You are on page 1of 35

ชั้นประถมศึกษาปีที่

มาตรฐานสากล
ศตวรรษที่ ๒๑ BBL 5 Steps
ใช้กระบวนการ
GPAS
เน้นการทำ�งานของสมอง

คู่มือครูเพื่อใช้คู่กับหนังสือเรียน BBL & PBL

จัดการเรียนรู้
ตามแนวทาง
Backward
Design
เพิ่มผลสัมฤทธิ์ด้วย
NT
O-NET
PISA
โครงงานบูรณาการ
ทักษะศตวรรษที่ ๒๑
สู่อาเซียน
และโลก
เฉลย
คำ�ตอบ
ละเอียดทุกข้อ
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ข้อสอบปลายภาค
มาตรฐานระดับชาติ
ประเมินครบตัวชี้วัด
ขอสอบประจำภาคการศึกษาที่ 1 วัดผลแม่นยำ�ทุกระดับการเรียนรู้
พร้อมเฉลยและตารางวิเคราะห์
สถาบันฯ มอบสิทธิพิเศษให้ท่าน
สามารถพรินต์ ใช้ ได้เลย
ขอสอบประจำภาคการศึกษาที่ 2 หรือสั่งซื้อในราคาพิเศษจากสถาบัน
ทุกภาคเรียน

ตัวอย่าง
อ่านสถานการณ์แล้วตอบคำ�ถาม
เนื่องจากราคายางพาราเพิ่มสูงขึ้น ชาวบ้านจึงขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มมากขึ้น โดยถางป่า
บริเวณที่ลาดเชิงเขา และน�ำต้นกล้ายางพารามาปลูกแทน ต่อมาเกิดฝนตกหนักติดต่อกัน
ท�ำให้เกิดดินโคลนถล่มลงมาทับบ้านเรือนเสียหาย
จากสถานการณ์ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของ
การเกิดดินโคลนถล่มทับบ้านเรือน จากสถานการณ์ดังกล่าว แนวทางการแก้ปัญหาในข้อใด
ก. การถางป่า เหมาะสมที
่สุด
ข. ฝนตกหนักติดต่อกัน ก. ลดราคายางพาราลง
ค. ราคายางพาราเพิ่มสูงขึ้น ข. ไม่ตัดไม้ทำ�ลายป่า
ง. การปลูกยางพาราบริเวณที่ลาดเชิงเขา ค. สร้างที่อยู่อาศัยให้ห่างจากภูเขา
ง. ปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นแทนยางพารา
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการได้มีการประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
คําอธิบาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตาม
รายวิชา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งปีการศึกษา ๒๕๖๒ นี้
จะครอบคลุมระดับชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๔ ป.๕ ม.๑ ม.๒ ม.๔ ม.๕ เพื่อให้สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทาง โครงสร้าง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเี่ จริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพือ่ พัฒนาและเสริมสร้าง รายวิชา
ศักยภาพของคนในชาติให้สามารถเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ พื้นฐาน
โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ และโลกในศตวรรษที่ ๒๑ โดยจัดทำ�ขึน้
เพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นกรอบในการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ โครงสร้าง
ความสามารถ และมี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ต ามมาตรฐานการเรี ย นรู้ เนื้อหา
และตัวชี้วัดที่กำ�หนดไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
สถาบั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพวิ ช าการ (พว.) ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการ
มี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด ทำ � สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ มี คุ ณ ภาพและสอดคล้ อ งตาม ตัวอย่าง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้กับ คู่มือครู
ครู ผู้ ส อน ด้ ว ยคู่ มื อ ครู แ ละแผนการจั ด การเรี ย นรู้ แ บบ Active Learning หนังสือเรียน
ตามแนวทาง Backward Design โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ซึ่งสามารถ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้ตามเป้าหมาย

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ตัวอย่างแผน
การจัดการเรียนรู้
คำ�อธิบายรายวิชา

ส ๑๕๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง

สาระ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ศึกษาและลงมือปฏิบัติในเรื่อง วิเคราะห์ความส�ำคัญของพระพุทธศาสนาหรือ


ศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและหลักในการพัฒนาชาติไทย สรุปพุทธประวัติตั้งแต่เสด็จกรุง
กบิลพัสดุ์จนถึงพุทธกิจส�ำคัญหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ก�ำหนด เห็นคุณค่า และประพฤติตนตามแบบอย่าง
การด�ำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่ก�ำหนด อธิบายองค์ประกอบ
และความส�ำคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือแสดงความเคารพพระรัตนตรัยและปฏิบัติตาม
ไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ก�ำหนด เห็นคุณค่าและ
สวดมนต์แผ่เมตตา มีสติทเี่ ป็นพืน้ ฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาทีต่ นนับถือ
ตามที่ก�ำหนด ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม จัดพิธีกรรมตาม
ศาสนาทีต่ นนับถืออย่างเรียบง่ายมีประโยชน์และปฏิบตั ติ นถูกต้อง ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธี พิธกี รรม และวันส�ำคัญทางศาสนา
ตามทีก่ �ำหนด และอภิปรายประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการเข้าร่วมกิจกรรม มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนทีด่ ตี ามทีก่ �ำหนด
สาระ : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด�ำเนินชีวิตในสังคม ศึกษาหลักการแนวทางปฏิบัติในเรื่อง ยกตัวอย่าง
และปฏิบตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าทีใ่ นฐานะพลเมืองดี เสนอวิธกี ารปกป้องคุม้ ครองตนเองหรือ
ผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการด�ำเนินชีวิตในสังคมไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน อธิบายโครงสร้าง อ�ำนาจ หน้าที่ และความส�ำคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบุบทบาทหน้าทีแ่ ละวิธกี ารเข้าด�ำรงต�ำแหน่งของผูบ้ ริหารท้องถิน่ วเิ คราะห์ประโยชน์ทชี่ มุ ชนจะได้รบั จากองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
สาระ : เศรษฐศาสตร์ ศึกษาเรื่อง อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน อธิบายหลักการส�ำคัญและประโยชน์ของ
สหกรณ์ อธิบายบทบาทหน้าที่เบื้องต้นของธนาคาร จ�ำแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม
สาระ : ภูมิศาสตร์ ศึกษาเรื่อง สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในภูมิภาคของตนด้วยแผนที่และ
รูปถ่าย อธิบายลักษณะทางกายภาพทีส่ ง่ ผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานทีส่ �ำคัญในภูมภิ าคของตน วิเคราะห์สงิ่ แวดล้อม
ทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาคของตน วิเคราะห์อิทธิพล
ของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีการด�ำเนินชีวิตในภูมิภาคของตน และน�ำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผล
จากการรักษาและท�ำลายสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคของตน
โดยใช้วธิ กี ารสังเกต ตอบค�ำถามเชิงวิเคราะห์และสรุปความรูท้ ไี่ ด้เป็นแผนผังความคิด กระตุน้ ให้แสดงความคิดเห็น
อย่างหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันหาแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เหมาะสม ส่งเสริมการท�ำงานกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะ
ทางสังคม น�ำไปสู่การยอมรับและเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เพือ่ ให้ผเู้ รียนเข้าใจและตระหนักถึงการปฏิบตั ติ นในฐานทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของสังคมประชาธิปไตย ปฏิบตั ติ นตามหลัก
ศาสนาที่ตนนับถือ มีแนวคิดที่เหมาะสมในการด�ำเนินชีวิตอย่างพอเพียง และมีความเข้าใจสภาพภูมิศาสตร์รอบตัว
เลือกใช้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
รหัสตัวชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ส ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๕.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
รวมตัวชี้วัดทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ แยกออกอีก ๑ รายวิชา
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


ล�ำดับ มาตรฐาน เวลาเรียน
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ที่ การเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั (ชัว่ โมง)
๑ ความส�ำคัญของพระพุทธ- ส ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ • ความส�ำคัญของศาสนา ๓
ศาสนา พุทธประวัติ • พระพุทธศาสนา
และศาสนาที่ตนนับถือ • ศาสนาอิสลาม
• ศาสนาคริสต์
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
๒ พุทธสาวก ชาดก ส ๑.๑ ป.๕/๓ • พุทธสาวก : พระโสณโกฬิวิสะ ๓
และพุทธศาสนิกชน • ชาดก : จูฬเสฏฐิชาดกและวัณณาโรหชาดก
ตัวอย่าง • พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง
• สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสสฺเทโว)
• อาจารย์เสถียร โพธินันทะ
๓ พระไตรปิฎก ส ๑.๑ ป.๕/๔ • องค์ประกอบของพระไตรปิฎก ๑
• ความส�ำคัญของพระไตรปิฎก
• คัมภีร์ของศาสนาต่าง ๆ ที่คนไทยนับถือ
๔ หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธ- ส ๑.๑ ป.๕/๕, ป.๕/๗ • พระรัตนตรัย ๙
ศาสนา และหลั ก ค�ำสอน • ไตรสิกขา
ของศาสนาต่าง ๆ • โอวาท ๓
• หลักค�ำสอนของศาสนาต่าง ๆ
• พุทธศาสนสุภาษิต
• หลักธรรมเพื่อพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
๕ หน้าที่และมรรยาท ส ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๓ • หน้าที่ชาวพุทธ ๒
ชาวพุทธ - การจัดพิธีกรรมที่เรียบง่าย ประหยัด
มีประโยชน์และถูกต้องตามหลักศาสนา
• มรรยาทชาวพุทธ
- การกราบพระรัตนตรัย
- การไหว้พระสงฆ์
- การไหว้บิดา มารดา ครูอาจารย์
ผู้ที่เคารพนับถือ
- การกราบศพ
4 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ล�ำดับ มาตรฐาน เวลาเรียน
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ที่ การเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั (ชัว่ โมง)
๖ การบริหารจิต ส ๑.๑ ป.๕/๖ • การสวดมนต์ไหว้พระสรรเสริญ ๓
และเจริญปัญญา คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
• การพัฒนาจิตตามแนวทางของพระพุทธศาสนา

๗ ศาสนพิธีและวันส�ำคัญ ส ๑.๒ ป.๕/๒ • ศาสนพิธี ๔


ทางพระพุทธศาสนา • กิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา
• การปฏิบตั ิตนในศาสนพิธีหรือพิธีกรรม
ทางศาสนาต่าง ๆ ที่คนไทยนับถือ

หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด�ำเนินชีวิตในสังคม

ล�ำดับ มาตรฐาน เวลาเรียน


ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ที่ การเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั (ชัว่ โมง)
๑ พลเมืองดีของสังคม ส ๑.๒ ป.๕/๑ • สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ๔
ของพลเมือง
• หน้าที่พลเมือง
• คุณลักษณะของพลเมืองดี
๒ สิ ท ธิ ข อ ง เ ด็ ก แ ล ะ ก า ร ส ๒.๑ ป.๕/๒ • การปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กในสังคมไทย ๓
ปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็ก • สิทธิเด็ก
ในสังคมไทย • สิทธิเด็กและการปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็ก
ในสังคมไทย
๓ การปกครองส่วนท้องถิ่น ส ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, • การปกครองส่วนท้องถิ่น อ�ำนาจหน้าที่ ๕
ของไทย ป.๕/๓, ส ๒.๒ ป.๕/๓ และความส�ำคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น
• องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบริการ
สาธารณประโยชน์ในชุมชน
๔ วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ส ๒.๑ ป.๕/๓, ป.๕/๔ • วัฒนธรรมไทย ๓
ท้องถิ่น • ภูมิปัญญาท้องถิ่น

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 5
เศรษฐศาสตร์
ล�ำดับ มาตรฐาน เวลาเรียน
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ที่ การเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั (ชัว่ โมง)
๑ การผลิตสินค้าและบริการ ส ๓.๑ ป.๕/๑ • ปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ ๓
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ
๒ เศรษฐกิจพอเพียง ส ๓.๑ ป.๕/๒ • หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ๔
• การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน
และชุมชน
• การผลิตสินค้าและบริการในชุมชน
๓ สหกรณ์ ส ๓.๑ ป.๕/๓ • ความหมายของสหกรณ์ ๕
• หลักการของสหกรณ์
• ประโยชน์ของสหกรณ์
• ประเภทของสหกรณ์
• สหกรณ์ในโรงเรียน
• การประยุกต์หลักการของสหกรณ์
มาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
๔ ธนาคาร ส ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ • บทบาทหน้าที่เบื้องต้นของธนาคาร ๕
• การกู้ยืมเงิน
ภูมิศาสตร์
ล�ำดับ มาตรฐาน เวลาเรียน
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ที่ การเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั (ชัว่ โมง)
๑ ภู มิ ลั ก ษณ์ แ ละภู มิ สั ง คม ส ๕.๑ ป.๕/๑ • ภูมิลักษณ์กับภูมิสังคมภาคเหนือ ๑๕
ของภูมิภาคต่าง ๆ ส ๕.๑ ป.๕/๒ • ภูมลิ กั ษณ์กบั ภูมสิ งั คมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ส ๕.๒ ป.๕/๒ • ภูมิลักษณ์กับภูมิสังคมภาคกลาง
• ภูมิลักษณ์กับภูมิสังคมภาคตะวันออก
• ภูมิลักษณ์กับภูมิสังคมภาคตะวันตก
• ภูมิลักษณ์กับภูมิสังคมภาคใต้
๒ การตั้งถิ่นฐานและการย้าย ส ๕.๒ ป.๕/๑ • การตั้งถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาคต่าง ๆ ๕
ถิ่นฐานของประชากร • การย้ายถิ่นฐานของประชากร
ในภูมิภาคต่าง ๆ
๓ สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ส ๕.๒ ป.๕/๓ • ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ๓
ต่าง ๆ • สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
ในภูมิภาค
• การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ
• แนวทางการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม
รวม ๘๐
6 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
โครงสร้างเนื้อหาของหนังสือเรียน

สาระภูมิศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
ภูมิลักษณะและภูมิสังคมของภูมิภาคต่าง ๆ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
การตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาคต่าง ๆ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 7
ตัวอย่างคู่มือครูหนังสือเรี ยน
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
P Gathering rocessing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

เป้าหมายการเรียนรู้
การเรยี นร
นว่ ย
มาตรฐานการเรียนรู้
๓ สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่างๆ

ทู้ ่ี
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสมั พันธ์ระหว่าง
มนุ ษ ย์ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ มทางกายภาพที่ ผังสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วถิ กี ารดำ�เนินชีวติ • นำ�เสนอตัวอย่�งทีส่ ะท้อน
คว�มสัมพันธ์ของ
มีจิตสำ�นึกและมีส่วนร่วมในการจัดการ สิ่งแวดล้อมในภูมิภ�ค
ส�เหตุของก�รเปลี่ยนแปลง
ของสิ่งแวดล้อมในภูมิภ�ค
ให้เห็นผลจ�กก�รรักษ�และ
ทำ � ล � ย สิ่ ง แวดล้ อ มและ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา เสนอแนวท�งในก�รจัดก�ร
สิง่ แวดล้อมในภูมภิ �คของตน
ที่ยั่งยืน (ส ๕.๒ ป.๕/๓)
สิ่งแวดล้อม
ในภูมิภาคต่างๆ
สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร แนวท�งก�รอนุรักษ์ ก�รเปลี่ยนแปลงของ
และรักษ�สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในภูมิภ�คต่�งๆ
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา สาระสำาคัญ
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต • สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเร�มีคว�มสัมพันธ์กัน และต้องพึ่งพ�อ�ศัยซึ่งกันและกัน ก�รเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
จึงมีผลกระทบต่อก�รดำ�เนินชีวิตของมนุษย์ทั้งด้�นบวกและด้�นลบ ก�รดูแลรักษ�สิ่งแวดล้อมให้อยู่ ในสภ�พดี เป็นก�ร
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ส�ม�รถใช้ประโยชน์ได้ย�วน�นขึ้น

การเปลี่ยนแปลง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสิ่งแวดล้อม
มีวินัย
ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๓.๑ ปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ตกลง
กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรียน และสังคม
ใฝ่เรียนรู้
ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๔.๑ ตั้ ง ใจ เพี ย รพยายาม
ในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การดูแลรักษา การไม่ดแู ลรักษา
สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
การเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนด้วยการเลือกใช้สอื่ อย่างเหมาะสม บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้
สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน นักเรียนแบ่งกลุ่ม สำ�รวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองว่ามีประโยชน์
ต่ อ การดำ � เนิ น ชี วิ ต อย่ า งไร แล้ ว เสนอแนวทางการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม
ให้ใช้ได้ยาวนาน นำ�เสนอโดยจัดเป็นป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

8 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

ตัวชี้วัด
๑. ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ส ๕.๒ ป.๕/๓
ภาระงาน/ชิ้นงาน
สิ่งแวดล้อม เป็นระบบความสัมพันธ์ของทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัว ทั้งที่มีชีวิต แผนภาพความคิ ด ตั ว อย่ า งการ
และไม่มีชีวิต ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น เช่น พืช สัตว์ มนุษย์ เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่แสดง
ดิน นํ้า อากาศ บ้านเรือน อาชีพ วัฒนธรรม ให้เห็นถึงผลจากการรักษาและทำ�ลาย
สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เกื้อกูลกันและต้องพึ่งพาอาศัย
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคของตนเอง
ซึ่งกันและกัน เช่น มนุษย์ใช้พืชและสัตว์เป็นอาหาร พืชและสัตว์อาศัยต้นไม้และ
ป่าไม้เป็นที่อยู่อาศัย ต้นไม้อาศัยดิน เพื่อยึดเกาะและอาศัยธาตุอาหารในดินเพื่อใช้ ep 1
ขั้นสังเกต

St
ในการเจริญเติบโต รวบรวมข้อมูล
ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมย่อมส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิต
ของมนุษย์ ๑. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น สนทนาเกี่ ย วกั บ
สภาพแวดล้อม คือ ระบบความสัมพันธ์ สิ่งแวดล้อม แล้วตอบคำ�ถาม ดังนี้
ของทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา • สิ่งแวดล้อมตามความเข้าใจของ
นั ก เรี ย นมี ค วามหมายว่ า อย่ า งไร
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ระบบความสัมพันธ์
ของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งสิ่งที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์
สร้างขึ้น)
• สิ่ ง แวดล้ อ มที่ อ ยู่ ร อบ ๆ ตั ว
นักเรียนมีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคำ�ตอบ
เพื่อน ครู โต๊ะ เก้าอี้ ต้นไม้)
• นั ก เรี ย นคิ ด ว่ า สิ่ ง แวดล้ อ ม
มีอทิ ธิพลต่อการดำ�เนินชีวติ ของมนุษย์
หรื อ ไม่ อย่ า งไร (ตั ว อย่ า งคำ � ตอบ
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 153
มีอิทธิพลต่อการดำ�เนินชีวิตของมนุษย์
เ พ ร า ะ ม นุ ษ ย์ ต้ อ ง ใ ช้ พื ช สั ต ว์
และสิ่ ง แวดล้ อ มอื่ น ในรู ป ปั จ จั ย ๔
NET แนวข้อสอบ O-NET
ในการดำ � รงชี วิ ต เมื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงย่อมส่งผลกระทบ
๑ มนุษย์ต้องพึ่งพาอาศัยสิ่งแวดล้อม ต่อการดำ�รงชีวิตของมนุษย์)
๒ สิ่งแวดล้อมไม่มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ๒. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น ศึ ก ษาและรวบรวม
๓ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมไม่มีผลต่อมนุษย์
ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค
๔ การเพิ่มจำ�นวนของสัตว์ป่าทำ�ให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม
ต่ า ง ๆ จากหนั ง สื อ เรี ย นและแหล่ ง
(เฉลย ๑ เพราะสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ระบบความสั ม พั น ธ์ ข องทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง
การเรียนรู้อื่นเพิ่มเติม
ทีอ่ ยูร่ อบตัวมนุษย์ ดังนัน้ มนุษย์จ�ำ เป็นต้องพึง่ พาอาศัยสิง่ แวดล้อมเพือ่ ความอยูร่ อด)
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 9
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
ep 2

๒. สาเหตุ
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้

๓. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น


การเปลี่ยนแปลง
เกี่ยวกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
ของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ แล้ว ของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค
สรุ ป เป็ น ความคิ ด รวบยอดโดยใช้
คำ�ถาม ดังนี้ ๒.๑
เกิดการการเปลีย่ นแปลง
• การเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดล้อม ตามธรรมชาติ
เกิดจากสาเหตุใดบ้าง (การเปลีย่ นแปลง
ของธรรมชาติ การกระทำ�ของมนุษย์)
• การกระทำ�ของธรรมชาติกอ่ ให้เกิด ภูเขาไฟปะทุ
การเปลี่ ย นแปลงของสิ่ ง แวดล้ อ ม
อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ การเกิดสึนามิ ดินถล่ม
นํ้าท่วม) การเกิดสึนามิ
การเกิดไฟป่า
• การกระทำ�ของธรรมชาติกอ่ ให้เกิด
ผลกระทบอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
๒.๒
เกิดจากการกระทำา
ได้รับความเสียหาย ทำ�ให้สูญเสียชีวิต ของมนุษย์
และทรัพย์สิน)
• การกระทำ�ของมนุษย์ก่อให้เกิด
การเปลี่ ย นแปลงของสิ่ ง แวดล้ อ ม การเพิ่มพื้นที่ถนน
อย่ า งไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ การตัดไม้ การสร้างมลพิษ
ทำ�ลายป่า)
• การกระทำ�ของมนุษย์ก่อให้เกิด การขยายพื้นที่
การสร้างเขื่อน
ผลกระทบอย่ า งไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ที่ีอยู่อาศัย
เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ปัญหา 154 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕
พื้นที่ป่าไม้ลดลง ปัญหาภาวะโลกร้อน)
NET แนวข้อสอบ O-NET
ข้อใดเป็นสาเหตุของการเปลีย่ นแปลงสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากการกระทำ�ของมนุษย์
๑ คลื่นสึนามิ
๒ การสร้างเขื่อน
๓ การกัดเซาะตลิ่ง
๔ การเกิดแผ่นดินไหว
(เฉลย ๒ เพราะมนุษย์ตัดไม้ทำ�ลายป่าเพื่อสร้างเขื่อน ทำ�ให้สิ่งแวดล้อม
เกิดการเปลี่ยนแปลง)
10 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 2
๓. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ ขั้นคิดวิเคราะห์

St
และสรุปความรู้
เนือ่ งจากสิง่ แวดล้อมมีความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกันตลอดเวลา การเปลีย่ นแปลง
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ในระบบเดียวกัน ๔. นั ก เรี ย นแบ่ ง กลุ่ ม ออกเป็ น ๖ กลุ่ ม
๓.๑ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ จับสลากเลือกศึกษา และอภิปรายข้อมูล
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ ให้
ภาคเหนือมีภมู ปิ ระเทศเป็นทิวเขาสลับกับแอ่งทีร่ าบ พืน้ ทีภ่ เู ขามีมากกว่า
เพื่อนฟังตามหัวข้อ ดังนี้
ที่ราบและเป็นภูมิภาคที่มีป่าไม้มากที่สุดของประเทศ ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น
กลุ่มที่ ๑ การเปลี่ยนแปลงของ
เช่ น ปั ญ หาการตั ด ไม้ ทํ า ลายป่ า ปั ญ หาแผ่ น ดิ น ถล่ ม ปั ญ หาไฟป่ า และการเกิ ด สิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ
หมอกควัน ปัญหาการสูญเสียหน้าดินและการชะล้างดินในที่สูง ลําห้วยและลําธาร กลุ่มที่ ๒ การเปลี่ยนแปลงของ
แห้งขอดในหน้าแล้ง สิ่งแวดล้อมในภาคตะวัน-
แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ ออกเฉียงเหนือ
๑. ป้องกันและควบคุมการตัดไม้ทาํ ลายป่า โดยเฉพาะในทีส่ งู ตามไหล่เขา กลุ่มที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงของ
๒. ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าและขยายพื้นที่อนุรักษ์ป่าไม้ สิ่งแวดล้อมในภาคกลาง
๓. ป้องกันดินพังทลายโดยการทําขั้นบันได ชะลอการชะล้างทําลายดิน กลุ่มที่ ๔ การเปลี่ยนแปลงของ
ของนํ้าตามไหล่เขาและที่สูง อีกทั้งปลูกพืชคลุมดิน เช่น หญ้าแฝก สิง่ แวดล้อมในภาคตะวันออก
๔. ทําแนวป้องกันไฟเพื่อป้องกันป่าไม้ถูกทําลายจากไฟป่า กลุ่มที่ ๕ การเปลี่ยนแปลงของ
๕. ทําฝายนํ้าล้น หรือสร้างเขื่อนแม้วตามร่องนํ้าในหุบเขาเป็นระยะ ๆ สิง่ แวดล้อมในภาคตะวันตก
เพื่อชะลอนํ้าให้มีนํ้าอยู่ในลําห้วยและลําธารในหน้าแล้ง กลุ่มที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของ
การคืนสภาพให้ผืนป่าจะช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เนื่องจากป่าไม้ สิ่งแวดล้อมในภาคใต้
เป็นปัจจัยควบคุมความสมดุลของดิน นํ้า และอากาศในพื้นที่ที่สําคัญที่สุด ๕. นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม ร่ ว มกั น วิ เ คราะห์
การเปลี่ ย นแปลงของสิ่ ง แวดล้ อ ม
ในภาคเหนือ โดยยกตัวอย่างประเด็น
ปั ญ หา สาเหตุ และผลกระทบลงใน
แผนภาพความคิ ด และตอบคำ � ถาม
แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด ดงั ตัวอย่าง
ฝนตกติดต่อกันเป็นเวลานาน
ป่าไม้ที่เป็นแหล่งต้นนํ้าถูกทําลาย การสร้างฝายนํ้าล้นหรือเขื่อนแม้วบนภูเขา
สาเหตุ ปัญหา
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 155 แผ่นดินถล่ม

พื้นที่มีความ
เสริมความรู้ ครูควรสอน ลาดเอียง ผลกระทบ
โครงสร้างดินเสียสมดุล
การตัดไม้ทำ �ลายป่า เป็นสาเหตุสำ �คัญของการเกิดปัญหาอุทกภัย ประชาชนสูญเสียชีวิต
เนื่องจากไม่มีต้นไม้ดูดซับนํ้า หรือลดแรงปะทะและการไหลของนํ้า และทรัพย์สิน
ทำ�ให้นํ้าไหลลงสู่พื้นที่บ้านเรือน และพื้นที่ทางการเกษตรเสียหาย • จากปัญหาดังกล่าวควรมีแนวทาง
และส่งผลให้เกิดปัญหาดินโคลนถล่มอีกด้วย การแก้ไขปัญหาอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
ป้องกันดินถล่มโดยการทำ�ขั้นบันไดชะลอ
การชะล้างทำ�ลายดินของนํา้ ตามไหล่เขาและ
ทีส่ งู รวมถึงปลูกพืชคลุมดิน เช่น หญ้าแฝก)
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 11
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้ ๓.๒ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีภูมิประเทศเป็นที่ดอน โคก โนน และที่ราบ
๖. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ดินเป็นดินทรายอากาศแล้งยาวนาน พืน้ ดิน
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาค ขาดความชุ่มชื้น พืชพรรณส่วนใหญ่เป็น
ป่าเต็งรังและป่าโปร่ง ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยยกตัวอย่าง ที่เกิดขึ้น เช่น ฝนแล้ง ขาดแคลนนํ้า ป่าไม้
ประเด็นปัญหา สาเหตุ และผลกระทบ ถูกทําลาย ดินแห้ง ดินจืด ดินเค็ม
ล ง ใ น แ ผ น ภ า พ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม
พื้นดินแห้งแล้งขาดแคลนนํ้า
ตอบคำ � ถาม แล้ ว สรุ ป เป็ น ความคิ ด มีดังนี้
รวบยอด ดังตัวอย่าง ๑. ป้องกันและควบคุมการตัดไม้ทําลายป่าบริเวณที่สูงแถบภูเขา เนื่องจาก
ป่าไม้จะช่วยชะลอไอนํ้า เมฆ หมอก ให้มีนํ้าหยดจากต้นไม้ กลายเป็นนํ้าซึม นํ้าซับ บริเวณ
ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ทิวเขา โคก และเนิน
๒. สร้างแหล่งเก็บนํ้าให้กระจายตลอดทั้งพื้นที่ ขุดลอกแหล่งนํ้าเก่าหรือ
สาเหตุ ปัญหาพื้นดิน ร่องนํ้าที่ตื้นเขิน จากดินทรายที่ทับถม เพื่อเป็นแหล่งนํ้าไว้ใช้สําหรับหน้าแล้ง
แห้งแล้ง ๓. ดินทรายที่ไม่กักเก็บนํ้า และสูญเสียธาตุอาหารในดินได้ง่าย ต้องเพิ่ม
ประชาชนตัด ปุย๋ อินทรียแ์ ละวัสดุทลี่ ะเอียดลงไป เพือ่ ให้มอี นุภาคดินทีล่ ะเอียดมากขึน้ เพือ่ จะได้ดดู ซับ
ไม้ทำ�ลายป่า ผลกระทบ ความชื้นและธาตุอาหารพืชไว้ได้
พืชผลทางการเกษตร ๔. ทําฝนเทียมเป็นระยะ ๆ เมือ่ มีความชืน้ ในอากาศเข้ามา เพือ่ เพิม่ ปริมาณนํา้
เสียหาย ในช่วงหน้าแล้ง
๕. จัดส่งนํา้ ชลประทานด้วยระบบท่อ เพือ่ ป้องกันการซึมซาบและการระเหย
• จากปัญหาดังกล่าวควรมีแนวทาง ๖. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อป้องกันการพังทลายของดินทราย
การแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งไร (ตั ว อย่ า ง การแก้ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มในภาคะตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด
คำ � ตอบ ไม่ ตั ด ไม้ ทำ � ลายป่ า ปลู ก ป่ า คือการจัดการนํ้า ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้
ทดแทน และขุดบ่อนํ้าไว้ใช้ในหน้าแล้ง)

อ่างเก็บนํ้าทุ่งแหลม จังหวัดบุรีรัมย์

156 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕

เสริมความรู้ ครูควรสอน

การทำ�ฝนเทียม เป็นกรรมวิธีดัดแปลงสภาพอากาศเพื่อให้เกิดฝน การทำ�ฝนเทียม


เป็นกรรมวิธเี ลียนแบบธรรมชาติ โดยทำ�จากเมฆ ซึง่ มีลกั ษณะพอเหมาะทีจ่ ะเกิดฝนได้
จากนั้นจึงเร่งให้เกิดการควบแน่นของเมฆ ด้วย ๓ ขั้นตอน คือ ก่อกวน เลี้ยงให้อ้วน
และโจมตี มั ก ทำ � ใน ๒ สภาวะ คื อ การทำ � ฝนเมฆเย็ น เมื่ อ อุ ณ หภู มิ ตํ่ า กว่ า
๐ องศาเซลเซียส และการทำ�ฝนเมฆอุ่นเมื่อเมฆมีอุณหภูมิสูงกว่า ๐ องศาเซลเซียส
การทำ�ฝนเทียมในสองสภาวะนี้จะใช้สารในการดัดแปรสภาพอากาศที่แตกต่างกัน
12 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

๓.๓ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาคกลาง ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์

St
ภาคกลาง มี ภู มิ ป ระเทศเป็ น ที่ ร าบและที่ ร าบลุ่ ม ดิ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น และสรุปความรู้
ดินตะกอนแม่นํ้าที่อุดมสมบูรณ์มีชุมชนเกิดขึ้นหนาแน่นกว่าภาคอื่น ๆ มีสิ่งปลูกสร้าง
โดยมนุ ษ ย์ เ กิ ด ขึ้ น มากมาย ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กิ ด ขึ้ น เช่ น ปั ญ หานํ้ า ท่ ว มขั ง ๗. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร
ในฤดู ฝ น ปั ญ หาขาดแคลนนํ้ า ในที่ ด อน เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
เขตเงาฝน ปั ญ หาดิ น กรดในที่ ร าบลุ่ ม ในภาคกลาง โดยยกตัวอย่างประเด็น
ตอนกลาง ปัญหานํา้ ทะเลรุกลํา้ ทําให้ชายฝัง่ ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบลงใน
เสียหาย ปัญหาสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางนํ้า แผนภาพความคิด และตอบคำ�ถาม
ปัญหานํา้ เสีย ปัญหาการใช้ทดี่ นิ ไม่สอดคล้อง แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด
กับพืน้ ที่ ปัญหาการสูบนํา้ บาดาลมากเกินไป ปัญหานํ้าท่วมขังในเขตกรุงเทพมหานคร ดังตัวอย่าง
ทําให้แผ่นดินทรุด เมื่อฝนตกหนักติดต่อกัน
ปล่อยนํ้าเสียลงสู่แหล่งนํ้า
แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มีดังนี้
๑. วางแผนบริหารจัดการระบบส่งนํ้า การเชื่อมต่อสายนํ้าให้เป็นระบบ สาเหตุ ปัญหา
ระหว่างสายนํา้ หลักต่าง ๆ พร้อมทัง้ มีระบบควบคุมนํา้ ด้วยประตูนาํ้ อย่างมีประสิทธิภาพ นํ้าเน่าเสีย
๒. คงไว้ซึ่งช่องระบายนํ้าตามธรรมชาติ ไม่สร้างสิ่งก่อสร้างกีดขวางเส้น ทิ้งขยะลงใน
แหล่งนํ้า ผลกระทบ
ทางนํ้า เช่น ถนน เพราะถนนจะกลายเป็นคันกั้นนํ้า ทําให้นํ้าท่วม
๓. ขุดลอกคูคลองส่งนํ้าที่ตื้นเขิน หรือหนองบึงที่เคยเป็นแหล่งเก็บนํ้า เกิดการแพร่ระบาดของ
เชื้อโรค ส่งกลิ่นเหม็น
เพื่อให้นํ้าระบายได้สะดวก หรือเก็บไว้ใช้ในหน้าแล้ง เกิดทัศนียภาพที่
๔. บริหารจัดการคุณภาพนํ้าในแหล่งนํ้าธรรมชาติให้สะอาดบริสุทธิ์ ไม่น่าดู
โดยไม่ทิ้งขยะหรือของเสียลงแหล่งนํ้า ไม่ใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายในแปลงเกษตร
๕. ป้องกันนํา้ เค็มบุกรุกเข้ามาในร่องนํา้ จืด โดยบริหารจัดการควบคุมนํา้ • จากปัญหาดังกล่าวควรมีแนวทาง
ทําให้เพียงพอเพื่อช่วยผลักดันนํ้าเค็มโดยปล่อยจากเขื่อนทดนํ้า การแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งไร (ตัวอย่าง
๖. ป้ อ งกั น นํ้ า ท่ ว มแช่ ขั ง ในฤดู ฝ นที่ ฝ นตกหนั ก โดยการเตรี ย ม คำ � ตอบ ไม่ ทิ้ ง ขยะหรื อ ปล่ อ ยนํ้ า เสี ย
เครื่องสูบนํ้า การปรับปรุงท่อระบายนํ้า ประตูระบายนํ้า ให้ใช้งานได้ตลอดเวลา ลงสู่แม่นํ้าลำ�คลอง)
๗. ออกมาตรการควบคุมการใช้นาํ้ บาดาลอย่างเคร่งครัด โดยใช้กฎหมาย
ควบคุมการใช้นํ้าบาดาล
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 157

NET แนวข้อสอบ O-NET


ข้อใดเป็นการดูแลรักษาแหล่งนํ้าได้เหมาะสมที่สุด
๑ เทนํ้ายาฆ่าเชื้อโรคลงแหล่งนํ้า
๒ นำ�นํ้าในคลองที่สะอาดมาใช้
๓ บำ�บัดนํ้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งนํ้า
๔ ทิ้งเศษอาหารลงแหล่งนํ้าเพื่อเพิ่มธาตุอาหาร
(เฉลย ๓ เพราะการบำ�บัดนํ้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งนํ้าจะทำ�ให้แม่นํ้าไม่เน่าเสีย)

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 13
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้

๘. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาค
ตะวันออก โดยยกตัวอย่างประเด็น
ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบลงใน
แผนภาพความคิด และตอบคำ�ถาม
แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด ประตูระบายนํ้าสร้างขึ้นเพื่อใช้ควบคุมปริมาณนํ้าที่ต้องการให้ไหลผ่านหรือใช้เพื่อกักเก็บนํ้า
ดังตัวอย่าง ๓.๔ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาคตะวันออก
ภาคตะวันออก มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นหย่อมภูเขาสูง กลุ่มภูเขา
ต้องการพื้นที่ในการเพาะปลูก
ขนาดเล็ ก ที่ เ นิ น และมี ช ายฝั่ ง ทะเล
สาเหตุ ปัญหาการบุกรุก ภูมิอากาศชุ่มชื้นทางตะวันออก แห้งแล้ง
ทำ�ลายป่าไม้และ ทางตะวันตก ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น
ป่าชายเลน
ไม่มีการกำ�หนด เช่ น การบุ ก รุ ก พื้ น ที่ อุ ท ยานและเขต
พื้นที่เพาะปลูก รักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ การบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ชายเลน
ที่แน่นอน ผลกระทบ
การขาดแคลนนํา้ ในบางพืน้ ทีใ่ นเขตจังหวัด
พื้นที่ป่าไม้ลดลง ชลบุรีและระยอง ปัญหามลพิษทางอากาศ
และเกิดความเสือ่ มโทรม คราบนํ้ามันในทะเลที่รั่วไหลส่งผลกระทบ
และนํ้ า ในเขตอุ ต สาหกรรม ปั ญ หาขยะ ต่อระบบนิเวศบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล
ในทะเล ปัญหาการใช้สารเคมีในสวนผลไม้และแปลงเกษตร ปัญหาการทํา ลาย
• จากปัญหาดังกล่าวควรมีแนวทาง
สิง่ แวดล้อมใต้ทะเลโดยเรือประมงชายฝัง่ ปัญหาการปล่อยของเสีย โดยเฉพาะนํา้ มัน
การแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งไร (ตั ว อย่ า ง
จากเรือเดินสมุทรและเรือประมง
คำ�ตอบ กำ�หนดพื้นที่ในการเพาะปลูก แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มีดังนี้
ให้ แ น่ น อน และกำ � หนดพื้ น ที่ เ พื่ อ การ ๑. ออกมาตรการควบคุ ม และบํ า บั ด มลพิ ษ ทางนํ้ า และอากาศใน
อนุรักษ์และป้องกันการบุกรุกทำ�ลายป่า) เขตนิคมอุตสาหกรรมอย่างเคร่งครัด
๒. แก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าใช้ด้วยการสร้างอ่างเก็บนํ้า
158 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕

asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ทุง่ ใหญ่นเรศวร-ห้วยขาแข้ง มีพนื้ ทีค่ รอบคลุม


จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี กาญจนบุ รี และตาก เป็ น พื้ น ป่ า อนุ รั ก ษ์ ที่ มี
ขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ขึ้นทะเบียน
มรดกโลกใน พ.ศ. ๒๕๓๔

14 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

๓. ควบคุมการลักลอบตัดไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์ ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์

St
สัตว์ป่า รวมทั้งบริเวณป่าชายเลน และสรุปความรู้
๔. อนุรักษ์พื้นที่ป่าและปลูกป่าเพิ่มเติมแทนป่าไม้ที่ถูกทําลาย
๕. ออกมาตรการควบคุมการปล่อยของเสียลงทะเลของเรือเดินสมุทร ๙. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร
และเรือประมงอย่างมีประสิทธิภาพตลอดแนวชายฝั่งทะเล เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาค
๖. ห้ามใช้อวนรากหรืออวนรุนในเขตนํ้าตื้นชายฝั่งทะเล เพื่อป้องกัน ตะวั น ตก โดยยกตั ว อย่ า งประเด็ น
การทําลายแนวปะการังเสียหาย ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบลงใน
๗. ส่งเสริมการใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ จากอ่างเก็บนํ้า และเขื่อนที่มี แผนภาพความคิด และตอบคำ�ถาม
อยูม่ ากทางตอนเหนือของจังหวัดสระแก้วและปราจีนบุรี โดยเพิม่ ปริมาณคลองส่งนํา้ แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด
สู่พื้นที่เกษตรของประชาชนให้ทั่วถึง ดังตัวอย่าง

ฝนไม่ตกตามฤดูกาล
สาเหตุ ปัญหา
การขาดแคลน
นํ้า
มนุษย์ทำ�ลาย
ป่าต้นนํ้า
ผลกระทบ
พืชผลทางการเกษตร
เสียหาย

• จากปัญหาดังกล่าวควรมีแนวทาง
การปลูกป่าชายเลนบริเวณชายฝั่งภาคตะวันออก
การแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งไร (ตั ว อย่ า ง
๓.๕ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาคตะวันตก คำ�ตอบ ส่งเสริมการปลูกป่าและอนุรักษ์
ภาคตะวันตก มีภมู ปิ ระเทศเป็นทิวเขาสูง มีทลี่ าดดอนตอนกลาง และทีร่ าบ ป่าเพื่อรักษาป่าต้นนํ้า และสร้างแหล่งนํ้า
ชายฝัง่ ทะเลทางตะวันออกเป็นเขตเงาฝนของทิวเขาตะนาวศรี ทําให้มฤี ดูแล้งยาวนาน บนที่ ล าดเขา เพื่ อ กั ก เก็ บ นํ้ า ไว้ ใ ช้ ใ น
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น เช่น ปัญหาการบุกรุกทําลายป่าในเขตเทือกเขาตะนาวศรี หน้าแล้ง)
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 159

เสริมความรู้ ครูควรสอน

อุทยานแห่งชาติ หมายถึง พื้นที่ซึ่งรัฐบาลเห็นว่ามีสภาพธรรมชาติที่น่าสนใจ


สมควรสงวนไว้เป็นพิเศษ เพือ่ รักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติให้คงสภาพ
เดิมถาวรตลอดไป เพื่อประโยชน์ในการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และ
เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 15
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้
ปัญหาขาดแคลนนํ้าเพื่อการเกษตรในหน้าแล้ง
๑๐. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ปัญหาชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะในเขตจังหวัด
เพชรบุรแี ละประจวบคีรขี นั ธ์ ปัญหาการกระทบ
เปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดล้อมในภาคใต้
กระทั่งของสัตว์ป่ากับชาวบ้าน ปัญหานํ้าท่วม
โดยยกตัวอย่างประเด็นปัญหา สาเหตุ ฉับพลันในฤดูฝนและนํ้าป่าไหลหลาก
แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ล ง ใ น แ ผ น ภ า พ
นํ้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี
ความคิดและตอบคำ�ถาม แล้วสรุป
เป็นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มีดังนี้
๑. ออกมาตรการและควบคุมการบุกรุกทําลายป่า เพื่อรักษาป่าต้นนํ้า-
ต้องการทำ�ประมงเพื่อยังชีพ ลําธารลดปัญหาการกระทบกระทัง่ กับสัตว์ปา่ ในเขตอุทยาน และเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่
สาเหตุ และเพื่อการชะลอนํ้าหลากในฤดูฝน
ปัญหาการลักลอบ ๒. สร้างแหล่งนํา้ บนทีล่ าดเขาหรือเชิงเขา เพือ่ กักเก็บนํา้ ไว้ใช้ในหน้าแล้ง
ทำ�ประมงชายฝั่ง
พร้อมสร้างคลองส่งนํ้าให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าในช่วงฤดูแล้ง
ขาดมาตรการที่ ที่ยาวนานในเขตเงาฝน
รัดกุมในการ ๓. สร้ า งแนวเขื่ อ นบริ เ วณชายฝั่ ง เพื่ อ ป้ อ งกั น คลื่ น ซั ด ฝั่ ง และถู ก
ควบคุมการทำ� ผลกระทบ
ประมงชายฝั่ง เกิดความเสื่อมโทรม เซาะกร่อน
สัตว์ทะเลสูญพันธุ์ ๔. ควบคุมเรือประมงในการใช้อวนรากและอวนรุนในเขตนํา้ ตืน้ ชายฝัง่ -
ทะเล เพื่ออนุรักษ์ปะการัง และการสูญพันธุ์ของสัตว์ทะเลบริเวณชายฝั่ง
• จากปัญหาดังกล่าวควรมีแนวทาง ๕. ส่งเสริมการขุดรอกคูคลอง และแหล่งนํ้าเก่า เพื่อกักเก็บนํ้า และ
แก้ไขปัญหาอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ระบายนํ้ า เพื่ อ ป้ อ งกั น
แนวกันคลื่นบริเวณจังหวัดเพชรบุรี
ออกมาตรการควบคุ ม การทำ � ประมง นํ้าท่วมยามฝนตกหนัก
ชายฝั่ ง ไม่ ใ ห้ ทำ � ลายสิ่ ง แวดล้ อ ม
ในเขตทะเลตื้ น โดยห้ า มใช้ อ วนลาก
อวนรุน และอวนตาถี่จับปลา)

160 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕

asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

อุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา คือ พื้นที่คุ้มครองแห่งหนึ่งของ


ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณใจกลางทะเลซู ลู เขตสงวนพั น ธุ์ น กและ
สั ต ว์ ท ะเล อุ ท ยานแห่ ง นี้ มี แ นวปะการั ง เหนื อ และใต้ เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ค วาม
อุดมสมบูรณ์ของแนวปะการังและสัตว์นํ้าหลากหลายสายพันธุ์ นอกจากนี้ยงั มี
ผาหินปะการังใต้นํ้าเก่าแก่ที่มีความสูงถึง ๑๐๐ เมตร องค์การยูเนสโกยกย่อง
ให้สถานที่แห่งนี้เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖
16 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์

St
๓.๖ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภาคใต้ และสรุปความรู้
ภาคใต้ มีภมู ปิ ระเทศเป็นคาบสมุทร มีภเู ขาสูงเป็นแกนกลางของคาบสมุทร
มีที่ลาดเชิงเขา ที่ดอน เขาโดด กระจายอยู่สองฝั่งระหว่างทิวเขา มีที่ราบชายฝั่งทะเล ๑๑. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น เสนอแนวทาง
ทั้งสองด้าน ภูมิอากาศชุ่มชื้นมากกว่าภูมิภาคอื่น ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น เช่น การอนุ รั ก ษ์ แ ละรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม
ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ปัญหา ลงในแผนภาพความคิ ด แล้ ว สรุ ป
การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน ปัญหาการ
เป็นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง
ใช้พื้นที่ชายฝั่ง ปัญหาดินกรด ปัญหา
ดินเค็ม ปัญหาการลักลอบทําประมง
ประชาสัมพันธ์
ชายฝั่ง ปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า เพื่อ ให้คนอนุรักษ์ ใช้อย่างประหยัด
ทําการเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม
อย่างต่อเนื่อง ใช้อย่างถูกวิธี
การปลูกพืชยางพาราบริเวณไหล่เขา
ปลูกฝังจิตสำ�นึก
ภาคใต้ทําให้เกิดดินถล่มเมื่อฝนตกหนัก การอนุรักษ์ ออกกฎหมาย
ให้ทุกคนเห็น และรักษา ควบคุมการใช้
แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ คุณค่าและ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร
๑. กํ า หนดมาตรการในการวางแนวป้ อ งกั น ชายฝั่ ง ถู ก กั ด เซาะ ความสำ�คัญ
อย่ า งเหมาะสม และสอดคล้ อ งกั บ ธรรมชาติ ข องชายฝั่ ง และกระแสนํ้ า ทะเล ของสิ่งแวดล้อม ใช้แล้วทำ�การ
ในฤดูมรสุม ร่วมกันทำ�นุบำ�รุง ฟื้นฟู
๒. วางแผนการใช้ที่ดินพื้นที่ชายฝั่งอย่างมีประสิทธิภาพและชัดเจน ฟื้นฟู
สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
เพือ่ ป้องกันการบุกรุกป่าชายเลน และการใช้พนื้ ทีไ่ ม่เหมาะสมในการทําประมงชายฝัง่
๓. แก้ดนิ กรดบริเวณทีล่ มุ่ ชายฝัง่ ทะเล ด้วยการใช้ปนู มาร์ล และปูนขาว
แก้ความเป็นกรดของดิน ๑๒. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น
๔. ออกมาตรการควบคุมการทําประมงชายฝั่งไม่ให้ทําลายสิ่งแวดล้อม จ า ก ก า ร ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ
ในเขตทะเลตื้น โดยห้ามใช้อวนราก อวนรุน และอวนตาถี่ในการจับปลา การอนุ รั ก ษ์ แ ละรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม
๕. ใช้มาตรการทีเ่ ข้มงวดในการควบคุมการขยายพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมรุกป่า ลงในแผนภาพความคิ ด แล้ ว สรุ ป
ในเขตไหล่เขาสูง และเขตอุทยานตอนกลางของภูมิภาค เป็นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 161
ผลที่เกิดขึ้น
ถ้าปฏิบัติ
มีสิ่งแวดล้อมใช้
แนวทางการอนุรักษ์ ได้ยาวนานขึ้น
NET แนวข้อสอบ O-NET และรักษาสิ่งแวดล้อม
ใช้สิ่งแวดล้อมอย่าง
ข้อใดสัมพันธ์กัน ประหยัด คุ้มค่า และ ผลที่เกิดขึ้น
๑ ภาคเหนือ ↔ พื้นที่ราบลุ่มแม่นํ้า เกิดประโยชน์สูงสุด สิ่งแวดล้อม
๒ ภาคใต้ ↔ ภูมิประเทศเป็นคาบสมุทร ถ้าไม่ปฏิบัติ เสื่อมโทรมและ
๓ ภาคกลาง ↔ มีป่าไม้และสัตว์ป่าจำ�นวนมาก หมดไป
๔ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ↔ ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะต่อการเพาะปลูก
(เฉลย ๒ เพราะภาคใต้เป็นภาคที่มีอาณาเขตติดต่อกับอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ลักษณะภูมิประเทศจึงเป็นคาบสมุทร)
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 17
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

ep 2
ขั้นคิดวิเคราะห์
St

และสรุปความรู้
ความรู้เพิ่มเติม
การทําไร่เลื่อนลอย คือ การตัดต้นไม้บนพื้นที่ภูเขาออก แล้วนําพืชเศรษฐกิจ
๑๓. นั ก เรี ย นคิ ด ประเมิ น เพื่ อ เพิ่ ม คุ ณ ค่ า ที่ต้องการ เช่น ผักต่าง ๆ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง มาปลูก ซึ่งในระยะแรก
จะได้ผลผลิตต่อไร่สูง แต่ต่อมาผลผลิตจะลดลงเรื่อย ๆ จึงเปลี่ยนพื้นที่ทําการ
แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยใช้ เพาะปลูกใหม่ ทิ้งพื้นที่เดิมให้รกร้างว่างเปล่า การทําไร่เลื่อนลอยของชาวเขา
คำ�ถาม ดังนี้ ในพื้นที่ภูเขาสูง เป็นการทําลายพื้นที่ป่าไม้ ทําให้เกิดปัญหาดินถล่ม แหล่งนํ้า
• ถ้ า ทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว มในการ ตื้นเขิน ซึ่งส่งผลกระทบต่อมนุษย์ในเวลาต่อมา
อนุ รั ก ษ์ แ ละรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม
จะก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ ตนเอง ๔. แนวทางการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม
สังคม ประเทศชาติ และโลกอย่างไร ปัญหาสิง่ แวดล้อมเป็นปรากฏการณ์ทกี่ อ่ ให้เกิดความเสียหาย และส่งผลกระทบ
โดยนั ก เรี ย นร่ ว มกั น บั น ทึ ก คำ � ตอบ ต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก รวมทั้งการดํารงชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นทุกคนจึงจําเป็น
ลงในแผนภาพความคิดบนกระดาน ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังนี้
ดังตัวอย่าง ๔.๑ การอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น
ใช้อย่างประหยัด หมายถึง ใช้อย่างคุ้มค่า เท่าที่จําเป็น และเกิด
การอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม ประโยชน์สูงสุด เพื่อลดการสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์
ใช้อย่างถูกวิธี หมายถึง ใช้แล้วไม่ส่งผลทําลายต่อสิ่งแวดล้อมอื่น
เช่น โรงงานอุตสาหกรรมต้องบําบัดนํ้าเสียให้สะอาดก่อนปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งนํ้า
ผลต่อตนเอง ใช้แล้วฟื้นฟู หมายถึง สิ่งแวดล้อมใดที่เสื่อมโทรม ควรหาวิธีการ
มีสิ่งแวดล้อมใช้ยาวนานขึ้น ปรับปรุงแก้ไขให้อยู่ในสภาพที่ดีขึ้น หรือหาวิธีการทดแทนให้เหมือนเดิม เช่น การ
ปลูกป่าทดแทนป่าไม้ที่ถูกตัดไป
การไม่เปิดนํ้าไหลทิ้งไว้เพื่อลด การปลูกต้นไม้ทดแทนต้นไม้ที่ถูกตัดไป
ผลต่อสังคม
การใช้นํ้าโดยเปล่าประโยชน์
ไม่เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม

ผลต่อประเทศชาติ
ระบบนิเวศในประเทศอุดมสมบูรณ์ 162 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕

ผลต่อโลก
ไม่เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21

นั ก เรี ย นแบ่ ง กลุ่ ม ร่ ว มกั น อภิ ป รายแสดงความคิ ด เห็ น เสนอแนวทาง


การอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ใช้อย่างประหยัด ใช้อย่างถูกวิธี
ใช้แล้วทำ�การฟื้นฟู โดยยกตัวอย่างประกอบแต่ละรูปแบบ แล้วส่งตัวแทน
ออกมานำ�เสนอหน้าชั้นเรียน

18 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 3 ขั้นปฏิบัติ
และสรุปความรู้

St
๔.๒ แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถทําได้หลายวิธี เช่น หลังการปฏิบัติ
๑) การให้ความรู้
เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ ดี เ ห็ น คุ ณ ค่ า ๑๔. นักเรียนยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง
และความสําคัญของการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม ของสิ่งแวดล้อมที่แสดงให้เห็นถึงผล
เพือ่ ต่อยอดความคิดให้เกิดการสร้างสรรค์ จากการรักษาและทำ�ลายสิ่งแวดล้อม
และพัฒนาสิง่ แวดล้อม เพือ่ ลดการใช้ทรัพยากร ลดผลกระทบ ในภู มิ ภ าคของตนเองมาอย่ า งละ
ที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก
การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก
๑ ตั ว อย่ า ง พร้ อ มวิ เ คราะห์ ผ ลที่
๒) สร้างมาตรการป้องกันและรักษา ช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน เกิ ด ขึ้ น ลงในแผนภาพความคิ ด
เพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งแวดล้อมถูกทําลาย เช่น การกําหนดเขต และตอบคำ�ถาม ดังตัวอย่าง
อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตอุทยานประวัติศาสตร์ หรือออกกฎหมาย
ควบคุม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การรักษาสิ่งแวดล้อม การทำ�ลายสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นแหล่งความรู้และสืบทอดไปยังคนรุ่นต่อไป เช่น สร้าง (การทิ้งขยะลงใน (การทิ้งขยะลงพื้น)
พิพิธภัณฑ์ อนุสาวรีย์ ศูนย์ส่งเสริมงานหัตถกรรมในแต่ละท้องถิ่น ถังขยะ)
การปลูกฝังจิตสํานึกให้คนในท้องถิ่นมีความรักและภาคภูมิใจ
ในท้องถิ่นของตนเอง และกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสําคัญและความ ผลที่เกิดขึ้น ผลที่เกิดขึ้น
จําเป็นที่ต้องช่วยกันอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (สิ่งแวดล้อมดูสะอาดตา (สิ่งแวดล้อมสกปรก
เปิดโอกาสให้มีการตั้งชมรม สมาคม หรือโครงการที่ช่วยกันดูแล ไม่ส่งกลิ่นเหม็น และไม่ ส่งกลิ่นเหม็น เป็นแหล่ง
รักษาสภาพแวดล้อม เพือ่ ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิน่ เข้ามามีสว่ นร่วมในการดูแล เป็นแหล่งเชื้อโรค) เชื้อโรค)
รักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
• นักเรียนจะจัดกิจกรรมใดที่จะ
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ การมีส่วนร่วม
อําเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ในการดูแลรักษา
ทำ � ให้ เ กิ ด การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม
สิ่งแวดล้อม (เชิญชวนให้เพือ่ น ๆ ในโรงเรียนร่วมกัน
ปลูกต้นไม้ และทำ�ความสะอาดโรงเรียน
และชุมชนให้น่าอยู่อาศัย)
๑๕. นั ก เรี ย นตรวจสอบความถู ก ต้ อ ง
สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 163 เรี ย บร้ อ ยของผลงาน หากพบข้ อ
ผิดพลาดให้ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21

นักเรียนร่วมกันหาแนวทางการช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน
ที่สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ และนำ�เสนอผลงาน
จากการศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ รณรงค์ ใ ห้ ค นในชุ ม ชนเห็ น
ความสำ�คัญและร่วมกันติดตามแนวทางดังกล่าว

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 19
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

ep 3 ขั้นปฏิบัติ
และสรุปความรู้ ๔.๓ ตัวอย่างการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ
St

หลังการปฏิบัติ ๑) ชุมชนต้นนํ้ากับการดูแลรักษาป่า เครือข่ายชุมชนลุ่มแม่นํ้าปิง


ตอนบน อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
๑๖. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็น กิจกรรมของชุมชน คือ การอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ และขยายพื้นที่
ความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การจัดการป่าชุมชนในเขตพืน้ ทีล่ มุ่ แม่นาํ้ ปิงอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีเป้าหมายให้ครอบคลุม
• สิ่ ง แวดล้ อ มที่ อ ยู่ ร อบตั ว เรา พื้นที่ ๗ ตําบล ๘๓ หมู่บ้าน และขยายเครือข่ายสมาชิกป่าชุมชนไปยังพื้นที่ลุ่มนํ้า
มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น และต้ อ งพึ่ ง พา ใกล้เคียง เช่น ลุ่มนํ้าแม่งัด ลุ่มนํ้าแม่แตง และลุ่มนํ้าแม่ฝาง ผลจากการอนุรักษ์
อาศัยกันและกัน การเปลี่ยนแปลง ป่าชุมชนทําให้เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่และ
ของสิ่ ง แวดล้ อ มจึ ง มี ผ ลกระทบต่ อ เครือข่ายระดับภาค ฟืน้ ฟูจารีต ประเพณีในการจัดการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
การดำ�เนินชีวติ ของมนุษย์ทงั้ ด้านบวก และรักษาแหล่งอาหารของชุมชน ทําให้คนในชุมชนมีรายได้เสริมจากผลผลิตจากป่า
และด้านลบ การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม อีกทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชนในพื้นที่และนอกพื้นที่
ให้ อ ยู่ ใ นสภาพดี เป็ น การอนุ รั ก ษ์ ๒) ชุมชนในเครือข่ายมัสยิดกมาลุลอิสลาม เขตคลองสามวา
สิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร
กิจกรรมของชุมชน คือ การรณรงค์และสร้างจิตสํานึกให้ประชาชน
ได้ยาวนานขึ้น
เห็นถึงความสําคัญของการอนุรักษ์ลําคลอง มีความรักและหวงแหนคลองแสนแสบ
ep 4 โดยจัดกิจกรรมอนุรักษ์ลําคลอง ปล่อยพันธุ์ปลา กําหนดเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์นํ้า
และรณรงค์ไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลอง ส่งเสริมให้คลองแสนแสบเป็นสถานที่
St

ขัน้ สือ่ สารและน�ำเสนอ


พักผ่อน ส่งผลให้คลองแสนแสบในชุมชนมีความสะอาด สามารถใช้ประโยชน์ได้
เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของปลานํ้าจืดหลายชนิด
๑๗. นั ก เรี ย นออกมานำ � เสนอตั ว อย่ า ง
ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มที่ แ สดงให้ เ ห็ น
ถึ ง ผลจากการรั ก ษาและทำ � ลาย
สิ่ ง แวดล้ อ มในภู มิ ภ าคของตนเอง
พร้ อ มวิ เ คราะห์ ผ ลที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้
เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน

164 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21

นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม ร่วมกันคิดโครงการที่ช่วยอนุรักษ์
และรักษาสิง่ แวดล้อมในชุมชน ๑ โครงการ เขียนชือ่ โครงการ วัตถุประสงค์
วิธกี ารดำ�เนินงาน และผลทีค่ าดว่าจะได้รบั แล้วออกมานำ�เสนอหน้าชัน้ เรียน

20 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Applying and Constructing the Knowledge Applying the Communication Skill Self-Regulating
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean
รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 5 ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
จุดประกายความรู้

St
บริการสังคม
วันสิ่งแวดล้อมไทยตรงกับวันใด และจิตสาธารณะ
วันที่ ๔ ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันสิ่งแวดล้อมไทย
๑๘. นักเรียนร่วมกันจัดป้ายนิเทศเผยแพร่
ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์
ผังสรุปสาระสําคัญ และรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มแก่ ผู้ พ บเห็ น
เพื่ อ ให้ ทุ ก คนเห็ น ความสำ � คั ญ และ
ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค
อยากมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์
สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ล้วนมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน และ
มนุษย์ต้องพึ่งพาอาศัยสิ่งแวดล้อมในการดํารงชีวิต และสร้างสรรค์
และรักษาสิ่งแวดล้อมให้ใช้ยาวนาน
วิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค มากขึ้น

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค
การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลง
ตามธรรมชาติและเกิดจากการกระทําของมนุษย์
สิ่งแวดล้อม
ในภูมิภาค การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ
ต่าง ๆ มนุ ษ ย์ เ ป็ น ตั ว การสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให้ สิ่ ง แวดล้ อ มในภู มิ ภ าค
มีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ตามมา และในที่สุดจึงส่งผลกระทบต่อมนุษย์ทุกคน

แนวทางการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม
การอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้อง
ร่วมมือกัน สามารถปฏิบตั ไิ ด้โดยการใช้อย่างประหยัด ให้เกิดประโยชน์
และเกิดความคุม้ ค่ามากทีส่ ดุ เมือ่ นําไปใช้แล้วควรดูแลรักษาและฟืน้ ฟู
ให้อยู่ในสภาพที่ดี เพื่อให้มีใช้ได้ยาวนาน

สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ 165

NET แนวข้อสอบ O-NET


นักเรียนสามารถอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นได้อย่างไร
๑ เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ในท้องถิ่น
๒ จับกุมผู้ที่ทำ�ให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม
๓ ออกกฎหมายห้ามบุกรุกพื้นที่ป่าในท้องถิ่น
๔ ห้ามไม่ให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น
(เฉลย ๑ เพราะเป็นการปฏิบัติที่ทุกคนสามารถทำ�ได้ไม่เกินความสามารถ)

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 21
GPAS 5 Steps ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
Gathering Processing
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET

ตัวชี้วัด

ส ๕.๒ ป.๕/๓ กิจกรรมการเรียนรู้


๑. นักเรียนหาข่าวหรือบทความเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
มา ๑ ข่าว แล้วอธิบายสาเหตุและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ดังกล่าว
๒. นักเรียนยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคของตนเอง
พร้อมทั้งอธิบายผลที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ปัญหา
แนวค�ำตอบ ๓. นักเรียนร่วมกันเสนอแนวทางการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่
แล้วร่วมกันจัดทําป้ายนิเทศเชิญชวนให้นกั เรียนร่วมกันดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม
๑. พึ่ ง พาในลั ก ษณะของปั จ จั ย ๔ คื อ
๔. นั ก เรี ย นสรุ ป ประโยชน์ ข องการดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น แผนภาพ
ด้ า นอาหาร ยารั ก ษาโรค เครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม ความคิด ดังตัวอย่าง
และที่อยู่อาศัย
ประโยชน์ของ
๒. การถมคลองเพื่ อ สร้ า งถนนหรื อ ที่ อ ยู ่ การดูแลรักษา
อาศัยส่งผลกระทบท�ำให้นาํ้ ท่วม เพราะเมือ่ สิ่งแวดล้อม
ฝนตกลงมาพื้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถระบายนํ้ า
๕. นักเรียนแต่งคําขวัญเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แล้วนํามาจัดเป็น
ได้ทันจึงท�ำให้เกิดนํ้าท่วมขังในพื้นที่
ป้ายนิเทศ
๓. ขาดแคลนปั จ จั ย ๔ ในการด�ำรงชี วิ ต
และเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ร้ายแรง
และอาจท�ำให้มนุษย์เสียชีวิตได้ คําถามพัฒนากระบวนการคิด
๔. ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก เมื่อเดินซื้อของ ๑. นักเรียนต้องพึ่งพาอาศัยสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง
ในตลาด ๒. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการกระทําของมนุษย์
๕. เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม มีอะไรบ้าง และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร
๓. ถ้าทุกคนในสังคมไม่ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมจะก่อให้เกิดผลอย่างไร
กั บ ทางโรงเรี ย น เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้
๔. นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างไร
ด้านการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมและผลกระทบ ๕. นักเรียนจะแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมได้อย่างไร
หากเราไม่ช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม
166 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๕

NET แนวข้อสอบ O-NET


ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในด้านบวก
๑ นํ้ากัดเซาะตลิ่งพัง
๒ มีการทำ�ไร่เลื่อนลอยเพิ่มขึ้น
๓ ถนนดินลูกรังเปลี่ยนเป็นถนนลาดยาง
๔ มีบ้านพักตากอากาศจำ�นวนมากใกล้อุทยานแห่งชาติ
(เฉลย ๓ เพราะส่งผลดีต่อการคมนาคมของมนุษย์ ทำ�ให้การเดินทาง
สะดวกสบาย และรวดเร็วขึ้น)
22 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 สิ่ งแวดล้อมในภูมภิ าคต่ าง ๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1
เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมในภูมภิ าคต่ าง ๆ

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เวลาเรี ยน 1 ชัว่ โมง


มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่ วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ตัวชี้วดั
ส 5.2 ป.5/3 นาเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและทาลายสิ่ งแวดล้อม
และเสนอแนวทางในการจัดการสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคของตน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความสัมพันธ์ของสิ่ งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ (K)
2. วิเคราะห์และยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมที่สะท้อนให้เห็นถึงผลการรักษาและทาลาย
สิ่ งแวดล้อมและเสนอแนวทางในการจัดการสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค (P)
3. เห็นคุณค่าและความสาคัญของการอนุรักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค (A)

สาระสาคัญ

สิ่ งแวดล้อมที่อยูร่ อบตัวเรามีความสัมพันธ์กนั และต้องพึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน การเปลี่ยนแปลงของ


สิ่ งแวดล้อมจึงมีผลกระทบต่อการดาเนิ นชีวิตของมนุษย์ท้ งั ด้านบวกและด้านลบ การดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม
ให้อยูใ่ นสภาพดี เป็ นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ยาวนานขึ้น

สาระการเรียนรู้

1. ความสัมพันธ์ของสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค
2. สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค
3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ
4. แนวทางการอนุรักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อม
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 23
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชี วิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินยั
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้

คาถามสาคัญ
ถ้าทุกคนมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อมจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคม
ประเทศชาติ และโลกอย่างไร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ep 1
St

ขั้นสั งเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม แล้วตอบคาถาม ดังนี้
• สิ่ งแวดล้อม ตามความเข้าใจของนักเรี ยนมีความหมายว่าอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ ระบบความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่อยูร่ อบตัวเรามีท้ งั สิ่ งที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติและสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น)
• สิ่ งแวดล้อมที่อยูร่ อบ ๆ ตัวนักเรี ยนมีอะไรบ้าง
(ตัวอย่างคาตอบ เพื่อน ครู โต๊ะ เก้าอี้ ต้นไม้ อากาศ)
• นักเรี ยนคิดว่าสิ่ งแวดล้อมมีอิทธิ พลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์หรื อไม่ อย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ มีอิทธิ พลต่อการดาเนิ นชีวิตของมนุษย์ เพราะมนุษย์ตอ้ งใช้พืช สัตว์
และสิ่ งแวดล้อมอื่นในรู ปปั จจัย ๔ ในการดารงชีวิต เมื่อสิ่ งแวดล้อมดังกล่าวเปลี่ยนแปลงย่อมส่ งผลกระทบ
ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์)
กิจกรรมนี้สร้างเสริ มทักษะทางภูมิศาสตร์ ด้านการสังเกต และกระบวนการทางภูมิศาสตร์
ด้านการตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์
2. นักเรี ยนร่ วมกันศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ จากหนังสื อเรี ยน
และแหล่งการเรี ยนรู ้อื่นเพิ่มเติม
กิจกรรมนี้สร้างเสริ มกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ด้านการรวบรวมข้อมูล

24 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ep 2

St
ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)
••••••••••••••••••••
(Gathering)
3. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อม
ในภูมิภาคต่าง ๆ แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด โดยใช้คาถาม ดังนี้
• การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
(ตัวอย่างคาตอบ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ และการกระทาของมนุษย์)
• การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ การเกิดแผ่นดินไหว การเกิดสึ นามิ น้ าท่วม)
• การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติก่อให้เกิดผลกระทบอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ ได้รับความเสี ยหาย ทาให้สูญเสี ยชีวิตและทรัพย์สิน)
• การกระทาของมนุษย์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ การตัดไม้ทาลายป่ า การสร้างมลพิษ)
• การกระทาของมนุษย์ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ เกิดปัญหาสิ่ งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ปัญหาพื้นที่ป่าไม้ลดลง ปัญหามลพิษ ปัญหาภาวะโลกร้อน)

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มความสามารถทางภูมิศาสตร์ ด้านความเข้าใจระบบธรรมชาติและมนุษย์

4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 6 กลุ่ม จับสลากเลือกศึกษาและอภิปรายข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง


ของสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ ดังนี้
กลุ่มที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคเหนื อ
กลุ่มที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
กลุ่มที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคกลาง
กลุ่มที่ 4 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคตะวันออก
กลุ่มที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคตะวันตก
กลุ่มที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคใต้
จากนั้นนักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ประเด็นปั ญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางการแก้ไขปัญหา
สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคที่กลุ่มรับผิดชอบลงในแผนภาพความคิด แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง
กลุ่มที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในภาคเหนื อ
ฝนตกติดต่อกันเป็ นเวลานาน ผลกระทบ
ปัญหา
สาเหตุ ทาให้โครงสร้างของดิน
เสี ยสมดุล ประชากร
แผ่นดินถล่ม
พื้นที่มีความลาดเอียง สู ญเสี ยชีวิตและทรัพย์สิน

แนวทางแก้ไขปัญหา
ป้องกันดินถล่มโดยการทาขั้นบันไดชะลอการชะล้างทาลายดิน
ของน้ าตามไหล่เขาและที่สูง รวมถึงปลูกพืชคลุมดิน
กิจกรรมนี้สร้างเสริ มความสามารถทางภูมิศาสตร์ ด้านความเข้าใจระบบธรรมชาติและมนุษย์
และกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ด้านการคิดวิเคราะห์ขอ้ มูล

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 25
5. นักเรี ยนร่ วมกันเสนอแนวทางการอนุรักษ์และการรักษาสิ่ งแวดล้อมลงในแผนภาพความคิด
แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง

ใช้อย่างประหยัด ใช้อย่างถูกวิธี

ออกกฎหมายควบคุม
ประชาสัมพันธ์ให้คนอนุรักษ์ การอนุรักษ์
การใช้ทรัพยากร
สิ่ งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และรักษาสิ่งแวดล้ อม

ปลูกฝังจิตสานึกให้ทุกคน
ใช้แล้วทาการฟื้ นฟู
เห็นคุณค่าและความสาคัญ
ของสิ่ งแวดล้อม ร่ วมกันทานุบารุ งฟื้ นฟู
สิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ

6. นักเรี ยนร่ วมกันวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิและไม่ปฏิบตั ิการอนุรักษ์


และรักษาสิ่ งแวดล้อมลงในแผนภาพความคิด แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง
ผลทีเ่ กิดขึน้
ถ้ าปฏิบัติ มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
อนุรักษ์ และรักษาสิ่ งแวดล้ อม ใช้ยาวนานมากขึ้น
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างประหยัด
คุม้ ค่า ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ผลทีเ่ กิดขึน้
ถ้ าไม่ ปฏิบัติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
เสื่ อมโทรม หมดไป

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มความสามารถทางภูมิศาสตร์ ด้านการตัดสิ นใจอย่างเป็ นระบบ

7. นักเรี ยนคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด โดยใช้คาถาม ดังนี้


• ถ้าทุกคนมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อมจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
สังคม ประเทศชาติ และโลกอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ ต่อตนเอง มีสิ่งแวดล้อมใช้ได้ยาวนาน เกิดจิตสานึกอย่างมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์
และรักษาสิ่ งแวดล้อม ต่อสังคม ไม่เกิดปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ต่อประเทศชาติ มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ใช้ได้ยาวนานขึ้น ไม่เกิดปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ระบบนิ เวศในประเทศอุดมสมบูรณ์ ต่อโลก ไม่เกิดปัญหาภาวะโลกร้อน
หรื อปัญหาสิ่ งแวดล้อมอื่นตามมา)

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ด้านการสรุ ปเพื่อตอบคาถาม

26 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ep 3

St
ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)
• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
8. นักเรี ยนยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมที่แสดงให้เห็นถึงผลจากการรักษา
และทาลายสิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคของตนเองมาอย่างละ 1 ตัวอย่าง พร้อมวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น
ลงในแผนภาพความคิด และตอบคาถามในชิ้นงานที่ 1 เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค
กิจกรรมนี้สร้างเสริ มความสามารถทางภูมิศาสตร์ ด้านความเข้าใจระบบธรรมชาติและมนุษย์

9. นักเรี ยนตรวจสอบความถูกต้องเรี ยบร้อยของผลงาน หากพบข้อผิดพลาดให้ปรับปรุ งแก้ไข


ให้สมบูรณ์
10. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน ดังนี้
• สิ่ งแวดล้อมที่อยูร่ อบตัวเรามีความสัมพันธ์กนั และต้องพึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน
การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมจึงมีผลกระทบต่อการดาเนิ นชีวิตของมนุษย์ท้ งั ด้านบวกและด้านลบ
การดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพดี เป็ นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ยาวนานขึ้น
ep 4
St

ขั้นสื่ อสารและนาเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
11. นักเรี ยนออกมานาเสนอตัวอย่างปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่แสดงให้เห็นถึงผลจากการรักษาและทาลาย
สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคของตนเอง พร้อมวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นให้เพื่อนฟั งหน้าชั้นเรี ยน
กิจกรรมนี้สร้างเสริ มทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่ อสาร

12. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทางานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทางาน


ที่มีแบบแผน
ep 5
St

ขั้นประเมินเพื่อเพิม่ คุณค่ าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
13. นักเรี ยนร่ วมกันจัดป้ายนิเทศเผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อม
แก่ผพู ้ บเห็น เพื่อให้ทุกคนเห็นความสาคัญและอยากมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อม
ให้ใช้ยาวนานมากขึ้น
14. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทากิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพอใจกับการเรี ยนในวันนี้หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนาความรู ้ที่ได้น้ ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สาหรับการทางานในครั้งต่อไป
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 27
สื่ อการเรียนรู้ /แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แหล่งการเรี ยนรู ้ท้ งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน
3. ชิ้นงานที่ 1 เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค

การประเมินการเรียนรู้

1. ประเมินความรู ้ เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ (K) ด้วยแบบทดสอบ


2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินชิ้นงาน เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านมีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้ าหมาย มีการชี้แจงเป้ าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้ าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้ าหมาย สมาชิก
ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่ วมมือร่ วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็ นระยะ ๆ
เป็ นระยะ ๆ

28 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
แบบประเมินชิ้นงาน เรื่ อง สิ่ งแวดล้ อมในภูมิภาค

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
1. ความสามารถ สารวจและสื บค้น สารวจและสื บค้น สารวจและสื บค้น สารวจและสื บค้น
ทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของ การเปลี่ยนแปลงของ การเปลี่ยนแปลงของ การเปลี่ยนแปลงของ
• ความเข้าใจ สิ่ งแวดล้อมที่แสดง สิ่ งแวดล้อมที่แสดง สิ่ งแวดล้อมที่แสดง สิ่ งแวดล้อมที่แสดง
ระบบธรรมชาติ ให้เห็นถึงผลจากการ ให้เห็นถึงผลจากการ ให้เห็นถึงผลจากการ ให้เห็นถึงผลจากการ
และมนุษย์ รักษาและทาลาย รักษาและทาลาย รักษาและทาลาย รักษาและทาลาย
• การให้เหตุผล สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค
ทางภูมิศาสตร์ ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ได้อย่างถูกต้อง ได้เพียงบางส่วน ได้ตามคาแนะนา
• การตัดสิ นใจ แต่ไม่ครบถ้วน
อย่างเป็ นระบบ
2. กระบวนการ ดาเนินการตาม ดาเนินการตาม ดาเนินการตาม ดาเนินการตาม
ทางภูมิศาสตร์ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการทาง
• การตั้งคาถาม ทางภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ได้บา้ ง
เชิงภูมิศาสตร์ ได้ถูกต้องและครบถ้วน ได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน ได้ถูกต้องบางส่วน
• การรวบรวม ทุกขั้นตอน ทุกขั้นตอน แต่ไม่ครบถ้วน
ข้อมูล
• การจัดการข้อมูล
• การวิเคราะห์
ข้อมูล
• การสรุ ป
เพื่อตอบคาถาม
3. ทักษะทางภูมิศาสตร์ สังเกตและแปลความ สังเกตและแปลความ สังเกตและแปลความ สังเกตและแปลความ
• การสังเกต ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง
• การแปลความ ของสิ่ งแวดล้อม ของสิ่ งแวดล้อม ของสิ่ งแวดล้อม ของสิ่ งแวดล้อม
ข้อมูลทาง ในภูมิภาคต่าง ๆ โดยใช้ ในภูมิภาคต่าง ๆ โดยใช้ ในภูมิภาคต่าง ๆ โดยใช้ ในภูมิภาคต่าง ๆ โดยใช้
ภูมิศาสตร์ เทคนิคทางภูมิศาสตร์ เทคนิคทางภูมิศาสตร์ เทคนิคทางภูมิศาสตร์ เทคนิคทางภูมิศาสตร์
• การใช้เทคนิค ได้ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน ได้ถูกต้องเพียงบางส่วน ได้ตามคาแนะนาของครู
และเครื่ องมือ และไม่ครบถ้วน
ทางภูมิศาสตร์

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 29
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ


1. ความสามารถทางภูมิศาสตร์ 4 3 2 1 11 - 12 4 (ดีมาก)
2. กระบวนการทางภูมิศาสตร์ 4 3 2 1 9 - 10 3 (ดี)
3. ทักษะทางภูมิศาสตร์ 4 3 2 1 7-8 2 (พอใช้)
1-6 1 (ควรปรับปรุ ง)

30 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

ลงชื่อ
( )
ตาแหน่ง

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรี ยนการสอน

ปัญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครู ผสู ้ อน
( )
วันที่บนั ทึก

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 31
เฉลยชิ้นงานที่ 1 เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาค

ได้__________คะแนน
วันที่________เดือน_______________พ.ศ.___________ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ชื่อ_____________________________เลขที่_____ ชั้น__________

นักเรี ยนยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมที่แสดงให้เห็นถึงผลจากการรักษาและทาลาย


สิ่ งแวดล้อมในภูมิภาคของตนเองมาอย่างละ 1 ตัวอย่าง พร้อมวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นลงในแผนภาพความคิด
และตอบคาถาม (ตัวอย่างคาตอบ)

การรักษาสิ่ งแวดล้อม การทาลายสิ่ งแวดล้อม


(การทิ้งขยะลงในถังขยะ) (การทิ้งขยะลงพื้น)

ผลทีเ่ กิดขึน้ ผลทีเ่ กิดขึน้


(สิ่ งแวดล้อมดูสะอาดตา (สิ่ งแวดล้อมสกปรก ส่ งกลิ่นเหม็น
ไม่ส่งกลิ่นเหม็น และไม่เป็ น เป็ นแหล่งเชื้ อโรค)
แหล่งเชื้อโรค)

• นักเรี ยนจะจัดกิจกรรมใดที่จะทาให้เกิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(เชิญชวนให้เพื่อน ๆ ในโรงเรี ยนร่ วมกันปลูกต้นไม้ และทาความสะอาดโรงเรี ยน
และชุมชนให้น่าอยูอ่ าศัย)

32 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
หลักสูตรใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา • จัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ใหม่
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ • เปลี่ยนชื่อสาระการเรียนรู้ใหม่
• เพิ่มเติมเนื้อหาด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัย
สอดคล้องต่อการดำ�รงชีวิตในปัจจุบันและอนาคต
• เลื่อนไหลบางเนื้อหาให้มีความเหมาะสม
• เพิ่มเติมสาระที่ ๔ เทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
• จัดกลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ใหม่
• ปรับโครงสร้างรายวิชาใหม่
• เพิ่มสาระการเรียนรู้ที่มีความจำ�เป็น
• เลื่อนไหลเนื้อหาให้มีความเหมาะสม
• ตัดเนื้อหาที่มีความซ้ำ�ซ้อนกับเนื้อหา
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์
• การเรียนรู้ภูมิศาสตร์​(Geo-literacy)
โดยมีองค์ประกอบ ๓ ส่วน คือ ความสามารถ
ทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์
และทักษะทางภูมิศาสตร์
• ปรับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลางสาระภูมิศาสตร์

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
๑๒๕๖/๙ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ สาย), ๐-๒๒๔๑-๘๙๙๙
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖
website :
www.iadth.com
สงวนลิขสิทธิ์ หนังสือเล่มนี้ได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย 8 854515 618920

You might also like