทั้ ง ยกตั ว อย า ง mv2 = qvB′
สถานการณในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของเพื่อ R
ทดสอบความเขาใจ m = qBv′R
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ยัง และจากสมการที่ 7.19 เมื่อ v = EB จะได้ว่า
ไมเขาใจหรือสงสัย จากนั้นครูใช PowerPoint
m = qBE′R
เรื่อง ไอโซโทป มาเปดใหนักเรียนดูประกอบ
B
เพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมากยิ่งขึ้น
3. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับไอโซโทป m = qBBE R

(7.20)
โดยสร า งสรรค อ อกมาในรู ป แบบของอิ น โฟ
กราฟก ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงให เมื่อพิจารณาสมการที่ 7.20 จะได้ว่า มวลของอนุภาคแปรผันตรงกับรัศมีความโค้ง
สวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพือ่ ตรวจใหคะแนน และเนือ่ งจากมวลของแต่ละไอโซโทปต่างกัน ดังนัน้ รัศมีความโค้งของแต่ละไอโซโทปจะไม่เท่ากัน
จึงสามารถใช้เครื่องวัดมวลหรือแมสสเปกโทรมิเตอร์วิเคราะห์ไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีได้
ขัน้ ประเมิน ในการวิเคราะห์ผลนั้น E B B′ และ
Con���t Q�e����n
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง ไอโซโทป โดย R เป็นปริมาณทีท่ ราบค่าได้หรือเป็นค่าทีไ่ ด้จาก
การวิเคราะหไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสี
สังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม การทําแบบ การทดลอง และ q คือ ประจุไฟฟ้าของอนุภาค สามารถทําไดอยางไร
ฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ ดังนั้น เราจึงสามารถค�านวณหามวล m ได้
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา ซึ่ ง วิ ธี ก ารนี้ ท� า ให้ ส ามารถค� า นวณหามวล
ศาสตรจากการคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ อะตอมของธาตุต่าง ๆ ได้
Core Concept
กั บ การวิ เ คราะห ไ อโซโทปด ว ยแมสสเปก
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
โทรมิเตอรจากตัวอยางที่ครูกําหนดให และ ไอโซโทป
การนําความรูที่ไดไปใชประโยชน
Topic
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต Questions
พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค 1. ธาตุชนิดเดียวกันทีเ่ ป็นไอโซโทปกัน ภายในนิวเคลียสของธาตุจะมีอนุภาคชนิดใดทีม่ จี า� นวนแตกต่างกัน
และอนุภาคใดที่มีจ�านวนเท่ากัน
แนวตอบ Concept Question
2. ดิวเทอเรียม (21H) ถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ที่มีขนาดเท่ากับการเร่งโปรตอนให้เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปใน
วิธีการหนึ่งที่นิยมใชในการวิเคราะหไอโซโทป สนามแม่เหล็ก โดยสนามแม่เหล็กมีทิศตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ ถ้าโปรตอนมีรัศมีความโค้งเท่ากับ
ของธาตุกัมมันตรังสี คือ แมสสเปกโทรมิเตอร ซึ่ง R ดิวเทอเรียมจะมีรัศมีความโค้งเท่าใด
เปนเครื่องมือที่ใชวิเคราะหมวลอะตอมของธาตุ
ตางๆ โดยอาศัยหลักการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ 150
อนุภาคที่มีประจุไฟฟาในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก
และสนามไฟฟา

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions

ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ไอโซโทป ไดจาก 1. โปรตอนและอิเล็กตรอนมีจาํ นวนเทากัน สวนนิวตรอนมีจาํ นวนตางกัน


อินโฟกราฟกทีน่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ สรุป โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมิน 2. เนื่ อ งจากรั ศ มี ค วามโค ง ของธาตุ ไ อโซโทปเมื่ อ วั ด ด ว ยแมสสเปก
ผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการจัดการ โทรมิเตอรจะแปรผันตรงกับมวลของอนุภาคใดๆ โดยที่ดิวเทอเรียม
จัดเปนหนึ่งในธาตุไอโซโทปของไฮโดรเจนซึ่งประกอบดวยโปรตอน 1
เรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
อนุภาค และนิวตรอน 1 อนุภาค ทําใหมวลของนิวเคลียสมีคามากกวา
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3-6, 8 เกณฑ์ประเมินอินโฟกราฟิก
โปรตอน 2 เทา กลาวไดวา ถาโปรตอนมีรัศมีความโคงเทากับ R
แบบประเมินผลงานอินโฟกราฟิก
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
จุดประสงค์ที่กาหนด
4
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ทุกประเด็น
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น
1
ผลงานไม่สอดคล้อง
กับจุดประสงค์
ดิวเทอเรียมจะมีรัศมีความโคงเทากับ 2R โดยประมาณ
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T162
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
เสถียรภาพของนิวเคลียส 5. เสถียรภาพของนิวเคลียส 1. ครู ส นทนาทบทวนความรู  เ ดิ ม เกี่ ย วกั บ การ
ของธาตุหนึ่ง ๆ จะมีคา เปลี่ยนสภาพนิวเคลียส การทดลองของเจมส
ขึ้นอยูกับสิ่งใด
การที่นิวเคลียสของธาตุุประกอบด้วยโปรตอนกับนิวตรอน แชดวิก สมมติฐานโปรตอน-นิวตรอน
ท�าให้ภายในนิวเคลียสประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวกและ
2. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน
อนุภาคทีเ่ ป็นกลางทางไฟฟ้า จึงเป็นทีน่ า่ สงสัยว่า เพราะเหตุใดจึงไม่เกิดแรงผลักระหว่างโปรตอน
เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาโดยใชคําถาม Key
กับโปรตอนตามหลักของแรงทางไฟฟ้า และมีสิ่งใดที่ท�าให้โปรตอนกับนิวตรอนอยู่รวมกันได้
อย่างเสถียร Question จากหนังสือเรียน
3. ครูสนทนากับนักเรียนเพือ่ ชักชวนเขาสูบ ทเรียน
5.1 แรงนิวเคลียร์ โดยการเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับองคประกอบของ
จากการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดเกี่ยวกับการกระเจิงของอนุภาคแอลฟาและสมมติฐาน นิวเคลียส เพื่อทบทวนความรูเดิมและกระตุน
โปรตอน-นิวตรอน ท�าให้ทราบว่า นิวเคลียสมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกและประกอบด้วยโปรตอนกับ ความสนใจของนักเรียน
นิวตรอน แต่การก�าหนดให้นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนกับนิวตรอนนี้ ก็ยังมีประเด็นที่จะต้อง
ศึกษาต่อไปอีกมากมาย เช่น โปรตอนในนิวเคลียสต่างมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ควรจะมีแรงผลัก ขัน้ สอน
ระหว่างโปรตอนด้วยกันตามหลักของแรงทางไฟฟ้า แต่ท�าไมจึงอยู่รวมกันได้อย่างหนาแน่น รู้ (Knowing)
ส่วนนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า ท�าไมจึงอยู่รวมกันได้อย่างหนาแน่นเช่นกัน แสดงว่าอาจจะ 1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
มีแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนกับโปรตอน โปรตอนกับนิวตรอน และนิวตรอนกับนิวตรอน โดยเป็น รวมกันศึกษา เรื่อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
แรงที่มีค่ามากกว่าแรงผลักระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าตามหลักของแรงทางไฟฟ้า ซึ่งแรง
ในสวนของหัวขอ แรงนิวเคลียร จากหนังสือ
เหล่านี้เรียกว่า แรงนิวเคลียร์ (nuclear force) ซึ่งเป็นแรงที่ยึดนิวคลีออนต่าง ๆ ให้อยู่รวมกันเป็น
เรียน และสืบคนขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงขอมูล
นิวเคลียส โดยเป็นแรงดึงดูดซึ่งมีค่ามากกว่าแรงผลักระหว่างประจุไฟฟ้า และเป็นแรงที่เกิดขึ้น
ในระยะสั้น ๆ จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในหลายวิธีด้วยกัน ท�าให้ทราบลักษณะของ สารสนเทศ โดยใหนักเรียนจดบันทึกเปนองค
นิวเคลียส ซึ่งมีดังต่อไปนี้ โปรตอน R
ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
1. นิวเคลียสมีลักษณะเป็นทรงกลม มี
พื้นที่ผิวน้อยมาก และขนาดของนิวเคลียสจะ
ขึ้นอยู่กับจ�านวนนิวคลีออนในนิวเคลียส
2. มวลของนิวเคลียสขึ้นอยู่กับจ�านวน
นิวคลีออนหรือเลขมวลของธาตุ (A)
3. การวัดขนาดของนิวเคลียสจากรัศมี
ทรงกลมของนิวเคลียส ดังภาพที่ 7.22 พบว่า
รัศมีของนิวเคลียส (R) แปรผันตรงกับรากที่
สามของเลขมวล (A) ดังความสัมพันธ์ นิวตรอน
ภาพที่ 7.22 รัศมีของนิวเคลียส
R∝3A ที่มา : คลังภาพ อจท.
ฟิสิกส์อะตอม 151
แนวตอบ Key Question
แรงนิวเคลียรและพลังงานยึดเหนี่ยว

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
แรงนิวเคลียร จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต กอนที่จะเขาสูเนื้อหาเกี่ยวกับแรงนิวเคลียร ครูอาจสุมนักเรียนหรือใหนักเรียน
หองสมุด วารสาร งานวิจัย ซึ่งจะตองเปนแหลงขอมูลที่สามารถ ทุ ก คนร ว มกั น อภิ ป รายสมมติ ฐ านโปรตอน-นิ ว ตรอนตามความเข า ใจของ
เชื่อถือได จากนั้นใหนักเรียนสรุปขอมูลที่ไดลงในสมุดบันทึก ตนเองหลังจากที่ไดศึกษามาแลวกอนหนานี้ หากนักเรียนมีความรูความเขาใจ
ประจําตัวเปนองคความรูของตนเอง เพื่อใหเกิดการเรียนรูดวย สมมติฐานโปรตอน-นิวตรอนเปนอยางดีแลว นักเรียนจะสามารถศึกษาเรียนรู
ตนเองและสรางความเขาใจในเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่อง เสถียรภาพ เกี่ยวกับเรื่อง แรงนิวเคลียร ที่ครูกําลังจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตอจากนี้
ของนิวเคลียส ไดอยางเขาใจและไมตองใชเวลามากในการเรียนรู

T163
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2. ครูถามคําถามกระตุน ความคิดของนักเรียนใน
ขณะที่กําลังศึกษาหาความรูวา R = r0 3 A (7.21)
• จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร ทําให
R คือ รัศมีของนิวเคลียสที่มีเลขมวล
ลขมวล A มีหน่วยเป็น เมตร (m)
ทราบลักษณะของนิวเคลียสไดวามีลักษณะ r0 คือ ค่าคงตัวการแปรผันหรือค่านิวคลีออน มีค่าประมาณ 1.2 × 10-15 เมตร
อยางไร A คือ เลขมวลหรือจ�านวนนิวคลีออนของนิวเคลียส
(แนวตอบ นิวเคลียสมีลักษณะเปนทรงกลม
ขนาดของนิ ว เคลี ย สจะขึ้ น อยู  กั บ จํ า นวน ส�าหรับไฮโดรเจนซึง่ มีเลขมวลเป็น 1 เมือ่ น�าไปแทนค่าลงในสมการที ่ 7.21 จะได้วา่ รัศมี
นิวคลีออนในนิวเคลียส มวลของนิวเคลียส ของนิวเคลียสเท่ากับ 1.2 × 10-15 เมตร และส�าหรับเรเดียมซึ่งมีเลขมวลเป็น 226 จะได้รัศมีของ
ขึ้ น อยู  กั บ จํ า นวนนิ ว คลี อ อนหรื อ เลขมวล นิวเคลียสประมาณ 7.3 × 10-15 เมตร จะได้ว่า รัศมีของนิวเคลียสส่วนใหญ่จะมีค่าประมาณ 10-15
ของธาตุ รั ศ มี ข องนิ ว เคลี ย สแปรผั น ตรง เมตร เมื่อเทียบกับรัศมีของอะตอมโดยทั่วไปมีค่าประมาณ 10-10 เมตร นิวเคลียสจึงมีขนาดเล็ก
กับรากที่สามของเลขมวล ความหนาแนน กว่าอะตอมประมาณแสนเท่า
ของนิวเคลียสโดยทั่วไปมีคาประมาณ 1018 4. ความหนาแน่นของนิวเคลียส สามารถพิจารณาได้จากสมการความหนาแน่น ρ = mV
และสมการที่ 7.21 จะได้ว่า
กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร) m
ρ =
3. ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับธาตุ 4 πR3
3
ที่มีความหนาแนนมากที่สุด (ออสเมียม) จาก ρ = m
แหลงขอมูลสารสนเทศ โดยจดบันทึกลงใน 4 π (r 3 A)3
3 0
สมุดบันทึกประจําตัว จากนั้นนําผลการศึกษา m
ρ =
มาอภิ ป รายแลกเปลี่ ย นความรู  ร  ว มกั น ใน 4 πr3A
3 0
ชั้นเรียน
เนื่องจาก m = Amp จะได้ว่า
4. ครูใหนกั เรียนเขียนสรุปองคความรูเ กีย่ วกับแรง
นิวเคลียรที่ไดศึกษามาแลวลงในสมุดบันทึก 3mp
ρ = (7.22)
ประจําตัว 4πr03
ซึ่ง ρ จากสมการที่ 7.22 เป็นค่าคงตัวส�าหรับทุก ๆ นิวเคลียส
จากสมการที ่ 7.22 เนือ่ งจากนิวเคลียสมีรศั มีประมาณ 10-15 เมตร มีปริมาตรประมาณ 10-45
ลูกบาศก์เมตร และมีมวลประมาณ 10-27 กิโลกรัม ความหนาแน่นของนิวเคลียสโดยทั่วไปจึงมีค่า
ประมาณ 1018 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อเทียบกับความหนาแน่นนี้กับออสเมียม (Osmium;
Os) ซึ่งเป็นธาตุที่มีความหนาแน่นมากที่สุด ซึ่งมีค่าประมาณ 2 × 104 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
จะได้ว่า ความหนาแน่นของนิวเคลียสมีค่าสูงกว่ามาก แสดงให้เห็นว่า นิวคลีออนในนิวเคลียสจะ
ต้องอัดตัวรวมกันอยูอ่ ย่างหนาแน่นมาก ดังนัน้ แรงนิวเคลียร์ภายในนิวเคลียสจะต้องมีคา่ มหาศาล
152

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


“หากสมมติวาในอนาคตในธรรมชาติปราศจากแรงนิวเคลียร อะตอมทุกอะตอมจะไมสามารถคงสภาพการเปนอะตอมอยูได” พิจารณาขอความ
ขางตนวาถูกตองตามหลักการของแรงในธรรมชาติหรือไม อยางไร
1. ถูกตอง เพราะจะไมมีแรงที่ทําหนาที่ดึงดูดระหวางนิวตรอนกับอิเล็กตรอนที่อยูรอบๆ
2. ถูกตอง เพราะจะไมมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางโปรตอนและนิวตรอนใหรวมกันเปนนิวเคลียสของอะตอม
3. ไมถูกตอง เพราะภายในอะตอมยังคงมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางนิวคลีออนที่ทําใหเกิดเปนนิวเคลียสของอะตอม
4. ไมถูกตอง เพราะยังคงมีแรงทางไฟฟาหรือแรงเนื่องจากสนามไฟฟาระหวางโปรตอนกับอิเล็กตรอนที่อยูรอบๆ ใหอยูรวมกันคงสภาพเปน
นิวเคลียสของอะตอมได
5. ไมถกู ตอง เพราะยังคงมีแรงโนมถวงหรือแรงเนือ่ งจากสนามโนมถวงทีก่ ระทําระหวางโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ใหอยูร วมกันคงสภาพ
เปนนิวเคลียสของอะตอมได
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากแรงนิวเคลียร คือ แรงที่กระทําระหวางนิวคลีออนตั้งแต 2 อนุภาคขึ้นไป ทําใหอนุภาคตางๆ ไมวาจะเปนโปรตอน หรือ
นิวตรอนสามารถอยูรวมกันหรือเกิดการยึดเหนี่ยวกัน ทําใหเปนนิวเคลียสของอะตอมโดยที่นิวคลีออน หมายถึง อนุภาคที่อยูรวมกันเปนนิวเคลียส
เพราะในนิวเคลียสประกอบดวยโปรตอนกับนิวตรอน นั่นคือ อนุภาคทั้งสองตางก็เปนนิวคลีออน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T164
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 7.4 5. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
นิวเคลียสของไอโซโทปโซเดียม-28 จะมีรัศมีเป็นกี่เท่าของนิวเคลียสของไอโซโทปเรเดียม-224 รวมกันศึกษาตัวอยางที่ 7.4-7.5 จากหนังสือ
เรียน โดยจดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัว
วิธีท�า จากสมการที่ 7.21 R = r0 3 A
6. ครูนําโจทยปญหาเกี่ยวกับการคํานวณหารัศมี
พิจารณาโซเดียม-28; RNa = r0 3 ANa (1)
ของนิวเคลียส ความหนาแนนของนิวเคลียส
พิจารณาเรเดียม-224; RRa = r0 3 ARa (2) และปริมาณทีเ่ กีย่ วของทีน่ อกเหนือจากหนังสือ
น�าสมการ (1) หารสมการ (2) จะได้ว่า
เรียนมาใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม โดยการ
RNa r0 3 ANa
RRa =
r0 3 ARa ลงมื อ แสดงวิ ธีก ารแก โ จทย ป  ญ หาเพื่ อ หา
คําตอบ
RNa ANa
RRa = 3 ARa 7. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น
RNa 28 จากนั้นมอบหมายใหแตละคนแสดงวิธีการ
RRa = 3 224 = 0.5 แกโจทยปญหาคนละ 1 ขอ จากโจทยปญหา
RNa = 0.5RRa ในตัวอยางที่ 7.4-7.5 และที่ครูใหเพิ่มเติม
ดังนั้น นิวเคลียสของไอโซโทปโซเดียม-28 จะมีรศั มีเป็น 0.5 เท่าของนิวเคลียสของไอโซโทปเรเดียม-224 เสร็จแลวครูใหนักเรียนอธิบายขั้นตอนการทํา
ทีละ 1 คน ซึง่ ครูจะสังเกตการณและคอยชีแ้ นะ
ตัวอย่างที่ 7.5 เมื่อนักเรียนสงสัยหรือเกิดปญหา
นิวเคลียสของฮีเลียม-4 จะมีรัศมีเป็นกี่เท่าของนิวเคลียสของไอโซโทปยูเรเนียม-238 8. ครูนํานักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับโจทยปญหา
วิธีท�า จากสมการที่ 7.21 R = r0 3 A ที่นักเรียนไดศึกษามาแลว เพื่อใหเกิดความ
พิจารณาฮีเลียม-4; RHe = r0 3 AHe (1) เขาใจที่ตรงกัน
พิจารณายูเรเนียม-238; RU = r0 3 AU (2)
น�าสมการ (1) หารด้วยสมการ (2) จะได้ว่า
RHe r0 3 AHe
RU = r0 3 AU
RHe AHe
RU = 3 AU
RHe 4
RU = 3 238 = 0.26
RHe = 0.26RU
ดังนั้น นิวเคลียสของฮีเลียม-4 จะมีรัศมีเป็น 0.26 เท่าของนิวเคลียสของไอโซโทปยูเรเนียม-238
ฟิสิกส์อะตอม 153

ขอสอบเนน การคิด
นิวเคลียสของทองคํา-197 (197 -15
79Au) มีรัศมีของนิวเคลียสเทากับ 1.3 × 10 เมตร อยากทราบวา ความหนาแนนของนิวเคลียสของทองคํา-197 นี้
จะมีคาเทาใด กําหนดให มวล 1 u ของนิวเคลียสของทองคํา-197 เทากับ 1.75 × 10-27 กิโลกรัม
1. 0.89 × 1017 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร 2. 1.32 × 1017 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร 3. 1.65 × 1017 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
4. 1.90 × 1017 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร 5. 2.11 × 1017 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
3m1 uA
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ V = 43 πR3 ρ = 3
4πr0
V = 43 π(r0 3 A)3 3(1.75 × 10-27 kg)
ρ =
V = 43 πAr30 4π(1.3 × 10-15 m)3
คํานวณหาความหนาแนนของนิวเคลียสของทองคํา ρ =
5.25 × 10-27 kg
2.76 × 10-44 m3
จากสมการ ρ = m
V ρ = 1.90 × 1017 kg/m3
m A
ρ = 4 1u 3 นั่นคือ ความหนาแนนของนิวเคลียสของทองคํา-197 นี้จะมีคาเทากับ
3 πAr0 1.90 × 1017 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T165
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
9. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้ 5.2 พลังงานยึดเหนี่ยว
รวมกันศึกษา เรื่อง พลังงานยึดเหนี่ยว จาก พลังงานยึดเหนีย่ ว (binding energy) คือ พลังงานทีใ่ ช้ในการยึดเหนีย่ วนิวคลีออนทัง้ หมด
หนังสือเรียน เอาไว้ด้วยกันในนิวเคลียส โดยจากการศึกษาโครงสร้างของอะตอม ท�าให้เข้าใจธรรมชาติของ
10. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ อะตอมและนิวเคลียส ซึ่งการที่อิเล็กตรอนไม่สามารถหลุดออกจากวงโคจรได้ เพราะมีแรงดึงดูด
ทฤษฎีสัมพันธภาพของไอนสไตน จากแหลง ระหว่างประจุบวกของนิวเคลียสกับประจุลบของอิเล็กตรอน ส�าหรับอะตอมของไฮโดรเจน ถ้าให้
ขอมูลสารสนเทศ โดยมุงเนนถึงสมการแสดง พลังงาน 13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ แก่อิเล็กตรอน อิเล็กตรอนก็จะสามารถหลุดออกจากอะตอมได้
ความสัมพันธระหวางมวลกับพลังงาน ซึ่งนั่น ดังนัน้ การศึกษาเกีย่ วกับธรรมชาติของแรงนิวเคลียร์ ท�าได้โดยการให้พลังงานแก่นวิ เคลียส
เปนพื้นฐานของการนํามาประยุกตใชในเรื่อง เพื่อท�าให้นิวคลีออนแยกออกจากกัน โดยพลังงานที่ให้แก่นิวเคลียสจะเป็นพลังงานที่มีปริมาณ
พลังงานยึดเหนี่ยว พอเหมาะที่จะท�าให้นิวคลีออนแยกออกจากกัน มีค่าอย่างน้อยเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยว ซึ่งเป็น
11. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นจากการสั ง เกตพฤติ ก รรม พลังงานที่ยึดโปรตอนกับนิวตรอนไว้ให้อยู่ในอะตอม เมื่ออนุภาคต่าง ๆ มารวมกันเป็นนิวเคลียส
รายบุ ค คลในการให ค วามร ว มมื อ และ ของอะตอม มวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม่มีค่าน้อยกว่าผลรวมของมวลของแต่ละอนุภาคที่มา
กระตือรือรนในระหวางการศึกษาหาความรู ประกอบกันเป็นนิวเคลียส แสดงว่ามวลทีห่ ายไปนีไ้ ด้กลายเป็นพลังงานทีใ่ ช้ในการยึดเหนีย่ วอนุภาค
ใหออกมาหนาชัน้ เรียน จากนัน้ ครูใหนกั เรียน โปรตอนกับนิวตรอนให้อัดกันอยู่ในนิวเคลียส ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ให้แก่นิวเคลียสเพื่อท�าให้1
ใช ส มการความสั ม พั น ธ ร ะหว า งมวลกั บ นิวคลีออนแยกออกจากกัน และเนือ่ งจากนิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก ในการวัดมวลจึงวัดในหน่วย u
พลังงานของไอนสไตนในการหาคาพลังงาน (atomic mass unit) เช่นเดียวกับมวลอะตอม โดยมวล 1 u มีค่าเท่ากับ 1.660540 × 10-27
ของมวล 1 u ในหนวยเมกะอิเล็กตรอนโวลต กิโลกรัม สามารถค�านวณหาพลังงานที่เทียบเท่ามวล 1 u ได้ โดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างมวล
หรือหนวยอื่นๆ กับพลังงานของไอน์สไตน์ ดังนี้
12. ครู ถ ามคํ า ถามตรวจสอบความเข า ใจของ จากสมการ E = mc2
นักเรียนวา E = (1.660540 × 10-27 kg)(2.997925 × 108 m/s)2
• มวลที่หายไปเนื่องจากการรวมกันของ E = 1.492419 × 10-10 J
นิวคลีออนในนิวเคลียสเรียกวาอะไร เนื่องจากพลังงาน 1.602177 × 10-19 จูล มีค่าเท่ากับพลังงาน 1 อิเล็กตรอนโวลต์
(แนวตอบ มวลพรอง) จึงได้ว่า
-10
1.492419 × 10-10 J = 1.492419 × 10-19 J
1.602177 × 10 J/eV
1.492419 × 10 J = 931.49446 × 106 eV
-10

สรุปได้ว่า มวล 1 u สามารถเทียบได้กับพลังงาน 1.492419 × 10-10 จูล หรือเทียบได้กับ


พลังงานประมาณ 931 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV)
E(มวล 1 u) = 931 MeV
154

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 หนวย u หรือหนวยมวลอะตอม (atomic mass unit) คือ หนวยทีใ่ ชในการ ครูใหนักเรียนกลับไปศึกษาคนควาและสืบคนขอมูลเพิ่มเติม
วัดมวลของอะตอมและโมเลกุล โดยกําหนดให 1 หนวยมวลอะตอม มีคาเทากับ เกี่ยวกับเรื่อง พลังงานยึดเหนี่ยว จากแหลงขอมูลสารสนเทศ
1 เชน หองสมุด วารสาร อินเทอรเน็ต จากนั้นเขียนสรุปความรูที่ได
12 เทาของมวลของคารบอน-12 1 อะตอม ปจจุบันในบทความวิชาการทาง ลงในสมุดบันทึกประจําตัว โดยรูปแบบการสรุปความรูขึ้นอยูกับ
ชีวเคมี (biochemistry) และชีววิทยาระดับโมเลกุล (molecular biology) นั้น
จะใชหนวยดัลตัน (Dalton; Da) เนื่องจากมีการศึกษาเกี่ยวกับโปรตีน ซึ่งเปน ดุลยพินิจของนักเรียน โดยครูกําหนดใหนักเรียนมุงเนนประเด็น
โมเลกุลขนาดใหญ จึงมีการใชหนวยเปนกิโลดัลตัน หรือ kDa มีคา เทากับ 1,000 ในการศึกษาเกีย่ วกับการเทียบหนวยของพลังงานยึดเหนีย่ ว เพือ่ ให
ดัลตัน นักเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเองและมีความเขาใจมากขึ้น เสร็จ
แลวตัวแทนรวบรวมสมุดบันทึกประจําตัวสงครู

T166
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

พลังงานยึดเหนี่ยวเป็นพลังงานของมวลที่หายไปเนื่องจากการรวมกันของนิวคลีออนใน 13. ครูใหนักเรียนปดหนังสือเรียน จากนั้นครูให


นิวเคลียส มวลที่หายไปนี้เรียกว่า มวลพร่อง (mass defect; Δm) จากความสัมพันธ์ระหว่างมวล นักเรียนแตละคูนํากระดาษ A4 ขึ้นมาแลว
กับพลังงานของไอน์สไตน์ สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ ดังสมการที่ 7.23 แบงออกเปน 2 สวนเทาๆ กัน
14. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา “การพิจารณา
E = (Δm)c2 (7.23)
หรือคํานวณหามวลพรองที่มีหนวยเปน u จะ
การค�านวณหาพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส สามารถหาได้จากมวลนิวเคลียสหรือจาก ตองใชสมการใด” โดยครูกําหนดใหนักเรียน
มวลอะตอม ซึ่งมวลอะตอม หมายถึง มวลของนิวเคลียสรวมกับมวลของอิเล็กตรอนทั้งหมดที่อยู่ เขียนสมการที่ตองการตอบลงในกระดาษที่
รอบนิวเคลียสนั้น จะได้ว่า ไดแบงกันไวแลว ซึง่ ใครเขียนเสร็จแลวยืนขึน้
มวลอะตอม = มวลของนิวเคลียส + มวลของอิเล็กตรอน พรอมชูกระดาษคําตอบขึ้นกอนและคําตอบ
ถูกตอง 3 คนแรก ครูจะมีรางวัลพิเศษให
เนื่องจากมวลของอิเล็กตรอนมีค่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับมวลของโปรตอนและมวลของ 15. ครูใ ห นั กเรีย นคู เ ดิ ม ร ว มกั นศึ กษาตั ว อย าง
นิวตรอน กล่าวได้วา่ มวลอะตอมมีคา่ ประมาณได้เท่ากับมวลของนิวเคลียส การค�านวณจึงพิจารณาแต่ ที่ 7.6-7.7 จากหนังสือเรียน โดยครูมอบหมาย
มวลของนิวเคลียสเป็นหลัก ดังนัน้ สามารถพิจารณามวลพร่องทีม่ หี น่วยเป็น u ได้ ดังสมการที ่ 7.24 ใหนกั เรียนจดบันทึกวิธที าํ เพือ่ หาคําตอบลงใน
สมุดบันทึกประจําตัว
Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M (7.24) 16. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียนโดยเลือกคนทีไ่ มคอ ยมี
สวนรวมในชั้นเรียนออกมาหนาชั้นเรียน แลว
Δm คือ มวลพร่องหรือมวลที่หายไป มีหน่วยเป็น u
Z คือ จ�านวนโปรตอนในนิวเคลียส อธิบายผลการศึกษาตัวอยางที่ 7.6-7.7 บน
mp คือ มวลของโปรตอน 1 อนุภาค มีค่าเท่ากับ 1.007276
1.007276 u กระดาน
A - Z คือ จ�านวนนิวตรอนในนิวเคลียส 17. ครูใหนกั เรียนศึกษาตอหลังจากศึกษาตัวอยาง
mn คือ มวลของนิวตรอน 1 อนุภาค มีค่าเท่ากับ 1.008665
1.008665 u ที่ 7.6-7.7 เกี่ยวกับพลังงานยึดเหนี่ยวตอ
M คือ มวลทั้งหมดของนิวเคลียส มีหน่วยเป็น u นิวคลีออน

จากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า พลังงานต่อมวล 1 u มีคา่ เท่ากับ 931 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์


ดังนั้น สามารถเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ของพลังงานยึดเหนี่ยวได้ ดังสมการที่ 7.25

E = (Δm)(931 MeV/u) (7.25)

E คือ พลังงานยึดเหนีย่ ว มีหน่วยเป็น เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ((MeV)


Δm คือ มวลพร่องหรือมวลที่หายไป มีหน่วยเป็น u

ฟิสิกส์อะตอม 155

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ถามวลของนิวเคลียสของธาตุ A เทากับ 4.001428 u โดยที่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง พลังงานยึดเหนีย่ ว นอกจาก
นิวเคลียสของธาตุ A นี้ประกอบดวยโปรตอน 2 อนุภาค และ ภาพหรื อ เนื้ อ หาจากหนั ง สื อ เรี ย นแล ว ครู อ าจนํ า วี ดิ ทั ศ น จ ากแหล ง ข อ มู ล
นิวตรอน 2 อนุภาค อยากทราบวา พลังงานยึดเหนีย่ วของนิวเคลียส สารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนักเรียนได
A มีคาเทาใด กําหนดให มวลของโปรตอนเปน 1.007276 u และ
ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจเกี่ยวกับความหมายและสิ่งที่เกี่ยวของ
มวลของนิวตรอนเปน 1.008665 u
กับเนื้อหามากขึ้น เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวิทยาศาสตรจาก Twig เรื่อง
(แนวตอบ จากสมการ Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M มวลอะตอม ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/
Δm = (2(1.007276 u) + (4 - 2)(1.008665 u)) - 4.001428 u
glossary/atomic-mass-6790/
Δm = 4.031882 u - 4.001428 u
Δm = 0.030454 u
จากสมการ E = (Δm)(931 MeV/u)
E = (0.030454 u)(931 MeV/u)
E = 28.35 MeV
ดังนั้น พลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส A มีคาเทากับ 28.35
เมกะอิเล็กตรอนโวลต)

T167
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
18. ครู นํ า นั ก เรี ย นอภิ ป รายเกี่ ย วกั บ พลั ง งาน ตัวอย่างที่ 7.6
ยึดเหนี่ยว โดยการใชคําถามถามกับนักเรียน ก�าหนดให้มวลของโปรตอน 1 ตัว เท่ากับ 1.007276 u มวลของนิวตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.008665 u
เพื่อตรวจสอบความเขาใจในเนื้อหา เมื่อโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว รวมกันในนิวเคลียสจะมีมวลรวมเท่ากับ 4.002602 u พลังงาน
19. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน ยึดเหนี่ยวทั้งหมดของนิวเคลียสนี้มีค่าเท่าใด
ได เ รี ย นรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง เสถี ย รภาพของ วิธีท�า ค�านวณหามวลรวมของโปรตอนกับนิวตรอน
นิ ว เคลี ย ส โดยครู สุ  ม นั ก เรี ย นจํ า นวนหนึ่ ง Zmp + (A - Z)mn = (2)(1.007276 u) + (2)(1.008665 u)
ออกมาหนาชั้นเรียนเพื่ออธิบายผลการศึกษา Zmp + (A - Z)mn = 4.031882 u
ลงมือทํา (Doing)
จากโจทย์ จะเห็นได้วา่ มวลรวมของนิวเคลียสทีไ่ ด้จากการรวมกันของ 4 นิวคลีออน มีคา่ น้อยกว่า
มวลที่ได้จากการรวมมวลของโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว เข้าด้วยกัน ดังนั้น มวลที่
20. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นขางๆ แลวรวมกัน ลดลงหรือมวลพร่องสามารถค�านวณหาได้
ศึกษาแบบฝกหัด Topic Questions จาก จากสมการที่ 7.24 Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M
หนังสือเรียน โดยครูมอบหมายใหนักเรียน Δm = 4.031882 u - 4.002602 u = 0.02928 u
แตละคนเขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหา ค�านวณหาพลังงานยึดเหนี่ยว
จากสมการที่ 7.25 E = (Δm)(931 MeV/u)
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
E = (0.02928 u)(931 MeV/u) = 27.26 MeV
21. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
ดังนั้น พลังงานยึดเหนี่ยวทั้งหมดของนิวเคลียสนี้มีค่าเท่ากับ 27.26 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
เกี่ยวกับเสถียรภาพของนิวเคลียสเพิ่มเติม
จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
ตัวอย่างที่ 7.7
และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ
พลังงานยึดเหนี่ยวของ 73Li มีค่ากี่เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ก�าหนดให้มวลนิวเคลียสของ 73Li เท่ากับ
เรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร 7.016005 u
22. ครูแจกใบงาน เรื่อง พลังงานยึดเหนี่ยว ให
นักเรียนคนละ 1 ชุด จากนัน้ มอบหมายใหนาํ วิธีท�า จากสมการ 7.25 E = (Δm)(931 MeV/u)
กลับไปศึกษาเปนการบาน เสร็จแลวตัวแทน E = [(Zmp + (A - Z)mn) - M](931 MeV/u)
รวบรวมสงครูเพื่อตรวจและใหคะแนนกอนที่ E = [(3(1.007276 u) + 4(1.008665 u)) - 7.016005 u](931 MeV/u)
E = 37.7 MeV
จะเจอกันในชั่วโมงถัดไป ดังนั้น พลังงานยึดเหนี่ยวของ 73Li มีค่า 37.7 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์

หากพิจารณาตัวอย่างที ่ 7.6-7.7 จะพบว่า พลังงานยึดเหนีย่ วจะมีคา่ มากขึน้ เมือ่ จ�านวนนิวคลีออน


ในนิวเคลียสมากขึ้น สามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังภาพที่ 7.23 จะได้ว่า พลังงาน
ยึดเหนีย่ วแปรผันตรงกับจ�านวนนิวคลีออน หากตัง้ ข้อสังเกตว่า นิวคลีออนแต่ละตัวจะส่งแรงนิวเคลียร์
กระท�าต่อนิวคลีออนอื่น ๆ ที่อยู่ในนิวเคลียสทั้งหมด เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
พลังงานยึดเหนี่ยวกับเลขมวล ผลที่ได้จะแตกต่างจากกราฟแสดงความสัมพันธ์ ดังภาพที่ 7.23
156

ขอสอบเนน การคิด
พลังงานยึดเหนี่ยวของธาตุไนโตรเจนที่มีเลขอะตอมเทากับ 7 เลขมวลเทากับ 14 และมีมวลอะตอมเทากับ 14.0067 u จะมีคาเทาใดในหนวย
เมกะอิเล็กตรอนโวลต และหากพิจารณาพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนของธาตุดังกลาวจะมีคาเทากับเทาใด กําหนดให มวลของโปรตอนเทากับ
1.007276 u มวลของนิวตรอนเทากับ 1.008665 u
1. 97.65 เมกะอิเล็กตรอนโวลต และ 2.582 เมกะอิเล็กตรอนโวลต 2. 97.65 เมกะอิเล็กตรอนโวลต และ 6.975 เมกะอิเล็กตรอนโวลต
3. 104.28 เมกะอิเล็กตรอนโวลต และ 6.975 เมกะอิเล็กตรอนโวลต 4. 104.28 เมกะอิเล็กตรอนโวลต และ 7.448 เมกะอิเล็กตรอนโวลต
5. 105.85 เมกะอิเล็กตรอนโวลต และ 2.582 เมกะอิเล็กตรอนโวลต
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M คํานวณหาพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออน
Δm = ((7)(1.007276 u) + (14 - 7)(1.008665 u)) - 14.0067 u จากสมการ AE = 97.6514MeV
Δm = (7.050932 u + 7.060655 u) - 14.0067 u E
Δm = 14.111587 u - 14.0067 u A = 6.975 MeV
Δm = 0.104887 u นั่นคือ พลังงานยึดเหนี่ยวของธาตุไนโตรเจนเทากับ 97.65 เมกะ
คํานวณหาพลังงานยึดเหนี่ยว อิเล็กตรอนโวลต และมีพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนเทากับ 6.975
จากสมการ E = (Δm)(931 MeV/u) เมกะอิเล็กตรอนโวลต ดังนั้น ตอบขอ 2.)
E = (0.104887 u)(931 MeV/u)
E = 97.65 MeV
T168
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
แต่ถา้ คิดว่าแรงนิวเคลียร์เป็นแรงกระท�าระหว่างนิวคลีออนทีอ่ ยูต่ ดิ กันแล้ว ผลจากการค�านวณ นักเรียนอธิบายสรุปความรูเ กีย่ วกับเสถียรภาพ
จะตรงกับกราฟแสดงความสัมพันธ์ ดังภาพที ่ 7.24 ดังนัน้ สามารถสรุปได้วา่ แรงนิวเคลียร์ เป็นแรง ของนิวเคลียสที่ไดศึกษามาแลว พรอมทั้งยก
ทีก่ ระท�าในช่วงสัน้ ๆ และกระท�าระหว่างนิวคลีออนทีอ่ ยูต่ ดิ กันเท่านัน้ ดังภาพที ่ 7.25 ตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่
พลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส (MeV) เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ
2000
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ยัง
นิวคลีออน
1500 ไมเขาใจหรือสงสัย จากนั้นครูใช PowerPoint
1000 เรื่อง เสถียรภาพของนิวเคลียส มาเปดให
500 นักเรียนดูประกอบเพื่อชวยในการอธิบายให
นิวคลีออน แทนแรงนิวเคลียร์ เขาใจมากยิ่งขึ้น
0 50 100 150 200 250 3. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับเสถียรภาพ
ภาพที ่ 7.23 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานยึดเหนีย่ ว ภาพที่ 7.24 แรงกระท�าระหว่างนิวคลีออน
ของนิวเคลียสกับจ�านวนนิวคลีออนภายในนิวเคลียส ที่อยู่ติดกันคือแรงนิวเคลียร์ ของนิวเคลียส โดยสรางสรรคออกมาในรูปแบบ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. ของอินโฟกราฟก ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้ง
เนือ่ งจากธาตุแต่ละธาตุจะมีจา� นวนนิวคลีออนภายในนิวเคลียสไม่เท่ากัน จะไม่สามารถน�ามา ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพือ่ ตรวจ
ใช้ในการเปรียบเทียบว่า นิวเคลียสของธาตุใดมีเสถียรภาพอย่างไร มีโอกาสแตกตัวหรือเปลีย่ นสภาพ ใหคะแนน
ไปเป็นนิวเคลียสของธาตุอื่นได้มากน้อยเพียงใด ด้วยเหตุนี้ จึงต้องพิจารณาพลังงานยึดเหนี่ยว
ต่อนิวคลีออน สามารถเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังสมการที่ 7.26 ขัน้ ประเมิน
E = E = (Δm)c2 = (Δm)(931 MeV/u) (7.26) 1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง เสถียรภาพของ
nucleon A A A
นิ ว เคลี ย ส โดยสั ง เกตพฤติ ก รรมการตอบ
โดยที ่ A คือ เลขมวล และจากสมการที ่ 7.26 สามารถกล่าวได้วา่ ธาตุทมี่ พี ลังงานยึดเหนีย่ ว คําถาม การทําแบบฝกหัด และการสรุปสาระ
ต่อนิวคลีออนสูงกว่าจะมีเสถียรภาพมากกว่าธาตุที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนต�่ากว่า โดย สําคัญ
ธาตุ ที่ มี เ สถี ย รภาพมากกว่ า จะแตกตั ว เป็ น 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
นิวเคลียสอื่นได้ยากกว่า Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง ศาสตรจากการคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ
การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี กับเสถียรภาพของนิวเคลียสจากตัวอยางที่
Topic ครูกําหนดให และการนําความรูที่ไดไปใช
Questions ประโยชน
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
1. ทริเทียม (31H) มีมวลอะตอม 3.016049 u จะมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเท่าใด
พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น
2. ถ้าพลังงานต่อนิวคลีออนของ 12C และ 13C เท่ากับ 7.7 และ 7.5 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ต่อนิวคลีออน
ตามล�าดับ พลังงานที่น้อยที่สุดที่ต้องใช้ในการดึงนิวตรอน 1 ตัว ออกจาก 13C มีค่าเท่าใด การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค

ฟิสิกส์อะตอม 157

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. จากสมการ Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M
Δm = ((1)(1.007276 u) + (3 - 1)(1.008665 u)) - 3.016049 u
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง เสถียรภาพของ
Δm = 0.008557 u
นิวเคลียส ไดจากอินโฟกราฟกที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นสรุป โดยศึกษาเกณฑ
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
จากสมการ AE = (Δm)(931A MeV/u)
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
E (0.008557 u)(931 MeV/u)
A = 3
E = 2.65 MeV แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3-6, 8 เกณฑ์ประเมินอินโฟกราฟิก

A
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
แบบประเมินผลงานอินโฟกราฟิก 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์

ดังนั้น พลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนเทากับ 2.65 เมกะอิเล็กตรอน


คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่

โวลต
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

2. จากสมการ AE = (Δm)(931A MeV/u) ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

E
14–16 ดีมาก

13 = 7.5 MeV
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

E = 97.5 MeV
ดังนั้น พลังงานที่นอยที่สุดเทากับ 97.5 เมกะอิเล็กตรอนโวลต
T169
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียรและ ปฏิกริ ยิ านิวเคลียรฟช ชัน 6. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
หรือระเบิดปรมาณูใหนักเรียนดู เพื่อกระตุน แตกต า งจากปฏิ กิ ริ ย า
ความสนใจและเปนการนําเขาสูเนื้อหา นิวเคลียรฟวชันอยางไร
การยิงอนุภาคต่าง ๆ เข้าไปชนนิวเคลียสจะท�าให้นิวเคลียส
เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบหรือระดับพลังงาน ซึ่งการ
2. ครูใหนักเรียนนับ 1-4 วนกันไปจนครบทุกคน
เปลี่ยนแปลงนั้น สามารถเขียนแสดงได้ด้วยสมการปฏิกิริยา
เสร็จแลวนักเรียนแยกเขากลุมตามหมายเลข
นิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสมักจะเกิดเป็นปฏิกิริยาการคายพลังงาน
ที่นับได จากนั้นครูใหนักเรียนพูดคุยรวมกัน
เกี่ ย วกั บ ประโยชน แ ละโทษของพลั ง งาน กระบวนการหรือปฏิกิริยาที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบหรือระดับพลังงาน
เรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (nuclear reaction) ซึ่งโดยทั่วไปเกิดจากการยิงอนุภาคต่าง ๆ เช่น
นิวเคลียร ซึง่ ครูกาํ หนดใหกลุม หมายเลข 1 กับ
นิวตรอน โปรตอน ดิวเทอรอน แอลฟา โดยการเร่งอนุภาคเหล่านี้ให้มีพลังงานจลน์สูง ๆ แล้วพุ่ง
3 ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน และกลุมหมายเลข
เข้าชนกับนิวเคลียสของธาตุทเี่ ป็นเป้า ท�าให้นวิ เคลียสทีเ่ ป็นเป้าเกิดการเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบ
2 กับ 4 ศึกษาโทษ นักเรียนรวมกันอภิปราย หรือระดับพลังงาน แล้วเปลีย่ นสภาพกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ขนึ้ หรือท�าให้นวิ เคลียสของ
กันภายในกลุม ธาตุเดิมอยู่ในสถานะกระตุ้น ส�าหรับการชนกันระหว่างนิวเคลียสกับนิวเคลียส หรือนิวเคลียสกับ
3. ครูใหแตละกลุม แสดงความคิดเห็นคนละ 1 ขอ อนุภาคนั้น อาจเขียนให้อยู่ในรูปสมการปฏิกิริยา โดยสามารถเขียนสมการปฏิกิริยาในรูปทั่วไปได้
วนไปเรือ่ ยๆ โดยไมซาํ้ กัน เพือ่ เปนการแขงขัน ดังสมการที่ 7.27
วนไปจนกวาจะมีกลุมที่ตอบไมได ก็จะแพไป
กอน โดยที่กลุมไหนสามารถมีคําตอบไดเปน (7.27)
X+a Y + b หรือ X (a, b) Y
กลุมสุดทายจะเปนผูชนะ
4. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน X คือ นิวเคลียสตั้งต้นหรือนิวเคลียสที่เป็นเป้า
เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาโดยใชคําถาม Key a คือ อนุภาคที่พุ่งเข้าชนนิวเคลียสที่เป็นเป้า
Question จากหนังสือเรียน Y คือ นิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เกิดหลังการชน
b คือ อนุภาคที่เกิดขึ้นใหม่หลังการชน

จากสมการที่ 7.27 สามารถเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยา (a, b) ของนิวเคลียส X เช่น


หากฉายรังสีแกมมาพลังงาน 2.22 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ไปยังดิวเทอรอน จะท�าให้ดิวเทอรอน
แตกตัวออกเป็นโปรตอนกับนิวตรอน เขียนสมการปฏิกิริยาได้เป็น 21H + γ 11H + 10n และเขียน
สมการปฏิกิริยาแบบย่อได้เป็น 21H (γ, n)1 1H เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยา (γ, n) ของ 21H
แนวตอบ Key Question ในทุก ๆ สมการปฏิกิริยานิวเคลียร์ ผลรวมของเลขอะตอมก่อนเกิดปฏิกิริยากับเลขอะตอม
ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร ฟ  ช ชั น คื อ ปฏิ กิ ริ ย า หลังเกิดปฏิกิริยาจะต้องเท่ากัน แสดงว่าประจุไฟฟ้ามีค่าคงตัว และผลรวมของเลขมวลก่อนเกิด
นิ ว เคลี ย ร ที่ นิ ว เคลี ย สของธาตุ ห นั ก แตกตั ว เป น ปฏิกิริยากับเลขมวลหลังเกิดปฏิกิริยาก็จะต้องเท่ากันด้วย แสดงว่าผลรวมของจ�านวนนิวคลีออน
นิวเคลียสใหม 2 นิวเคลียสที่มีเลขมวลใกลเคียง ก่อนเกิดปฏิกิริยากับหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีค่าคงตัว
กัน แตปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน คือ ปฏิกิริยาที่ 158
นิวเคลียสของธาตุเบา 2 นิวเคลียส เกิดการรวมกัน
แลวเกิดเปนนิวเคลียสของธาตุหนัก

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียรตอไปนี้ 94 Be + 42 He 12 C + 1 X
6 0
กําหนดให มวลรวมของนิวเคลียสกอนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรเทากับ 22.62 × 10-27 กิโลกรัม มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร
เทากับ 22.58 × 10-27 กิโลกรัม ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง
1. 10 X มีมวลเปนศูนย 2. 10 X มีประจุไฟฟาเปนบวก 3. พลังงานที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรดังกลาว คือ 3.6 × 10-12 จูล
4. ปฏิกิริยานิวเคลียรนี้เปนปฏิกิริยาฟชชัน 5. มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรมีคาลดลง 0.04 กิโลกรัม
(วิเคราะหคําตอบ พลังงานยึดเหนี่ยวเปนพลังงานของมวลที่หายไป E = (0.04 × 10-27 kg)(9 × 1016 m2/s2)
เนือ่ งจากการรวมกันของนิวคลีออนในนิวเคลียส โดยมวลทีห่ ายไปนีเ้ รียกวา E = 36 × 10-13 J
มวลพรอง (Δm) E = 3.6 × 10-12 J
จากสมการ E = (Δm)c2 นัน่ คือ มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกริ ยิ านิวเคลียรมคี า ลดลง
จะไดวา E = ((22.62 × 10-27 kg) - (22.58 × 10-27 kg)) 0.04 × 10-27 กิโลกรัม สวนพลังงานยึดเหนี่ยวหรือพลังงานที่ไดจาก
(3 × 108 m/s)2 ปฏิกิริยานิวเคลียรดังกลาวเทากับ 3.6 × 10-12 จูล ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T170
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
การวิเคราะห์พลังงานในปฏิกิริยานิวเคลียร์ พบว่า บางปฏิกิริยาต้องใช้พลังงานเพื่อท�าให้ 1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
เกิดปฏิกิริยา เช่น ปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงอนุภาคแอลฟา (42He) เข้าชนกับนิวเคลียสของ รวมกันศึกษา เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร จาก
ไนโตรเจน-14 (147N) ท�าให้เกิดออกซิเจน-17 (178O) ซึ่งเป็นนิวเคลียสที่เกิดใหม่ และโปรตอน (11H) หนังสือเรียน และสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจาก
ซึ่งเป็นอนุภาคที่เกิดขึ้นภายหลังการชน สามารถเขียนสมการของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้ ดังนี้ แหล ง ข อ มู ล สารสนเทศ โดยให นั ก เรี ย น
14
+ 42He 17
+ 11H จดบั น ทึ ก เป น องค ค วามรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก
7N 8O
ประจําตัว
มวลรวมหลังเกิดปฏิกริ ยิ ามีคา่ มากกว่ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกริ ยิ าเท่ากับ 0.001281 u ซึง่ มวล 2. ครูขออาสาสมัครนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน
ดังกล่าวสามารถเทียบได้กับพลังงาน (0.001281 u)(931 MeV/u) = 1.19 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ จากนั้ น อธิ บ ายสรุ ป เนื้ อ หา เรื่ อ ง ปฏิ กิ ริ ย า
กล่าวได้ว่า ปฏิกิริยานี้ต้องให้พลังงาน แสดงว่าอนุภาคแอลฟาที่เข้าชนไนโตรเจน-17 มีพลังงาน นิวเคลียร ที่ไดศึกษาจากหนังสือเรียน เพื่อ
อย่างน้อย 1.19 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ จึงสามารถเขียนสมการปฏิกิริยาใหม่ได้ ดังนี้ เปนการศึกษารวมกันกับเพื่อนในชั้นเรียน
14
7N + 42He + 1.19 MeV 17
8O + 11H 3. ครูนํานักเรียนอภิปรายวา ในทุกๆ สมการ
ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร ผลรวมของเลขอะตอมกอน
เมื่อค�านวณพลังงานยึดเหนี่ยวของ 147N 42He และ 178O จะได้เท่ากับ 104.66 28.29 และ เกิดปฏิกิริยากับเลขอะตอมหลังเกิดปฏิกิริยา
131.76 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ตามล�าดับ ดังนั้น ผลรวมของพลังงานยึดเหนี่ยวก่อนเกิดปฏิกิริยา จะตองเทากัน แสดงวาประจุไฟฟามีคาคงตัว
จึงมีค่ามากกว่าผลรวมของพลังงานหลังเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ (104.66 + 28.29) - 131.76 = 1.19 และผลรวมของเลขมวลกอนเกิดปฏิกิริยากับ
เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ซึ่งปริมาณนี้เท่ากับพลังงานที่ใช้ในการท�าให้เกิดปฏิกิริยา เลขมวลหลังเกิดปฏิกิริยาจะตองเทากันดวย
ในท�านองเดียวกัน หากพิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่มีการปล่อยพลังงานออกมา กรณีนี้ แสดงวาผลรวมของจํานวนนิวคลีออนกอนเกิด
ผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีค่าน้อยกว่าผลรวมของมวลก่อนเกิดปฏิกิริยา เช่น การยิง ปฏิกิริยากับหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีคาคงตัว
อนุภาคโปรตอนให้พงุ่ ชนนิวเคลียสของลิเทียม-7 ท�าให้ได้อนุภาคแอลฟา 2 อนุภาค จะได้วา่ ผลรวม
ของมวลก่อนเกิดปฏิกิริยามีค่ามากกว่าผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ 0.018622 u ซึ่ง
เทียบได้กบั พลังงาน 17.34 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ และเนือ่ งจากอนุภาคโปรตอนและอนุภาคแอลฟา
ต่างก็มีพลังงานจลน์ ดังนั้น ผลต่างระหว่างพลังงานจลน์ของอนุภาคแอลฟาทั้งสองกับอนุภาค
โปรตอนเท่ากับ 17.34 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ จึงสามารถเขียนสมการปฏิกิริยาได้ ดังนี้
7
3Li + 11H 4
2He + 42He + 17.34 MeV
พลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ เรียกว่า พลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) ซึ่งมีค่า
เป็นไปตามความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน ดังสมการที่ 7.23 โดยพลังงานนิวเคลียร์นี้อาจ
อยูใ่ นรูปของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าหรือพลังงานจลน์ของอนุภาคก็ได้ สรุปได้วา่ ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ทมี่ ี
การปล่อยพลังงาน ผลรวมของพลังงานยึดเหนี่ยวหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีค่ามากกว่าผลรวมของ
พลังงานยึดเหนี่ยวก่อนเกิดปฏิกิริยา
ฟิสิกส์อะตอม 159

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร ใน
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร จากแหลงขอมูลสารสนเทศโดยทีน่ กั เรียน สวนของเนือ้ หาจากหนังสือเรียน ในการอธิบายทําความเขาใจเบือ้ งตนนีส้ ว นใหญ
จะตองใชทักษะการรูเทาทันสื่อและวิจารณญาณในการพิจารณา จะเปนเนื้อหาแบบบรรยายดวยตัวอักษร ซึ่งอาจคอนขางยากตอการสรางความ
ขอมูลจากแหลงขอมูลนั้นๆ วามีความนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด เขาใจในเนื้อหาสวนนี้สําหรับนักเรียน ดังนั้น กอนถึงเวลาการจัดกิจกรรมการ
จากนั้นนําขอมูลเหลานั้นมาเขียนสรุปความรูลงในสมุดบันทึก เรียนการสอนครูอาจจะตองเตรียมสอน โดยการทําความเขาใจเกี่ยวกับเนื้อหา
ประจําตัว พรอมทั้งยกตัวอยางปฏิกิริยานิวเคลียรทั้งปฏิกิริยาที่ สวนนี้ทั้งจากหนังสือเรียนและสื่อสารสนเทศตางๆ ใหมากกวาเดิม จากนั้น
ตองใชพลังงานเพื่อใหเกิดเปนปฏิกิริยาใหมและปฏิกิริยาที่มีการ นําขอมูลเหลานั้นมาจัดกระทําเปนขั้นยอยๆ ลงในโปรแกรมนําเสนอ เชน
ปลอยพลังงาน เพื่อเปนการศึกษาหาความรูดวยตนเองประกอบ PowerPoint พรอมทั้งใชภาพประกอบหรือสื่อการสอนที่เปนแอนิเมชันแสดง
กับการศึกษาจากหนังสือเรียน เสร็จแลวตัวแทนรวบรวมสมุดบันทึก การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร เพื่อกระตุนความสนใจของนักเรียน จึงจะสามารถ
ประจําตัวของแตละคนสงครู สรางความเขาใจ เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร ใหนักเรียนมากยิ่งขึ้น

T171
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา 6.1 ฟิชชัน
• พลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียรเรียก ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ทนี่ วิ เคลียสของธาตุหนักแตกตัวเป็นนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส ทีม่ เี ลขมวล
วาอะไร และสามารถสรุปเกี่ยวกับปฏิกิริยา ใกล้เคียงกัน เรียกว่า ฟิชชัน (fission) ซึง่ การศึกษาฟิชชันเริม่ ต้นโดยเอนริโก แฟร์มี (Enrico Fermi)
นิวเคลียรที่เกี่ยวของกับพลังงานไดอยางไร นักฟิสิกส์ชาวอิตาลี ได้พยายามผลิตธาตุที่หนักกว่ายูเรเนียม โดยใช้นิวตรอนยิงไปยังนิวเคลียส
(แนวตอบ พลั ง งานที่ เ กิ ด จากปฏิ กิ ริ ย า ของยูเรเนียม และหวังว่านิวตรอนซึง่ มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าจะพุง่ เข้าชนนิวเคลียสได้งา่ ยกว่า
นิ ว เคลี ย ร เรี ย กว า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร อนุภาคอื่น ๆ แล้วรวมกับนิวเคลียสเดิมกลายเป็นนิวเคลียสใหม่ และนิวเคลียสใหม่อาจสลายให้
สามารถสรุปเกีย่ วกับปฏิกริ ยิ านิวเคลียรไดวา รังสีบีตาออกมาพร้อมกับเปลี่ยนสภาพเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มีเลขมวลและเลขอะตอม
ปฏิกิริยานิวเคลียรที่มีการปลอยพลังงาน น้อยกว่ายูเรเนียม และใน พ.ศ. 2447 แฟร์มี พบว่า การยิงนิวตรอนไปยังยูเรเนียมท�าให้ได้ธาตุ
ผลรวมของพลั ง งานยึ ด เหนี่ ย วหลั ง เกิ ด กัมมันตรังสีขึ้นมาหลายธาตุ แต่ในขณะนั้นยังท�าการตรวจสอบไม่ได้ว่าเป็นธาตุใด
ปฏิ กิ ริ ย าจะมี ค  า มากกว า ผลรวมของ ใน พ.ศ. 2483 ออทโท ฮาน (Otto Hahn) และฟริทซ์ ชตราสส์มันน์ (Fritz Strassmann)
พลังงานยึดเหนี่ยวกอนเกิดปฏิกิริยา) ได้ท�าการตรวจสอบและพบว่า ธาตุที่เกิดใหม่ตัวหนึ่ง คือ แบเรียม-139 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 86 นาที
5. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง ฟชชันและฟวชัน เมือ่ ฮานและชตราสส์มนั น์ทา� การศึกษาต่อไป พบว่า เมือ่ นิวตรอนพุง่ เข้าชนนิวเคลียสของยูเรเนียม
จากหนังสือเรียน โดยจดบันทึกสรุปองคความรู จะท�าให้ยเู รเนียมแตกตัวออกเป็น 2 นิวเคลียส ซึง่ มีขนาดใกล้เคียงกัน แล้วได้พลังงานออกมาด้วย
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว ในการศึกษาฟิชชันของยูเรเนียมในเวลาต่อมา พบว่า นิวเคลียสทีไ่ ด้จากการแตกตัวเป็นไปได้
6. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม เทาๆ กัน กลุม ละ มากกว่า 40 คู ่ นิวเคลียสเหล่านีม้ เี ลขอะตอมอยูร่ ะหว่าง 30-63 มีเลขมวลอยูร่ ะหว่าง 72-158 และ
ประมาณ 4 คน โดยคละความสามารถของ มีนิวตรอนที่มีพลังงานสูงเกิดขึ้นทุกครั้งที่มีการแตกตัว โดยเฉลี่ยประมาณ 2-3 ตัว เช่น ฟิชชัน
นักเรียนตามผลสัมฤทธิ์ (เกง ปานกลาง ออน) ของยูเรเนียม-235 ดังภาพที่ 7.25 และสามารถเขียนสรุปเป็นสมการได้ ดังสมการที่ 7.28
ใหอยูใ นกลุม เดียวกัน จากนัน้ ครูมอบหมายให 91
36Kr
นักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับฟชชัน 235
92U 1
และฟวชันจากแหลงขอมูลสารสนเทศ แลว 0n

นําขอมูลเหลานั้นมาจัดทําเปนบอรดความรู
พลังงาน 1n
เรื่อง ฟชชันและฟวชัน นําเสนอในรูปแบบที่ 1n
0
0

นาสนใจ โดยใหนักเรียนแตละกลุมกําหนดให 1n
สมาชิกแตละคนมีบทบาทหนาที่ของตนเอง 0

อยางชัดเจน 141 Ba
56

าพที่ 7.25 การเกิดฟิชชันของยูเรเนียม-235
ที่มา : คลังภาพ อจท.

235
92U + 10n 141
56Ba + 9236Kr + 3 10n + พลังงาน (7.28)

160

สื่อ Digital กิจกรรม ทาทาย


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง นิวเคลียรฟชชัน ครูมอบหมายใหนักเรียนกลับไปศึกษาวีดิทศั นจาก YouTube
https://www.twig-aksorn.com/film/nuclear-fission-8355/ เรื่อง เกิดอะไรขึ้นในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรกันนะ ซึ่งสามารถ
คนหาไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=jahV-
iyd6_M จากนั้นครูกําหนดใหนักเรียนแตละคนสรุปความรูที่ได
จากวีดทิ ศั นเปนภาษาของตนเองตามความเขาใจลงในกระดาษ A4
พรอมทัง้ ตกแตงใหสวยงาม ซึง่ รูปแบบการนําเสนอขึน้ อยูก บั ความ
สามารถของแตละคน เสร็จแลวตัวแทนเก็บรวบรวมสงครู จากนั้น
ครูอาจสุมนักเรียนออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน
เพือ่ เปนการอภิปรายสรุปความรูท ไี่ ดจากการศึกษาวีดทิ ศั นรว มกัน

T172
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
เมือ่ นิวตรอนทีป่ ล่อยออกมาจากฟิชชันแรกพุง่ เข้าไปชนนิวเคลียสของอะตอมยูเรเนียมทีอ่ ยู่ 7. ขณะนักเรียนแตละกลุมกําลังรวมกันศึกษา
ข้างเคียงจะท�าให้เกิดฟิชชันที่สอง นิวตรอนจากฟิชชันที่สองไปท�าให้เกิดฟิชชันที่สาม และต่อไป และสรางสรรคและจัดทําบอรดความรู ครูเดิน
เรือ่ ย ๆ ท�าให้นวิ เคลียสของยูเรเนียมข้างเคียงแตกตัวอย่างต่อเนือ่ ง เรียกว่า ปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ (chain สั ง เกตการณ แ ละให คํ า ปรึ ก ษาเมื่ อ นั ก เรี ย น
reaction) และมีพลังงานนิวเคลียร์ทถี่ กู ปล่อยออกมาโดยเฉลีย่ ประมาณ 200 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ สงสัยหรือเกิดปญหา
ต่อฟิชชัน ในช่วงเวลาสั้น ๆ ดังภาพที่ 7.26 91
Kr
8. ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแบง
36
1
0n
ประเภทของธาตุตามเลขมวล ทั้งจากหนังสือ
1n
0 เรี ย นและจากแหล ง ข อ มู ล สารสนเทศ เพื่ อ
1
0n เปนการสรางความเขาใจเกี่ยวกับปฏิกิริยา
91
235
92U พลังงาน 141 Ba นิวเคลียรมากขึ้น
36Kr 56
91
36Kr
235 U
92 1
0n 1n
235 U 0
1n 92
1
พลังงาน 0 1n
0n
พลังงาน 0
1n
0 1n
0
235 U
141
56Ba
141 Ba 92
56 91
พลังงาน 36Kr
1n
0
1n
0
ภาพที่ 7.26 การเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ 1n
ที่มา : คลังภาพ อจท. 0
141
56Ba

ใน พ.ศ. 2485 แฟร์มเี ป็นคนแรกทีส่ ามารถควบคุมอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ให้สม�า่ เสมอได้


โดยควบคุมจ�านวนนิวตรอนที่จะท�าให้เกิดฟิชชัน เครื่องมือที่ผลิตพลังงานนิวเคลียร์ที่สามารถ
ควบคุมอัตราการเกิดฟิชชันและปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ได้ เรียกว่า เครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์ (nuclear reactor)
P hysics
Focus การแบ่งประเภทของธาตุตามเลขมวล
การแบ่งประเภทของธาตุตามเลขมวล สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ ธาตุเบา คือ ธาตุที่มี
เลขมวลอยู่ในช่วง 1-25 ธาตุขนาดกลาง คือ ธาตุที่มีเลขมวลอยู่ในช่วง 25-150 และธาตุหนัก คือ
ธาตุที่มีเลขมวลตั้งแต่ 150 ขึ้นไป

ฟิสิกส์อะตอม 161

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ ครูอาจนําเสนอหรือใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียนเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ
และผลที่ไดจากการเกิดปฏิกิริยาฟชชันผานสถานการณจําลองบน นิวเคลียร ซึ่งเปนเครื่องมือที่ผลิตพลังงานนิวเคลียรและสามารถนําพลังงาน
คอมพิวเตอรแบบมีปฏิสัมพันธ (interactive simulation) เรื่อง เหลานั้นไปเปลี่ยนรูปเปนพลังงานไฟฟาได โดยครูอาจนําเนื้อหาจากหนังสือ
นิวเคลียรฟชชัน แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลกิจกรรมที่ได เรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 หนวยการเรียนรู
โดยครูใหนักเรียนเขาไปศึกษาจาก https://phet.colorado.edu/ ที่ 3 พลังงาน มาอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนไดเรียนรูประกอบกับเนื้อหาที่กําลัง
th/simulation/legacy/nuclear-fission ศึกษาอยู ซึ่งเนื้อหาในหนังสือที่แนะนํานี้จะมีสวนหนึ่งที่กลาวถึงสวนประกอบ
สําคัญภายในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร โดยเปนกลไกสําคัญในการควบคุมอัตรา
การเกิดฟชชันและปฏิกิริยาลูกโซที่เกิดขึ้น

T173
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
9. เมื่ อ นั ก เรี ย นสร า งสรรค ผ ลงานและจั ด ทํ า 6.2 ฟิวชัน
บอรดความรูเสร็จแลว ครูถามคําถามทาทาย ปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมนิวเคลียสของธาตุเบา 2 นิวเคลียส แล้วเกิดเป็นนิวเคลียสของ
การคิดขั้นสูงจากหนังสือเรียนกับนักเรียน ธาตุหนัก เรียกว่า ฟิวชัน (fusion) ซึ่งจะมีการปล่อยพลังงานนิวเคลียร์ออกมา การที่นิวเคลียสจะ
10. ครูใหนกั เรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอบอรด รวมกันได้นั้นจะต้องท�าให้มีอุณหภูมิสูงมาก ๆ จึงอาจเรียกปฏิกิริยานี้ว่า เทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชัน
ความรู  ข องกลุ  ม ตนเอง พร อ มทั้ ง อธิ บ าย (thermonuclear fusion)
องค ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ ฟ ช ชั น และฟ ว ชั น จาก
ปฏิกิริยาฟิวชันของธาตุที่เบาที่สุดอย่างไฮโดรเจน คือ แหล่งก�าเนิดพลังงานบนดวงอาทิตย์
ที่ไดศึกษาทั้งหนังสือเรียนและแหลงขอมูล
กล่าวคือ นิวเคลียสของไฮโดรเจน 4 ตัว จะหลอมรวมตัวกันได้เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม พร้อมทั้ง
สารสนเทศ
ปล่อยอนุภาคโพซิตรอนออกมา อีกทั้งยังให้พลังงานออกมา 26 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ซึ่งการเกิด
11. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 7.8 จาก
ปฏิกิริยานี้มีหลายขั้นตอน ดังภาพที่ 7.27 สามารถเขียนสมการสรุปได้ ดังนี้
หนั ง สื อ เรี ย น ซึ่ ง เป น ตั ว อย า งการคํ า นวณ ν
2H
เกีย่ วกับพลังงานนิวเคลียร โดยครูใหนกั เรียน 1H
1 1 γ
1H
จดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัว 1 1
1H
0 3
+1e 2He
ลงมือทํา (Doing) 1H
1 4He
2
12. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นขางๆ แลวรวมกัน ν
1
1H
3
ศึกษาแบบฝกหัด Topic Questions จาก 1H 2He
1
หนังสือเรียน โดยครูมอบหมายใหนักเรียน 1H
1
1H 2
แตละคนเขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหา 1 0 1H γ
+1e
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว ภาพที่ 7.27 ฟิวชันของไฮโดรเจนบนดวงอาทิตย์
13. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ ที่มา : คลังภาพ อจท.
เกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียรเพิ่มเติมจากแบบ 1
1H + 11H 2H + 0e + ν
1 +1 (7.29)
ฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร แ ละ 2H + 11H 3He + ν (7.30)
เทคโนโลยี ฟสกิ ส ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรู 1 2
3
ที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร 2He + 32He 4 1
2He + 2 1H (7.31)
แนวตอบ H. O. T. S. พลังงาน 26 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ สามารถค�านวณได้ H. O. T. S.
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ปฏิกริ ยิ าลูกโซในระเบิดปรมาณูจะเกิดขึน้ อยาง จากมวลทีห่ ายไปในปฏิกริ ยิ า ซึง่ ข้อมูลนีต้ รงกับทีน่ กั วิทยาศาสตร์
ปฏิ กิ ริ ย าลู ก โซ่
รวดเร็ว โดยไมมกี ารควบคุมปฏิกริ ยิ า ทําใหเกิดการ พบว่า มวลของดวงอาทิตย์นั้นมีการลดลงอย่างช้า ๆ ส�าหรับ
ในระเบิดปรมาณู
ปลดปลอยพลังงานออกมาอยางมหาศาล มีความ บนโลกฟิวชันของไฮโดรเจนสามารถเกิดขึน้ ได้ในห้องทดลองหรือ มีความแตกต่าง
สามารถในการทําลายลางสิง่ ตางๆ ได สวนปฏิกริ ยิ า เครื่องโทคาแมก (Tokamak) เท่านั้น ซึ่งจะเกิดจากการหลอม จากปฏิ กิ ริ ย าลู ก โซ่ ใ นเครื่ อ ง
ลูกโซในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรสามารถทําการ รวมกันของดิวเทอรอนไปในนิวเคลียสของฮีเลียม ปฏิกรณ์นิวเคลียร์อย่างไร
ควบคุมปฏิกิริยาลูกโซใหเกิดอยางพอเหมาะได จึง 162
สามารถนําพลังงานที่เกิดขึ้นไปใชในทางสันติเพื่อ
สรางประโยชนใหแกมนุษยชาติ

สื่อ Digital แนวตอบ Topic Questions


1. จากสมการ E = (Δm)(931 MeV/u)
ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง นิวเคลียรฟว ชัน : วิธี
E = (0.075 u)(931 MeV/u)
แบบรอนและแบบเย็น https://www.twig-aksorn.com/film/nuclear-fusion-
the-hot-and-cold-science-8328/ E = (69.825 MeV)(1.6 × 10-19 J/MeV)
E = 111.72 × 10-19 J
คํานวณหาพลังงานที่ไดใน 1 วินาที
จากสมการ P = Wt
931 W = 1Ws
W = 931 J
จํานวนครั้งที่เกิดฟชชัน = 931 J
111.72 × 10-19 J
= 8.33 × 1019 ครั้งตอวินาที
ดังนัน้ จะตองเกิดฟชชัน 8.33 × 1019 ครัง้ ตอวินาที จึงจะทําใหไดกาํ ลัง
งาน 931 วัตต

T174
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
ตัวอย่างที่ 7.8 นักเรียนอธิบายสรุปความรูเกี่ยวกับปฏิกิริยา
ในโรงงานผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินโรงงานหนึ่ง พบว่า การเผาถ่านหินจ�านวน 1 กิโลกรัม ให้ความร้อน นิ ว เคลี ย ร ที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว พร อ มทั้ ง ยก
4,000 กิโลแคลอรี ต้องใช้ปริมาณถ่านหินจ�านวนเท่าใดเพื่อให้ความร้อนที่เกิดขึ้นมีปริมาณเท่ากับ ตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่
ความร้อนทีเ่ กิดจากมวลทีห่ ายไปของยูเรเนียม-235 ในปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ฟชิ ชันจ�านวน 1.4 กรัม ก�าหนดให้ เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ
1 กิโลแคลอรี เท่ากับ 4.2 กิโลจูล 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ยัง
วิธีท�า ค�านวณหาพลังงานความร้อนที่ได้จากยูเรเนียม 1.4 กรัม ไมเขาใจหรือสงสัย จากนั้นครูใช PowerPoint
จากสมการที่ 7.23 E = (Δm)c2 เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร มาเปดใหนักเรียนดู
E = (1.4 × 10-3 kg)(3 × 108 m/s)2 ประกอบเพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมาก
E = 1.26 × 10-14 J ยิ่งขึ้น
เนื่องจาก 1 กิโลแคลอรี เท่ากับ 4.2 กิโลจูล 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ ปฏิ กิ ริ ย า
-14 J
จะได้ว่า E = 1.26 × 10 3 นิวเคลียร โดยสรางสรรคออกมาในรูปแบบของ
4.2 × 10 J/kcal
E = 3 × 1010 kcal อินโฟกราฟก ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้ง
ค�านวณหาปริมาณถ่านหินที่ต้องใช้ ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพือ่ ตรวจ
เนื่องจากการเผาถ่านหินจ�านวน 1 กิโลกรัม ให้ความร้อน 4,000 กิโลแคลอรี ใหคะแนน
จะได้ว่า ปริมาณถ่านหิน = 3 × 1010 kcal
4,000 kcal/kg
ปริมาณถ่านหิน = 7.5 × 106 kg ขัน้ ประเมิน
ดังนั้น ต้องใช้ปริมาณถ่านหินจ�านวน 7.5 × 106 กิโลกรัม เพื่อให้ความร้อนที่เกิดขึ้นมีปริมาณเท่ากับ 1. ประเมินความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร
ความร้อนทีเ่ กิดจากมวลทีห่ ายไปของยูเรเนียม-235 ในปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ฟชิ ชันจ�านวน 1.4 กรัม โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม การทํา
แบบฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ
Core Concept 2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง ศาสตรจากการคํานวณหาพลังงานนิวเคลียร
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
Topic จากตัวอยางทีค่ รูกาํ หนดให และการนําความรู
Questions ที่ไดไปใชประโยชน
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
1. การเกิดปฏิกริ ยิ าฟิชชันของธาตุหนึง่ ท�าให้ผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกริ ยิ าลดลง 0.075 u อยากทราบว่า พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น
ปฏิกิริยาฟิชชันของธาตุนี้คายพลังงานออกมาเท่าใด และจะต้องเกิดฟิชชันกี่ครั้งต่อวินาที จึงจะท�าให้ได้ การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค
ก�าลังของงาน 931 วัตต์
2. เหตุใดปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ฟวิ ชันบนดวงอาทิตย์จงึ ไม่สามารถท�าให้เกิดขึน้ ได้บนโลก และจะต้องท�าอย่างไร
หากต้องการให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันบนโลก

ฟิสิกส์อะตอม 163

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


2. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันเปนกระบวนการหลอมรวมธาตุเบาใหเกิด ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร
เปนธาตุหนัก ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันภายในดวงอาทิตยสามารถเกิด
ไดจากอินโฟกราฟกทีน่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ สรุป โดยศึกษาเกณฑการวัดและ
ขึ้นได เนื่องจากที่แกนกลางของดวงอาทิตยมีอุณหภูมิสูงและมีความ
ประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการ
หนาแนนมาก โดยทั่วไปนิวเคลียส 2 นิวเคลียส จะผลักกันตามแรง
จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
คูลอมบ (Coulomb force) เนื่องจากมีประจุบวกเหมือนกัน แตที่
แกนกลางของดวงอาทิตยมอี ณ ุ หภูมสิ งู มากพอและมีความหนาแนนมาก แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3-6, 8 เกณฑ์ประเมินอินโฟกราฟิก

จนกระทั่งนิวเคลียสทั้งสองอยูใกลกันมากและสามารถเอาชนะแรง แบบประเมินผลงานอินโฟกราฟิก
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้อง

คูลอมบได สงผลใหเกิดปฏิกริ ยิ านิวเคลียรฟว ชันได กลาวไดวา อุณหภูมิ


จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
4 3 2 1
สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

บนโลกยังไมสงู พอทีจ่ ะทําใหเกิดฟวชันแบบดวงอาทิตยได นัน่ หมายถึง


1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม

โลกจะตองมีอณ ุ หภูมสิ งู กวา 100 ลานเคลวิน โดยประมาณ ดังนัน้ หาก


ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ตองการทําใหเกิดฟวชันบนโลกจะตองใชหองปฏิบัติการและเครื่องมือ
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี

ที่มีประสิทธิภาพอยางเครื่องโทคาแมกเทานั้น 8–10
ต่ากว่า 8
พอใช้
ปรับปรุง

T175
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครูและนักเรียนรวมกันพูดคุยทบทวนและสรุป พลังงานนิวเคลียร 7. ประโยชน์และอันตรายของรังสี
ความรูเกี่ยวกับนิวเคลียสของธาตุ การแผรังสี สามารถนําไปใชใน
ของธาตุกมั มันตรังสี รวมทัง้ พลังงานนิวเคลียร อุตสาหกรรมไดหรือไม
และพลังงานนิวเคลียร์
ที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว ในหน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 7 อยางไร ในธรรมชาติมธี าตุกมั มันตรังสีอยู ่ จึงท�าให้มกี ารแผ่รงั สีและ
ฟสิกสนิวเคลียร รังสีเหล่านัน้ ส่งผลต่อมนุษย์เมือ่ ได้รบั รังสี เพราะเหตุนจี้ ากความรู้
2. ครูชกั ชวนนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับสถานการณ เกี่ยวกับนิวเคลียส การแผ่รังสีของธาตุกัมมันตรังสี และพลังงานนิวเคลียร์ เราสามารถน�าความรู้
เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้มากมาย ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการป้องกันตนเอง
ที่มีการนํากัมมันตภาพรังสีไปใชประโยชน
จากการได้รับรังสีหรืออันตรายอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
3. ครูเปดวีดทิ ศั นเกีย่ วกับการนํากัมมันตภาพรังสี
ไปใชประโยชนใหนักเรียนดู เพื่อกระตุนความ 7.1 ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสี
สนใจและนําเขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษา 1. การใช้กัมมันตภาพรังสีในการเกษตรกรรม
4. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน 1) น�ากัมมันตภาพรังสีไปใช้ในการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดยทีก่ มั มันตภาพรังสีจะไปท�าให้ยนี
เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาโดยใชคําถาม Key เกิดการเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรม ท�าให้ได้พนั ธุใ์ หม่ทดี่ กี ว่าเดิม ให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ และต้านทาน
Question จากหนังสือเรียน โรคได้ดีด้วย กัมมันตภาพรังสีที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 นอกจากนี้ ยังใช้รังสี
แกมมาจากโคบอลต์-60 ไปอาบตัวแมลงเพื่อให้แมลงตัวนั้นเป็นหมัน แล้วปล่อยแมลงที่เป็นหมัน
ขัน้ สอน กระจายออกไป เป็นการก�าจัดแมลงหรือหยุดการขยายพันธุ์อีกวิธีหนึ่ง
รู้ (Knowing) 2) น�ากัมมันตภาพรังสีไปใช้เป็นตัวติดตาม โดยจะน�าข้อมูลที่ได้จากตัวติดตามไปใช้ใน
1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้ การเพิ่มผลผลิตทางด้านปศุสัตว์ พืชผล และการก�าจัดแมลง นอกจากนี้ ยังน�ากัมมันตภาพรังสี
รวมกันศึกษาเกี่ยวกับประโยชนของกัมมันต- ไปศึกษาเกีย่ วกับผลของรังสีทมี่ ตี อ่ การเปลีย่ นแปลงยีนของพืชและการก�าจัดแมลง เช่น การศึกษา
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช โดยใช้คาร์บอน-14 และออกซิเจน-18 เป็นตัวติดตาม ส�าหรับ
ภาพรังสีจากหนังสือเรียน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของน�้าในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส�าหรับการใช้
กัมมันตภาพรังสีในการปรับปรุงพันธุ์พืช โดยที่กัมมันตภาพรังสีไปท�าให้ยีนเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางพันธุกรรม ท�าให้ได้พันธุ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิมเพื่อให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น และต้านทานโรคได้ดี
ด้วยแสง
2. การใช้กัมมันตภาพรังสีในการแพทย์ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ดังนี้
1) วินิจฉัยโรค โดยทั่วไปที่ใช้ในโรงพยาบาลต่าง ๆ ในปัจจุบัน เช่น เครื่องฉายรังสีเอกซ์
แนวตอบ Key Question ใช้วินิจฉัยโรคที่เกิดขึ้นภายในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับกระดูกและกระเพาะอาหาร
2) บ�าบัดรักษา ส่วนใหญ่จะน�ากัมมันตภาพรังสีไปใช้รักษาโรคมะเร็ง โดยการฉายรังสี
ได เนือ่ งจากอุตสาหกรรมตางๆ มักจําเปนตอง ของโคบอลต์-60 ไปยังบริเวณที่มีเนื้อร้าย กัมมันตภาพรังสีจะไปท�าลายเซลล์ของเนื้อร้าย เมื่อ
ใชพลังงานไฟฟาเปนจํานวนมาก และแหลงพลังงาน กัมมันตภาพรังสีไปถูกเนือ้ ร้ายจะคายพลังงานให้แก่อเิ ล็กตรอนทีอ่ ยูใ่ นอะตอม ซึง่ เกาะตัวเป็นโมเลกุล
ไฟฟาที่สําคัญแหลงหนึ่ง คือ โรงไฟฟานิวเคลียร ของเซลล์เนื้อร้าย จึงท�าให้โมเลกุลแตกตัวออกจากเซลล์และหยุดการเจริญเติบโตของเนื้อร้าย
ซึง่ เปนพลังงานไฟฟาทีไ่ ดมาจากพลังงานนิวเคลียร 164
ในเครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร จากนัน้ ผานกระบวนการ
ตางๆ เพื่อผลิตเปนพลังงานไฟฟา

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง การลดความเสี่ยง ขอใดเปนหลักการพิจารณาการนําสารกัมมันตรังสีมาใชเพือ่ การ
จากรังสี https://www.twig-aksorn.com/film/reducing-radiation-risk-8327/ วินิจฉัยและรักษาโรค
ก. เวลาครึ่งชีวิต
ข. ปริมาณความเขมของรังสี
ค. ชนิดของปฏิกิริยานิวเคลียร
ง. ไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสี
1. ขอ ก. ขอ ข. และขอ ค. 2. ขอ ก. ขอ ข. และขอ ง.
3. ขอ ก. ขอ ค. และขอ ง. 4. ขอ ข. ขอ ค. และขอ ง.
5. ขอ ก. ขอ ข. ขอ ค. และขอ ง.
(วิเคราะหคําตอบ หลักการพิจารณาการนําสารกัมมันตรังสีมาใช
เพื่อการวินิจฉัยและรักษาโรค มีดังนี้ เวลาครึ่งชีวิต ปริมาณความ
เขมของรังสี และไอโซโทปของธาตุกมั มันตรังสี ดังนัน้ ตอบขอ 2.)

T176
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

3) ศึ 2. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากแหลง
1 กษาและวิจยั โดยใช้โคบอลต์-51 ในการศึกษาปริมาณของเม็ดเลือดแดงและปริ 2 มาณ
ของน�า้ เลือด (
ด (plasma) ในผู
) ในผูท้ ปี่ ว่ ยด้วยโรคต่าง ๆ หรือใช้ทริเทียมในการศึกษาโฟเลตทีจ่ บั กับโปรตีน ข อ มู ล สารสนเทศเกี่ ย วกั บ ประโยชน ข อง
(folate binding protein) ในเซรุ่มของสตรีมีครรภ์และผู้ที่ใช้ยาคุมก�าเนิด กัมมันตภาพรังสีในดานตางๆ โดยใหนักเรียน
3. การใช้กัมมันตภาพรังสีในด้านอุตสาหกรรม แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ จดบั น ทึ ก เป น องค ค วามรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก
1) การถ่ายภาพด้วยรังสี (radiography) เมือ่ กัมมันตภาพรังสีผา่ นเข้าไปในส่วนทีต่ อ้ งการ ประจําตัว
ตรวจสอบ จะท�าให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มที่มีความไวต่อรังสี วิธีการนี้ใช้ในการตรวจสอบรอยร้าว 3. ครู ข ออาสาสมั ค รนั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น
ของวัตถุหนา ๆ เช่น ในการต่อเรือหรือต่อท่อต่าง ๆ เมื่อมีรอยรั่วหรือรอยร้าวเกิดขึ้น จะท�าให้การ เรียน จากนั้นอภิปรายผลการศึกษาเกี่ยวกับ
ดูดกลืนของรังสีในบริเวณนั้นแตกต่างออกไป จึงท�าให้เกิดภาพขึ้นบนแผ่นฟิล์ม ท�าให้สามารถหา ประโยชนของกัมมันตภาพรังสีที่ไดศึกษาจาก
ต�าแหน่งของรอยร้าวหรือรอยรั่วนั้นได้ หนังสือเรียนและแหลงขอมูลสารสนเทศ เพื่อ
2) ใช้เป็นหัววัด (gauge) การวัดความหนาของวัตถุเพื่อให้ผลผลิตทางอุตสาหกรรม เปนการศึกษารวมกันกับเพื่อนในชั้นเรียน
มีความรวดเร็วขึ้น โดยให้วัตถุที่ต้องการวัดนี้เคลื่อนที่ผ่านหัววัดอย่างสม�่าเสมอตามเกณฑ์ของ 4. ครูสุมนักเรียนแลวถามคําถามวา นอกเหนือ
หัววัดที่ตั้งไว้ แล้วต่อไปยังเครื่องมือบอกสัญญาณ เมื่อวัตถุมีขนาดผิดปกติก็จะมีสัญญาณเตือน จากหนั ง สื อ เรี ย นแล ว กั ม มั น ตภาพรั ง สี ยั ง
4. การใช้กัมมันตภาพรังสีหาอายุของวัตถุโบราณ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทาง สามารถนําไปใชประโยชนในดานใดไดอกี บาง
ฟิสกิ ส์หรือทางเคมีไม่ทา� ให้การสลายของธาตุกมั มันตรังสีเปลีย่ นแปลงกระบวนการ และการสลาย ในชีวิตประจําวัน
ของธาตุกัมมันตรังสีสามารถบอกเวลาได้แน่นอนจากค่าครึ่งชีวิต เช่น ถ้าต้องการทราบอายุของ
ซากดึกด�าบรรพ์หรือหินแร่ต่าง ๆ เราก็วัดกัมมันตภาพรังสีที่อยู่ในซากดึกด�าบรรพ์หรือหินแร่ที่
เราต้องการหาอายุ แล้วน�าไปค�านวณหาครึ่งชีวิตหรืออายุของสิ่งนั้น ซึ่งธาตุกัมมันตรังสีที่นิยม
ใช้ค�านวณหาครึ่งชีวิตของซากดึกด�าบรรพ์ เช่น คาร์บอน-14
Physics
โพแทสเซียม-40 และยูเรเนียม-238 in real life
5. การใช้กมั มันตภาพรังสีในการถนอมอาหาร โดยที่
กัมมันตภาพรังสีจะไปท�าลายหรือท�าให้จุลินทรีย์ที่ท�าให้อาหาร
เสียไม่ให้เจริญเติบโต ในปัจจุบันการใช้กัมมันตภาพรังสีในการ
ถนอมอาหารมี 2 วิธี ที่นิยมใช้กัน ดังนี้ ภาพที่ 7.28 สัญลักษณ์ที่ติด
1) ใช้กัมมันตภาพรังสีที่มีปริมาณสูงฉายลงไปบน บนบรรจุภัณฑ์อาหารที่ผ่าน
อาหาร เพื่อเป็นการถนอมอาหารให้เก็บรักษาได้นานขึ้น โดย การฉายรังสี
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ไม่ต้องเก็บไว้ในเครื่องท�าความเย็น
อาหารที่ ผ ่ า นการฉายรั ง สี จ ะ
2) ใช้กัมมันตภาพรังสีที่มีปริมาณต�่าฉายลงไปบน มีลัญลักษณ์ ดังภาพที่ 7.28
อาหาร เพื่อที่จะฆ่าเชื้อโรคในอาหารและสามารถถนอมอาหาร ปรากฏอยู่บนบรรจุภัณฑ์
ให้อยู่ในระยะเวลาอันสมควร

ฟิสิกส์อะตอม 165

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การถนอมอาหารในอุตสาหกรรมขนาดใหญ มักจะนิยมใช 1 นํ้าเลือด หรือพลาสมา (plasma) คือ สวนประกอบของเลือด (blood)
กั ม มั น ตภาพรั ง สี ช นิ ด ใดในการฉายลงบนผลไม เ พื่ อ คงสภาพ ที่เปนของเหลว มีลักษณะเปนสีเหลืองใส โดยทั่วไปในเลือดจะประกอบดวย
ความสดและไมใหผลไมนั้นเสียงาย สามารถเก็บรักษาไวไดเปน พลาสมาในอัตราสวนรอยละ 55 ซึง่ ในสวนของพลาสมานีส้ ว นใหญจะเปนนํา้ และ
เวลานาน ที่เหลืออื่นๆ จะเปนโปรตีน วิตามิน เกลือแร เอนไซม และฮอรโมน พลาสมาได
1. รังสีเอกซ 2. รังสีแกมมา จากการนําเลือดไปปน เหวีย่ งและเติมสารปองกันการแข็งตัวของเลือดลงไป ทําให
3. รังสีแอลฟา 4. รังสีบีตาลบ พลาสมาสามารถแยกชั้นจากเซลลเม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด และเซลลเม็ดเลือด
5. รังสีบีตาบวก แดงไปอยูชั้นบนสุดได
(วิเคราะหคําตอบ กัมมันตภาพรังสีท่ีนิยมในการฉายรังสีลงบน 2 โฟเลต (folate) หรือกรดโฟลิก คือ วิตามินบีชนิดหนึ่งที่สามารถละลาย
ผลไม เ พื่ อ คงสภาพความสดและไม ใ ห ผ ลไม นั้ น เสี ย ง า ยเป น ในนํ้าได (วิตามินบี 9) โฟเลตมีหนาที่ชวยใหรางกายสรางเซลลเม็ดเลือดแดง
กัมมันตภาพรังสีชนิดรังสีแกมมา ซึ่งเปนรังสีที่ไมมีมวลและไมมี และชวยเรงการแบงเซลลอยางมีประสิทธิภาพ มีความสําคัญตอรางกายมุนษย
ประจุไฟฟา จึงไมทําใหผลไมนั้นเสียสภาพจากการฉายรังสี และ ในการเจริญเติบโตและการสืบพันธุเ ปนอยางมาก ประโยชนของโฟเลตมีมากมาย
ไมมีรังสีเหลืออยูในอาหารที่ทําการฉายดวยรังสีนี้ ดังนั้น ตอบ เชน สรางภูมิตานทานโรคในตอมไทมัสใหแกทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก ควบคุม
ขอ 2.) การทํางานของสมอง ชวยในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องตับใหมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้
T177
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต 7.2 การใช้พลังงานนิวเคลียร์
เกีย่ วกับอาหารทีผ่ า นการฉายรังสี โดยสรุปองค
ความรูลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงให
สวยงาม เสร็จแลวตัวแทนเก็บรวบรวมสงครู
6. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ
ประโยชนของกัมมันตภาพรังสีจากทีไ่ ดรว มกัน
ศึกษาในดานตางๆ เชน การใชกมั มันตภาพรังสี
ในด า นเกษตรกรรม ด า นการแพทย ด า น โรงไฟฟานิวเคลียร์
อุตสาหกรรม ดานธรณีวิทยา ดานอาหาร โ รงงานผลิตกระแสไฟฟ้าที่ใช้ความร้อนจากปฏิกิริยาแตกตัวทางนิวเคลียร์หรือฟิชชัน (fission reaction) ท�าให้น�้ากลายเป็น
7. ครูใหนักเรียนคูเดิมที่ไดแบงไวแลวรวมกัน ไอน�้าที่มีแรงดันสูง แล้วส่งไอน�้าไปหมุนกังหันซึ่งต่อกับเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า
ศึกษาเกี่ยวกับการใชพลังงานนิวเคลียรและ ประเภท
รั ง สี ใ นธรรมชาติ จากหนั ง สื อ เรี ย น โดย โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบปฏิกรณ์ความดันสูง (Pressurized Water Reactor; PWR)
จดบั น ทึ ก สรุ ป องค ค วามรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก 2. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบปฏิกรณ์น�้าเดือด (Boiling Water Reactor; BWR)
ประจําตัว 3. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบปฏิกรณ์น�้ามวลหนัก (Pressurized Heavy Water Reactor; PHWR)
8. ครู เ ป ด วี ดิ ทั ศ น เ กี่ ย วกั บ การทํ า งานของโรง ปฏิกิริยา
ไฟฟานิวเคลียรใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม ปฏิกิริยาฟิชชันเกิดจากการที่อนุภาคนิวตรอนพลังงานต�่าพุ่งชนนิวเคลียสของ
เพือ่ ใหเกิดความเขาใจเกีย่ วกับการทํางานและ ยูเรเนียม-235 นิวเคลียสจึงแตกตัวแล้วปลดปล่อยพลังงานออกมา และมีนิวตรอน
หลุดออกมา 2-3 ตัว ซึ่งนิวตรอนนี้จะพุ่งชนนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 ตัวอื่น ๆ
สวนประกอบตางๆ ของโรงไฟฟานิวเคลียร ท�าให้เกิดปฏิกิริยาต่อเนื่อง เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่
มากยิ่งขึ้น
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบปฏิกรณ์น�้าเดือด
9. ครูสุมนักเรียนอภิปรายผลการศึกษาเกี่ยวกับ อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ : กังหันไอน�้า : ต่อกับเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า ระบบการท�างาน
การใชพลังงานนิวเคลียร ป้องกันไม่ให้รังสีออกสู่
1 ความร้อนจากปฏิกริ ยิ าฟิชชันถ่ายโอนให้แก่นา�้
สิ่งแวดล้อม
เครื่องก�าเนิดไฟฟ้า : ผลิตกระแสไฟฟ้า ที่อยู่ภายในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
2 นา�้ ทีไ่ ด้รบั ความร้อนจะมีอณุ หภูมสิ งู ขึน้ กลาย
3 เป็นไอน�า้ ความดันสูงซึง่ ไปหมุนกังหันไอน�า้
2
3 เมื่อกังหันไอน�้าหมุนจะท�าให้เครื่องก�าเนิด
5 ไฟฟ้าหมุน ส่งผลให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น
1 4 4 ไอน�้าถูกควบแน่นโดยเครื่องควบแน่นไอน�้า
แล้วส่งไปยังหอระบายความร้อน
5 นา�้ ถูกท�าให้เย็นลงแล้วถูกส่งกลับไปยังเครือ่ ง
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ : ภายใน หอระบายความร้อน : ท�าให้นา้� เย็นลงเพือ่
บรรจุเชือ้ เพลิง แท่งควบคุม และน�า้ ส่งกลับไปใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ปฏิกรณ์นิวเคลียร์

ภาพที่ 7.29 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์


166 ที่มา : คลังภาพ อจท.

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง อาวุธนิวเคลียร สารมอเดอร เ รเตอร ส ามารถควบคุ ม ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร ใ น
https://www.twig-aksorn.com/film/nuclear-weapons-8329/ เตาปฏิกรณนิวเคลียรไดอยางไร
(แนวตอบ สารมอเดอรเรเตอรมีหนาที่ทําใหนิวตรอนพลังงาน
สูง (fast neutron) เปลี่ยนเปนนิวตรอนพลังงานตํ่า (thermal
neutron) ทีม่ พี ลังงานนอยกวา 1 เมกะอิเล็กตรอนโวลต เพือ่ ทําให
เกิดฟชชันไดดี และคอยควบคุมปริมาณนิวตรอนที่มีพลังงานตํ่า
ใหมีปริมาณที่เหมาะสม)

T178
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
7.3 รัง สีในธรรมชาติ 10. ครูใหนกั เรียนแตละคูอ อกแบบและสรางสรรค
รอบตัวเรามีรงั สีทมี่ าจากแหล่งก�าเนิดหลายแหล่ง เช่น รังสีจากนอกโลก เรียกว่า รังสีคอสมิก ผลงานในการนําเสนอเกี่ยวกับอันตรายจาก
(cosmic rays) โดยแหล่งก�าเนิดใหญ่ที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ รังสีที่เกิดขึ้นบนโลก เป็นรังสีจาก รังสีลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงให
ไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีที่มาจากดิน หิน น�้า และแกส เช่น โพแทสเซียม-40 รูบิเดียม-87 สวยงาม
ยูเรเนียม-238 เรดอน-220 นอกจากนี้ ยังมีรังสีที่มนุษย์ พืช และสัตว์ สร้างขึ้นตามธรรมชาติ 11. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมานํ า เสนอผลงานของ
ด้วย เช่น ทริเทียม คาร์บอน-14 โพแทสเซียม-40 ทอเรียม-232 โดยปริมาณรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น ตนเองหนาชั้นเรียน โดยครูคอยสังเกตการณ
จะแตกต่างกันไปตามสภาพที่ได้รับ ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องดื่ม และยาชนิดต่าง ๆ และให คํ า แนะนํ า เมื่ อ นั ก เรี ย นสงสั ย หรื อ
1. อันตรายจากรังสี อันตรายที่เกิดต่อร่างกายเมื่อได้รับกัมมันตภาพรังสีจะขึ้นอยู่กับ ตองการความชวยเหลือ
ปริมาณของกัมมันตภาพรังสีในช่วงเวลาทีร่ า่ งกายได้รบั และส่วนของร่างกายทีร่ บั กัมมันตภาพรังสี ลงมือทํา (Doing)
นั้น หากได้รับปริมาณรังสีเข้าสู่ร่างกายมากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อร่างกายได้ ดังภาพที่ 7.30
12. ครูใหนักเรียนคูเดิมรวมกันศึกษาแบบฝกหัด
เปรียบเทียบปริมาณการได้รับรังสี Topic Questions จากหนังสือเรียน โดยครู
10 Sv เสียชีวิตภายใน 2-3 สัปดาห์ มอบหมายใหนักเรียนแตละคนเขียนแสดงวิธี
การแกโจทยปญ  หาลงในสมุดบันทึกประจําตัว
6 Sv ระดั บปริมาณรังสีที่ท�าให้ผู้ปฏิบัติงานในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิล
เสียชีวิตภายในเวลา 1 เดือน 13. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ
5 Sv ปริ มาณรังสีที่ได้รับในครั้งเดียวที่ท�าให้ผู้ได้รับรังสีเสียชีวิตร้อยละ 50
ภายในเวลา 1 เดือน เกี่ ย วกั บ ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร เ พิ่ ม เติ ม จาก
1 Sv ปริ มาณรังสีที่ได้รับในครั้งเดียวที่สามารถท�าให้เกิดอาการเจ็บป่วยทางรังสี
และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร
0.4 Sv ปริ มาณรังสีที่ตรวจวัดได้ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ต่อมไทรอยด์ : มีความเสีย่ ง และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ
(ของประเทศญี่ปุ่นหลังเกิดอุบัติเหตุ) ที่จะท�าให้เกิดโรคมะเร็งสูง
เรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร
0.35 Sv การได้ รับรังสีของผู้ที่พักอาศัยในเขตพื้นที่เชอร์โนบิล
ซึ่งย้ายทีอ่ ยู่ออกมา
เนื่องจากไทรอยด์ได้รับสาร
กัมมันตรังสี ไอโอดีน-131
0.10 Sv ขีในช่
ดจ�ากัดการได้รับรังสีส�าหรับผู้ปฏิบัติงานรังสีตลอด
วง 5 ปี ติดต่อกัน ปอด : เกิดการอักเสบ ติดเชือ้
และเกิดแผลในปอด
การตรวจทั้งร่างกายด้วยเครื่องถ่ายภาพรังสีส่วน
0.01 Sv ตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ต่อครั้ง เซลล์เม็ดเลือดแดง : เกล็ด
เลือดต�่ามีภาวะเลือดออก
0.002 Sv รังสีในธรรมชาติโดยทั่วไปต่อปี
กระเพาะอาหาร : คลื่นไส้
0.0004 เอกซเรย์เต้านมต่อครั้ง อาเจียน มีเลือดออกภายใน
Sv
0.0001 เอกซเรย์ทรวงอกต่อครั้ง ล�าไส้เล็ก/ล�าไส้ใหญ่ : ท้องร่วง
Sv มีเลือดออก เยื่อบุล�าไส้ถูก
ท�าลาย
0.00001 เอกซเรย์ฟนั ต่อครั้ง
Sv ไขกระดูก : เม็ดเลือดขาว
*ซีเวิร์ต (Sv) เป็นหน่วยของปริมาณรังสีสมมูล ลดลง (ถึง 50% ภายใน 48
ชั่วโมง) น�าไปสู่ภาวะความ
ภาพที่ 7.30 ปริมาณการได้รับรังสีและ เสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ
ผลกระทบของรังสีต่อร่างกายมนุษย์
ที่มา : สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ฟิสิกส์อะตอม 167

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นไปศึ ก ษาค น คว า ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง ขอมูลนารู: รังสีพนื้ หลัง
เกี่ยวกับเรื่อง รังสีในธรรมชาติ จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน https://www.twig-aksorn.com/film/factpack-background-radiation-
หองสมุด อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจยั ทัง้ ของในประเทศและของ 8330/
ตางประเทศ ซึง่ จะตองเปนแหลงขอมูลทีส่ ามารถเชือ่ ถือได จากนัน้
นําความรูที่ไดทั้งหมดมาเขียนสรุปความรู โดยนําเสนอออกมา
ในรูปแบบของรายงาน ลงในกระดาษ A4 โดยที่นักเรียนสามารถ
แทรกความรูเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากหนังสือเรียนลงไปในผลงาน
ของตนเองไดตามประเด็นที่สนใจ พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
เสร็จแลวตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมสงครู เมื่อนักเรียนและครู
เจอกันในชัว่ โมงถัดไป ครูอาจสุม นักเรียนจากการตรวจผลงานของ
นักเรียน เพื่อใหนักเรียนออกมาอภิปรายสรุปความรูหนาชั้นเรียน

T179
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
นักเรียนอธิบายสรุปความรูเกี่ยวกับประโยชน 2. การป้องกันอันตรายจากรังสี อันตรายจากกัมมันตภาพรังสีขนึ้ อยูก่ บั หลายปัจจัย เช่น
และอันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร ปริมาณพลังงานของกัมมันตภาพรังสีต่อมวลที่ถูกรังสี และความส�าคัญของอวัยวะส่วนที่ได้รับ
ที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว พร อ มทั้ ง ยกตั ว อย า ง กัมมันตภาพรังสี แต่ถ้าน�ากัมมันตภาพรังสีไปใช้อย่างถูกวิธีก็จะมีประโยชน์ในหลายด้าน ดังนั้น
สถานการณในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของเพื่อ ผู้ที่จะน�ากัมมันตภาพรังสีไปใช้ประโยชน์ต้องมีความรู้เรื่องกัมมันตภาพรังสีเป็นอย่างดี รู้จักวิธีใช้
ทดสอบความเขาใจ อย่างปลอดภัย และทราบถึงวิธปี อ้ งกันอันตรายจากกัมมันตภาพรังสีเหล่านัน้ โดยหลักการป้องกัน
2. ครู เ ป ด โอกาสให นั ก เรี ย นสอบถามเนื้ อ หาที่ อันตรายจากรังสีตามหลักของ ALARA (As Low As Reasonably Achievable) มี 3 ข้อ ดังนี้
ยังไมเขาใจหรือสงสัย จากนั้นครูอาจจะใช 1) เวลา (time) การปฏิบตั งิ านทางด้านรังสีตอ้ งใช้เวลาน้อยทีส่ ดุ เพือ่ ป้องกันไม่ให้รา่ งกาย
PowerPoint เรื่อง ประโยชนและอันตรายของ ได้รับรังสีเกินมาตรฐานที่ก�าหนดไว้ส�าหรับบุคคล
รังสีและพลังงานนิวเคลียร มาเปดใหนักเรียน 2) ระยะทาง (distance) ความเข้มของรังสีจะเปลีย่ นแปลงลดลงไปตามระยะทางจากสาร
ดูประกอบเพื่อชวยในการอธิบายใหเขาใจมาก ต้นก�าเนิดรังสี ส�าหรับต้นก�าเนิดรังสีที่เป็นจุดเล็ก ๆ ค่าความเข้มที่ลดลงจะแปรผกผันกับระยะทาง
ยกก�าลังสอง
ยิ่งขึ้น
3) เครือ่ งก�าบัง (shield) ความเข้มของรังสีเมือ่ ผ่านเครือ่ งก�าบังจะลดลง แต่จะมากหรือ
3. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับประโยชน
น้อยขึ้นอยู่กับพลังงานของรังสี สมบัติ ความหนาแน่น และความหนาของวัตถุที่ใช้เป็นก�าบัง
และอันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร
โดยสรางสรรคออกมาในรูปแบบของแผนพับ ในการท�างานทีเ่ กีย่ วกับรังสีนนั้ ตามปกติมกั ใช้หนุ่ ยนต์หรือแขนกลสัมผัสธาตุกมั มันตรังสี
ความรู ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงให แทนการใช้มนุษย์ โดยผู้ควบคุมหุ่นยนต์จะอยู่ห่างออกไปแล้วใช้ระบบรีโมตหรืออิเล็กทรอนิกส์
สวยงาม เสร็จแลวนําสงครูเพือ่ ตรวจใหคะแนน ควบคุมการท�างานของแขนกล ปัจจุบนั ได้มกี ารน�ารังสีจากธาตุกมั มันตรังสีมาใช้กนั อย่างแพร่หลาย
และมีแนวโน้มทีจ่ ะใช้มากยิง่ ขึน้ ในอนาคต จึงจ�าเป็นทีจ่ ะต้องหาทางป้องกันและศึกษาอันตรายทีเ่ กิด
ขัน้ ประเมิน จากรังสีเหล่านั้น ทั้งนี้ เพื่อให้การใช้รังสีจากสารกัมมันตรังสีเป็นประโยชน์และปลอดภัยต่อบุคคล
ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง ประโยชนและ
Core Concept
อันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร โดย
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
สั ง เกตพฤติ ก รรมการตอบคํ า ถาม การทํ า ประโยชน์และอันตรายของรังสีและพลังงาน
แบบฝกหัด และการสรุปสาระสําคัญ นิวเคลียร์
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา Topic
Questions
ศาสตร จ ากการสื บ ค น ข อ มู ล และนํ า เสนอ
ผลการศึกษาเกีย่ วกับการใชพลังงานนิวเคลียร ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. รังสีในธรรมชาติมีรังสีใดบ้าง และสามารถป้องกันอันตรายจากรังสีเหล่านั้นได้อย่างไร
และการนําความรูที่ไดไปใชประโยชน 2. หากได้รบั การบ�าบัดโรคด้วยสารกัมมันตรังสีหรือมีถนิ่ ฐานอยูใ่ กล้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะท�าให้รา่ งกายของ
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต เราได้รับผลกระทบจากกัมมันตภาพรังสีต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร
พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น 3. กัมมันตภาพรังสีเกี่ยวข้องกับการกลายพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์อย่างไร
การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค
168

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. ในธรรมชาติมรี งั สีมากมายหลายแหลงกําเนิดไมวา จะเปน รังสีคอสมิก
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ประโยชนและ จากนอกโลก รังสีจากพืน้ โลก และรังสีทมี่ นุษยสรางขึน้ โดยรังสีบางชนิด
อันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร ไดจากแผนพับความรูท นี่ กั เรียนไดสราง เราไมอาจหลีกเลีย่ งได เนือ่ งจากกิจกรรมในชีวติ ประจําวันของแตละคน
ขึ้นในขั้นสรุป โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ ดังนั้น หลักการปองกันอันตรายจากรังสีที่เปนมาตรฐานสากล คือ ลด
ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 เวลาในการทํากิจกรรมหรืออยูในสถานที่ที่ไดรับรังสี หลีกเลี่ยงหรือ
ฟสิกสนิวเคลียร รักษาระยะหางของตัวเรากับแหลงกําเนิดรังสี สุดทายหากหลีกเลี่ยง
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1, 7 เกณฑ์ประเมินแผ่นพับความรู้
ไมไดควรจะมีเครื่องกําบังหรืออุปกรณปองกันตนเองจากรังสี
แบบประเมินผลงานแผ่นพับความรู้
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแผ่นพับความรู้ของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น
1
ผลงานไม่สอดคล้อง
กับจุดประสงค์
2. การที่รางกายไดรับรังสีเขาไปในปริมาณเล็กนอย อาจไมสงผลกระทบ
ตอชีวติ โดยทันที แตหากมีการสะสมหรือไดรบั รังสีเขาสูร า งกายอยูเ สมอ
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ลาดับที่ รายการประเมิน 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

ซึ่งจะทําใหปริมาณของรังสีในรางกายสูงขึ้นและสงผลเสียตอรางกาย
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม

ของเราอยางแนนอน ถึงขั้นเสียชีวิตได
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

3. การแผรังสีอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของดีเอ็นเอในเซลลใดๆ ได
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10
ต่ากว่า 8
พอใช้
ปรับปรุง ความเสียหายและการตายของเซลล อันเปนผลมาจากการกลายพันธุ
ในเซลลรางกาย เกิดขึ้นเฉพาะในสิ่งมีชีวิตที่เกิดการกลายพันธุ โดยจะ
เกิดขึ้นในเซลลสืบพันธุ (อสุจิและไข) ซึ่งสามารถถายทอดสงตอไปยัง
T180 คนรุนตอไป อาจไมปรากฏทันทีแตจะเห็นผลไดในหลายๆ รุนตอไป
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
ความกาวหนาของฟสกิ ส 8. การค้นคว้าวิจัย 1. ครูและนักเรียนรวมกันพูดคุยทบทวนและสรุป
อนุภาค สงผลตอมนุษย ความรู  เ กี่ ย วกั บ ฟ สิ ก ส อ ะตอมและฟ สิ ก ส
อยางไร
ด้านฟิสิกส์อนุภาค นิวเคลียร ทําใหเห็นถึงความแตกตางในภาพ
ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 นักวิทยาศาสตร์หลายท่าน รวมของการศึกษาแตละเรื่อง
ได้ท�าการทดลองและมีการค้นพบโครงสร้างของอะตอม พบว่า อะตอมประกอบด้วยส่วนที่เล็ก 2. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาตอโดยใชคําถาม
ลงไปอีก เรียกว่า อนุภาคย่อยของอะตอม (subatomic particles) ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน กระตุนความสนใจวา “ฟสิกสอนุภาคมุงเนน
และอิเล็กตรอน จากการทดลองในช่วงปลายของศตวรรษที่ 20 ด้วยเครื่องเร่งอนุภาค (particle
ศึกษาสิ่งใด”
accelerators) ซึ่งสามารถเร่งอนุภาคให้มีความเร็วสูงและเข้าชนอะตอมที่เป็นเป้า จากนั้นท�าการ
(แนวตอบ ฟสกิ สอนุภาคมุง เนนศึกษาสมบัตขิ อง
ตรวจวัดและวิเคราะห์อนุภาคและรังสีที่เกิดขึ้นจากการชนกัน ข้อมูลเหล่านี้สามารถบอกเราได้ถึง
อนุภาคที่ประกอบกันเป็นอะตอมและแรงที่ยึดเหนี่ยวอะตอมไว้ด้วยกัน อนุภาค ซึ่งมีขนาดประมาณ 10-18 เมตร)
3. ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจของนักเรียน
ใน พ.ศ. 2473 นักวิทยาศาสตร์ได้ทดลองเกี่ยวกับรังสีคอสมิก ส่วนใหญ่เป็นอนุภาคที่มี เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาโดยใชคําถาม Key
พลังงานสูง เช่น โปรตอน เคลือ่ นทีจ่ ากอวกาศเข้าชนนิวเคลียสของอะตอมของตะกัว่ ท�าให้มอี นุภาค
Question จากหนังสือเรียน
ขนาดเล็กหลายชนิดกระจายออกมาภายหลังการชน อนุภาคเหล่านีไ้ ม่ใช่โปรตอนหรือนิวตรอน แต่
เล็กกว่านัน้ มาก นักวิทยาศาสตร์จงึ สรุปว่า นิวเคลียสจะต้องประกอบด้วยสิง่ ทีเ่ ล็กลงไปอีกและเป็น
อนุภาคที่เป็นพื้นฐานกว่า จนไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
8.1 แบบจําลองมาตรฐาน 1. ครูถามคําถามกับนักเรียนเพือ่ กระตุน ความคิด
ใน พ.ศ. 2507 เมอร์เรย์ เกลล์-แมนน์ (Murray Gell-Mann) และจอร์จ ซไวก์ (George ทําใหนักเรียนไดตั้งประเด็นสงสัย และสนใจ
Zweig) ต่างก็มีแนวคิดว่า ในโปรตอนและนิวตรอนแต่ละอนุภาคน่าจะประกอบด้วยองค์ประกอบ ที่จะศึกษาในเรื่องนั้นๆ วา “อนุภาคมูลฐาน
ที่เล็กกว่ามารวมตัวกันอยู่ และพบว่า ภายในโปรตอนและนิวตรอนประกอบด้วยอนุภาคอื่นที่มี คืออะไร มีอะไรบาง” โดยครูทิ้งชวงเวลาให
ขนาดเล็กลงไปอีก โดยอนุภาคต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ อนุภาคมูลฐาน (elementary นักเรียนคิดสักครูหนึ่ง ซึ่งครูจะยังไมตองการ
particle) และอนุภาคประกอบหรือแฮดรอน (hadron) (ซึง่ สามารถแบ่งออกเป็นแบริออน (baryon) คําตอบตอนนี้
และมีซอน (meson)) นักฟิสิกส์ได้ค้นคว้าวิจัยและพัฒนาทฤษฎีฟิสิกส์ของอนุภาคมูลฐานจนได้ 2. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
แบบจ�าลองมาตรฐาน (standard model) ซึ่งไม่ใช่แบบจ�าลอง แต่เป็นทฤษฎีฟิสิกส์ที่สามารถใช้
ร ว มกั น ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง แบบจํ า ลอง
อธิบายพฤติกรรมต่าง ๆ ของอนุภาคมูลฐานได้
มาตรฐานจากหนังสือเรียน
อนุภาคมูลฐาน เป็นอนุภาคที่ไม่มีโครงสร้างภายใน ไม่สามารถแบ่งแยกลงไปได้อีกหรือ
ไม่ได้เกิดจากการรวมกันของอนุภาคอื่น ๆ สามารถจ�าแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ แนวตอบ Key Question
1. เฟร์ มิ อ อน (fermion) หรืออนุภาคที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสสารทั่วไป จากการคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาค นําไป
แบ่งออกเป็นควาร์ก (quark) และเลปตอน (lepton) สูการพัฒนาเทคโนโลยีหรือเครื่องมือตางๆ เพื่อ
2. โบซอน (boson) หรืออนุภาคที่เป็นสื่อของแรงระหว่างอนุภาคในกลุ่มเฟร์มิออน เช่น อํานวยความสะดวกหลากหลายดาน โดยดานที่
โฟตอน W-โบซอน Z-โบซอน กลูออน (gluon)
ฟิสิกส์อะตอม 169
สงผลโดยตรงตอมนุษย เชน ดานการแพทย เปน
ความกาวหนาในการตรวจวินิจฉัยและการรักษา
และดานการรักษาความปลอดภัย

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดไมใชอนุภาคมูลฐาน ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เครื่องเรงอนุภาค
1. ควารก 2. เลปตอน แฮดรอนขนาดใหญ https://www.twig-aksorn.com/film/large-hadron-
3. โฟตอน 4. กลูออน collider-7784/
5. นิวคลีออน
(วิเคราะหคําตอบ ควารกและเลปตอนเปนอนุภาคมูลฐานประเภท
เฟรมิออน โฟตอนและกลูออนเปนอนุภาคมูลฐานประเภทโบซอน
สวนนิวคลีออนเปนอนุภาคที่เปนองคประกอบของนิวเคลียสของ
อะตอม ไดแก โปรตอนและนิวตรอน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T181
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากแหลง ควาร์กมีทั้งหมด 6 ชนิด และควาร์กแต่ละชนิดจะมีแอนติควาร์ก (antiquark) ซึ่งมีมวลเท่า
ขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐาน โดย กับควาร์ก แต่จะมีประจุไฟฟ้าและสมบัติบางประการตรงกันข้ามกับประจุไฟฟ้าและสมบัตินั้น ๆ
ใหนกั เรียนจดบันทึกเปนองคความรูล งในสมุด ของควาร์ก เช่นเดียวกับอนุภาคอื่น ๆ เช่น อิเล็กตรอนก็จะมีแอนติอิเล็กตรอน คือ โพซิตรอน
บันทึกประจําตัว ดังนั้น อนุภาคกลุ่มควาร์กจะมีทั้งหมด 12 ชนิด สามารถสรุปได้ ดังตารางที่ 7.4
4. ครูใหนักเรียนนําโทรศัพทมือถือขึ้นมาสแกน ตารางที่ 7.4 : ชนิดและขอมูลเบื้องตนของอนุภาคกลุ่มควาร์ก
QR Code เรื่อง ควารก จากหนังสือเรียน เพื่อ ควาร์ก แอนติควาร์ก
ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล ชนิด มวล
สัญลักษณ์ ประจุไฟฟ้า สัญลักษณ์ ประจุไฟฟ้า
5. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้น
ครูใหนักเรียนเขียนแผนผังแสดงการจําแนก อัป (Up) u + 23 e u - 23 e 1.5-3.3 MeV/c2
อนุภาคมูลฐานแตละประเภทวามีอะไรบางบน ดาวน์ (Down) d - 13 e d + 13 e 3.5-6.0 MeV/c2
กระดานหนาชั้นเรียน
6. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียนในชัน้ เรียน แลวใหยนื ขึน้ ชาร์ม (Charm) c + 23 e c - 23 e 1.16-1.34 GeV/c2
อภิปรายสิ่งที่เพื่อนเขียนบนกระดาน แลวตอบ สเตรนจ์ (Strange) s - 13 e s + 13 e 70-130 MeV/c2
ครูวา สิ่งที่เพื่อนเขียนนั้นถูกทั้งหมดหรือมีจุด
ไหนผิดบาง และจุดทีผ่ ดิ ควรจะแกไขเปนอะไร ท็อป (Top) t + 23 e t - 23 e 169.0-173.6 GeV/c2
7. ครูใหนักเรียนจดบันทึกตารางแสดงชนิดและ บอตทอม (Bottom) b - 13 e b + 13 e 4.13-4.37 GeV/c2
ขอมูลเบื้องตนของอนุภาคกลุมควารก จาก
หนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว เมื่อควาร์ก 3 อนุภาค มารวมกัน โดยยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยอันตรกิริยาอย่างเข้มหรือแรงเข้ม
8. ครูสมุ นักเรียนใหออกมาเขียนแสดงการรวมกัน (strong force) จะก่อให้เกิดอนุภาคใหม่ที่มีขนาดใหญ่กว่า เป็นอนุภาคที่อยู่ในกลุ่มแบริออน เช่น
ของควารกแตละชนิดเปนอนุภาคหนึ่งๆ ตาม โปรตอน นิวตรอน และเมื่อควาร์ก 1 อนุภาค รวมกับแอนติควาร์ก 1 อนุภาค จะก่อให้เกิดอนุภาค
ที่ครูกําหนดให พรอมทั้งแสดงวิธีการคํานวณ ในกลุ่มมีซอน เช่น ไพออน (pion) เคออน (kaon) ดังภาพที่ 7.31
เพื่อตรวจสอบประจุไฟฟาของอนุภาคนั้นๆ q = 23 e + 23 e + (- 13 e) u u u d q = 23 e + (- 13 e) + (- 13 e)
q = +1e d d q = 0
p (ก) n

q = 23 e + 13 e u u s q = (- 23 e) + (- 13 e)
d
q = +1e q = -1e
π+ (ข) K-
ภาพที ่ 7.31 ควาร์กองค์ประกอบของอนุภาคกลุม
่ แบริออน (ก) และกลุม่ มีซอน (ข)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
170 ควารก

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่อง แบบจําลองมาตรฐาน แรงในขอใดเปนแรงทีย่ ดึ เหนีย่ วใหควารก 3 อนุภาค รวมตัวกัน
นอกจากภาพหรือเนื้อหาจากหนังสือเรียนแลว ครูอาจนําวีดิทัศนจากแหลง จนเกิดเปนอนุภาคใหมที่ใหญขึ้น
ขอมูลสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือมาใชประกอบการสอนหรือเปดใหนักเรียน 1. แรงเขม
ไดศกึ ษาเพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนไดเขาใจเกีย่ วกับความหมายและสิง่ ทีเ่ กีย่ วของ 2. แรงออน
กับเนื้อหามากขึ้น เชน ภาพยนตรอธิบายคําศัพทวิทยาศาสตรจาก Twig เรื่อง 3. แรงพยุง
ควารก ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.twig-aksorn.com/film/ 4. แรงโนมถวง
glossary/quark-6876/ 5. แรงแมเหล็กไฟฟา
(วิเคราะหคําตอบ เมือ่ ควารก 3 อนุภาค มารวมกัน โดยยึดเหนีย่ ว
กันไวดว ยอันตรกิรยิ าอยางเขมหรือแรงเขมจะกอใหเกิดอนุภาคใหม
ที่มีขนาดใหญกวา เปนอนุภาคที่อยูในกลุมแบริออน เชน โปรตอน
นิวตรอน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T182
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
แรงเข้มเกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคส่งถ่ายแรงหรืออนุภาคที่เป็นสื่อของแรงระหว่าง 9. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นแล ว ถามคํ า ถามกั บ
ควาร์กในนิวตรอนและควาร์กในโปรตอน เรียกว่า กลูออน (gluon) กระบวนการนี้ท�าให้นิวเคลียส นักเรียนวา
ตรึงอยู่ด้วยกันได้ คล้ายกับที่อะตอมจับตัวกันกลายเป็นโมเลกุล • กลูออนคืออะไร และมีประโยชนอยางไร
นักฟิสกิ ส์ได้ศกึ ษาและค้นพบอีกว่า ควาร์กยังสามารถเกิดการสลายได้ เช่น กรณีการสลายให้ (แนวตอบ กลูออน คือ อนุภาคสงถายแรง
อนุภาคบีตาลบของนิวเคลียสกัมมันตรังสี เป็นผลท�าให้นวิ ตรอนกลายเป็นโปรตอนภายในนิวเคลียส หรื อ อนุ ภ าคที่ เ ป น สื่ อ ของแรงเข ม มี
เนื่องจากนิวตรอนเกิดจากการรวมตัวของอัปควาร์ก 1 อนุภาค กับดาวน์ควาร์ก 2 อนุภาค ประโยชน ใ นการยึ ด ควาร ก ในอนุ ภ าค
และโปรตอนเกิดจากการรวมตัวของอัปควาร์ก 2 อนุภาค กับดาวน์ควาร์ก 1 อนุภาค เมือ่ พิจารณา โปรตอนและควาร ก ในอนุ ภ าคนิ ว ตรอน
การเปลี่ยนแปลงในระดับอนุภาคมูลฐานของนิวตรอน พบว่า ดาวน์ควาร์ก 1 อนุภาค กลายเป็น ให อ ยู  ร วมกั น ได คล า ยกั บ อะตอมที่ จั บ
อัปควาร์ก 1 อนุภาค พร้อมกับมีการปล่อยอนุภาค W-โบซอน เวลา p ตัวกันกลายเปนโมเลกุล)
udu ν
(W -) ออกมา จากนั้นอนุภาค W - นี้จะสลายตัวกลายเป็น e- 10. ครูสุมนักเรียนอภิปรายผลการศึกษาเกี่ยวกับ
อิเล็กตรอนและแอนตินิวทริโน ดังภาพที่ 7.32 และสามารถ ประโยชนของกัมมันตภาพรังสีทไี่ ดศกึ ษาจาก
เขียนเป็นสมการความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ W- หนังสือเรียนและแหลงขอมูลสารสนเทศ เพื่อ
d u + W- u dnd เปนการศึกษารวมกันกับเพื่อนในชั้นเรียน
ต�าแหน่ง
W - -10e + ν ภ
าพที่ 7.32 การสลายตัวของ 11. ครูใหนกั เรียนศึกษาทบทวนเกีย่ วกับการสลาย
นิวตรอนกลายเป็นโปรตอน ใหอนุภาคบีตาอีกครัง้ เพือ่ นํามาอธิบายอันตร-
กล่าวได้ว่า การสลายให้อนุภาคบีตาลบของนิวเคลียส ที่มา : คลังภาพ อจท.
กิรยิ าอยางออนทีเ่ กิดจากการแลกเปลีย่ นของ
กัมมันตรังสี เป็นผลของอันตรกิริยาอย่างอ่อนหรือแรงอ่อน (weak force) โดยแรงอ่อนเป็นแรง
อนุภาค W-โบซอน และ Z-โบซอน
กระท�าภายในแต่ละนิวคลีออน จึงเป็นแรงกระท�าในระยะใกล้กว่าแรงเข้ม ส่งผลให้ทกุ สิง่ อยูร่ วมกัน
12. ครูใหนกั เรียนจดบันทึกแบบจําลองมาตรฐาน
ได้ในนิวเคลียส แรงอ่อนเกิดจากการแลกเปลี่ยนของอนุภาค W-โบซอน และ Z-โบซอน
จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
แรงพื้นฐานในธรรมชาติ (fundamental forces) มี 4 รูปแบบ ดังตารางที่ 7.5 จากนัน้ ครูสมุ ตัวเลขซึง่ แทนเลขทีข่ องนักเรียน
ตารางที่ 7.5 : แรงพื้นฐานในธรรมชาติทั้ง 4 รูปแบบ
โดยใครมีเลขที่ตรงกับตัวเลขที่ครูสุมไดให
สื่อของแรง
ออกไปหนาชัน้ เรียน แลวอธิบายความสัมพันธ
แรง ส่งผลต่ออนุภาค ระหวางแรงกับอนุภาคมูลฐานในรูปแบบของ
อนุภาคแลกเปลี่ยน มวล (GeV/c2)
แบบจําลองมาตรฐาน
แรงเข้ม ควาร์ก กลูออน (g) 0
+ - 13. ครูใหนักเรียนกลับไปศึกษาคนควาเพิ่มเติม
W-โบซอน (W , W ) 80.4, 80.4
แรงอ่อน ควาร์กและเลปตอน 0 เกี่ยวกับอนุภาคฮิกส (Higgs particle) จาก
Z-โบซอน (Z ) 91.2
แหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ แลวนําขอมูลที่
แรงแม่เหล็กไฟฟ้า อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า โฟตอน (γ) 0
ไดมาเขียนสรุปลงในสมุดบันทึกประจําตัว
แรงโน้มถ่วง สสารทั้งหมด กราวิตอน (G) 0

ฟิสิกส์อะตอม 171

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


อนุภาคในขอใดสามารถเรียกไดวาเปนอนุภาคนําพาแรงหรือ เมื่อกลาวถึงแรงพื้นฐานในธรรมชาติ ซึ่งโดยทั่วไปจะจดจําและเขาใจวามี
เปนสื่อของแรงระหวางควารกในโปรตอนและนิวตรอน 4 รูปแบบ หรือ 4 ชนิด ไดแก แรงเขม แรงออน แรงแมเหล็กไฟฟา และแรง
1. กลูออน โนมถวง แตในปจจุบันไดมีนักวิทยาศาสตรกลุมหนึ่งไดทําการทดลองและวิจัย
2. ไพออน เกี่ยวกับแรงพื้นฐานในธรรมชาติแลวคนพบหลักฐานเพิ่มเติมที่ทําใหเชื่อไดวา
3. เคออน นาจะมีแรงพื้นฐานชนิดอื่นอีก นับไดวาเปนแรงพื้นฐานในธรรมชาติชนิดที่ 5
4. โฟตอน ดังนั้น ครูอาจเตรียมการสอนโดยการศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวิจัยและ
5. กราวิตอน คนพบเหลานั้น แลวนําขอมูลมานําเสนอใหนักเรียนไดเรียนรู นับวาเปนความรู
(วิเคราะหคําตอบ อนุ ภ าคที่ เ ป น สื่ อ ของแรงระหว า งควาร ก ใน ที่นอกเหนือจากหนังสือเรียน และเปนความรูที่เทาทันในโลกยุคปจจุบัน แสดง
โปรตอนและนิวตรอน คือ กลูออน ดังนั้น ตอบขอ 1.) ใหเห็นถึงความกาวหนาของวงการวิทยาศาสตรโลก

T183
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
14. ครูใหนักเรียนนับเลข 1-6 วนไปเรื่อยๆ จน แบบจ�ำลองมำตรฐำนนอกจำกใช้อธิบำยพฤติกรรมของอนุภำคมูลฐำนแล้ว ยังสำมำรถใช้
ครบทุกคน จากนั้นใหนักเรียนแยกเขากลุม อธิบำยอันตรกิริยำหรือแรงพื้นฐำนในธรรมชำติทั้ง 3 รูปแบบ ที่เกิดขึ้นระหว่ำงอนุภำคมูลฐำน
ตามหมายเลขที่ตนเองนับ ได้ด้วย นั่นคือ แรงแม่เหล็กไฟฟ้ำ แรงอ่อน และแรงเข้ม โดยสำมำรถแสดงควำมสัมพันธ์ของแรง
15. ครู ม อบหมายให แ ต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น สื บ ค น ที่เกี่ยวข้องกับอนุภำคมูลฐำนในรูปแบบของแบบจ�ำลองมำตรฐำนได้ ดังภำพที่ 7.33
ขอมูลและศึกษาตามหัวขอที่ครูกําหนดให
Physics
ตอไปนี้ ทั้งจากหนังสือเรียนและอินเทอรเน็ต
• กลุม หมายเลข 1 กับ 4 ศึกษาหัวขอ การใช
u c t
2.3 M

up
2/3
1/2
1.27 G

charm
2/3
1/2
173.1 G

top
2/3
1/2
Mass: eV/c2
Charge
Spin
Name
Hhiggs
126 G
0
0 in real life
ปัจจุบันยังมีอนุภำคมูลฐำนที่
ควำร์ก
d s b g

แรงเข้ม
4.8 M 95 M 4.2 G 0

แรงแม่เหล็กไฟฟ้ำ
เครื่องเรงอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ง down
-1/3
1/2
strange
-1/3
1/2
bottom
-1/3
1/2
gluon
0
1 ค้นพบใหม่ คือ อนุภำคฮิกส์
• กลุม หมายเลข 2 กับ 5 ศึกษาหัวขอ การใช (Higgs particle) หรืออนุภำค
เครื่องถายภาพรังสีระนาบดวยการปลอย e μ τ
0.511 M

electron
-1
1/2
105.7 M

muon
-1
1/2
1.78 M

tan
-1
1/2 γphoton
0
0
1 พระเจ้ำ (God particle) ที่พบ
เลปตอน
w w ในสนำมฮิกส์และมีอำยุเพียง

แรงอ่อน
โพซิตรอนในการวินิจฉัยโรคมะเร็ง νe ν μ ν τ
< 2.2
0
0.17 M
0
< 15.5 M
0
80.4 G
± 1
91.2 G
0
e neutrino
1/2 1/2
μ neutrino τ neutrino
1/2
W boson Z boson
1 1
หนึ่งส่วนล้ำนล้ำนวินำที สร้ำง
• กลุม หมายเลข 3 กับ 6 ศึกษาหัวขอ การใช ได้จำกกำรชนกันของอนุภำค
เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรในการตรวจ เฟร์มิออน โบซอน โปรตอนในเครื่องเร่งอนุภำค
วัตถุอันตรายในสนามบิน ภ
าพที่ 7.33 แบบจ�ำลองมำตรฐำนของอนุภำคมูลฐำน LHC ของศูนย์วิจัย CERN
ที่มา : https://physik.uzh.ch
16. ครูใหนกั เรียนตัวแทนกลุม ออกมารับกระดาษ
ฟลิปชารตและอุปกรณหนาชั้นเรียน จากนั้น 8.2 ประโยชน์ด้านฟิสิกส์อนุภาค
ครู ม อบหมายให แ ต ล ะกลุ  ม เขี ย นสรุ ป กำรค้นคว้ำวิจัยด้ำนฟิสิกส์อนุภำคน�ำไปสู่กำรพัฒนำเทคโนโลยีที่น�ำมำใช้ประโยชน์ในด้ำน
องคความรูหรือหลักการทํางานตางๆ ของ ต่ำง ๆ เช่น ด้ำนกำรแพทย์ ด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัย
เครือ่ งมือทีก่ ลุม ตนเองศึกษา พรอมทัง้ ตกแตง 1. การใช้เครื่องเร่งอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ง หรือกำรรักษำมะเร็งโดยใช้โปรตอน
ใหสวยงาม (proton therapy) หลักกำรท�ำงำน คือ อนุภำคโปรตอนมำจำกนิวเคลียสของไฮโดรเจนจะถูกเร่ง
ในเครือ่ งเร่งอนุภำค (ไซโคลตรอนหรือซินโครตรอน) โดยจะเร่งควำมเร็วของโปรตอนให้มคี วำมเร็ว
ประมำณ 2 ใน 3 ของควำมเร็วแสง จึงจะถูกปล่อยผ่ำนท่อน�ำซึ่งบังคับด้วยทิศทำงของสนำม
แม่เหล็กไปยังจุดทีถ่ กู บังคับทิศทำงไปยังเซลล์ทตี่ อ้ งกำรฉำยรังสี รังสีแพทย์จะต้องค�ำนวณ Bragg
Peak ของรังสีให้อนุภำคโปรตอนนั้นถ่ำยเทพลังงำนแก่เซลล์มะเร็งให้ได้มำกที่สุด จุดเด่นของ
อนุภำคโปรตอน คือ เมือ่ ผ่ำนตัวกลำงหรือผิวผูป้ ว่ ยเข้ำไป ตัวกลำงจะดูดกลืนปริมำณรังสีนอ้ ยมำก
ท�ำให้ตวั กลำงหรือเนือ้ เยือ่ ทีเ่ ป็นทำงผ่ำนและอยูต่ ดิ กับก้อนมะเร็งได้รบั ปริมำณรังสีนอ้ ย จนกระทัง่
ถึงปลำยพิสัย หรือจุดที่อนุภำคโปรตอนหยุดเคลื่อนที่ในตัวกลำงจะเป็นต�ำแหน่งที่ตัวกลำงดูดกลืน
ปริมำณรังสีสูงมำก โดยทั่วไปจะก�ำหนดให้จุดปลำยพิสัยนี้ตรงกับต�ำแหน่งของก้อนมะเร็ง เพื่อให้
รังสีพงุ่ เข้ำไปยังก้อนมะเร็งเท่ำนัน้ ท�ำให้ตวั กลำงหรือเนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยูห่ ลังต่อจำกก้อนมะเร็งแทบจะไม่
ได้รับรังสีเลย ซึ่งเป็นข้อดีเหนือกำรรักษำด้วยรังสีเอกซ์ทั่วไป ดังภำพที่ 7.34
172

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจใหความรูเ พิม่ เติมกับนักเรียนเกีย่ วกับ Bragg Peak ซึง่ เปนสวนหนึง่ ครูใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับอนุภาคฮิกส
ของเนือ้ หาเกีย่ วกับการใชเครือ่ งเรงอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ง โดยมีใจความ (Higgs patrticle) จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน หองสมุด
สําคัญวา กฎของแบรกก (Bragg’s law) เปนกฎที่อธิบายความสัมพันธระหวาง อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจัย ครูกําหนดใหนักเรียนแตละคนนํา
ความยาวคลื่นของรังสีเอกซตกกระทบ มุมตกกระทบ และระยะหางของอะตอม ความรูท ไี่ ดมาเขียนสรุปความรูล งในสมุดบันทึกประจําตัว เสร็จแลว
ซึ่งเปนเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ ความสัมพันธ ครูสุมนักเรียนออกมาอธิบายและเลาถึงสิ่งที่ตนเองศึกษาคนควา
ระหวางตัวแปรตางๆ ในการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซโดยผลึก ถามีคลื่นระนาบ มาหลังจากที่ครูมอบหมาย เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรูรวมกัน
ซึง่ มีความยาวคลืน่ วิง่ ชนระนาบผลึก แลวสะทอนจากระนาบทีข่ นานกันของผลึก ภายในชั้นเรียน
จะเกิดการแทรกสอดแบบเสริม (constructive interference) ของรังสีที่กระเจิง
จากระนาบที่เรียงตัวขนานกันเปนระยะ d ดังสมการ 2d sin θ = nλ

T184
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
17. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอผล
รังสีที่ฉายเข้า รังสีที่ฉายเข้า
การศึกษาของกลุมตนเองหนาชั้นเรียน โดย
ในขณะที่แตละกลุมนําเสนอผลงาน ครูคอย
เนื้องอก เนื้องอก
สังเกตการณและใหคําแนะนําเมื่อนักเรียน
รังสีที่ออกมา สงสัยหรือมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อน
(ก) (ข) 18. ครูใหนักเรียนทุกคนลงคะแนนโหวตผลงาน
การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ประโยชน ด  า นฟ สิ ก ส
ภาพที่ 7.34 การเปรียบเทียบการฉายรังสีด้วยโฟตอน (ก) และอนุภาคโปรตอน (ข)
ที่มา : https://www.chulacancer.net อนุภาคของแตละกลุม โดยกลุมที่มีคะแนน
โหวตมากที่สุด 3 ลําดับแรก ครูจะมีรางวัล
2. การใช้เครื่องถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอนในการวินิจฉัยโรค พิเศษให
มะเร็ง (Positron Emission Tomography; PET) เป็นเทคนิคที่ช่วยสร้างภาพทางการแพทย์
19. ครู นํ า นั ก เรี ย นอภิ ป รายความรู  เ กี่ ย วกั บ
ซึ่งแสดงผลเป็นภาพ 3 มิติ เพื่อใช้วิเคราะห์ความผิดปกติต่าง ๆ ของร่างกาย ภาพที่ได้จาก PET
จะแสดงให้เห็นถึงอัตราที่เซลล์ของร่างกายถูกท�าลายและการใช้ปริมาณน�้าตาล หรือเรียกว่า ประโยชน ด  า นฟ สิ ก ส อ นุ ภ าคอี ก ครั้ ง เพื่ อ
การเผาผลาญอาหาร (metabolism) ซึ่งเซลล์มะเร็งจะมีอัตราการเผาผลาญน�้าตาลที่สูงกว่าเซลล์ เปนการขมวดความรู
ปกติมาก การสร้างภาพด้วย PET จะแสดงให้เห็นถึงการเผาผลาญอาหารของเซลล์ที่ผิดปกตินี้
ส�าหรับวิธีการสร้างภาพด้วย PET ผู้ป่วยจะถูกฉีดสารละลายกลูโคสที่มีสารกัมมันตรังสี
(ที่มีการสลายให้อนุภาคโพซิตรอน) ในปริมาณเล็กน้อยเข้าไปในกระแสเลือด เรียกสารนี้ว่า
ไอโซโทปรังสี PET สารกัมมันตรังสีจะกระจายไปสูอ่ วัยวะหรือส่วนของร่างกายของผูป้ ว่ ย โพซิตรอน
ที่ปลดปล่อยออกมาระหว่างการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีในสารละลายกลูโคสหนึ่งจะถูก
ท�าลายหรือหักล้างด้วยอิเล็กตรอน (แอนติโพซิตรอน) ที่อยู่ในเนื้อเยื่อรอบข้าง ส่งผลให้เกิดรังสี
แกมมา 2 โฟตอน ที่แผ่ออกมาในทิศทาง
ตรงกันข้าม (+10e + -10e 2γ) แล้วเครื่อง หัววัด
ตรวจจับรังสีแกมมาที่ล้อมรอบผู้ป่วยอยู่จะ
ได้ รั บ สั ญ ญาณโฟตอนของรั ง สี แ กมมานั้ น
ส่งไปที่คอมพิวเตอร์ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะ
ประมวลผล แล้วแสดงเป็นภาพ 3 มิติ ของ หัววัด
แหล่งที่น�้าตาลกลูโคสสะสมอยู่ โดยที่การ
เผาผลาญกลูโคสอย่างรวดเร็วในเซลล์มะเร็ง
และสะสมอยู ่ บ ริ เ วณนั้ น จะเป็ น สั ญ ญาณ
ที่เข้มมากส�าหรับระบบตรวจวัดด้วย PET ภาพที ่ 7.35 หัววัดทีอ่ ยูต่ รงข้ามกันจะตรวจวัดรังสีแกมมา
ดังภาพที่ 7.35 ที่แผ่ออกมาจากผู้ป่วย
ที่มา : คลังภาพ อจท. ฟิสิกส์อะตอม 173

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ กลุมละ 3-4 คน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกีย่ วกับเรือ่ ง ประโยชนดา นฟสกิ สอนุภาค
แลวมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ในสวนของหัวขอการใชเครื่องถายภาพรังสีระนาบดวยการปลอยโพซิตรอนใน
ประโยชนดานฟสิกสอนุภาค จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน การวินิจฉัยโรคมะเร็ง ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียนซึ่งนอกเหนือจาก
หองสมุด อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจัย ครูกําหนดใหนักเรียน หนังสือเรียน ซึง่ อาจเปนขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับเครือ่ งมือชนิดนี้ เชน หลักการทํางาน
แตละคนนําความรูที่ไดมาเขียนสรุปความรูโดยสรางสรรคผลงาน ของเครื่องมือ ขั้นตอนหรือวิธีการรับการตรวจวินิจฉัยของผูปวย และสิ่งหนึ่งที่
ออกมาในรูปแบบของโปสเตอร ลงในกระดาษ A3 ที่ครูจัดเตรียม สําคัญในปจจุบัน คือ สถานที่ที่ใหบริการและมีมาตรฐานในประเทศไทย โดย
ไวให พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวตัวแทนนักเรียนเก็บ ขอมูลเหลานี้จะมีประโยชนมากสําหรับการที่นักเรียนไดนําไปแนะนําหรือบอก
รวบรวมผลงานสงครู โดยเมื่อครูตรวจใหคะแนนผลงานแลว ใน ตอถายทอดความรูใ หผปู ว ยไดมสี ทิ ธิแ์ ละสามารถเขาถึงการรักษาได เชน ครูอาจ
ชัว่ โมงถัดไปครูอาจใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอผลงาน นําขอมูลจากเว็บไซตของโรงพยาบาลจุฬาภรณ ในสวนของศูนยไซโคลตรอน
ของตนเองหนาชั้นเรียน และเพทสแกนแหงชาติมานําเสนอใหนกั เรียนไดเขาไปศึกษาเพิม่ เติม ซึง่ สามารถ
คนหาไดจาก https://www.chulabhornhospital.com/Medical_Detail/74/
ศูนยไซโคลตรอนและเพทสแกนแหงชาติ

T185
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
20. ครูใชคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน 3. การใช้เครือ่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในการตรวจวัตถุอนั ตรายในสนามบิน การตรวจ
ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่อง การคนควาวิจัยดาน คัดกรองความปลอดภัยที่สนามบินมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันสินค้าหรือวัตถุอันตรายเข้าสู่
ฟสิกสอนุภาค โดยครูสุมนักเรียนจํานวนหนึ่ง เครือ่ งบินและเพือ่ ให้แน่ใจว่า ทุกเทีย่ วบินจะไปถึงจุดหมายปลายทางอย่างปลอดภัย ดังนัน้ ผูโ้ ดยสาร
ออกมาหนาชั้นเรียนเพื่ออธิบายผลการศึกษา ทุกคนจะต้องเดินผ่านเครื่องตรวจจับโลหะก่อนที่จะเข้าสู่บริเวณประตูและสแกนกระเปาถือหรือ
ในแตละหัวขอ กระเปาสัมภาระที่เช็กอินด้วยเครื่องเอกซเรย์
21. เมื่อนักเรียนอธิบายผลการศึกษาตามความ หลักการท�างาน คือ เครื่องจะผลิตรังสีเอกซ์ด้วยหลอดชนิดพิเศษ ซึ่งภายในหลอด
เขาใจของนักเรียนแลว ครูอาจยกตัวอยาง เรียงรายไปด้วยตะกั่ว ภายในตะกั่วมีช่องว่างแคบ ๆ ประมาณ 1 เซนติเมตร ซึ่งเป็นช่องที่
หรือปรับเปลีย่ นสถานการณจากตัวอยางทีไ่ ด รังสีเอกซ์จะพุง่ เข้ามาในอุโมงค์สายพานล�าเลียง
ศึกษา แลวใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่เหมือน จากนั้นสายพานจะบรรจุสัมภาระแต่ละชิ้นแล้ว
และสิ่งที่แตกตาง เคลื่อนที่ผ่านล�าของรังสีเอกซ์ที่พุ่งออกมาจาก
22. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจ แหล่งก�าเนิดและที่ด้านตรงข้ามของอุโมงค์
เกี่ยวกับพลังงานภายในระบบเพิ่มเติมจาก เครือ่ งตรวจจับจะวัดปริมาณรังสีทผ่ี า่ นเข้าไปใน
แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร สิง่ ของหรือสัมภาระทีส่ แกน สารทีม่ คี วามหนาแน่น
และเทคโนโลยี ฟสิกส ม.6 เลม 2 หนวยการ เช่น ตะกั่ว จะดูดซับรังสีมากที่สุด ปิดกั้นการ
เรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร ทะลุผ่านของรังสีเอกซ์ โดยหัววัดจะตรวจวัด
23. ครูใหนักเรียนคูเดิมรวมกันศึกษาแบบฝกหัด ปริมาณรังสีเอกซ์ที่ผ่านสิ่งของหรือสัมภาระไป
Topic Questions จากหนังสือเรียน โดยครู จากนั้นจะส่งสัญญาณไปยังคอมพิวเตอร์เพื่อ
มอบหมายใหนักเรียนแตละคนเขียนคําตอบ
สร้างภาพเสมือนของสิ่งของหรือสัมภาระ ณ ภทีาพที ่ 7.36 ตัวอย่างเครื่องเอกซเรย์กระเปาในสนามบิน
่มา : คลังภาพ อจท.
ขณะนั้น ดังภาพที่ 7.36
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. แบริออนเป็นอนุภาคทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เฟร์มอิ อน ซึง่ เป็นกลุม่ อนุภาคทีแ่ ต่ละอนุภาคจะเกิดจากการรวมตัวกัน
ของควาร์ก 1 อนุภาค กับแอนติควาร์กอีก 1 อนุภาค ข้อความที่กล่าวมาข้างต้นถูกต้องหรือไม่ อย่างไร
2. มีซอน ซึ่งมีประจุไฟฟ้า +1e ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานใดบ้าง ระหว่างอัปควาร์ก สเตรนจ์ควาร์ก
แอนติอัปควาร์ก และหรือแอนติเสตรนจ์ควาร์ก

174

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Topic Questions


1. ไมถูกตอง เพราะแบริออนเปนอนุภาคที่อยูในกลุมแฮดรอนซึ่งเปน
เมื่อจัดการเรียนการสอนจนจบหัวขอนี้แลว ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุมกับ อนุภาคประกอบ โดยที่แบริออนจะประกอบดวยควารก 3 อนุภาค
เพื่อนอยางอิสระ กลุมละ 3-4 คน แลวมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควา รวมตัวกัน ตัวอยางอนุภาคที่จัดอยูในกลุมแบริออน เชน โปรตอน
เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง ฟ สิ ก ส อ นุ ภ าค โดยเน น เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ แบบจํ า ลอง (ประกอบดวยอัปควารก 2 อนุภาค กับดาวนควารก 1 อนุภาค) นิวตรอน
มาตรฐาน จากนั้นสรุปองคความรูโดยจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขนาดกระดาษ (ประกอบดวยอัปควารก 1 อนุภาค กับดาวนควารก 2 อนุภาค)
A4 เพื่อเปนการทบทวนความรูหลังจากที่ไดรวมกันศึกษาในชั้นเรียน หลังจาก 2. ประกอบดวยอัปควารก 1 อนุภาค กับแอนติสเตรนจควารก 1 อนุภาค
ทีน่ กั เรียนสรุปองคความรูเ สร็จแลว ครูสมุ นักเรียนออกมานําเสนอผลงานของกลุม ซึ่งสามารถคํานวณหาประจุไฟฟาได ดังนี้
ตนเอง โดยครูอาจถามคําถามเกีย่ วกับเนือ้ หาทีส่ าํ คัญในสวนนัน้ เพือ่ ใหนกั เรียน q = qu + qs
ไดอภิปรายความรูของตนเอง ซึ่งเปนการเนนยํ้าใหนักเรียนมีความเขาใจมาก q = (+ 23 e) + (+ 13 e)
ยิ่งขึ้น และเพื่อใหทุกคนมีความเขาใจไปในแนวทางเดียวกัน
q = + 33 e
q = +1e

T186
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
Physics 24. ครูแจกใบงาน เรื่อง ประโยชนดานฟสิกส
in real life ต้นกําเนิดเวิลด์ไวด์เว็บ
อนุภาค ใหนักเรียนคนละ 1 ชุด จากนั้น
เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web; WWW) หรือเว็บ เป็นบริการหนึ่งในอินเทอร์เน็ตที่ได้รบั มอบหมายใหนํากลับไปศึกษาเปนการบาน
ความนิยมเป็นอย่างมาก เป็นระบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ เชือ่ มโยงข้อมูลทีอ่ ยูบ่ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ตา่ ง ๆ
เสร็จแลวตัวแทนรวบรวมสงครูเพื่อตรวจและ
ระบบเวิลด์ไวด์เว็บเป็นผลมาจากงานวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคที่ได้จากการประดิษฐ์คิดค้นเมื่อ
พ.ศ. 2533 โดยทิม เบอร์เนิรส์ -ลี (Tim Berners-Lee) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษขององค์การวิจยั ใหคะแนนกอนที่จะเจอกันในชั่วโมงถัดไป
นิวเคลียร์ยโุ รปหรือเซิรน์ (CERN) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทิมเป็นผูส้ ร้างรูปแบบข้อมูลใหม่ เรียกว่า 25. ครูใหนกั เรียนศึกษากรอบ Physics in real life
HTTP (Hypertext Transfer Protocol) โดยรูปแบบข้อมูลใหม่นี้ท�าให้นักฟิสิกส์อนุภาคทั่วโลก เรือ่ ง ตนกําเนิดเวิลดไวดเว็บ จากหนังสือเรียน
สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของแต่ละคนได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบ 26. ครูใหนักเรียนศึกษากิจกรรม Apply Your
อินเทอร์เน็ต และทิมก็ได้เสนอ URL (Uniform Resource Locator) ซึ่งเป็นวิธีการชี้บอกแหล่ง Knowledge จากหนังสือเรียน โดยจดบันทึก
ทีอ่ ยูข่ องเอกสารเพือ่ ใช้เป็นสากล หลังจากทีท่ างเซิรน์ ได้พฒ ั นาโพรโทคอลพืน้ ฐานของ WWW แล้ว
และตอบคําถามลงในสมุดบันทึกประจําตัว
NCSA (National Center for Supercomputing Applications) มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาโปรแกรม Mosaic ซึ่งเป็นโปรแกรมส�าหรับเรียกดูข้อมูลในเว็บ หลังจากนั้น 27. ครู ใ ห นั ก เรี ย นตรวจสอบความเข า ใจของ
ได้มผี พู้ ฒ
ั นาโปรแกรมในการเรียกดูเว็บมากขึน้ โดยแต่ละโปรแกรมผูใ้ ช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก ตนเอง ดวยกรอบ Self Check เรื่อง ฟสิกส
เว็บจึงเป็นบริการทางอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็เป็นบริการที่ต้องใช้ทรัพยากร นิวเคลียร จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึก
(Resources) ของเครื่องมากที่สุดเช่นกัน ประจําตัว
เอกสารเว็บที่พัฒนาแล้วสามารถเรี1 ยกดูได้ด้วยโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) โดย
HTML หรือภาษาอืน่ ๆ ทีน่ า� มาสร้างเอกสารเว็บ แล้วแสดงผลด้วย
โปรแกรมจะท�าหน้าทีแ่ ปลภาษา HTML หรื
ข้อก�าหนดบนจอภาพ ในปัจจุบนั มีผผู้ ลิตโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ออกมาเผยแพร่มากมาย ตัวอย่าง
เว็บเบราว์เซอร์ที่มีการใช้กันในปัจจุบัน ได้แก่
Internet Explorer Mozilla Firefox Google Chrome

Opera Safari

ภาพที่ 7.37 สัญลักษณ์ของเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมใช้ในการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน


ที่มา : https://www.logolynx.com/topic/browser

ฟิสิกส์อะตอม 175

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ กลุมละ 2-3 คน 1 HTML ยอมาจากคําวา HyperText Markup Language คือ ภาษา
แล ว มอบหมายให นั ก เรี ย นศึ ก ษาค น คว า เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง คอมพิวเตอรที่ใชในการแสดงผลของเอกสารบนเว็บไซตหรือเว็บเพจ HTML ถูก
การคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาค โดยมุงเนนประเด็นศึกษา พัฒนาและกําหนดมาตรฐานโดยองคกรที่ชื่อวา เวิลดไวดเว็บคอนซอรเทียม
เกี่ยวกับประโยชนและผลงานการนําหลักการและความรูเกี่ยวกับ (World Wide Web Consortium; W3C) และจากการพัฒนาทางดานซอฟตแวร
ฟสิกสอนุภาคไปพัฒนาและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน จากนั้น ของบริษัทไมโครซอฟต ทําให HTML เปนอีกภาษาหนึ่งที่ใชเขียนโปรแกรมได
เขียนสรุปความรูล งในกระดาษ A3 ทีค่ รูจดั เตรียมไวให เพือ่ เปนการ เรียกวา HTML Application สําหรับการสรางเว็บเพจโดยใช HTML สามารถ
เรียนรูดวยตนเอง หลังจากที่นักเรียนสรุปความรูเสร็จแลว ครูสุม ทําไดโดยใชโปรแกรม Text Editor ตางๆ เชน Notepad EditPlus หรือจะอาศัย
นักเรียนออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเอง โดยครูอาจถาม โปรแกรมที่เปนเครื่องมือชวยสรางเว็บเพจ ไมวาจะเปน Microsoft FrontPage
คําถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่สําคัญในสวนนั้น เพื่อเปนการเนนยํ้าให หรือ Dreamweaver ซึ่งอํานวยความสะดวกในการสรางหนา HTML สวน
นักเรียนมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น และเพื่อใหทุกคนมีความเขาใจ การเรียกใชงานหรือทดสอบการทํางานของเอกสาร HTML จะใชโปรแกรมเว็บ
ไปในแนวทางเดียวกัน นอกจากนี้ ยังเปนกิจกรรมการเรียนการ เบราวเซอร เชน Google Chrome, Internet Explorer, Mozilla Firefox, Safari,
สอนที่มุงเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง โดยที่นักเรียนและครูจะไดมี Opera
ปฏิสัมพันธกันในการตอบคําถาม

T187
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
28. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
Summary
Unit Questions หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกส ฟิสกิ ส์นวิ เคลียร์
นิวเคลียร จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุด
บันทึกประจําตัวเปนการบาน แลวรวบรวม การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
สงครูเพื่อตรวจสอบและใหคะแนน จากการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปยังนิวเคลียสของไนโตรเจน ท�าให้รวู้ า่ มีอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าเป็นบวก
อยู่ภายในนิวเคลียสและได้ตั้งชื่อว่า โปรตอน
29. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปชนกับเบริลเลียมของเจมส์ แชดวิก ท�าให้ค้นพบนิวตรอน จึงสรุปได้ว่า
Test for U หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกส ทุก ๆ นิวเคลียสประกอบด้วยอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าเป็นบวกและเป็นกลางทางไฟฟ้า คือ โปรตอนและนิวตรอน
นิวเคลียร จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุด สัญลักษณ์ของนิวเคลียส คือ AZ X โดยที่ X แทนสัญลักษณ์ของธาตุ A แทนเลขมวล และ Z แทนเลขอะตอม
บันทึกประจําตัวเปนการบาน แลวรวบรวม
การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
สงครูเพื่อตรวจสอบและใหคะแนน
ธาตุกัมมันตรังสี คือ อะตอมของธาตุที่นิวเคลียสไม่เสถียรสามารถเกิดการสลายกลายเป็นธาตุอื่นได้ ธาตุ
30. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ กัมมันตรังสีจะมีการสลายเกิดธาตุใหม่เรื่อย ๆ จนกว่าจะเกิดธาตุใหม่ที่มีนิวเคลียสที่เสถียร
ทดสอบความรูค วามเขาใจหลังจากทีไ่ ดศกึ ษา กัมมันตภาพ คือ อัตราการแผ่รังสีขณะหนึ่งหรืออัตราการสลายของนิวเคลียส ซึ่งสามารถเขียนสมการได้เป็น
แลว A = λN
อนุกรมกัมมันตรังสี คือ การทีน่ วิ เคลียสของอะตอมของธาตุทไี่ ม่เสถียรจะมีการสลายไปเป็นนิวเคลียสอืน่ และจะ
มีการสลายไปเรือ่ ย ๆ เป็นล�าดับ จนกระทัง่ ได้นวิ เคลียสสุดท้ายทีเ่ สถียร ซึง่ อนุกรมกัมมันตรังสีสามารถจ�าแนก
ได้ 4 อนุกรม คือ อนุกรมทอเรียม อนุกรมเนปทูเนียม อนุกรมยูเรเนียม และอนุกรมแอกทิเนียม
สมมติฐานของรัทเทอร์ฟอร์ดและซอดดี ได้กล่าวถึงการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีว่า “หลังจาก
การสลายจะได้ธาตุใหม่ที่อาจจะเป็นหรือไม่เป็นธาตุกัมมันตรังสีก็ได้ โดยการสลายของธาตุกัมมันตรังสีนี้จะไม่
ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความดัน ทุกนิวเคลียสมีโอกาสสลายได้เท่า ๆ กัน แต่ไม่สามารถบอก
ได้ว่านิวเคลียสใดจะสลายก่อนหรือหลัง ทั้งนี้ อัตราการสลายจะขึ้นอยู่กับจ�านวนนิวเคลียสเดิม”
ครึง่ ชีวติ (T 1 ) คือ ช่วงเวลาทีน่ วิ เคลียสของธาตุกมั มันตรังสีสลายเหลือครึง่ หนึง่ จากตอนเริม่ สลายหรือครึง่ หนึง่
2
ของจ�านวนเดิ ม สามารถหาได้จากสมการ
T 1 = ln 2
λ
= 0.693
λ
2
สมการที่ใช้ในการค�านวณ สามารถสรุปได้ ดังนี้
แรง กรณีทราบค่าคงตัวการสลาย (λ) กรณีทราบช่วงเวลาครึ่งชีวิต (T 1 )
2

จ�านวนนิวเคลียส N = N0e-λt N
N = t/T10
2 2
มวลของธาตุกมั มันตรังสี m = m0e-λt m = mt/T01
2 2
A
ปริมาณกัมมันตภาพ A = A0e-λt A = t/T01
2 2
176

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


หลังจากที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเนื้อหาความรูเกี่ยวกับเรื่อง X ในปฏิกิริยานิวเคลียร 147 N + 21 H 15 N + X คืออะไร
7
ฟสิกสนิวเคลียร เสร็จแลว ครูอาจใหนักเรียนสรุปความรูที่ไดจากการรวมกัน 1. รังสีแกมมา
ศึกษาหาความรูที่ผานมา โดยครูอาจมุงเนนไปในหัวขอการสลายของนิวเคลียส 2. อนุภาคบีตา
กัมมันตรังสี เสถียรภาพของนิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร และการคนควาวิจัย 3. อนุภาคแอลฟา
ดานฟสิกสอนุภาค เพื่อใหนักเรียนมีมโนทัศนสําคัญในการจัดทําสรุปความรู 4. อนุภาคโปรตอน
ออกมาในรูปแบบของอินโฟกราฟก เรื่อง ฟสิกสนิวเคลียรและฟสิกสอนุภาค 5. อนุภาคนิวตรอน
โดยจะเปนผลงานใหนักเรียนไดแสดงความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและ (วิเคราะหคําตอบ จากสัญลักษณนิวเคลียร AZ X
ศิลปะในชิ้นเดียวกัน จะไดวา A = 14 + 2 - 15 = 1
Z = 7+1-7=1
นั่นคือ 1 X มีคาเทากับ 11 H ซึ่งหมายถึงอนุภาคโปรตอน ดังนั้น
1

ตอบขอ 4.)

T188
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ลงข อ สรุ ป โดยให
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ นักเรียนอธิบายสรุปความรูเ กีย่ วกับการคนควา
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ สามารถเขียนได้ ดังสมการ วิจัยดานฟสิกสอนุภาคที่ไดศึกษามาแลวทั้ง
X + a Y + b หรือ X (a, b) Y เนื้ อ หาและตั ว อย า งจากหนั ง สื อ เรี ย น และ
การหาพลังงานทีไ่ ด้จากปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ หาได้จากผลต่างของมวลทีเ่ กีย่ วข้องกับปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ทพี่ จิ ารณา กิจกรรมทีน่ อกเหนือจากหนังสือเรียน พรอมทัง้
ดังสมการ
E = (Δm)c2 ยกตั ว อย า งสถานการณ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่
E = (Δm)(931 MeV/u) เกี่ยวของเพื่อทดสอบความเขาใจ
มวลพร่อง (Δm) คือ มวลของธาตุหรืออนุภาคที่ใช้หรือเกิดขึ้นในปฏิกิริยานิวเคลียร์ หาได้จากผลต่างระหว่าง 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
มวลก่อนเกิดปฏิกิริยากับมวลหลังเกิดปฏิกิริยา ดังสมการ ศึกษาผานมาแลวในสวนที่ยังไมเขาใจหรือ
Δm = mf - mi
สงสัย จากนั้นครูใหความรูเพิ่มเติมในสวน
หรือ Δm = (Zmp + (A - Z)mn) - M
นั้น โดยที่ครูอาจจะใช PowerPoint เรื่อง
ปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบดูดพลังงาน ผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีค่ามากกว่าผลรวมของมวลก่อนเกิด
ปฏิกิริยา ท�าให้พลังงานยึดเหนี่ยวมีค่าน้อยลง พลังงานจลน์รวมก็น้อยลงเช่นเดียวกัน การคนควาวิจัยดานฟสิกสอนุภาค มาเปดให
ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์แบบคายพลังงาน ผลรวมของมวลหลังเกิดปฏิกริ ยิ าจะมีคา่ น้อยกว่าผลรวมของมวลก่อนเกิด นักเรียนดูประกอบเพื่อชวยในการอธิบายให
ปฏิกิริยา ท�าให้พลังงานยึดเหนี่ยวมีค่ามากขึ้น พลังงานจลน์รวมก็มากขึ้นเช่นเดียวกัน เขาใจมากยิ่งขึ้น
ฟิชชัน คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวเป็นนิวเคลียสขนาดเล็กลง 3. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับการคนควา
ฟิวชัน คือ ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ทเ่ี กิดจากการรวมกันของนิวเคลียสของธาตุเบาได้เป็นนิวเคลียสของธาตุทหี่ นักกว่า วิจัยดานฟสิกสอนุภาค โดยสรางสรรคออกมา
ในรูปแบบของอินโฟกราฟก ลงในกระดาษ A4
ประโยชน์และอันตรายของรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครู
ธาตุกัมมันตรังสีสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น เพื่อตรวจใหคะแนน
1. ด้านเกษตรกรรม : การปรับปรุงพันธุ์พืช วิจัยโคนม การอาบรังสีเพื่อเก็บผลผลิตได้นาน ๆ
2. ด้านการแพทย์ : การวิเคราะห์และรักษาโรค ตรวจการไหลเวียนโลหิต
3. ด้านอุตสาหกรรม 1 : การตรวจวัดในบริเวณที่มองไม่เห็น เปลี่ยนคุณสมบัติของสินค้า
4. ด้านธรณีวิทยา : ตรวจสอบอายุของสสารต่าง ๆ
5. ด้านพลังงาน : สร้างระเบิดท�าลายล้าง ผลิตกระแสไฟฟ้า
ในธรรมชาติรอบตัวเรามีรังสีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีจากนอกโลกซึ่งเรียกว่า รังสีคอสมิก รังสีจากโลก
และรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น
การเกิดอันตรายจากรังสีต่อมนุษย์ แบ่งได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ การได้รับรังสีจากแหล่งก�าเนิดรังสีจากภายนอก
และการได้รับสารกัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกาย
หลักการป้องกันอันตรายจากรังสี มี 3 ข้อ ดังนี้
1. เวลา : การปฏิบัติงานทางด้านรังสีต้องใช้เวลาน้อยที่สุด
2. ระยะทาง : ความเข้มของรังสีจะเปลี่ยนแปลงลดลงไปตามระยะทางจากสารต้นก�าเนิดรังสี
3. เครื่องก�าบัง : ความเข้มของรังสีเมื่อผ่านเครื่องก�าบังจะลดลง

ฟิสิกส์อะตอม 177

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


ครูมอบหมายใหนกั เรียนศึกษาคนควาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ 1 ธรณีวทิ ยา (Geology) คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแขนงหนึง่ ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับ
เรื่อง ฟสิกสนิวเคลียร จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน หองสมุด องคประกอบ โครงสราง เเละกระบวนการตามธรรมชาติของโลกหรือสสารตางๆ
อินเทอรเน็ต วารสาร งานวิจัยทั้งของในประเทศและของตาง ทีเ่ ปนสวนประกอบของโลก เชน แร ดิน หิน นํา้ รวมทัง้ กระบวนการเปลีย่ นแปลง
ประเทศ จากนัน้ นําความรูท ไี่ ดทงั้ หมดมาจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ภายในโลกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ตั้งแตกําเนิดโลกจนถึงปจจุบัน ธรณีวิทยา
ลงในกระดาษ A4 โดยนักเรียนสามารถแทรกความรูเพิ่มเติมที่ เปนการศึกษาทัง้ ในระดับโครงสราง สวนประกอบทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา
นอกเหนือจากหนังสือเรียนลงไปในรูปเลมรายงานของนักเรียน ทําใหรูถึงประวัติความเปนมาและสภาวะแวดลอมในอดีตจนถึงปจจุบัน ศึกษา
ไดตามประเด็นที่นักเรียนสนใจ พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จ ปจจัยตางๆ ทัง้ ภายในและภายนอกทีม่ อี ทิ ธิพลตอการเปลีย่ นแปลงสภาพพืน้ ผิว
แลวตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมสงครู เมื่อนักเรียนและครูเจอกัน วิวฒ ั นาการของสิง่ มีชวี ติ ตลอดจนรูปแบบและวิธกี ารนําเอาทรัพยากรธรรมชาติ
ในชั่วโมงถัดไป ครูอาจสุมนักเรียนจากการตรวจรูปเลมรายงาน มาใชประโยชน ซึ่งจะศึกษาจากหลักฐานตางๆ ที่คนพบ เชน ในชั้นหิน
เพื่อใหนักเรียนออกมาอภิปรายสรุปความรูหนาชั้นเรียน ซากดึกดําบรรพ ดวยหลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร

T189
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ประเมินความรูเกี่ยวกับเรื่อง การคนควาวิจัย
ดานฟสิกสอนุภาค โดยสังเกตพฤติกรรมการ การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค
ตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด และการสรุป เมอร์เรย์ เกลล์-แมนน์ และจอร์จ ซไวก์ ได้เสนอว่า ในโปรตอนและนิวตรอนแต่ละอนุภาคประกอบด้วย
สาระสําคัญ องค์ประกอบที่เล็กกว่ามารวมตัวกันอยู่ พบว่า ภายในโปรตอนและนิวตรอนประกอบด้วยอนุภาคอื่นที่มีขนาด
2. ประเมิ น ทั ก ษะและกระบวนการทางวิ ท ยา เล็กลงไปอีก เรียกว่า ควาร์ก โดยควาร์กเป็นอนุภาคมูลฐานหนึ่งซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่สุดในทางทฤษฎีฟิสิกส์
มีขนาดเล็กกว่าโปรตอนประมาณ 1,000 เท่า
ศาสตร จ ากการสื บ ค น ข อ มู ล และนํ า เสนอ
ควาร์กมีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ อัป (u) ดาวน์ (d) ชาร์ม (c) สเตรนจ์ (s) ท็อป (t) และบอตทอม (b) โดย
ผลการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ประโยชน ด  า นฟ สิ ก ส ควาร์กทุกชนิดจะมีแอนติควาร์ก ซึง่ จะแตกต่างกันแค่ประจุไฟฟ้า เมือ่ ควาร์กตัง้ แต่ 2 อนุภาคขึน้ ไป มารวมกัน
อนุภาค และการนําความรูท ไี่ ดไปใชประโยชน โดยยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยแรงเข้ม จะก่อให้เกิดอนุภาคใหม่ที่มีขนาดใหญ่กว่าควาร์ก เรียกว่า แฮดรอน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต ซึ่งแฮดรอนที่เสถียรที่สุด ได้แก่ โปรตอนและนิวตรอน
พฤติกรรมความสนใจใฝรหู รืออยากรูอ ยากเห็น ในทฤษฎีแบบจ�าลองมาตรฐาน (standard model) อันตรกิริยาทั้งหลายในธรรมชาติเกิดจากการแลกเปลี่ยน
การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค อนุภาคหรือเป็นสือ่ ของแรงต่าง ๆ เช่น อันตรกิรยิ าไฟฟ้า เกิดจากการแลกเปลีย่ นโฟตอน อันตรกิรยิ านิวเคลียร์
อย่างอ่อนหรือแรงอ่อน เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาค W-โบซอน และ Z-โบซอน ส่วนอันตรกิริยานิวเคลียร์
อย่างเข้มหรือแรงเข้ม เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคกลูออน
อนุภาคทั้งหมด
อนุภาคมูลฐาน อนุภาคประกอบ (แฮดรอน)
เฟร์มิออน โบซอน แบริออน มีซอน
เลปตอน (ประกอบด้วย (ควาร์ก +
ควาร์ก อนุภาคที่เป็นสื่อ ควาร์ก 3 ตัว เช่น แอนติควาร์ก เช่น
อิเล็กตรอน
มิวออน ทาว และ ของแรง (กลูออน โปรตอน นิวตรอน) ไพออน เคออน)
นิวทริโน W Z โฟตอน)

การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคน�าไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีที่น�ามาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน


การแพทย์ ด้านการรักษาความปลอดภัย
1. การใช้เครือ่ งเร่งอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ง อนุภาคโปรตอนมาจากนิวเคลียสของไฮโดรเจนจะถูกเร่ง
ในเครือ่ งเร่งอนุภาค แล้วถูกปล่อยผ่านท่อน�าโดยบังคับด้วยทิศทางของสนามแม่เหล็กไปยังจุดทีถ่ กู บังคับทิศทาง
ไปยังเซลล์ที่ต้องการฉายรังสี จุดเด่นของอนุภาคโปรตอน คือ เมื่อผ่านตัวกลางหรือผิวผู้ป่วยเข้าไป ตัวกลาง
จะดูดกลืนปริมาณรังสีนอ้ ยมาก ท�าให้ตวั กลางหรือเนือ้ เยือ่ ทีเ่ ป็นทางผ่านและอยูต่ ดิ กับก้อนมะเร็งได้รบั ปริมาณ
รังสีน้อย
2. การใช้เครื่องถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอนในการวินิจฉัยโรคมะเร็ง หรือ PET คือ
การตรวจทางเวชศาสตร์นวิ เคลียร์ทใี่ ช้ศกึ ษาการท�างานของอวัยวะเป้าหมายทีต่ อ้ งการ โดยอาศัยการถ่ายภาพ
การกระจายตัวของสารกัมมันตรังสีที่แตกตัวให้โพซิตรอน เช่น คาร์บอน-11 ไนโตรเจน-13 ออกซิเจน-15
3. การใช้เครือ่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในการตรวจวัตถุอนั ตรายในสนามบิน รังสีเอกซ์เป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ทีม่ พี ลังงานสูง มีอา� นาจทะลุผา่ นสูง เมือ่ รังสีเอกซ์ผา่ นวัตถุ พลังงานของรังสีเอกซ์บางส่วนจะถูกวัตถุดดู กลืนไว้
ซึ่งปริมาณที่ถูกดูดกลืนจะขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุหรือขึ้นอยู่กับมวลอะตอมของสาร เมื่อรังสีเอกซ์ผ่านสิ่งของ
หรือสัมภาระแล้ว หัววัดจะตรวจวัดปริมาณรังสีเอกซ์ที่ผ่านมาแล้วน�าไปประมวลแสดงผ่านจอคอมพิวเตอร์
178

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การคนควาวิจยั ดาน 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระกลุมละ 3-4 คน
ฟสิกสอนุภาค ไดจากอินโฟกราฟกที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นสรุป โดยศึกษา 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมในสวน
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ของเนือ้ หาทีม่ ขี อ สงสัยหรือยังไมเขาใจเกีย่ วกับหนวยการเรียนรู
ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร ที่ 7 ฟสิกสนิวเคลียร จากแหลงขอมูลสารสนเทศ
3. แตละกลุม อภิปรายความรูร ว มกันแลวนําขอมูลทีไ่ ดมาจัดทําเปน
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3-6, 8
ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินอินโฟกราฟิก

3
ระดับคะแนน
2 1
ไฟลงานการนําเสนอดวยโปรแกรม PowerPoint โดยไฟลงานนี้
จะตองมีเนื้อหาครอบคลุมทั้งหนวยการเรียนรู พรอมทั้งตกแตง
แบบประเมินผลงานอินโฟกราฟิก 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินอินโฟกราฟิกของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
คะแนน 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ระดับคุณภาพ ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

ใหสวยงาม เสร็จแลวตัวแทนกลุมสงงานเปนไฟลสกุล .pdf ให


ลาดับที่ รายการประเมิน 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
ระบบ
3 ความคิดสร้างสรรค์
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น

ครูทางจดหมายอิเล็กทรอนิกสเพื่อตรวจใหคะแนน
4 ความเป็นระเบียบ
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
รวม ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนาชั้น
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13
8–10
ต่ากว่า 8
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
เรียน จากนั้นครูสุมตัวแทนของกลุมอื่นๆ แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับผลงานของเพื่อน

T190
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก
4. ถูก 5. ถูก 6. ถูก
Apply Your Knowledge 7. ผิด 8. ถูก 9. ถูก
คําชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน แล้วร่วมกันศึกษาและตอบค�าถามจากสถานการณ์
10. ถูก
ที่ก�าหนดให้ต่อไปนี้
ในปัจจุบันความต้องการอัญมณีเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่แหล่งวัตถุดิบและการผลิตกลับลดลง จึงมี
การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยกระบวนการทางธรรมชาติให้มีความรวดเร็วมากขึ้น โดยการปรับปรุงสีของ
อัญมณีด้วยการฉายรังสีหรือการใช้ความร้อนกันมากขึ้น ปัจจุบันมีผู้สนใจการเพิ่มมูลค่าของอัญมณี
ด้วยการฉายรังสีให้มีสีเปลี่ยนไปจากเดิมและมีสีสันสวยงามขึ้น รังสีที่นิยมใช้กันมีอยู่ 3 ชนิด คือ
รังสีแกมมา อิเล็กตรอนพลังงานสูง และนิวตรอนพลังงานสูง
รังสีทนี่ ยิ มน�ามาฉายลงบนอัญมณีแต่ละชนิดมีสมบัตแิ ละความสามารถในการเปลีย่ นแปลงสมบัติ
ทางกายภาพหรือสมบัติทางเคมีของอัญมณีแตกต่างกันอย่างไร

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาว่าข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. ร งั สีแอลฟาสามารถท�าให้ตวั กลางทีเ่ คลือ่ นทีผ่ า่ นไปแตกตัวเป็นไอออนได้นอ้ ยกว่า 1.2
รังสีบีตาและรังสีแกมมา
2. ผลรวมของจ�านวนโปรตอนกับนิวตรอน เรียกว่า เลขมวล 2.2
3. เมื่อนิวเคลียสของธาตุหนึ่งมีเลขมวลลดลง 4 และเลขอะตอมลดลง 2 แสดงถึง 3.
การสลายให้อนุภาคแอลฟาของนิวเคลียส
4. อัตราการลดลงของจ�านวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี เรียกว่า กัมมันตภาพ 3.
5. ความน่าจะเป็นในการทอดลูกเต๋าแล้วขึน้ หน้าทีต่ อ้ งการเปรียบได้กบั ค่าคงตัวการ 3.
ุ ด
ส ม

สลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี

ง ใ
ก ล

6. เครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์มวลอะตอมของธาตุต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการเกี่ยวกับ 4.
ท ึ
บ ั น

การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เรียกว่า แมสสเปกโทรมิเตอร์


7. พลังงานยึดเหนี่ยวจะมีค่ามากขึ้นเมื่อจ�านวนนิวคลีออนในนิวเคลียสลดลง 5.2
8. ปฏิกิริยาลูกโซ่สามารถควบคุมได้ด้วยเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 6.1
9. หลักการป้องกันอันตรายจากรังสีตามหลักของ ALARA ประกอบด้วยเวลา 7.2
ระยะทาง และเครื่องก�าบัง
10. ผลจากการชนกันของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอนท�าให้ได้โฟตอนรังสีแกมมา 8.3
2 อนุภาค
ฟิสิกส์อะตอม 179

แนวตอบ Apply Your Knowledge


1. รังสีแกมมา การฉายรังสีอัญมณีโดยทั่วไปใชรังสีแกมมาจากโคบอลต-60 โดยที่รังสีแกมมาจะไปทําใหอิเล็กตรอนในโครงสรางผลึกของอัญมณีหลุดออก
จากตําแหนงเดิม การเปลี่ยนสีขึ้นกับตําแหนงที่อิเล็กตรอนกลับคืนลงในโครงสรางของผลึก และประจุของอะตอมที่อยูใกลเคียงซึ่งเปนตัวกําหนดลักษณะ
การดูดกลืนแสงหรือการใหสีของผลึก การฉายอัญมณีดวยรังสีแกมมาไมกอใหเกิดไอโซโทปรังสีใดๆ ภายในเนื้ออัญมณี จัดวาเปนการฉายรังสีในอัญมณี
ทีป่ ลอดภัยทีส่ ดุ แตการเปลีย่ นแปลงสีของอัญมณีไดผลนอยกวารังสีชนิดอืน่ ๆ อัญมณีทนี่ ยิ มนํามาฉายดวยรังสีแกมมา เชน โทแพซ (topaz) เปนแรซลิ เิ กต
ที่ประกอบดวยอะลูมิเนียมและฟลูออรีน สีที่ไดจากการฉายรังสีเปนสีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลแดง จากนั้นนําไปใหความรอนดวยการเผา จะทําใหไดสีฟาอม
เทา มีชื่อทางการคาวา โคบอลตบลูโทแพซ
2. อิเล็กตรอนพลังงานสูง (ประมาณ 10-20 เมกะอิเล็กตรอนโวลต) มีแหลงกําเนิดจากเครื่องเรงอนุภาค เมื่อนํามาฉายอัญมณีจะทําใหเกิดความรอนเฉพาะที่
สูงมาก อาจทําใหอัญมณีแตกราวได จึงตองมีการระบายความรอนดวยนํ้า โดยอิเล็กตรอนจะใหปริมาณรังสีดูดกลืนแกอัญมณีสูงกวารังสีแกมมา ทําใหผิว
ของอัญมณีมีสีสดสวยกวา
3. นิวตรอนพลังงานสูง มีแหลงกําเนิดจากเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร เนื่องจากรังสีนิวตรอนมีอํานาจทะลุผานหรือสามารถทะลุทะลวงเขาไปในเนื้ออัญมณีได
ดีกวาอิเล็กตรอน เมื่อนํามาฉายอัญมณีทําใหอัญมณีไดรับรังสีสมํ่าเสมอทั่วทั้งกอน การฉายดวยรังสีนิวตรอนจะกอใหเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรกับธาตุตางๆ
ในเนื้ออัญมณีแตละชนิดแตกตางกันไป หลังจากทําการฉายรังสีนิวตรอนลงบนอัญมณีแลวจึงตองปลอยทิ้งไวระยะเวลาหนึ่ง เพื่อใหไอโซโทปของรังสีที่
เกิดขึ้นไดสลายจนมีระดับของคากัมมันตภาพที่ปลอดภัย โดยใชมาตรฐานสากล คือ ไมเกิน 2 นาโนคูรีตอกรัม

T191
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions 7


1. เนื่ อ งจากมวลของบี ต าซึ่ ง เท า กั บ มวลของ
อิเล็กตรอนมีคา นอยมาก คือ นอยกวามวลของ
โปรตอนหรือนิวตรอนประมาณ 10,000 เทา จึง
w ww
U nit Questions 7
คําชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
สรุปไดวา การสลายใหรงั สีบตี าจึงไมทาํ ใหมวล
1. เมื่อนิวเคลียสหนึ่งมีการสลายให้รังสีบีตาออกมาแล้ว มวลของนิวเคลียสจะมีการเปลี่ยนแปลง
ของนิวเคลียสเปลี่ยนแปลง หรือไม่ อย่างไร
2. ก) รังสีแอลฟา > รังสีบีตา > รังสีแกมมา 2. รังสีที่เกิดจากการสลายของนิวเคลียสมี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา
ข) รังสีแอลฟา > รังสีบีตา > รังสีแกมมา ก) จงเรียงล�าดับมวลของรังสีทั้งสามจากมากไปน้อย
ค) รังสีแอลฟา > รังสีบีตา > รังสีแกมมา ข) จงเรียงล�าดับจากความสามารถในการท�าให้ตัวกลางแตกตัวเป็นไอออนได้จากน้อยไปมาก
ง) รังสีแกมมา > รังสีบีตา > รังสีแอลฟา ค) จงเรียงล�าดับอัตราการสูญเสียพลังงานจากน้อยไปมาก
จ) รังสีแกมมา > รังสีบีตา > รังสีแอลฟา ง) จงเรียงล�าดับอ�านาจในการทะลุผ่านจากมากไปน้อย
จ) จงเรียงล�าดับพลังงานรังสีจากน้อยไปมาก
3. ถาเก็บธาตุนไี้ ว 30 วัน จะเหลือธาตุ 7.5 × 1017
3. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีครึ่งชีวิต 6 วัน ถ้าเก็บธาตุนั้นจ�านวน 24 × 1018 อะตอม ไว้ 30 วัน
อะตอม จะเหลือธาตุนั้นกี่อะตอม
4. จะเหลือจํานวนอะตอมของสารอยูร อ ยละ 6.25 4. สารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 สลายตัวให้รังสีบีตาและรังสีแกมมา โดยมีครึ่งชีวิต 3 ปี เมื่อเวลา
จากตอนเริ่มตน ผ่านไป 12 ปี จะเหลือจ�านวนอะตอมของสารอยู่ร้อยละเท่าใดจากตอนเริ่มต้น
5. จะใชเวลา 30 วัน ธาตุดงั กลาวจึงจะเหลือเพียง 5. ธาตุไอโอดีน-131 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 10 วัน อยู่จ�านวน 0.5 กรัม จะใช้เวลานานเท่าใด จึงจะเหลือ
0.0625 กรัม ธาตุดังกล่าวเพียง 0.0625 กรัม
6. เมื่อเวลาผานไป 24 วัน กัมมันตภาพของสาร 6. สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งขณะเริ่มต้นมีกัมมันตภาพ 10,000 เบ็กเคอเรล มีครึ่งชีวิต 8 วัน
อยากทราบว่า เวลาผ่านไปเท่าใดกัมมันตภาพของสารนี้จะลดลงเหลือ 1,250 เบ็กเคอเรล
จะลดลงเหลือ 1,250 เบ็กเคอเรล
7. นักวิจัยคนหนึ่งได้รับสารละลายที่เป็นสารกัมมันตรังสีมาเก็บไว้ในห้องปฏิบัติการ โดยตอนที่รับ
7. สารละลายนีถ้ กู เก็บไวในหองปฏิบตั กิ ารมาแลว สารละลายมาวัดกัมมันตภาพได้ 16,800 เบ็กเคอเรล เมือ่ เวลาผ่านไปนักวิจยั ได้นา� สารละลายนีม้ า
เปนเวลา 17.78 วัน หรือประมาณ 17 วัน 18 วัดกัมมันตภาพอีกครั้งได้ 3,600 เบ็กเคอเรล ถ้าครึ่งชีวิตของสารละลายนี้ คือ 8 วัน สารละลายนี้
ชั่วโมง 43 นาที 12 วินาที ถูกเก็บไว้ในห้องปฏิบัติการมาแล้วเป็นเวลากี่วัน
8. จะตองใชเวลา 60 นาที ปริมาณไอโซโทป 8. ไ อโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 20 นาที อยากทราบว่า จะต้องใช้เวลากี่นาที จึงจะ
กัมมันตรังสีจึงจะเหลือ 1 ใน 8 ของปริมาณ มีปริมาณลดลงเหลือเพียง 1 ใน 8 ของปริมาณเมื่อตอนเริ่มต้น
เริ่มตน 9. เรเดียมมีครึง่ ชีวติ 1,600 ปี อยากทราบว่า ในตัวอย่างเรเดียม 1 กรัม อะตอมของเรเดียมทีส่ ลายไป
ในเวลา 4 วินาที มีค่าเท่าใด ก�าหนดให้มวลอะตอมของเรเดียมเท่ากับ 266 u
9. อะตอมของเรเดียมทีส่ ลายไปเทากับ 1.24 × 1011
อะตอม 10. วดั กัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีชนิดหนึง่ ได้ 30 × 1011 เบ็กเคอเรล หลังจากนัน้ อีก 4 ชัว่ โมง
ท�าการวัดอีกครัง้ พบว่า กัมมันตภาพลดลงเหลือ 1.0 × 1011 เบ็กเคอเรล จงหาว่าสารกัมมันตรังสี
10. สารกัมมันตรังสีชนิดนี้มีเวลาครึ่งชีวิต 0.815 ชนิดนี้มีครึ่งชีวิตกี่ชั่วโมง
ชั่วโมง
180

T192
นํา สอน สรุป ประเมิน

11. เศษไมโบราณนี้ไดตายมาแลว 16,950 ป

11. นกั รังสีวทิ ยาได้นา� เศษไม้โบราณไปวัดกัมมันตภาพของคาร์บอน-14 ได้คา่ กัมมันตภาพ 9 ต่อนาที 12. นักวิทยาศาสตรไดเก็บสารเคมีไวในหอง
แต่เมื่อวัดกัมมันตภาพของคาร์บอน-14 ในไม้ชนิดเดียวกันกับเศษไม้โบราณแต่มีชีวิตและ ทดลองเปนเวลานาน 25 วัน
อบแห้งแล้วในปริมาณที่เท่ากันวัดค่ากัมมันตภาพได้ 72 ต่อนาที อยากทราบว่า เศษไม้โบราณ 13. ครึ่งชีวิตของธาตุ x เปน 2 เทาของธาตุ y
ได้ตายมากี่ปีแล้ว ก�าหนดให้ครึ่งชีวิตของคาร์บอน-14 เท่ากับ 5,650 ปี
14. จํานวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีขณะนั้นเปน
12. นักวิทยาศาสตร์ได้วัดกัมมันตภาพสารเคมีชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นสารกัมมันตรังสีที่ได้เก็บไว้ในห้อง 5.34 × 1010 อนุภาค
ทดลองเป็นเวลานานได้ 1,500 ต่อวินาที แต่สารเคมีชนิดนีท้ เี่ ป็นของใหม่จะมีคา่ กัมมันตรังสีเป็น
7,500 ต่อวินาที เมื่อค่าคงตัวการสลายของสารกัมมันตรังสีในสารเคมีมีค่าเป็น 0.1386 ต่อวัน 15. จะเหลืออะตอมของธาตุ A เทากับ 5 × 1020
อยากทราบว่า นักวิทยาศาสตร์ได้เก็บสารเคมีไว้ในห้องทดลองเป็นเวลานานเท่าใด อะตอม
13. ถ้าธาตุ x มีจ�านวนอะตอมเป็น 4 เท่าของธาตุ y และมีกัมมันตภาพเป็น 2 เท่าของธาตุ y 16. สารนี้มีเวลาครึ่งชีวิต 0.9 ชั่วโมง
จงหาว่าครึ่งชีวิตของธาตุ x จะเป็นกี่เท่าของธาตุ y 17. หลังจากการทอดลูกเตาครั้งที่ 4 เมื่อหยิบลูกที่
14. ธาตุกมั มันตรังสีจา� นวนหนึง่ มีกมั มันตภาพ 1 มิลลิครู ี และมีครึง่ ชีวติ เท่ากับ 1,000 วินาที จ�านวน ขึ้นหนาสีออกแลวจะเหลือลูกเตาอยูประมาณ
นิวเคลียสกัมมันตรังสีขณะนั้นเป็นเท่าใด 112-113 ลูก จากจํานวน 300 ลูก
15. ธาตุ A เป็นธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่มีเวลาครึ่งชีวิต 15 วัน ถ้าเก็บธาตุ A จ�านวน 20 × 1020 18. ระยะเวลาหรือจํานวนครั้งที่ทอดลูกเตาแลว
อะตอม ไว้เป็นเวลา 30 วัน จะเหลือธาตุ A กี่อะตอม ทําใหจํานวนลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจํานวน
16. สารกัมมันตรังสีชิ้นหนึ่งมีกัมมันตภาพ 16 × 1011 เบ็กเคอเรล อีก 2 ชั่วโมงต่อมา กัมมันตภาพ เริ่มตน คือ 2 หรือ 3 ครั้งของการทอด
ลดลงเหลือ 1.2 × 1011 เบ็กเคอเรล สารนี้มีเวลาครึ่งชีวิตกี่ชั่วโมง 19. เพื่อใหเหลือลูกเตา 16 หนา ที่มีการแตมสีไว
17. ในการทดลองทอดลูกเต๋าเพื่อเปรียบเทียบกับการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี นักเรียนคน เพียงหนาเดียวจํานวน 200 ลูก จากทั้งหมด
หนึ่งใช้ลูกเต๋า 6 หน้า จ�านวน 300 ลูก โดยแต้มสีไว้ 1 หน้า ทุกลูก และหยิบลูกที่ขึ้นหน้าสีออก 800 ลูก จะตองผานไปแลว 6 ครึ่งชีวิต หรือ
ทุกครั้งที่ทอด จงประมาณว่าหลังจากการทอดลูกเต๋าครั้งที่ 4 เมื่อหยิบลูกที่ขึ้นหน้าสีออกแล้วจะ ตองทอดลูกเตาทั้งหมด 6 ครั้ง
เหลือลูกเต๋ากี่ลูก
20. รัศมีของนิวเคลียส 6430 Zn มีขนาดเทากับ
18. ลูกเต๋า 6 หน้า แต่ละหน้ามีหมายเลข 1-6 เขียนไว้ เริ่มต้นทอดลูกเต๋านี้จ�านวน 100 ลูก พร้อม 4.8 × 10-15 เมตร
กัน และคัดลูกทีอ่ อกเลข 1 และ 2 ออกไป แล้วน�าลูกเต๋าทีเ่ หลือทอดใหม่และคัดออกโดยใช้เกณฑ์
เดิม ค่าครึ่งชีวิตของลูกเต๋ามีค่าเท่าใด 21. รัศมีนวิ เคลียสของไอโซโทป 22488Ra เทากับ 2.11
เทาของรัศมีนิวเคลียสของไอโซโทป 2412 Mg
19. ลูกเต๋า 16 หน้า แต้มสีไว้ที่หน้าหนึ่งจ�านวน 800 ลูก น�ามาทอดและคัดลูกที่หงายหน้าแต้มสีออก
ต้องทอดกี่ครั้งจึงจะเหลือลูกเต๋า 200 ลูก
20. รัศมีของนิวเคลียส 6430Zn มีขนาดเท่ากับกี่เมตร
21. ธาตุไอโซโทปของ 22488Ra จะมีรัศมีเป็นกี่เท่าของธาตุไอโซโทปของ 2412Mg

ฟิสิกส์อะตอม 181

T193
นํา สอน สรุป ประเมิน

22. 168O มีเสถียรภาพมากที่สุด รองลงมาเปน 42He


และ 73Li มีเสถียรภาพนอยที่สุด 22. นิวเคลียสของ 42He 73Li และ 168O มีพลังงานยึดเหนี่ยว 28.3 39.2 และ 127.6 เมกะอิเล็กตรอน
23. พลังงานยึดเหนี่ยวทั้งหมดของทริเทียมมีคา โวลต์ ตามล�าดับ จงเรียงล�าดับเสถียรภาพของนิวเคลียสทั้งสาม
เทากับ 8.48 เมกะอิเล็กตรอนโวลต 23. หากมวลของโปรตอน 1 ตัว เท่ากับ 1.007825 u มวลของนิวตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.008665 u
24. พลังงานจลนมากที่สุดของอนุภาคบีตาลบที่ เมื่อโปรตอนกับนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียสของทริเทียมจะมีมวลรวมเท่ากับ 3.0160492 u
ไดจากการสลายของนิวเคลียสเทากับ -1.310 จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวทั้งหมด
เมกะอิเล็กตรอนโวลต 24. พลังงานจลน์มากที่สุดของอนุภาคบีตาลบที่ได้จากการสลายของนิวเคลียสมีค่าเท่าใด ก�าหนดให้
25. พลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนเทากับ 2.83 มวลอะตอมของ 4019K และ 4020Ca เป็น 39.9639987 u และ 39.9625912 u ตามล�าดับ
เมกะอิเล็กตรอนโวลต 25. ธาตุทริเทียมซึ่งมีเลขอะตอมเป็น 1 เลขมวลเป็น 3 และมวลอะตอม 3.016049 u มีค่าพลังงาน
26. พลังงานที่ใชในการแยกโปรตอนและนิวตรอน ยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเท่ากับเท่าใดในหน่วยเมกะอิเล็กตรอนโวลต์
ทั้งหมดออกมาเทากับ 1.54 × 1025 เมกะอิเล็ก
26. เหรียญ 25 สตางค์ มีมวล 3.0 กรัม จงหาพลังงานที่ใช้ในการแยกโปรตอนและนิวตรอนทั้งหมด
ตรอนโวลต ออกมา สมมติว่าเหรียญ 25 สตางค์ ท�ามาจากอะตอมของทองแดง-63 ซึ่งมีมวลโมลาร์เป็น
27. Y คือ โปรตอนหรืออะตอมของไฮโดรเจน 62.92960 กรัมต่อโมล
28. พลังงานนิวเคลียรทเี่ กิดจากปฏิกริ ยิ านิวเคลียร 27. Y คือ อนุภาคอะไรในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 2412Mg (α, Y) 2713Al
ดังกลาวที่คาเทากับ 9.41 เมกะอิเล็กตรอน
28. พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ X + a Y + b จะมีค่ากี่เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
โวลต
เมื่อ X มีมวล 196.965600 u Y มีมวล 194.967009 u a มีมวล 2.014022 u และ b มีมวล
29. พลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 42He จะมีคา 4.002504 u
เทากับ 10.6 เมกะอิเล็กตรอนโวลต
29. การเกิดปฏิกิริยา 42He + 42He + 11H + 73Li ต้องใช้พลังงาน 18 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
20
30. จะตองเกิดฟชชัน 2.5 × 10 ครั้งตอวินาที หากพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 73Li เท่ากับ 39.2 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ จงหาพลังงาน
จึงจะทําใหไดกําลังงาน 931 วัตต ยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 42He
30. ปฏิกิริยาฟิชชันของธาตุหนึ่ง ให้มวลรวมของธาตุหลังปฏิกิริยาลดลง 0.025 u จงค�านวณว่าจะ
ต้องเกิดฟิชชันกี่ครั้งต่อวินาที จึงจะท�าให้ได้ก�าลังงาน 931 วัตต์

182

T194
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Test for U

1. คาของมวลตอประจุไฟฟาสามารถเขียนในรูป

Test for U 2 2
ของตัวแปรไดวา B2VR
2. ไอออนมีมวลเชิงอะตอมเทากับ 125.9036 u
คําชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
3. โมเมนตัมเทากับ qBR และพลังงานจลนเทากับ
1. เ ครื่องวัดมวลเครื่องหนึ่งประกอบด้วยส่วนเร่งอนุภาคและส่วนที่ใช้วิเคราะห์มวล ส่วนเร่ง (qBR)2
อนุภาคจะจ่ายความต่างศักย์ไฟฟ้า V ให้แก่ไอออนที่มีประจุไฟฟ้า q มวล m เคลื่อนที่จากหยุด 2M
นิ่งให้มีอัตราเร็ว u โดยส่วนวิเคราะห์หามวลของอนุภาคมีสนามแม่เหล็ก B ในทิศทางตั้งฉากกับ 4. ปริมาณรังสีแกมมาที่ออกมาไดพอดีจะคิดเปน
อัตราเร็ว u ถ้าอนุภาคเข้ามาในส่วนวิเคราะห์หามวลของอนุภาค และเคลื่อนที่เข้าไปในส่วนโค้ง รอยละ 0.16 ของปริมาณเดิม
ครึ่งวงกลมรัศมี R ระยะทางแนวตรงจากจุดที่เข้ามาถึงจุดที่วัดได้ให้เป็นระยะ x จงหาว่าค่ามวล
ต่อประจุไฟฟ้าสามารถเขียนในรูปของตัวแปรที่ให้มาได้อย่างไร 5. จะมีปริมาณของ 10250Sn ทั้งหมด 3.28 โมล
2. จ ากข้อ 1. เมื่อเครื่องเร่งอนุภาคใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้า 1,200 โวลต์ เพื่อเร่งให้ไอออนที่มีประจุ
q มวล m เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งให้มีอัตราเร็ว v โดยส่วนวิเคราะห์หามวลของอนุภาคมีสนาม
แม่เหล็กในทิศตั้งฉากกับความเร็วขนาด 70 มิลลิเทสลา ถ้าไอออนมีประจุ 1.6022 × 10-19
คูลอมบ์ เข้ามาในส่วนวิเคราะห์หามวลของอนุภาค และเคลื่อนที่เป็นส่วนโค้งของรูปครึ่งวงกลม
วัดรัศมีการเคลื่อนที่ของไอออนดังกล่าวได้เท่ากับ 80 เซนติเมตร จงหามวลเชิงอะตอมของ
ไอออนดังกล่าว ก�าหนดให้ 1 หน่วยมวลเชิงอะตอมเท่ากับ 1.6605 × 10-27 กิโลกรัม
3. อ นุภาคชนิดหนึ่งมีประจุไฟฟ้า q และมีมวล M เคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี R เมื่อเคลื่อนเข้าไปใน
สนามแม่เหล็ก B ทีต่ งั้ ฉากกับความเร็ว จงหาขนาดของโมเมนตัมและพลังงานจลน์ของอนุภาคนี้
โดยตอบเป็นสมการในรูปของ B q M และ R
4. ค นไข้คนหนึ่งต้องการได้รับรังสีแกมมาจากโคบอลต์ -60 แต่ปริมาณรังสีแกมมาที่ใช้มีมาก
เกินไป จึงน�าแผ่นตะกั่วมากั้นซึ่งต้องใช้แผ่นตะกั่ว 4 แผ่น จึงจะได้ปริมาณรังสีแกมมาที่พอดี
ถ้าตะกั่ว 1 แผ่น สามารถกั้นรังสีแกมมาไม่ให้ผ่านมาได้ร้อยละ 80 อยากทราบว่า ปริมาณรังสี
แกมมาที่ออกมาได้พอดีจะคิดเป็นร้อยละเท่าใดของปริมาณเดิม
5. ส ารกัมมันตรังสี 10652Te สลายตัวให้สาร 10250Sn และอนุภาคแอลฟา ซึ่งสาร 10250Sn ก็เป็นสาร
กัมมันตรังสีมีค่าครึ่งชีวิตเป็น 4.5 วินาที ที่เวลาเริ่มต้น สารตัวอย่างจะมีสาร 10652Te จ�านวน
4.00 โมล และสาร 10250Sn จ�านวน 1.50 โมล หลังจากเวลาผ่านไป 25 ไมโครวินาที สารตัวอย่าง
จะมีสาร 10652Te จ�านวน 3.00 โมล และสาร 10250Sn จ�านวน 2.50 โมล อยากทราบว่า จะมีปริมาณ
ของ 10250Sn เท่าใด เมื่อเวลาผ่านไปอีก 25 ไมโครวินาที

ฟิสิกส์อะตอม 183

T195
นํา สอน สรุป ประเมิน

6. ถาหินตัวอยางตอนเริ่มแรกไมมีสาร 14360Nd
หินตัวอยางนี้จะมีอายุ 7.664 × 109 ป
7. จะตองใชนวิ ตรอนซึง่ มีพลังงานจลนอยางนอย 6. ห ินตัวอย่างจากดวงจันทร์ประกอบไปด้วยสาร 14762Sm จ�านวน 3.00 กรัม และสาร 14360Nd
1.84 เมกะอิเล็กตรอนโวลต จ�านวน 0.15 กรัม ถ้าสาร 14762Sm สลายให้อนุภาคแอลฟา และสาร 14360Nd โดยสาร 14762Sm
8. พลังงานที่ไดจากไฮโดรเจน 1.2 กิโลกรัม มีค่าครึ่งชีวิตเป็น 1.06 × 1011 ปี ถ้าหินตัวอย่างตอนเริ่มแรกไม่มีสาร 14360Nd หินตัวอย่างนี้จะ
ที่เกิดปฏิกิริยานี้ มีคาเทากับ 4.637 × 1027 มีอายุเท่าใด ก�าหนดให้มวลอะตอมของ 14762Sm และ 14360Nd มีค่าเป็น 146.9148933 u และ
เมกะอิเล็กตรอนโวลต 142.9098103 u ตามล�าดับ
9. จะตองใชยูเรเนียม-235 จํานวน 5.4 × 1024 7. ใ นการยิงนิวตรอนเข้าชนอะลูมิเนียม 2713Al เพื่อให้เกิดปฏิกิริยา 2713Al (n, p) 2712Mg เราจะต้องใช้
อะตอมต อ วั น และมวลของยู เ รเนี ย ม-235 นิวตรอนซึ่งมีพลังงานจลน์อย่างน้อยกี่เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ก�าหนดให้มวลอะตอมของ 2713Al
ที่ใชไปทั้งหมดเทากับ 2,107.97 กิโลกรัม เท่ากับ 26.981535 u มวลอะตอมของ 2712Mg เท่ากับ 26.984346 u มวลอะตอมของไฮโดรเจน
เท่ากับ 1.007825 u และมวลอะตอมของนิวตรอนเท่ากับ 1.008665 u
10. หลังการระเบิดจะมีมวลที่หายไปทั้งสิ้น
124.9 × 10-3 กิโลกรัม 8. ปฏิกิริยาฟิวชันที่เกิดขึ้นในดวงอาทิตย์จะได้พลังงานออกมาจ�านวนมาก ดังสมการ
4 11H 42He + 2 +10e + พลังงาน
จงค�านวณหาค่าพลังงานทีไ่ ด้จากไฮโดรเจน 1.2 กิโลกรัม ทีเ่ กิดปฏิกริ ยิ านี ้ ก�าหนดให้มวลอะตอม
ของไฮโดรเจนเท่ากับ 1.00782 u หรือเท่ากับ 1 กรัมต่อโมล มวลอะตอมของฮีเลียมเท่ากับ
4.00260 u มวลของอิเล็กตรอนและโพซิตรอนเท่ากับ 0.00055 u และเลขอาโวกาโดรเท่ากับ
6.02 × 1023 ต่อโมล
9. เ ตาปฏิกรณ์ปรมาณูหนึ่งสามารถท�าให้อะตอมของยูเรเนียม-235 แยกออกกลายเป็นอะตอม
ของธาตุที่มีขนาดเล็กกว่าพร้อมกับปลดปล่อยพลังงานออกมา 200 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ถ้า
น�ายูเรเนียม-235 จ�านวนหนึ่งมาเป็นเชื้อเพลิงให้เตาปฏิกรณ์ปรมาณูนี้ จะท�าให้ได้พลังงาน
ออกมา 600 เมกะวัตต์ อยากทราบว่า เมื่อเปิดเตาปฏิกรณ์ปรมาณูนี้เป็นเวลา 1 วัน จะต้องใช้
ยูเรเนียม-235 กีอ่ ะตอมหรือกีก่ โิ ลกรัม ก�าหนดให้เตาปฏิกรณ์ปรมาณูนมี้ ปี ระสิทธิภาพร้อยละ 30
10. ใ นการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ลูกหนึ่งใช้ 23592U ท�าให้เกิดฟิชชันได้พลังงานทั้งสิ้น 9.0 × 1012 จูล
จงหาว่าหลังการระเบิดจะมีมวลทีห่ ายไปทัง้ สิน้ กีก่ โิ ลกรัม ก�าหนดให้มวลอะตอมของ 23592U เท่ากับ
235.043930 u มวลอะตอมของ 14156Ba เท่ากับ 140.914411 u มวลอะตอมของ 9236Kr เท่ากับ
91.926156 u และมวลอะตอมของ 10n เท่ากับ 1.008665 u

184 Key Test for U 7

T196
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวทางการจัดทํากิจกรรม
Fun Science Activity

Fun Sc ence ครูอาจแนะนําหรือเสนอแนะหลักการทีใ่ ชในการ


ปฏิบัติกิจกรรม มองหาสัญญาณอินฟราเรด เพื่อให
Activity นักเรียนสามารถทํากิจกรรมไดอยางถูกตองและมี
ความเขาใจหลักการวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ ดังนี้
มองหาสัญญาณอินฟราเรด • ครูผูสอนใชรโี มตโทรทัศนเปนอุปกรณในการ
วัสดุอุปกรณ์ สาธิตรวมกับโทรศัพทมอื ถือทีส่ ามารถถายรูป
1. โทรทัศน์และรีโมตคอนโทรล
ได แลวกดรีโมตคางไว ใหนักเรียนสังเกตจุด
2. โทรศัพท์มือถือที่มีกล้อง ทีส่ ญ
ั ญาณอินฟราเรดดวยตาเปลาและสังเกต
ผานกลองโทรศัพทมือถือ (กลองโทรศัพท
มื อ ถื อ สามารถตรวจจั บ รั ง สี อิ น ฟราเรดได
เนื่องจากไมมีฟลเตอรกรองแสงอยางกลอง
วิธีปฏิบัติ ถายรูปทั่วไป)
1. ใช้รีโมตคอนโทรลเปิด-ปิดโทรทัศน์ สังเกตที่ปลายด้านบนที่มีตัวส่งสัญญาณอินฟราเรดว่ามีแสงออกมา • ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมวา เซ็นเซอรรับภาพ
หรือไม่ จากนั้นท�าห้องให้มืด แล้วใช้รีโมตเปิด-ปิดโทรทัศน์ สังเกตแสงอีกครั้ง ของกลองมือถือ กลองวงจรปด กลองดิจิทัล
2. เปิดโหมดถ่ายภาพของโทรศัพท์มือถือ แล้วเล็งปลายของรีโมตคอนโทรลที่มีตัวส่ง IR ไปที่กล้องหรือเลนส์
ของโทรศัพท์มือถือ สังเกตภาพที่ปรากฏบนหน้าจอโทรศัพท์มือถือ เปนเซ็นเซอรไวตอแสงที่มีชวงคลื่นกวางกวา
3. กดค้างที่ปุ่มใดปุ่มหนึ่งบนรีโมตคอนโทรล สังเกตภาพที่ปรากฏบนหน้าจอโทรศัพท์มือถืออีกครั้ง ตามนุษยจะมองเห็น ซึง่ ตาของมนุษยจะมอง
เห็นแคชวงแสง แตกลองสามารถรับแสงนี้
เขาไปได สวนสีที่แสดงออกมาใหเราเห็นใน
จอไมเหมือนกัน แลวแตตวั กลอง แตสว นใหญ
จะใหสีเปนสีมวงหรือสีขาวสวางไปเลย

ขั้นตอนการท�ากิจกรรมมองหาสัญญาณอินฟราเรด
ที่มา : https://www.exploratorium.edu/snacks/infrared-remote
หลักการทางวิทยาศาสตร์

รังสีอนิ ฟราเรดเป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ คี วามยาวคลืน่ อยูใ่ นช่วง 700 นาโนเมตร-1 มิลลิเมตร ซึง่ ตาของ
เราสามารถมองเห็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 400-700 นาโนเมตร เท่านั้น เซลล์รับภาพ
ในตาจึงไม่ตอบสนองแสงในย่านนี้ แต่ในกล้องทุกกล้องจะต้องมีเซ็นเซอร์รับภาพ ซึ่งมีหน้าที่รับแสงที่เข้า
มาแล้วแปลงค่าแสงนั้น ๆ ในปัจจุบันมีเซ็นเซอร์รับภาพอยู่ 2 แบบ คือ ซีซีดี (CCD) และซีมอส (CMOS)
ที่สามารถตอบสนองแสงในย่านรังสีอินฟราเรดได้

185

T197
บรรณานุ ก รม
กุณฑรี  เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. (2550). สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์ น�ำไปสู่การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร :
อักษรเจริญทัศน์.
ชุติมา  วัฒนะคีรี. (2549). กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
ณรงค์  สังวาระนที. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
อักษรเจริญทัศน์.
ณรงค์  สังวาระนที และสุชาติ  แซ่เฮง. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่
4. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
ทิศนา  แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17.
กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์.
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ส�ำนักงาน. (2549). หนังสือชุดกิจกรรมส่งเสริมการ
เรียนรู้ “การสืบค้นทางวิทยาศาสตร์” ระดับมัธยมศึกษา. ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
วันเฉลิม  กลิน่ ศรีสขุ . (2558). การใช้กจิ กรรมค่ายวิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขนั้ พืน้ ฐาน. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน), มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
วิจารณ์  พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : ตถาตา พับลิเคชั่น.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2556). หนังสือเรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ ฟิสกิ ส์ เล่ม 4 ชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2556). หนังสือเรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ ฟิสกิ ส์ เล่ม 5 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ส�ำนักบริหารวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์, แผนกบริหารหลักสูตร. (2557). เอกสารเผยแพร่ความรู้วิชาการศึกษา :
วิธีการสอน (Teaching Methodology). กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์.
สุธิษา เละเซ็น และปวีณา ธารรักษ์. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
Halliday, D., Resnick, R. and Walker, J. (2014). Fundamental of physics. 10th edition. New Jersey: John Wiley & Sons.
Serway, R. A. and Jewett, J. W. Jr. (2014). Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics. 9th edition.
Massachusetts: Brooks/Cole.
Young, H. D. and Freedman, R. A. (2012). University Physics with Modern Physics. 13th edition. San Francisco:
Addison-Wesley.

T198
Note

....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................

T199
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................

T200
สร้างอนาคตเด็กไทย
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก ĔïðøąÖĆîÙčèõćóÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšøć÷üĉßćđóĉęöđêĉö
ĀîĆÜÿČĂđøĊ÷îøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ôŗÿĉÖÿŤǰ ßĆĚîöĆí÷öýċÖþćðŘìĊęǰ  đúŠöǰ 
êćöñúÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÖúŠčöÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎšüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ÞïĆïðøĆïðøčÜǰóýǰ
ǰêćöĀúĆÖÿĎêø
ĒÖîÖúćÜÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćîǰóčìíýĆÖøćßǰǰđúŠöîĊĚǰ ïøĉþĆìǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰ ĂÝìǰÝĞćÖĆéǰđðŨîñĎšÝĆéóĉöóŤ
đñ÷ĒóøŠǰ ĒúąÝĞćĀîŠć÷ǰ ēé÷ĕéšÝĆéìĞćÙĞćĂíĉïć÷øć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęöĊìĆĚÜñúÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎšđóĉęöđêĉö
ĒúąĂÜÙŤðøąÖĂïÿĞćÙĆâĂČęîìĊęÿĞćîĆÖóĉöóŤÝĆéìĞć×ċĚîǰđóČęĂĔĀšÿëćîýċÖþćĕéšđìĊ÷ïđÙĊ÷ÜÖĆïĀúĆÖÿĎêø×ĂÜÿëćîýċÖþćǰ
ĒúąóĉÝćøèćđúČĂÖĔßšĀîĆÜÿČĂîĊĚðøąÖĂïÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ĔĀšÿĂéÙúšĂÜÖĆïĀúĆÖÿĎêøÿëćîýċÖþć×ĂÜêîĕéšêćö
ÙüćöđĀöćąÿö
ǰ ǰ ñĎšđøĊ÷ïđøĊ÷Üǰ ǰ éøÿčíĉþćǰǰđúąđàĘî
ǰ ǰ ǰ ǰ øý éøèøÜÙŤǰǰÿĆÜüćøąîìĊ
ǰ ǰ ǰ ǰ îìĀâĉÜ ðüĊèćǰǰíćøøĆÖþŤ
ǰ ǰ ñĎšêøüÝǰ ǰ ñý éøĂćøĊ÷ćǰǰđĂĊę÷öïĎŠ
ǰ ǰ ǰ ǰ éøÝćöøĊǰǰĂöøēÖýúóĆîíŤ
ǰ ǰ ǰ ǰ éøđךöǰǰóčŠöÿąĂćé
ǰ ǰ ǰ ǰ éøĂčéöđéßǰǰõĆÖéĊ
ǰ ǰ ïøøèćíĉÖćø ǰ ñý éøÿčēÖÿĉîìøŤǰǰìĂÜøĆêîćýĉøĉ
ǰ ǰ ǰ ǰ îćÜÿćüßčúĊóøǰǰÿčüĆçîćóĉïĎú
ïøĉ þĆ ì ǰ ĂĆ Ö þøđÝøĉ â ìĆ ý îŤ ǰ ĂÝìǰ ÝĞ ć ÖĆ é ǰ ×ĂøĆ ï øĂÜüŠ ć ǰ ñĎš đøĊ ÷ ïđøĊ ÷ Üǰ ñĎš ê øüÝǰ Ēúąïøøèćíĉ Ö ćøǰ
éĆÜÖúŠćüǰđðŨîñĎìš öĊę ÙĊ üćöøĎÙš üćöÿćöćøëĔîÖćøÝĆéìĞćĀîĆÜÿČĂîĊĔĚ ĀšöÙĊ üćöëĎÖêšĂÜǰĒúąöĊÙè č õćóĔîÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎš
êćöüĆêëčðøąÿÜÙŤ×ĂÜøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęÖĞćĀîé
ĀćÖñĎšĔßšĀîĆÜÿČĂĀøČĂÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćîóïüŠćǰĀîĆÜÿČĂđúŠöîĊĚöĊךĂïÖóøŠĂÜǰ
đîČĚĂĀćĕöŠëĎÖêšĂÜǰ đÖĉéñúđÿĊ÷Āć÷êŠĂÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÿŠÜñúÖøąìïìĆĚÜéšćîÙčèíøøöǰ Ýøĉ÷íøøöǰ ĒúąÙüćööĆęîÙÜ
×ĂÜßćêĉǰ đöČęĂïøĉþĆìĄǰĕéšìøćïĒúšüǰïøĉþĆìĄǰ÷ĉîéĊÜéÖćøÝĞćĀîŠć÷ìĆîìĊǰ ĒúąđøĊ÷ÖđÖĘïĀîĆÜÿČĂìĊęÝĞćĀîŠć÷ìĆĚÜĀöé
đóČęĂĒÖšĕ×ĔĀšëĎÖêšĂÜǰêúĂéÝîßéĔßšÙŠćđÿĊ÷Āć÷ìĊęđÖĉé×ċĚîÝøĉÜĔĀšÖĆïñĎšìĊęĕéšøĆïÙüćöđÿĊ÷Āć÷îĆĚîǰìĆĚÜîĊĚǰĔĀšđðŨîĕðêćö
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰóýǰǰóøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ 
ǰóýǰǰĒúą
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ 
ǰóýǰǰøüöìĆĚÜ÷ĉî÷ĂöĔĀšÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć
×ĆĚîóČĚîåćîëĂéëĂîøć÷ßČęĂĀîĆÜÿČĂîĊĚĂĂÖÝćÖïĆâßĊÖĞćĀîéÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšÿĞćĀøĆïđúČĂÖĔßšĔîÿëćîýċÖþćĕðÖŠĂî
ÝîÖüŠćÝąĕéšøĆïĒÝšÜüŠćöĊÖćøĒÖšĕ×ĒúšüǰóøšĂöìĆĚÜÖćøĒÝšÜðøąßćÿĆöóĆîíŤĔĀšÿëćîýċÖþćìøćï

ǰ ǰ
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ îć÷ßĆ÷èøÜÙŤ úĉöðşÖĉêêĉÿĉî

ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ÖøøöÖćøñĎšÝĆéÖćøǰïøĉþĆìǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆé

นร.ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 2


òāñöăÙāċíăēðċäăðöăæñā÷āùäòŞ îőùăÐùŞ ðċôŚð ISBN : 978 - 616 - 203 - 934 - 8
êÐúôĀÖ úèĀÖùĆüċòĄบริñèษทั .....................................................................................................................................................................................
อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
บริษท
ั อักษรเจริ
โทร./แฟกซ์ ญ2999
0 2622 ทัศน์ อจท. จำกั
ติ ด
(อัตโนมั 20 คูส
่ าย)
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร
www.aksorn.com Aksorn ACTกรุงเทพมหานคร 10200 9 786162 039348
โทร./แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) www.aksorn.com 100.-

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท.
คู่มือครู นร.ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 2

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 8 858649 147677
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) 350.-
ID Line : @aksornkrumattayom www.aksorn.com อักษรเจริญทัศน์ อจท.
ราคานีเ้ ป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like