You are on page 1of 122

คู่มือครู

Teacher Script

โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม. 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ตามผลการเรียนรู เล่ม 2
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


รศ. ดร.สากล สถิตวิทยานันท รศ. ดร.พันธทิพย จงโกรย นายสมเกียรติ ภูระหงษ
ดร.ปริชาติ เวชยนต ผศ. ดร.อารียา เอี่ยมบู นางสาววราภรณ ทวมดี
ดร.พูนศักดิ์ ไมโภคทรัพย
ดร.ชมชิด พรหมสิน
ดร.วิชุดา บุญยรัตกลิน

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นายสันติ อินแสงแวง นางสาววราภรณ ทวมดี
นางสาวมานิตา กลับคง

พิมพครั้งที่ 31
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ISBN
รหั สสิน:ค978-616-203-519-7
า 3548022
ค� ำ แนะน� ำ กำรใช
คู ่ มื อ ครู ร ายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 เล่มนี้ จัดท�าขึ้นส�าหรับให้ครู
ผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบาย
ของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได


เพ น�ำ น�ำ สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรู ใหนักเรียนทราบ
ิ่ม
เพ คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา เสถียรภาพอากาศ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนเรื่อง
การเกิดเมฆ เพื่อวัดความรูเดิมของนักเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่

ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่หลักสูตรกําหนด กอนเขาสูเนื้อหาที่จะเรียน
3. ครูถามคําถาม Big Question กับนักเรียนวา
ï• เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร
ï• เสถียรภาพอากาศสัมพันธกับการเกิดเมฆ
4
เมฆเป็นองค์ประกอบอย่างหนึง
และแนวปะทะอากาศ
่ ของท้องฟ้า โดยทองฟาในแตละวัน แตละชวงเวลามักมีเมฆทีม ่ี
ิ่ม Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ อยางไร ลักษณะรูปรางและสีสันตาง ๆ ในปริมาณที่แตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับปจจัยที่มีผลตอการเกิดเมฆ
เพ ï• แนวปะทะอากาศเกิดขึ้นไดอยางไร
4. ครูใหนกั เรียนทํา Understanding Check เพือ่
แตละชนิด และมีเสถียรภาพอากาศเปนสิง่ ทีค่ อยชวยสงเสริม หรือยับยัง้ การเคลือ่ นทีข่ องกอนเมฆ

การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี ตรวจสอบความเขาใจของตนเองกอนเรียน


• àÁ¦à¡Ô´¢Öé¹ä´ŒÍ‹ҧäÃ
ประสิทธิภาพ • àʶÕÂÃÀÒ¾ÍÒ¡ÒÈÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñº¡ÒÃà¡Ô´àÁ¦
Í‹ҧäÃ
• á¹Ç»Ð·ÐÍÒ¡ÒÈà¡Ô´¢Öé¹ä´ŒÍ‹ҧäÃ

ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ


เพ
จั ด การเรี ย นการสอนทั้งหมดของรายวิชากอนที่จะลงมือ
สอนจริง

U n de r s t a n d i ng
Che�
ิ่ม
เพ Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
ใหนักเรียนพิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิดแลวบันทึกลงในสมุด
เมฆเกิ่ 1.4
ภาพที ดจากการยกตั วของกลุมอากาศแล
สัดสวนของสารประกอบต าง ๆ วควบแนนรวมตัวกัน
ทีเมฆซี รรัสเปนาเมฆที
่พบในโครงสร ่มีลลักะชั
งโลกแต ษณะก
้น อนหนา สีขาวคลายปุยฝายหรือสําลี

ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย เมฆคิวมูโลนิมบัส เปนเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง ฐานเมฆอยูในระดับใกลพื้นดิน และยอดเมฆอาจสูงถึง 10 กิโลเมตร


อากาศที่มีเสถียรภาพจะทําใหเกิดเมฆในแนวราบ และทําใหเกิดทองฟาแจมใส สวนมากพบในชวงฤดูหนาว
แนวตอบ Understanding Check แนวปะทะอากาศเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดปรากฏการณของอากาศ เชน เมฆ ฝน พายุ
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
ิ่ม 4. ถูก 5. ถูก
เพ Chapter Concept Overview ชวยใหเ ห็นภาพรวม
Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question
• เมฆเกิดจากการยกตัวของกลุม อากาศหรือไอนํา้ ในความสูงเหนือระดับ
การจัดการเรียนการสอน เรื่อง เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะอากาศ
การควบแนน ซึ่งกลุมอากาศจะควบแนนและรวมตัวกันเปนกลุมกอน
ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม
ครูอาจจะเปดวีดิโอ เรื่อง การเกิดเมฆ ในเว็บไซต Youtube ตามลิงคที่แนบมา
ลอยตัวอยูในชั้นบรรยากาศที่เราสามารถมองเห็นไดเกิดเปนกอนเมฆ
เพ
https://www.youtube.com/watch?v=KKwMJIER3ts เพื่อใหนักเรียนศึกษา
ที่มีขนาดแตกตางกันออกไป
เพิ่มเติมกอนเขาสูบทเรียน
• เสถียรภาพของอากาศเปนสิง่ ทีค่ อยชวยสงเสริม หรือยับยัง้ การเคลือ่ นที่
ความพรอมของผูเรียนสูการสอนในระดับตาง ๆ ขึ้นลงของกอนเมฆ ถาอากาศมีเสถียรภาพ จะมีสภาวะของอากาศ
แจมใส มีเมฆนอย สวนอากาศทีไ่ มมเี สถียรภาพ จะมีสภาวะของอากาศ
ที่มีเมฆฝนปกคลุม และอาจเกิดฝนตกในพื้นที่นั้น โซน 3
ิ่ม st
• แนวปะทะอากาศ เกิดขึ้นจากมวลอากาศ 2 มวลเคลื่อนตัวมาพบกัน

เพ กิจกรรม 21 Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา อากาศของมวลทั้งสองจะไมเคลื่อนที่เขาหากันทันที แตจะกอใหเกิด


แนวหรือขอบเขตระหวางมวลอากาศทัง้ สอง มวลอากาศเย็นซึง่ มีความ
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต โซน 2
หนาแนนมากกวาและหนักมากกวามวลอากาศรอน จะผลักดันอากาศ
รอนใหลอยขึน้ ทําใหเกิดเปนเมฆชนิดตางๆ สงผลใหสภาพอากาศเกิด
พายุฝนฟาคะนอง
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21 T4

โซน 1 ชวยครูจัด โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน


กำรเรียนกำรสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน โดยประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์สา� หรับครู
โดยแนะน�าขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอย่างละเอียด เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู้ เกร็ดแนะครู
ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด
น�ำ สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรม และอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรูเ้ พิม่ เติมจากเนือ้ หา ส�าหรับอธิบายเสริมเพิม่ เติมให้กบั นักเรียน
โดยใช้ หนังสือเรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2 และแบบฝกหัด
รายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ากัด
เป็นสื่อหลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชีว้ ดั ของกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้มีองค์ประกอบที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 น�ำ สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
เมฆเกิดขึน้ ไดอยางไร และ 1. เมฆ 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge กับนักเรียน ประกอบด้ ว ยแนวทางส� า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
วา เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร และมีชื่อเรียกเมฆ
มีชื่อเรียกเมฆแตละกอน
หรือไม
เมฆเปนกลุมละอองนํ้าขนาดเล็กจํานวนมากที่ลอยอยูใน
อากาศ ซึ่งเมฆเกิดจากการยกตัวของกลุมอากาศในความสูง
แตละกอนหรือไม
2. ครูใหนักเรียนภายในหองสังเกตทองฟาวามี
เสนอแนะแนวข้อสอบ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผสู้ อน
เหนือระดับการควบแนน ทําใหไอนํ้าในอากาศที่อยูในสถานะแกสเกิดการควบแนนและรวมตัวกัน
เปนละอองนํ้า โดยเมฆแตละชนิดจะเกิดขึ้นในระดับความสูงตางกัน และมีลักษณะแตกตางกันไป เมฆในลักษณะอยางไรบาง มีความเหมือนกัน
หรือแตกตางกันหรือไม จากนั้นครูจะสุมถาม
1.1 การเกิดเมฆ
เมฆจะเกิ ด จากการ
นักเรียนวาสังเกตเห็นรูปรางลักษณะของเมฆ
เปนอยางไรบาง
กิจกรรม 21st Century Skills
ควบแนนของไอนํ้าในอากาศ
เมื่อไอนํ้าไดรับความรอนจะ
3. เมือ่ นักเรียนไดอธิบายลักษณะตางๆ ของเมฆที่
สังเกตเห็นแลวใหครูอธิบายวาเมฆจะมีลกั ษณะ กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาสร้าง
ลอยตัวสูงขึ้น และเมื่อกระทบ ทีแ่ ตกตางกันออกไป ขึน้ อยูก บั ลักษณะการเกิด
กับความเย็นของอากาศที่อยู
ดานบนก็จะควบแนนเกิดเปน
และระดับความสูง ชิ้นงานหรือท�ากิจกรรมรวบยอด เพื่อให้เกิดทักษะที่จ�าเป็น
ละอองนํ้าขนาดเล็กเกาะอยู
บนอนุภาคของฝุน ละอองทีอ่ ยู ในศตวรรษที่ 21
ในอากาศ ซึ่งอนุภาคของฝุน
ละอองจะช ว ยให ล ะอองนํ้ า
รวมตัวกันมากขึ้น เกิดเปน
กอนเมฆทีม่ ขี นาดแตกตางกัน
ภาพที่ 4.1 ลักษณะของเมฆที่พบทั่วไปบนทองฟา
ขอสอบเนนการคิด
ออกไป

Earth Science
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
Focus นํ้าค้าง
นํ้าคาง (dew) เปนหยดนํ้าที่เกิดจากการควบแนนหรือ
กลั่นตัวของไอนํ้าเกาะอยูบนใบไม ยอดหญา หรือตามวัตถุตาง ๆ
แนวตอบ Prior Knowledge
เมฆเกิดจากการควบแนนของไอนํา้ ในอากาศ เฉลยอย่างละเอียด
ทีอ่ ยูใ กลพนื้ ดิน นํา้ คางจะเกิดในคืนทีท่ อ งฟาแจมใส ไมมเี มฆ โดย เมื่อไอนํ้าไดรับความรอนจะลอยตัวสูงขึ้น และ
พืน้ ดินจะเย็นตัวอยางรวดเร็วดวยการแผรงั สีความรอนสูบ รรยากาศ เมือ่ กระทบกับความเย็นของอากาศทีอ่ ยูด า นบนก็
ทําใหอากาศที่สัมผัสกับพื้นดินเย็นตัวตามไปดวย อุณหภูมิของ
อากาศมีคา เทากับหรือตํา่ กวาอุณหภูมจิ ดุ นํา้ คาง (อุณหภูมิ 0 องศา
เซลเซียส หรือ 32 องศาฟาเรนไฮต)
จะควบแนนเปนละอองนํา้ เล็กๆ เกาะอยูบ นอนุภาค
ของฝุ  น ละอองที่ อ ยู  ใ นอากาศ ซึ่ ง อนุ ภ าคของ กิจกรรมทาทาย
ภาพที่ 4.2 นํ้าคาง ฝุนละอองจะชวยใหละอองนํ้ารวมตัวกันมากขึ้น
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เกิ ด เป น ก อ นเมฆที่ มี ข นาดแตกต า งกั น ออกไป
เมฆแตละชนิดมีชื่อเรียกที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับ
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
3
ทีเ่ รียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว และต้องการท้าทายความสามารถใน
เสถียรภาพอากาศ
และแนวปะทะอากาศ
ลักษณะและรูปรางของเมฆแตละชนิด

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู ระดับที่สูงขึ้น


เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร ครูอาจใหความรูเ พิม่ เติม เรือ่ ง หยาดนํา้ ฟา (precipitation) วาเปนชือ่ เรียกรวม
1. มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศอุน
2. มวลอากาศชืน้ ไหลปะทะภูเขาทีข่ วางทิศทางลม มวลอากาศ
จะถูกยกตัวใหสูงขึ้น และเย็นลง
ของหยดนํ้าและนํ้าแข็งที่เกิดจากการควบแนนของไอนํ้าและตกลงมาสูพื้นดิน
เชน ฝน หิมะ โดยหยาดนํ้าฟาแตกตางจากหยดนํ้า หรือละอองนํ้าในกอนเมฆ กิจกรรมสรางเสริม
ตรงที่หยาดนํ้าฟาจะมีขนาดใหญ และมีนํ้าหนักมากที่จะชนะแรงตานอากาศ
3. พายุที่มีมวลอากาศไหลเขาสูศูนยกลางความกดอากาศตํ่า
มวลอากาศจะถูกยกตัวขึ้นสูงอยางรวดเร็ว
และตกสูพื้นโลกไดโดยไมระเหยเปนไอนํ้าจึงทําใหกระบวนการเกิดหยาดนํ้าฟา
มีความสลับซับซอนมากกวากระบวนการควบแนนที่ทําใหเกิดเมฆ
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียนที่
4. นํ้าระเหยลอยตัวขึ้นเมื่อกระทบอากาศเย็นไอนํ้าจะกลั่นตัว
โซน 3
เปนหยดนํ้าเล็กๆ ลอยตัวรวมกันอยูในอากาศ
5. มวลอากาศอุน เคลือ่ นทีป่ ะทะกับมวลอากาศเย็น มวลอากาศ
ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้
เย็นจะดันใหมวลอากาศอุนที่เบากวาลอยสูงขึ้น
(วิเคราะหคําตอบ เมฆเกิดจากการควบแนนของไอนํ้าในอากาศ

โซน 2
เมือ่ ไอนํา้ ไดรบั ความรอนจะลอยตัวสูงขึน้ และเมือ่ กระทบกับความ
เย็นของอากาศทีอ่ ยูด า นบนก็จะควบแนนเปนละอองนํา้ เล็กๆ และ
รวมตัวกันเกิดเปนกอนเมฆ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T5

สื่อ Digital
การแนะน�าแหล่งเรียนรูแ้ ละแหล่งค้นคว้าจากสือ่ Digital ต่าง ๆ

แนวทางการวัดและประเมินผล
เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัม ฤทธิ์ทางการเรี ยนของ
นักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ทีห่ ลักสูตรก�าหนด
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาเกี่ยวกับการเกิดเมฆ เสถียรภาพอากาศ แนวปะทะอากาศ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ปัจจัยที่มีผล


ต่อการเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศโลก ข้อมูลสนับสนุนการเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศโลก ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จาก
การเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศโลก เช่น ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา ปรากฏการณ์เรือนกระจก การเกิดคลืน่ ความร้อน
สามารถอธิบายเกีย่ วกับเรือ่ งการพยากรณ์อากาศ การตรวจสอบอากาศ ขัน้ ตอนการพยากรณ์อากาศ วิถกี ารพยากรณ์อากาศ
และแผนที่อากาศได้ การท�ำความเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกจะท�ำให้
เข้าใจเนื้อหาที่เรียนเพิ่มขึ้น
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์
การอภิปราย การอธิบาย และการสรุปผล เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สือ่ สาร
สิ่งที่เรียนรู้ และน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้อง
เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ
2. อธิบายการเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศที่เกี่ยวข้อง
3. อธิบายปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลสนับสนุน
4. วิเคราะห์และอภิปรายเหตุการณ์ที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และน�ำเสนอแนวปฏิบัติของมนุษย์ที่มีส่วน
ช่วยในการชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
5. แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศบนแผนที่อากาศ
6. วิเคราะห์และคาดการณ์ลักษณะลมฟ้าอากาศเบื้องต้นจากแผนที่อากาศและข้อมูลสารสนเทศอื่น ๆ เพื่อวางแผนในการ
ประกอบอาชีพและด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลมฟ้าอากาศ
รวม 6 ผลการเรียนรู้
Pedagogy
คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดำรำศำสตร์ และอวกำศ ม.5 เลม 2 รวมถึงสื่อการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้น ม.5 ผู้จัดท�าได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธี
การจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปยมด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
บรรลุผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียนทีห่ ลักสูตร
ก�าหนดไว้ โดยครูสามารถน�าไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้น�ารูปแบบการสอน
แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย
ุนความสนใจ
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ กระต
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
eEvvaluatio ล
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผู้จัดท�าจึงได้เลือกใช้

รวจ

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเป็นขั้นตอนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้าง
องค์ความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้
5Es
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือส�าคัญ เพื่อการพัฒนา
bo 4 3

n
El a

tio
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่ง ratio ana
ขย

รู
คว pl

าม
n E x ว
าย

ศตวรรษที่ 21 ามเ ายค


ขาใจ อ ธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้


รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วิธีสอน
โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรง โดย
การคิดและการลงมือท�าด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่คงทน

เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique)

ผูจ้ ดั ท�าเลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ ส่งเสริมวิธสี อนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เช่น การใช้ค�าถาม การเล่นเกม การยกตัวอย่าง ซึ่งเทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย
Teacher Guide Overview
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.5 เล่ ม 2
หน่วย
ผลการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

4 1. อ ธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - หนังสือเรียน โลก


เสถียรภาพ
เสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ - ทักษะการส�ำรวจ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน ดาราศาสตร์ และ
2. อธิบายการเกิดแนวปะทะอากาศ ค้นหา - ตรวจแบบฝึกหัด อวกาศ ม.5 เล่ม 2
อากาศและแนว
แบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟ้า - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงาน เรื่อง การเกิดเมฆ - แบบฝึกหัด โลก
ปะทะอากาศ อากาศที่เกี่ยวข้อง - ทักษะการลงความ 8 - ตรวจใบงาน เรื่อง แนวปะทะ ดาราศาสตร์ และ
เห็นจากข้อมูล ชั่วโมง อากาศ อวกาศ ม.5 เล่ม 2
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - PowerPoint
รายบุคคล - QR Code
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
- สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ Twig

5 3. อ ธิบายปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการ - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - หนังสือเรียน โลก


การเปลีย่ นแปลง
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก - ทักษะการส�ำรวจ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน ดาราศาสตร์ และ
พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลสนับสนุน ค้นหา - ตรวจแบบฝึกหัด อวกาศ ม.5 เล่ม 2
ภูมิอากาศของ
4. วิเคราะห์และอภิปรายเหตุการณ์ที่ - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงาน เรื่อง ปรากฏการณ์ - แบบฝึกหัด โลก
โลก เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิ- - ทักษะการลงความ เอลนีโญและลานีญา ดาราศาสตร์ และ
อากาศโลก และน�ำเสนอแนวปฏิบัติ เห็นจากข้อมูล 20 - ตรวจใบงาน เรื่อง ปรากฏการณ์ อวกาศ ม.5 เล่ม 2
ของมนุษย์ที่มีส่วนช่วยในการชะลอ ชั่วโมง เรือนกระจก - PowerPoint
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - QR Code
รายบุคคล - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม Twig
- สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์

6 5. แ ปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้า - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - หนังสือเรียน โลก


การพยากรณ์
อากาศบนแผนที่อากาศ - ทักษะการส�ำรวจ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน ดาราศาสตร์ และ
6. วิเคราะห์และคาดการณ์ลักษณะ ค้นหา - ตรวจแบบฝึกหัด อวกาศ ม.5 เล่ม 2
อากาศ
ลมฟ้าอากาศเบื้องต้นจากแผนที่ - ทักษะการวิเคราะห์ 12 - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - แบบฝึกหัด โลก
อากาศและข้อมูลสารสนเทศอื่น ๆ - ทักษะการลงความ ชั่วโมง รายบุคคล ดาราศาสตร์ และ
เพื่อวางแผนในการประกอบอาชีพ เห็นจากข้อมูล - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม อวกาศ ม.5 เล่ม 2
และด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - PowerPoint
สภาพลมฟ้าอากาศ - QR Code
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หนวยการเรียนรูที่ 4 เสถียรภำพอำกำศและ T2 T3 T4
แนวปะทะอำกำศ

• เมฆ T5-T19
• เสถียรภาพของอากาศ T20-T21
• แนวปะทะอากาศ T22-T26
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 T27-T31

หนวยการเรียนรูที่ 5 กำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศ T32 T33 T34


ของโลก

• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก T35-T47
• ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก T48-T66
• แนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก T67-T69
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 T70-T75

หนวยการเรียนรูที่ 6 กำรพยำกรณ์อำกำศ T76 T77 T78

• การตรวจอากาศ T79-T91
• ขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ T92
• วิธีการพยากรณ์อากาศ T93-T97
• แผนที่อากาศ T98-T105
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 T106-T111

Fun Science Activity T112


บรรณำนุกรม T113
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายขั้นตอนการเกิด - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
เมฆ - หนังสือเรียนรายวิชา เมฆได้ (K) หาความรู้ ก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ 2. อธิบายลักษณะรูปร่างของ (5Es - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
4 และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 เมฆชนิดต่าง ๆ ได้ (K) Instructional การเกิดเมฆ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
ชั่วโมง - แบบฝึกหัดรายวิชา 3. อธิบายความแตกต่าง Model) - การน�ำเสนอผลงาน ร่วมกัน
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ลักษณะของเมฆจากการ - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการน�ำความรู้
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 แบ่งตามระดับความสูง การท�ำงานรายบุคคล ไปใช้
- ใบงาน เรื่อง การเกิดเมฆ ของฐานในแต่ละชั้นได้ - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint (K) การท�ำงานกลุ่ม
- QR Code 4. สืบค้นและน�ำเสนอข้อมูล - สังเกตคุณลักษณะ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น จากแหล่งข้อมูลได้ (P) อันพึงประสงค์
Twig 5. มีความกระตือรืนร้นและ
รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)
6. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A)
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายลักษณะอากาศที่มี - แบบสืบเสาะ - การน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
เสถียรภาพของ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ เสถียรภาพและอากาศที่ หาความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
อากาศ และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 ไม่มีเสถียรภาพได้ (K) (5Es - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. เขียนอธิบายความแตกต่าง Instructional การท�ำงานรายบุคคล - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
2 เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ของลักษณะอากาศที่มี Model) - สังเกตพฤติกรรม ร่วมกัน
ชั่วโมง และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 เสถียรภาพและอากาศ การท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการน�ำความรู้
- PowerPoint ที่ไม่มีเสถียรภาพได้ (P) - สังเกตคุณลักษณะ ไปใช้
- QR Code 3. สืบค้นและน�ำเสนอข้อมูล อันพึงประสงค์
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น จากแหล่งข้อมูลได้ (P)
Twig 4. มีความกระตือรืนร้นและ
รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)
แผนฯ ที่ 3 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายการเกิดของ - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
แนวปะทะอากาศ - ห นังสือเรียนรายวิชา แนวปะทะอากาศได้ (K) หาความรู้ หลังเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ 2. อธิบายลักษณะของ (5Es - การน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
2 และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 แนวปะทะอากาศ Instructional - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
ชั่วโมง - แบบฝึกหัดรายวิชา ทั้ง 4 ชนิดได้ (K) Model) การท�ำงานรายบุคคล ร่วมกัน
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ 3. เขียนอธิบายความ - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการน�ำความรู้
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 แตกต่างของแนวปะทะ การท�ำงานกลุ่ม ไปใช้
- ใบงาน เรื่อง แนวปะทะ อากาศทั้ง 4 ชนิดได้ (P) - สังเกตคุณลักษณะ
อากาศ 4. สืบค้นและน�ำเสนอข้อมูล อันพึงประสงค์
- PowerPoint จากแหล่งข้อมูลได้ (P) - ตรวจใบงาน เรื่อง
- QR Code 5. มีความกระตือรืนร้นและ แนวปะทะอากาศ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ตรวจแบบฝึกหัด
Twig ที่ได้รับมอบหมาย (A)

T2
Chapter Concept Overview
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4
เมฆ
เมฆเป็นกลุม่ ละอองน�า้ ขนาดเล็กจ�านวนมากทีล่ อยอยูใ่ นอากาศ
ซึง่ เมฆเกิดจากการยกตัวของกลุม่ อากาศในความสูงเหนือระดับการ
ควบแน่น ท�าให้กลุ่มอากาศนั้นเกิดการควบแน่นและรวมตัวกัน โดย
เมฆแต่ละชนิดจะเกิดขึน้ ในระดับความสูงทีแ่ ตกต่างกัน และมีขนาด
ต่างกันไป

เสถียรภาพของอากาศ
สภาวะของอากาศทีช่ ว่ ยส่งเสริมหรือยับยัง้ ให้กลุม่ อากาศเคลือ่ นทีข่ นึ้ ลงในแนวดิง่ เมือ่ อากาศอยูใ่ นสภาพสมดุลหรือมีเสถียรภาพ อากาศ
จะไม่เคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่กลับสู่ที่เดิมในเวลาอันสั้น แต่หากอากาศไม่มีเสถียรภาพ อากาศจะเคลื่อนที่ตลอดเวลา แบ่งเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้
1. อากาศมีเสถียรภาพ เมื่อก้อนอากาศมีอุณหภูมิต�่า และมีความดันสูง 2. อากาศไม่มีเสถียรภาพ เมื่อก้อนอากาศมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศ
กว่าอากาศโดยรอบ อากาศนี้จะไม่สามารถยกตัวได้สูงมากนักและจะ โดยรอบ ก้อนอากาศจะยกตัวขึ้น
เคลื่อนที่กลับสู่ที่เดิม
อากาศไมมีเสถียรภาพ
อากาศมีเสถียรภาพ

ระดับ 0 �C 10 �C
ควบแน่น 2,000 เมตร ระดับ 20 �C 16 �C
ควบแน่น 2,000 เมตร

10 �C 15 �C 30 �C
1,000 เมตร 28 �C
1,000 เมตร

20 �C 20 �C
พื้นผิว 40 �C 40 �C
พื้นร้อน พื้นผิว
พื้นร้อน

แนวปะทะอากาศ
เมื่อมวลอากาศ 2 มวล เคลื่อนที่มาปะทะกัน จะเกิดแนวหรือขอบเขตระหว่างมวลอากาศทั้งสอง ซึ่งมวลอากาศเย็นที่มีความหนาแน่น
มากกว่าจะจมตัวลง ส่วนมวลอากาศร้อนจะลอยตัวขึ้น ซึ่งแนวหรือขอบเขตที่มวลอากาศทั้งสองมาพบกัน แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
แนวปะทะอากาศอุ่น แนวปะทะอากาศเย็น แนวปะทะอากาศรวม และแนวปะทะอากาศคงที่
• แนวปะทะอากาศอุ่น • แนวปะทะอากาศเย็น • แนวปะทะอากาศรวม
ลม ลม ลม
มวลอากาศอุ่น
มวลอากาศอุ่น

มวลอากาศเย็น
มวลอากาศเย็น มวลอากาศอุ่น มวลอากาศเย็น มวลอากาศเย็น

- มวลอากาศอุน่ เคลือ่ นทีเ่ ข้าหามวลอากาศเย็น - มวลอากาศเย็นเคลือ่ นทีเ่ ข้าหามวลอากาศอุน่ - มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้าหากัน


- เกิดฝนตกกระจายเป็นบริเวณกว้าง - เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง - เกิดพายุฝน

T3
น�ำ น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง
การเกิดเมฆ เพื่อวัดความรูเดิมของนักเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ เสถียรภาพอากาศ
กอนเขาสูเนื้อหาที่จะเรียน
3. ครูถามคําถาม Big Question กับนักเรียนวา
ï• เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร
ï• เสถียรภาพอากาศสัมพันธกับการเกิดเมฆ
4 และแนวปะทะอากาศ
่ ของท้องฟ้า โดยทองฟาในแตละวัน แตละชวงเวลามักมีเมฆทีม
เมฆเป็นองค์ประกอบอย่างหนึง ่ี
อยางไร ลักษณะรูปรางและสีสันตาง ๆ ในปริมาณที่แตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับปจจัยที่มีผลตอการเกิดเมฆ
ï• แนวปะทะอากาศเกิดขึ้นไดอยางไร แตละชนิด และมีเสถียรภาพอากาศเปนสิง่ ทีค่ อยชวยสงเสริม หรือยับยัง้ การเคลือ่ นทีข่ องกอนเมฆ
4. ครูใหนกั เรียนทํา Understanding Check เพือ่
ตรวจสอบความเขาใจของตนเองกอนเรียน
• àÁ¦à¡Ô´¢Öé¹ä´ŒÍ‹ҧäÃ
• àʶÕÂÃÀÒ¾ÍÒ¡ÒÈÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñº¡ÒÃà¡Ô´àÁ¦
Í‹ҧäÃ
• á¹Ç»Ð·ÐÍÒ¡ÒÈà¡Ô´¢Öé¹ä´ŒÍ‹ҧäÃ


U n de r s t a n d i ng
Che�
ใหนักเรียนพิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิดแลวบันทึกลงในสมุด
เมฆเกิ่ 1.4
ภาพที ดจากการยกตั วของกลุมอากาศแล
สัดสวนของสารประกอบต าง ๆ วควบแนนรวมตัวกัน
ทีเมฆซี รรัสเปนาเมฆที
่พบในโครงสร ่มีลลักะชั
งโลกแต ษณะก
้น อนหนา สีขาวคลายปุยฝายหรือสําลี
เมฆคิวมูโลนิมบัส เปนเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง ฐานเมฆอยูในระดับใกลพื้นดิน และยอดเมฆอาจสูงถึง 10 กิโลเมตร
อากาศที่มีเสถียรภาพจะทําใหเกิดเมฆในแนวราบ และทําใหเกิดทองฟาแจมใส สวนมากพบในชวงฤดูหนาว
แนวปะทะอากาศเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดปรากฏการณของอากาศ เชน เมฆ ฝน พายุ
แนวตอบ Understanding Check
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ถูก 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• เมฆเกิดจากการยกตัวของกลุม อากาศหรือไอนํา้ ในความสูงเหนือระดับ
การจัดการเรียนการสอน เรื่อง เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะอากาศ
การควบแนน ซึ่งกลุมอากาศจะควบแนนและรวมตัวกันเปนกลุมกอน
ครูอาจจะเปดวิดีโอ เรื่อง การเกิดเมฆ ในเว็บไซต Youtube ตามลิงกที่แนบมา
ลอยตัวอยูในชั้นบรรยากาศที่เราสามารถมองเห็นได เกิดเปนกอนเมฆ
https://www.youtube.com/watch?v=KKwMJIER3ts เพื่อใหนักเรียนศึกษา
ที่มีขนาดแตกตางกันออกไป
เพิ่มเติมกอนเขาสูบทเรียน
• เสถียรภาพของอากาศเปนสิง่ ทีค่ อยชวยสงเสริมหรือยับยัง้ การเคลือ่ นที่
ขึ้นลงของกอนเมฆ ถาอากาศมีเสถียรภาพ จะมีสภาวะของอากาศ
แจมใส มีเมฆนอย สวนอากาศทีไ่ มมเี สถียรภาพ จะมีสภาวะของอากาศ
ที่มีเมฆฝนปกคลุม และอาจเกิดฝนตกในพื้นที่นั้น
• แนวปะทะอากาศ เกิดขึ้นจากมวลอากาศ 2 มวล เคลื่อนตัวมาพบกัน
อากาศของมวลทั้งสองจะไมเคลื่อนที่เขาหากันทันที แตจะกอใหเกิด
แนวหรือขอบเขตระหวางมวลอากาศทัง้ สอง มวลอากาศเย็นซึง่ มีความ
หนาแนนมากกวาและหนักมากกวามวลอากาศรอน จะผลักดันอากาศ
รอนใหลอยขึน้ ทําใหเกิดเปนเมฆชนิดตางๆ สงผลใหสภาพอากาศเกิด
พายุฝนฟาคะนอง
T4
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
เมฆเกิดขึน้ ไดอยางไร และ 1. เมฆ 1. ครูถามคําถาม Prior Knowledge กับนักเรียน
มีชื่อเรียกเมฆแตละกอน วา เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร และมีชื่อเรียกเมฆ
เมฆเปนกลุมละอองนํ้าขนาดเล็กจํานวนมากที่ลอยอยูใน
หรือไม แตละกอนหรือไม
อากาศ ซึ่งเมฆเกิดจากการยกตัวของกลุมอากาศในความสูง
เหนือระดับการควบแนน ทําใหไอนํ้าในอากาศที่อยูในสถานะแกสเกิดการควบแนนและรวมตัวกัน 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นภายในห อ งสั ง เกตท อ งฟ า ว า
เปนละอองนํ้า โดยเมฆแตละชนิดจะเกิดขึ้นในระดับความสูงตางกัน และมีลักษณะแตกตางกันไป มีเมฆในลักษณะอยางไรบาง มีความเหมือนกัน
หรือแตกตางกันหรือไม จากนั้นครูจะสุมถาม
1.1 การเกิดเมฆ นักเรียนวา สังเกตเห็นรูปรางลักษณะของเมฆ
เมฆจะเกิ ด จากการ เปนอยางไรบาง
ควบแนนของไอนํ้าในอากาศ 3. เมื่อนักเรียนไดอธิบายลักษณะตางๆ ของเมฆ
เมื่อไอนํ้าไดรับความรอนจะ ที่สังเกตเห็นแลว ใหครูอธิบายวา เมฆจะมี
ลอยตัวสูงขึ้น และเมื่อกระทบ ลักษณะทีแ่ ตกตางกันออกไป ขึน้ อยูก บั ลักษณะ
กับความเย็นของอากาศที่อยู การเกิดและระดับความสูง
ดานบนก็จะควบแนนเกิดเปน
ละอองนํ้าขนาดเล็กเกาะอยู
บนอนุภาคของฝุน ละอองทีอ่ ยู
ในอากาศ ซึ่งอนุภาคของฝุน
ละอองจะช ว ยให ล ะอองนํ้ า
รวมตัวกันมากขึ้น เกิดเปน
กอนเมฆทีม่ ขี นาดแตกตางกัน
ออกไป ภาพที่ 4.1 ลักษณะของเมฆที่พบทั่วไปบนทองฟา
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Earth Science
Focus นํ้าค้าง
นํ้าคาง (dew) เปนหยดนํ้าที่เกิดจากการควบแนนหรือ แนวตอบ Prior Knowledge
กลั่นตัวของไอนํ้าเกาะอยูบนใบไม ยอดหญา หรือตามวัตถุตาง ๆ
ทีอ่ ยูใ กลพนื้ ดิน นํา้ คางจะเกิดในคืนทีท่ อ งฟาแจมใส ไมมเี มฆ โดย เมฆเกิดจากการควบแนนของไอนํา้ ในอากาศ
พืน้ ดินจะเย็นตัวอยางรวดเร็วดวยการแผรงั สีความรอนสูบ รรยากาศ เมื่อไอนํ้าไดรับความรอนจะลอยตัวสูงขึ้น และ
ทําใหอากาศที่สัมผัสกับพื้นดินเย็นตัวตามไปดวย อุณหภูมิของ เมือ่ กระทบกับความเย็นของอากาศทีอ่ ยูด า นบนก็
อากาศมีคา เทากับหรือตํา่ กวาอุณหภูมจิ ดุ นํา้ คาง (อุณหภูมิ 0 องศา จะควบแนนเปนละอองนํา้ เล็กๆ เกาะอยูบ นอนุภาค
เซลเซียส หรือ 32 องศาฟาเรนไฮต) ภาพที่ 4.2 นํ้าคาง ของฝุ  น ละอองที่ อ ยู  ใ นอากาศ ซึ่ ง อนุ ภ าคของ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ฝุนละอองจะชวยใหละอองนํ้ารวมตัวกันมากขึ้น
เสถียรภาพอากาศ 3
เกิ ด เป น ก อ นเมฆที่ มี ข นาดแตกต า งกั น ออกไป
และแนวปะทะอากาศ
เมฆแตละชนิดมีชื่อเรียกที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับ
ลักษณะและรูปรางของเมฆแตละชนิด

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร ครูอาจใหความรูเพิ่มเติม เรื่อง หยาดนํ้าฟา (precipitation) วา เปนชื่อ
1. มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศอุน เรียกรวมของหยดนํา้ และนํา้ แข็งทีเ่ กิดจากการควบแนนของไอนํา้ และตกลงมาสู
2. มวลอากาศชืน้ ไหลปะทะภูเขาทีข่ วางทิศทางลม มวลอากาศ พื้นดิน เชน ฝน หิมะ โดยหยาดนํ้าฟาแตกตางจากหยดนํ้าหรือละอองนํ้าใน
จะถูกยกตัวใหสูงขึ้นและเย็นลง กอนเมฆตรงที่หยาดนํ้าฟาจะมีขนาดใหญ และมีนํ้าหนักมากที่จะชนะแรงตาน
3. พายุที่มีมวลอากาศไหลเขาสูศูนยกลางความกดอากาศตํ่า อากาศ และตกสูพื้นโลกไดโดยไมระเหยเปนไอนํ้า จึงทําใหกระบวนการเกิด
มวลอากาศจะถูกยกตัวขึ้นสูงอยางรวดเร็ว หยาดนํ้าฟามีความสลับซับซอนมากกวากระบวนการควบแนนที่ทําใหเกิดเมฆ
4. นํ้าระเหยลอยตัวขึ้น เมื่อกระทบอากาศเย็นไอนํ้าจะกลั่นตัว
เปนหยดนํ้าเล็กๆ ลอยตัวรวมกันอยูในอากาศ
5. มวลอากาศอุน เคลือ่ นทีป่ ะทะกับมวลอากาศเย็น มวลอากาศ
เย็นจะดันใหมวลอากาศอุนที่เบากวาลอยสูงขึ้น
(วิเคราะหคําตอบ เมฆเกิดจากการควบแนนของไอนํ้าในอากาศ
เมื่อไอนํ้าไดรับความรอนจะลอยตัวสูงขึ้น และเมื่อกระทบกับ
ความเย็นของอากาศทีอ่ ยูด า นบนก็จะควบแนนเปนละอองนํา้ เล็กๆ
และรวมตัวกันเกิดเปนกอนเมฆ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T5
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูถามคําถามนักเรียนวา เมฆเกิดจากกลไกการยกตัวของกลุมอากาศซึ่งมี 4 ลักษณะ ดังนี้
• เมฆเกิ ด จากกลไกการยกตั ว ของอนุ ภ าค 1. การพาความรอน
อากาศ 4 ลักษณะ อะไรบาง เกิ ด ขึ้ น จากความร อ นของ
(แนวตอบ การพาความรอน การยกตัวของ แสงอาทิ ต ย ใ นตอนกลางวั น
อากาศตามความชั น หรื อ ตามภู เ ขา การ ทําใหพื้นโลกรอน มวลอากาศ
บีบตัวของอากาศ และการเกิดแนวปะทะ ทีป่ กคลุมพืน้ ผิวโลกมีอณ ุ หภูมิ
อากาศ) สู ง ขึ้ น แล ว ลอยตั ว ในแนวดิ่ ง
2. ครูอธิบายกลไกการยกตัวของอนุภาคอากาศ เมื่ อ อากาศลอยตั ว สู ง ขึ้ น ถึ ง
4 ลักษณะ ไดแก 1. การพาความรอน เกิดขึ้น ระดับควบแนน ไอนํา้ ในอากาศ
จากพื้นผิวของโลกมีอุณหภูมิรอน จึงมีการ จะเกิดการกอตัวเปนเมฆ โดย
ดูดกลืนและคายความรอนไมเทากัน จึงมีผล สวนใหญเปนเมฆคิวมูลสั ซึง่ ถา
อากาศรอนลอยตัวขึ้น มีไอนํ้าปริมาณมากจะพัฒนา
ทําใหกลุมอากาศที่ลอยสูงขึ้นในแนวดิ่ง ไอนํ้า
เปนเมฆคิวมูโลนิมบัส แลว
ในมวลอากาศจะกอตัวกันเปนเมฆ 2. การ พื้นรอน
ตกลงมาเป 1 นฝนหรืออาจเปน
ยกตัวของอากาศตามความชันหรือตามภูเขา
ภาพที่ 4.3 การยกตัวของอากาศเนื่องจากการพาความรอน ลูกเห็บ ซึง่ ฝนทีเ่ กิดจากการพา
เกิดขึ้นจากกระแสลมปะทะภูเขา อากาศถูก ที่มา : http://www.geogrify.net/GEO1/Lectures/Weather/Cloud.html ความร อ นนั้ น มั ก เกิ ด ในช ว ง
บังคับใหลอยสูงขึ้นจนถึงระดับควบแนนจะ ฤดูมรสุม
กลั่นตัวกลายเปนเมฆ ซึ่งบนยอดเขาสูงมักมี 2. การยกตัวของอากาศตามความชันหรือตามภูเขา
เมฆปกคลุมอยู เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดพา
เอาอากาศทีม่ คี วามชืน้ เคลือ่ น
ที่ ไ ปตามความชั น ของภู เ ขา
อากาศจะถู ก ดั น ตั ว ให ล อย
สูงขึ้นและขยายตัว อุณหภูมิ
ลดลงจนถึงจุดควบแนน ไอนํ้า
ในอากาศจะเกิ ด การกลั่ น ตั ว
ัว
ศยกต ภูเขา เขต กลายเปนเมฆนิมโบสเตรตัส
อากา เงา
ฝน และเกิดฝนตกในบริเวณแนว
ปะทะหรือดานหนาเขา สวน
บริเวณที่อยูดานหลังเขาจะมี
ภาพที่ 4.4 การยกตัวของอากาศตามความชันหรือตามภูเขา ปริมาณของนํ้าฝนเฉลี2่ยนอย
ที่มา : http://www.geogrify.net/GEO1/Lectures/Weather/Cloud.html กวา เรียกวา เขตเงาฝน
4

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ลูกเห็บ เปนหยาดนํา้ ฟาทีต่ กลงมาในลักษณะเปนกอน มีเสนผานศูนยกลาง กลไกการพาความรอนทําใหเกิดเมฆขึ้นไดอยางไร
ระหวาง 5-50 มิลลิเมตร เกิดจากกระแสอากาศทีห่ มุนวนอยางรวดเร็วและรุนแรง 1. อากาศเย็นถูกดันตัวใหลอยสูงขึ้นเกิดการกอตัวเปนเมฆ
ภายในเมฆ จึงพัดพาหยดนํ้าฝนขึ้นไปแข็งตัวในระดับสูง เกิดเปนกอนนํ้าแข็ง 2. มวลอากาศสองกลุม ทีม่ อี ณ
ุ หภูมติ า งกันเคลื่อนที่มาพบกัน
3. เมือ่ มวลอากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ จะลอยตัวขึน้ ในแนวดิง่ ไอนํา้
แลวตกลงมาเปนลูกเห็บ ซึ่งในฤดูรอนเมื่อเกิดฝนฟาคะนองมักจะมีลูกเห็บตก
ในมวลอากาศจะกอตัวเปนเมฆ
ลงมารวมดวย 4. กระแสลมพัดอากาศที่มีความชื้นเคลื่อนที่ไปตามความชัน
2 เขตเงาฝน บริเวณที่อยูดานหลังภูเขาหรือทิวเขา มีฝนตกนอยกวาบริเวณ ของภูเขาและถูกดันตัวใหลอยสูงขึ้น
ดานหนาหรือพื้นที่ทางดานปลายลม ซึ่งมีคาปริมาณฝนเฉลี่ยนอยกวาพื้นที่ทาง 5. กระแสลมปะทะกัน ทําใหอณ ุ หภูมลิ ดตํา่ ลงจนอากาศอิม่ ตัว
ดานตนลม เนือ่ งจากมีสงิ่ กีดขวางทางธรรมชาติ เชน มียอดเขาสูงกัน้ ขวางทิศทาง กลายเปนไอนํ้าในอากาศ ควบแนนเปนเมฆ
ลมที่พัดพาฝนมาตก (วิเคราะหคําตอบ การพาความรอนเกิดขึ้นจากความรอนของ
แสงอาทิตยทําใหพื้นโลกรอน มวลอากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้น และ
ลอยตัวในแนวดิง่ เมือ่ อากาศลอยสูงขึน้ จนถึงระดับควบแนน ไอนํา้
ในอากาศจะกอตัวเปนเมฆ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T6
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. การบีบตัวของอากาศ 3. ครูอธิบาย เรื่อง กลไกการยกตัวของอากาศ
เกิ ด ขึ้ น จากการที่ ก ระแสลม ตอในขอ 3. การบีบตัวของอากาศ เกิดขึ้นจาก
พัดมาปะทะกัน อากาศบริเวณ กระแสลมพัดมาปะทะกัน อากาศจะยกตัวขึ้น
ที่ ล มปะทะกั น จึ ง ยกตั ว ขึ้ น ทําใหอุณหภูมิลดตํ่าลงจนเกิดอากาศอิ่มตัว
ทําใหอุณหภูมิลดตํ่าลงจนถึง ไอนํา้ ในอากาศควบแนนเปนหยดนํา้ กลายเปน
ระดับควบแนน ไอนํา้ ในอากาศ เมฆ และ 4. การเกิดแนวปะทะอากาศ เกิดขึ้น
ควบแนนเปนหยดนํ้ารวมตัว จากอากาศรอนมีความหนาแนนตํา่ กวาอากาศ
กันเปนเมฆ ซึ่งเมฆที่พบจาก เย็ น เมื่ อ อากาศร อ นปะทะกั บ อากาศเย็ น
กระบวนการนี 1 ้ ได แ ก เมฆ2 อากาศรอนจะลอยตัวขึน้ ตามแนวปะทะอากาศ
ลม ลม แอลโตคิวมูลัสแอลโตสเตรตัส และอุ ณ หภู มิ ล ดตํ่ า ลงจนถึ ง ระดั บ ควบแน น
ซีรโรคิวมูลัส สเตรโทคิวมูลัส ทําใหเกิดเมฆและฝน
และสเตรตัส 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับกลไก
การยกตัวของอนุภาคอากาศ 4 ลักษณะ
ภาพที่ 4.5 การยกตัวของอากาศเนื่องจากการบีบตัวของอากาศ
ที่มา : http://alatlatequator.wordpress.com

4. การเกิดแนวปะทะอากาศ
เกิดขึ้นเนื่องจากมวลอากาศ
สองกลุ  ม ที่ มี อุ ณ หภู มิ แ ละ
ความชื้นแตกตางกันเคลื่อนที่
มาพบกั น อากาศร อ นจะมี
ความหนาแนนตํ่ากวาอากาศ
เย็ น เมื่ อ อากาศร อ นปะทะ
กั บ อากาศเย็ น อากาศร อ น
จะลอยตั ว ขึ้ น ตามแนวปะทะ
อากาศเย็น อากาศ และอุณหภูมิลดตํ่าลง
อากาศรอน
จนถึงระดับควบแนน ซึ่งทําให
เกิดเมฆและฝน
ภาพที่ 4.6 การยกตัวของอากาศเนื่องจากแนวปะทะอากาศ
ที่มา : http://www.geogrify.net/GEO1/Lectures/Weather/Cloud.html

เสถียรภาพอากาศ 5
และแนวปะทะอากาศ

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เมฆแอลโตคิวมูลัสและเมฆแอลโตสเตรตัส เกิดจากกลไกใด 1 เมฆแอลโตคิวมูลัส (altocumulus) มีลักษณะเปนกอนสีขาว มีการจัดตัว
1. การพาความรอน เปนคลื่น อาจเรียงตัวกันสองชั้นหรือมากกวา บางสวนของเมฆอาจมีแสงลอด
2. การระเหยของไอนํ้า ผานไปได
3. การบีบตัวของอากาศ 2 เมฆแอลโตสเตรตัส (altostratus) มีลกั ษณะเปนแผนหนาทึบสีเทา ปกคลุม
4. การเกิดแนวปะทะอากาศ ทัง้ หมดหรือบางสวนของทองฟา สามารถบดบังดวงอาทิตยหรือดวงจันทร ทําให
5. การยกตัวของอากาศตามความชันหรือตามภูเขา เห็นทองฟาเปนฝา และอาจทําใหเกิดฝนละอองบางๆ ได
(วิเคราะหคาํ ตอบ การบีบตัวของอากาศ เกิดขึน้ จากการทีก่ ระแส
ลมพัดมาปะทะกัน อากาศบริเวณที่ลมปะทะกันจึงยกตัวสูงขึ้น
ทําใหอุณหภูมิลดตํ่าลงจนอากาศอิ่มตัวกลายเปนไอนํ้าในอากาศ
แลวควบแนนเปนหยดนํ้ารวมตัวกันเปนเมฆ ซึ่งเมฆที่พบจาก
กระบวนการนี้ ไดแก เมฆแอลโตคิวมูลสั แอลโตสเตรตัส ซีรโ รคิว-
มูลัส สเตรโทคิวมูลัส และสเตรตัส ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T7
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
5. ครูอธิบาย เรื่อง การเกิดเมฆ ในหนังสือเรียน การเกิดเมฆ
หนา 6 โดยใหนกั เรียนอานขอมูล และสามารถ
เมื่อเมฆเกาะตัวกันเปนกลุมจะเห็นเปนกอนเมฆ ซึ่งกอนเมฆนี้จะสะทอนคลื่นแสงแตละ
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code ความยาวคลื่นในชวงที่ตามองเห็นได ในระดับที่เทา ๆ กัน จึงทําใหเรามองเห็นกอนเมฆเปนสีขาว
เรือ่ ง การเกิดเมฆ เพือ่ ใชในการทบทวนความรู แตถากอนเมฆมีความหนาแนนสูงมากจนแสงผานไมไดจะทําใหเรามองเห็นกอนเมฆเปนสีเทา
ใหเกิดความเขาใจมากขึ้น หรือสีดํา

กลุ  ม อากาศในเมฆมี พ ลั ง งาน


ความรอนมากขึ้น เนื่องจากเกิด
การคายความรอนจากความรอน-
แ ฝ ง ซึ่ ง มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
1 อุณหภูมิดวยกระบวนการอะเดีย-
ทีร่ ะดับการควบแนน (3,000 เมตร) แบติก (adiabatic) และหากมี
ไอนํ้ า ในอากาศจะเกิ ด การควบ การยกตั ว ต อ ไปจะมี อั ต ราการ
แน น บนอนุ ภ าคแกนกลางการ ลดลงของอุณหภูมิประมาณ 6 ํC
ควบแนน (Cloud Condensation ตอ 1,000 เมตร
Nuclei; CCN) กลายเปนละออง
อุณหภูมิของกลุมอากาศจะลดลง นํ้าแลวรวมตัวกันเปนเมฆ
ตามระดับความสูงประมาณ 10 Cํ
ตอ 1,000 เมตร

กลุมอากาศ (air parcel) บริเวณ


ใกลพนื้ ผิวโลกไดรบั ความรอนจาก
ดวงอาทิตย จึงยกตัวสูงขึ้น
ภาพที่ 4.7 การเกิดเมฆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
6

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 การควบแนน (condensation) คือ การที่นํ้าเปลี่ยนจากสถานะแกสเปน ในขณะทีล่ ะอองนํา้ เคลือ่ นทีอ่ ยูใ นเมฆ จะมีแรงชนิดใดบางทีม่ า
ของเหลว ซึ่งนํ้าจําเปนตองถายเทพลังงานภายในออกมาในรูปของการคาย กระทํา สงผลใหเกิดฝนตก
ความรอนแฝง เพื่อลดแรงดันระหวางโมเลกุล มักจะปรากฏในชีวิตประจําวัน 1. แรงโนมถวงและแรงพยุง
เชน การเกิดฝน การควบแนนนั้นเปนปรากฏการณที่เห็นกันไดบอยๆ การ 2. แรงตานทานและแรงลัพธ
ควบแนนจะเกิดขึ้นในเมฆคิวมูโลนิมบัส เพราะในเมฆมีไอนํ้าอยูปริมาณมาก 3. แรงโนมถวง แรงพยุง และแรงลัพธ
และอุณหภูมิภายนอกนั้นสูง จึงทําใหเกิดกระบวนการควบแนน 4. แรงโนมถวงและแรงเขาสูศูนยกลาง
5. แรงโนมถวง แรงพยุง และแรงเขาสูศูนยกลาง
(วิเคราะหคําตอบ ขณะที่ละอองนํ้าเคลื่อนที่อยูในเมฆ จะมีแรง
โนมถวงของโลกและแรงพยุงมากระทํา เมื่อแรงโนมถวงของโลก
มากกวาแรงพยุง ทําใหละอองนํ้าตกลงมาเปนหยาดนํ้าฟา ดังนั้น
ตอบขอ 1.)

T8
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ขณะที่ละอองนํ้าเคลื่อนที่อยูใน
เมฆ จะมีแรงโนมถวงของโลก 6. ครูอธิบาย เรือ่ ง การเกิดเมฆ จากนัน้ ใหนกั เรียน
(gravitational force) และแรง แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แตละกลุมรวมกัน
พยุง (buoyancy force) มากระทํา เขียนปรากฏการณการเกิดเมฆ โดยสืบคน
แรงโนมถวงของโลก แรงโนมถวงของโลก > แรงพยุง ขอมูลจากหนังสือเรียนหรือสื่อออนไลนตางๆ
ละอองนํ้าในเมฆอาจมีขนาดเล็ก ละอองนํ้าจะตกลงมาเปน จากนั้ น เขี ย นข อ มู ล ที่ ไ ด ล งในกระดาษที่ ค รู
(20 ไมครอน) หรือขนาดใหญ หยาดนํ้าฟา
(50 ไมครอน) ซึง่ การเปลีย่ นแปลง แจกใหพรอมตกแตงใหสวยงาม และนําเสนอ
แรงโนมถวงของโลก
ขนาดของละอองนํ้าอาจเกิดจาก หนาชั้นเรียน
การควบแนนซํ้าหลายครั้ง หรือ
การเคลือ่ นทีช่ นกันระหวางละออง
นํ้าเนื่องจากกระแสลม แรงพยุง
แรงพยุง > แรงโนมถวงของโลก
ละอองนํ้าจะลอยตัวอยูในเมฆได

แรงพยุง

การเกิดเมฆ 7

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


สิ่งที่ชวยใหเกิดการกลั่นตัวของไอนํ้าเปนเมฆคือขอใด ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง การเกิดเมฆ
1. เกลือ
2. อากาศ
3. นํ้าทะเล
4. แกสในชั้นบรรยากาศ
5. ฝุนผงเล็กๆ หรือเกลือในบรรยากาศ
(วิเคราะหคําตอบ ฝุนผงเล็กๆ หรือเกลือในบรรยากาศเปนสิ่งที่
ชวยใหเกิดการกลั่นตัวของไอนํ้าจนกลายเปนเมฆ ดังนั้น ตอบ
ขอ 5.)

T9
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
1. ครูถามคําถามนักเรียนเพื่อทบทวนความรูวา • การสังเกต

• เมฆทีม่ ลี กั ษณะการเกิดโดยมีกระแสลมเปน เมฆเกิดขึ้นได้อย่างไร • การทดลอง


• การตีความขอสรุป
ตั ว พั ด พาอากาศที่ มี ค วามชื้ น เคลื่ อ นที่ ไ ป และการลงขอสรุป
ตามความชันของภูเขา อากาศจะถูกดันตัว จุดประสงค จิตวิทยาศาสตร
• ความอยากรูอยากเห็น
ลอยสูงขึน้ เปนกลไกการยกตัวของอนุภาค เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดเมฆ
• ความรอบคอบ

อากาศแบบใด
(แนวตอบ การยกตัวของอากาศตามความชัน วัสดุอปุ กรณ
หรือตามภูเขา) 1. ธูป 3. นํ้าแข็งกอน
2. แกวนํ้าทรงกระบอก 4. จานขนาดเล็กที่มีลักษณะแบนราบ
อธิบายความรู้
วิธปี ฏิบตั ิ
1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม เรื่อง เมฆเกิดขึ้นได
อยางไร โดยใหนกั เรียนนําวัสดุอปุ กรณทเี่ ตรียม 1. เติมนํ้ารอนลงในแกวพอประมาณ สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น จุดธูปและนําธูปลงไปจอในแกว ใหควันธูปลอยอยูใน
มาใชทําการทดลอง และครูควรเนนยํ้าเรื่อง แกว ดังภาพที่ 4.8 (ก) สังเกตการเปลี่ยนแปลง
การระมัดระวังขณะจุดธูป และหลีกเลี่ยงการ 2. ใสนํ้าแข็งในจานแบน แลวนําไปวางปดปากแกว ดังภาพที่ 4.8 (ข) สังเกตการเปลี่ยนแปลง
สูดดมควันธูปในปริมาณมาก 3. ทดลองซํ้าขอ 1. และ 2. แตไมนําควันธูปลงไปในแกว ดังภาพที่ 4.8 (ค) สังเกตการเปลี่ยนแปลง
4. ทดลองซํ้าขอ 1. และ 2. แตเปลี่ยนจากนํ้ารอนเปนนํ้าเย็น ดังภาพที่ 4.8 (ง) สังเกตการเปลี่ยนแปลง
2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปและอภิปรายผล
จากการทํากิจกรรมนี้ โดยสุมนักเรียนออกมา
อภิปรายผลจากการทดลองหนาชั้นเรียน

(ก) (ข)

บันทึก กิจกรรม Safety first


ควรระมัดระวังขณะทีจ่ ดุ ธูป และ
จากการทดลองแกวที่ใสนํ้ารอนจะสังเกตเห็น
หลี ก เลี่ ย งการสู ด ดมควั น ธู ป
ไอนํ้าลอยขึ้นภายในแกว เพราะนํ้าที่มีอุณหภูมิสูง ปริมาณมาก
จะทําใหเกิดไอนํ้าระเหยขึ้นไปในอากาศ และเมื่อ (ค) (ง)
วางจานแบนปดแกวที่ใสนํ้าแข็งไวปดปากแกว จะ ภาพที่ 4.8 กิจกรรมเมฆเกิดขึ้นไดอยางไร
สังเกตเห็นละอองนํ้าที่เกาะอยูที่แกว เนื่องจาก ที่มา : คลังภาพ อจท.
อากาศรอนยกตัวสูงขึ้น แลวมากระทบกับอากาศ 8
เย็ น ใต จ านนํ้ า แข็ ง ที่ ป  ด ปากแก ว ไว ทํ า ให ไ อนํ้ า
เกิดการควบแนนเปนละอองนํ้าจํานวนมาก

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูควรแจงจุดประสงคการทํากิจกรรม เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร และอธิบาย 1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน
ขั้นตอนตางๆ ที่ใชในการปฏิบัติกิจกรรมใหนักเรียนฟงกอนที่จะเริ่มปฏิบัติ 2. ใหนักเรียนรวมกันเขียนสรุปกิจกรรมการทดลอง เรื่อง เมฆเกิด
กิจกรรม เพื่อใหนักเรียนนําสิ่งที่ครูอธิบายไปทํากิจกรรมไดอยางถูกตองตาม ขึ้นไดอยางไร ลงในสมุด
ขั้นตอน และไมเปนอันตรายในการทํากิจกรรม 3. สมาชิกในกลุม รวมกันเลือกและจัดเตรียมขอมูล เพือ่ นํามาเสนอ
ตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ
4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
ไดงาย
5. ครูใหนักเรียนรวมกันเขียนสรุปกิจกรรมการทดลอง เรื่อง เมฆ
เกิดขึ้นไดอยางไร ลงในสมุด

T10
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้

คําถามทายกิจกรรม 3. ครูถามคําถามทายกิจกรรม เรื่อง เมฆเกิดขึ้น


?
ไดอยางไร จากนั้นใหนักเรียนภายในกลุมชวย
1. การใชควันธูปลอยในแกวกับไมใชควันธูป ผลการทดลองเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร
2. ละอองนํา้ ที่ปรากฏภายในแกวเกิดขึ้นไดอยางไร กันระดมความคิด
3. เมื่อนําจานแบนที่ใสนํ้าแข็งละเอียดไปวางปดปากแกว สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงภายในแกวหรือไม 4. หลังจากที่ทํากิจกรรม เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร
อยางไร ใหนกั เรียนบันทึกขอมูลทีไ่ ดจากการทํากิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม
และตอบคําถามทายกิจกรรมลงในสมุด แลว
นํามาสงครูทายชั่วโมง
จากการทดลอง แกวที่ใสนํ้ารอนจะสังเกตเห็นไอนํ้าลอยขึ้นภายในแกว เพราะนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงจะทําให
เกิดไอนํ้าระเหยขึ้นไปในอากาศ และเมื่อวางจานแบนที่ใสนํ้าแข็งไวปดปากแกว จะสังเกตเห็นละอองนํ้าที่เกาะ
อยูที่แกว เนื่องจากอากาศรอนยกตัวสูงขึ้นแลวมากระทบกับอากาศเย็นใตจานนํ้าแข็งที่ปดปากแกวไว จากนั้น
ไอนํ้าจึงเกิดการควบแนนเปนละอองนํ้าจํานวนมาก

ภาพที่ 4.9 การเปลี่ยนแปลงภายในภาชนะที่ใสนํ้ารอน ภาพที่ 4.10 การเปลี่ยนแปลงภายในภาชนะที่ใสนํ้าเย็น


เมื่อวางภาชนะแบนที่ใสนํ้าแข็งบนปากภาชนะ เมื่อวางภาชนะแบนที่ใสนํ้าแข็งบนปากภาชนะ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

Earth Science แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม


Focus ความชื้นสัมพัทธ์
1. แตกตางกัน เพราะถาหากไมใชควันธูปจะไมเห็น
ความชืน้ สัมพัทธ (relative humidity) เปนอัตราสวนปริมาณ
ไอนํ้าที่มีอยูในอากาศตอปริมาณไอนํ้าที่จะทําใหอากาศอิ่มตัว ณ การเปลี่ยนแปลงภายในภาชนะ เนื่องจากไมมี
อุณหภูมิเดียวกัน การวัดคาความชื้นสัมพัทธ ในอากาศสามารถวัด อนุภาคเปนแกนกลางมากเพียงพอใหเกิดการ
ไดจากเครื่องมือ 2 ชนิด ไดแก ไฮโกรมิเตอรแบบกระเปาะเปยก- ควบแนนเปนละอองนํา้ ในภาชนะ
กระเปาะแหง และไฮโกรมิเตอรแบบดิจิทัล 2. ไอนํา้ รอนจะยกตัวสูงขึน้ มากระทบกับอากาศเย็น
คาความชื้นสัมพัทธแสดงในรูปของรอยละได ดังนี้ ทีป่ ากภาชนะ เนือ่ งจากมีควันธูปแขวนลอยอยู จึง
ความชืน้ สัมพัทธ = ( ปริมาณไอนํ้าที่อยูในอากาศ ) × 100%
ภาพที่ 4.11 ไฮโกรมิเตอรแบบ ชวยเปนแกนกลางใหไอนํา้ มาเกาะ และควบแนน
ดิจิทัล
ปริมาณไอนํ้าที่ทําใหอากาศอิ่มตัว
ที่มา : www.aeroponic.gr/ อนุภาคของควันธูปเกิดเปนกลุม ละอองนํา้
en/en/eshop 3. เพื่อเปรียบเทียบอุณหภูมิที่ลดตํ่าลงเมื่ออยูใน
บรรยากาศระดับสูงขึน้ จนถึงระดับควบแนน เมือ่
เสถียรภาพอากาศ 9
อากาศรอนจากดานลางยกตัวสูงขึน้ มากระทบกับ
และแนวปะทะอากาศ
อากาศเย็นทีป่ ากภาชนะ อากาศภายในจึงเกิดการ
ควบแนนจนเกิดเปนละอองนํา้ จํานวนมาก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เหตุใดในวันที่อากาศรอนอบอาวเราจึงรูสึกอึดอัดและมีเหงื่อ ครูใหนกั เรียนภายในหองชวยกันอภิปรายผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม เมฆเกิดขึน้
ออกมาก ไดอยางไร และปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนในหนังสือเรียน โดยครูอาจสุม นักเรียนออกมา
1. อุณหภูมิสูง อธิบายขั้นตอนการเกิดเมฆ
2. ความหนาแนนสูง
3. ความดันอากาศสูง
4. ความกดอากาศสูง
5. ความชื้นสัมพัทธสูง
(วิเคราะหคําตอบ ความชื้นสัมพัทธ (relative humidity) คือ
อัตราสวนของปริมาณไอนํ้าที่มีอยูจริงในอากาศตอปริมาณไอนํ้า
ที่จะทําใหอากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเดียวกัน ทําใหวันที่มีอากาศ
รอนอบอาว คาความชื้นสัมพัทธจะมีคาสูง เราจึงรูสึกอึดอัดและ
มีเหงื่อมาก ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T11
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูใหนักเรียนสังเกตทองฟาในวันนี้วา มีเมฆ 1.2 ชนิดของเมฆ
ในลักษณะอยางไร แลวสุมนักเรียนใหอธิบาย การแบงชนิดของเมฆนัน้ สามารถพิจารณาไดจากรูปรางและระดับความสูงของฐานเมฆ ดังนี้
ลักษณะทองฟาวันนี้ใหครูและเพื่อนฟง
1. แบงตามรูปรางของเมฆ หากพิจารณาจากรูปรางของเมฆสามารถแบงได 3 ชนิด
2. ครูถามคําถามนักเรียนวา
ดังนี้
• เมฆแบงออกเปนกี่ชนิด อะไรบาง 1) เมฆซีรรัส (cirrus) มีลักษณะเปนเสนใยคลายขนนกหรือรูปหางมา มีสีขาวหรือ
(แนวตอบ 1. เมฆจะแบงตามรูปรางของเมฆได สีนํ้าเงิน เมฆชนิดนี้มักบงบอกถึงสภาวะอากาศแจมใส ภายในกอนเมฆอยูในสภาพที่เปนอนุภาค
3 ชนิด คือ เมฆซีรรัส เมฆสเตรตัส และเมฆ ของเกล็ดนํ้าแข็ง หากเมฆซีรรัสไปบดบั1งแสงอาทิตยหรือแสงจันทรจะทําใหเกิดวงแสงเปน
คิวมูลัส 2. เมฆจะแบงตามระดับความสูง ปรากฏการณที่เรียกวา พระอาทิตยทรงกลดหรือพระจันทรทรงกลด
ของฐานเมฆได 3 ชนิด คือ เมฆชั้นสูง เมฆ
ชั้นกลาง และเมฆชั้นตํ่า)

อธิบายความรู้
1. ครูใหนกั เรียนเปดหนังสือเรียนและอธิบาย เรือ่ ง
ชนิดของเมฆ โดยเมฆจะสามารถแบงตาม
รูปรางของเมฆไดทั้งหมด 3 ชนิด คือ
• เมฆซีรรัส เปนเมฆที่มีลักษณะเปนเสนใย ภาพที่ 4.12 เมฆซีรรัส
ที่มา : https://planetside.co.uk/forums/index.php?topic=24083.0
คลายกับขนนก มักเกิดขึน้ ในวันทีม่ อี ากาศดี
ทองฟาเปนสีฟาเขม 2) เมฆสเตรตัส (stratus) มีลักษณะเปนแผนปกคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวาง มีสีเทา
• เมฆสเตรตัส เปนเมฆที่อยูตํ่าสุดและอยูใน ความสูงของฐานเมฆสมํ่าเสมอกัน เปนเมฆที่อยูตํ่าสุดและอยูในแนวนอนคลายหมอกหรือคลาย
แนวนอนคลายหมอก มักปรากฏในตอน แผนฟลม บาง ๆ ซึง่ เกิดจากหมอกทีล่ อยขึน้ มาจากพืน้ ดิน ทําใหทอ งฟามีลกั ษณะเปนฝา มักปรากฏ
เชามืด หรือตอนสาย หรือหลังฝนตก ในตอนชวงเชามืดหรือหลังฝนตก
• เมฆคิวมูลสั เปนเมฆทีม่ ลี กั ษณะเปนกอนหนา
คลายกะหลํ่าดอก เห็นขอบนอกไดชัดเจน
ถ า เกิ ด ขึ้ น เป น หย อ มๆ แสดงถึ ง สภาวะ
อากาศดี

ภาพที่ 4.13 เมฆสเตรตัส


ที่มา : https://forum.kerbalspaceprogram.com
10

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พระอาทิตยทรงกลด เกิดขึ้นจากบรรยากาศของโลกในชั้นโทรโพสเฟยร เมฆชนิดใดที่มีลักษณะบางๆ เปนฝอยหรือปุยคลายขนนก
ซึ่งเปนบรรยากาศชั้นลางสุด มีอากาศเย็นจัดจนทําใหละอองนํ้าในอากาศ ณ สีขาวละเอียด มีรูปรางไมเเนนอน
เวลานั้นๆ แข็งตัวเปนผลึกนํ้าแข็งอนุภาคเล็กๆ จํานวนมหาศาลลอยอยูบน 1. เมฆซีรรัส
ทองฟา เมื่อแสงอาทิตยตกกระทบผลึกนํ้าแข็ง แสงนั้นจะหักเหเบี่ยงเบนไปจาก 2. เมฆคิวมูลัส
เดิ ม ส ง ผลให เ รามองเห็ น พระ 3. เมฆสเตรตัส
อาทิ ต ย ท รงกลดเป น รู ป วงกลม 4. เมฆคิวมูโลนิมบัส
มี ลั ก ษณะเป น แถบสี รุ  ง คล า ย 5. เมฆซีรโรสเตรตัส
การเกิดรุงกินนํ้าหลังฝนตก ใน (วิเคราะหคาํ ตอบ เมฆซีรร สั มีลกั ษณะเปนเสนใยคลายขนนกหรือ
เมืองไทยพระอาทิตยทรงกลดจะ รูปหางมา มีสีขาวหรือสีนํ้าเงิน เมฆชนิดนี้มักบงบอกถึงสภาวะ
เกิดขึ้นในชวงเวลาใกลเที่ยงวัน อากาศแจมใส ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3) เมฆคิวมูลสั (cumulus) มีลกั ษณะเปนกอนหนา ๆ คลายปุยฝาย หรือรูปกะหลํา่ มีสขี าว 2. ครูอธิบายความรู เรื่อง เมฆกับหมอกวา มี
กอตัวในแนวตั้งเกิดขึ้นจากอากาศที่ไมมีเสถียรภาพ ฐานเมฆเปนสีเทาเนื่องจากมีความหนามาก ลั ก ษณะแตกต า งกั น โดยเมฆจะมี ก ารเกิ ด
พอที่จะบดบังแสง จนทําใหเกิดเงา มักปรากฏใหเห็นในภาวะที่อากาศแจมใส ทองฟาเปนสีฟาเขม เชนเดียวกับหมอก แตจับตัวและลอยอยูบน
ทองฟา เมฆที่อยูสูงขึ้นไปอาจจะจับตัวกันเปน
เกล็ดนํ้าแข็ง ดังนั้น เมฆจึงมีสถานะทั้งที่เปน
ของเหลวและของแข็ง สวนหมอกเกิดจากไอนํา้
ในอากาศจับตัวกับฝุนละอองในอากาศ และ
กลัน่ ตัวเปนหยดนํา้ เล็กๆ โดยมักจะเกิดหมอก
ในบริเวณที่มีปริมาณไอนํ้าในอากาศมาก

ภาพที่ 4.14 เมฆคิวมูลัส


ที่มา : https://www.justgiving.com/fundraising

Earth Science
Focus หมอก

1 หมอก (fog) เกิดจาก


ไอนํา้ ทีเ่ ปลีย่ นสถานะควบแนน
เป น หยดนํ้ า ขนาดเล็ ก ลอย
อยูในอากาศใกลผิวดิน ทาง
กายภาพหมอกมีลกั ษณะคลาย
เมฆ ทั้งโครงสรางและรูปราง
แตกตางกันที่ระดับของความ
สูงในการกอตัว โดยหมอกมี
ฐานความสูงติดกับผิวดิน มี
ผลทําใหทัศนวิสัยในการมอง
เห็นลดลง แตเปนปจจัยในการ
ดึงดูดใหเกิ2ดการทองเทีย่ ว เชน
ทะเลหมอก ภาพที่ 4.15 ทะเลหมอก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เสถียรภาพอากาศ 11
และแนวปะทะอากาศ

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เมฆชนิดใดทําใหเกิดพระอาทิตยทรงกลด 1 ไอนํา้ คือ นํา้ ทีร่ ะเหยกลายเปนไอเมือ่ ไดรบั ความรอนถึงอุณหภูมิ 100 องศา
1. ซีรโรคิวมูลัส เซลเซียส มีสถานะเปนแกส ในอุตสาหกรรมดานอาหารนิยมใชไอนํ้าเปนแหลง
2. ซีรโรสเตรตัส พลังงานความรอน เพือ่ การแปรรูปอาหาร เชน การแปรรูปอาหารดวยความรอน
3. แอลโตคิวมูลัส และการทําแหง
4. สเตรโทคิวมูลัส 2 ทะเลหมอก เกิดจากอุณหภูมิของอากาศที่ลดลงมากจนตํ่ากวาจุดนํ้าคาง
5. แอลโตสเตรตัส ทําใหไอนํ้าเกิดการกลั่นตัวเปนละอองนํ้าขนาดเล็กในบรรยากาศใกลผิวโลก
(วิเคราะหคาํ ตอบ ซีรโ รสเตรตัสเกิดจากผลึกนํา้ แข็ง เปนเมฆสีขาว หมอก คือ เมฆที่เกิดในระดับใกลพื้นโลก มักจะเกิดขึ้นในขณะที่ลมสงบในชวง
โปรงแสง บางครั้งจะปรากฏวงแหวน มีฐานสูงเฉลี่ย 8,500 เมตร ฤดูหนาวและตามหุบเขา
มีลักษณะเปนแผนเยื่อบางๆ โปรงแสงเหมือนมานติดตอกันเปน
แผนในระดับสูง มีสขี าวหรือสีนาํ้ เงินจาง ปกคลุมเต็มทองฟา เปนเมฆ
ที่ทําใหเกิดพระอาทิตยทรงกลด ซึ่งจะมีวงแสงสีขาวหรือมีสีรอบ
ดวงอาทิตยหรือดวงจันทรก็ได ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T13
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
4. ครูใหนกั เรียนอาน เรือ่ ง การแบงเมฆตามระดับ 2. แบงตามระดับความสูงของฐานเมฆ หากพิจารณาระดับความสูงของฐานเมฆ สามารถ
ความสูงของฐานเมฆ ในหนา 12 จากนั้นครู แบงเมฆไดเปน 3 ชนิด ดังนี้
ถามคําถามนักเรียนวา
• เมฆที่แบงตามระดับความสูงของฐานเมฆ ประเภทของเมฆ (type of cloud)
แบงไดทั้งหมดกี่ชั้น อะไรบาง
ซีร์รัส (cirrus)
(แนวตอบ เมฆที่แบงตามระดับความสูงของ มีสีขาว เปนเสนใยบาง ๆ คลาย
ฐานเมฆ แบงไดทั้งหมด 3 ชนิด ไดแก เมฆ เมฆชั้นสูง ฐานเมฆอยูในระดับความสูง
ขนนก
เฉลีย่ ตัง้ แต 6,000 เมตรขึน้ ไป ซึง่ ความสูงในระดับนี้
ชั้นสูง เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นตํ่า) สภาพอากาศจะหนาวและแหงแลง องคประกอบ
• เมฆชั้นสูงมีลักษณะอยางไร และประกอบ ภายในเมฆสวนใหญเปนผลึกนํ้าแข็ง ซีรโ์ รสเตรตัส (cirrostratus)
ดวยเมฆชนิดใดบาง แผ น สี ข าวบาง อาจหั ก เหหรื อ
(แนวตอบ ฐานเมฆจะอยูในระดับความสูง สะทอนแสงทําใหเกิดพระอาทิตย
เฉลี่ยตั้งแต 6,000 เมตรขึ้นไป มีเมฆซีรรัส ทรงกลดได
ซีรโรสเตรตัส และซีรโรคิวมูลัส)
เมฆชัน
้ กลาง ฐานเมฆอยูใ นระดับความสูง
2,000–6,000 เมตร ภายในเมฆจะประกอบ
ไปดวยผลึกนํ้าแข็งและละอองนํ้า

แอลโตสเตรตัส (altostratus)
มีสีเทา เปนแผนหนาทึบ

เมฆชัน ้ ตํา่ ฐานเมฆอยูใ กลพนื้ ดินและอยูใ น


ระดับความสูงไมเกิน 2,000 เมตร องคประกอบ
ภายในเมฆสวนใหญเปนละอองนํ้า

นิมโบสเตรตัส (nimbostratus) สเตรโทคิวมูลัส (stratocumulus)


แผนสีเทา เกาะกลุมกันเปนคลื่นและเปนแผนหนา เปนกลุมกอนสีเทาหรือสีขาวเรียงตอกัน
12

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนกั เรียนดูภาพในหนังสือ เรือ่ ง การแบงตามระดับความสูงของฐานเมฆ เมฆชนิดใดที่มีระดับความสูงของฐานเมฆเฉลี่ยตั้งแต 2,000-
ซึ่งสามารถแบงประเภทของเมฆไดเปน 3 ชั้น ไดแก เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง 6,000 เมตรจากผิวโลก
และเมฆชั้นตํ่า หรือครูอาจจะเปดวิดีโอ เรื่อง เมฆชนิดตางๆ จาก Youtube 1. ซีรรัสและซีรโรสเตรตัส
https://www.youtube.com/watch?v=0vyim0kPCkY 2. ซีรรัสและแอลโตสเตรตัส
3. คิวมูโลนิมบัสและนิมโบสเตรตัส
4. สเตรโทคิวมูลัสและแอลโตคิวมูลัส
5. แอลโตสเตรตัสและแอลโตคิวมูลัส
(วิเคราะหคําตอบ เมฆชั้นกลาง มีฐานเมฆอยูในระดับความสูง
ระหวาง 2,000-6,000 เมตรจากผิวโลก องคประกอบภายในเมฆ
เปนผลึกนํา้ แข็งและละอองนํา้ ชือ่ เมฆจะขึน้ ตนดวยแอลโต (alto)
ไดแก แอลโตสเตรตัสและแอลโตคิวมูลัส ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T14
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
5. ครูอธิบาย เรือ่ ง การแบงเมฆตามระดับความสูง
ของฐานเมฆ และอภิปรายทบทวนกับนักเรียน
วา เมฆแตละชั้นประกอบดวยเมฆชนิดใดบาง
โดยถามคําถามนักเรียน ดังนี้
• เมฆชัน้ กลางมีลกั ษณะอยางไร และประกอบ
ดวยเมฆชนิดใดบาง
(แนวตอบ ฐานเมฆจะอยูในระดับความสูง
ตั้งแต 2,000-6,000 เมตร มีเมฆแอลโต-
ซีร์โรคิวมูลัส (cirrocumulus)
สเตรตัสและเมฆแอลโตคิวมูลัส)
สีขาว ลักษณะเปนกอน ลอนคลื่น หรือริ้ว ๆ • เมฆชั้นตํ่ามีลักษณะอยางไร และประกอบ
คลายกับระลอกทราย ดวยเมฆชนิดใดบาง
(แนวตอบ ฐานเมฆจะอยูใกลพื้นดิน และอยู
ในระดับความสูงไมเกิน 2,000 เมตร มีเมฆ
สเตรโทคิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส และคิวมูลัส)

แอลโตคิวมูลัส (altocumulus)
สีขาวหรือสีเทา ลักษณะเปนกอนเรียงกันเปนแผน

คิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus)
เมฆคิวมูโลนิมบัส เมฆที่กอตัวในแนวตั้ง
ฐานเมฆจะอยูในระดับใกลพื้นดิน และยอด
เมฆอาจสูงถึง 10 กิโลเมตร เปนเมฆกอน
คิวมูลัส (cumulus)
หนาใหญ
เกาะกันเปนกลุม ๆ กอนหนาคลายกะหลํ่าดอก
ภาพที่ 4.16 แบงตามระดับความสูงของเมฆ เสถียรภาพอากาศ 13
ที่มา : http://cloudappreciationsociety.org และแนวปะทะอากาศ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมใชประเภทของเมฆ ครูอาจใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4 คน แลวรวมกันสรุปความรูเ กีย่ วกับ
1. เมฆซีรรัส เรื่อง การแบงประเภทของเมฆ โดยแบงจากระดับความสูงวา สามารถแบงได
2. เมฆเมอรคิวลัส กี่ชั้น แตละชั้นประกอบดวยเมฆชนิดใดบาง โดยสรุปเปนผังมโนทัศนลงใน
3. เมฆซีรโรคิวมูลัส กระดาษฟลิปชารต
4. เมฆซีรโรสเตรตัส
5. เมฆแอลโตคิวมูลัส
(วิเคราะหคําตอบ เมฆซีรรัส มีลักษณะเปนเสนใย คลายขนนก
หรือรูปหางมา มีสขี าวหรือสีนาํ้ เงิน เมฆซีรโ รคิวมูลสั มีลกั ษณะเปน
ริ้วคลายระลอกคลื่นเล็กๆ สีขาว ปกคลุมทองฟาเปนบริเวณกวาง
เมฆซีรโรสเตรตัส มีลักษณะเปนริ้วคลายเสนใยตอกันเปนแผน
สีขาว แผปกคลุมทัว่ ทองฟา และเมฆแอลโตคิวมูลสั มีลกั ษณะเปน
กอนสีขาว มีการจัดตัวเปนคลื่นหรือลักษณะคลายเกล็ด ดังนั้น
ตอบขอ 2.)

T15
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
6. ครูอธิบาย เรื่อง การแบงชั้นเมฆตามความสูง 1) เมฆชัน้ สูง มีฐานเมฆอยูใ นระดับความสูงมากกวา 6,000 เมตรจากผิวโลก ซึง่ ในระดับ1
ดังนี้ ความสูงนี้สภาพอากาศจะหนาวและแหงแลง องคประกอบภายในเมฆประกอบดวยผลึกนํ้าแข็ง
• เมฆชัน้ สูง ประกอบดวย เมฆซีรร สั มีลกั ษณะ จึงทําใหมองเห็นเปนสีขาว ชื่อเมฆจะขึ้นตนดวยซีรรัส (cirrus) ไดแก ซีรรัส ซีรโรสเตรตัส และ
เปนเสนใยบางๆ คลายขนนก เมฆซีรโร- ซีร โรคิวมูลัส
สเตรตัส มีลกั ษณะเปนริว้ คลายเสนใยตอกัน • ซีรรัส (cirrus)
เปนแผนสีขาว และเมฆซีรโ รคิวมูลสั มีลกั ษณะ มีลักษณะเปนเสนใยบาง ๆ
เปนริ้ว คลายกับระลอกคลื่นเล็กๆ มีสีขาว คลายขนนก เปนริ้ว และมี
• เมฆชัน้ กลาง ประกอบดวย เมฆแอลโตสเตร- ลักษณะโปรงใส หากลอยผาน
ตัส มีลักษณะเปนแผนหนาสีเทาปกคลุมทั่ว ดวงอาทิ ต ย แ สงของดวง
อาทิตยจะสามารถลอดผาน
ทัง้ ทองฟา และเมฆแอลโตคิวมูลสั มีลกั ษณะ ไปไดโดยไมลดความสวาง
เปนกอนสีขาวคลายคลื่น ของแสง มักเกิดขึ้นในวันที่มี ภาพที่ 4.17 เมฆซีรรัส
• เมฆชัน้ ตํา่ ประกอบดวย เมฆสเตรโทคิวมูลสั อากาศแจมใส ที่มา : คลังภาพ อจท.
มีสีเทา เรียงตัวกันหนาแนน สามารถบดบัง
ดวงอาทิตยได และเมฆคิวมูโลนิมบัส มี • ซีรโรสเตรตัส (cirrostratus)
ลักษณะสีเทาเขมปกคลุมทั่วทองฟา และ มีลักษณะเปนริ้วคลายเสนใย
เปนเมฆที่ทําใหเกิดฝน ต อ กั น เป น แผ น สี ข าวแผ
ปกคลุมทัว่ ทองฟา มีลกั ษณะ
โปร ง แสง ซึ่ ง หากเกิ ด การ
หักเหของแสงจะทําใหเกิด
ปรากฏการณ พ ระอาทิ ต ย
ทรงกลด ภาพที่ 4.18 เมฆซีร โรสเตรตัส
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• ซีรโ รคิวมูลสั (cirrocumulus)
มีลกั ษณะเปนริว้ คลายระลอก
คลื่นเล็ก ๆ สีขาว ปกคลุม
ทองฟาเปนบริเวณกวาง

ภาพที่ 4.19 เมฆซีร โรคิวมูลัส


ที่มา : คลังภาพ อจท.
14

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ผลึกนํ้าแข็ง ผลึกสามารถพบไดทั่วไปในธรรมชาติ แตจะพบมากในการ เมฆชั้นสูงประกอบไปดวยเมฆชนิดใดบาง
กอตัวของหิน เชน อัญมณีตางๆ หรือแมแตรอบตัวเรา ในรูปของนํ้าตาล นํ้าแข็ง 1. ซีรรัส ซีรโรสเตรตัส และซีรโรคิวมูลัส
และเกลือเม็ด การเกิดผลึกนํ้าแข็งนั้น เกิดจากการที่โมเลกุลของนํ้ามีการจัด 2. คิวมูโลนิมบัส ซีรโรคิวมูลัส และซีรรัส
เรียงตัวอยางเปนระเบียบ เนือ่ งจากอุณหภูมลิ ดลง โดยการดึงพลังงานความรอน 3. ซีรโรสเตรตัส ซีรโรคิวมูลัส และนิมโบสเตรตัส
ที่เปลี่ยนสถานะจากนํ้ากลายเปนผลึกแข็งออกจากของเหลว เกิดเปนนิวเคลียส 4. สเตรโทคิวมูลัส นิมโบสเตรตัส และซีรโรคิวมูลัส
ซึ่งเปนจุดศูนยกลางของผลึกนํ้าแข็ง ระยะการเกิดนิวเคลียสจะเปนอุณหภูมิใน 5. แอลโตสเตรตัส แอลโตคิวมูลัส และซีรโรสเตรตัส
ชวงแคบๆ ซึ่งอยูในชวงจุดเยือกแข็ง หากทําใหอุณหภูมิของสารผานชวงนี้ไป (วิเคราะหคําตอบ เมฆชั้นสูง มีฐานเมฆอยูในระดับความสูง
อยางรวดเร็ว จะเกิดนิวเคลียสของผลึกนํ้าแข็งขึ้นเปนจํานวนมาก มากกวา 6,000 เมตรจากผิวโลก ซึง่ ในระดับความสูงนี้ สภาพอากาศ
จะหนาวและแหงแลง องคประกอบภายในเมฆประกอบดวยผลึก
นํา้ แข็ง จึงทําใหมองเห็นเปนสีขาว ชือ่ เมฆจะขึน้ ตนดวยซีรร สั ไดแก
ซีรรัส ซีรโรสเตรตัส และซีรโรคิวมูลัส ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T16
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) เมฆชั้นกลาง มีฐานเมฆอยูในระดับความสูงระหวาง 2,000-6,000 เมตรจากผิวโลก 7. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน และ
องคประกอบภายในเมฆเปนผลึกนํ้าแข็งและละอองนํ้า ชื่อเมฆจะขึ้นตนดวยแอลโต (alto) ไดแก ทํารายงานสรุป เรื่อง การแบงเมฆตามระดับ
แอลโตสเตรตรัส และแอลโตคิวมูลัส ความสูงของฐานเมฆ ซึ่งจะแบงเมฆออกได
• แอลโตสเตรตัส (altostratus) ทั้งหมด 3 ชนิด ไดแก เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง
มี ลั ก ษณะเป น แผ น หนาทึ บ และเมฆชั้นตํ่า ใหนักเรียนหาภาพประกอบ
สี เ ทาปกคลุ ม ทั้ ง หมดหรื อ พรอมทั้งเนื้อหาของเมฆแตละชนิด เขียนชื่อ
บางสวนของทองฟา สามารถ กํากับเมฆแตละชัน้ แตละชนิด แลวนํารายงาน
บดบั ง ดวงอาทิ ต ย ห รื อ ดวง เลมนี้มาสงครูในชั่วโมงถัดไป
จันทร ทําใหเห็นทองฟาเปนฝา
และอาจทําใหเกิดฝนละออง
บาง ๆ ได ภาพที่ 4.20 เมฆแอลโตสเตรตัส
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• แอลโตคิวมูลสั (altocumulus)
มีลกั ษณะเปนกอนสีขาว มีการ
จัดตัวเปนคลื่น หรือลักษณะ
คลายเปนเกล็ด อาจเรียงตัวกัน
สองชัน้ หรือมากกวา บางสวน
ของเมฆอาจมีแสงลอดผาน
ไดบาง
ภาพที่ 4.21 เมฆแอลโตคิวมูลัส
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Earth Science
Focus ผลึกนํ้าแข็ง
การเกิดผลึกนํา้ แข็ง (nucleation) คือ การทีโ่ มเลกุลของนํา้
มีการจัดเรียงตัวอยางเปนระเบียบ เนือ่ งจากอุณหภูมลิ ดลง โดยการ
ดึงพลังงานความรอนแฝงทีเ่ ปลีย่ นสถานะจากนํา้ กลายเปนผลึกแข็ง
จากของเหลว เกิดเปนนิวเคลียสจะเปนอุณหภูมิในชวงแคบ ๆ ซึ่ง
อยูในชวงจุดเยือกแข็ง
ภาพที่ 4.22 ผลึกนํ้าแข็ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เสถียรภาพอากาศ 15
และแนวปะทะอากาศ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เมฆชนิดใดมีลกั ษณะเปนกอนสีขาว มีลกั ษณะการเรียงตัวเปนคลืน่ ครูอาจจะใหนักเรียนออกไปสังเกตทองฟาที่สนามนอกหองเรียน โดยให
1. ซีรรัส สังเกตวาทองฟามีลกั ษณะอยางไร แลวสอบถามนักเรียนวา ทองฟาทีเ่ ห็นมีเมฆ
2. ซีรโรคิวมูลัส ชนิดใดบาง และถาทองฟามีเมฆชนิดนัน้ มาก สภาพอากาศจะมีลกั ษณะอยางไร
3. แอลโตคิวมูลัส โดยใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายเพือ่ หาคําตอบ
4. แอลโตสเตรตัส
5. สเตรโทคิวมูลัส
(วิเคราะหคําตอบ ซีรรัส มีลักษณะเปนเสนใยบางๆ คลายขนนก
ซีรโรสเตรตัส มีลักษณะเปนริ้วคลายเสนใยตอกันเปนแผนสีขาว
แผปกคลุมทั่วทองฟา แอลโตคิวมูลัส มีลักษณะเปนกอนสีขาว มี
การเรียงตัวเปนคลื่นหรือลักษณะคลายเปนเกล็ด แอลโตสเตรตัส
มีลักษณะเปนแผนหนาทึบสีเทา ปกคลุมทั้งหมดหรือบางสวนของ
ทองฟา และสเตรโทคิวมูลัส มีสีเทา เรียงตัวตอกันหนาแนน ทําให
สามารถบดบังดวงอาทิตยได ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T17
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูสุมถามคําถามทบทวนความรูจากเนื้อหา 3) เมฆชัน้ ตํา่ มีฐานเมฆใกลพนื้ โลกซึง่ มีระดับความสูงตํา่ กวา 2,000 เมตร องคประกอบ
ที่ผานมากับนักเรียนวา เมฆชั้นสูงประกอบ สวนใหญเปนละอองนํ้า เมฆชั้นตํ่า ไดแก สเตรโทคิวมูลัส นิมโบสเตรตัส และคิวมูลัส
ไปดวยเมฆชนิดใดบาง แตละชนิดมีลักษณะ
อยางไร • สเตรโทคิวมูลัส (stratocu-
mulus) มีสเี ทา เรียงตัวตอกัน
(แนวตอบ เมฆชัน้ สูง ประกอบไปดวย เมฆซีรร สั
หนาแนน ลอยตํ่าติดกันเปน
มีลักษณะเปนเสนบางๆ คลายขนนก เมฆ
แพ ทําใหสามารถบดบังดวง
ซีรโรสเตรตัส มีลักษณะเปนริ้วคลายเสนใย อาทิตยได มักพบเห็นเมื่อ
ตอกันเปนแผนสีขาว และเมฆซีรโรคิวมูลัส สภาพอากาศไมคอยดีนัก
มีลักษณะเปนริ้ว คลายระลอกคลื่นเล็กๆ)
อธิบายความรู้
ภาพที่ 4.23 เมฆสเตรโทคิวมูลัส
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรือ่ ง เมฆแตละชนิด จาก ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลิปวิดีโอ เรื่อง เมฆชนิดตางๆ ในเว็บไซต
• นิมโบสเตรตัส (nimbostra-
Youtube ตามลิงกที่แนบมา https://www. tus) มี ลั ก ษณะเป น เมฆสี
youtube.com/watch?v=0vyim0kPCkY&t=69s เทาเข ม ที่ แ ผ ก ว า งปกคลุ ม
2. ครูอธิบายถึงลักษณะรูปรางของเมฆตามระดับ ทองฟา และเปนแผนหนา
ชัน้ ความสูงตางๆ และอาจจะมีภาพเมฆแตละ เปนเมฆทีท่ าํ ใหเกิดฝนตก จึง
ชนิดมาประกอบเนือ้ หา เพือ่ ใหนกั เรียนมองเห็น เรียกวา เมฆฝน
ภาพไดชัดเจนยิ่งขึ้น
ภาพที่ 4.24 เมฆนิมโบสเตรตัส
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• คิวมูลสั (cumulus) มีลกั ษณะ


เปนกอนคลายปุยฝาย หรือ
ดอกกะหลํ่า ถากอนเมฆมี
ขนาดใหญอาจมีฝนตกภาย
ใตกอนเมฆเฉพาะที่

ภาพที่ 4.25 เมฆคิวมูลัส


ที่มา : คลังภาพ อจท.
16

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบาย เรือ่ ง เมฆแตละชนิด ใหนกั เรียนฟง จากนัน้ ใหนกั เรียนจับกลุม เมฆนิมโบสเตรตัสมีลักษณะรูปรางอยางไร
อยางอิสระ และอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกันภายในกลุม จากนั้น 1. ลักษณะเปนเมฆสีเทาเขม แผกวางปกคลุมทองฟา เรียกวา
ชวยกันสรุปเปนผังมโนทัศนที่มีรูปแบบที่นาสนใจ แลวออกมานําเสนอหนา เมฆฝน
ชั้นเรียน 2. มี สี เ ทา เรี ย งตั ว ต อ กั น อย า งหนาแน น สามารถบดบั ง
ดวงอาทิตยได
3. มี ลั ก ษณะเป น ริ้ ว คล า ยเส น ใยต อ กั น เป น แผ น สี ข าว แผ
ปกคลุมทั่วทองฟา
4. เปนเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง ฐานเมฆอยูในระดับใกลผิวโลก
และยอดเมฆอาจสูงถึง 10 กิโลเมตร
5. มีลักษณะเปนกอนคลายปุยฝาย ถากอนเมฆมีขนาดใหญ
อาจมีฝนตกภายใตกอนเมฆเฉพาะที่
(วิเคราะหคําตอบ เมฆนิมโบสเตรตัส (nimbostratus) มีลักษณะ
เปนเมฆสีเทาเขมทีแ่ ผกวางปกคลุมทองฟา และเปนแผนหนา เปน
เมฆที่ทําใหเกิดฝนตก จึงถูกเรียกวา เมฆฝน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T18
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ

• คิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus) เปนเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง ฐานเมฆอยูในระดับใกลผิวโลก และ ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic


ยอดเมฆอาจสูงถึง 10 กิโลเมตร เปนเมฆกอนหนาใหญ ฐานเมฆจะมีสดี าํ มักเกิดลมกระโชกแรง Question ลงในสมุดเปนรายบุคคล
ฟาแลบ ฟารอง ฟาผา และบางครั้งอาจมีลูกเห็บสามารถทําใหเกิดฝนตกหนักและฝนฟา
คะนอง หากมีพลังงานความรอนจากดวงอาทิตยมาก เชน วันที่มีอากาศรอนจัดในฤดูรอน ขัน้ สรุป
ความชื้นจากมวลอากาศจะ ตรวจสอบผล
ถูกทําใหระเหยอยางรวดเร็ว ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหา เรื่อง เมฆ
ผลที่ตามมา คือ การกอตัว เพือ่ เปนการทบทวนความรูใ หแกนกั เรียนหลังจาก
ของกลุมมวลอากาศใหมใน ที่เรียนเนื้อหานี้จบแลว
ระยะทางที่หางออกไปใกล ๆ
และกอใหเกิดพายุฟา คะนอง ขัน้ ประเมิน
นอกจากนี้ ยังสามารถกอให ตรวจสอบผล
เกิดอันตรายในฤดูหนาวได
เชนเดียวกัน ซึ่งกอใหเกิด 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
พายุฤดูหนาวที่มีฟาคะนอง 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
โดยทั่วไปคิวมูโลนิมบัส รายบุคคล
พบในภูมอิ ากาศเขตรอน โดย 3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการทํางานกลุม
เกิดจากกระแสลมที่พัดพา 4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด เรื่อง เมฆ
มายังพื้นดิน และกอใหเกิด 5. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรื่อง การเกิด
กระแสลมกระโชก จนทําให เมฆ
เกิดเปนเมฆรูปกรวยสงผล
ใหเกิดพายุทอรนาโด ภาพที่ 4.26 เมฆคิวมูโลนิมบัส
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Topic
Question
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร
2. เมฆชั้นตํ่าประกอบดวยเมฆชนิดใดบาง
3. เมฆชนิดใดที่ทําใหเกิดปรากฏการณพระอาทิตยทรงกลด
4. เมฆที่กอตัวในแนวตั้งคือเมฆชนิดใด และมีความสูงเทาใด
5. เมฆชนิดใดมีรูปรางลักษณะคลายขนนกสีขาว เปนริ้ว ๆ มีลักษณะโปรงแสง

เสถียรภาพอากาศ 17
และแนวปะทะอากาศ

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. เมฆเกิดจากการควบแนนของไอนํา้ ในอากาศ เมือ่ ไอนํา้ ไดรบั ความรอน
ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคลของนักเรียน โดยศึกษา
จะลอยตัวสูงขึ้น แลวกระทบกับความเย็นของอากาศที่อยูดานบน
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมทํางานรายบุคคลที่แนบ
ก็จะควบแนนเปนละอองนํา้ เล็กๆ เกาะอยูบ นอนุภาคของฝุน ละอองที่
มาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 เสถียรภาพอากาศและ
อยูในอากาศ ซึ่งอนุภาคของฝุนละอองจะชวยใหละอองนํ้ารวมตัวกัน
แนวปะทะอากาศ
มากขึ้น เกิดเปนกอนเมฆที่มีขนาดแตกตางกันออกไป
2. เมฆชั้นตํ่า ประกอบดวย เมฆสเตรโทคิวมูลัส นิมโบสเตรตัส และ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

คิวมูลัส
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   

3. เมฆซีรโรสเตรตัส
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีนาใจ   
5 การตรงต่อเวลา   

4. เมฆคิวมูโลนิมบัส เปนเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง ฐานเมฆอยูในระดับใกล


รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/.................../................

ผิวโลก และยอดเมฆอาจสูงถึง 10 กิโลเมตร เกณฑ์การให้คะแนน


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง
ให้
ให้
3 คะแนน
2 คะแนน

5. เมฆซีรรัส
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T19
น�ำ น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ครูกระตุนความสนใจ โดยถามคําถาม Prior เสถียรภาพของอากาศ 2. เสถียรภาพของอากาศ
Knowledge ใหนกั เรียนอภิปรายและแสดงความ คืออะไร เสถียรภาพของอากาศ (atmospheric stability) คือ
คิดเห็นรวมกัน สภาวะของอากาศที่ชวยสงเสริม หรือยับยั้งใหกลุมอากาศ
เคลือ่ นทีข่ นึ้ ลงในแนวดิง่ เมือ่ อากาศอยูใ นสภาพสมดุลหรือมีเสถียรภาพ อากาศจะไมเคลือ่ นทีห่ รือ
ขัน้ สอน เคลื่อนที่กลับสูที่เดิมในเวลาอันสั้น แตหากอากาศไมมีเสถียรภาพอากาศจะเคลื่อนที่ตลอดเวลา
สํารวจค้นหา
ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ชวยกัน 2.1 อากาศมีเสถียรภาพ
อากาศมีเสถียรภาพ
สืบคนขอมูล เรื่อง เสถียรภาพของอากาศ จาก เมื่ อ ก อ นอากาศมี อุ ณ หภู มิ ตํ่ า และมี
หนังสือเรียนหรือสื่ออินเทอรเน็ต จากนั้นใหเขียน ความดันสูงกวาอากาศโดยรอบ อากาศนี้จะไม ระดับ 0 ํC 10 ํC
ลงในกระดาษ A4 ในรูปแบบของผังมโนทัศน สามารถยกตั ว ได สู ง มากนั ก และจะเคลื่ อ นที่ ควบแนน 2,000 เมตร
กลับสูท เี่ ดิมเรียกวา อากาศมีเสถียรภาพ (stable
อธิบายความรู้ air) แตหากอากาศยกตัวสูงขึ้นจนถึงระดับ
1. ครูอธิบายความหมายของเสถียรภาพอากาศวา ควบแนน แตไมสามารถยกตัวขึน้ สูงตอไปไดอกี 10 ํC 15 ํC
1,000 เมตร
เปนสภาวะของอากาศทีช่ ว ยสงเสริมหรือยับยัง้ จะทําใหเกิดเมฆในแนวราบซึ่งสภาวะอากาศมี
ใหกลุมอากาศสามารถเคลื่อนที่ในแนวดิ่งได เสถียรภาพจะมีทองฟาแจมใส มีเมฆนอยหรือ
2. ครูถามคําถามนักเรียนเกีย่ วกับเรือ่ ง เสถียรภาพ ไมมีเมฆ มักพบในชวงเชาหรือในฤดูหนาว 20 ํC 20 ํC
พื้นผิว
ของอากาศวา พื้นรอน
• อากาศที่มีเสถียรภาพมีลักษณะอยางไร ภาพที่ 4.27 สภาวะอากาศมีเสถียรภาพ
(แนวตอบ เมื่อกอนเมฆมีอุณหภูมิตํ่าและมี ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาพที่ 4.28 บริเวณที่อากาศมีเสถียรภาพจะมีทองฟา
ความดันสูงกวาอากาศโดยรอบ อากาศจะ แจมใสและมีเมฆนอย
ไมสามารถยกตัวไดสูง อากาศจะเคลื่อนที่ ที่มา : คลังภาพ อจท.
กลับสูที่เดิมเรียกวา อากาศมีเสถียรภาพ)

แนวตอบ Prior Knowledge


เสถียรภาพอากาศ คือ สภาวะของอากาศที่
ชวยสงเสริม หรือยับยั้งใหกลุมอากาศเคลื่อนที่ขึ้น
ลงในแนวดิ่ง เมื่ออากาศอยูในสภาพสมดุลหรือมี
เสถียรภาพ อากาศจะไมเคลือ่ นทีห่ รือเคลือ่ นทีก่ ลับ 18
สูท เี่ ดิมในเวลาอันสัน้ แตหากอากาศไมมเี สถียรภาพ
อากาศจะเคลื่อนที่ตลอดเวลา

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบาย เรือ่ ง เสถียรภาพของอากาศ โดยการวาดภาพใหนกั เรียนเห็น อากาศมีเสถียรภาพจะมีลักษณะอยางไร
บนกระดาน และอธิบายขั้นตอนการเกิดเสถียรภาพของอากาศในรูปแบบตางๆ (แนวตอบ สภาวะอากาศมีเสถียรภาพ จะมีทอ งฟาแจมใส มีเมฆ
เพื่อใหนักเรียนมองเห็นภาพและเกิดความเขาใจในเรื่องนี้มากขึ้น และครูอาจ นอยหรือไมมีเมฆ มักพบในชวงเชาหรือในฤดูหนาว)
จะถามคําถามกระตุนความคิดนักเรียนวา เสถียรภาพของอากาศสงผลตอการ
เกิดเมฆอยางไร โดยใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อหาคําตอบ

T20
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2.2 อากาศไมมีเสถียรภาพ อากาศไม่มีเสถียรภาพ
ครู ถ ามคํ า ถามเพื่ อ ทบทวนความรู  ใ ห กั บ
เมือ่ กอนอากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู กวาอากาศ นักเรียน ดังนี้
โดยรอบ กอนอากาศจะยกตัวขึ้นอยางรวดเร็ว • เสถียรภาพอากาศคืออะไร
จนถึงระดับควบแนน ซึ่งเรียกวา อากาศไมมี ระดับ 20 ํC 16 ํC (แนวตอบ สภาวะอากาศที่ชวยสงเสริมหรือ
เสถียรภาพ (unstable air) สงผลใหเกิดเมฆ
ควบแนน 2,000 เมตร ยั บ ยั้ ง ให ก ลุ  ม อากาศเคลื่ อ นที่ ขึ้ น ลงใน
ในแนวตั้ง เชน เมฆคิวมูลัส เมฆคิวมูโลนิมบัส แนวดิ่ง เมื่ออากาศอยูในสภาพสมดุลหรือ
เปนตน สภาวะอากาศไมมีเสถียรภาพทองฟา 30 ํC 28 ํC
มี เ สถี ย รภาพ อากาศจะไม เ คลื่ อ นที่ ห รื อ
จะมี เ มฆฝนปกคลุ ม และเกิ ด หยาดนํ้ า ฟ า 1,000 เมตร เคลื่อนที่กลับสูที่เดิมในเวลาอันสั้น)
ซึง่ มักจะเกิดขึน้ ในชวงเวลาทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู เชน อธิบายความรู้
ชวงบายหรือในฤดูรอน
40 ํC 40 ํC ครูใหนักเรียนอานเนื้อหา เรื่อง อากาศไมมี
ภาพที่ 4.30 บริเวณที่อากาศไมมีเสถียรภาพ อากาศ พื้นรอน พื้นผิว เสถียรภาพ จากนั้นครูถามคําถามเพื่อทดสอบ
จะลอยตัวสูงขึ้นอยางรวดเร็ว และมีเมฆปกคลุมทองฟา
ปริมาณมาก ภาพที่ 4.29 สภาวะอากาศไมมีเสถียรภาพ ความรูของนักเรียน ดังนี้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ที่มา : คลังภาพ อจท. • อากาศไมมเี สถียรภาพมักเกิดขึน้ ในชวงเวลาใด
(แนวตอบ มักพบในชวงทีอ่ ากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู
เชน ชวงบายหรือในฤดูรอน)
ขยายความเข้าใจ
ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
Question

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
Topic ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป เนื้ อ หา เรื่ อ ง
Question
เสถียรภาพของอากาศ เพือ่ เปนการทบทวนความรู
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
ใหแกนักเรียนหลังจากที่เรียนเนื้อหานี้จบแลว
1. สภาวะอากาศมีเสถียรภาพมีลักษณะอยางไร และเกิดขึ้นในชวงเวลาใด
2. สภาวะอากาศไมมีเสถียรภาพมีลักษณะอยางไร และเกิดขึ้นในชวงเวลาใด
3. ปจจัยใดบางที่สงผลใหเกิดสภาวะอากาศไมมีเสถียรภาพ ขัน้ ประเมิน
4. อากาศที่มีเสถียรภาพกับอากาศที่ไมมีเสถียรภาพมีความแตกตางกันอยางไร ตรวจสอบผล
5. ยกตัวอยางสภาวะอากาศไมมีเสถียรภาพในปจจุบันวา มักจะพบในพื้นที่ใดของประเทศไทย 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
เสถียรภาพอากาศ 19 รายบุคคล
และแนวปะทะอากาศ
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการทํางานกลุม

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ทองฟาแจมใส มีเมฆนอยหรือไมมเี มฆ มักพบในชวงเชาหรือในฤดูหนาว
ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน โดยศึกษาเกณฑ
2. ทองฟามีเมฆฝนปกคลุม และเกิดหยาดนํา้ ฟา มักจะเกิดขึน้ ในชวงเวลา
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ทีแ่ นบมาทาย
ที่มีอุณหภูมิสูง เชน ชวงบายหรือในฤดูรอน
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะ
3. อุณหภูมิของอากาศโดยรอบ
อากาศ
4. อากาศมีเสถียรภาพ เกิดจากกอนอากาศมีอณ ุ หภูมติ าํ่ และมีความดันสูง แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

กวาอากาศโดยรอบ อากาศยกตัวไมสงู มาก สวนอากาศไมมเี สถียรภาพ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
การมี

เกิดจากอากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู กวาอากาศโดยรอบ กอนอากาศจะยกตัว


การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชื่อ–สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

ขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงระดับควบแนน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

5. อากาศทีไ่ มมเี สถียรภาพ เปนสภาพอากาศทีจ่ ะเกิดขึน้ กับประเทศไทย


ในชวงฤดูฝน เกิดฝนฟาคะนอง
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง

T21
น�ำ น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ครูกระตุนความสนใจ โดยถามคําถาม Prior การยกตัวของอากาศ 3. แนวปะทะอากาศ
Knowledge ใหนักเรียนอภิปรายและแสดงความ สงผลตอลักษณะลมฟา เมื่อมวลอากาศ 2 มวล เคลื่อนที่มาปะทะกัน จะเกิดแนว
คิดเห็นรวมกันกอนเขาสูหัวขอที่เรียน ดังนี้ อากาศอยางไร
หรือขอบเขตระหวางมวลอากาศทั้งสอง ซึ่งมวลอากาศเย็นที่มี
• การยกตัวของอากาศสงผลตอลักษณะลมฟา ความหนาแนนมากกวาจะจมตัวลง สวนมวลอากาศรอนจะลอยตัวขึ้น ซึ่งแนวหรือขอบเขตที่
อากาศอยางไร มวลอากาศทั้งสองมาพบกัน เรียกวา แนวปะทะอากาศ (front)
มวลอากาศ (air mass) คือ กลุมของอากาศที่มีลักษณะเปนกอนขนาดใหญ โดยมีความชื้น
ขัน้ สอน ปริมาณไอนํ้า และอุณหภูมิเทากันทั้งกอน มวลอากาศจะเกิดขึ้นเมื่ออากาศสวนนั้นอยูนิ่งกับที่
สํารวจค้นหา
และมีการสัมผัสกับพื้นผิวโลกเปนระยะเวลานาน จนกระทั่งมีคุณสมบัติคลายกับพื้นผิวโลกใน
1. ครูใหนกั เรียนเปดหนังสือเรียน เรือ่ ง แนวปะทะ บริเวณนั้น ๆ จากนั้นมวลอากาศจะเคลื่อนที่ไปยังบริเวณอื่น สงผลใหลมฟาอากาศในบริเวณนั้น
อากาศ และอธิบายความรู เรื่อง แนวปะทะ เปลี่ยนแปลงไป
อากาศ มวลอากาศ การจํ า แนกมวลของ 1. การจําแนกมวลอากาศโดยพิจารณาแหลงกําเนิดเปนเกณฑ สามารถแบงได ดังนี้
อากาศโดยพิจารณาแหลงกําเนิดเปนเกณฑ
การจําแนกมวลอากาศโดยพิจารณาแหล่งกําเนิดเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
และการจํ า แนกมวลอากาศโดยพิ จ ารณา
คุณสมบัติอุณหภูมิเปนเกณฑ มวลอากาศขั1้วโลกภาคพื้นทวีป (continental polar air mass) มีแหลงกําเนิดอยูเหนือภาคพื้นทวีป
ในเขตละติจูดตํ่า ซึ่งมีลักษณะเปนมวลอากาศเย็นและแหง
มวลอากาศเขตรอนภาคพื้นทวีป (continental tropical air mass) มีแหลงกําเนิดเหนือภาคพื้นทวีป
มีการเคลื่อนที่จากละติจูดตํ่าไปสูละติจูดสูง ลักษณะเปนมวลอากาศรอนและแหงแลง ทําใหบริเวณที่
มวลอากาศนี้เคลื่อนที่ผานมีอากาศรอนและแหงแลง
มวลอากาศขั้วโลกภาคพื้นสมุทร (maritime polar air mass) มีแหลงกําเนิดเหนือภาคพื้นมหาสมุทร
ซึ่งเมื่อมวลอากาศชนิดนี้เคลื่อนตัวลงมายังละติจูดตํ่าจะทําใหเกิดความเย็นและชุมชื้น
มวลอากาศเขตรอนภาคพืน้ สมุทร (maritime tropical air mass) มีแหลงกําเนิดเหนือภาคพืน้ มหาสมุทร
จึงนําพาความชุมชื้น ซึ่งเมื่อเคลื่อนที่ผานบริเวณใดจะทําใหเกิดฝนตก

2. การจําแนกมวลอากาศโดยพิจารณาคุณสมบัติอุณหภูมิเปนเกณฑ สามารถแบงได ดังนี้


การจําแนกมวลอากาศโดยพิจารณาคุณสมบัตอ
ิ ณ
ุ หภูมเิ ป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้ ดังนี้

มวลอากาศอุน (warm air mass) เปนมวลอากาศที่มีอุณหภูมิสูงกวาอากาศบริเวณพื้นผิวที่มวลอากาศ


นั้นเคลื่อนที่ผาน ซึ่งมวลอากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีละติจูดตํ่าไปยังบริเวณที่มีละติจูดสูงกวา
แนวตอบ Prior Knowledge
มวลอากาศเย็น (cold air mass) เปนมวลอากาศที่มีอุณหภูมิตํ่ากวาอากาศบริเวณพื้นผิวที่มวลอากาศ
มวลอากาศ คือ กลุมอากาศที่มีลักษณะเปน นั้นเคลื่อนที่ผาน ซึ่งมวลอากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีละติจูดสูงไปยังบริเวณที่มีละติจูดตํ่ากวา
กอนขนาดใหญ โดยมีความชืน้ ปริมาณไอนํา้ และ
อุณหภูมิเทากันทั้งกอน จากนั้นจะเกิดการยกตัว 20
ของอากาศและเคลื่อนที่ไปบริเวณอื่น สงผลให
ลมฟาอากาศในบริเวณนั้นเปลี่ยนแปลงไป

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ละติจูด หรือเดิมเรียกวา เสนรุง คือ มุมที่วัดระหวางจุดใดๆ กับเสน แนวปะทะอากาศเกิดขึ้นไดอยางไร
ศูนยสูตร มีคาสูงสุด 90 องศา เสนที่ลากเชื่อมตอทุกจุดที่มีละติจูดเทากัน (แนวตอบ เมือ่ มวลอากาศ 2 มวล เคลือ่ นตัวมาพบกัน มวลอากาศ
เราเรียกวา เสนขนาน เวียนเปนวงกลมรอบโลก โดยขั้วโลกแตละขั้วจะมีคา ทั้งสองจะไมปนกันทันที แตจะกอใหเกิดแนวหรือขอบเขตระหวาง
ละติจูดเปน 90 องศา เชน ขั้วโลกเหนือมีละติจูด 90 องศาเหนือ มวลอากาศทั้งสอง มวลอากาศเย็นซึ่งมีความหนาแนนมากกวา
และหนักมากกวามวลอากาศรอนจะผลักดันอากาศรอนใหลอยขึน้
ทําใหเกิดเปนเมฆตางๆ เกิดพายุฝนฟาคะนองตามแนวหรือ
ขอบเขตที่มวลอากาศทั้งสองมาพบกัน)

T22
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
• การสังเกต
2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน ทํา
แนวปะทะอากาศ • การทดลอง กิจกรรม เรื่อง แนวปะทะอากาศ
• การตีความหมายขอมูลและ
ลงขอสรุป
จิตวิทยาศาสตร
อธิบายความรู้
จุดประสงค • ความมีเหตุผล
• รวมแสดงความคิดเห็นและ
1. ครู อ ธิ บ ายวิ ธีป ฏิ บั ติ และสาธิ ต วิ ธีก ารทํ า
เพื่ออธิบายการเกิดของแนวปะทะอากาศ และการเคลื่อนที่ของ ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น กิจกรรม เรื่อง แนวปะทะอากาศ ใหนักเรียน
อุณหภูมินํ้าที่แตกตางกัน
สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง
วัสดุอปุ กรณ 2. หลังจากทํากิจกรรมเสร็จเรียบรอย ครูถาม
1. ตูปลา 4. นํ้ารอนและนํ้าเย็น คําถามกับนักเรียน ดังนี้
2. ดินนํ้ามัน 5. แผนพลาสติก • เมือ่ ยกแผนกัน้ ออก นํา้ ทีอ่ ยูใ นตูป ลาเกิดการ
3. สีผสมอาหาร เปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
วิธปี ฏิบตั ิ • จงอธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของนํ้าที่มี
อุณหภูมิตางกัน
1. นําแผนพลาสติกมากั้นกลางตูปลา เพื่อแบงตูปลาออกเปน 2 ฝง (ก)
3. นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายและสรุ ป ผลการ
2. ใชดินนํ้ามันอุดตามรองตลอดแนวแผนพลาสติก เพื่อกันไมใหนํ้า
แตละฝงรั่วเขาหากันดังภาพที่ 4.31 (ก) ทดลอง
3. เทนํ้ารอนและนํ้าเย็นลงในตูปลาอยางละดาน
(อยาใหนํ้ารอนและเย็นผสมกัน)
4. นําสีผสมอาหารผสมลงในดานที่เทนํ้าเย็นไว ดังภาพที่ 4.31 (ข)
5. ยกแผนกั้นออก สังเกตการเปลี่ยนแปลง (ข)
ภาพที่ 4.31 กิจกรรมแนวปะทะ
คําถามทายกิจกรรม อากาศ
? ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. เมื่อยกแผนกั้นออกนํ้าที่อยูในตูปลาเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร บันทึก กิจกรรม
2. จงอธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของนํ้าที่มีอุณหภูมิตางกัน เมื่อยกแผนกั้นออก ทําใหนํ้ารอนและนํ้าเย็น
ผสมกัน โดยนํ้าเย็นเคลื่อนตัวจมดานลางนํ้ารอน
อภิปรายผลกิจกรรม เพราะนํ้าที่มีอุณหภูมิตํ่าจะเคลื่อนที่ลงดานลาง ใน
เมือ่ ยกแผนกัน้ ออกทําใหนาํ้ รอนและนํา้ เย็นผสมกัน สังเกตไดวา นํา้ เย็น (ผสมสีผสมอาหารลงไป) เคลือ่ น ขณะที่นํ้าที่มีอุณหภูมิสูงจะเคลื่อนที่ขึ้นดานบน
ตัวจมดานลางนํา้ รอน เนือ่ งจากนํา้ ทีม่ อี ณ
ุ หภูมติ า่ํ จะเคลือ่ นทีล่ งดานลาง ในขณะทีน่ าํ้ ทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู จะเคลือ่ นที่ แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
ขึ้นดานบน
เปรียบใหนํ้าที่มีอุณหภูมิตํ่าแทนมวลอากาศเย็น และนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงแทนมวลอากาศรอน เมื่อ 1. เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยนํ้ารอนกับนํ้าเย็นจะ
มวลอากาศที่มีอุณหภูมิตางกันเคลื่อนที่เขาหากันจะเกิดรอยตอมวลอากาศ เรียกวา แนวปะทะอากาศ ผสมกัน
เสถียรภาพอากาศ 21
2. เมื่อนํ้าที่มีอุณหภูมิแตกตางกันมารวมกัน นํ้าที่
และแนวปะทะอากาศ
มีอุณหภูมิสูงจะเคลื่อนที่ขึ้นดานบนและนํ้าที่มี
อุณหภูมิตํ่าจะเคลื่อนที่ลงดานลาง

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนสืบคน เรื่อง แนวปะทะอากาศ โดยจัดทําออกมา ครูแจงจุดประสงคการทํากิจกรรม เรื่อง แนวปะทะอากาศ ในหนังสือเรียน
ในรูปแบบของรายงาน และออกมานําเสนอครูและเพื่อนหนาชั้น ซึ่งจุดประสงคของกิจกรรมนี้ คือ การอธิบายการเกิดของแนวปะทะอากาศ และ
เรียน โดยมีหัวขอใหเลือก ดังนี้ การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่แตกตางกัน ครูควรอธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรม
• การเกิดของแนวปะทะอากาศ เพื่อใหนักเรียนเขาใจขั้นตอนการทํากิจกรรม เพื่อใหงายตอการทํากิจกรรม
• ประเภทของแนวปะทะอากาศ
• ความแตกตางของประเภทของแนวปะทะอากาศ

T23
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ครูทบทวนความรูจากชั่วโมงที่แลวใหนักเรียน แนวปะทะอากาศ เป็นแนวที่แบ่งเขตระหว่างมวลอากาศ Earth Science
ทราบ โดยถามคําถามดังตอไปนี้ อุ่นและมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่มาปะทะกัน โดยมวลอากาศที่ in real life
• การจํ า แนกมวลของอากาศโดยพิ จ ารณา เบาจะอยู่ข้างบนมวลอากาศที่หนักจะอยู่ข้างล่าง บริเวณรอยต่อ การตรวจสอบสภาพอากาศ
แหลงกําเนิดเปนเกณฑมีอะไรบาง ของมวลอากาศทั้งสองจะมีสภาพอากาศแปรปรวน มีเมฆฝน ทั ศ นวิ สั ย ลั ก ษณะอากาศ
ก่ อ นท� า การบิ น เป็ น หลั ก การ
(แนวตอบ มวลอากาศขั้วโลกภาคพื้นทวีป และมีการเปลีย่ นแปลงลักษณะอากาศหลายประการ ซึง่ แนวปะทะ ส� า คั ญ ที่ นั ก บิ น ต้ อ งวางแผน
มวลอากาศเขตรอนภาคพืน้ ทวีป มวลอากาศ อากาศแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ การบินล่วงหน้า เพื่อหลีกเลี่ยง
ขั้ ว โลกภาคพื้ น สมุ ท ร และมวลอากาศ 1) แนวปะทะอากาศอุน (warm front) เป็นแนวปะทะ สภาวะอากาศเลวร้ า ยที่ เ ป็ น
เขตรอนภาคพื้นสมุทร) อากาศที่เกิดจากมวลอากาศอุ่นเคลื่อนที่เข้าหามวลอากาศเย็น อันตรายต่อการบินตลอดเส้น
อธิบายความรู้
ซึ่งบริเวณที่มีมวลอากาศเย็นปกคลุมอยู่อากาศจะมีความหนา ทางบิ น หรือขณะเครื่องบินขึ้น
ลงรอบ ๆ บริเวณของสนามบิน
แน่นสูง อากาศจึงจมตัวลง ส่วนมวลอากาศอุน่ ทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู กว่า
1. ครูอธิบายเนื้อหา เรื่อง แนวปะทะอากาศแบง อากาศจะมีความหนาแน่นต�่าและลอยตัวขึ้น ดังนั้น หากมวลอากาศอุ่นเคลื่อนที่เข้าไปยังบริเวณ
ออกเปน 4 ประเภท ดังนี้ แนวปะทะอากาศอุน ที่มีมวลอากาศเย็นปกคลุมอยู่ มวลอากาศอุ่นจะยกตัวสูงขึ้นตามแนวขอบของมวลอากาศเย็น
เกิดจากการทีม่ วลอากาศอุน เคลือ่ นทีเ่ ขามายัง ซึ่งท�าให้เกิดฝนตกกระจายเป็นบริเวณกว้าง
บริเวณที่มีมวลอากาศเย็นกวา จะกอใหเกิด
ลม
ฝนตกหนักและพายุฝนฟาคะนอง สังเกตได
จากการเกิดเมฆฝนและเมฆนิมโบสเตรตัส
มวลอากาศอุ่น
กาศเย็น
มวลอา

ภาพที่ 4.32 แนวปะทะอากาศอุ่น


ที่มา : คลังภาพ อจท.
Earth Science
Focus มวลอากาศ
มวลอากาศ คือ ลักษณะของมวลอากาศที่มีลักษณะอากาศ
ภายในกลุ่มก้อนขนาดใหญ่มาก มีความชื้นคล้ายคลึงกัน ตลอดจน
ส่วนต่าง ๆ ของอากาศเท่ากัน มวลอากาศจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่ออากาศ
ส่วนนั้นอยู่กับที่ และมีการสัมผัสกับพื้นผิวโลก ซึ่งเป็นพื้นดินหรือพื้น
น�้าก็ได้ โดยสัมผัสอยู่เป็นระยะเวลานาน จนมีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับ ภาพที่ 4.33 สภาพอากาศ
ผิวโลกในส่วนนั้น ๆ เรียกบริเวณพื้นผิวโลกนั้นว่า แหล่งก�าเนิด ที่มา : คลังภาพ อจท.
22

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากสือ่ การเรียนรูอ อนไลน เชน คลิปวิดโี อจาก Youtube แนวปะทะอากาศอุนเกิดขึ้นไดอยางไร
แนวปะทะอากาศ 2 วิทยาศาสตร ม.4-6 (โลกและดาราศาสตร) https://www. 1. มวลอากาศอุนเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศอุน
youtube.com/watch?v=NMnshS1BCy0&t=424s 2. มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศอุน
3. มวลอากาศอุนเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศเย็น
4. มวลอากาศเย็นที่มีคุณสมบัติตางกันเคลื่อนที่มาปะทะกัน
5. มวลอากาศอุนและมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหากัน แต
ไมเคลื่อนที่เขามาแทนที่กัน
(วิเคราะหคําตอบ แนวปะทะอากาศอุน เปนแนวปะทะอากาศที่
เกิดจากมวลอากาศอุน เคลือ่ นทีเ่ ขาหามวลอากาศเย็น ซึง่ บริเวณที่
มีมวลอากาศเย็นปกคลุมอยู อากาศจะมีความหนาแนนสูง อากาศ
จึงจมตัวลง สวนมวลอากาศอุนที่มีอุณหภูมิสูงกวา อากาศจะมี
ความหนาแนนตํ่าและลอยตัวขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T24
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) แนวปะทะอากาศเย็น (cold front) เป็นแนวปะทะอากาศที่เกิดจากมวลอากาศเย็น 2. ครูอธิบาย เรื่อง แนวปะทะอากาศเย็นเมื่อ
เคลื่อนที่เข้าหามวลอากาศอุ่น โดยมวลอากาศเย็นที่มีความหนาแน่นมากกว่าดันให้มวลอากาศ มวลอากาศเย็ น เคลื่ อ นตั ว ลงมายั ง บริ เ วณ
อุ่นลอยตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วตามแนวลาดเอียงของมวลอากาศเย็นจนถึงระดับควบแน่นแล้ว ที่ มี ล ะติ จู ด ตํ่ า มวลอากาศเย็ น จะหนั ก จึ ง
ก่อตัวเป็นเมฆคิวมูลัสหรือคิวมูโลนิมบัส ซึ่งท�าให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง มีการเคลื่อนตัวติดกับผิวดิน และจะดันให
มวลอากาศอุ  น ที่ มี ค วามหนาแน น น อ ยกว า
ลม ลอยตัวขึ้นตามความลาดเอียง
3. ครู อ ธิ บ าย เรื่ อ ง แนวปะทะอากาศรวมว า
เมื่ อ มวลอากาศเย็ น เคลื่ อ นที่ ใ นแนวทางติ ด
กับแผนดิน จะดันใหมวลอากาศอุนใกลกับ
ผิ ว โลกเคลื่ อ นที่ ไ ปในแนวเดี ย วกั น กั บ มวล
มวลอากาศอุ่น อากาศเย็น มวลอากาศอุนจะถูกมวลอากาศ
มวลอากาศเย็น เย็ น ซ อ นตั ว ให ล อยสู ง ขึ้ น และเนื่ อ งจาก
มวลอากาศเย็นเคลื่อนตัวไดเร็วกวา จึงทําให
ภาพที่ 4.34 แนวปะทะอากาศเย็น
ที่มา : คลังภาพ อจท. มวลอากาศอุนซอนอยูบนมวลอากาศเย็น เรา
เรียกลักษณะดังกลาวไดอีกแบบวา แนวปะทะ
ของมวลอากาศปด
3) แนวปะทะอากาศรวม (occluded front) เป็นแนวปะทะอากาศที่เกิดจากมวลอากาศ 4. ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม เรื่อง แนวปะทะ
เย็นเคลื่อนที่ในแนวติดกับพื้นดินดันมวลอากาศอุ่นกว่าที่ใกล้ผิวโลกลอยตัวสูงขึ้นอยู่เหนือมวล
อากาศ ไดจากการสแกน QR Code เพื่อให
อากาศเย็น แล้วก่อตัวเป็นเมฆคิวมูโลนิมบัส ซึ่งส่งผลให้เกิดพายุฝน
เขาใจเนื้อหาเรื่องนี้มากขึ้น
ลม

มวลอากาศอุ่น

มวลอากาศเย็น มวลอากาศเย็น

ภาพที่ 4.35 แนวปะทะอากาศรวม


ที่มา : คลังภาพ อจท.

แนวปะทะอากาศ 23

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


แนวปะทะอากาศชนิดใดทําใหเกิดฝนตกกระจายเปนบริเวณกวาง ศึกษาเพิม่ เติมไดจากการสแกน QR Code เรือ่ ง แนวปะทะอากาศ
1. แนวปะทะอากาศอุน
2. แนวปะทะอากาศเย็น
3. แนวปะทะอากาศคงที่
4. แนวปะทะอากาศรวม
5. แนวปะทะอากาศรอน
(วิเคราะหคําตอบ แนวปะทะอากาศอุน หากมวลอากาศอุน
เคลือ่ นทีเ่ ขาไปยังบริเวณทีม่ มี วลอากาศเย็นปกคลุมอยู มวลอากาศ
อุนจะยกตัวสูงขึ้นตามแนวขอบของมวลอากาศเย็น ซึ่งทําใหเกิด
ฝนตกกระจายเปนบริเวณกวาง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T25
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
5. ครูอธิบาย เรื่อง แนวปะทะมวลอากาศคงที่วา 4) แนวปะทะมวลอากาศคงที่ (stationary front) เกิด H. O. T. S.
แนวปะทะของมวลอากาศ เกิดจากมวลอากาศ จากมวลอากาศอุนและมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหากัน แตไม คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
อุน และมวลอากาศเย็นเคลือ่ นทีเ่ ขาหากัน และ เคลือ่ นทีเ่ ขาแทนทีก่ นั เนือ่ งจากมวลอากาศทัง้ สองมีแรงผลักดัน เมื่อเกิดการ
มวลอากาศทัง้ สองมีแรงผลักดันเทากัน จึงเกิด เทากัน จึงเกิดสภาวะสมดุลของแนวปะทะอากาศขึ้น ทําใหเกิด ปะทะกันของมวล
ภาวะสมดุลของแนวปะทะอากาศขึ้น แนวปะทะอากาศที่ไมเคลื่อนที่อยูชวงระยะเวลาหนึ่ง จนกระทั่ง อากาศ 2 มวล
นอกจากทําใหเกิดเมฆแลว ยัง
6. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน มวลอากาศใดมีแรงผลักดันมากขึ้นแนวปะทะอากาศจึงเกิดการ ทําใหเกิดปรากฏการณใดบาง
วา เมื่อเกิดการปะทะกันของมวลอากาศ 2 เปลี่ยนแปลงไปเปนแนวปะทะอากาศอื่นตอไป
มวล นอกจากจะทําใหเกิดเมฆแลว ยังทําให
เกิดปรากฏการณใดบาง Topic
Question
ขยายความเข้าใจ
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic 1. มวลอากาศมีลักษณะอยางไร
Question ลงในสมุดเปนรายบุคคล 2. แนวปะทะอากาศเกิดขึ้นไดอยางไร
3. แนวปะทะอากาศอุนกับแนวปะทะอากาศเย็น มีลักษณะแตกตางกันอยางไร
4. แนวปะทะอากาศชนิดใดทําใหเกิดฝนตกเปนบริเวณกวาง
5. อธิบายการเกิดเมฆตามแนวปะทะอากาศรวมวา มีลักษณะอยางไร และเกิดเมฆชนิดใด

Earth Science
Focus เมฆกับการพยากรณ์อากาศ
การศึกษาเกี่ยวกับเมฆจะชวยพยากรณสภาพอากาศได โดยการสังเกตลักษณะและสีของเมฆ
เชน หากเมฆมีลักษณะเปนริ้ว ๆ คลายขนนก บงบอกไดวาสภาพอากาศแจมใส หากเมฆมีลักษณะ
เปนแผนสีเทา ปกคลุมบริเวณกวาง บงบอกไดวา อาจ
เกิดฝนตกไมหนักแตเปนเวลานาน หากเมฆมีลกั ษณะ
เปนกอนหนาทึบสีดาํ บงบอกไดวา อาจเกิดพายุฝนฟา
คะนองได ซึง่ การพยากรณสภาพอากาศนีม้ ปี ระโยชน
ตอการวางแผนการเดินทาง หรือการทํากิจกรรมตาง ๆ
ในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ เมฆยังทําใหเกิดฝน
ซึ่งฝนมีบทบาทสําคัญตอการเจริญเติบโตของพืชที่
เปนแหลงที่อยูอาศัยและแหลงอาหารของมนุษยและ ภาพที่ 4.36 สภาพอากาศ1
สัตว ทั้งยังชวยใหอากาศชุมชื่นและเย็นสบาย ที่มา : คลังภาพ อจท.

แนวตอบ H.O.T.S.
การปะทะกันของอากาศ นอกจากจะเกิดเมฆ 24
แลว ยังทําใหเกิดพายุฝนฟาคะนองกระจายเปน
บริเวณกวาง

นักเรียนควรรู แนวตอบ Topic Question


1. มวลอากาศ คือ กลุมอากาศที่มีลักษณะเปนกอนขนาดใหญ โดยมี
1 สภาพอากาศ คือ ลักษณะเงื่อนไขของบรรยากาศที่อยูบริเวณใกลผิวโลก ความชื้น ปริมาณไอนํ้า และอุณหภูมิเทากันทั้งกอน
ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง ซึ่งไดจากการเฉลี่ยขอมูลสภาพอากาศระยะยาว โดย 2. แนวปะทะอากาศ เกิดจากมวลอากาศ 2 มวล เคลื่อนที่มาปะทะกัน จะ
ปกติเมือ่ กลาวถึงภูมอิ ากาศ จะระบุขอบเขตของพืน้ ที่ เชน ภูมอิ ากาศตามละติจดู เกิดแนวหรือขอบเขตระหวางมวลอากาศทั้งสอง ซึ่งมวลอากาศเย็นที่มี
ภูมิอากาศของภูมิภาค ภูมิอากาศทองถิ่น ความหนาแนนมากกวาจะจมตัวลง สวนมวลอากาศรอนจะลอยตัวขึ้น
3. แนวปะทะอากาศอุน เปนแนวปะทะอากาศที่เกิดจากมวลอากาศอุน
เคลือ่ นทีเ่ ขาหามวลอากาศเย็น ทําใหเกิดฝนตกกระจายเปนบริเวณกวาง
สวนแนวปะทะอากาศเย็น เปนแนวปะทะอากาศที่เกิดจากมวลอากาศ
เย็นเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศอุน ทําใหเกิดพายุฝนฟาคะนอง
4. แนวปะทะอากาศอุน
5. แนวปะทะอากาศรวม เปนแนวปะทะอากาศที่เกิดจากมวลอากาศเย็น
ที่มีคุณสมบัติตางกันเคลื่อนที่มาปะทะกัน แลวดันใหมวลอากาศอุน
บริเวณนัน้ ลอยตัวสูงขึน้ อยูบ นมวลอากาศเย็น และกอตัวเปนเมฆคิวมูโล-
นิมบัส สงผลใหเกิดพายุฝน
T26
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
Earth Science 1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง แนวปะทะ
in real life มนุษยสามารถสรางเมฆไดโดยนําเครือ่ งบินไปบินอยูใ น อากาศ
ระดับของการควบแนน ทําใหไอนํา้ ทีล่ อยอยูใ นอากาศรอนทีพ่ น ออกมาจากเครือ่ งยนตปะทะ 2. ครูอธิบายความรูเชื่อมโยงเขาสูชีวิตประจําวัน
เขากับอากาศเย็นที่อยูภายนอก แลวเกิดการควบแนนเปนหยดนํ้า ซึ่งทําใหมองเห็นควัน เรื่อง ความแตกตางของสีกอนเมฆแตละชนิด
เมฆสีขาวพนออกมาทางทายของเครื่องยนตเปนทางยาว เรียกวา คอนเทรล (contrail) วา จะสงผลตอสภาพอากาศอยางไร เชน
มีลักษณะคลายกับการสรางฝนเทียม โดยเครื่องบินจะโปรยสารเคมีซิลเวอรไอโอไดด • เมฆสีเขียว เกิดจากการกระเจิงของแสงเมือ่
เพื่อทําหนาที่เปนแกนควบแนนใหไอนํ้าในอากาศมาจับตัว และควบแนนกลายเปนเมฆ
กระทบกับนํ้าแข็ง สงผลใหเกิดพายุฝนและ
โดยเมฆแตละชนิดจะมีรปู ราง ลักษณะ และสีแตกตางกัน ซึง่ สีของเมฆสามารถอธิบายถึง
อาจกอใหเกิดลูกเห็บ
การเกิดปรากฏการณตาง ๆ ได ดังนี้
• เมฆสีเหลือง เกิดจากฝุนและควันในอากาศ
1. เมฆสีเขียว เกิดจากการ 2. เมฆสีเหลือง เปนเมฆที่พบได 3. เมฆสีแดง สีสม หรือ เปนอันตรายตอการหายใจของมนุษย
กระเจิ ง ของแสงอาทิ ต ย ไมบอยนัก อาจเกิดขึ้นไดใน สีชมพู เปนเมฆที่จะเกิดใน • เมฆสีแดง สีสม หรือสีชมพู เปนเมฆที่เกิด
เมื่อตกกระทบกับนํ้าแข็ง ชวงปลายฤดูใบไมผลิไปจนถึง ช ว งพระอาทิ ต ย ขึ้ น และ ในชวงดวงอาทิตยขึ้นหรือดวงอาทิตยตก
โดยเมฆคิวมูโลนิมบัสที่มี ชวงตนของฤดูใบไมรว ง ซึง่ เปน พระอาทิตยตก โดยเกิ1 ดจาก
สีเขียว บงบอกถึงการกอตัว ชวงทีเ่ กิดไฟปาไดงา ย โดยเมฆ การกระเจิงของแสงในชั้น
ของพายุฝน และอาจเกิด สีเหลืองนัน้ เกิดจากฝุน และควัน บรรยากาศ
ลูกเห็บ ในอากาศ

ภาพที่ 4.37 เมฆสีเขียว ภาพที่ 4.38 เมฆสีเหลือง ภาพที่ 4.39 เมฆสีแดง สีสม
ที่มา : https://www.online- ที่มา : คลังภาพ อจท. หรือสีชมพู
station.net ที่มา : คลังภาพ อจท.

เสถียรภาพอากาศ 25
และแนวปะทะอากาศ

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เมฆสีเหลืองเกิดจากลักษณะอากาศอยางไร 1 การกระเจิงของแสง สีของทองฟาเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ตอนกลางวัน
1. เกิดจากการควบแนนของไอนํ้าในอากาศ ทองฟาเปนสีฟา สวนตอนเชาและตอนเย็นทองฟาเปนสีสมแดง ปรากฏการณนี้
2. เกิดจากการกระเจิงของแสงในชั้นบรรยากาศชวงเชา เกิดขึ้นเพราะการกระเจิงของแสง
3. เกิดจากการกระเจิงของแสงอาทิตยเมือ่ ตกกระทบกับนํา้ แข็ง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการกระเจิงของแสง
4. เกิดจากการกระเจิงของแสงอาทิตยเมือ่ ตกกระทบกับความ • ขนาดความยาวคลื่นแสง
รอนในอากาศ • ขนาดของสิ่งกีดขวาง
5. เกิดจากฝุนละอองและควันในอากาศในชวงฤดูใบไมรวงซึ่ง • มุมที่แสงตกกระทบกับบรรยากาศ
เปนชวงที่เกิดไฟปาไดงาย • ปริมาณสารแขวนลอยในอากาศ
(วิเคราะหคําตอบ เมฆสีเหลือง เปนเมฆที่พบไดไมบอยนัก อาจ
เกิดขึน้ ไดในชวงปลายฤดูใบไมผลิไปจนถึงชวงตนของฤดูใบไมรว ง
ซึ่งเปนชวงที่เกิดไฟปาไดงาย โดยเมฆสีเหลืองนั้นเกิดจากฝุนและ
ควันในอากาศ ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T27
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
3. ครูสรุปเนื้อหา เพื่อใหผูเรียนไดทบทวนสาระ
Summary
สํ า คั ญ ประจํ า หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 4 เรื่ อ ง เสถียรภาพอากาศและ
เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะอากาศ โดย แนวปะทะอากาศ
อธิบายในแตละเรื่องไว ดังนี้ 1
เมฆและการเกิดเมฆ
• เมฆและการเกิดเมฆ เมฆเกิดจากผลของ เมฆเกิดจากการยกตัวของกลุ่มอากาศจนถึงระดับการควบแน่น ซึ่งกลุ่มอากาศจะควบแน่นและรวมตัวกัน
การควบแนนของไอนํ้าในอากาศ รวมตัว • การเกิดเมฆ
กันดวยอนุภาคเล็กๆ ของแกนกลั่น เชน แรงโน้มถ่วงของโลก

ฝุนละอองที่ลอยอยูในอากาศ เปนตัวชวย กลุ่มอากาศยกตัวสูงขึ้นต่อไป ละอองน�้าในเมฆ แรงโน้มถ่วง


ของโลก
อุณหภูมิจะลดลง 6 �C อาจมีขนาดเล็ก
ให เ กิ ด การรวมตั ว กั น ของไอนํ้ า เพิ่ ม มาก ต่อ 1,000 เมตร
ไอน�้าควบแน่น
ยิ่งขึ้น จนกลายเปนกอนเมฆขนาดใหญบาง แล้วรวมตัวกันเป็นเมฆ
แรงพยุง

เล็กบาง เมฆมีอยูหลายชนิดดวยกัน ซึ่ง แรงพยุง


แตละชนิดก็จะมีรปู รางทีแ่ ตกตางกันออกไป อุณหภูมิของกลุ่มอากาศ
เมฆแบงตามความสูงไดเปน 3 ชนิด ไดแก ลดลง 10 �C ต่อ 1,000 เมตร
เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นตํ่า

กลุ่มอากาศ (air parcel) ยกตัวสูงขึ้น ภาพที่ 4.40 การเกิดเมฆ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

• ชนิดของเมฆ (เมื่อพิจารณาจากระดับความสูงของฐานเมฆ)

ซีรรัส
เมฆชั้นสูง ซีรโรคิวมูลัส
ซีรโรสเตรตัส
เมฆชั้นกลาง

แอลโตคิวมูลสั
แอลโตสเตรตัส

เมฆชั้นตํ่า

นิมโบสเตรตัส สเตรโทคิวมูลัส คิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส


ภาพที่ 4.41 ชนิดของเมฆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
26

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 การเกิดเมฆ เกิดจากการควบแนนของไอนํ้าในอากาศ รวมตัวกันดวย ใหนักเรียนเขียนสรุป เรื่อง เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะ
อนุภาคเล็กๆ ของแกนกลั่น เชน ฝุนละอองที่ลอยอยูในอากาศ เปนตัวชวยให อากาศ ลงในสมุด โดยใหนักเรียนเขียนสรุปในรูปแบบที่สามารถ
เกิดการรวมตัวกันของไอนํา้ เพิม่ มากยิง่ ขึน้ จนกลายเปนกอนเมฆขนาดใหญบา ง สื่อสารใหผูอื่นเขาใจงายและนาสนใจ เชน ผังมโนทัศน แผนภาพ
เล็กบาง โดยเมฆมีอยูห ลายชนิด ซึง่ แตละชนิดก็จะมีรปู รางทีแ่ ตกตางกันออกไป อินโฟกราฟก

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน และชวยกันสืบคน
ขอมูลเกี่ยวกับการเกิดเมฆและชนิดของเมฆ แลวนํามาจัดทําโดย
โปรแกรมนําเสนองาน (Microsoft PowerPoint) และออกมา
นําเสนอหนาชั้นเรียนในชั่วโมงถัดไป

T28
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
4. ครูอธิบาย เรื่อง เสถียรภาพของอากาศ แบง
เสถียรภาพของอากาศ ออกเปนอากาศมีเสถียรภาพเปนกลุม อากาศที่
• อากาศมีเสถียรภาพ (stable air) เป็นกลุ่มอากาศที่มีอุณหภูมิต�่า และมีความดันสูงกว่าอากาศโดยรอบ มีอณุ หภูมติ าํ่ และมีความดันสูงกวาอากาศโดย
จะท�าให้ท้องฟ้าแจ่มใส มักพบในช่วงเช้าหรือฤดูหนาว
รอบ อากาศไมมีเสถียรภาพเปนกลุมอากาศที่
• อากาศไม่มีเสถียรภาพ (unstable air) เป็นกลุ่มอากาศที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศโดยรอบ ท�าให้ท้องฟ้าที่มี
เมฆปกคลุมมาก มักพบในช่วงบ่ายหรือในฤดูร้อน มีอุณหภูมิสูงกวาอากาศโดยรอบ
5. ครูอธิบาย เรื่อง แนวปะทะอากาศ คือ มวล
อากาศ 2 มวล เคลือ่ นตัวมาพบกัน อากาศของ
แนวปะทะอากาศ
เมื่อมวลอากาศ 2 มวล เคลื่อนที่มาปะทะกัน จะเกิดแนวหรือขอบเขตระหว่างมวลอากาศทั้งสอง มวลทั้งสองจะไมปนกันทันที แตจะกอใหเกิด
แนวหรือขอบเขตระหวางมวลอากาศทั้งสอง
• แนวปะทะอากาศอุ่น มวลอากาศเย็นซึ่งมีความหนาแนนมากกวา
ลม - มวลอากาศอุ่นเคลื่อนที่ และหนั ก กว า มวลอากาศร อ นจะผลั ก ดั น
เข้าหามวลอากาศเย็น อากาศรอนใหลอยขึน้ ทําใหเกิดเปนเมฆตางๆ
มวลอากาศอุ่น - เกิดฝนตกกระจายเป็น เกิดพายุฝนฟาคะนองตามแนวหรือขอบเขต
มวลอากาศเย็น บริเวณกว้าง ที่มวลอากาศทั้งสองมาพบกัน แบงออกเปน
แนวปะทะอากาศอุน แนวปะทะอากาศเย็น
แนวปะทะอากาศรวม และแนวปะทะอากาศ
คงที่
ภาพที่ 4.42 แนวปะทะอากาศอุ่น
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• แนวปะทะอากาศเย็น
ลม - มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่
เข้าหามวลอากาศอุ่น
- เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง

มวลอากาศเย็น มวลอากาศอุ่น

ภาพที่ 4.43 แนวปะทะอากาศเย็น


ที่มา : คลังภาพ อจท.
เสถียรภาพอากาศ 27
และแนวปะทะอากาศ

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3 คน ครูอาจสรุปเนื้อหา เรื่อง เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะอากาศ รวมกับ
2. ใหนักเรียนรวมกันเขียนสรุป เรื่อง แนวปะทะอากาศ ลงใน นักเรียน โดยอาจจะวาดภาพประกอบเปนผังมโนทัศนลงบนกระดาน หรือเปด
กระดาษ A4 ที่ครูแจกให คลิปวิดโี อ หรือสือ่ การเรียนรูด จิ ทิ ลั เรือ่ ง เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะอากาศ
3. สมาชิกในกลุม รวมกันเลือกและจัดเตรียมขอมูล เพือ่ นํามาเสนอ เพื่อใหนักเรียนภายในหองเรียนมองเห็นภาพและเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น
ตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจ
4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
ไดงาย
5. ครูและนักเรียนภายในหองเรียนรวมกันสรุป เรื่อง แนวปะทะ
อากาศ ลงบนกระดานหนาชั้นเรียน

T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
6. ครูใหนักเรียนตอบคําถาม Self Check เพื่อให • แนวปะทะอากาศรวม
ผูเ รียนตรวจสอบความรูค วามเขาใจดวยตนเอง ลม - มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่
ในหนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรือ่ ง เสถียรภาพอากาศ มวลอากาศอุ่น เข้าหากัน
และแนวปะทะอากาศ - เกิดพายุฝน
7. ครูใหนกั เรียนทําใบงาน เรือ่ ง แนวปะทะอากาศ
และนํามาสงในชั่วโมงถัดไป

ขัน้ ประเมิน มวลอากาศเย็น มวลอากาศเย็น


ตรวจสอบผล
ภาพที่ 4.44 แนวปะทะอากาศรวม
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
• แนวปะทะอากาศคงที่
รายบุคคล เกิดจากมวลอากาศอุ่นและมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้าหากัน แต่ไม่เคลื่อนที่เข้าแทนที่กัน เนื่องจาก
3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการทํางานกลุม มวลอากาศทั้งสองมีแรงผลักดันเท่ากัน จึงเกิดสภาวะสมดุลของแนวปะทะอากาศขึ้น
4. ครูตรวจผลการทําแบบฝกหัด เรือ่ ง เสถียรภาพ
อากาศและแนวปะทะอากาศ
5. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง แนว
ปะทะอากาศ Self Check
ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยพิจารณาขอความว่าถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาขอความไม่ถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอที่กําหนดให
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. ฝุนผงในบรรยากาศเป็นสิ่งที่ช่วยท�าให้เกิดการควบแน่นของไอน�้า 1.
เป็นเมฆ
2. เมฆคิวมูลัสที่มีลักษณะหนาทึบขนาดใหญ่ สีด�า ภายในเต็มไปด้วย 1.
หยดน�้าที่อัดตัวกันแน่น ซึ่งท�าให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง

ุด
3. อากาศไม่มเี สถียรภาพเป็นกลุม่ อากาศทีท่ า� ให้เกิดเมฆทีก่ อ่ ตัวในแนวตัง้ 2.
สม
เช่น เมฆคิวมูโลนิมบัส เมฆคิวมูลัส ใน
ลง
ทึ ก
บั น

4. แนวปะทะอากาศเย็นเกิดจากมวลอากาศเย็นที่มีคุณสมบัติต่างกัน 3.
เคลื่อนที่เข้าหากัน ท�าให้เกิดเมฆคิวมูโลนิมบัส ซึ่งส่งผลให้เกิดพายุฝน
5. แนวปะทะอากาศอุ่นท�าให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง 3.
แนวตอบ Self Check
28
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ผิด

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน โดยศึกษาเกณฑ แนวปะทะอากาศ แบงเปนกี่ประเภท อะไรบาง
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ทีแ่ นบมาทาย (แนวตอบ 4 ประเภท ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 เสถียรภาพอากาศและแนวปะทะ • แนวปะทะอากาศอุ  น เป น แนวปะทะอากาศที่ เ กิ ด จากมวล
อากาศ อากาศอุนเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศเย็น
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
• แนวปะทะอากาศเย็น เปนแนวปะทะอากาศที่เกิดจากมวล
อากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศอุน
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชื่อ–สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน

• แนวปะทะอากาศรวม เป น แนวปะทะอากาศที่ เ กิ ด จาก


ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

มวลอากาศเย็นที่มีคุณสมบัติตางกันเคลื่อนมาปะทะกัน
• แนวปะทะอากาศคงที่ เกิดจากมวลอากาศอุนและมวลอากาศ
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เย็นเคลื่อนที่เขาหากัน แตไมเคลื่อนที่เขาแทนที่กัน)
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง

T30
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

เฉลย Unit Question 4


ww
U nit
คําชี้แจง :
Question 4
ให นั ก เรี ย นตอบคํ า ถามต อ ไปนี้
1. ความดันอากาศ อุณหภูมขิ องอากาศ และพืน้ ผิว
ที่ใหหยดนํ้าเกาะตัว
2. เมฆคิวมูโลนิมบัส
1. ปจจัยใดที่ชวยใหเกิดการควบแนนของไอนํ้าเปนกอนเมฆ
3. เมฆซีรโรสเตรตัส มีลักษณะเปนริ้วคลายเสนใย
2. เมฆชนิดใดที่มีลักษณะหนาทึบขนาดใหญ มีสีดํา ภายในเปนกอนเมฆเต็มไปดวยหยดนํ้าที่อัด ตอกันเปนแผนสีขาว แผปกคลุมทัว่ ทองฟา หาก
ตัวกันแนน เกิดการหักเหแสงจะทําใหเกิดปรากฏการณ
3. เมฆชั้นใดมีสวนทําใหเกิดปรากฏการณอาทิตยทรงกลด พระอาทิตยทรงกลด
4. เมฆคิวมูโลนิมบัส เปนเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง
4. เมฆที่กอตัวในแนวตั้งมีความสูงเทาไร ฐานเมฆอยูในระดับใกลผิวโลก และยอดเมฆ
5. เมฆแอลโตคิวมูลัส เปนเมฆชั้นใดมีลักษณะอยางไร อาจสูงถึง 10 กิโลเมตร
5. เปนเมฆชั้นกลาง มีฐานเมฆอยูในระดับความ
6. เมฆชนิดใดเกิดขึ้นเมื่อเกิดพายุฝนฟาคะนอง
สูงระหวาง 2,000-6,000 เมตรจากผิวโลก มี
7. เมฆชั้นสูง ชั้นกลาง ชั้นตํ่า แตกตางกันหรือไม อยางไร ลักษณะเปนกอนสีขาว มีการจัดตัวเปนคลื่น
หรือลักษณะคลายเปนเกล็ด
8. อากาศมีเสถียรภาพ มีลักษณะอยางไร
6. เมฆคิวมูโลนิมบัส
9. อากาศไมมีเสถียรภาพ อุณหภูมิของอากาศแตกตางจากอุณหภูมิอากาศโดยรอบอยางไร 7. เมฆชั้นสูง มีฐานเมฆอยูในระดับความสูงมาก
10. แนวปะทะอากาศเกิดขึ้นไดอยางไร กวา 6,000 เมตรจากผิวโลก ซึ่งในระดับความ
สูงนี้ สภาพอากาศจะหนาวและแหงแลง องค-
11. แนวปะทะอากาศใดกอใหเกิดฝนตกในบริเวณกวางและเปนเวลานาน ประกอบภายในเมฆประกอบดวยผลึกนํ้าแข็ง
12. เหตุใดหมอกจึงมักเกิดขึ้นตามภูเขาในตอนเชาที่มีอากาศเย็น ไดแก ซีรร สั ซีรโ รสเตรตัส และซีรโ รคิวมูลสั เมฆ
ชัน้ กลาง มีฐานเมฆอยูใ นระดับความสูงระหวาง
13. สิ่งที่ชวยใหเกิดการกลั่นตัวของไอนํ้าเปนกอนเมฆคืออะไร 2,000-6,000 เมตรจากผิวโลก องคประกอบ
14. ปจจัยใดที่สงผลทําใหเกิดแนวปะทะอากาศทั้ง 4 ประเภท ภายในเมฆเปนผลึกนํา้ แข็งและละอองนํา้ ไดแก
แอลโตสเตรตรัสและแอลโตคิวมูลัส สวนเมฆ
15. แนวปะทะอากาศรวมมีลักษณะแตกตางกับแนวปะทะอากาศคงที่อยางไร ชั้นตํ่า มีฐานเมฆใกลพื้นโลก ซึ่งมีระดับความ
สูงตํ่ากวา 2,000 เมตร ไดแก สเตรโทคิวมูลัส
นิมโบสเตรตัส และคิวมูลัส
8. อากาศมีเสถียรภาพจะมีทองฟาแจมใส มีเมฆ
นอยหรือไมมเี มฆ มักพบในชวงเชาหรือในฤดูหนาว
เสถียรภาพอากาศ 29
และแนวปะทะอากาศ

9. อากาศมีอุณหภูมิสูงกวาอากาศโดยรอบ สภาวะอากาศไมมีเสถียรภาพจะเปนทองฟาที่มีเมฆฝนปกคลุมและเกิดหยาดนํ้าฟา มักจะเกิดขึ้นในชวงเวลาที่มี


อุณหภูมิสูง เชน ชวงบายหรือในฤดูรอน
10. แนวปะทะอากาศ เกิดจากมวลอากาศ 2 มวล เคลื่อนที่มาปะทะกัน ทําใหเกิดแนวหรือขอบเขตระหวางมวลอากาศทั้งสอง ซึ่งมวลอากาศเย็นที่มีความ
หนาแนนมากกวาจะจมตัวลง สวนมวลอากาศรอนจะลอยตัวขึ้น
11. แนวปะทะอากาศอุน
12. ในชวงเชาจะมีอากาศจะเย็นมาก ไอนํ้าใกลผิวดินยังไมระเหยหายไป จึงทําใหเกิดหมอกในชวงเชา
13. อุณหภูมิและความดันของอากาศ
14. มวลอากาศอุน มวลอากาศเย็น และลม
15. แนวปะทะอากาศรวม เปนแนวปะทะอากาศทีเ่ กิดจากมวลอากาศเย็นทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ า งกันเคลือ่ นทีม่ าปะทะกัน กอใหเกิดพายุฝน สวนแนวปะทะมวลอากาศ
คงที่ เกิดจากมวลอากาศอุนและมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหากัน แตไมเคลื่อนที่เขาแทนที่กัน เนื่องจากมวลอากาศทั้งสองมีแรงผลักดันเทากัน จึงเกิด
ความสมดุลของแนวปะทะอากาศขึ้น

T31
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ - แ บบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลี่ยนแปลง - ห นังสือเรียนรายวิชา การเปลี่ยนแปลงของ หาความรู้ ก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
ภูมิอากาศ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ภูมิอากาศโลกได้ (K) (5Es - ประเมินการน�ำเสนอ - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
ของโลก และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 2. อธิบายข้อมูลสนับสนุน Instructional ผลงาน - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา การเปลี่ยนแปลงภูมิ Model) - ตรวจแบบฝึกหัด เรือ่ ง ร่วมกัน
6 เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ อากาศของโลกได้ (K) การเปลี่ยนแปลง - ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 3. ส
 บ
ื ค้ น และน�
ำ เสนอข้ อ มู ล ภูมิอากาศของโลก ไปใช้
- ใบงาน จากแหล่งข้อมูลได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint 4. มีความกระตือรืนร้นและ การท�ำงานรายบุคคล
- QR Code รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
ที่ได้รับมอบหมาย (A) การท�ำงานกลุ่ม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น
5. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A) - สังเกตคุณลักษณะ
Twig อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ - แ บบสืบเสาะ - ประเมินการน�ำเสนอ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


ปรากฏการณ์ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง หาความรู้ ผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
ที่เกิดจากการ และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 ของภูมิอากาศโลกได้ (K) (5Es - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
เปลี่ยนแปลง - แบบฝึกหัดรายวิชา 2. เปรียบเทียบปรากฏการณ์ Instructional ปรากฏการณ์เอลนีโญ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
ภูมิอากาศ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ เอลนีโญ ลานีญา และลานีญา ร่วมกัน
Model)
ของโลก และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 ปรากฏการณ์เรือนกระจก - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการน�ำความรู้
- ใบงาน และคลื่นความร้อนได้ (K) ปรากฏการณ์ ไปใช้
12 - Power Point 3. อธิบายผลกระทบและวิธี เรือนกระจก
ชั่วโมง - QR Code การแก้ปัญหาที่เกิดจาก - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้ การท�ำงานรายบุคคล
Twig 4. สืบค้นและน�ำเสนอข้อมูล - สังเกตพฤติกรรม
จากแหล่งข้อมูลได้ (P) การท�ำงานกลุ่ม
5. มีความกระตือรืนร้นและ - สังเกตคุณลักษณะ
รับผิดชอบต่อหน้าที่ อันพึงประสงค์
ที่ได้รับมอบหมาย (A)
6. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A)

แผนฯ ที่ 3 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายแนวปฏิบัติเพื่อ - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


แนวปฏิบัติ - หนังสือเรียนรายวิชา ชะลอการเปลี่ยนแปลง หาความรู้ หลังเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
เพื่อชะลอการ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ภูมิอากาศของโลกได้ (K) (5Es - ประเมินการน�ำเสนอ - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
เปลี่ยนแปลง และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 2. สืบค้นและน�ำเสนอข้อมูล Instructional ผลงาน - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
ภูมิอากาศ - แบบฝึกหัดรายวิชา จากแหล่งข้อมูลได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม ร่วมกัน
Model)
ของโลก เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ 3. มีความกระตือรืนร้นและ การท�ำงานรายบุคคล - ทักษะการน�ำความรู้
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม ไปใช้
2 - ใบงาน ที่ได้รับมอบหมาย (A) การท�ำงานกลุ่ม
ชั่วโมง - Power Point 4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A) - สังเกตคุณลักษณะ
- QR Code อันพึงประสงค์
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - ตรวจแบบฝึกหัด
Twig เรื่อง แนวปฏิบัติเพื่อ
ชะลอการเปลีย่ นแปลง
ภูมิอากาศของโลก

T32
Chapter Concept Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
สภาพอากาศ (weather) คือ การเปลี่ยนแปลงปรากฏการณที่
เกิดขึน้ ในบรรยากาศระยะสัน้ สวนการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
(climate) เปนการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณที่เกิดในบรรยากาศ
ระยะยาวตั้งแตหนึ่งสัปดาหเปนตนไปจนถึงหลายป

ปรากฏการณที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก

• ปรากฏการณเอลนีโญ คือ ปรากฏการณทกี่ ระแสนํา้ อุน ถูกพัด • ปรากฏการณลานีญา คือ ปรากฏการณทกี่ ระแสนํา้ อุน ถูกพัด
จากฝง ตะวันออกไปฝง ตะวันตกของมหาสมุทรนอยลงสงผล จากฝง ตะวันออกไปฝง ตะวันตกของมหาสมุทรมากขึน้ ทําให
ใหฝง ตะวันออกของมหาสมุทรมีฝนตกชุก สวนฝงตะวันตก เกิดความหนาวเย็นและแหงแลงมากกวาปกติ ฝงตะวันตก
มีสภาพแหงแลง จะมีฝนตกหนักกวาปกติ

ทิศทางลม

อุนกวาปกติ เสนศูนยสูตร
เย็นกวาปกติ อเมริกาใต
ออสเตรเลีย

• ปรากฏการณเรือนกระจก คือ ปรากฏการณที่ใชเรียก • คลืน่ ความรอน คือ ปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ


กระบวนการของอากาศบนโลกที่มีลักษณะคลายกับกระจก โดยทีส่ ภาวะอากาศมีอณุ หภูมสิ งู กวาปกติและสะสมตัวอยูใ น
หอหุมโลกไว ทําใหภายในเรือนกระจกมีอุณหภูมิสูงกวา พืน้ ทีบ่ ริเวณหนึง่ สวนใหญเกิดในฤดูรอ นหรือวันทีม่ อี ณุ หภูมิ
ภายนอก เมื่อแสงอาทิตยสองผานลงมายังชั้นบรรยากาศ อากาศสูงสุดในรอบหลายป
ของโลกรังสีความรอนบางสวนจะสะทอนกลับออกไป บางสวน
ไมสามารถสะทอนออกไปได เนื่องจากโลกถูกหอหุมดวย
แกสเรือนกระจก

แนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) แนะนําแนวทางไว 2 ขอ ดังนี้
• การบรรเทา ทําไดโดยการลดการปลดปลอยแกสเรือนกระจกและรักษาระดับแกสเรือนกระจกในบรรยากาศไว
• การปรับตัว ทําไดโดยการปรับตัวใหพรอมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อใหสามารถดํารงอยูและดําเนินกิจกรรมหรือ
วิถีชีวิตตอไปไดภายใตสถานการณที่สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป

T33
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก เพื่อวัด
ความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูกิจกรรม หนวยการเรียนรูที่
การเปลีย่ นแปลง
2. ครูกระตุนความสนใจโดยใหนักเรียนดูเนื้อหา
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก และ
ครูถามคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน
โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2 ดังนี้
5
วิกฤติโลกร้อนในปจจุบันเปนสาเหตุสําคัญ
ภูมิอากาศของโลก
ที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย
ï• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกเกิดขึ้นได ปัจจัยทีส่ ง่ ผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงนีม้ าจากธรรมชาติ และการกระท�าของมนุษย์ ซึง่ ส่งผลกระทบ
อยางไร ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ
ï• ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญาเกิดขึ้น
จากความผิดปกติของอะไร
ï• หากในบรรยากาศไมมีแกสเรือนกระจกจะ • ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÀÙÁÔÍÒ¡ÒÈâÅ¡à¡Ô´¢Öé¹ä´Œ
Í‹ҧäÃ
สงผลตอภูมิอากาศโลกอยางไร • »ÃÒ¡¯¡ÒóàÍŹÕâÞáÅÐÅÒ¹ÕÞÒà¡Ô´¢Öé¹
3. ครูใหนักเรียนทํา Understanding Check ¨Ò¡¤ÇÒÁ¼Ô´»¡µÔ¢Í§ÍÐäÃ
หนวยที่ 5 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ • Ëҡ㹺ÃÃÂÒ¡ÒÈäÁ‹ÁáÕ ¡ÊàÃ×͹¡ÃШ¡
¨ÐÊ‹§¼Åµ‹ÍÍسËÀÙÁÔ âÅ¡Í‹ҧäÃ
โลก เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจของตนเอง
กอนเรียน


U n de r s t a n d i ng
Che�
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิดแล้วบันทึกลงในสมุด
ภาพที่ 1.4ย่ นแปลงความรี
การเปลี ของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิ
สัดส่วนของสารประกอบต่ าง ๆ ตย์ เป็นปัจจัยหนึง่ ทีส่ ง่ ผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลก
ทีลานี ญาเป็นปรากฏการณ์
่พบในโครงสร้ ที่เ้นกี่ยวข้องกับกระแสน�้าเย็น
างโลกแต่ละชั
แก๊สเรือนกระจกท�าหน้าที่ช่วยดูดซับและคายรังสีความร้อนกลับสู่พื้นโลก
แก๊สไนตรัสออกไซด์เป็นแก๊สที่มีบทบาทส�าคัญและมีปริมาณมากที่สุดในอากาศ
การหลีกเลี่ยงแดดจัดในช่วงเวลา 10.00-15.00 น. เป็นวิธีการป้องกันคลื่นความร้อนได้
แนวตอบ Understanding Check
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• สวนใหญเกิดจากกิจกรรมของมนุษยทมี่ ผี ลทําใหภมู อิ ากาศเปลีย่ นแปลง
ในการเรียนการสอน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ครูอาจ
เชน กิจกรรมทีท่ าํ ใหปริมาณแกสเรือนกระจกในบรรยากาศเพิม่ มากขึน้
ชักชวนนักเรียนพูดคุยและอภิปรายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
ซึง่ เปนสาเหตุใหภาวะเรือนกระจกรุนแรงกวาทีค่ วรจะเปนตามธรรมชาติ
ของโลกในปจจุบนั โดยครูอาจตัง้ คําถามถามนักเรียนวา นักเรียนเคยสังเกตเห็น
และสงผลใหอุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ที่เรียกวา ภาวะโลกรอน
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทยบางหรือไม และมีลักษณะอยางไร
• เกิดจากความผิดปกติของลม
แล ว ปล อ ยให นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายหาคํ า ตอบอย า งอิ ส ระโดยครู อ าจใช
• จะสงผลใหอุณหภูมิโลกรอนจัดและหนาวจัด
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง อิทธิพลของสภาพภูมิอากาศมาชวยในการ
อภิปราย https://www.twig-aksorn.com/fifilm/climate-influences-8176/

T34
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
การเปลี่ยนแปลง 1. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 1. ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior
ภู มิ อ ากาศส ง ผลกระทบ ของโลก Knowledge ใหนักเรียนอภิปรายและแสดง
กับโลกอยางไรบาง ความคิดเห็นรวมกันกอนเขาสูห วั ขอทีเ่ รียนกับ
สภาพอากาศ (weather) คือ การเปลีย่ นแปลงปรากฏการณ์
ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศระยะสั้น ส่วนการเปลี่ยนแปลงสภาพ นักเรียนวาการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศสงผลกับ
ภูมิอากาศ (climate) เป็นการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์ที่เกิดในบรรยากาศระยะยาวตั้งแต่หนึ่ง โลกอยางไร
สัปดาห์เป็นต้นไปจนถึงหลายปี 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นเป ด หนั ง สื อ เรี ย น เรื่ อ ง การ
ปัจจุบันสภาพภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงของอากาศผิดปกติไปจากเดิมมาก เกิดความ เปลี่ ย นแปลงภู มิ อ ากาศของโลก และให
แปรปรวนของอากาศ เกิดภัยพิบัติธรรมชาติ นั ก เรี ย นอ า นข อ มู ล เพื่ อ ทํ า ความเข า ใจกั บ
ต่าง ๆ ทีพ่ บบ่อยและรุนแรงมากขึน้ กว่าในอดีต เนื้ อ หา หลั ง จากนั้ น ครู จ ะสุ  ม นั ก เรี ย นตอบ
ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ คําถามที่ครูถาม โดยมีคําถาม ดังนี้
ภูมิอากาศนั้นมีหลายประการทั้งจากธรรมชาติ ï• สภาพอากาศคืออะไร
และจากกิจกรรมของมนุษย์ เราจึงควรช่วยกัน (แนวตอบ สภาพอากาศ คือ การเปลีย่ นแปลง
ลดกิจกรรมที่ส่งผลท�าให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ของปรากฏการณที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ
ขึ้นในชั้นบรรยากาศโลก จนมีผลท�าให้สภาพ ระยะสั้น)
ภูมิอากาศในปัจจุบันเกิดความผิดปกติหรือ ï• มีวธิ ใี ดบางทีช่ ว ยลดการเกิดแกสเรือนกระจก
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากขึ้น ภาพที่ 5.1 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก (แนวตอบ ปลูกตนไม ไมปลอยสารเคมีลงสู
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Earth Science แหลงนํ้าหรือในอากาศ เปนตน)
Focus รายงานการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ï• IPCC คืออะไร
นักวิทยาศาสตร์ได้มีการศึกษาเรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพ (แนวตอบ คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวา
ภูมิอากาศมาหลายสิบปี ซึ่งด�าเนินการโดยคณะกรรมการระหว่าง ดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ)
รัฐบาลว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Intergovernmental
Panel on Climate Change; IPCC) โดยมีองค์กรอุตุนิยมวิทยาโลก
(World Meteorology Organizer; WMO) และโครงการสิง่ แวดล้อม
แห่งสหประชาชาติ (UNEP) เป็นคณะทีค่ อยให้คา� แนะน�า ซึง่ ให้ขอ้ มูล
ทีน่ า่ เชือ่ ถือเกีย่ วกับภาวะโลกร้อนทีไ่ ด้จากผลการศึกษาวิจยั และสถิติ
แนวตอบ Prior Knowledge
ของข้อมูลจากระบบสังเกตการณ์ทวั่ โลก ท�าให้ผลการศึกษาในรายงาน
ฉบับนี้มีปัจจัยที่แสดงถึงความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสงผลตอ
ภาพที่ 5.2 รายงานการเปลี่ยน- โลกในดานความเปนอยูของมนุษย ทรัพยากร
แปลงสภาพอากาศ
ที่มา : https://www.ipcc.ch/ ธรรมชาติตา งๆ และสิง่ มีชวี ติ เมือ่ สภาพภูมอิ ากาศ
report/ar5/ เกิดการเปลีย่ นแปลงจากความผิดปกติของอากาศ
การเปลี่ยนแปลง 31
จะทําใหเกิดความแปรปรวนของอากาศ เกิดภัย
ภูมิอากาศของโลก
พิบัติธรรมชาติตางๆ มากมาย ที่พบบอยและ
รุนแรงมากขึ้นกวาในอดีต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกสงผลใหเกิดภัยธรรมชาติ ครูอธิบายความรูเสริม เรื่อง รายงานการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ให
ที่เห็นไดชัดที่สุดคืออะไร นักเรียนฟง และพูดถึงคณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลง
1. เกิดพายุบอยขึ้น สภาพภูมิอากาศ หรือเรียกสั้นๆ วา IPCC ซึ่งเปนองคกรระหวางประเทศที่
2. ระดับนํ้าทะเลสูงขึ้น ทําหนาที่ประเมินการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กอตั้งขึ้นโดยโครงการ
3. เกิดคลื่นความรอนบอยขึ้น สิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO)
4. ปญหาภัยแลงทวีความรุนแรงขึ้น ในป พ.ศ. 2531 โดยมีจุดประสงคเพื่อใหทั่วโลกไดรับความรูเกี่ยวกับการ
5. ปริมาณฝนที่ตกในแตละปนอยลง เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและแนวโนมผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ
(วิเคราะหคาํ ตอบ การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลกในปจจุบนั นี้ และสังคม
เปนการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่เกิดภาวะโลกรอนซึ่ง
เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหอุณหภูมิความรอนของโลกสูงขึ้น สงผลให
นํ้าแข็งขั้วโลกละลายจนทําใหระดับของนํ้าทะเลเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
ทุกป ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ให นั ก เรี ย นจั บ คู  กั น จากนั้ น เขี ย นอธิ บ าย 1.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
ลักษณะอากาศที่พบในวันนี้ในพื้นที่ที่นักเรียน สมดุลพลังงานของโลก คือ กุญแจส�าคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
อาศั ย อยู  โดยเขี ย นบอกถึ ง ลั ก ษณะสภาพ หากสมดุลพลังงานของโลกเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน
อากาศวามีลักษณะเปนอยางไร เขียนบันทึก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้สรุปปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสมดุลพลังงานของโลกไว้ 5 ปัจจัยหลัก
ลงในสมุด ดังนี้
4. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ออกมานําเสนอขอมูล 1. การเปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากวงโคจร
ที่แตละคูเขียนอธิบายลักษณะอากาศที่พบใน ของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นรูปวงรี ท�าให้ปริมาณรังสีที่ดวงอาทิตย์ส่องมาถึงผิวโลกในช่วงที่โลก
วันนี้ อยูใ่ กล้ดวงอาทิตย์มากทีส่ ดุ (ระยะทางประมาณ 147 ล้านกิโลเมตร) กับช่วงทีโ่ ลกอยูไ่ กลดวงอาทิตย์
อธิบายความรู มากที่สุด (ระยะทางประมาณ 152 ล้านกิโลเมตร) มีค่าความแตกต่างกันประมาณ 6% เท่านั้น
แต่นกั วิทยาศาสตร์
1 บางส่วนเชือ่ ว่า โลกอยูใ่ นช่วงรอบการเปลีย่ นแปลงความรีของวงโคจรตามทฤษฎี
1. ครู อ ธิ บ ายป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลง มิแลนโควิทช์ ซึ่งเมื่อวงโคจรของโลกเปลี่ยนเป็นรูปวงรีมากขึ้น จะท�าให้ปริมาณรังสีดวงอาทิตย์ที่
ภูมอิ ากาศโลก โดยแบงเปน 5 ปจจัยหลัก ดังนี้ โลกได้รับในช่วงที่โลกอยู่ใกล้และไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุด มีความแตกต่างกันมากขึ้น ส่งผล
การเปลีย่ นแปลงความรีของวงโคจรของโลกรอบ ให้สภาพอากาศหนาวเย็นรุนแรงและยาวนานมากขึ้นในฤดูหนาว ในขณะที่ฤดูร้อนจะมีอุณหภูมิ
ดวงอาทิตย การเปลีย่ นแปลงมุมเอียงของแกน สูงมากขึ้นจากปกติ จึงกล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของปริมาณรังสีดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกมี
หมุนโลกและการหมุนควงของแกนหมุนโลก ผลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
ชนิดและปริมาณของละอองลอย เมฆ และ ภาพที่ 5.3 วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ในปัจจุบันและอนาคต
ปริมาณแกสเรือนกระจก ที่มา : https://www.pinterest.es/jjmreynolds/climate-change/
2. ครูอธิบายปจจัยเรือ่ งแรก คือ การเปลีย่ นแปลง การหมุนควง
ความรีของวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย
วามีความแตกตางของระยะทางระหวางโลกกับ 19-24,000 ปี
ดวงอาทิตย (โลกหมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงรี)
จะมี ผ ลต อ ความแตกต า งของอุ ณ หภู มิ ต าม ความผิดปกติ
ฤดูกาลตางๆ นอย แตจะมีบทบาททีส่ าํ คัญมาก
ตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก

100,000 ปี
- 413,000 ปี ความเอียง

41,000 ปี 21.5 ํ-24.5 ํ


ปัจจุบัน 23.5 ํ

32

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ทฤษฎีมิแลนโควิทช ในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร ปจจัยที่มีผลกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกมีกี่ปจจัย
ชาวเซอรเบียชื่อ มิลูติน มิแลนโควิทช (Milutin Milankovitch) ไดอธิบายถึงการ อะไรบาง
เปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลกเปนคาบเวลาระยะยาว เกิดขึน้ จากปจจัย 3 ประการ คือ (วิเคราะหคําตอบ ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของสมดุล
1. วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยเปลี่ยนแปลงขนาดความรี จึงสงผล พลังงานโลกมี 5 ปจจัย ดังนี้ การเปลีย่ นแปลงความรีของวงโคจรของ
ตอปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย เมื่อโลกโคจรเขาใกลดวงอาทิตยอุณหภูมิของ โลกรอบดวงอาทิตย การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลก
พื้นผิวโลกจะสูงขึ้น และเมื่อโลกโคจรไกลดวงอาทิตยอุณหภูมิจะลดลง และการหมุนควงของแกนหมุนโลก ชนิดและปริมาณของละอองลอย
2. แกนหมุนของโลกสาย (เปนวงคลายลูกขาง) รอบละ 71,000 ป ทําให เมฆ และปริมาณแกสเรือนกระจก)
แตละพืน้ ทีข่ องโลกไดรบั พลังงานจากดวงอาทิตยไมเทากัน ในชวงเวลาเดียวกัน
ของแตละป
3. แกนโลกเอียงทํามุมระหวาง 22.1-24.5 องศา กับระนาบของวงโคจรโลก
รอบดวงอาทิตย กลับไปมาในคาบเวลา 41,000 ป แกนของโลกเอียงเปนสาเหตุ
ทําใหเกิดฤดูกาล ปจจุบนั แกนโลกเอียงทํามุมประมาณ 23.5 องศา หากแกนโลก
เอียงมากขึน้ จะทําใหขวั้ โลกไดรับแสงอาทิตยมากขึ้นในฤดูรอนและนอยลงใน
ฤดูหนาว ซึ่งมีผลทําใหฤดูรอนและฤดูหนาวมีอุณหภูมิแตกตางกันมากขึ้น

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. การเปลีย่ นแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลกและการหมุนควงของแกนหมุนโลก 3. ครูอธิบายปจจัยที่ 2 เรื่อง การเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีมิแลนโควิทช กลาววามุมเอียงของแกน วงกลมอารกติก มุมของแสงอาทิตย
มุมเอียงของแกนหมุนโลกและการหมุนควง
โลกจะเปลี่ยนไปมาอยูในชวง 22.1-24.5 องศา ทรอปกเหนือ 23.5 ํ ของแกนหมุนโลก โดยจะมีทฤษฎีมแิ ลนโควิทช
ทําใหบริเวณพืน้ ผิวบนโลกทีร่ งั สีจากดวงอาทิตย เสนศูนยสูตร 46.5 ํ เขามาเกี่ยวของ ซึ่งวัฎจักรนี้เกี่ยวของกับแกน
ตกกระทบแตกตางกัน เมื่อแกนโลกเปลี่ยน ทรอปกใต 90 ํ ของโลกที่มีมุมเอียงที่ตางกันไปในชวงตางๆ
องศาไป ในปจจุบันแกนโลกเอียงประมาณ วงกลมแอนตารกติก 66.5 ํ มุ ม เอี ย งของแกนโลกจะอยู  ร าว 22.1-24.5
23.5 องศา แตนักวิทยาศาสตรไดสันนิษฐาน ขั้วโลกใต 43 ํ
องศา ทําใหมีผลตอบริเวณพื้นผิวบนโลกที่
วาแรงดึงดูดจากดวงอาทิตยและดวงจันทรจะ 0ํ
รังสีจากดวงอาทิตยอาจตกกระทบแตกตาง
ชวยกันดึงดูดใหแกนโลกตั้งตรง นอกจากนี้ กันออกไปเมื่อแกนโลกเปลี่ยนองศาไป และ
ยังมีแรงรบกวนจากดาวเคราะหดวงอืน่ ๆ ทําให ขั้วโลกเหนือ 0ํ ในปจจุบนั แกนโลกเอียงอยูใ นชวงกลางๆ ของ
23.5 ํ
วงโคจรของโลกเปลี่ยนแปลงขนาดความรี ซึ่ง วงกลมอารกติก มุมเอียง คือ ประมาณ 23.5 องศา
66.5 ํ
การสายของแกนหมุนและการเปลีย่ นแปลงของ ทรอปกเหนือ 4. ครูอธิบายความรูเสริม เรื่อง การหมุนควงให
90 ํ
วงโคจรของโลกเปนสาเหตุที่ทํามุมเอียงของ เสนศูนยสูตร 66.5 ํ นักเรียนฟงวา ไจโรสโคปเปนอุปกรณที่อาศัย
ทรอปกใต
แกนโลกเปลี่ยนไป ในปจจุบันเชื่อวาโลกอยูใน วงกลมอารกติก
23.5 ํ แรงเฉื่ อ ยของล อ หมุ น เพื่ อ ช ว ยรั ก ษาระดั บ
ชวงกําลังลดมุมเอียง ทําใหละติจดู ทีแ่ สงอาทิตย ขั้วโลกใต
ทิ ศ ทางของแกน โดยแกนในการหมุ น
ตกลงมาตั้งฉากกับโลกกําลังเลื่อนลงจาก 23.5
องศา มายังเสนศูนยสูตรของโลก เหตุการณ
ภาพที่ 5.4 การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลก จะหมุนเปนวงกลม เชน การหมุนของโลกและ
ที่มา : http://linguatinga.blogspot.com/2016/07/
ดังกลาวทําใหโลกมีพื้นที่เขตรอนลดลงและ ekvatorgeografi.html ดาวเคราะหดวงอื่นๆ สามารถกําหนดการ
พื้นที่เขตหนาวเพิ่มขึ้น ทําใหเกิดความแตกตางระหวางฤดูกาลลดลง เปลี่ ย นแปลงในทิ ศ ทางของแกนหมุ น ที่ มุ ม
การเปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรโลก การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุน และ ออยเลอรที่ 2 ใหเปนคาคงที่
การหมุนควงของแกนโลก ทําใหปริมาณรังสีดวงอาทิตยที่สองมายังโลกเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก
ซึ่งเปนผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกโดยรวม
Earth Science
Focus การหมุนควง
ไจโรสโคป เปนอุปกรณที่อาศัยแรงเฉื่อยของลอหมุน เพื่อชวย
รักษาระดับทิศทางของแกน ซึง่ การหมุนควงแบบลูกขาง เกิดจากแรงบิด
ของการหมุนรอบแกน รวมกับแรงบิดที่เกิดจากแรงโนมถวงที่กระทํา
ต อ ลู ก ข า งเมื่ อ แกนการหมุ น นั้ น ไม ไ ด ตั้ ง ฉากกั บ แรงโน ม ถ ว งพอดี
ทําใหเกิดการหมุนควงเปลี่ยนทิศของแรงบิดจากแรงโนมถวงไปในแนว ภาพที่ 5.5 ไจโรสโคป
ระนาบ ที่มา : https://liu.se/
sensorium/gyroskopiske
konsekvenser/
การเปลี่ยนแปลง 33
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การทีแ่ กนโลกเอียงทํามุม 23.5 องศา กับแนวตัง้ ฉากกับระนาบ ครูอธิบาย เรื่อง การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลกและการหมุน
วงโคจรของโลกขณะโคจรรอบดวงอาทิตย ทําใหเกิดปรากฏการณ ควงของแกนหมุนโลก โดยอธิบายวา การเปลีย่ นแปลงนีส้ ง ผลใหปริมาณรังสีดวง
ทางธรรมชาติขอใด อาทิตยทสี่ อ งมายังโลกเปลีย่ นแปลงไปอยางมาก ซึง่ สงผลใหเกิดการเปลีย่ นแปลง
1. ฤดูกาล ของภูมิอากาศโดยรวมของโลกอีกดวย
2. ฝนดาวตก
3. สุริยุปราคา
4. นํ้าขึ้นนํ้าลง สื่อ Digital
5. จันทรุปราคา ครูอาจแนะนําใหนักเรียนศึกษา
(วิเคราะหคําตอบ การที่แกนโลกเอียงทํามุม 23.5 องศา กับแนว เรื่อง Gyroscope เพิ่มเติมจากแหลง
ตัง้ ฉากกับระนาบวงโคจรของโลกขณะโคจรรอบดวงอาทิตย ทําให การเรียนรูออนไลนตางๆ เชน คลิป
เกิดฤดูกาล ดังนั้น ตอบขอ 1.) วิดีโอ Youtube เรื่อง Gyroscope
https://www.youtube.com/watch?
v=becAkuckiT0

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ครูถามคําถามเพือ่ ทบทวนความรูเ ดิมกับนักเรียน 3. ชนิดและปริมาณของละอองลอย ละอองลอย หรือแอโรซอล (aerosol) คือ อนุภาค
ดังนี้ ของแข็งหรือของเหลวที่เป็นละอองฟุงกระจายอยูใ่ นอากาศหรือในแก๊สอื่น มักเรียกละอองอนุภาค
•ï สภาพอากาศกั บ การเปลี่ ย นแปลงสภาพ ของแข็งว่า ฝุน หรือฝุนละออง ซึ่งละอองลอยนี้นอกจากจะอันตรายกับมนุษย์เมื่อหายใจเข้าไป
ภูมิอากาศมีลักษณะแตกตางกันอยางไร ในปริมาณมากแล้ว ยังส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศของโลกด้วย ละอองลอยถูกปลดปล่อยได้จาก
(แนวตอบ สภาพอากาศ คือ การเปลีย่ นแปลงของ ทั้งกระบวนการทางธรรมชาติ1และกิจกรรมของมนุษย์ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการ
ปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ ในบรรยากาศระยะสัน้ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ระบุว่า ละอองลอยเป็นปัจจัยที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สวนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ ของสภาพภูมิอากาศที่คาดเดาไม่ได้ เมื่อแสงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลก บรรยากาศที่มีละอองลอย
การเปลี่ยนแปลงปรากฏการณที่เกิดขึ้นใน อยู่จะท�าหน้าที่กระเจิงแสงบางส่วน และแสงบางส่วนถูกดูดซับไว้ท�าให้ผิวโลกเย็นขึ้น ในทางกลับ
ระยะยาวตัง้ แตหนึง่ สัปดาหเปนตนไปจนถึง กันถ้าในบรรยากาศมีละอองลอยอยู่เยอะมากกว่าปกติ ละอองลอยจะดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์
หลายป) ได้มาก แล้วจะเปล่งรังสีความร้อนกลับมายังผิวโลก ท�าให้อุณหภูมิสูงขึ้นจากปกติ เนื่องจากจะท�า
หน้าที่กักรังสีคลื่นยาวที่ปล่อยจากผิวดินไม่ให้ออกไปนอกโลก
อธิบายความรู้
1. ครู อ ธิ บ ายป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลง รังสีตรง
ภู มิ อ ากาศโลกป จ จั ย ที่ 3 เรื่ อ ง ชนิ ด และ รังสีกระจาย
ปริมาณของละอองลอย โดยอธิบายความหมาย ดูดซับการแผ่รังสี
ของดวงอาทิตย์
ของละอองลอยว า เป น อนุ ภ าคขนาดเล็ ก ที่
แผ่รังสีความร้อน
แขวนลอยในอากาศอยูในสถานะของแข็งและ
สถานะของเหลว ละอองลอยเป น ป จ จั ย ที่
ชั้นบรรยากาศ
ทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ ระบายความร้อน
ทีไ่ มสามารถคาดเดาได เมือ่ แสงอาทิตยเดินทาง ท�าความร้อน
มาถึงโลก บรรยากาศที่มีละอองลอยอยูจะทํา
หนาที่กระเจิงแสงบางสวน และแสงบางสวน
ถูกดูดซับไวทาํ ใหผวิ โลกเย็นขึน้ ในทางกลับกัน
ถาในบรรยากาศมีละอองลอยอยูเ ยอะมากกวา
ปกติ ละอองลอยจะดูดซับพลังงานแสงอาทิตย
ไดมาก แลวเปลงรังสีความรอนกลับมายังผิวโลก พื้นผิวที่เย็น
ทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นจากปกติ พื้นผิวโลก

ภาพที่ 5.6 การดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์ของละอองลอย


ที่มา : http://onlineresize.club/pixie-club.html.

34

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ละอองลอยที่ลอยตัวอยูในบรรยากาศมีหนาที่อะไร
(IPCC) มีหนาที่ตรวจสอบและประเมินขอมูลใหมๆ ทางวิทยาศาสตร เทคนิค (วิเคราะหคาํ ตอบ ละอองลอยทีล่ อยตัวอยูใ นบรรยากาศทําหนาที่
และเศรษฐกิจและสังคมที่ไดมาจากทั่วโลก ซึ่งเปนขอมูลที่จะชวยใหเขาใจการ ในการกระเจิงแสงบางสวน โดยแสงบางสวนถูกดูดซับไวทาํ ใหผวิ โลก
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไดดีขึ้น แตไมไดทําการวิจัยและไมไดมีหนาที่ เย็นขึ้น ในทางกลับกันถาในชั้นบรรยากาศมีละอองลอยอยูเปน
ติดตามขอมูลหรือตัวแปรที่เกี่ยวของกับสภาพอากาศ จํานวนมากกวาปกติ ละอองลอยจะดูดซับพลังงานแสงอาทิตยไว
เนือ่ งจาก IPCC เปนองคกรระหวางรัฐบาล ประเทศสมาชิกของสหประชาชาติ มากและจะเปลงรังสีความรอนกลับมายังผิวโลกจนทําใหผิวโลก
(UN) และองคการอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) ทุกประเทศจึงสามารถเขารวม มีอุณหภูมิสูงขึ้น)
เปนสมาชิกได ปจจุบัน IPCC มีสมาชิก 195 ประเทศ หลายประเทศเขารวม
กระบวนการตรวจสอบและเขารวมการประชุมใหญ โดยระหวางการประชุมจะมี
การตัดสินใจเกีย่ วกับแผนงานของ IPCC และรับทราบรายงาน รวมถึงรับรองและ
อนุมัติรายงานเหลานั้น

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. เมฆ การทีม่ ลี ะอองลอยในบรรยากาศปริมาณมาก ละอองลอยจะท�าหน้าทีเ่ ป็นแกนกลัน่ 2. ครูอธิบายปจจัยที่ 4 เรือ่ ง เมฆ โดยเมฆทีล่ อยตัว
ตัว (cloud condensation nuclei) ของไอน�้าในบรรยากาศท�าให้ไอน�้ากลั่นตัวเป็นหยดน�้าขนาดเล็ก อยู  ใ นบรรยากาศและมี ไ อนํ้ า ที่ มี คุ ณ สมบั ติ
รวมตัวกันเป็นเมฆลอยอยู่ในบรรยากาศ และเนื่องจากไอน�้ามีคุณสมบัติเป็นแก๊สเรือนกระจกตัว เปนแกสเรือนกระจกอยู จึงทําหนาที่สะทอน
หนึ่ง จึงท�าหน้าที่สะท้อนรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ และสะท้อนรังสีคลื่นยาวกลับมายังผิวโลก รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย และสะทอนรังสี
ท�าให้โลกร้1อนมากยิ่งขึ้น การกักเก็บความร้อนนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเมฆ โดยเมฆแต่ละชนิดจะมี คลื่นยาวกลับมายังพื้นผิวโลก ทําใหโลกรอน
การสะท้อนรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน เช่น เมฆคิวมูลัสจะมีลักษณะเป็นก้อนหนา มากขึ้น ซึ่งการกักเก็บความรอนนี้ขึ้นอยูกับ
จึงท�าให้เกิดการสะท้อนของรังสีได้มากกว่าเมฆซีร์รัสที่มีลักษณะเป็นเส้นใยบาง ๆ เมฆเป็นปัจจัย เมฆแตละชนิด เพราะเมฆแตละชนิดจะมีการ
หนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เนือ่ งจากการสะท้อนของเมฆท�าให้แต่ละบริเวณ สะทอนรังสีความรอนจากดวงอาทิตยแตกตาง
พื้นผิวโลกได้รับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน ส่งผลให้แต่ละบริเวณของโลกมีสภาพ กันออกไป
ภูมอิ ากาศต่างกัน ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์ยงั ไม่สามารถคาดเดาการเกิดเมฆในบรรยากาศ ทัง้ ชนิด
และจ�านวนของเมฆได้ ท�าให้การค�านวณค่าสมดุลพลังงานเป็นไปได้ยาก

เมฆในระดับสูงจะสะท้อน
รังสีคลื่นยาวได้ดี แต่สะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ได้น้อย

แสง แสง
เมฆในระดับต�่าจะสะท้อน
รังสีคลื่นยาวได้น้อย แต่สะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ได้มาก

คาร์บอน

ภาพที่ 5.7 การดูดซับความร้อนและการสะท้อนแสงของเมฆ


ที่มา : https://planetaterrasustentabilidade.blogspot.com/2017/

การเปลี่ยนแปลง 35
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เมฆเปนปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได 1 การสะทอน เปนปรากฏการณที่คลื่นเคลื่อนที่ไปตกกระทบกับสิ่งกีดขวาง
อยางไร หรือรอยตอระหวางตัวกลางแลวสะทอนกลับมายังตัวกลางเดิม ปรากฏการณ
(วิเคราะหคาํ ตอบ เนือ่ งจากเมฆในแตละระดับความสูงจะสามารถ ที่มักพบเห็นไดบอยในชีวิตประจําวันเรื่องการสะทอน คือ การไดยินเสียงกอง
สะทอนรังสีคลื่นความยาวไดตางกัน จึงสงผลใหพื้นผิวโลกไดรับ ซึ่งเกิดจากคลื่นเสียงวิ่งไปตกกระทบกับสิ่งกีดขวาง เชน กําแพง แลวสะทอน
รังสีความรอนจากดวงอาทิตยแตกตางกัน จึงทําใหสภาพภูมอิ ากาศ กลับมา โดยทีร่ ะยะเวลาในการเดินทางไปและกลับมีคา มากพอทีห่ เู ราจะแยกได
ในแตละบริเวณโลกมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกตางกัน)
เสนแนวฉาก

รังส มุมตกกระทบ มุมสะทอน


ีตก น
กระ ะทอ
ทบ
รังสีส

กระจก

T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ครูถามคําถามเพือ่ ทบทวนความรูเ ดิมกับนักเรียน 5. ปริมาณแกสเรือนกระจก รายงานของคณะกรรมการ Earth Science
ดังนี้ ระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (IPCC) in real life
ï• เมฆแตละชนิดมีการสะทอนรังสีเหมือนหรือ ระบุสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศวา การปลอย แกสคารบอนไดออกไซด (CO2)
แตกตางกันหรือไม แกสเรือนกระจกจากกิจกรรมของมนุษยตั้งแตยุคกอนปฏิวัติ เ ปน แ กส ที่ ส ะ ส ม พ ลั ง ง า น
ความร อ นในบรรยากาศโลก
(แนวตอบ เมฆแตละชนิดจะมีการสะทอน อุตสาหกรรมไดเพิ่มความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซด ไว ม ากที่ สุ ด และมี ผ ลทํ า ให
รังสีความรอนจากดวงอาทิตยแตกตางกัน แกสมีเทน และไนตรัสออกไซดในบรรยากาศ ในชวง ค.ศ. 1750 อุณหภูมขิ องโลกสูงขึน้ มากทีส่ ดุ
ออกไป เชน เมฆคิวมูลสั มีลกั ษณะของเมฆ และในป ค.ศ. 2011 ปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดที่ปลอย ในบรรดาแกสเรือนกระจกชนิด
ออกมา ทําใหเกิดการสะสมความรอนในโลกมากขึ้น และโลก อื่น ๆ แกสคารบอนไดออกไซด
เปนกอนหนาจึงทําใหเกิดการสะทอนของ ( CO 2) ส ว นมากจะเกิ ด จาก
รังสีไดมากกวาเมฆซีรรัสที่มีลักษณะเปน เสียสมดุลพลังงานไปในที่สุด การกระทํ า ของมนุ ษ ย เชน
เสนใยบางๆ) แกสคารบอนไดออกไซดจะถูกสะสมในบรรยากาศ การเผาไหมเชื้อเพลิง ถานหิน
ประมาณรอยละ 40 ที่เหลือจะถูกกําจัดออกจากบรรยากาศ นํ้ า มั น การเผาไม ทํ า ลายปา
อธิบายความรู โดยเก็บกักบนพื้นดิน (ในพืชและดิน) ประมาณรอยละ 30 และ ดักิ จง กรรมที
นั้ น เราจึ ง ควรช ว ยลด
่ ส  ง ผลให เ กิ ด แก ส
1. ครู อ ธิ บ ายป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลง มหาสมุทรดูดซับประมาณรอยละ 30 ซึง่ ทําใหเกิดความเปนกรด คารบอนไดออกไซด (CO2)
ภูมอิ ากาศโลก ปจจัยสุดทาย เรือ่ ง ปริมาณแกส ในมหาสมุทร 1
เรือนกระจก โดยแกสเรือนกระจก คือ แกสที่มี ในป ค.ศ. 2010 การปลอยแกสคารบอนไดออกไซดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล
อยูใ นบรรยากาศ เปนแกสทีท่ าํ ใหเกิดการสูญเสีย และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมคิดเปนรอยละ 78 เปนผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความรอนสูอากาศลดลง จึงมีผลตออุณหภูมิ และการเพิ่มขึ้นของประชากรอยางตอเนื่อง โดยการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว
ในบรรยากาศผานปรากฏการณเรือนกระจก ทําใหการใชปริมาณถานหินเพิ่มขึ้น ซึ่งตรงกันขามกับความพยายามที่จะลดปริมาณคารบอน
จากการใชพลังงานของโลก
แกสเรือนกระจกมีความจําเปนและมีความสําคัญ
ต อ การรั ก ษาระดั บ อุ ณ หภู มิ ข องโลก หาก
ภาพที่ 5.8 โรงงานปลอยแกสคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ
ปราศจากแกสเรือนกระจก โลกจะมีอากาศ ที่มา : คลังภาพ อจท.
หนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตไมสามารถอาศัยอยูได
แตการมีแกสเรือนกระจกมากเกินไป ทําให
อุณหภูมิสูงขึ้นจนอาจกอใหเกิดอันตรายตอ
สิ่งมีชีวิต

36

นักเรียนควรรู กิจกรรม 21st Century Skills


1 เชื้อเพลิงฟอสซิล คือ เชื้อเพลิงที่เกิดจากซากพืชซากสัตวที่ตายทับถมกัน 1. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน
นับลานปใตทองทะเลหรือพื้นดินลึก เชื้อเพลิงฟอสซิล ไดแก ถานหิน นํ้ามันดิบ 2. นักเรียนรวมกันสืบคนปริมาณแกสเรือนกระจกที่สงผลกระทบ
และแกสธรรมชาติ พลังงานเคมีจะถูกสะสมในโครงสรางอะตอมของเชื้อเพลิง ในชีวิตประจําวัน
เหลานี้ เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี เชน การเผาไหมก็จะทําใหเกิดพลังงานความรอน 3. สมาชิกในกลุมรวมกันเลือกขอมูลและจัดเตรียมขอมูล เพื่อนํา
ออกมา เชือ้ เพลิงฟอสซิสทีใ่ ชอยูท วั่ ไปในสภาพอุณหภูมปิ กติแบงออกเปน 3 ชนิด มาเสนอตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ
ดังนี้ 4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
• เชื้อเพลิงแข็ง ไดงาย
• เชื้อเพลิงเหลว 5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูล เรือ่ ง ปริมาณแกสเรือนกระจก
• เชื้อเพลิงแกส ที่สงผลกระทบในชีวิตประจําวัน

T40
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
แกสคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิในช่วงศตวรรษที่ 20 2. ครูอธิบายถึงปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดที่
400 เพิ่มขึ้นตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน จนใน พ.ศ.
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่สถานีวิจัยขั้วโลกใต้ 0.6 2553 การปลอยแกสคารบอนไดออกไซดจาก
380 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่สถานีเมานาโลอา การเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิลและกระบวนการ
ความผิดปกติของอุณหภูมิโลก ผลิตในอุตสาหกรรมคิดเปนรอยละ 78 ซึ่งเปน
0.4 ผลมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยาง

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก (องศาเซลเซียส)
ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (ppm)

360
ตอเนื่อง
0.2
3. ครูอธิบายความรูเ สริม เรือ่ ง ปรากฏการณเรือน
340 กระจกวา การที่โลกถูกหอหุมดวยแกสเรือน
กระจกอันเปนองคประกอบของบรรยากาศโลก
0 ซึง่ แกสเหลานีด้ ดู คลืน่ รังสีความรอนไวในเวลา
320
กลางวัน แลวแผรังสีความรอนออกมาในเวลา
กลางคื น ทํ า ให อุ ณ หภู มิ ใ นบรรยากาศโลก
-0.2
300 ไมเปลี่ยนแปลงอยางทันทีทันใด ถาไมมีแกส
เรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิโลกใน
280 -0.4 ตอนกลางวันจะรอนจัดสวนกลางคืนจะหนาวจัด
1900 1910 1920 1930 1940 1950 1960 1970 1980 1990 2000 2010

ภาพที่ 5.9 ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการตรวจวัดระหว่างสถานีเมานาโลอา (Mauna Loa)


เมืองฮาวายและสถานีวิจัยขั้วโลกใต้
ที่มา : https://static.skepticalscience.com/images/co2_temp_1900_2008.gif

Earth Science
Focus ปรากฏการณเรือนกระจก
เรือนกระจก (greenhouse) เป็นบริเวณที่ปิดด้วยกระจก หรือวัสดุอื่นซึ่งมีผลในการเก็บกัก
ความร้อนไว้ภายใน ประเทศเขตหนาวนิยมใช้เรือนกระจกในการเพาะปลูกต้นไม้ เพราะพลังงาน
แสงอาทิตย์สามารถผ่านเข้าไปภายในได้ แต่ความร้อนทีอ่ ยูภ่ ายในจะถูกกักเก็บโดยกระจกไม่ให้สะท้อน
แผ่ออกสู่ภายนอกได้ ท�าให้อุณหภูมิของอากาศภายในอบอุ่น และเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
แตกต่างจากภายนอกทีย่ งั หนาวเย็น นักวิทยาศาสตร์จงึ เปรียบเทียบปรากฏการณ์ทคี่ วามร้อนภายในโลก
ถูกแก๊สเรือนกระจก (greenhouse gases) เก็บกักเอาไว้ไม่ให้สะท้อนหรือแผ่ออกสู่ภายนอกโลกว่าเป็น
ปรากฏการณ์เรือนกระจก

การเปลี่ยนแปลง 37
ภูมิอากาศของโลก

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ใหนักเรียนเขียนสรุป เรื่อง ปริมาณแกสเรือนกระจกและ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ภาวะเรือนกระจก
ผลกระทบตอการดํารงชีวิตในปจจุบัน ลงในโปรแกรม Microsoft https://www.twig-aksorn.com/fiffiilm/the-greenhouse-effect-8111/
PowerPoint โดยใหนักเรียนสรุปในรูปแบบที่สามารถสื่อสารให
ผูอื่นเขาใจงายและนาสนใจ เชน ผังมโนทัศน แผนภาพ อิน-
โฟกราฟก (infographic) ตามที่สนใจไดอยางอิสระ

T41
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครู ถ ามคํ า ถามเพื่ อ ทบทวนความรู  เ ดิ ม กั บ 1.2 ข้อมูลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
นักเรียนวา แกสชนิดใดมีมากทีส่ ดุ ในแกสเรือน ปั จ จุ บั น ความรู ้ แ ละเทคโนโลยี ก ้ า วหน้ า ไปไกล ท� า ให้ เ ราสามารถตรวจวั ด ข้ อ มู ล จาก
กระจก สิ่งที่เกิดในอดีตและหลงเหลื1ออยู่จนถึงปัจจุบัน เพื่อทราบถึงสภาพภูมิอากาศในอดีตได้ เช่น
(แนวตอบ แกสคารบอนไดออกไซด) การตรวจวัดไอโซโทปของธาตุ อีกทัง้ ยังมีเทคโนโลยีดาวเทียมทีม่ กี ารตรวจวัดจากนอกโลกอยูต่ ลอด
2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม 4-5 คน สืบคนเรื่อง เวลา ท�าให้เราเห็นการเปลีย่ นแปลงของโลกไปตามเวลา จึงท�าให้มขี อ้ มูลสนับสนุนการเปลีย่ นแปลง
ขอมูลสนับสนุนการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก ภูมิอากาศ ดังนี้
โดยใหนักเรียนจัดทําในรูปแบบรายงานสงครู 1. การละลายของธารนํ้าแข็ง
ในชั่วโมงถัดไป การละลายของน�้าแข็งทั่วโลกนี้เป็นสัญญาณ
อธิบายความรู้ บ่งบอกถึงภาวะโลกร้อนมากขึ้นจากในอดีตได้
อย่างชัดเจน น�้าจากการละลายจะไหลลงทะเล
1. ครู อ ธิ บ ายข อ มู ล สนั บ สนุ น การเปลี่ ย นแปลง หรือมหาสมุทร ท�าให้ระดับน�้าทะเลเพิ่มสูงขึ้น
ภูมิอากาศโลก โดยแบงได 5 ปจจัยหลัก ดังนี้ เกิดการเพิ่มระดับของน�้าทะเลขึ้นหลายเมตร
ครูอธิบายขอมูล เรือ่ ง การละลายของธารนํา้ แข็ง ทั่วโลก ส่งผลกระทบอย่างร้ายแรง ซึ่งน�า้ ทะเล
วา การละลายของธารนํ้าแข็งเปนสัญญาณที่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เพียง 1 เมตร จะท�าให้ประชาชนหลาย
บงบอกถึงภาวะโลกรอนจากในอดีตไดอยาง สิบล้านคนในประเทศบังกลาเทศไร้ที่อยู่อาศัย
ชัดเจน ซึ่งมีผลทําใหนํ้าในมหาสมุทรเพิ่มขึ้น น�้าแข็งทั้งหมดที่ก�าลังละลายอาจท�าให้ความ
ทั่วโลก โดยนํ้าทะเลที่เพิ่มขึ้นเพียง 1 เมตร จะ เข้มข้นของน�า้ ทะเลในโลกเจือจางลง โดยเปลีย่ น
ทําใหประชากรในประเทศบังกลาเทศหลายสิบ ระดั บ ความเค็ ม มากพอที่ จ ะท� า ให้ ป ระชากร
ลานคนไมมีที่อยู นํ้าแข็งจะนอยลง ทําใหการ ปลาลดลง และรบกวนการไหลเวียนของน�้าใน
สะทอนของแสงที่ผิวโลกนอยลง พลังงานแสง มหาสมุทรทั่วโลก นอกจากนั้นเนื่องจากหิมะ
สวนใหญจะถูกดูดซับไวที่ผิวดิน สงผลใหโลก และน�้าแข็งสามารถสะท้อนแสงอาทิตย์ออกไป
รอนขึน้ ทําใหนาํ้ แข็งละลายมากขึน้ ตามไปดวย ได้มากกว่าพื้นดินและพื้นน�้า ดังนั้น น�้าแข็งที่
น้อยลงจะท�าให้การสะท้อนแสงทีผ่ วิ โลกน้อยลง
พลังงานแสงอาทิตย์ส่วนใหญ่จะถูกดูดซับไว้ที่
ผิวดิน จึงส่งผลท�าให้โลกร้อนขึ้น และท�าให้น�้า
แข็งละลายมากขึน้ ตามไปอีกซึง่ เรียกกลไกนีว้ า่
กลไกแบบสนองกลับ (feedback mechanism) ภาพที่ 5.10 การเปลี่ยนแปลงของธารน�้าแข็งในเมือง
Svalbard ประเทศนอร์เวย์ ภาพบนเมื่อปี ค.ศ. 1900
และภาพล่างเมื่อปี ค.ศ. 2002
ที่มา : http://www.catdumb.com/glaciers-119/

38

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 การตรวจวัดไอโซโทปของธาตุ เปนการวิเคราะหไอโซโทปโดยหารูปแบบ การละลายของธารนํา้ แข็งเกิดขึน้ ไดอยางไร และสงผลอยางไร
ไอโซโทปในลักษณะการกระจายของไอโซโทปเสถียร ซึ่งสามารถนําไปประยุกต กับโลกในปจจุบัน
ใชทางดานอาหาร เพือ่ หาแหลงทีม่ าของอาหาร ระดับการกินอาหารวาอยูส ว นใด (วิเคราะหคาํ ตอบ การละลายของธารนํา้ แข็งในขัว้ โลกเหนือเกิดจาก
ของหวงโซอาหาร หรือลักษณะการดํารงชีวิตของสัตวในยุคโบราณ และยัง สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปในปจจุบัน ทําใหเกิดภาวะโลกรอน
ประยุกตใชทางดานโบราณคดี นิเวศวิทยา นิติวิทยาศาสตร อุทกวิทยา หรือ ซึง่ สงผลใหอณ ุ หภูมติ า งๆ ของแตละพืน้ ทีส่ งู ขึน้ จนเกิดการละลาย
ธรณีวิทยา โดยสัดสวนของไอโซโทปสามารถหาไดดวยเทคนิคการวัดมวล ซึ่งจะ ของธารนํ้าแข็งในขั้วโลกเหนือ นํ้าที่ละลายแลวจะไหลไปรวมกัน
แยกไอโซโทปของธาตุที่ไมเทากันออกจากกัน โดยอาศัยหลักการของสัดสวน ในมหาสมุทรหรือทะเล และสงผลใหเกิดการเพิ่มขึ้นของระดับนํ้า
มวลตอประจุ ในมหาสมุทรหรือทะเล ซึ่งจะสงผลกระทบตอความเปนอยูของ
มนุษยหลายสิบลานคนในประเทศบังกลาเทศ และยังสงผลกระทบ
ตอความเปนอยูของประชากรหมีขาวและสัตวชนิดตางๆ ที่อาศัย
อยูบริเวณขั้วโลกเหนือ)

T42
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. หินตะกอนและฟอสซิล หินตะกอนเปนหินที่พบไดทั้งในนํ้าทะเลและนํ้าจืด จึงมักจะ 2. ครูอธิบาย เรื่อง หินตะกอนและฟอสซิล ซึ่ง
พบสิง่ มีชวี ติ บางชนิด เชน ปะการังหรือเฟรน ซึง่ ปจจุบนั จะพบในบริเวณทีม่ อี ากาศอบอุน หากพบ หินตะกอนเปนหินที่พบไดทั้งในนํ้าทะเลและ
ฟอสซิลในบริเวณใดสามารถบอกไดวาในอดีตเคยเปนพื้นที่ที่ม1ีอากาศอบอุนมากอน เชน มีการ ในนํา้ จืด จึงมักพบสิง่ มีชวี ติ บางชนิด เชน เฟรน
ศึกษาบริเวณทวีปแอนตารกติกา พบฟอสซิลของเฟรน มอส และสนบางชนิด ทําใหทราบวาใน และเกิดจากการสะสมของตะกอน เชน กรวด
อดีตเมื่อประมาณ 65-145 ลานปกอน ที่ทวีปนี้เคยมีอากาศอบอุนจนมีพืชบางชนิดสามารถอยูได ทราย เศษหิน หรือซากพืชและสัตว หรือเกิด
สวนหินตะกอนทีพ่ บในทะเลหรือมหาสมุทรนัน้ สิง่ มีชวี ติ ในทะเลจะดึงออกซิเจนจากนํา้ ทะเลมาสราง จากการตกตะกอนทางเคมี ใ นนํ้ า แล ว เกิ ด
เปลือกและกระดูก ซึ่งออกซิเจนนั้นมี 2 ไอโซโทป (ธาตุชนิดเดียวกัน แตมีนํ้าหนักอะตอมตางกัน) การแข็งตัวกลายเปนหิน ซึ่งปจจุบันจะพบใน
เชน ออกซิเจน-16 (16O) นั้น จะเบากวาออกซิเจน-18 (18O) และระเหยไดเร็วกวาออกซิเจน-18 บริเวณอากาศอบอุน หากพบฟอสซิลบริเวณใด
(18O) ดังนั้น ในชวงที่อากาศเย็นนํ้าที่ระเหยไปสวนใหญจะเปนนํ้าที่มีออกซิเจน-16 (16O) เปน สามารถบงบอกไดวาในอดีตเคยเปนพื้นที่ที่
องคประกอบ ทําใหนํ้าในมหาสมุทรที่มีออกซิเจน-18 (18O) เปนองคประกอบเหลืออยูในสัดสวน อบอุนมากอน เชน พบฟอสซิลของเฟรน มอส
ที่สูง สัตวทะเลจึงนําออกซิเจน-18 มาสรางเปนเปลือกและกระดูก เมื่อตายลงไปจะสะสมเปน และสนบางชนิดที่บริเวณทวีปแอนตารกติกา
ตะกอนใตสมุทร เมื่อนํามาหาสัดสวนระหวางออกซิเจน-18 กับออกซิเจน-16 จะสามารถบอก ทําใหทราบวาบริเวณนั้นเคยมีอากาศที่อบอุน
สภาพภูมิอากาศในอดีตได เชน ถาอัตราสวนระหวางออกซิเจน-18 กับออกซิเจน-16 สูงมาก
มากอน
สามารถบอกไดวาอากาศในชวงเวลานั้นทําใหนํ้าทะเลมีอุณหภูมิตํ่ามาก โดยอัตราสวนดังกลาว
3. ครูอธิบายคําวาฟอสซิลเพิ่มเติมวา ฟอสซิล
สามารถบงบอกถึงสภาพภูมิอากาศของโลกในอดีตยอนไปไดเกือบถึงประมาณ 900,000 ป ซึ่งมี
ทั้งชวงที่อากาศเย็นและอากาศอุนสลับกันไป คือ ซากหรือรองรอยของสิ่งมีชีวิตในอดีต ที่
ถูกทับถมไวในชั้นหิน เชน ซากพืช ปลา หอย
ไดโนเสาร บางชนิดสูญพันธุไปแลว บางชนิด
3 ยังมีวิวัฒนาการตอจนถึงปจจุบัน
รอน
3.5
ปริมาณออกซิเจน-18 (%)

4.5

5 เย็น
500 400 300 200 100 0
อายุ (พันปกอนปจจุบัน)

ภาพที่ 5.11 สัดสวนออกซิเจน ไอโซโทปบงบอกสภาพอากาศในอดีต


ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเปลี่ยนแปลง 39
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การหาอายุสัมบูรณของหินหรือซากดึกดําบรรพทางธรณีวิทยา 1 มอส จัดเปนพืชกลุม แรกๆ ของโลกทีพ่ ฒ ั นาจากนํา้ ขึน้ สูบ ก มีคลอโรฟลล
ใชวิธีการใด สีเขียวไวสังเคราะหดวยแสงเพื่อสรางอาหารจึงสามารถอยูไดโดยลําพัง แตดวย
1. การหาอายุทางกัมมันตรังสี โครงสรางยังไมจดั วาเปนพืชชัน้ สูง เพราะวามอสไมมรี าก ลําตน และใบทีแ่ ทจริง
2. การใชรังสีเอกซในการตรวจสอบ อีกทัง้ ยังปราศจากดอกจึงตองแพรพนั ธุด ว ยสปอร โดยตองอาศัยลม นํา้ หรือแมลง
3. ตรวจสอบและเปรียบเทียบกับฟอสซิลอื่น
4. วิธีการตรวจสอบโดยใชกระบวนการทางเคมี
5. ตรวจสอบจากลําดับชัน้ หินและความสัมพันธของโครงสราง
ทางธรณีวิทยา
(วิเคราะหคําตอบ การใชธาตุกัมมันตรังสีเพื่อหาอายุหินหรือ
ฟอสซิลนั้น ใชหลักการสําคัญ คือ การเปรียบเทียบอัตราสวนของ
ธาตุกัมมันตรังสีที่เหลืออยู (End product) ที่เกิดขึ้นกับไอโซโทป
ของธาตุกัมมันตรังสีตั้งตน แลวคํานวณโดยใชเวลาครึ่งชีวิตมา
ชวยก็จะไดอายุของชั้นหินหรือซากดึกดําบรรพ ที่ทําการพิจารณา
ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T43
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ครู สุ  ม นั ก เรี ย นในห อ งและถามคํ า ถามกั บ 3. การเพิม่ อุณหภูมแิ ละระดับนํา้ ทะเล 35
ระดับน�้าทะเลเพิ่มขึ้น 30
นักเรียนเพื่อทบทวนเนื้อหาที่เรียนมาในชั่วโมงที่ ระดับน�้าทะเลที่ได้จากทุ่นตรวจวัดในทะเลหรือ บันทึกเมื่อ 23 ปีที่แล้ว
25
เฉลี่ย 3 ปี

ระดับน�้าทะเลเปลี่ยนแปลง
แลววา ขอมูลทีส่ นับสนุนการเปลีย่ นแปลงของโลก จากดาวเทียม บ่งชีใ้ ห้เห็นว่าในช่วงปี ค.ศ. 1901- ดาวเทียม 20
มีอะไรบาง 2010 ค่าเฉลี่ยของระดับน�้าทะเลโลกเพิ่มสูงขึ้น 15
10
(แนวตอบ การละลายของธารนํา้ แข็ง หินตะกอน โดยเฉลีย่ ประมาณ 0.19 เมตร อัตราการเพิม่ ขึน้ 5
และฟอสซิล การเพิ่มอุณหภูมิและระดับนํ้า ของระดับน�้าทะเลในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 0
-5
ทะเล วงปของตนไมดึกดําบรรพ) สูงกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นในช่วงสองพันปีก่อน
นักวิทยาศาสตร์อธิบายโดยหลักฐานการละลาย 1880 1900 1920 1940 1960 1980 2000
อธิบายความรู้
ของน�้าแข็งทั่วโลก เนื่องจากภาวะโลกร้อน และ ภาพที่ 5.12 ระดับน�้าทะเลที่เพิ่มขึ้น
1. ครูอธิบายขอมูลเรือ่ งที่ 3 เรือ่ ง การเพิม่ อุณหภูมิ อีกข้อสันนิษฐาน คือ การขยายตัวของน�้าใน ที่มา : https://slideplayer.com.br/slide/1559182/
และระดับนํ้าทะเล การเพิ่มอุณหภูมิจะสูงขึ้น มหาสมุทร เนือ่ งจากความจุความร้อนของน�า้ ในมหาสมุทรมากกว่าในอดีต โดยหลักฐานจากข้อมูล
โดยเฉลี่ยประมาณ 0.19 เมตร อัตราการเพิ่ม ตรวจวัดอุณหภูมิและค่าความจุความร้อนของน�้าในมหาสมุทรพบว่าบริเวณผิวน�้าในช่วงความลึก
ขึ้นของนํ้าทะเลเกิดจากภาวะโลกรอน ทําให ประมาณ 700 เมตร มหาสมุทรมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ 17.61 องศาเซลเซียส ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1969 เป็นต้น
นํ้าแข็งขั้วโลกละลาย และอาจจะเกิดจากการ มา และระดับน�้าทะเลก็เพิ่มขึ้น 8 นิ้ว ในช่วงเวลานั้น
ขยายตัวของนํา้ ในมหาสมุทร เนือ่ งจากความจุ
ความร อ นของนํ้ า ในมหาสมุ ท รมากกว า ใน 50

อดีต และใหนักเรียนดูภาพการตรวจวัดระดับ
นํา้ ทะเลดวยดาวเทียมเพือ่ ใหนกั เรียนเห็นภาพ 40
ชัดเจนและเขาใจมากขึ้น
ระดับนํ้าทะเล

30

20

10

0 ปี
1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006
ภาพที่ 5.13 การตรวจวัดระดับน�้าทะเลด้วยดาวเทียม
ที่มา : http://www.eeaa.gov.eg/portals
40

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอธิบาย เรื่อง การตรวจวัดระดับนํ้าทะเลดวยดาวเทียม ใหนักเรียนฟง ครูใหนักเรียนเขียนสรุป เรื่อง การเพิ่มอุณหภูมิของนํ้า ลงใน
และอธิบายถึงเครื่องมือที่ใชวัดระดับนํ้าทะเลแบบขึ้นลงอัตโนมัติวา ใชติดตาม สมุ ด โดยให นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ในรู ป แบบที่ ส ามารถสื่ อ สาร
ตรวจวัดการเปลีย่ นแปลงของระดับนํา้ แบบ Real Time และตรวจวัดระดับนํา้ ได ให ผู  อื่ น เข า ใจง า ยและน า สนใจ เช น ผั ง มโนทั ศ น แผนภาพ
อัตโนมัติตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง โดยสามารถเชื่อมโยงขอมูลของแตละสถานี อินโฟกราฟก
ไปยังสวนกลางได

T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. วงปีของต้นไม้ดึกดําบรรพ์ เส้นวงปี 2. ครูอธิบายขอมูลที่ 4 เรื่อง วงปของตนไม
ของต้ น ไม้ เ กิ ด จากการเจริ ญ ของเนื้ อ เยื่ อ เพื่ อ ดึกดําบรรพ โดยเสนวงปของตนไมเกิดจาก
สร้ า งท่ อ ล� า เลี ย งน�้ า ขึ้ น มาใหม่ พ ร้ อ มทั้ ง มี ส าร การเจริญของเนื้อเยื่อเพื่อสรางทอลําเลียงนํ้า
สีน�้าตาลที่เรียกว่า ลิกนินออกมาด้วย ถ้าปีใด ขึ้นมาใหม และเสนวงปสามารถใชบอกอายุ
ฝนตกชุก มีปริมาณน�้าฝนมาก ต้นไม้จะดูดน�้า ของตนไม ใชบอกปริมาณนํ้าฝนที่ตกตอเนื่อง
ไว้มากเช่นเดียวกัน ท�าให้เส้นวงปีกว้างและ ในแตละรอบปจากอดีตถึงปจจุบนั ได ใชในการ
เป็นสีน�้าตาลอ่อนเนื่องจากลิกนินมีปริมาณ สรางแบบจําลองสภาพภูมิอากาศในอนาคต
เจื อ จาง แต่ ถ ้ า ปี ใ ดแห้ ง แล้ ง ฝนตกน้ อ ย โดยคาดคะเนจากขอมูลปริมาณนํ้าฝนในอดีต
ต้ น ไม้ จ ะดู ด น�้ า ได้ น ้ อ ย เส้ น วงปี จ ะแคบ เปนเวลาหลายป
และมี สี น�้ า ตาลเข้ ม เพราะลิ ก นิ น มี ค วาม 3. ครูอธิบายความรูเสริม เรื่อง สนไพนบริสเติล-
เข้มข้นสูง ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงศึกษา โคนวา เปนตนไมที่อายุยืนที่สุดในโลก มีอายุ
สภาพภูมิอากาศในอดีตได้จากต้นไม้ดึกด�าบรรพ์1 กวา 5,000 ป อยูในปาทางตะวันออกของรัฐ
โดยการเจาะเนื้อไม้เพื่อหาค่าอายุจากไอโซโทป
แคลิฟอรเนีย รัฐเนวาดา และรัฐยูทาห ประเทศ
ธาตุคาร์บอน และดูลักษณะเส้นวงปีเพื่อบ่งบอก
สหรัฐอเมริกา โดยเจริญเติบโตจากดินที่เปน
ฤดูกาล ซึ่งต้นไม้ที่นิยมใช้ คือ สนไพน์บริสเติลโคน
ที่มีอายุยืนมากและเจริญเติบโตช้า โดยการใช้ต้น หินปูนพืน้ ทีร่ กราง ทนแรงลมและสภาพอากาศ
ที่ยังมีชีวิตอยู่และตัวอย่างไม้ที่ตายแล้ว เพื่อให้ ทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู มากๆ ได ลําตนมีลกั ษณะบิดงอ
ทราบถึงรูปแบบการเจริญเติบโตย้อนหลัง
กลับไปนับพัน ๆ ปี โดยในบางพืน้ ทีส่ ามารถ
หาค่ า อายุ ย ้ อ นหลั ง กลั บ ไปได้ ม ากกว่ า
10,000 ปี
ภาพที่ 5.14 สนไพน์บริสเติลโคน
ที่มา : https://i.pinimg.com/originals
Earth Science
Focus สนไพนบริสเติลโคน
สนสายพันธุ์ Great Basin Bristlecone Pine เป็นพืชที่มีอายุมากที่สุดในบรรดาตระกูลสนและ
พืชตระกูลอื่น ๆ จนได้รับฉายาว่า เป็นต้นไม้ที่มีอายุมากที่สุดในโลก ซึ่งสนไพน์บริสเติลโคนพบมาก
ในหลายพื้นที่ของแถบตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา เช่น ในแถบเทือกเขา Wheeler Peak
ทางทิศตะวันออกของรัฐเนวาดา ซึง่ เป็นสถานทีท่ คี่ นรูจ้ กั กันดีวา่ เป็นแหล่งทีม่ ตี น้ สนอายุมากกว่า 3,000
ปีจ�านวนมาก

การเปลี่ยนแปลง 41
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


วงปของตนไมสามารถบอกอะไรไดบาง 1 ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน แตมีเลขมวลตางกันหรือ
(วิเคราะหคําตอบ ในตนไมแตละตนจะมีการสรางเสนรอบวงที่ อะตอมของธาตุที่มีเลขอะตอมเทากัน แตมีจํานวนนิวตรอนตางกัน ตัวอยาง
บงบอกถึงการเจริญเติบโตของตนไม ซึง่ เรียกวา วงปไมซงึ่ ขนาดของ ไอโซโทป เชน ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โปรเทียม ดิวเทอเรียม และทริเทียม
วงปจะสัมพันธกับสภาพสิ่งแวดลอม เชน ถาหากปใดฝนตกมาก
ตนไมก็จะสรางเสนวงปขยายออกไป ภายนอกลําตนมีขนาดใหญ
กวาปที่มีฝนตกนอย อากาศแหงแลง ถาหากตนไมที่เกิดขึ้นใน
สภาพแวดลอมเดียวกัน สมัยเดียวกัน ก็จะมีขนาดวงปที่เทากัน
นักวิทยาศาสตรไดนําลักษณะเดนของการเติบโตวงปเหลานี้ มา
ซอนทับกันจากตนไมตนหนึ่ง ซึ่งอาจเปนไมที่ยังมีชีวิตในปจจุบัน
ไปยังตนไมที่มีอายุมากกวา หรือเปนไมเกาจากแหลงโบราณคดี
ทําใหสามารถยอนกลับไปศึกษาสิ่งแวดลอมสมัยอดีตได)

T45
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ครูสมุ นักเรียนในหองและถามคําถามกับนักเรียน 5. น�้ ำ แข็ ง ขั้ ว โลก น�้ ำ แข็ ง บริ เ วณขั้ ว โลกมี ก ำรสะสมและทั บ ถมกั น เป็ น เวลำนำน
เพือ่ ทบทวนเนือ้ หาทีเ่ รียนมาในชัว่ โมงทีแ่ ลววา วงป นักวิทยำศำสตร์จึงท�ำกำรขุดเจำะลงไปเพื่อน�ำแกนน�้ำแข็งมำตรวจวัดค่ำไอโซโทปของธำตุต่ำง ๆ
ของตนไมคืออะไร และตนไมที่มีอายุยืนมากที่สุด เพื่อหำอำยุและบ่งบอกสภำพอำกำศขณะนั้น
ในโลกไดแกตนไมชนิดใด เช่ น ถ้ ำ อำกำศในขณะนั้ น มี อุ ณ หภู มิ สู ง
(แนวตอบ เสนวงปของตนไมเกิดจากการเจริญ ออกซิเจน-18 ที่มีคุณสมบัติระเหยได้ช้ำกว่ำ
ของเนื้อเยื่อเพื่อสรางทอลําเลียงนํ้าขึ้นมาใหม ออกซิเจน-16 จะสำมำรถระเหยจำกผิวน�้ำ
และเสนวงปสามารถใชบอกอายุตน ไม ใชบอก ขึ้นไปสะสมอยู่ในบรรยำกำศได้มำก แล้วตก
ขอมูลปริมาณนํา้ ฝนทีต่ กตอเนือ่ งในแตละรอบป ลงมำเป็นฝนหรือหิมะและสะสมเป็นน�้ำแข็ง
จากอดีตถึงปจจุบนั ได และตนไมทมี่ อี ายุยนื มาก เมือ่ ตรวจวัดแกนน�ำ้ แข็งทีเ่ จำะได้ จะได้สดั ส่วน
ที่สุดในโลก คือ สนไพนบริสเติลโคน) ระหว่ำงออกซิเจน-18 กับออกซิเจน-16 ที่มี
ค่ำสูงซึ่งบ่งบอกว่ำสภำพอำกำศในขณะนั้นมี
อธิบายความรู้ อุณหภูมิสูง และในทำงกลับกัน ถ้ำค่ำสัดส่วน
1. ครูอธิบายขอมูลที่ 5 เรื่อง นํ้าแข็งขั้วโลก ใน ระหว่ำงออกซิเจน-18 กับออกซิเจน-16 มีค่ำ
ป จ จุ บั น นํ้ า แข็ ง ขั้ ว โลกใต แ ละขั้ ว โลกเหนื อ ต�่ำบ่งบอกว่ำอำกำศในขณะนั้นมีอุณหภูมิต�่ำ
ละลายเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสาเหตุที่ทําใหนํ้าแข็ง นอกจำกสัดส่วนออกซิเจนไอโซโทปแล้ว
ละลายนั้นเกิดจากภาวะโลกรอน เพราะแกส น�ำ้ แข็งขัว้ โลกยังใช้ในกำรวิเครำะห์สดั ส่วนแก๊ส
เรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมตางๆ ของ ที่เป็นองค์ประกอบของบรรยำกำศในอดีตจำก
มนุษยทําใหเกิดนํ้าแข็งละลายเพิ่มมากขึ้น ภำพที่ 5.15 ฟองอำกำศทีถ่ กู กักในน�ำ้ แข็งขณะทีน่ ำ�้ แข็งตัว ฟองอำกำศที่เกิดจำกกำรแข็งตัวของน�้ำอย่ำง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. จากการที่นํ้าแข็งขั้วโลกละลายสงผลกระทบ รวดเร็ว แล้วกักอำกำศในขณะนั้นไว้ ผลกำร
กับความเปนอยูของประชาชนหลายลานคน วิเครำะห์อำกำศในแกนน�้ำแข็งแสดงให้เห็นว่ำ อำกำศในอดีตเมื่อ 800,000 ปีก่อน มีควำมเข้มข้น
ในประเทศบังกลาเทศ หมีขั้วโลกไมมีที่อยู ของแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์เพียง 280 มิลลิกรัมต่อลิตร แต่ในปัจจุบนั พบว่ำ มีคำ่ สูงถึง 409 มิลลิกรัม
อาศัย และนํ้าแข็งที่ละลายสงผลใหนํ้าทะเล ต่อลิตร
เกิดการเจือจาง และระดับความเค็มของนํา้ ทะเล ในปัจจุบันน�้ำแข็งขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ละลำยมำกเป็นปรำกฏกำรณ์ ซึ่งแม้แต่ใน
เปลี่ยนแปลง สงผลทําใหประชากรปลาลดลง ฤดูหนำวปริมำณน�ำ้ แข็งบริเวณขัว้ โลกเหนือและขัว้ โลกใต้ทลี่ ดน้อยลงเป็นสถิตใิ หม่ทกุ ปี สำเหตุของ
3. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic น�้ำแข็งขั้วโลกละลำยเกิดจำกอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น เป็นผลมำจำกภำวะโลกร้อน1 เพรำะแก๊ส
Question เรือนกระจกทีเ่ พิม่ ขึน้ จำกกำรท�ำกิจกรรมต่ำง ๆ ของมนุษย์ เช่น กำรเผำผลำญถ่ ญถ่ำนหินและเชือ้ เพลิง
กำรตัดไม้ท�ำลำยป่ำ กำรผลิตในภำคอุตสำหกรรม รวมไปถึงสำรเคมีที่มีส่วนผสมของแก๊ส
เรือนกระจกทีม่ นุษย์ใช้ และอืน่ ๆ อีกมำกมำย จึงท�ำให้แก๊สเรือนกระจกเหล่ำนีล้ อยขึน้ ไปรวมตัวกัน
อยู่บนชั้นบรรยำกำศของโลก ท�ำให้รังสีของดวงอำทิตย์ที่ควรจะสะท้อนกลับออกไปในปริมำณที่
เหมำะสม กลับถูกแก๊สเรือนกระจกเหล่ำนี้กักเก็บไว้ ท�ำให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นจำกเดิม
42

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ถ า นหิ น คื อ หิ น ตะกอนชนิ ด หนึ่ ง เป น แร เ ชื้ อ เพลิ ง สามารถติ ด ไฟได ภาวะโลกรอน หมายถึงอะไร
มีสีนํ้าตาลออนจนถึงสีดํา มีทั้งชนิดผิวมันและผิวดาน นํ้าหนักเบา ถานหิน 1. ปรากฏการณเรือนกระจก
ประกอบดวยธาตุทสี่ าํ คัญ 3 อยาง ไดแก คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน โดย 2. การปลอยแกสพิษสูอากาศ
ธาตุหรือสารอื่นๆ ผสมดวย เชน กํามะถัน สามารถแยกประเภทตามลําดับชั้น 3. อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น
ไดเปน 5 ประเภท คือ พีต ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส และแอนทราไซต 4. นํ้าแข็งขั้วโลกละลายลงสูทะเล
5. ความเปนอยูของมนุษยและสัตวตางๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
(วิเคราะหคาํ ตอบ ภาวะโลกรอน หมายถึง การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ
ที่เกิดจากการกระทําของมนุษยที่ทําใหอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่ม
สูงขึ้น กิจกรรมของมนุษยที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอน คือ กิจกรรม
ที่ทําใหปริมาณแกสเรือนกระจกในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น เชน
การตัดไมทําลายปา ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
แก ส มี เ ทนเป น แก ส เรื อ นกระจกสํ า คั ญ ที่ สุ ด ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดจากแบบฝกหัดโลก
ตั ว หนึ่ ง ปริ ม าณที่ สู ง ขึ้ น ของแก ส มี เ ทนใน ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2 เรื่อง การ
บรรยากาศจะยิง่ ไปเรงกระบวนการเกิดโลกรอน เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
ใหเร็วและรุนแรงขึ้น นํ้าแข็งละลายเร็วยิ่งขึ้น
จนทําใหระดับนํ้าทะเลเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ขัน้ สรุป
ซึ่งจะสงผลทําใหนํ้าในมหาสมุทรเพิ่มระดับขึ้น ตรวจสอบผล
หลายเมตรทั่วโลก ซึ่งนํ้าทะเลที่เพิ่มขึ้นเพียง ภาพที่ 5.16 หมีขั้วโลกไมมีที่อยูอาศัย ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหา เรื่อง การ
1 เมตร จะทําใหประชาชนไรทอี่ ยูอ าศัย นํา้ แข็ง ที่มา : คลังภาพ อจท.
เปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลก เพือ่ เปนการทบทวน
ทัง้ หมดทีก่ าํ ลังละลายอยูน ที้ าํ ใหความเขมขนของนํา้ ทะเลโลกเจือจางลง โดยเปลีย่ นระดับความเค็ม ความรู  ใ ห แ ก นั ก เรี ย นหลั ง จากที่ เ รี ย นเนื้ อ หานี้
มากพอที่จะทําใหประชากรปลาลดลง และรบกวนการไหลเวียนนํ้าของมหาสมุทรทั่วโลก จบแลว

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
รายบุคคล
3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการทํางานกลุม
4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด เรื่อง การ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
ภาพที่ 5.17 ธารนํ้าแข็งขั้วโลกละลาย
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Topic
Question
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกเกิดขึ้นไดอยางไร
2. ปจจัยใดบางที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
3. ขอมูลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีอะไรบาง
4. แกสใดที่สะสมพลังงานความรอนในบรรยากาศโลกไวมากที่สุด และทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
5. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสงผลกระทบกับสิ่งมีชีวิตอยางไร

การเปลี่ยนแปลง 43
ภูมิอากาศของโลก

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลกเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ
ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคลของนักเรียน โดยศึกษา
นอกจากนี้ การกระทําของมนุษยยงั มีสว นทําใหภมู อิ ากาศเปลีย่ นแปลง
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
เร็วขึ้น
ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง
2. มี 5 ป จ จั ย คื อ การเปลี่ ย นแปลงความรี ข องวงโคจรของโลก
ภูมิอากาศของโลก
รอบดวงอาทิตย การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลกและ
การหมุนควงของแกนหมุนโลก ชนิดและปริมาณของละอองลอย แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่

เมฆ และปริมาณแกสเรือนกระจก
ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   

3. การละลายของธารนํ้าแข็ง หินตะกอนและฟอสซิล การเพิ่มอุณหภูมิ 2


3
4
การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ความมีนาใจ








และระดับนํ้าทะเล วงปของตนไมดึกดําบรรพ และนํ้าแข็งขั้วโลก


5 การตรงต่อเวลา   
รวม

4. แกสคารบอนไดออกไซด
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............/.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน

5. การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศสงผลตอโลกในดานความเปนอยูข อง ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง
ให้
ให้
ให้
3 คะแนน
2 คะแนน
1 คะแนน

มนุษยทรัพยากรธรรมชาติตางๆ และสิ่งมีชีวิต เมื่อสภาพภูมิอากาศ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงจากความผิดปกติของอากาศจะทําใหเกิดความ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

แปรปรวนของอากาศและเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติตางๆ
T47
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior เมือ่ อากาศแปรปรวน 2. ปรากฏการณทเี่ กิดจากการ
Knowledge ให นั ก เรี ย นอภิ ป รายและแสดง
ความคิดเห็นรวมกันกอนเขาสูหัวขอที่เรียนกับ
สิง่ มีชวี ติ จะไดรบ
ผลกระทบหรือไม
ั เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
นักเรียนวา เมื่ออากาศแปรปรวนสิ่งมีชีวิตจะได อยางไร การเปลีย่ นแปลงสภาวะอากาศอันเป็นผลมาจากธรรมชาติ
รับผลกระทบหรือไม อยางไร หรือจากการกระท�าของมุษย์ ส่งผลให้เกิดความแปรปรวน
ของอากาศ ซึ่งจะท�าให้เกิดภัยธรรมชาติและปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น ภาวะโลกร้อน ความถี่และ
ขัน้ สอน ความรุนแรงของพายุฝน การศึกษาเกี่ยวกับความแปรปรวนของอากาศ ท�าให้ทราบถึงผลกระทบ
สํารวจค้นหา และตระหนักถึงแนวทางการแก้ปัญหา
ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 3-4 คน สืบคน 2.1 ปรากฏการณเอลนี โญและลานีญา
และทํารายงาน เรื่อง ปรากฏการณที่เกิดจากการ 1. สาเหตุการเกิดเอลนีโญและลานีญา
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก • สภาพอากาศในสภาวะปกติ การไหลของกระแสน�้ า ในมหาสมุ ท รแปซิ ฟ ิ ก แถบ
อธิบายความรู้ เส้นศูนย์สูตรนั้นได้รับอิทธิพลมาจากลมค้า (trade wind) ซึ่งลมค้าที่พัดจากจากชายฝั่งตะวันออก
ของมหาสมุทรแปซิฟิก (ชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรู เอกวาดอร์ และ
1. ครูอธิบายสภาพอากาศในสภาวะปกติวา การ
ชิลตี อนเหนือ) มายังชายฝัง่ ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกิ (ชายฝัง่ ตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย
ไหลของกระแสนํ้าในมหาสมุทรแปซิฟกแถบ
และทวีปเอเชียแถบประเทศอินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี และออสเตรเลีย) เรียกว่า ลมค้าตะวันออก-
เสนศูนยสูตรนั้นไดรับอิทธิพลมากจากลมคา
เฉียงใต้ ซึง่ จะพัดพามวลน�า้ อุน่ มายังชายฝัง่ ตะวันตกของมหาสมุทร บริเวณนัน้ จึงมีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้
ซึ่งจะพัดพามวลนํ้าอุนมายังชายฝงตะวันตก
ไอน�้าบริเวณผิวน�้าทะเลลอยตัวขึ้นและก่อตัวเป็นเมฆฝน ท�าให้เกิดความชุ่มชื้น ส่วนชายฝั่ง
ของมหาสมุทร บริเวณนั้นจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้น
ตะวันออกของมหาสมุทรนั้นมวลน�้าเย็นจากใต้มหาสมุทรจะไหลขึ้นมาแทนที่มวลน�้าอุ่น อากาศ
ไอนํา้ บริเวณผิวนํา้ จะลอยตัวขึน้ และกอตัวเปน
บริเวณนั้นจึงแห้งแล้งและหนาวเย็น
เมฆฝน ทําใหเกิดความชุมชื้น สวนชายฝง
ตะวันออกของมหาสมุทรอากาศในบริเวณนั้น
จะแหงแลงและหนาวเย็น ทิศทางลม
2. นั ก เรี ย นอ า นข อ มู ล และศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
การสแกน QR Code เรื่อง ปรากฏการณ
เอลนีโญและลานีญา
กระแสนํ้าอุ่น เส้นศูนย์สูตร
กระแสนํ้าเย็น อเมริกาใต้
แนวตอบ Prior Knowledge ออสเตรเลีย
การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศนั้นสงผล
กระทบตอมนุษย สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมตางๆ
เพราะความแปรปรวนของอากาศสงผลใหสภาพ ภาพที่ 5.18 สภาพอากาศในสภาวะปกติ
ของอากาศเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน เกิดภาวะ 44
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา
โลกรอน ทําใหนาํ้ แข็งขัว้ โลกละลาย ปริมาณนํา้ ทะเล
เพิ่มสูงขึ้น

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา ไดจากการสแกน ปรากฏการณเอลนีโญแตกตางกับปรากฏการณลานีญาอยางไร
QR Code เรื่อง ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา (วิเคราะหคําตอบ ปรากฏการณเอลนีโญเกิดจากอุณหภูมิพื้นผิว
ของมหาสมุทรแปซิฟกดานตะวันออกแถบเสนศูนยสูตรมีอุณหภูมิ
สูงขึ้น ทําใหสภาพภูมิอากาศแปรผันไปจากปกติ คือ บริเวณที่เคย
มีฝนตกชุกจะกลายเปนแหงแลง และจากบริเวณที่แหงแลงจะมี
ฝนตกชุก สวนปรากฏการณลานีญาจะตรงขามกัน)

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
• ปรากฏการณเอลนีโญ Earth Science ครูใหนักเรียนเขียนสรุป เรื่อง ปรากฏการณ
เกิดขึ้นเมื่อลมคาตะวันออกเฉียงใตออนกําลังลง in real life เอลนีโญและปรากฏการณลานีญา ลงในกระดาษ
กระแสนํ้ า อุ  น จากบริ เ วณชายฝ  ง ตะวั น ออกของมหาสมุ ท ร ปรากฏการณเอลนีโญ จะสงผล A4 ในรูปแบบผังมโนทัศน และตกแตงชิ้นงานให
ใหปริมาณฝนของประเทศไทย สวยงาม แลวนํามาสงในชั่วโมงถัดไป
ถูกพัดไปยังชายฝงตะวันตกนอยลง ทําใหชายฝงตะวันออก มีแนวโนมตํ่ากวาปกติในฤดูฝน
ของมหาสมุทรมีฝนตกมากกวาปกติ แตชายฝงตะวันตกของ และจะมี ฝ นน อ ยลงขณะที่ อธิบายความรู้
มหาสมุทรมีสภาพแหงแลง ทําใหบริเวณชายฝงขาดธาตุอาหาร อากาศรอนขึ้น มาตรการที่จะ
สําหรับปลาและนกทะเล บรรเทาผลกระทบ คือ หากได 1. ครู อ ธิ บ ายปรากฏการณ เ อลนี โ ญ เมื่ อ เกิ ด
รับคําเตือนวาไดเกิดเอลนีโญ เอลนีโญ กระแสลมสินคาตะวันออกจะออน
ปรากฏการณเอลนีโญทําใหฝนตกหนักในตอนเหนือ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งต า ง ๆ
ของทวีปอเมริกาใต และยังกอใหเกิดความแหงแลงในเอเชีย และประชาชนทัว่ ไปก็ควรมีการ กําลัง กระแสลมพื้นผิวจึงเปลี่ยนทิศทางการ
ตะวันออกเฉียงใต และออสเตรเลียตอนเหนือ และการเกิดไฟไหมปา ระมัดระวังเรื่องโรคภัยในชวงที่ พัดจากประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลีย
อยางรุนแรงในประเทศอินโดนีเซียเปนผลจากปรากฏการณ เกิดภัยแลง รวมทั้งเรื่องไฟปา ตอนเหนื อ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก แล ว ยกตั ว
เปนตน
เอลนีโญเชนกัน ขึ้นเหนือชายฝงทวีปอเมริกาใต ทําใหเกิดฝน
ตกหนักและแผนดินถลมในประเทศเปรูและ
ทิศทางลม
เอกวาดอร กระแสลมพัดกระแสนํา้ อุน บนพืน้ ผิว
มหาสมุทรแปซิฟก ไปกองรวมกันบริเวณชายฝง
ประเทศเปรู ทําใหกระแสนํ้าเย็นใตมหาสมุทร
เย็นกวาปกติ เสนศูนยสูตร
ไมสามารถลอยตัวขึ้นมา บริเวณชายฝงจึง
อุนกวาปกติ
อเมริกาใต ขาดธาตุอาหารสําหรับปลาและนกทะเลทําให
ออสเตรเลีย ชาวประมงเปรูขาดรายได

ภาพที่ 5.19 ปรากฏการณเอลนีโญ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
Earth Science
Focus ปรากฏการณ์เอลนีโญ
คําวา เอลนีโญเปนภาษาสเปน หมายถึง เด็กผูชาย ซึ่ง
ปรากฏการณนี้มักจะเกิดประมาณชวงเทศกาลคริสตมาส จึงใหความ
หมายวา บุตรของพระคริสต ปรากฏการณนี้จะมีระยะเวลายาวนาน
ประมาณ 2-3 เดือน หรือในชวงฤดูรอนของซีกโลกใต เพราะชวงนี้ ภาพที่ 5.20 สภาพพื้นดินแหง
แลงจากปรากฏการณเอลนีโญ
ลมคาตะวันออกเฉียงใตในซีกโลกใตบริเวณมหาสมุทรแปซิฟกมักจะ ที่มา : http://www.bkkvavi-
มีกําลังออนลง etycom/2021

การเปลี่ยนแปลง 45
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เมื่อเกิดรองมรสุมจะทําใหเกิดลักษณะอากาศอยางไร ครูอาจตัง้ คําถามถามนักเรียนวา นักเรียนเคยสังเกตเห็นขาว เรือ่ ง ปรากฏการณ
(วิเคราะหคาํ ตอบ รองมรสุม เกิดจากแนวความกดอากาศตํา่ ทําให เอลนีโญและปรากฏการณลานีญาบางหรือไม และปรากฏการณดังกลาวมี
เกิดฝนตก ซึ่งเปนลักษณะอากาศของประเทศไทย ถาเกิดรอง ลักษณะการเกิดขึ้นอยางไร ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายหาคําตอบอยางอิสระ
มรสุมนาน จะสงผลใหเกิดฝนตกนานทําใหเกิดนํ้าทวมได โดย โดยครูอาจใชภาพยนตรสารคดีสั้นจาก Youtube เรื่อง เอลนีโญและลานีญา
ประเทศไทยรองมรสุมเกิดจากการปะทะกันของลมมรสุมตะวันตก ตอน 1 สังคมศึกษาฯ ม.1-6 ชวยในการอภิปราย https://www.youtube.com/
เฉียงใต และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มีผลทําใหเกิดฝนตก watch?v=dox4dlXsp5M&t=218s
เปนบริเวณกวาง ถาแนวชนของรองมรสุมทั้งสองแคบจะเกิดเปน
พายุฝนฟาคะนองไดงาย

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. ครู อ ธิ บ ายปรากฏการณ ล านี ญ าว า เป น • ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณที่มีลักษณะตรงขามกับเอลนีโญ เกิดขึน้ เมือ่ ลมค้าตะวันออกเฉียงใต้มกี า� ลังแรงกว่าปกติ กระแสน�า้ อุน่ จากบริเวณชายฝัง่
จะมี ลั ก ษณะคล า ยคลึ ง กั บ สภาวะปกติ แ ต ตะวันออกของมหาสมุทรถูกพัดไปยังชายฝัง่ ตะวันตกมากขึน้ ท�าให้ชายฝัง่ ตะวันออกของมหาสมุทร
รุนแรงกวา เมื่อกระแสลมสินคาตะวันออกที่ เกิดความหนาวเย็นและแห้งแล้งกว่าปกติ ส่วนชายฝัง่ ตะวันตกของมหาสมุทรมีฝนตกมากกว่าปกติ
พัดไปทางทิศตะวันออกมีกาํ ลังแรงทําใหระดับ
นํา้ ทะเลบริเวณทางซีกตะวันตกของมหาสมุทร
แปซิฟกสูงกวาสภาวะปกติ ลมคายกตัวเหนือ ทิศทางลม
ประเทศอินโดนีเซียทําใหเกิดฝนตกอยางหนัก
แต ที่ บ ริ เ วณชายฝ  ง ประเทศเปรู นํ้ า เย็ น ใต
มหาสมุทรยกตัวขึน้ แทนทีก่ ระแสนํา้ อุน บริเวณ อุ่นกว่าปกติ
ชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกทางซีกตะวันออก เส้นศูนย์สูตร
เย็นกว่าปกติ อเมริกาใต้
ทําใหเกิดธาตุอาหารและฝูงปลาชุกชุม ออสเตรเลีย
3. ครูอธิบาย เรือ่ ง ปรากฏการณแนวปะการังฟอก
ขาววา เปนปรากฏการณที่ปะการังชนิดตางๆ
รวมถึงสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังอีกหลายชนิด ภาพที่ 5.21 ปรากฏการณ์ลานีญา
มีสีซีดลง ที่มา : คลังภาพ อจท.

Earth Science
Focus ปรากฏการณปะการังฟอกขาว
1
ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว คือ สภาวะที่ปะการังเปลี่ยนเป็นสีขาว โดยเป็นผลมาจาก
การสูญเสียสาหร่ายซูแซนเทลลี (zooxanthellae) ซึ่งสาหร่ายซูแซนเทลลีอาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อของ
ปะการัง และมีการด�ารงชีวิต2อยู่แบบพึ่งพากัน
โดยสาหร่ายจะสังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหาร
รวมถึงการสร้างสีสันให้แก่ปะการังด้วย แต่เมื่อ
สภาพแวดล้อมในทะเลมีการเปลี่ยนแปลง เช่น
การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ อุณหภูมิน�้าทะเล
จะสู ง ขึ้ น สาหร่ า ยซู แ ซนเทลลี ที่ อ าศั ย อยู ่ กั บ
ปะการังไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้และตายลง ภาพที่ 5.22 ปะการังฟอกขาว
ส่งผลให้ปะการังมีสีซีดและเกิดฟอกขาวในที่สุด ที่มา : http://seaa.rwsentosablog.com/caral-
bleaching/

46

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สาหรายซูแซนเทลลี (zooxanthellae) ซึ่งเปนสาหรายเซลลเดียวอาศัย ขอใดเปนปรากฏการณเกี่ยวกับกระแสนํ้าเย็น
อยูรวมกันภายในเนื้อเยื่อของปะการัง สาหรายซูแซนเทลลีใหพลังงานที่เปน 1. สึนามิ
ผลจากการสังเคราะหดวยแสงแกปะการังที่ใชเปนที่อาศัย อีกทั้งยังใหสีสันที่ 2. ฝนกรด
หลากหลายกับปะการังดวย ดังนัน้ หากปะการังเหลานีไ้ มมสี าหรายซูแซนเทลลีแลว 3. ลานีญา
ปะการังจะไดรบั พลังงานไมเพียงพอตอการดํารงชีวติ และปะการังก็จะมีแตสขี าว 4. เอลนีโญ
ซึ่งเปนสีของโครงรางหินปูนที่เปนแคลเซียมคารบอเนตเทานั้น 5. พายุหมุน
2 สังเคราะหแสง เปนกระบวนการทีป่ ระกอบดวยปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดขึน้ อยาง (วิเคราะหคําตอบ กระแสลมคาตะวันออกที่พัดไปทางทิศตะวัน-
ตอเนือ่ งกันเปนลําดับในคลอโรพลาสตในเซลลพชื โดยใชพลังงานจากแสงอาทิตย ออกมีกําลังแรงทําใหระดับนํ้าทะเลบริเวณทางซีกตะวันตกของ
เปลี่ยนแกสคารบอนไดออกไซตและไฮโดรเจนจากนํ้าหรือแหลงไฮโดรเจนอื่นๆ มหาสมุทรแปซิฟกสูงกวาสภาวะปกติ ลมคายกตัวเหนือประเทศ
ใหกลายเปนสารประกอบประเภทคารโบไฮเดรตและมีแกสออกซิเจนเกิดขึ้น อินโดนีเซียทําใหเกิดฝนตกอยางหนัก แตที่บริเวณชายฝงประเทศ
เปรูนาํ้ เย็นใตมหาสมุทรยกตัวขึน้ แทนทีก่ ระแสนํา้ อุน บริเวณชายฝง
มหาสมุทรแปซิฟกทางซีกตะวันออกทําใหเกิดธาตุอาหารและ
ฝูงปลาชุกชุม ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
• การสังเกต 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ทํา
การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ • การทดลอง กิจกรรม เรื่อง การเกิดปรากฏการณเอลนีโญ
• การตีความขอสรุปและการลง
ขอสรุป 2. ครูใหนักเรียนนําอุปกรณที่เตรียมมา ซึ่งไดแก
จุดประสงค จิตวิทยาศาสตร
• ความอยากรูอยากเห็น
นํ้าเปลา กระดาษ ไดรเปาผม นํ้ามันพืช กลอง
เพื่อศึกษาการเกิดปรากฏการณเอลนีโญ
• ความรอบคอบ พลาสติก และสีผสมอาหาร มาใชในการทํา
กิจกรรม
วัสดุอปุ กรณ
อธิบายความรู
1. นํ้าเปลา 4. นํ้ามันพืช
2. กระดาษ 5. กลองพลาสติก
1. ครูอธิบายขัน้ ตอนในการทํากิจกรรม เรือ่ ง การ
3. ไดรเปาผม 6. สีผสมอาหาร เกิดปรากฏการณเอลนีโญ โดยอธิบายและ
อาจจะสาธิตวิธีการทํากิจกรรมใหนักเรียนดู
วิธปี ฏิบตั ิ เปนตัวอยาง
1. เติมนํา้ ลงในกลองพลาสติกจนมีความสูงประมาณ
2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม โดยใหเวลาในการ
3 นิ้ว เติมสีผสมอาหารลงในนํ้า จะไดนํ้าสีฟา ทํากิจกรรมทัง้ หมด 30 นาที และบันทึกผลทีไ่ ด
โดยเปรียบเสมือนมวลนํ้าทะเลเย็น ลงในสมุดแลวนํามาสงครูทายคาบเรียน
2. นํากระดาษ 2 แผน เขียนคําวา “ตะวันออก” และ
“ตะวันตก” โดยนําคําวาตะวันออกไปติดทีด่ า นขวา
ของกลอง และนําคําวาตะวันตกไปติดที่ดานซาย ตะวันตก ตะวันออก
ของกลอง โดยกลองเปรียบเสมือนมหาสมุทร
แปซิฟก
3. เติมนํ้ามันพืชลงในกลอง ใหมีความสูงประมาณ
1 นิว้ ซึง่ นํา้ มันจะลอยตัวบนนํา้ โดยนํา้ มันเปรียบ
บันทึก กิจกรรม
เสมือนมวลนํ้าอุน
ตะวันตก ตะวันออก จากกิจกรรมการเกิดปรากฏการณเอลนีโญโดย
ลมจากไดรเปาผมเปรียบเสมือนลมคา เมื่อเปด
4. ใชไดรเปาผมเปาลมรอนจากทางดานตะวันออก ไดรเปาผมจําลองใหพดั พามวลนํา้ อุน จากฝง ตะวัน-
ของมหาสมุทรแปซิฟก สังเกตการเปลี่ยนแปลง ออกไปสูฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก และ
จากนั้นปดไดรเปาผม สังเกตการเปลี่ยนแปลง
ตะวันตก ตะวันออก จะสังเกตเห็นการหมุนของมวลนํา้ เย็นจากกนกลอง
ภาพที่ 5.23 กิจกรรมการเกิดปรากฏการณเอลนีโญ พลาสติกดันตัวขึ้นมาดานบนในฝงตะวันออก แต
ที่มา : คลังภาพ อจท. เมื่อปดไดรเปาผมจะเปนการจําลองปรากฏการณ
การเปลี่ยนแปลง 47
เอลนีโญ เนื่องจากลมคาออนกําลัง สงผลใหมวล
ภูมิอากาศของโลก
นํ้าอุนไหลยอนกลับมายังฝงตะวันออกทันที ทําให
เกิดผลกระทบกับอากาศทั้ง 2 มหาสมุทร

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับปรากฏการณเอลนีโญ ในการทํากิจกรรม เรื่อง การเกิดปรากฏการณเอลนีโญ ครูอาจใชแผนที่
1. ปรากฏการณปลาโลมาเกยตื้น เพื่อนํามาประกอบการทํากิจกรรมเพื่อใหนักเรียนไดเห็นภาพอยางชัดเจน และ
2. ปรากฏการณนํ้าทะเลเปลี่ยนอุณหภูมิกะทันหัน ใหนักเรียนศึกษาขอมูลและสืบคนการเกิดปรากฏการณเอลนีโญ เมื่อจบการทํา
3. ปรากฏการณพายุขนาดยักษพัดขึ้นชายฝงทะเล กิจกรรมครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลจากการทํากิจกรรม
4. ปรากฏการณการไหลยอนกลับของผิวนํ้าทะเลอุน
5. ปรากฏการณนาํ้ ทะเลเปลีย่ นสี ทําใหสงิ่ มีชวี ติ ไดรบั ผลกระทบ
เกิดความเสียหาย
(วิเคราะหคําตอบ ปรากฏการณเอลนีโญเปนปรากฏการณทําให
เกิดการไหลยอนกลับของผิวนํ้าทะเลอุน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3. ครูถามคําถามทายกิจกรรม เรื่อง การเกิด ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
?
ปรากฏการณเอลนีโญดังตอไปนี้
1. เมื่อเปิดไดร์เป่าผม เกิดการเปลี่ยนแปลงกับมวลน�้าอุ่นและมวลน�้าเย็นหรือไม่ อย่างไร
ï• เมื่อเปดไดรเปาผม เกิดการเปลี่ยนแปลงกับ
2. เมือ่ ปิดไดร์เป่าผม เกิดการเปลี่ยนแปลงกับมวลน�้าอุ่นและมวลน�้าเย็นหรือไม่ อย่างไร
มวลนํ้าอุนและมวลนํ้าเย็นหรือไม อยางไร
ï• เมื่อปดไดรเปาผม เกิดการเปลี่ยนแปลงกับ
มวลนํ้าอุนและมวลนํ้าเย็นหรือไม อยางไร อภิปรายผลกิจกรรม

4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลทายกิจกรรม จากกิจกรรมการเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ โดยลมจากไดร์เป่าผมเปรียบเสมือนลมค้า เมือ่ เปิดไดร์เป่าผม


การเกิดปรากฏการณเอลนีโญ และรวมกันสรุป จ�าลองให้เป็นสภาพปกติของลมค้าทีส่ ามารถพัดพามวลน�า้ อุน่ จากฝัง่ ตะวันออกไปสูฝ่ ง่ั ตะวันตกของมหาสมุทร
กิจกรรม เรื่อง การเกิดปรากฏการณเอลนีโญ แปซิฟิก และจะสังเกตเห็นการหมุนของมวลน�้าเย็นจากก้นกล่องพลาสติกดันตัวขึ้นมาด้านบนในฝั่งตะวันออก
ในหองเรียน จากนั้นครูสุมใหนักเรียนตอบ ถ้ามีตะกอนของสีผสมอาหารตกตะกอนอยู่ อาจจะสังเกตได้ว่าการเคลื่อนที่ของตะกอนนั้นเปรียบเสมือนการที่
มวลน�า้ เย็นได้พดั พาแหล่งอาหารจากใต้มหาสมุทรขึน้ มายังชายฝัง่ ซึง่ เป็นแหล่งอาหารทีส่ า� คัญของสัตว์นา�้ แต่
คําถามวา ไดอะไรจากการทํากิจกรรมนี้บาง เมื่อปิดไดร์เป่าผมจะเป็นการจ�าลองปรากฏการณ์เอลนีโญ เนื่องจากลมค้าอ่อนก�าลัง ส่งผลให้มวลน�้าอุ่นไหล
ย้อนกลับมายังฝั่งตะวันออกทันที ท�าให้เกิดผลกระทบกับอากาศทัั้งสองมหาสมุทร

เอลนีโญ

ทิศทำงลม

แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
1. เมือ่ เปดไดรเปาผมจําลองใหเปนสภาพปกติของ
ลมคาที่สามารถพัดพามวลนํ้าอุนจากฝงตะวัน-
ออกไปสูฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก จะ อุ่น เย็น
สังเกตเห็นการหมุนของมวลนํา้ เย็นจากกนกลอง ภำพที่ 5.24 ทิศทางการพัดของลมที่ส่งผลต่อการเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ
พลาสติกดันตัวขึ้นมาดานบนในฝงตะวันออก ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. เมือ่ ปดไดรเปาผมจะเปนการจําลองปรากฏการณ
เอลนีโญ เนื่องจากลมคาออนกําลัง สงผลให 48
มวลนํา้ อุน ไหลยอนกลับมายังฝง ตะวันออกทันที
ทําใหเกิดผลกระทบกับอากาศทั้ง 2 มหาสมุทร

เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทาทาย


ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลทายกิจกรรมการเกิดปรากฏการณ ใหนกั เรียนเขียนสรุป เรือ่ ง การเกิดปรากฏการณเอลนีโญและ
เอลนีโญ หลังจากนัน้ ครูสมุ นักเรียนออกมาอธิบายสรุปผลกิจกรรม เรือ่ ง การเกิด ปรากฏการณลานีญา ลงในกระดาษที่ครูแจกให โดยใหนักเรียน
ปรากฏการณเอลนีโญ และครูอาจเสริมเพิ่มเติมความรูที่คิดวายังไมสมบูรณให สรุปในรูปแบบทีส่ ามารถสือ่ สารใหผอู นื่ เขาใจงายและนาสนใจ เชน
สมบูรณครบถวน พรอมทั้งตอบขอซักถามของนักเรียน ผังมโนทัศน แผนภาพ อินโฟกราฟก ตามที่สนใจไดอยางอิสระ

T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2. ผลกระทบจากเอลนี โ ญและลานี ญ า ปรากฏการณ เ อลนี โ ญและลานี ญ าเป น ครูถามคําถามทบทวนความรูกับนักเรียน โดย
ปรากฏการณทางธรรมชาติที่ปฏิสัมพันธกันระหวางการหมุนเวียนของกระแสอากาศและกระแส มีคําถามดังตอไปนี้
นํ้าในมหาสมุทร ทําใหเกิดความผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเสนศูนยสูตรเหนือมหาสมุทร • ปรากฏการณ เ อลนี โ ญและปรากฏการณ
แปซิฟก สงผลใหสภาพภูมอิ ากาศของโลกเกิดความแปรปรวน นอกจากนัน้ นักวิทยาศาสตรยงั พบวา ลานีญาแตกตางกันอยางไร
ปรากฏการณเอลนีโญสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความดันของอากาศเหนือนํ้าทะเลบริเวณ ( แนวตอบ ปรากฏการณ เ อลนี โ ญเกิ ด จาก
มหาสมุทรแปซิฟกดานตะวันตก โดยเปลี่ยนจากความดันตํ่าเปนความดันสูง และความดันอากาศ อุณหภูมิพื้นผิวของมหาสมุทรแปซิฟกดาน
เหนือนํา้ ทะเลบริเวณมหาสมุทรแปซิฟก ดานตะวันออกเปลีย่ นจากความดันสูงเปนความดันตํา่ สลับ ตะวันออกแถบเสนศูนยสตู รมีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้
กันไปมาเชื่อมโยงใหสภาพอากาศในซีกโลกใตผันผวนไปดวย เรียกวา ความผันผวนของอากาศ ทําใหสภาพภูมอิ ากาศแปรผันไปจากปกติ คือ
ในซีกโลกใต
1 ดวยเหตุนี้นักวิทยาศาสตรจึงเรียกปรากฏการณทั้งสองรวมกันวา ปรากฏการณ บริเวณทีเ่ คยมีฝนตกชุกจะกลายเปนแหงแลง
เอนโซ (ENSO) และบริเวณที่แหงแลงจะมีฝนตกชุก สวน
ปรากฏการณเอนโซ (ENSO) เปนความสัมพันธของปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา ปรากฏการณลานีญาจะตรงขามกัน)
ทําใหเกิดปรากฏการณผันผวนทางทะเลและบรรยากาศรวมกัน สาเหตุจากการเกิดปรากฏการณ
เอลนีโญทําใหอุณหภูมิผิวนํ้าทะเลในฝงตะวันออกและตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกผิดปกติไป อธิบายความรู้
ทําใหความดันผิวนํา้ ทะเลผิดปกติไปดวย สงผลใหการหมุนเวียนอากาศในแนวดิง่ ตามทิศตะวันออก- 1. ครูอธิบายความรู เรือ่ ง ผลกระทบจากเอลนีโญ
ตะวันตกตามวัฏจักรของวอลเกอร (Walker circulation) และลานีญาใหนกั เรียนฟง ซึง่ สองปรากฏการณ
Earth Science นีเ้ ปนปรากฏการณทางธรรมชาติทมี่ ปี ฏิสมั พันธ
Focus การตรวจวัดอากาศในทะเล กันระหวางการหมุนเวียนของกระแสอากาศ
สถานี ต รวจวั ด อากาศในทะเลบริ เ วณ และกระแสนํ้าในมหาสมุทร นักวิทยาศาสตร
มหาสมุทรแปซิฟกมีการติดตั้งทุนตรวจอากาศ ยังพบวา ปรากฏการณเอลนีโญสงผลใหเกิด
(buoy) รวมถึงการตรวจวัดอุณหภูมผิ วิ นํา้ ดวย เพือ่ การเปลี่ยนแปลงความดันของอากาศเหนือนํ้า
ติดตามปรากฏการณเอลนีโญ ซึง่ เปนความรวมมือ ทะเลบริเวณมหาสมุทรแปซิฟก ดานฝง ตะวันตก
จากหลายหนวยงานภายใตชื่อ “The Tropical เปลี่ ย นจากความดั น ตํ่ า เป น ความดั น สู ง
Ocean Global Atmosphere program; TOGA”
โดยสถานีแตละสถานีจะสงสัญญาณเพื่อรายงาน ส ว นความดั น อากาศเหนื อ นํ้ า ทะเลบริ เ วณ
ขอมูลการตรวจวัดมายังศูนยขอ มูลหลักทีฮ่ อนโนลูลู มหาสมุทรแปซิฟก ตะวันออกเปลีย่ นจากดันสูง
สหรัฐอเมริกา ผานทางระบบดาวเทียมคางฟา เปนความดันตํา่ จนเรียกไดวา เปนความผันผวน
(geostationary satellites) แลวนําขอมูลมา ของอากาศในซีกโลกใต จึงเรียกปรากฏการณ
คํานวณหาคาดัชนีความผันแปรของระบบอากาศ นี้วา ปรากฏการณเอนโซ
ภาพที่ 5.25 ทุนตรวจอากาศในทะเล
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเปลี่ยนแปลง 49
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชผลกระทบจากปรากฏการณเอลนีโญที่มีตอมนุษย 1 ปรากฏการณเอนโซ เปนคํารวมของเอลนีโญและความผันแปรของระบบ
1. พื้นที่ที่เคยชุมชื้นเกิดภาวะแหงแลง อากาศในซีกโลกใต (El Nino/Southern Oscillation) โดยที่ปรากฏการณทั้งสอง
2. อากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงในแตละพื้นที่ ทีก่ ลาวมาขางตน มีความสัมพันธซงึ่ กันและกันอยางใกลชดิ โดยจะเปนตัวเชือ่ ม
3. การเกิดแผนดินไหวใตมหาสมุทร สงผลใหเกิดคลืน่ ขนาดใหญ ระหวางปรากฏการณในมหาสมุทรและบรรยากาศเขาดวยกัน กลาวคือ เอลนีโญ
4. ระบบนิเวศเสียสมดุล ปริมาณของไฟโตแพลงกตอนลดลง เปนปรากฏการณทเี่ กิดในสวนของมหาสมุทร สวนความผันแปรของระบบอากาศ
ปลาตองหาแหลงอาหารใหม ในซีกโลกใตเปนปรากฏการณที่เกิดในสวนของบรรยากาศ ซึ่งไดเชื่อมโยงเปน
5. อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น อากาศรอนจัดในขณะเดียวกัน ปรากฏการณเดียวกัน
อุณหภูมิลดลงทําใหอากาศหนาวจัดจนหิมะตกหนัก
(วิเคราะหคาํ ตอบ เอลนีโญมีผลกระทบ ดังนี้ พืน้ ทีเ่ กิดภาวะแหงแลง
อากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงในแตละพื้นที่ ระบบนิเวศเสียสมดุล
ปริมาณไฟโตแพลงกตอนลดลง ปลาตองหาแหลงอาหารใหม อุณหภูมิ
เปลีย่ นแปลงสูงขึน้ อากาศรอนจัดและหนาวจัด ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T53
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. ครูอธิบาย เรื่อง ผลกระทบจากปรากฏการณ แมวาปรากฏการณเอลนีโญและลานีญาจะเกิดในบริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก
เอลนีโญและปรากฏการณลานีญาวา สงผลให แตเนื่องจากความเชื่อมโยงและการไหลเวียนของกระแสนํ้าจึงสงผลกระทบไปยังพื้นที่หางไกล
สภาพอากาศในหลายพืน้ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจาก ออกไป ซึ่งการที่ลักษณะอากาศที่เกิดขึ้นบริเวณใดบริเวณหนึ่งสามารถสงผลกระทบตอลักษณะ
เดิม และสงผลกระทบกับชีวิตและสิ่งแวดลอม อากาศบริเวณที่อยูหางไกล เรียกวา เทเลคอนเนกชัน (teleconnection)
ตางๆ เปนจํานวนมาก การเกิ ด ปรากฏการณ เ อลนี โ ญและลานี ญ าเป น การยากที่ จ ะทํ า นายช ว งการเกิ ด
3. ครูใหนกั เรียนสืบคน เรือ่ ง ผลกระทบทีเ่ กิดจาก ปรากฏการณ พื้ น ที่ ที่ รั บ ผลกระทบ และความยาวนานของปรากฏการณ ไ ด อ ย า งแม น ยํ า
ปรากฏการณเอลนีโญและปรากฏการณลานีญา นักวิทยาศาสตรจงึ ตองติดตามและศึกษาปรากฏการณนี้ เนือ่ งจากมีความซับซอนและเชือ่ มโยงไป
จากหนังสือเรียนหรืออินเทอรเน็ต แลวเขียน สูปรากฏการณตาง ๆ อีกมาก
สรุปลงในสมุดสงครูใหชั่วโมงถัดไป จากที่ทราบวาปรากฏการณเอลนีโญและลานีญาสงผลใหสภาพอากาศในหลายภูมิภาค
4. ครูใหนักเรียนทําใบงานที่ 5.1 เรื่อง ปรากฏ- เปลี่ยนแปลงไปและอุณหภูมินํ้าทะเลแปรปรวน ซึ่งสงผลกระทบตอชีวิตและสิ่งแวดลอม เชน
การณเอลนีโญและปรากฏการณลานีญา และ
นํามาสงในชั่วโมงถัดไป

ภาพที่ 5.26 ปลาตายเปนจํานวนมาก พ.ศ. 2556 ภาพที่ 5.27 นํ้าทวม พ.ศ. 2554
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

ภาพที่ 5.28 ภัยแลง พ.ศ. 2559 ภาพที่ 5.29 ปะการังฟอกขาว พ.ศ. 2541
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : http://www.climatechangenews.com

50

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจตัง้ คําถามถามนักเรียนวา ผลกระทบทีเ่ กิดจากปรากฏการณเอลนีโญ 1. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคน เรือ่ ง ผลกระทบจากปรากฏการณเอลนีโญ
และปรากฏการณลานีญามีอะไรบาง โดยใหนักเรียนยกตัวอยางมาคนละ และปรากฏการณลานีญา
1 ตัวอยาง แลวใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายหาคําตอบอยางอิสระ โดยครูอาจใช 2. ใหนกั เรียนเลือกขอมูลและจัดเตรียมขอมูล เพือ่ นํามาเสนอตาม
ภาพยนตรสารคดีสนั้ เว็บไซต Youtube เรื่อง ปรากฏการณเอลนีโญ ลานีญา รูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ
ชวยในการอภิปราย https://www.youtube.com/watch?v=ymVjVGGKnNc 3. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
ไดงาย

T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2.2 ปรากฏการณเรือนกระจก ครูสุมนักเรียนจํานวน 3 คน ออกมาเขียนตอบ
ปรากฏการณเรือนกระจก (greenhouse effect) เปนปรากฏการณที่ใชเรียกกระบวนการ คําถามบนกระดาน เรื่อง ปรากฏการณเอลนีโญ
ของอากาศบนโลกที่มีลักษณะคลายกระจกหอหุมโลกไว ทําใหภายในเรือนกระจกมีอุณหภูมิสูง และปรากฏการณลานีญา ที่เรียนไปในชั่วโมง
กวาภายนอก เมื่อแสงอาทิตยสองผานลงมายังชั้นบรรยากาศของโลก รังสีความรอนบางสวนจะ ที่แลว โดยตอบคําถาม ดังนี้
สะทอนกลับออกไป แตบางสวนไมสามารถสะทอนออกไปได เนื่องจากโลกถูกหอหุมดวยแกส • ผลกระทบที่เกิดจากปรากฏการณเอลนีโญ
เรือนกระจก ซึ่งแกสเหลานี้จะดูดคลื่นรังสีความรอนไวในเวลากลางวัน แลวแผรังสีความรอนออก และปรากฏการณลานีญามีอะไรบาง
มาในเวลากลางคืน ทําใหอุณหภูมิในบรรยากาศโลกไมเปลี่ยนแปลงอยางทันทีทันใด ถาไมมีแกส ( แนวตอบ ปลาตายเป น จํ า นวนมาก เกิ ด
เรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิโลกในตอนกลางวันจะรอนจัด สวนกลางคืนจะหนาวจัด ปญหานํ้าทวม เกิดภัยแลง และเกิดปะการัง
แตหากแกสเรือนกระจกมีปริมาณมากจะทําใหโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากแสงอาทิตยใน ฟอกขาว)
ความยาวคลืน่ อินฟราเรดทีส่ ะทอนกลับจะถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของแก
1 สเรือนกระจก (ไอนํา้ มีเทน อธิบายความรู
ไนตรัสออกไซด คารบอนไดออกไซด และคลอโรฟลูออโรคารบอน) โดยส 2 วนใหญแกสเรือนกระจก
เกิดมาจากการกระทําของมนุษย เชน การเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล กิจกรรมทางอุตสาหกรรม 1. ครูอธิบายเนือ้ หา เรือ่ ง ปรากฏการณเรือนกระจก
เปนตน ว า เป น ปรากฏการณ ที่ โ ลกมี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น
เนือ่ งจากพลังงานแสงอาทิตยในชวงความยาว
ภาพที่ 5.30 รังสีจากดวงอาทิตยที่ผานชั้นบรรยากาศของโลกจะถูกสะทอนและดูดกลืนเมื่อกระทบกับอนุภาคตาง ๆ ทั้งใน
บรรยากาศและผิวโลก คลื่ น อิ น ฟราเรดที่ ส ะท อ นกลั บ ถู ก ดู ด กลื น
ที่มา : คลังภาพ อจท. โดยโมเลกุลของไอนํา้ แกสคารบอนไดออกไซด
แกสมีเทน แกสไนตรัสออกไซด และคลอโร-
ฟลูออโรคารบอน ในบรรยากาศ ทําใหโมเลกุล
เหลานี้มีพลังงานสูงขึ้น มีการถายเทพลังงาน
ซึ่งกันและกันทําใหอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศ
สูงขึ้น เกิดการถายเทพลังงานและความยาว
คลื่นของโมเลกุลเหลานี้ตอๆ กันไป

การเปลี่ยนแปลง 51
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ปรากฏการณเรือนกระจก เกิดจากการเพิ่มขึ้นของแกสอะไร 1 คลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) คือ สารประกอบที่เกิดจากคลอรีน (Cl)
1. แกสฮีเลียม ฟลูออรีน (F) และคารบอน (C) ซึ่งเปนสารพิษที่เกิดจากหลายกรณี เชน การ
2. แกสอารกอน ปลอยควันพิษของโรงงาน และสามารถพบสารนีไ้ ดในตูเ ย็น หรือแมแตในสเปรย
3. แกสออกซิเจน ทุกชนิด ดังนั้นการใชสเปรยจึงเปนการสรางสาร CFCs โดยสาร CFCs นี้มีความ
4. แกสไนโตรเจน เปนอันตรายตอสิง่ แวดลอมมาก เพราะสามารถทําลายชัน้ โอโซน ทําใหชนั้ โอโซน
5. แกสคารบอนไดออกไซด เกิดชองโหว จนรังสีอลั ตราไวโอเลตสามารถแผเขามาสูผ วิ โลกไดมากขึน้ จนทําให
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปรากฏการณเรือนกระจก เปนปรากฏการณทโี่ ลก โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
มีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้ เนือ่ งจากพลังงานแสงอาทิตยในชวงความยาวคลืน่ 2 ฟอสซิล คือ ซากหรือรองรอยของสิ่งมีชีวิตในอดีตที่ถูกทับถมไวในชั้นหิน
อินฟราเรดที่สะทอนกลับถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของไอนํ้า แกส เชน ซากพืช ปลา หอย ไดโนเสาร บางชนิดสูญพันธุไปแลว บางชนิดยังมี
คารบอนไดออกไซด แกสมีเทน แกสไนตรัสออกไซด และคลอโร- วิวัฒนาการตอจนถึงปจจุบัน
ฟลูออโรคารบอน ในบรรยากาศ ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T55
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. ครูอธิบายถึง เรื่อง การเกิดปรากฏการณเรือน 1. การเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
กระจกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติวา มีแกสเรือน
กระจกที่เกิดขึ้น ดังนี้
• แกสคารบอนไดออกไซด เปนแกสชนิดที่ทํา การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect)
ใหเกิดพลังงานความรอนสะสมในบรรยากาศ
ของโลกมากทีส่ ดุ ในบรรดาแกสเรือนกระจก ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติ
ชนิดอืน่ ๆ เปนตัวการสําคัญของปรากฏการณ แก ส เรื อ นกระจกที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามธรรมชาติ ทํ า หน า ที่ ช  ว ยดู ด ซั บ และ
คายรังสีความรอนกลับสูพื้นโลก เชน ไอนํ้า มูลสัตว การยอยสลายของ
เรือนกระจก ซากสิ่งมีชีวิต การหายใจของพืชและสัตว การหลอมละลายของหินปูน
• แกสมีเทน เปนแกสทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ จากปลองภูเขาไฟ เปนตน หากในบรรยากาศไมมีแกสเรือนกระจก
จากมูลสัตวเลี้ยง อุณหภูมิของโลกจะสูงมากในเวลากลางวันและตํ่ามากในเวลากลางคืน
• แกสไนตรัสออกไซด เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ ซึ่งสิ่งมีชีวิตบนโลกไมสามารถดํารงชีวิตอยูได
มูลสัตวที่ยอยสลาย และเชื้อเพลิงถานหิน ภาพที่ 5.31 การเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

1
รังสีจากดวงอาทิตยผานชั้นบรรยากาศสูโลก

CH4
CO2 H2O
N2O

52

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การเกิดปรากฏการณเรือนกระจก ไดจาก ขอใดคือความหมายของปรากฏการณเรือนกระจก
ภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง ภาวะเรือนกระจก https://www.twig-aksorn. 1. บรรยากาศของโลกเกิดชองโหวเพราะแกสออกซิเจน
com/fiffiilm/the-greenhouse-effect-8111/ และนําความรูที่ไดมาเขียนเปน 2. ปรากฏการณที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นกวาที่ควรจะเปน
แผนผังความคิดและตกแตงใหสวยงาม 3. โอโซนในชั้นบรรยากาศลดลงเพราะรังสีอัลตราไวโอเลต
4. ปรากฏการณทแี่ กสไนโตรเจนทําใหโอโซนในชัน้ บรรยากาศ
ลดลง
5. ปรากฏการณที่แกสคารบอนไดออกไซดทําใหโอโซนในชั้น
บรรยากาศลดลง
(วิเคราะหคําตอบ ปรากฏการณเรือนกระจกเปนปรากฏการณที่
ทําใหโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากพลังงานแสงอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่ น อิ น ฟราเรดที่ ส ะท อ นกลั บ ถู ก ดู ด กลื น ดั ง นั้ น
ตอบขอ 2.)

T56
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการปล่อยแก๊สเรือนกระจกของมนุษย์ 3. ครูอธิบายการเกิดปรากฏการณเรือนกระจกที่
กิจกรรมในชีวิตประจําวันของมนุษย สงผลใหแกสเรือนกระจกมีปริมาณเพิ่มขึ้น เชน การเผาปา การเผาไหม เกิดจากกิจกรรมของมนุษย ดังนี้
เชื้อเพลิง การใชสารคลอโรฟลูออโรคารบอนในเครื่องปรับอากาศ ตูเย็น สเปรย การตัดไมทําลายปา การผลิต • กิจกรรมที่สงผลใหเกิดแกสเรือนกระจกมี
ในภาคอุตสาหกรรม หมอกควันจากเครื่องยนต เครื่องจักร ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่ง
ของภาวะโลกรอน
ปริมาณเพิม่ ขึน้ เชน การเผาปา การเผาไหม
2 1 เชื้อเพลิง การตัดไมทําลายปา การผลิตใน
ชั้นบรรยากาศและเปลือกโลกสะทอนรังสี
จากดวงอาทิตยบางสวนออกไป ภาคอุตสาหกรรม หมอกควันจากรถยนต
เครื่ อ งจั ก ร และเกิ ด จากสารคลอโรฟลู -
ออโรคาร บ อนเป น สารสั ง เคราะห ที่ ใ ช ใ น
อุตสาหกรรม ประกอบดวย คารบอน คลอรีน
และฟลู อ อรี น ซึ่ ง เป น สารที่ ทํ า ลายชั้ น
3 บรรยากาศโอโซน เปนสาเหตุทาํ ใหอณ ุ หภูมิ
แกสเรือนกระจกดูดซับรังสีความรอนบาง โลกสูงขึ้น และเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิด
สวนไว ทําใหเปลือกโลกและชั้นบรรยากาศ
เหนือโลกขึ้นไปมีอุณหภูมิสูงขึ้น ภาวะโลกรอน
4. ครูใหนกั เรียนเขียนอธิบาย เรือ่ ง ปรากฏการณ
เรือนกระจก ลงในสมุด และนํามาสงครูใน
ชั่วโมงถัดไป

4
เมื่อเปลือกโลกไดรับความรอนมาก จึงเกิด
การปลอยรังสีความรอนออกมา ทําใหโลก
มีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากรังสีความรอน
ไมสามารถผานชัน้ บรรยากาศทีม่ แี กสเรือน-
กระจกอยูได

CFCs
N2O CO2
HFCs
CH4

การเปลี่ยนแปลง 53
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ถาชัน้ บรรยากาศของโลกเกิดปรากฏการณเรือนกระจกมากขึน้ 1 ชั้นบรรยากาศ คือ สวนที่ปกคลุมผิวโลก โดยมีหนาที่เปรียบเสมือนเกราะ
เรื่อยๆ จะสงผลอยางไร ปองกันรังสีที่เปนอันตรายจากดวงอาทิตยและวัตถุตางๆ ในอวกาศ ซึ่งภายใน
1. เกิดชองโหวและมีการสะทอนของรังสียูวีมากเกินปกติ ชั้นบรรยากาศจะประกอบไปดวย ไอนํ้า ความรอน อากาศ และแกสตางๆ ดังนี้
2. จะทําใหนํ้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลายมากขึ้น ï• แกสไนโตรเจน 78% ï
3. ทําใหเกิดการสูญพันธุของสิ่งมีชีวิตเพิ่มมากขึ้น • แกสออกซิเจน 21%
4. ทําใหปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศลดลง ï• แกสอารกอน 0.93%
5. ทําใหเกิดฝนตกมากขึ้น สงผลใหเกิดภาวะนํ้าทวมฉับพลัน • แกสคารบอนไดออกไซด 0.03%
(วิเคราะหคําตอบ ถาชั้นบรรยากาศของโลกเกิดปรากฏการณ ï • แกสอื่นๆ 0.04%
เรือนกระจกมากขึ้นเรื่อยๆ จะสงผลทําใหความรอนเพิ่มขึ้น และ
อุณหภูมสิ งู ขึน้ จนทําใหนาํ้ แข็งบริเวณขัว้ โลกละลายมากขึน้ ดังนัน้
ตอบขอ 2.)

T57
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ครูถามคําถามทบทวนความรูกับนักเรียน โดย 2. กระบวนการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ดวงอาทิตย์ส่งพลังงานมายังโลกในรูป
ถามคําถาม ดังนี้ ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งส่วนใหญ่จะมีความยาวคลื่นในช่วง 0.4-0.7 ไมโครเมตร ประกอบ
• แกสชนิดใดสงผลใหเกิดปรากฏการณเรือน ด้วยรังสีหลัก ๆ ได้แก่ รังสีที่สามารถมองเห็นได้หรือแสงขาว (visible light) 44% รังสีความร้อน
กระจกมากที่สุด (infrared radiation) 48% และรังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet radiation) 7% โดยความเข้ม
(แนวตอบ แกสคารบอนไดออกไซด) ของรังสีจากดวงอาทิตย์แปรผันโดยตรงกับระยะทาง ขณะที่โลกตั้งอยู่ในต�าแหน่งระหว่างดาวศุกร์
และดาวอังคาร จึงได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้งยังมีบรรยากาศที่
อธิบายความรู
ห่อหุ้มโลกไว้ท�าให้โลกไม่ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์มากเกินไป
1. ครูอธิบาย เรือ่ ง กระบวนการเกิดปรากฏการณ ปรากฏการณ์เรือนกระจกท�าให้อุณหภูมิของโลกไม่ต�่าเกินไป และรักษาสมดุลของ
เรือนกระจก ใหนักเรียนฟง โดยอธิบายถึง อุณหภูมใิ ห้เหมาะสมต่อการด�ารงชีวติ ของสิง่ มีชวี ติ ชัน้ บรรยากาศของโลกท�าหน้าทีร่ กั ษาสมดุลของ
อัตราสวนของแกสตางๆ โดยประกอบดวย อุณหภูมบิ นพืน้ โลก โดยกักเก็บพลังงานและสะท้อนพลังงานจากดวงอาทิตย์บางส่วน ซึง่ องค์ประกอบ
แกสคารบอนไดออกไซด 62% แกสมีเทน 20% ส�าคัญในบรรยากาศทีท่ า� หน้าทีน่ ี้ คือ แก๊สเรือนกระจกทีป่ ระกอบไปด้วย ไอน�า้ คาร์บอนไดออกไซด์
คลอโรฟลูออโรคารบอน 12% แกสไนตรัส- มีเทน โอโซน ไนตรัสออกไซด์ เป็นต้น โดยแก๊สที่มีบทบาทส�าคัญและมีปริมาณมากที่สุดใน
ออกไซด 4% แกสไฮโดรฟลูออโรคารบอน 2% อากาศ ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ ปัจจุบนั แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ยงั คงมีปริมาณเพิม่ ขึน้
2. ครูอธิบายปรากฏการณเรือนกระจก โดยให อย่างต่อเนื่อง โดยมีผลมาจากการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม และการใช้พลังงานของมนุษย์
นักเรียนอานขอมูล และสามารถศึกษาเพิม่ เติม มนุษย์กา� ลังเปลีย่ นแปลงระบบการไหลเวียนความร้อนของดวงอาทิตย์ในชัน้ บรรยากาศ
ไดจาก QR Code เรือ่ ง ปรากฏการณเรือนกระจก จากการปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ โดยไม่มีการควบคุม ท�าให้ฤดูกาลของโลก
เพือ่ ใชในการทบทวนความรูใ หเกิดความเขาใจ เปลี่ยนแปลงไป อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโลกเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมของมนุษย์
มากขึ้น ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม

คาร์บอนไดออกไซด์ 62%

20% มีเทน

ไนตรัสออกไซด์ 4%

ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน 2% 12% คลอโรฟลูออโรคาร์บอน


ภาพที่ 5.32 แก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

54 ปรากฏการณ์เรือนกระจก

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากการสแกน QR Code เรือ่ ง ปรากฏการณเรือนกระจก ขอใดเปนวิธีปองกันผลกระทบที่เกิดจากปรากฏการณเรือน
กระจกที่สําคัญที่สุด
1. งดการใชสาร CFCs แลวเปลี่ยนเปนสารอื่นแทน
2. งดการเผาปาเปนการหันมาทําไรเลื่อนลอยแทน
3. ปลูกตนไมใหมากขึ้นเพื่อจะทําใหปริมาณแกสคารบอน-
ไดออกไซดลดลง
4. จัดผังเมืองบริเวณโรงงานอุตสาหกรรมใหมเพือ่ ใหอยูร วมกัน
ในบริเวณเดียวกัน
5. นําเครื่องยนตไปแกไขใหมีการเผาไหมอยางสมบูรณ ซึ่งจะ
ทําใหเกิดแกสคารบอนไดออกไซดมากขึ้น
(วิเคราะหคําตอบ การปลูกตนไมใหมากขึ้นเพื่อจะทําใหปริมาณ
แกสคารบอนไดออกไซดลดลง เปนวิธปี อ งกันผลกระทบทีเ่ กิดจาก
ปรากฏการณเรือนกระจกที่สําคัญที่สุด ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T58
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้

ตารางที่ 5.1 : ปริมาณการปลดปล่อยแกสเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย 3. ครูอธิบายถึงปริมาณการปลดปลอยแกสเรือน


ชนิดแกส กิจกรรมที่ส่งผลต่อการเกิดแกส ปริมาณการเกิดแกส (%) กระจกจากการกระทําของมนุษยในกิจกรรม
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) การเผาป่า ถ่านหิน น�้ามัน แก๊ส เชื้อเพลิง 62%
ตางๆ ดังตอไปนี้
1 • แกสคารบอนไดออกไซดเกิดจากการการเผา
มีเทน (CH4) นาข้าว 2การเลี้ยงปศุสัตว์ การเผาไหม้ 20%
เชื้อเพลิง มวลชีวภาพ
ไหมหรือการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเพิ่มขึ้น กับ
การตัดไมทําลายปา
คลอโรฟลูออโรคาร์บอน เครื่องท�าความเย็น ละอองอากาศ โรงงาน 12%
(CFCs) อุตสาหกรรม • แกสมีเทนเกิดจากการปลูกขาวและการเลีย้ ง
สัตวปริมาณเพิ่มมากขึ้น
ไนตรัสออกไซด์ การใส่ปุยไนโตรเจน การเผาไหม้เชื้อเพลิง 4%
(N2O ) ฟอสซิล • คลอโรฟลูออโรคารบอนเกิดจากภาคการผลิต
ของอุตสาหกรรม เชน ตูเ ย็น สเปรย พลาสติก
ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน เครื่องปรับอากาศ ตัวท�าความเย็น 2%
(HFCs) • แกสไนตรัสออกไซดเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการใช
ปุย ไนโตรเจน การเผาไหมซากพืช การเผาไหม
H. O. T. S. เชื้อเพลิงในเครื่องยนต
หากบรรยากาศมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไป จะท�าให้
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง • ไฮโดรฟลูออโรคารบอนเกิดจากเครื่องปรับ
เกิดการกักเก็บรังสีความร้อนมากเกินความจ�าเป็น ก่อให้เกิด
แก๊สชนิดใด อากาศและตัวทําความเย็น
ภาวะโลกร้อน (global warming) นอกจากสิง่ มีชวี ติ จะไม่สามารถ
ด�ารงชีวิตอยู่ได้แล้ว อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติบ่อยขึ้นและมีความ
มีผลต่อการ 4. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน
เพิ่มขึ้นของ ว า แก ส ชนิ ด ใดมี ผ ลต อ การเพิ่ ม ขึ้ น ของ
รุนแรงมากขึ้นด้วย ปรากฏการณ์เรือนกระจก
มากที่สุด ปรากฏการณเรือนกระจกมากที่สุด

Earth Science
Focus สมดุลพลังงานโลก
พืน้ ทีต่ ามละติจดู ต่าง ๆ บนผิวโลก จะดูดกลืนรังสี
และแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ออกมาได้ไม่เท่ากัน จะขึ้น
อยูก่ บั ปัจจัยหลายด้าน เช่น การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ บริเวณ
นั้น พื้นดินหรือทะเลมีเมฆหมอกบัง ปริมาณแก๊สเรือน-
กระจก เป็นต้น บริเวณละติจูดแถบเส้นศูนย์สูตรจะได้รับ
พลังงานจากดวงอาทิตย์มากกว่าบริเวณขั้วโลก แต่พบ
ว่ามีการปลดปล่อยพลังงานมากกว่าพลังงานที่ได้รับมา
ส่งผลให้บริเวณขั้วโลกมีอากาศหนาวเย็น ในขณะที่แถบ ภาพที่ 5.33 ภูเขาน�้าแข็ง
เส้นศูนย์สูตรมีอากาศร้อน ที่มา : http://ko.phoneky.com

แนวตอบ H.O.T.S.
การเปลี่ยนแปลง 55
ภูมิอากาศของโลก
แกสที่มีผลตอการเพิ่มขึ้นของปรากฏการณ
เรือนกระจก คือ แกสคารบอนไดออกไซด

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน 1 ปศุสตั ว หมายถึง สัตวเศรษฐกิจทีม่ นุษยนาํ มาเลีย้ ง เพือ่ ผลประโยชนอยางใด
2. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคนเนือ้ หา เรือ่ ง ปรากฏการณเรือนกระจก อยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน เพื่อใชงานและเปนอาหาร สัตวเศรษฐกิจมีทั้ง
3. สมาชิกในกลุมรวมกันเลือกขอมูลและจัดเตรียมขอมูล เพื่อนํา สัตวสี่เทา เชน โค กระบือ มา แพะ แกะ สุกร และสัตวปก เชน เปด ไก หาน
มาเสนอตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ พรอม 2 มวลชีวภาพ คือ สารอินทรียท วั่ ไปจากธรรมชาติทมี่ กี ารสะสมพลังงาน ซึง่
ตกแตงชิ้นงานใหสวยงาม สามารถนําพลังงานนัน้ มาใชประโยชนได เชน เศษหญา เศษไม เศษวัสดุเหลือใช
4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ ที่ทิ้งจากการเกษตรหรือจากการอุตสาหกรรม เชน ขี้เลื่อย ฟาง แกลบ ชานออย
ไดงาย
5. ครูและนักเรียนภายในหองเรียนรวมกันสรุปขอมูลปรากฏการณ
เรือนกระจก เพื่อใหเกิดความเขาใจในการเรียนรู

T59
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน ในการ • การสังเกต
ทํากิจกรรม เรื่อง การจําลองปรากฏการณเรือน การจําลองปรากฏการณ์เรือนกระจก • การทดลอง
• การตีความขอสรุปและการลง
กระจก ครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือมาจัด ขอสรุป
กระบวนการเรียนรู โดยกําหนดใหสมาชิกแตละ จุดประสงค จิตวิทยาศาสตร
• ความอยากรูอยากเห็น
คนภายในกลุมมีบทบาทหนาที่ของตนเอง เพื่อศึกษาการเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
• ความรอบคอบ

อธิบายความรู วัสดุอปุ กรณ


1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมโดยใหแตละกลุม 1. โคมไฟ 2. เทอรมอมิเตอร 3. ขวดแกวทรงสูง 4. ขวดแกวทรงสั้น
ทํากิจกรรมตามขั้นตอนในหนังสือเรียน โดย
ใชเวลาในการทํากิจกรรมทั้งหมด 30 นาที วิธปี ฏิบตั ิ
จากนั้นใหนักเรียนสรุปผลการทํากิจกรรมของ 1. ใส เ ทอร ม อมิ เ ตอร 2. นําขวดแกวทรงสั้นที่ 3. เปดโคมไฟสองแสง 4. บันทึกอุณหภูมิที่อา น
แตละกลุมที่ได และครูจะสุมออกมานําเสนอ ลงในขวดแกวทรงสั้น ใสเทอรมอมิเตอรไว สวางจากดานบนลง ไดจากเทอรมอมิเตอร
ขวดละ 1 อัน จากขอ 1. มา 1 ชุด มาทีข่ วดแกวทั้งสอง ทุก ๆ 1 5 10 15 20
หนาชั้นเรียน ใสลงในขวดแกวทรง 25 และ 30 นาที
2. ครูถามคําถามทายกิจกรรมกับนักเรียนภายใน สูงพรอมปดฝา เพื่อ จากนั้ น เขี ย นกราฟ
หองเรียน ดังนี้ จําลองสภาพเรือน- ระหวางเวลากับ
กระจก อุณหภูมิ
ï• อุณหภูมใิ นขวดแกวทัง้ 2 ใบ หลังเปดโคมไฟ
ในแตละชวงเวลาแตกตางกันหรือไม และมี
อัตราการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอยางไร
ï• ถาอุณหภูมิของขวดแกวทั้ง 2 ใบ ตางกัน (ก) (ข) (ค) (ง)
ภาพที่ 5.34 กิจกรรมการจําลองปรากฏการณเรือนกระจก
ปรากฏการณนเี้ กิดขึน้ ไดอยางไร เพราะเหตุใด ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายผลกิจกรรมและ คําถามทายกิจกรรม
?
เขียนสรุปลงในสมุด 1. อุณหภูมิในขวดแกวทั้ง 2 ใบ หลังเปดโคมไฟในแตละชวงเวลา แตกตางกันหรือไม และมีอัตราการเพิ่มขึ้น
ของอุณภูมิอยางไร
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม 2. ถาอุณหภูมิของขวดแกวทั้ง 2 ใบ ตางกัน ปรากฏการณนี้เกิดขึ้นไดอยางไร เพราะเหตุใด
1. อุณหภูมใิ นขวดแกวทัง้ สองใบแตกตางกัน และมี
อภิปรายผลกิจกรรม
อัตราเพิม่ ของอุณหภูมไิ มเทากัน
2. ชุดการทดลองในขวดแกวทรงสูงมีอณ ุ หภูมสิ งู กวา จากการทดลองพบวา อุณหภูมิในขวดแกวทั้งสองแตกตาง และมีอัตราการเพิ่มขึ้นของความรอน
และมีอัตราการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิสูงขึ้นอยาง ไมเทากัน โดยชุดทดลองในขวดแกวทรงสูงมีอุณหภูมิสูงกวาและอัตราการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิสูงขึ้น
รวดเร็ว เพราะขวดแกวทรงสูงใหรังสีความรอน อยางรวดเร็ว เนื่องจากขวดแกวทรงสูงใหรังสีความรอนชวงความยาวคลื่นสั้นจากดวงอาทิตยผานเขามาได
แตไมใหรังสีความรอนชวงความยาวคลื่นยาวผานออกไปได อีกทั้งอากาศในชุดทดลองไมสามารถหมุนเวียน
ชวงความยาวคลื่นสั้นจากดวงอาทิตยผานเขา ออกสูภายนอกได
มาไดแตไมใหรังสีความรอนชวงความยาวคลื่น 56
ยาวผานออกไปได และอากาศในชุดทดลองไม
สามารถหมุนเวียนออกสูภายนอกได

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ในการทํากิจกรรม เรือ่ ง การจําลองปรากฏการณเรือนกระจก ครูอาจสาธิต ขอใดไมใชผลกระทบจากภาวะโลกรอน
ขั้นตอนการทําการกิจกรรมเพื่อใหนักเรียนไดเห็นภาพอยางชัดเจน จากนั้นให 1. ธารนํ้าแข็งละลายอยางรวดเร็ว
นักเรียนศึกษาขอมูลและสืบคนการเกิดปรากฏการณเรือนกระจก แลวจึงเริ่มทํา 2. ระดับนํ้าทะเลทางขั้วโลกเหนือเพิ่มขึ้น
กิจกรรม และเมือ่ จบการทํากิจกรรม ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลทีไ่ ดจากการ 3. ทะเลทรายตอนกลางวัน มีอากาศเย็นขึ้น
ทํากิจกรรม 4. เกิดความแหงแลงในฤดูรอนที่ยาวนาน
5. ทําใหเชื้อโรคเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว
บันทึก กิจกรรม
(วิเคราะหคาํ ตอบ ผลกระทบจากภาวะโลกรอน มีดงั นี้ ธารนํา้ แข็ง
ขึ้ น อยู  กั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู  ส อนโดยพิ จ ารณาจากผลกิ จ กรรมที่ ทํ า ได จ ริ ง ละลายอยางรวดเร็ว ทะเลทรายตอนกลางวันมีอากาศเย็นขึน้ ระดับ
โดยผลกิจกรรมควรไดวา ชุดทดลองในขวดแกวทรงสูงมีอุณหภูมิสูงกวา และมี นํ้าทะเลทางขั้วโลกเหนือเพิ่มขึ้น เกิดความแหงแลงในฤดูรอนที่
อัตราการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ยาวนาน สิ่งที่ไมใชผลกระทบจากภาวะโลกรอน คือ ทําใหเชื้อโรค
เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3. ผลกระทบจากปรากฏการณเรือนกระจก แกสเรือนกระจกในอากาศมีปริมาณ ครูถามคําถามทบทวนความรู เรือ่ ง ปรากฏการณ
เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหบรรยากาศกักเก็บและสะทอนรังสีความรอนมากเกินไปโลกจึงมี เรือนกระจกกับนักเรียน ดังนี้
อุณภูมิสูง หากอุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ภูมิอากาศของโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไป • ปรากฏการณเรือนกระจกเกิดขึ้นไดอยางไร
ซึง่ อาจทําใหมนุษยและสิง่ มีชวี ติ ไมสามารถอาศัยอยูไ ด และอีกหนึง่ ปญหาทีส่ าํ คัญ คือ ระดับนํา้ ทะเล (แนวตอบ ปรากฏการณเรือนกระจก เปน
จะเพิ่มสูงขึ้น 20 ถึง 40 เซนติเมตร เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทําใหนํ้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย ปรากฏการณทโี่ ลกมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ เนือ่ งจาก
และไหลลงสูมหาสมุทรมากกวาปกติ ซึ่งระดับนํ้าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นนี้อาจทวมบริเวณชายฝงที่มี พลังงานแสงอาทิตยในชวงความยาวคลื่น
ระดับความสูงตํ่ากวาระดับนํ้าทะเล นอกจากนี้ ปรากฏการณเรือนกระจกยังสงผลกระทบตอภาค อิ น ฟราเรดที่ ส ะท อ นกลั บ ถู ก ดู ด กลื น โดย
เกษตรกรรมและปศุสัตว เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นสงผลใหสัตวเกิดภาวะเครียด ใหผลผลิตนอย โมเลกุลของไอนํ้า แกสคารบอนไดออกไซด
และอาจลมตายได ทําใหปริมาณนํ้าฝนลดลง ซึ่งสงผลใหพืชทางเกษตรกรรมลดลง และสงผลตอ แกสมีเทน แกสไนตรัสออกไซด คลอโรฟลูออ-
โซอาหารในระบบนิเวศดวย โรคารบอนในบรรยากาศ ทําใหโมเลกุลเหลานี้
สาเหตุสําคัญที่ทําใหแกสเรือนกระจกมีปริมาณเพิ่มขึ้น คือ กิจกรรมของมนุษย ไดแก มีพลังงานสูงขึน้ มีการถายเทพลังงานซึง่ กัน
การเผาไหมเชื้อเพลิงจากนํ้ามัน ถานหิน และแกสธรรมชาติในโรงงานอุตสาหกรรม ควันจาก และกันทําใหอณ ุ หภูมใิ นชัน้ บรรยากาศสูงขึน้ )
ทอไอเสียรถยนต การตัดไมทําลายปา การเผาพื้นที่เกษตรกรรม เปนตน ซึ่งจากภาวะที่มีแกส
คารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว นานาชาติจึงหันมารวมมือเพื่อหาทางบรรเทาภาวะ อธิบายความรู้
โลกรอนและลดการปลอยแกสคารบอนไดออกไซด โดยมีการลงนามอนุสัญญาสหประชาชาติวา 1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางผลกระทบที่เกิดจาก
ดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (United Nations Framework Convention on Climate ปรากฏการณเรือนกระจกมาคนละ 1 ขอ หาม
Change; UNFCCC) ของประเทศตาง ๆ ในป พ.ศ. 2535 เพือ่ รักษาปริมาณแกสคารบอนไดออกไซด ซํ้ากัน
ใหอยูในระดับที่ปลอดภัย แตเนื่องจากไมมีผลบังคับใชทางกฎหมายจึงมีการจัดทําพิธีสารเกียวโต 2. ครูอธิบายผลกระทบที่เกิดจากปรากฏการณ
(Kyoto Protocol) ซึง่ ถือไดวา เปนสัญญาเกีย่ วกับภูมอิ ากาศโลก และเปนกฎหมายระหวางประเทศ เรือนกระจก ซึ่งสาเหตุสําคัญมาจากกิจกรรม
ฉบับเดียวที่กําหนดใหประเทศที่พัฒนาแลวลดการปลอยแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งประเทศไทย ตางๆ ของมนุษย ไดแก การเผาไหมเชือ้ เพลิง
ไดรว มลงนามในเดือนสิงหาคม ดังนัน้ มาตรการนีถ้ อื วาเปนผลดีทที่ าํ ใหเกิดการลงทุนดานพลังงาน
ถ า นหิ น และแก ส ธรรมชาติ ใ นโรงงาน
หมุนเวียนจากประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวสูภ มู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเปนการชวยลดการผลิต
อุตสาหกรรมตางๆ ควันจากทอไอเสียรถยนต
พลังงานที่จะกอใหเกิดมลพิษและลดการปลอยแกสคารบอนไดออกไซดอีกทางหนึ่งดวย
การตัดไมทําลายปา การเผาพื้นที่การเกษตร
ภาพที่ 5.35 อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นทําใหนํ้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย
ที่มา : http://ko.phoneky.com และอื่นๆ อีกมากมาย
3. ครูใหนกั เรียนทําใบงานที่ 5.2 เรือ่ ง ปรากฏการณ
เรือนกระจก และนํามาสงในชั่วโมงถัดไป

การเปลี่ยนแปลง 57
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


สาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหแกสเรือนกระจกมีปริมาณเพิม่ ขึน้ เกิดจากสิง่ ใด ในการเรียนการสอน เรือ่ ง ผลกระทบจากปรากฏการณเรือนกระจก ครูอาจ
(วิเคราะหคาํ ตอบ กิจกรรมของมนุษย ไดแก การเผาไหมเชือ้ เพลิง ชักชวนนักเรียนพูดคุยและอภิปรายเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดย
จากนํ้ามัน ถานหิน และแกสธรรมชาติในโรงงานอุตสาหกรรม ครูอาจตัง้ คําถามถามนักเรียนวา นักเรียนคิดวาผลกระทบทีเ่ กิดจากปรากฏการณ
ควันจากทอไอเสียรถยนต การตัดไมทําลายปา การเผาพื้นที่ เรือนกระจกมีอะไรบาง ครูอาจใชภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สถานะของ
เกษตรกรรม และอืน่ ๆ อีกมากมาย ซึง่ กิจกรรมตางๆ เหลานีท้ าํ ให แผนนํา้ แข็งกรีนแลนดมาชวยในการอภิปราย https://www.twig-aksorn.com/
แกสคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว) fiffiilm/state-of-the-greenland-ice-sheet-7896/

T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ครูถามคําถาม เรือ่ ง คลืน่ ความรอนกับนักเรียนวา 2.3 คลื่นความรอน
ในแตละวันเราไดรับคลื่นความรอนจากแหลงใด คลื่นความรอน (heat wave) คือ ปรากฏการณท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยที่สภาวะ
(แนวตอบ ไดรับความรอนจากดวงอาทิตย) อากาศมีอุณหภูมิสูงกวาปกติและสะสมตัวอยูในพื้นที่บริเวณหนึ่ง สวนใหญเกิดในฤดูรอนหรือ
อธิบายความรู้ วันที่มีอุณหภูมิอากาศสูงสุดในรอบหลายป และอาจมีความชื้นสูงรวมดวยซึ่งมักเกิดขึ้นในบริเวณ
ที่มีการพัดผานของลมรอนจากบริเวณทะเลทราย เชน ทวีปอเมริกาเหนือ เกาะอังกฤษ เปนตน
ครูอธิบาย เรื่อง คลื่นความรอน ใหนักเรียน
การเกิดคลื่นความรอนจะทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นกวาปกติ โดยอาจมีอุณหภูมิสูงมากตั้งแต
ฟงวา คลื่นความรอน คือ ปรากฏการณที่เกิดขึ้น 40-50 องศาเซลเซียสในเขตรอน สวนในเขตหนาวจากอุณหภูมิปกติอยูที่ 18-25 องศาเซลเซียส
ตามธรรมชาติที่สภาวะอากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้น ก็อาจจะสูงขึ้นเปน 30-35 องศาเซลเซียส ซึ่งการเกิดคลื่นความรอนอาจมีระยะเวลาเพียงไมกี่วัน
กวาปกติ มักเกิดในฤดูรอน ทําใหอุณหภูมิสูง หรืออาจยาวนานเปนอาทิตย
ขึ้น ไมเหมาะสมตอสภาพรางกายของผูคุนเคย
ตอสภาพภูมิอากาศหนาวเย็น คลื่นความรอน
นอกจากจะคร า ชี วิ ต คนแล ว ยั ง ส ง ผลต อ การ NEW DELHI
42 ํC 43 ํC 45 ํC

Mon
Sun
Sat
เพาะปลูกพืชดวย ตลอดจนกอใหเกิดไฟปาและ 108 ํF 109 ํF 113 ํF
นํ้าทวมอยางฉับพลันเนื่องจากการละลายตัวของ AHMADHABAD
47 ํC 47 ํC 46 ํC NAGPUR KOLKATA
29 ํC 28 ํC 36 ํC

Mon
Sun 44 ํC 47 ํC 46 ํC

Mon
Sat

Sun
Mon

Sat
ธารนํา้ แข็ง อีกทัง้ ยังกอใหเกิดการใชพลังงานไฟฟา 116 ํF 116 ํF 115 ํF

Sun
Sat
112 ํF 116 Fํ 114 ํF 85 ํF 83 Fํ 96 ํF
ที่สูงขึ้นจนอาจนําไปสูการขาดแคลนพลังงานได MUMBAI
33 ํC 32 ํC 33 ํC HYDERABAD
Mon
Sun
Sat

91 ํF 90 Fํ 91 ํF 38 ํC 41 ํC 41 ํC

Mon
Sun
Sat
101 ํF 105 ํF 106 ํF
CHENNAI
36 ํC 38 ํC 38 ํC

Mon
Sun
Sat
96 ํF 101 ํF 101 Fํ
COLOMBO/BANDARAN
29 ํC 30 ํC 31 ํC
Mon
Sun
Sat

85 ํF 86 ํF 87 ํF

ภาพที่ 5.36 ภาพถายดาวเทียม การเกิดคลื่นความรอนบริเวณประเทศอินเดีย


ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพถายดาวเทียมของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา การเกิดคลืน่ ความรอนบริเวณประเทศอินเดีย


ในเดือนพฤษภาคม ทําใหมีผูเสียชีวิตกวา 2,500 คน และสงผลกระทบในหลายพื้นที่ของประเทศ
เนื่องดวยคลื่นความรอนทําใหอุณหภูมิของอากาศสูงถึง 47 องศาเซลเซียส โดยบริเวณเขตเมือง
จะไดรับผลกระทบมากกวาบริเวณอื่น เนื่องจากความรอนจากพื้นถนน1 สิ่งปลูกสรางตาง ๆ และ
การขาดรมเงาจากตนไม หรือที่เรียกวา “ปรากฏการณเกาะความรอน” (urban heat island effect)

58

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ปรากฏการณเกาะความรอน เกิดจากการทีอ่ ากาศใกลพนื้ ดินในเขตชุมชน คลืน่ ความรอนคืออะไร สงผลกระทบตอการใชชวี ติ ประจําวันอยางไร
เมืองที่มีตึกอยูเปนจํานวนมาก มีอุณหภูมิสูงกวาบริเวณที่เปนปาไมที่อยูถัด (วิเคราะหคําตอบ คลื่นความรอนเปนปรากฏการณธรรมชาติที่
ออกไปรอบๆ ปรากฏการณเกาะรอนนี้ทําใหอุณหภูมิในเขตเมืองนั้นสูงขึ้น เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ โดยทีส่ ภาวะอากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู กวาปกติ
2-5 องศาเซลเซียส ซึ่งเปนอุณหภูมิที่มนุษยเรารูสึกไดวารอนขึ้น สะสมตัวอยูใ นพืน้ ทีบ่ ริเวณหนึง่ คลืน่ ความรอนสงผลตอสุขภาพและ
เพิม่ อัตราความเสีย่ งเปนโรคลมแดด หรือโรคเพลียแดดไดงา ย และ
อาจสงผลใหระบบเมแทบอลิซึมในรางกายลมเหลวจนมีอันตราย
สื่อ Digital ถึงชีวิตได ในประเทศญี่ปุนมีผูปวยโรคลมแดดที่เขารับการรักษาที่
โรงพยาบาลจากคลืน่ ความรอนกวา 30,000 ราย โดยเกือบครึง่ หนึง่
ศึกษา เรื่อง คลื่นความรอน
เปนผูสูงอายุ)
เพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้
Twig เรื่อง คลื่นความรอนมรณะ
https://www.twig-aksorn.com/
ffiilfim/killer-heat-wave-8030/

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
Earth Science
1. การเกิดคลื่นความร้อน คลื่นความร้อนนอกจากจะ in real life ครูถามคําถามเพือ่ ทบทวนความรูก บั นักเรียนวา
เป็นภัยธรรมชาติทที่ า� ให้มผี เู้ สียชีวติ จ�านวนมากแล้ว ยังส่งผลให้ ประเทศไทยแทบจะไม่มีโอกาส • ในประเทศอินเดียเคยมีปรากฏการณคลื่น
เกิดไฟปา น�้าท่วมฉับพลัน เนื่องจากการละลายของธารน�้าแข็ง เกิดคลื่นความร้อน เพราะไม่ได้ ความรอนเกิดขึน้ ซึง่ ทําใหประชากรเสียชีวติ
ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย อีกทัง้ ยังก่อให้เกิดการใช้พลังงาน ตัจัด้งอยูนอกจากนี
่ในพื้นที่มีมวลอากาศร้อน
้ คลื่นความร้อน
ไปทัง้ หมด 2,500 คน ในชวงเดือนพฤษภาคม
ไฟฟ้าที่สูงจนอาจขาดแคลนพลังงานได้ จะเกิดได้เมื่ออุณหภูมิร้อนเกิน ซึ่งมีอุณหภูมิอยูที่เทาใด
การเกิดคลื่นความร้อนแบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ 40 องศาเซลเซียสต่อเนื่องกัน (แนวตอบ 47 องศาเซลเซียส)
1) คลื่นความร้อนแบบสะสม เกิดในบริเวณที่มีการ หลายสั ปดาห์ แต่สภาพอากาศ
ของไทยมีมวลอากาศเย็นจาก อธิบายความรู
สะสมความร้อนเป็นเวลานาน มีอากาศแห้ง ไม่มีลม ท�าให้ ประเทศจีนแผ่ลงมา ท�าให้เกิด
ความร้อนจากแสงอาทิตย์สะสมตัวอยู่กับที่ ซึ่งเมื่ออุณหภูมิ ฝนตกจึ ง ไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ 1. ครูอธิบาย เรือ่ ง การเกิดคลืน่ ความรอนวา คลืน่
ความร้อนสะสมเป็นเวลาหลายวันจะเกิดคลืน่ ความร้อนขึ้น เช่น สุขภาพ ความรอนนอกจากจะเปนภัยธรรมชาติทที่ าํ ให
พืน้ ทีท่ มี่ อี ณ
ุ หภูมิ 38-41 องศาเซลเซียส ไม่มลี มพัดต่อเนือ่ ง 3-6 มีผเู สียชีวติ จํานวนมากแลว ยังสงผลใหเกิดไฟ
วัน ท�าให้อากาศร้อนสลายพลังงานไปไม่หมดและสะสมตัวอยูใ่ นพืน้ ทีน่ นั้ อุณหภูมขิ องวันถัดมาจึง ปาและนํ้าทวมฉับพลัน
สูงขึน้ กว่าปกติ ไอร้อนจะสะสมพลังงานเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จนกลายเป็นคลืน่ ความร้อน โดยคลืน่ ความ 2. คลื่นความรอนจะแบงออกเปน 2 แบบ ดังนี้
ร้อนแบบสะสมนี้เกิดในบริเวณเขตร้อน เช่น ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ แอฟริกา อินเดีย เป็นต้น • คลื่นความรอนแบบสะสม เกิดในพื้นที่ซึ่ง
2) คลื่นความร้อนแบบพัดพา เกิดจากลมแรงพัดพาความร้อนในปริมาณมากจาก สะสมความรอนเปนเวลานาน อากาศแหง
ทะเลทรายหรือบริเวณเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปในเขตหนาว ซึ่งมักเกิดในแถบยุโรป แคนาดาตอนใต้ ลมนิ่ง ทําใหความรอนจากแสงอาทิตยไม
เป็นต้น เคลื่อนที่ เมื่ออุณหภูมิรอนสะสมหลายวัน
จะเกิดคลื่นความรอนมากขึ้น
Earth Science • คลืน่ ความรอนแบบพัดพา เกิดจากลมแรงพัด
Focus โรคที่เกิดจากความรอน พาความรอนในปริมาณมาก ซึ่งคลื่นความ
1. โรคลมแดด เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับความร้อนมากเกินไป จนท�าให้อุณหภูมิร่างกายสูง รอนชนิดนี้เกิดจากลมแรงหอบความรอน
ถึง 40 องศาเซลเซียส มีอาการหน้ามืด เป็นลม หมดสติ มักเกิดกับผู้ที่ไม่เคยชินกับสภาพความร้อน จากทะเลทรายขึน้ ไปในเขตหนาว มักเกิดขึน้
แก้ไขได้โดยการดื่มน�้าทดแทน และนอนพัก ในยุโรป
2. โรคเพลียแดด เกิดขึ้นเมื่อร่างกายออกแรงท�างานหนักหรือออกก�าลังกายมาก ในขณะที่
มีอากาศร้อนและชื้น ท�าให้ของเหลวในร่างกายสูญเสียไปในรูปของเหงื่อเป็นสาเหตุให้เลือดไปเลี้ยง
กล้ามเนื้อลดลง จึงท�าให้เกิดอาการช็อก
3. โรคตะคริวแดด เกิดขึ้นเมื่อร่างกายเสียเหงื่อมากในขณะออกก�าลังกายหรือใช้แรงมาก เมื่อ
ร่างกายเสียน�้าและเกลือแร่ ท�าให้กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ผู้ปวยจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อ เกร็งบริเวณ
หน้าท้อง แขน หรือขา

การเปลี่ยนแปลง 59
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


สาเหตุของปรากฏการณโดมความรอนคืออะไร ครูอาจอธิบาย เรือ่ ง การเกิดคลืน่ ความรอนเพิม่ เติมใหนกั เรียนวา คลืน่ ความ
(วิเคราะหคําตอบ สาเหตุหลักที่รอนขึ้นในชวงกลางคืน เกิดจาก รอนนอกจากจะเปนภัยธรรมชาติที่ทําใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมากแลว ยังสงผล
การที่อาคารตางๆ ปดกั้นความรอนจากภาคพื้นดินไมใหแผขึ้นสู ใหเกิดไฟปา นํ้าทวมฉับพลัน และอื่นๆ อีกมากมาย คลื่นความรอนจะแบงออก
ทองฟาตอนกลางคืน) เปน 2 แบบ คือ คลื่นความรอนแบบสะสมและคลื่นความรอนแบบพัดพา และ
อธิบายถึงเรื่องคลื่นความรอนในประเทศไทยวา ประเทศไทยแทบจะไมมีโอกาส
เกิดคลื่นความรอน เพราะไมไดตั้งอยูในพื้นที่ที่มีมวลอากาศรอนจัด

T63
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ครูใหนักเรียนแบงกลุม 3 คน ชวยกันสืบคน 2. ดรรชนีความร้อน ดรรชนีความร้อน (heat index) เป็นค่าที่บ่งบอกว่าร่างกายมนุษย์
ขอมูล เรื่อง คลื่นความรอน โดยมีหัวขอในการ “รูส้ กึ ” ว่าอากาศร้อนขนาดไหน ตัวอย่างเช่น อุณหภูมอิ ากาศอยูท่ ี่ 30 องศาเซลเซียส แต่เนือ่ งจาก
สืบคนขอมูล ดังนี้ และนําขอมูลที่สืบคนไดมา ร่างกายมีน�้าเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 70 ความร้อนจากอากาศที่ถ่ายทอดมาสู่ร่างกาย
นําเสนอในรูปแบบของ Microsoft PowerPoint มนุษย์นั้น บางส่วนจะถูกใช้ในการระเหยน�้าจากร่างกายออกมาเป็นเหงื่อ ท�าให้ร่างกายเราเย็น
และออกมานําเสนอขอมูลดังกลาวในชัว่ โมงถัดไป ลงน้อยกว่า 30 องศาเซลเซียส แต่ถ้าอากาศรอบตัวเรามีปริมาณไอน�้าเพิ่มขึ้น โดยที่อุณหภูมิไม่
พรอมตกแตงขอมูลเนือ้ หาใหถกู ตอง สมบูรณ และ เปลี่ยนไป การระเหยน�้าจากร่างกายจะเป็นไปได้ยาก เราจะรู้สึกร้อนมากกว่า 30 องศาเซลเซียส
สวยงาม ซึ่งความรู้สึกร้อนมากขึ้นหรือน้อยลงนี้เองที1่เรียกว่า ดรรชนีความร้อน ดังนั้น ดรรชนีความร้อนจะ
• คลื่นความรอนเกิดขึ้นไดอยางไร คิดได้จากอุณหภูมิรวมกับความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ ซึ่งแสดงดังตารางที่ 5.2
• ประเภทของคลื่นความรอน
• โรคตางๆ ที่เกิดขึ้นมากับคลื่นความรอน
ตารางที่ 5.2 : ค่าดัชนีความร้อน
อธิบายความรู อุณหภูมิ ( ํC)
1. ครูอธิบาย เรื่อง ดรรชนีความรอนวา เปนคาที่ 27 28 29 30 31 32 33 34 36 37 38 39 40 41 42 43
บงบอกวารางกายมนุษยรูสึกวาอากาศรอน 40 27 27 28 29 31 33 34 36 38 41 43 46 48 51 54 58
ขนาดไหน ตัวอยางเชน อุณหภูมิของอากาศ 45 27 28 29 31 32 34 36 38 40 43 46 48 51 54 58
อยูที่ 30 องศาเซลเซียส แตเนื่องจากรางกาย 50 27 28 29 31 33 35 37 39 42 45 48 51 55 58
มี นํ้ า เป น องค ป ระกอบประมาณร อ ยละ 70 55 27 29 30 32 34 36 38 41 44 47 51 54 58
ความรอนจากอากาศที่ถายทอดมาสูรางกาย 60 28 29 31 33 35 38 41 48 47 51 54 58
ความชื้นสัมพัทธ์ (%)

มนุษยนนั้ บางสวนจะถูกใชในการระเหยนํา้ จาก 65 28 29 32 34 37 39 42 46 49 53 58


รางกายออกมาเปนเหงือ่ ทําใหรา งกายเราเย็น 70 28 30 32 35 38 41 44 48 52 57
ลงนอยกวา 30 องศาเซลเซียส 75 29 31 33 36 39 43 47 51 56
80 29 32 34 38 41 45 49 54
85 29 32 36 39 43 47 52 57
90 30 33 37 41 45 50 55
95 30 34 38 42 47 53
100 31 35 39 44 49 56

ระดับเฝ้าระวัง ระดับเตือนภัย ระดับอันตราย ระดับอันตรายมาก

ที่มา : คู่มือผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อนส�าหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข กรมอนามัย


60

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 ความชื้นสัมพัทธ เปนหนวยวัดหนึ่งที่นิยมใชวัดระดับความชื้นในอากาศ ใหนักเรียนเขียนสรุป เรื่อง คลื่นความรอน ลงในกระดาษ A4
มีนิยาม คือ อัตราสวนโดยมวลของไอนํ้าในอากาศในขณะหนึ่ง (ที่อุณหภูมิหนึ่ง) ที่ครูเตรียมมาให โดยใหนักเรียนเขียนสรุปในรูปแบบที่สามารถ
ตอไอนํ้าสูงสุดที่อากาศ (ที่อุณหภูมินั้น) สามารถแบกรับไวได สามารถเขียน สื่อสารใหผูอื่นเขาใจงายและนาสนใจ เชน ผังมโนทัศน แผนภาพ
เปนสูตรได ดังนี้ หรืออินโฟกราฟกตามที่นักเรียนสนใจ และใหนักเรียนออกมานํา
ปริมาณไอนํ้าที่อยูในอากาศ เสนอผลงานที่สรุปหนาชั้นเรียน โดยครูทําการสุมนักเรียนออกมา
ความชื้นสัมพัทธ = × 100%
ปริมาณไอนํ้าที่ทําใหอากาศอิ่มตัว นําเสนอผลงาน
ความดันไอนํ้าที่มีอยูในอากาศ
= × 100%
ความดันไอนํ้าของอากาศอิ่มตัว

T64
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
จากตารางที่ 5.2 อธิบายไดวา เมื่ออุณหภูมิสูง ระดับความชื้นสัมพัทธจะทําใหดรรชนี 2. ใหนักเรียนสังเกตตารางแสดงคาของดรรชนี
ความรอนมีคาสูงกวาอุณหภูมิที่แทจริงที่มีอุณหภูมิตํ่ากวาหรือมีอุณหภูมิเย็นกวา ตัวอยางเชน ความรอนตางๆ โดยจะมีระดับแตกตางกัน ดังนี้
ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส (80 องศาฟาเรนไฮต) ดรรชนีความรอนจะมีคาใกลเคียง ระดับเฝาระวัง ระดับเตือนภัย ระดับอันตราย
อุณหภูมิที่แทจริงที่ตรวจวัดไดเมื่อความชื้นสัมพัทธมีคา 45% แตที่อุณหภูมิ 43 องศาเซลเซียส ระดับอันตรายมาก ซึ่งนักเรียนจะสามารถ
(110 องศาฟาเรนไฮต) คาความชื้นสัมพัทธที่อานไดจะมีคาสูงกวา 17% ขึ้นไปจะทําใหคาดรรชนี ศึกษาระดับตางๆ เปรียบเทียบอุณหภูมิกับ
ความรอนมีคามากกวา 43 องศาเซลเซียส คาความชื้นสัมพัทธ
3. ครูอธิบายความรูเสริม เรื่อง อุปกรณที่ใชวัด
ตารางที่ 5.3 : ผลกระทบที่เกิดจากดรรชนีความรอน อุณหภูมิ ดังนี้
ระดับ ดัชนีความรอน ( ํC) ผลกระทบตอสุขภาพ
• โกลบเทอรมอมิเตอร สําหรับวัดการแผรังสี
ระดับเฝาระวัง 27-32 ออนเพลีย วิงเวียน คลืน่ ไส อาเจียน ปวดศีรษะ ปวดเมือ่ ยตาม ความรอนจากการทํางาน
ตัวจากการสัมผัสความรอนหรือออกกําลังกายหรือทํางานใช
แรงงานทามกลางอากาศที่รอน • เทอรมอมิเตอรกระเปาะแหง ประกอบดวย
ระดับเตือนภัย 32-41 เกิดอาการตะคริวจากความรอน และอาจเกิดอาการเพลีย เทอรมอมิเตอรที่บรรจุดวยปรอท สามารถ
แดด (heat exhaustion) หากสัมผัสความรอนเปนเวลานาน เลือกชวงของอุณหภูมิที่วัดไดใหเหมาะสม
ระดับอันตราย 41-54 มีอาการตะคริวที่นอง ตนขา หนาทอง หรือไหล ทําใหปวด กับอุณหภูมิที่จะใชงาน
เกร็ง มีอาการเพลียแดด และอาจเกิดภาวะลมแดด (heat • เทอรมอมิเตอรกระเปาะเปยก การวัดคา
stroke) ได หากสัมผัสความรอนเปนเวลานาน อุณหภูมกิ ระเปาะเปยกทีแ่ มนยําตองใชผา ที่
ระดับอันตรายมาก >54 เกิดภาวะลมแดด (heat stroke) โดยมีอาการตัวรอน เวียน สะอาด นํ้ากลั่น และมีการปดบังการแผรังสี
ศีรษะ หนามืด ระบบอวัยวะตาง ๆ ในรางกายลมเหลว
และทําใหเสียชีวติ ได หากสัมผัสความรอนติดตอกันหลายวัน ความรอน
4. นักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic Question
ที่มา : คูมือผลกระทบตอสุขภาพจากความรอนสําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข กรมอนามัย

Earth Science
ที่มFocus
า : คูมือผลกระทบตอสุโกลบเทอร์
ขภาพจากความรมออมิ
นสําเหรั
ตอร์บเจาหนาที่สาธารณสุข กรมอนามัย.
ที่มา : คูมือโกลบเทอร
ผลกระทบตมออมิ
สุขภาพจากความร
เตอร (globe อthermometer)
นสําหรับเจาหนาทีเป่สาธารณสุ
นอุปกรณข กรมอนามัย.
ที่ใชสําหรับวัดการแผรังสีความรอนจากการทํางาน ประกอบดวย
ลูกทองแดงทรงกลมกลวง ดานนอกทาสีดําดานเพื่อดูดซึมรังสี
อิ น ฟราเรดมี เ ทอร ม อมิ เ ตอร แ บบปรอทเสี ย บอยู  โ ดยให ป ลาย
กระเปาะอยูตรงศูนยกลางของทรงกลม
ภาพที่ 5.37 โกลบเทอรมอมิเตอร
ที่มา : https://www.indiamart.com

การเปลี่ยนแปลง 61
ภูมิอากาศของโลก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การเกิดดรรชนีความรอนระดับอันตรายมีผลกระทบตอสุขภาพ ครู อ ธิ บ ายความรู  เ สริ ม เรื่ อ ง อุ ป กรณ ที่ ใ ช วั ด อุ ณ หภู มิ ใ ห กั บ นั ก เรี ย น
อยางไร วา นอกจากโกลบเทอรมอมิเตอรจะเปนอุปกรณวดั การแผรงั สีความรอนแลว ยังมี
(วิเคราะหคําตอบ ทําใหเกิดอาการตะคริวที่นอง ตนขา หนาทอง เทอรมอมิเตอรกระเปาะแหง ประกอบดวย เทอรมอมิเตอรทบี่ รรจุดว ยปรอท และ
หรือไหล ทําใหปวดเกร็ง มีอาการเพลียแดด และอาจเกิดภาวะ เทอรมอมิเตอรกระเปาะเปยก ที่สามารถใชวัดอุณหภูมิไดเหมือนกัน
ลมแดดได หากสัมผัสความรอนเปนเวลานาน)

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
ครูใหนักเรียนสืบคนการปองกันและปฏิบัติ 3. การป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดคลื่นความร้อน คลื่นความร้อนก่อให้เกิดอันตราย
ตัวเมื่อเกิดคลื่นความรอน จากนั้นใหนักเรียน ต่อสุขภาพ และอาจจะรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ จึงจ�าเป็นที่จะต้องศึกษาและท�าความเข้าใจเรื่อง
อภิปรายรวมกันในชั้นเรียน คลื่นความร้อน เพื่อหาแนวทางป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดคลื่นความร้อน การป้องกันเมื่อเกิด
คลื่นความร้อน เช่น
ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป เนื้ อ หา เรื่ อ ง
ปรากฏการณ ที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงภู มิ -
อากาศของโลก เพื่อเปนการทบทวนความรูใหแก
นักเรียนหลังจากที่เรียนเนื้อหานี้จบแลว
ภาพที่ 5.38 ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมออย่างน้อย ภาพที่ 5.39 หลีกเลี่ยงการอยู่กลางแดดที่มีอากาศ
ขัน้ ประเมิน 3 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 30 นาที ร้อนจัด โดยเฉพาะช่วงเวลา 10.00-15.00 น.
ตรวจสอบผล ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
รายบุคคล
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการทํางานกลุม
3. ครูตรวจใบงานที่ 5.1 เรือ่ ง ปรากฏการณเอลนีโญ
และลานีญา
4. ครูตรวจใบงานที่ 5.2 เรื่อง ปรากฏการณเรือน
กระจก ภาพที่ 5.40 ดื่มน�้า 1-2 แก้วก่อนออกจากบ้าน หากอยู่ ภาพที่ 5.41 สวมเสือ้ ผ้าทีม่ สี อี อ่ นน�า้ หนักเบา และระบาย
5. ครู ต รวจสอบผลการทํ า แบบฝ ก หั ด เรื่ อ ง ในสภาพอากาศร้อนจัดควรดื่มน�้าให้ได้ 4-6 แก้ว/ชั่วโมง ความร้อนได้ดี
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
ปรากฏการณที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิ-
Topic
อากาศของโลก Question
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาเกิดขึ้นได้อย่างไร
2. ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง
3. ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดขึ้นได้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง
4. ดรรชนีความร้อนคืออะไร
5. คลื่นความร้อนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจ�าวันอย่างไรบ้าง
62

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. ปรากฏการณเอลนีโญเปนปรากฏการณระหวางการหมุนเวียนของ
ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ของนักเรียน โดยศึกษาเกณฑ กระแสอากาศกับกระแสนํ้าในมหาสมุทร จะเกิดขึ้นเมื่อกระแสนํ้าอุน
การวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมที่แนบมาทายแผนการจัดการ ในมหาสมุทรแปซิฟกไหลเขาแทนที่กระแสนํ้าเย็นบริเวณชายฝงเปรู
เรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก สวนปรากฏการณลานีญาเปนปรากฏการณที่มีลักษณะตรงขามกับ
เอลนีโญ มีลักษณะคลายคลึงกับสภาวะปกติแตรุนแรงกวา
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 2. ปลาตายเปนจํานวนมาก เกิดปญหานํ้าทวม เกิดภัยแลง และเกิด
ปะการังฟอกขาว
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน

3. ปรากฏการณเรือนกระจก เปนปรากฏการณที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชื่อ–สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
เนื่ อ งจากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น อิ น ฟราเรดที่
สะทอนกลับถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของไอนํา้ และแกสตางๆ สงผลกับ
สิ่งมีชีวิตเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทําใหนํ้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
4. ดรรชนีความรอนเปนคาที่บงบอกวารางกายมนุษยรูสึกวาอากาศรอน
ขนาดไหน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
5. คลื่นความรอนสงผลใหอุณหภูมิสูงกวาปกติ ซึ่งกอใหเกิดผลกระทบ
ตอสุขภาพ เชน ออนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หนามืด เกิดภาวะลมแดด
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง

และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได
T66
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
3. แนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยน ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior
ปจจุบนั มีวธิ กี ารชะลอการ
Knowledge ใหนักเรียนอภิปรายและแสดงความ
เปลี่ ย นแปลงภู มิ อ ากาศ แปลงภูมิอากาศของโลก คิดเห็นรวมกันกอนเขาสูหัวขอที่เรียน โดยถาม
ดวยวิธีใดบาง
เนื่องจากปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกนั้น นักเรียนวาปจจุบนั มีวธิ กี ารชะลอการเปลีย่ นแปลง
มีความซับซอน มีปจจัยหลายประการเขามาเกี่ยวของ และ ภูมิอากาศดวยวิธีใดบาง
เชื่อมโยงไปยังทุกภาคสวน เชน วิทยาศาสตร เศรษฐศาสตร สังคม การเมือง สุขภาพ เปนตน
คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ซึ่งเปน ขัน้ สอน
องคกรหลักในการศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ไดแนะนําแนวทาง สํารวจค้นหา
การปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และมาตรการ ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลจากเว็บไซตตางๆ
ลดแกสเรือนกระจกอยางเปนรูปธรรม ตลอดจนแนวทางการ หรือหนังสือเรียน เรื่อง วิธีการที่จะชวยชะลอการ
พัฒนาอยางยั่งยืนไปยังองคกรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงผูที่ เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศวา สามารถใชวิธีการ
มีอํานาจในการกําหนดนโยบายตาง ๆ ทั่วโลก เนื่องจากการ ใดไดบาง และบันทึกขอมูลทั้งหมดลงในสมุด
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีลักษณะเป
1 นกิจกรรมแกปญหารวมกัน อธิบายความรู้
ระดับโลก เพราะแกสเรือนกระจกสวนใหญที่สะสมในชวงเวลา
ที่ผานมาเกิดจากการปลดปลอยผสมผสานกันทั่วโลก ซึ่งคณะ 1. ครูอธิบาย เรือ่ ง แนวปฏิบตั เิ พือ่ ชะลอการเปลีย่ น-
กรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ แปลงภูมิอากาศของโลก โดยคณะกรรมการ
ไดแนะนําแนวทางไว 2 ขอ คือ การบรรเทา (mitigation) และ ภาพที่ 5.42 สัญลักษณ IPCC ระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพ
การปรับตัว (adapting) ที่มา : http://www.ipcc.ch/ ภูมอิ ากาศ (IPCC) ไดแนะนําแนวทางการปรับ
ตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ
มาตรการลดแกสเรือนกระจก เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีลักษณะเปนกิจกรรม
แกปญหารวมกันระดับโลก เพราะแกสเรือน
กระจกสวนใหญที่สะสมในชวงเวลาที่ผานมา
เกิดจากการปลดปลอยผสมผสานกันทั่วโลก
ไดแนะนําแนวทางไว คือ การบรรเทาและการ
ปรับตัว

แนวตอบ Prior Knowledge


ลดการปลดปลอยแกสเรือนกระจก ใชพลังงาน
ภาพที่ 5.43 ตัวอยางผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก สะอาด พลังงานหมุนเวียนเขามาทดแทน ลดการ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เผาไหมเชื้อเพลิงจากฟอสซิล เชน นํ้ามัน ถานหิน
การเปลี่ยนแปลง 63 หันมาชวยกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติใหมาก
ภูมิอากาศของโลก
ขึ้น เชน การปลูกตนไม ลดละเลิกการใชทรัพยากร
อยางสิ้นเปลือง

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


ใหนกั เรียนสืบคน เรือ่ ง แนวปฏิบตั เิ พือ่ ชะลอการเปลีย่ นแปลง 1 แกสเรือนกระจก คือ แกสทีเ่ ปนองคประกอบของบรรยากาศโลกหอหุม โลก
ภูมิอากาศของโลก โดยจัดทําออกมาในรูปแบบของรายงาน และ ไวเสมือนเรือนกระจก แกสเหลานีม้ คี วามจําเปนตอการรักษาอุณหภูมขิ องโลกให
ออกมานําเสนอครูและเพือ่ นหนาชัน้ เรียน โดยมีหวั ขอใหเลือก ดังนี้ คงที่ ซึ่งอาจแบงเปนแกสเรือนกระจกตามธรรมชาติและแกสเรือนกระจกจาก
ï• แนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ภาคอุตสาหกรรม ซึง่ การเพิม่ ขึน้ ของแกสเรือนกระจกนัน้ สงผลใหชนั้ บรรยากาศ
ï• แนวทางสําหรับการบรรเทาและการปรับตัว มีความสามารถในการกักเก็บรังสีความรอนไดมากขึน้ ผลทีต่ ามมา คือ อุณหภูมิ
ï• ผลกระทบจากการใชแนวปฏิบตั เิ พือ่ ชะลอการเปลีย่ นแปลง เฉลี่ยของชั้นบรรยากาศที่เพิ่มขึ้นดวย แตการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกนั้น ไมได
ภูมิอากาศของโลก เพิม่ ขึน้ เปนเสนตรงกับปริมาณแกสเรือนกระจกทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกทัง้ แกสเรือนกระจก
แตละชนิดยังมีศักยภาพในการทําใหเกิดภาวะเรือนกระจก

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. ครูอธิบาย เรือ่ ง การบรรเทา (Mitigation) ซึง่ ทํา 1. การบรรเทา (mitigation) ท�าได้โดยการลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกและรักษา
ไดโดยการลดการปลอยแกสเรือนกระจก ซึง่ ใน ระดับแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศไว้ สามารถท�าได้หลายประการ ดังนี้
ชีวิตประจําวันนั้นเราสามารถชวยกันบรรเทา • ใช้พลังงานให้เต็มประสิทธิภาพ
และลดความรุ น แรงของการเปลี่ ย นแปลง • ใช้พลังงานสะอาดและหมุนเวียนเข้ามาทดแทน
สภาพอากาศได เชน การปลูกตนไม หันมาใช • ลดการเผาไหม้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล เช่น น�้ามัน ถ่านหิน
ระบบขนสงสาธารณะหรือปนจักรยาน ลดการ • เก็บภาษีคาร์บอนตามอัตราการปลดปล่อย
เผาไหมตางๆ
3. ครูอธิบายถึง เรือ่ ง การปรับตัว (Adapting ตอง
ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมและสภาพ
อากาศที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป เพื่ อ ให ส ามารถ
ดํารงชีวิตและทํากิจกรรมตางๆ ไดดังเดิม

1
ภาพที่ 5.45 ลดการเผาไหม้เชื้อเพลิง ภาพที่ 5.44 ใช้พลังงานแสงอาทิตย์เข้ามาทดแทน
ที่มา : http://ngthai.com/featured/ ที่มา : http://www.mysolarpower.org
ในชีวิตประจ�าวันเราสามารถช่วยกันบรรเทาความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงสภาพ
อากาศได้ เช่น หันมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะ หรือปั่นจักรยาน ลดการเผาไหม้ขยะหรือเศษวัสดุ
โดยไม่จ�าเป็น ใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และหันมาใช้พลังงานสะอาด เช่น พลังงานแสง
หรือพลังงานลม ลดปริมาณขยะ งดใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก เป็นต้น
2. การปรับตัว (adapting) ต้องปรับตัวให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เพื่อให้สามารถด�ารงอยู่และด�าเนินกิจกรรมหรือวิถีชีวิตต่อไปได้ภายใต้สถานการณ์ที่สภาพ
ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป โดยแนวทางการปรับตัวสามารถท�าได้โดยการลดทอนภาวะเปราะบาง
(vulnerability) การลดการเปิดรับ (exposure) ลดความอ่อนไหวหรือความไว (sensitivity) จาก
ผลกระทบหรือความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มขีดความสามารถในการ
รับมือ (adaptive capacity) หรือด�าเนินการทางเลือกทั้งหมดควบคู่กันไป
64

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พลังงานแสงอาทิตย เปนพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใชแลว ขอใดไมใชผลมาจากแนวทางการบรรเทาของแนวปฏิบัติเพื่อ
เกิดขึ้นใหมไดตามธรรมชาติ เปนพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเปน ชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
พลังงานที่มีศักยภาพสูง ในการใชพลังงานแสงอาทิตยสามารถจําแนกออกเปน 1. การใชพลังงานใหเต็มประสิทธิภาพ
2 รูปแบบ คือ การใชพลังงานแสงอาทิตยเพื่อผลิตกระแสไฟฟา และการใช 2. การลดการเผาไหมเชื้อเพลิงจากฟอสซิล
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อผลิตความรอน 3. การเก็บภาษีคารบอนตามอัตราการปลอย
4. การใชพลังงานสะอาดและพลังงานหมุนเวียนเขามาทดแทน
5. การลดผลกระทบหรือความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ
(วิเคราะหคําตอบ แนวทางการบรรเทาของแนวปฏิบัติเพื่อชะลอ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก มีดังนี้ การใชพลังงานใหเต็ม
ประสิทธิภาพ การลดการเผาไหมเชื้อเพลิงจากฟอสซิล การเก็บ
ภาษีคารบอนตามอัตราการปลอย และการใชพลังงานสะอาดและ
พลังงานหมุนเวียนเขามาทดแทน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ประเทศไทยมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลง 4. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
ภูมิอากาศทั 1 ้งในระดับประเทศ ได้แก่ ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม Question ดังนี้
แห่งชาติฉบับที่ 12 แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนหลังปี พ.ศ. 2558 • องคกรใดเปนองคกรหลักที่ชวยศึกษาแนว
แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 ในระดับกระทรวงหรือ ปฏิบตั เิ พือ่ ชะลอการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ
หน่วยงานต่าง ๆ และอยู่ในระหว่างการจัดท�าแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โลก
แห่งชาติ เพื่อให้เกิดการด�าเนินงานที่สอดรับกับแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงโดยให้ความ • แนวปฏิ บั ติ เ พื่ อ ชะลอการเปลี่ ย นแปลง
ส�าคัญกับภาคส่วนที่ได้ผลกระทบ 6 ภาคหลัก คือ ภูมิอากาศของโลกมีกี่ขอ อะไรบาง
• ภาคทรัพยากรน�้า การจัดการน�้า อุทกภัย และภัยแล้ง • อธิบายแนวทางของการบรรเทาและการปรับตัว
• ภาคการเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร • ยกตัวอยางกิจกรรมทีล่ ดการปลดปลอยแกส
• ภาคการตั้งถิ่นฐานและความมั่นคงของมนุษย์ เรือนกระจกในปจจุบัน
• ภาคสาธารณสุข • ยกตัวอยางการปรับตัวในชีวติ ประจําวันเพือ่
• ภาคการท่องเที่ยว ปองกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
• ภาคการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การปรับตัวในชีวติ ประจ�าวันสามารถ
ท� า ได้ โ ดยใส่ เ สื้ อ ผ้ า ที่ ร ะบายความร้ อ นได้ ดี
ปัจจุบนั มีการคิดค้นนวัตกรรมต่าง ๆ เช่น เสือ้ ผ้า
นาโน หรือเสื้อผ้าที่ใส่แล้วเย็น และมีการคิดค้น
เทคโนโลยีสีทาบ้านสะท้อนแสงได้ การร่วมมือ
กั น ในชุ ม ชนมี ก ารท� า แผนและฝึ ก ซ้ อ มแผน
หนีภัยพร้อมรับมือกับภัยธรรมชาติ เป็นต้น
ภาพที่ 5.46 เสื้อผ้าที่ช่วยระบายความร้อนได้ดี เช่น
ผ้าฝ้าย
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Topic
Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. องค์กรใดเป็นองค์กรหลักที่ช่วยศึกษาแนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
2. แนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกมีกี่ข้อ อะไรบ้าง
3. อธิบายแนวทางของการบรรเทาและการปรับตัว
4. ยกตัวอย่างกิจกรรมที่ลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกในปัจจุบัน
5. ยกตัวอย่างการปรับตัวในชีวิตประจ�าวันเพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ

การเปลี่ยนแปลง 65
ภูมิอากาศของโลก

แนวตอบ Topic Question นักเรียนควรรู


1. คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
(IPCC) 1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คือ การกําหนดแนวทางการ
2. 2 ขอ คือ การบรรเทา (mitigation) และการปรับตัว (adapting) พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อใหประชาชนมีชีวิตและความเปน
3. 1) การบรรเทา ทําไดโดยการลดการปลดปลอยแกสเรือนกระจกและ อยูที่ดีขึ้น โดยการเขามามีสวนรวมของประชาชนทุกขั้นตอนอยางเปนระบบ
รักษาระดับแกสเรือนกระจกในบรรยากาศไว สามารถทําไดหลาย ความเปนมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประเทศไทยไดมีการ
ประการ เชน ใชพลังงานใหเต็มประสิทธิภาพ ใชพลังงานสะอาดและ ริเริ่มจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจของชาติมาตั้งแต พ.ศ. 2502 ในสมัยรัฐบาล
หมุนเวียนเขามาทดแทน 2) การปรับตัว เปนการปรับตัวใหพรอมตอ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต โดยใน พ.ศ. 2504 ไดประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เพือ่ ใหสามารถดํารงอยูแ ละดําเนิน แหงชาติฉบับแรกขึน้ ซึง่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 มีระยะเวลาของ
กิจกรรมหรือวิถีชีวิตตอไปไดภายใตสถานการณที่สภาพภูมิอากาศ แผน 6 ป โดยที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตอๆ มา มีระยะ
เปลี่ยนแปลงไป เวลาของแผน 5 ป
4. การเผาไหมในโรงงานอุตสาหกรรม การตัดไมทําลายปา การใช
ทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอย
5. ปรับเปลี่ยนการดํารงชีวิต หรือการใชชีวิตประจําวันบางอยางเพื่อ
ปองกันการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ เชน ชวยกันปลูกตนไม หันมา
ปนจักรยานมากขึ้นเพื่อชวยลดการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ครูใหนักเรียนภายในหองเรียนยกตัวอยางวิธี Earth Science
การปองกัน หรือชวยลดการเปลี่ยนแปลงของ in real life ภาวะโลกรอน (global warming) เปนปรากฏการณสืบเนื่อง
สภาพอากาศมาคนละ 1 ขอ จากการที่โลกไมสามารถระบายความรอนที่ไดรับจากดวงอาทิตยออกไปไดอยางที่เคยเปน ทําให
อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ สูงขึน้ แมวา ในชวงศตวรรษทีผ่ า นมาอุณหภูมดิ งั กลาวสูงขึน้ เพียงไมกอี่ งศา
อธิบายความรู แตทาํ ใหสภาพอากาศของโลกเปลีย่ นแปลงไปอยางมาก สงผลกระทบตอสิง่ มีชวี ติ บนโลกอยางรุนแรง
สภาวะดังกลาว เรียกวา การเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศ ซึง่ เปนปญหาใหญของโลกในปจจุบนั สาเหตุ
ครูอธิบาย เรือ่ ง ภาวะโลกรอนวา ภาวะทีอ่ ณุ หภูมิ
หลักของปญหานี้มาจากแกสเรือนกระจก
โดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําให
ผลกระทบจากภาวะโลกรอน
ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ภาวะโลกรอนอาจจะนํา • ระดับนํ้าทะเลขึ้นสูง หากอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มสูงขึ้นอีก 1.4-5.8 องศาเซลเซียส จะสงผลให
ไปสูก ารเปลีย่ นแปลงของปริมาณฝน ระดับนํา้ ทะเล นํา้ แข็งทีข่ วั้ โลกละลาย และยังสงผลใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศชายฝง เชน การสูญเสียพืน้ ที่
และมีผลกระทบอยางกวางขวางตอพืช สัตว และ ปาชายเลน ซึ่งเปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวนํ้านานาชนิด และจากการที่นํ้าทะเลหนุนยังทําใหเกิด
มนุษย ซึง่ ภาวะโลกรอน (Global Warming) หรือ นํ้าลนตลิ่งและทวมบานเรือน
ภาวะภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง (Climate Change) 1
• สภาพอากาศรุนแรง เมือ่ อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ สูงขึน้ ภัยธรรมชาติ ตา ง ๆ มีแนวโนมทีจ่ ะเกิดขึน้
คือ การทีอ่ ณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ ขึน้ จากผลของ บอยครั้ง และรุนแรงมากยิ่งขึ้น เชน ภัยแลง ไฟปา พายุไตฝุนโซนรอน นํ้าทวม การพังทลายของ
ปรากฏการณ เ รื อ นกระจก หรื อ ที่ เ รารู  จั ก กั น ดี ชั้นดิน เปนตน
ในชือ่ วา Greenhouse Effect โดยภาวะโลกรอน • ปะการังฟอกสี เมือ่ อุณหภูมขิ องนํา้ ทะเลเพิม่ สูงขึน้ เนือ่ งจากภาวะโลกรอนเพียง 2-3 องศาเซลเซียส
สาหรายจะตายไป เมื่อปะการังไมมีอาหาร ปะการังก็จะตายและกลายเปนสีขาว
มีตนเหตุจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยซึ่งเพิ่ม
• สุขภาพของมนุษย ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น เชน ภาวะนํ้าทวม อากาศรอนขึ้น สงผลกระทบตอ2
ปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดจากการเผาไหม สุขภาพของมนุษย เชน อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทําใหยุงลายระบาด ซึ่งเปนพาหะนําโรคไขมาลาเรีย
เชือ้ เพลิงตางๆ การขนสง และการผลิตในโรงงาน และไขเลือดออกขยายตัวเพิ่มขึ้น สงผลใหเกิดโรคไขเลือดออกและไขมาลาเรียตามมา
อุตสาหกรรม

ภาพที่ 5.47 ยุงลายเปนพาหะของโลกไขเลือดออก ภาพที่ 5.48 นํ้าแข็งในขั้วโลกเหนือละลาย ทําให


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่อยูของหมีขั้วโลกลดลง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

66

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พายุไตฝุน (typhoon) เปนพายุหมุนเขตรอนความเร็วลมสูงสุด มักเกิด การกระทําใดตอไปจะลดปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดได
ทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกเหนือ เชน บริเวณทะเลจีนใต อาวไทย มากที่สุด
อาวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุน 1. การซักผาในนํ้าเย็น
2 ไขมาลาเรีย หรือที่รูจักกันในชื่ออื่นๆ เชน ไขปา ไขจับสั่น นับวาเปน 2. ลดขยะในบานใหไดครึ่งหนึ่ง
โรคที่อันตรายรายแรงถึงชีวิต โดยมักพบการติดเชื้อในเขตรอนและกึ่งเขตรอน 3. หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑเยอะ
ทั่วโลก จากรายงานขององคการอนามัยโลกระบุวา ใน พ.ศ. 2560 ทั่วโลก 4. งดใหถุงพลาสติกและหันกลับมาใชถุงผา
มีผูติดเชื้อมาลาเรียทั้งสิ้น 219 ลานราย และมีผูเสียชีวิตจากการติดเชื้อสูงถึง 5. การเปลี่ยนหลอดไฟเปนหลอดฟลูออเรสเซนต
435,000 ราย ดวยจํานวนผูติดเชื้อและผูเสียชีวิตที่สูงมาก ทําใหทั่วโลกตางให (วิเคราะหคําตอบ การลดขยะที่ใชภายในบานครึ่งหนึ่งเปนการ
ความสําคัญในการลดอัตราการติดเชื้อและการเสียชีวิตใหนอยลง ชวยลดปริมาณของแกสคารบอนไดออกไซดไดมากที่สุด และ
สามารถชวยลดภาวะโลกรอนได ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
Summary ขยายความเข้าใจ
1. ครูสรุปเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนไดทบทวนสาระ
การเปลีย่ นแปลง สํ า คั ญ ประจํ า หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 5 การ
ภูมอิ ากาศของโลก เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก โดยอธิบาย
ในแตละเรื่องไว ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
• การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลกและสภาพ
สภาพอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศระยะสั้น ส่วนการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศเป็นการเปลีย่ นแปลงปรากฏการณ์ทเี่ กิดในระยะยาวตัง้ แต่หนึง่ สัปดาห์เป็นต้นไป ปัจจุบนั สภาพ อากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ
ภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงของอากาศผิดปกติไปจากเดิมมาก เกิดความแปรปรวนของอากาศ เกิดภัยพิบัติ ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศระยะสั้น สวนการ
ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่พบบ่อยและรุนแรงมากขึ้นกว่าในอดีต เปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ เป น การ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก เปลีย่ นแปลงปรากฏการณทเี่ กิดในบรรยากาศ
• การเปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์ ระยะยาวตัง้ แตหนึง่ สัปดาหเปนตนไปจนถึง
• การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลกและการหมุนควงของแกนหมุนโลก หลายป
• ชนิดและปริมาณของละอองลอย
• เมฆ
• ปริมาณแก๊สเรือนกระจก

ข้อมูลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
• การละลายของธารน�้าแข็ง
• หินตะกอนและฟอสซิล
• การเพิ่มอุณหภูมิและระดับน�้าทะเล
• วงปีของต้นไม้ดึกด�าบรรพ์
• น�้าแข็งขั้วโลก

ภาพที่ 5.49 การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลก


ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเปลี่ยนแปลง 67
ภูมิอากาศของโลก

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน ครูสรุปเนือ้ หา เรือ่ ง การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลกมีปจ จัยทีม่ ผี ลตอการ
2. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคนเนือ้ หา เรือ่ ง การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ เปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก และขอมูลสนับสนุนการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของ
ของโลก โลกใหแกนักเรียน แลวครูสุมนักเรียนใหตอบคําถาม โดยมีคําถาม ดังนี้
3. สมาชิกในกลุมรวมกันเลือกขอมูล และจัดเตรียมขอมูลเพื่อนํา • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกเกิดขึ้นไดอยางไร
มาเสนอตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ พรอม • ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกมีอะไรบาง
ตกแตงชิ้นงานใหสวยงาม • ขอมูลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกมีอะไรบาง
4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
ไดงาย

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
2. ครูสรุปเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนไดทบทวน เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
ปรากฏการณที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิ ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา
อากาศของโลก ดังนี้
• ปรากฏการณเอลนีโญ คือ ปรากฏการณที่ ปรากฏการณเอลนีโญ คือ ปรากฏการณทกี่ ระแส ปรากฏการณลานีญา คือ ปรากฏการณทกี่ ระแส
กระแสนํ้าอุนถูกพัดจากฝงตะวันออกไปฝง นํา้ อุน ถูกพัดจากฝง ตะวันออกไปฝง ตะวันตกของ นํ้าอุนถูกพัดจากฝงตะวันออกไปฝงตะวันตก
มหาสมุทรนอยลง สงผลใหฝงตะวันออกของ ของมหาสมุทรมากขึ้น สงผลใหฝงตะวันออก
ตะวันตกของมหาสมุทรนอยลง สงผลให มหาสมุทรมีฝนตกชุก แตฝงตะวันตกมีสภาพ ของมหาสมุทรมีมวลนํ้าเย็นไหลเขามาแทนที่
ฝงตะวันออกของมหาสมุทรมีฝนตกชุกแต แหงแลง มวลนํ้าอุน ทําใหเกิดความหนาวเย็นและแหง
ฝงตะวันตกมีสภาพแหงแลง ปรากฏการณ แลงมากกวาปกติ ฝงตะวันตกจะมีฝนตกหนัก
กวาปกติ
ลานีญา คือ ปรากฏการณที่กระแสนํ้าอุน
ถูกพัดจากฝงตะวันออกไปฝงตะวันตกของ ทิศทางลม ทิศทางลม

มหาสมุทรมากขึ้น
• ปรากฏการณเรือนกระจก เปนปรากฏการณ เสนศูนยสูตร
เสนศูนยสูตร
ที่ใชเรียกกระบวนการของอากาศบนโลก
ออสเตรเลีย อเมริกาใต ออสเตรเลีย อเมริกาใต
ที่ มี ลั ก ษณะคล า ยกระจกห อ หุ  ม โลกไว
เย็นกวาปกติ อุนกวาปกติ อุนกวาปกติ เย็นกวาปกติ
ทําใหภายในเรือนกระจกมีอุณหภูมิสูงกวา
ภาพที่ 5.50 ปรากฏการณเอลนีโญ ภาพที่ 5.51 ปรากฏการณลานีญา
ภายนอก ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูสรุปเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนไดทบทวน เรื่อง
คลืน่ ความรอนวา เปนปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ เอง
ตามธรรมชาติ โดยที่สภาวะอากาศมีอุณหภูมิ ปรากฏการณเรือนกระจก
สูงกวาปกติและสะสมตัวอยูใ นพืน้ ทีบ่ ริเวณหนึง่ ปรากฏการณ เ รื อ นกระจก (greenhouse
ส ว นใหญ เ กิ ด ในฤดู ร  อ นหรื อ วั น ที่ มี อุ ณ หภู มิ effect) เปนปรากฏการณที่ใชเรียกกระบวนการของ
อากาศสูงสุดในรอบหลายป อากาศบนโลกที่มีลักษณะคลายกระจกหอหุมโลกไว
4. ครู อ ธิ บ าย เรื่ อ ง แนวปฏิ บั ติ เ พื่ อ ชะลอการ ทําใหภายในเรือนกระจกมีอุณหภูมิสูงกวาภายนอก
เมื่ อ แสงอาทิ ต ย ส  อ งผ า นลงมายั ง ชั้ น บรรยากาศ
เปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลก คณะกรรมการ ของโลก รังสีความรอนบางสวนจะสะทอนกลับออกไป
ระหวางรัฐบาลวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพ บางสวนไมสามารถสะทอนออกไปได เนื่องจากโลก
ภูมิอากาศ (IPCC) แนะนําแนวทางไว 2 ขอ ถูกหอหุมดวยแกสเรือนกระจก ซึ่งแกสเหลานี้จะ
ไดแก การบรรเทาและการปรับตัว ดูดคลื่นรังสีความรอนไวในเวลากลางวัน แลวแผรังสี
ความรอนออกมาในเวลากลางคืน ทําใหอุณหภูมิใน ภาพที่ 5.52 ปรากฏการณเรือนกระจก
บรรยากาศโลกไมเปลี่ยนแปลงอยางทันทีทันใด ที่มา : คลังภาพ อจท.

68

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง ปรากฏการณเรือนกระจก เพิม่ เติมจากแหลงการ เพราะเหตุใดแกสเรือนกระจกในชัน้ บรรยากาศโลก จึงสงผลตอ
เรียนรูอ อนไลนตา งๆ เชน คลิปวิดโี อจาก Youtube เรือ่ ง ภาวะโลกรอน ตอนที่ 2 ความสมดุลของอุณหภูมิโลก
รูและเขาใจสาเหตุของสภาวะเรือนกระจก แลวชักชวนนักเรียนอภิปรายรวมกัน (วิเคราะหคําตอบ เพราะแกสเรือนกระจกมีสมบัติในการยอมให
เกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษา https://www.youtube.com/watch?v=Y6n-dEw7B14 รังสีจากดวงอาทิตยซึ่งเปนรังสีคลื่นสั้นผานมายังโลกได โดยจะมี
การดูดกลืนเล็กนอย และจะดูดกลืน่ รังสีความรอนทีเ่ ปนรังสีคลืน่ ยาว
แลวคายความรอนกลับสูผ วิ โลก ทําใหอากาศในบริเวณผิวโลกสูงขึน้ )

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
1. ครูใหนักเรียนตอบคําถาม Self check เพื่อให
คลื่นความร้อน ผูเ รียนตรวจสอบความรูค วามเขาใจดวยตนเอง
คลืน่ ความร้อน (heat wave) คือ ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ โดยทีส่ ภาวะอากาศมีอณ ุ หภูมิ ในหนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลงภูมิ-
สูงกว่าปกติและสะสมตัวอยู่ในพื้นที่บริเวณหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดในฤดูร้อนหรือวันที่มีอุณหภูมิอากาศสูงสุดใน อากาศของโลก
รอบหลายปี และอาจมีความชื้นสูงร่วมด้วย ซึ่งมักเกิดขึ้นในบริเวณที่มีการพัดผ่านของลมร้อนจากบริเวณ 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด Unit Question 5
ทะเลทราย คลื่นความร้อนแบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
1. คลื่นความร้อนแบบสะสม เกิดในบริเวณที่มีการสะสมความร้อนเป็นเวลานาน มีอากาศแห้ง ไม่มีลม 3. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง
ท�าให้ความร้อนจากแสงอาทิตย์สะสมตัวอยู่กับที่ เมื่ออุณหภูมิความร้อนสะสมเป็นเวลาหลายวัน จะเกิด การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก เพื่อวัด
คลื่นความร้อนขึ้น เช่น พื้นที่ที่มีอุณหภูมิ 38-41 องศาเซลเซียส ไม่มีลมพัดต่อเนื่อง 3-6 วัน ท�าให้อากาศ
ความรูน กั เรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรูท ี่ 5
ร้อนสลายพลังงานไปไม่หมดและสะสมตัวอยู่ในพื้นที่นั้น อุณหภูมิของวันถัดมาจึงสูงขึ้นกว่าปกติ ไอร้อนจะ
สะสมพลังงานเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จนกลายเป็นคลืน่ ความร้อน โดยคลืน่ ความร้อนแบบสะสมนีเ้ กิดในบริเวณเขตร้อน
เช่น ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ แอฟริกา อินเดีย เป็นต้น ขัน้ ประเมิน
2. คลื่นความร้อนแบบพัดพา เกิดจากลมแรงพัดพาความร้อนในปริมาณมากจากทะเลทรายหรือบริเวณ ตรวจสอบผล
เส้นศูนย์สูตรขึ้นไป ในเขตหนาวซึ่งมักเกิดในแถบยุโรป แคนาดาตอนใต้ เป็นต้น 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
แนวปฏิบัติเพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก รายบุคคล
คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (IPCC) แนะน�าแนวทางไว้ 2 ข้อ 3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการทํางานกลุม
• การบรรเทา (mitigation) ท�าได้โดยการลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกและรักษาระดับแก๊ส 4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด เรื่อง การ
เรือนกระจกในบรรยากาศไว้ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
• การปรับตัว (adapting) ท�าได้โดยการปรับตัวให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อ 5. ครู ต รวจสอบผลการทํ า แบบฝ ก หั ด Unit
ให้สามารถด�ารงอยู่และด�าเนินกิจกรรมหรือวิถีชีวิตต่อไปได้ภายใต้สถานการณ์ที่สภาพภูมิอากาศ Question 5
เปลี่ยนแปลงไป โดยแนวทางการปรับตัวสามารถท�าได้โดยการลดทอนภาวะเปราะบาง การลดการ
เปิดรับ การลดความอ่อนไหวหรือความไว จากผลกระทบหรือความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ การเพิ่มขีดความสามารถในการรับมือ หรือด�าเนินการทางเลือกทั้งหมดควบคู่กันไป

การเปลี่ยนแปลง 69
ภูมิอากาศของโลก

กิจกรรม ทาทาย แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนสืบคน เรื่อง คลื่นความรอน โดยจัดทําออกมาใน ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคลของนักเรียน โดยศึกษา
รูปแบบของรายงาน และออกมานําเสนอครูและเพือ่ นหนาชัน้ เรียน เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
โดยมีหัวขอใหเลือก ดังนี้ ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง
ï• คลื่นความรอนคืออะไร ภูมิอากาศของโลก
ï• ประเภทของคลื่นความรอน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

ï• ผลกระทบที่เกิดจากคลื่นความรอน คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่

ลาดับที่
ตรงกับระดับคะแนน

รายการประเมิน
ระดับคะแนน

ï• ดรรชนีความรอนสงผลอยางไรกับการดําเนินชีวติ ของมนุษย
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีนาใจ   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก 4. ผิด
5. ถูก 6. ผิด 7. ผิด 8. ผิด Self Check
9. ถูก 10. ถูก ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความวาถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไมถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
แนวตอบ Unit Question 1. สภาพอากาศ เป็นการเปลีย่ นแปลงปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในบรรยากาศ 1.
ระยะยาว ส่วนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นการเปลี่ยนแปลง
1. เกิดจากการที่บรรยากาศของโลกเคลื่อนไหว ปรากฏการณ์ที่เกิดในบรรยากาศระยะสั้น
ตลอดเวลา จึงสงผลใหภมู อิ ากาศของโลกมีการ 2. การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลกและการเปลี่ยนแปลงวงรี 1.1
เปลี่ยนแปลง ของแกนหมุนโลกเป็นปรากฏการณ์ในทฤษฎีมิแลนโควิทช์
2. ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก 3. การละลายของธารน�้าแข็ง ตะกอนฟอสซิล การเพิ่มอุณหภูมิและระดับ 1.2
มีดังนี้ การเปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรของ น�้ า ทะเลแก๊ ส เรื อ นกระจก เป็ น ข้ อ มู ล สนั บ สนุ น การเปลี่ ย นแปลง
โลกรอบดวงอาทิตย การเปลี่ยนแปลงมุมเอียง ภูมิอากาศของโลก
ของแกนหมุนโลกและการหมุนควงของแกนหมุน 4. ปรากฏการณ์เอนโซท�าให้เกิดปรากฏการณ์ผันผวนทางทะเลและ 2.1
โลก ชนิดและปริมาณของละอองลอย เมฆ และ บรรยากาศร่วมกัน มีสาเหตุมากจากการเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ

มุ ด
นส
ปริมาณแกสเรือนกระจก สวนขอมูลสนับสนุน 5. แก๊สเรือนกระจกทีม่ อี ยูใ่ นบรรยากาศโลกตามธรรมชาติ ซึง่ ประกอบด้วย 2.2

งใ
ึกล
การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก มีดงั นี้ การละลาย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) และไนตรัสออกไซด์


บั น
ของธารนํ้าแข็ง หินตะกอนและฟอสซิล การ (N2O) มีคุณสมบัติดูดกลืนความร้อน
เพิ่มอุณหภูมิและระดับนํ้าทะเล วงปของตนไม 6. ปรากฏการณ์ทใี่ ช้เรียกกระบวนการของอากาศบนโลกทีม่ ลี กั ษณะคล้าย 2.2
ดึกดําบรรพ และนํ้าแข็งขั้วโลก กระจกห่ อ หุ ม
้ โลกไว้ เรี ย กปรากฏการณ์ น ว
้ ี า
่ ปรากฏการณ์ เ รื อ นกระจก
3. ความแปรปรวนของอากาศ คือ ภูมิอากาศที่มี 7. การใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอนในเครื่องปรับอากาศ การตัดไม้ 2.2
ท�าลายปา การเผาไหม้เชือ้ เพลิง เป็นกิจกรรมทีเ่ กิดจากฝีมอื ของมนุษย์
การเปลีย่ นแปลงไปจากปกติ ในชวงเวลาทีม่ ากกวา ซึ่งส่งผลให้แก๊สเรือนกระจกมีปริมาณเพิ่มขึ้น
ชวงฤดูกาลหรือชวงป เกิดจากหลายปจจัย เชน
8. คลื่นความร้อนมักจะเกิดในฤดูร้อน และมีความชื้นต�่า ซึ่งท�าให้อากาศ 2.3
การระเบิดของภูเขาไฟ การเกิดปรากฏการณ อบอ้าว
เอลนี โ ญ ลานี ญ า ซึ่ ง เป น ปรากฏการณ ก าร
เคลื่อนทีข่ องกระแสนํ้าที่ผิดปกติ 9. การดื่มน�้าบ่อย ๆ และสวมเสื้อผ้าที่มีน�้าหนักเบาจะช่วยบรรเทา และ 2.3
ระบายความร้อนได้ดี
4. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสงผลตอโลก
10. การใช้พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์เข้ามาทดแทนการใช้ไฟฟ้า 3.
ในด า นความเป น อยู  ข องมนุ ษ ย ท รั พ ยากร เพื่อช่วยลดการเกิดแก๊สเรือนกระจก และลดภาวะโลกร้อนได้
ธรรมชาติตา งๆ และสิง่ มีชวี ติ เมือ่ สภาพภูมอิ ากาศ
เกิดการเปลีย่ นแปลงจากความผิดปกติของอากาศ
70
จะทําใหอากาศเกิดความแปรปรวน เกิดภัยพิบตั ิ
ทางธรรมชาติตางๆ มากมายที่พบบอยและ
รุนแรงมากขึ้นกวาในอดีต เราจึงควรชวยกัน
ปองกัน ไมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยชวยกันลดกิจกรรมที่สงผลทําใหเกิดแกสเรือนกระจกขึ้นในชั้นบรรยากาศ
5. ลมคา เปนปจจัยหลักที่ทําใหเกิดปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา
6. ผลกระทบจากการเกิ ด ปรากฏการณ เ อลนี โ ญและลานี ญ าส ง ผลกระทบให ส ภาพอากาศในหลายพื้ น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม และส ง ผล
กระทบตอชีวิตและสิ่งแวดลอมตาง ๆ เชน ปลาตายเปนจํานวนมาก เกิดปญหานํ้าทวม เกิดภัยแลง เกิดปะการังฟอกขาวเปนจํานวนมาก
7. ปะการังฟอกขาว เปนปรากฏการณทเี่ นือ้ เยือ่ ปะการังใส ไมมสี ี สามารถมองทะลุผา นเนือ้ เยือ่ ปะการังลงไปถึงชัน้ หินปูนสีขาวทีเ่ ปรียบเสมือนกระดูกปะการัง
ปกติแลวปะการังจะมีสสี นั สวยงาม สีทเี่ กิดขึน้ มาจากสาหรายเซลลเดียวทีเ่ รียกวา ซูแซนเทลลีทอี่ าศัยอยูใ นเนือ้ เยือ่ ของปะการัง ซึง่ เกิดจากความแปรปรวน
ของอากาศและอุณหภูมิของนํ้าทะเลที่สูงขึ้น
8. ปรากฏการณเรือนกระจก เปนปรากฏการณทโี่ ลกมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ เนือ่ งจาก พลังงานแสงอาทิตยในชวงความยาวคลืน่ อินฟราเรดทีส่ ะทอนกลับถูกดูดกลืน
โดยโมเลกุลของไอนํ้า แกสคารบอนไดออกไซด แกสมีเทน คลอโรฟลูออโรคารบอน และแกสไนตรัสออกไซดในบรรยากาศ ทําใหโมเลกุลเหลานี้มีพลังงาน
สูงขึ้น

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

U nit
9. - แกสคารบอนไดออกไซด เปนแกสชนิดทีท่ าํ ให
Question 5 เกิดพลังงานความรอนสะสมในบรรยากาศ
ของโลกมากที่สุดในบรรดาแกสเรือนกระจก
คําชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นตอบคํ า ถามต่ อ ไปนี้
ชนิดอื่นๆ
1. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
ï- แกสมีเทน เปนแกสทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
2. ปัจจัยและข้อสนับสนุนใดบ้างที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก จากมูลสัตวเลี้ยง
3. ความแปรปรวนของอากาศเกิดขึ้นได้อย่างไร - แกสไนตรัสออกไซดเกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
4. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลกระทบอย่างไรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อมบ้าง จากมูลสัตวทยี่ อ ยสลาย และเชือ้ เพลิงถานหิน
10. เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทําใหนํ้าแข็งบริเวณ
5. ลมค้ามีความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาอย่างไร
ขั้วโลกละลายและไหลลงสูมหาสมุทรมากกวา
6. ยกตัวอย่างผลกระทบของปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาส่งผลกับมนุษย์อย่างไร ปกติ ซึ่งระดับนํ้าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นนี้อาจทวม
7. ความแปรปรวนของอากาศเกี่ยวข้องกับการเกิดปะการังฟอกขาวในทะเลอันดามันอย่างไร บริเวณชายฝง ทีม่ รี ะดับความสูงตํา่ กวาระดับนํา้
ทะเล นอกจากนี้ ปรากฏการณเรือนกระจกยัง
8. อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและแก๊สเรือนกระจก
สงผลกระทบตอภาคเกษตรกรรมและปศุสัตว
9. ปรากฏการณ์เรือนกระจกมีการปล่อยแก๊สเรือนกระจกชนิดใดบ้างในบรรยากาศ เนื่ อ งจากอุ ณ หภู มิ ที่ สู ง ขึ้ น ส ง ผลให สั ต ว เ กิ ด
10. ปรากฏการณ์เรือนกระจกส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง ภาวะเครียด ใหผลผลิตนอย และอาจลมตายได
ทําใหปริมาณนํ้าฝนลดลง
11. ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวเกิดขึ้น และส่งผลกับสิ่งมีชีวิตในทะเลได้อย่างไร
11. ปรากฏการณ แ นวปะการั ง ฟอกขาว เป น
12. การเกิดคลืน่ ความร้อนเกีย่ วข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจ�าวันของมนุษย์หรือไม่ อย่างไร
ปรากฏการณที่ปะการังชนิดตางๆ รวมถึงสิ่ง
13. การเกิดคลื่นความร้อนแบบสะสมและคลื่นความร้อนแบบพัดพามีความแตกต่างกันอย่างไร มีชีวิตในแนวปะการังอีกหลายชนิด มีสีซีดลง
14. การป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดคลื่นความร้อนท�าได้โดยใช้วิธีใดบ้าง และหากการฟอกขาวนัน้ เปนไปโดยสมบูรณจะ
เรียกกันวา Completely bleaching ซึ่งจะพบ
15. กิจกรรมหรือวิธีใดบ้างที่ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกในปัจจุบัน
วาปะการังเหลานัน้ เหลือเพียงเนือ้ เยือ่ ใสๆ เผย
ใหเห็นสีขาวของหินปูนซึ่งเปนโครงสรางของ
มันโดยทั่วไป สงผลตอสิ่งมีชีวิตในทะเล เชน
ทําใหปะการังออนแอเพราะไดรับสารอาหาร
ไมเพียงพอ และอาจตายไปในที่สุดถาหากไม
สามารถทนตอสภาวะนี้ได
12. เกีย่ วของ เพราะกิจกรรมตางๆ เชน การเผาปา
การปลอยสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือ
การเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศของโลก
71 การใชรถใชถนน ทําใหเกิดคลื่นความรอนซึ่ง
เปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษย

13. คลื่นความรอนแบบสะสม เกิดในพื้นที่ซึ่งสะสมความรอนเปนเวลานาน อากาศแหง เมื่ออุณหภูมิสูงและสะสมหลายวันจะเกิดคลื่นความรอนมากขึ้น สวน


คลื่นความรอนแบบพัดพา เกิดจากลมแรงพัดพาความรอนในปริมาณมาก ซึ่งคลื่นความรอนชนิดนี้เกิดจากลมแรงหอบความรอนจากทะเลทรายขึ้นไปใน
เขตหนาว มักเกิดขึ้นในยุโรป
14. หลีกเลีย่ งการอยูก ลางแดดทีร่ อ นจัด หากมีอากาศรอนจัดแลวเหงือ่ ไมออกใหใชผา ชุบนํา้ เช็ดตัว เพือ่ ระบายความรอน ดืม่ นํา้ มากๆ ไมนอ ยกวาวันละ 8 แกว
เพื่อใหรางกายไดรับนํ้าอยางเพียงพอ
15. ใชพลังงานสะอาดและพลังงานทดแทน ลดการเผาไหมเชื้อเพลิงจากฟอสซิล

T75
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายความหมายของ - แ บบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสื่อสาร - มีวินัย
การตรวจอากาศ - ห นังสือเรียนรายวิชา การพยากรณ์อากาศและ หาความรู้ ก่อนเรียน - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ การตรวจอากาศได้ (K) (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด เรือ่ ง ค้นหา - มุ่งมั่นใน
4 และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 2. บอกความสัมพันธ์ของ Instructional การตรวจอากาศ - ทักษะการวิเคราะห์ การท�ำงาน
ชั่วโมง - แบบฝึกหัดรายวิชา เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจ Model) - สังเกตพฤติกรรมการ - ทักษะการลงความ
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ อากาศแต่ละระบบได้ (K) ท�ำงานรายบุคคล เห็นจากข้อมูล
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 3. อภิปรายเกี่ยวกับการตรวจ - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code อากาศแต่ละระบบได้ (P) การท�ำงานกลุ่ม
- Power point 4. เห็นความส�ำคัญของการ - สังเกตคุณลักษณะ
ศึกษาการพยากรณ์อากาศ อันพึงประสงค์
(A)

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความส�ำคัญของ - แ บบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด เรือ่ ง - ทักษะการสื่อสาร - มีวินัย


ขั้นตอนการ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ การพยากรณ์อากาศได้ หาความรู้ ขั้นตอนการพยากรณ์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
พยากรณ์อากาศ
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 (K) (5Es อากาศ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. อภิปรายเกีย่ วกับขัน้ ตอน Instructional - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการวิเคราะห์ การท�ำงาน
1 เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ต่าง ๆ ในการพยากรณ์ Model) การท�ำงานรายบุคคล - ทักษะการลงความ
ชั่วโมง และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 อากาศได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม เห็นจากข้อมูล
3. เห็นความส�ำคัญของการ การท�ำงานกลุ่ม
ศึกษาขัน้ ตอนการ - สังเกตคุณลักษณะ
พยากรณ์อากาศ (A) อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายวิธีในการพยากรณ์ - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด เรือ่ ง - ทักษะการสื่อสาร - มีวินัย


วิธกี ารพยากรณ์ เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ อากาศได้ (K) หาความรู้ วิธกี ารพยากรณ์อากาศ - ท ักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
อากาศ
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 2. อภิปรายเกี่ยวกับเกณฑ์ (5Es - สังเกตพฤติกรรมการ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
- แบบฝึกหัดรายวิชา ที่ใช้ในการพยากรณ์ Instructional ท�ำงานรายบุคคล - ทักษะการวิเคราะห์ การท�ำงาน
3 เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ อากาศได้ (P) Model) - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการลงความ
ชั่วโมง และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 3. เห็นความส�ำคัญของการ การท�ำงานกลุ่ม เห็นจากข้อมูล
ศึกษาวิธีการพยากรณ์ - สังเกตคุณลักษณะ
อากาศ (A) อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 4 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. แปลความหมายสัญลักษณ์ - แ บบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสื่อสาร - มีวินัย


แผนทีอ่ ากาศ - หนังสือเรียนรายวิชา ลมฟ้าอากาศบนแผนที่ หาความรู้ หลังเรียน - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ อากาศได้ (K) (5Es - ตรวจแบบฝึกหัด เรือ่ ง ค้นหา - มุ่งมั่นใน
4 และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 2. วิเคราะห์และอภิปราย Instructional แผนที่อากาศ - ทักษะการวิเคราะห์ การท�ำงาน
ชั่วโมง - แบบฝึกหัดรายวิชา เกี่ยวกับการคาดการณ์ Model) - สังเกตพฤติกรรมการ - ทักษะการลงความ
เพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์ ลักษณะลมฟ้าอากาศ ท�ำงานรายบุคคล เห็นจากข้อมูล
และอวกาศ ม.5 เล่ม 2 เบื้องต้นจากแผนที่อากาศ - สังเกตพฤติกรรม
ได้ (P) การท�ำงานกลุ่ม
3. เห็นความส�ำคัญของการ - สังเกตคุณลักษณะ
ศึกษาแผนที่อากาศ (A) อันพึงประสงค์

T76
Chapter Concept Overview
หนวยการเรียนรูที่ 6
การตรวจอากาศ
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดการณ์สภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การตรวจอากาศ คือ การตรวจวัดและจดบันทึก ดาวเทียม GEOSAT
ข้อมูลทางอุตนุ ยิ มวิทยา เช่น ความกดอากาศ ความชืน้ ดาวเทียมโคจรใกล้ขั้วโลก
ลม อุณหภูมิ เพื่อเปนข้อมูลเบื้องต้นในการพยากรณ์
เครื่องบิน
อากาศ จากนั้นน�าข้อมูลตรวจอากาศที่ได้มาวิเคราะห์
เพื่อท�าแผนที่อากาศต่อไป การตรวจอากาศสามารถ
แบ่งออกเปน 4 ระบบ ดังนี้
1. การตรวจอากาศผิวพื้น ศูนย์ดาวเทียม เรดาร์ตรวจอากาศ
อุตุนิยมวิทยา
2. การตรวจอากาศชั้นบน สถานีรับสัญญาณ
3. การตรวจอากาศด้วยดาวเทียม เรือตรวจอากาศ ดาวเทียมภาคพื้นดิน
สถานีตรวจอากาศ
4. การตรวจอากาศด้วยเรดาร์ อัตโนมัติ ทุ่นลอยในมหาสมุทร

สถานีตรวจอากาศผิวพื้น สถานีตรวจอากาศชั้นบน

การตรวจวัดอากาศในรูปแบบต่าง ๆ
ขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ
1 2 3
การสื่อสารเพื่อรวบรวม การวิเคราะหขอมูลเพื่อการคาดหมาย
การตรวจอากาศ
ขอมูลผลการตรวจอากาศ ลักษณะอากาศในอนาคต

ตรวจอากาศชั้นบน แผนที่อากาศ ตรวจอากาศ ตรวจอากาศ การพยากรณ์


ชั้นบน ด้วยเรดาร์ ด้วยดาวเทียม อากาศ

ระบบการ แผนที่อากาศ ค�าแนะน�า


ตรวจอากาศผิวพื้น การพยากรณ์อากาศ
สื่อสาร ผิวพื้น
ค�าเตือน
แผนภูมิการ ระบบสถิติ พื้นที่
หยั่งอากาศ พยากรณ์ ข่าว

วิธีการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศระยะสั้น การพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง การพยากรณ์อากาศระยะนาน

เปนการพยากรณ์อากาศในระยะเวลา เปนการพยากรณ์อากาศในระยะเวลา เปนการพยากรณ์อากาศในระยะเวลา


ไม่เกิน 72 ชั่วโมง มากกว่า 72 ชั่วโมง ถึง 10 วัน มากกว่า 10 วันขึ้นไป

แผนที่อากาศ
แผนทีอ่ ากาศ เปนแผนทีท่ แี่ สดงข้อมูลทางอุตนุ ยิ มวิทยา ซึง่ สรุปข้อมูลของอากาศในแต่ละบริเวณตามช่วงเวลา โดยแสดงข้อมูลออกมา
ในรูปแบบของตัวเลข รหัส หรือสัญลักษณ์มาตรฐานทางอุตนุ ยิ มวิทยา โดยแบ่งออกเปน 2 ชนิด ได้แก่ แผนทีอ่ ากาศผิวพืน้ และแผนทีล่ มชัน้ บน

T77
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพือ่ วัด
ความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูการเรียน
2. ครูถามคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ การพยากรณ
รายวิชาเพิม่ เติม โลก ดาราศาสตร และอวกาศ
ม.5 เลม 2 ดังนี้
ï• การพยากรณอากาศมีความสําคัญอยางไร
ï• หนวยงานใดทําหนาทีใ่ นการพยากรณอากาศ
6
่ นแปลงของลมฟ้าอากาศมีอท
การเปลีย
อากาศ
ิ ธิพลตอการดําเนินชีวติ ของมนุษย เชน การทําการเกษตร
ï• การพยากรณอากาศทําไดดวยวิธีใด การเดินเรือ การบิน เปนตน เราจึงตองศึกษาและทําความเขาใจปรากฏการณทางอุตุนิยมวิทยา
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาข อ ความในตาราง เพื่อสามารถคาดการณสภาพลมฟาอากาศได หรือเรียกอีกอยางวาการพยากรณอากาศ
Understanding Check ตามความเขาใจของ
นักเรียนเพือ่ วัดความรูเ ดิมของนักเรียนเกีย่ วกับ
หนวยการเรียนรูที่ 6 การพยากรณอากาศ • ¡ÒþÂҡóÍÒ¡ÒÈÁÕ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑÞÍ‹ҧäÃ
• ˹‹Ç§ҹ㴷Ó˹ŒÒ·Õè㹡ÒþÂҡó
ÍÒ¡ÒÈ
• ¡ÒþÂҡóÍÒ¡ÒÈ·Óä´Œ´ŒÇÂÇÔ¸¡Õ ÒÃã´


U n de r s t a n d i ng
Che�
ใหนักเรียนพิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิดแลวบันทึกลงในสมุด
การพยากรณ
ภาพที ่ 1.4 สัดอสากาศ เปนการคาดการณ
วนของสารประกอบต าง ๆสภาวะลมฟาอากาศในอนาคต
ทีการพยากรณ
่พบในโครงสรอาากาศเกี
งโลกแต่ยลวขะชัอ้นงกับชีวิตประจําวันของมนุษย
การวิเคราะหขอมูลเปนขั้นตอนหนึ่งในการพยากรณอากาศ
การพยากรณอากาศในระยะเวลา 10 วัน เปนการพยากรณอากาศระยะสั้น
H เปนสัญลักษณทางอุตุนิยมวิทยาแทนความกดอากาศตํ่า
แนวตอบ Understanding Check
1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก
4. ผิด 5. ผิด

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• การพยากรณอากาศ เปนการคาดการณสภาวะลมฟาอากาศและ
การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การพยากรณอากาศ ครูอาจเสริมเกี่ยวกับ
ปรากฏการณธรรมชาติตา งๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ซึง่ ชวยใหเราสามารถ
ประโยชนจากการพยากรณอากาศ โดยครูใหนักเรียนแตละคนยกตัวอยาง
นําขอมูลมาวางแผนการดําเนินชีวติ ใหสอดคลองกันสภาพลมฟาอากาศ
ประโยชนจากการพยากรณอากาศตอชีวิตประจําวันของนักเรียน และครูอาจ
เชน การเลือกชวงเวลาในการเพาะปลูกพืช การเลือกสวมใสเสื้อผาให
ยกตัวอยางโดยใชคลิปวิดโี อขาวการพยากรณอากาศประจําวัน ใหนกั เรียนศึกษา
เหมาะสมกับสภาพอากาศ
และสอบถามนักเรียนวา จากขาวที่นักเรียนดู นักเรียนจะวางแผนการใชชีวิต
• หนวยงานที่ทําหนาที่ตรวจและติดตามปรากฏการณธรรมชาติเพื่อ
ประจําวันอยางไร เพื่อใหนักเรียนเห็นภาพชัดเจนขึ้น
การพยากรณอากาศและเตือนภัย คือ กรมอุตุนิยมวิทยา
• การพยากรณอากาศเริม่ ตนดวยวิธกี ารตรวจอากาศ โดยจะมีการตรวจวัด
และจดบันทึกขอมูลของอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชืน้ ความเร็วลม
ทิศทางลม และปริมาณฝนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่ตองการตรวจวัดใน
แตละชวงเวลา จากนัน้ นําขอมูลทีไ่ ดมาวิเคราะหและคํานวณ แลวนํามา
จัดทําเปนแผนที่อากาศเพื่อเผยแพรตอไป

T78
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
การตรวจอากาศ 1. การตรวจอากาศ 4. ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior
คืออะไร Knowledge ใหนักเรียนอภิปรายและแสดง
การพยากรณ์อากาศ (weather forecast) คือ การ
คาดการณ์สภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย ความคิดเห็นรวมกันกอนเขาสูหัวขอที่เรียน
การน�าความรูท้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์กบั ความรูค้ วามเข้าใจในกระบวนการเกิด ดังนี้
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางอุตุนิยมวิทยา รวมทั้งข้อมูลสภาพอากาศในปัจจุบัน ï• การตรวจอากาศคืออะไร
ลมฟ้าอากาศมีส่วนเกี่ยวข้องกับการด�าเนินกิจกรรมในชีวิตประจ�าวันของมนุษย์ เช่น การ
เลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ การเลือกเมล็ดพันธุ์พืชที่ต้องการปลูกให้เหมาะสม ขัน้ สอน
กับสภาพอากาศในแต่ละพื้นที่ การสร้างที่อยู่อาศัยโดยค�านึงถึงความเหมาะสมกับสภาพอากาศ สํารวจค้นหา
ทิศทางลม การเตรียมความพร้อมในการออกเดินทางท่องเที่ยวหรือการท�างาน ซึ่งสภาพอากาศ 1. นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การพยากรณ
บางลักษณะส่งผลให้ทัศนวิสัยในการขับขี่ลดลงและสืบเนื่องไปสู่การจราจรที่ติดขัด เป็นต้น อากาศ โดยสืบคนขอมูลตางๆ ดังนี้
ï• การพยากรณอากาศคืออะไร
ï• การตรวจอากาศคืออะไร เกี่ยวของกับการ
พยากรณอากาศอยางไร
ï• การพยากรณอากาศเกีย่ วของกับการดําเนิน
ชีวิตประจําวันของมนุษยหรือไม อยางไร

แนวตอบ Prior Knowledge


ภาพที่ 6.1 ลมฟ้าอากาศมีอิทธิพลต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวันของมนุษย์ การตรวจอากาศ คือ การตรวจวัดและจด
ที่มา : คลังภาพ อจท.
บันทึกขอมูลอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น
การพยากรณ์อากาศ 73
ความเร็วลม ทิศทางลม และปริมาณฝนในพื้นที่
ใดพื้นที่หนึ่งในแตละชวงเวลา จากนั้นนําขอมูล
ตรวจอากาศมาวิเคราะหและจัดทําแผนที่อากาศ

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน แตละกลุมสืบคนเกี่ยวกับ ครูใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียนโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5
ประโยชนของการพยากรณอากาศใหไดมากทีส่ ดุ พรอมยกตัวอยาง เลม 2 หนา 73 แลวรวมกันวิเคราะหวาการพยากรณอากาศเกี่ยวของกับ
โดยแบงเปนประเด็นหลักๆ ดังนี้ ภาพอยางไร และการพยากรณอากาศมีประโยชนตอการใชชีวิตประจําวันกับ
ï• ดานการเกษตร ภาพนัน้ ๆ หรือไม ครูอาจสุม นักเรียนในชัน้ เรียนเพือ่ ตอบคําถาม จากนัน้ รวมกัน
ï• ดานการคมนาคม อภิปรายเกี่ยวกับประโยชนของการพยากรณอากาศ
ï• ดานที่อยูอาศัย
ï• ดานการทองเที่ยว

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2. นักเรียนแลกเปลี่ยนความรูที่สืบคนไดเกี่ยวกับ อากาศมีการหมุนเวียนเป็นบริเวณกว้าง การใช้ข้อมูลอากาศเฉพาะบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
การพยากรณอากาศในชัน้ เรียน โดยใหนกั เรียน จะท�าให้เกิดความไม่แม่นย�าในการพยากรณ์อากาศระยะยาว เนื่องจากปัจจุบันวิทยาการทางด้าน
จับคูแลวอภิปรายแลกเปลี่ยนความรูรวมกัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทมี่ บี ทบาทส�าคัญในการพยากรณ์อากาศได้รบั การพัฒนาไปมาก อีกทัง้
จากนั้นบันทึกความรูที่อภิปรายรวมกันลงใน การติดต่อสื่อสารมีความสะดวกรวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อยลง การแลกเปลี่ยนข้อมูลผลการ
สมุด ตรวจอากาศระหว่างประเทศเป็นไปได้งา่ ยขึน้ ส่งผลให้การพยากรณ์อากาศมีความแม่นย�ามากขึน้
3. ครูตงั้ คําถามนําสูก ารสํารวจคนหาวา นักเรียน ในประเทศไทยหน่วยงานที่ท�าหน้าที่ตรวจและติดตามปรากฏการณ์ธรรมชาติเพื่อการ
สามารถทราบขอมูลลมฟาอากาศในอนาคตได พยากรณ์อากาศและเตือนภัย คือ กรมอุตุนิยมวิทยา 1ส่วนหน่วยงานที่มีบทบาทส�าคัญในการ
อยางไร หนวยงานใดมีหนาที่ในการพยากรณ พยากรณ์อากาศระดับโลก คือ องค์การอุตนุ ยิ มวิทยาโลก (World Meteorological Organization;
อากาศ WMO)
การตรวจอากาศ คือ การตรวจวัดและจดบันทึกข้อมูลของอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชืน้
(แนวตอบ ขอมูลลมฟาอากาศสามารถทราบได
ความเร็วลม ทิศทางลม และปริมาณฝนในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ ในแต่ละช่วงเวลา เช่น ทุกวัน ทุกชัว่ โมง
จากแหลงตางๆ เชน ขาว หนังสือพิมพ หรือ
และท�าต่อเนื่องเรื่อย ๆ ทั้งนี้ เนื่องจากสภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงต้องมี
เว็บไซตของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับ การบันทึกข้อมูลให้ใกล้เคียงกับปัจจุบนั มากทีส่ ดุ เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลเบือ้ งต้นในการพยากรณ์อากาศ
ลมฟาอากาศ ซึ่งหนวยงานที่มีหนาที่ในการ ต่อไป จากนั้นจึงน�าข้อมูลตรวจอากาศมาวิเคราะห์ และจัดท�าแผนที่อากาศ
พยากรณอากาศ คือ กรมอุตุนิยมวิทยา) การตรวจและบันทึกสภาพอากาศจ�าเป็นต้องใช้เครื่องมือตรวจวัดหลายชนิด ซึ่งส่วนใหญ่
แล้วกรมอุตนุ ยิ มวิทยาจะตัง้ สถานีตรวจอากาศหรือสถานีอตุ นุ ยิ มวิทยากระจายไปตามจังหวัดต่าง ๆ
ทั่วประเทศ และยังมีสถานีตรวจอากาศของหน่วยงานอื่น ๆ เช่น กรมป่าไม้ กรมชลประทาน กรม
ทรัพยากรน�้า กรมประมง โดยแต่ละหน่วยงานจะมีอุปกรณ์ตรวจวัดที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับภารกิจ
ของแต่ละหน่วยงาน
Earth Science
Focus การวัดปริมาณน�้าฝน
ในการวัดน�้าฝนจะตรวจวัดด้วยอุปกรณ์วัดปริมาณน�้าฝน ซึ่งจะมีลักษณะเป็นทรงกระบอกมี
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร และมีไม้บรรทัดไว้สา� หรับวัดความสูงของน�า้ ในการรายงาน
ปริมาณน�้าฝนจะรายงานในหน่วยมิลลิเมตรต่อ 24 ชั่วโมง ประเทศไทยมีหลักเกณฑ์ในการวัดฝน ดังนี้
มิลลิเมตร/24 ชั่วโมง ผลการวัด
น้อยกว่า 0.10 ฝนตกเล็กน้อยวัดปริมาณไม่ได้
0.10-10.00 ฝนตกเล็กน้อย
10.10-35.00 ฝนตกปานกลาง
35.10-90.00 ฝนตกหนัก
มากกว่า 90.1 ฝนตกหนักมาก

74

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 องคการอุตนุ ยิ มวิทยาโลก (World Meteorological Organization; WMO) กรมอุตนุ ยิ มวิทยาเปนหนวยงานทีม่ บี ทบาทสําคัญเกีย่ วกับเรือ่ งใด
เปนหนวยงานพยากรณอากาศระดับโลก มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กรุงเจนีวา มากที่สุด
ประเทศสวิตเซอรแลนด มีสมาชิกรวม 189 ประเทศ ซึง่ องคการอุตนุ ยิ มวิทยาโลก 1. ตรวจวัดอากาศผิวพื้น
เปนหนวยงานทีม่ คี วามชํานาญพิเศษดานภูมอิ ากาศ กระแสนํา้ และภูมกิ ายภาพ 2. ตรวจวัดอากาศชั้นบน
เพื่อสวัสดิภาพของมวลมนุษยชาติ ไดรับบริจาคในโครงการตางๆ ในดานการ 3. จดบันทึกขอมูลทางลมฟาอากาศ
ปองกันภัยพิบัติจากธรรมชาติ ที่อาจมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมบนพื้นพิภพ 4. ตรวจและติดตามปรากฏการณธรรมชาติ
สํารวจสภาพชัน้ บรรยากาศทีป่ กคลุมโลก รวมถึงการใหบริการดานการพยากรณ 5. วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติ
เพื่อความปลอดภัยของการบินพลเรือน การขนสงทางทะเล การเกษตรกรรม (วิเคราะหคําตอบ ในประเทศไทย กรมอุตุนิยมวิทยาถือเปน
การจัดสรรทรัพยากรนํ้าเพื่ออุปโภคเมื่อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ หน ว ยงานที่ มี ห น า ที่ ต รวจและติ ด ตามปรากฏการณ ธ รรมชาติ
เพื่อการพยากรณอากาศและเตือนภัย ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
สภาพอากาศมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ซึง่ เราอาจจะไม่สามารถสังเกตการเปลีย่ นแปลง 4. ครูใหนักเรียนศึกษาการพยากรณอากาศ โดย
ของสภาพอากาศได้ ดังนัน้ จึงมีความจ�าเป็นทีจ่ ะต้องสร้างเครือ่ งมือเพือ่ ตรวจวัดสภาพอากาศขึน้ รับชมจากแหลงขอมูลออนไลนตางๆ เชน
อีกทั้งการพยากรณ์อากาศมีขั้นตอนที่ซับซ้อน และยังต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันเหตุการณ์ คลิปวิดีโอจาก Youtube เรื่อง หลักการของ
ปัจจุบนั อยูเ่ สมอ ท�าให้มคี วามจ�าเป็นต้องใช้เทคโนโลยีระดับสูง ประกอบกับความรูท้ างอุตนุ ยิ มวิทยา การพยากรณอากาศ https://www.youtube.
ด้านสภาพอากาศ พื้นผิวโลก และมหาสมุทร ซึ่งการพยากรณ์อากาศสมัยใหม่ได้ประยุกต์ความรู้ com/watch?v=Z3eIABad8mA
วิทยาศาสตร์ในการคาดการณ์สภาพอากาศในอนาคต โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการตรวจอากาศใน 5. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับความรูที่ได
พื้นที่ทั้งภาคพื้นดิน พื้นสมุทร บรรยากาศ และอวกาศมาช่วยในการพยากรณ์ จากการชมคลิปวิดีโอ เรื่อง หลักการของการ
การตรวจอากาศสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ดังนี้ พยากรณอากาศ แลวบันทึกความรูท ไี่ ดลงสมุด
• การตรวจอากาศผิวพื้น
• การตรวจอากาศชั้นบน
• การตรวจอากาศด้วยดาวเทียม
• การตรวจอากาศด้วยเรดาร์ ภาพที่ 6.2 การตรวจวัดสภาพอากาศ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ดาวเทียม GEOSAT
ดาวเทียมโคจรใกล้ขั้วโลก

เครื่องบิน

เรดาร์ตรวจอากาศ
ศูนย์ดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา
สถานีรับสัญญาณดาวเทียม
เรือตรวจอากาศ ภาคพื้นดิน

สถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ
ทุ่นลอยในมหาสมุทร

สถานีตรวจอากาศผิวพื้น สถานีตรวจอากาศชั้นบน
การพยากรณ์อากาศ 75

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดตอไปนี้ไมใชระบบในการตรวจอากาศ ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การพยากรณอากาศ เพิ่มเติมจากแหลงการ
1. การตรวจอากาศผิวพื้น เรียนรูออนไลนตางๆ เชน คลิปวิดีโอจาก Youtube เรื่อง การพยากรณอากาศ
2. การตรวจอากาศชั้นบน https://www.youtube.com/watch?v=pGimSvSGez8
3. การตรวจอากาศดวยเรดาร
4. การตรวจอากาศพื้นสมุทร
5. การตรวจอากาศดวยดาวเทียม
(วิเคราะหคาํ ตอบ การตรวจอากาศสามารถแบงออกเปน 4 ระบบ
ไดแก การตรวจอากาศผิวพื้น การตรวจอากาศชั้นบน การตรวจ
อากาศดวยดาวเทียม และการตรวจอากาศดวยเรดาร ดังนัน้ ตอบ
ขอ 4.)

T81
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
6. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน โดยแตละ 1.1 การตรวจอากาศผิวพื้น
กลุมจับสลากเลือกหัวขอที่สืบคนขอมูล ดังนี้ การตรวจอากาศผิวพื้นจะตรวจวัดในเวลามาตรฐานที่ก�าหนดโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
ï• การตรวจอากาศผิวพื้น ซึง่ ก�าหนดให้ตรวจวัดอากาศในช่วงเวลาเดียวกันทัว่ โลกตามเวลากรีนชิ (Greenwich Mean Time;
ï• การตรวจอากาศชั้นบน GMT) หรือเวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; UTC) ซึ่งก�าหนดให้ตรวจอากาศ
ï• การตรวจอากาศดวยดาวเทียม ทุก ๆ 6 ชั่วโมง ได้แก่ เวลา 00.00 06.00 12.00 และ 18.00 UTC ซึ่งเวลาดังกล่าวช้ากว่าเวลา
ï• การตรวจอากาศดวยเรดาร ในประเทศไทย 7 ชั่วโมง ดังนั้น ประเทศไทยจึงตรวจวัดอากาศผิวพื้นในเวลา 07.00 น. 13.00 น.
19.00 น. และ 23.00 น. ซึง่ ในระหว่างเวลาหลักนีอ้ าจมีการตรวจวัดเพิม่ เติมได้ตามความเหมาะสม
เนื่องจากพื้นผิวโลกประกอบด้วย 2 ส่วน คือ พื้นผิวโลกภาคพื้นทวีป (continental crust)
และพื้นผิวโลกภาคพื้นมหาสมุทร (oceanic crust) ดังนั้น การตรวจอากาศผิวพื้นจึงแบ่งออกเป็น
2 ส่วน ได้แก่ การตรวจอากาศผิวพื้นทวีป และการตรวจอากาศผิวพื้นมหาสมุทร
1. การตรวจอากาศผิวพื้นทวีป จะตรวจวัดโดยใช้สนามอุตุนิยมวิทยา (meteorological
station) ทีป่ ระกอบด้วยเครือ่ งมือทีใ่ ช้ตรวจวัดค่าต่าง ๆ โดยตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีโ่ ล่ง ซึง่ สถานีตรวจอากาศ
ลักษณะนีเ้ หมาะกับบริเวณทีม่ พี นื้ ทีก่ ว้างและห่างไกลแหล่งชุมชน ต่อมามีการพัฒนาสถานีตรวจวัด
อากาศอัตโนมัติ (Automated Weather Station; AWS) ซึ่งมีการบันทึกข้อมูลด้วยเครื่องบันทึก
ข้อมูลเป็นไปอย่างถูกต้อง โดยลดขนาดของอุปกรณ์ตรวจวัดต่าง ๆ และมีการส่งสัญญาณข้อมูล
ผ่านคลื่นวิทยุหรือดาวเทียม ดังนั้น จึงสามารถติดตั้งได้สะดวก ดูแลง่าย และใช้พื้นที่น้อย
ภาพที่ 6.3 สนามอุตุนิยมวิทยาใช้ตรวจวัดอากาศผิวพื้นทวีป
ที่มา : คลังภาพ อจท.

76

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับเครือ่ งมือทีใ่ ชในการตรวจวัดในสถานีตรวจ ขอใดตอไปนี้เปนการตรวจอากาศผิวพื้น
อากาศผิวพืน้ โดยยกตัวอยางเครือ่ งมือทีใ่ ชพรอมภาพประกอบ เชน บารอมิเตอร 1. การตรวจอากาศผิวพื้นดินและการตรวจอากาศผิวพื้นนํ้า
เปนเครื่องมือที่ใชวัดความกดอากาศ 2. การตรวจอากาศผิวพื้นทวีปและการตรวจอากาศผิวพื้นนํ้า
ï• บารอมิเตอรแบบปรอท เปนบารอมิเตอรมาตรฐานที่ใชกันอยูทั่วไป 3. การตรวจอากาศผิวพื้นทวีปและการตรวจอากาศผิวพื้น
แบงออกเปน 2 แบบ
มหาสมุทร
- บารอมิเตอรแบบคิว เปนแบบที่ปรอทติดแนนตายตัวอยูกับลําหลอด
แกว ไมสามารถปรับแตงระดับปรอทได ซึง่ แบงออกเปน 2 แบบ ไดแก 4. การตรวจอากาศผิวพื้นโลกและการตรวจอากาศผิวพื้น
แบบที่ใชบนบก (Kew Station) และแบบที่ใชในทะเล (Kew Marine) บรรยากาศ
- บารอมิเตอรแบบฟอรติน เปนแบบสามารถปรับระดับปรอทใหผิวหนา 5. การตรวจอากาศผิวพื้นดวยเรดารและการตรวจอากาศ
มาสัมผัสกับเข็มงาชางได ผิวพื้นดวยดาวเทียม
ï• บารอมิเตอรแบบแอนิรอยด เปนบารอมิเตอรทพี่ กพาไดสะดวก เนือ่ งจากมี (วิเคราะหคาํ ตอบ เนือ่ งจากโลกประกอบไปดวย 2 สวน คือ พืน้ ผิวโลก
ลักษณะเปนกระปุกลูกฟูก ภายในเปนสุญญากาศ ไมใชปรอท ภาคพืน้ ทวีปและพืน้ ผิวโลกภาคพืน้ มหาสมุทร ดังนัน้ การตรวจวัด
ï• บารอกราฟ เปนเครื่องวัดความกดอากาศที่เหมือนกับแบบแอนิรอยด อากาศผิวพืน้ จึงแบงออกเปน 2 สวน ไดแก การตรวจอากาศผิว
แตใช 6-10 ตลับลูกฟูก ซึง่ ทําใหเกิดความถูกตองและเกิดความผิดพลาด
พืน้ ทวีป และการตรวจอากาศผิวพืน้ มหาสมุทร ดังนัน้ ตอบขอ 3.)
นอยที่สุดในการบันทึกขอมูล
T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2. การตรวจอากาศผิวพื้นมหาสมุทร 7. นักเรียนแตละกลุม สืบคนตามหัวขอทีจ่ บั สลาก
จะตรวจวั ด โดยใช เ รื อ ตรวจวั ด สภาพอากาศ ไดตามประเด็นตางๆ ดังนี้
(weather ship) หรือทุน ตรวจวัดอากาศ (weather ï• วิธีการตรวจอากาศ
buoy) ซึ่งขอมูลที่ตรวจวัดไดจากเรือตรวจวัด ï• เครื่องมือที่ใชในการตรวจอากาศ
สภาพอากาศนั้น สามารถนําไปใชสนับสนุนการ ï• ขอดีของการตรวจอากาศแตละระบบ
เดินเรือหรือนํามาวิเคราะหคลื่นลมในทะเลได ภาพที่ 6.4 ทุนตรวจวัดอากาศเปนเครื่องมือหนึ่งเพื่อ
การเตือนภัยสึนามิ 8. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายและสรุป
สวนทุนตรวจอากาศในทะเลจะตรวจวัดขอมูลได ที่มา : คลังภาพ อจท. ความรูร วบยอดในการสืบคนเกีย่ วกับการตรวจ
เชนเดียวกับเรือตรวจวัดสภาพอากาศ นอกจากนี้ ยังสามารถตรวจวัดขอมูลที่เกี่ยวของกับทะเล
และมหาสมุทรบริเวณนั้นได เชน อุณหภูมิผิวนํ้าทะเล ความสูงคลื่น เปนตน อากาศระบบตางๆ จากนั้นใหนักเรียนแตละ
ขอมูลของสถานีตรวจอากาศผิวพืน้ จะเปนการแสดงขอมูลตรวจอากาศในรูปสัญลักษณหรือ คนบันทึกความรูที่ไดลงในกระดาษ A4
ตัวเลขทีป่ รากฏบนแผนทีอ่ ากาศ เชน อุณหภูมิ ความชืน้ ความกดอากาศ ความเร็วและทิศทางลม
ปริมาณและชนิดของเมฆ ทําใหทราบลักษณะอากาศของสถานทีน่ นั้ ๆ ในเวลาทีม่ กี ารตรวจวัด ซึง่ เมือ่
นําขอมูลของสถานีตรวจอากาศผิวพืน้ มาแสดงในแผนทีอ่ ากาศ จะทําใหสามารถวิเคราะหลกั ษณะ
อากาศในบริเวณกวางได1เชน บริเวณความกดอากาศสูง หยอมความกดอากาศตํา่ พายุหมุนเขตรอน
รองความกดอากาศตํ่า
ตารางที่ 6.1 : ขอมูลอุตุนิยมวิทยาที่ตรวจวัดจากเครื่องมือในสถานีตรวจอากาศผิวพื้น
ขอมูล เครื่องมือ หนวย
ความกดอากาศ บารอมิเตอร มิลลิบาร (mbar)
อุณหภูมิ เทอรมอมิเตอร องศาเซลเซียส ( Cํ )
ความเร็วลม แอนิมอมิเตอร นอต (knot)
ทิศทางลม ศรลม องศา (degree)
ความชื้นสัมพัทธของอากาศ ไฮโกรมิเตอร เปอรเซ็นต (%)
ปริมาณนํ้าฝน เครื่องวัดปริมาณนํ้าฝน มิลลิเมตร (mm)
การระเหยของนํ้า เครื่องวัดนํ้าระเหย มิลลิเมตร (mm)
มิลลิวัตตตอตารางเซนติเมตร
รังสีดวงอาทิตย เครื่องวัดการแผรังสี
(mW/cm2)
ความยาวนานของแสงแดด เครื่องวัดความยาวของแสงแดด ชั่วโมง (hr)
ทัศนวิสัย สังเกตดวยสายตา เมตร (m) หรือกิโลเมตร (km)
ความสูงของฐานเมฆ สังเกตดวยสายตา เมตร (m) หรือฟุต (ft)

แอนิมอมิเตอร 77
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB16

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แตละกลุมสืบคนเกี่ยวกับ 1 รองความกดอากาศตํ่า คือ แนวของมวลอากาศที่มีความหนาแนนตํ่าซึ่งมี
หลักการทํางานของทุนตรวจวัดอากาศในทะเล (weather buoy) อุณหภูมสิ งู เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติของอากาศทีไ่ ดรบั พลังงานจากดวงอาทิตย
แลวรวมกันศึกษาและทําความเขาใจหลักการทํางาน จากนั้น และมีมวลอากาศทีม่ คี วามกดอากาศสูงกวา (ความหนาแนนมากกวา) กระจายอยู
อภิปรายรวมกันภายในกลุม สรุปความรูที่ไดบันทึกลงในกระดาษ รอบแนวทัง้ 2 ดาน รองความกดอากาศตํา่ มักจะเกิดในแนวตะวันออก-ตะวันตก
A4 โดยวาดภาพประกอบคําอธิบายหลักการทํางานของทุน ตรวจวัด เปนหลัก (เพราะเปนแนวที่โลกหมุนรอบตัวเองและหมุนรอบดวงอาทิตย) อาจ
อากาศในทะเล จะมีเฉียงเหนือหรือใตเล็กนอยตามฤดูกาล และกําลังลมอื่นๆ ที่มากระทบ เชน
ลมมรสุม

สื่อ Digital
ศึกษาเพิม่ เติมจาก QR Code
เรื่อง แอนิมอมิเตอร แอนิมอมิเตอร
https://www.aksorn.com/interactive3D/RNB16

T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
9. นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นความรู  กั บ เพื่ อ นใน 1.2 การตรวจอากาศชั้นบน
ชัน้ เรียนโดยใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นตางกลุม อากาศชั้นบนหรืออากาศที่อยู่สูงขึ้นไปจากพื้นผิวโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา แม้ว่า
จากนัน้ แตละคูน าํ ความรูท ไี่ ดจากการอภิปราย การเปลี่ยนแปลงของอากาศชั้นบน (upper air weather observation) จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ
ภายในกลุมของตนเองมาแลกเปลี่ยนความรู โดยตรงต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์ แต่ก็มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เนื่องจากอากาศชั้นบนและ
กัน จับคูแลกเปลี่ยนความรูวนไปเรื่อยๆ จน อากาศผิวพื้นมีการเคลื่อนที่มาแทนที่กัน ดังนั้น การตรวจอากาศชั้นบนจึงถือได้ว่ามีความส�าคัญ
ศึกษาความรูเกี่ยวกับการตรวจอากาศครบ เช่นกัน
ทั้ง 4 ระบบ ดังนี้ การตรวจวัดอากาศชั้นบนโดยส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลหลักทางอุตุนิยมวิทยา เช่น อุณหภูมิ
ï • การตรวจอากาศผิวพื้น ความกดอากาศ ความชืน้ สัมพัทธ์ ทิศทางและความเร็วลม เป็นต้น โดยการตรวจวัดอากาศชัน้ บน
ï• การตรวจอากาศชั้นบน สามารถวัดได้จากเครื่องมือตรวจวัดอากาศ ดังนี้
ï• การตรวจอากาศดวยดาวเทียม 1. วิทยุหยั่งอากาศ (radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีลักษณะเป็นกล่องที่
ï• การตรวจอากาศดวยเรดาร ประกอบด้วยเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ ทิศทางและความเร็วลมที่
10. นักเรียนนําความรูที่ไดจากการแลกเปลี่ยน ระดับความสูงต่าง ๆ การตรวจวัดอากาศชั้นบนด้วยวิทยุหยั่งอากาศท�าได้โดยการติดตั้งวิทยุหยั่ง
ความรูเกี่ยวกับการตรวจอากาศระบบตางๆ อากาศกับบอลลูนตรวจอากาศแล้วส่งบอลลูนตรวจอากาศไปสู่ชั้นบรรยากาศ จากนั้นข้อมูลในรูป
บันทึกลงในกระดาษ A4 (กําหนดให 1 ระบบ ของสัญญาณวิทยุจะถูกส่งมายังเครื่องรับภาคพื้นดิน
ตอ 1 หนากระดาษ) จากนั้นรวบรวมสรุป การตรวจอากาศชั้นบนด้วยวิทยุหยั่งอากาศจะท�าการตรวจวันละ 2 ครั้ง ได้แก่ เวลา
การตรวจอากาศระบบตางๆ ดวยกัน จัดทํา 00.00 UTC และเวลา 12.00 UTC โดยข้อมูลตรวจอากาศชั้นบนจากแต่ละสถานีจะถูกน�ามา
เปนชิ้นงานเย็บมุมกระดาษ พรอมตกแตง วิเคราะห์ในระดับกว้าง (synoptic scale) ซึ่งจะแสดงภาพรวมของระบบหมุนเวียนของกระแสลม
ชิ้นงานใหสวยงาม ความชื้นอากาศ และยังใช้เป็นข้อมูลส�าหรับการพยากรณ์อากาศอีกด้วย
ส�าหรับข้อมูลแต่ละสถานีนนั้ ๆ สามารถน�ามาวิเคราะห์
เสถียรภาพของอากาศในแต่ละบริเวณ และพยากรณ์การเกิดเมฆ
และฝนในระดับท้องถิ่นได้
2. กล้องวัดมุมหรือกล้องทีโอโดไลต์ (theodolite)
เป็นกล้องส�ารวจชนิดหนึ่งที่ใช้ในการท�ารังวัดและแผนที่ ในทาง
อุตนุ ยิ มวิทยากล้องทีโอโดไลต์จะติดตามการเคลือ่ นทีข่ องบอลลูน
ตรวจอากาศ แล้วค�านวณหาความเร็ว และทิศทางลมในระดับ
ความสูงต่าง ๆ ด้วยวิธตี รีโกณมิติ ซึง่ จะมีขอ้ จ�ากัดในการตรวจวัด
โดยเมือ่ มีสงิ่ กีดขวางหรือบดบังบอลลูนตรวจอากาศจะไม่สามารถ
ท�าการตรวจวัดได้ ภาพที่ 6.5 กล้องวัดมุมดิจิทัล
ที่มา : คลังภาพ อจท.

78 การตรวจอากาศชั้นบน

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการตรวจอากาศชัน้ บน ไดจากการสแกน QR Code เวลาในประเทศไทยในการตรวจวัดอากาศเทียบกับเวลาสากล
เรื่อง การตรวจอากาศชั้นบน เชิงพิกัดตามมาตรฐานของโลกมีความแตกตางกันอยางไร
1. ประเทศไทยชากวาเวลาสากลเชิงพิกัด 7 ชั่วโมง
2. ประเทศไทยเร็วกวาเวลาสากลเชิงพิกัด 7 ชั่วโมง
3. ประเทศไทยชากวาเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง
4. ประเทศไทยเร็วกวาเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง
5. ประเทศไทยเร็วกวาเวลาสากลเชิงพิกัด 12 ชั่วโมง
(วิเคราะหคําตอบ การตรวจอากาศในชวงเวลาเดียวกันทั่วโลก
จะใชการตรวจอากาศตามเวลาสากลเชิงพิกัด ซึ่งกําหนดใหตรวจ
อากาศทุกๆ 6 ชั่วโมง ไดแก เวลา 00.00 06.00 12.00 18.00 UTC
ซึ่งเวลาดังกลาวชากวาเวลาในประเทศไทย 7 ชั่วโมง ดังนั้น ตอบ
ขอ 2.)

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3. บอลลูนตรวจอากาศ (pilot balloon) เป็นเครื่องมือที่ท�าหน้าที่น�าวิทยุหยั่งอากาศ 11. ครูจัดทําแผนภาพเครื่องมือที่ใชในการตรวจ
ขึน้ ไปสูบ่ รรยากาศชัน้ บน อีกทัง้ ยังใช้ตรวจวัดความเร็วและทิศทางลมโดยใช้รว่ มกับกล้องทีโอโดไลต์ อากาศ จากนั้ น นํ า แผนภาพให นั ก เรี ย นดู
ซึ่งบอลลูนตรวจอากาศจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-1.8 เมตร บอลลูนตรวจอากาศ และใหนักเรียนแขงกันตอบวาเครื่องมือจาก
มีด้วยกันหลายสีซึ่งแต่ละสีที่ใช้จะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศที่ท�าการส�ารวจ ดังนี้ ภาพมีชื่อวาอะไร และมีหนาที่ใด ครูอาจให
คะแนนเพิม่ เติมสําหรับนักเรียนทีต่ อบถูกหรือ
อาจใหรางวัลสําหรับนักเรียนทีต่ อบไดถกู ตอง
มากที่สุด
12. ใหนักเรียนศึกษาความรูเกี่ยวกับการตรวจ
อากาศจากหนังสือเรียนโลก ดาราศาสตร และ
บอลลูนสีขาว อวกาศ ม.5 เลม 2 หนา 74-85
ใช้เมื่อท้องฟ้าโปร่ง อากาศแจ่มใส
13. นั ก เรี ย นจั ด ทํ า ชิ้ น งานเกี่ ย วกั บ การตรวจ
อากาศชั้นบน โดยออกแบบโปสตการดตาม
จินตนาการของนักเรียนไดอยางอิสระ ครู
กําหนดใหสรุปเนื้อหาออกมาในรูปแบบภาพ
โดยใหมีเนื้อหาประกอบไดสั้นๆ

บอลลูนสีเหลือง สีส้ม และสีแดง


ใช้เมื่อท้องฟ้ามีเมฆกระจายเต็ม
ท้องฟ้า ลักษณะสีของท้องฟ้าเป็น
สีขาวหรือสีเทา

บอลลูนสีด�าหรือสีน�้าเงิน
ใช้เมื่อท้องฟ้ามีเมฆมาก

ภาพที่ 6.6 บอลลูนตรวจอากาศ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
การพยากรณ์อากาศ 79

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


หากวันนีท้ อ งฟามีเมฆมาก นักอุตนุ ยิ มวิทยาควรใชบอลลูนสีใด ครูอาจแนะนําใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การตรวจอากาศชั้นบน เพิ่มเติมจาก
ในการตรวจอากาศชั้นบนจึงจะเหมาะสมที่สุด แหลงการเรียนรูออนไลนตางๆ เชน คลิปวิดีโอจาก Youtube เรื่อง Weather
1. บอลลูนสีสม Balloons and Radiosondes https://www.youtube.com/watch?v=
2. บอลลูนสีขาว pcLkkoR2LS4
3. บอลลูนสีแดง
4. บอลลูนสีนํ้าเงิน
5. บอลลูนสีเหลือง
(วิเคราะหคาํ ตอบ บอลลูนตรวจอากาศมีดว ยกันหลายสี ซึง่ แตละ
สีทเี่ ลือกใชจะขึน้ อยูก บั สภาพอากาศทีท่ าํ การตรวจ ดังนี้ บอลลูนสี
ขาว ใชตรวจอากาศเมือ่ ทองฟาโปรง อากาศแจมใส บอลลูนสีเหลือง
สมและแดง ใชตรวจอากาศเมื่อทองฟามีเมฆกระจายเต็มทองฟา
สีทองฟาเปนสีขาวหรือเทา และบอลลูนสีดําหรือนํ้าเงิน ใชตรวจ
อากาศเมื่อทองฟามีเมฆมาก ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T85
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
14. ครูใหนักเรียนวาดภาพบอลลูน 3 ลูก พรอม 1.3 การตรวจอากาศดวยดาวเทียม
ระบายสีบอลลูนลงในกระดาษ A4 ดังนี้ ดาวเทียมที่สรางขึ้นเพื่อการสํารวจทางดานอุตุนิยมวิทยา แบงได 2 ประเภท คือ ดาวเทียม
ï • ลูกที่ 1 สีขาว อุตุนิยมวิทยาประเภทวงโคจรคางฟา และดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาประเภทวงโคจรใกลขั้วโลก
ï • ลูกที่ 2 สีเหลือง 1. ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาประเภทวงโคจรคางฟา (geostationary meteorological
ï • ลูกที่ 3 สีดํา satellite) คือ ดาวเทียมทีโ่ คจรอยูใ นระดับความสูงจากพืน้ โลกประมาณ 35,786 กิโลเมตร มีทศิ ทาง
15. ครูใหนักเรียนเขียนระบุใตภาพวา บอลลูน การโคจรทวนเข็มนาฬกาเชนเดียวกับทิศทางการหมุนรอบตัวเองของโลก และมีอตั ราเร็วในการโคจร
ทั้ง 3 สี เหมาะสมกับการตรวจอากาศชั้นบน เทากับอัตราเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลกดวย คือ ประมาณ 23 ชัว่ โมง 56 นาที 4 วินาที จึงสังเกต
ในสภาวะอากาศแบบใด โดยครู ห  า มให เห็นดาวเทียมชนิดนี้โคจรอยูตําแหนงเดิมตลอดเวลา ทําใหนักอุตุนิยมวิทยาสามารถเฝาติดตาม
นักเรียนดูคําตอบจากหนังสือหรือสื่อตางๆ การกอตัว การเคลื่อนตัวและการสลายตัวของเมฆจากพายุหมุนได ตัวอยางดาวเทียมประเภทนี้
จากนั้นใหรวบรวมกระดาษที่นักเรียนเขียน เชน ดาวเทียมจีโออีเอส (Global Online Enrollment System; GOES) ของสหรัฐอเมริกา
ตอบมาตรวจคําตอบ ดาวเทียมเอ็มทีแซต-1อาร (MTSAT-1R) ของญี่ปุน ดาวเทียมเมทีโอแซต
(Meteosat) ของสหภาพยุโรป ดาวเทียมเฟงหยุน 2 (Feng Yun - 2; FY2)
อธิบายความรู้
ของจีน
1. ครูอธิบายความรูเ พิม่ เติมโดยใหนกั เรียนศึกษา
จากสื่ อ ดิ จิ ทั ล PowerPoint เกี่ ย วกั บ การ
ตรวจอากาศชั้นบนและการตรวจอากาศดวย
ดาวเทียม

ภาพที่ 6.7 ภาพถายดาวเทียม GOES (ดาวเทียมประเภทวงโคจรคางฟา)


ที่มา : คลังภาพ อจท.
80 การตรวจอากาศดวยดาวเทียม

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจอากาศดวยดาวเทียม ไดจากการสแกน ขอใดเปนเครือ่ งมือตรวจอากาศชัน้ บนทีม่ ลี กั ษณะเปนกลองซึง่
QR Code เรื่อง การตรวจอากาศดวยดาวเทียม มีการติดตัง้ เครือ่ งมือวัดทางอุตนุ ยิ มวิทยาไวตรวจวัดสภาพอากาศ
1. กลองวัดมุม
2. วิทยุหยั่งอากาศ
3. กลองทีโอโดไลต
4. กลองเรดิโอซาวนด
5. บอลลูนตรวจอากาศ
(วิเคราะหคําตอบ วิทยุหยั่งอากาศ เปนเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสที่
มีลักษณะเปนกลองที่ประกอบดวยเครื่องมือวัดทางอุตุนิยมวิทยา
เชน เครื่องมือวัดอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้นสัมพัทธ เพื่อ
ตรวจวัดอากาศชั้นบน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาประเภทวงโคจรผ่านขัว้ โลก (polar-orbting meteorolo- 2. นักเรียนรวมกันอภิปรายวา การตรวจอากาศ
gical satellite) คือ ดาวเทียมทีโ่ คจรอยูใ่ นระดับความสูงจากพืน้ โลกประมาณ 500-1,000 กิโลเมตร สามารถแบงออกเปน 4 ระบบ ดังนี้
ด้วยความเร็วประมาณ 28,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีทิศทางการโคจรในแนวเหนือ-ใต้ผ่านขั้วโลก ï• การตรวจอากาศผิวพื้น
ซึ่งโคจรอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ โดยวงโคจรจะท�ามุมกับดวงอาทิตย์คงที่ตลอดเวลา ï• การตรวจอากาศชั้นบน
ส่งผลให้ดาวเทียมโคจรผ่านพื้นที่บนโลกต�าแหน่งหนึ่ง ๆ ณ เวลาเดิม โดยใช้เวลาในการโคจร ï• การตรวจอากาศดวยดาวเทียม
ประมาณ 90 นาทีต่อรอบ ï• การตรวจอากาศดวยเรดาร
ขณะที่ดาวเทียมโคจรอยู่นั้น โลกก็หมุนรอบตัวเองด้วย ท�าให้ดาวเทียมประเภทนี้ 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นอภิ ป รายเพิ่ ม เติ ม ร ว มกั น ว า
สามารถโคจรผ่านทุกพื้นที่ของโลก และสามารถตรวจวัดต�าแหน่งเดียวกันได้ 2 ครั้งในหนึ่งวัน การตรวจอากาศแต ล ะระบบคื อ อะไร มี
จึงท�าให้ขอ้ มูลทีต่ รวจวัดได้มคี วามละเอียดกว่าดาวเทียมประเภทวงโคจรค้างฟ้
1 า ตัวอย่างดาวเทียม หลักการอยางไร
ประเภทนี้ เช่น ดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี (Suomi NPP) ดาวเทียมโนอา (National Oceanic
and Atmospheric Administration; NOAA) ของสหรัฐอเมริกา ดาวเทียมเมท็อป-เอ
(Metop-A) ของสหภาพยุโรป ดาวเทียมเฟงหยุน-1ดี (Feng Yun; FY-1D) และดาวเทียมเฟงหยุน
-3เอ (FY-3A) ของจีน

ภาพที่ 6.8 ภาพถ่ายดาวเทียม Suomi NPP (ดาวเทียมประเภทวงโคจรผ่านขั้วโลก)


ที่มา : คลังภาพ อจท.
การพยากรณ์อากาศ 81

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาประเภทวงโคจรผานขั้วโลก 1 ดาวเทียมโนอา (National Oceanic and Atmospheric Administration;
1. ดาวเทียมโนอา (NOAA) NOAA) เปนดาวเทียมขององคกรโนอา ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนดาวเทียม
2. ดาวเทียมจีโออีเอส (GOES) สํารวจอุตนุ ยิ มวิทยาทีม่ วี งโคจรในแนวเหนือใต ดาวเทียมในชุดนีจ้ ะทํางานพรอม
3. ดาวเทียมเฟงหยุน-1 ดี (FY-1D) กัน 2 ดวง เพือ่ ใหไดขอ มูลอุตนุ ยิ มวิทยาในบริเวณตางๆ ทุก 6 ชัว่ โมง โดยดาวเทียม
4. ดาวเทียมเมท็อป-เอ (Metop-A) ดวงหนึ่งจะตัดแนวเสนศูนยสูตรจากเหนือลงใตเวลา 07.30 น. (morining orbit
5. ดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี (Suomi NPP) มีระดับวงโคจรที่ 830 กิโลเมตร) อีกดวงหนึ่งจะตัดแนวเสนศูนยสูตรจากเหนือ
(วิเคราะหคาํ ตอบ ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาประเภทวงโคจรผานขัว้ โลก ลงใตเวลา 13.40 น. (afternoon orbit มีระดับวงโคจรที่ 870 กิโลเมตร) ดาวเทียม
เปนดาวเทียมที่โคจรอยูในระดับความสูง 500-1,000 กิโลเมตร ซึ่ง โนอา นอกจากจะบันทึกภาพลักษณะอากาศแลว ยังมีเครื่องมือวัดโปรตอน
ขณะทีด่ าวเทียมโคจรนัน้ โลกจะหมุนรอบตัวเองดวย ทําใหดาวเทียม ไอออนบวก และความหนาแนนของอิเล็กตรอนทีม่ าจากดวงอาทิตยตดิ ตัง้ อยูด ว ย
ประเภทนี้สามารถโคจรผานทุกพื้นที่ของโลก ตัวอยางดาวเทียม
ประเภทนี้ เชน ดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี ดาวเทียมโนอา ดาวเทียม
เมท็อป-เอ ดาวเทียมเฟงหยุน-1 ดี สวนดาวเทียมจีโออีเอส เปน
ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาประเภทวงโคจรคางฟา ดังนัน้ ตอบขอ 2.)

T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. ครูใชภาพประกอบการอธิบายเกีย่ วกับการตรวจ 1.4 การตรวจอากาศดวยเรดาร
อากาศดวยเรดาร พรอมทั้งอธิบายเพิ่มเติมวา สมัยก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีการพัฒนาเครือ่ งมือตรวจจับต�าแหน่ง ทิศทาง และความเร็ว
เมื่อสงคลื่นแมเหล็กไฟฟาพลังงานสูงออกไป ของเครื่องบินหรือเรือของฝ่ายตรงข้าม โดยการส่งคลื่นวิทยุออกไปแล้ววัดคลื่นที่สะท้อนกลับมา
ตามรัศมีตรวจวัดทางเสาอากาศ หากคลื่นนี้ เรียกเครือ่ งมือนีว้ า่ เรดาร์ (radio detection and ranging) ต่อมาเรดาร์ถกู น�ามาใช้อย่างกว้างขวาง
ไปกระทบวัตถุใดๆ คลื่นจะสะทอนกลับมายัง ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งขณะนั้นใช้ในการตรวจจับต�าแหน่งของเครื่องบิน แล้วพบว่ามี
ตัวรับสัญญาณ จากนั้นจะนําสัญญาณที่ไดรับ เมฆฝนบดบังการมองเห็นเครื่องบิน สัญญาณที่สะท้อนจากเมฆฝนจึงถูกก�าหนดให้เป็นสัญญาณ
มาเขาสูหนวยประมวลผล เพื่อประมวลผลตอ รบกวน แต่จากเหตุการณ์นที้ า� ให้ทราบว่า เรดาร์สามารถตรวจจับต�าแหน่งของเมฆฝนได้เช่นเดียว
และแสดงผลที่ ไ ด อ อกมาทางจอแสดงภาพ กับการตรวจจับต�าแหน่งของเครื่องบิน
ขอมูล โดยเรดารมีสวนประกอบสําคัญ ดังนี้ เรดาร์มีหลักการท�างาน คือ ส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพลังงานสูงออกไปตามรัศมีตรวจวัดผ่าน
1) เครื่องสง (Transmitter) ทําหนาที่ผลิตและ ทางเสาอากาศ (antenna) ซึ่งส่วนใหญ่จะมีรัศมีตรวจวัดประมาณ 240 กิโลเมตร เมื่อคลื่นนี้ไป
สงคลืน่ แมเหล็กไฟฟาผานทางจานสายอากาศ กระทบกับวัตถุใด ๆ คลื่นจะสะท้อนกลับมายังตัวรับสัญญาณ (receiver) ซึ่งเครื่องมือทั้งหมดจะ
2) เครือ่ งรับ (Receiver) ทําหนาทีร่ บั สัญญาณ อยู่ภายในโดม (radome) เพื่อป้องกันสัตว์และคลื่นรบกวนต่าง ๆ
แมเหล็กไฟฟาที่สะทอนกลับมา
3) จานสายอากาศ (Antenna) ทําหนาทีค่ วบคุม สวนประกอบของเรดาร์
การสงและรับสัญญาณคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ทั้งในแนวนอนและแนวตั้ง
4) หนวยประเมินผล (Processor) ทําหนาที่ จานเรดาร์/เสาอากาศ
(antenna) ควบคุมการส่งและ
ประมวลผลขอมูลทีไ่ ดรบั จากคลืน่ ทีส่ ะทอน รับสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เปากลับมา โดยจะใชคอมพิวเตอรในการ
ประมวลผลและควบคุมการทํางานทัง้ หมด
เครื่องส่ง (transmitter)
ของเครื่องเรดาร TRANSMITTER ส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกไป
5) จอแสดงภาพ (Monitor) ทําหนาทีแ่ สดงผล ผ่านทางจานเรดาร์/เสาอากาศ
ขอมูลทีป่ ระมวลแลวจากหนวยประมวลผล
TRANSMIT
SIGNAL
RECEIVE RECEIVER
PROCESSOR
SWITCH

สวิตช์เครื่องรับ-ส่ง เครื่องรับ หน่วยประเมินผล จอแสดงภาพ


(transmit receive switch) (receiver) รับสัญญาณ (processer) ประมวลผล (display) แสดงผลข้อมูล
ก�าหนดว่าเครื่องจะท�างาน แม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อน ข้อมูลที่ได้รับจากคลื่น ที่ประมวลแล้วจากหน่วย
เป็นตัวรับหรือตัวส่ง กลับมา สะท้อนกลับ ประมวลผล
สัญญาณ
ภาพที่ 6.9 การท�างานของเรดาร์ตรวจอากาศ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
82

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชนของเรดารวา เรดารมีประโยชนตอ ขอใดแสดงความสัมพันธของการตรวจอากาศไดถูกตอง
การตรวจอากาศ ดังนี้ 1. เสาอากาศ - การตรวจอากาศดวยเรดาร
1. คํานวณหาปริมาณนํ้าฝน 2. บอลลูนตรวจอากาศ - การตรวจอากาศผิวพื้น
2. วิเคราะหแผนที่อากาศและลักษณะอากาศ 3. วิทยุหยั่งอากาศ - การตรวจอากาศดวยดาวเทียม
3. ตรวจหาตําแหนง วิเคราะหการเคลือ่ นที่ และจําแนกชนิดของหยาดนํา้ ฟา 4. ทุนตรวจวัดอากาศ - การตรวจอากาศผิวพื้นทวีป
4. ตรวจวัดเมฆฝนที่บดบังการมองเห็นของเครื่องบิน เพื่อเตือนนักบินซึ่ง 5. สนามอุตุนิยมวิทยา - การตรวจอากาศผิวพื้นมหาสมุทร
เปนประโยชนตอการบิน (วิเคราะหคาํ ตอบ เรดารมหี ลักการทํางาน คือ สงคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
พลังงานสูงไปตามรัศมีตรวจวัดผานทางเสาอากาศหรือจานเรดาร
เมื่อคลื่นไปกระทบวัตถุ คลื่นจะสะทอนกลับมายังตัวรับสัญญาณ
ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T88
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
เรดาร์ตรวจอากาศ (weather radar) เป็นเครื่องมือที่ใช้ส�าหรับตรวจวัดฝน ฝนฟ้าคะนอง 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแสดงผลขอมูล
1
หิมะ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถตรวจและแสดงต�าแหน่งศูนย์กลางของพายุหมุนเขตร้อน เมื่อ ที่ไดจากการตรวจอากาศดวยเรดาร โดยครู
ศูนย์กลางของพายุเคลื่อนเข้ามาในรัศมีของเรดาร์ตรวจอากาศ เรดาร์ตรวจอากาศมี 3 ชนิด ดังนี้ ใหนักเรียนศึกษาตารางที่ 6.2 จากหนังสือ
1. เรดาร์ตรวจอากาศ X-band เป็นเรดาร์ขนาดเล็กเหมาะส�าหรับใช้ตรวจวัดฝนทีต่ กเบา หรือ เรียนโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2
ตกเล็กน้อยถึงปานกลาง ในระยะใกล้ ๆ รัศมีท�าการ 100 กิโลเมตร และรัศมีหวังผล 60 กิโลเมตร หนา 83 ซึ่งจะแสดงความสัมพันธระหวาง
2. เรดาร์ตรวจอากาศ C-band เป็นเรดาร์ขนาดปานกลางทีเ่ หมาะส�าหรับใช้ตรวจวัดฝนทีต่ ก ความแรงของคลื่ น สะท อ นกลั บ กั บ เป า ทาง
ปานกลางถึงหนัก หรือตรวจจับพายุหมุนที่มีก�าลังไม่รุนแรง เช่น พายุดีเปรสชัน และหาศูนย์กลาง อุตนุ ยิ มวิทยา จากนัน้ ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
พายุโซนร้อน รัศมีท�าการ 450 กิโลเมตร และรัศมีหวังผล 230 กิโลเมตร เปาทางอุตนุ ยิ มวิทยาวา เปาทางอุตนุ ยิ มวิทยา
3. เรดาร์ตรวจอากาศ S-band เป็นเรดาร์ขนาดใหญ่ทเี่ หมาะส�าหรับใช้ตรวจวัดฝนทีต่ กหนัก คือ ปรากฏการณเกี่ยวกับสภาพอากาศตางๆ
ถึงหนักมาก หรือใช้ตรวจจับหาศูนย์กลางพายุที่มีก�าลังแรง เช่น พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น รัศมีท�าการ ที่สามารถสะทอนคลื่นของเรดารได เชน ฝน
550 กิโลเมตร และรัศมีหวังผล 230 กิโลเมตร ฝนฟาคะนอง พายุ ลูกเห็บ หิมะ เมฆ
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีถ่ กู ส่งออกไปตามรัศมีตรวจวัดของเรดาร์จะสะท้อนกลับเมือ่ กระทบวัตถุ
ใด ๆ ที่มีขนาดใหญ่กว่าความยาวคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้น ซึ่งอาจเป็นเมฆ ฝน หิมะ ลูกเห็บ แมลง
นก เครื่องบิน ต้นไม้ ภูเขา เป็นต้น โดยคลื่นสะท้อนกลับจะอยู่ในหน่วยเดซิเบล (dB) ดังนั้น
ถ้าวัตถุมีขนาดเล็กคลื่นที่สะท้อนกลับจะมีค่าน้อย แต่หากวัตถุมีขนาดใหญ่คลื่นที่สะท้อนกลับจะมี
ค่ามาก

ตารางที่ 6.2 :ความสัมพันธ์ระหว่างความแรงของคลื่นสะท้อนกลับกับเป้าทางอุตุนิยมวิทยา


ความแรงของคลื่นสะท้อนกลับ (dB) เป้าทางอุตุนิยมวิทยา
20 ฝนก�าลังอ่อนที่สุด (เกือบจะไม่สามารถตรวจพบฝนตก)
30 ฝนก�าลังอ่อน (ประมาณ 3 มม./ชม.)
40 ฝนก�าลังปานกลาง (ประมาณ 12 มม./ชม.)
50 ฝนก�าลังแรง (ประมาณ 50 มม./ชม.)
55 ฝนก�าลังแรงมาก (ประมาณ 100 มม./ชม.)
มากกว่า 55 ลูกเห็บ

เป้าทางอุตนุ ยิ มวิทยา คือ ปรากฏการณ์ทเี่ กีย่ วกับสภาพอากาศต่าง ๆ ทีส่ ามารถสะท้อนคลืน่


เรดาร์ได้ แล้วเข้ามาปรากฏข้อมูลในจอภาพ เช่น ฝน ฝนฟ้าคะนอง พายุ ลูกเห็บ หิมะ เป็นต้น

การพยากรณ์อากาศ 83

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เรดารชนิดใดเหมาะสําหรับใชตรวจวัดฝนทีต่ กหนักถึงตกหนักมาก 1 พายุหมุนเขตรอน เปนพายุหมุนขนาดใหญเริ่มตนกอตัวในทะเล หากเกิด
1. เรดาร X-band เหนือเสนศูนยสตู ร จะมีทศิ ทางการหมุนทวนเข็มนาฬกา หากเกิดใตเสนศูนยสตู ร
2. เรดาร C-band จะหมุนตามเข็มนาฬกา โดยมีชื่อตางกันตามสถานที่เกิด เชน
3. เรดาร S-band ï• พายุเฮอริเคน (hurricane) เปนพายุหมุนที่เกิดบริเวณทิศตะวันตกของ
4. เรดาร R-band มหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณฟลอริดา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน
5. เรดาร M-band และมหาสมุทรแปซิฟก
(วิเคราะหคําตอบ เรดารตรวจอากาศ S-band เปนเรดารขนาด ï• พายุไตฝนุ (typhoon) เปนพายุหมุนทีเ่ กิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทร
ใหญที่เหมาะสําหรับใชตรวจวัดฝนที่ตกหนักถึงหนักมาก หรือใช แปซิฟกเหนือ เชน บริเวณทะเลจีนใต อาวไทย อาวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุน
หาศูนยกลางพายุที่มีกําลังแรง เชน พายุไตฝุน ดังนั้น ตอบขอ 3.) ï• พายุไซโคลน (cyclone) เปนชือ่ พายุหมุนทีเ่ กิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ
เชน บริเวณอาวเบงกอล แตถา พายุนเี้ กิดบริเวณทะเลติมอรทศิ ตะวันออก
เฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย จะเรียกวา พายุวิลลี-วิลลี
ï• พายุโซนรอน (tropical storm) เกิดขึ้นเมื่อพายุเขตรอนขนาดใหญออน
กําลังลง ขณะเคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนยกลางลดลงเมื่อ
เคลื่อนเขาหาฝง
T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
ครูขยายความรูเพิ่มเติมโดยใหนักเรียนคนหา ปัจจุบนั กรมอุตนุ ยิ มวิทยา
ภาพถ า ยเรดาร จ ากเว็ บ ไซต ข องกรมอุ ตุ นิ ย ม- ใช้ เ รดาร์ ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ ตรวจ
วิทยา https://www.tmd.go.th/ จากนัน้ ครูขยาย อากาศโดยใช้เรดาร์ชนิดดอป-
ความรูใ หนกั เรียนเกีย่ วกับภาพถายเรดารวา แตละ เพลอร์ (doppler weather
บริ เ วณมี ป ริ ม าณฝนและการเคลื่ อ นตั ว ของฝน radar) ซึ่ ง นอกจากจะตรวจ
อยางไร โดยมีวิธีการดู ดังนี้ หาต� า แหน่ ง และปริ ม าณฝน
ï• วันที่และเวลาจะระบุมุมดานบนขวามือของ แล้ว ยังสามารถตรวจหาการ
ภาพถาย เคลือ่ นทีข่ องเมฆ ฝน และพายุ
ï• สีที่ปรากฏบนภาพถาย คือ กลุมฝน และสี หมุนได้อีกด้วย
ภาพที่ 6.10 เรดาร์ตรวจอากาศ
แตละสีจะหมายถึงความรุนแรงของกลุม ฝน ที่มา : คลังภาพ อจท.
โดยจะมีคาความรุนแรงตามสีระบุไวแถบ
ดานขางขวามือของภาพถาย

ภาพที่ 6.11 ภาพถ่ายเรดาร์ จากสถานีพิมาย วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2561


ที่มา : https://www.weather.tmd.go.th

84

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคาการสะทอนคลื่นเรดารตรวจอากาศ ดังนี้ ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการตรวจอากาศดวยเรดาร
การตรวจอากาศดวยเรดาร กรมอุตุนิยมวิทยาจะทําการตรวจในโหมดคา โดยคนหาความแตกตางของเรดารตรวจอากาศทั้ง 3 ชนิด บันทึก
การสะทอน โดยพิจารณาเมฆที่กอตัวในแนวตั้ง ซึ่งจําแนกคาความแรงของ ขอมูลลงในตาราง ดังนี้
การสะทอนไดเปน 3 บริเวณ ดังนี้ ความยาวคลื่น ความถี่ ลักษณะการ
1. บริเวณที่มีคาการสะทอนตํ่า (low reflectivity) คือ บริเวณทางตอนบน ชนิดเรดาร
(cm) (MHz) ตรวจวัดฝน
ของสวนกลางของเมฆขึ้นไปจนถึงสวนยอดของเมฆ X-band
2. บริเวณที่มีคาการสะทอนปานกลาง (moderate reflectivity) คือ บริเวณ C-band
ใตฐานเมฆลงมาจนถึงพื้นดิน (กรณีที่มีฝนตก)
S-band
3. บริเวณที่มีคาการสะทอนสูงสุด (high reflectivity) คือ บริเวณตอนกลาง
ของเมฆ

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
จากภาพถายเรดาร สามารถพิจารณาได ดังนี้ H. O. T. S. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
- บริเวณที่มีสีเขียว แสดงถึงฝนที่มีกําลังออนที่สุด คําถามทาทายการคิดขั้นสูง Question ดังนี้
- บริเวณที่มีสีเหลือง แสดงถึงฝนกําลังออน เพราะเหตุ ใ ด ï• การพยากรณอากาศมีความเกีย่ วของกับชีวติ
- บริเวณที่มีสีสม แสดงถึงฝนกําลังปานกลาง ในแต ล ะวั น จึ ง ประจําวันอยางไร
- บริเวณที่มีสีแดง ชมพู ขาว แสดงถึงฝนกําลังแรง ตองมีการตรวจ ï• ระบบการตรวจอากาศสามารถแบงไดกแี่ บบ
อากาศหลายครั้ง
อะไรบาง
ป จ จุ บั น ประเทศไทย ï• อธิบายการตรวจอากาศผิวพื้นทวีป
มี ส ถานี เ รดาร ต รวจอากาศ ï• อธิบายการตรวจอากาศผิวพื้นมหาสมุทร
ทั้ ง หมด 28 สถานี ดั ง นี้ ï• การตรวจวัดอากาศชัน้ บนจะตองใชเครือ่ งมือ
สังกัดกรมอุตุนิยมวิทยา 21 ตรวจวัดใด
สถานี เชน สถานีเชียงราย
สถานีขอนแกน สถานีระยอง ขัน้ ประเมิน
สถานีชุมพร เปนตน สังกัด ตรวจสอบผล
กรุ ง เทพมหานคร 2 สถานี 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
ไดแก สถานีหนองจอก และ 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
สถานีหนองแขม และสังกัด การทํากิจกรรมกลุม
ฝนหลวงและการบินเกษตร 4
3. ครูตรวจชิ้นงานสรุปเกี่ยวกับการตรวจอากาศ
สถานี ไดแก สถานีอมกอย
ระบบตางๆ
สถานีตาคลี สถานีพิมาย และ
สถานีสัตหีบ 4. ครูตรวจชิ้นงานโปสตการดเกี่ยวกับการตรวจ
ภาพที่ 6.12 สถานีเรดารฝนหลวงพนม จังหวัดสุราษฎรธานี อากาศชั้นบน
ที่มา : https://www.facebook.com/Phanomradar/
Topic
Question
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. การพยากรณอากาศมีความเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันอยางไร
2. ระบบการตรวจอากาศสามารถแบงไดกี่แบบ อะไรบาง
3. อธิบายการตรวจอากาศผิวพื้นทวีป
4. อธิบายการตรวจอากาศผิวพื้นมหาสมุทร
5. การตรวจวัดอากาศชั้นบนจะตองใชเครื่องมือตรวจวัดใด

การพยากรณ์อากาศ 85

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ลมฟาอากาศมีสว นเกีย่ วของกับการดําเนินชีวติ ประจําวัน ดังนัน้ การ
พยากรณอากาศจึงมีความสําคัญ เพราะทําใหทราบสภาวะของลมฟา ครูวดั และประเมินความเขาใจของนักเรียนเกีย่ วกับการตรวจอากาศ โดยการ
อากาศและปรากฏการณทางธรรมชาติลว งหนา เพือ่ วางแผนการดําเนิน ตรวจชิ้นงานโปสตการด เรื่อง การตรวจอากาศชั้นบน โดยศึกษาเกณฑการวัด
ชีวติ ประจําวันไดอยางเหมาะสม เชน การเตรียมการเพาะปลูกใหเหมาะสม และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยูในแผนการ
กับสภาพอากาศ การวางแผนและเตรียมความพรอมสําหรับการเดินทาง จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 การพยากรณอากาศ
2. การตรวจอากาศแบงออกเปน 4 ระบบ ไดแก การตรวจอากาศผิวพื้น
การตรวจอากาศชัน้ บน การตรวจอากาศดวยดาวเทียม และการตรวจ ลาดับที่
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

รายการประเมิน
ระดับคะแนน

อากาศดวยเรดาร
4 3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา
2 ความสมบูรณ์ของรูปเล่ม

3. การตรวจอากาศผิวพืน้ ทวีปเปนการตรวจวัดโดยใชสนามอุตนุ ยิ มวิทยา


3 ความตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ที่ประกอบดวยเครื่องมือวัดคาตางๆ โดยตั้งอยูในพื้นที่โลง ซึ่งสถานี เกณฑ์การประเมินรายงาน


................./................../..................

ลักษณะนี้เหมาะสมกับบริเวณที่มีพื้นที่กวางและหางไกลชุมชน
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ของเนื้อหา รายงานถูกต้องครบถ้วน รายงานถูกต้องเป็นส่วน รายงานถูกต้องบาง รายงานไม่ถูกต้องเป็น

4. การตรวจอากาศผิวพื้นมหาสมุทรเปนการตรวจวัดอากาศโดยใชเรือ
ใหญ่ ประเด็น ส่วนใหญ่
2. ความสมบูรณ์ มีองค์ประกอบครบถ้วน มีองค์ประกอบครบถ้วน มีองค์ประกอบครบถ้วน องค์ประกอบไม่
ของรูปเล่ม สมบูรณ์ มีความเป็น สมบูรณ์ มีความเป็น สมบูรณ์ แต่ยังไม่เป็น ครบถ้วน ไม่เป็น
ระเบียบ และรูปเล่ม ระเบียบ แต่รูปเล่มไม่ ระเบียบ และรูปเล่มไม่ ระเบียบ และรูปเล่มไม่

ตรวจวัดสภาพอากาศ หรือทุนตรวจวัดอากาศ ซึ่งขอมูลที่ตรวจวัดได


สวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม
3. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

นั้นนํามาวิเคราะหคลื่นลมในทะเลและการเดินเรือ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

5. การตรวจวัดอากาศชัน้ บนสามารถวัดไดจากเครือ่ งมือตรวจวัดอากาศ 11-12


9-10
6-8
ดีมาก
ดี
พอใช้

ไดแก วิทยุหยั่งอากาศ กลองทีโอโดไลต และบอลลูนตรวจอากาศ


ต่ากว่า 6 ปรับปรุง

T91
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Prior Knowledge
ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior การพยากรณอากาศ 2. ขั้นตอนการพยากรณอากาศ
Knowledge จากหนังสือเรียน โดยใหนักเรียน มีกขี่ น
ั้ ตอน
อภิปรายและแสดงความคิดเห็นรวมกัน ขั้นตอนที่สําคัญในการพยากรณอากาศนั้นมีสามขั้นตอน
ไดแก การตรวจอากาศเพื่อใหทราบถึงสภาวะอากาศปจจุบัน การสื่อสารเพื่อรวบรวมขอมูลผล
ขัน้ สอน การตรวจอากาศ และการวิเคราะหขอมูลเพื่อการคาดหมาย
สํารวจคนหา หนาที่ในการพยากรณอากาศถือเปนภารกิจที่สําคัญของกรมอุตุนิยมวิทยา เพื่อใหขอมูล
นักเรียนสืบคน เรือ่ ง ขัน้ ตอนการพยากรณอากาศ เกีย่ วกับสภาพอากาศแกประชาชนทัว่ ไปเพือ่ นําไปใชวางแผนการทํากิจกรรมตาง ๆ ในชีวติ ประจําวัน
การพยากรณอากาศประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้
อธิบายความรู
1. การตรวจอากาศ โดยเก็บรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศในปจจุบัน และการตรวจ
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวาการพยากรณ อากาศในอดีต ซึ่งไดจากสถานีตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาและของหนวยงานตาง ๆ ทั่ว
อากาศประกอบไปดวย 3 ขั้นตอน ประเทศ รวมทั้งขอมูลจากตางประเทศ เพื่อชวยใหการพยากรณอากาศมีความแมนยํามากขึ้น
2. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic 2. การสื่อสารเพื่อรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศ เนื่องจากมีขอมูลผลการตรวจอากาศ
Question จากหลายสถานี จึงจําเปนที่จะตองมีการสื่อสารเพื่อรวบรวมขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะหรวมกัน
ขยายความเขาใจ 3. การวิเคราะหขอมูลเพื่อการคาดหมายลักษณะอากาศในอนาคต โดยนักอุตุนิยมวิทยาจะ
1. นักเรียนสืบคนเกี่ยวกับขั้นตอนการพยากรณ รวมกันวิเคราะหขอมูลแนวโนมของสภาพอากาศในอนาคตวา จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร มีผล
อากาศ จากนั้นสรุปความรูรวบยอดเกี่ยวกับ กระทบตอประชาชนมากนอยเพียงใด สภาพอากาศเกิดขึน้ จากอิทธิพลของปรากฏการณใด และจะ
ขั้ น ตอนการพยากรณ อ ากาศในรู ป แบบผั ง คงอยูนานเพียงใด จากนั้นจึงสรุปเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธตามหนวยงานที่เกี่ยวของ
มโนทัศน ลงในกระดาษ A4 1 2 3
การตรวจอากาศ การสื่อสารเพื่อรวบรวม การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการคาดหมาย
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับขั้นตอน ข้อมูลผลการตรวจอากาศ ลักษณะอากาศในอนาคต

การพยากรณ อ ากาศจากแบบฝ ก หั ด โลก ตรวจอากาศชั้นบน แผนที่อากาศ ตรวจอากาศ ตรวจอากาศ การพยากรณ


ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2 ชั้นบน ดวยเรดาร ดวยดาวเทียม อากาศ

ระบบการ แผนที่อากาศ คําแนะนํา


ขัน้ สรุป ตรวจอากาศผิวพื้น
สื่อสาร ผิวพื้น การพยากรณอากาศ
ตรวจสอบผล ภาพที่ 6.13 แผนผังขั้นตอน
คําเตือน
การพยากรณอากาศ แผนภูมิการ พื้นที่
นักเรียนรวมกันสรุปความรูเ กีย่ วกับขัน้ ตอนการ ที่มา : คลังภาพ อจท. หยั่งอากาศ
ระบบสถิติ
พยากรณ ขาว
พยากรณอากาศลงในสมุด
Topic
Question
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. อธิบายขั้นตอนในการพยากรณอากาศ
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด 2. การพยากรณอากาศตามขั้นตอนในการตรวจอากาศเปนหนาที่รับผิดชอบของหนวยงานใด
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม 86
การทํากิจกรรมกลุม
3. ครูตรวจชิ้นงานผังมโนทัศน ในกระดาษ A4

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. การพยากรณอากาศประกอบไปดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้
ครูวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการพยากรณ
1) การพยากรณอากาศ โดยเก็บรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศ
อากาศ โดยการตรวจชิ้นงานผังมโนทัศน เรื่อง ขั้นตอนการพยากรณอากาศ
ในปจจุบนั และการตรวจอากาศในอดีต ซึง่ ไดจากสถานีตรวจอากาศ
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ของกรมอุตุนิยมวิทยา
(รวบยอด) ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6
2) การสื่อสารเพื่อรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศ เปนการสื่อสาร
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เพื่อรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศจากหลายสถานีเพื่อนํามา
ลาดับที่
แบบประเมินผังมโนทัศน์/แผ่นพับ/ป้ายนิเทศ/ผังสรุป

รายการประเมิน
4
ระดับคะแนน
3 2 1
วิเคราะหตอไป
1
2
3
ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
ความถูกต้องของเนื้อหา
ความคิดสร้างสรรค์
3) การวิเคราะหขอ มูลเพือ่ การคาดหมายลักษณะอากาศในอนาคต โดย
4 ความตรงต่อเวลา
รวม นักอุตนุ ยิ มวิทยาจะรวมกันวิเคราะหขอ มูลแนวโนมของสภาพอากาศ
ในอนาคต จากนัน้ จะสรุปและเผยแพรไปยังหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................
เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์/แผ่นพับ/ป้ายนิเทศ/ผังสรุป

ประเด็นที่ประเมิน

1. ความ
สอดคล้องกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ทุกประเด็น
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน

จุดประสงค์เป็นส่วน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์บางประเด็น
1
ผลงานไม่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์
2. หนาทีใ่ นการพยากรณอากาศถือเปนภารกิจสําคัญของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา
จุดประสงค์ ใหญ่
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

แนวตอบ Prior Knowledge


3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

14-16
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดีมาก
การพยากรณอากาศมี 3 ขั้นตอน ไดแก การตรวจอากาศ การสื่อสาร
เพื่อรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศ และการวิเคราะหขอมูลเพื่อการ
11-13 ดี

T92
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

คาดหมายลักษณะอากาศในอนาคต
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Prior Knowledge
กรมอุตน
ุ ยิ มวิทยาใช 3. วิธีการพยากรณอากาศ ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior
หลักเกณฑใดในการ Knowledge ใหนักเรียนอภิปรายและแสดงความ
การพยากรณอากาศตองใชขอมูลทั้งในอดีตและปจจุบัน
พยากรณอากาศ
เพือ่ นํามาวิเคราะหและคาดหมายสภาพอากาศในอนาคต ซึง่ การ คิดเห็นรวมกันกอนเขาสูหัวขอที่เรียน ดังนี้
พยากรณอากาศมีหลายวิธขี นึ้ อยูก บั เกณฑทนี่ าํ มาใชเพือ่ ใหเหมาะสมกับสภาพอากาศแตละบริเวณ • กรมอุตนุ ยิ มวิทยาใชเกณฑใดในการพยากรณ
อากาศ
3.1 การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการพยากรณ
การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการพยากรณ แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ ขัน้ สอน
1. การพยากรณอากาศระยะสั้น (short range forecast) เปนการพยากรณอากาศ สํารวจคนหา
ในระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง ซึ่งสามารถแบงยอยได 3 ประเภท ดังนี้ 1. นักเรียนแบงกลุมออกเปน 2 กลุม จากนั้นให
1) การพยากรณอากาศปจจุบัน เปนการพยากรณในระยะเวลาไมเกิน 2 ชั่วโมง นักเรียนจับสลากเลือกหัวขอ ดังนี้
2) การพยากรณอากาศระยะสั้นมาก เปนการพยากรณในระยะเวลาไมเกิน 12 ชั่วโมง • การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลา
3) การพยากรณอากาศระยะสั้น เปนการพยากรณในระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง ในการพยากรณ
• การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความ
เหมาะสมของสภาพอากาศ

แนวตอบ Prior Knowledge


การพยากรณอากาศมีหลายวิธขี นึ้ อยูก บั เกณฑ
ที่นํามาใช โดยกรมอุตุนิยมวิทยาใชเกณฑในการ
ภาพที่ 6.14 การพยากรณอากาศระยะสั้น พยากรณอากาศหลักๆ ดังนี้
ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php - พยากรณอากาศโดยใชเกณฑชว งเวลาในการ
การพยากรณ์อากาศ 87 พยากรณ
- พยากรณ อ ากาศโดยใช เ กณฑ ต ามความ
เหมาะสมของสภาพอากาศ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดเปนขั้นตอนแรกสุดในการพยากรณอากาศ ครูใหความรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับการพยากรณอากาศ ดังนี้
1. จัดทําแผนที่อากาศ การพยากรณอากาศ คือ การคาดหมายสภาพลมฟาอากาศในอนาคต ซึง่ การ
2. ตรวจวัดสภาพอากาศ ทีจ่ ะพยากรณอากาศไดตอ งมีองคประกอบ 3 ประการ ดังนี้
3. ประเมินสภาพอากาศในอดีต 1. ความรูค วามเขาใจในปรากฏการณและกระบวนการตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ใน
4. รวบรวมขอมูลการตรวจวัดอากาศ บรรยากาศ
5. วิเคราะหขอมูลดวยระบบซูเปอรคอมพิวเตอร 2. สภาวะอากาศปจจุบนั
(วิเคราะหคาํ ตอบ การพยากรณอากาศประกอบไปดวย 3 ขัน้ ตอน 3. ความสามารถในการผสมผสานองคประกอบทั้งสองขางตนเขาดวยกัน
ไดแก 1. ตรวจอากาศ 2. สือ่ สารเพือ่ รวบรวมขอมูลผลการตรวจ เพือ่ คาดการณการเปลีย่ นแปลงของบรรยากาศทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต
อากาศ 3. วิเคราะหขอมูลเพื่อคาดหมายลักษณะอากาศ ดังนั้น
ตอบขอ 2.)

T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2. เมื่อแบงกลุมออกเปน 2 กลุมใหญๆ แลว ให 2. การพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง (medium range forecast) เป็นการพยากรณ์
กลุมที่จับสลากไดหัวขอการพยากรณอากาศ อากาศในระยะเวลามากกว่า 72 ชั่วโมง จนถึง 10 วัน
โดยใชเกณฑชว งเวลาในการพยากรณแบงกลุม
ยอยๆ ออกเปน 3 กลุม จับสลากเลือกหัวขอที่
ตองสืบคนขอมูล ดังนี้
ï• การพยากรณอากาศระยะสั้น
ï• การพยากรณอากาศระยะปานกลาง
ï• การพยากรณอากาศระยะนาน
และกลุ  ม ที่ จั บ สลากได หั ว ข อ การพยากรณ
อากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของ
สภาพอากาศแบงกลุมยอยๆ ออกเปน 5 กลุม
จับสลากเลือกหัวขอที่ตองสืบคนขอมูล ดังนี้
ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีสภาพอากาศ
คงที่ ภาพที่ 6.15 การพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง
ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php
ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม
ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมา 3. การพยากรณ์อากาศระยะนาน (long range forecast) เป็นการพยากรณ์ในระยะ
ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีภูมิอากาศ เวลามากกว่า 10 วันขึน้ ไป เช่น การคาดหมายสภาพอากาศล่วงหน้ารายเดือน รายสามเดือน หรือ
ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลข รายฤดูกาล

ภาพที่ 6.16 การพยากรณ์อากาศระยะนาน


88 ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลอากาศ โดยใหนักเรียนสืบคนขอมูล ดังนี้ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แตละกลุมจับสลากเลือก
ï• อากาศวันนี้ หัวขอ และสืบคนขอมูลการพยากรณอากาศจากหัวขอที่จับสลาก
ï• อากาศอีก 7 วันขางหนา ไดจากเว็บไซตกรมอุตนุ ยิ มวิทยา แลวแสดงบทบาทสมมติเกีย่ วกับ
ï• อากาศอีก 1 เดือนขางหนา สภาพอากาศแตละประเภท ดังนี้
จากนัน้ ใหนกั เรียนอภิปรายสภาพอากาศทีส่ บื คนได และวางแผนการดําเนิน ï• การพยากรณอากาศระยะสั้น
ชีวิตใหสอดคลองกับสภาพอากาศรวมกัน ï• การพยากรณอากาศระยะปานกลาง
ï• การพยากรณอากาศระยะนาน

T94
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา

3.2 การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของสภาพ 3. แตละกลุมยอยกลับมารวมกลุมเดิมตามที่ได


อากาศ แบงกลุม ไวในขอ 1. จากนัน้ แลกเปลีย่ นความรู
การพยากรณ์อากาศโดยใช้เกณฑ์ตามความเหมาะสมของสภาพอากาศ แบ่งออกเป็น 5 ชนิด รวมกัน
ดังนี้ 4. สรุปความรูที่ไดจัดทําชิ้นงานโดยเขียนลงใน
กระดาษฟลิปชารต จากนั้นสงตัวแทนออกมา
1. การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีสภาพอากาศคงที่ (persistence forecast) เป็นวิธี
การพยากรณ์อากาศทีง่ า่ ยทีส่ ดุ โดยใช้หลักการ นําเสนอหนาชั้นเรียน
ว่า “สภาพอากาศในอนาคตไม่เปลี่ยนแปลง 5. ใหนักเรียนแตละคนตั้งคําถามเกี่ยวกับวิธีการ
ไปจากสภาพอากาศในปัจจุบัน” เหมาะสมกับ พยากรณอากาศคนละ 1 คําถาม
สภาพอากาศที่เสถียร และมีการเปลี่ยนแปลง 6. ครูสุมเลือกคําถามจากนักเรียน 5 คําถาม เพื่อ
สภาพอากาศอย่างช้า ๆ ซึง่ วิธนี มี้ คี วามแม่นย�า อภิ ป รายร ว มกั น ในชั้ น เรี ย นเกี่ ย วกั บ วิ ธีก าร
ในช่วงระยะเวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมงล่วงหน้า พยากรณอากาศ
2. การพยากรณ์อากาศด้วยวิธแี นว-
โน้ม (trend method) หรือวิธีภาวะสมดุล
(steady state method) ใช้ ส มมติ ฐ านว่ า
“ทิศทางและความเร็วของระบบอากาศพื้นผิว
จะไม่เปลี่ยนแปลง” วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
การพยากรณ์อากาศด้วยวิธแี นวโน้ม
เป็นวิธกี ารพยากรณ์ทเี่ หมาะกับลักษณะอากาศ
ที่มีแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงทั้งการเคลื่อนที่
ทิศทาง ความเร็ว และความรุนแรง วิธีนี้จึงมัก
ใช้ในการพยากรณ์ระยะสั้น เช่น การพยากรณ์
ฝนตกโดยใช้ข้อมูลจากเรดาร์ตรวจอากาศ
จากภาพ เป็นการพยากรณ์ฝนโดยใช้
ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศในจังหวัดสกลนคร ซึง่
แสดงกลุ่มฝนที่เคลื่อนตัวเข้าสู่จังหวัดสกลนคร
วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เวลา 23.45 น.
และจะเคลื่อนตัวออกจากจังหวัดสกลนครไป วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ทางทิศเหนือ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภาพที่ 6.17 ภาพถ่ายเรดาร์ จากสถานีสกลนคร
เวลา 06.15 น. แสดงการเคลื่อนตัวของกลุ่มฝน
ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php
การพยากรณ์อากาศ 89

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การพยากรณอากาศดวยวิธใี ดทีใ่ ชคา เฉลีย่ ของสภาพภูมอิ ากาศ ครูอาจใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับวิธกี ารพยากรณอากาศแบบ
เปนเวลาหลายปมาวิเคราะหรวมกับสภาพอากาศปจจุบัน ตางๆ จากนัน้ สรุปความรูท ไี่ ดลงสมุด นอกจากนัน้ ครูอาจใหนกั เรียนหาตัวอยาง
1. การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม ประกอบการอธิบายการพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของ
2. การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมา สภาพอากาศ ดังนี้
3. การพยากรณอากาศดวยวิธีภูมิอากาศ ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีสภาพอากาศคงที่
4. การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลข ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม
5. การพยากรณอากาศดวยวิธีสภาพอากาศคงที่ ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมา
(วิเคราะหคาํ ตอบ การพยากรณอากาศดวยวิธภี มู อิ ากาศ เปนวิธที ี่ ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีภูมิอากาศ
ใชคาเฉลี่ยของสภาพภูมิอากาศเปนเวลาหลายปมาวิเคราะหรวม ï• การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลข
กับสภาพอากาศในปจจุบนั โดยการพยากรณอากาศดวยวิธนี เี้ หมาะ
สําหรับสภาพอากาศที่ใกลเคียงกับสภาวะปกติของชวงฤดูนั้น
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวาวิธกี ารพยากรณ 3. การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีเชิงอุปมาน (analogue method) เป็นวิธีที่ใช้ในการ
อากาศมีหลายวิธีขึ้นอยูกับเกณฑที่นํามาใช เปรียบเทียบระหว่างสภาพอากาศทีเ่ กิดในอดีตกับสภาพอากาศในปัจจุบนั เพือ่ น�ามาใช้เป็นแนวทาง
เพือ่ ใหเหมาะสมกับสภาพอากาศแตละบริเวณ ในการพยากรณ์อากาศในอนาคต ซึง่ วิธนี มี้ ขี อ้ จ�ากัดเนือ่ งจากสภาพอากาศมีการเปลีย่ นแปลงตลอด
โดยวิธที กี่ รมอุตนุ ยิ มวิทยาใชหลักๆ ไดแก การ เวลา การพยากรณ์อากาศจึงมีความแม่นย�าน้อย เช่น หากต้องการพยากรณ์อุณหภูมิต�่าสุดของ
พยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการ อากาศบริเวณกรุงเทพมหานคร วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 จะพิจารณาจากแผนที่อากาศผิวพื้น
พยากรณ ซึ่งแบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ ในปัจจุบัน ซึ่งพบว่ามีลักษณะคล้ายคลึงกับแผนที่อากาศผิวพื้นเมื่อ 3 ปีที่แล้ว โดยเมื่อ 3 ปีที่แล้ว
• การพยากรณ อ ากาศระยะสั้ น เป น การ ในวันที่ 1 มกราคมนั้น อุณหภูมิต�่าสุดของอากาศมีค่าเท่ากับ 10 องศาเซลเซียส ดังนั้น อุณหภูมิ
พยากรณอากาศในระยะเวลาไมเกิน 72 ต�า่ สุดของอากาศบริเวณกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 ทีพ่ ยากรณ์ได้ในปัจจุบนั
ชั่วโมง อาจจะมีค่าใกล้เคียงกับ 10 องศาเซลเซียส แต่วิธีการนี้อาจไม่แม่นย�านัก เนื่องจากสภาพอากาศ
• การพยากรณอากาศระยะปานกลาง เปนการ เกิดจากปัจจัยที่ซับซ้อนมากกว่าการพิจารณาแค่ปัจจัยใดเพียงปัจจัยเดียว
พยากรณ อ ากาศในระยะเวลามากกว า 4. การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีภูมิอากาศ (climatological method) เป็นวิธีที่ใช้
72 ชั่วโมง จนถึง 10 วัน ค่าเฉลี่ยของสภาพภูมิอากาศเป็นเวลาหลายปีมาวิเคราะห์ร่วมกับสภาพอากาศในปัจจุบัน โดย
• การพยากรณอากาศระยะนาน เปนการ การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีนี้เหมาะส�าหรับสภาพอากาศที่ใกล้เคียงกับสภาวะปกติของช่วงฤดูนั้น
พยากรณอากาศในระยะเวลามากกวา 10 วัน หากสภาพอากาศแตกต่างไปจากสภาวะโดยเฉลี่ยของช่วงเวลานั้นมากก็จะไม่สามารถพยากรณ์
ขึ้นไป ด้วยวิธีนี้ได้
และการพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความ การพยากรณ์อากาศด้วยวิธีนี้ตามหลักขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) จะใช้ค่า
เฉลี่ยของสภาพอากาศ 30 ปี เป็นมาตรฐาน เช่น หากต้องการพยากรณ์สภาพอากาศของวันที่
เหมาะสมของสภาพอากาศ ซึ่งแบงออกเปน 5
30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เวลา 07.00 น. จะต้องน�าข้อมูลสภาพอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น
ชนิด ดังนี้
ความกดอากาศ ปริมาณฝน เป็นต้น ในช่วงวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 ถึงวันที่ 29 กรกฎาคม
• การพยากรณอากาศดวยวิธีสภาพอากาศ พ.ศ. 2561 รวม 30 ปี มาเฉลีย่ หากข้อมูลสภาพอากาศทีไ่ ด้มคี า่ ใกล้เคียงกัน ก็จะสามารถก�าหนด
คงที่ เป็นสภาพอากาศในปัจจุบันได้
• การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม
5. การพยากรณ์อากาศด้วยวิธเี ชิงตัวเลข (numerical weather prediction) เป็นวิธี
• การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมา
การพยากรณ์อากาศโดยใช้แบบจ�าลองสภาพอากาศแบบต่าง ๆ และประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์
• การพยากรณอากาศดวยวิธีภูมิอากาศ ประสิทธิภาพสูง ซึ่งจะประมวลผลการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศตามพื้นที่และช่วงเวลาที่ก�าหนด
• การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลข เช่น WRF (Weather Research and Forecasting model) ของประเทศสหรัฐอเมริกา JMA-
NHM (Non-hydrostatic model) ของประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ซึ่งการพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข
เป็นการพยากรณ์อากาศที่ดีที่สุดในปัจจุบัน แต่ยังมีข้อจ�ากัด คือ ผลการพยากรณ์จากแบบจ�าลอง
ไม่ละเอียดเหมือนบรรยากาศจริง

90

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพยากรณอากาศโดยใชวิธีเชิงตัวเลข การพยากรณอากาศดวยวิธีใดใชการประมวลผลดวยระบบ
ดังนี้ คอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง
ปจจุบันการคาดการณฝนดวยการพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลขยัง 1. การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม
คงมีความคลาดเคลื่อน เนื่องจากปรากฏการณที่เกิดขึ้นในบรรยากาศเปน 2. การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมา
ปรากฏการณทมี่ คี วามซับซอน ซึง่ ตองอาศัยระบบประมวลผลของแบบจําลองทีม่ ี 3. การพยากรณอากาศดวยวิธีภูมิอากาศ
สมรรถนะสูง จากอดีตถึงปจจุบนั ไดมกี ารพัฒนาระบบการคํานวณเพือ่ ใหรองรับ 4. การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลข
การปรับเพิม่ สมการทีใ่ ชจาํ ลองสภาพอากาศมาเปนลําดับ การศึกษาวิจยั เพือ่ ปรับ 5. การพยากรณอากาศดวยวิธีสภาพอากาศคงที่
และเพิม่ สมการสําหรับจําลองสภาพอากาศภายในแบบจําลองเปนอีกหนึง่ ปจจัย (วิเคราะหคาํ ตอบ การพยากรณอากาศดวยวิธเี ชิงตัวเลข เปนวิธกี าร
ที่สามารถชวยเพิ่มความถูกตองในการคาดการณได พยากรณอากาศโดยใชแบบจําลองสภาพอากาศแบบตางๆ และนํา
มาประมวลผลดวยคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง ดังนัน้ ตอบขอ 4.)

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
22N 22N 2. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
20N 20N Question
18N 18N

16N 16N
ขยายความเข้าใจ
14N 14N 1. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น การพยากรณ อ ากาศจาก
12N 12N เว็บไซตของกรมอุตุนิยมวิทยา https://www.
10N 10N
tmd.go.th/ ตัวอยางการพยากรณอากาศโดย
8N 8N
ใชหลักเกณฑตางๆ โดยนําภาพมาแปะลงใน
6N
สมุดจดบันทึกพรอมเขียนระบุวาเปนวิธีการ
6N

94E 96E 98E 100E 102E 104E 106E 108E 110E 112E 92E 94E 96E 98E 100E 102E 104E 106E 108E 110E

ฝนเล็กนอย ฝนปานกลาง ฝนหนัก ฝนหนักมาก พยากรณอากาศแบบใด


1 5 10 20 35 50 70 90 150 200 300 2. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด เรือ่ ง วิธกี ารพยากรณ
Precipitation (mm/day)
อากาศจากหนังสือแบบฝกหัด โลก ดาราศาสตร
ภาพที่ 6.18 การคาดการณฝนจากแบบจําลอง WRF วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2561
ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php และอวกาศ ม.5 เลม 2
ปัจจุบน
ั การพยากรณ์อากาศยังคงเกิดความผิดพลาด โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัย ดังนี้
ขัน้ สรุป
ความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับกระบวนการและปรากฏการณตา ง ๆ ทางอุตนุ ยิ มวิทยายังไมเพียงพอ อีกทัง้
ตรวจสอบผล
สภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ในขณะที่สถานีตรวจอากาศยังมีจํานวนนอยและหางกัน
มาก รวมทัง้ มีการตรวจอากาศเพียงบางเวลาเทานัน้ ทําใหไมอาจติดตามสภาวะการเปลีย่ นแปลงสภาพ นักเรียนรวมกันสรุป เรือ่ ง วิธกี ารพยากรณอากาศ
อากาศที่แทจริงได โดยครูอาจตั้งคําถามประมาณ 5 คําถาม เพื่อให
ปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ ในบรรยากาศเปนกระบวนการทีซ่ บั ซอน บางปรากฏการณเกิดขึน้ ในระยะเวลาสัน้
และอาจตรวจไมพบ แตอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟาอากาศอยางมากในระยะเวลาตอมา
นักเรียนไดอภิปรายรวมกัน
ซึ่งจะทําใหผลการพยากรณอากาศผิดพลาดไปได
ชวงเวลาในการพยากรณอากาศ การพยากรณอากาศจะมีความถูกตองแมนยําลดลงตามระยะเวลา ขัน้ ประเมิน
นั่นคือ การพยากรณอากาศระยะสั้นจะมีความถูกตองมากกวาการพยากรณอากาศระยะยาวเนื่องจาก ตรวจสอบผล
แรงคอริออลิส
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
Topic การทํากิจกรรมกลุม การนําเสนอหนาชัน้ เรียน
Question 2. ครูตรวจสมุดจดบันทึก
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 3. ครูตรวจชิ้นงานจากกระดาษฟลิปชารต
1. การพยากรณอากาศระยะสั้นสามารถแบงไดเปนกี่ประเภท
2. อธิบายการพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของสภาพอากาศ
3. ปจจัยใดที่มีผลทําใหการพยากรณอากาศเกิดความผิดพลาด

การพยากรณ์อากาศ 91

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. การพยากรณอากาศระยะสัน้ แบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1) การ
พยากรณอากาศปจจุบนั เปนการพยากรณในระยะเวลาไมเกิน 2 ชัว่ โมง ครูวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการพยากรณอากาศ
2) การพยากรณอากาศระยะสัน้ มาก เปนการพยากรณในระยะเวลาไม ดวยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม การทํางานกลุมรวมกัน และการ
เกิน 12 ชัว่ โมง 3) การพยากรณอากาศระยะสัน้ เปนการพยากรณใน นําเสนอหนาชั้นเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมิน
ระยะเวลาไมเกิน 72 ชัว่ โมง การทํางานกลุม แบบประเมินการนําเสนองานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู
2. การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของสภาพอากาศ หนวยการเรียนรูที่ 6 การพยากรณอากาศ
แบงออกเปน 5 ชนิด ดังนี้
1. การพยากรณอากาศดวยวิธสี ภาพอากาศคงที่ แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่

2. การพยากรณอากาศดวยวิธแี นวโนม ลาดับที่


ตรงกับระดับคะแนน

รายการประเมิน
3
ระดับคะแนน
2 1

3. การพยากรณอากาศดวยวิธเี ชิงอุปมา
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน   
2 ความถูกต้องของเนื้อหา   
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   

4. การพยากรณอากาศดวยวิธภี มู อิ ากาศ
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ   
5 วิธีการนาเสนอผลงาน   
รวม

5. การพยากรณอากาศดวยวิธเี ชิงตัวเลข ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน


............/................./................

3. การพยากรณอากาศเกิดความผิดพลาดไดเนือ่ งจากปจจัยตางๆ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน


ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน

• ความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับปรากฏการณยงั ไมเพียงพอ


ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน

• ปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ มีความซับซอน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

• ชวงเวลาในการพยากรณ
14-15 ดีมาก

T97
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
1. ครู นํ า เข า สู  หั ว ข อ ที่ จ ะเรี ย นโดยการทบทวน แผนทีอ่ ากาศมี 4. แผนที่อากาศ
ความรูเดิมจากการเรียนในชั่วโมงที่ผานมา ประโยชนอยางไร ขอมูลจากการตรวจอากาศจะถูกนํามาวิเคราะหทําเปน
ในหัวขอขั้นตอนการพยากรณอากาศและวิธี แผนทีอ่ ากาศ เพือ่ ใหนกั อุตนุ ยิ มวิทยาเห็นภาพรวมของสภาวะอากาศแตละพืน้ ที่ โดยแผนทีอ่ ากาศ
การพยากรณอากาศ โดยอาจถามคําถามเพื่อ แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก แผนที่อากาศผิวพื้น (weather map) และแผนที่ลมชั้นบน (upper
ใหนักเรียนทบทวนวา การพยากรณอากาศมี winds map)
กี่ข้ันตอน อะไรบาง หรือมีวิธีใดบางในการ แผนที่อากาศ เปนแผนที่ที่แสดงขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา ซึ่งสรุปขอมูลของอากาศในแตละ
พยากรณอากาศ บริเวณตามชวงเวลา โดยนําขอมูลจากการตรวจอากาศมาวิเคราะหเพื่องายตอการเขาใจสภาวะ
2. ครูกระตุนความสนใจโดยถามคําถาม Prior อากาศแตละบริเวณ
Knowledge ใหนักเรียนอภิปรายและแสดง
ความคิดเห็นรวมกันกอนเขาสูหัวขอที่เรียน
ดังนี้
• แผนที่อากาศมีประโยชนอยางไร

ภาพที่ 6.19 แผนที่อากาศผิวพื้น (ซาย) แผนที่ลมชั้นบน (ขวา)


ที่มา : http:www.tmd.go.th/index.php
การเขียนแผนที่อากาศจะแสดงขอมูลออกมาในรูปแบบของตัวเลข รหัส หรือสัญลักษณ
มาตรฐานทางอุตุนิยมวิทยา
5 ลม

4 อุณหภูมิอากาศ 6 ความกดอากาศ

14

3 ลักษณะอากาศ 107
-6
13

แนวตอบ Prior Knowledge 2 อุณหภูมิจุดนํ้าค้าง 7 แนวโน้มความกดอากาศ


แผนที่อากาศเปนแผนที่ที่แสดงขอมูลเกี่ยวกับ 1 ปริมาณเมฆ

ลมฟาอากาศ ซึ่งทําใหสามารถคาดการณการเกิด ภาพที่ 6.20 ตัวอยางสัญลักษณแสดงขอมูลบนแผนที่อากาศ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
และการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณทางลมฟา 92
อากาศได ซึ่งสามารถนําขอมูลที่ไดมาชวยวางแผน
การดําเนินชีวติ ใหสอดคลองกับสภาพลมฟาอากาศ

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําใหนักเรียนศึกษา เรื่อง แผนที่อากาศ เพิ่มเติมจากแหลงการ ขอใดตอไปนี้เปนแผนที่อากาศทั้งหมด
เรียนรูออนไลนตางๆ เชน คลิปวิดีโอจาก Youtube เรื่อง การวิเคราะหแผนที่ 1. แผนที่อากาศผิวพื้นและแผนที่อากาศลมชั้นบน
อากาศ https://www.youtube.com/watch?v=YIdEW1MJii4 2. แผนที่อากาศผิวพื้นและแผนที่ตรวจอากาศดวยเรดาร
3. แผนที่อากาศผิวพื้นและแผนที่ตรวจอากาศดวยดาวเทียม
4. แผนที่ตรวจอากาศดวยเรดารและแผนที่อากาศลมชั้นบน
5. แผนที่ตรวจอากาศดวยดาวเทียมและแผนที่ตรวจอากาศ
ดวยเรดาร
(วิเคราะหคาํ ตอบ ขอมูลตรวจอากาศจะถูกนํามาวิเคราะหทาํ เปน
แผนที่อากาศ โดยแผนที่อากาศแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก แผนที่
อากาศผิวพื้นและแผนที่อากาศลมชั้นบน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ขอมูลทางอุตุนิยมวิทยาที่แสดงบนแผนที่อากาศผิวพื้น มีดังนี้ 1. ใหนักเรียนยกตัวอยางความสําคัญของการ
1. ความกดอากาศ (pressure area) สัญลักษณที่แสดงถึงบริเวณที่มีความกดอากาศ พยากรณอากาศมาคนละ 1 ตัวอยาง ครูถาม
ตางกัน แบงออกเปน 2 แบบ ดังนี้ นักเรียนทีละคนโดยคําตอบของแตละคนตอง
ไมซํ้ากัน

L H 2. ครูนาํ ภาพแผนทีอ่ ากาศทัง้ แบบผิวพืน้ และแผนที่


ลมชัน้ บนมาใหนกั เรียนดู และถามนักเรียนวา
ความกดอากาศตํ่า (Low Pressure Area; L) ความกดอากาศสูง (High Pressure Area; H) ภาพที่นักเรียนเห็นคืออะไร แลวสัญลักษณที่
บริเวณทีม่ คี วามกดอากาศตํา่ เมือ่ เทียบกับบริเวณ บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกวาบริเวณใกล ปรากฏในภาพหมายความวาอยางไร
ใกลเคียง มีลมพัดหมุนวนเขาหาศูนยกลางใน เคียง มีลมพัดหมุนวนออกจากศูนยกลางในทิศ
ทิศทางทวนเข็มนาฬกาในซีกโลกเหนือ และทิศ ตามเข็มนาฬกาในซีกโลกเหนือ และทิศทวนเข็ม
ตามเข็มนาฬกาในซีกโลกใต ทองฟามีเมฆมาก นาฬกาในซีกโลกใต ทองฟาแจมใสและอากาศ
บางกรณีอาจพัฒนาตัวเปนพายุดีเปรสชัน พายุ หนาวเย็น
โซนรอน หรือพายุไตฝุนได

สวนคาของความกดอากาศในแตละบริเวณแสดงดวยตัวเลข 3 หลัก มีหนวยเปน มิลลิบาร


(mb) หรือเฮกโตพาสคัล (hPa)
การแปลความคาของความกดอากาศในแตละบริเวณ
• ตัวเลขมากกวา 500 แปลความไดโดยการเติมเลข 9 ไวขางหนา แลวใสจุดทศนิยม
1 ตําแหนง
ตัวอย่าง กําหนดตัวเลข 987 สามารถแปลความได ดังนี้

บริเวณนี้มีความกดอากาศ 998.7 มิลลิบาร


• ตัวเลขนอยกวา 500 แปลความไดโดยการเติมเลข 10 ไวขางหนา แลวใสจุดทศนิยม
1 ตําแหนง
ตัวอย่าง กําหนดตัวเลข 234 สามารถแปลความได ดังนี้

บริเวณนี้มีความกดอากาศ 1023.4 มิลลิบาร


2. แนวโนมความกดอากาศ (pressure tendency) แสดงดวยสัญลักษณเครื่องหมาย
+ หรือเครื่องหมาย - โดยเปรียบเทียบกับคาความกดอากาศเมื่อ 3 ชั่วโมงที่ผานมา ซึ่งหากมีคา
เปน + แสดงวามีความกดอากาศสูงขึ้น แตหากมีคาเปน - แสดงวามีความกดอากาศตํ่าลง
การพยากรณ์อากาศ 93

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ครูใหนกั เรียนจับคู แตละคูส บื คนแผนทีอ่ ากาศ โดยเลือกบริเวณ ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับความกดอากาศ ดังนี้
ที่สนใจ จากนั้นพิจารณาสัญลักษณแสดงขอมูลจากแผนที่อากาศ อากาศเปนแกสแตกม็ นี าํ้ หนักเชนเดียวกับของแข็งและของเหลว ซึง่ นํา้ หนัก
วิเคราะหและตีความหมายจากสัญลักษณใหเปนขอมูลสภาพ ของอากาศทีก่ ดทับกันลงมาดวยอิทธิพลของแรงโนมถวง เรียกวา ความกดอากาศ
อากาศบริเวณนั้นๆ โดยตองพิจารณาขอมูล ดังนี้ โดยความกดอากาศจะมีความแตกตางกับแรงที่เกิดจากนํ้าหนักกดทับของ
1. อุณหภูมิอากาศ ของแข็งและของเหลวตรงที่ความกดอากาศจะมีแรงดันออกในทุกทิศทุกทาง
2. ลม เชน แรงดันของอากาศในลูกโปง
3. ความกดอากาศ
4. ลักษณะอากาศ
5. ปริมาณเมฆ

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 10 กลุม กลุมละ 3. ร่องมรสุม (monsoon trough) เกิดจากความกดอากาศต�่าบริเวณใกล้เคียงกันมา
เทาๆ กัน จากนั้นสืบคนเกี่ยวกับสัญลักษณ เรียงตัวกันเป็นแนวพาดขวางทางทิศตะวันตก-ตะวันออก ท�าให้เกิดลักษณะเป็นร่องและมีกระแส
บนแผนทีอ่ ากาศตามหัวขอทีก่ าํ หนดใหตอ ไปนี้ อากาศไหลขึ้นลงสลับกัน ร่องมรสุมเคลื่อนไปมาในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรบริเวณซีกโลกเหนือ
กลุมที่ 1 ความกดอากาศ และใต้การเคลื่อนที่ของร่องมรสุมจะขึ้นอยู่กับต�าแหน่งวงโคจร
กลุมที่ 2 แนวโนมความกดอากาศ ของโลกที่หมุนรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งความกว้างประมาณ 6-8
กลุมที่ 3 รองมรสุม องศาละติจูด เป็นบริเวณที่มีเมฆมากและฝนตกอย่างหนาแน่น L L
กลุมที่ 4 พายุ เนื่องจากมีกระแสลมจากบริเวณความกดอากาศสูงที่อยู่ทางซีก
กลุมที่ 5 อุณหภูมิอากาศ โลกเหนือและซีกโลกใต้พัดเข้าปะทะกัน1บริเวณร่องมรสุมนี้ โดย ภาพที่ 6.21 สัญลักษณ์ร่องมรสุม
กลุมที่ 6 แนวปะทะอากาศ ลมที่พัดมาปะทะกัน เรียกว่า ลมมรสุม ที่มา : คลังภาพ อจท.
กลุมที่ 7 สัญลักษณอากาศปจจุบัน 4. พายุ (thunder storm) พายุแต่ละชนิดแสดงด้วยสัญลักษณ์ต่างกัน ดังนี้
กลุมที่ 8 เสนความกดอากาศเทา
กลุมที่ 9 ทิศทางและอัตราเร็วลม
กลุมที่ 10 ปริมาณเมฆในทองฟา
D ดีเปรสชันเขตร้อน (tropical depression) มีความเร็วลมสูงสุดใกล้
ศูนย์กลางน้อยกว่า 34 นอต (63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)

พายุโซนร้อน (tropical storm) มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางอยู่


ระหว่าง 34-64 นอต (63-117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)

พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) พายุไต้ฝุ่น หรือเฮอริเคน มี


ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง 65 นอต (มากกว่า 118 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง)

5. อุณหภูมิอากาศ (temperature) แสดงด้วยตัวเลขในหน่วยองศาเซลเซียส ( C� )


6. แนวปะทะอากาศ (front) แสดงด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้
แนวปะทะอากาศเย็น เป็นบริเวณที่มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้าปะทะ
และมุ ด ตั ว ลงใต้ ม วลอากาศอุ ่ น มี แ นวปะทะ
เป็นบริเวณแคบ ซึ่งท�าให้เกิดเมฆฝนในแนวตั้ง
ฝนตกหนักแต่ไม่นาน
แนวปะทะอากาศอุ่น เป็นบริเวณที่มวลอากาศอุ่นเคลื่อนที่เข้าปะทะ
และยกตัวขึ้นด้านบนมวลอากาศเย็น มีแนว
ปะทะเป็นบริเวณกว้าง ซึง่ ท�าให้เกิดเมฆฝนแบบ
เมฆแผ่น ฝนตกเบาและตกเป็นเวลานาน
94

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ลมมรสุม เปนการหมุนเวียนของลมทีพ่ ดั ตามฤดูกาล เกิดจากความแตกตาง สัญลักษณ H และ L ทีป่ รากฏบนแผนทีอ่ ากาศมีความหมายอยางไร
ระหวางอุณหภูมขิ องพืน้ ดินและพืน้ นํา้ ในฤดูหนาวอุณหภูมขิ องพืน้ ดินจะเย็นกวา 1. high front, low front
อุณหภูมิของพื้นนํ้าในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นนํ้าจึงมีอุณหภูมิสูงกวาและ 2. high storm, low storm
ลอยตัวสูงขึ้น อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกวาจะเคลื่อนที่ไปแทนที่ ทําใหเกิดเปน 3. high pressure, low pressure
ลมพัดออกจากทวีป สวนในฤดูรอนอุณหภูมิของพื้นดินจะรอนกวาอุณหภูมิของ 4. high tendency, low tendency
พื้นนํ้าในมหาสมุทร สงผลใหเกิดลมพัดในทิศทางตรงขามกัน 5. high temperature, low temperature
(วิเคราะหคําตอบ ความกดอากาศ แสดงดวยสัญลักษณ L และ
H บนแผนที่อากาศ ซึ่งสัญลักษณ L หมายถึง บริเวณที่มีความกด
อากาศตํ่า (low pressure) และสัญลักษณ H หมายถึง บริเวณที่มี
ความกดอากาศสูง (high pressure) ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1
แนวปะทะอากาศคงที่ เป็นบริเวณขอบของมวลอากาศสองมวลที่มี 4. ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปความรูท่ีไดจากการ
อุณหภูมิต่างกันและเคลื่อนที่ขนานกัน แต่ไม่ได้ สืบคนและอภิปรายรวมกัน จากนั้นสงตัวแทน
ปะทะกัน จึงไม่เกิดฝน นําเสนอหนาชั้นเรียน
2 5. นักเรียนแตละคนสรุปความรูที่ไดจากการฟง
แนวปะทะอากาศปิด เป็นบริเวณทีแ่ นวปะทะอากาศเย็นเคลือ่ นทีม่ าชน
แนวปะทะอากาศอุน่ ท�าให้เกิดฝนตกเป็นบริเวณ การนําเสนอของเพือ่ นๆ กลุม ตางๆ ในชัน้ เรียน
กว้างในบริเวณของทั้งสองแนวปะทะอากาศ และสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับแผนทีอ่ ากาศ
แล ว บั น ทึ ก ความรู  ที่ ไ ด ล งในกระดาษ A4
7. ลักษณะอากาศปัจจุบัน (weather) แสดงด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังตารางที่ 6.3 รวบรวมและจัดทําออกมาเปนรูปเลมรายงาน
ตารางที่ 6.3 : สัญลักษณ์แสดงลักษณะอากาศบางลักษณะ เรื่อง แผนที่อากาศ
สัญลักษณ์ ลักษณะอากาศ

ฝน (เล็กน้อย ปานกลาง หนัก)

หิมะ (เล็กน้อย ปานกลาง หนัก)

เกล็ดน�้าแข็ง

หมอก

ฟ้าหลัว

ควัน

ฝนปรอย

ละอองฝน

พายุฝนฟ้าคะนอง

พายุเฮอริเคน

ลูกเห็บ

การพยากรณ์อากาศ 95

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สัญลักษณใดบนแผนที่อากาศแสดงถึงบริเวณที่มีฝนตกเล็กนอย 1 แนวปะทะอากาศคงที่ เปนแนวปะทะอากาศทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากมวลอากาศ
1. 2 มวลที่เคลื่อนที่เขามาบรรจบกันเกิดเปนแนวปะทะอากาศ แตไมเคลื่อนที่ ซึ่ง
2. อาจเกิดจากแนวปะทะอากาศเย็นหรือแนวปะทะอากาศอุนที่หยุดการเคลื่อนที่
ซึง่ หากแนวปะทะอากาศแบบนีเ้ คลือ่ นทีต่ อ ก็ยงั คงปรากฏลักษณะของแนวปะทะ
3. อากาศเย็นหรือแนวปะทะอากาศอุนเชนเดิม
4. 2 แนวปะทะอากาศปด เกิดจากแนวปะทะอากาศเย็นเคลื่อนที่เร็วกวาแนว
5. ปะทะอากาศอุน และไลทันแนวปะทะอากาศอุน ทําใหมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่
ผานแนวปะทะอากาศอุน มวลอากาศอุนจึงลอยตัวขึ้นอยูระหวางมวลอากาศ
(วิเคราะหคาํ ตอบ สัญลักษณบนแผนทีอ่ ากาศทีแ่ สดงถึงฝนมีดงั นี้
ที่เย็นกวา ลักษณะหยาดนํ้าฟาที่เกิดจะมีลักษณะคลายกับกรณีของแนวปะทะ
หมายถึง มีฝนตกเล็กนอย หมายถึง มีฝนตกปานกลาง
อากาศเย็น
หมายถึง มีฝนตกหนัก ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T101
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
6. ครูนาํ ภาพสัญลักษณตา งๆ มาใหนกั เรียนดูและ 8. เสนความกดอากาศเทา (isobar) คือ เส้นที่ลากต่อเนื่องไปในทุก ๆ จุดในแผนที่ที่มี
ใหนกั เรียนรวมกันตอบวาสัญลักษณตา งๆ จาก ความกดอากาศเท่ากันในช่วงเวลานั้น ๆ
ภาพที่ครูนํามามีความหมายวาอยางไร 1012
1012
1008 ME
1016
1004
ตัวอยางภาพ WA
MT 1016
ND
1
996 000
VT
NH

102
1020 992 NY MA

4
OR MN WI MI CT R
ID SD
WY PA
IA NU
IL MD DE
NV NE IN OH DC
WV
VA
7. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียนในชัน้ เรียนออกมา 10 คน CA
1016
UT CO KS
MO KY
NC
ใหแตละคนวาดภาพสัญลักษณตา งๆ บนแผนที่ TN
OK SC
อากาศมาคนละ 1 สัญลักษณ จากนั้นครูให AZ NM AR
MS GA
1008 AL
นั ก เรี ย นแข ง กั น ตอบคํ า ถามว า สั ญ ลั ก ษณ ที่ TX
101 LA
เพื่อนๆ ออกมาวาดนั้นหมายความวาอยางไร 2 FL 1020

1016
101
ภาพที่ 6.22 เส้นความกดอากาศเท่า
ที่มา : คลังภาพ อจท.

9. ทิศทางและความเร็วลม (wind direction and speed) ทิศทางลมจะแสดงด้วย


เส้นตรงทีล่ ากออกจากวงกลมในทิศทางทีล่ มพัดมา ส่วนความเร็วลมแสดงด้วยขีดทีอ่ ยูบ่ ริเวณปลาย
ของเส้นทิศทางลม โดยมีหน่วยเป็นนอต (knot)
ตารางที่ 6.4 : สัญลักษณ์แสดงความเร็วลม
สัญลักษณ์ ความเร็วลม (knot)
ลมสงบ
4-6
7-10
11-16
17-21
48-55
64-71
96

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวปะทะอากาศ ดังนี้ สัญลักษณใดบนแผนที่อากาศแสดงถึงลมสงบ
แนวปะทะอากาศ เปนแนวแคบๆ ระหวางมวลอากาศสองมวลที่มีสมบัติ 1.
แตกตางกัน ซึง่ มีลกั ษณะอากาศหรือเมฆทีเ่ กิดขึน้ พรอม ๆ กับแนวปะทะอากาศ
2.
โดยแนวปะทะอากาศอาจปกคลุมพืน้ ทีห่ ลายกิโลเมตรจากแนวเสนทีว่ เิ คราะหใน
แผนที่อากาศ อาจสังเกตไดจากการพิจารณาแผนที่อากาศผิวพื้นประจําวัน 3.
4.
5.
(วิเคราะหคําตอบ ทิศทางและอัตราเร็วลมแสดงดวยเสนตรงที่
ลากออกจากวงกลมในทิศทางที่ลมพัดมา โดยลมสงบแสดงดวย
สัญลักษณ ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T102
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
10. ปริมาณเมฆในท้องฟ้า (cloud cover) พิจารณาโดยการแบ่งท้องฟ้าออกเป็น 10 8. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ
ส่วน หรือ 8 ส่วน แล้วสังเกตว่ามีเมฆอยูก่ สี่ ว่ นในท้องฟ้า โดยการระบายสีดา� ลงในสัญลักษณ์วงกลม ความหมายของแผนที่อากาศและสัญลักษณ
ตางๆ ที่ปรากฏบนแผนที่อากาศ
ตารางที่ 6.5 : สัญลักษณ์แสดงปริมาณเมฆในท้องฟ้า (เมื่อแบ่งท้องฟ้าออกเปน 10 ส่วน)
9. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละเทาๆ กัน จากนัน้
สัญลักษณ์ ปริมาณเมฆ
ครูแจกภาพแผนที่อากาศผิวพื้นใหนักเรียน
ไม่มีเมฆ (ท้องฟ้าโปร่ง) ทุกกลุม แลวใหแตละกลุม ทํากิจกรรมการแปล
มีเมฆ 1 ส่วน หรือน้อยมาก ความหมายขอมูลสภาพอากาศ จากหนังสือ
เรียนโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2
มีเมฆ 3 ส่วน
โดยเลือกขอมูล ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งใน
มีเมฆ 5 ส่วน แผนที่อากาศ จากนั้นแปลความหมายขอมูล
มีเมฆเกิน 5 ส่วน สภาพอากาศในบริเวณนั้น
10. ใหนกั เรียนแตละกลุม แลกเปลีย่ นผลการแปล
มีเมฆ 8 ส่วน ความหมายขอมูลสภาพอากาศรวมกัน
มีเมฆเกิน 8 ส่วน
มีเมฆ 9 ส่วน
มีเมฆเกิน 9 ส่วน
มีเมฆเต็มท้องฟ้า

Earth Science
Focus ประโยชน์ของการพยากรณ์อากาศ
1. เป็นข้อมูลส�าหรับการวางแผนการคมนาคมทางอากาศโดยเฉพาะด้านการบิน เพื่อหลีกเลี่ยงเส้น
ทางการบินทีอ่ าจเป็นอันตรายเนือ่ งจากสภาพอากาศ เช่น เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน
เป็นต้น
2. เตือนภัยและป้องกันภัยพิบัติจากสภาพลมฟ้าอากาศ เพื่อช่วยลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นต่อ
ชีวิตและทรัพย์สิน เช่น การเกิดพายุ น�้าท่วม ฝนแล้ง ไฟป่า เป็นต้น
3. ศึกษาข้อมูลและประเมินฤดูกาลเพาะปลูก การเปรียบเทียบผลผลิตแต่ละฤดูและแต่ละปีได้ เพื่อแก้
ปัญหาต่าง ๆ ทางด้านการเกษตรที่จะเกิดขึ้นจากสภาพอากาศ และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้
มากยิ่งขึ้น

การพยากรณ์อากาศ 97

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ปริมาณสัดสวนเมฆบนทองฟาแบงออกเปนกี่สวน ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนที่อากาศ ดังนี้
1. 1 หรือ 2 การเขียนแผนที่อากาศจะตองใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณตางกัน ตามที่
2. 3 หรือ 6 ตกลงกันไวระหวางชาติ การเขียนสัญลักษณชวยใหสามารถรวบรวมขอมูลได
3. 4 หรือ 8 อยางหลากหลายเพื่อวางขอมูลในเนื้อที่เล็กๆ ใหไดมาก ในการวิเคราะหแผนที่
4. 6 หรือ 8 อากาศนั้น นักอุตุนิยมวิทยาจะตองเขียนเสนไอโซบารหรือเสนความกดอากาศ
5. 8 หรือ 10 เทา บริเวณความกดอากาศสูงและตํา่ แนวปะทะอากาศ บริเวณพายุ และบริเวณ
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปริมาณเมฆบนทองฟาพิจารณาโดยแบงทองฟา ที่มีหยาดนํ้าฟา รวมทั้งปรากฏการณอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อที่จะแปลความหมายของ
ออกเปน 10 หรือ 8 สวน แลวสังเกตวามีเมฆอยูกี่สวนบนทองฟา ขอมูลอากาศวามีลักษณะอากาศเปนอยางไร เมื่อทําการวิเคราะหแผนที่อากาศ
ดังนั้น ตอบขอ 5.) แลว นักอุตุนิยมวิทยาจะทําการพยากรณอากาศ และแจงขาวพยากรณอากาศ
เพือ่ ใหประชาชนทัว่ ไปนําขอมูลทีไ่ ดใชวางแผนกิจกรรมตางๆ ในชีวติ ประจําวัน

T103
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลจากการ • สังเกต
ทํากิจกรรมการแปลความหมายขอมูลสภาพ การแปลความหมายข้อมูลสภาพอากาศ • การลงความเห็นจากขอมูล
จิตวิทยาศาสตร
อากาศที่นักเรียนพิจารณาจากภาพ • ความรอบคอบ
2. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า สั ญ ลั ก ษณ บ นแผนที่ วัสดุอปุ กรณ • การรวมแสดงความคิดเห็นและ
ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
อากาศมีความหมายตางกัน ดังนั้น จึงตองมี 1. แผนที่อากาศ
การแปลความหมายขอมูลสภาพอากาศ เพื่อ 2. กระดาษบันทึก
นําขอมูลที่ไดไปวางแผนในการดําเนินชีวิต
ประจําวัน วิธปี ฏิบตั ิ
1. แบงกลุม แลวใหแตละกลุม เลือกขอมูล ณ บริเวณใดบริเวณหนึง่ ในแผนทีอ่ ากาศ และแปลความหมายขอมูล
สภาพอากาศในบริเวณนั้น
2. แลกเปลี่ยนผลการแปลความหมายขอมูลสภาพอากาศของแตละกลุม แลวเขียนเสนอแนะขอมูลเพิ่มเติม

ตัวอยางแผนที่อากาศ
ภาพที่ 6.23 แผนทีอ่ ากาศผิวพืน้ วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561
ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php
บันทึก กิจกรรม
98
ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยพิจารณา
จากความถูกตองของขอมูลที่นักเรียนไดจัดทํา

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพยากรณอากาศวา นักอุตุนิยมวิทยาใช เมื่อนักอุตุนิยมวิทยาตองการระบุวาทองฟามีเมฆเกิน 5 สวน
อุณหภูมิจุดนํ้าคางเปนคาบงบอกความชื้นหรือปริมาณไอนํ้าในอากาศ ซึ่งคาที่ ตองใชสัญลักษณใดในการเขียนบนแผนที่อากาศ
วัดไดจะไมขึ้นกับอุณหภูมิ ดังนั้น การแบงแยกมวลอากาศหรือการวางตําแหนง
แนวปะทะอากาศ คาอุณหภูมจิ ดุ นํา้ คางทีร่ ายงานและพล็อตลงบนแผนทีอ่ ากาศ 1. 2.
จึงถือวาเปนคาที่สําคัญคาหนึ่ง 3. 4.

5.
(วิเคราะหคําตอบ สัญลักษณของปริมาณเมฆบนทองฟาสามารถ
เขียนแทนไดดวยวงกลม โดยระบายสีดําลงในวงกลมเพื่อแทน
สัดสวนของเมฆในทองฟา หากเมฆมีเกิน 5 สวน สามารถเขียน
สัญลักษณ แทนได ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T104
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม 3. ครูถามคําถามทายกิจกรรมเพื่อใหนักเรียน
?
อภิปรายรวมกันดังนี้
1. ให้นักเรียนแปลความหมายข้อมูลอากาศในบริเวณที่ก�าหนดให้ ดังนี้
ï• ให นั ก เรี ย นแปลความหมายข อ มู ล แผนที่
5 ลม
4 อุณหภูมิอากาศ 6 ความกดอากาศ อากาศในบริเวณที่กําหนดให
ï• การแปลความหมายขอมูลสภาพอากาศ มี
14
ประโยชนอยางไร
3 ลักษณะอากาศ 107
4. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
13
-6
Question ดังนี้
ï• อธิบายความหมายของสัญลักษณในแผนที่
2 อุณหภูมิจุดน�้าค้าง 7 แนวโน้มความกดอากาศ
1 ปริมาณเมฆ
อากาศที่กําหนดใหตอไปนี้
ภำพที่ 6.24 สัญลักษณ์ทางแผนที่อากาศ ï• แปลความหมายของตัวเลขที่ระบุวามีความ
ที่มา : คลังภาพ อจท. กดอากาศเทาใด
2. การแปลความหมายข้อมูลสภาพอากาศ มีประโยชน์อย่างไร ï• อธิ บ ายความแตกต า งของสั ญ ลั ก ษณ L
และ H
อภิปรายผลกิจกรรม

จากภาพสัญลักษณ์ทางแผนที่อากาศ สามารถแปลความหมายข้อมูลได้ ดังนี้


• ท้องฟ้าไม่มีเมฆ (ท้องฟ้าโปร่ง) อุณหภูมิจุดน�้าค้าง 13 องศาเซลเซียส มีฝนตกปานกลาง
• อุณหภูมิอากาศ 14 องศาเซลเซียส อัตราเร็วลม 20 นอต มีความกดอากาศ 1010.7 มิลลิบาร์
แนวโน้มความกดอากาศต�่าลง
สัญลักษณ์ทแี่ สดงบนแผนทีอ่ ากาศมีความหมายต่างกัน ดังนัน้ จึงต้องมีการแปลความหมายข้อมูลสภาพ
อากาศ เพื่อน�าข้อมูลที่ได้ไปวางแผนในการใช้ชีวิตประจ�าวัน

Topic
Question แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ 1. อากาศบริเวณนี้มีทองฟาโปรงไมมีเมฆ อุณหภูมิ
1. อธิบายความหมายของสัญลักษณ์ในแผนที่อากาศที่ก�าหนดให้ต่อไปนี้
1.1 1.2 1.3 จุดนํ้าคางเทากับ 13 องศาเซลเซียส ฝนตกหนัก
2. แปลความหมายของตัวเลขที่ระบุว่ามีความกดอากาศเท่าใด อุณหภูมิอากาศ 14 องศาเซลเซียส มีอัตราเร็ว
2.1 685 2.2 357 2.3 109 ลม 15 นอต ความกดอากาศ 1010.7 มิลลิบาร
3. อธิบายความแตกต่างของสัญลักษณ์ L และ H มีแนวโนมความกดอากาศตํ่าลง
การพยากรณ์อากาศ 99
2. ทําใหสามารถเขาใจแผนที่อากาศและประเมิน
สภาพอากาศในแตละบริเวณที่ตองการทราบได
เพื่อนําไปวางแผนการใชชีวิตประจําวัน

แนวตอบ Topic Question เกร็ดแนะครู


1. 1.1 ฝนตกหนัก 1.2 พายุฝนฟาคะนอง 1.3 มีหิมะเล็กนอย
ครูใหความรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับกรมอุตนุ ยิ มวิทยาของไทยวา พลเรือโท พระยา
2. 2.1 บริเวณนี้มีความกดอากาศ 968.5 มิลลิบาร 2.2 บริเวณนี้มีความ
ราชวังสัน เปนผูกอตั้งกรมอุตุนิยมวิทยาในโรงเรียนนายเรือ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2455
กดอากาศ 1035.7 มิลลิบาร 2.3 บริเวณนี้มีความกดอากาศ 1010.9
ตอมาไดยายไปอยูที่กรมชลประทาน และยายจากกรมชลประทานไปอยูใน
มิลลิบาร
กรมอุทกศาสตรกองทัพเรือ หลังจากนัน้ ไดโอนกรมอุตนุ ยิ มวิทยาจากกองทัพเรือ
3. สัญลักษณที่แสดงถึงบริเวณที่มีความกดอากาศตางกัน แบงออกเปน
มาสังกัดอยูในสํานักนายกรัฐมนตรี ตั้งแตวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2505 และ
2 แบบ ไดแก L และ H โดยสัญลักษณ L หมายถึง ความกดอากาศตํ่า
เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2515 กรมอุตนุ ยิ มวิทยาไดยา ยมาสังกัดอยูก บั กระทรวง
ซึง่ เปนบริเวณทีม่ คี วามกดอากาศตํา่ เมือ่ เทียบกับบริเวณใกลเคียง และ
คมนาคม และปจจุบนั เขาสังกัดกับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
สัญลักษณ H หมายถึง ความกดอากาศสูง ซึ่งเปนบริเวณที่มีความกด
อากาศสูงกวาบริเวณใกลเคียง

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. ใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดเกีย่ วกับแผนทีอ่ ากาศ Earth Science
จากแบบฝกหัด โลก ดาราศาสตร และอวกาศ in real life การพยากรณอากาศ เปนการคาดหมายสภาวะอากาศ
2. ขยายความเขาใจเพิม่ เติมเกีย่ วกับการพยากรณ ที่จะเกิดขึ้นในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต ซึ่งการทราบสภาวะอากาศลวงหนาทําให
อากาศโดยใหนกั เรียนศึกษาขอมูลการพยากรณ สามารถวางแผนการประกอบกิจกรรมตาง ๆ ในชีวิตประจําวันได เชน เตรียมรมในวันที่
อากาศจากหนังสือเรียนโลก ดาราศาสตร และ อาจจะมีฝนตก สวมใสเสื้อผาที่มีการระบายอากาศไดดีในวันที่มีอากาศรอน นอกจากนี้
อวกาศ ม.5 เลม 2 ยังนํามาใชเปนแนวทางในการวางแผนเพาะปลูก วางแผนจัดการ
นํ้าเพื่อการอุปโภค บริโภค วางแผนการเดินทาง การคมนาคม
เปนตน
ปจจุบันการพยากรณสภาพอากาศถือเปนเรื่องที่งายและ
สะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีเทคโนโลยีเขามาชวยในการแจง
สภาพอากาศในแตละบริเวณผานแอปพลิเคชัน่ บนโทรศัพทมอื ถือ
ทําใหเราทราบสภาพอากาศบริเวณนัน้ ๆ ไดอยางรวดเร็วและพิจารณา
ขอมูลไดงาย
ภาพที่ 6.25 ตัวอยางแอปพลิเคชันตรวจสภาพอากาศ
ที่มา : https://support.apple.com
ตัวอย่างสัญลักษณ์แสดงสภาพอากาศ

พระอาทิตยขึ้น ลมแรง หิมะ เมฆหมอก

พระอาทิตยตก มีเมฆมาก มีฝุนมาก มีควัน

ปลอดโปรง พายุฝนฟาคะนอง ฝนละออง มีหมอก

มีเมฆบางสวน ฝนปรอย พายุทอรนาโด ฝนปนลูกเห็บ

รอน ฝนปรอยหนัก อุณหภูมิหนาวจัด

100

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การพัฒนาการพยากรณอากาศ ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับแผนที่อากาศ
เพิ่มเติมจากแหลงการเรียนรูออนไลนตางๆ เชน คลิปวิดีโอจาก Youtube 1. แผนที่ที่แสดงขอมูลอากาศชั้นบน
เรื่อง แอปพลิเคชันพยากรณอากาศที่แมนยําที่สุดในอาเซียน https://www. 2. แผนที่ที่แสดงขอมูลจากภาพถายดาวเทียม
youtube.com/watch?v=7j-GHVqlwUkfifi 3. แผนทีท่ แี่ สดงขอมูลอากาศ ในลักษณะตัวเลขหรือสัญลักษณ
ทางอุตุนิยมวิทยา
4. แผนทีท่ แี่ สดงขอมูลทีไ่ ดจากการวิเคราะหภาพถายทางอากาศ
และสัญญาณที่ไดรับจากเรดาร
5. แผนทีท่ แี่ สดงขอมูลการวิเคราะหของนักอุตนุ ยิ มวิทยาเกีย่ วกับ
สภาพอากาศในอดีตจนถึงปจจุบัน
(วิเคราะหคําตอบ แผนที่อากาศ เปนแผนที่ที่แสดงขอมูลทาง
อุตนุ ยิ มวิทยา ซึง่ สรุปขอมูลของอากาศในแตละบริเวณตามชวงเวลา
โดยแสดงขอมูลออกมาในรูปแบบของตัวเลข รหัส หรือสัญลักษณ
มาตรฐานทางอุตุนิยมวิทยา ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T106
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
Summary ขยายความเขาใจ
3. ครูใหนกั เรียนสืบคนเพิม่ เติมเกีย่ วกับสัญลักษณ
การพยากรณอากาศ ในการพยากรณอากาศจากแอปพลิเคชันตรวจ
สภาพอากาศ และแปลความหมายสัญลักษณ
การตรวจอากาศ ในการพยากรณประจําวันนั้น
การพยากรณอากาศ (weather forecast) คือ การคาดการณสภาวะของลมฟาอากาศ รวมทัง้ ปรากฏการณ
ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการนําความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาประยุกตกับความรู ขัน้ สรุป
ความเขาใจในกระบวนการเกิดปรากฏการณตาง ๆ ทางอุตุนิยมวิทยา รวมทั้งขอมูลสภาพอากาศในปจจุบัน ตรวจสอบผล
การตรวจอากาศ คือ การตรวจวัดและจดบันทึกขอมูลของอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น ความเร็ว
ลม ทิศทางลม และปริมาณฝนในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ ในแตละชวงเวลา เพือ่ ใชเปนขอมูลเบือ้ งตนในการพยากรณ 1. นักเรียนสรุปความรูรวบยอดจากการศึกษา
อากาศ จากนั้นจึงนําขอมูลตรวจอากาศมาวิเคราะหและจัดทําแผนที่อากาศ เกีย่ วกับการพยากรณอากาศ โดยทําเปนชิน้ งาน
ระบบการตรวจอากาศ ลงในกระดาษ A4 สรุปในรูปแบบผังมโนทัศน
ตรวจอากาศผิวพื้น ตรวจอากาศชั้นบน

ตรวจอากาศดวยดาวเทียม ตรวจอากาศดวยเรดาร

ดาวเทียม GEOSAT ดาวเทียมโคจรใกลขั้วโลก


เครื่องบิน
สถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ
เรดารตรวจอากาศ
ศูนยดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา ทุนลอยในมหาสมุทร
เรือตรวจอากาศ สถานีรับสัญญาณดาวเทียม
ภาคพื้นดิน
สถานีตรวจอากาศผิวพื้น

สถานีตรวจอากาศชั้นบน
ภาพที่ 6.26 การตรวจวัดสภาพอากาศในรูปแบบตาง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
การพยากรณ์อากาศ 101

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


“บริเวณนีม้ คี วามกดอากาศสูง” จากการพยากรณขา งตน แสดงวา ครู อ าจทบทวนความรู  นั ก เรี ย นจากที่ เ รี ย นจบในหน ว ยการเรี ย นรู  ท่ี 6
อากาศบริเวณดังกลาวมีลักษณะอยางไร เรือ่ ง การพยากรณอากาศ โดยอาจตัง้ คําถามใหอภิปรายรวมกันในชัน้ เรียน ดังนี้
1. มีฝนตกเล็กนอย ï• การตรวจอากาศคืออะไร
2. ทองฟามีเมฆมาก ï• ระบบการตรวจอากาศแบงออกเปนกี่ระบบ
3. มีฝนตกปานกลาง ï• การพยากรณอากาศมีขั้นตอนใดบาง
4. อากาศรอนอบอาว ï• วิธีการพยากรณอากาศมีกี่วิธี อะไรบาง
5. ทองฟาแจมใส อากาศหนาวเย็น
(วิเคราะหคําตอบ บริเวณที่มีความกดอากาศสูง เปนบริเวณที่มี
ความกดอากาศสูงกวาบริเวณใกลเคียง มีลมพัดหมุนวนออกจาก
ศูนยกลางในทิศทางตามเข็มนาฬกาในซีกโลกเหนือ และทวนเข็ม
นาฬกาในซีกโลกใต ทองฟาแจมใสและอากาศหนาวเย็น ดังนั้น
ตอบขอ 5.)

T107
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
2. ครูใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับ ขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณอากาศ โดยพิจารณาขอความ ขั้นตอนที่สําคัญในการพยากรณอากาศประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้
จากกรอบ Self Check ในหนังสือเรียนโลก • การตรวจอากาศ โดยเก็บรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศในปจจุบัน และการตรวจอากาศในอดีต
ดาราศาสตร และอวกาศ ม.5 เลม 2 วาถูก เพื่อชวยใหการพยากรณอากาศมีความแมนยํามากขึ้น
หรือผิด แลวบันทึกลงสมุด • การสื่อสารเพื่อรวบรวมขอมูลผลการตรวจอากาศ นําขอมูลผลการตรวจอากาศจากหลาย ๆ สถานี
3. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด Unit Question 6 มาทําการสื่อสารเพื่อรวบรวมขอมูลทั้งหมดแลววิเคราะหรวมกัน
• การวิเคราะหขอมูลเพื่อการคาดหมายลักษณะอากาศในอนาคต นักอุตุนิยมวิทยาจะรวมกันวิเคราะห
ขอมูลแนวโนมของสภาพอากาศในอนาคต จากนั้นจึงสรุปขอมูลเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธตาม
หนวยงานที่เกี่ยวของ
1 2 3
การตรวจอากาศ การสื่อสารเพื่อรวบรวม การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการคาดหมาย
ข้อมูลผลการตรวจอากาศ ลักษณะอากาศในอนาคต

ตรวจอากาศชั้นบน แผนที่อากาศ ตรวจอากาศ ตรวจอากาศ การพยากรณ


ชั้นบน ดวยเรดาร ดวยดาวเทียม อากาศ

ระบบการ แผนที่อากาศ คําแนะนํา


ตรวจอากาศผิวพื้น การพยากรณอากาศ
สื่อสาร ผิวพื้น
คําเตือน
ภาพที่ 6.27 แผนผังขั้นตอน
การพยากรณอากาศ แผนภูมิการ ระบบสถิติ พื้นที่
หยั่งอากาศ พยากรณ ขาว
ที่มา : คลังภาพ อจท.

วิธีการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณอากาศตองใชขอมูลทั้งในอดีตและปจจุบัน เพื่อนํามาวิเคราะหและคาดหมายสภาพอากาศ
ในอนาคต ซึง่ การวิธกี ารพยากรณอากาศมีหลายวิธขี นึ้ อยูก บั เกณฑทนี่ าํ มาใชเพือ่ ใหเหมาะสมกับสภาพอากาศ
แตละบริเวณ การพยากรณอากาศแบงออกเปน 2 แบบ ไดแก การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาใน
การพยากรณ และการพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของสภาพอากาศ
• การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการพยากรณ แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้
การพยากรณอากาศระยะสั้น

เปนการพยากรณอากาศใน
ระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง

102

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหนักเรียนเขียนสรุปเกี่ยวกับการพยากรณอากาศ โดยใหนักเรียน แผนทีอ่ ากาศระบุตวั เลขของความกดอากาศบริเวณหนึง่ เทากับ
จัดทําชิ้นงานลงในกระดาษ A4 เขียนสรุปออกมาในรูปแบบผังมโนทัศน ซึ่งสรุป 720 แสดงวาบริเวณดังกลาวมีความกดอากาศกี่มิลลิบาร
ประเด็นที่สําคัญ ดังนี้ 1. 72 มิลลิบาร
ï• ขั้นตอนการพยากรณอากาศ 2. 720 มิลลิบาร
ï• วิธีการพยากรณอากาศ 3. 972 มิลลิบาร
4. 1072 มิลลิบาร
5. 7200 มิลลิบาร
(วิเคราะหคําตอบ ความกดอากาศแตละบริเวณจะแสดงคาดวย
ตัวเลข 3 หลักบนแผนที่อากาศ ซึ่งมีหนวยเปนมิลลิบาร โดย
สามารถแปลความหมายได ดังนี้ หากตัวเลขมีคามากกวา 500
แปลความไดวาใหเติมเลข 9 ไวขางหนา แลวใสจุดทศนิยม 1
ตําแหนง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T108
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
การพยากรณอากาศ 4. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง
ระยะปานกลาง
การพยากรณ อ ากาศ เพื่ อ วั ด ความรู  ข อง
เปนการพยากรณอากาศใน นักเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรูนี้
ระยะเวลามากกวา 72 ชัว่ โมง 5. ถานักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนแลวได
จนถึง 10 วัน คะแนนตํ่าหรือไมสามารถตอบคําถามได ครู
อาจใหนกั เรียนศึกษาหรือสืบคนเนือ้ หาเพิม่ เติม
จากสื่อตางๆ ในประเด็นที่นักเรียนไมเขาใจ
จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายสรุปรวมกัน
พยากรณอากาศระยะนาน อี ก ครั้ ง ในการตอบคํ า ถามของแบบทดสอบ
หลังเรียน
เปนการพยากรณในอากาศ
ระยะเวลามากกวา 10 วัน
ขึน้ ไป เชน การสภาพอากาศ
ลวงหนารายเดือน รายสาม
เดือน หรือรายฤดูกาล

ภาพที่ 6.28 การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการพยากรณ


ที่มา : https://www.tmd.go.th/index.php
• การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของสภาพอากาศ แบงออกเปน 5 ชนิด ดังนี้
- การพยากรณอากาศดวยวิธีสภาพอากาศคงที่ (persistence forecast) เปนวิธีการพยากรณ โดยใช
หลักการวา “สภาพอากาศในอนาคตไมเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพอากาศในปจจุบัน” เหมาะสมกับ
สภาพอากาศที่เสถียร และมีการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศอยางชา ๆ
- การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม (trend method) หรือวิธีภาวะสมดุล (steady state method)
ใชสมมติฐานวา “ทิศทางและความเร็วของระบบอากาศพื้นผิวจะไมเปลี่ยนแปลง” ซึ่งเหมาะกับการ
พยากรณอากาศระยะสั้นมาก หรือการพยากรณอากาศปจจุบัน
- การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมาน (analogue method) เปนวิธีที่ใชในการเปรียบเทียบระหวาง
สภาพอากาศทีเ่ กิดในอดีตกับสภาพอากาศในปจจุบนั เพือ่ นํามาใชเปนแนวทางในการพยากรณอากาศ
ในอนาคต
- การพยากรณอากาศดวยวิธีภูมิอากาศ (climatological method) เปนวิธีที่ใชคาเฉลี่ยของสภาพ
ภูมิอากาศเปนเวลาหลายปมาวิเคราะหรวมกับสภาพอากาศในปจจุบัน
- การพยากรณอากาศดวยวิธเี ชิงตัวเลข (numerical weather prediction) เปนวิธกี ารพยากรณอากาศ
โดยใชแบบจําลองสภาพอากาศแบบตาง ๆ และประมวลผลโดยคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง
การพยากรณ์อากาศ 103

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


กรมอุตนุ ยิ มวิทยาออกประกาศวา “กรุงเทพมหานครมีปริมาณ ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุมแลวสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพยากรณ
ฝน 45 มิลลิเมตรตอ 24 ชัว่ โมง” แสดงวาฝนทีต่ กมีความแรงอยางไร อากาศจากแหลงขอมูลตางๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด ขาว จากนัน้ แตละกลุม
1. ฝนตกหนัก 2. ฝนตกหนักมาก อภิปรายแลกเปลีย่ นความรูซ งึ่ กันและกัน ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอ
3. ฝนตกเล็กนอย 4. ฝนตกปานกลาง หนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูที่ได
5. วัดปริมาณไมได
(วิเคราะหคําตอบ ประเทศไทยมีวิธีการในการวัดปริมาณฝนโดย
รายงานในหนวยมิลลิเมตรตอ 24 ชัว่ โมง สามารถพิจารณาได ดังนี้
นอยกวา 0.10 : ฝนตกเล็กนอยวัดปริมาณไมได
0.10 -10.00 : ฝนตกเล็กนอย
10.10 -35.00 : ฝนตกปานกลาง
35.10 -90.00 : ฝนตกหนัก
มากกวา 90.10 : ฝนตกหนักมาก ดังนั้น ตอบขอ1.)

T109
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน แผนที่อากาศ
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม การตรวจอากาศดวยเรดารจะนําขอมูลทีไ่ ดมาวิเคราะหเปนแผนทีอ่ ากาศ เพือ่ ใหนกั อุตนุ ยิ มวิทยาเห็นภาพ
การทํากิจกรรมกลุม การนําเสนอหนาชัน้ เรียน รวมของสภาวะอากาศแตละพืน้ ที่ โดยแผนทีอ่ ากาศแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก แผนทีอ่ ากาศผิวพืน้ (weather
3. ครูตรวจสมุดจดบันทึก map) และแผนที่ลมชั้นบน (upper winds map)
4. ครูตรวจชิ้นงานผังมโนทัศนจากกระดาษ A4
5. ครูตรวจรายงานเกี่ยวกับแผนที่อากาศ

ภาพที่ 6.29 แผนทีอ่ ากาศผิวพืน้


ทีม่ า : https://www.tmd.go.th/
index.php

Self Check
ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยพิจารณาขอความวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาขอความไมถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอที่กําหนดให
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. การตรวจวัดอากาศผิวพื้นทวีปจะตรวจวัดโดยใชสนามอุตุนิยมวิทยา 1.
2. ขั้นตอนในการพยากรณอากาศแบงออกเปน 4 ขั้นตอน 2.

ุด
3. การคาดหมายสภาพอากาศลวงหนารายเดือน เปนการพยากรณอากาศ 3.
สม
ใน
ระยะปานกลาง
ลง
ทึ ก
บั น

4. การเขียนแผนทีอ่ ากาศจะตองใชสญั ลักษณมาตรฐานทางอุตนุ ยิ มวิทยา 4.


5. แผนที่อากาศแบงเปน 2 ชนิด ไดแก แผนที่อากาศผิวพื้น และแผนที่ 4.
แนวตอบ Self Check ลมชั้นบน
104
1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ถูก

แนวทางการวัดและประเมินผล
ครูวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการพยากรณ
อากาศ โดยการตรวจชิน้ งานผังมโนทัศน เรือ่ ง ขัน้ ตอนการพยากรณอากาศ โดย
ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 การพยากรณอากาศ
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผังมโนทัศน์/แผ่นพับ/ป้ายนิเทศ/ผังสรุป
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................../..................
เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์/แผ่นพับ/ป้ายนิเทศ/ผังสรุป
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ความ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้องกับ
สอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็นจุดประสงค์เป็นส่วน จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
จุดประสงค์ ใหญ่
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

T110
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Question

U nit Question 6
คําชี้แจง : ให นั ก เรี ย นตอบคํ า ถามต อ ไปนี้
1. การพยากรณอากาศประกอบดวย 3 ขัน้ ตอน ดังนี้
1) การตรวจอากาศ
2) การสื่อสารเพื่อรวบรวมผลการตรวจอากาศ
3) การวิเคราะหขอ มูลเพือ่ การคาดหมายลักษณะ
1. การพยากรณอากาศประกอบไปดวยกี่ขั้นตอน อะไรบาง อากาศในอนาคต
2. การตรวจอากาศทําไดดวยวิธีการใด 2. การตรวจอากาศสามารถทําไดหลายวิธโี ดยแบง
ออกเปน 4 ระบบ ไดแก การตรวจอากาศผิวพืน้
3. การตรวจอากาศผิวพื้นแตกตางกับการตรวจอากาศชั้นบนอยางไร
การตรวจอากาศชั้นบน การตรวจอากาศดวย
4. อธิบายหลักการทํางานของเรดารตรวจวัดทิศทางและความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ดาวเทียม และการตรวจอากาศดวยเรดาร
5. เพราะเหตุใดการพยากรณอากาศจึงจําเปนตองใชขอมูลสภาพอากาศทั้งในอดีตและปจจุบัน 3. การตรวจอากาศผิวพื้นเปนการตรวจอากาศ
บริเวณพื้นผิวโลก สวนการตรวจอากาศชั้นบน
6. อธิบายการพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความเหมาะสมของสภาพอากาศ เปนการตรวจอากาศทีอ่ ยูส งู จากพืน้ ผิวโลกขึน้ ไป
7. การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการพยากรณสามารถแบงออกเปนกี่ชนิด อะไรบาง 4. เรดารมหี ลักการทํางาน คือ สงคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
พลังงานสูงออกไปตามรัศมีตรวจวัดผานทาง
8. การพยากรณอากาศรายชั่วโมง เปนการพยากรณอากาศแบบใด เสาอากาศ เมือ่ คลืน่ นีไ้ ปกระทบกับวัตถุใด ๆ คลืน่
9. การพยากรณอากาศดวยวิธีใดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการพยากรณอากาศปจจุบัน เพราะเหตุใด จะสะทอนกลับมายังตัวรับสัญญาณ
5. เพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหใหเกิดความคลาด-
10. แผนที่อากาศมีลักษณะเปนอยางไร
เคลื่ อ นของข อ มู ล น อ ยที่ สุ ด และนํ า ข อ มู ล ที่
11. แผนที่อากาศแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง วิเคราะหไดคาดหมายสภาพอากาศในอนาคต
12. อธิบายสัญลักษณ L และ H ในแผนที่อากาศ 6. การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑตามความ
เหมาะสมของสภาพอากาศ สามารถแบงออกเปน
13. แปลความหมายขอมูลสภาพอากาศ ดังนี้ 5 ชนิด ดังนี้
13.1 13.2 - การพยากรณอากาศดวยวิธสี ภาพอากาศคงที่
138 22 135 เปนวิธีการที่งายที่สุดในการพยากรณอากาศ
76 3 -3
55 20 เหมาะสําหรับสภาพอากาศทีเ่ สถียร และมีการ
เปลี่ยนแปลงอยางชาๆ
14. สัญลักษณใดในแผนที่อากาศแสดงถึงบริเวณที่มีหิมะตกหนัก - การพยากรณอากาศดวยวิธีแนวโนม เปนวิธี
15. การพยากรณอากาศมีผลตอการดําเนินชีวิตประจําวันของนักเรียนหรือไม อยางไร การพยากรณอากาศทีเ่ หมาะกับลักษณะอากาศ
ที่มีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลงทั้งการเคลื่อนที่
ทิศทาง ความเร็ว และความรุนแรง เปนวิธีที่
มักใชในการพยากรณอากาศระยะสั้น
- การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงอุปมา เปนวิธี
การพยากรณ์อากาศ 105
การที่ ใ ช ใ นการเปรี ย บเที ย บระหว า งสภาพ
อากาศที่เกิดขึ้นในอดีตกับสภาพอากาศใน
ปจจุบนั เพือ่ นํามาเปนแนวทางในการพยากรณ
อากาศในอนาคต
- การพยากรณอากาศดวยวิธภี มู อิ ากาศ เปนวิธที ใี่ ชคา เฉลีย่ ของสภาพ 11. แผนที่อากาศแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก แผนที่อากาศผิวพื้นและแผนที่
ภูมอิ ากาศเปนเวลาหลายปมาวิเคราะหรว มกับสภาพอากาศในปจจุบนั อากาศลมชั้นบน
- การพยากรณอากาศดวยวิธีเชิงตัวเลข เปนวิธีการพยากรณอากาศ 12. L หมายถึง ความกดอากาศตํา่ สวนสัญลักษณ H หมายถึง ความกดอากาศสูง
โดยใชแบบจําลองสภาพอากาศแบบตางๆ และประมวลผลดวย 13. จากภาพ สามารถแปลความหมายขอมูลได ดังนี้
คอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง 13.1 ในทองฟามีเมฆเกิน 9 สวน มีฝนเล็กนอย อุณหภูมิจุดนํ้าคาง 55 องศา
7. การพยากรณอากาศโดยใชเกณฑชวงเวลาในการพยากรณแบงออก เซลเซียส อุณหภูมอิ ากาศ 76 องศาเซลเซียส มีความกดอากาศ 1013.8
เปน 3 ชนิด ไดแก การพยากรณอากาศระยะสั้น การพยากรณอากาศ มิลลิบาร ความกดอากาศสูงขึ้น ลมพัดดวยอัตราเร็ว 15 นอต
ระยะปานกลาง และการพยากรณอากาศระยะนาน 13.2 ในทองฟามีเมฆเกิน 5 สวนมีฝนตกหนัก อุณหภูมิจุดนํ้าคาง 20 องศา
8. การพยากรณอากาศรายชั่วโมงเปนการพยากรณอากาศระยะสั้น เซลเซียส อุณหภูมอิ ากาศ 22 องศาเซลเซียส มีความกดอากาศ 1013.5
เนื่องจากเปนการพยากรณอากาศในระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง มิลลิบาร ความกดอากาศตํ่าลง ลมพัดดวยอัตราเร็ว 20 นอต
9. การพยากรณอากาศดวยวิธเี ชิงตัวเลขเปนการพยากรณอากาศทีด่ ที สี่ ดุ 14. คือ สัญลักษณ
ในปจจุบนั เนือ่ งจากเปนวิธกี ารพยากรณทใี่ ชแบบจําลองสภาพอากาศ 15. การพยากรณอากาศมีผลตอการดําเนินชีวิตประจําวัน ทําใหเราทราบสภาพ
แบบตางๆ มาประมวลผลดวยคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูง อากาศในแตละวัน เพือ่ นําไปวางแผนการดําเนินชีวติ เชน วางแผนการเดินทาง
10. แผนทีอ่ ากาศเปนแผนทีท่ แี่ สดงขอมูลทางอุตนุ ยิ มวิทยา โดยแสดงขอมูล วางแผนการทําการเกษตร
ออกมาในรูปแบบของตัวเลข รหัส หรือสัญลักษณมาตรฐานทางอุตนุ ยิ มวิทยา
T111
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวทางการทํากิจกรรม
Fun Science Activity
ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรม Fun Science Fun Sc ence
Activity เปนกิจกรรมที่เนนความสนุกสนานเพื่อ Activity
นําไปสูเ จตคติทดี่ ตี อ วิทยาศาสตร โดยครูใหนกั เรียน
ทํากิจกรรม เรื่อง เมฆในขวด ครูจะอธิบายถึงวัสดุ เมฆในขวด
อุปกรณที่ตองเตรียมมาใชในการทํากิจกรรม แลว
วัสดุและอุปกรณ์
อธิบายถึงวิธกี ารทํากิจกรรมในแตละขัน้ ตอนเพือ่ ให
1. ขวดพลาสติก 2 ใบ
นักเรียนมองเห็นภาพในการทํากิจกรรม และปฏิบตั ิ 2. ที่สูบลม 1 อัน
กิจกรรมในแตละกลุมไดอยางรวดเร็วขึ้น หลังจาก 3. ดินน�้ามัน 1 ก้อน
นั้นใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอผลการทํา 4. น�้าประปา 10 มิลลิลิตร
กิจกรรมหนาชัน้ เรียน จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกัน 5. แอลกอฮอล์ล้างแผล 10 มิลลิลิตร
สรุปผลที่ไดจากการทํากิจกรรมนี้ 1
วิธีท�า

1. ใส่แอลกอฮอล์ 10 มิลลิลิตร ลงในขวดพลาสติกใบที่ 1 แล้ว


กลิ้งขวดไปมาเพื่อให้แอลกอฮอล์สัมผัสผิวด้านในของขวด
2. วางขวดในแนวตั้ ง จั บ ขวดให้ มั่ น คง ใช้ ดิ น น�้ า มั น แทน 2
จุกยางอุดปากขวด แล้วใช้ทสี่ บู ลมสูบอากาศเข้าไปในขวดจน
ขวดเต่ง (ประมาณ 20 ครั้ง)
3. ดึงกระบอกสูบลมออกอย่างรวดเร็ว สังเกตผลที่เกิดขึ้น
ภายในขวด 3
4. ท�าการทดลองซ�า้ ข้อ 1.-3. แต่เปลีย่ นเป็นน�า้ แทนแอลกอฮอล์

การเกิดเมฆในขวด
ที่มา : www.stevespanglerscience.com
หลักการทางวิทยาศาสตร์

ขณะทีอ่ ดั ความดันอากาศเข้าไปในขวดพลาสติกจนอุณหภูมภิ ายในขวดสูงขึน้ ของเหลว (แอลกอฮอล์และน�า้ )


จะเกิดการระเหยกลายเป็นไอ ซึง่ เมือ่ น�ากระบอกสูบและจุกยางออกย่างรวดเร็ว แกสภายในขวดจะเกิดการขยาย
ตัวจนอุณหภูมภิ ายในขวดลดลงอย่างรวดเร็ว ท�าให้อากาศภายในขวดเย็นลง ไอน�า้ จึงควบแน่นกลายเป็นหยดน�า้
แล้วรวมตัวกันมีลกั ษณะเป็นเมฆลอยอยูใ่ นขวด ซึง่ เมือ่ ใช้แอลกอฮอล์จะสังเกตเห็นเมฆได้ชดั เจนกว่าเมือ่ ใช้นา�้
ทั้งนี้ เนื่องจากแอลกอฮอล์มีจุดเดือดต�่ากว่าน�้า จึงระเหยกลายเป็นไอได้เร็วกว่า

106

T112
บรรณานุ ก รม
กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. (2550). สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์ น�ำไปสู่การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
ชุติมา วัฒนะคีรี. (2549). กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
ถนัด ศรีบญุ เรือง. (ม.ป.ป.). กระบวนการเปลีย่ นแปลงของโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.
ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17.
กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์.
ปริชาติ เวชยนต์. (2558). หนังสือเสริมสร้างศักยภาพและทักษะรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพมหานคร: ไทยร่มเกล้า.
ปิแอร์ส, ไปโซนี. (2010). คู่มือท่องโลกวิทยาศาสตร์ ฉบับสมบูรณ์. แปลโดย สิรพัฒน์ ประโทนเทพ. กรุงเทพมหานคร:
มติชน.
มนต์อมร ปรีชารัตน์ และทวีศกั ดิ์ ภูช่ ยั . (ม.ป.ป.). หนังสือเสริมสร้างศักยภาพและทักษะรายวิชาเพิม่ เติม ฟิสกิ ส์ เล่ม 3 กลุม่ สาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2555). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1.
กรุงเทพมหานคร: องค์การค้าของ สกสค.
. (2559). พจนานุกรมศัพท์วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ สสวท. อังกฤษ-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์วัชรินทร์ พี.พี.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร:
ราชบัณฑิตยสถาน.
Chew, C.; Foong, Chow S.; & Yew, Kong K. (n.d.) Discover Physics. Singapore: Marshall Cavendish Education.
Heyworth, Rex M. (n.d.) Science For Lower Secondary Volume A. Singapore: Pearson Education south Asia.
. (n.d.) Science For Lower Secondary Volume B. Singapore: Pearson Education south Asia.
Mark Maslin. (n.d.) Climate Change: A Very Short Introduction. United States of America: University of oxford.
Sally, D.; & Baxter, N. (n.d.) 1001 Questions And Answers. England: Bookmart Limited.
Robert E. Krebs. (n.d.) The Basics of Earth Science. United States of America: Greenwood Publishing Grou

T113
บั น ทึ ก

....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................

T114
สร้างอนาคตเด็กไทย
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก ĔïðøąÖĆîÙčèõćóÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšøć÷üĉßćđóĉęöđêĉö
ĀîĆÜÿČĂđøĊ÷îøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ēúÖǰ éćøćýćÿêøŤǰ ĒúąĂüÖćýǰ ßĆĚîöĆí÷ö

คู่มือครู
ýċÖþćðŘìĊęǰ  đúŠöǰ êćöñúÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÖúŠčöÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎšüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ÞïĆïðøĆïðøčÜǰóýǰ
 ǰêćöĀúĆÖÿĎêøĒÖîÖúćÜÖćøýċÖþć×ĆîĚ óČîĚ åćîǰóčìíýĆÖøćßǰǰđúŠöîĊǰĚ ïøĉþìĆ ǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆéǰ
đðŨîñĎÝš ĆéóĉöóŤđñ÷ĒóøŠĒúąÝĞćĀîŠć÷ǰēé÷ĕéšÝĆéìĞćÙĞćĂíĉïć÷øć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęöĊìĆĚÜñúÖćøđøĊ÷îøĎǰš ÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎš
đóĉęöđêĉöĒúąĂÜÙŤðøąÖĂïÿĞćÙĆâĂČęîìĊęÿĞćîĆÖóĉöóŤÝĆéìĞć×ċĚîǰ đóČęĂĔĀšÿëćîýċÖþćĕéšđìĊ÷ïđÙĊ÷ÜÖĆïĀúĆÖÿĎêø×ĂÜ
ÿëćîýċÖþćĒúąóĉÝćøèćđúČĂÖĔßšĀîĆÜÿČĂîĊĚðøąÖĂïÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ĔĀšÿĂéÙúšĂÜÖĆïĀúĆÖÿĎêøÿëćîýċÖþć
×ĂÜêîĕéšêćöÙüćöđĀöćąÿö

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒà¾ÔèÁàµÔÁÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ âÅ¡ ´ÒÃÒÈÒʵÏ áÅÐÍÇ¡ÒÈ Á.5 àÅ‹Á 2


ǰ ǰ ñĎšđøĊ÷ïđøĊ÷Üǰ ǰ øý éøÿćÖúǰǰÿëĉêüĉì÷ćîĆîìŤ
ǰ ǰ ǰ ǰ éøðøĉßćêĉǰǰđüß÷îêŤ
ǰ ǰ ñĎšêøüÝǰ ǰ øý éøóĆîíŤìĉó÷ŤǰǰÝÜēÖø÷
ǰ ǰ ǰ ǰ ñý éøĂćøĊ÷ćǰǰđĂĊę÷öïĎŠ
ǰ ǰ ǰ ǰ éøóĎîýĆÖéĉĝǰǰĕöšēõÙìøĆó÷Ť
ǰ ǰ ǰ ǰ éøßößĉéǰǰóøĀöÿĉî
ǰ ǰ ǰ ǰ éøüĉßčéćǰǰïčâ÷øĆêÖúĉî
ǰ ǰ ïøøèćíĉÖćø ǰ îć÷ÿöđÖĊ÷øêĉǰǰõĎŠøąĀÜþŤ
ǰ ǰ ǰ ǰ îćÜÿćüüøćõøèŤǰǰìšüöéĊ
ïøĉ þĆ ì ǰ ĂĆ Ö þøđÝøĉ â ìĆ ý îŤ ǰ ĂÝìǰ ÝĞ ć ÖĆ é ǰ ×ĂøĆ ï øĂÜüŠ ć ǰ ñĎš đøĊ ÷ ïđøĊ ÷ Üǰ ñĎš ê øüÝǰ Ēúąïøøèćíĉ Ö ćøǰ
éĆÜÖúŠćüǰđðŨîñĎìš öĊę ÙĊ üćöøĎÙš üćöÿćöćøëĔîÖćøÝĆéìĞćĀîĆÜÿČĂîĊĔĚ ĀšöÙĊ üćöëĎÖêšĂÜǰĒúąöĊÙè č õćóĔîÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎš
êćöüĆêëčðøąÿÜÙŤ×ĂÜøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęÖĞćĀîé
ĀćÖñĎšĔßšĀîĆÜÿČĂĀøČĂÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćîóïüŠćǰĀîĆÜÿČĂđúŠöîĊĚöĊךĂïÖóøŠĂÜǰ
đîČĚĂĀćĕöŠëĎÖêšĂÜǰ đÖĉéñúđÿĊ÷Āć÷êŠĂÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÿŠÜñúÖøąìïìĆĚÜéšćîÙčèíøøöǰ Ýøĉ÷íøøöǰ ĒúąÙüćööĆęîÙÜ
×ĂÜßćêĉǰ đöČęĂïøĉþĆìĄǰĕéšìøćïĒúšüǰïøĉþĆìĄǰ÷ĉîéĊÜéÖćøÝĞćĀîŠć÷ìĆîìĊǰ ĒúąđøĊ÷ÖđÖĘïĀîĆÜÿČĂìĊęÝĞćĀîŠć÷ìĆĚÜĀöé
đóČęĂĒÖšĕ×ĔĀšëĎÖêšĂÜǰêúĂéÝîßéĔßšÙŠćđÿĊ÷Āć÷ìĊęđÖĉé×ċĚîÝøĉÜĔĀšÖĆïñĎšìĊęĕéšøĆïÙüćöđÿĊ÷Āć÷îĆĚîǰìĆĚÜîĊĚǰĔĀšđðŨîĕðêćö
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰóýǰǰóøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ  ǰóýǰǰĒúą
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ  ǰóýǰǰøüöìĆĚÜ÷ĉî÷ĂöĔĀšÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć
×ĆĚîóČĚîåćîëĂéëĂîøć÷ßČęĂĀîĆÜÿČĂîĊĚĂĂÖÝćÖïĆâßĊÖĞćĀîéÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšÿĞćĀøĆïđúČĂÖĔßšĔîÿëćîýċÖþćĕðÖŠĂî
ÝîÖüŠćÝąĕéšøĆïĒÝšÜüŠćöĊÖćøĒÖšĕ×ĒúšüǰóøšĂöìĆĚÜÖćøĒÝšÜðøąßćÿĆöóĆîíŤĔĀšÿëćîýċÖþćìøćï

ǰ ǰ
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ îć÷ßĆ÷èøÜÙŤ úĉöðşÖĉêêĉÿĉî
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ÖøøöÖćøñĎšÝĆéÖćøǰïøĉþĆìǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆé

òāñöăÙāċíăēðċäăðčôÐãāòā÷āùäòŞ ČôÿüöÐā÷ðċôŚðISBN  : 978 - 616 - 203 - 803 - 7


นร.โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.5 ล.2
êÐúôĀÖ úèĀÖùĆüċòĄñè.....................................................................................................................................................................................
บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
บริโทร./แฟกซ์
ษทั อักษรเจริญทัศน์2999
0 2622 อจท.(อัจำกั ดติ 20 คูส
ตโนมั ่ าย)
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร
www.aksorn.com AksornกรุงACT
เทพมหานคร 10200 9 786162 038037
โทร./แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส ่ าย) www.aksorn.com 72.-

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท.
คู่มือครู นร.โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.5 ล.2

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 8 858649 144256

ID Line : @aksornkrumattayom
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
www.aksorn.com
่ าย)
อักษรเจริญทัศน์ อจท.
300.-
ราคานีเ้ ป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like