You are on page 1of 19

ชั้นประถมศึกษาปีที่

มาตรฐานสากล
ศตวรรษที่ ๒๑ BBL 5 Steps
ใช้กระบวนการ
GPAS
เน้นการทำ�งานของสมอง

คู่มือครูคู่มเพืือครู
่อใช้เพืค่อู่กใช้ับคหนั
ู่กับหนั
งสืงสืออเรีเรียยนน
BBL & PBL

จัดการเรียนรู้
ตามแนวทาง
Backward
Design
เพิ่มผลสัมฤทธิ์ด้วย
NT
O-NET
PISA
โครงงานบูรณาการ
ทักษะศตวรรษที่ ๒๑
สู่อาเซียน
และโลก
เฉลย
คำ�ตอบ
ละเอียดทุกข้อ
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ข้อสอบปลายภาค
มาตรฐานระดับชาติ
ประเมินครบตัวชี้วัด
ขอสอบประจำภาคการศึกษาที่ 1 วัดผลแม่นยำ�ทุกระดับการเรียนรู้
พร้อมเฉลยและตารางวิเคราะห์
สถาบันฯ มอบสิทธิพิเศษให้ท่าน
สามารถพรินต์ ใช้ ได้เลย
ขอสอบประจำภาคการศึกษาที่ 2 หรือสั่งซื้อในราคาพิเศษจากสถาบัน
ทุกภาคเรียน

ตัวอย่าง
A B C
P 1 2 W
3 4
A 1 2 3 4 D
5 6 7 8
5 6
Q 7 8 R

B F E

จากรูป มุมคู่ใดเป็นมุมแย้ง จากรูป ข้อใดทำ�ให้ BF // CE


ก. ^1 กับ ^8 ข. ^2 กับ ^3 ก. ^7 มีขนาดเท่ากับ ^2 ข. BC // FE
ค. ^3 กับ 5^ ง. 4^ กับ ^5 ค. BF ยาวเท่ากับ CE ง. ^3 กับ ^7 รวมกัน
ได้ 180 องศา
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า

คํานํา
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

กระทรวงศึกษาธิการได้มีการประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
คําอธิบาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
รายวิชา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งปีการศึกษา 2562 นี้
จะครอบคลุมระดับชั้น ป.1 ป.2 ป.4 ป.5 ม.1 ม.2 ม.4 ม.5 เพื่อให้สอดคล้อง
กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ โครงสร้าง
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพื่อพัฒนาและ รายวิชา
เสริมสร้างศักยภาพของคนในชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พื้นฐาน
ของประเทศ โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ
และมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 และโลกในศตวรรษที่ 21
โดยจัดทำ�ขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นกรอบ
ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน โครงสร้าง
ให้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถและมี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ต ามมาตรฐาน เนื้อหา
การเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำ�หนดไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
สถาบั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพวิ ช าการ (พว.) ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการ
มี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด ทำ � สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ มี คุ ณ ภาพและสอดคล้ อ งตาม ตัวอย่าง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้กับ คู่มือครู
ครู ผู้ ส อน ด้ ว ยคู่ มื อ ครู แ ละแผนการจั ด การเรี ย นรู้ แ บบ Active Learning หนังสือเรียน
ตามแนวทาง Backward Design โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ซึ่งสามารถ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้ตามเป้าหมาย

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ตัวอย่างแผน
การจัดการเรียนรู้

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 1
คำ�อธิบายรายวิชา

ค 151 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 160 ชั่วโมง

ศึกษา เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 หรือ 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคำ�ตอบ


ของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำ�นวนคละ หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วน
และจำ�นวนคละ แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 2 ขั้นตอน หาผลคูณของ
ทศนิยมที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจำ�นวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง และ
ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
การคูณ การหารทศนิยม 2 ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน 2 ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับนํ้าหนักที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
รอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของ
เส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำ�หนดให้ จำ�แนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป
สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำ�หนดความยาวของด้านและขนาดของมุม หรือเมื่อกำ�หนดความยาวของเส้นทแยงมุม
บอกลักษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา เขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็น
จำ�นวนนับ
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เน้นจัดประสบการณ์จากรูปภาพไปสู่การใช้สัญลักษณ์
การจัดกิจกรรมกลุ่มหรือเกมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างความคิดรวบยอด ใช้โจทย์ที่หลากหลายใกล้เคียงกับ
ชีวิตประจำ�วัน เพื่อฝึกทักษะการคิดคำ�นวณและฝึกการแก้โจทย์ปัญหาโดยเรียงลำ�ดับโจทย์จากง่ายไปหาโจทย์ที่มี
ความซับซ้อนมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะเป็นลำ�ดับขั้น ส่งเสริมการอธิบาย ให้เหตุผลประกอบการแก้ปัญหา และ
เน้นการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย สร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดรวบยอด มีทักษะในการคิดคำ�นวณ มีเหตุผลในการแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
และนำ�ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9
ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2
รวมทั้งหมด 19 ตัวชี้วัด

2 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 160 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ เวลาเรียน
ลำ�ดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
และตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
1 เศษส่วน ค 1.1 ป.5/3, ป.5/5 1. การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ�นวนคละ 10
2. การบวก การลบของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละ
3. โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน
และจำ�นวนคละ
2 การคูณ การหาร ค 1.1 ป.5/3, ป.5/4, 1. การคูณ การหารของเศษส่วนและ 14
ของเศษส่วน ป.5/5 จำ�นวนคละ
2. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
และจำ�นวนคละ
3. โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำ�นวนคละ
3 ทศนิยม ค 1.1 ป.5/1 1. ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม 10
2. ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
ที่เป็นจำ�นวนเต็ม ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง และ
2 ตำ�แหน่ง และใช้เครื่องหมาย ≈
4 การคูณและการหาร ค 1.1 ป.5/6, ป.5/7, 1. การคูณทศนิยมที่มีผลลัพธ์เป็นทศนิยม 22
ทศนิยม ป.5/8 ไม่เกินสามตำ�แหน่ง
2. การหารทศนิยมที่มีผลลัพธ์เป็นทศนิยม
ไม่เกินสามตำ�แหน่ง
3. การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ
การคูณ การหารทศนิยม
4. โจทย์ปัญหาทศนิยม
5 เส้นขนาน ค 2.2 ป.5/1 1. เส้นขนาน 18
2. การสร้างเส้นขนาน
3. เส้นขนานและมุมแย้ง
4. เส้นขนานและมุมภายในที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
5. เส้นขนานและมุมภายนอกที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
6. การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 3
มาตรฐานการเรียนรู้ เวลาเรียน
ลำ�ดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
และตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
7. การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวก
ของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดขวางเป็น 180 องศา
8. การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวก
ของมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดขวางเป็น 180 องศา
6 ความยาว ค 2.1 ป.5/1 1. ความสัมพันธ์ของหน่วยความยาว 6
2. การเปลี่ยนหน่วยความยาวในรูปทศนิยม
3. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
7 นํ้าหนัก ค 2.1 ป.5/2 1. ความสัมพันธ์ของหน่วยนํ้าหนัก 6
2. การเปลี่ยนหน่วยนํ้าหนักในรูปทศนิยม
3. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับนํ้าหนัก
8 บทประยุกต์ ค 1.1 ป.5/2, ป.5/4, 1. การคูณ การหาร และเศษส่วน 22
ป.5/9 2. การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์
3. การอ่านและการเขียนร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
4. โจทย์ปัญหาร้อยละ
9 รูปสี่เหลี่ยม ค 2.1 ป.5/4 1. ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม 16
ค 2.2 ป.5/2, ป.5/3 2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยม
3. ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม
4. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
5. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับรูปสี่เหลี่ยม

10 ปริมาตรและความจุ ค 2.1 ป.5/3 1. ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 13


2. การหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. การหาความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
4. ความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดปริมาตร
และความจุ
5. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุ
11 ปริซึม ค 2.2 ป.5/4 1. ลักษณะของปริซึม 5
2. ชนิดของปริซึม
3. รูปคลี่ของปริซึม

12 สถิติ ค 3.1 ป.5/1 1. การอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ 18


ค 3.1 ป.5/2 2. การเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ
3. การอ่านกราฟเส้น
รวม 160

4 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
สารบั
โครงสร้าญ
งเนื้อหาของหนังสือเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เศษส่วน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การคูณ การหารของเศษส่วน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ทศนิยม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การคูณและการหารทศนิยม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เส้นขนาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ความยาว

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นํ้าหนัก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 บทประยุกต์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 รูปสี่เหลี่ยม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ปริมาตรและความจุ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 ปริซึม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 สถิติ

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 5
ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล

ตัวอย่าง
GPAS 5 Steps ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 NET แนวข้อสอบ O-NET

เป้าหมายการเรียนรู้
การเรยี นร
นว่ ย

5 เส้นขนาน

ทู้ ่ี
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2
เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติ แผนผังสาระการเรียนรู้
ของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต 2. การสร้างเส้นขนาน

และนำ�ไปใช้
1. เส้นขนาน 3. เส้นขนานและมุมแย้ง
สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร 8. การพิจารณาเส้นขนาน
โดยอาศัยผลบวกของ
2. ความสามารถในการคิด มุมภายนอกที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
4. เส้นขนานและมุมภายใน
ที่อยู่บนข้างเดียวกัน
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็น 180 องศา ของเส้นตัดขวาง

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เส้นขนาน
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายาม 5. เส้นขนานและมุมภายนอก
7. การพิจารณาเส้นขนาน
ในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ โดยอาศัยผลบวกของ ที่อยู่บนข้างเดียวกัน
มุมภายในที่อยู่บน ของเส้นตัดขวาง
มุ่งมั่นในการทำ�งาน ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
เป็น 180 องศา
ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทำ � งานด้ ว ยความเพี ย ร
พยายามและอดทนเพื่ อ ให้ ง านสำ � เร็ จ 6. การพิจารณาเส้นขนาน
โดยอาศัยมุมแย้ง
ตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัด
• สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำาหนดให้ (ค 2.2 ป.5/1)

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21

นักเรียนออกแบบของใช้หรือของเล่นที่นักเรียนชอบมา 1 อย่าง โดยต้องมี


เส้นขนานเป็นส่วนประกอบอย่างน้อย 1 คู่ จากนั้นระบายสีให้สวยงาม แล้ว
ร่วมกันอภิปรายว่าสามารถนำ�ความรู้เกี่ยวกับเส้นขนานไปใช้ในชีวิตประจำ �วัน
ได้อย่างไรบ้าง

6 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
คู่มือครูหนังสือเรียน
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

ตัวชี้วัด
6. การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง ค 2.2 ป.5/1
จากรูป เรยี นรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน
A E B EF ตัด AB และ CD การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง
BE^F และ CF^E เป็นมุมแย้ง
F วัดขนาดของ BE^F ได้ 60 ํ ep 1
วัดขนาดของ CF^E ได้ 60 ํ ขั้นสังเกต

St
C D
รวบรวมข้อมูล
จะเห็นว่า มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
● ตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ โดยการวัดระยะห่างระหว่าง 1. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น
เส้นตรงทั้งสองว่ามีระยะห่างเท่ากันตลอดหรือไม่ ถ้าเท่ากันจะได้ว่า โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
AB ขนานกับ CD • นั ก เรี ย นใช้ ค วามสั ม พั น ธ์ ข อง
จากรูป
มุ ม แย้ ง ในการบอกว่ า เส้ น ตรงคู่ ใ ด
S CD ตัด PS และ MN ขนานกันได้หรือไม่อย่างไร
P C
SC^D และ MD^C เป็นมุมแย้ง 2. นักเรียนศึกษา การพิจารณาเส้นขนาน
วัดขนาดของ SC^D ได้ 75 ํ โดยอาศัยมุมแย้ง
M D วัดขนาดของ MD^C ได้ 60 ํ
N จะเห็นว่า มุมแย้งมีขนาดไม่เท่ากัน ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้
● ตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ โดยการวัดระยะห่างระหว่าง
เส้นตรงทั้งสองว่ามีระยะห่างเท่ากันตลอดหรือไม่ ถ้าไม่เท่ากันจะได้ว่า 3. นักเรียนพิจารณารูปเส้นตรง 2 รูป ที่มี
PS ไม่ขนานกับ MN
เส้นตรงตัด 1 เส้น โดยรูปที่ 1 เป็น
เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง แล้วทำ�ให้มุมแย้งมีขน�ดเท่�กัน เส้นตรงคู่นั้น เส้นตรงที่ขนานกัน และรูปที่ 2 เป็น
จะขน�นกัน เส้นตรงที่ไม่ขนานกันบนกระดาน ดังนี้
ก ก ร
บ ป 5 6 ข
1 2 ค
เส้นขนาน 113 พ 3 4 ฟ 7
8



4. ผู้แทนนักเรียนครั้งละ 1 คน ออกมาวัดขนาดของมุมแต่ละมุมจากกิจกรรมข้อ 3. รูปที่ 1 รูปที่ 2
แล้วเปรียบเทียบขนาดของมุมแย้งในแต่ละรูป จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถามกระตุ้น
ความคิด ดังนี้ จากนั้นใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
• รูปที่ 1 มุมแย้งแต่ละคู่มีความสัมพันธ์กันอย่างไร (1^ และ 4^ มีขนาดเท่ากัน, • รูปที่ 1 มีมุมแย้งกี่คู่ อะไรบ้าง
2^ และ 3^ มีขนาดเท่ากัน) (2 คู่ คือ 1^ และ 4^, 2^ และ 3^)
• รูปที่ 1 บป และ พฟ ขนานกันหรือไม่ (ขนานกัน) • รูปที่ 2 มีมุมแย้งกี่คู่ อะไรบ้าง
• รูปที่ 2 มุมแย้งแต่ละคู่มีความสัมพันธ์กันอย่างไร (5^ และ 8^ มีขนาดไม่เท่ากัน, (2 คู่ คือ 5^ และ 8^, 6^ และ 7^)
6^ และ 7^ มีขนาดไม่เท่ากัน)
• รูปที่ 2 กข และ คง ขนานกันหรือไม่ (ไม่ขนานกัน) สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 7
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 NET แนวข้อสอบ O-NET
ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้
ฝึกหัด
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและ 1. บอกว่าเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี้ขนานกันหรือไม่
แสดงความคิดเห็นว่า เส้นตรงเส้นหนึ่ง เพราะเหตุใด
ตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง จะทำ�ให้เกิดมุมแย้ง
ตัวอย่าง N
ถ้ามุมแย้งแต่ละคู่มีขนาดเท่ากันแล้ว
จะทำ�ให้เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน J
S
120 ํ SN // MV
เพราะ NJ^T และ MT^J
ep 3 ขั้นปฏิบัติ 120 ํ
V
มีขนาด 120 ํ เท่ากัน
และสรุปความรู้ T
St

หลังการปฏิบัติ M
6. นักเรียนทำ�ใบงาน การพิจารณาเส้นขนาน
1) 2) T
โดยอาศัยมุมแย้ง จากนั้นสลับผลงาน A C
กั บ เพื่ อ นเพื่ อ ร่ ว มกั น ตรวจสอบและ E
แก้ไขให้ถูกต้อง 45 ํ
45 ํ
M R

เฉลยใบงานที่ 10 เรื่ อง การพิจารณาเส้ นขนานโดยอาศัยมุมแย้ ง


F
วันที่________เดือน_______________พ.ศ._________ ได้____________คะแนน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
B D
ชื่อ_____________________________ เลขที่ _____ ชั้น _____
S
จากรู ปทีก่ าหนด ให้ นักเรียนระบุว่ามีส่วนของเส้ นตรงคู่ใดบ้ างขนานกัน เพราะเหตุใด (ข้อละ 2 คะแนน)

1. งค // กข
0 งก // คข 3) G
0 เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
0
0 35 ํ
2.
0
0
กม // ขส P
0 เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
0
25 ํ
0
3.
0 รพ // วส
S
0
รส // วง
0
เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
0
0
C
0 รส // วจ
4.
0
0 เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 114 คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
0
0
5. บป // ทธ
0

เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
แนวค�ำตอบ

1. 1) AB // CD เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
2) TM // RS เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
3) PC ไม่ขนานกับ GS เพราะมุมแย้งมีขนาดไม่เท่ากัน

8 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก
ep 3 ขั้นปฏิบัติ
และสรุปความรู้

St
หลังการปฏิบัติ
2. บอกว่าส่วนของเส้นตรงคู่ใดบ้างขนานกัน เพราะเหตุใด
7. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น สรุ ป สิ่ ง ที่ เ ข้ า ใจเป็ น
1) 2) ความรู้ร่วมกัน ดังนี้
A B M K
• เส้นตรงเส้นหนึง่ ตัดเส้นตรงคูห่ นึง่
30 ํ 68 ํ 35 ํ
60 ํ แล้ ว ทำ � ให้ มุ ม แย้ ง มี ข นาดเท่ า กั น
เส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน เราสามารถ
60 ํ
30 ํ
D 35 ํ นำ�ความรู้เรื่อง การพิจารณาเส้นขนาน
C P B
โดยอาศั ย มุ ม แย้ ง ไปใช้ ใ นการเรี ย น
ขั้นสูงต่อไป
3) 4)
C P A ep 4

St
45 ํ 45 ํ 55 ํ
T ขัน้ สือ่ สารและน�ำเสนอ
45 ํ
55 ํ 8. นักเรียนออกมานำ�เสนอผลงานหน้า-
A D Q P M N ชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
5) 6)
R 25 ํ L ep 5 ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
St

บริการสังคม
P W
40 ํ 90 ํ และจิตสาธารณะ
J 25 ํ P
40 ํ
9. นั ก เรี ย นนำ � ความรู้ ไ ปช่ ว ยแนะนำ �
90 ํ 40 ํ
B M เพื่ อ นที่ ยั ง ไม่ เ ข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การ
40 ํ
M K พิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง
ให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
เส้นขนาน 115

แนวค�ำตอบ

2. 1) AB // CD เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 4) AP // TM เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
AC // BD เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 5) PB // WM เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
2) MK // PB เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน PW // BM เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
3) CA // PD เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 6) RL // JP เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
CD // PQ เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน JP // MK เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 9
ตัวอย่าง
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 เส้ นขนาน
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 14 เรื่ อง การพิจารณาเส้ นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เวลาเรี ยน 1 ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ต สมบัติของรู ปเรขาคณิ ต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รู ปเรขาคณิ ต และทฤษฎีบททางเรขาคณิ ต และนาไปใช้
ตัวชี้วดั
ค 2.2 ป.5/1 สร้างเส้นตรงหรื อส่ วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรื อส่ วนของเส้นตรง
ที่กาหนดให้

จุดประสงค์ การเรียนรู้

1. อธิ บายคุณสมบัติของมุมแย้งที่เท่ากันเพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกันหรื อไม่ (K)


2. ใช้คุณสมบัติขนาดของมุมแย้งที่เท่ากันเพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกันหรื อไม่ (P)
3. เห็นความสาคัญของการนาความรู ้เรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้งไปใช้ในชีวิตประจาวัน (A)

สาระสาคัญ

เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง แล้วทาให้มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน เส้นตรงคู่น้ นั จะขนานกัน


เราสามารถนาความรู ้เรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้งไปใช้ในการเรี ยนขั้นสู งต่อไป

สาระการเรียนรู้
การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรี ยนรู ้
2. มุ่งมัน่ ในการทางาน

10 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
แผนการจัดการเรียนรู้
คาถามสาคัญ
นักเรี ยนคิดว่ามีวิธีใดอีกบ้างนอกจากการใช้มุมแย้งเพื่อพิจารณาว่าเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกันหรื อไม่

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ep 1
St

ขั้นสั งเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนพิจารณาบัตรภาพเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งบนกระดาน ผูแ้ ทนนักเรี ยน 2 คนออกมาเขียน
ชื่อเส้นตรงกากับ พร้อมทั้งใส่ ตวั เลขกากับมุมภายในและวัดขนาดของมุมภายในแต่ละมุม ดังตัวอย่าง

 
(1 = 80 3 = 100 

2 = 100 4 = 80)

จากนั้นร่ วมกันตอบคาถามโดยใช้คาถามกระตุน้ ความคิด ดังนี้


  
• เส้นตรงคู่ใดขนานกัน และมีเส้นตรงใดเป็ นเส้นตัด (กข // คง มี จฉ เป็ นเส้นตัด)
   
• มุมคู่ใดบ้างที่เป็ นมุมแย้ง (1 และ 4, 2 และ 3)
• มุมแย้งแต่ละคู่มีขนาดเท่ากันหรื อไม่ และมีขนาดกี่องศา
 
(เท่ากัน, 1 = 4 = 80 
 
2 = 3 = 100)

• เส้นตรงคู่น้ ีขนานกันหรื อไม่ เพราะอะไร (กข ขนานกับ คง เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
2. นักเรี ยนศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง
จากแหล่งการเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรี ยน
ep 2
St

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุปความรู้ (Processing)


•••••••••••• ••••• •• •
3. นักเรี ยนพิจารณาบัตรภาพส่ วนของเส้นตรง 4 เส้นบนกระดาน แล้วนักเรี ยนแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ผูแ้ ทนกลุ่ม
ออกมาเขียนบนกระดานว่าส่ วนของเส้นตรงใดขนานกัน พร้อมทั้งให้เหตุผล ดังตัวอย่าง

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 11
(กข ขนานกับ คง เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน ขค ขนานกับ งจ เพราะมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน รับบัตรภาพเส้นตรงหรื อส่ วนของเส้นตรงที่มีเส้นตัด
กลุ่มละ 1 แผ่น จากนั้นแต่ละกลุ่มช่วยกันวัดมุมแย้งพร้อมเขียนขนาดของมุมกากับไว้ แล้วพิจารณาร่ วมกันว่า
เส้นตรงหรื อส่ วนของเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกันหรื อไม่ เพราะอะไร
ตัวอย่ าง

   
(อฝผ = ฝผป = 50) (ทรล  รลษ)
 
(อบ // นป) (ทย ไม่ขนานกับ ศษ)
ผูแ้ ทนกลุ่มออกมานาเสนอหน้าชั้นเรี ยนโดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรี ยนร่ วมกันเล่นเกม “องศาที่หายไป” โดยแต่ละกลุ่มพิจารณาบัตรภาพเส้นตรงเส้นหนึ่ง
ตัดเส้นขนานคู่หนึ่งบนกระดาน แล้วช่วยกันหาว่าตัวอักษรนั้นแทนขนาดของมุมกี่องศา กลุ่มใดตอบได้ถูกต้อง
และเสร็ จก่อนเป็ นกลุ่มที่ชนะและได้คะแนนพิเศษ ดังตัวอย่าง
ให้ พฟ // มย
a = ? (30)
b = ? (75)
b = ? (105)

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการร่ วมมือทางานเป็ นทีม


6. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คาถามกระตุน้ ความคิด ดังนี้
• นักเรี ยนคิดว่ามีวิธีใดอีกบ้างนอกจากการใช้มุมแย้งเพื่อพิจารณาว่าเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกันหรื อไม่
ep 3
St

ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • •
7. •นักเรี ยนทาใบงานที่ 10 เรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน
เพื่อร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง

12 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
8. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน ดังนี้
เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง แล้วทาให้มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน เส้นตรงคู่น้ นั จะขนานกัน
เราสามารถนาความรู ้เรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง ไปใช้ในการเรี ยนขั้นสู งต่อไป
ep 4
St

ขั้นสื่ อสารและนาเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนนาเสนอผลงานการพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้งหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู
ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทางานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทางาน
ที่มีแบบแผน
ep 5
St

ขั้นประเมินเพื่อเพิม่ คุณค่ าบริ การสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
11. นักเรี ยนนาความรู ้ไปช่วยสอนน้อง ๆ ให้มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพิจารณาเส้นขนาน
โดยอาศัยมุมแย้งมากยิ่งขึ้น
12. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยน ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนาความรู ้ที่ได้น้ ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สาหรับการทางานในครั้งต่อไป

สื่ อการเรียนรู้ /แหล่งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แบบฝึ กหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
3. ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู ้พฒั นาการคิดวิเคราะห์ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เล่ม 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
4. บัตรภาพ
5. แหล่งการเรี ยนรู ้ท้ งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 13
การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู ้ เรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่ อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
และมีการชี้แจงเป้ าหมาย มีการชี้แจงเป้ าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้ าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทางาน อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้ าหมาย สมาชิก
มีการปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่ วมมือร่ วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็ นระยะ ๆ
เป็ นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่ อง การพิจารณาเส้ นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การพิจารณาเส้นขนาน ใช้คุณสมบัติขนาดของ ใช้คุณสมบัติขนาดของ ใช้คุณสมบัติขนาดของ ใช้คุณสมบัติขนาดของ
โดยอาศัยมุมแย้ง มุมแย้งที่เท่ากัน มุมแย้งที่เท่ากัน มุมแย้งที่เท่ากัน มุมแย้งที่เท่ากัน
เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่น้ นั เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่น้ นั เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่น้ นั เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่น้ นั
จะขนานกัน จะขนานกัน จะขนานกัน จะขนานกันได้ถูกต้อง
ได้ถูกต้องทุกข้อ ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้องด้วยตนเอง แต่ตอ้ งมีผแู ้ นะนาทุกข้อ
ด้วยตนเอง มีบางข้อที่ผิด แต่สามารถ มีบางข้อที่ผิด
แก้ไขได้ดว้ ยตนเอง แต่เมื่อมีผแู ้ นะนา
ก็สามารถแก้ไขได้

14 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

ลงชื่อ
( )
ตาแหน่ง

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรี ยนการสอน

ปัญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครู ผสู ้ อน
( )
วันที่บนั ทึก

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 15
เฉลยใบงานที่ 10 เรื่ อง การพิจารณาเส้ นขนานโดยอาศัยมุมแย้ ง
วันที่________เดือน_______________พ.ศ._________ ได้____________คะแนน
ชื่อ_____________________________ เลขที่ _____ ชั้น _____ คะแนนเต็ม 10 คะแนน

จากรูปทีก่ าหนด ให้ นักเรียนระบุว่ามีส่วนของเส้ นตรงคู่ใดบ้ างขนานกัน เพราะเหตุใด (ข้อละ 2 คะแนน)

1. งค // กข
0 งก // คข
0 เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
0
0
2. กม // ขส
0
0
0 เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
0
0
3.
0 รพ // วส
0
รส // วง
0
เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
0
0
0 รส // วจ
4.
0
0 เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน

0
0
5. บป // ทธ
0

เพราะ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน

16 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
หลักสูตรใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา • จัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ใหม่
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ • เปลี่ยนชื่อสาระการเรียนรู้ใหม่
• เพิ่มเติมเนื้อหาด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัย
สอดคล้องต่อการดำ�รงชีวิตในปัจจุบันและอนาคต
• เลื่อนไหลบางเนื้อหาให้มีความเหมาะสม
• เพิ่มเติมสาระที่ ๔ เทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
• จัดกลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ใหม่
• ปรับโครงสร้างรายวิชาใหม่
• เพิ่มสาระการเรียนรู้ที่มีความจำ�เป็น
• เลื่อนไหลเนื้อหาให้มีความเหมาะสม
• ตัดเนื้อหาที่มีความซ้ำ�ซ้อนกับเนื้อหา
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์
• การเรียนรู้ภูมิศาสตร์​(Geo-literacy)
โดยมีองค์ประกอบ ๓ ส่วน คือ ความสามารถ
ทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์
และทักษะทางภูมิศาสตร์
• ปรับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลางสาระภูมิศาสตร์

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
๑๒๕๖/๙ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ สาย), ๐-๒๒๔๑-๘๙๙๙
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖
website :
www.iadth.com
สงวนลิขสิทธิ์ หนังสือเล่มนี้ได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย 8 854515 618821

You might also like