You are on page 1of 114

คู่มือครู

Teacher Script

โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม. 6
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
ตามผลการเรียนรู เล่ม 2
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


ดร.มติพล ตั้งมติธรรม ดร.วาสุเทพ หลวงทิพย รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม
นายธีรยุทธ ลอยลิบ
นายบุญญฤทธิ์ ชุนหกิจ

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นางสาวชุลีพร สุวัฒนาพิบูล นางสาววราภรณ ทวมดี
นางสาววรรษมล เสนาะคํา นางสาวกนกพร วิลัยศิลป
นางสาววริษา ปานเจริญ

พิมพครั้งที่ 3
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 3648018
ค� ำ แนะน� ำ กำรใช้
คู ่ มื อ ครู ร ายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.6 เล่ม 2 เล่มนี้ จัดท�าขึ้นส�าหรับให้ครู
ผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบาย
ของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ช่วยสร้างความเข้าใจ เพื่อใช้คู่มือครูได้


เพ
อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)
ิ่ม กระตุน ความสนใจ (Engagement)

เพ คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบข่ายเนื้อหาสาระของรายวิชา 1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ

ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรก�าหนด
วัดความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูบทเรียน
2. ครูตั้งคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน หนวยการเรียนรู้ที่
ทรงกลมฟา
ิ่ม
หรือใชคําถาม ดังตอไปนี้
• เมือ่ นักเรียนสังเกตดวงดาวบนทองฟาจะเห็น
วาดาวเคลื่อนที่ เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น 4
เพ Pedagogy ช่วยสร้างความเข้าใจในกระบวนการออกแบบ
(แนวตอบ เพราะโลกหมุนรอบตัวเอง) วัตถุทองฟ้านั้นมีการเคลื่อนที่ขึ้นและตกจากขอบฟ้า เราสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ
• เพราะเหตุใดในเวลาเดียวกันของแตละฤดู ท้องฟ้าได้งา่ ยขึน้ โดยการใช้แนวคิดของทรงกลมฟ้า ซึง่ เป็นทรงกลมสมมติทวี่ ตั ถุทอ้ งฟ้าอาศัยอยู่
จึงเห็นดาวตางกัน การหมุนของทรงกลมนี้เองเป็นสิ่งที่ท�าให้วัตถุท้องฟ้าเคลื่อนที่รอบ ๆ ตัวเรา
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้อย่างมี (แนวตอบ โลกโคจรรอบดวงอาทิตย)
• ดาวบนทองฟาอยูห า งจากโลกเทากันทุกดวง
ประสิทธิภาพ หรือไม ดวงจันทร์และดวงดาวมีการขึ้น
และตกเหมือนดวงอาทิตย์หรือไม
(แนวตอบ ไมเทากัน) และมีการขึ้นและตกในทิศทางใด
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาข อ ความในตาราง

ิ่ม Teacher Guide Overview ช่วยให้เห็นภาพรวมของการ


Check for Understanding จากหนังสือเรียน

เพ ตามความเขาใจของนักเรียนเพื่อวัดความรู
เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับหนวยการเรียนรูที่ 4
จั ด การเรี ย นการสอนทั้งหมดของรายวิชาก่อนที่จะลงมือ ทรงกลมฟา

สอนจริง
Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
ิ่ม
เพ Chapter Overview ช่วยสร้างความเข้าใจและเห็นภาพรวม
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ทรงกลมฟา คือ ทรงกลมสมมติขนาดใหญที่มีรัศมีอนันต โดยมีโลกเปนจุดศูนยกลางของทรงกลม
พิกัดของวัตถุทองฟาในระบบศูนยสูตรจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและตําแหนงของผูสังเกต
ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วย เสนขอบฟา คือ ระนาบที่ตั้งฉากกับจุดเหนือศีรษะของผูสังเกต
คาไรตแอสเซนชันเปนมุมวัดตามแนวเสนศูนยสูตรไปทางทิศตะวันออก โดยเริ่มจากจุดศารทวิษุวัตไปจนถึงเสนที่บอกมุมชั่วโมง
ของดาว
แนวตอบ Check for Understanding ผูสังเกตที่จังหวัดอุบลราชธานี (ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก) จะเห็นดวงอาทิตยผานเมริเดียนหลังกรีนิช 7 ชั่วโมง

ิ่ม 1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก

เพ Chapter Concept Overview ช่วยให้เ ห็นภาพรวม 4. ผิด 5. ผิด

Concept และเนื้อหาส�าคัญของหน่วยการเรียนรู้ เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• การที่เห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาวมีการขึ้นและตกจาก
การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ทรงกลมฟาและลูกโลก ครูควรใหนักเรียนรู
ขอบฟานัน้ เปนผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ซึง่ ทัง้ ดวงอาทิตย
ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม ถึงความสําคัญของสิ่งที่นักเรียนกําลังจะไดศึกษา เพื่อที่นักเรียนจะไดนําความรู
ดวงจันทร และดวงดาวมีการขึ้นและตกจากขอบฟาเหมือนกัน โดยขึ้น
เพ ที่ไดไปใชในการอธิบายเชื่อมโยงกับชีวิตประจําวัน โดยครูชักชวนนักเรียน
พูดคุยเกีย่ วกับการขึน้ และตกของดวงอาทิตยวา มีลกั ษณะการขึน้ และตกอยางไร
จากขอบฟาทางทิศตะวันออกและลับขอบฟาทางทิศตะวันตก แตสิ่งที่
ตางกัน คือ ตําแหนงที่อยูบนทองฟา
ความพร้อมของผู้เรียนสู่การสอนในระดับต่าง ๆ แลวแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และครูอาจใชคําถาม Big Question ในการ
ถามนักเรียนเพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะหวา ดวงจันทรและดวงดาวมีการขึ้นและ
ตกเหมือนดวงอาทิตยหรือไมและมีการขึ้นและตกในทิศทางใด โดยครูทิ้งชวง
ใหนักเรียนคิด แลวใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นโดยที่ครูยังไมเฉลยวา โซน 3
ิ่ม st คําตอบนั้นถูกหรือผิด
เพ กิจกรรม 21 Century Skills กิจกรรมที่จะช่วยพัฒนา
ผู้เรียนให้มีทักษะที่จ�าเปนส�าหรับการเรียนรู้และการด�ารงชีวิต โซน 2
ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 T6

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


กำรเรียนกำรสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน โดยประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์สา� หรับครู
โดยแนะน�าขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอย่างละเอียด เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู้ เกร็ดแนะครู
ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด
น�ำ สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรม และอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรูเ้ พิม่ เติมจากเนือ้ หา ส�าหรับอธิบายเสริมเพิม่ เติมให้กบั นักเรียน
โดยใช้ หนังสือเรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.6 เลม 2 และแบบฝกหัด
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.6 เลม 2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท.
จ�ากัด เป็นสือ่ หลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชีว้ ดั ของกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้มีองค์ประกอบที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ สอน
สํารวจคนหา (Exploration)
Key Question
ทรงกลมฟาคืออะไร 1. ทรงกลมฟ้าและลูกโลก 1. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ ประกอบด้วยแนวทางส�าหรับจัดกิจกรรมและเสนอแนะ
เรียน โดยครูทิ้งชวงใหนักเรียนคิด แลวให
และมีสว นประกอบ
อะไรบาง
หากสังเกตท้องฟ้าในยามค�่าคืน จะพบว่าดวงอาทิตย์
ดวงจั น ทร์ และดวงดาว มี ก ารเคลื่ อ นที่ ขึ้ น และตกไปตาม นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นโดยที่ครูยัง
ไมเฉลยวาคําตอบนั้นถูกหรือผิด
แนวข้อสอบ เพื่ออ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผู้สอน
กาลเวลา มนุษย์ในยุคโบราณแทบทุกอารยธรรมมักจะเชื่อว่า การเคลื่อนที่ขึ้นและตกของ
วัตถุท้องฟ้าเป็นกลไกของเทพเจ้าหรือสรวงสวรรค์ แต่ในปัจจุบันสามารถอธิบายได้ว่า การที่เห็น 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 4-5 คน
คละกันตามความสามารถ คือ เกง ปานกลาง
กิจกรรม 21st Century Skills
วัตถุท้องฟ้าเคลื่อนที่นั้นที่จริงแล้ววัตถุท้องฟ้าไม่ได้เคลื่อนที่ แต่เป็นเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง
ถึงแม้ว่าการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้านั้น แท้จริงแล้วมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก คอนขางเกง ปานกลางคอนขางออน และออน
แต่สา� หรับผูส้ งั เกตบนโลก สิง่ ทีม่ นุษย์ในยุคโบราณสังเกตก็คอื การทีว่ ตั ถุทอ้ งฟ้ารอบ ๆ ตัวหมุนไป แลวใหนกั เรียนรวมกันศึกษา เรือ่ ง ทรงกลมฟา
พร้อม ๆ กัน ประหนึง่ ว่ามีทรงกลมขนาดใหญ่ทพี่ าดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว เคลือ่ นทีไ่ ป
พร้อมทรงกลม เราเรียกทรงกลมนี้ว่า ทรงกลมฟ้า (celestial sphere)
ส�าหรับการเคลื่อนที่ขึ้นและตกของดวง ขั้วฟ้าเหนือ
จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน
อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้าใหนักเรียนเลือก กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาสร้าง
ศึกษาจากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ
อาทิตย์ เราทราบกันอยู่แล้วว่าดวงอาทิตย์น้ัน
ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
และถ้าใช้เวลาสังเกตท้องฟ้าใน 1 วัน เราจะ
3. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตใหแตละกลุม กลุม ละ
1 แผน แลวใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุป
ชิ้นงานหรือท�ากิจกรรมรวบยอด เพื่อให้เกิดทักษะที่จ�าเป็น
พบว่า ดวงจันทร์ ดวงดาว และดาวเคราะห์
ต่าง ๆ ก็ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศ
ความรูที่ศึกษาไดโดยจัดทําเปนอินโฟกราฟก
เรือ่ ง ทรงกลมฟา โดยครูคอยใหคาํ แนะนําและ
ในศตวรรษที่ 21
ตะวั น ตกเช่ น เดี ย วกั บ ดวงอาทิ ต ย์ หากเรา ตรวจสอบความถูกตองของชิ้นงาน
พยายามจะอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ขอสอบเนนการคิด
วัตถุทั้งหมดถือว่าเป็นเรื่องที่ซับซ้อน แต่ถ้าเรา เส้นศูนย์สตู รฟ้า
จินตนาการว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ดวงดาวเป็นเพียงวัตถุที่อยู่บนทรงกลมเสมือน
ขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบตัวเราจะสามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์ทั้งหมดได้อย่างง่ายดาย เพื่อ
ที่ จ ะอธิ บ ายถึ ง ทรงกลมฟ้ า ให้ เ ข้ า ใจได้ ง ่ า ย ขั้วฟ้าใต้
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
เราควรเริ่ ม จากการเอาส่ ว นต่ า ง ๆ ออกไป
ให้เหลือเพียงทรงกลมฟ้า
ภาพที่ 4.1 ทรงกลมฟ้าเป็นทรงกลมสมมติขนาดใหญ่ที่
ห่อหุ้มโลกกับตัวเราเอาไว้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เฉลยอย่างละเอียด
ภาพที่ 4.2 เส้นแสงดาวแสดงการเคลือ่ นทีข่ องดาว ถ่ายได้โดยการเปิดหน้ากล้องทิง้ ไว้นาน ๆ จะพบว่าดวงดาวบนท้องฟ้า
จะมีการหมุนไปรอบ ๆ จุดจุดหนึ่ง ราวกับว่าทั้งท้องฟ้าเป็นทรงกลมขนาดใหญ่ที่หมุนไปรอบ ๆ แกนหมุนของโลก

ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

แนวตอบ Key Question


ทรงกลมฟา คือ ทรงกลมสมมติขนาดใหญทหี่ อ หุม
ผูสังเกตเอาไว โดยโลกเปนจุดศูนยกลางของทรง ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์และสอดคล้องกับ
กลมฟา มีสว นประกอบ ไดแก ขัว้ ฟาเหนือ ขัว้ ฟาใต
3
แนวข้อสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง
ทรงกลมฟ้า

เสนศูนยสูตรฟา เสนขอบฟา และจุดเหนือศีรษะ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู ละเอียด


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับทรงกลมฟา กอนเขาสูก ารเรียนการสอน เรือ่ ง ทรงกลมฟา ครูอาจทบทวนความรูเ กีย่ วกับ
1. การเคลื่อนที่ของทรงกลมฟาเกิดจากการหมุนรอบตัวเอง
ของโลก
2. ดาวฤกษแตละดวงจะเคลือ่ นทีไ่ ปคนละทิศทางกับทีผ่ สู งั เกต
การขึ้นและตกของดวงอาทิตยวา จากการที่โลกหมุนรอบตัวเองในลักษณะที่
แกนโลกเอียง พรอมกับโคจรไปรอบๆ ดวงอาทิตยโดยมีดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง กิจกรรมทาทาย
ของระบบสุริยะ ซึ่งสิ่งที่สังเกตไดเปนการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตยไมใช
เห็นทรงกลมฟาหมุน
3. ทุกคนบนโลกมองเห็นทรงกลมฟาเปนทรงกลมเดียวกัน
การเคลื่อนที่แทจริงที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
แตอาจจะมีสวนที่ถูกบดบังไมเหมือนกัน
โซน 3
4. ดาวตางๆ เปนเพียงวัตถุหนึ่งบนทรงกลมฟา และวัตถุ
ตางๆ นั้นเคลื่อนที่ไปเนื่องจากการหมุนของโลก
ที่เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วและต้องการท้าทายความสามารถใน
5. ทรงกลมฟาเปนเพียงทรงกลมในอุดมคติเทานั้น ดาวฤกษ
ที่ปรากฏบนทรงกลมฟาจึงไมไดอยูหางจากโลกเปนรัศมี
ระดับที่สูงขึ้น
เทากันจริงๆ
(วิเคราะหคําตอบ ทรงกลมฟาเปนทรงกลมเสมือนที่ดาวฤกษทุก โซน 2
ดวงเคลื่อนที่ไปพรอมๆ กับที่เราสังเกตเห็นทรงกลมฟาหมุนไป กิจกรรมสรางเสริม
รอบๆ แกนหมุนของโลก ดังนั้น ตอบขอ 2.)
T7
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียนที่
ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมินผล


ค�าอธิบายหรือข้อเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวังหรือข้อควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุ ผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของ
ตามเนื้อหาในบทเรียน นักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ทีห่ ลักสูตรก�าหนด
สื่อ Digital
แนะน�าแหล่งเรียนรู้และแหล่งค้นคว้าจากสื่อ Digital ต่าง ๆ
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายส่วนประกอบบนทรงกลมฟ้า การระบุตำ� แหน่งบนทรงกลมฟ้า การเคลื่อนที่ปรากฏของ


ดวงอาทิตย์และดวงดาว เวลาสุริยคติ มุมห่างและต�ำแหน่งของดาวเคราะห์ในวงโคจร การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์
วงในและดาวเคราะห์วงนอก เทคโนโลยีกับการส�ำรวจอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์
การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้อง

ผลการเรียนรู้
1. ส ร้างแบบจ�ำลองทรงกลมฟ้า สังเกตและเชื่อมโยงจุดและเส้นส�ำคัญของแบบจ�ำลองทรงกลมฟ้ากับท้องฟ้าจริง และ
อธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟ้า และระบบศูนย์สูตร
2. สังเกตท้องฟ้าและอธิบายเส้นทางการขึ้น การตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์
3. อธิบายเวลาสุรยิ คติปรากฏ โดยรวบรวมข้อมูลและเปรียบเทียบเวลาขณะทีด่ วงอาทิตย์ผา่ นเมริเดียนของผูส้ งั เกตในแต่ละวัน
4. อธิบายเวลาสุริยคติปานกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก
5. อธิบายมุมห่างทีส่ มั พันธ์กบั ต�ำแหน่งในวงโคจร และอธิบายเชือ่ มโยงกับต�ำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ทสี่ งั เกตได้จากโลก
6. สบื ค้นข้อมูล อธิบายการส�ำรวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลืน่ ต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานี
อวกาศ และน�ำเสนอแนวคิดการน�ำความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันหรือในอนาคต
7. สืบค้นข้อมูล ออกแบบ และน�ำเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าและ/หรือกล้องโทรทรรศน์
รวม 7 ผลการเรียนรู้
Pedagogy

คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.6 เล่ม 2 รวมถึงสือ่ การเรียนรูร้ ายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้น ม.6 ผู้จัดท�ำได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็น
วิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามผลการเรียนรู้ รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียนทีห่ ลักสูตรก�ำหนดไว้
โดยครูสามารถน�ำไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม ส�ำหรับ Pedagogy หลักที่น�ำมาใช้ออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ประกอบด้วย

รูปแบบการสอน Concept Based Teaching

ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ ขั้นเข้าใจ

1 Prior Knowledge 2 Knowing 3 Understanding 4 Doing

ขั้นรู้ ขั้นลงมือท�ำ

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เนื่องจากความรู้วิทยาศาสตร์


ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการและความคิดรวบยอดต่าง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ ดังนั้น Concept
Based Teaching เป็นการจัดการเรียนการสอนทีน่ ำ� พาผูเ้ รียน เพือ่ ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจ มีทกั ษะ และเกิดความคิดรวบยอด
ผลของการจัดการเรียนการสอนในลักษณะนี้ จะท�ำให้ผู้เรียนได้ความรู้และมีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซึ่งจะเป็น
ทักษะส�ำคัญติดตัวผู้เรียนไปตลอดชีวิต

วิธีสอน (Teaching Method)

เลือกใช้วธิ กี ารสอนทีห่ ลากหลาย เช่น อุปนัย นิรนัย การสาธิต การทดลอง แบบแก้ปญั หา แบบบรรยาย ซึง่ สนับสนุน
การจัดการเรียนการสอนแบบ Concept Based Teaching ที่ทำ� ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ท�ำให้ได้ความคิดรวบยอด
ที่ส�ำคัญ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิทยาศาสตร์อย่างถ่องแท้

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

เลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เช่น การใช้คำ� ถาม การใช้ตวั อย่างกระตุน้ ความคิด
การใช้สอื่ การเรียนรูท้ นี่ า่ สนใจ เพือ่ ส่งเสริมวิธกี ารสอนและรูปแบบการสอนให้มปี ระสิทธิภาพในการจัดการเรียนรูใ้ ห้มากยิง่ ขึน้
ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขและสามารถฝึกฝนทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้
Teacher Guide Overview
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.6 เล่ ม 2
หน่วย
ผลการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

4 1. ส ร้างแบบจ�ำลองทรงกลมฟ้า
สังเกตและเชื่อมโยงจุดและ
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการวัด
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- แบบทดสอบหลังเรียน
ทรงกลมฟ้า เส้นส�ำคัญของแบบจ�ำลอง - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจแบบฝึกหัด - หนังสือเรียนรายวิชา
ทรงกลมฟ้ากับท้องฟ้าจริง และ - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงาน เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และ
อธิบายการระบุพิกัดของดาว - ทักษะการสร้าง - ประเมินการปฏิบัติกิจกรรม เทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์
ในระบบขอบฟ้า และระบบ แบบจ�ำลอง การหมุนของทรงกลมฟ้า และอวกาศ ม.6 เล่ม 2
ศูนย์สูตร - ทักษะการท�ำงาน 20 - ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
2. สังเกตท้องฟ้าและอธิบาย ร่วมกัน ชั่วโมง - ประเมินการปฏิบัติกิจกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เส้นทางการขึ้น การตกของ - ทักษะการจัดกระท�ำ การประมาณละติจูดที่เราอยู่ โลก ดาราศาสตร์ และ
ดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ และสื่อความหมาย - ตรวจและประเมินแบบจ�ำลอง อวกาศ ม.6 เล่ม 2
ข้อมูล - สังเกตและประเมินการน�ำเสนอ - ใบงาน
ชิ้นงานสรุปความรู้ตามที่ได้รับ - PowerPoint
มอบหมาย - QR Code
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig

5 3. อ ธิบายเวลาสุริยคติปรากฏ โดย
รวบรวมข้อมูลและเปรียบเทียบ
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการวัด
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- แบบทดสอบหลังเรียน
การเคลื่อนที่ เวลาขณะที่ดวงอาทิตย์ผ่าน - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจแบบฝึกหัด - หนังสือเรียนรายวิชา
ปรากฏของ เมริเดียนของผูส้ งั เกตในแต่ละวัน - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงาน เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และ
ดาวเคราะห์ 4. อธิบายเวลาสุริยคติปานกลาง - ทักษะการใช้จ�ำนวน - ประเมินการปฏิบัติกิจกรรม เทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์
และการเปรียบเทียบเวลาของ - ทักษะการท�ำงาน การเคลื่อนที่วกกลับของ และอวกาศ ม.6 เล่ม 2
แต่ละเขตเวลาบนโลก ร่วมกัน 8 ดาวอังคาร - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
5. อธิบายมุมห่างที่สัมพันธ์กับ - ทักษะการจัดกระท�ำ ชั่วโมง - ประเมินการปฏิบัติกิจกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ต�ำแหน่งในวงโคจร และอธิบาย และสื่อความหมาย คาบดาราคติและคาบซินอดิก โลก ดาราศาสตร์ และ
เชื่อมโยงกับต�ำแหน่งปรากฏ ข้อมูล - สังเกตและประเมินการน�ำเสนอ อวกาศ ม.6 เล่ม 2
ของดาวเคราะห์ที่สังเกตได้ ชิ้นงานสรุปความรู้ตามที่ได้รับ - ใบงาน
จากโลก มอบหมาย - PowerPoint
- QR Code

6 6. ส ืบค้นข้อมูล อธิบายการส�ำรวจ
อวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการทดลอง
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- แบบทดสอบหลังเรียน
เทคโนโลยี ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ - ทักษะการค�ำนวณ - ตรวจแบบฝึกหัด - หนังสือเรียนรายวิชา
อวกาศกับ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานี - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจใบงาน เพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และ
การประยุกต์ใช้ อวกาศ และน�ำเสนอแนวคิด - ทักษะการวิเคราะห์ - ประเมินการปฏิบัติกิจกรรม เทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์
การน�ำความรู้ทางด้าน - ทักษะการท�ำงาน การสังเกตการณ์ท้องฟ้า และอวกาศ ม.6 เล่ม 2
เทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ ร่วมกัน
ในชีวิตประจ�ำวันหรือในอนาคต - ทักษะการจัดกระท�ำ 12 - สังเกตและประเมินการน�ำเสนอ
ชิ้นงานสรุปความรู้ตามที่ได้รับ
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
ชั่วโมง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7. สืบค้นข้อมูล ออกแบบ และ และสื่อความหมาย มอบหมาย
น�ำเสนอกิจกรรมการสังเกตดาว ข้อมูล โลก ดาราศาสตร์ และ
บนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าและ/ อวกาศ ม.6 เล่ม 2
หรือกล้องโทรทรรศน์ - ใบงาน
- PowerPoint
- QR Code
- ภาพยนตร์สารคดีสั้นTwig
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ทรงกลมฟำ T2 -T3 T4 -T5 T6

• ทรงกลมฟาและลูกโลก T7-T15
• พิกัดท้องฟา T16 -T25
• การกําหนดเวลาบนโลก T26- T30
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 T31-T39

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กำรเคลื่อนที่ปรำกฏของดำว T40 T41 T42


เครำะห์์

• การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ T43- T45


• มุมห่างและคาบการโคจรของดาวเคราะห์ T46- T50
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 T51 - T55

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เทคโนโลยีอวกำศกับกำร T56 T57 - T59 T60


ประยุกต์ใช้

• เทคโนโลยีอวกาศกับการสํารวจอวกาศ T 61- T91


• เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ T 92
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 T93-T100

Fun Science Activity T101


ภำคผนวก T102-T105
บรรณำนุกรม T106
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายลักษณะของ 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
ทรงกลมฟ้า - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ทรงกลมฟ้าได้ (K) Instructional ก่อนเรียน - ทักษะการวัด - ใฝ่เรียนรู้
และลูกโลก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. อธิบายปรากฏการณ์ที่ Model - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นในการ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สังเกตได้เมื่อผู้สังเกตอยู่ - ตรวจใบงาน - ทักษะการวิเคราะห์ ท�ำงาน
5 ม.6 เล่ม 2 บริเวณต่าง ๆ ของโลก - ประเมินการปฏิบัติ - ทักษะการสร้าง
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม ได้ (K) กิจกรรมการหมุน แบบจ�ำลอง
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. สร้างแบบจ�ำลองของ ของทรงกลมฟ้า - ทักษะการท�ำงาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ทรงกลมฟ้าได้ (P) - ประเมินการปฏิบัติ ร่วมกัน
ม.6 เล่ม 2 4. สามารถน�ำความรู้ เรื่อง กิจกรรมการประมาณ
- ใบงาน ทรงกลมฟ้า มาใช้ในการ ละติจูดที่เราอยู่
- PowerPoint ประมาณละติจูดที่เราอยู่ - ตรวจแบบจ�ำลอง
- QR Code ได้ (A) ทรงกลมฟ้า
5. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ - ตรวจอินโฟกราฟิก
และมุ่งมั่นในการท�ำงาน เรื่อง ทรงกลมฟ้า
(A) - ตรวจชิ้นงาน
อินโฟกราฟิก
เรื่อง ปรากฏการณ์
ที่สังเกตได้เมื่อ
ผู้สังเกตอยู่บริเวณ
ต่าง ๆ ของโลก
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายพิกัดขอบฟ้าและ 5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
พิกัดขอบฟ้า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่วนประกอบส�ำคัญของ Instructional - ต รวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ พิกัดขอบฟ้าได้ (K) Model - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
3 ม.6 เล่ม 2
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
2. จัดท�ำผังมโนทัศน์ได้
อย่างถูกต้องและเป็น
ผังมโนทัศน์
เรื่อง พิกัดขอบฟ้า
- ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน
ท�ำงาน
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล�ำดับขั้นตอน (P) - ทักษะการ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ จัดกระท�ำและ
ม.6 เล่ม 2 และมุ่งมั่นในการท�ำงาน สื่อความหมาย
- ใบงาน (A) ข้อมูล
- PowerPoint
- QR Code
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายพิกัดศูนย์สูตรและ แบบเน้น - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
พิกัดศูนย์สูตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่วนประกอบส�ำคัญของ มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ พิกัดศูนย์ได้ (K) (Concept - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
3 ม.6 เล่ม 2
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
2. จัดท�ำผังมโนทัศน์ได้
อย่างถูกต้องและเป็น
Based ผังมโนทัศน์ - ทักษะการท�ำงาน ท�ำงาน
Teaching) เรื่อง พิกัดศูนย์สูตร ร่วมกัน
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล�ำดับขั้นตอน (P) - ทักษะการ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ จัดกระท�ำและ
ม.6 เล่ม 2 และมุ่งมัน่ ในการท�ำงาน สื่อความหมาย
- ใบงาน (A) ข้อมูล
- PowerPoint

T2
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายต�ำแหน่งของ แบบเน้น - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
ต�ำแหน่งของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดวงอาทิตย์บนทรงกลม มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ดวงอาทิตย์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ฟ้าได้ (K) (Concept - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
บนทรงกลม ม.6 เล่ม 2 2. จัดท�ำอินโฟกราฟิก Based อินโฟกราฟิก - ทักษะการท�ำงาน ท�ำงาน
ฟ้า - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม ได้อย่างถูกต้องและ Teaching) เรื่อง ต�ำแหน่ง ร่วมกัน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นล�ำดับขั้นตอน (P) ดวงอาทิตย์บน
2 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ ทรงกลมฟ้า
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 และมุ่งมั่นในการท�ำงาน
- ใบงาน (A)
- ใบกิจกรรม
- PowerPoint
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายพิกัดสุริยวิถีและ แบบเน้น - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
พิกัดสุริยวิถี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บอกต�ำแหน่งวัตถุ มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ บนท้องฟ้าโดยใช้พิกัด (Concept - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
3 ม.6 เล่ม 2 สุริยวิถีได้ (K)
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม 2. จัดท�ำผังมโนทัศน์
Based
Teaching)
ผังมโนทัศน์
เรื่อง พิกัดสุริยวิถี
- ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน
ท�ำงาน
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้อย่างถูกต้องและ - ประเมินการน�ำเสนอ - ทักษะการ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เป็นล�ำดับขั้นตอน (P) ผลงาน จัดกระท�ำและ
ม.6 เล่ม 2 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ สื่อความหมาย
- ใบงาน และมุ่งมั่นในการท�ำงาน ข้อมูล
- PowerPoint (A)
- QR Code
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายเวลาสุริยคติ แบบเน้น - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
เวลาสุริยคติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปรากฏและสุริยคติ มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ปานกลางได้ (K) (Concept - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
2 ม.6 เล่ม 2
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
2. จัดท�ำแผนที่ความคิดได้
อย่างถูกต้องและ
Based
Teaching)
แผนที่ความคิด
เรื่อง เวลาสุริยคติ
- ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน
ท�ำงาน
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นล�ำดับขั้นตอน (P) - ทักษะการ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ ลงความเห็น
ม.6 เล่ม 2 และมุ่งมั่นในการท�ำงาน จากข้อมูล
- ใบงาน (A)
- PowerPoint
แผนฯ ที่ 7 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายดาราคติและ แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการวัด - ซื่อสัตย์ สุจริต
เวลาดาราคติ - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เปรียบเทียบเวลาสุริยคติ มโนทัศน์ หลังเรียน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับเวลาดาราคติได้ (K) (Concept - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
2 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ม.6 เล่ม 2
2. อธิบายประโยชน์ของ
ข้อมูลเวลามาตรฐานได้
Based
Teaching)
- ตรวจใบงาน
- ประเมินการปฏิบัติ
- ทักษะการ
สร้างแบบจ�ำลอง
ท�ำงาน
ชั่วโมง
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม (K) กิจกรรมวันสุริยคติ - ทักษะการท�ำงาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ปฏิบัติกิจกรรมวันสุริยคติ กับวันดาราคติ ร่วมกัน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กับวันดาราคติ - ตรวจชิ้นงาน
ม.6 เล่ม 2 ได้อย่างถูกต้องและ แผนที่ความคิด
- ใบงาน เป็นล�ำดับขั้นตอน (P) เรื่อง เวลาดาราคติ
- PowerPoint 4.ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ - ตรวจรายงาน
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig และมุ่งมั่นในการท�ำงาน เรื่อง ประโยชน์ของ
(A) ข้อมูลเวลามาตรฐาน

T3
Chapter Concept Overview
สวนประกอบบนทรงกลมฟา
• ทรงกลมฟาแบบไมมีเสนขอบฟา
ขั้วฟาเหนือ
เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าที่ขั้วโลกเหนือของโลกชี้ไป ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลก
เหนือสามารถสังเกตเห็นขั้วฟ้าเหนืออยู่เหนือขอบฟ้าทางทิศเหนือเป็นมุมเท่ากับ
ละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่

เสนศูนยสูตรฟา
อยูใ่ นระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สตู รของโลก ซึง่ จะลากขยายวงกว้างออกไปจนถึงระยะ
อนันต์ เส้นนี้จะปรากฏบนทรงกลมฟ้าของผู้สังเกตแต่ละคนต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับ
ต�าแหน่งละติจูดของผู้สังเกต

ขั้วฟาใต
เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าที่ขั้วโลกใต้ของโลกชี้ไป ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนือ
จะไม่สามารถสังเกตเห็นขัว้ ฟ้าใต้ได้ เนือ่ งจากขัว้ ฟ้าใต้จะอยูต่ า�่ กว่าขอบฟ้าทางทิศใต้
เป็นมุมเท่ากับละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่
• ทรงกลมฟาแบบมีเสนขอบฟา
เสนศูนยสูตรฟา
ขั้วฟ้าเหนือ
E
N S
เสนขอบฟา
W เป็นแนวบรรจบของทรงกลมฟ้าส่วนบนกับทรงกลมฟ้าส่วนล่าง ซึง่ อยูใ่ น
แนวระดับสายตาของผู้สังเกต

ขั้วฟ้าใต้

พิกัดท้องฟา
• พิกัดขอบฟา
จุดเหนือศีรษะ
ฟ้า
จุดบนทรงกลมฟ้าที่อยู่เหนือศีรษะของผู้สังเกต ซึ่งมีค่ามุมเงยเป็น 90 องศา
ดียน
เมรเิ

เมริเดียนฟา
มุมเงย

เส้นที่ลากจากขอบฟ้าทางทิศเหนือผ่านจุดเหนือศีรษะลงไปยังขอบฟ้าทางทิศใต้
มุมทิศ
ซึ่งเส้นนี้จะแบ่งทรงกลมฟ้าออกเป็นซีกตะวันออกและซีกตะวันตก
No
เส้นขอบฟ้า
มุมเงย
มักแทนด้วยสัญลักษณ์ A วัดจากเส้นขอบฟ้าขึ้นไปยังจุดเหนือศีรษะจนถึงต�าแหน่ง
ของดาว โดยจะมีค่า 0-90 องศา
จุดใตเทา มุมทิศ
จุดบนทรงกลมฟ้าที่อยู่ใต้เท้าของผู้สังเกต มักแทนด้วยสัญลักษณ์ h วัดตามแนวเส้นขอบฟ้าจากทิศเหนือไปในทิศทางตาม
เข็มนาฬิกาจนถึงแนวเส้นวงกลมใหญ่ที่ลากผ่านดาว โดยจะมีค่า 0-360 องศา

T4
หนวยการเรียนรูที่ 4

• พิกัดศูนยสูตร
ขั้วฟ้าเหนือ เดคลิเนชัน
แทนด้วยสัญลักษณ์ δ (delta) ใช้บอกระยะเชิงมุมของดาวว่า อยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้า
60 � เท่าใด มีค่า -90 ถึง 90 องศา โดยหากวัดไปทางทิศเหนือจะมีค่าเป็นบวก แต่หากวัดไป
ทางทิศใต้จะมีค่าเป็นลบ
เดคลิเนชัน

30 �
0 ไ� รต์แอสเซนชัน
เส้นศูนย์สูต ไรตแอสเซนชัน
รฟ้า
-30 � แทนด้วยสัญลักษณ์ α (alpha) คือ มุมที่วัดตามแนวเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศตะวันออก
โดยเริม่ จากจุดวสันตวิษวุ ตั ไปจนถึงเส้นทีบ่ อกมุมชัว่ โมงของดาว มีหน่วยเป็นเวลา (ชัว่ โมง
นาที และวินาที) หรือมุม (องศา ลิปดา และพิลิปดา)
ขั้วฟ้าใต้

• พิกัดสุริยวิถี
ขั้วฟ้าเหนือสุริยวิถี

ละติจูดสุริยวิถี
β
ระนาบสุริยวิถี
λ ลองจิจูดสุริยวิถี

ขั้วฟ้าใต้สุริยวิถี
• พิกัดกาแล็กซี

เป็นพิกดั ทีใ่ ช้ระนาบของกาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นระนาบอ้างอิง


โดยระบบพิกดั นีเ้ หมาะแก่การศึกษากาแล็กซีทางช้างเผือก แบ่งพิกดั
ออกเป็นละติจูดกาแล็กซีและลองจิจูดกาแล็กซี

การกําหนดเวลาบนโลก
• เวลาสุริยคติ
เป็นการบอกต�าแหน่งของดวงอาทิตย์เทียบกับเมริเดียน
• เวลาดาราคติ
เป็นการบอกต�าแหน่งของดาวฤกษ์บนท้องฟ้า มีค่าเท่ากับ RA ของดาวที่อยู่บนเมริเดียน

T5
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ (Engagement)
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ
วัดความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูบทเรียน
2. ครูตั้งคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน หนวยการเรียนรู้ที่
ทรงกลมฟา
หรือใชคําถาม ดังตอไปนี้
• เมือ่ นักเรียนสังเกตดวงดาวบนทองฟาจะเห็น
วาดาวเคลื่อนที่ เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น
(แนวตอบ เพราะโลกหมุนรอบตัวเอง)
4
วัตถุทองฟ้านั้นมีการเคลื่อนที่ขึ้นและตกจากขอบฟ้า เราสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ
• เพราะเหตุใดในเวลาเดียวกันของแตละฤดู ท้องฟ้าได้งา่ ยขึน้ โดยการใช้แนวคิดของทรงกลมฟ้า ซึง่ เป็นทรงกลมสมมติทวี่ ตั ถุทอ้ งฟ้าอาศัยอยู่
จึงเห็นดาวตางกัน การหมุนของทรงกลมนี้เองเป็นสิ่งที่ท�าให้วัตถุท้องฟ้าเคลื่อนที่รอบ ๆ ตัวเรา
(แนวตอบ โลกโคจรรอบดวงอาทิตย)
• ดาวบนทองฟาอยูห า งจากโลกเทากันทุกดวง
หรือไม ดวงจันทร์และดวงดาวมีการขึ้น
และตกเหมือนดวงอาทิตย์หรือไม
(แนวตอบ ไมเทากัน) และมีการขึ้นและตกในทิศทางใด
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาข อ ความในตาราง
Check for Understanding จากหนังสือเรียน
ตามความเขาใจของนักเรียนเพื่อวัดความรู
เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับหนวยการเรียนรูที่ 4
ทรงกลมฟา

Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ทรงกลมฟา คือ ทรงกลมสมมติขนาดใหญที่มีรัศมีอนันต โดยมีโลกเปนจุดศูนยกลางของทรงกลม
พิกัดของวัตถุทองฟาในระบบศูนยสูตรจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและตําแหนงของผูสังเกต
เสนขอบฟา คือ ระนาบที่ตั้งฉากกับจุดเหนือศีรษะของผูสังเกต
คาไรตแอสเซนชันเปนมุมวัดตามแนวเสนศูนยสูตรไปทางทิศตะวันออก โดยเริ่มจากจุดศารทวิษุวัตไปจนถึงเสนที่บอกมุมชั่วโมง
ของดาว
ผูสังเกตที่จังหวัดอุบลราชธานี (ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก) จะเห็นดวงอาทิตยผานเมริเดียนหลังกรีนิช 7 ชั่วโมง
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ผิด

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


• การที่เห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาวมีการขึ้นและตกจาก
การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ทรงกลมฟาและลูกโลก ครูควรใหนักเรียนรู
ขอบฟานัน้ เปนผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ซึง่ ทัง้ ดวงอาทิตย
ถึงความสําคัญของสิ่งที่นักเรียนกําลังจะไดศึกษา เพื่อที่นักเรียนจะไดนําความรู
ดวงจันทร และดวงดาวมีการขึ้นและตกจากขอบฟาเหมือนกัน โดยขึ้น
ที่ไดไปใชในการอธิบายเชื่อมโยงกับชีวิตประจําวัน โดยครูชักชวนนักเรียน
จากขอบฟาทางทิศตะวันออกและลับขอบฟาทางทิศตะวันตก แตสิ่งที่
พูดคุยเกีย่ วกับการขึน้ และตกของดวงอาทิตยวา มีลกั ษณะการขึน้ และตกอยางไร
ตางกัน คือ ตําแหนงที่อยูบนทองฟา
แลวแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และครูอาจใชคําถาม Big Question ในการ
ถามนักเรียนเพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะหวา ดวงจันทรและดวงดาวมีการขึ้นและ
ตกเหมือนดวงอาทิตยหรือไม และมีการขึ้นและตกในทิศทางใด โดยครูท้ิงชวง
ใหนักเรียนคิด แลวใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นโดยที่ครูยังไมเฉลยวา
คําตอบนั้นถูกหรือผิด

T6
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Exploration)
Key Question
ทรงกลมฟาคืออะไร 1. ทรงกลมฟ้าและลูกโลก 1. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ
และมีสว นประกอบ เรียน โดยครูทิ้งชวงใหนักเรียนคิด แลวให
หากสังเกตท้องฟ้าในยามค�่าคืน จะพบว่าดวงอาทิตย์
อะไรบาง
ดวงจั น ทร์ และดวงดาว มี ก ารเคลื่ อ นที่ ขึ้ น และตกไปตาม นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นโดยที่ครูยัง
กาลเวลา มนุษย์ในยุคโบราณแทบทุกอารยธรรมมักจะเชื่อว่า การเคลื่อนที่ขึ้นและตกของ ไมเฉลยวาคําตอบนั้นถูกหรือผิด
วัตถุท้องฟ้าเป็นกลไกของเทพเจ้าหรือสรวงสวรรค์ แต่ในปัจจุบันสามารถอธิบายได้ว่า การที่เห็น 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 4-5 คน
วัตถุท้องฟ้าเคลื่อนที่นั้นที่จริงแล้ววัตถุท้องฟ้าไม่ได้เคลื่อนที่ แต่เป็นเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง คละกันตามความสามารถ คือ เกง ปานกลาง
ถึงแม้ว่าการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้านั้น แท้จริงแล้วมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก คอนขางเกง ปานกลางคอนขางออน และออน
แต่สา� หรับผูส้ งั เกตบนโลก สิง่ ทีม่ นุษย์ในยุคโบราณสังเกตก็คอื การทีว่ ตั ถุทอ้ งฟ้ารอบ ๆ ตัวหมุนไป แลวใหนกั เรียนรวมกันศึกษา เรือ่ ง ทรงกลมฟา
พร้อม ๆ กัน ประหนึง่ ว่ามีทรงกลมขนาดใหญ่ทพี่ าดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว เคลือ่ นทีไ่ ป จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน
พร้อมทรงกลม เราเรียกทรงกลมนี้ว่า ทรงกลมฟ้า (celestial sphere)
อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้าใหนักเรียนเลือก
ส�าหรับการเคลื่อนที่ขึ้นและตกของดวง ขั้วฟ้าเหนือ
อาทิตย์ เราทราบกันอยู่แล้วว่าดวงอาทิตย์น้ัน ศึกษาจากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ
ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก 3. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตใหแตละกลุม กลุม ละ
และถ้าใช้เวลาสังเกตท้องฟ้าใน 1 วัน เราจะ 1 แผน แลวใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุป
พบว่า ดวงจันทร์ ดวงดาว และดาวเคราะห์ ความรูที่ศึกษาไดโดยจัดทําเปนอินโฟกราฟก
ต่าง ๆ ก็ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศ เรือ่ ง ทรงกลมฟา โดยครูคอยใหคาํ แนะนําและ
ตะวั น ตกเช่ น เดี ย วกั บ ดวงอาทิ ต ย์ หากเรา ตรวจสอบความถูกตองของชิ้นงาน
พยายามจะอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ
วัตถุทั้งหมดถือว่าเป็นเรื่องที่ซับซ้อน แต่ถ้าเรา (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
เส้นศูนย์สตู รฟ้า
จินตนาการว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ดวงดาวเป็นเพียงวัตถุที่อยู่บนทรงกลมเสมือน
ขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบตัวเราจะสามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์ทั้งหมดได้อย่างง่ายดาย เพื่อ
ที่ จ ะอธิ บ ายถึ ง ทรงกลมฟ้ า ให้ เ ข้ า ใจได้ ง ่ า ย ขั้วฟ้าใต้
เราควรเริ่ ม จากการเอาส่ ว นต่ า ง ๆ ออกไป ภาพที ่ 4.1 ทรงกลมฟ้ าเป็นทรงกลมสมมติขนาดใหญ่ที่
ห่อหุ้มโลกกับตัวเราเอาไว้
ให้เหลือเพียงทรงกลมฟ้า ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาพที่ 4.2 เส้นแสงดาวแสดงการเคลือ่ นทีข่ องดาว ถ่ายได้โดยการเปิดหน้ากล้องทิง้ ไว้นาน ๆ จะพบว่าดวงดาวบนท้องฟ้า
จะมีการหมุนไปรอบ ๆ จุดจุดหนึ่ง ราวกับว่าทั้งท้องฟ้าเป็นทรงกลมขนาดใหญ่ที่หมุนไปรอบ ๆ แกนหมุนของโลก
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

แนวตอบ Key Question


ทรงกลมฟา คือ ทรงกลมสมมติขนาดใหญทหี่ อ หุม
ทรงกลมฟ้า 3
ผูสังเกตเอาไว โดยโลกเปนจุดศูนยกลางของทรง
กลมฟา มีสว นประกอบ ไดแก ขัว้ ฟาเหนือ ขัว้ ฟาใต
เสนศูนยสูตรฟา เสนขอบฟา และจุดเหนือศีรษะ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับทรงกลมฟา กอนเขาสูก ารเรียนการสอน เรือ่ ง ทรงกลมฟา ครูอาจทบทวนความรูเ กีย่ วกับ
1. การเคลื่อนที่ของทรงกลมฟาเกิดจากการหมุนรอบตัวเอง การขึ้นและตกของดวงอาทิตยวา จากการที่โลกหมุนรอบตัวเองในลักษณะที่
ของโลก แกนโลกเอียง พรอมกับโคจรไปรอบๆ ดวงอาทิตยโดยมีดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง
2. ดาวฤกษแตละดวงจะเคลือ่ นทีไ่ ปคนละทิศทางกับทีผ่ สู งั เกต ของระบบสุริยะ ซึ่งสิ่งที่สังเกตไดเปนการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตยไมใช
เห็นทรงกลมฟาหมุน การเคลื่อนที่แทจริงที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย
3. ทุกคนบนโลกมองเห็นทรงกลมฟาเปนทรงกลมเดียวกัน
แตอาจจะมีสวนที่ถูกบดบังไมเหมือนกัน
4. ดาวตางๆ เปนเพียงวัตถุหนึ่งบนทรงกลมฟา และวัตถุ
ตางๆ นั้นเคลื่อนที่ไปเนื่องจากการหมุนของโลก
5. ทรงกลมฟาเปนเพียงทรงกลมในอุดมคติเทานั้น ดาวฤกษ
ที่ปรากฏบนทรงกลมฟาจึงไมไดอยูหางจากโลกเปนรัศมี
เทากันจริงๆ
(วิเคราะหคําตอบ ทรงกลมฟา เปนทรงกลมเสมือนที่ดาวฤกษ
ทุกดวงเคลือ่ นทีไ่ ปพรอมๆ กับทีเ่ ราสังเกตเห็นทรงกลมฟาหมุนไป
รอบๆ แกนหมุนของโลก ดังนั้น ตอบขอ 2.)
T7
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Exploration)
4. นักเรียนแตละกลุมนําอินโฟกราฟกของกลุม 1.1 ทรงกลมฟ้าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้า
ตนเองมาติดรอบชั้นเรียน แลวเดินชมผลงาน หากเราลอยอยูใ่ นอวกาศ ไร้ซงึ่ บรรยากาศและพืน้ ดิน หรือหากเราสามารถมองทะลุพนื้ โลกได้
ของเพื่อนรวมชั้นเรียน โดยครูคอยกระตุน สิ่งที่เราจะเห็นก็คือ อวกาศอันกว้างใหญ่ที่เต็มไปด้วยดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวนับล้าน
ใหนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประดับบริเวณรอบ ๆ เราทุกทิศทุกทาง คล้ายกับทรงกลม เราเรียกทรงกลมนี้ว่า ทรงกลมฟ้า
ผลงานที่แตละกลุมไดทํา หากเราเริ่มหมุนรอบตัวเองไปเรื่อย ๆ จะสังเกตเห็นว่าทรงกลมฟ้านี้มีการหมุนรอบตัวเอง
5. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวาจะไดสรางแบบจําลอง (จริง ๆ แล้วสืบเนือ่ งมาจากว่าเราก�าลังหมุนรอบตัวเองอยู)่ เมือ่ เวลาผ่านไปเราอาจเริม่ เห็นว่าวัตถุ
ทรงกลมฟา แลวแจกใบกิจกรรมการสรางแบบ บางอย่าง เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว มีการเคลื่อนตัวอย่างช้า ๆ ไปบนทรงกลมฟ้านี้
จําลองทรงกลมฟาใหนกั เรียนแตละกลุม ในทรงกลมฟ้านี้เราอาจเริ่มก�าหนดต�าแหน่งและพิกัด วิธีการก�าหนดพิกัดบนทรงกลมฟ้า
6. นักเรียนแตละกลุมรวมกันออกแบบและเลือก สามารถท�าได้หลายวิธี แต่โดยส่วนมากมักจะก�าหนดพิกัดโดยเริ่มจากแกน ขั้วทั้งสองด้าน และ
วัสดุอุปกรณที่มาใชในการสรางแบบจําลอง วงกลมใหญ่ เช่นเดียวกับโลกของเราที่ก�าหนดพิกัดโดยขั้วโลกเหนือ ขั้วโลกใต้ และเส้นศูนย์สูตร
ทรงกลมฟ า แล ว ร ว มกั น สร า งแบบจํ า ลอง การก�าหนดขัว้ บนท้องฟ้านัน้ วิธที ใี่ ช้บอ่ ยทีส่ ดุ ก็คอื การก�าหนดขัว้ ฟ้าเหนือ (North Celestial
ทรงกลมฟาตามที่ไดออกแบบไว Pole; NCP) และขัว้ ฟ้าใต้ (South Celestial Pole; SCP) ซึง่ ก็คอื บริเวณบนท้องฟ้าทีข่ วั้ โลกเหนือและ
7. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวาทุกกลุม จะไดออกมา ขัว้ โลกใต้ของโลกชีไ้ ปบนทรงกลมฟ้า จากนัน้ บริเวณกึง่ กลางจากขัว้ ฟ้าทัง้ สองเป็นวงกลม เรียกว่า
นําเสนอแบบจําลองของกลุมตนเองในชั่วโมง เส้นศูนย์สูตรฟ้า (celestial equator) ซึ่งก็คือ บริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกที่ขยายไปบรรจบลง
ถัดไป โดยแบบจําลองที่จะออกมานําเสนอได บนทรงกลมฟ้านั่นเอง
ตองผานการตรวจสอบและการใหคําแนะนํา
ขั้วฟ้าเหนือ
จากครูกอน เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าทีข่ วั้ โลกเหนือของโลกชีไ้ ป
ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนือสามารถสังเกตเห็น
ขัว้ ฟ้าเหนืออยูเ่ หนือขอบฟ้าทางทิศเหนือเป็นมุมเท่ากับ
ละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่

เส้นศูนย์สูตรฟ้า
อยู่ในระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตรของโลก ซึ่งจะลาก
ขยายวงกว้างออกไปจนถึงระยะอนันต์ เส้นนีจ้ ะปรากฏ
บนทรงกลมฟ้าของผูส้ งั เกตแต่ละคนต่างกัน โดยขึน้ อยู่
กับต�าแหน่งละติจูดของผู้สังเกต

ขั้วฟ้าใต้
เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าที่ขั้วโลกใต้ของโลกชี้ไป
ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนือจะไม่สามารถสังเกต
เห็นขัว้ ฟ้าใต้ได้ เนือ่ งจากขัว้ ฟ้าใต้จะอยูต่ า�่ กว่าขอบฟ้า
ภาพที่ 4.3 ทรงกลมฟ้าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้า ทางทิศใต้เป็นมุมเท่ากับละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับความสัมพันธระหวางทรงกลมฟาและลูกโลก โดย ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุบนทรงกลมฟา
ครูชกั ชวนใหนกั เรียนรวมกันพิจารณาภาพที่ 4.1 และภาพที่ 4.3 แลวจึงอธิบายวา 1. ดาวบนทองฟาอยูหางจากโลกเทากันทุกดวง
ทรงกลมฟามีโลกเปนจุดศูนยกลาง เมือ่ เรามองขึน้ บนฟาจะเห็นทรงกลมฟาเพียง 2. ดวงจันทรขึ้นทางทิศตะวันตกและตกทางทิศตะวันออก
ครึ่งเดียว และหากเรากมมองทะลุพื้นโลกไดก็จะเห็นทรงกลมฟาอีกครึ่งหนึ่ง 3. การเคลือ่ นทีข่ องทรงกลมฟาเกิดจากการหมุนรอบดวงจันทร
ซึ่งรวมกับครึ่งดานบนก็จะกลายเปนทรงกลมฟาทั้งหมด 4. ดวงจันทร ดวงดาว และดาวเคราะหมกี ารขึน้ และตกทิศทาง
เดียวกันกับดวงอาทิตย
5. การที่เราเห็นดวงอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออกแลวตกทาง
ทิศตะวันตกเปนการเคลื่อนที่ที่แทจริงของดวงอาทิตย
(วิเคราะหคาํ ตอบ ดวงจันทร ดวงดาว และดาวเคราะหมกี ารขึน้
และตกทิศทางเดียวกันกับดวงอาทิตย คือ ขึน้ ทางทิศตะวันออกและ
ตกทางทิศตะวันตก สวนการเคลือ่ นทีข่ องทรงกลมฟาเกิดจากการที่
โลกหมุนรอบตัวเอง โดยการทีเ่ ราเห็นดวงอาทิตยขนึ้ ทางทิศตะวันออก
แลวตกทางทิศตะวันตกเปนการเคลือ่ นทีป่ รากฏของดวงอาทิตยไมใช

T8 การเคลือ่ นทีท่ แี่ ทจริงของดวงอาทิตย ดังนัน้ ตอบขอ 4.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้ (Explanation)
หากสังเกตการเคลื่อนที่ของทรงกลมฟ้า จะพบว่าทรงกลมฟ้านี้มีการหมุนรอบแกนหมุน 8. นักเรียนแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอ
ที่เชื่อมระหว่างขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้ นั่นคือ ทุกต�าแหน่งบนทรงกลมฟ้ามีการเคลื่อนที่ ผลงานแบบจําลองทรงกลมฟา
เป็นวงกลมไปรอบ ๆ ขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้ และมีเพียง 2 จุด ที่ไม่มีการหมุนเลย นั่นคือ 9. ครูถามคําถามเพื่อใหนักเรียนอธิบายความรู
บริเวณขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้ นอกจากนี้ หากลากเส้นจากจุดใด ๆ บนทรงกลมฟ้าไปยัง โดยใชคําถาม ดังนี้
ขั้วฟ้าเหนือหรือขั้วฟ้าใต้ การหมุนของทรงกลมฟ้าจะหมุนไปในลักษณะที่ท�าให้จุดนั้น ๆ เคลื่อนที่ • ทรงกลมฟาคืออะไร และมีลกั ษณะอยางไร
ไปในทิศทางตั้งฉากกับทิศของขั้วฟ้า
(แนวตอบ ทรงกลมฟา คือ ทรงกลมสมมติ
1.2 ทรงกลมฟ้าแบบมีเส้นขอบฟ้า ขนาดใหญที่มีจุดศูนยกลางของโลกเปน
ในความเป็นจริงเราไม่สามารถสังเกตทรงกลมฟ้าได้ทั้งหมดไปพร้อม ๆ กัน แต่กลับพบว่า จุดศูนยกลางของวงกลมและมีดาวอยูบน
ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ครึ่งหนึ่งของทรงกลมฟ้าจะถูกบดบังไปด้วยพื้นดินที่เรายืนอยู่ เราสามารถ ผิวในของทรงกลม โดยมีเสนแบงครึ่งทรง
มองพืน้ ดินนีแ้ ผ่ออกเป็นวงกลมไปรอบ ๆ ตัวผูส้ งั เกต บดบังครึง่ หนึง่ ของทรงกลมฟ้าทีอ่ ยูภ่ ายใต้เท้า กลมเปนวงกลมใหญที่แบงครึ่งทรงกลม
ของเรา เรียกเส้นขอบของผืนดินนี้ว่า เส้นขอบฟ้า (horizon) ท้องฟ้าที่ผู้สังเกตจะสามารถเห็นได้
ในเวลาหนึ่ง ๆ อาจแบ่งออกได้เป็นเส้นขอบฟ้า ขอบฟ้าทางทิศเหนือ ขอบฟ้าทางทิศใต้ ขอบฟ้า ออกเปน 2 ซีก)
ทางทิศตะวันออก และขอบฟ้าทางทิศตะวันตก • ทรงกลมฟามีกี่แบบ อะไรบาง
(แนวตอบ 2 แบบ คือ ทรงกลมฟาแบบไมมเี สน
ขอบฟาและทรงกลมฟาแบบมีเสนขอบฟา)
ขั้วฟ้าเหนือ เส้นศูนย์สูตรฟ้า 10. นักเรียนแตละกลุมออกมาเขียนคําตอบหนา
ชัน้ เรียน แลวครูใหนกั เรียนชวยกันตรวจสอบ
E ความถูกตอง โดยครูจะเปนผูเฉลยคําตอบที่
N S ถูกตองในตอนสุดทาย

เส้นขอบฟ้า W
เป็นแนวบรรจบของ
ทรงกลมฟ้าส่วนบนกับ
ทรงกลมฟ้าส่วนล่าง ซึ่งอยู่ ขั้วฟ้าใต้
ในแนวระดับสายตาของผู้สังเกต

ภาพที่ 4.4 ทรงกลมฟ้าแบบมีเส้นขอบฟ้า


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทรงกลมฟ้าที่ผู้สังเกตใด ๆ บนโลกสังเกตเห็นก็คือทรงกลมฟ้าเดียวกัน แต่บริเวณที่โผล่พ้น
ขอบฟ้าขึน้ มาในเวลาหนึง่ ๆ อาจจะไม่เหมือนหรือไม่เท่ากัน แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่า ณ เวลา
หนึ่ง ๆ เส้นขอบฟ้าบดบังส่วนใดของทรงกลมฟ้า ค�าถามนี 1 ้อาจไม่สามารถตอบได้ภายในครั้งแรก
แต่สามารถท�าความเข้าใจได้ง่ายขึ้นโดยใช้เรขาคณิตเบื้องต้นมาพิจารณาโลกและทรงกลมฟ้า
โดยสิ่งแรกที่ควรทราบก็คือ ขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้ ควรจะอยู่บริเวณใดของท้องฟ้า
ทรงกลมฟ้า 5

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ดวงดาวมีการเคลื่อนที่ในลักษณะใดเมื่อเทียบกับขอบฟา 1 เรขาคณิต เปนแขนงหนึ่งของคณิตศาสตรที่เกี่ยวกับรูปรางและขนาดของ
1. ดาวฤกษไมมีการเคลื่อนที่บนทองฟา สิ่งของรอบๆ ตัวเรา เปนวิชาวาดวยความสัมพันธระหวางเสน มุม การวัดพื้นที่
2. ดาวฤกษมีการเคลื่อนที่ตรงกันขามกับดวงอาทิตย และปริมาตร สวนทีก่ ลาวถึงรูปบนพืน้ ราบ เชน รูปสามเหลีย่ ม รูปสีเ่ หลีย่ มผืนผา
3. ดาวฤกษเคลื่อนที่โดยขึ้นทางทิศตะวันตกและตกทางทิศ รูปจัตุรัส วงกลม เรียกวา เรขาคณิตระนาบ สวนที่กลาวถึงรูปทรง เชน ลูกบาศก
ตะวันออก ทรงกลม กรวยกลม กรวยเหลี่ ย ม (พี ร ะมิ ด ) เรี ย กว า เรขาคณิ ต สามมิ ติ
4. ดาวฤกษทุกดวงมีการเคลื่อนที่ไปพรอมๆ กับการหมุนของ มีประโยชนในการกอสราง เชน การออกแบบสรางอาคาร การสรางถนน สะพาน
ทรงกลมฟารอบขั้วฟาเหนือและขั้วฟาใต เขื่อนกั้นนํ้า การคํานวณในวิชาดาราศาสตร การเดินเรือ การสํารวจ การรังวัด
5. ดาวฤกษจะขึ้นเปนมุมฉากจากขอบฟาทางทิศตะวันออก ที่ดิน
และตกเปนมุมฉากจากขอบฟาทางทิศตะวันตก
(วิเคราะหคําตอบ ทรงกลมฟาใชเพื่ออธิบายการเคลื่อนที่ปรากฏ
ของดาวฤกษที่เกิดจากการหมุนของโลก ดังนั้น ดาวฤกษทุกดวง
จะดูเสมือนเคลือ่ นทีไ่ ปพรอมกับการหมุนของทรงกลมฟารอบแกน
หมุนของโลก ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Exploration)
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
11. ครูถามคําถามกระตุนความคิดนักเรียนวา • การสังเกต
• การสร้างแบบจ�าลอง
การหมุนของทรงกลมฟาสงผลอยางไร โดย การหมุนของทรงกลมฟ้า
จิตวิทยาศาสตร์
ครูยงั ไมเฉลยคําตอบแตแจงนักเรียนใหทราบ • ความรอบคอบ
• ความมุ่งมั่นอดทน
วาจะรูคําตอบเมื่อจบชั่วโมง วัสดุอปุ กรณ์
12. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม (กลุม เดิม) โดยแจงให
นักเรียนทราบวาจะไดทํากิจกรรมการหมุน 1. ร่ม
2. โต๊ะ
ของทรงกลมฟา พรอมแจงจุดประสงคการ 3. สติกเกอร์หรือปากกาเมจิก
ทํากิจกรรม
13. นักเรียนแตละกลุม ทํากิจกรรมตามขัน้ ตอนใน วิธปี ฏิบตั ิ
หนังสือเรียน
14. นักเรียนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลการทํา
กิจกรรมการหมุนของทรงกลมฟา
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม)

1. กางร่มออก จากนั้นตกแต่งด้านในของร่มด้วย 2. ชูร่มไว้เหนือศีรษะ แล้วหมุนร่มช้า ๆ จากนั้น


สติกเกอร์หรือปากกาเมจิกโดยวาดเป็นภาพ สังเกตการเคลื่อนที่ของดวงดาว
ดวงดาว

3. น�าก้านร่มวางทาบกับพืน้ โต๊ะ แล้วหมุนร่มช้า ๆ 4. เอียงร่มขึ้น โดยให้ปลายก้านร่มสูงจากโต๊ะ


จากนั้นสังเกตการเคลื่อนที่ของดวงดาว เล็กน้อย แล้วหมุนร่มช้า ๆ จากนั้นสังเกตการ
เคลื่อนที่ของดวงดาว
1
ภาพที่ 4.5 การจัดอุปกรณ์กจิ กรรมการหมุนของทรงกลมฟ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท.

นักเรียนควรรู บันทึก กิจกรรม


การปฏิบัติ การเคลื่อนที่ของดาว
1 ทรงกลมฟ า สามารถแบ ง ออกเป น ซี ก ฟ า เหนื อ และซี ก ฟ า ใต โ ดยมี
ชูรมไวเหนือศีรษะ ดวงดาวเคลื่อนที่อยูเหนือศีรษะ
เสนศูนยสตู รคัน่ กลางขณะทีโ่ ลกหมุนรอบแกนหมุน วัตถุในทรงกลมฟาจะปรากฏ
เคลื่อนที่หมุนไปรอบขั้วฟารอบละ 1 วัน ขณะที่โลกหมุนจากทิศตะวันตกไปยัง วางกานรมทาบกับโตะ ดวงดาวขึ้นและตกเปนมุมตั้งฉากกับพื้นโตะ
ทิศตะวันออกจะพาทองฟาของคนที่อยูบนโลกไปดวย เมื่อขอบฟาตะวันออกพบ เอียงกานรมขึ้นโดยใหกานรมสูง ดวงดาวขึ้นและตกทํามุมเอียงกับพื้นโตะ
ดาวเรียกวา ดาวขึ้น เมื่อขอบฟาตะวันตกพบดาวเรียกวา ดาวตก ดาวที่ขึ้นตรง จากโตะเล็กนอย
จุดทิศตะวันออกพอดีจะไปตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดี โดยอยูบนทองฟานาน
12 ชั่วโมง เสนทางขึ้นและตกของดาวทุกดวงขนานกัน

T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา (Exploration)

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม 15. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํา
1. ด้านในของร่มและภาพวาดดวงดาวใช้จ�าลองแทนสิ่งใด กิจกรรม โดยครูและนักเรียนจะตองใหขอ สรุป
2. เมือ่ ชูก้านร่มไว้เหนือศีรษะ เมื่อน�าก้านร่มวางทาบลงกับพื้นโต๊ะให้ครึ่งหนึ่งของชายร่มถูกโต๊ะบังเอาไว้ รวมกันวา การหมุนของทรงกลมฟาจะทําให
และเมื่อเอียงก้านร่มขึ้น เป็นการจ�าลองผู้สังเกตอยู่บริเวณใด และดวงดาวมีการเคลื่อนที่อย่างไร เราเห็นการเคลื่อนที่ของดวงดาวแตกตางกัน
เมื่อเราสังเกตที่ตําแหนงแตกตางกันของโลก
อภิปรายผลกิจกรรม
16. ครู แ จกกระดาษฟลิ ป ชาร ต ให แ ต ล ะกลุ  ม
จากกิจกรรมเป็นการจ�าลองการหมุนของทรงกลมฟ้า การชูก้านร่มไว้เหนือศีรษะ เป็นการจ�าลอง กลุมละ 1 แผน แลวใหนักเรียนแตละกลุม
ผูส้ งั เกตจากขัว้ โลกเหนือและขัว้ โลกใต้ ผูส้ งั เกตบริเวณนีจ้ ะไม่เห็นการขึน้ และตกของดวงดาว ส่วนการน�าก้านร่ม
วางทาบลงกับพื้นโต๊ะครึ่งหนึ่งของชายร่มถูกโต๊ะบังเอาไว้ เป็นการจ�าลองผู้สังเกตจากเส้นศูนย์สูตร ซึ่งสังเกต นําความรูจากการทํากิจกรรมและการสืบคน
เห็นดวงดาวขึ้นและตกเป็นมุมตั้งฉากกับเส้นขอบฟ้า และเมื่อเอียงก้านร่มขึ้น โดยให้ก้านร่มอยู่สูงจาก ขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงการเรียนรูต า งๆ เชน
ขอบโต๊ะเล็กน้อย เป็นการจ�าลองผู้สังเกตจากบริเวณอื่น ๆ บนโลก ซึ่งดวงดาวจะขึ้นเป็นมุมละติจูดกับทิศ หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต มารวมกันจัดทํา
ตั้งฉากจากเส้นขอบฟ้า อินโฟกราฟก เรื่อง ปรากฏการณที่สังเกตได
เมื่อผูสังเกตอยูบริเวณตางๆ ของโลก โดยครู
คอยใหคาํ แนะนําและตรวจสอบความถูกตอง
ปรากฏการณที่สังเกตไดเมื่อผูสังเกตอยู่บริเวณต่าง ๆ ของโลก ของชิ้นงาน

ผู้สังเกตจากขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
ขั้วฟ้าเหนือ
ผูส้ งั เกตทีอ่ ยูข่ วั้ โลกเหนือ จะสามารถสังเกต
เห็นขั้วฟ้าเหนือได้บริเวณเหนือศีรษะของผู้สังเกต
พอดี ในขณะที่ขั้วฟ้าใต้จะอยู่ใต้เท้าของผู้สังเกต
ซึ่งหมายความว่าขั้วฟ้าใต้ถูกผืนดินบดบัง แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
ในขณะเดียวกันผูส้ งั เกตทีอ่ ยูบ่ ริเวณขัว้ โลกใต้
จะพบขั้วฟ้าใต้อยู่เหนือศีรษะของผู้สังเกต แต่ไม่ 1. จําลองแทนทรงกลมฟา
สามารถสังเกตเห็นขั้วฟ้าเหนือได้ 2. การชูกา นรมไวบนศีรษะเปนการจําลองผูส งั เกต
เนื่ อ งจากขั้ ว ฟ้ า มี ทิ ศ ทางตั้ ง ฉากกั บ เส้ น จากขัว้ โลกเหนือและขัว้ โลกใต ผูส งั เกตบริเวณนี้
ขอบฟ้า ทรงกลมฟ้าจะมีลักษณะการหมุนที่ขนาน จะไมเห็นการขึน้ และตกของดวงดาว สวนการนํา
ไปกับเส้นขอบฟ้าและไม่มีดาวดวงใดที่ขึ้นและตก
กานรมวางทาบลงกับพื้นโตะใหครึ่งหนึ่งของ
จากขอบฟ้าเลย ส�าหรับผู้สังเกตจากขั้วโลกเหนือ
และขั้วโลกใต้จะไม่สามารถนิยามทิศเหนือ ทิศใต้ ชายรมถูกโตะบังเอาไวเปนการจําลองผูสังเกต
เส้นขอบฟ้า 1 ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตกจากการเคลื่อนที่ของ จากเสนศูนยสูตร ซึ่งจะสังเกตเห็นดวงดาวขึ้น
ขั้วฟ้าใต้ เส้นศูนย์สูตรฟ้า ดวงดาวได้ และตกเปนมุมตั้งฉากกับเสนขอบฟา และเมื่อ
ภาพที่ 4.6 ปรากฏการณ์ทสี่ งั เกตได้เมือ่ ผูส้ งั เกตอยูบ่ ริเวณต่าง ๆ ของโลก เอียงกานรมขึ้น โดยใหกานรมอยูสูงจากขอบ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทรงกลมฟ้า 7
โตะเล็กนอยเปนการจําลองผูสังเกตจากบริเวณ
อื่นๆ บนโลก ซึ่งดวงดาวจะขึ้นเปนมุมละติจูด
กับทิศตั้งฉากจากเสนขอบฟา

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


สําหรับผูสังเกตจากกรุงเทพมหานคร (ละติจูด 13 องศาเหนือ) ในขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูอาจแนะนําใหนักเรียนสังเกตวาดวงดาว
ขั้วฟาเหนือของทรงกลมฟาจะอยูบริเวณใด เคลื่อนที่ขึ้นหรือลง ทํามุมอยางไรกับขอบโตะ
1. เหนือศีรษะ
2. เสนขอบฟาทางทิศใต
3. เหนือขอบฟาทางทิศเหนือ เปนมุม 13 องศา นักเรียนควรรู
4. เหนือขอบฟาทางทิศเหนือ เปนมุม 77 องศา
5. เหนือขอบฟาทางทิศเหนือ เปนมุม 90 องศา 1 เสนศูนยสูตรฟา คือ เสนศูนยสูตรโลกที่ขยายออกไปทรงกลมฟา เปน
เสนวงกลมใหญทอี่ ยูบ นระนาบศูนยสตู รฟาซึง่ แบงครึง่ ทรงกลมฟาออกเปนซีกฟา
(วิเคราะหคําตอบ หากผูสังเกตอยูในซีกโลกเหนือ ขั้วฟาเหนือ
เหนือและซีกฟาใต โดยมีขั้วฟาเหนืออยูหางไปทางเหนือของเสนศูนยสูตรฟา
ของทรงกลมฟาจะอยูเ หนือขอบฟาทางทิศเหนือเทากับละติจดู ของ
90 องศา และมีขั้วฟาใตอยูหางไปทางใตของเสนศูนยสูตรฟา 90 องศา
ผูสังเกต ดังนั้น หากผูสังเกตอยูในกรุงเทพมหานคร (ละติจูด 13
องศาเหนือ) ขัว้ ฟาเหนือของทรงกลมฟาจะอยูบ ริเวณเหนือขอบฟา
ทางทิศเหนือเปนมุม 13 องศา ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา (Exploration)
17. ครูสมุ กลุม ทีจ่ ดั ทําอินโฟกราฟกไดถกู ตองและ
มีวธิ กี ารนําเสนอทีน่ า สนใจใหออกมานําเสนอ ผู้สังเกตจากเส้นศูนย์สูตร
ขั้วฟ้าเหนือ ขั้วฟ้าใต้
ผลงานที่หนาชั้นเรียน ส�าหรับผูส้ งั เกตทีอ่ ยูบ่ ริเวณเส้นศูนย์สตู รนัน้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช จะพบว่าขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้จะอยู่บริเวณเส้น
ขอบฟ้าพอดี โดยเส้นศูนย์สูตรฟ้าจะพาดผ่านทิศ
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน) ตะวันออกและทิศตะวันตกลากขึ้นไปถึงเหนือศีรษะ
18. นักเรียนแตละคนทําใบงาน เรือ่ ง ทรงกลมฟา ของผู้สังเกต และจะพบว่าทุกจุดบนทรงกลมฟ้าจะ
และลูกโลก

เส้นศูนย์สูตรฟ้า
เคลือ่ นทีข่ นึ้ และตกเป็นมุมตัง้ ฉากกับเส้นขอบฟ้าพอดี
19. ครูขออาสาสมัครใหออกมาเขียนเฉลยใบงาน ณ เวลาหนึง่ ๆ บริเวณครึง่ หนึง่ ของทรงกลม
แตละขอลงบนกระดานหนาชั้นเรียน แลวครู ฟ้าจะอยู่ภายใต้เส้นขอบฟ้า แต่ภายในเวลา 1 วัน
ตรวจสอบความถูกตอง ทุกจุดบนทรงกลมฟ้าจะโผล่พ้นขอบฟ้า
20. ครูมอบหมายใหนกั เรียนแตละคนทํากิจกรรม
การประมาณละติจูดที่เราอยูเปนการบาน
โดยตกลงรวมกับนักเรียนวา ในชั่วโมงถัดไป ผู้สังเกตจากบริเวณอื่น ๆ
นักเรียนจะตองมีผลการทํากิจกรรมมาสงครู
ส�าหรับผู้สังเกตจากบริเวณอื่น ๆ บนโลก
ต� า แหน่ ง ของขั้ ว ฟ้ า เหนื อ จะขึ้ น อยู ่ กั บ ละติ จู ด ของ
ดาวค้างฟ้า
ผู ้ สั ง เกต เช่ น ผู ้ สั ง เกตจากกรุ ง เทพมหานคร
ขั้วฟ้าเหนือ (13 องศาเหนือ) จะพบว่าขั้วฟ้าเหนือจะอยู่เหนือ
ขอบฟ้าทางทิศเหนือขึ้นไป 13 องศา เส้นศูนย์สูตร
ฟ้าเอียงไปทางใต้ 13 องศา และจะเห็นดาวขึ้น
และตกเป็นมุม 13 องศากับเส้นขอบฟ้า
ผู้สังเกตที่บริเวณนี้จะพบว่ามีดาวที่อยู่ใกล้
ขั้วฟ้าเหนือบางดวงที่ไม่มีวันตกลับขอบฟ้า และ
มี ด าวบางบริ เ วณใกล้ ขั้ ว ฟ้ า ใต้ ที่ ไ ม่ เ คยโผล่ ขึ้ น มา
เหนือขอบฟ้าเลย
ขั้วฟ้าใต้ ในลักษณะเดียวกัน ผูส้ งั เกตจากละติจดู อืน่ ๆ
จะพบขั้วฟ้าและทรงกลมฟ้าท�ามุมเอียงแตกต่างกัน
ไปตามละติจูดของผู้สังเกต
เส้นศูนย์สูตรฟ้า
ดาวที่ไม่เคยโผล่เหนือขอบฟ้า Con���t Q�e����n
ผูสังเกตบริเวณใดจะไมเห็นดวงดาวเคลื่อนที่
ขึ้นและตกจากขอบฟา
8
แนวตอบ Concept Question
ผูสังเกตบริเวณเสนศูนยสูตรฟา

ขอสอบเนน การคิด จุดยอดฟา


เชียงใหมอยูละติจูดประมาณ 18 องศาเหนือ จงระบุตําแหนงจุดเหนือ
ศีรษะขั้วฟาเหนือ เสนศูนยสูตรฟา พรอมทั้งระบุมุมที่ขั้วฟาเหนือทํากับ
เสน

ขอบฟาลงในทรงกลมฟาที่ผูสังเกตจากเชียงใหมจะสามารถสังเกตเห็น
ศูน

ขั้วฟาเหนือ
ยสูต

(วิเคราะหคําตอบ ผูส งั เกตจากเชียงใหมอยูล ะติจดู ประมาณ 18 องศาเหนือ


รฟา

จะเห็นดาวขึ้นและตกเปนมุม 18 องศากับเสนขอบฟา โดยจะพบวา มีดาวที่


อยูใกลขั้วฟาเหนือบางดวงที่ไมมีวันตกลับขอบฟาและมีดาวบางบริเวณใกล
ขั้วฟาใตที่ไมเคยโผลขึ้นมาเหนือขอบฟาเลย) 18 ํ N

เสนขอบฟา

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา (Exploration)
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การวัด 21. ครูถามคําถามกระตุน ความคิดนักเรียนวา เรา
การประมาณละติจูดที่เราอยู่ • การสังเกต สามารถประมาณละติจูดที่เราอยูไดอยางไร
จิตวิทยาศาสตร์
• ความรอบคอบ โดยครูยังไมเฉลยคําตอบแตแจงนักเรียนให
วัสดุอปุ กรณ์ • ความมุ่งมั่นอดทน ทราบวาจะรูคําตอบเมื่อจบชั่วโมง
1. ปากกา 2. สมุดบันทึก 22. ครูใชเทคนิคเพื่อนคูคิด โดยใหนักเรียนจับคู
กับเพื่อนรวมชั้นเรียนอยางอิสระ
วิธปี ฏิบตั ิ 23. นักเรียนแตละคูน าํ ผลการทํากิจกรรมมาแลก
1. รอวันที่ฟ้าเปิด ไม่มีเมฆ แล้วออกไปบริเวณที่โล่งแจ้ง ปราศจากแสงไฟรบกวน เปลี่ยนกันดูและอภิปรายรวมกัน แลวรวมกัน
2. หาดาวเหนือ โดยสามารถหาดาวเหนือได้จากกลุ่มดาวหมีใหญ่และกลุ่มดาวค้างคาว สรุปผลการทํากิจกรรมโดยมีครูคอยใหคํา
3. วัดมุมเงยของขั้วฟ้าเหนือจากขอบฟ้า ซึ่งสามารถประมาณมุมได้โดยใช้ร่างกายของเราเอง ถ้าเราเหยียด ปรึกษาและคําแนะนํา
แขนออกไปข้างหน้าให้สุด แล้วเอานิ้วมือเทียบกับระยะห่างที่ต้องการวัด (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
1� 2�
แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม)
ความกว้างของนิ้วก้อย ความกว้างของนิ้วหัวแมมือ
มีค่าประมาณ 1 องศา มีค่าประมาณ 2 องศา อธิบายความรู้ (Explanation)
24. ครูสมุ นักเรียนบางคูอ อกมานําเสนอผลการทํา
กิจกรรมของคูตนเอง
25. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํา
5� 10 � กิจกรรม โดยครูและนักเรียนจะตองใหขอ สรุป
ความกว้ า งของนิ้ ว ชี้ ความกว้างของกําปน
นิ้ ว กลาง และนิ้ ว นาง มีค่าประมาณ 10 องศา รวมกันวา มุมเงยของดาวเหนือจะมีคา เทากับ
รวมกัน ละติจดู ของผูสังเกตซึ่งจะมีคาแตกตางกันไป
มีค่าประมาณ 5 องศา ตามตําแหนงของผูสังเกต

15 � 22 �
ความกว้างระหวาง ความกว้างระหวาง
นิ้วชี้กับนิ้วก้อย นิ้วหัวแมมือกับนิ้วก้อย
มีค่าประมาณ 15 องศา มีค่าประมาณ 22 องศา

ภาพที่ 4.7 การใช้มือวัดระยะห่างระหว่างดาว


ที่มา : คลังภาพ อจท. ทรงกลมฟ้า 9

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับดาวเหนือ กอนที่ครูจะมอบหมายใหนักเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมการประมาณละติจูด
1. ดาวเหนือสามารถเปลี่ยนดวงได ครูอาจใหความรูเ สริมกับนักเรียนวา เราสามารถหาดาวเหนือดวยกลุม ดาวหมีใหญ
2. เปนดาวฤกษที่สวางที่สุดบนทองฟา (Ursa Major) ซึ่งเปนกลุมดาวที่มีดาวสวาง 7 ดวงเรียงกัน เปนรูปคลายกระบวย
3. เปนดาวฤกษที่อยูในกลุมดาวหมีเล็ก ตักนํ้า (Big Dipper) เมื่อเราลากเสนผานดาวดูเบ (Alpha Ursae Majoris) กับ
4. เปนดาวที่อยูใกลขั้วฟาเหนือมากที่สุด ดาวเมอแรก (Beta Ursae Majoris) ซึ่งเปนดาว 2 ดวงแรกของกระบวยตักนํ้า
5. สามารถหาดาวเหนือดวยกลุมดาวหมีใหญ โดยลากจากดาวดูเบหไปดาวเมอแรกตรงไปอีกประมาณ 4 เทา ของระยะหาง
ระหวางดาวทั้งสอง จะพบดาวที่มีแสงสวางริบหรี่ คือ ดาวเหนือ ซึ่งเปนดาว
(วิเคราะหคําตอบ ดาวเหนือ ไมใชดาวฤกษทส่ี วางทีส่ ดุ บนทองฟา ที่ปรากฏอยูตําแหนงเดิมตลอดเวลาไมวาทรงกลมฟาจะหมุนไปอยางไรก็ตาม
แตเพียงแคอยูใ กลบริเวณขัว้ เหนือของทองฟาเทานัน้ ดังนัน้ ตอบ
ขอ 2.)

T13
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู (Explanation)
26. ครูถามคําถามเพื่อใหนักเรียนอธิบายความรู ค�าถามท้ายกิจกรรม
โดยถามวา ?
เนื่องจากมุมเงยของขั้วฟ้าเหนือ (ดาวเหนือ) จะเท่ากับละติจูดที่เราอาศัยอยู่ จากกิจกรรม นักเรียน
• เพราะเหตุใดเมื่อนักเรียนกับเพื่อนสังเกต
สามารถประมาณละติจูดที่อาศัยอยู่ได้เท่าไร และได้ค่าใกล้เคียงกับค่าละติจูดจริงของจังหวัดที่นักเรียนอาศัย
ดาวดวงเดียวกันแตอยูกันคนละตําแหนง อยู่หรือไม่ อย่างไร
บนโลก นักเรียนกับเพื่อนจึงเห็นดาวดวง
เดียวกันอยูคนละตําแหนงกัน อภิปรายผลกิจกรรม

(แนวตอบ เนื่ อ งจากโลกหมุ น รอบตั ว เอง มุมเงยของขัว้ ฟ้าเหนือ (ดาวเหนือ) จะมีคา่ เท่ากับละติจดู ของผูส้ งั เกตซึง่ มีคา่ แตกต่างกันไปตามต�าแหน่ง
ตามเวลาที่เปลี่ยนไป ขอบฟาของผูสังเกต ของผู้สังเกต
จะเปลีย่ นไปดวย เมือ่ ผูส งั เกตอยูก นั คนละ
ตําแหนง ละติจูดจะทําใหคามุมเงยของ
ดาวดวงเดียวกันไมเทากัน ผูสังเกตจึงเห็น ในความเป็นจริงแล้ว ในเวลา 1 วัน ทุกซีกของทรงกลมฟ้าจะหมุนเวียนกันขึ้นมาอยู่
ดาวดวงเดียวกันคนละตําแหนงกัน) เหนือขอบฟ้า (ยกเว้นส่วนที่ไม่เคยโผล่พ้นขอบฟ้าเลย) อย่างไรก็ตาม ใน 1 วัน เวลาประมาณ
12 ชัว่ โมง จะเป็นเวลากลางวัน ท�าให้ไม่สามารถสังเกตเห็นดวงดาวบนท้องฟ้าได้ นัน่ คือ ดาวฤกษ์
ขยายความเขาใจ (Elaboration) ทีโ่ ผล่ขนึ้ มาพ้นขอบฟ้าในเวลาเดียวกันกับทีด่ วงอาทิตย์โผล่ขนึ้ มาพ้นขอบฟ้า จะไม่สามารถสังเกต
27. ครูใหความรูเ พิม่ เติม โดยทีค่ รูอาจใช Power- เห็นได้ เนื่องจากถูกบดบังด้วยแสงอาทิตย์
Point เรือ่ ง ทรงกลมฟาและลูกโลก มาชวยใน เราสามารถพิจารณาดวงอาทิตย์ได้วา่ เป็นเพียงวัตถุหนึง่ บนทรงกลมฟ้าทีห่ มุนไปพร้อมๆ กับ
การอธิบาย ทรงกลมฟ้า แต่ในความเป็นจริง ต�าแหน่งของดวงอาทิตย์บนทรงกลมฟ้าจะค่อย ๆ เปลี่ยนแปลง
28. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรมการ ไปเรื่อย ๆ ตามแนวที่เรียกว่า เส้นสุริยวิถี (ecliptic)
ประมาณละติจูดที่เราอยู จากหนังสือเรียน ในวันหนึ่ง ๆ เราสามารถพิจารณาดวงอาทิตย์เป็นเพียงวัตถุหนึ่ง ๆ บนทรงกลมฟ้าที่มีการ
เคลื่อนที่ไปพร้อม ๆ กับดาวฤกษ์ทั้งปวง อย่างไรก็ตาม เนื่องจากโลกมีการโคจรรอบดวงอาทิตย์
ลงในสมุดประจําตัว และแกนโลกท�ามุม 23.5 องศากับระนาบการโคจร ต�าแหน่งดวงอาทิตย์บนทรงกลมฟ้าจึงเปลีย่ นไป
29. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด เรื่อย ๆ และเมื่อโลกโคจรกลับมาครบ 1 รอบ ต�าแหน่งของดวงอาทิตย์บนทรงกลมฟ้าก็จะวน
เรื่อง ทรงกลมฟา จากแบบฝกหัดรายวิชา กลับมาครบต�าแหน่งเดิม เมื่อเวลาผ่านไป 1 ปีพอดี
เพิ่ ม เติ ม วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี 1
เส้นสุริยวิถี
โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.6 เลม 2 เส้นแสดงเส้นทางของดวงอาทิตย์ในรอบ 1 ปี
ขั้วฟ้าเหนือ
หนวยการเรียนรูที่ 4 เปนการบานสงครูใน ซึง่ เป็นระนาบของระบบสุรยิ ะพาดผ่านกลุม่ ดาว
ชั่วโมงถัดไป จักรราศี ซึง่ ดาวเคราะห์และดวงจันทร์กส็ ามารถ

พบได้เช่นกัน
23.5
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม เส้นขอบฟ้า
หากนักเรียนอยูที่ละติจูด 18 องศาเหนือ จะได ภาพที่ 4.8 ต�าแหน่งของดวงอาทิตย์
เส้นศูนย์สูตรฟ้า ขั้วฟ้าใต้ บนทรงกลมฟ้าตามแนวเส้นสุรยิ วิถี
คามุมเงยของขั้วฟาเหนือ (ดาวเหนือ) 18 องศา ที่มา : คลังภาพ อจท.
เหนือ หรือใกลเคียง เนือ่ งจากมุมเงยของขัว้ ฟาเหนือ 10
(ดาวเหนือ) จะมีคาเทากับละติจูดของผูสังเกตซึ่งมี
คาแตกตางกันไปตามตําแหนงของผูสังเกต

นักเรียนควรรู บันทึก กิจกรรม

1 สุรยิ วิถี หมายถึง เสนทางการเคลือ่ นทีข่ องดวงอาทิตยบนทองฟา เกิดจาก มุมเงย 18 องศา


จุดเหนือศีรษะ
การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตยเปนรูปวงรี โดยที่แกนของโลกเอียง 23.5 องศา
จากแนวตั้งฉากกับระนาบวงโคจร ในฤดูรอนโลกหันขั้วเหนือเขาหาดวงอาทิตย
ทําใหซีกโลกเหนือกลายเปนฤดูรอนและซีกโลกใตกลายเปนฤดูหนาว 6 เดือน 1ํ
ตอมา โลกโคจรไปอยูอีกดานหนึ่งของวงโคจร โลกหันขั้วใตเขาหาดวงอาทิตย 2ํ
(แกนของโลกเอียง 23.5 องศา คงที่ตลอดป) ทําใหซีกโลกใตกลายเปนฤดูรอน 15 ํ
และซีกโลกเหนือกลายเปนฤดูหนาว
เสนขอบฟา

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับทรง
เนือ่ งจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในระนาบทีเ่ รียกว่า ระนาบสุรยิ วิถี (ecliptic plane) ดังนัน้ กลมฟาและลูกโลก โดยนักเรียนจดบันทึกลงใน
จึงสังเกตเห็นดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านทรงกลมฟ้าเป็นแนววงกลม โดยเรียกเส้นทางเดินของ สมุดประจําตัวเปนรายบุคคล
ดวงอาทิตย์นี้ว่า เส้นสุริยวิถี ซึ่งท�ามุม 23.5 องศากับเส้นศูนย์สูตรฟ้า โดยกลุ่มดาวที่เส้นสุริยวิถี
พาดผ่าน คือ กลุ่มดาวจักรราศี มีน กุมภ์
ขัน้ ประเมิน
เมษ 21 มี.ค. 21 ก.พ. ตรวจสอบผล (Evaluation)
21 เม.ย.

พฤษภ มังกร
21 ม.ค.
1. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง ทรงกลมฟา
21 พ.ค.
21 พ.ย.
21 ต.ค. 21 ก.ย. 21 ส.ค.
เวลากลางคืน และลูกโลก
ธนู
เวลากลางวัน
21 ก.ค. 21 ธ.ค. 2. ครูตรวจแบบฝกหัด เรือ่ ง ทรงกลมฟาและลูกโลก
21 ธ.ค.
เมถุน
21 มิ.ย.
21 มิ.ย. 3. ครูตรวจและประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมการ
ลก
งิ ของโ
21 ม.ค.
21 ก.พ.
เส้นทางการโคจรที่แทจ้ ร
21 พ.ค.
สรางแบบจําลองทรงกลมฟา
กรกฎ
21 ก.ค.
ตา� แหน่งทีด่ วงอ
21 มี.ค. 21 เม.ย. 4. ครูตรวจและประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมการ
าทิตย์ปรากฏในจักรราศี
สิงห์
21 ส.ค.
พิจิก
21 พ.ย. หมุนของทรงกลมฟา
ตุลย์
กันย์ 21 ต.ค. 5. ครูตรวจและประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมการ
21 ก.ย.
ประมาณละติจูดที่เราอยู
ภาพที่ 4.9 วันที่ 21 สิงหาคม ดวงอาทิตย์ปรากฏอยูท่ รี่ าศีสงิ ห์ ซึง่ จะไม่สามารถสังเกตเห็นราศีสงิ ห์ได้ เนือ่ งจากกลุม่ ดาว
อยูเ่ หนือขอบฟ้าในเวลากลางวัน แต่จะเห็นราศีกมุ ภ์ได้ตลอดทัง้ คืน เพราะกลุม่ ดาวอยูต่ รงข้ามดวงอาทิตย์ 6. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
ที่มา : Bennett, et al (2013) สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
แนวความคิดการท�านายโชคชะตาด้วยกลุ่มดาวจักรราศีมีมาตั้งแต่สมัยบาบิโลเนียเมื่อ รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
ประมาณ 4,000 ปีที่แล้ว ชาวบาบิโลเนียได้ค้นพบว่า กลุ่มดาวจักรราศีใดอยู่บริเวณขอบฟ้า 7. ครูวดั และประเมินผลจากชิน้ งานอินโฟกราฟก
ก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น จะสามารถท�านายฤดูกาลได้ และช่วยให้สังคมกสิกรรมสามารถวางแผน เรื่อง ทรงกลมฟาและลูกโลก
ช่วงเวลาในการเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสม 8. ครูวดั และประเมินผลจากชิน้ งานอินโฟกราฟก
Core Concept เรื่อง ปรากฏการณที่สังเกตไดเมื่อผูสังเกตอยู
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง บริเวณตางๆ ของโลก
ทรงกลมฟ้าและลูกโลก
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. บริเวณใดที่ผู้สังเกตจะสามารถเห็นทั้งขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้
2. จงอธิบายเกี่ยวกับเส้นขอบฟ้า
3. เพราะเหตุใดเราถึงสังเกตเห็นดาวบางกลุ่มได้ในบางฤดู

ทรงกลมฟ้า 11

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ผูส งั เกตทีอ่ ยูข วั้ โลกเหนือจะไมสามารถสังเกตเห็นขัว้ โลกเหนือไดบริเวณ ครูสามารถวัดและประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมการหมุนของทรงกลมฟา โดย
ศีรษะของผูส งั เกต ในขณะทีข่ วั้ โลกใตจะอยูใ ตเทาของผูส งั เกตซึง่ ถูกผืน ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมทีแ่ นบมา
ดินบดบัง ดังนั้น จะไมมีบริเวณใดที่ผูสังเกตสามารถเห็นทั้งขั้วฟาเหนือ ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 ทรงกลมฟา
และขั้วฟาใตพรอมกัน
2. เปนแนวบรรจบของทรงกลมฟาสวนบนกับทรงกลมฟาสวนลาง ซึ่งอยู แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม

ในแนวระดับสายตาของผูสังเกต คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง

ลาดับที่
กับระดับคะแนน

รายการประเมิน
ระดับคะแนน

3. การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยทาํ ใหดวงดาวถูกบดบังดวยแสงอาทิตย
4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม

มีการเปลีย่ นแปลงไปในรอบป จึงมีดาวบางกลุม สังเกตไดเฉพาะในชวง


รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................../..................

ฤดูรอน และบางกลุมดาวที่สังเกตไดเฉพาะในชวงฤดูหนาว ประเด็นที่ประเมิน


1. การปฏิบัติ
4
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

ทากิจกรรมตามขั้นตอน
3
ทากิจกรรมตามขั้นตอน
ระดับคะแนน
2
ต้องให้ความช่วยเหลือ
1
ต้องให้ความช่วยเหลือ
กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้องได้รับ และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
คาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดยไม่ ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึงทา ทันเวลา และทาอุปกรณ์
ในขณะปฏิบัติ ต้องได้รับคาชี้แนะ และ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง กิจกรรมเสร็จไม่ทันเวลา เสียหาย
กิจกรรม ทากิจกรรมเสร็จทันเวลา และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการทา บันทึกและสรุปผลการทา ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล กิจกรรมได้ถูกต้อง รัดกุม กิจกรรมได้ถูกต้อง แต่การ บันทึก สรุป และนาเสนอ อย่างมากในการบันทึก
การปฏิบัติ นาเสนอผลการทา นาเสนอผลการทา ผลการทากิจกรรม สรุป และนาเสนอผลการ
กิจกรรม กิจกรรมเป็นขั้นตอน กิจกรรมยังไม่เป็นขั้นตอน ทากิจกรรม
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T15
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model) Key Question


กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
พิกัดทองฟามีประโยชน 2. พิกดั ท้องฟ้า
ครู ก ระตุ  น ความสนใจนั ก เรี ย น โดยครู ใ ช อยางไร
หากต้องการบอกให้คนอื่นทราบถึงต�าแหน่งบนพื้นโลก
คําถาม ดังตอไปนี้
สามารถท�าได้ง่ายโดยการระบุพิกัดละติจูด (latitude) กับลองจิจูด (longitude) ในท�านองเดียวกัน
• หากนักเรียนตองการบอกตําแหนงบนพื้น
หากต้องการบอกต�าแหน่งถึงวัตถุใด ๆ บนท้องฟ้า สามารถท�าได้โดยการบอกถึงพิกัดท้องฟ้า
โลกใหผูอื่นทราบ นักเรียนควรบอกอยางไร
(celestial coordinates) ซึ่งการบอกพิกัดบนท้องฟ้าสามารถท�าได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับระนาบอ้างอิง
(แนวตอบ บอกโดยระบุพิกัดละติจูดกับ
ลองจิจูด) 2.1 พิกัดขอบฟ้า
• แผนที่ใน Google Maps บอกตําแหนงโดย หากต้องการระบุถงึ ต�าแหน่งของวัตถุทอี่ ยูบ่ นท้องฟ้า วิธที งี่ า่ ยทีส่ ดุ คือการระบุวา่ เราเห็นวัตถุ
ใชพิกัดใด นั้นอยู่บริเวณใด ทิศไหน และอยู่สูงจากขอบฟ้าไปกี่องศา ระบบพิกัดขอบฟ้า (horizontal coor-
(แนวตอบ พิกัดละติจูดกับลองจิจูด) dinates) จึงเป็นระบบพิกัดที่ให้ผู้สังเกตเป็นศูนย์กลางของทรงกลมฟ้า โดยใช้ขอบฟ้าของผู้สังเกต
เป็นตัวอ้างอิง ระบบนี้ยังสามารถเรียกได้ว่า ระบบอัลตาซิมุท (Alt/Az Coordinate System)
ขัน้ สอน โดยใช้มุมทิศ (azimuth) และมุมเงย (altitude) ในการระบุต�าแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า ซึ่งระบบนี้
สํารวจค้นหา (Exploration) เป็นระบบที่ค่อนข้างเข้าใจได้ง่าย
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน แลว
ใหนักเรียนรวมกันศึกษา เรื่อง พิกัดขอบฟา จุดเหนือศีรษะ
จุดบนทรงกลมฟ้าที่อยู่เหนือศีรษะของผู้สังเกต ซึ่งมีค่า
จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน ฟ้า
มุมเงยเป็น 90 องศา
ดี ย น

อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้าใหนักเรียนเลือก
เมรเิ

เมริเดียนฟ้า
ศึกษาจากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ
มุมเงย
เส้นทีล่ ากจากขอบฟ้าทางทิศเหนือผ่านจุดเหนือศีรษะลงไป
2. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตใหแตละกลุม กลุม มุมทิศ
ยังขอบฟ้าทางทิศใต้ ซึ่งเส้นนี้จะแบ่งทรงกลมฟ้าออกเป็น
No
ละ 1 แผน แลวใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน ซีกตะวันออกและซีกตะวันตก
เส้นขอบฟ้า
สรุปความรูที่ศึกษาไดโดยจัดทําเปนผังมโน มุมเงย
ทัศน เรื่อง พิกัดขอบฟา โดยครูคอยใหคํา มักแทนด้วยสัญลักษณ์ A วัดจากเส้นขอบฟ้าขึ้นไปยังจุด
เหนือศีรษะจนถึงต�าแหน่งของดาว โดยจะมีคา่ 0-90 องศา
แนะนําและตรวจสอบความถูกตองของชิน้ งาน
มุมทิศ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช จุดใต้เท้า
จุดบนทรงกลมฟ้าที่อยู่ใต้เท้าของผู้สังเกต มักแทนด้วยสัญลักษณ์ h วัดตามแนวเส้นขอบฟ้าจากทิศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) เหนือไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกาจนถึงแนวเส้นวงกลม
ภาพที่ 4.10 การระบุตา� แหน่งวัตถุบนท้องฟ้า ใหญ่ที่ลากผ่านดาว โดยจะมีค่า 0-360 องศา
ในระบบพิกดั ขอบฟ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท.

12 พิกัดขอบฟา

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมจากการสแกน QR Code เรือ่ ง พิกดั ขอบฟา จากหนังสือเรียน ในการวัดมุมทิศในระบบพิกัดขอบฟา จุดเริ่มตน 0 องศา อยูที่
หนา 12 ตําแหนงใด
1. ทิศใต
2. ทิศเหนือ
3. ดาวเหนือ
4. เสนเมริเดียน
5. จุดวสันตวิษุวัต
(วิเคราะหคําตอบ มุมทิศ เปนคาของมุมทีว่ ดั จากทิศเหนือไปทาง
ทิศตะวันออกตามแนวเสนขอบฟาถึงวงกลมใหญท่ีลากผานดาว
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

ระบบนี้จะเข้าใจได้ง่ายส�าหรับผู้สังเกต เราสามารถระบุจุดและเส้นส�าคัญในระบบนี้ได้ ดังนี้ ขัน้ สอน


1. จุดเหนือศีรษะ (zenith) คือ จุดเหนือศีรษะของผู้สังเกต หากดวงอาทิตย์อยู่บริเวณ อธิบายความรู้ (Explanation)
จุดเหนือศีรษะ พบว่าเงาของผู้สังเกตจะหายไป 3. นักเรียนแตละกลุมนําผังมโนทัศนของกลุม
2. จุดใต้เท้า (nadir) จุดของทรงกลมฟ้าทีอ่ ยูใ่ ต้เท้าของผูส้ งั เกต เป็นส่วนของทรงกลมฟ้า ตนเองมาติดรอบชั้นเรียน แลวเดินชมผลงาน
ที่ไม่สามารถสังเกตได้ เนื่องจากผืนโลกบดบังไว้ ของเพื่ อ นร ว มชั้ น เรี ย น โดยในระหว า งที่
3. เมริเดียนฟ้า (celestial meridian) คือ เส้นที่ลากจากขอบฟ้าทางทิศเหนือ ผ่านจุด นั ก เรี ย นเดิ น ชมผลงาน ครู ค อยกระตุ  น ให
เหนือศีรษะลงไปยังขอบฟ้าทางทิศใต้ เส้นนี้จะแบ่งทรงกลมฟ้าออกเป็น 2 ส่วน ในซีกตะวันออก นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ
และซีกตะวันตก วัตถุท้องฟ้าทุกชนิดจะขึ้นทางทิศตะวันออกและอยู่สูงที่สุดบริเวณเส้นเมริเดียน ผลงานที่แตละกลุมไดทํา
ก่อนที่จะข้ามไปยังทรงกลมฟ้าซีกตะวันตกและตกลงทางขอบฟ้าทางทิศตะวันตกต่อไป 4. ครูถามคําถามเพือ่ ใหนกั เรียนอธิบายความรูโ ดย
4. มุมทิศ (azimuth) แทนด้วยสัญลักษณ์ h เป็นมุมทีบ่ อกว่าผูส้ งั เกตก�าลังหันไปยังทิศใด ใชคําถาม ดังนี้
โดยให้เป็นศูนย์ที่ทิศเหนือและวัดไปตามขอบฟ้าจากทิศเหนือไปทางทิศตามเข็มนาฬิกา มีค่า • พิกดั ขอบฟาคืออะไร และใชสงิ่ ใดเปนระนาบ
ระหว่าง 0-360 องศา อางอิง
1
5. มุมเงย (altitude) แทนด้วยสัญลักษณ์ A เป็นมุมที่บอกว่าวัตถุนี้อยู่สูงจากขอบฟ้า ( แนวตอบ พิ กั ด ขอบฟ า คื อ พิ กั ด ที่ บ อก
ณ ต�าแหน่งมุมทิศไปกี่องศา เช่น จุดเหนือศีรษะจะมีมุมเงย 90 องศา ตําแหนงของวัตถุบนทองฟาโดยใหผูสังเกต
ปัญหาอย่างหนึ่งของระบบพิกัดขอบฟ้านี้ คือ ต�าแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้าในระบบนี้จะ เป น ศู น ย ก ลางของทรงกลมฟ า และใช
เปลี่ยนพิกัดไปเรื่อย ๆ ตามเวลาและต�าแหน่งที่สังเกต เนื่องจากทรงกลมฟ้ามีการเคลื่อนที่ ขอบฟาของผูสังเกตเปนระนาบอางอิง)
เมื่อเทียบกับผู้สังเกต ดังนั้น ผู้สังเกต ณ คนละต�าแหน่งจะมีการสังเกตวัตถุบนท้องฟ้าเดียวกัน • สวนประกอบสําคัญของพิกัดขอบฟามีอะไร
คนละต�าแหน่ง เช่น ในขณะที่ดวงอาทิตย์ก�าลังตกขอบฟ้าทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร บาง
ผู้สังเกตที่ประเทศอังกฤษจะเห็นดวงอาทิตย์อยู่ Con���t Q�e����n
(แนวตอบ จุดเหนือศีรษะ เมริเดียนฟา มุมเงย
สูง 36 องศาเหนือของขอบฟ้าทางทิศใต้ และ การระบุพิกัดดวยระบบพิกัดขอบฟา
เมื่อเวลาผ่านไปอีก 6 ชั่วโมง ชาวอังกฤษจึงจะ ตองระบุคาใดบาง มุมทิศ และจุดใตเทา)
เห็นดวงอาทิตย์กา� ลังตกขอบฟ้าทางทิศตะวันตก 5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาตัวอยางที่
4.1 และ 4.2 ในหนังสือเรียน โดยมีครูคอย
Earth Science สังเกตการณและใหคําแนะนํา
Focus หอดูดาวแห่งกรีนิช
6. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสืบคนโจทย
หอดูดาวแห่งกรีนิช เป็นหอดูดาวขนาด ปญหาที่เกี่ยวกับพิกัดทองฟา พรอมแสดงวิธี
ใหญ่ ที่ มี ค วามเก่ า แก่ ตั้ ง อยู ่ บ นเนิ น เขาของ
สวนสาธารณะกรีนิช ซึ่งมีบทบาทส�าคัญทาง หาคําตอบ กลุมละ 3 ขอ โดยบันทึกลงในสมุด
ประวั ติ ศ าสตร์ เ กี่ ย วกั บ ดาราศาสตร์ แ ละการ ประจําตัว
เดินเรือที่เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็น “เส้นแบ่งเวลา
กรีนิช” เส้นแบ่งเวลาระหว่างฝังตะวันตกและ
ฝังตะวันออกหรือที่เรียกกันว่า เวลามาตรฐาน
ภาพที่ 4.11 หอดูดาวแห่งกรีนิช กรุงลอนดอน
ประเทศอังกฤษ กรีนิช (Greenwich Mean Time; GMT)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทรงกลมฟ้า 13
แนวตอบ Concept Question
ระบุมุมทิศและมุมเงย

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เสนสมมติใดบนโลกที่แบงโลกออกเปนซีกตะวันออกและซีก เมือ่ นักเรียนศึกษาเนือ้ หา เรือ่ ง พิกดั ขอบฟา เรียบรอยแลว ครูอาจใหความรู
ตะวันตก เสริมกับนักเรียนวา การบอกตําแหนงดวยพิกดั ขอบฟาจะบอกเปนคามุมทิศและ
1. เสนละติจูด มุมเงยพรอมกัน ซึง่ จะใชกบั ผูส งั เกตทีอ่ ยูบ นเสนละติจดู เดียวกันในเวลาเดียวกัน
2. เสนขอบฟา เทานั้น ไมสามารถอางอิงถึงบุคคลอื่นที่อยูตางสถานที่และเวลากันได เนื่องจาก
3. เสนลองจิจูด มีจุดเหนือศีรษะคนละจุดกัน
4. เสนศูนยสูตร
5. เสนเมริเดียนฟา
(วิเคราะหคําตอบ เสนเมริเดียนฟา คือ เสนทีล่ ากจากขอบฟาทาง นักเรียนควรรู
ทิศเหนือศีรษะลงไปยังขอบฟาทางทิศใต ซึ่งเสนนี้จะแบงทรงกลม
1 มุมเงย สําหรับในวิชาคณิตศาสตร มุมเงย คือ มุมทีม่ แี ขนของมุมแขนหนึง่
ฟาออกเปนซีกตะวันออกและซีกตะวันตก ดังนั้น ตอบขอ 5.)
อยูในระดับสายตาและอีกแขนหนึ่งเชื่อมระหวางตาของผูสังเกตและวัตถุ ซึ่งอยู
สูงกวาระดับสายตา

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
7. ครู ใ ห ค วามรู  เ พิ่ ม เติ ม โดยที่ ค รู อ าจจะใช ตัวอย่างที่ จากภาพที่ 4.12 จงหามุมทิศและมุมเงยของดาว A และ B
PowerPoint เรื่อง ทรงกลมฟาและลูกโลก 4.1

มาชวยในการอธิบาย Z วิธีท�า มุมทิศของดาว A = 180 � - 70 � = 110 �


8. นักเรียนแตละคนทําใบงาน เรื่อง พิกัดขอบฟา มุมเงยของดาว A = 90 � - 40 � = 50 �
9. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง B มุมทิศของดาว B = 180 � + 30 � = 210 �
A
N
พิกัดขอบฟา จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติม มุมเงยของดาว B = 70 �
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร 40 �
70 �
และอวกาศ ม.6 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 4 W E
เปนการบานสงครูในชั่วโมงถัดไป 30 � 70 � ภาพที่ 4.12 ภาพประกอบตัวอย่างที่ 4.1
ที่มา : คลังภาพ อจท.
S
ขัน้ สรุป ดังนั้น มุมทิศและมุมเงยของดาว A เท่ากับ 110 องศา และ 50 องศา ส่วนมุมทิศและมุมเงยของ
นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับพิกดั ดาว B เท่ากับ 210 องศา และ 70 องศา
ขอบฟา โดยนักเรียนจดบันทึกลงในสมุดประจําตัว
เปนรายบุคคล ตัวอย่างที่ จงเขียนภาพทรงกลมฟ้าแสดงต�าแหน่งต่อไปนี้ จุดเหนือศีรษะส�าหรับผูท้ อี่ ยูล่ ะติจดู 0 องศา
4.2 เส้นขอบฟ้า และต�าแหน่งของดาวที่ปรากฏ ณ มุมทิศ 80 องศา มุมเงย 50 องศา
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล (Evaluation) Z วิธีท�า จากโจทย์สามารถเขียนภาพได้ ดังภาพที่
B 4.13
1. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง พิกดั ขอบฟา
2. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง พิกัดขอบฟา W
3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ S C N
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน 80 �
รายบุคคล และพฤติกรรมการทํางานกลุม E A
50 �
ภาพที่ 4.13 ภาพประกอบตัวอย่างที่ 4.2
4. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานผังมโนทัศน ที่มา : คลังภาพ อจท.
เรื่อง พิกัดขอบฟา
ดังนั้น จากภาพที่ 4.13 C คือ จุดศูนย์กลางของทรงกลมฟ้า N E S และ W คือ ขอบฟ้าในทิศต่าง ๆ
Z คือ จุดเหนือศีรษะ
NCA คือ มุมทิศของดาว = 80 องศา
ACB คือ มุมเงยของดาว = 50 องศา

14

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุมในการจัดทําผังมโน กรุงเทพมหานครตัง้ อยูท ลี่ ะติจดู 13.8 องศาเหนือ ในวันเหมายัน
ทัศน เรื่อง พิกัดขอบฟา โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกต (winter solstice) ผูสังเกตที่อยูบริเวณนี้จะเห็นดวงอาทิตยขาม
พฤติกรรมการทํางานกลุม ทีแ่ นบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เมริเดียนสูงจากขอบฟาทางทิศใด และมีมุมเงยกี่องศา
ทรงกลมฟา (แนวตอบ ในวันเหมายัน ดวงอาทิตยจะอยูคอนไปทางใตสุด
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
ซึ่งตําแหนงใตสุดที่ดวงอาทิตยจะอยูไดก็คือ -23.5 องศา หรือ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
อยูตํ่ากวาเสนศูนยสูตรฟา 23.5 องศา (เนื่องจากแกนโลกเอียง
23.5 องศา) สําหรับกรุงเทพมหานครที่ตั้งอยูที่ละติจูด 13.8 องศา
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชือ่ –สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
เหนือ ขั้วฟาเหนือจะยกขึ้นมา 13.8 องศา นั่นคือ เสนศูนยสูตร
ฟาจะอยูคอนไปทางใต 13.8 องศา จึงเห็นดวงอาทิตยอยูตํ่ากวา
เสนศูนยสตู รฟาอีก 23.5 องศา ดังนัน้ ดวงอาทิตยจะคอนไปทางใต
เกณฑ์การให้คะแนน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../............... โดยอยูเหนือขอบฟา 90 ∞- 23.5∞ - 13.8 = 52.7 องศา ขณะที่ผาน
เมริเดียน)
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี

T18
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
2.2 พิกัดศูนย์สูตร 1. ครูชักชวนนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับพิกัดขอบฟา
Earth Science
ถึงแม้ว่าระบบพิกัดขอบฟ้าจะง่ายต่อการเข้าใจส�าหรับ in real life
เพื่อเปนการทบทวนความรูเดิม โดยครูอาจใช
ผู้สังเกต แต่การที่พิกัดของวัตถุท้องฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า แผนที่ ด าวที่ พ บเห็ น ทั่ ว ไปใน คําถามในการเปดประเด็นพูดคุย ดังนี้
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามเวลาและต�าแหน่งของผู้สังเกต ปัจจุบันมีด้วยกันไม่กี่ประเภท • พิกดั ขอบฟาคืออะไร และใชสงิ่ ใดเปนระนาบ
คื อ แผนที่ ด าวที่ ท� า มาจาก อางอิง
ท�าให้พิกัดนี้ไม่เหมาะต่อการระบุต�าแหน่งดาวบนแผนที่ดาว จึง กระดาษหรื อ พลาสติ ก และ
นิยมใช้อีกระบบพิกัดหนึ่ง เรียกว่า พิกัดศูนย์สูตร (equatorial แผนที่ดาวแบบอิเล็กทรอนิกส์ (แนวตอบ พิ กั ด ขอบฟ า คื อ พิ กั ด ที่ บ อก
coordinates) เป็1 นระบบพิกัดที่ใช้โลกเป็นศูนย์กลาง และอ้างอิง เช่น โปรแกรม Stellarium หรือ ตําแหนงของวัตถุบนทองฟาโดยใหผูสังเกต
แอปพลิเคชันทีม่ ใี ห้ดาวน์โหลด เปนศูนยกลางของทรงกลมฟาและใชขอบฟา
กับเส้นศูนย์สูตรฟ้าบนทรงกลมฟ้าโดยตรง ในระบบพิกัดนี้ พิกัด ใช้ในโทรศัพท์มือถือ
ของวัตถุจะไม่ขึ้นอยู่กับต�าแหน่งของผู้สังเกตและผู้สังเกต ณ ของผูสังเกตเปนระนาบอางอิง)
ต�าแหน่งใด ๆ บนโลกจะมีพิกัดของวัตถุใด ๆ บนท้องฟ้าอยู่ในต�าแหน่งเดียวกันเสมอ จึงมักจะเป็น • ถานักเรียนตองการบอกตําแหนงดาวบน
พิกัดที่ใช้กันมากที่สุดในดาราศาสตร์ พิกัดนี้เหมาะแก่การระบุถึงต�าแหน่งดาวหรือวัตถุท้องฟ้าที่ ทองฟาในระบบพิกัดขอบฟา นักเรียนตอง
สามารถสังเกตได้ลงในแผนที่ดาว บอกคาใดบาง
(แนวตอบ มุมเงยและมุมทิศ)
ขั้วฟ้าเหนือ 2. ครู ตั้ ง คํ า ถามกระตุ  น ความคิ ด นั ก เรี ย นว า
เดคลิเนชัน นอกจากพิกัดขอบฟาที่ใชในการบอกตําแหนง
แทนด้วยสัญลักษณ์ δ (delta) ใช้บอกระยะเชิงมุม วัตถุบนทองฟา นักเรียนคิดวา มีระบบพิกัด
60 � ของดาวว่าอยูห่ า่ งจากเส้นศูนย์สตู รฟ้าเท่าใด มีคา่ อื่นในการบอกตําแหนงหรือไม โดยครูปลอย
-90 ถึง 90 องศา โดยหากวัดไปทางทิศเหนือ
จะมีค่าเป็นบวก แต่หากวัดไปทางทิศใต้จะมีค่า นักเรียนรวมกันอภิปรายหาคําตอบอยางอิสระ
เดคลิเนชัน

30 � เป็นลบ โดยไมเฉลยคําตอบ
0� ขัน้ สอน
เส้นศูนย์ส ไรต์แอสเซนชัน รู้ (Knowing)
ูตรฟ้า
ไรต์แอสเซนชัน
-30 � แทนด้วยสัญลักษณ์ α (alpha) มุมที่วัดตาม 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน แลว
แนวเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศตะวันออก โดย ใหนักเรียนรวมกันศึกษา เรื่อง พิกัดศูนยสูตร
เริ่มจากจุดวสันตวิษุวัตไปจนถึงเส้นที่บอกมุม
ชั่วโมงของดาว มีหน่วยเป็นเวลา (ชั่วโมง นาที จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน
และวินาที) หรือมุม (องศา ลิปดา และพิลิปดา) อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้าใหนักเรียนเลือก
ขั้วฟ้าใต้ ศึกษาจากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ
ภาพที่ 4.14 การระบุตา� แหน่งวัตถุบนท้องฟ้าในระบบพิกดั ศูนย์สตู ร 2. นักเรียนแตละกลุมจัดทําผังมโนทัศน เรื่อง
ที่มา : คลังภาพ อจท. พิกัดศูนยสูตร ในรูปแบบที่นาสนใจ จากนั้น
สงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
ทรงกลมฟ้า 15
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


หากนํากลองโทรทรรศนชี้ไปยังตําแหนงหนึ่งบนทองฟา โดยที่ เมื่อจัดการเรียนการสอนมาถึงเนื้อหาตรงสวนนี้ ครูอาจใหความรูเสริมกับ
กลองไมมีการเคลื่อนที่ เมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง พิกัดของดาวที่ นักเรียนเกี่ยวกับคาเดคลิเนชันและไรตแอสเซนชันของวัตถุทองฟาวา ดาวฤกษ
สังเกตเห็นไดผานกลองโทรทรรศนจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไร มีคาเดคลิเนชันและไรตแอสเซนชันคงที่ เรียกวา ดาวฤกษคงที่ (fix star) ในขณะ
1. คาเดคลิเนชันคงที่ สวนคาไรตแอสเซนชันเพิ่มขึ้น ที่วัตถุทองฟาชนิดอื่นๆ ที่เคลื่อนที่ได เชน ดาวเคราะห ดาวหาง ดวงอาทิตย
2. คาเดคลิเนชันเพิ่มขึ้น สวนคาไรตแอสเซนชันคงที่ ดวงจันทร จะมีคาเดคลิเนชันและไรตแอสเซนชันเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
3. คาเดคลิเนชันเพิ่มขึ้น สวนคาไรตแอสเซนชันลดลง
4. คาเดคลิเนชันลดลง สวนคาไรตแอสเซนชันเพิ่มขึ้น
5. คาเดคลิเนชันและคาไรตแอสเซนชันไมเปลี่ยนแปลง
นักเรียนควรรู
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อนํากลองโทรทรรศนชี้ไปยังตําแหนงหนึ่ง 1 เสนศูนยสูตร เปนเสนสมมติรอบดาวเคราะห ที่ระยะหางจากขั้วเหนือกับ
เหนือขอบฟา การหมุนของโลกทําใหทรงกลมฟาหมุนไป ซึ่งการ ขั้วใตเทาๆ กัน และตั้งฉากกับแกนหมุนของดาวเคราะห โดยเสนศูนยสูตรจะ
หมุนของทรงกลมฟาจะเกิดขึ้นในแนวไรตแอสเซนชัน จึงทําให แบงดาวเคราะหออกเปนซีกเหนือซีกใต มีละติจูดเทากับ 0 องศา
มุมเดคลิเนชันคงที่ ขณะที่ไรตแอสเซนชันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น
ตอบขอ 1.)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
3. ครูถามคําถามใหนักเรียนอธิบายสิ่งที่นักเรียน ในการระบุต�าแหน่งพิกัดบนทรงกลมฟ้า เราใช้วิธีใกล้เคียงกับพิกัดละติจูดและลองจิจูด
ไดเรียนรู โดยใหนกั เรียนแขงขันกันตอบคําถาม บนโลก โดยในระบบพิกัดศูนย์สูตรแบ่งพิกัดออกเป็นเดคลิเนชันและไรต์แอสเซนชัน จุดส�าคัญ
หากนักเรียนคนใดตอบไดถูกตองรวดเร็วที่สุด ต่าง ๆ บนทรงกลมฟ้าในพิกัดศูนย์สูตร ได้แก่
ครูจะใหรางวัล เชน คะแนนพิเศษ โดยครูอาจ 1. ขั้วฟ้าเหนือ เป็นบริเวณของท้องฟ้าที่แกนหมุนของโลกชี้ไปทางทิศเหนือ ปัจจุบันอยู่
ใชคําถามจากแบบฝกหัด เรื่อง พิกัดศูนยสูตร ใกล้เคียงกับดาวเหนือ (polaris) โดยห่างประมาณ 1 องศา ซึ่งดาวเหนือเป็นดาวฤกษ์ธรรมดา
ไม่ได้เป็นดาวที่สว่างที่สุดหรือมีความพิเศษแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้บริเวณ
ลงมือทํา (Doing) ขั้วเหนือของท้องฟ้าเพียงเท่านั้น
4. นักเรียนแตละคนทําใบงาน เรือ่ ง พิกดั ศูนยสตู ร 2. ขั้วฟ้าใต้ เช่นเดียวกับขั้วฟ้าเหนือ แต่เป็นขั้วหมุนของทรงกลมฟ้าทางทิศใต้แทน
5. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง ณ ปัจจุบันไม่มีดาวฤกษ์สว่างดวงใดอยู่บริเวณขั้วฟ้าใต้
พิกัดศูนยสูตร จาก Unit Questions 4 เปน 3. เส้นศูนย์สูตรฟ้า คือ เส้นสมมติที่ได้จากการฉายเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังบนท้องฟ้า
การบานสงครูในชั่วโมงถัดไป เส้นศูนย์สตู รฟ้านีจ้ ะแบ่งทรงกลมฟ้าออกเป็นซีกฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้ ส่วนบริเวณเส้นศูนย์สตู รฟ้า
จะเป็นบริเวณที่สามารถสังเกตผู้สังเกตที่อยู่จากทั่วทุกมุมโลกได้
ขัน้ สรุป 4. เดคลิเนชัน (Declination; Dec) แทนด้วยสัญลักษณ์ δ (delta) จะมีลักษณะคล้าย ๆ
กับละติจูดบนโลก ใช้บอกระยะเชิงมุมของดาวว่าอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าเท่าใด มีค่า -90 ถึง
1. ครูใหความรูเ พิม่ เติม โดยทีค่ รูอาจจะใช Power- 90 องศา โดยถ้าวัดไปทางทิศเหนือมีคา่ เป็นบวก แต่ถา้ วัดไปทางทิศใต้จะมีคา่ เป็นลบ เช่น ดาวเวกา
Point เรื่อง พิกัดศูนยสูตร มาชวยอธิบาย (Vega) จะมี Dec ประมาณ δ = +39 องศา
2. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ 5. ไรต์แอสเซนชัน (Right Ascension; RA) แทนด้วยสัญลักษณ์ α (alpha) จะมีลกั ษณะ
พิกดั ศูนยสตู ร โดยนักเรียนจดบันทึกลงในสมุด คล้าย ๆ กับเส้นลองจิจูดบนโลก คือ มุมที่ห่างจากเส้นอ้างอิง ส�าหรับทรงกลมฟ้าเราใช้เส้นอ้างอิง
ประจําตัวเปนรายบุคคล คือ เส้นที่ลากผ่านจุดวสันตวิษุวัต (vernal equinox) หรือต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ประมาณวันที่
21 มีนาคม หน่วยของ RA จะมีลักษณะที่ต่างออกไป โดยใช้หน่วยเป็น ชั่วโมง (h) นาที (m)
และวินาที (s) โดยรอบเส้นศูนย์สูตรฟ้าจะแบ่งออกเป็น 24 ชั่วโมง เช่น ดาวเวกามี RA ประมาณ
ขัน้ ประเมิน α = 18 h 36 m หรืออาจบอกเป็นมุม ในกรณีนี้ค่า RA จะมีค่าตั้งแต่ 0-360 องศา
1. ครู ต รวจสอบผลการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง พิ กั ด
ศูนยสูตร Earth Science
Focus ดาวเหนือของโลก
2. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง พิกัดศูนยสูตร
ดาวเหนือของโลกไม่ใช่ดาวเหนือถาวร และมีการ
3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ เปลีย่ นแปลงไปตลอดเวลา สาเหตุเป็นเพราะว่าแกนโลกที่
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน เอียงก�าลังหมุนคล้ายกับลูกข่างทีก่ า� ลังล้ม ท�าให้แกนของ
รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม โลกส่ายไปรอบ ๆ โดยการส่าย 1 รอบ จะใช้เวลาประมาณ
26,000 ปี ในสมัยกรีกโบราณขัว้ ฟ้าเหนือชีไ้ ปทีร่ ะหว่างกลุม่
4. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานผังมโนทัศน ดาวหมีใหญ่และหมีเล็ก ในต�านานกรีกโบราณจึงเล่าขานกัน
เรื่อง พิกัดศูนยสูตร ว่า แม่หมีกบั ลูกหมีกา� ลังวิง่ วนหากันอยูใ่ นสรวงสวรรค์
ภาพที่ 4.15 การหมุนส่ายของแกนโลกท�าให้
ต�าแหน่งของขั้วฟ้าเหนือเปลี่ยนแปลงได้
ที่มา : Tau'olunga
16

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ในการจัดทําผังมโนทัศน ในการวัดคาไรตแอสเซนชันในระบบพิกดั ศูนยสตู ร มีจดุ เริม่ ตน
เรื่อง พิกัดศูนยสูตร โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกต ที่จุดใด
พฤติกรรมการทํางานกลุมที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรู 1. ทิศใต
ที่ 4 ทรงกลมฟา 2. ทิศเหนือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
3. ดาวเหนือ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
4. วสันตวิษุวัต
ลาดับที่
ชือ่ –สกุล
ของนักเรียน
การแสดง
ความ
คิดเห็น
การยอมรับ
ฟังคนอื่น
การทางาน
ตามที่ได้รับ
มอบหมาย
ความมี
น้าใจ
ส่วนร่วมใน
การ
ปรับปรุง
รวม
15
ผลงานกลุ่ม คะแนน
5. เสนเมริเดียน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
(แนวตอบ คาไรตแอสเซนชันมีลักษณะคลาย กับเสนลองจิจูด
บนโลก โดยใชจุดวสันตวิษุวัตเปนจุดเริ่มตน ดังนั้น ตอบขอ 4.)
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี

T20
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ต�าแหน่งของดวงอาทิตย์บนทรงกลมฟ้า แสดงได้ดังภาพที่ 4.16 ครูชักชวนนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับดวงอาทิตย
เพื่อเปนการทบทวนความรูเดิม โดยมีคําถามใน
ขั้วฟ้าเหนือ
การเปดประเด็นพูดคุย ดังนี้
ี • การทีเ่ ราเห็นดวงอาทิตยขนึ้ ทางทิศตะวันออก
ุริยวถิ
เสน้ ส 21 มิถุนายน แลวตกทางทิศตะวันตก เปนการเคลื่อนที่
21 กันยายน
ทีแ่ ทจริงของดวงอาทิตยหรือไม อยางไร
21 ธันวาคม เส้นศูนย์สูตรฟ้า (แนวตอบ ไม ใ ช สิ่ ง ที่ สั ง เกตได เ ป น การ
21 มีนาคม เคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย)
ขั้วฟ้าใต้
ภาพที่ 4.16 ต�าแหน่งของดวงอาทิตย์บนทรงกลมฟ้าทีเ่ ปลีย่ นไปในรอบปี
ขัน้ สอน
ที่มา : คลังภาพ อจท. รู (Knowing)
ใน 1 วัน ดวงอาทิตย์เป็นเพียงวัตถุหนึ่งที่อยู่บนทรงกลมฟ้า มีค่าเดคลิเนชันและค่า 1. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4 คน แลวให
ไรต์แอสเซนชันที่แน่นอน แต่เมื่อเวลาผ่านไปในรอบปี พิกัดของดวงอาทิตย์จะมีการเปลี่ยนไป นักเรียนรวมกันศึกษาและจัดทําอินโฟกราฟก
เนื่องจากโลกมีการโคจรไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ดังนี้ เรื่อง ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา
จากแหลงการเรียนรูต า งๆ เชน หนังสือเรียน
ตารางที่ 4.1 : พิกัดที่เปลี่ยนไปของดวงอาทิตยในรอบ 1 ป
อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนเลือกศึกษา
พิกัดเดคลิเนชัน พิกัดไรต์แอสเซนชัน
วันที่ ชื่อเรียก
(Dec) (RA) จากแหลงขอมูลทีน่ า เชือ่ ถือ จากนั้นสงตัวแทน
21 มีนาคม วสันตวิษุวัต (vernal equinox) 0� 0h
ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
21 มิถุนายน ครีษมายัน (summer solstice) +23.5 � 6h
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
21 กันยายน ศารทวิษุวัต (autumnal equinox) 0� 12 h
เขาใจ (Understanding)
21 ธันวาคม เหมายัน (winter solstice) -23.5 � 18 h
2. ครูใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเขียนอธิบายสิ่งที่
Earth Science นักเรียนไดเรียนรูลงในสมุดประจําตัวเปนราย
Focus เสนลองจิจูดอางอิง บุคคล โดยครูใชคําถาม ดังตอไปนี้
ลองจิจูดของโลกไม่ได้มีจุดอ้างอิงเป็นศูนย์ที่แน่ชัด เนื่องจากโลกมีลักษณะสมมาตรรอบ • ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟาเปน
แกนหมุน (เช่นเดียวกันกับที่เราสามารถเขียนแผนที่ให้ประเทศใดอยู่ตรงกลางแผนที่ก็ได้) ดังนั้น ตําแหนงเดียวกันตลอดทัง้ ปหรือไม อยางไร
ในทางสากลจึงมีการก�าหนดเส้นลองจิจดู อ้างอิง ซึง่ ปัจจุบนั เราก�าหนดให้เส้นลองจิจดู อ้างอิงทีเ่ มืองกรีนชิ
เป็นเส้นลองจิจูดที่ศูนย์องศาในลักษณะที่ใกล้เคียงกัน เส้นไรต์แอสเซนชันของทรงกลมฟ้าก็ไม่ได้มี (แนวตอบ เสนทางปรากฏของการขึน้ และการ
เส้นอ้างอิงที่แน่ชัด จึงต้องมีการก�าหนดจุดเอาไว้เพื่อเป็นการสากล โดยเราเลือกใช้จุดที่เส้นสุริยวิถี ตกของดวงอาทิตยจะเปลี่ยนแปลงตามวัน
ตัดกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ซึ่งเป็นต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันวสันตวิษุวัต เวลาและตําแหนงละติจูดของผูสังเกต จึง
ทรงกลมฟ้า 17
ทําใหตาํ แหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา
ไมไดอยูในตําแหนงเดิมตลอดทั้งป)

ขอสอบเนน การคิด
นักปราชญชาวกรีกคนหนึ่งชื่อ เอราทอสเทนีส (Eratosthenes) อาศัยอยูที่เมืองไซรีนี (Cyrene) ซึ่งมีเพียง 1 วัน ที่สามารถสังเกตเห็นเงาสะทอน
ของดวงอาทิตยอยูในบอนํ้าได (ดวงอาทิตยอยูกลางศีรษะ) หากเมืองไซรีนีอยูในซีกโลกเหนือ เมืองนี้จะมีละติจูดเทาใด และวันที่สามารถสังเกตเห็น
เงาสะทอนของดวงอาทิตยไดจะตรงกับวันอะไร
(วิเคราะหคําตอบ ใน 1 ป พิกัดเดคลิเนชันของดวงอาทิตยจะมีการเปลี่ยนแปลงคอนไปทางเหนือและใตไมเกิน +/- 23.5 องศา จากเสนศูนยสูตรฟา
จึงสามารถพบดวงอาทิตยอยูเหนือศีรษะไดเมื่อคาเดคลิเนชันของดวงอาทิตยมีคาเทากับคาเดคลิเนชันที่กลางศีรษะ โดยประเทศในแถบศูนยสูตรจะ
สามารถพบปรากฏการณนี้ไดปละ 2 ครั้ง เชน ที่กรุงเทพมหานคร จะพบเมื่อคาเดคลิเนชันกําลังเคลื่อนที่ไปทางเหนือสูวันครีษมายัน และอีกครั้งเมื่อ
ดวงอาทิตยกาํ ลังเคลือ่ นกลับลงมาทางใตสวู นั วสันตวิษวุ ตั แตทเี่ มืองไซรีนสี ามารถพบปรากฏการณนไี้ ดเพียงครัง้ เดียว แสดงวาดวงอาทิตยจะอยูเ หนือศีรษะ
ที่ตรงจุดวนกลับพอดี นั่นคือ เมืองนี้จะตองมีคาเดคลิเนชันบริเวณเหนือศีรษะเทากับ +23.5 องศา ตรงกับละติจูด 23.5 องศาเหนือ ซึ่งเรียกละติจูดนี้วา
ทรอปกออฟแคนเซอร (Tropic of Cancer) และวันที่ดวงอาทิตยมีคาเดคลิเนชัน +23.5 องศา จะตรงกับวันที่กลางวันยาวที่สุดในซีกโลกเหนือ ซึ่งคือ
วันครีษมายัน)

T21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
3. ครูใชเทคนิคเพื่อนคูคิด โดยใหนักเรียนจับคู ขั้วฟ้าเหนือ ครีษมายัน
กับเพื่อนรวมชั้นเรียนอยางอิสระ โดยนักเรียน วิษุวัต
แตละคูรวมกันทําใบงาน เรื่อง ตําแหนงของ
ดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา โดยไมปรึกษากับ
เพื่อนนักเรียนคูอื่น เหมายัน
4. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา จาก
Unit Questions 4 เปนการบานสงครูในชั่วโมง
ถัดไป
ขั้วฟ้าใต้
ขัน้ สรุป
ภาพที่ 4.17 ต�าแหน่งการขึน้ และตกของดวงอาทิตย์ในวันต่าง ๆ ส�าหรับผูส้ งั เกตในซีกโลกเหนือ
ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป เนื้ อ หา ที่มา : คลังภาพ อจท.
ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา ลงในสมุด
จากตารางที่ 4.1 และภาพที่ 4.17 ท�าให้ทราบถึงฤดูกาลและปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
บันทึกประจําตัวเปนรายบุคคล ดวงอาทิตย์ ดังนี้
ในวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ดวงอาทิตย์จะอยูบ่ นเส้นศูนย์สตู รฟ้า เนือ่ งจากเส้นศูนย์
ขัน้ ประเมิน สูตรฟ้าจะถูกแบ่งครึ่งโดยเส้นขอบฟ้า ไม่ว่าผู้สังเกตจะอยู่บนละติจูดใดก็ตาม หมายความว่า
1. ครูตรวจผลการทําใบงาน เรื่อง ตําแหนงของ ใน 2 วันนี้ดวงอาทิตย์จะใช้เวลาโผล่พ้นขอบฟ้าและอยู่ใต้ขอบฟ้าเป็นเวลาเท่า ๆ กัน นั่นคือ
ดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา เป็นวันที่กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน จึงเรียกว่า วิษุวัต (equinox/equal night and day)
2. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง ตําแหนงของดวง ในวันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตย์จะอยู่ค่อนมาทางเหนือจากเส้นศูนย์สูตรฟ้ามากที่สุด
อาทิตยบนทรงกลมฟา นั่นหมายความว่า ดวงอาทิตย์จะใช้เวลาอยู่เหนือขอบฟ้ามากที่สุดส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนือ
3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ คือ จะเป็นวันที่กลางวันยาวที่สุด เป็นตัวบ่งบอกถึงฤดูร้อนส�าหรับประเทศในซีกโลกเหนือ
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน ในวันที่ 21 ธันวาคม ดวงอาทิตย์จะอยู่ค่อนมาทางใต้ของทรงกลมฟ้ามากที่สุด ส�าหรับ
รายบุคคล และพฤติกรรมการทํางานกลุม ผู้สังเกตในซีกโลกเหนือจะพบกลางคืนยาวที่สุด ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกถึงฤดูหนาวส�าหรับประเทศ
4. ครูวดั และประเมินผลจากชิน้ งานอินโฟกราฟก ในซีกโลกเหนือ
เรื่อง ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา ทั้งนี้ หากผู้สังเกตไปอยู่ในซีกโลกใต้ จะพบว่า ในวันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตย์จะอยู่ใต้
ขอบฟ้านานกว่า นั่นหมายความว่า ผู้สังเกตในซีกโลกใต้จะอยู่ในช่วงฤดูหนาว ในเดือนมิถุนายน
สลับกับผูส้ งั เกตในซีกโลกเหนือ ดังนัน้ ค�าว่า ครีษมายัน (summer solstice) ส�าหรับเดือนมิถนุ ายน
จึงใช้ได้ส�าหรับซีกโลกเหนือเท่านั้น ในบางครั้งอาจจะเรียกว่า Northward Solstice และ South-
ward Solstice แทน
18

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ในการจัดทําอินโฟกราฟก ในชวงฤดูหนาวสําหรับผูสังเกตในซีกโลกเหนือ ดวงอาทิตยจะ
เรือ่ ง ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทรงกลมฟา โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล ขึ้นและตกในทิศทางใด
จากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู 1. ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
หนวยการเรียนรูที่ 4 ทรงกลมฟา 2. ขึน้ ทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใตและตกทางทิศตะวันตก
เฉียงไปทางใต
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


3. ขึน้ ทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใตและตกทางทิศตะวันตก
เฉียงไปทางเหนือ
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม

4. ขึน้ ทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือและตกทางทิศตะวันตก
ชือ่ –สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

เฉียงไปทางใต
5. ขึน้ ทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือและตกทางทิศตะวันตก
เฉียงไปทางเหนือ
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้
............./.................../...............

3 คะแนน
(วิเคราะหคําตอบ ในชวงฤดูหนาวสําหรับผูสังเกตซีกโลกเหนือ
ดวงอาทิตยจะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใตมากที่สุดและ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใตมากที่สุด ดังนั้น ตอบขอ 2.)


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี

T22
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
2.3 พิกัดสุริยวิถี ครูตั้งประเด็นคําถามเพื่อทบทวนความรูเดิม
หากท�าการสังเกตการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นเวลา 1 ปี จะพบว่า ดวงอาทิตย์ เกี่ยวกับพิกัดทองฟา โดยใชคําถาม ดังนี้
มีการเคลื่อนต�าแหน่งไปบนทรงกลมฟ้าตามกลุ่มดาวจักรราศี เรียกว่า เส้นสุริยวิถี (ecliptic) และ • พิกดั ขอบฟาคืออะไร และใชสงิ่ ใดเปนระนาบ
เนือ่ งจากว่าดาวเคราะห์ทกุ ดวงในระบบสุรยิ ะไปจนถึงดาวเคราะห์นอ้ ยส่วนมากอยูใ่ นระนาบเดียวกัน อางอิง
เราจึงสามารถสังเกตเห็นวัตถุเหล่านี้ได้บนเส้นสุริยวิถีเช่นเดียวกัน เรียกระนาบที่วัตถุส่วนมาก (แนวตอบ พิ กั ด ขอบฟ า คื อ พิ กั ด ที่ บ อก
อยู่ในระบบสุริยะนี้ว่า ระนาบสุริยวิถี (ecliptic plane) ตําแหนงของวัตถุบนทองฟาโดยใหผูสังเกต
ในระบบพิกัดสุริยวิถี เนื่องจากแกนโลกท�ามุมเอียงกับวงโคจรหรือระนาบสุริยวิถี ท�าให้ เปนศูนยกลางของทรงกลมฟา และใชขอบ
เส้นสุริยวิถีท�ามุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า เกิดจุดตัดขึ้น 2 จุด เรานิยามให้จุดตัดบริเวณต�าแหน่งของ ฟาของผูสังเกตเปนระนาบอางอิง)
ดวงอาทิตย์ในวันวสันตวิษุวัตมีค่าลองจิจูดสุริยวิถีเป็นศูนย์ และมีค่าเป็นบวกไปในทางตะวันออก • พิกัดศูนยสูตรคืออะไร และใชสิ่งใดเปน
ตามแนวสุริยวิถี ระนาบอางอิง
ขั้วฟ้าเหนือสุริยวิถี
(แนวตอบ พิ กั ด ศู น ย สู ต ร คื อ พิ กั ด ที่ บ อก
ตํ า แหน ง ของวั ต ถุ บ นท อ งฟ า โดยให เ ป น
ศูนยกลางและอางอิงกับเสนศูนยสตู รฟาบน
ละติจูดสุริยวิถี ทรงกลมฟาโดยตรง)
β
ระนาบสุริยวิถี ขัน้ สอน
λ ลองจิจูดสุริยวิถี รู (Knowing)
1. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4 คน แลวให
ขั้วฟ้าใต้สุริยวิถี นักเรียนรวมกันศึกษา เรื่อง พิกัดสุริยวิถีและ
ภาพที่ 4.18 พิกดั ในระบบสุรยิ ะวิถี พิกดั กาแล็กซี จากแหลงการเรียนรูต า งๆ เชน
ที่มา : คลังภาพ อจท. หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้าให
เนือ่ งจากวัตถุในระบบสุรยิ ะส่วนมากอยูใ่ นระนาบสุรยิ วิถี การใช้อา้ งอิงระบบพิกดั ทีย่ ดึ ระนาบ นักเรียนเลือกศึกษาจากแหลงขอมูลทีน่ า เชือ่ ถือ
สุริยวิถีเป็นแนวอ้างอิง (แทนที่จะใช้เส้นศูนย์สูตรฟ้าเช่นในกรณีของพิกัดศูนย์สูตร) จึงมีประโยชน์ 2. นักเรียนแตละกลุมจัดทําผังมโนทัศน เรื่อง
อย่างมากในการศึกษาระบบสุริยะ โดยมีการแบ่งพิกัดเป็นลองจิจูดฟ้าและละติจูดฟ้า เช่นเดียวกับ พิกัดสุริยวิถีและพิกัดกาแล็กซี ในรูปแบบที่นา
ระบบพิกัดบนทรงกลมทั่วไป โดยมีจุดที่น่าสนใจ ดังนี้ สนใจ จากนั้นสงตัวแทนออกมานําเสนอหนา
1. ระนาบสุริยวิถี (ecliptic plane) เป็นระนาบของระบบสุริยะเมื่อสังเกตจากโลก ชั้นเรียน
ในระบบพิกดั สุรยิ วิถนี นั้ เราใช้ระนาบสุรยิ วิถเี ป็นระนาบอ้างอิงแทนทีจ่ ะเป็นระนาบศูนย์สตู รฟ้าแบบ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ในระบบพิกัดศูนย์สูตร ซึ่งจะพบดาวเคราะห์ในระบบสุริยะทุกดวงได้ไม่ห่างจากระนาบนี้ไปมากนัก
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ดวงอาทิตย ทรงกลมฟ้า 19
www.aksorn.com/interactive3D/RNC54

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ในวันครีษมายันของซีกโลกเหนือ ดวงอาทิตยจะอยูคอนมา ศึกษาเพิ่มเติมจากการสแกน QR Code เรื่อง ดวงอาทิตย
ทางเหนือที่สุด และจะมีคาเดคลิเนชันเทากับ +23 องศา หากผู
สังเกตคนหนึง่ สามารถสังเกตเห็นดวงอาทิตยอยูท จี่ ดุ ยอดฟาในวัน
ครีษมายัน ผูสังเกตคนนี้อยูที่ละติจูดใด
1. 23 องศาใต 2. 23 องศาเหนือ ดวงอาทิตย
3. 67 องศาเหนือ 4. 90 องศาเหนือ www.aksorn.com/interactive3D/RKC54
5. เสนศูนยสูตร
(วิเคราะหคําตอบ ผูสังเกตที่เสนศูนยสูตรจะมีขั้วฟาทั้งสองอยู
ที่เสนขอบฟาพอดีและเสนศูนยสูตรฟาผานจุดยอดฟานั้น คือ มี
เดคลิเนชันที่จุดยอดฟาเทากับ 0 องศา หากผูสังเกตสามารถเห็น
ดวงอาทิตยที่มีเดคลิเนชันที่จุดยอดฟาเทากับ +23 องศา ผานจุด
ยอดฟาได แสดงวาขั้วฟาเหนือจะตองยกขึ้นมา 23 องศา นั่นคือ
ผูสังเกตจะตองอยูที่ละติจูด 23 องศาเหนือ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
3. ครูใชคาํ ถามใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีน่ กั เรียนได 2. ขั้วฟ้าเหนือสุริยวิถี (North Ecliptic Pole; NEP) และขั้วฟ้าใต้สุริยวิถี (South
เรียนรู โดยใหนักเรียนแขงขันกันตอบคําถาม Ecliptic Pole; SEP) ระนาบสุริยวิถีได้ท�าการแบ่งทรงกลมฟ้าออกเป็น 2 ส่วน โดยบริเวณ
หากนักเรียนคนใดตอบไดถูกตองรวดเร็วที่สุด ส่วนทีช่ อี้ อกจากระนาบเป็นมุมฉากพอดีคอื แกนสุรยิ วิถี ซึง่ เราสามารถแบ่งออกได้เป็นขัว้ ฟ้าทัง้ สอง
ครูจะใหรางวัล เชน คะแนนพิเศษ โดยครูอาจ เพื่อความสะดวกในการเรียก เราจึงเรียกขั้วฟ้าในระบบพิกัดสุริยวิถีเป็นขั้วฟ้าเหนือสุริยวิถีและ
ใชคําถาม ดังตอไปนี้ ขั้วฟ้าใต้สุริยวิถี ตามขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้ในระบบพิกัดศูนย์สูตร อย่างไรก็ตาม ขั้วสุริยวิถี
• พิกดั สุรยิ วิถคี อื อะไร และใชสงิ่ ใดเปนระนาบ ทั้งสองนี้ไม่ได้สอดคล้องกับการหมุนหรือจุดที่มีความพิเศษแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงต�าแหน่งบน
อางอิง ทรงกลมฟ้าที่อยู่ห่างจากเส้นสุริยวิถีมากที่สุด
(แนวตอบ พิกัดสุริยวิถีเปนพิกัดที่ใชเสนทาง
3. ละติจดู สุรยิ วิถี (ecliptic latitude) เป็นมุมทีห่ า่ งจากระนาบสุรยิ วิถใี นลักษณะเดียวกับ
เดิ น ปรากฏของดวงอาทิ ต ย เ ป น เส น หลั ก
ละติจูดของโลก โดยใช้เส้นสุริยวิถีเป็นจุดอ้างอิง สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ β (beta) มีค่า
ซึ่งอยูบนระนาบการโคจรของโลกรอบดวง
เป็นบวกเมือ่ ไปทางทิศเหนือและติดลบเมือ่ ไปทางทิศใต้ เช่น ขัว้ ฟ้าใต้สรุ ยิ วิถจี ะมีพกิ ดั β = -90 องศา
อาทิตย โดยใชระนาบสุริยวิถี เปนระนาบ
อางอิง) 4. ลองจิจูดสุริยวิถี (ecliptic longitude) เป็นมุมที่วัดไปตามแนวสุริยวิถีในลักษณะ
• สวนประกอบสําคัญของพิกัดสุริยวิถีมีอะไร เดียวกับเส้นลองจิจดู ของโลก สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ λ (lambda) แต่เนือ่ งจากทรงกลม
บาง มีลกั ษณะสมมาตรรอบ ๆ แกน เราจึงนิยามให้จดุ ตัดบริเวณต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันวสันตวิษวุ ตั
(แนวตอบ ขัว้ ฟาเหนือสุรยิ วิถี ขัว้ ฟาใตสรุ ยิ วิถี มีคา่ ลองจิจดู สุรยิ วิถเี ป็นศูนย์ ในลักษณะเดียวกันกับลองจิจดู ของโลกทีใ่ ช้เมืองกรีนชิ เป็นจุดอ้างอิง
ระนาบสุริยวิถี ลองจิจูดสุริยวิถี และละติจูด
สุริยวิถี) Earth Science
• พิกัดสุริยวิถีใชขอมูลใดในการระบุตําแหนง Focus การหาดาวเหนือ
ดาวบนทองฟา เราสามารถหาดาวเหนือได้โดยใช้กลุ่ม
(แนวตอบ ลองจิจดู สุรยิ วิถแี ละละติจดู สุรยิ วิถ)ี ดาวหมีใหญ่ หรือจากกลุม่ ดาวค้างคาว โดยกลุม่ กลุ่มดาวหมีใหญ่
Ursa Major
ดาวหมีใหญ่สามารถสังเกตได้จากดาว 7 ดวง
ลักษณะคล้ายกระบวยตักน�า้ เมือ่ ลากดาว 2 ดวง กลุ่มดาวค้างคาว
ดาวเหนือ
Polaris
Cassiopea
ตรงปลายกระบวยจะชี้ไปยังดาวเหนือ ส�าหรับ กลุ่มดาวหมีเล็ก
กลุ่มดาวค้างคาวจะมีลักษณะคล้ายตัว M และ Ursa Minor

สามารถใช้หาดาวเหนือได้ โดยการลากหาจุดตัด
จากด้านข้างทั้งสองข้างของตัว M ทั้งสองข้าง
และจากจุดตัดลากเส้นตรงผ่านดาวตรงกลาง
ตัว M เพื่อชี้ไปยังดาวเหนือ ภาพที่ 4.19 กลุ่มดาวหมีใหญ่ กลุ่มดาวหมีเล็ก
กลุ่มดาวค้างคาว และดาวเหนือ
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

20

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูใหความรูเ สริมกับนักเรียนวา การนิยามทิศเหนือ สามารถนิยามได 2 แบบ ในระบบพิกัดสุริยวิถี ดวงอาทิตยจะมีคาละติจูดสุริยวิถีเปน
คือ ทิศเหนือจริงและทิศเหนือแมเหล็ก ซึง่ การดูดาวนัน้ เราจะใชทศิ เหนือจริงเปน เทาใดบาง ในชวงเวลาตลอด 1 ป
หลัก โดยวิธกี ารหาทิศเหนือสามารถทําไดหลายวิธี เชน ใชเข็มทิศ แตถา ไมมเี ข็มทิศ 1. เปนศูนยตลอดทั้งป
เราก็สามารถหาทิศไดจากการสังเกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร 2. เปน 23.5 องศา ตลอดทั้งป
ดาวเคราะห และกลุมดาว 3. 0 องศา 1 ครั้ง และ 23.5 องศา 1 ครั้ง
4. 0 องศา 2 ครั้ง และ 23.5 องศา 2 ครั้ง
สื่อ Digital 5. 0 องศา 1 ครั้ง และ 23.5 องศา 3 ครั้ง
(แนวตอบ ระบบพิกดั สุรยิ วิถี ใชระนาบสุรยิ วิถเี ปนระนาบอางอิง
ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตร
จึงมีคาละติจูดสุริยวิถีเปนศูนยตลอดทั้งป ดังนั้น ตอบขอ 1.)
สารคดี สั้ น Twig เรื่ อ ง กลุ  ม ดาว
https://www.twig-aksorn.com/
film/constellations-7818/

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
2.4 พิกัดกาแล็กซี 4. นักเรียนทําใบงาน เรื่อง พิกัดสุริยวิถีและพิกัด
กาแล็กซี
5. นักเรียนแตละคนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
Questions ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
6. ครูมอบหมายใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด เรือ่ ง พิกดั
สุรยิ วิถแี ละพิกดั กาแล็กซี จาก Unit Questions 4
เปนการบานสงครูในชั่วโมงถัดไป

ขัน้ สรุป
1. ครูใหความรูเ พิม่ เติมในสวนนัน้ โดยทีค่ รูอาจจะ
ใช PowerPoint เรื่อง พิกัดสุริยวิถีและพิกัด
ภาพที่ 4.20 ทรงกลมฟ้าแสดงในพิกดั กาแล็กซี พิกดั นีจ้ ะใช้ระนาบกาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นระนาบอ้างอิง กาแล็กซี มาชวยอธิบาย
ที่มา : 2MASS project
2. นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับพิกดั
นอกจากพิกัดขอบฟ้า พิกัดศูนย์สูตร และพิกัดสุริยวิถีแล้ว เรายังสามารถใช้ระนาบของ สุรยิ วิถแี ละพิกดั กาแล็กซี โดยนักเรียนจดบันทึก
กาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นระนาบอ้างอิงได้อีกด้วย ระบบพิกัดนี้เหมาะแก่การศึกษากาแล็กซี ลงในสมุดบันทึกประจําตัวเปนรายบุคคล
ทางช้างเผือก แบ่งพิกดั กาแล็กซีออกเป็นละติจดู กาแล็กซี (galactic latitude) และลองจิจดู กาแล็กซี
(galactic longitude) โดยมีทิศของลองจิจูดกาแล็กซีที่ 0 องศา ชี้ไปยังศูนย์กลางกาแล็กซีบริเวณ ขัน้ ประเมิน
กลุ่มดาวคนยิงธนู (sagittarius) และทิศบวกในละติจูดกาแล็กซีชี้ไปหาขั้วเหนือของกาแล็กซี ซึ่งชี้ 1. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง พิกดั สุรยิ วิถี
ไปยังบริเวณกลุ่มดาวโคม่าเบเรนิซ (coma berenices) และพิกัดกาแล็กซี
2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Questions เรือ่ ง
Core Concept พิกัดสุริยวิถีและพิกัดกาแล็กซี ในสมุดบันทึก
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง ประจําตัว
พิกัดท้องฟ้า
3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
Topic
Questions สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
1. ระบบพิกัดขอบฟ้าและระบบพิกัดศูนย์สูตรเป็นระบบที่ระบุพิกัดบนท้องฟ้าแบบใด จงอธิบาย 4. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานผังมโนทัศน
2. การระบุพิกัดบนทรงกลมฟ้าด้วยระบบพิกัดศูนย์สูตรต้องระบุค่าใดบ้าง เรื่อง พิกัดสุริยวิถีและพิกัดกาแล็กซี
3. ดวงอาทิตย์ ณ วันที่กลางคืนยาวนานที่สุดในซีกโลกเหนือมีพิกัดสุริยวิถีเท่าใด

ทรงกลมฟ้า 21

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ระบบพิกัดขอบฟา เปนพิกัดใหผูสังเกตเปนศูนยกลางของทรงกลมฟา ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ในการจัดทําผังมโนทัศน
โดยใช ข อบฟ า เป น ตั ว อ า งอิ ง และระบบพิ กั ด ศู น ย สู ต รใช โ ลกเป น เรื่อง พิกัดสุริยวิถีและพิกัดกาแล็กซี โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล
ศูนยกลาง และอางอิงกับเสนศูนยสูตรฟา จากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู
2. คาเดคลิเนชันและคาไรตแอสเซนชัน หนวยการเรียนรูที่ 4 ทรงกลมฟา
3. ละติจูดสุริยวิถี 0 องศา และลองจิจูดสุริยวิถี 270 องศา
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชือ่ –สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี

T25
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือเรียน 3. การกําหนดเวลาบนโลก
หากเราไมมีนาฬกา
โดยครูทงิ้ ชวงใหนกั เรียนคิด แลวใหนกั เรียนรวมกัน เราจะทราบไดอยางไร
แสดงความคิดเห็นโดยที่ครูยังไมเฉลยวาคําตอบ ทุกวันนี้เราเคยชินกับการใช้นาฬิกาเป็นเครื่องมือในการ
วา เวลาผานไปแลว บอกเวลา แต่หากย้อนเวลากลับไปในสมัยก่อนทีจ่ ะมีการประดิษฐ์
นั้นถูกหรือผิด 1 วัน นาฬิกา เราจะบอกเวลาได้อย่างไร และเราใช้การสังเกตใด
เป็นการก�าหนดเวลาในแต่ละวัน
ขัน้ สอน
รู (Knowing)
3.1 เวลาสุริยคติ
ในชีวิตประจ�าวันนั้น เรามีการอ้างอิงเวลา “1 วัน” จากต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ ด้วยเหตุนี้
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน อยาง นาฬิกาที่ใช้ในปัจจุบันจึงมีรากฐานมาจากการบอกเวลาสุริยคติ (solar time)
อิสระ แลวใหนกั เรียนแตละกลุม รวมสืบคนและ เวลาสุริยคติเป็นเวลาที่อ้างอิงจากต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ เกิดจากการสังเกตการเคลื่อนที่
ศึกษา เรือ่ ง เวลาสุรยิ คติ จากหนังสือเรียนหรือ ของดวงอาทิตย์ผา่ นท้องฟ้าของผูส้ งั เกต เรานับเวลาทีด่ วงอาทิตย์ใช้ในการกลับมาอยูท่ ตี่ า� แหน่งเดิม
แหลงการเรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต โดย บนท้องฟ้าอีกครั้งว่า เป็นเวลา 1 วัน หรือ 1 วันสุริยคติปรากฏ (apparent solar day) และ
ครูเนนยํ้ากับนักเรียนวา ควรคัดเลือกศึกษา เรียกเวลาที่ดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนพอดีว่า เป็นเวลาเที่ยงวัน
แหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ หากเราถ่ายภาพดวงอาทิตย์จากต�าแหน่ง
2. นักเรียนแตละกลุม อภิปรายรวมกัน แลวบันทึก และเวลาเดี ย วกั น ในคนละวั น เราจะพบว่ า
ผลการอภิปรายลงในสมุดประจําตัว ดวงอาทิตย์มกี ารเลือ่ นต�าแหน่งไป ทีเ่ ป็นเช่นนี้
3. นักเรียนแตละกลุมจัดทําแผนที่ความคิด เรื่อง เป็นเพราะเหตุผล 2 ประการ
เวลาสุริยคติ ในรูปแบบที่นาสนใจ ประการแรกเกิดจากการเอียงของแกนโลก
4. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ ที่ท�าให้เกิดฤดูกาล เมื่อเข้าใกล้ฤดูร้อนมากขึ้น
แผนที่ความคิด เรื่อง เวลาสุริยคติ ดวงอาทิตย์จะอยู่สูงขึ้น จนกระทั่งห่างจากเส้น
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ศูนย์สูตรฟ้า 23.5 องศา และลดต�่าลงมา
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) จนกระทั่งไปอยู่ต�่ากว่าเส้นศูนย์สูตรฟ้า 23.5
องศา ในฤดูหนาว
ประการที่สองเกิดจากการที่วงโคจรของ
ภาพที่ 4.21 ภาพการเกิด Analemma จากเมืองเดลฟี
โลกเป็ นวงรีและมีความเร็วโคจรที่เปลี่ยนไป
(Delphi) ประเทศกรีซ ท� า ให้ ใ นบางครั้ ง ดวงอาทิ ต ย์ ก ลั บ มาอยู ่ ที่
ที่มา : Anthony Ayiomamitis ต�าแหน่งเดิมเร็วขึ้น และในบางครั้งก็ช้าลง
จากเหตุผลทั้ง 2 ประการนี้ ส่งผลให้ภาพที่ได้จากการสังเกตดวงอาทิตย์ที่ต�าแหน่งและ
เวลาเดียวกันในตลอดทั้งปี ท�าให้ภาพการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์เป็นเครื่องหมายคล้ายเลข 8
เรียกว่า เส้นแอนนาแลมมา (analemma)

22
สุริยุปราคาและจันทรุปราคา
แนวตอบ Key Question www.aksorn.com/interactive3D/RNC55

ดาวฤกษจํานวนหลายแสนลานดวง

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมจากการสแกน QR Code เรือ่ ง สุรยิ ปุ ราคาและจันทรุปราคา ดาวบนเสนศูนยสูตรฟามีมุมชั่วโมงเทากับ 3 ชั่วโมง จะอยู
ตําแหนงใดของเสนเมริเดียน
1. อยูหางจากเสนเมริเดียนไปทางตะวันตก 90 องศา
2. อยูหางจากเสนเมริเดียนไปทางตะวันตก 45 องศา
สุริยุปราคาและจันทรุปราคา 3. อยูหางจากเสนเมริเดียนไปทางตะวันออก 60 องศา
www.aksorn.com/interactive3D/RKC55 4. อยูหางจากเสนเมริเดียนไปทางตะวันตก 135 องศา
5. อยูหางจากเสนเมริเดียนไปทางตะวันออก 135 องศา
(วิเคราะหคําตอบ ดาวบนเสนศูนยสูตรฟามีมุมชั่วโมงเทากับ 3
ชั่วโมง จะอยูหางจากเสนของเสนเมริเดียน = 3 × 15 = 45 องศา
หรืออยูห า งจากเสนเมริเดียนไปทางตะวันตก 45 องศา ดังนัน้ ตอบ
ขอ 2.)

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
อย่างไรก็ตาม เราจะพบว่า เวลาทีด่ วงอาทิตย์ใช้ในการกลับมาอยูใ่ นต�าแหน่งเดิมบนท้องฟ้า 5. ครูใชคาํ ถามใหนกั เรียนอธิบายสิง่ ทีน่ กั เรียนได
(1 วันสุริยคติปรากฏ) จะไม่เท่ากันตลอดทั้งปี ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากโลกมีวงโคจรเป็นวงรี ท�าให้ เรียนรู โดยใหนักเรียนแขงขันกันตอบคําถาม
เวลาที่ใช้ต่างกันบ้างเล็กน้อย แต่หากเราน�ามาเฉลี่ยวันสุริยคติปรากฏตลอดทั้งปีแล้ว จะได้ว่า หากนักเรียนคนใดตอบไดถูกตองรวดเร็วที่สุด
เวลาเฉลี่ยใน 1 วัน จะมีค่าเท่ากับ 24 ชั่วโมงพอดี เราเรียกเวลา 24 ชั่วโมงว่า 1 วันสุริยคติเฉลี่ย ครูจะใหรางวัล เชน คะแนนพิเศษ
(mean solar day)
นาฬิกาที่เราใช้เป็นการแบ่ง 1 วันสุริยคติเฉลี่ย ออกเป็น 24 ชั่วโมง และเวลาสุริยคติปรากฏ ลงมือทํา (Doing)
เป็นตัวบอกว่า ดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนมานานเท่าไร เช่น เวลา 11.30 น. หมายความว่า 6. นักเรียนแตละคูรวมกันทําใบงาน เรื่อง เวลา
ดวงอาทิ ต ย์ ก� า ลั ง จะผ่ า นเมริ เ ดี ย นในอี ก 30 นาที ในขณะที่ 19.00 น. หมายความว่ า สุริยคติ โดยไมปรึกษากับเพื่อนนักเรียนคูอื่น
ดวงอาทิตย์ได้ผา่ นเมริเดียนไปเมือ่ 7 ชัว่ โมงทีแ่ ล้ว เราสามารถเรียกมุมทีด่ วงอาทิตย์ทา� กับเมริเดียน 7. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
ได้วา่ มุมชัว่ โมง (Hour Angle; HA) โดยเราสามารถวัดแทนได้ดว้ ยเวลาทีด่ วงอาทิตย์ผา่ นเมริเดียน
เวลาสุริยวิถี จาก Unit Questions 4 เปน
มา เช่น เวลา 11.30 น. ดวงอาทิตย์จะมีมุมชั่วโมงประมาณ -30 นาที
การบานสงครูในชั่วโมงถัดไป
การใช้เวลาสุริยคติปรากฏ หมายความว่า ผู้สังเกตที่อยู่ลองจิจูดที่แตกต่างกันจะมีเวลาที่ไม่
ตรงกัน (ผู้สังเกตที่อยู่ทางทิศตะวันออกจะเห็นดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนก่อน) เพื่อความสะดวก
ในการนัดหมายเวลา จึงได้มีการก�าหนดเวลาสากล และแบ่งเวลามาตรฐานออกเป็นชั่วโมง โดย ขัน้ สรุป
เทียบเวลาสากลที่เมืองกรีนิช (Greenwich Mean Time; GMT) และเรียกเวลานี้ว่า เวลาสากล นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
(Universal Time; UT) โดยส�าหรับประเทศไทยมีอาณาเขตอยู่ระหว่างลองจิจูด 97.5 องศาตะวัน โดยนักเรียนจดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ออกถึงลองจิจูด 105 องศาตะวันออก ซึ่งถ้าผู้สังเกตที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ลองจิจูด 97.5 องศา
ตะวันออก) จะเห็นดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียน Con���t Q�e����n เปนรายบุคคล
ก่อนเมืองกรีนชิ 6.5 ชัว่ โมง แต่ถา้ ผูส้ งั เกตจังหวัด
จากตําแหนงของนักเรียน หากสังเกตดวงอาทิตย
อุบลราชธานี (ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก) เวลา 12.00 น. ตามเวลามาตรฐานประเทศไทย ขัน้ ประเมิน
จะเห็นดวงอาทิตย์ผา่ นเมริเดียนก่อนเมืองกรีนชิ จะเห็นดวงอาทิตยกอนหรือหลัง 1. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง เวลาสุรยิ -
7 ชั่วโมง ผานเมริเดียน
คติ
2. ครูตรวจสอบจากแบบฝกหัด เรือ่ ง เวลาสุรยิ วิถี
ตัวอย่างที่ ผู้สังเกต A อยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานี ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก ในขณะที่ผู้สังเกต B 3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
4.3 อยู่ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ลองจิจูด 97.5 องศาตะวันออก หากผู้สังเกต A สังเกตเห็นดาว สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
ซิริอุสผ่านเมริเดียน ณ เวลา 21.08 น. ผู้สังเกต B จะสังเกตเห็นดาวซิริอุสผ่านเมริเดียน รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
ณ เวลาเท่าใด 4. ครูประเมินผลจากรายงาน เรือ่ ง ประโยชนของ
วิธีท�า ซึ่งทุก ๆ 15 องศา ที่ต่างกันตามแนวลองจิจูด จะเทียบเท่า 1 ชั่วโมง ที่แตกต่างกันในเวลา ขอมูลเวลามาตรฐาน
ขึ้นและตก 5. ครูวดั และประเมินผลจากชิน้ งานแผนทีค่ วามคิด
ผู้สังเกต A และ B อยู่ห่างกัน 7.5 องศา เทียบเท่า 7.5
15 = 0.5 ชั่วโมง หรือ 30 นาที เรือ่ ง เวลาสุรยิ คติ
ดังนั้น ผู้สังเกต B จึงเห็นดาวซิริอุสผ่านเมริเดียน ณ เวลาหลังจากผู้สังเกต A เมื่อเวลา 21.38 น.
แนวตอบ Concept Question
ทรงกลมฟ้า 23
เวลา 12.00 น. ดวงอาทิตยไดผานเมริเดียน
มาแลว

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


ขอใดตอไปนี้หมายถึงมุมชั่วโมง ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุมในการจัดทําแผนที่
1. ละติจูดและลองจิจูดตางกัน ความคิด เรื่อง เวลาสุริยคติ โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจาก
2. มุมที่วัดจากเสนขอบฟาขึ้นไปหาจุดเหนือศีรษะ แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ  ม ที่ แ นบมาท า ยแผนการจั ด การเรี ย นรู 
3. มุมในทิศทางตามแนวเสนขอบฟาวัดจากทิศเหนือ หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ทรงกลมฟา
4. มุมของตําแหนงวัตถุทองฟาหางจากเสนศูนยสูตรฟา แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

5. มุมของตําแหนงวัตถุทองฟาวัดจากเสนเมริเดียนสวนบน คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
การมี

ไปทางทิศตะวันตก ลาดับที่
ชือ่ –สกุล
ของนักเรียน
การแสดง
ความ
คิดเห็น
การยอมรับ
ฟังคนอื่น
การทางาน
ตามที่ได้รับ
มอบหมาย
ความมี
น้าใจ
ส่วนร่วมใน
การ
ปรับปรุง
รวม
15
ผลงานกลุ่ม คะแนน

(วิเคราะหคําตอบ มุ ม ชั่ ว โมง หมายถึ ง มุ ม ของตํ า แหน ง วั ต ถุ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ทองฟาวัดจากเสนเมริเดียนสวนบนไปทางทิศตะวันตก ดังนั้น
ตอบขอ 5.)
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้

T27
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียน โดยอาจใช 3.2 เวลาดาราคติ
คําถามจาก Topic Question ดังตอไปนี้ จากที่อธิบายไปแล้วเบื้องต้นว่า เวลามาตรฐานที่เราใช้น้ันมีที่มาจากเวลาสุริยคติ เวลาบน
• นอกจากการใชดวงอาทิตยในการบอกเวลา นาฬิกาของเราจึงสามารถบอกต�าแหน่งคร่าว ๆ ได้ว่าดวงอาทิตย์อยู่บริเวณใด เช่น หากนักเรียน
แลว เราสามารถใชสงิ่ ใดบอกเวลาไดอกี บาง ต้องออกไปวิ่งเวลา 13.00 น. จะเป็นเวลาที่อากาศร้อน เพราะว่าดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนมา
(แนวตอบ ดวงดาว) ไม่นาน แต่หากนักเรียนต้องมาโรงเรียนเวลา 05.00 น. ดวงอาทิตย์จะยังไม่ขึ้นและจะยังเป็นเวลา
เช้ามืดอยู่ หากเวลาสุริยคติเป็นสิ่งที่บอกถึงต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ เวลาดาราคติก็เป็นสิ่งที่บอก
ขัน้ สอน ถึงต�าแหน่งของดวงดาว
รู้ (Knowing) เวลาที่เราเรียกกันว่า "1 วัน" จริง ๆ แล้วคือ 1 วันสุริยคติ เพราะเป็นเวลาที่อ้างอิงโดยให้
ดวงอาทิตย์เคลือ่ นทีก่ ลับมาทีต่ า� แหน่งเดิม ส่วนเวลาดาราคติ (Sidereal Time; ST) เป็นสิง่ ทีบ่ อกถึง
1. ครูถามคําถามเพื่อเปนการตั้งประเด็นในการ ต�าแหน่งดาว เป็นเวลาทีโ่ ลกหมุนจนดาวดวงเดิมกลับมาทีต่ า� แหน่งเดิม โดย 1 วันดาราคติ จะใช้เวลา
ศึกษาวา เวลาสุรยิ คติกบั เวลาดาราคติแตกตางกัน ทั้งสิ้น 23 ชั่วโมง 56 นาที นั่นคือ 1 วันดาราคติ จะสั้นกว่า 1 วันสุริยคติอยู่ 4 นาที
อยางไร ครูไมเฉลยคําตอบแตแจงใหนักเรียน
ทราบวานักเรียนจะทราบคําตอบเมื่อศึกษา
จบหัวขอนี้
2. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวา จะไดทาํ กิจกรรมวัน กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การวัด
สุริยคติกับวันดาราคติ พรอมแจงจุดประสงค วันสุริยคติกับวันดาราคติ • การสร้างแบบจ�าลอง
การทํากิจกรรม จิตวิทยาศาสตร์
• ความรอบคอบ
3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน อยาง วัสดุอปุ กรณ์ • ความมุ่งมั่นอดทน
อิสระ โดยนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมตาม
ขั้นตอนในหนังสือเรียน เมื่อนักเรียนปฏิบัติ 1. ปากกา 2. สมุดบันทึก
กิจกรรมเรียบรอยแลว ครูสมุ บางกลุม ใหออกมา วิธปี ฏิบตั ิ
นําเสนอผลการทํากิจกรรมของกลุมตนเอง 1. ให้นักเรียน 1 คน เป็นโลก อีก 1 คน เป็นดวงอาทิตย์ และอีก 1 คน เป็นดวงดาว แล้วให้แต่ละคนยืน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ในต�าแหน่งดังภาพที่ 4.22
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) 2. ให้นักเรียนที่เป็นโลกชี้นิ้วไปยังนักเรียนที่เป็นดวงอาทิตย์ และสังเกตว่าชี้ไปที่นกั เรียนทีเ่ ป็นดวงดาวด้วย
4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า หรือไม่
3. ให้นักเรียนที่เป็นโลกหมุนรอบตัวเองไปทางซ้าย สังเกตว่าเมื่อนิ้วชี้ไปที่ดวงดาว นิ้วของนักเรียนชี้ที่
กิจกรรม โดยครูและนักเรียนจะตองใหขอ สรุป ดวงอาทิตย์ด้วยหรือไม่
รวมกันวา 1 วันดาราคติจะสั้น กวา 1 วัน 4. ให้นกั เรียนทีเ่ ป็นโลกหมุนรอบตัวเองพร้อมกับเดินโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางขวา สังเกตว่าเมือ่ นิว้ กลับมาชี้
สุริยคติ 4 นาที ทีด่ วงดาวและชี้ที่ดวงอาทิตย์อกี ครัง้ ใช้เวลาเท่ากันหรือไม่

1-2 เมตร 3-4 เมตร ภาพที่ 4.22 จ�าลองกิจกรรมวันสุริยคติกับวันดาราคติ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
24

บันทึก กิจกรรม
กิจกรรม 21st Century Skills
จากกิจกรรม เมื่อนักเรียนที่เปนโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบ
1. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน
ดวงอาทิตยไปทางขวา แลวนิ้วกลับมาชี้ที่ดวงอาทิตยอีกครั้ง และเมื่อ
2. นักเรียนรวมกันสืบคนประเภทของนาฬกาแดดและยกตัวอยาง
นักเรียนที่เปนโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตยไปทางขวา
ประติมากรรมนาฬกาแดด พรอมทั้งระบุประเภท
แลวนิ้วกลับมาชี้ที่ดวงดาว ใชเวลาไมเทากัน
3. สมาชิกในกลุม รวมกันเลือกขอมูลและจัดเตรียมขอมูล เพือ่ นําเสนอ
ตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ
4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
ไดงาย
5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลเกี่ยวกับประเภทของนาฬกา
แดดและประโยชนของนาฬกาแดด

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม 5. นักเรียนแตละกลุมรวมสืบคนและศึกษา เรื่อง
จากกิจกรรมการปฏิบัติ ในช่วงใดที่แทน 1 วันสุริยคติ และช่วงใดแทน 1 วันดาราคติ เวลาดาราคติ จากหนังสือเรียนหรือแหลงการ
เรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้า
อภิปรายผลกิจกรรม กับนักเรียนวา ควรคัดเลือกศึกษาแหลงขอมูล
จากกิจกรรม เมือ่ นักเรียนทีเ่ ป็นโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางขวา แล้วนิว้ กลับมาชี้ ที่นาเชื่อถือ
ที่ดวงอาทิตย์อีกครั้ง เป็นการอธิบายแทนปรากฏการณ์ 1 วันสุริยคติ ซึ่งเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์ใช้เคลื่อนที่กลับ 6. นักเรียนแตละกลุม อภิปรายรวมกัน แลวบันทึก
มาอยู่ ณ ต�าแหน่งเดิมบนท้องฟ้า ส่วนเมื่อนักเรียนที่เป็นโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทาง
ขวา แล้วนิ้วกลับมาชี้ที่ดวงดาว เป็นการอธิบายแทนปรากฏการณ์ 1 วันดาราคติ ซึ่งเป็นเวลาที่ดาวฤกษ์โคจร
ผลการอภิปรายลงในสมุดประจําตัว
กลับมาอยู่ ณ ต�าแหน่งเดิมอีกครั้ง เราจะพบว่า 1 วันดาราคตินั้นสั้นกว่า 1 วันสุริยคติ ซึ่งในความเป็นจริง 7. นักเรียนแตละกลุมจัดทําแผนที่ความคิด เรื่อง
แล้ว 1 วันดาราคติ จะสั้นกว่า 1 วันสุริยคติอยู่ 4 นาที เวลาดาราคติ ลงในกระดาษ A4 1 แผน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เวลาดาราคติ คือ ไรต์แอสเซนชัน (RA) ที่อยู่บนเมริเดียน ณ ปัจจุบันนี้ ดังนั้น หากเรา
ทราบพิกัดของดาวที่อยู่บนเมริเดียน ก็จะทราบเวลาดาราคติทันที
ถ้ามีดาวที่เราทราบพิกัด แต่อยู่ห่างจากเมริเดียนเท่ากับมุมชั่วโมง จะสามารถหาเวลา
ดาราคติได้เช่นกัน จากการค�านวณว่าดวงดาวนี้จะใช้เวลาอีกเท่าไรกว่าจะถึงเมริเดียนตามสมการ
ST คือ เวลาดาราคติ
ST = RA + HA RA คือ ไรต์แอสเซนชัน
HA คือ มุมชั่วโมง

นอกจากนี้ ใน 1 วันดาราคติ เรายังแบ่งออกได้เป็น 24 ชั่วโมงดาราคติ เช่นเดียวกันกับ


เวลาสุริยคติ แต่ในเวลาสุริยคติท้องถิ่นปรากฏ เรานิยามว่า เวลา 12.00 น. จะตรงกับเวลาที่
ดวงอาทิตย์ก�าลังข้ามผ่านเมริเดียน ในเวลาดาราคติท้องถิ่นเรานิยามว่าเวลา 12.00 น. ดาราคติ
จะเป็นเวลาที่ดวงดาวที่มีพิกัด RA = 12 h 0 m ก�าลังข้ามผ่านเมริเดียนพอดี
1
ตัวอย่างที่ นักเรียนสังเกตเห็นดาวเวกา ((RA = 18 h 36 m) อยู่บนเมริเดียนพอดี ปจจุบันนี้เปนเวลา
4.4 ดาราคติเท่าไร แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม

วิธีท�า ถ้าวัตถุท้องฟ้านั้นผ่านเมริเดียนของผู้สังเกตพอดี แสดงว่า HA = 0 h เมื่อนักเรียนที่เปนโลกหมุนรอบตัวเองและ


จากสมการ ST = RA + HA โคจรรอบดวงอาทิ ต ย ไ ปทางขวา แล ว นิ้ ว กลั บ
= 18 h 36 m + 0 h = 18 h 36 m มาชี้ ท่ี ด วงอาทิ ต ย อี ก ครั้ ง เป น การอธิ บ ายแทน
ดังนั้น เวลาดาราคติมีค่าเท่ากับ 18 h 36 m ปรากฏการณ 1 วันสุริยคติ และเมื่อนักเรียนที่เปน
ทรงกลมฟ้า 25
โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตยไปทาง
ขวา แลวนิว้ กลับมาชีท้ ดี่ วงดาว เปนการอธิบายแทน
ปรากฏการณ 1 วันดาราคติ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ดาวดวงหนึ่งมีคาไรตแอสเซนชัน = 8 ชั่วโมง หากดาวดวงนี้ ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 1 วันดาราคติ คือ ชวงเวลาระหวางการ
เคลื่อนที่ผานเมริเดียนไปเมื่อ 6 ชั่วโมงที่แลว ดังนั้น ปจจุบันจะ เห็นจุดวสันตวิษุวัตผานจุดสูงสุดวันแรกและวันถัดไป เมื่อจุดวสันตวิษุวัตโคจร
เปนเวลาดาราคติเทาใด ผานเมริเดียนทองถิ่น 2 ครั้งติดตอกัน นับเปนเวลา 1 วันดาราคติ แตเวลาดารา
1. 2 ชั่วโมง คตินั้นไมสอดคลองกับการดําเนินชีวิตของมนุษย จึงนิยมบอกเวลาดวยเวลา
2. 6 ชั่วโมง สุริยคติ
3. 8 ชั่วโมง
4. 14 ชั่วโมง
5. 16 ชั่วโมง นักเรียนควรรู
(วิเคราะหคําตอบ หากดาวเคลือ่ นทีผ่ า นเมริเดียนไปเมือ่ 6 ชัว่ โมงที่ 1 ดาวเวกา (Vega) เปนดาวดวงหนึ่งที่ตํานานเลาวา มีเด็กเลี้ยงวัว (แทน
แลว แสดงวาเมือ่ 6 ชัว่ โมงทีแ่ ลว เวลาดาราคติเทากับไรตแอสเซนชัน ดวยดาวตานกอินทรี (Altair)) และสาวทอผา (แทนดวยดาวเวกา) ทีค่ วามรักของ
ของดาว หรือ 8 ชั่วโมง แตเมื่อเวลาผานไปแลว 6 ชั่วโมง แสดงวา ทัง้ สองถูกขวางกัน้ เอาไวโดยแมนาํ้ อันกวางใหญ และใน 1 ป จะมีเพียงวันเดียวที่
เวลาดาราคติตองเพิ่มขึ้นอีก 6 ชั่วโมง นั่นคือ ปจจุบันเปนเวลา จะมีสะพานพาดมาเพื่อใหทั้งสองไดมาพบกัน ซึ่งตํานานนี้เปนที่มาของเทศกาล
8 + 6 = 14 ชั่วโมง ดังนั้น ตอบขอ 4.) ทานาบาตะของประเทศญี่ปุน
T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
8. นั ก เรี ยนแต ล ะคนศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 4.5 ใน ตัวอย่างที่ หากนักเรียนสังเกตเห็นดาวเวกาอยู่ห่างจากเส้นเมริเดียนไปทางทิศตะวันออกเปนมุม 15
หนังสือเรียน แลวตอบคําถาม Topic Questions 4.5 องศา จงหาว่าปจจุบันเปนเวลาดาราคติเท่าไร
ลงในสมุดบันทึกประจําตัวเปนรายบุคคล
วิธีท�า เปลี่ยนมุม 15 องศา ให้เป็นมุมชั่วโมง เราทราบว่าใน 1 วัน ดวงดาวจะหมุนครบ 360 องศา
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช โดยใช้เวลา 24 ชั่วโมง นั่นหมายความว่า 360 องศา คิดเป็น 24 ชั่วโมง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ดังนั้น 15 องศา คิดเป็น = 15360× 24 = 1 ชั่วโมง

นั่นคือ ใน 1 ชั่วโมง ดวงดาวจะเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตกเป็นมุมประมาณ 15 องศา


เนื่องจากดาวเวกาอยู่ทางทิศตะวันออกของเมริเดียน นั่นหมายความว่า ดาวเวกาก�าลังจะผ่าน
เมริเดียนในอีก 1 ชั่วโมง แสดงว่าในอีก 1 ชั่วโมงข้างหน้า เวลาดาราคติจะเท่ากับไรต์แอสเซนชัน
ของดาวเวกาพอดี แสดงว่าปัจจุบันนี้เป็นเวลาดาราคติ (ST)
ST = 18 h 36 m - 1 h = 17 h 36 m
หรือสามารถหาเวลาดาราคติได้ โดยการเอาไรต์แอสเซนชันของวัตถุท้องฟ้ามาบวกกับมุมชั่วโมง
ที่สังเกตได้ จะพบมุมชั่วโมงของดาวเวกาเท่ากับ -1 h จะได้ว่า
ST = RA + HA = 18 h 36 m - 1 h = 17 h 36 m
ดังนั้น เวลาดาราคติ มีค่าเท่ากับ 17 h 36 m

จะเห็นได้วา่ เวลาดาราคติมปี ระโยชน์มากในการประมาณว่า ดาวทีเ่ ราทราบไรต์แอสเซนชัน


ที่เราต้องการสังเกตจะขึ้นเมื่อไร (เช่นเดียวกับที่เราทราบว่า หากปัจจุบัน1เป็นเวลา 05.00 น.
ดวงอาทิตย์ก�าลังจะขึ้นในไม่ช้า) นอกจากนี้ หากเราสามารถวัดมุมชั่วโมงของดวงดาวดวงอื่น
ที่ทราบไรต์แอสเซนชันแต่ไม่ได้อยู่บนเมริเดียน เราก็สามารถบอกถึงเวลาดาราคติได้เช่นกัน

Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
การกําหนดเวลาบนโลก
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. จงอธิบายเกี่ยวกับเวลาสุริยคติปรากฏ
2. ประเทศญี่ปุนมีลองจิจูด 135 องศาตะวันออก จะเห็นดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนก่อนเมืองกรีนิชกี่ชั่วโมง
3. นักเรียนสังเกตเห็นดาวเวกาขึ้นเหนือขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเวลา 06.20 น. หากนักเรียนท�าการ
สังเกตใน 10 วันต่อมา นักเรียนจะเห็นดาวเวกาขึ้นเหนือขอบฟ้าทางทิศตะวันออกในเวลากี่โมง

26

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Topic Questions

ครูอาจใหความรูเสริมเกี่ยวกับเขตเวลาของแตละประเทศวา ประเทศที่มี 1. เวลาสุรยิ คติปรากฏ กําหนดโดยใชดวงอาทิตยเปนหลัก นิยามของเวลา


อาณาเขตขนาดใหญมากกวา 15 องศาลองจิจูด จะมีเขตเวลาภายในประเทศ สุริยคติปรากฏกําหนดเปนมุมชั่วโมงของดวงอาทิตยที่ปรากฏจริงบน
มากกวา 1 เขต เชน ประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งอยูในเขตเวลามาตรฐาน -5 ถึง ทองฟา
เขตเวลามาตรฐาน -10 ประเทศออสเตรเลียตั้งอยูในเขตเวลามาตรฐาน +8 ถึง 2. เนือ่ งจากประเทศญีป่ นุ อยูฝ ง ตะวันออก จึงเห็นดวงอาทิตยผา นเมริเดียน
เขตเวลามาตรฐาน +11 กอนเมืองกรีนิช 135
15 = 9 ชั่วโมง
3. เมื่อ 1 วันดาราคติจะสั้นกวา 1 วันสุริยคติ 4 นาที ดังนั้น ดาวเวกาขึ้น
เหนือขอบฟาทางทิศตะวันออก ใน 10 วันตอมาเปนเวลา 06.20 - 00.40
นักเรียนควรรู = 05.40 น.
1 มุมชัว่ โมง คือ ระยะทางเชิงมุมทีว่ ดั จากเมริเดียนของผูส งั เกตไปทางตะวันตก
ตามแนวศูนยสตู รฟาจนถึงวงกลมชัว่ โมงทีผ่ า นดาว

T30
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
Earth Science 9. ครูใชคําถามเพื่อใหนักเรียนแตละกลุมอธิบาย
in real life ขณะนี้เปนเวลากี่โมง ? สิ่งที่นักเรียนไดเรียนรู โดยใหนักเรียนแตละ
เวลาท้องถิ่นประเทศไทยที่เราใช้อยู่นั้น มีพื้นฐานมาจากเวลาสุริยคติท้องถิ่นหรือจากต�าแหน่งของ กลุมแขงขันกันตอบคําถาม หากกลุมใดตอบ
ดวงอาทิตย์ เนื่องจากมนุษย์นั้นอิงชีวิตประจ�าวันกับความเป็นอยู่กับต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ เราออกไป ไดถูกตองรวดเร็วที่สุดครูจะใหรางวัล เชน
เรียนและท�างานในช่วงเช้าหลังดวงอาทิตย์ขึ้น และเข้านอนหลังดวงอาทิตย์ตก ด้วยเหตุนี้เราจึงสามารถ คะแนนพิเศษ โดยครูใชคําถามที่เคยถามเมื่อ
ใช้ดวงอาทิตย์ในการประมาณเวลาคร่าว ๆ ได้ ตอนตนชั่วโมงมาถามอีกครั้ง หรือใชคําถามที่
ในทุก ๆ วัน ดวงอาทิตย์จะเคลือ่ นทีผ่ า่ นเมริเดียน 1 ครัง้ ซึง่ ตรงกับเวลา 12.00 น. ทัง้ นีเ้ วลา 12.00 น. สามารถวัดความเขาใจของนักเรียนได ดังตอ
นั้น ดวงอาทิตย์จะไม่ได้อยู่บนบริเวณเหนือศีรษะเสมอไป ขึ้นอยู่กับพิกัดเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์
ไปนี้
ในขณะนัน้ หากดวงอาทิตย์ในวันนัน้ มีพกิ ดั เดคลิเนชันเท่ากับละติจดู ทีอ่ าศัยอยู่ ดวงอาทิตย์จะผ่านเมริเดียน
ในบริเวณตรงกับจุดเหนือศีรษะพอดี ซึ่งส�าหรับประเทศไทย (ตั้งอยู่ที่ละติจูด 6-20 องศาเหนือ) นั้น • เวลาดาราคติคืออะไร และ 1 วันดาราคติ
ในแต่ละละติจูดจะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง ในช่วงประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม และอีกครั้ง ยาวนานเทาไร
ในเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน ขึ้นอยู่กับละติจูดที่อาศัยอยู่ ( แนวตอบ เวลาดาราคติ เ ป น สิ่ ง ที่ บ อกถึ ง
ส่วนเมริเดียนเป็นเส้นสมมติทลี่ ากจากขอบฟ้าทางทิศเหนือผ่านจุดเหนือศีรษะ ไปบรรจบยังขอบฟ้า ตําแหนงดาว ซึง่ เปนเวลาทีโ่ ลกหมุนจนดาวดวง
ทางทิศใต้ ท�าให้เมริเดียนแบ่งท้องฟ้าออกเป็นซีกตะวันออกและซีกตะวันตก ก่อนที่ดวงอาทิตย์จะข้าม เดิมกลับมาทีต่ าํ แหนงเดิม โดย 1 วันดาราคติ
เมริเดียนนัน้ ดวงอาทิตย์จะอยูใ่ นบริเวณซีกตะวันออกของท้องฟ้า และจะเป็นช่วงเวลาเช้าซึง่ ตรงกับภาษา จะยาวนานและใชเวลาทั้งสิ้น 23 ชั่วโมง
ละตินว่า ante meridiem (แปลว่า ก่อนเมริเดียน) อันเป็นทีม่ าของตัวย่อ a.m. ซึง่ แสดงถึงช่วงเช้า ในขณะ 56 นาที)
ที่ในช่วงบ่ายดวงอาทิตย์จะอยู่ในซีกตะวันตกของท้องฟ้า ภายหลังจากที่ดวงอาทิตย์ข้ามเมริเดียนไปแล้ว • เวลาสุริยคติกับเวลาดาราคติแตกตางกัน
ซึ่งตรงกับภาษาละตินว่า post meridiem (แปลว่า หลังเมริเดียน) อันเป็นที่มาของตัวย่อ p.m. ดังนั้น อยางไร
การที่เราสามารถระบุได้ว่าดวงอาทิตย์นั้นอยู่ในซีกฟ้าตะวันออกหรือตะวันตก จะบอกให้เราทราบได้ว่า
(แนวตอบ เวลาสุริยคติเปนเวลาที่ไดจากการ
ดวงอาทิตย์ได้ข้ามเมริเดียนไปแล้วหรือยัง และบอกได้ว่าขณะนั้นเป็นเวลาเช้าหรือบ่าย
สังเกตดวงอาทิตยจริงที่ปรากฏเคลื่อนที่ขึ้น
และตก สวนเวลาดาราคติเปนสิ่งที่บอกถึง
ตําแหนงดาว ซึ่งเปนเวลาที่โลกหมุนจนดาว
ดวงเดิมกลับมาที่ตําแหนงเดิม โดย 1 วัน
ดาราคติ จะสั้นกวา 1 วันสุริยคติ 4 นาที)

ภาพที่ 4.23 ดวงอาทิตย์ขึ้นเป็นช่วงเวลาเช้า แปลว่า ภาพที่ 4.24 ดวงอาทิตย์ก�าลังลับขอบฟ้า แปลว่า


ก่อนดวงอาทิตย์จะข้ามเมริเดียน (a.m.) ซึง่ ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ได้ข้ามเมริเดียนไปแล้ว (p.m.) ซึ่งดวง
จะอยู่ทางซีกตะวันออกของท้องฟ้า อาทิตย์จะอยู่ทางซีกตะวันตกของท้องฟ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

ทรงกลมฟ้า 27

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ดาวฤกษดวงหนึ่งอยูบนเสนศูนยสูตรฟาปรากฏใหเห็นทางทิศ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากสารคดีสั้น Twig เรื่อง เสนแบงเวลา https://www.
ตะวันตกพอดี จะมีมุมชั่วโมงเทาใด twig-aksorn.com/fifilm/time-zones-8376/
1. 0 ชั่วโมง
2. 3 ชั่วโมง
3. 6 ชั่วโมง
4. 12 ชั่วโมง
5. 15 ชั่วโมง
(วิเคราะหคําตอบ ดาวฤกษดวงหนึ่งอยูบนเสนศูนยฟาปรากฏให
เห็นทางทิศตะวันตกพอดี จะอยูหางจากของเมริเดียนเทากับ 90
องศา จะมีมุมชั่วโมง = 9015 = 6 ชั่วโมง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T31
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
10. นักเรียนแตละกลุมรวมกันทําใบงาน เรื่อง
เวลาดาราคติ โดยปรึกษาหารือรวมกันเพื่อ หากเราสามารถวัดมุมชั่วโมงของดวงอาทิตย์เมื่อ
หาคําตอบ เทียบกับเมริเดียนได้ เราจะทราบได้อย่างแน่ชดั ว่า ดวงอาทิตย์
นั้นจะข้ามเมริเดียน (ในกรณีช่วงเช้าที่ดวงอาทิตย์ยังอยู่ใน
11. ครูขออาสาสมัครใหออกมาเขียนเฉลยของ
ซีกฟ้าตะวันออก) หรือข้ามเมริเดียนไปแล้ว (ในกรณีชว่ งบ่าย
คําถามในใบงาน เรือ่ ง เวลาดาราคติ แตละขอ ที่ดวงอาทิตย์อยู่ในซีกฟ้าตะวันตก) เป็นเวลาเท่าใด และ
ลงบนกระดานหนาชัน้ เรียน แลวครูตรวจสอบ จะท�าให้เราสามารถระบุเวลาได้อย่างชัดเจน เช่น หาก
ความถูกตองและกลาวชื่นชมอาสาสมัคร ดวงอาทิตย์อยู่ในซีกฟ้าตะวันตกเป็นมุมชั่วโมง 2.5 ชั่วโมง
แสดงว่าดวงอาทิตย์นั้นผ่านเมริเดียนไปแล้วตั้งแต่เมื่อ 12.5
ชัว่ โมงทีแ่ ล้ว ท�าให้เวลานีเ้ ป็นเวลา 14.30 น. นาฬิกาแดดนัน้
ช่วยในการระบุมมุ ชัว่ โมงของดวงอาทิตย์ ท�าให้เราทราบเวลา ภาพที่ 4.25 นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร
สุริยคติได้อย่างแม่นย�ายิ่งขึ้น ที่มา : คลังภาพ อจท.
อย่างไรก็ตาม เวลาที่วัดได้จากดวงอาทิตย์นั้นเป็นเพียงเวลาสุริยคติท้องถิ่น ซึ่งแตกต่างจากเวลา
มาตรฐานประเทศไทยเล็กน้อย เริ่มจากเวลามาตรฐานประเทศไทยนั้นอ้างอิงจากเวลาสุริยคติท้องถิ่น
เฉลี่ย ณ เส้นลองจิจูด 105 องศาตะวันออก ซึ่งตรงกับจังหวัดอุบลราชธานี ผู้สังเกตที่อยู่เส้นลองจิจูดอื่น
จะมีเวลาสุริยคติที่แตกต่างไปจากนี้ อีกทั้งเวลาที่ดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนในแต่ละวันของปีนั้นจะมีความ
แตกต่างกันเล็กน้อย เนื่องจากความเร็วโคจรของโลกที่เปลี่ยนไปตามวงรีของวงโคจร แต่โดยทั่วไปแล้ว
เวลาสุริยคติท้องถิ่นหรือต�าแหน่งของดวงอาทิตย์นั้นสามารถใช้ระบุเวลาโดยคร่าว ๆ ได้โดยไม่ล�าบาก
เท่าใดนัก
ภาพที่ 4.26 ประติมากรรมนาฬิกาแดด ตั้งอยู่ริมแม่น�้าเทมส์ ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

28

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 นาฬกาแดด มี 3 ประเภท คือ นาฬกาแดดแบบศูนยสตู ร นาฬกาแดดแนวตัง้ ณ เวลา 01.00 น. ของวันที่ 21 มีนาคม ที่จังหวัดอุบลราชธานี
และนาฬกาแดดแนวราบ ซึ่งทั้ง 3 ประเภท มีสวนประกอบที่สําคัญ 2 ชิ้นสวน ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก ณ เวลาเดียวกันที่เมืองกรีนิช
เหมือนกัน ดังนี้ ประเทศอังกฤษเปนวันและเวลาเทาใด
1) สั น กํ า เนิ ด เงา (gnomon) เป น ส ว นที่ ตั้ ง ชี้ เ ข า หาจุ ด ขั้ ว ฟ า ในแนว (วิเคราะหคําตอบ อุบลราชธานี ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก
ทิศเหนือ-ใต มีหนาที่กําเนิดเงาแทนเข็มนาฬกา หางจากเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ 0 องศา เทากับ 105 องศา
2) หนาปด (dial) เปนฉากรับเงาที่เกิดจากสันกําเนิดเงา โดยทั่วไปจะมี ลองจิจูดตางกัน 15 องศา เวลาตางกัน 1 ชั่วโมง
สเกลแบงเวลาเปนชั่วโมง เชนเดียวกับนาฬกาทั่วๆ ไป เสนชั่วโมงของ ลองจิจูดตางกัน 105 องศา เวลาตางกัน เทากับ 7 ชั่วโมง
นาฬกาแดดแบบศูนยสตู รและนาฬกาแดดแนวตัง้ จะหางเสนละ 15 องศา ดังนั้น เวลาตางกัน 7 ชั่วโมง ที่เมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ จะเปน
เนือ่ งจากใน 1 วัน ทรงกลมฟาเคลือ่ นทีเ่ ทากับสวนชัว่ โมงของนาฬกาแดด วันที่ 20 มีนาคม เวลา 18.00 น.)
แนวราบแตละเสนจะหางไมเทากัน เนื่องจากเปนเอฟเฟกตซึ่งเกิดจาก
การฉายเงาจากแนวตั้งลงสูแนวราบอีกครั้งหนึ่ง

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
Summary ลงมือทํา (Doing)
12. ครูใชเทคนิคเพือ่ นคูค ดิ โดยใหนกั เรียนจับคูก บั
ทรงกลมฟ้า เพื่อนรวมชั้นเรียนอยางอิสระ แลวมอบหมาย
ใหนักเรียนแตละคูทํารายงาน เรื่อง ประโยชน
ส่วนประกอบบนทรงกลมฟ้า ของขอมูลเวลามาตรฐาน มาสงครูในอีก 2
ทรงกลมฟ้าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้า สัปดาหถัดไป
ขั้วฟ้าเหนือ 1
เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าที่ขั้วโลกเหนือของโลกชี้ไป
ส� า หรั บ ผู ้ สั ง เกตในซี ก โลกเหนื อ สามารถสั ง เกตเห็ น
ขัว้ ฟ้าเหนืออยูเ่ หนือขอบฟ้าทางทิศเหนือเป็นมุมเท่ากับ
ละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่

เส้นศูนย์สูตรฟ้า
อยู่ในระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตรของโลก ซึ่งจะลาก
ขยายวงกว้างออกไปจนถึงระยะอนันต์ เส้นนี้จะปรากฏ
บนทรงกลมฟ้าของผู้สังเกตแต่ละคนต่างกัน โดยขึ้นอยู่
กับต�าแหน่งละติจูดของผู้สังเกต

ขั้วฟ้าใต้ 2
เป็ น บริ เ วณของทรงกลมฟ้ า ที่ ขั้ ว โลกใต้ ข องโลกชี้ ไ ป
ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนือจะไม่สามารถสังเกตเห็น
ภาพที่ 4.27 ทรงกลมฟ้าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้า ขั้วฟ้าใต้ได้ เนื่องจากขั้วฟ้าใต้จะอยู่ต�่ากว่าขอบฟ้าทาง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทิศใต้เป็นมุมเท่ากับละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่

ทรงกลมฟ้าแบบมีเส้นขอบฟ้า
ขั้วฟ้าเหนือ เส้นศูนย์สูตรฟ้า

E
N S
เส้นขอบฟ้า
W เป็นแนวบรรจบของทรงกลมฟ้าส่วนบนกับทรงกลมฟ้า
ส่วนล่าง ซึ่งอยู่ในแนวระดับสายตาของผู้สังเกต

ขั้วฟ้าใต้
ภาพที่ 4.28 ทรงกลมฟ้าแบบมีเส้นขอบฟ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท. ทรงกลมฟ้า 29

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ประเทศญี่ปุนเวลา 12.00 น. ตรงกับเวลาใดของประเทศไทย 1 ขั้วโลกเหนือ เปนพื้นที่ที่ผืนนํ้าลอมดวยผืนดิน ซึ่งก็คือมหาสมุทรอารติก
(ประเทศญี่ปุนคาแถบเวลาเทากับ GMT +9) พื้นที่สวนใหญปกคลุมดวยแผนนํ้าแข็งที่ลอยอยูบนผิวนํ้า โดยมีความหนาเฉลี่ย
1. 08.00 น. 4 เมตร
2. 10.00 น. 2 ขั้วโลกใต เปนพื้นที่ที่ผืนดินลอมดวยผืนนํ้า ซึ่งก็คือทวีปแอนตารกติกา ซึ่ง
3. 12.00 น. ทั้งหมดปกคลุมดวยนํ้าแข็ง บางแหงนํ้าแข็งหนาถึง 4,300 เมตร โดยนํ้าแข็งที่ขั้ว
4. 14.00 น. โลกใตจะเปน 80% ของนํ้าแข็งทั้งหมดที่อยูบนโลก และยังมีขอมูลที่นาสนใจคือ
5. 16.00 น. 2 ใน 3 ของนํ้าจืดบนโลกนี้อยูที่ขั้วโลกใต
(วิเคราะหคําตอบ ผลตางแถบเวลาเทากับ +9 - (+7) = +2
ประเทศญี่ปุนมีคาตางแถบเวลาเปนบวก หมายความวา เวลาที่
ประเทศญีป่ นุ จะเร็วกวาประเทศไทย 2 ชัว่ โมง ถาประเทศญีป่ นุ เปน
เวลา 12.00 น. ประเทศไทยจะเปนเวลา = 12.00 น. - 2 ชั่วโมง
= 10.00 น. ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T33
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
13. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ พิกัดท้องฟ้า จุดเหนือศีรษะ
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน จุดบนทรงกลมฟ้าที่อยู่เหนือศีรษะของผู้สังเกต ซึ่งมีค่า
มุมเงยเป็น 90 องศา
14. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด
้า เมริเดียนฟ้า
Unit Questions 4 และ Test for U จาก ยนฟ เส้นที่ลากจากขอบฟ้าทางทิศเหนือผ่านจุดเหนือศีรษะ

เดี
หนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัวสงครู

เมริ
ลงไปยังขอบฟ้าทางทิศใต้ ซึ่งเส้นนี้จะแบ่งทรงกลมฟ้า
ในชั่วโมงถัดไป ออกเป็นซีกตะวันออกและตะวันตก

มุมเงย
มุมเงย
มุมทิศ มักแทนด้วยสัญลักษณ์ A วัดจากเส้นขอบฟ้าขึ้นไปยัง
เส้นขอบฟ้า จุดเหนือศีรษะจนถึงต�าแหน่งของดาว โดยจะมีค่า 0-90
องศา
มุมทิศ
มักแทนด้วยสัญลักษณ์ h วัดตามแนวเส้นขอบฟ้าจากทิศ
เหนือไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกาจนถึงแนวเส้นวงกลม
ใหญ่ที่ลากผ่านดาว โดยจะมีค่า 0-360 องศา
จุดใต้เท้า
ภาพที่ 4.29 ทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดขอบฟ้า จุดบนทรงกลมฟ้าที่อยู่ใต้เท้าของผู้สังเกต
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พิกัดศูนย์สูตร

ขั้วฟ้าเหนือ เดคลิเนชัน
แทนด้วยสัญลักษณ์ δ (delta) ใช้บอกระยะเชิงมุมของ
60 � ดาวว่า อยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าเท่าใด มีค่า -90 ถึง
90 องศา โดยหากวัดไปทางทิศเหนือจะมีค่าเป็นบวก
เดคลิเนชัน

30 � แต่หากวัดไปทางทิศใต้จะมีค่าเป็นลบ
0 ไ� รต์แอสเซนชัน
เส้นศูนย์สูต ไรต์แอสเซนชัน
รฟ้า
-30 � แทนด้วยสัญลักษณ์ α (alpha) คือ มุมที่วัดตามแนว
เส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศตะวันออก โดยเริ่มจากจุด
วสันตวิษุวัตไปจนถึงเส้นที่บอกมุมชั่วโมงของดาว มี
หน่วยเป็นเวลา (ชั่วโมง นาที และวินาที) หรือมุม
ขั้วฟ้าใต้
(องศา ลิปดา และพิลิปดา)
ภาพที่ 4.30 ทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดศูนย์สูตร
ที่มา : คลังภาพ อจท.

30

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจนําโปรแกรม Stellarium ซึ่งเปนซอฟตแวรทองฟาจําลองเสมือนจริง จงหาเวลามาตรฐานทองถิ่นของกรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย
มาใชประกอบการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู เพื่อที่นักเรียนจะไดมีความ ขณะที่ประเทศไทยเปนเวลา 00.35 น. เปนวันที่ 1 มีนาคม
เขาใจและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น โดยครูสามารถเขาไปศึกษาวิธีการใชงานไดที่ พ.ศ. 2551 (กรุงนิวเดลี มีคาแถบเวลาเทากับ GMT +5.30)
https://www.lesa.biz/astronomy/celestial-sphere/stellarium 1. 23.05 น. ของวันที่ 29 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551
2. 02.05 น. ของวันที่ 29 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551
3. 23.05 น. ของวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2551
4. 02.05 น. ของวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2551
5. 00.05 น. ของวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ .2551
(วิเคราะหคําตอบ ผลตางแถบเวลาเทากับ +5.30 - (+7) = -1.30
กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย มีคา ตางแถบเวลาเปนลบ หมายความวา
เวลาที่กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย จะชากวาประเทศไทย 1.30
ชัว่ โมง ถาประเทศไทยเปนเวลา 00.35 น. วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2551
ดังนั้น เวลามาตรฐานทองถิ่นของกรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย =
00.35 น. - 1.30 ชั่วโมง = 23.05 น. วันที่ 29 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551

T34 ดังนั้น ตอบขอ 1.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูมอบหมายใหนกั เรียนเขียนสรุปเนือ้ หา เรือ่ ง
พิกัดสุริยวิถี เวลาดาราคติ ลงในสมุ ด บั น ทึ ก ประจํ า ตั ว เป น
ขั้วฟ้าเหนือสุริยวิถี รายบุคคลและทําแบบฝกหัด เรื่อง เวลาดาราคติ
จุดทีอ่ ยูห่ า่ งจากระนาบสุรยิ วิถเี ป็นมุม 90 องศา ซึง่ อยูห่ า่ ง จากแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและ
จากขั้วฟ้าเหนือของท้องฟ้าประมาณ 23.5 องศา เทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.6 เลม 2
ระนาบสุริยวิถี หนวยการเรียนรูที่ 4 ทรงกลมฟา เปนการบานสง
ระนาบเส้นทางเดินปรากฏของดวงอาทิตย์ที่ผ่านกลุ่ม
ดาวต่าง ๆ ในรอบปี โดยท�ามุมประมาณ 23.5 องศา กับ ครูในชั่วโมงถัดไป
ระนาบศูนย์สูตรฟ้า
ละติจูดสุริยวิถี
β
เป็นมุมที่ดาวอยู่ห่างจากระนาบสุริยวิถี โดยวัดในแนว
ตั้งฉากกับเส้นสุริยวิถี ซึ่งหากวัดไปทางทิศเหนือจะมีค่า
λ เป็นบวก แต่หากวัดไปทางทิศใต้จะมีค่าเป็นลบ

ลองจิจูดสุริยวิถี
เป็นค่าที่วัดตามแนวเส้นสุริยวิถีไปทางทิศตะวันออก
โดยเริ่มจากจุดวสันตวิษุวัตจนถึงเส้นที่บอกมุมชั่วโมง
ของดาว
ขั้วฟ้าใต้สุริยวิถี
จุดที่อยู่ห่างจากระนาบสุริยวิถีเป็นมุม 90 องศา ซึ่งอยู่
ภาพที่ 4.31 ทรงกลมฟ้าในระบบพิกัดสุริยวิถี ห่างจากขั้วฟ้าใต้ของท้องฟ้าประมาณ 23.5 องศา
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พิกัดกาแล็กซี
เป็นพิกัดที่ใช้ระนาบของกาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นระนาบอ้างอิง โดยระบบพิกัดนี้เหมาะแก่การศึกษากาแล็กซี
ทางช้างเผือก แบ่งพิกัดออกเป็นละติจูดกาแล็กซีและลองจิจูดกาแล็กซี

ภาพที่ 4.32 ทรงกลมฟ้าแสดงในพิกดั กาแล็กซี พิกดั นีจ้ ะใช้ระนาบกาแล็กซี


ทางช้างเผือกเป็นระนาบอ้างอิง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การกําหนดเวลาบนโลก
• เวลาสุริยคติ เป็นการบอกต�าแหน่งของดวงอาทิตย์เทียบกับเมริเดียน
• เวลาดาราคติ เป็นการบอกต�าแหน่งของดาวฤกษ์บนท้องฟ้า มีค่าเท่ากับ RA ของดาวที่อยู่บนเมริเดียน
• 1 วันดาราคติ จะสั้นกว่า 1 วันสุริยคติ 4 นาที
ทรงกลมฟ้า 31

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ประเทศ A อยูที่ลองจิจูด 60 องศาตะวันออก ประเทศ B อยู ครูสามารถศึกษาวิธีการสอนเนื้อหาในหนวยการเรียนรูนี้ไดจากคลิปใน
ลองจิจูด 120 องศาตะวันออก อยากทราบวา เวลาทองถิ่นตางกัน YouTube เรื่อง ระบบพิกัดทางดาราศาสตร https://www.youtube.com/wa
เทาไร tch?v=poFUOECM6WE&feature=youtu.be
1. 2 ชั่วโมง
2. 4 ชั่วโมง
3. 6 ชั่วโมง
4. 8 ชั่วโมง
5. 10 ชั่วโมง
(วิเคราะหคําตอบ ประเทศ A อยูที่ลองจิจูด 60 องศาตะวันออก
ประเทศ B อยูลองจิจูด 120 องศาตะวันออก มีผลตางลองจิจูด
= 120 - 60 = 60 ทั้ง 2 ประเทศ มีเวลาทองถิ่นมาตรฐานตางกัน
= 60
15 = 4 ชั่วโมง ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง เวลาดารา Apply Your Knowledge
คติ คําชี้แจง ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมโดยมีขั้นตอน ดังนี้
3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Questions เรือ่ ง 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการระบุต�าแหน่งบนทรงกลมฟ้า โดยแต่ละกลุ่มเลือกศึกษากลุ่มละ
เวลาดาราคติ ในสมุดประจําตัว 1 หัวข้อ จากนั้นสร้างแบบจ�าลองทรงกลมฟ้าในหัวข้อที่เลือก ดังนี้
4. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง เวลาดาราคติ จาก - การระบุต�าแหน่งดาวตามระบบพิกัดขอบฟ้า
Unit Questions 4 - การระบุต�าแหน่งดาวตามระบบพิกัดศูนย์สูตร
5. ครูตรวจและประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม - การระบุต�าแหน่งดาวตามระบบพิกัดสุริยวิถี
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาน�าเสนอแบบจ�าลองทรงกลมฟ้าหน้าชั้นเรียน
วันสุริยคติกับวันดาราคติ
6. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน Self Check
รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
7. ครูประเมินผลจากรายงาน เรือ่ ง ประโยชนของ หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ขอมูลเวลามาตรฐาน ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
8. ครูวดั และประเมินผลจากชิน้ งานแผนทีค่ วามคิด 1. ผู้สังเกตที่อยู่ขั้วโลกเหนือจะสามารถพบทั้งขั้วฟ้าเหนือและขั้วฟ้าใต้ได้ 1.
เรือ่ ง เวลาดาราคติ 2. การระบุพกิ ดั แบบระบบพิกดั ขอบฟ้า ไม่วา่ ผูส้ งั เกตจะอยู่ ณ ต�าแหน่งใด ๆ 2.1
บนโลก จะเห็นวัตถุอยู่ในพิกัดเดียวกัน
3. จุดเหนือศีรษะมีค่ามุมเงยเป็น 90 องศา 2.1
4. ระบบพิกัดศูนย์สูตรเป็นระบบที่ใช้โลกเป็นศูนย์กลางและอ้างอิงกับ 2.2
เส้นศูนย์สูตรระบุต�าแหน่งเป็นมุมทิศและมุมเงย
5. ค่าเดคลิเนชันใช้บอกระยะเชิงมุมของดาวว่าห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้า 2.2

ุด
สม
เท่าใด

ใน
ลง
ทึ ก
6. เมื่อดวงอาทิตย์อยู่ค่อนมาทางทิศเหนือจากเส้นศูนย์สูตรมากที่สุด 2.2

บั น
จะเป็นวันที่กลางคืนยาวนานที่สุด
7. วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่กลางคืนยาวนานที่สุดของผู้สังเกตใน 2.3
ซีกโลกใต้
8. จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดอุบลราชธานีจะเห็นดวงอาทิตย์ผ่าน 3.1
เมริเดียนก่อนเมืองกรีนชิ 6.5 ชัว่ โมง และ 7 ชัว่ โมง ตามล�าดับ ดังนัน้ จังหวัด
แม่ฮ่องสอนจะเห็นดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนก่อนจังหวัดอุบลราชธานี
9. หากดาวฤกษ์ดวงหนึง่ ขึน้ เหนือขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเวลา 05.30 น. 3.2
แนวตอบ Self Check เมื่อผ่านไป 1 เดือน ดาวฤกษ์ดวงนั้นจะขึ้นเหนือขอบฟ้าทางทิศ
1. ผิด 2. ผิด 3. ถูก ตะวันออกเวลา 03.30 น.
4. ผิด 5. ถูก 6. ผิด 10. 1 วันดาราคติ มีเวลายาวนานกว่า 1 วัน สุริยคติ 4 นาที 3.2
32
7. ถูก 8. ผิด 9. ถูก
10. ผิด

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินชิ้นงานแผนที่ความคิด เรื่อง เวลาดาราคติ โดย จงหาเวลามาตรฐานทองถิน่ ของกรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส ขณะที่
ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประเทศไทยเปนเวลา 00.15 น. เปนวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2563
ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 ทรงกลมฟา (กรุงปารีส มีคาแถบเวลาเทากับ GMT +1.00)
(วิเคราะหคําตอบ ผลตางแถบเวลาเทากับ +1 - (+7) = -6
กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส มีคา ตางแถบเวลาเปนลบ หมายความวา
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินชิ้นงานสรุปข้อมูลแผนผังความคิด/ผังมโนทัศน์/อินโฟกราฟิก
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ

เวลาที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส จะชากวาประเทศไทย 6 ชั่วโมง


ระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด

ถาประเทศไทยเปนเวลา 00.15 น. วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2563


2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./...............
เกณฑ์ประเมินชิ้นงานสรุปข้อมูลแผนผังความคิด/ผังมโนทัศน์/อินโฟกราฟิก
ดังนั้น เวลามาตรฐานทองถิ่นของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส =
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
จุดประสงค์ที่กาหนด
4
ผลงานสอดคล้ อ งกั บ
จุดประสงค์ทุกประเด็น
3
ระดับคะแนน

ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ


จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น
2 1
ผ ล ง านไม่ ส อดคล้ อ ง
กับจุดประสงค์
00.15 น. - 6 ชั่วโมง = 18.15 น. วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2563)
2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีค วามน่ า สนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิ ด
สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แต่ยัง ไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่
แปลกใหม่และเป็น ใหม่
ระบบ
4. ผลงานมีความเป็น ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไ ม่ เ ป็ น
ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เป็ นร ะเบี ยบ แต่ ยั ง มี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions 4

U nit
คําชี้แจง :
Questions 4
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
1. การที่เห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาว
มีการขึน้ และตกจากขอบฟานัน้ เปนผลมาจาก
การหมุนรอบตัวเองของโลก ซึ่งดวงอาทิตย
1. ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวมีการโคจรขึ้นจากขอบฟ้าเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร ดวงจันทร และดวงดาวมีการขึ้นและตกจาก
2. บริเวณจุดเหนือศีรษะมีมุมเงยกี่องศา ขอบฟาเหมือนกัน โดยขึ้นจากขอบฟาทาง
3. ดวงอาทิตย์มีมุมเงยสูงที่สุดที่บริเวณใดของท้องฟ้า ทิศตะวันออกและลับขอบฟาทางทิศตะวันตก
แตสิ่งที่ตางกันคือตําแหนงที่อยูบนทองฟา
4. จงวาดภาพทรงกลมฟ้าแสดงเส้นขอบฟ้า จุดเหนือศีรษะ ทิศทั้งสี่ และเมริเดียน
5. หากนักเรียนอยูท่ ลี่ ะติจดู 30 องศาเหนือ นักเรียนจะพบเส้นศูนย์สตู รฟ้าอยูห่ า่ งจากจุดยอดฟ้า 2. จุดเหนือศีรษะ คือ จุดบนทองฟาที่อยูเหนือ
กี่องศา ศีรษะของผูสังเกต ซึ่งมีมุมเงย 90 องศา
6. ผู้สังเกตจากละติจูด 45 องศาเหนือ จะพบดาวเหนืออยู่บริเวณใดของท้องฟ้า 3. ดวงอาทิตยจะขึ้นจากขอบฟาสูงขึ้นไปเรื่อยๆ
ทางทิศตะวันตก ซึ่งสามารถพบดวงอาทิตยมี
7. หากระบุตา� แหน่งของดาวฤกษ์ดวงหนึง่ ในระบบพิกดั ขอบฟ้า ระบบพิกดั ศูนย์สตู ร และระบบ
มุมเงยสูงที่สุดที่บริเวณเสนเมริเดียน ซึ่งเปน
พิกัดกาแล็กซี เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที ดาวดวงนี้จะมีพิกัดในระบบใดเปลี่ยนไปบ้าง
เสนแบงกึ่งกลางระหวางทองฟาทางทิศตะวัน
8. ในเวลาเที่ยงวันตามเวลาสุริยคติ ดวงอาทิตย์จะอยู่บริเวณใดของท้องฟ้า ออกกับทางทิศตะวันตก
9. ผู้สังเกตที่อยู่บริเวณละติจูด 23.5 องศาเหนือ จะสังเกตเห็นดวงอาทิตย์อยู่เหนือศีรษะได้ใน
4. ภาพทรงกลมฟาแสดงเสนขอบฟา จุดเหนือ
วันใดของปี
ศีรษะ ทิศทั้งสี่ และเสนเมริเดียน
10. ประเทศที่อยู่ในซีกโลกใต้ ช่วงเดือนใดจะมีเวลากลางวันยาวที่สุด
จุดเหนือศีรษะ
11. 1 วันดาราคติ กับ 1 วันสุริยคติ เท่ากันหรือไม่ อย่างไร ียน
ริเด
12. ดวงอาทิตย์จะมีการเลื่อนพิกัด RA เพิ่มขึ้นประมาณวันละ 4 m หรือเดือนละ 2 h หากวันที่


เสน เ
21 มีนาคม ดวงอาทิตย์มีพิกัด RA = 0 h 0 m วันที่ 13 เมษายน ดวงอาทิตย์จะมี RA E
ประมาณเท่าใด
N S
13. เวลาเทีย่ งวันของวันที่ 13 เมษายน ดวงอาทิตย์อยูบ่ นเมริเดียนพอดี เวลานัน้ จะตรงกับเวลา า
ดาราคติเท่าใด W เสนขอบฟ
14. ในวันที่ 13 เมษายน ดาวเวกา (RA = 18 h 36 m) จะผ่านเมริเดียนเมื่อเวลาเท่าใด และ
จะสามารถเห็นดาวเวกาในช่วงเดือนเมษายนได้หรือไม่ 5. หากนักเรียนอยูท ลี่ ะติจดู 30 องศาเหนือ จะพบ
15. ประเทศ A อยูท่ ลี่ องจิจดู 90 องศาตะวันออก ประเทศ B อยูท่ ลี่ องจิจดู 120 องศาตะวันออก เส น ศู น ย สู ต รฟ า อยู  ห  า งจากจุ ด ยอดฟ า
ทั้ง 2 ประเทศ มีเวลาท้องถิ่นมาตรฐานต่างกันเท่าไร และถ้าขณะนั้นประเทศ A เป็นเวลา 30 องศา เนื่องจากที่ละติจูด 30 องศาเหนือ
12.00 น. เวลาของประเทศ B จะเป็นเวลากี่โมง ขั้ ว ฟ า เหนื อ และทรงกลมฟ า ทั้ ง หมดจะทํ า
ทรงกลมฟ้า 33
มุมเอียงขึน้ จากขอบฟา ทางทิศเหนือ 30 องศา
ดั ง นั้ น เส น ศู น ย สู ต รฟ า จึ ง ทํ า มุ ม เอี ย งกั บ
จุดยอดฟา 30 องศาเชนกัน

6. ผูสังเกตจากละติจูด 45 องศาเหนือ จะพบดาวเหนืออยูสูงจากขอบฟาทางทิศเหนือ 45 องศา


7. หากระบุตําแหนงของดาวฤกษในระบบพิกัดขอบฟา ระบบพิกัดศูนยสูตร และระบบพิกัดกาแล็กซี เมื่อเวลาผานไป 5 นาที ดาวฤกษดวงนี้จะมีพิกัด
ในระบบขอบฟาเปลี่ยนไป แตตําแหนงของดาวบนทรงกลมฟายังคงเดิม สวนพิกัดศูนยสูตรและพิกัดกาแล็กซีเปนพิกัดของวัตถุทองฟาที่ไมเปลี่ยนแปลง
ไปตามเวลา
8. ตําแหนงของดวงอาทิตยในรอบวัน คือ ชวงเชาจะอยูทางทิศตะวันออก ชวงบายจะอยูทางทิศตะวันตก ซึ่งเที่ยงวันตามเวลาสุริยคติ ดวงอาทิตยจะอยูบน
เสนแบงระหวางซีกฟาตะวันออกกับซีกฟาตะวันตก ซึ่งก็คือเมริเดียนนั่นเอง
9. ผูสังเกตที่อยูบริเวณละติจูด 23.5 องศาเหนือ จะสังเกตเห็นดวงอาทิตยอยูเหนือศีรษะไดในวันที่ 21 มิถุนายนของทุกป หรือวันครีษมายัน (Summer
Solstice) ซึ่งวันนั้นดวงอาทิตยจะมีพิกัดเดคลิเนชัน สูงสุดที่ 23.5 องศาเหนือ โดย ณ ตําแหนงละติจูด 23.5 องศาเหนือนั้น เสนศูนยสูตรฟาจะเยื้องไป
ทางใต 23.5 องศา นั่นหมายความวาเดคลิเนชัน +23.5 ที่ดวงอาทิตยอยูในวันนั้นจะพาดผานเหนือศีรษะพอดี
10. ประเทศที่อยูในซีกโลกใต ชวงเดือนที่จะมีเวลากลางวันยาวนานที่สุด คือ เดือนธันวาคม เนื่องจากดวงอาทิตยที่เคลื่อนตํ่ากวาเสนศูนยสูตรฟาไปในทาง
ซีกฟาใตนั้นจะอยูบนทองฟาไดนานกวา และอยูไดนานที่สุดที่เดคลิเนชัน -23.5 องศา หรือตรงกับวันเหมายันพอดี
11. วันดาราคติ คือ เวลาทีด่ าวฤกษโคจรกลับมาอยู ณ ตําแหนงเดิมอีกครัง้ หรือเปนชวงเวลาทีจ่ ดุ วสันตวิษวุ ตั เคลือ่ นผานเมริเดียนครบ 2 ครัง้ โดยมีคา เทากับ
23 ชัว่ โมง 56 นาที สวนวันสุรยิ คติ คือ เวลาเฉลีย่ ทีด่ วงอาทิตยใชในการเคลือ่ นทีก่ ลับมาอยู ณ ตําแหนงเดิมบนทองฟาอีกครัง้ ซึง่ จากการโคจรของโลกรอบ
ดวงอาทิตย ทําใหตองใชเวลาเพิ่มขึ้นประมาณ 4 นาที ในการทําใหดวงอาทิตยกลับมายังตําแหนงเดิม ดังนั้น 1 วันสุริยคติยาวกวา 1 วันดาราคติ 4 นาที

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

12. หากวันที่ 21 มีนาคม ดวงอาทิตยมีพิกัด RA


= 0 h 0 m วันที่ 13 เมษายน ดวงอาทิตยจะมี
RA ประมาณ 1 h 30 m เนื่องจากในหนึ่งวัน
ดวงอาทิ ต ย มี ก ารเลื่ อ นพิ กั ด RA เพิ่ ม ขึ้ น
Test for U
ประมาณ 4 นาที ดั ง นั้ น ในเวลา 23 วั น คําชี้แจง : เลื อ กค� า ตอบที่ ถู ก ต้ อ งที่ สุ ด เพี ย งค� า ตอบเดี ย ว
ดวงอาทิตยจะมี RA เพิ่มขึ้น 96 นาที หรือ 1. ข้อใดกล่าว ไมถูกตอง เกี่ยวกับทรงกลมฟ้า
ประมาณ 1 ชั่วโมง 36 นาที ซึ่งเทียบเทา RA 1. ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ด้วยระนาบสุริยวิถี
= 1 h 36 m 2. หมุน 1 รอบ ใช้เวลาน้อยกว่า 24 ชั่วโมงเล็กน้อย
13. จากขอ 12. ทําใหทราบวาวันที่ 13 เมษายน 3. ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ไม่ปรากฏอยู่บนทรงกลมฟ้า
ดวงอาทิตยมี RA ประมาณ 1 h 30 m หาก 4. เราไม่สามารถสังเกตเห็นทรงกลมฟ้าทั้งหมดได้จากบนพื้นโลก
วันนั้น ดวงอาทิตยอยูบนเสนเมริเดียน นั่น 5. เป็นเพียงทรงกลมสมมติที่ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ปรากฏเนื่องจากโลกหมุน
หมายความวา เวลาเที่ยงวันเสน RA ที่พาด
ผานเมริเดียนจะมี พิกดั 1 h 36 m พอดี ดังนัน้ 2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับทรงกลมฟ้า
LST จึงมีคาเทากับ 1 h 36 m 1. จากขั้วโลก ทุกส่วนของทรงกลมฟ้าจะขึ้นเหนือขอบฟ้าในเวลา 1 วัน
2. จากเส้นศูนย์สูตร ทุกส่วนของทรงกลมฟ้าจะขึ้นเหนือขอบฟ้าในเวลา 1 วัน
14. ในวันที่ 13 เมษายน ดาวเวกา (RA = 18 h 36 m) 3. ดาวฤกษ์แต่ละดวงจะเคลื่อนที่ไปคนละทิศทางที่ผู้สังเกตเห็นทรงกลมฟ้าหมุน
จะผานเมริเดียนเมือ่ เวลาประมาณ 05.00 น. และ 4. จากทุกต�าแหน่งบนโลก ทุกส่วนของทรงกลมฟ้าจะขึ้นเหนือขอบฟ้าในเวลา 1 วัน
ในเดือนเมษายนสามารถเห็นดาวเวกาไดใน 5. เราไม่สามารถสังเกตเห็นทรงกลมฟ้าได้ทั้งหมดภายใน 1 วัน เนื่องจากในตอน
ชวงเชามืดกอนดวงอาทิตยขน้ึ เนือ่ งจากขอ 13. กลางวันดวงอาทิตย์จะบดบังเอาไว้
ขณะเทีย่ งวันของวันที่ 13 เมษายน LST จะมีคา
เทากับ 1 h 36 m เมื่อเวลาผานไป 17 ชั่วโมง 3. หากผู้สังเกตอยู่บริเวณประเทศไทย ขั้วฟ้าเหนือของทรงกลมฟ้าจะอยู่ในบริเวณใด
LST ก็จะเพิ่มขึ้น 17 h กลายเปน 18 h 36 m 1. เหนือศีรษะ 2. เหนือขอบฟ้าทางทิศใต้
ซึ่งดาวเวกาจะอยูกลางศีรษะพอดี ซึ่งเวลา 3. เหนือขอบฟ้าทางทิศเหนือ 4. เหนือขอบฟ้าทางทิศตะวันตก
17 ชั่วโมง หลังจากเที่ยงวันเปนเวลา 05.00 น. 5. เหนือขอบฟ้าทางทิศตะวันออก
15. ที่ละติจูด 30 องศาเหนือ ขั้วฟาเหนือจะอยูสูง 4. ผู้สังเกต ณ ต�าแหน่งใดบนโลก จะไม่สามารถสังเกตเห็นดาวในซีกฟ้าใต้ได้เลย
จากขอบฟ า 30 องศา นั่ น หมายความว า 1. ผู้สังเกตบนขั้วโลกเหนือ
ดาวฤกษใดๆ ก็ตามที่อยูระหวางขอบฟากับ 2. ผู้สังเกตที่อยู่ใต้ระนาบสุริยวิถี
ขัว้ ฟาเหนือจะไมมวี นั ตกจากขอบฟา ซึง่ รวมไป 3. ผู้สังเกตเหนือละติจูด 23 องศาเหนือ
ถึงดาวฤกษทุกดวงที่มี พิกัดเดคลิเนชันไมเกิน 4. ผู้สังเกต ณ ต�าแหน่งใด ๆ ในซีกโลกเหนือ
30 องศา จากขัว้ ฟาเหนือดวย ซึง่ ก็คอื พิกดั +60 ํ 5. ผู้สังเกตทุกต�าแหน่งบนโลกสามารถสังเกตเห็นดาวในซีกฟ้าใต้ได้ทั้งหมด
ถึง +90 ํ นั่นเอง
34

แนวตอบ Test for U


1. 3. วัตถุทอ งฟาทุกชนิด มีตาํ แหนงปรากฏอยูบ นทรงกลมฟา รวมทัง้ ดวงอาทิตยและดาวเคราะห อยางไรก็ตาม ตําแหนงปรากฏของดวงอาทิตยและ
ตอบ ขอ
ดาวเคราะหจะเปลี่ยนแปลงไปในแตละวัน
2. 2. จากเสนศูนยสูตร ขั้วฟาทั้งสองจะอยูที่ขอบฟาพอดี จึงทําใหทุกสวนของทรงกลมฟาปรากฏขึ้นเหนือขอบฟาใน 1 วัน แมวาในเวลากลางวัน
ตอบ ขอ
แสงอาทิตยจะบดบังแสงจากดาวฤกษ แตทุกสวนของทรงกลมฟาก็ปรากฏขึ้นเหนือขอบฟาใน 1 วันอยูดี
3. ตอบ ขอ 3. ประเทศไทยอยูในซีกโลกเหนือ ดังนั้น จึงสามารถเห็นขั้วฟาเหนือไดบริเวณเหนือเสนขอบฟาทางทิศเหนือ โดยมีคาเทากับละติจูดของผูสังเกต
4. ตอบ ขอ 1. ผูสังเกตที่อยูในซีกโลกเหนือนั้นจะสามารถสังเกตเห็นดาวบางสวนที่อยูในซีกฟาใตได เชน ผูสังเกตจากละติจูด 15 องศาเหนือ จะสามารถ
สังเกตเห็นดาวไดทกุ ดวงทีอ่ ยูเ หนือกวา 75 องศา ตํา่ กวาเสนศูนยสตู รฟา ซึง่ รวมไปถึงดาวในซีกฟาใตทงั้ หมดยกเวน 15 องศารอบขัว้ ฟาใต อยางไรก็ตาม
ผูสังเกตที่ขั้วโลกเหนือนั้นจะมีเสนศูนยสูตรฟาอยูที่ขอบฟาพอดี ทําใหไมสามารถสังเกตเห็นดาวในซีกฟาใตไดเลย

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

5. 5. จุดยอดฟา คือ จุดที่อยูบริเวณเหนือ


ตอบ ขอ
ศีรษะของผูสังเกต ซึ่งมีมุมหางจากขอบฟา
5. จุดเหนือศีรษะ (zenith) มีมุมเงยเท่าใด 90 องศา
1. 0 องศา 2. 30 องศา 6. ตอบ ขอ 2. พิ กั ด ขอบฟ า เป น พิ กั ด ที่ นิ ย ามจาก
3. 60 องศา 4. 45 องศา ขอบฟ า ของผู  สั ง เกต ซึ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลง
5. 90 องศา ตามตําแหนงละติจูดและเวลาที่ทําการสังเกต
6. ระบบพิกดั ในข้อใดทีพ่ กิ ดั ของวัตถุทอ้ งฟ้าจะมีการเปลีย่ นแปลงตามเวลาและสถานทีท่ ที่ า� การ เนือ่ งจากขอบฟานัน้ ไมไดมกี ารหมุนไปพรอมๆ
สังเกต กับทรงกลมฟา พิกัดขอบฟาของวัตถุทองฟา
1. พิกัดฉาก 2. พิกัดขอบฟ้า วัตถุหนึ่งจึงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาใน
3. พิกัดศูนย์สูตร 4. พิกัดสุริยวิถี
ระบบพิกัดนี้
5. พิกัดกาแล็กติก
7. ระบบพิกัดใดที่นักดาราศาสตร์นิยมใช้ในการระบุต�าแหน่งดาวฤกษ์บนทรงกลมฟ้า และ 7. 3. พิ กั ด ศู น ย  สู ต ร เ ป  น พิ กั ด ที่ ใ ช 
ตอบ ขอ

สอดคล้องกับการหมุนของทรงกลมฟ้า เสนศูนยสูตรฟาเปนตัวอางอิง ดวยเหตุนี้การ


1. พิกัดฉาก 2. พิกัดขอบฟ้า หมุนของโลกจึงเลือ่ นไปตามแนวไรตแอสเซน-
3. พิกัดศูนย์สูตร 4. พิกัดสุริยวิถี ชันพอดี จึงเปนระบบพิกัดที่นักดาราศาสตร
5. พิกัดกาแล็กติก นิยมใชในการระบุตําแหนงของวัตถุทองฟา
8. วันที่ดวงอาทิตย์จะใช้เวลาโผล่พ้นขอบฟ้าและอยู่ใต้ขอบฟ้าเป็นเวลาเท่า ๆ กัน หรือวัน 8. ตอบ ขอ1. ในวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน
ที่เวลากลางวันและกลางคืนเท่ากันเรียกว่าอะไร ดวงอาทิตยจะอยูบ นเสนศูนยสตู รฟา เนือ่ งจาก
1. วิษุวัต 2. สุริยันวิษุวัต เสนศูนยสูตรฟาจะถูกแบงครึ่งโดยเสนขอบฟา
3. เหมายัน 4. จันทรามายัน ไมวาผูสังเกตจะอยูบนละติจูดใดก็ตาม นั่น
5. ครีษมายัน
หมายความวา ใน 2 วันนี้ ดวงอาทิตยจะใช
9. กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่ละติจูด 13 องศาเหนือ ผู้สังเกตจากกรุงเทพมหานครจะเห็น เวลาโผลพน ขอบฟา และอยูใ ตขอบฟาเปนเวลา
ดาวเหนือมีมุมเงยเท่าใด เทาๆ กัน นั่นคือ เปนวันที่กลางวันและกลาง
1. 0 องศา 2. 13 องศา
3. 45 องศา 4. -13 องศา คืนยาวเทากัน เรียกวา วิษุวัต
5. -45 องศา 9. 2. ขัว้ ฟาเหนือจะทํามุมเหนือขอบฟาทาง
ตอบ ขอ

10. ดาวดวงหนึ่งมีค่า RA = 8 h หากดาวดวงนี้เคลื่อนที่ผ่านเมริเดียนไปเมื่อ 6 ชั่วโมงที่แล้ว ดานทิศเหนือเทากับละติจูดของผูสังเกตใน


ดังนั้น ปัจจุบันจะเป็นเวลาดาราคติเท่าใด ซีกโลกเหนือ เนือ่ งจากดาวเหนืออยูใ กลขวั้ โลก
1. 2 h 2. 6 h เหนือจึงมีมุมเงยเทากับ 13 องศา เมื่อสังเกต
3. 10 h 4. 14 h จากกรุงเทพมหานคร
5. 18 h
10. ตอบ ขอ4. หากดาวเคลือ่ นทีผ่ า นเมริเดียนไปเมือ่
ทรงกลมฟ้า 35 6 ชั่วโมงที่แลว เวลาดาราคติเทากับ RA ของ
ดาวหรือ 8 h เมื่อเวลาผานไปแลว 6 ชั่วโมง
แสดงวาเวลาดาราคติตองเพิ่มขึ้นอีก 6 ชั่วโมง
นั่นคือ เวลาปจจุบันเปนเวลา 8 + 6 = 14 h

T39
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบาย สืบค้น และ แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
การเคลื่อนที่ - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม อภิปรายเกี่ยวกับ มโนทัศน์ ก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - ใฝ่เรียนรู้
ปรากฏของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเคลื่อนที่ปรากฏ (Concept - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการท�ำงาน - มุ่งมั่นในการ
ดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของดาวเคราะห์ได้ (K) Based - ประเมินการปฏิบัติ ร่วมกัน ท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. ปฏิบัติกิจกรรมการ Teaching) กิจกรรมการหมุน - ทักษะการ
4 - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม เคลื่อนที่วกกลับของ เคลื่อนที่วกกลับของ ตีความหมาย
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดาวอังคารได้อย่าง ดาวอังคาร ข้อมูลและ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ถูกต้อง (P) - ประเมินการน�ำเสนอ ลงข้อสรุป
ม.6 เล่ม 2 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ ผลงาน
- ใบงาน และมุ่งมั่นในการท�ำงาน - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint (A) การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 2 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบาย สืบค้น และ แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
มุมห่างและ - ห นังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม อภิปรายเกี่ยวกับมุมห่าง มโนทัศน์ หลังเรียน - ทักษะการวัด - ใฝ่เรียนรู้
คาบการโคจร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคาบการโคจรของ (Concept - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการใช้ - มุ่งมั่นในการ
ของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ดาวเคราะห์ได้ (K) Based - ตรวจใบงาน เรื่อง จ�ำนวน ท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. ปฏิบัติกิจกรรม Teaching) มุมห่างและคาบการ - ทักษะการวิเคราะห์
4 - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม คาบดาราคติและ โคจรของดาวเคราะห์ - ทักษะการท�ำงาน
ชั่วโมง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คาบซินอดิกได้อย่าง - ประเมินการปฏิบัติ ร่วมกัน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ถูกต้อง (P) กิจกรรมคาบดาราคติ
ม.6 เล่ม 2 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ และคาบซินอดิก
- ใบงาน และมุ่งมั่นในการท�ำงาน - ตรวจและประเมิน
- PowerPoint (A) ชิ้นงานสรุปความรู้
- QR Code เรื่อง มุมห่างและ
คาบการโคจรของ
ดาวเคราะห์
- ประเมินการน�ำเสนอ
ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T40
Chapter Concept Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห
ดาวเคราะหทุกดวงจะเคลื่อนที่ไปทางตะวันออก เรียกวา การเคลื่อนที่เดินหนา (prograde motion) แตในบางครั้งดาวเคราะหวงนอกจะมี
การเคลื่อนที่ไปทางตะวันตก เรียกวา การเคลื่อนที่วกกลับ (retrograde motion)

ทิศตะวันออก 4 3 2 1
ทิศตะวันตก
5
6 7 8 9
13
12 มุมมองบนทองฟา
11 10

9 8 7 6 5
11 10 4
12 3
9 8 7 6 2 มุมมองในอวกาศ
13 10 5 1
4 จากเหนือระนาบวงโคจร
11 3 ของดาวเคราะห
12 2
13 1
วงโคจรของ
ดาวเคราะหวงนอก
วงโคจรของโลก

มุมหางและคาบการโคจรของดาวเคราะห
• มุมหาง (elongation) คือ มุมระหวางเสนตรงที่เชื่อมโลกกับดวงอาทิตยกับเสนตรงที่เชื่อมโลกกับดาวเคราะห
ดาวเคราะหวงใน รวมทิศ
ดาวเคราะหวงนอก วงโคจรของดาวเคราะหวงนอก
โลก
วงโคจรของโลก
รวมทิศแนววงนอก
วงโคจรของดาวเคราะหวงใน

หางไปทางตะวันออกมากที่สุด หางไปทางตะวันตกมากที่สุด
รวมทิศแนววงใน
ตั้งฉากทางทิศตะวันออก ตั้งฉากทางทิศตะวันตก

ตรงขาม

• คาบ (period) คือ ระยะเวลาทีด่ าวเคราะหใชในการโคจรรอบดวงอาทิตย 1 รอบ

คาบดาราคติ (sidereal period; P) คือ ระยะเวลาทีด่ าวเคราะห คาบซินอดิก (synodic period; S) คือ ระยะเวลาทีด่ าวเคราะห
ใชในการโคจรกลับมายังตําแหนงเดิมในวงโคจรรอบดวงอาทิตย ใชในการโคจรกลับมายังมุมหางเดิมระหวางดวงอาทิตยกับ
โลกอีกครั้ง

- ดาวเคราะหวงในใชสูตร 1 = P1 - S1 สวนดาวเคราะหวงนอกใชสูตร 1 = P1 + S1

T41
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพือ่ วัด
ความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูบทเรียน
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาข อ ความในตาราง หนวยการเรียนรูที่ การเคลือ่ นทีป่ รากฏ
Check for Understanding จากหนังสือเรียน
ตามความเขาใจของนักเรียนเพือ่ วัดความรูเ ดิม
ของนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 5
การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห
5 ของดาวเคราะห
มนุษยพยายามศึกษาการเปลี่ยนต�าแหน่งและการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์บนท้องฟา ซึ่งดาว
เคราะห์ในระบบสุริยะนั้นอยู่ใกล้โลกมากกว่าดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์จึงมีการเคลื่อนที่และสามารถ
เปลี่ยนต�าแหน่งไปได้เรื่อย ๆ โดยดาวเคราะห์มีการเคลื่อนที่เดินหน้าและบางครั้งดาวเคราะห์
บางดวงมีการเคลื่อนที่วกกลับ

ดาวเคราะหบนทองฟา
มีการเคลื่อนที่อยางไร

Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ดาวเคราะหที่มีการเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกเรียกวา การเคลื่อนที่เดินหนา สวนดาวเคราะหที่เคลื่อนที่ไปทางตะวันตกเรียกวา
การเคลื่อนที่วกกลับ
ดาวเคราะหทุกดวงมีการเคลื่อนที่เดินหนา แตในบางครั้งดาวเคราะหวงในมีการเคลื่อนที่วกกลับ
ตําแหนงดาวเคราะหวงนอกที่อยูตรงขามกับดวงอาทิตยเปนตําแหนงที่ผูสังเกตจะไมสามารถเห็นดาวเคราะหปรากฏบนทองฟา
เราไมสามารถเห็นดาวเคราะหวงในเต็มดวงไดเมื่อสังเกตจากโลก
ดาวเคราะหที่ตําแหนงรวมทิศมีคามุมหาง 0 องศา
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


ดาวเคราะหมีการเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกตามเสนสุริยวิถีผานตาม
ครูอาจเตรียมการสอน เรื่อง การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห โดย
แนวกลุมดาวจักรราศี ในบางครั้งดาวเคราะหวงนอกจะมีการเคลื่อนที่
เขาไปศึกษาและทบทวนเพื่อใหเกิดความแมนยําในเนื้อหา โดยเขาไปที่เว็บไซต
ถอยหลัง โดยเรียกการเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกของดาวเคราะหวา การ
ของศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร https://www.lesa.biz/
เคลือ่ นทีเ่ ดินหนา (prograde motion) และการเคลือ่ นทีไ่ ปทางตะวันตกวา
astronomy/cosmos
การเคลื่อนที่วกกลับ (retrograde motion)

T42
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
นักเรียนสามารถติดตาม 1. การเคลื่อนที่ปรากฏของ 3. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ
การเคลือ่ นทีข่ องดาวเคราะห เรียน เพื่อเชื่อมโยงไปสูการเรียนรู เรื่อง การ
ไดอยางไร
ดาวเคราะห เคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห จากนั้นครู
ดาวฤกษ์บนท้องฟานั้นเป็นสิ่งที่อยู่ห่างออกไปมาก และมี กลาวเชือ่ มโยงเขาสูก จิ กรรมการเรียนการสอน
การเปลี่ยนแปลงน้อยมากในช่วงชีวิตของมนุษย์ ด้วยเหตุนี้จึงสังเกตเห็นรูปแบบการเรียงตัว 4. ครูและนักเรียนรวมกันทบทวบเกี่ยวกับระบบ
ของดาวฤกษ์ลักษณะเดิมตลอด เป็นที่มาของกลุ่มดาว แต่ดาวเคราะห์มีระยะห่างใกล้โลกกว่าและ สุริยะวา ระบบสุริยะประกอบดวยดวงอาทิตย
การโคจรของดาวเคราะห์ส่งผลให้ดาวเคราะห์นั้นมีการเคลื่อนที่ปรากฏผ่านหน้ากลุ่มดาวเหล่านี้ เปนดาวฤกษอยูต รงศูนยกลางของระบบ มีดาว
เมื่อสังเกตดาวบนท้องฟาในเวลากลางคืน จะพบดาวจ�านวนมากเรียงกันเป็นกลุ่มดาว และ เคราะหและวัตถุขนาดเล็ก เชน ดาวเคราะห
ไม่ว่าจะสังเกตในคืนใดก็จะเห็นรูปร่างของกลุ่มดาวเหมือนเดิมและไม่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก แคระ ดาวเคราะหนอย ดาวหาง เปนบริวาร
ดาวฤกษ์อยู่ไกลมาก และต้องใช้เวลาหลายหมื่นปจนกว่าจะสังเกตเห็นการเปลี่ยนต�าแหน่งของ โคจรลอมรอบ ดาวเคราะหบางดวงมีดวงจันทร
ดาวฤกษ์ได้ด้วยตาเปล่า การที่ดาวฤกษ์เป็นจุดนิ่ง ไม่มีการเลื่อนต�าแหน่ง ท�าให้สามารถจ�าลองถึง บริวารโคจรลอมรอบ
ท้องฟาได้เป็นทรงกลมฟาขนาดใหญ่ที่มีดาวฤกษ์เป็นจุดที่ไม่เปลี่ยนแปลงอยู่บนทรงกลมนี้
ในทางตรงกันข้าม ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอยู่ใกล้โลกมากกว่าดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์จึงมี
การเคลื่อนที่ การที่ดาวเคราะห์ไม่ได้มีต�าแหน่งที่ตายตัว แต่สามารถเปลี่ยนต�าแหน่งไปได้เรื่อย ๆ
ท�าให้ไม่สามารถระบุตา� แหน่งของดาวเคราะห์ลงไปในแผนทีด่ าวได้ ซึง่ สามารถติดตามการเคลือ่ นที่
ของดาวเคราะห์ได้โดยการเทียบต�าแหน่งของดาวเคราะห์กับกลุ่มดาวที่ดาวเคราะห์ก�าลังเดินทาง
ผ่าน การเดินทางของดาวเคราะห์ที่ตามองเห็นทั้ง 5 ดวง ท�าให้มนุษย์จินตนาการถึงอิทธิพลของ
ดาวเคราะห์ที่อาจจะสามารถก�าหนดโชคชะตาของมนุษย์บนพื้นโลกได้ จึงถือก�าเนิดขึ้นมาเป็น
สาขาวิชาโหราศาสตร์ (astrology) และในปจจุบันทราบว่า ดาวเคราะห์อยู่ห่างไกลจากดาวฤกษ์
เป็นอย่างมาก และดาวฤกษ์เป็นเพียงก้อนกาซส่องสว่างที่อยู่ห่างไกลออกไปหลายร้อยปแสง
จึงไม่สามารถส่งผลใด ๆ ต่อชีวิตบนโลกได้
วัตถุในระบบสุริยะทุกวัตถุจะมีการเคลื่อนที่เมื่อเทียบกับกลุ่มดาวเบื้องหลัง การโคจร
ของโลกไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ท�าให้เราสังเกตเห็นกลุ่มดาวขึ้นและตกเร็วขึ้นวันละ 4 นาที
การโคจรของดวงจันทร์ไปรอบ ๆ โลก ท�าให้สังเกตเห็นดวงจันทร์ขึ้นและตกเร็วขึ้นวันละประมาณ
50 นาที ในลักษณะใกล้เคียงกัน การโคจรของ Con���t Q�e����n แนวตอบ Key Question
ดาวเคราะห์ทุกดวงจะมีการเคลื่อนที่ไปทาง เพราะเหตุใดจึงเห็นการเปลี่ยนตําแหนงของ เทียบตําแหนงของดาวเคราะหกับกลุมดาวที่
ตะวันออกตามเส้นสุรยิ วิถผี า่ นกลุม่ ดาวจักรราศี ดาวเคราะหแตไมเห็นการเปลี่ยนตําแหนงของ ดาวเคราะหกําลังเดินทางผาน
ดาวฤกษ
แนวตอบ Concept Question

การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ 37
เนือ่ งจากดาวฤกษอยูไ กลมาก และตองใชเวลา
หลายหมื่นปจนกวาจะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลง
ตําแหนงของดาวฤกษไดดวยตาเปลา

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


การเคลื่ อ นที่ ป รากฏของดาวเคราะห ว งในกั บ การเคลื่ อ นที่ กอนเขาสูบ ทเรียน เรือ่ ง การเคลือ่ นทีป่ รากฏของดาวเคราะห ครูอาจทบทวน
ปรากฏของดาวเคราะหวงนอกเหมือนกันหรือไม อยางไร ความรูเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุทองฟาวา มี 2 ลักษณะ คือ การเคลื่อนที่
(แนวตอบ ไมเหมือนกัน เพราะการเคลือ่ นทีป่ รากฏของดาวเคราะห ปรากฏและการเคลือ่ นทีแ่ ทจริง การเคลือ่ นทีป่ รากฏเกิดจากการเคลือ่ นทีข่ องโลก
การเคลือ่ นทีแ่ ทจริงเกิดจากการเคลือ่ นทีข่ องดาวจริงๆ การเคลือ่ นทีบ่ างอยางใช
วงในเปนการเคลื่อนที่จริงของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยเทียบ
เวลาสังเกตนานเปนชัว่ โมงก็เห็นได เชน การขึน้ และตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร
กับผูสังเกตของโลก สวนการเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห
ดวงดาว บางอยางใชเวลาเปนวัน เชน การเปลี่ยนตําแหนงของดวงจันทร
วงนอกเปนการเคลือ่ นทีท่ ผี่ สู งั เกตมองจากโลกและดาวเคราะหตา ง บางอยางใชเวลาเปนสัปดาหหรือเปนเดือน เชน การเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย
เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยในแนวเดียวกัน) หรือดาวเคราะห

T43
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4-5 คน ปฏิบตั ิ • การสังเกต
กิจกรรม การเคลื่อนที่วกกลับของดาวอังคาร การเคลื่อนที่วกกลับของดาวอังคาร • การตีความหมายข้อมูลและ
ลงข้อสรุป
โดยใหนักเรียนแบงบทบาทหนาที่ของสมาชิก จิตวิทยาศาสตร์
ภายในกลุมวาใครมีบทบาทหนาที่อยางไร วัสดุอปุ กรณ์ • ความรอบคอบ
• ความมุ่งมั่น อดทน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
1. ปากกา 2. กรรไกร 3. เทปใส
แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม) 4. ไม้บรรทัด 5. กระดาษแข็ง 6. ไม้เสียบลูกชิ้น
เข้าใจ (Understanding)
วิธปี ฏิบตั ิ
2. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงานผล 1. ตัดกระดาษแข็งแทนวงโคจรของโลกและวงโคจรของดาวอังคาร จากนั้นติดปลายทั้ง 2 ด้าน เข้าด้วยกัน
ที่ไดจากการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน แลวครู ให้เป็นวงกลม
สอบถามนักเรียนกลุม อืน่ วาไดผลการเคลือ่ นที่ 5 cm 3.5 cm
ส่วนที่ใช้วางซ้อนกัน 7 6 5 4 3 2 1
เหมือนหรือตางกันหรือไม อยางไร ถาไมตรงกัน
ภาพที่ 5.1 กระดาษแข็งแทนวงโคจรของโลก
ใหชว ยกันวิเคราะหและสรุปวาผลทีถ่ กู ตองเปน ที่มา : คลังภาพ อจท.
อยางไร จากนั้นครูเปนผูเฉลยผลที่ไดจากการ 1.7 cm 2.5 cm
ทํากิจกรรมที่ถูกตอง 2.5 cm 7 654321 ส่วนที่ใช้วางซ้อนกัน
58 cm
3. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม ภาพที่ 5.2 กระดาษแข็งแทนวงโคจรของดาวอังคาร
การเคลื่อนที่วกกลับของดาวอังคาร เพื่อให ที่มา : คลังภาพ อจท.
ไดขอสรุปวา ดาวฤกษเปนดาวที่มีตําแหนง 2. ก�าหนดจุดตรงกลางกระดาษแข็งอีกแผ่นหนึง่ ให้เป็นต�าแหน่งของดวงอาทิตย์ แล้วน�าวงโคจรของโลกและวงโคจร
ของดาวอังคารวางบนกระดาษนั้น โดยให้ต�าแหน่งเลข 4 อยู่ตรงกัน
สัมพัทธคงที่ ดาวเคราะหมกี ารเคลือ่ นทีท่ งั้ เดิน
3. วางกระดาษแข็งอีกแผ่นหนึง่ เป็นฉาก วางไม้เสียบ
หนาและวกกลับ การเคลือ่ นทีเ่ ดินหนาเปนการ ลูกชิ้นลงบนร่องหมายเลขที่ตรงกัน โดยให้ปลาย
เคลือ่ นทีไ่ ปทางทิศตะวันออก และการเคลือ่ นที่ ไม้แตะที่ฉาก แล้วเขียนต�าแหน่งของดาวอังคาร 6 5
7 6 5 4
3
4 3 21

วกกลับจะเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก ลงบนฉากจนครบทุกหมายเลข

?
ค�าถามท้ายกิจกรรม ดวงอาทิตย์

การเคลื่อนที่วกกลับของดาวอังคาร ภาพที่ 5.3 กิจกรรมการเคลื่อนที่วกกลับของดาวอังคาร


เกิดขึ้นที่ต�าแหน่งใดในวงโคจร ที่มา : คลังภาพ อจท.

อภิปรายผลกิจกรรม

ดาวเคราะห์ทุกดวงในระบบสุริยะจะเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกตามเส้นสุริยวิถี แต่บางครั้งดาวเคราะห์
วงนอกจะมีการเคลื่อนที่ไปทางตะวันตกด้วย ซึ่งดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์วงนอกในบางช่วงของการโคจรจึง
มีการเคลื่อนที่วกกลับด้วย
38

เกร็ดแนะครู บันทึก กิจกรรม

ในขั้นสอนครูอาจจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดสังเกตการเคลื่อนที่ปรากฏของ การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวอังคาร
ดาวเคราะหวงนอก โดยคลิปใน YouTube เรือ่ ง การเคลือ่ นทีป่ รากฏของดาวเคราะห 1
2
วงนอก (https://www.youtube.com/watch?v=b4wq0HdIT6s) หรือสื่อการ 4
เรียนรูอื่นที่เนนการเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห แลวใหนักเรียนรวมกัน 3 5
อภิปรายจนไดขอสรุปรวมกัน 6

(ขึ้นอยูกับดุลยพินิจผูสอน โดยพิจารณาจากความถูกตองและเหมาะสม
ของขอมูลที่นักเรียนบันทึก)

T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
อย่ า งไรก็ ต าม ในบางครั้ ง ดาวเคราะห์ ชั้ น นอกจะมี ก ารเคลื่ อ นที่ ถ อยหลั ง โดยเรี ย ก 4. ครูมอบหมายใหนกั เรียนฝกทําแบบฝกหัด Topic
การเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกของดาวเคราะห์ เช่นเดียวกับดาวเคราะห์ทุกดวงว่า การเคลื่อนที่ Questions เรื่อง การเคลื่อนที่ปรากฏของ
เดินหน้า (prograde motion) และการเคลื่อนที่ไปทางตะวันตกที่เกิดขึ้นน้อยกว่าว่า การเคลื่อนที่ ดาวเคราะห จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึก
วกกลับ (retrograde motion) ประจําตัว
การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์วงในเกิดจากการเคลื่อนที่จริงของดาวเคราะห์รอบดวง
อาทิตย์เทียบกับผู้สังเกตที่อยู่บนโลกซึ่งเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ไปด้วยในเวลาเดียวกัน ส่วนการ ขัน้ สรุป
เคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์วงนอกเกิดจากการเคลื่อนที่ที่ผู้สังเกตมองจากบนโลก ซึ่งโลก
และดาวเคราะห์ต่างเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ในแนวเดียวกัน แต่โลกโคจรด้วยความเร็วที่มากกว่า 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
ท�าให้สังเกตเห็นดาวเคราะห์วงนอกเคลื่อนที่วกกลับในบางช่วง ศึกษาผานมาแลววามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ
ทิศตะวันตก แลวใหความรูเ พิม่ เติมในสวนนัน้ โดยทีค่ รูอาจ
ทิศตะวันออก 4 3 2 1
5 จะใช PowerPoint เรื่อง การเคลื่อนที่ปรากฏ
6 7 8 9
13
12 มุมมองบนท้องฟา ของดาวเคราะห มาชวยในการอธิบาย
11 10
2. ครูมอบหมายใหนกั เรียนเขียนสรุปความรู เรือ่ ง
การเคลือ่ นทีป่ รากฏของดาวเคราะห ในรูปแบบ
ที่นาสนใจ เชน แผนที่ความคิด อินโฟกราฟก
9 8 7 6 5 ลงในสมุดบันทึกประจําตัวเปนรายบุคคลสงครู
11 10 4
12
8 7 6 5
3
2
ในชั่วโมงถัดไป
13 10
9
1
มุมมองในอวกาศ
4 จากเหนือระนาบวงโคจร
11 3
12 2 ของดาวเคราะห์ ขัน้ ประเมิน
13 1
วงโคจรของ 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
ดาวเคราะห์วงนอก
ภาพที่ 5.4 การเคลื่อนที่ปรากฏของ วงโคจรของโลก 2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Questions เรือ่ ง
ดาวเคราะห์วงนอก (ตามล�าดับเลข) Core Concept การเคลือ่ นทีป่ รากฏของดาวเคราะห
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง 3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
Topic การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
Questions รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ 4. ครูตรวจและประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม
1. จงอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่เดินหน้าและการเคลื่อนที่วกกลับของดาวเคราะห์ การเคลื่อนที่วกกลับของดาวอังคาร
2. ดาวเคราะห์ดวงใดบ้างที่มีการเคลื่อนที่วกกลับ
3. เพราะเหตุใดการเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์วงนอกที่ผู้สังเกตมองจากโลกจึงเห็นเหมือน
การเคลื่อนที่วกกลับ
การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ 39

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. การเคลือ่ นทีเ่ ดินหนาเปนการเคลือ่ นทีไ่ ปทางตะวันออกของดาวเคราะห ครูสามารถวัดและประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนที่วกกลับของ
และการเคลื่อนที่วกกลับเปนการเคลื่อนที่ไปทางตะวันตก ดาวอังคาร โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติ
2. ดาวอังคาร ดาวพฤหัส และดาวเสาร กิจกรรมที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 5 การเคลื่อนที่
3. โลกและดาวเคราะหตางเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยในแนวเดียวกัน แต ปรากฏของดาวเคราะห
โลกโคจรดวยความเร็วที่มากกวาทําใหสังเกตเห็นดาวเคราะหวงนอก
เคลื่อนที่วกกลับในบางชวง แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง
กับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................../..................
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้องได้รับ และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
คาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดยไม่ ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึงทา ทันเวลา และทาอุปกรณ์
ในขณะปฏิบัติ ต้องได้รับคาชี้แนะ และ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง กิจกรรมเสร็จไม่ทันเวลา เสียหาย
กิจกรรม ทากิจกรรมเสร็จทันเวลา และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการทา บันทึกและสรุปผลการทา ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล กิจกรรมได้ถูกต้อง รัดกุม กิจกรรมได้ถูกต้อง แต่การ บันทึก สรุป และนาเสนอ อย่างมากในการบันทึก
การปฏิบัติ นาเสนอผลการทา นาเสนอผลการทา ผลการทากิจกรรม สรุป และนาเสนอผลการ
กิจกรรม กิจกรรมเป็นขั้นตอน กิจกรรมยังไม่เป็นขั้นตอน ทากิจกรรม
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้

T45
0-3 ปรับปรุง
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
1. ครูชักชวนนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับดาวเคราะห ตํ1.1
าแหน ทรงกลมฟ้ าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้า
งปรากฏของดาว 2. มุมหางและคาบการโคจรของ
ในระบบสุริยะเพื่อเปนการทบทวนความรูเดิม เคราะห วงในและวงนอก
2. ครูถามคําถามกระตุนความคิด โดยครูอาจใช แตกต
หากเราลอยอยู
างกันอย างไร
ดาวเคราะห
ใ่ นอวกาศ ไร้ซงึ่ บรรยากาศและพืน้ ดิน หรือหากเราสามารถมองทะลุพนื้ โลกได้
สิ่งที่เราจะเห็นก็คือ อวกาศอันกว้างใหญ่ที่เต็มไปด้วยดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวนับล้าน
คําถาม Key Question จากหนังสือเรียน โดยที่ ประดับบริเวณรอบ ๆ เราทุกทิศทุกทาง วิคล้ธกี าารสั ยกับงทรงกลม เกตต�าแหน่เราเรี งของดาวเคราะห์
ยกทรงกลมนีท้ว่างี่ า่ ทรงกลมฟ้
ยทีส่ ดุ ก็คอื าการ
นั ก เรี ย นช ว ยกั น ระดมความคิ ด ในการตอบ ยึดดวงอาทิตย์เป็นจุดอ้างอิง ซึ่งสามารถท�าได้ง่ายช่วงพลบค�่าระหว่างดวงอาทิตย์ตกหรือเช้ามืด
หากเราเริ่มหมุนรอบตัวเองไปเรื่อย ๆ จะสังเกตเห็นว่าทรงกลมฟ้านี้มีการหมุนรอบตัวเอง
คําถาม ก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น เราสามารถวัดมุมระหว่างดวงอาทิตย์ไปถึงดาวเคราะห์ดวงนั้นได้ เรียกว่า
(จริง ๆ แล้วสืบเนือ่ งมาจากว่าเราก�าลังหมุนรอบตัวเองอยู)่ เมือ่ เวลาผ่านไปเราอาจเริม่ เห็นว่าวัตถุ
มุมหาง (elongation)
บางอย่าง เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว มีการเคลื่อนตัวอย่างช้า ๆ ไปบนทรงกลมฟ้านี้
2.1 ในทรงกลมฟ้
มุมหาง านี้เราอาจเริ่มก�าหนดต�าแหน่งและพิกัด วิธีการก�าหนดพิกัดบนทรงกลมฟ้า
สามารถท� มุมห่าได้างห(elongation)
ลายวิธี แต่โดยส่คือวนมากมั
มุมระหว่ กจะก�
างเส้าหนดพิ นตรงทีก่เัดชืโดยเริ ่มจากแกน
่อมโลกไปยั ขั้วทัต้งย์สองด้
งดวงอาทิ กับเส้านตรงที
และ่
วงกลมใหญ่
เชื่อมโลกไปยังดาวเคราะห์ โดยที่มีโลกเป็นจุดหมุน หรือมุมระหว่างดาวเคราะห์ถึงดวงอาทิูตตรย์
เช่ น เดี ย วกั บ โลกของเราที ก
่ า
� หนดพิ ก ด
ั โดยขั ว
้ โลกเหนื อ ขั ว
้ โลกใต้ และเส้ น ศู น ย์ ส
ที่สังเกตได้การก�จาากโลก
หนดขัว้ บนท้ซึ่งเราสามารถแยกมุ
องฟ้านัน้ วิธที ใี่ ช้มบห่อ่ ยที
างออกเป็
ส่ ดุ ก็คอื นการก�ต�าแหน่ งห่างไปทางตะวั
าหนดขั ว้ ฟ้าเหนือ (Nนorth ออกมากที ่ สุ ด
Celestial
ole; NCPeastern
P(greatest ) และขัว้ elongation)
ฟ้าใต้ (SouthเมืC่อelestial
ดาวเคราะห์ Pole;อSCP ยู่ห่า)งดวงอาทิ
ซึง่ ก็คอื บริตเย์วณบนท้
ไปทางทิอศงฟ้ตะวัาทีนข่ ออก (เช่นอเมื
วั้ โลกเหนื และ่อ
ขัสังว้ เกตดาวเคราะห์
โลกใต้ของโลกชีอไ้ ปบนทรงกลมฟ้
ยู่เหนือดวงอาทิาตย์จากนั ระหว่น้ าบริงทีเ่ดวณกึ วงอาทิ ตย์ตก) และต�
ง่ กลางจากขั ว้ ฟ้าาทัแหน่ งห่านงไปทางตะวั
ง้ สองเป็ วงกลม เรียนกว่ตกา
มากที
เส้ นศูน่สย์ุดสูต(greatest westernequator)
รฟ้า (celestial elongation)ซึ่งก็คือเมื่อบริดาวเคราะห์
เวณเส้นศูนอย์ยูส่ทูตางทิ ศตะวันตกของดวงอาทิ
รของโลกที ่ขยายไปบรรจบลง ตย์
(เช่น เมื่อสังเกตดาวเคราะห์
บนทรงกลมฟ้ านั่นเอง อยู่เหนือดวงอาทิตย์ในช่วงเช้ามืด) นอกจากนี้ ยังมีชื่อเรียกเมื่อดาว
เคราะห์ที่มีมุมห่างร่วมทิศ ร่วมทิศวงใน ร่วมทิศวงนอก ตรงข้าม และตั้งฉากกับดวงอาทิตย์
ขั้วฟ้าเหนือ
ดาวเคราะห์วงใน
ร่วมทิศ เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าทีข่ วั้ โลกเหนือของโลกชีไ้ ป
ดาวเคราะห์วงนอก ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนือสามารถสังเกตเห็น
วงโคจรของดาวเคราะห์
ขัว้ ฟ้าเหนืออยูเ่ หนือขอบฟ้าทางทิศเหนือเป็นมุมวเท่งนอก
ากับ
โลก
ละติจูดที่ผู้สังเกตอยู่ วงโคจรของโลก

ร่วมทิศแนววงนอก เส้นศูนย์สูตรฟ้า
อยู่ในระนาบเดียวกับเส้นวงโคจรของดาวเคราะห์ วงใน
ศูนย์สูตรของโลก ซึ่งจะลาก
ขยายวงกว้างออกไปจนถึงระยะอนันต์ เส้นนีจ้ ะปรากฏ
บนทรงกลมฟ้าของผูส้ งั เกตแต่ละคนต่างกัน โดยขึน้ อยู่
แนวตอบ Key Question ห่างไปทาง กับต�าแหน่งละติจูดของผูห่้สาังงไปทางตะวั
เกต นตกมากที่สุด
ตะวันออกมากที่สุด
เราสามารถสังเกตเห็นดาวเคราะหวงในได ร่วมทิศแนววงในขั้วฟ้าใต้
เมือ่ ดาวเคราะหวงในอยูท ตี่ าํ แหนงหางไปทางตะวัน เป็นบริเวณของทรงกลมฟ้าที่ขั้วโลกใต้ของโลกชี้ไป
ตั้งฉากทางทิศตะวันออก ส�าหรับผู้สังเกตในซีกโลกเหนืตัอ้งจะไม่ ฉากทางทิ สามารถสั ศตะวังนเกต
ตก
ตกและตะวันออกมากที่สุด ซึ่งจะเห็นลักษณะเปน เห็นขัว้ ฟ้าใต้ได้ เนือ่ งจากขั
ภาพทีว้่ 5.5
ฟ้าใต้
มุมจห่ะอยู ต่ า�่ กว่าขอบฟ้า
างของดาวเคราะห์
เสี้ยว เราสามารถสังเกตเห็นดาวเคราะหวงนอก ภาพที่ 4.3 ทรงกลมฟ้าแบบไม่มีเส้นขอบฟ้า ตรงข้าม ทางทิศใต้เป็นมุมเท่าทีกั่ตบ�าละติ
แหน่จงูดต่ทีาง่ผู้สๆังเกตอยู่
เมื่ออยูตําแหนงตั้งฉากทางทิศตะวันตก ตําแหนง ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
ตัง้ ฉากทางทิศตะวันออก และตําแหนงตรงขามโดย 404 ตําแหนงหลักในวงโคจรของดาวเคราะหวงใน
ตําแหนงนีจ้ ะสามารถสังเกตเห็นดาวเคราะหวงนอก
ไดตลอดทั้งคืน

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมจากการสแกน QR Code เรื่อง ตําแหนงหลักในวงโคจรของ ดาวอังคารจะเคลื่อนที่มาอยูใกลโลกมากที่สุดเมื่ออยูตําแหนงใด
ดาวเคราะหวงใน จากหนังสือเรียน หนา 40 1. ตั้งฉาก
2. ตรงขาม
3. รวมทิศแนววงใน
4. รวมทิศแนววงนอก
5. หางไปทางทิศตะวันตกมากที่สุด
(วิเคราะหคําตอบ ดาวอังคารเปนดาวเคราะหวงนอก จึงอยูไกล
จากดวงอาทิตยมากกวาโลกเสมอ ตําแหนงที่ดาวอังคารจะอยู
ใกลโลกมากที่สุด คือ ตําแหนงที่ดาวอังคารอยูดานหลังโลกพอดี
นั่นคือ ตําแหนงตรงขาม ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ต�าแหนงหลักในวงโคจรของดาวเคราะห์วงใน มี 4 ต�าแหน่ง ดังนี้ 1. ครูถามคําถามเพือ่ นําเขาสูบ ทเรียน โดยถามวา
1) ต�าแหนงรวมทิศแนววงใน (inferior conjunction) เมือ่ ดาวเคราะห์อยูร่ ะหว่างโลกกับ • เส น การสั ง เกตตํ า แหน ง ดาวเคราะห บ น
ดวงอาทิตย์ หรืออยูด่ า้ นหน้าดวงอาทิตย์เมือ่ สังเกตจากโลก มีมมุ ห่างเท่ากับ 0 องศา ซึง่ ไม่สามารถ ทองฟาควรสังเกตในชวงเวลาใด
สังเกตเห็นดาวเคราะห์วงในได้ ยกเว้นในกรณีทดี่ าวเคราะห์อยูใ่ นระนาบเดียวกับดวงอาทิตย์ ผูส้ งั เกต (แนวตอบ ช ว งที่ ด วงอาทิ ต ย กํ า ลั ง ตกจาก
บนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์เป็นจุดสีด�าเคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ขอบฟา หรือชวงที่ดวงอาทิตยกําลังขึ้นจาก
2) ต�าแหนงรวมทิศแนววงนอก (superior conjunction) เป็นต�าแหน่งทีด่ าวเคราะห์วงใน ขอบฟา)
อยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ มีมุมห่างเท่ากับ 0 องศา ท�าให้ผู้สังเกตบนโลกไม่สามารถสังเกตเห็น 2. ครูแจงใหนักเรียนทราบวาจะไดศึกษา เรื่อง
ดาวเคราะห์วงในที่ต�าแหน่งนี้
3) ต�าแหนงหางไปทางตะวันตกมากที่สุด (greatest western elongation) โดยดาวศุกร์ มุมหางและคาบการโคจรของดาวเคราะห
ไม่เคยอยูห่ า่ งจากดวงอาทิตย์เกิน 47 องศา และดาวพุธไม่เคยอยูห่ า่ งจากดวงอาทิตย์เกิน 28 องศา 3. ครูใหนักเรียนนับจํานวน 1-5 วนไปเรื่อยๆ
ผู้สังเกตบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงในช่วงเช้ามืดและเห็นลักษณะเป็นเสี้ยว จนครบทุกคน เพื่อแบงนักเรียนออกเปนกลุม
4) ต�าแหนงหางไปทางตะวันออกมากที่สุด (greatest eastern elongation) โดยดาวศุกร์ กลุมละ 5 คน โดยคนที่นับจํานวนเดียวกัน ให
ไม่เคยอยูห่ า่ งจากดวงอาทิตย์เกิน 47 องศา และดาวพุธไม่เคยอยูห่ า่ งจากดวงอาทิตย์เกิน 28 องศา อยูกลุมเดียวกัน
ผู้สังเกตบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงในช่วงหัวค�่าหลังดวงอาทิตย์ตกและเห็นลักษณะเป็น
เสี้ยว
2. ต�าแหนงหลักในวงโคจรของดาวเคราะห์วงนอก มี 4 ต�าแหน่ง ดังนี้
1) ต�าแหนงรวมทิศ (conjunction) เป็นต�าแหน่งที่ดาวเคราะห์วงนอกอยู่ด้านหลัง
ดวงอาทิตย์ มีมมุ ห่างเท่ากับ 0 องศา ท�าให้ผสู้ งั เกตบนโลกไม่สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงนอก
ทีต่ า� แหน่งนี้
2) ต�าแหนงตัง้ ฉากทางทิศตะวันตก (western quadrature) เมือ่ ดาวเคราะห์ทา� มุมฉากกับ
ดวงอาทิตย์ มีมมุ ห่างเท่ากับ 90 องศา ดาวเคราะห์จะอยูใ่ กล้เหนือศีรษะเวลาทีด่ วงอาทิตย์กา� ลังขึน้
3) ต�าแหนงตัง้ ฉากทางทิศตะวันออก (eastern quadrature) เมือ่ ดาวเคราะห์ทา� มุมฉากกับ
ดวงอาทิตย์ มีมมุ ห่างเท่ากับ 90 องศา ดาวเคราะห์จะอยูใ่ กล้เหนือศีรษะเวลาทีด่ วงอาทิตย์กา� ลังตก
4) ต�าแหนงตรงข้าม (opposition) เมือ่ ดาวเคราะห์อยูต่ รงข้ามกับดวงอาทิตย์ มีมมุ ห่าง
เท่ากับ 180 องศา เป็นต�าแหน่งที่ดาวเคราะห์วงนอกอยู่ใกล้โลกมากที่สุด โดยผู้สังเกตบนโลก
จะสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงนอกได้ตลอดทั้งคืน
ภาพที่ 5.6 ท้องฟาช่วงเช้ามืดจากดอยอินทนนท์ ดาวที่สว่างที่สุดบนท้องฟาในภาพ
คือ ดาวศุกร์ หรือเรียกว่าดาวประกายพรึก
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

ดาวประกายพรึก

ตําแหนงหลักในวงโคจรของดาวเคราะหวงนอก 41

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


หากสังเกตการเคลือ่ นทีข่ องดาวพฤหัสจะไมสามารถสังเกตเห็น ศึกษาเพิ่มเติมจากการสแกน QR Code เรื่อง ตําแหนงหลักในวงโคจรของ
ดาวพฤหัสอยูในตําแหนงใด ดาวเคราะหวงนอก จากหนังสือเรียน หนา 41
1. ตั้งฉาก
2. ตรงขาม
3. รวมทิศแนววงใน
4. รวมทิศแนววงนอก
5. หางไปทางตะวันออกมากที่สุด
(วิเคราะหคาํ ตอบ ดาวพฤหัสเปนดาวเคราะหวงนอก ซึง่ ไมสามารถ
อยูใกลดวงอาทิตยมากกวาโลกได และไมสามารถโคจรมาอยูใน
ตําแหนงรวมทิศแนววงในได ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1
4. แตละกลุม รวมกันศึกษา เรือ่ ง มุมหางและคาบ 2.2 คาบ
การโคจรของดาวเคราะห แหลงการเรียนรู คาบ (period) คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ซึ่งการ
ตางๆ เชน อินเทอรเน็ต โดยครูเนนยํ้ากับ นิยาม 1 รอบ สามารถท�าได้หลายวิธี ดังนี้
นักเรียนวา ควรคัดเลือกศึกษาแหลงขอมูลที่ 1. คาบดาราคติ (sidereal period; P) คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายัง
นาเชื่อถือ ต�าแหน่งเดิมในวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ หรือทีเ่ รียกว่า “1 ปของดาวเคราะห์” ในกรณีทวั่ ๆ ไป เวลา
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช เรียกว่า คาบหรือคาบการโคจร เช่น คาบดาราคติของดาวอังคารเท่ากับ 687 วัน หมายความว่า
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) หากเราอยูบ่ นดาวอังคาร จะสังเกตว่า ใน 1 ปของดาวอังคาร จะมีระยะเวลาเท่ากับ 687 วันบนโลก
5. แตละกลุม รวมกันอภิปรายเกีย่ วกับความรูท ไี่ ด อย่างไรก็ตาม คาบดาราคติเป็นสิ่งที่ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรงจากบนโลก เนื่องจาก
รวมกันศึกษา แลวสรุปความรูที่ไดศึกษาลงใน ในขณะที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกก็มีการโคจรไปรอบดวงอาทิตย์เช่นเดียวกัน และ
สมุดประจําตัวเปนรายบุคคล เมื่อดาวเคราะห์ได้โคจรครบคาบดาราคติมาต�าแหน่งเดิมแล้ว ต�าแหน่งของโลกที่เปลี่ยนไปก็ท�าให้
ต�าแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์เปลี่ยนแปลงไปด้วย
2. คาบซินอดิก (synodic period; S) คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการวนกลับมาที่
มุมห่างเดิมจากดวงอาทิตย์อีกครั้ง เช่น ระยะเวลาระหว่างดาวอังคารที่อยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์
จนกลับมาอยูต่ รงข้ามดวงอาทิตย์ซา�้ อีกครัง้ หนึง่ หรือคาบซินอดิกของดาวอังคาร มีคา่ เท่ากับ 780 วัน
ส�าหรับดาวเคราะห์วงใน จะมีการโคจรที่เร็วกว่าโลก โดยหากดาวเคราะห์วงในที่มีคาบ
การโคจร P ป (ส�าหรับดาวเคราะห์วงใน จะได้ว่า P < 1) แต่มีคาบซินอดิก S ป เมื่อเวลาผ่านไป
P ป ดาวเคราะห์วงในจะกลับมาที่ต�าแหน่งเดิมในวงโคจร แต่เนื่องจาก P < 1 ส�าหรับดาวเคราะห์
วงใน โลกจะโคจรไปแค่เพียง 360P องศา นั่นหมายความว่า ทุก ๆ รอบการโคจรของดาวเคราะห์
วงในจะแซงโลกไปเป็นมุม 360 - 360P จนกลับมาพบกันใหม่อีกครั้งเมื่อดาวเคราะห์วงใน
ได้แซงกลับมาครบเป็นมุม 360 องศา นั่นคือ
ดาวเคราะห์วงในจะแซงโลกไปเป็นมุม 360(1 - P) องศา ทุก ๆ P ป
ดาวเคราะห์วงในจะแซงโลกไปเป็นมุม 360 องศา ทุก ๆ 1 P- P ป
ส่วนเวลาที่ดาวเคราะห์วงในแซงโลกจนกลับมา
ครบ 1 รอบอีกครั้ง คือ คาบซินอดิก (S) นั่นคือ
H. O. T. S.
S = 1 P- P คําถามทาทายการคิดขั้นสูง

แนวตอบ H. O. T. S. คาบดาราคติกับ
1 1 คาบซินอดิกมี
คาบดาราคติ คือ ระยะเวลาทีด่ าวเคราะหใชใน S =P-1 ความแตกต่างกัน
การโคจรกลับมายังตําแหนงเดิมในวงโคจรรอบดวง 1 = P1 - S1
อย่างไร
อาทิตย ซึง่ ไมสามารถสังเกตไดโดยตรงจากบนโลก
แตคาบซินอดิก คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะหใชใน 42
การโคจรกลับมายังมุมหางเดิมระหวางดวงอาทิตย
กับโลกอีกครั้ง

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 คาบ (period) เป น คํ า ที่ ใ ช ใ นหลายวิ ช า แต ล ะวิ ช าให ค วามหมาย การเคลื่ อ นที่ ว กกลั บ สามารถพบได เ มื่ อ ดาวเคราะห อ ยู  ใ น
แตกตางกัน ดังนี้ ตําแหนงใด
• ในวิชาฟสิกส คาบ หมายถึง เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ของการ 1. ตําแหนงขนาน
เคลื่อนที่แบบสั่นหรือการเคลื่อนที่แบบคลื่น 2. ตําแหนงตั้งฉาก
• ในวิชาเคมี คาบ หมายถึง กลุม ธาตุตา งๆ ทีอ่ ยูใ นแถวเดียวกันตามแนวนอน 3. ตําแหนงตรงขาม
ในตารางธาตุ ธาตุใดอยูในคาบที่เทาใดก็จะมีจํานวนระดับพลังงานใน 4. ตําแหนงรวมทิศวงใน
อะตอมเทากับเลขที่ของคาบนั้น 5. ตําแหนงรวมทิศวงนอก
• ในวิชาธรณีวิทยา คาบ หมายถึง ชวงเวลาทางธรณีกาลเปนหนวยยอย (วิเคราะหคําตอบ การเคลื่อนที่วกกลับสามารถพบไดเมื่อดาว
ของมหายุค มีชวงเวลาคอนขางยาวนานพอที่จะเชื่อถือได เคราะหกาํ ลังถูกโลกโคจรแซงไป ซึง่ เกิดขึน้ เมือ่ ดาวเคราะหวงนอก
กําลังอยูในตําแหนงตรงขามกับดวงอาทิตย ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ส�าหรับดาวเคราะห์วงนอก ซึง่ มีคา่ P > 1 เมือ่ เวลาผ่านไป P ป โลกจะแซงหน้าดาวเคราะห์ 6. ครู ถ ามคํ า ถามให แ ต ล ะกลุ  ม แข ง ขั น กั น หา
ไปแล้วเป็นมุม 360(P - 1) องศา และจะกลับมาแซงครบ 360 องศา เมื่อผ่านไป 1 คาบซินอดิก คําตอบและมอบรางวัลใหกับกลุมที่ตอบได
S = P P- 1 รวดเร็วและถูกตองทีส่ ดุ โดยครูอาจใชคาํ ถาม
ดังนี้
1 = P1 + S1 • มุมหางหาไดอยางไร
(แนวตอบ มุมหางหาไดจากมุมระหวางเสนตรง
ตัวอยางที่ ดาวอังคารจะเข้าใกล้โลกที่สุดในชวงเวลาที่ท�ามุมตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ โดยระยะเวลา ทีเ่ ชือ่ มโลกกับดวงอาทิตยกบั เสนตรงทีเ่ ชือ่ ม
5.1 ระหวางการเข้าใกล้โลก 2 ครั้ง จะหางกัน 780 วัน ดาวอังคารมีคาบดาราคติเทาใด โลกกับดาวเคราะห โดยมีโลกเปนจุดหมุน)
วิธีท�า ระยะเวลาระหว่างการเข้าใกล้โลก 2 ครั้ง คือ คาบซินอดิก (S) นั่นคือ • มุมหางใชบอกตําแหนงของดาวเคราะหได
คาบซินอดิกของดาวอังคาร = 780 วัน = 2.14 ป อยางไร
จากสมการ 1 = P1 + S1 (แนวตอบ มุมหางใชบอกตําแหนงของดาว
แทนค่า 1 = P1 + 2.14 1 เคราะหได โดยดาวเคราะหอยูหางจากดวง
P = 1.88 ป = 685 วัน อาทิตยไปทางตะวันออก เรียกวา มุมหาง
ดังนั้น ดาวอังคารมีคาบดาราคติเท่ากับ 685 วัน ทางตะวันออก และเมื่อดาวเคราะหอยูหาง
จากดวงอาทิตยไปทางตะวันตก)

กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การวัด
คาบดาราคติและคาบซินอดิก • การสังเกต
• การใช้จ�านวน
จิตวิทยาศาสตร์
• ความรอบคอบ
วัสดุอปุ กรณ์ • ความมุ่งมั่น อดทน
1. เชือก 2. ชอล์ก 3. สายวัดหรือตลับเมตร
วิธปี ฏิบตั ิ
1. ให้นกั เรียน 1 คน ถือเชือกเอาไว้ โดยก�าหนดให้นกั เรียนแทนดวงอาทิตย์ จากนัน้ ให้นกั เรียนอีกคนลากเชือก
ออกมาจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางพอประมาณ แล้วขีดเส้นวงกลมบนพื้นด้วยชอล์ก เพื่อแทนวงโคจร
ของดาวเคราะห์วงใน
2. ลากเชือกออกมาเป็นระยะทางไกลกว่าเดิม แล้วขีดเส้นวงกลมอีกวงหนึง่ เพือ่ แทนวงโคจรของดาวเคราะห์
วงนอก
3. ให้นักเรียนอีก 1 คน แทนดาวเคราะห์วงในและแทนการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์วงในด้วยการวิ่งเหยาะ ๆ
แล้วจับเวลาที่ใช้ในการวิ่งกลับมายังจุดเริ่มต้น เพื่อวัดคาบดาราคติของดาวเคราะห์วงใน
43

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมชั้นเรียน แลวรวมกันคํานวณหา เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม คาบดาราคติและคาบซินอดิก เรียบรอยแลว
คาบดาราคติและคาบซินอดิกของดาวเคราะหในระบบสุรยิ ะ โดยให ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลการทดลองและอภิปรายผลที่ไดรวมกัน
แตละคูจ ดั ทําเปนแผนพับแสดงวิธกี ารคํานวณหาคาบดาราคติและ ในขณะทีอ่ ภิปรายผล ครูอาจเปดคลิปวิดโี อแอนิเมชันคาบซินอดิก เชน คลิปวิดโี อ
คาบซินอดิกของดาวเคราะหแตละดวงอยางละเอียด จาก YouTube เรื่อง คาบซินอดิก วิทยาศาสตร ม.4-6 (โลกและดาราศาสตร)
(https://www.youtube.com/watch?v=v9g0YN53FLk) เพื่อชวยใหนักเรียน
เขาใจเกี่ยวกับคาบดาราคติและคาบซินอดิกไดอยางชัดเจน

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
7. ครูแจงใหนักเรียนทราบวาจะไดทํากิจกรรม 4. ให้นักเรียนอีก 1 คน แทนดาวเคราะห์วงนอกและแทนการ ดาวเคราะห์วงนอก
คาบดาราคติและคาบซินอดิก พรอมแจงจุด เคลื่อนที่ของดาวเคราะห์วงนอกด้วยการเดิน แล้วจับเวลา เพื่อ
ดาวเคราะห์วงในและโลก
ประสงคการทํากิจกรรม วัดคาบดาราคติของดาวเคราะห์วงนอก
8. แตละกลุม ทํากิจกรรมตามขัน้ ตอนในหนังสือ 5. จับเวลาอีกครั้งโดยให้นักเรียนยืนต�าแหน่ง ดังภาพที่ 5.7 ซึ่ง
เรียน โดยครูแจงใหนักเรียนทราบวา เมื่อ จะเริ่มจากเวลาที่ดาวเคราะห์ทั้งสองอยู่ในแนวเดียวกันจาก
ดวงอาทิตย์ แล้วเริม่ พร้อมกัน โดยนักเรียนทีแ่ ทนโลกวิง่ เหยาะ ๆ
ทํากิจกรรมเสร็จแลวใหแตละกลุมออกมา ส่วนนักเรียนอีกคนที่แทนดาวเคราะห์วงนอกเดิน และหยุดเวลา
นําเสนอผลการทํากิจกรรมของกลุมตนเอง เมือ่ ดาวเคราะห์ทงั้ สองกลับมาอยูใ่ นแนวเดียวกันอีกครัง้ ซึง่ เวลา
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ที่ได้ คือ คาบซินอดิก
แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม) 6. เปรียบเทียบและอภิปรายความแตกต่างระหว่างคาบดาราคติและ ภาพที่ 5.7 จ�าลองกิจกรรมคาบดาราคติ
คาบซินอดิกที่วัดได้ และคาบซินอดิก
9. แตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลการ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน โดยในระหวางที่ ค�าถามท้ายกิจกรรม
?
นักเรียนนําเสนอ ครูคอยใหขอ เสนอแนะและ คาบซินอดิกของดาวเคราะห์คิดเป็นเวลามากหรือน้อยกว่าคาบดาราคติของดาวเคราะห์วงในและวงนอก
ขอมูลเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจ
ที่ถูกตอง อภิปรายผลกิจกรรม

10. แตละกลุมตอบคําถามทายกิจกรรมและสรุป จากกิจกรรมระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายังมุมห่างเดิมระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก


ผลการทํากิจกรรมรวมกัน อีกครั้ง เรียกว่า คาบซินอดิก ส่วนระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายังต�าแหน่งเดิมในวงโคจรรอบ
ดวงอาทิตย์ เรียกว่า คาบดาราคติ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกันจะพบว่าคาบซินอดิกใช้เวลามากกว่าคาบดาราคติ

Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
มุมหางและคาบการโคจรของดาวเคราะห
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. จงอธิบายเกี่ยวกับมุมห่างและคาบการโคจรของดาวเคราะห์
2. ดาวเคราะห์วงในที่ต�าแหน่งใดที่ผู้สังเกตบนโลกจะไม่สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงในนั้นปรากฏ
บนท้องฟา
3. ถ้าเกิดปรากฏการณ์ดาวเสาร์ใกล้โลก แสดงว่า ดาวเสาร์อยู่ต�าแหน่งใดเมื่อเทียบกับดวงอาทิตย์
และมีมุมห่างเท่ากับเท่าใด
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
44
คาบซินอดิกของดาวเคราะหคดิ เปนเวลามากกวา
คาบดาราคติของดาวเคราะหวงในและวงนอก

บันทึก กิจกรรม แนวตอบ Topic Questions


การปฏิบัติ เวลาที่ใช 1. มุมหาง คือ มุมระหวางเสนตรงที่เชื่อมโลกกับดวงอาทิตยกับเสนตรงที่
นักเรียนคนที่แทนดาวเคราะหวงในวิ่งเหยาะๆ ครบ เชื่อมโลกกับดาวเคราะห สวนคาบ คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะหใชใน
1 รอบ การโคจรรอบดวงอาทิตย 1 รอบ
นักเรียนคนที่แทนดาวเคราะหวงนอกเดินครบ 1 รอบ 2. ตําแหนงรวมทิศวงในและตําแหนงรวมทิศวงนอก
นักเรียนคนทีแ่ ทนดาวเคราะหวงในและนักเรียนอีกคน 3. อยูที่ตําแหนงตรงขามและมีมุมหางเทากับ 180 องศา
ที่แทนดาวเคราะหวงนอก

(ขึ้นอยูกับดุลยพินิจผูสอน โดยพิจารณาจากความถูกตองและเหมาะสม
ของขอมูลที่นักเรียนบันทึก)

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
Earth Science 11. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนสอบถามเนือ้ หาทีไ่ ด
in real life ดาวเคียงเดือน ศึกษาผานมาแลววามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ
ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือนเป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นประจ�า แลวใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น โดยที่ครู
เนื่องจากดวงจันทร์และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะมีการเปลี่ยนต�าแหน่งไปเรื่อย ๆ ตามคาบการ อาจจะใช PowerPoint เรื่อง การเคลื่อนที่
โคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงท�าให้ดวงจันทร์และดาวเคราะห์สามารถปรากฏบนท้องฟาในทิศเดียวกัน หรือ
เคลือ่ นทีม่ าอยูใ่ นต�าแหน่งใกล้เคียงกันได้ เราสามารถสังเกตเห็นดาวเคียงเดือนได้อย่างชัดเจนในช่วงที่ ปรากฏของดาวเคราะห มาชวยในการอธิบาย
ดวงจันทร์ปรากฏเห็นเป็นเสี้ยวบาง เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่แสงสว่างจากดวงจันทร์จะไม่บดบัง 12. นักเรียนทําใบงาน เรื่อง มุมหางและคาบการ
ดาวเคราะห์ โคจรของดาวเคราะห
ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้เกิดปราฏการณ์ดาวเคียงเดือนทีน่ า่ สนใจบนท้องฟา เพราะมี (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
การเรียงตัวของดาวศุกร์และดาวพฤหัสอยูเ่ หนือดวงจันทร์ทเี่ ป็นรูปดวงจันทร์เสีย้ ว จึงท�าให้มลี กั ษณะ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
เหมือนคนก�าลังยิ้มอยู่ จึงท�าให้มีการเรียกว่า 13. ครูมอบหมายใหนักเรียนฝกทําแบบฝกหัด
พระจันทร์ยิ้ม
Topic Questions เรื่อง การเคลื่อนที่ปรากฏ
ในวันที่ 28-30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ของดาวเคราะห จากหนังสือเรียน ลงในสมุด
ก็เกิดปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือนเช่นกัน โดยมี
ดาวพฤหัส ดาวศุกร์ และดาวเสาร์ อยู่เคียงดวง บันทึกประจําตัว
จันทร์เสี้ยว ซึ่งในวันดังกล่าวปรากฏการณ์ดาว1
เคียงเดือนได้เกิดพร้อมกับปรากฏการณ์แสงโลก
ซึง่ จะเกิดหลังจากดวงอาทิตย์ลบั ขอบฟา ทางทิศ ภาพที่ 5.8 ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน ในวันที่ 1
ตะวันตกเฉียงใต้ โดยสังเกตได้ด้วยตาเปล่า ธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งถูกเรียกว่า พระจันทร์ยิ้ม
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ดวงจันทร์

ดาวเสาร์ ดาวเสาร์ ดาวเสาร์

ดวงจันทร์

กลุมดาวคนยิงธนู กลุมดาวคนยิงธนู กลุมดาวคนยิงธนู ดาวศุกร์


ดาวศุกร์ ดาวศุกร์
ดาวพฤหัส ดาวพฤหัส ดาวพฤหัส
ดวงจันทร์

ภาพที่ 5.9 ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือนในวันที่ 28-30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562


ที่มา : สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน)

การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ 45

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


1. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน 1 ปรากฏการณแสงโลก เกิดจากแสงอาทิตยสะทอนผิวโลกไปยังดวงจันทร
2. นักเรียนรวมกันสืบคนการเกิดปรากฏการณดาวเคียงเดือนและ และสะทอนกลับมายังผูส งั เกตบนโลกอีกตอหนึง่ ทําใหเห็นแสงจางๆ จากดานมืด
เลือกปรากฏการณดาวเคียงเดือนที่นักเรียนสนใจ ของดวงจันทร
3. สมาชิกในกลุม รวมกันเลือกขอมูลและจัดเตรียมขอมูล เพือ่ นําเสนอ
ตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ
4. นําเสนอขอมูลหนาชัน้ เรียน ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีท่ าํ ใหผอู นื่ เขาใจ
ไดงาย
5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลเกีย่ วกับปรากฏการณดาวเคียง
เดือน

ที่มา : สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน)

T51
นํา สอน สรุป สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
14. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ
Summary
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน การเคลื่อนที่ปรากฏของ
ดาวเคราะห
15. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด Unit
Questions 5 เรือ่ ง มุมหางและคาบการโคจร การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห
ของดาวเคราะห และ Test for U จากหนังสือ ดาวเคราะห์ทุกดวงจะเคลื่อนที่ไปทางตะวันออก เรียกว่า การเคลื่อนที่เดินหน้า (prograde motion) แต่
เรียนลงในสมุดประจําตัวสงครูในชัว่ โมงถัดไป ในบางครั้งดาวเคราะห์วงนอกจะมีการเคลื่อนที่ไปทางตะวันตก เรียกว่า การเคลื่อนที่วกกลับ (retrograde
motion)
1
ขัน้ สรุป มุมหางและคาบการโคจรของดาวเคราะห
ครูมอบหมายใหนกั เรียนเขียนสรุปความรู เรือ่ ง • มุมหาง (elongation) คือ มุมระหว่างเส้นตรงทีเ่ ชือ่ มโลกกับดวงอาทิตย์ กับเส้นตรงทีเ่ ชือ่ มโลกกับดาวเคราะห์
มุมหางและคาบการโคจรของดาวเคราะห ในรูปแบบ ดาวเคราะห์วงใน
ที่นาสนใจ เชน แผนที่ความคิด อินโฟกราฟก ดาวเคราะห์วงนอก
ร่วมทิศ
โลก
ลงในสมุดประจําตัวเปนรายบุคคลสงครูในชัว่ โมง วงโคจรของดาวเคราะห์วงนอก
ถัดไป วงโคจรของโลก
ร่วมทิศแนววงนอก
วงโคจรของดาวเคราะห์วงใน

ห่างไปทางตะวันออกมากที่สุด ห่างไปทางตะวันตกมากที่สุด
ร่วมทิศแนววงใน
ตั้งฉากทางทิศตะวันออก ตั้งฉากทางทิศตะวันตก

ตรงข้าม
ภาพที่ 5.10 มุมห่างของดาวเคราะห์ที่ต�าแหน่งต่าง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• คาบ (period) คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ

คาบดาราคติ (sidereal period; P) คือ ระยะ คาบซินอดิก (synodic period; S) คือ ระยะ
เวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายัง เวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายัง
ต�าแหน่งเดิมในวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ มุมห่างเดิมระหว่างดวงอาทิตย์กับโลกอีกครั้ง

- ดาวเคราะห์วงในใช้สูตร 1 = P1 - S1 ส่วนดาวเคราะห์วงนอกใช้สูตร 1 = P1 + S1

46

นักเรียนควรรู สื่อ Digital


1 มุม เกิดจากรังสี 2 เสน ที่มีจุดเริ่มตนเดียวกัน เรียกรังสีทั้ง 2 เสนนี้วา ศึกษาเพิ่มเติมจากการสแกน QR Code เรื่อง หินแกรนิต
แขนของมุม และเรียกจุดเริ่มตนวา จุดยอดมุม
• มุมกม เปนมุมทีม่ แี ขนของมุมแขนหนึง่ อยูใ นระดับสายตาและอีกแขนหนึง่
เชื่อมระหวางตาของผูสังเกตกับวัตถุที่อยูตํ่ากวาระดับสายตา
• มุมเงย เปนมุมทีม่ แี ขนของมุมแขนหนึง่ อยูใ นระดับสายตาและอีกแขนหนึง่ หินแกรนิต
เชื่อมระหวางตาของผูสังเกตและวัตถุซึ่งอยูสูงกวาระดับสายตา www.aksorn.com/interactive3D/RKC56

θ
มุมกม มุมเงย

T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
Apply Your Knowledge 2. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรื่อง มุมหาง
คําชี้แจง ให้นักเรียนตอบค�าถามจากสถานการณ์ที่ก�าหนดให้ตอไปนี้ และคาบการโคจรของดาวเคราะห
ช่วงพลบค�่านักเรียนสังเกตเห็นดาวศุกร์มีความสว่างสดใส และเป็นดาวที่สว่างที่สุดบนท้องฟา 3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Questions เรือ่ ง
มุมหางและคาบการโคจรของดาวเคราะห ใน
จากสถานการณ์นักเรียนคิดว่า ดาวศุกร์ปรากฏที่ทิศใด อยู่ที่มุมห่างต�าแหน่งใดเมื่อเทียบกับ
ดวงอาทิตย์ และเรียกดาวศุกร์ที่ขึ้นในช่วงพลบค�่าว่าอย่างไร สมุดประจําตัว
4. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง มุมหางและคาบการ
โคจรของดาวเคราะห จาก Unit Questions 5
5. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่ปรากฏ
Self Check ของดาวเคราะห จาก Test for U
6. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความวาถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
หากพิจารณาข้อความไมถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้ รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. การเคลื่อนที่เดินหน้า คือ การเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออก
7. ครูวดั และประเมินผลจากชิน้ งานแผนภาพหรือ
1.
ตามเส้นสุริยวิถี อินโฟกราฟก เรื่อง มุมหางและคาบการโคจร
2. ดาวพุธและดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีการเคลื่อนที่วกกลับ 1.
ของดาวเคราะห
3. มุมห่าง คือ มุมระหว่างเส้นตรงที่เชื่อมโลกกับดวงอาทิตย์ กับเส้นตรง 2.1
ที่เชื่อมโลกกับดาวเคราะห์
4. ดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์วงนอกมีมุมห่างเท่ากัน 2.1
ุด
สม
ใน

5. ดาวเคราะห์ที่ต�าแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์มีค่ามุมห่าง 0 องศา 2.1


ลง
ทึ ก
บั น

6. ต�าแหน่งตรงข้ามเป็นต�าแหน่งทีผ่ สู้ งั เกตสามารถเห็นดาวเคราะห์วงนอก 2.1


ปรากฏบนท้องฟาเต็มดวงได้
7. ถ้าดาวเคราะห์อยู่ต�าแหน่งร่วมทิศ ผู้สังเกตบนโลกจะสามารถเห็น 2.1
ดาวเคราะห์ปรากฏบนท้องฟา
8. ดาวเสาร์จะเคลือ่ นทีใ่ กล้โลกมากทีส่ ดุ ทีต่ า� แหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ 2.1
9. ระยะเวลาทีด่ าวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายังต�าแหน่งเดิมในวงโคจร 2.2
รอบดวงอาทิตย์ เรียกว่า คาบซินอดิก
แนวตอบ Self Check
10. คาบดาราคติไม่สามารถสังเกตได้โดยตรงจากบนโลก 2.2
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ 47
4. ผิด 5. ผิด 6. ถูก
7. ผิด 8. ถูก 9. ผิด
10. ถูก

แนวตอบ Apply Your Knowledge แนวทางการวัดและประเมินผล


ดาวศุ ก ร ป รากฏที่ ทิ ศ ตะวั น ตก ซึ่ ง ตํ า แหน ง มุ ม ห า งเมื่ อ เที ย บกั บ
ดวงอาทิตย คือ ตําแหนงหางไปทางตะวันออกมากทีส่ ดุ โดยดาวศุกรไมเคย ครูสามารถวัดและประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมคาบดาราคติและคาบซินอดิก
อยูห า งจากดวงอาทิตยเกิน 47 องศา และเรียกดาวศุกรทขี่ นึ้ ชวงพลบคํา่ วา โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมที่
ดาวประจําเมือง แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การเคลือ่ นทีป่ รากฏของ
ดาวเคราะห
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง
กับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./................../..................
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้องได้รับ และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
คาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดยไม่ ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึงทา ทันเวลา และทาอุปกรณ์
ในขณะปฏิบัติ ต้องได้รับคาชี้แนะ และ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง กิจกรรมเสร็จไม่ทันเวลา เสียหาย
กิจกรรม ทากิจกรรมเสร็จทันเวลา และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการทา บันทึกและสรุปผลการทา ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล กิจกรรมได้ถูกต้อง รัดกุม กิจกรรมได้ถูกต้อง แต่การ บันทึก สรุป และนาเสนอ อย่างมากในการบันทึก
การปฏิบัติ นาเสนอผลการทา นาเสนอผลการทา ผลการทากิจกรรม สรุป และนาเสนอผลการ
กิจกรรม กิจกรรมเป็นขั้นตอน กิจกรรมยังไม่เป็นขั้นตอน ทากิจกรรม
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T53
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions 5

1. คาบดาราคติ คือ ระยะเวลาที่ดาวเคราะหใช


ในการโคจรกลับมายังตําแหนงเดิมในวงโคจร
U nit
คําชี้แจง :
Questions 5
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต อ ไปนี้
รอบดวงอาทิตย สวนคาบซินอดิก คือ ระยะเวลา
ที่ดาวเคราะหใชในการโคจรกลับมายังมุมหาง 1. คาบดาราคติและคาบซินอดิกคืออะไร
เดิมระหวางดวงอาทิตยกับโลกอีกครั้ง 2. เพราะเหตุใดเราจึงไม่เห็นการเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์วงในในลักษณะเคลื่อนที่วกกลับ
2. การเคลื่ อ นที่ ป รากฏของดาวเคราะห ว งใน 3. เราสามารถสังเกตดาวเคราะห์วงนอกในต�าแหน่งร่วมทิศวงใน ต�าแหน่งตั้งฉาก และต�าแหน่ง
เกิ ด จากการเคลื่ อ นที่ จ ริ ง ของดาวเคราะห ตรงข้ามได้หรือไม่
รอบดวงอาทิตยเทียบกับผูสังเกตที่อยูบนโลก
4. ดาวเคราะห์ดวงใดบ้างที่สามารถเคลื่อนที่อยู่ต�าแหน่งร่วมทิศวงใน
ซึ่ ง เคลื่ อ นที่ ร อบดวงอาทิ ต ย ไ ปด ว ยในเวลา
เดียวกัน 5. ดาวเคราะห์วงนอกทีต่ า� แหน่งใดทีผ่ สู้ งั เกตบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงนอกได้ตลอดทัง้ คืน
3. สามารถเห็ น ดาวเคราะห ว งนอกมี มุ ม ห า ง 6. จากภาพที่ 5.11 ผู้สังเกตบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์วงนอกแต่ละต�าแหน่งเป็นอย่างไร
อยูใ นแนวรวมทิศ ตัง้ ฉาก และตรงขามได สวน C
ดาวเคราะหวงในไมสามารถสังเกตเห็นวามี
มุมหางอยูในแนวตั้งฉากและตรงขาม ดวงอาทิตย์
4. ดาวพุธและดาวศุกร D B
โลก
5. ตําแหนงตรงขาม
6. ที่ตําแหนง A ผูสังเกตบนโลกจะสังเกตเห็น
ดาวเคราะหอยูเหนือศีรษะเวลาที่ดวงอาทิตย A
ภาพที่ 5.11 ต�าแหน่งหลักในวงโคจรของดาวเคราะห์วงนอก
กําลังขึ้น ที่ตําแหนง B ผูสังเกตบนโลกไม ที่มา : คลังภาพ อจท.
สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห ที่ตําแหนง C
7. หากเราสังเกตเห็นดาวศุกร์หรือดาวประจ�าเมืองในตอนพลบค�่าอยู่เหนือดวงอาทิตย์ที่ตกดินเป็น
ผูสังเกตบนโลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะหอยู
มุม 40 องศา มุมห่างของดาวศุกร์จะมีค่าเท่าไร และอยู่ต�าแหน่งมุมห่างไปในทิศใด
เหนือศีรษะเวลาที่ดวงอาทิตยกําลังตก และ
ที่ตําแหนง D ผูสังเกตบนโลกจะสังเกตเห็น 8. ต�าแหน่งของดาวเคราะห์วงในแต่ละต�าแหน่งมีมุมห่างเท่าใดบ้าง
ดาวเคราะหไดตลอดทั้งคืน 9. ดาวพฤหัสมีคาบการโคจร 11.9 ป หรือ 4,332 วัน เราจะสังเกตเห็นดาวพฤหัสอยู่ต�าแหน่ง
7. มุ ม ห า งของดวงอาทิ ต ย จ ะมี ค  า เท า กั บ มุ ม ตรงข้ามได้บ่อยเพียงใด
ระหวางดวงอาทิตยถึงดาวเคราะห ในชวงที่ 10. ดาวอังคารมีคาบการโคจร 678 วัน หลังจากดาวอังคารอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์แล้วอีกกี่วัน
ดวงอาทิตยกําลังลับจากขอบฟา มุมหางจะ จึงจะมาอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์อีกครั้งหนึ่ง
มีคา เทากับมุมจากขอบฟาพอดี หากสังเกตเห็น
ดาวศุกรอยูเหนือดวงอาทิตยที่กําลังลับจาก 48

ขอบฟา 40 องศา ดาวศุกรจะลับจากขอบฟา


หลังจากดวงอาทิตยและอยูทางทิศตะวันออก
ของดวงอาทิตย ซึ่งมีมุมหาง 40 องศาทางทิศ
ตะวันออก
8. ตําแหนงรวมทิศวงในและตําแหนงรวมทิศวงนอก มีมุมหางเทากับ 0 องศา ตําแหนงหางไปทางตะวันตกมากที่สุดและตําแหนงหางไปทางตะวันออกมาก
ที่สุด มีมุมหางแตกตางกัน โดยดาวศุกร ไมเคยอยูหางจากดวงอาทิตยเกิน 47 องศาและดาวพุธไมเคยอยูหางจากดวงอาทิตยเกิน 28 องศา
9. เวลาในระหวางการสังเกตดาวพฤหัสอยูตําแหนงตรงขาม 2 ครั้ง คือ คาบซินอดิก ซึ่งสําหรับดาวเคราะหวงนอก
สามารถหาไดจาก s = p p- 1 = 11.9 11.9 = 1.09 ป หรือ 398 วัน
-1
ดังนั้น จะสังเกตเห็นดาวพฤหัสอยูตําแหนงตรงขามไดทุกๆ 1.09 ป หรือ 398 วัน
10. ดาวอังคารเปนดาวเคราะหวงนอกใชคา p = 687 วัน = 1.88 ป แทนคาลงในสมการ
1 = p1 + 1s
s = 2.14 ป
s = 780 วัน
ดังนั้น หลังจากดาวอังคารอยูตรงขามกับดวงอาทิตยแลว อีก 780 วัน จึงจะมาอยูตรงขามกับดวงอาทิตยอีกครั้ง

T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Test for U


1. 4. ระยะเวลาที่ ด าวเคราะห ใ ช ใ นการ
Test for U
ตอบ ขอ
โคจรกลับมายังมุมหางเดิมระหวางดวงอาทิตย
กับโลกอีกครั้ง คือ คาบซินอดิก
คําชี้แจง : เลื อ กค� า ตอบที่ ถู ก ต้ อ งที่ สุ ด เพี ย งค� า ตอบเดี ย ว 2. 1. ดาวพุธเปนดาวเคราะหวงใน ซึง่ มีการ
ตอบ ขอ

1. เวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจรกลับมายังต�าแหน่งมุมห่างเดิมเทียบกับดวงอาทิตย์เมื่อสังเกต โคจรเร็วกวาโลก ดังนัน้ โลกจึงไมสามารถโคจร


จากโลก เรียกว่าอะไร แซงดาวพุธ จึงไมเคลื่อนที่ถอยหลัง
1. มุมทิศ 2. มุมเงย 3. 2. ดาวเคราะห ว งในจะมองเห็ น เป น
ตอบ ขอ
3. คาบสุริยคติ 4. คาบซินอดิก
ลักษณะเปนเสี้ยวที่ตําแหนงหางไปทางตะวัน
5. คาบดาราคติ
ตกมากที่สุดในชวงเชามืด และที่ตําแหนงหาง
2. ดาวเคราะห์ดวงใดต่อไปนี้ไม่มีการเคลื่อนที่ถอยหลัง
ไปทางตะวันออกมากที่สุดในชวงหัวคํ่า โดย
1. ดาวพุธ 2. ดาวเสาร์
3. ดาวอังคาร 4. ดาวยูเรนัส ไมสามารถมองเห็นดาวเคราะหทตี่ าํ แหนงรวม
5. ดาวเนปจูน ทิศวงในและที่ตําแหนงรวมทิศวงนอก
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์วงนอก ตามล�าดับ 4. ตอบ ขอ 3. ตําแหนงตรงขาม มีมมุ หางเทากับ 180
1. ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์วงใน องศา
2. ดาวเคราะห์วงในสามารถเห็นได้ตลอดทั้งคืน
5. 4. ผูสังเกตจะสามารถเห็นดาวประจํา
ตอบ ขอ
3. ดาวเคราะห์วงในจะปรากฏให้เห็นเป็นเสี้ยวเสมอ
4. ผู้สังเกตบนโลกจะไม่สามารถเห็นดาวเคราะห์วงในได้เลย เมืองในชวงหัวคํ่าที่ตําแหนงหางไปทางตะวัน
5. ผู้สังเกตบนโลกมักจะเห็นดาวเคราะห์วงนอกได้เฉพาะในช่วงหัวค�่า ออกมากที่สุด คือ ตําแหนง D
4. ดาวเคราะห์ที่อยู่ต�าแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์มีค่ามุมห่างเท่าใด
1. 0 องศา 2. 90 องศา
3. 180 องศา 4. 270 องศา
5. 360 องศา
C
5. จากภาพที่ 5.12 ผู้สังเกตบนโลกจะมองเห็น
ดวงอาทิตย์
ดาวประจ�าเมืองอยู่ที่ต�าแหน่งใด
1. ต�าแหน่ง A
2. ต�าแหน่ง B D B
3. ต�าแหน่ง C A
4. ต�าแหน่ง D โลก
5. ต�าแหน่ง B และ D ภาพที่ 5.12 ต�าแหน่งหลักในวงโคจรของดาวเคราะห์วงใน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ 49

T55
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายหลักการท�ำงาน แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
กล้อง - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และเปรียบเทียบ มโนทัศน์ ก่อนเรียน - ทักษะการทดลอง - ใฝ่เรียนรู้
โทรทรรศน์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความแตกต่างของ (Concept - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการค�ำนวณ - มุ่งมั่นในการ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ประเภท Based - ตรวจใบงาน - ทักษะการวิเคราะห์ ท�ำงาน
6 ม.6 เล่ม 2
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
ต่าง ๆ ได้ (K)
2. ค�ำนวณหาก�ำลังขยาย
Teaching) - ประเมินการ
ปฏิบัติกิจกรรม
- ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน
ชั่วโมง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และก�ำลังแยกของ การสังเกตการณ์
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ได้ (P) ท้องฟ้า
ม.6 เล่ม 2 3. ปฏิบัติกิจกรรม - ประเมินการน�ำเสนอ
- ใบงาน การสังเกตการณ์ท้องฟ้า ผลงาน
- PowerPoint ได้อย่างถูกต้อง (P)
- QR Code 4. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig และมุ่งมั่นในการท�ำงาน
(A)
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายหลักการท�ำงาน แบบเน้น - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
เครื่องบันทึก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของเครื่องบันทึก มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
สัญญาณทาง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สัญญาณทางดาราศาสตร์ (Concept - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
ดาราศาสตร์ ม.6 เล่ม 2 ได้ (K) Based ผังมโนทัศน์ - ทักษะการท�ำงาน ท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ Teaching) เรื่อง เครื่องบันทึก ร่วมกัน
2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครื่องบันทึกสัญญาณ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ทางดาราศาสตร์ได้ (P)
สัญญาณทาง
ดาราศาสตร์
- ทกั ษะการจัดกระท�ำ
และสื่อความหมาย
ชั่วโมง ม.6 เล่ม 2 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ - ประเมินการน�ำเสนอ ข้อมูล
- ใบงาน และมุ่งมั่นในการท�ำงาน ผลงาน
- PowerPoint (A)
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม 1. อธิบายหลักการท�ำงาน แบบเน้น - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
ดาราศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และประโยชน์ของ มโนทัศน์ - ตรวจใบงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ในช่วง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ในช่วง (Concept - ตรวจชิ้นงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
ความยาวคลื่น ม.6 เล่ม 2 ความยาวคลื่นต่าง ๆ ได้ Based ผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการท�ำงาน ท�ำงาน
ต่าง ๆ - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม (K) Teaching) ดาราศาสตร์ในช่วง ร่วมกัน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ ความยาวคลื่นต่าง ๆ - ทกั ษะการจัดกระท�ำ
2 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ในช่วง
ม.6 เล่ม 2 ความยาวคลื่นต่าง ๆ ได้
- ประเมินการน�ำเสนอ
ผลงาน
และสื่อความหมาย
ข้อมูล
ชั่วโมง
- ใบงาน อย่างถูกต้อง (P)
- PowerPoint 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig และมุ่งมั่นในการท�ำงาน
(A)
แผนฯ ที่ 4 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายหลักการท�ำงาน แบบเน้น - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - ซื่อสัตย์ สุจริต
อุปกรณ์ที่ใช้ - หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และประโยชน์ของ มโนทัศน์ หลังเรียน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ในการส�ำรวจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อุปกรณ์ที่ใช้ในการส�ำรวจ (Concept - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการ
อวกาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ อวกาศได้ (K) Based - ตรวจใบงาน - ทักษะการท�ำงาน ท�ำงาน
ม.6 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับ Teaching) - ตรวจชิ้นงาน ร่วมกัน
2 - แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อุปกรณ์ที่ใช้ในการส�ำรวจ
อวกาศได้อย่างถูกต้อง
แผนภาพ เรื่อง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
- ทกั ษะการจัดกระท�ำ
และสื่อความหมาย
ชั่วโมง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ (P) ส�ำรวจอวกาศ ข้อมูล
ม.6 เล่ม 2 3. ซื่อสัตย์ สุจริต ใฝ่เรียนรู้ - ประเมินการน�ำเสนอ
- ใบงาน และมุ่งมั่นในการท�ำงาน ผลงาน
- PowerPoint (A)
- QR Code
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig

T56
Chapter Concept Overview
กล้องโทรทรรศน์
• หน้าที่ของกล้องโทรทรรศน์
- ร วมแสงด้วยพื้นที่รับแสงที่มากกว่านัยน์ตามนุษย์
- เพิ่มขนาดเชิงมุมปรากฏของวัตถุหรือเพิ่มก�ำลังขยาย
- เพิ่มก�ำลังแยกภาพ
- ร ะบุต�ำแหน่งของวัตถุ
• อ ัตราส่วนโฟกัส (F) หาได้จากอัตราส่วนระหว่างความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ (f) กับเส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ใกล้วัตถุ (D)

F = Df

• ก �ำลังรวมแสง หาได้จากอัตราส่วนระหว่างพื้นที่รับแสงกับพื้นที่ที่แสงตกกระทบ เมื่อสนใจเพียงอัตราส่วนระหว่างพื้นที่รวมแสง 2 บริเวณ


จะหาอัตราส่วนก�ำลังรวมแสงได้ ดังนี้

2
อัตราส่วนก�ำลังรวมแสง = (เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ A)
เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ B

• ก �ำลังขยาย (M) หาได้จากอัตราส่วนระหว่างความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ (fobs) กับความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา (feye)

f
M = fobs
eye

• ก �ำลังแยกภาพ เป็นระยะห่างเชิงมุมที่เล็กที่สุดที่กล้องโทรทรรศน์สามารถแยกจุด 2 จุด ออกจากกันได้ โดยขีดจ�ำกัดการแยกภาพมีหน่วย


เป็นเรเดียน
ขีดจ�ำกัดการแยกภาพ = 1.22 Dλ

• ป ระเภทของกล้องโทรทรรศน์

(ก) กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง (ข) กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (ค) กล้องโทรทรรศน์แบบผสม


ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์ใกล้วัตถุ ท�ำหน้าที่รวม ใช้กระจกเว้าแทนเลนส์เพือ่ รวมแสง ซึง่ มีราคา เป็นกล้องที่ใช้ทั้งเลนส์และกระจกเว้าเพื่อรวม
แสง แล้วใช้เลนส์ใกล้ตา (อาจเป็นเลนส์นูน ถูกกว่า น�ำ้ หนักเบากว่า และการสะท้อนของแสง แสง เป็นการผสมผสานจุดเด่นของกล้องทั้ง
หรือเลนส์เว้า) เพื่อขยายภาพ สามารถเกิดขึน้ ได้เท่ากันในทุกความยาวคลืน่ แบบหักเหแสงและแบบสะท้อนแสงเข้าด้วยกัน

T57
เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์
• เพลตถ่ายภาพและฟล์ม ฉาบด้วยสารไวแสงเพื่อบันทึกแสง เมื่อน�ามาล้างภาพของดาวฤกษ์ที่สว่างจะมีสัญญาณติดอยู่บนเพลตถ่ายภาพ
และฟิล์มมาก
• มาตรแสง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดความเข้มของแสง โดยหากใช้แผ่นกรองแสงโพลาไรส์จะเรียกว่า โพลาริมิเตอร์
• ตัวเพิ่มความเข้มภาพ มีลักษณะเดียวกันกับที่พบได้ในกล้องมองกลางคืน มักใช้ในช่วงคลื่นที่มีการตรวจวัดได้ยากหรือมีสัญญาณน้อย
• กล้องซีซีดี มีสารกึ่งตัวน�าแบ่งออกเป็นพิกเซล เมื่อมีแสงตกกระทบพิกเซลจะเก็บสัญญาณไว้ แล้วแปลงออกมาเป็นสัญญาณภาพ
• อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์ ใช้หลักการรวมแสงที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์ 2 กล้องขึ้นไป เพื่อเพิ่มรายละเอียดของภาพ

ดาราศาสตร์ ในชวงความยาวคลื่นตาง ๆ
• กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุ มีหลักการท�างานเหมือนกับเครือ่ งรับสัญญาณ
วิทยุ เนือ่ งจากคลืน่ วิทยุมคี วามยาวคลืน่ ค่อนข้างมาก ท�าให้ตอ้ งใช้
จานรับสัญญาณขนาดใหญ่หรือหลายจานท�างานร่วมกัน
• กล้องโทรทรรศน์ไมโครเวฟ รังสีไมโครเวฟในบางช่วงคลื่นไม่
สามารถทะลุผ่านชั้นบรรยากาศลงมายังพื้นโลกได้ การศึกษารังสี
ไมโครเวฟที่ความละเอียดสูงจึงต้องท�าในอวกาศ
• กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด รังสีอินฟราเรดเป็นรังสีความร้อนที่
แผ่ออกมาจากวัตถุทมี่ อี ณุ หภูมใิ กล้เคียงกับอุณหภูมหิ อ้ ง การท�างาน
ของกล้องโทรทรรศน์อนิ ฟราเรดจึงจ�าเป็นต้องมีการหล่อเย็น
• กล้องโทรทรรศน์รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอัลตราไวโอเลตไม่
สามารถผ่านชั้นบรรยากาศมาได้มากนัก กล้องโทรทรรศน์รังสี
อัลตราไวโอเลตจึงต้องถูกส่งออกไปส�ารวจนอกโลก
• กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ รังสีเอกซ์มีอ�านาจทะลุทะลวงสูงมาก
ดังนั้น กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ จึงใช้แผ่นโลหะหนาหลายชั้นที่
ท�ามุมป้านให้รังสีเอกซ์ค่อย ๆ เบี่ยงเบนเข้าไปหาจุดโฟกัส
• กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมา เนื่องจากชั้นบรรยากาศดูดซับรังสี
แกมมาไว้ได้หมด การสังเกตปรากฏการณ์รังสีแกมมาจึงต้องท�า
เหนือชั้นบรรยากาศ
• เครื่องตรวจวัดรังสีคอสมิก ถึงแม้ว่ารังสีคอสมิกจะมีพลังงานสูง
แต่ไม่สามารถผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่พื้นโลกได้ การศึกษา
รั ง สี ค อสมิ ก จึ งต้อ งศึกษาจากรังสีอื่น ๆ ที่เกิด ขึ้ น เนื่ อ งจาก
รังสีคอสมิกชนกับโมเลกุลต่าง ๆ ในชั้นบรรยากาศ
• เครือ่ งตรวจจับนิวทริโน หอสังเกตการณ์นวิ ทริโนมักถูกสร้างไว้ใต้
ภูเขาขนาดใหญ่ เพือ่ ป้องกันการรบกวนจากรังสีอนื่ ๆ ทีอ่ าจส่งผล
กระทบต่อเครื่องตรวจจับ

T58
หนวยการเรียนรู้ที่ 6
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสํารวจอวกาศที่นาสนใจ
• ดาวเทียม เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและส่งไปโคจรรอบโลกเพื่อใช้ในการสื่อสาร
1) การส่งและการโคจรของดาวเทียม ดาวเทียมโคจรรอบโลกนั้นเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วโคจร ซึ่งอัตราเร็วโคจรขึ้นอยู่กับแรงโน้มถ่วงจึงมี
ค่าที่สูงเมื่ออยู่ใกล้พื้นโลกและช้าลงเมื่ออยู่สูงจากพื้นโลก
2) การใช้ประโยชน์จากดาวเทียม ปัจจุบนั เรามีการใช้ประโยชน์จาก
ดาวเทียมมากมาย เช่น
- ดาวเที ย มสั ง เกตการณ์ โ ลก เป็ น ดาวเที ย มที่ ท� า การ
สังเกตการณ์บนพืน้ โลก เช่น ท�าแผนที่ (เช่น Google Maps)
ส�ารวจทรัพยากรโลก อุตนุ ยิ มวิทยา ศึกษาสิง่ แวดล้อม
- ดาวเทียมสือ่ สาร เป็นดาวเทียมท�าหน้าทีใ่ นการส่งสัญญาณ
สื่อสาร เช่น สัญญาณโทรทัศน์และสัญญาณอินเทอร์เน็ต
ผ่านดาวเทียม
- ดาวเทียมทหาร เป็นดาวเทียมที่ท�าหน้าที่สอดแนมหรือ
ตรวจจับการปล่อยรังสี เช่น การทดลองนิวเคลียร์ ข้อมูลเกี่ยวกับดาวเทียมจ�าพวกนี้มักถูกเก็บเป็นความลับทางการทหาร
- ดาวเทียมน�าทาง เป็นระบบดาวเทียมที่ท�าหน้าที่ส่งสัญญาณวิทยุเพื่อระบุต�าแหน่งบนพื้นโลก เช่น ระบบจีพีเอสที่ใช้บนโทรศัพท์
เคลื่อนที่มาจากการจับเวลาของสัญญาณที่มาจากระบบ
ดาวเทียมแหล่านี้
- กล้ อ งโทรทรรศน์ อ วกาศ เป็ น ดาวเที ย มที่ ท� า หน้ า ที่
สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
• สถานีอวกาศ คือ ห้องปฏิบัติการลอยฟ้าที่โคจรรอบโลก สถานี
อวกาศเป็นห้องปฏิบัติการที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ในระยะยาว และ
มีภารกิจหลักในการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสภาวะ
ไร้น�้าหนักที่มีต่อมนุษย์ พืช สัตว์ วัสดุศาสตร์
• ยานอวกาศ เป็นยานพาหนะทีน่ า� มนุษย์หรืออุปกรณ์ทางดาราศาสตร์
ขึน้ ไปสูอ่ วกาศ เพือ่ ส�ารวจหรือเดินทางไปยังดาวดวงอืน่
• กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ปัจจุบนั มีกล้องโทรทรรศน์ทโี่ คจรอยูร่ อบ
โลกและท�าการศึกษาวัตถุท้องฟ้าในหลายช่วงความยาวคลื่นที่ไม่
สามารถสังเกตบนโลกและมักถูกติดตัง้ อยูก่ บั ดาวเทียม
• หุ่นยนต์ส�ารวจอวกาศไร้คนขับ เนื่องจากการส่งมนุษย์ไปส�ารวจ
อวกาศจะตามมาด้วยน�า้ หนักบรรทุกทีม่ าก ระบบพยุงชีพทีว่ นุ่ วาย
อาหาร ระบบก�าจัดของเสีย น�้าดื่ม ระยะเวลาอันยาวนานในการ
ส�ารวจระบบสุริยะไปจนถึงความจ�าเป็นที่จะต้องเดินทางเพื่อน�า
มนุษย์อวกาศกลับคืนมายังโลก หุ่นยนต์ส�ารวจอวกาศไร้คนขับ
จึงเป็นทางเลือกที่ถูกและปลอดภัยกว่ามาก

เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ ใช้
เทคโนโลยีอวกาศสามารถน�ามาประยุกต์ใช้เป็นเครือ่ งมือเครือ่ งใช้
ในชีวิตประจ�าวันซึ่งได้มีการคิดค้นวิจัยขึ้นมาจากการผลักดันทาง
เทคโนโลยีอวกาศ เช่น จีพีเอส เมมโมรีโฟม ซีมอส เหล็กจัดฟัน
แว่นสายตา แขนขาเทียม เครื่องช่วยฟัง เทคโนโลยีการแช่แข็ง
อาหาร ปรอทวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรด เครื่องดูดฝุ่น ผ้าห่ม
อวกาศ อาหารเด็ก

T59
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
จากนัน้ ครูใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
ของหนวยการเรียนรูที่ 6 เทคโนโลยีอวกาศกับ หนวยการเรียนรูที่
เทคโนโลยีอวกาศ
การประยุกตใช เพื่อตรวจสอบความรูเดิมของ
นักเรียนเปนรายบุคคลกอนเขาสูกิจกรรม
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาข อ ความในตาราง
Check for Understanding จากหนังสือเรียน
6 กับการประยุกต ใช
ดาราศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ท�าการศึกษาวัตถุท่ีอยู่นอกโลกที่ไม่สามารถน�ามาศึกษาในห้องทดลอง
ตามความเขาใจของนักเรียน เพือ่ วัดความรูเ ดิม ดังนั้น การศึกษาดาราศาสตร์จึงจ�าเป็นต้องพึ่งเทคโนโลยีอวกาศที่ช่วยให้สามารถท�าการสังเกต
ของนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 6 และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเอกภพของเราได้
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกตใช
3. ครูนําเขาสูกิจกรรมการเรียนการสอน โดย
การสนทนาถึงความลี้ลับในอวกาศที่ทาทาย เทคโนโลยีอวกาศสัมพันธกับ
วิชาดาราศาสตรอยางไร
ความอยากรูอยากเห็นของมนุษยจนมนุษย
ตองสํารวจอวกาศและวิธีการสํารวจอวกาศที่
กระทํากันอยูในปจจุบัน

Che�� fo r U n de r s t a n d i ng
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
กลองโทรทรรศนที่มีขนาดหนากลองมากจะมีความไวแสงสูงกวากลองโทรทรรศนที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางกลองนอย
กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงเปนกลองโทรทรรศนที่ใชเลนสนูนทําหนาที่ในการรวมแสง
เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตรมีหนาที่เก็บบันทึกสะสมแสงไวไดนานเปนนาที ชั่วโมง หรือเปนสัปดาห
ดาวเทียมที่โคจรใกลผิวโลกจะโคจรดวยความเร็วที่นอยกวาดาวเทียมอยูสูงขึ้นไป
สวนประกอบของระบบขนสงอวกาศที่สามารถนํากลับมาใชใหมไดอีกครั้ง คือ จรวดเชื้อเพลิงแข็งและยานขนสงอวกาศ
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ถูก

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Big Question


การศึกษาวิชาดาราศาสตรนั้นเปนการศึกษาวัตถุที่อยูนอกโลกที่ไม
การจัดการเรียนการสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต ครูควรใช
สามารถนํามาศึกษาในหองทดลอง จึงจําเปนตองพึง่ พาเทคโนโลยีอวกาศ
วิธกี ารสอนแบบเนนมโนทัศน โดยมุง เนนใหนกั เรียนเขาใจหลักการและความคิด
เพือ่ ใหสามารถทําการสังเกตและรวบรวมขอมูลเกีย่ วกับเอกภพของเราได
รวบยอดตางๆ เพือ่ ประยุกตใช และควรจัดการเรียนการสอนทีน่ าํ พาผูเ รียนไปสู
เชน เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตรซึ่งสามารถเก็บบันทึกสะสม
ความคิดรวบยอดนั้น โดยครูสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากบทความความหมาย
แสงเอาไวไดนานเปนนาที ชั่วโมง หรือสัปดาห สถานีอวกาศเปนหอง
ของรู ป แบบการเรี ย นการสอน ในเว็ บ ไซต https://www.spu.ac.th/tlc/
ปฏิบัติการลอยฟาที่โคจรรอบโลก มีภารกิจหลักในการศึกษาวิจัยทาง
files/2016/03/รูปแบบการสอน-รศ.ดร.ทิศนา.pdf
วิทยาศาสตรเกีย่ วกับสภาวะไรนาํ้ หนักทีม่ ตี อ มนุษย พืช สัตว วัสดุศาสตร
รวมทั้งการศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมในการสงมนุษยเดินทางไปใน
อวกาศในอนาคต

T60
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
Key Question
อุปกรณใดบางที่ใชใน 1. เทคโนโลยีอวกาศกับการส�ารวจ 4. ครูถามคําถาม Key Question จากหนังสือ
เรี ย น เพื่ อ เชื่ อ มโยงไปสู  ก ารเรี ย นรู  เรื่ อ ง
การสํารวจอวกาศ อวกาศ กลองโทรทรรศน จากนัน้ ครูกลาวเชือ่ มโยงเขาสู
การศึกษาวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนท้องฟ้า ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่สามารถตรวจ
กิจกรรมการเรียนการสอน
จับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากวัตถุท้องฟ้าซึ่งอุปกรณ์ที่จ�าเป็นอย่างหนึ่ง นั่นคือ กล้องโทรทรรศน์
โดยปัจจุบันกล้องโทรทรรศน์มีหลายประเภทซึ่งมีหลักการท�างานแตกต่างกัน
ขัน้ สอน
1.1 กล้องโทรทรรศน์ รู (Knowing)
สามารถเปรียบเทียบการท�างานของกล้องโทรทรรศน์ได้กับการพยายามกินน�้าฝน ซึ่งพบว่า 1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น โดยแตละคูศ กึ ษา
หากต้องการกินน�า้ ฝนให้ได้มากทีส่ ดุ จะต้องแหงนหน้าและอ้าปากให้กว้างมากทีส่ ดุ เพือ่ เพิม่ พืน้ ที่ หนาทีข่ องกลองโทรทรรศนจากแหลงการเรียนรู
ในการรองรับน�้าเข้ามาในปาก ซึ่งสามารถเปรียบเทียบแสงของดาวได้กับน�้าฝนที่ตกลงมา และ ตางๆ เชน หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต โดยครู
ดวงตาที่ใช้สังเกตเปรียบได้กับปากที่ก�าลังรองรับน�้าฝน ดังนั้น หากยิ่งเปิดรูม่านตาให้กว้างขึ้น เนนยํ้าใหนักเรียนเลือกศึกษาจากแหลงขอมูล
จะสามารถดักแสงดาวได้มากขึ้น โดยรูม่านตาของมนุษย์สามารถเปิดกว้างได้เพียงไม่เกิน 1 ที่นาเชื่อถือ
เซนติเมตรเท่านั้น 2. นั ก เรี ย นนํ า ข อ มู ล ที่ ไ ด ม าศึ ก ษาร ว มกั น แล ว
จากที่กล่าวมาข้างต้นนั้น หากต้องการจะรองรับน�้าฝนให้ได้ปริมาณมาก สามารถท�าได้ บั น ทึ ก ผลการอภิ ป รายลงในสมุ ด บั น ทึ ก
โดยการเพิ่มพื้นที่รองรับน�้าฝนให้มากขึ้น เช่น การใช้กรวยรองรับน�้าฝน จะสามารถเปรียบเทียบ ประจําตัว
กล้องโทรทรรศน์ได้กับกรวยขนาดใหญ่ที่ท�าหน้าที่รองรับแสงจากดวงดาวให้เข้าสู่ตาของมนุษย์
ไม่เพียงแต่การรวมแสงนี้จะท�าให้ได้ปริมาณแสงที่เพิ่มขึ้นเพียงเท่านั้น แต่ยังท�าให้สามารถได้รับ
ข้อมูลและรายละเอียดของภาพที่มากขึ้นด้วย
ภาพที่ 6.1 กล้องโทรทรรศน์ช่วยเพิ่มขอบเขต
การสังเกตของมนุษย์ให้มากกว่าที่ตาเห็นเป็น
อย่างมาก ในภาพเป็นกล้องโทรทรรศน์ทางไกล
อัตโนมัติซีกฟ้าใต้ ประเทศชิลี
ที่มา : สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
(องค์การมหาชน)

แนวตอบ Key Question


51
กลองโทรทรรศน ดาวเทียม สถานีอวกาศ
ยานอวกาศ หุนยนตสํารวจอวกาศไรคนขับ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


เพราะเหตุใดจึงตองสงกลองโทรทรรศนขึ้นไปโคจรในอวกาศ สถาบันวิจยั ดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) เปนหนวยงานทีค่ น ควา
(แนวตอบ เพราะการศึกษาทางดาราศาสตรบนโลกมีขอจํากัด วิจัยและพัฒนาดานดาราศาสตรใหกับสังคม ครูสามารถเขาไปศึกษาและหา
ในเรื่องชั้นบรรยากาศของโลก ซึ่งแกสและอนุภาคตางๆ ใน ขอมูลเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศกับการสํารวจ
บรรยากาศจะเปนอุปสรรคในการศึกษาวัตถุทองฟาในชวงความ อวกาศ โดยเขาไปที่เว็บไซต https://www.narit.or.th/
ยาวคลื่นอื่นๆ นอกจากความยาวคลื่นในชวงที่ตามองเห็นและ
ชวงคลืน่ วิทยุ โดยสวนใหญไอนํา้ และแกสคารบอนไดออกไซดเปน
ตัวการสําคัญที่จะดูดกลืนสัญญาณคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่จะศึกษา
โดยเกิดเปนความทึบของบรรยากาศของโลก ดังนั้น โครงการ
กลองโทรทรรศนอวกาศตางๆ จึงถูกสรางขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงปญหา
เหลานี้)

T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ครูใหความรูเ กีย่ วกับหนาทีข่ องกลองโทรทรรศน กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์มีหน้าที่ ดังนี้
ดังนี้ • รวมแสงด้วยพื้นที่รับแสงที่มากกว่านัยน์ตามนุษย์
- รวมแสงดวยพื้นที่รับแสงที่มากกวา • เพิ่มขนาดเชิงมุมปรากฏของวัตถุหรือเพิ่มก�าลังขยาย
- เพิ่มขนาดเชิงมุมปรากฏของวัตถุหรือเพิ่ม • เพิ่มก�าลังแยกภาพ
กําลังขยาย • ระบุต�าแหน่งของวัตถุ
- เพิ่มกําลังแยกภาพ ค�าถามที่เกิดจากความเข้าใจผิดเกี่ยวกับกล้องโทรทรรศน์ที่มักจะได้ยินบ่อย ๆ ก็คือ
- ระบุตําแหนงของวัตถุ “กล้องโทรทรรศน์นเี้ ห็นได้ไกลเพียงใด” แต่กอ่ นจะตอบค�าถามนี้ ควรจะมาลองตอบอีกค�าถามหนึง่
ว่า “นัยน์ตามนุษย์สามารถมองเห็นได้ไกลเพียงใด”
จากค�าถามข้างต้น หากนักเรียนมองมาทีต่ วั หนังสือเหล่านี้ จะมองเห็นได้ไกลเพียงประมาณ
20 เซนติเมตร หากมองไปยังเพื่อนที่นั่งอยู่ฝังตรงข้าม จะมองเห็นได้เป็นเมตร หากมองไปยัง
กระดานด�าที่อยู่หน้าห้องเรียน จะมองเห็นได้เกือบ 10 เมตร หากมองไปนอกหน้าต่าง จะมอง
เห็นได้หลาย 100 เมตร หากมองไปที่เส้นขอบฟ้า จะมองเห็นได้ไกลหลายกิโลเมตร หากมอง
ไปยังดวงอาทิตย์ จะมองเห็นได้ไกลกว่า 150 ล้านกิโลเมตร และหากมองไปยังดาวตอนกลางคืน
จะมองเห็นได้ไกลกว่าหลายปีแสง
เห็นได้ว่า ค�าตอบของค�าถามที่ว่า “นัยน์ตามนุษย์มองเห็นได้ไกลเพียงใด” นั้น ขึ้นอยู่กับว่า
นัยน์ตามองไปที่สิ่งใด และสิ่งที่มองนั้นมีความสว่างเพียงใด ดังนั้น ค�าตอบของค�าถามที่ว่า
“กล้องโทรทรรศน์นสี้ ามารถมองได้ไกลเพียงใด” ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั ความสามารถของกล้องโทรทรรศน์
แต่ขึ้นอยู่กับว่าสิ่งที่เราต้องการสังเกตนั้นอยู่ไกลเพียงใดและมีความสว่างแค่ไหน
ภาพที่ 6.2 กาแล็กซีแอนโดรเมดา วัตถุที่ไกลที่สุดวัตถุหนึ่งที่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งหากสังเกตเห็นจุดฝ้า ๆ
จุดหนึ่งระหว่างกลุ่มดาวแอนโดรเมดากับกลุ่มดาวค้างคาว ตาของเราก�าลังมองออกไปถึงกว่า 2.6 ล้านปีแสง
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

52

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับกาแล็กซีแอนโดรเมดา โดยชักชวนใหนกั เรียนรวมกัน กลองโทรทรรศนในขอใดมีความไวแสงมากที่สุด
พิจารณาภาพที่ 6.2 แลวจึงอธิบายวา กาแล็กซีแอนโดรเมดาเปนกาแล็กซีเพื่อน 1. กลองโทรทรรศนที่มีความยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร และมี
บานที่มีขนาดใหญกวากาแล็กซีทางชางเผือกเล็กนอย และอยูหางออกไป 2.6 ขนาดหนากลอง 25 มิลลิเมตร
ลานปแสง สามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลาในตําแหนงของกลุม ดาวแอนโดรเมดา 2. กลองโทรทรรศนที่มีความยาวโฟกัส 200 มิลลิเมตร และมี
เป น กาแล็ ก ซี กั ง หั น ขนาดใหญ ซึ่ ง มี ก าแล็ ก ซี บ ริ ว าร คื อ M32 และ M110 ขนาดหนากลอง 100 มิลลิเมตร
นักดาราศาสตร พบวา กาแล็กซีแอนโดรเมดาและกาแล็กซีทางชางเผือกกําลัง 3. กลองโทรทรรศนที่มีความยาวโฟกัส 800 มิลลิเมตร และมี
เคลื่อนที่เขาหากัน และจะปะทะกันในอีกประมาณ 3-5 พันลานปขางหนา ขนาดหนากลอง 400 มิลลิเมตร
และเรียกระบบกาแล็กซีแอนโดรเมดาวา Messier 31 หรือ M31 ซึ่งเชื่อวาจะ 4. กลองโทรทรรศนที่มีความยาวโฟกัส 1,000 มิลลิเมตร และ
เปนประโยชนตอการคนควาประวัติศาสตรวิวัฒนาการของกาแล็กซีกนหอยที่มี มีขนาดหนากลอง 500 มิลลิเมตร
ขนาดใหญ 5. กลองโทรทรรศนทุกตัวขางตนมีความไวแสงเทากันทั้งหมด
(วิเคราะหคําตอบ ความไวแสงใชอัตราสวนโฟกัสเปนตัวกําหนด
ซึ่งในทุกขอมีอัตราสวนโฟกัสเปน f/2 นั่นคือ มีความไวแสงเทากัน
ทั้งหมด ดังนั้น ตอบ ขอ 5.)

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. อัตราส่วนโฟกัส (Focal ratio; F) เป็นค่าที่บอกถึงความสามารถในการรวมแสงของ 4. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน โดยคละ
กล้องโทรทรรศน์ เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้เลนส์ซึ่งมีความยาวโฟกัสไม่เท่ากันจะมองเห็น ความสามารถของนักเรียน
ส่วนของท้องฟ้าไม่เท่ากัน ถึงแม้ว่าจะมีพื้นที่รองรับแสงใกล้เคียงกัน ดังนั้น จึงนิยามอัตราส่วน 5. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม สื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ
โฟกัส โดยหาได้จากอัตราส่วนระหว่างความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุกับเส้นผ่านศูนย์กลาง กลองโทรทรรศน แลกเปลี่ยนกันอภิปรายเรื่อง
ของเลนส์ใกล้วัตถุหรือช่องรับแสง (aperture) ดังสมการ ที่ตนเองศึกษาใหเพื่อนในกลุม และอภิปราย
รวมกันในกลุมจนทุกคนเขาใจ โดยครูกําหนด
F คือ อัตราส่วนโฟกัส ประเด็นใหนักเรียนอภิปราย ดังนี้
F = Df f คือ ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ - อัตราสวนโฟกัส
1
D คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ใกล้วัตถุหรือช่องรับแสง - กําลังรวมแสง
- กําลังขยาย
หากขนาดของช่องรับแสงมีค่าน้อย จะได้อัตราส่วน - ความสูงของภาพ
Earth Science
โฟกัสที่มีค่ามาก ซึ่งเป็นการบ่งบอกว่าเลนส์นี้มีความไวแสงต�่า in real life - กําลังแยกภาพ
แต่หากขนาดของช่องรับแสงมีค่ามาก จะได้อัตราส่วนโฟกัสที่ สั ญ ลั ก ษณ์ บ นกล้ อ งถ่ า ยรู ป (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
มีคา่ น้อย ซึง่ เป็นการบ่งบอกว่าเลนส์นมี้ คี วามไวแสงมาก นัน่ คือ เช่น เลนส์ที่มี “f/8” แสดงว่า แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
มี ช ่ อ งรั บ แสงแคบกว่ า ความ 6. ครูอธิบาย เรือ่ ง อัตราสวนโฟกัส โดยอัตราสวน
สามารถรับแสงมากได้ภายในเวลาอันสั้น ยาวโฟกัสถึง 8 เท่า ส่วนเลนส์
โฟกัสเปนคาที่จะบอกวากลองโทรทรรศนมี
2. ก�าลังรวมแสง เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์ท�าหน้าที่ ที่มี “f/2” แสดงว่า มีช่องรับ
แสงแคบกว่าความยาวโฟกัส
คล้ายกรวยรวมแสง ซึ่งคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่บอกถึงคุณภาพ เพียง 2 เท่า ดังนั้น เลนส์ที่มี ความไวแสงเทาใด ซึ่งกลองที่มีขนาดเสนผาน
ของกล้องโทรทรรศน์ได้ดีก็คือ พื้นที่ในการรับแสง โดยทั่วไป “f/2” จึงมีความไวแสงมากกว่า ศูนยกลางของเลนสใกลวัตถุมากเมื่อเทียบกับ
มักจะระบุขนาดกล้องเป็นค่าเส้นผ่านศูนย์กลางหน้ากล้อง ซึ่ง ความยาวโฟกัสจะมีอัตราสวนโฟกัสนอย จึงมี
ขนาดหน้ากล้องบ่งบอกถึงความสามารถในการรวมแสง นั่นคือ กล้องที่มีขนาดหน้ากล้องมาก ความไวแสงมาก และกําลังรวมแสงแปรผันตรง
จะสามารถรวมแสงได้มากกว่า และมีความไวแสงสูงกว่ากล้องที่มีขนาดหน้ากล้องน้อย กับพื้นที่ของเลนสใกลวัตถุ คือ แปรผันตรงกับ
ก�าลังรวมแสงของกล้องโทรทรรศน์ (light-gathering power) หาได้จากอัตราส่วน กําลังสองของเสนผานศูนยกลางของเลนส
ระหว่างพื้นที่รับแสง เช่น กล้องที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เมตร จะมีพื้นที่รับแสงเท่ากับ
πr2 นั่นคือ π(0.25)2 ตารางเมตร เมื่อเทียบกับอีกกล้องหนึ่งที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง
0.1 เมตร ซึ่งมีพื้นที่แสงตกกระทบเพียง π(0.05)2 ตารางเมตร เมื่อเทียบกันแล้ว กล้องตัวแรก
มีพื้นที่รับแสงเท่ากับ 25 เท่าของพื้นที่รับแสง Con���t Q�e����n แนวตอบ Concept Question
ของกล้องตัวทีส่ อง นัน่ คือ กล้องตัวแรกมีกา� ลัง กํ า ลั ง รวมแสงของกล อ งโทรทรรศน ห าได
ในการรวมแสงมากกว่ากล้องตัวที่สอง 25 เท่า อยางไร กําลังรวมแสงของกลองโทรทรรศน หาไดจาก
อัตราสวนระหวางพื้นที่รับแสง 2 บริเวณ ดังสมการ
อัตราสวนกําลังรวมแสง =
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 53
เสนผานศูนยกลางของเลนส A 2
( เสนผานศูนยกลางของเลนส B )

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


กลองโทรทรรศนตัวหนึ่งมีความยาวโฟกัส 150 มิลลิลิตร และ ครูอาจนํานักเรียนทบทวนเนื้อหา เรื่อง มาตราสวนและอัตราสวน เพื่อที่จะ
มีเสนผานศูนยกลางหนากลอง 25 มิลลิลิตร กลองโทรทรรศน ไดทบทวนความรูเ ดิมของนักเรียนและสรางความเขาใจทีถ่ กู ตอง เพือ่ ใหนกั เรียน
ตัวนี้มีอัตราสวนโฟกัสเทาใด นําความรูนี้มาใชในเนื้อหาอัตราสวนโฟกัสและกําลังรวมแสง
1. f/2.8 2. f/4 3. f/6
4. f/8 5. f/16
นักเรียนควรรู
(วิเคราะหคําตอบ อัตราสวนโฟกัส คือ อัตราสวนระหวางความยาว
โฟกัสของเลนสใกลวัตถุกับเสนผานศูนยกลางของเลนสใกลวัตถุ 1 เสนผานศูนยกลาง จะใชเฉพาะกับวงกลมเทานัน้ หมายถึง สวนของเสนตรง
F = f ทัง้ หลายทีผ่ า นจุดศูนยกลางของวงกลม และจุดปลายทัง้ สองของสวนของเสนตรง
D
เหลานั้นจะอยูบนวงกลม ดังนั้น เสนผานศูนยกลาง คือ คอรดที่ยาวที่สุดของ
= (150 mm 2
25 mm ) วงกลม ซึ่งมีความยาวเปน 2 เทาของรัศมี
= 6
จะไดวา อัตราสวนโฟกัสของกลองโทรทรรศนตัวนี้ คือ f/6
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T63
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ เมื่อสนใจเพียงอัตราส่วนระหว่างพื้นที่รวมแสง 2 บริเวณ สามารถก�าจัดค่าคงที่ (π)
อัตราสวนกําลังรวมแสง ดังสมการ ออกไป แล้วเขียนอัตราส่วนก�าลังรวมแสงได้ ดังนี้
อัตราสวนกําลังรวมแสง =
เสนผานศูนยกลางของเลนส A 2 อัตราส่วนก�าลังรวมแสง = (เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ A)
2
(เสนผานศูนยกลางของเลนส B ) เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ B
โดยการรวมแสงของกลองโทรทรรศนนอกจาก
จะชวยใหมองเห็นวัตถุสวางขึ้นแลว ยังชวย จากการรวมแสง
ใหมองเห็นวัตถุที่มีความเขมแสงนอยซึ่งไม ของกล้องโทรทรรศน์ นอกจาก
สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา และรวมกัน จะช่ ว ยให้ ส ามารถมองเห็ น
ศึกษาตัวอยางที่ 6.1 จากหนังสือเรียน วัตถุได้สว่างขึ้นแล้ว ยังช่วย
ให้มองเห็นวัตถุที่มีความเข้ม
แสงน้อยซึง่ ไม่สามารถมองเห็น
ได้ด้วยตาเปล่า และนอกจากนี้
ยังช่วยให้สามารถใช้อุปกรณ์
ทางดาราศาสตร์ เช่น เครื่อง
แยกสเปกตรัม (spectrograph)
ในการศึ ก ษาสมบั ติ ข องวั ต ถุ ภาพที่ 6.3 กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ณ หอดูดาวแห่งชาติที่ดอยอินทนนท์
มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ที่สุดและมีก�าลังรวมแสงมากที่สุดในเอเชียตะวันออก
ท้องฟ้าได้ เฉียงใต้ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

ตัวอยางที่ กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร กล้องตัวนี้มีก�าลังรวมแสง


6.1 มากกว่าตาของมนุษย์กี่เท่า (ก�าหนดให้ ตาของมนุษย์มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร)
เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ A 2
วิธีท�า อัตราส่วนก�าลังรวมแสง = (เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ B)
2
= ( 2.4 เมตร )
1 เซนติเมตร
2
= ( 2.4 เมตร )
0.01 เมตร
= 57,600 เท่า
ดังนั้น กล้องโทรทรรศน์ตัวนี้มีอัตราส่วนก�าลังรวมแสงมากกว่าตามนุษย์ 57,600 เท่า

54

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับกลองโทรทรรศนแหงชาติ ณ หอดูดาวแหงชาติ กลองโทรทรรศนตัวหนึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 5.6 เมตร
ทีด่ อยอินทนนท โดยชักชวนใหนกั เรียนรวมกันพิจารณาภาพที่ 6.3 แลวจึงอธิบาย หากสมมติใหตาของมนุษยมขี นาดเสนผานศูนยกลาง 1 เซนติเมตร
วา กลองโทรทรรศนแหงชาติและกลองโทรทรรศนหลักของหอดูดาวภูมภิ าคทุกแหง กลองโทรทรรศนนี้จะมีกําลังรวมแสงมากกวาตาของมนุษยกี่เทา
รวมถึงกลองโทรทรรศนอตั โนมัตคิ วบคุมระยะไกลในตางประเทศ จะทําการวัด (วิเคราะหคําตอบ จากสมการ
สเปกตรัมของวัตถุทอ งฟา เพือ่ ศึกษาคุณสมบัตทิ างกายภาพ เชน องคประกอบ เสนผานศูนยกลางของเลนส A 2
ทางเคมี การเคลือ่ นไหวสัมพัทธกบั ผูส งั เกต โดยประโยชนของการวัดสเปกตรัมนี้ อัตราสวนกําลังรวมแสง = (
เสนผานศูนยกลางของเลนส B )
ไมเพียงแตใชในดานดาราศาสตรเทานัน้ แตยงั สามารถนําไปใชอยางแพรหลาย 5.6 m 2
= (0.01
ในสาขาเคมี ชีววิทยา ระบบการปองกันและการรักษาความปลอดภัย การเกษตร m)
= 313,600
และการควบคุมทางไกล
ดังนั้น กลองโทรทรรศนตัวนี้มีกําลังรวมแสงมากกวาตาของ
มนุษย 313,600 เทา)

T64
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ก�าลังขยาย กล้องโทรทรรศน์โดยทั่วไปประกอบด้วยเลนส์ใกล้วัตถุหรือกระจกเว้า 8. ครูอธิบายวา กําลังขยาย คือ อัตราสวนระหวาง
ซึ่งมีหน้าที่รวมแสงของวัตถุไปยังจุดโฟกัส และเลนส์ใกล้ตาท�าหน้าที่ขยายภาพ โดยสามารถหา ความยาวโฟกัสของเลนสใกลวัตถุ (fobs) กับ
ก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ (Magnification; M) ได้จากอัตราส่วนระหว่างความยาวโฟกัส ความยาวโฟกัสของเลนสใกลตา (feye) ซึ่งจะ
ของเลนส์ใกล้วัตถุกับความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา เทากับอัตราสวนของขนาดเชิงมุมของภาพ
ที่ไดรับ (uimg) เมื่อเทียบกับภาพจริง (uobj)
f fobs คือ ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ f u
M = fobs ดังสมการ M = fobs = uimg
eye feye คือ ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา eye obj

หากพิจารณาขนาดของภาพที่ปรากฏบนฉากรับ (S) ที่ระยะโฟกัส (f) จะพบว่า ภาพท�า


มุม tan u = Sf หรือ u = Sf เมื่อ u เป็นมุมในหน่วยเรเดียนที่มีค่าน้อย จะพบว่า ขนาดเชิงมุม
ของภาพที่ได้รับจะแตกต่างจากขนาดเชิงมุมของวัตถุเล็กน้อย โดยเป็นสัดส่วนเท่ากับก�าลังขยาย
ของกล้องโทรทรรศน์ (M) ท�าให้สามารถหาก�าลังขยายได้จากขนาดเชิงมุม ดังนี้
u uobj คือ ขนาดเชิงมุมของวัตถุ
M = uimg uimg คือ ขนาดเชิงมุมของภาพ
obj

โดยทั่วไปอาจคิดว่า ก�าลังขยายเป็นสิ่งที่มีความส�าคัญต่อกล้องโทรทรรศน์มากที่สุด แต่


หากพิจารณาจากสมการก�าลังขยายแล้ว พบว่า สามารถเพิม่ ก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ได้โดย
การเปลีย่ นเลนส์ใกล้ตาให้มคี วามยาวโฟกัสน้อยลง แต่อย่างไรก็ตาม การขยายภาพไม่ได้ทา� ให้เห็น
รายละเอียดของภาพเพิ่มขึ้นเสมอไป ซึ่งเปรียบได้กับการน�าภาพความละเอียดต�่ามาส่องดูด้วย
แว่นขยาย ความละเอียดของภาพย่อมเท่าเดิม สมบัติอีกประการของกล้องโทรทรรศน์ที่มีความ
ส�าคัญต่อรายละเอียดภาพ คือ ก�าลังแยกภาพ

ภาพดั้งเดิมความละเอียดต�่า ภาพดั้งเดิมความละเอียดสูง

ขยายขนาด 10 เท่า

การเพิม่ ขนาดของภาพ ท�าให้ภาพดูใหญ่ขึ้น สิ่งจ�าเปนต่อรายละเอียดของภาพ ไม่ใช่การเพิ่มก�าลังขยาย


แต่ไม่ได้เพิ่มรายละเอียด แต่เปนการเพิ่มก�าลังแยกภาพโดยอุปกรณ์และขนาดหน้ากล้อง
ภาพที่ 6.4 การขยายขนาดภาพท�าให้ได้ภาพทีใ่ หญ่ขนึ้ แต่ไม่ได้ทา� ให้รายละเอียดเพิม่ ขึ้น เช่นเดียวกับการเพิม่ ก�าลังขยาย
ของกล้องจะช่วยให้มองเห็นวัตถุใหญ่ขึ้น แต่ไม่ได้ท�าให้รายละเอียดเพิ่มขึ้น
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 55

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


หากตองการเพิ่มกําลังขยายกลองโทรทรรศนควรทําอยางไร ครู อ าจให ค วามรู  เ พิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ กํ า ลั ง ขยายของกล อ งโทรทรรศน ว  า
1. เพิ่มขนาดหนากลอง เราสามารถเปลี่ยนกําลังขยายของกลองโทรทรรศนใหเหมาะสมกับการใชงาน
2. เพิ่มความยาวของตัวกลอง โดยการเลือกใชเลนสใกลตาทีม่ คี วามยาวโฟกัสมากขึน้ หรือนอยลง อยางไรก็ตาม
3. ลดความยาวโฟกัสของเลนสใกลตา ในทางปฏิบัติเมื่อเพิ่มกําลังขยายขึ้น 2 เทา ความสวางของภาพจะลดลง 4 เทา
4. เพิ่มความยาวโฟกัสของเลนสใกลตา ขนาดของเลนสใกลวตั ถุเปนตัวจํากัดกําลังขยายสูงสุด การใชกาํ ลังขยายสูงโดยที่
5. ใชกลองทีม่ คี วามยาวโฟกัสของเลนสใกลวตั ถุและเลนสใกลตา เลนสใกลวัตถุมีขนาดเล็กเกินไปจะไดภาพคุณภาพตํ่าและมืดเกินไป ภาพที่ได
ทีม่ ากขึน้ จะเบลอสั่นเหมือนการมองดูปลาที่อยูในกระแสนํ้าที่ไหลเชี่ยว นักวิทยาศาสตร
(วิเคราะหคําตอบ กําลังขยาย คือ อัตราสวนระหวางความยาว จึงสรางกลองโทรทรรศนขนาดใหญบนยอดภูเขาสูงซึง่ เปนบริเวณทีม่ อี ากาศบาง
โฟกัสของเลนสใกลวตั ถุ (fobs ) กับความยาวโฟกัสของเลนสใกลตา หรือสงกลองโทรทรรศนขึ้นไปอยูในอวกาศเพื่อใหภาพคมชัด เนื่องจากไมมี
(feye ) หากตองการเพิม่ กําลังขยายนัน้ ตองลดความยาวโฟกัสของ บรรยากาศเปนอุปสรรคขวางกั้นทางเดินของแสง
เลนสใกลตา ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
9. ครู ใ ห แ ต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ ตัวอยางที่ กล้องโทรทรรศน์กล้องหนึ่งมีขนาดความยาวโฟกัสของกระจกหลัก 24 เมตร หากใช้
6.2-6.3 ในหนังสือเรียน โดยใหนกั เรียนทําตาม 6.2
เลนส์ตาทีม่ คี วามยาวโฟกัส 24 เซนติเมตร จะได้กา� ลังขยายเท่าใด และหากใช้เลนส์ตานีก้ บั
ขั้นตอนการแกโจทยปญหา ดังนี้ กล้องโทรทรรศน์เพื่อส่องดวงจันทร์ ซึ่งมีขนาดเชิงมุม 0.5 องศา จะสังเกตเห็นดวงจันทร์
• ขั้นที่ 1 ทําความเขาใจโจทยตัวอยาง มีขนาดเชิงมุมเท่าใด
• ขั้นที่ 2 สิง่ ทีโ่ จทยตอ งการถามหา และจะ วิธีท�า จากสมการก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์
หาสิ่งที่โจทยตองการตองทําอยางไร M = ffobs
eye
• ขั้นที่ 3 ดําเนินการ 24 m
M = 0.24
• ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคํ า ตอบของโจทย m
ตัวอยาง M = 100
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ดังนั้น เมื่อใช้เลนส์ตาที่มีความยาวโฟกัส 24 เซนติเมตร กล้องโทรทรรศน์นี้จะมีก�าลังขยาย 100 เท่า
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) และเมื่อสังเกตดวงจันทร์ ซึ่งมีขนาดเชิงมุม 0.5 องศา ดวงจันทร์จะมีขนาดเชิงมุมปรากฏใหญ่
10. ครู สุ  ม บางกลุ  ม ให อ อกมานํ า เสนอวิ ธีทํ า ขึ้น 100 เท่า และจะสังเกตเห็นดวงจันทร์มีขนาดเชิงมุม = 0.5(100) = 50 องศา
ตัวอยางที่ 6.2-6.3 ตามขั้นตอนการแกโจทย
ปญหา โดยในขณะทีน่ กั เรียนนําเสนอ ครูคอย ตัวอยางที่ วันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 2003 ดาวอังคารโคจรเข้ามาอยู่ใกล้โลกมากที่สุดในรอบหกหมื่นปี
เพิ่มเติมขอมูลที่ถูกตองใหแกนักเรียน 6.3
และมีขนาดเชิงมุมปรากฏ 0.007 องศา ในขณะที่ดวงจันทร์ของโลกมีขนาดเชิงมุมปรากฏ
0.5 องศา หากสังเกตด้วยตาเปล่า ดาวอังคารจะใหญ่เท่าดวงจันทร์ของโลกหรือไม่ และ
หากต้องการเห็นดาวอังคารใหญ่เท่าดวงจันทร์ของโลก จะต้องใช้กล้องทีม่ กี า� ลังขยายเท่าใด
วิธีท�า หากสังเกตด้วยตาเปล่า จะไม่สามารถเห็นดาวอังคารที่มีขนาดเชิงมุมเพียง 0.007 องศา มีขนาด
ใหญ่เท่าดวงจันทร์ที่มีขนาดเชิงมุม 0.5 องศาได้ แต่หากใช้กล้องโทรทรรศน์ที่มีก�าลังขยาย
เหมาะสม สามารถเห็นดาวอังคารมีขนาดเชิงมุมปรากฏผ่านกล้องโทรทรรศน์เท่ากับ 0.5 องศาได้
ซึ่งต้องขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น
จากสมการก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์
u
M = uimg obj
0.5 องศา
M = 0.007 องศา
M = 71.4
ดังนั้น หากส่องดาวอังคารด้วยกล้องโทรทรรศน์ที่มีเลนส์ตามีก�าลังขยาย 71.4 เท่า จะสามารถเห็น
ดาวอังคารในวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 2003 มีขนาดใหญ่เท่ากับดวงจันทร์ของโลกที่สังเกตด้วย
ตาเปล่าได้

56

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง กลองโทรทรรศน https://www. กลองโทรทรรศนกลองหนึ่งมีขนาดความยาวโฟกัสเลนสใกล
twig-aksorn.com/fifilm/telescopes-7780/ วัตถุ 240 มิลลิเมตร หากใชเลนสใกลตาที่มีความยาวโฟกัส 12
มิลลิเมตร จะไดกําลังขยายกี่เทา
1. 15 เทา 2. 20 เทา 3. 25 เทา
4. 30 เทา 5. 35 เทา
f
(วิเคราะหคําตอบ จาก M = fobs
eye
= 240 mm
12 mm
= 20
จะเห็ น ได ว  า หากใช เ ลนส ใ กล ต าที่ มี ค วามยาวโฟกั ส 12
มิลลิเมตร จะไดกําลังขยาย 20 เทา ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ก�าลังแยกภาพ (resolving power) คือ ระยะห่างเชิงมุมที่เล็กที่สุดที่กล้องโทรทรรศน์ 11. ครูอธิบายวา กําลังแยกภาพ คือ ระยะหาง
สามารถแยกจุด 2 จุด ออกจากกันได้ โดยเปรียบได้กับการสังเกตรถยนต์เวลากลางคืน โดย เชิงมุมที่เล็กที่สุดที่กลองโทรทรรศนสามารถ
ขณะที่รถยนต์อยู่ไกลจากผู้สังเกตจะมีไฟหน้า 2 ดวง ห่างกันด้วยระยะเชิงมุมต�่า จนไม่สามารถ แยกจุด 2 จุด ออกจากกันได และกําลังแยก
แยกภาพดวงไฟออกจากกันได้ จึงสังเกตเห็น ภาพสูงสุดที่เปนไปไดในทางทฤษฎี เรียกวา
เป็นไฟดวงเดียว แต่เมือ่ รถยนต์อยูใ่ กล้ผสู้ งั เกต ขีดจํากัดกําลังแยกภาพ ซึ่งเกิดจากสมบัติ
ระยะเชิ ง มุ ม ของไฟหน้ า ทั้ ง สองจะมี ค ่ า มาก ของคลื่นแสง เมื่อผานชองเล็กๆ จะพบวา
จนท�าให้สามารถแยกภาพออกเป็นไฟ 2 ดวงได้ แสงเกิดการเลี้ยวเบนและแทรกสอดกัน
ก�าลังแยกภาพนี้ ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับ
คุณภาพของชิน้ เลนส์หรือกระจกทีใ่ ช้ เช่นเดียว
กับสายตาของมนุษย์ ซึ่งบางคนอาจมีความ
สามารถในการแยกภาพไม่เท่ากัน บางคนอาจ
ไม่ ส ามารถแยกรายละเอี ย ดได้ ดี เ ท่ า ใดนั ก
เนื่องจากความผิดปกติของเลนส์ตาที่ท�าให้
สายตาสั้น แต่เราสามารถแก้ไขความผิดพลาด ภาพที่ 6.5 หากรถยนต์อยูไ่ กลจากผูส้ งั เกต จะไม่สามารถ
นี้โดยการใส่แว่นตาหรือคอนแทกต์เลนส์เพื่อ มองเห็นไฟหน้าทั้ง 2 ดวง แยกออกจากกันได้ แต่หาก
รถยนต์อยู่ใกล้ผู้สังเกต จะสามารถมองเห็นไฟหน้าแยก
เพิ่มก�าลังแยกภาพ และท�าให้สามารถแยก เป็น 2 ดวงได้
รายละเอียดที่ไกลออกไปได้ ที่มา : คลังภาพ อจท.
อย่างไรก็ตาม ส�าหรับสายตามนุษย์นั้น เราสามารถพัฒนาก�าลังแยกภาพได้เพียง
รายละเอียดสูงสุดที่ 601 องศา หรือ 1 ลิปดา (arcminute) และไม่ว่าเราจะพยายามใส่แว่นตาหรือ
คอนแทกต์เลนส์ใด ๆ ก็จะไม่สามารถพัฒนาสายตามนุษย์ให้มกี า� ลังแยกภาพทีล่ ะเอียดเล็กกว่านีไ้ ด้
เช่นเดียวกัน กล้องโทรทรรศน์จะมีก�าลังแยกภาพสูงสุดที่เป็นไปได้ในทางทฤษฎี
ขีดจ�ากัดสูงสุดของก�1าลังแยกภาพนี้เกิดจากสมบัติของคลื่นแสง เมื่อผ่านช่องเล็ก ๆ
จะพบว่า แสงเกิดการเลี้ยวเบนและแทรกสอดกัน ส่งผลให้แสงที่ลอดผ่านช่องเล็ก ๆ นั้นแผ่ออก
เป็นมุมกว้างเล็กน้อย และยิ่งช่องนั้นแคบลงเท่าใด แสงจะยิ่งเกิดการเลี้ยวเบนและแทรกสอด
มากขึ้นเท่านั้น
ในลักษณะเดียวกัน แสงจากดาวฤกษ์ที่ผ่านช่องหน้ากล้องโทรทรรศน์จะแผ่ออกเป็นวง
เรียกว่า วงแอรี (airy disc) เนือ่ งจากวงแอรีเกิดจากสมบัตขิ องคลืน่ แสง จึงขึน้ อยูก่ บั ความยาวคลืน่
และขนาดของช่องรับแสงหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ใกล้วตั ถุ ซึง่ สามารถเขียนมุมการแผ่ออก
ของวงแอรีได้ ดังสมการ
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 57

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ถาตองการกลองโทรทรรศนทสี่ ามารถเห็นรายละเอียดของภาพ 1 การเลี้ยวเบน เปนการเลี้ยวออมสิ่งกีดขวางของคลื่นในขณะเคลื่อนที่
เพิ่มขึ้นควรทําอยางไร ผานชองหรือขอบของสิ่งกีดขวาง เชน เมื่อคลื่นนํ้าหรือคลื่นแสงเคลื่อนที่ผาน
1. เพิ่มขนาดเชิงมุมของวัตถุ สิ่งกีดขวางจะแผออกจากขอบของสิ่งกีดขวางไปทางดานหลังได
2. เพิ่มกําลังขยายกลองโทรทรรศน
3. เพิ่มความยาวโฟกัสของเลนสใกลตา
4. เพิ่มกําลังรวมแสงของกลองโทรทรรศน สื่อ Digital
5. เพิ่มกําลังแยกภาพของกลองโทรทรรศน
ศึกษาเพิม่ เติมไดจากสารคดีสนั้
(วิเคราะหคําตอบ การเพิ่ ม กํ า ลั ง ขยายของกล อ งโทรทรรศน Twig เรื่อง คุณสมบัติของแสง https:
เปนการขยายภาพแตไมไดทําใหเห็นรายละเอียดของภาพเพิ่มขึ้น //www.twig - aksorn.com/fi f ilm/
หากตองการเห็นรายละเอียดของภาพเพิม่ ขึน้ สามารถทําไดโดยการ manipulating-light-8240/
เพิม่ กําลังแยกภาพซึง่ เปนระยะเชิงมุมทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีก่ ลองโทรทรรศน
สามารถแยกจุด 2 จุด ออกจากกันได ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
12. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา แสงจากดาวฤกษทผี่ า น
θคือ ระยะห่างเชิงมุมของวัตถุ
ชองหนากลองโทรทรรศนจะแผออกเปนวง λ
sin θ = 1.22 D λ คือ ความยาวคลื่นแสง ซึ่งมีค่า 5.5 × 10-4 มิลลิเมตร
เรียกวา วงแอรี ซึง่ สามารถเขียนมุมการแผออก
D คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ใกล้วัตถุหรือช่องรับแสงของกล้อง
ของวงแอรีได ดังสมการ sin θ = 1.22 Dλ
หากเขียนมุม θ ในหนวยเรเดียน เมื่อ θ มีคา 1
หากเขียนมุม θ ในหน่วยของเรเดียน เมือ่ θ มีคา่ น้อยมากดังทีพ่ บได้ในกล้องโทรทรรศน์
นอยมากดังที่พบในกลองโทรทรรศนทั่วไป ทั่วไป จะได้ว่า sin θ ≈ θ นั่นคือ
จะไดวา sin θ ≈ θ นั่นคือ θ = 1.22 Dλ
θ = 1.22 Dλ

(ก) (ข) (ค)


ภาพที่ 6.6 วงแอรีจากดาวฤกษ์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2
แสงจากดาวฤกษ์จะแผ่ออกเป็นวงแอรี ซึ่งเมื่อวงแอรี 2 วง อยู่ห่างกันจะสามารถแยก
แหล่งก�าเนิดแสง 2 แหล่ง ออกจากกันได้ ดังภาพที่ 6.6 (ก) เมื่อวงแอรีอยู่ใกล้กัน จะแยก
แหล่งก�าเนิดแสงออกจากกันได้ยากขึ้น ดังภาพที่ 6.6 (ข) และเมื่อวงแอรีอยู่ใกล้กันมาก จะเห็น
แหล่งก�าเนิดแสงทั้งสองรวมในวงเดียวกัน ดังภาพที่ 6.6 (ค)
58

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เรเดียน หรือ หนวยวัดมุม 1 เรเดียน คือ มุมที่ศูนยกลางของวงกลมซึ่ง ขอใดถูกตองเกี่ยวกับขีดจํากัดการแยกภาพและกําลังแยกภาพ
รองรับสวนโคงของวงกลมที่มีความยาวเทากับรัศมีของวงกลมนั้น 1. ขีดจํากัดการแยกภาพจะขึ้นอยูกับสภาพอากาศ
2. ขีดจํากัดการแยกภาพจะขึ้นอยูกับคุณภาพของเลนส
2 ดาวฤกษ คือ ดาวที่มีแสงสวางในตัวเอง ถึงแมวาจะดูเหมือนเปนจุดสวาง
3. ขีดจํากัดการแยกภาพและกําลังแยกภาพมีคา ไมแตกตางกัน
เพียง 1 จุดที่หยุดอยูนิ่งๆ แตในความเปนจริงแลว ดาวฤกษประกอบไปดวย
4. ขีดจํากัดการแยกภาพจะเปนมุมกวางกวากําลังแยกภาพ
กอนแกสขนาดยักษที่ถูกกระทําดวยแรง 2 แรงตลอดเวลา และเสถียรภาพของ
เสมอ
ดาวฤกษทมี่ องเห็นไดเปนเพียงสมดุลระหวางแรงทัง้ สองทีเ่ กิดขึน้ ชัว่ คราว แตใน
5. ขีดจํากัดการแยกภาพเปนขีดจํากัดสูงสุดที่เปนไปไดของ
เวลาอีกไมกี่ลานป สมดุลนี้ก็จะหมดไปซึ่งนําไปสูจุดจบของดาวฤกษ
กําลังแยกภาพ
(วิเคราะหคําตอบ ขีดจํากัดการแยกภาพ คือ ขีดจํากัดสูงสุดที่
เปนไปไดของกําลังแยกภาพ เมือ่ สภาพอากาศและอุปกรณทกุ อยาง
ทํ า หน า ที่ ไ ด ส มบู ร ณ ซึ่ ง กํ า ลั ง แยกภาพจะถู ก จํ า กั ด โดยการ
แทรกสอดของแสง ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
เนื่องจากแสงของดาวฤกษ์ที่ตกกระทบฉากรับภาพหรือตาของมนุษย์ มีลักษณะ 13. ครูถามคําถามเพื่อเปดประเด็นการอภิปราย
กระจายออกเป็นวงแอรี เมือ่ ใดก็ตามทีว่ งแอรีของดาวฤกษ์ 2 ดวง ซ้อนทับกัน ย่อมหมายความว่า รวมกันวา นักเรียนคิดวากลองโทรทรรศน
จะแยกดาว 2 ดวงนั้น ออกจากกันได้ยากหรือแยกไม่ได้ ดังนั้น ขนาดของวงแอรีสามารถบอกได้ มีกี่ประเภท อะไรบาง ซึ่งควรไดขอสรุปวา
ว่า ก�าลังแยกภาพที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้ในทางทฤษฎีของกล้องโทรทรรศน์มีค่าเท่าใด โดยเรียก กลองโทรทรรศน มี 3 ประเภท คือ กลอง
ขีดจ�ากัดก�าลังแยกภาพที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้ตามทฤษฎีนี้ว่า ขีดจ�ากัดการแยกภาพ (diffraction โทรทรรศนแบบหักเหแสง กลองโทรทรรศน
limit) ซึ่งมีหน่วยเป็นเรเดียน แบบสะทอนแสง และกลองโทรทรรศนแบบ
ผสม
ขีดจ�ากัดการแยกภาพ (เรเดียน) = 1.22 Dλ 14. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  กั บ เพื่ อ น โดยแต ล ะคู 
รวมกันเปรียบเทียบสวนประกอบและหลักการ
ขีดจ�ากัดการแยกภาพนี้เป็นเพียงค่าที่เป็นไปได้สูงสุดตามทฤษฎีเท่านั้น ซึ่งกล้อง ทํางานของกลองโทรทรรศนแตละประเภท
โทรทรรศน์ส่วนมากจะมีก�าลังการแยกภาพต�่ากว่าค่าขีดจ�ากัดการแยกภาพ โดยขึ้นอยู่กับความ ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน แลวบันทึก
ไม่สมบูรณ์ของเลนส์และสภาพท้องฟ้า ในลักษณะเดียวกันกับที่ตามนุษย์ไม่สามารถแยก ลงสมุดประจําตัว
รายละเอียด 1 ลิปดาได้เสมอ
1
5. ประเภทของกล้องโทรทรรศน์ หน้าที่หลักของกล้องโทรทรรศน์ คือ การรวมแสง
ซึ่งสามารถจ�าแนกประเภทของกล้องโทรทรรศน์ได้ตามอุปกรณ์ที่ใช้รวมแสง โดยแบ่งออกเป็น
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง และกล้องโทรทรรศน์แบบผสม

(ก) แบบหักเหแสง (ข) แบบสะท้อนแสง (ค) แบบผสม


ภาพที่ 6.7 เส้นทางเดินของแสงในกล้องโทรทรรศน์แบบต่าง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 59

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ทัศนอุปกรณที่ใชเปนเลนสใกลวัถตุในกลองโทรทรรศนแบบ 1 กลองโทรทรรศน อุปกรณทใี่ ชขยายภาพของวัตถุทอ งฟา โดยอาศัยหลักการ
สะทอนแสงเปนทัศนอุปกรณประเภทใด รวมแสงเพือ่ ใหสามารถมองเห็นวัตถุทอ งฟาทีไ่ มสามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลา
1. เลนสเวา หรือทําใหมองเห็นไดชัดขึ้น กลองโทรทรรศนยังถูกนําไปใชประโยชนอื่นๆ อีก
2. เลนสนูน เชน ใชในการศึกษาวัตถุทองฟาในยานสเปกตรัมอื่นๆ ที่ตามองไมเห็น ทั้งนี้
3. กระจกเวา เนื่องจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มาจากดวงดาวและวัตถุทองฟาตางๆ นั้นมียาน
4. กระจกนูน ความถีท่ กี่ วางมาก ตัง้ แตความถีใ่ นชวงคลืน่ วิทยุ คลืน่ ไมโครเวฟ รังสีอนิ ฟราเรด
5. กระจกระนาบ แสงที่ตามองเห็น รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ จนถึงรังสีแกมมา ในขณะที่ตา
(วิเคราะหคําตอบ กล อ งโทรทรรศน แ บบสะท อ นแสง จะใช มนุษยนั้นสามารถมองเห็นไดเฉพาะแสงในชวงความยาวคลื่นแสงที่ตามองเห็น
ทัศนอุปกรณทเี่ รียกวา กระจกเวา เปนอุปกรณรวมแสงซึง่ กระจกเวา ไดเทานั้น นอกจากนี้ กลองโทรทรรศนยังมีประโยชนในการถายและบันทึกภาพ
ที่ใชอาจมีหลายลักษณะ เชน กระจกเวาแบบทรงกลม กระจกเวา ของดวงดาวไดอีกดวย
แบบพาราโบลา กระจกเวาแบบไฮเพอรโบลา ซึ่งออกแบบมา
เพื่อแกไขความคลาดทรงกลมและความคลาดสีทําใหไดภาพของ
วัตถุทองฟาที่มีคุณภาพสูงขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
15. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปเกีย่ ว 1) กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง (refracting telescope) ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์
กับขอดีและขอจํากัดของกลองโทรทรรศน ใกล้วัตถุ ท�าหน้าที่รวมแสง แล้วใช้เลนส์ใกล้ตา (อาจเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า) เพื่อขยายภาพ
แบบหักเหแสงวา กลองโทรทรรศนแบบหักเห และแปลงภาพที่ได้รับให้เป็นภาพเสมือนที่ตามนุษย์สามารถสังเกตได้ ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์
แสงใชเลนสนูนเปนเลนสใกลวัตถุ ทําหนาที่ แบบแรกที่ประดิษฐ์ขึ้น
รวมแสง แลวใชเลนสใกลตา (ซึ่งอาจเปน • กล้ อ งโทรทรรศน์ แ บบกาลิ เ ลโอ (Galilean
เลนสนูนหรือเลนสเวา) ทําหนาที่ขยายภาพ telescope) ผลิตขึน้ โดยฮานส์ ลิปเพอร์เชย์ (Hans Lippershey)
ทํ า ให ภ าพมี คุ ณ ภาพสู ง ซึ่ ง เหมาะสํ า หรั บ ในปี ค.ศ. 1609 ซึ่งเป็นกล้องประเภทเดียวกับที่กาลิเลโอใช้
การสังเกตดวงจันทรและดาวเคราะห แตมี สังเกตวัตถุท้องฟ้า โดยใช้เลนส์ใกล้ตาเป็นเลนส์เว้า ท�าให้ได้
ความคลาดรงค (chromatic aberration) ภาพหัวตั้ง แต่กล้องแบบนี้มีคุณภาพค่อนข้างต�่า ภาพที่ได้
เนื่องจากแสงที่มีความยาวคลื่นตางกันจะ จึงบิดเบี้ยวและไม่คมชัด
โฟกัสไมตรงกัน จึงมีการหักเหไมเทากัน • กล้ อ งโทรทรรศน์ เ คพเลอร์ (Keplerian
telescope) ตั้งชื่อตามโยฮันเนส เคพเลอร์ (Johannes Kepler)
ซึง่ เป็นผูป้ รับปรุงกล้องโทรทรรศน์แบบกาลิเลโอ โดยใช้เลนส์นนู
เป็นเลนส์ใกล้ตา ซึ่งผลอย่างหนึ่งของการใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์ ภาพที่ 6.8 กล้องโทรทรรศน์ 2
ใกล้ตา คือ ท�าให้ได้ภาพหัวกลับ แต่เนือ่ งจากการศึกษาวัตถุทอ้ งฟ้า กล้องแรก ของกาลิเลโอจัดแสดงที่
ในทางดาราศาสตร์มักท�ากับวัตถุที่อยู่โดดเดี่ยวในอวกาศ ดังนั้น พิพธิ ภัณฑ์ประวัตศิ าสตร์วทิ ยาศาสตร์
เมืองฟลอเรนซ์
การกลับทิศทางของภาพจึงไม่เป็นปัญหาดังเช่นในการศึกษาบน ที่มา : Scalal Art Resource,
พืน้ โลก การใช้เลนส์นนู นีน้ อกจากมีตน้ ทุนทีถ่ กู กว่าแล้ว ยังท�าให้ New York
กล้องโทรทรรศน์มีก�าลังขยายที่ดีขึ้น และให้ภาพคมชัดมากขึ้น
กล้องโทรทรรศน์แบบนี้จึงได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน Earth Science
การหักเหแสงด้วยเลนส์มีข้อจ�ากัด คือ แสงที่ in real life
มีความยาวคลื่นต่างกันจะมีการหักเหไม่เท่ากัน นั่นคือ แสง กล้ อ งโทรทรรศน์ แ บบหั ก เห
แต่ละสีมีระยะโฟกัสไม่เท่ากัน โดยแสงที่มีความยาวคลื่นยาวจะ แสงที ่มีขนาดใหญ่ จะใช้เลนส์
ขนาดใหญ่และมีน�้าหนักมาก
มีความยาวโฟกัสยาวกว่าแสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ สัน้ ท�าให้ได้ภาพ ซึ่ ง การรองรั บ น�้ า หนั ก เลนส์
ทีม่ ลี กั ษณะเป็นสีเหลือบประกายรุง้ เรียกว่า เกิดความคลาดรงค์ ขนาดใหญ่ที่มีขอบบางนี้ท�าได้
(chromatic aberration) ซึง่ สามารถแก้ไขความคลาดรงค์ได้โดย ยาก กล้ อ งโทรทรรศน์ แ บบ
การน�าเลนส์มาประกอบกันเพื่อชดเชยดัชนีหักเหที่แตกต่างกัน หัส�ากหรัเหแสงจึ ง ไม่ เ ป็ น ที่ นิ ย ม
บกล้องขนาดใหญ่
ในแต่ละช่วงความยาวคลื่น

60
กลองโทรทรรศนเคพเลอร
www.aksorn.com/interactive3D/RNC46

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมจากการสแกน QR Code เรื่อง กลองโทรทรรศนเคพเลอร กลองโทรทรรศนประเภทใดเหมาะสําหรับสังเกตวัตถุที่มีความ
สวางมาก
1. กลองโทรทรรศนแบบผสม
2. กลองโทรทรรศนแบบหักเห
กลองโทรทรรศนเคพเลอร 3. กลองโทรทรรศนแบบเลี้ยวเบนแสง
www.aksorn.com/interactive3D/RKC46 4. กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงแบบนิวตัน
5. กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงแบบแคสสิเกรน
(วิเคราะหคําตอบ กลองโทรทรรศนแบบหักเหแสงเหมาะสําหรับ
ใชสังเกตวัตถุที่มีความสวางมาก เชน ดวงจันทร ดาวเคราะห
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2) กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (reflecting telescope) ด้วยปัญหาทางวิศวกรรมของ 16. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปเกีย่ ว
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงทีต่ อ้ งใช้เลนส์ขนาดใหญ่และมีนา�้ หนักมาก ท�าให้กล้องโทรทรรศน์ กับขอดีและขอจํากัดของกลองโทรทรรศน
แบบหักเหแสงขนาดใหญ่มีต้นทุนสูง จึงมีการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบใหม่ที่ไม่ใช้เลนส์ แบบสะทอนแสงวา กลองโทรทรรศนแบบ
เป็นตัวรวมแสง แต่ใช้กระจกเว้าแทน สะทอนแสงใชกระจกเวาเปนเลนสใกลวัตถุ
กระจกเว้ามีข้อได้เปรียบกว่าเลนส์หลายประการ เนื่องจากการสะท้อนแสงเกิดขึ้น ซึ่งทําหนาที่สะทอนแสง มีขนาดใหญ ให
เพียงพื้นผิวของกระจก กระจกเว้าจึงไม่จ�าเป็นต้องท�าจากวัสดุใสเช่นเดียวกับเลนส์ ราคาจึงถูก ภาพที่มีคุณภาพสูง จึงไมมีความคลาดรงค
กว่า และสามารถรองรับน�้าหนักได้จากด้านหลัง ท�าให้สามารถสร้างโครงสร้างที่รับน�้าหนักกระจก และสามารถรองรับนํ้าหนักไดจากดานหลัง
ขนาดใหญ่กว่าได้งา่ ย นอกจากนี้ การสะท้อนของแสงสามารถเกิดขึน้ ได้เท่ากันในทุกความยาวคลืน่ ทําใหสามารถสรางโครงสรางที่รับนํ้าหนัก
กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงจึงมีปัญหาเรื่องความคลาดรงค์น้อยกว่าแบบหักเหแสง ด้วย กระจกขนาดใหญกวาไดงาย แตเนื่องจากใช
เหตุผลต่าง ๆ เหล่านี้ จึงท�าให้กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงได้รับความนิยมมาก โดยเฉพาะ กระจกเวาจึงอาจมีความคลาดเคลื่อนที่เกิด
กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ซงึ่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถงึ 10 เมตร ส่วนกล้องโทรทรรศน์แบบหักเห จากรูปทรงเรขาคณิตของกระจก
แสงขนาดใหญ่ที่สุดมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 1.25 เมตร

ภาพที่ 6.9 กล้องโทรทรรศน์ Yerkes เป็นกล้องโทรทรรศน์ ภาพที่ 6.10 กล้องโทรทรรศน์ Gran Telescopio Canarias
แบบหักเหแสงขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังมีการใช้งานอยู่ ซึ่งมี (GTC) เป็นกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงที่มีขนาด
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 102 เซนติเมตร ใหญ่ทสี่ ดุ ซึง่ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10.4 เมตร
ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

1
กลองโทรทรรศนอวกาศฮั บ เบิ ล
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 61
www.aksorn.com/interactive3D/RNC44

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


กลองโทรทรรศนประเภทใดทีส่ ามารถใชระบบแสงแบบแอ็กทิฟได 1 กลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล เปนกลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสง
1. กลองโทรทรรศนเคพเลอร มีความกวาง 4.3 เมตร ยาว 13.3 เมตร รวมนํา้ หนักของตัวกลองและอุปกรณตา ง ๆ
2. กลองโทรทรรศนแบบผสม แลวมีนํ้าหนักมากถึง 11 ตัน โคจรรอบโลกทุก ๆ 97 นาที ใชพลังงานจากแผง
3. กลองโทรทรรศนแบบกาลิเลโอ เซลลแสงอาทิตยที่ปกทั้ง 2 ขาง ซึ่งอุปกรณสําคัญที่ติดตั้งไปกับกลอง คือ ระบบ
4. กลองโทรทรรศนแบบหักเหแสง คอมพิวเตอร กลองถายภาพมุมกวาง และเครื่องตรวจวัดสเปกตรัม
5. กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสง
(วิเคราะหคําตอบ กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงสามารถใช
ระบบแสงแบบแอ็กทิฟ ดังนั้น ตอบขอ 5.) สื่อ Digital
ศึกษาเพิม่ เติมจากการสแกน QR Code เรือ่ ง กลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล

กลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล
www.aksorn.com/interactive3D/RKC44

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
17. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายกลองโทร - ผลอย่างหนึ่งของการใช้กระจกเว้าเป็นตัวรวมแสง คือ แสงจะถูกรวมเข้าไปยังจุด
ทรรศนแบบสะทอนแสงและควรไดขอสรุป โฟกัสซึ่งอยู่ในเส้นทางเดินของแสงที่เข้ามาในกล้อง หมายความว่า หากสังเกตภาพที่บริเวณ
วา กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงแบงเปน จุดโฟกัส ศีรษะของผู้สังเกตจะบดบังแสงที่เดินทางเข้ามาในกล้อง ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยการ
4 แบบ ดังนี้ ใช้กระจกอีกบานหนึง่ เพือ่ เบนแนวของแสง โดยเรียกกระจกบานหลักทีท่ า� หน้าทีร่ วมแสงว่า กระจก
1) กลองโทรทรรศนสะทอนแสงแบบโฟกัส ปฐมภูมิ (primary mirror) และเรียกกระจกทีท่ า� หน้าทีเ่ บนแสงออกไปว่า กระจกทุตยิ ภูมิ (secondary
หลัก ใชกระจกปฐมภูมิสะทอนแสงเพียง mirror) และอาจมีกระจกบานที่สาม เรียกว่า กระจกตติยภูมิ (tertiary mirror) ตามล�าดับ
ครั้งเดียว หากพิจารณาจากวิธแี ละเส้นทางของการเบีย่ งเบนแสงออกจากกระบอกเลนส์สามารถ
2) กลองโทรทรรศนสะทอนแสงทีม่ โี ฟกัสแบบ แบ่งกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
นิวตัน ใชกระจกทุติยภูมิสะทอนแสงออก • กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบโฟกัสหลัก (prime focus telescope) สะท้อน
นอกลํากลอง แสงโดยกระจกปฐมภูมเิ พียงครัง้ เดียวโดยไม่มกี ระจกทุตยิ ภูมิ และติดตัง้ เครือ่ งมือบันทึกภาพเอาไว้
3) กลองโทรทรรศนสะทอนแสงทีม่ โี ฟกัสแบบ ทีจ่ ดุ โฟกัสหลักโดยตรง ซึง่ ปัจจุบนั กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุสว่ นมากใช้หลักการออกแบบในลักษณะนี้
แคสสิเกรน ใชกระจกทุตยิ ภูมสิ ะทอนแสง • กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบนิวตัน (newtonian telescope) ใช้กระจก
กลับไปทะลุกระจกปฐมภูมิ แลวไปโฟกัส ทุติยภูมิสะท้อนแสงออกไปโฟกัสนอกล�ากล้อง กล้องโทรทรรศน์แบบนี้จึงมีเลนส์ตาอยู่บริเวณ
นอกลํากลอง ด้านหน้าของล�ากล้องชี้ไปด้านข้าง และมักมีกระบอกกล้องตั้งอยู่บนฐานที่หมุนและเลื่อนได้
4) กลองโทรทรรศนสะทอนแสงทีม่ โี ฟกัสแบบ กล้องโทรทรรศน์แบบนี้มีต้นทุนค่อนข้างต�่า ใช้งานง่าย จึงเป็นที่นิยมของนักดาราศาสตร์รุ่นใหม่
คูเด ใชกระจกทุตยิ ภูมแิ ละกระจกตติยภูมิ ซึ่งเรียกว่า กล้องแบบดอบโซเนียน (dobsonian telescope)
สะทอนแสงออกไปโฟกัสนอกลํากลอง • กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบแคสสิเกรน (cassegrain telescope) ใช้กระจก
ทุติยภูมิสะท้อนแสงกลับไปทางด้านกระจกปฐมภูมิ แล้วไปโฟกัสนอกล�ากล้องหลังต�าแหน่งของ
กระจกปฐมภูมิ
fp
M1
M2
S1
O S2

a b
ภาพที่ 6.11 กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบแคสสิเกรนจะใช้กระจกหลัก (M1) สะท้อนแสงไปยังจุดโฟกัส (S1) และ
ใช้กระจกนูนรูปไฮเพอร์โบลา (M2) สะท้อนแสงกลับมายังรูขนาดเล็กทางด้านท้ายของกล้องเพื่อโฟกัสต�าแหน่งใหม่ (S2)
ที่มา : คลังภาพ อจท.

62
กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงแบบนิวตัน
www.aksorn.com/interactive3D/RNC45

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมจากการสแกน QR Code 3D เรื่อง กลองโทรทรรศนแบบ กลองโทรทรรศนประเภทใดเหมาะสําหรับใชสังเกตวัตถุที่มี
สะทอนแสงแบบนิวตัน ความสวางนอยและอยูไกลมาก
1. กลองโทรทรรศนแบบผสม
2. กลองโทรทรรศนแบบกาลิเลโอ
3. กลองโทรทรรศนแบบหักเหแสง
กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงแบบนิวตัน 4. กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสง
www.aksorn.com/interactive3D/RKC45 5. กลองโทรทรรศนแบบเลี้ยวเบนแสง
(วิเคราะหคําตอบ กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงเหมาะสําหรับ
ใชสังเกตวัตถุที่มีความสวางนอยและอยูไกลมาก เชน เนบิวลา
กาแล็กซี ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบแคสสิเกรนใช้กระจกนูนสะท้อนแสง ท�าให้ 18. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายและสรุ ป
ความยาวโฟกัสเปลี่ยนไป เราเรียกความยาวโฟกัสรวมที่ได้ว่า ความยาวโฟกัสยังผล (effective เกีย่ วกับขอดีและขอจํากัดของกลองโทรทรรศน
focal length; fe) ซึ่งค�านวณได้จากสมการ แบบผสมวา กลองโทรทรรศนแบบผสมใช
หลักการทํางานทั้งการหักเหแสงผานเลนส
a คือ ระยะห่างระหว่างกระจกทุตยิ ภูมกิ บั จุดโฟกัสของกระจกปฐมภูมิ
fe = ba fp b คือ ความยาวโฟกัสของกระจกทุติยภูมิ
และการสะท อ นแสงโดยกระจก เป น การ
fp คือ ความยาวโฟกัสของกระจกปฐมภูมิ ผสมผสานจุดเดนของกลองโทรทรรศนแบบ
หักเหแสงและกลองโทรทรรศนแบบสะทอน
หากเราใช้กระจกทุติยภูมิเป็นกระจกแบนราบ จะพบว่า เพียงแค่เบนทางเดิน แสง จะไดกลองโทรทรรศนที่มีขนาดเล็กแต
ของแสงจากกระจกปฐมภูมิไปทางด้านขวา จะได้ a = b โดยที่ fe = fp เช่นเดิม แต่จะได้ ยังมีความละเอียดและรายละเอียดสูง แต
กล้องโทรทรรศน์ที่มีความยาวกระบอกสั้นลงครึ่งหนึ่ง กลองโทรทรรศนแบบผสมมีความจําเปนตอง
• กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบคูเด (coudé focus telescope) มีกระจกทุตยิ ภูมิ ติดตั้งเลนสปรับแก
ทีส่ ะท้อนแสงกลับไปยังกระจกปฐมภูมิ และมีกระจกตติยภูมสิ ะท้อนแสงออกไปด้านข้างของล�ากล้อง
กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงใช้1 กระจกเป็นเครื่องมือในการรวมแสง ซึ่งไม่
ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น จึงไม่มีความคลาดรงค์ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์แบบ
สะท้อนแสงใช้กระจกเว้า จึงอาจมีความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากรูปทรงเรขาคณิตของกระจก
กระจกเว้ามีรูปร่างเป็นทรงกลมเพื่อโฟกัสแสงเข้าไปยังจุดโฟกัส แต่รูปร่าง แนวตอบ Concept Question
ทรงกลมนั้นไม่สามารถโฟกัสแสงทั้งหมดไปที่จุดโฟกัสเดียวกันได้ ภาพที่ได้จึงมีการกระจายออก
จากจุดโฟกัสเล็กน้อย เรียกว่า ความคลาดเคลื่อนทรงกลม (spherical aberration) กลองโทรทรรศนแบบหักเหแสง มีขอดี คือ
อย่างไรก็ตาม รูปทรงทีส่ ามารถโฟกัสแสงทัง้ หมดไปยังจุดโฟกัสได้ คือ พาราโบลา ใหภาพที่มีคุณภาพสูง ซึ่งเหมาะสําหรับการสังเกต
แต่กระจกที่มีรูปร่างเป็นพาราโบลาจะสามารถโฟกัสได้เฉพาะแสงที่เข้ามาบริเวณกึ่งกลางเท่านั้น ดวงจันทรและดาวเคราะห แตมีขอเสีย คือ มี
ส่วนแสงทีอ่ ยูบ่ ริเวณขอบของภาพจะมีจดุ โฟกัสเลือ่ นออกไป ท�าให้ภาพมีความยาวออกไป เรียกว่า ความคลาดรงค (chromatic aberration) เนือ่ งจาก
ความคลาดเคลื่อนแบบโคม่า (coma aberration) แสงที่ มี ค วามยาวคลื่ น ต า งกั น จะโฟกั ส ไม ต รง
3) กล้องโทรทรรศน์แบบผสม (catadioptric telescope) เป็นกล้องที่ใช้ทั้งเลนส์และ กัน สวนกลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสง มีขอดี
กระจกเว้ารวมแสง เป็นการผสมผสานจุดเด่นของกล้องทัง้ แบบหักเหแสงและแบบสะท้อนแสงเข้า คื อ ให ภ าพที่ มี คุ ณ ภาพสู ง จึ ง ไม มี ค วามคลาด
ด้วยกัน ท�าให้ได้ภาพทีป่ ราศจากความคลาดรงค์ดว้ ยมุมมองทีก่ ว้างขึน้ นอกจากนี้ การรวมอุปกรณ์ รงค และสามารถรองรับนํ้าหนักไดจากดานหลัง
ทั้งสองเข้าด้วยกัน จะท�าให้ความยาวของกล้องสั้นลง ได้กล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดเล็กแต่ยังมี ทําใหสามารถสรางโครงสรางที่รับนํ้าหนักกระจก
ความสามารถและรายละเอียดสูง ซึ่งกล้องแบบที่ได้รับความนิยม คือ กล้องโทรทรรศน์แบบ ขนาดใหญกวาไดงาย แตมีขอเสีย คือ เนื่องจาก
ชมิดท์-แคสสิเกรน (Schmidt-Cassegrain) Con���t Q�e����n ใชกระจกเวาจึงอาจมีความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก
และกล้องโทรทรรศน์แบบมักซูตอฟ-แคสสิเกรน กลองโทรทรรศนแตละแบบมีขอดีและ รูปทรงเรขาคณิตของกระจก และกลองโทรทรรศน
(Maksutov-Cassegrain) ขอเสียอยางไร แบบผสม มีขอ ดี คือ เปนกลองโทรทรรศนทมี่ ขี นาด
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 63
เล็กแตยังมีความละเอียดและรายละเอียดสูง แตมี
ขอเสีย คือ กลองโทรทรรศนแบบผสมมีความจําเปน
ตองติดตั้งเลนสปรับแก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


นักเรียนคิดวา กลองโทรทรรศนมีประโยชนตอการศึกษาทาง ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลองโทรทรรศนแบบผสมวา กลองโทรทรรศน
ดานดาราศาสตรอยางไร แบบผสมมีความจําเปนตองติดตั้งเลนสปรับแก (correction plate) ไวที่ปาก
(แนวตอบ เชน เนือ่ งจากดวงดาว รวมทัง้ สิง่ ตางๆ ทีอ่ ยูใ นอวกาศ ลํากลองเพื่อทํางานรวมกับกระจกทุติยภูมิในการชดเชยความโคงของระนาบ
นั้นอยูหางไกลจากโลกมาก บางอยางเปนสิ่งที่ไมสามารถมอง โฟกัส โดยที่เลนสปรับแกไมไดสงผลตอกําลังรวมแสงและกําลังขยายเลย
เห็นดวยตาเปลาและบางอยางที่มองเห็นไดก็ไมสามารถเห็นราย
ละเอียดไดอยางชัดเจน ดังนั้น กลองโทรทรรศนจึงเปนอุปกรณ นักเรียนควรรู
สําคัญที่ชวยใหการศึกษาสิ่งตางๆ ที่อยูในอวกาศทําไดงายขึ้น ซึ่ง
การศึกษาเกี่ยวกับดาราศาสตรสามารถนําไปประยุกตใชในดาน 1 ความคลาดรงค เปนผลมาจากการทีแ่ สงแตละสีมรี ะยะโฟกัสไมเทากัน โดย
ตางๆ ไดอีกมากมาย เชน การโคจรของดาวเคราะห การเกิด แสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ ยาวจะมีความยาวโฟกัสยาวกวาแสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ สัน้
ปรากฏการณตางๆ ที่อาจสงผลกระทบตอโลก) ทําใหไดภาพที่มีลักษณะเปนสีเหลือบประกายรุง

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
19. ครู ใ ห ค วามรู  เ พิ่ ม เติ ม กั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ 6. ระบบแสงของกล้องโทรทรรศน์ ก�าลังแยกภาพของกล้องโทรทรรศน์ถูกจ�ากัดโดย
ระบบแสงของกล อ งโทรทรรศน แ ละระบบ ปัจจัยมากมาย ตัง้ แต่ความคลาดในตัวกล้องเอง ไปจนถึงสภาพลมฟ้าอากาศและบรรยากาศทีค่ อย
ฐานของกลองโทรทรรศน ตามรายละเอียด บิดเบือนแสงจากดวงดาวให้ไม่คมชัดเท่าที่ควร ในอดีตอุปกรณ์รวมแสงของกล้องโทรทรรศน์เป็น
ในหนังสือเรียน เพียงอุปกรณ์ทถี่ กู ผลิตเอาไว้แล้ว และไม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้ โดยเราสามารถเรียกระบบแสง
20. ครูใหนกั เรียนทุกคนทําใบงาน เรือ่ ง กลองโทร- ทีใ่ ช้กระจกหรือเลนส์ทตี่ ายตัวว่า ระบบแสงแบบแพสซิฟ (passive optics) จนกระทัง่ ปัจจุบนั เรามี
ทรรศน พรอมทั้งสังเกตคําตอบของนักเรียน เทคโนโลยีทจี่ ะสามารถพัฒนาระบบแสงเพือ่ ชดเชยปัจจัยดังกล่าวได้
เพือ่ ประเมินพฤติกรรมนักเรียนเปนรายบุคคล 1) ระบบแสงแบบแอ็กทิฟ (active optics) เมื่อใช้งานกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่เป็น
พรอมใหคําแนะนําเพิ่มเติม ระยะเวลานาน กระจกทีใ่ ช้รวมแสงอาจเกิดการบิดงอ ยืดหด หรือคลาดเคลือ่ นได้จากสภาพแวดล้อม
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช เช่น ลม อุณหภูมิ ความเค้นเชิงกล ซึ่งการแก้ไขรูปทรงของกระจกที่ผิดปกติไปนั้นท�าได้ยาก
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) อาจต้องผลิตกระจกใหม่ทั้งบาน ซึ่งมีต้นทุนสูงมาก
วิธีหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้ คือ ใช้กระจกที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ได้โดยควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อชดเชยความคลาดเคลื่อนต่าง ๆ และรักษาระนาบกล้องให้อยู่
ในสภาพที่สมบูรณ์ ซึ่งเทคโนโลยีนี้ท�าให้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ได้ โดยไม่ต้อง
กังวลเรื่องการบิดเบี้ยวของกระจกที่อาจเกิดภายหลัง และยังท�าให้ใช้กระจกที่ประกอบขึ้นจาก
กระจกขนาดเล็กหลายบานได้
2) ระบบปรับตามสภาพแสง (adaptive optics) ขีดจ�ากัดของกล้องโทรทรรศน์ที่อยู่
ภาคพื้นดินนั้นมักเป็นความแปรปรวนของชั้นบรรยากาศที่เป็นตัวจ�ากัดก�าลังแยกภาพของกล้อง
โทรทรรศน์ นี่เป็นสาเหตุที่ว่า ท�าไมกล้องโทรทรรศน์จึงมักอยู่ในทะเลทรายที่แห้งแล้ง และ
บนภูเขาสูง และเป็นเหตุผลที่เราต้องส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลออกไปนอกโลกเพื่อลด
การรบกวนของชั้นบรรยากาศ
เราสามารถลดปัจจัยที่เกิดจาก
ความแปรปรวนของชั้นบรรยากาศได้โดยการ
ใช้กระจกที่สามารถบิดงอได้ตามสภาพอากาศ
โดยใช้แสงเลเซอร์เป็นตัวชี้น�าเพื่อวัดสภาพ
การแปรปรวนของชั้นบรรยากาศในขณะนั้น
จากนั้นคอมพิวเตอร์จะชดเชยการแปรปรวน
ของบรรยากาศตามเวลาจริ ง โดยการบิ ด งอ
ภาพที่ 6.12 กล้องโทรทรรศน์ Very Large Telescope ของกระจก เทคโนโลยีนี้ท�าให้กล้องโทรทรรศน์
(VLT) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8.2 เมตร ใช้แสงเลเซอร์
ศึกษาและชดเชยการแปรปรวนของชั้นบรรยากาศด้วย ภาคพื้ น ดิ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใกล้ เ คี ย งกั บ
ระบบปรับตามสภาพ เพือ่ ท�าให้ได้กา� ลังแยกภาพทีด่ ขี น้ึ กล้องโทรทรรศน์อวกาศมากขึ้น
ที่มา : Yuri Beletsky (ESO)
64

สื่อ Digital กิจกรรม สรางเสริม


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากสารคดีสั้น Twig เรื่อง ทํากระจกกลองโทรทรรศน ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 3-4 คนรวมกันสืบคนและศึกษา
อยางไร https://www.twig-aksorn.com/film/how-are-mirrors-made-7782/ เกีย่ วกับระบบแสงของกลองโทรทรรศน ซึง่ แบงเปนระบบแสงแบบ
แอ็กทิฟและระบบแสงตามสภาพแสง โดยศึกษาตามประเด็น ดังนี้
- แตละระบบมีการแกปญ  หาเกีย่ วกับระบบแสงของกลองโทร-
ทรรศนอยางไร
- ยกตัวอยางกลองโทรทรรศนทใี่ ชระบบแสงแบบแอ็กทิฟและ
ระบบแสงตามสภาพแสง

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
7. ระบบฐานของกล้องโทรทรรศน์ ฐานของกล้องโทรทรรศน์เป็นอุปกรณ์ทที่ า� ให้สามารถ 21. ครูมอบหมายใหนักเรียนกลับไปทํากิจกรรม
หันกล้องโทรทรรศน์ไปต�าแหน่งต่าง ๆ บนท้องฟ้า และช่วยระบุตา� แหน่งวัตถุทอ้ งฟ้าได้ นอกจากนี้ การสังเกตทองฟาจริง ตามขัน้ ตอนในหนังสือ
ฐานกล้องโทรทรรศน์ทสี่ ามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้จะช่วยในการติดตามการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุบนทรงกลมฟ้า เรียนเปนรายบุคคล โดยครูแจงใหนักเรียน
ได้อกี ด้วย ทราบว า ในชั่ ว โมงถั ด ไปจะนํ า ผลการทํ า
ฐานของกล้องโทรทรรศน์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ กิจกรรมที่ไดมาอภิปรายและสรุปผลรวมกัน
1) ฐานระบบขอบฟ้า (alt-azimuth mount) เป็นฐานที่
สามารถหันกล้องขึน้ -ลง และหมุนซ้าย-ขวาได้เช่นเดียวกับระบบ
พิกัดขอบฟ้า ฐานแบบนี้มีข้อจ�ากัดในการติดตามวัตถุท้องฟ้า หมุนซ้าย-ขวา
เนื่องจากทรงกลมฟ้ามีการหมุนรอบขั้วฟ้า ซึ่งไม่สอดคล้องกับ
ทิศทางของมุมเงยและมุมทิศของกล้องโดยตรง นัน่ หมายความว่า
ทิศทางในการติดตามวัตถุทอ้ งฟ้าจะต้องมีการเปลีย่ นแปลงเสมอ
ตามต�าแหน่งของวัตถุท้องฟ้า นอกจากนี้ วัตถุท้องฟ้ายังมีพิกัด
ขอบฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงท�าให้การแปลงพิกัดจาก
พิกดั ศูนย์สตู รมาเป็นพิกดั ขอบฟ้าท�าได้คอ่ นข้างยาก ฐานระบบนี้ ภาพที่ 6.13 กล้องโทรทรรศน์แบบ
มีขอ้ ได้เปรียบเรือ่ งการแบกรับน�า้ หนัก ด้วยเหตุนกี้ ล้องโทรทรรศน์ ผสมบนฐานระบบขอบฟ้า สามารถ
หมุ น ไปตามมุ ม เงย-มุ ม ทิ ศ ของ
ขนาดใหญ่จึงมักใช้ฐานระบบนี้ควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยระบบ ระบบพิกัดขอบฟ้าได้
คอมพิวเตอร์ ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม
2) ฐานระบบศูนย์สตู ร (equatorial mount) เป็นฐานที่
มีการเอียงแกนหมุนให้สอดคล้องกับขัว้ ฟ้าของทรงกลมฟ้า ทัง้ นี้
เพื่อให้สอดคล้องกับการหมุนของโลกตามระบบพิกัดศูนย์สูตร ชี้ไปยังขั้วฟ
้าเหน
นั่นคือ แกนของฐานกล้องจะหมุนตามพิกัดไรต์แอสเซนชัน ือใต้
หมุนไปตาม
และเดคลิเนชันของทรงกลมฟ้า นอกจากนี้ การจัดเรียงพิกัดนี้ ไรต์แอสเซนชัน
ท�าให้แกน RA หมุนไปในแนวเดียวกันกับการหมุนของโลก
นัน่ หมายความว่า สามารถติดตามการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุทอ้ งฟ้าได้
เพี ย งการหมุ น แกนนี้ ไ ปในอั ต ราเดี ย วกั บ การหมุ น ของโลก หมุ นไปตาม
เดคลิเนชัน
(1 รอบ ในทุก ๆ 23 ชั่วโมง 56 นาที) ฐานระบบนี้จึงท�าให้การ
ภาพที่ 6.14 กล้องโทรทรรศน์แบบ
ติดตามวัตถุท้องฟ้าเป็นไปได้ง่ายและแม่นย�า อย่างไรก็ตาม หักเหแสงบนฐานระบบศูนย์สตู ร ซึง่
การติดตั้งแกนหมุนที่ท�ามุมเอียงกับพื้นโลกท�าให้ฐานระบบนี้ ชี้แกนหมุนไปตามขั้วฟ้า หมุนไป
ตามขั้วฟ้า และหมุนไปตาม RA
มีข้อจ�ากัดเรื่องน�้าหนักและเหมาะกับกล้องที่มีขนาดไม่ใหญ่ และ Dec ในระบบพิกัดศูนย์สูตร
เกินไปนัก ที่มา : มติพล ตั้งมติธรรม

เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 65

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ระบบฐานของกลองโทรทรรศนแตละระบบมีขอดีและขอเสีย ครู แ นะนํ า ให นั ก เรี ย นไปศึ ก ษาเนื้ อ หาในหน ว ยการเรี ย นรู  นี้ ไ ด จ าก
อยางไร คลิปใน YouTube เรื่อง แผนที่ดาว เพื่อที่จะเตรียมความพรอมกอนที่จะ
(แนวตอบ ฐานระบบขอบฟามีขอดีในเรื่องการแบกรับนํ้าหนัก ปฏิบัติกิจกรรมการสังเกตการณทองฟาจริง https://www.youtube.com/
กลองโทรทรรศนขนาดใหญมกั ใชฐานระบบนีค้ วบคุมการเคลือ่ นที่ watch?v=w5DSqn2TXjo
ดวยระบบคอมพิวเตอร แตมีขอเสีย คือ มีขอจํากัดในการติดตาม
วัตถุทองฟา เนื่องจากทรงกลมฟามีการหมุนรอบขั้วฟา ซึ่งไม
สอดคลองกับทิศทางของมุมเงยและมุมทิศของกลองโดยตรง สวน
ฐานระบบศูนยสูตร มีขอดี คือ สามารถติดตามการเคลื่อนที่ของ
วัตถุทองฟาไดและมีความแมนยํา แตมีขอเสีย คือ มีขอจํากัดเรื่อง
นํ้าหนัก จึงไมเหมาะกับกลองที่มีขนาดใหญ)

T75
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
22. นักเรียนกลับเขาสูกลุมเดิมตามที่ไดแบงไว • การสังเกต
ในชั่วโมงแรก แลวสมาชิกแตละคนภายใน การสังเกตการณ์ท้องฟ้าจริง • การลงความเห็นจากข้อมูล
จิตวิทยาศาสตร์
กลุมนําผลการทํากิจกรรมของตนเองรวมกัน • ความรอบคอบ
แลกเปลีย่ นความรูแ ละวิเคราะหผลการปฏิบตั ิ วัสดุอปุ กรณ์
• ความมุ่งมั่น อดทน

กิจกรรมและสรุปผลรวมกัน
1. กล้องโทรทรรศน์หรือกล้องสองตา 2. แผนที่ดาว
23. นักเรียนแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอ
ผลการทํากิจกรรม ในระหวางที่นักเรียนนํา ท้องฟ้ายามเย็นส�าหรับเดือนมกราคม
เวลาท้องฟ้าปรากฏ N
เสนอครูคอยใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให 1 มกราคม 21:00 น.
15 มกราคม 21:00 น.
นักเรียนมีความเขาใจที่ถูกตอง 31 มกราคม 19:00 น.

24. นักเรียนรวมกันตอบคําถามทายกิจกรรม การ NE NW

สังเกตการณทอ งฟาจริง โดยใหนกั เรียนแตละ


กลุมรวมกันอภิปรายเพื่อหาคําตอบรวมกัน

E W

SE SW
สัญลักษณ์วัตถุท้องฟ้า
กระจุกดวงทรงกลม เนบิวลา ความสว่างของดาว
กระจุกดาวปิด กาแล็กซี่
เนบิวลาดาวเคราะห์ วัตถุพิเศษ 5 4 3 2 1 0 -1
ซูเปอร์โนวาเรมแนนต์
S

แผนที่ท้องฟ้าแสดงให้เห็นท้องฟ้ายามค�่าคืนของเดือนมกราคม เวลา 21:00 น.

ภาพที่ 6.15 แผนที่แสดงท้องฟ้าในช่วงฤดูหนาว


ทีม่ า : สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
วิธปี ฏิบตั ิ
1. หาพื้นที่มืดปราศจากแสงรบกวน เลือกคืนที่ฟ้าเปิดและท�าการสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าด้วยตาเปล่า
แล้วบันทึกสิ่งที่สังเกตได้
2. น�ากล้องโทรทรรศน์หรือกล้องสองตามาสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าอย่างง่าย เช่น กระจุกดาวลูกไก่ เนบิวลา
นายพราน ดาวเคราะห์ หรืออื่น ๆ แล้วบันทึกสิ่งที่สามารถสังเกตได้
66

เกร็ดแนะครู บันทึก กิจกรรม


ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ผูส อน โดยพิจารณาจากความถูกตองและเหมาะสม
เนือ่ งจากกิจกรรม การสังเกตการณทอ งฟา จะตองสังเกตทองฟาชวงกลางคืน ของชวงเวลาที่นักเรียนทําการสังเกตกับวัตถุที่สังเกตได
ครูอาจนําโปรแกรม Stellarium ซึง่ เปนซอฟตแวรทอ งฟาจําลองเสมือนจริงมาใช
ในการปฏิบัติกิจกรรมในหนวยการเรียนรู เพื่อที่นักเรียนจะไดมีความเขาใจและ
เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น โดยครูสามารถเขาไปศึกษาวิธีการใชงานไดที่ https://
www.lesa.biz/astronomy/celestial-sphere/stellarium

T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครูใหนกั เรียนแตละคนพิจารณาวา จากเนือ้ หา
?
ค�าถามท้ายกิจกรรม ที่ศึกษามาและจากการปฏิบัติกิจกรรมมีจุด
1. นักเรียนสามารถสังเกตกลุ่มดาวใดได้บ้าง ใดที่ยังเขาใจไมชัดเจนหรือยังมีขอสงสัย ถามี
2. เนือ่ งจากดาวเคราะห์นั้นจะเป็นดาวสว่างที่ไม่ปรากฏอยู่ในแผนที่ดาวและอยู่บนเส้นสุริยวิถี อยากทราบว่า ครูชว ยอธิบายเพิม่ เติมและทดสอบความเขาใจ
คืนที่นักเรียนท�าการสังเกตการณ์นั้นมีดาวเคราะห์อยู่หรือไม่
3. เมื่อเวลาเปลี่ยนไป ดาวบนท้องฟ้ามีการเคลื่อนที่อย่างไร ของนักเรียนโดยการใหตอบคําถาม
2. ครูมอบหมายใหนกั เรียนฝกทําแบบฝกหัด จาก
อภิปรายผลกิจกรรม Unit Questions 6 เรื่อง กลองโทรทรรศน จาก
เมื่อสังเกตการณ์ท้องฟ้าในคืนที่ฟ้าเปิดและมืดปราศจากแสงรบกวน จะเห็นวัตถุบนท้องฟ้า เช่น กลุ่ม หนังสือเรียนลงในสมุดประจําตัว เพือ่ นําสงครู
ดาวต่าง ๆ แต่อาจไม่ชัดเจนนัก หากใช้กล้องโทรทรรศน์หรือกล้องสองตาก็จะช่วยให้เห็นวัตถุบนท้องฟ้าได้ ทายชั่วโมง
ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจผลการทําใบงาน เรือ่ ง กลองโทรทรรศน
1.2 เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์ 2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Questions เรื่อง
หากเปรียบแสงของดาวเป็นสายฝนที่ตกลงมาบนพื้นดิน กล้องโทรทรรศน์ก็เปรียบได้กับ กลองโทรทรรศน
กรวยที่ท�าหน้าที่รองรับน�้าฝน หากต้องการสะสมสัญญาณปริมาณมาก ๆ จ�าเป็นที่จะต้องมีเครื่อง 3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
บันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์ ซึ่งเปรียบได้กับถังรองรับน�้าฝน
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
นัยน์ตามนุษย์สามารถบันทึกแสงดาวได้เพียงประมาณ 0.1 วินาที ก่อนที่ข้อมูลทั้งหมด รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
จะถู ก ส่ ง ไปยั ง สมองและลบล้ า งทิ้ ง ไปหมด แต่ ด ้ ว ยเครื่ อ งบั น ทึ ก สั ญ ญาณทางดาราศาสตร์ 4. ครูตรวจและประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม
เราสามารถเก็บบันทึกสะสมแสงเอาไว้ได้นานเป็นนาที ชั่วโมง หรือสัปดาห์
การสังเกตการณทองฟา
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
1. ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ผูส อน โดยพิจารณาจากความ
ถูกตองและเหมาะสมของขอมูลทีน่ กั เรียนบันทึกได
2. นั ก เรี ย นสามารถสั ง เกตเห็ น ดาวเคราะห บ น
ทองฟาได แตขึ้นอยูกับเวลาขึ้นและตกของดาว
เคราะหดวงนั้นๆ ดาวเคราะหที่สามารถสังเกต
ไดดว ยตาเปลานัน้ มีเวลาขึน้ และตกแตกตางกัน
ซึง่ ขึน้ อยูก บั ตําแหนงในวงโคจรของดาวเคราะห
ภาพที่ 6.16 ห้วงอวกาศลึก (Hubble Ultra Deep Field; HUDF) เป็นการรวบรวมแสงจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดด้วย เชน สามารถพบดาวศุกรในชวงเชามืดและชวง
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล โดยรวมเวลารับแสงทั้งสิ้นประมาณ 23 วัน ซึ่งพบกาแล็กซีที่อยู่ไกลมากกว่า 10,000 หัวคํ่าหลังพระอาทิตยตก
กาแล็กซี ที่ส่องแสงออกมาตั้งแต่ที่เอกภพยังอายุเพียงไม่กี่ล้านปี
ที่มา : สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 3. ดาวบนทองฟามีการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลงไป
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 67 ตามแต ล ะฤดู ก าล แต เ นื่ อ งดาวฤกษ มี ร ะยะ
ไกลจากโลกมาก จึงไมสามารถสังเกตเห็นการ
เคลื่อนที่ของดาวฤกษได

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตรใดที่ทํางานโดยการ ครูสามารถวัดและประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมการสังเกตการณทอ งฟา โดย
สังเกตความเหลื่อมของเฟสในคลื่นแมเหล็กไฟฟา ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมที่แนบ
1. มาตรแสง มาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 เทคโนโลยีอวกาศกับการ
2. โพลาริมิเตอร ประยุกตใช
3. เพลตถายภาพ แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง

4. อินเตอรฟรอมิเตอร
กับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม

5. ตัวเพิ่มความเขมภาพ 2
3
ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม
รวม

(วิเคราะหคําตอบ เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตรทํางาน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
ระดับคะแนน

โดยการวิเคราะหการเหลื่อมกันของเฟสในคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้องได้รับ และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้

ไดจากกลองทั้ง 2 กลอง และการแทรกสอดของคลื่นจากกลองทั้ง


คาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดยไม่ ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึงทา ทันเวลา และทาอุปกรณ์
ในขณะปฏิบัติ ต้องได้รับคาชี้แนะ และ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง กิจกรรมเสร็จไม่ทันเวลา เสียหาย
กิจกรรม ทากิจกรรมเสร็จทันเวลา และทากิจกรรมเสร็จ

2 กลอง คือ อินเตอรฟรอมิเตอร ดังนั้น ตอบขอ 4.)


ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการทา บันทึกและสรุปผลการทา ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล กิจกรรมได้ถูกต้อง รัดกุม กิจกรรมได้ถูกต้อง แต่การ บันทึก สรุป และนาเสนอ อย่างมากในการบันทึก
การปฏิบัติ นาเสนอผลการทา นาเสนอผลการทา ผลการทากิจกรรม สรุป และนาเสนอผลการ
กิจกรรม กิจกรรมเป็นขั้นตอน กิจกรรมยังไม่เป็นขั้นตอน ทากิจกรรม
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T77
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครู ต้ั ง ประเด็ น คํ า ถามเพื่ อ เป น การกระตุ  น 1. เพลตถ่ายภาพและฟิลม์ ในยุคแรกของการศึกษาทางดาราศาสตร์ ประมาณปี ค.ศ. 1970
ใหนักเรียนรวมกันคิดวา การสังเกตการณทาง สัญญาณทางดาราศาสตร์ถูกบันทึกโดยเพลตถ่ายภาพและฟิล์ม (photographic plate and film)
ดาราศาสตร อ าจจะต อ งใช เ วลาในการสั ง เกต โดยใช้เพลตหรือแผ่นแก้วทีฉ่ าบด้วยสารไวแสงเพือ่ บันทึกแสงทีถ่ กู รวบรวมไว้โดยกล้องโทรทรรศน์
และตองมีการบันทึกภาพ ดังนั้น นักดาราศาสตร ท�าให้สามารถเก็บแสงได้นานกว่าขีดจ�ากัดของสายตามนุษย์ และท�าให้สามารถน�าข้อมูลมา
จึงไดออกแบบอุปกรณเพื่อบันทึกสัญญาณทาง วิเคราะห์ในภายหลังได้ และต่อมาในปี ค.ศ. 1990 มีการพัฒนาเทคโนโลยีเกีย่ วกับฟิลม์ ถ่ายภาพขึน้
ดาราศาสตร นักเรียนคิดวา เครือ่ งบันทึกสัญญาณ แต่หลักการไม่ได้ต่างไปจากเพลตถ่ายภาพนัก
ทางดาราศาสตรมอี ะไรบาง เพือ่ เปนการกระตุน ให เมื่อน�าเพลตและฟิล์มมาล้าง ภาพของดาวฤกษ์ที่สว่างจะมีแสงตกลงบนเพลตและฟิล์ม
นักเรียนรวมกันคิด มาก จึงมีสญั ญาณติดอยูบ่ นเพลตและฟิลม์ มาก ท�าให้สามารถวัดความสว่างของดาวฤกษ์ได้โดยการ
เปรียบเทียบสัญญาณกับดาวฤกษ์ที่ทราบความสว่างแล้ว อย่างไรก็ตาม การใช้เพลตและฟิล์มเป็น
ขัน้ สอน วิธีที่ท�าได้ยาก มีต้นทุนสูง อีกทั้งแผ่นเพลตและฟิล์มมีปัญหาเรื่องการอิ่มตัวได้ง่าย ท�าให้สัญญาณ
รู้ (Knowing) ที่ได้รับลดลง เพลตและฟิล์มจึงไม่ได้รับความนิยมในเวลาต่อมา
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลวให 2. มาตรแสงและโพลาริมิเตอร์ มาตรแสง (photometer) คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดความ
รวมกันสืบคนเกี่ยวกับเครื่องบันทึกสัญญาณ
เข้มของแสง ซึ่งโดยทั่วไปมาตรแสงจะไม่สามารถแยกได้ว่าแสงที่ตกลงมานั้นมาจากแหล่งก�าเนิด
ทิศทางใด หรือมีสเปกตรัมอย่างไร แต่สามารถใช้แผ่นกรองแสงหรือฟิลเตอร์ (filter) วัดความเข้ม
ทางดาราศาสตรจากหนังสือเรียนหรือแหลง
ของแสงเฉพาะช่วงที่ต้องการได้ โดยหากใช้แผ่นกรองแสงโพลาไรซ์ (polarized filter) จะเรียกว่า
การเรียนรูอื่นๆ โดยแบงกันคนละหัวขอ ดังนี้ โพลาริมิเตอร์ (polarimeter) อย่างไรก็ตาม มาตรแสงและโพลาริมิเตอร์สามารถวัดได้เพียงความ
- เพลตถายภาพ (photographic plate) สว่างโดยรวมเท่านั้น ไม่สามารถแยกวัตถุออกจากแหล่งก�าเนิดแสงอื่น ๆ ได้ จึงไม่สามารถวัด
- มาตรแสงและโพลาริมเิ ตอร (photometer, ความสว่างของดาวได้โดยตรง
bolarimeter) 3. ตัวเพิ่มความเข้มภาพ วัตถุบางชนิดในช่วงความยาวคลื่นบางช่วงจะมีความเข้มแสง
- ตัวเพิม่ ความเขมภาพ (image intensifiers) น้อยเกินกว่าทีจ่ ะสามารถตรวจวัดได้โดยตรง ดังนัน้ จึงจ�าเป็นต้องเพิม่ สัญญาณทีไ่ ด้รบั ก่อนทีจ่ ะน�า
- กลองซีซีดี (CCD camera) ไปตรวจวัดด้วยเครื่องมืออื่น ๆ ซึ่งตัวเพิ่มความเข้มภาพ (image intensifiers) มีพื้นฐานมาจาก
- อินเตอรฟรอมิเตอร (interferometer) โฟโตแคโทดที่เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1960
2. ครูใหนกั เรียนนําเรือ่ งทีต่ นเองศึกษามาอธิบาย หลักการท�างานของโฟโตแคโทด คือ เมือ่ แสงเข้ามาตกกระทบ โฟโตแคโทดจะปลดปล่อย
ใหเพื่อนภายในกลุมฟง จนเกิดความเขาใจที่ อิเล็กตรอนออกมา ซึง่ ถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สงู และไปกระทบฉากรับ แล้วปลดปล่อย
ตรงกันภายในกลุม อิเล็กตรอนออกมามากขึน้ อีกซ�า้ ไปเรือ่ ย ๆ จนสุดท้ายไปกระทบกับฉากเรืองแสงซึง่ เปลีย่ นสัญญาณ
3. นักเรียนแตละกลุมอภิปรายถึงขอดี ขอเสีย อิเล็กตรอนออกมาเป็นแสงที่สามารถตรวจวัดได้
พรอมเปรียบเทียบวา เครื่องบันทึกสัญญาณ 4. กล้องซีซีดี (CCD camera) เป็นอุปกรณ์เก็บสัญญาณแสงที่พบได้ทั่วไปในโทรศัพท์
ทางดาราศาสตรแตละชนิดมีความแตกตางกัน เคลือ่ นที่ กล้องถ่ายรูปดิจทิ ลั กล้องวิดโี อ และกล้องในด้านดาราศาสตร์ ซึง่ CCD ย่อมาจาก Charge
อยางไร Coupled Device กล้องซีซีดีเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสารกึ่งตัวน�าแบ่งออกเป็นหน่วยย่อย
เรียกว่า พิกเซล (pixel) เมื่อมีแสงตกกระทบบนพิกเซล พิกเซลนั้นจะเก็บสัญญาณไว้ในรูปของ
68

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจนําภาพกลองโทรทรรศนที่ใชหลักการอินเตอรฟรอมิเตอรมาให กลองโทรทรรศนในปจจุบันนิยมใชอุปกรณใดเพื่อบันทึกภาพ
นักเรียนดู เชน กลองโทรทรรศนคเู คก (Keck) บนยอดเขาเมานาเคอา (Mauna Kea) 1. มาตรแสง
ที่มลรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา แลวตั้งคําถามเพื่อเปดประเด็นใหนักเรียน 2. กลองซีซีดี
มาอภิปรายรวมกัน 3. โฟโตแคโทด
4. เพลตถายภาพ
5. อินเตอรฟรอมิเตอร
(วิเคราะหคําตอบ กลองโทรทรรศนในปจจุบันนิยมใชกลองซีซีดี
เปนตัวบันทึกสัญญาณภาพ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T78
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ประจุอิเล็กตรอน และเมื่อมีการอ่านสัญญาณ จ�านวนอิเล็กตรอนที่ถูกเก็บไว้จะถ่ายเทออกไปยัง 4. ครูสุมตัวแทนของนักเรียนแตละกลุมออกมา
ตัวอ่านค่า แล้วแปลงออกมาเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะแปลงต่อไปเป็นสัญญาณภาพ อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งบั น ทึ ก สั ญ ญาณทาง
จ�านวนประจุอิเล็กตรอนที่อยู่ในพิกเซลจะสอดคล้องกับปริมาณแสงที่ตกกระทบบน ดาราศาสตร
พิกเซล ซึง่ การเปรียบเทียบปริมาณประจุอเิ ล็กตรอนในแต่ละพิกเซลนี้ ท�าให้สามารถวัดความสว่าง 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับ
ของวัตถุท้องฟ้าได้ อย่างไรก็ตาม สัญญาณที่ เครือ่ งบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร
อยู่ในกล้องซีซีดีจะไม่สามารถระบุได้ว่า แสงที่ ลงมือทํา (Doing)
ตกกระทบนัน้ เป็นแสงสีใด นัน่ คือ ภาพทีไ่ ด้จาก
กล้องซีซดี จี ะเป็นภาพขาวด�า แต่สามารถประยุกต์ 6. นักเรียนทําใบงาน เรือ่ ง เครือ่ งบันทึกสัญญาณ
ใช้แผ่นกรองแสงสีตา่ ง ๆ มาบันทึกสัญญาณแสง ทางดาราศาสตร
เพื่อแปลงไปเป็นภาพสีได้ นอกจากนี้ ในทาง 7. นักเรียนแตละคนตอบคําถามทายหัวขอ Topic
ดาราศาสตร์ยังสามารถเลือกแผ่นกรองแสงที่ Questions ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
กรองเฉพาะแสงที่ปล่อยออกมาจากช่วงคลื่น ภาพที่ 6.17 แผงกล้องซีซีดีของกล้องโทรทรรศน์อวกาศ 8. ครูมอบหมายใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด จาก Unit
เคพเลอร์
ต่าง ๆ เพือ่ ศึกษาลักษณะทางกายภาพของวัตถุ ที่มา : NASA Questions 6 เรื่อง เครื่องบันทึกสัญญาณทาง
ที่ก�าลังสังเกตได้อีกด้วย ดาราศาสตร ลงในสมุดประจําตัวเปนการบาน
5. อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์ (interferometer) ใช้หลักการรวมแสงที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์ สงครูในชั่วโมงถัดไป
2 กล้องขึ้นไป เพื่อเพิ่มรายละเอียดของภาพ โดยน�ากล้องโทรทรรศน์ 2 กล้อง วางไว้ในต�าแหน่ง
ห่างกัน อินเตอร์ฟรี อมิเตอร์ทา� งานโดยการรวมคลืน่ แสงทีไ่ ด้จากกล้องโทรทรรศน์ 2 กล้อง โดยการ ขัน้ สรุป
วิเคราะห์การเหลื่อมกันของเฟสในคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้จากกล้องทั้งสอง และการแทรกสอด นักเรียนสรุปผังมโนทัศน เรื่อง เครื่องบันทึก
ของคลื่นจากทั้งสองกล้อง จะท�าให้ได้ภาพของวัตถุที่มีความละเอียดสูงกว่าภาพที่ได้จาก สัญญาณทางดาราศาสตร ลงในสมุดประจําตัว
กล้องโทรทรรศน์เพียงกล้องเดียว และแม้วา่ อินเตอร์ฟรี อมิเตอร์สามารถท�าได้คอ่ นข้างยากส�าหรับ
เปนรายบุคคล
กล้องโทรทรรศน์คลื่นแสง แต่เทคนิคนี้นิยมใช้มากในกล้องโทรทรรศน์วิทยุ

Earth Science ขัน้ ประเมิน


Focus สีสันของวัตถุท้องฟ้าผานกล้องโทรทรรศน์ 1. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรื่อง เครื่อง
หากสังเกตวัตถุทอ้ งฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์ดว้ ยตาเปล่า จะพบว่า ไม่ได้มสี สี นั สดใสเหมือนกับ บันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร
ภาพถ่ายที่เรามองเห็น ที่เป็นเช่นนี้เป็นเพราะดวงตาของมนุษย์ไม่ได้ไวต่อสีในสภาพแสงน้อย ท�าให้ 2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Questions 6
ภาพที่เห็นในยามค�่าคืนนั้นเป็นเพียงภาพขาวด�า นอกจากนี้ เมื่อเราสังเกตวัตถุท้องฟ้าผ่านกล้อง
โทรทรรศน์ที่มีพื้นที่รวมแสงที่ใหญ่มาก สีแรกที่ตาของมนุษย์จะสังเกตเห็นก็คือสีเขียว เนื่องจาก เรื่อง เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร
เป็นสีที่ประสาทตาเราไวมากที่สุด เนบิวลาสีแดงที่ส่องผ่านกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่จึงปรากฏเป็น ในสมุดประจําตัว
สีเขียวเมื่อสังเกตด้วยตา ถึงแม้ว่าแท้จริงแล้วจะมีสเปกตรัมสีแดงเป็นส่วนมากก็ตาม 3. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 69
รายบุคคลและพฤติกรรมการทํางานกลุม
4. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานผังมโนทัศน
เรื่อง เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 4-5 คน ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ในการจัดทําผังมโนทัศน
2. นักเรียนรวมกันสืบคนหลักการทํางาน วิธีการใชงาน ขอดีและ เรือ่ ง เครือ่ งบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล
ขอเสียเกีย่ วกับการใชงานของเครือ่ งบันทึกสัญญาณชนิดใดชนิด จากแบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ทีแ่ นบมาทายแผนการจัดการเรียนรู
หนึ่งที่นักเรียนสนใจ หนวยการเรียนรูที่ 6 เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกตใช
3. สมาชิกในกลุมรวมกันเลือกขอมูลและจัดเตรียมขอมูล เพื่อนํา
มาเสนอตามรูปแบบที่นักเรียนคิดวานาสนใจอยางอิสระ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน

4. นําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน ดวยวิธีการสื่อสารที่มทําใหผูอื่น
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชือ่ –สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน

เขาใจไดงาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลเกีย่ วกับหลักการทํางาน วิธกี าร


ใชงาน ขอดีและขอเสียเกี่ยวกับการใชงานของเครื่องบันทึก
สัญญาณ ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี

T79
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเครื่อง 1.3 ดาราศาสตร์ ในช่วงความยาวคลื่นอื่น ๆ
บันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร เพื่อเปนการ ปี ค.ศ. 1800 วิลเลียม เฮอร์เชล (William Herschel) ทดลองว่า แสงสีใดจากดวงอาทิ
ทบทวนความรูของนักเรียนจากคาบเรียนที่ 1 ตย์
มีอุณหภูมิสูงที่สุด โดยน�าเทอร์มอมิเตอร์ไปวางในแสงอาทิตย์ที่แยกออกเป็นสเปกตรัม และน�า
ผานมา และนําไปสูหัวขอตอไป เทอร์มอมิเตอร์อกี อันหนึง่ ไปวางในบริเวณทีเ่ ลยจากแสงสีแดงออกไป เพือ่ ใช้เป็นตัวควบคุม แต่สงิ่
2. ครูทบทวนความรูเ ดิมของนักเรียนเกีย่ วกับแสง ที่เขาค้นพบ คือ เทอร์มอมิเตอร์ตัวควบคุมมีอุณหภูมิสูงกว่าแสงทุกสีในสเปกตรัม ท�าให้เฮอร์เชล
และคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยใชภาพที่ 6.18 ค้นพบรังสีอินฟราเรด ซึ่งเป็นรังสีความร้อนที่ตามองไม่เห็น2 และน�าไปสู่การค้นพบว่า แสงที่ตา
สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา มองเห็นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3. ครูถามคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปราย
แสดงความคิ ด เห็ น อย า งอิ ส ระโดยไม มี ก าร สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เฉลยวาถูกหรือผิด ดังนี้
• ความถีแ่ ละความยาวคลืน่ ของคลืน่ แมเหล็ก 1 คลื่นวิทยุ (radio wave) 2 คลื่นไมโครเวฟ (microwave) 3 รังสีอินฟราเรด (infrared ray) 4 แสงที่ตามองเห็น (visible light)
f = 106 - 109 Hz f = 109 - 3 × 1011 Hz f = 1011 - 1014 Hz f = 4 × 1014 - 8 × 1014 Hz
ไฟฟาแตละชนิดแตกตางกันอยางไร λ = 10-1 - 102 m λ = 10-3 - 3 × 10-1 m λ = 10-6 - 10-3 m λ = 4 × 10-7 - 7 × 10-7 m
• คลืน่ แมเหล็กไฟฟาชนิดใดมีความถีม่ ากทีส่ ดุ ลักษณะ : บางช่วงความถี่
สามารถผ่านชั้นบรรยากาศได้
ลักษณะ : ถูกชั้นบรรยากาศ
ปิดกั้นไว้ทั้งหมด
ลักษณะ : บางช่วงความถี่
สามารถผ่านชั้นบรรยากาศได้
ลักษณะ : ผ่านชั้นบรรยากาศ
ได้ทั้งหมด
และนอยที่สุด
• คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใดมีพลังงานมาก
ที่สุดและนอยที่สุด ความยาวคลื
106
่น (m)
103 100 10-3 10-6 10-9 10-12
4. นักเรียนรวมกันตอบคําถามและแสดงความ 1 7
คิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถามอยางอิสระ 2
3
6
4
โดยไมมกี ารเฉลยวาถูกหรือผิด จากนัน้ ครูถาม 5

คําถามวา “นักดาราศาสตรใชความรูเกี่ยวกับ
คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เพื่ อ การสํ า รวจวั ต ถุ บ น
ทองฟาอยางไร” เพื่อเชื่อมโยงไปสูการเรียนรู ความยาวคลื่น (nm) 700 600 500 400
เรื่อง ดาราศาสตรในชวงความยาวคลื่นตางๆ
5 รังสีอลั ตราไวโอเลต (ultraviolet) 6 รังสีเอกซ์ (X-rays) 7 รังสีแกมมา (gamma ray)
f = 1015 - 1018 Hz f = 1017 - 1021 Hz f = 1019 Hz
λ = 10-10 - 10-7 m λ = 10-13 - 10-9 m λ = 10-13 m
ลักษณะ : ถูกชั้นบรรยากาศ ลักษณะ : บางช่วงความถี่ ลักษณะ : ถูกชั้นบรรยากาศ
ปิดกั้นไว้เกือบทั้งหมด สามารถผ่านชั้นบรรยากาศได้ ปิดกั้นไว้ทั้งหมด

ภาพที่ 6.18 สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


ที่มา : คลังภาพ อจท.

70

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สเปกตรัม คือ แถบรังสีของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นตางๆ คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทุกชนิดมีสมบัตเิ หมือนกันอยางหนึง่ สมบัติ
สเปกตรัมทีม่ องเห็นได คือ แสง เมือ่ แสงขาวผานปริซมึ จะเกิดการหักเหเปนแสง ดังกลาวคืออะไร
สีตางๆ ซึ่งเรียงสเปกตรัมตั้งแตความยาวคลื่นนอยไปหามากตามลําดับ ไดแก 1. มีความถี่เทากัน
มวง คราม นํ้าเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง 2. เลี้ยวเบนไดเทากัน
2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา เปนคลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เชน 3. แทรกสอดไดเทากัน
คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ซึ่งเปนคลื่นที่เกิดจากการรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา 4. มีความยาวคลื่นเทากัน
(electromagenic diturbance) โดยการทําใหสนามไฟฟาหรือสนามแมเหล็กมีการ 5. มีอัตราเร็วในสุญญากาศเทากัน
เปลีย่ นแปลง เมือ่ สนามไฟฟามีการเปลีย่ นแปลงจะเหนีย่ วนําใหเกิดสนามแมเหล็ก ( วิ เ คราะห คํ า ตอบ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ทุ ก ชนิ ด เดิ น ทางใน
หรือถาสนามแมเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟา สุญญากาศดวยอัตราเร็วเทากัน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T80
นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
สิง่ มีชวี ติ บนโลกได้ววิ ฒ
ั นาการมากับช่วง 1. นักเรียนแบงกลุม กลุม ละ 8 คน ตามความสมัคร
คลื่นแสงที่ส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลกได้ ใจของนักเรียน แลวใหแตละกลุม รวมกันศึกษา
มากที่สุด แต่ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ คนควาขอมูลเกี่ยวกับเรื่อง การสังเกตการณ
นั้นไม่ได้จ�ากัดอยู่ในช่วงคลื่นแสงที่ตามองเห็น ทางดาราศาสตรในชวงความยาวคลื่นตางๆ
เพียงเท่านั้น หากเราจ�ากัดการศึกษาของเรา จากหนังสือเรียนหรือแหลงการเรียนรูตางๆ
เพียงแต่แสงในช่วงทีต่ ามองเห็น เราจะสามารถ เชน อินเทอรเน็ต โดยใหแตละคนภายในกลุม
เรียนรู้เพียงแค่ส่วนหนึ่งของธรรมชาติ การที่ ภาพที่ 6.19 กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุ FAST (Five hundred แบงหนาทีก่ นั ศึกษาคนละ 1 เรือ่ ง จากนัน้ ให
เราสามารถประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ทสี่ ามารถ meter Aperture Spherical Telescope; FAST) เป็นกล้อง แตละคนภายในกลุมนําเรื่องที่ตนเองศึกษา
โทรทรรศน์วิทยุจานเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งมี
ศึกษาช่วงคลืน่ อืน่ นอกจากทีต่ ามองเห็น จึงช่วย ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 500 เมตร ค น คว า มาอธิ บ ายให เ พื่ อ นในกลุ  ม ฟ ง แล ว
ให้เราสามารถศึกษาธรรมชาติได้ถี่ถ้วนมากขึ้น ที่มา : NASA ร ว มกั น สรุ ป ข อ มู ล ที่ ไ ด ล งในสมุ ด ประจํ า ตั ว
1. กล้องโทรทรรศน์วิทยุ (radio telescope) มนุษย์คุ้นเคยกับช่วงคลื่นวิทยุในรูปของ หัวขอเรือ่ ง มีดงั นี้
เสียงเพลงที่ส่งมาตามคลื่นวิทยุ สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ รีโมตคอนโทรล สัญญาณไวไฟ - คนที่ 1 ศึกษากลองโทรทรรศนวทิ ยุ
ในคอมพิวเตอร์ แต่นอกจากแหล่งก�าเนิดคลื่นวิทยุที่มนุษย์สร้างขึ้นแล้ว ในธรรมชาติก็ยังมี - คนที่ 2 ศึกษากลองโทรทรรศนรงั สีเอกซ
ปรากฏการณ์อีกมากที่ปล่อยคลื่นออกมาในช่วงคลื่นวิทยุ เช่น ดาวฤกษ์ แก่นกาแล็กซีกัมมันต์ - คนที่ 3 ศึกษากลองโทรทรรศนรงั สีแกมมา
(active galactic nuclei) พัลซาร์ (pulsar)
- คนที่ 4 ศึกษากลองโทรทรรศนรังสีอัลตรา
คลื่นวิทยุเป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่สามารถผ่านชั้นบรรยากาศลงมายังพื้นผิวโลกได้ ด้วย
ไวโอเลต
เหตุนี้ มนุษย์จึงสามารถรับส่งสัญญาณวิทยุผ่านดาวเทียมสื่อสารได้ ซึ่งหลักการท�างานของ
กล้องโทรทรรศน์วิทยุไม่แตกต่างกับเครื่องรับสัญญาณวิทยุ โดยกล้องเหล่านี้อาจมีรูปร่างคล้าย - คนที่ 5 ศึกษากลองโทรทรรศนอนิ ฟราเรด
เสาอากาศหรือจานดาวเทียม อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากคลืน่ วิทยุมคี วามยาวคลืน่ ค่อนข้างมาก ท�าให้ - คนที่ 6 ศึกษากลองโทรทรรศนไมโครเวฟ
ต้องใช้จานขนาดใหญ่หรือจานหลายจานท�างานร่วมกันด้วยวิธอี นิ เตอร์เฟอรอมิทรี (interferometry) - คนที่ 7 ศึกษาเครือ่ งตรวจวัดรังสีคอสมิก
- คนที่ 8 ศึกษาเครือ่ งตรวจวัดนิวทริโน
ภาพที่ 6.20 กล้องโทรทรรศน์วทิ ยุ ALMA (Atacama Large Millimeter/submillimeter Array; ALMA)
จ�านวนมากบนเทือกเขาในประเทศชิลี (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ที่มา : ESO แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
เขาใจ (Understanding)
2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ
กลองโทรทรรศนวทิ ยุวา กลองโทรทรรศนมหี ลัก
การทํางานเหมือนกับเครื่องรับสัญญาณวิทยุ
คลื่นวิทยุเปนคลื่นชนิดหนึ่งที่สามารถผานชั้น
บรรยากาศลงมายังพืน้ โลกได เนือ่ งจากคลืน่ วิทยุ
มีความยาวคลื่นคอนขางมาก ทําใหตองใช
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 71 จานรั บ สั ญ ญาณขนาดใหญ ห รื อ หลายจาน
ทํางานรวมกัน

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การสังเกตรังสีในขอใดสามารถศึกษาบนพื้นโลกได หลังจากครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับกลองโทรทรรศนวิทยุ
1. รังสีเอกซ ครูอาจใหความรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับการตรวจวัดคลืน่ วิทยุวา การตรวจวัดคลืน่ วิทยุ
2. คลื่นวิทยุ สามารถแบงได 2 แบบ คือ คลื่นวิทยุที่มีความยาวคลื่นมาก (ความถี่ตํ่า) มักใช
3. รังสีแกมมา กลองที่ออกแบบใหเปนโครงขายของสายอากาศที่มีจุดรับสัญญาณอยูหางๆ กัน
4. รังสีอินฟราเรด เชน กลองโทรทรรศนวทิ ยุอลั มา และคลืน่ วิทยุทมี่ คี วามยาวคลืน่ นอย (ความถีส่ งู )
5. รังสีอัลตราไวเลต มักใชสายอากาศประเภทผิวโคงพาราโบลาทีม่ ผี วิ เรียบทึบ เชน กลองโทรทรรศน
(วิเคราะหคําตอบ เนือ่ งจากมีเพียงคลืน่ วิทยุและคลืน่ แสงเทานัน้ ที่ วิทยุเจมส คลารก แมกซเวลล
สามารถทะลุผานชั้นบรรยากาศมายังพื้นโลกได ทําใหเราสามารถ
ศึกษาคลื่นทั้ง 2 ชนิดนี้ไดบนพื้นโลก ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T81
นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ 2. กล้องโทรทรรศน์ไมโครเวฟ จากการศึกษาทางดาราศาสตร์ พบว่า ช่องว่างระหว่าง
กลองโทรทรรศนไมโครเวฟวา รังสีไมโครเวฟใน ดาวทีด่ เู หมือนจะไม่มแี สงจากดาวหรือกาแล็กซีใด ๆ นัน้ ยังมีพลังงานทีห่ ลงเหลือมาจากการก�าเนิด
บางชวงคลืน่ ไมสามารถทะลุผา นชัน้ บรรยากาศ ของเอกภพซึ่งอยู่ในรูปของรังสีไมโครเวฟพื้นหลัง (cosmic microwave background)
ลงมายังพื้นโลกได การศึกษารังสีไมโครเวฟที่ รังสีไมโครเวฟพื้นหลังเป็นแสงที่เกิดจากการรวมตัวกันของโปรตอนกับอิเล็กตรอน ซึ่ง
ความละเอียดสูงจึงตองทําในอวกาศ จากการ เกิดขึน้ เมือ่ เอกภพมีอายุประมาณ 380,000 ปี ถือเป็นแสงแรกของเอกภพทีส่ ามารถสังเกตได้ เป็น
ศึกษาทางดาราศาสตร พบวา ชองวางระหวาง หลักฐานที่ยืนยันทฤษฎีบิกแบง อีกทั้งยังช่วยให้ทราบถึงอัตราการขยายตัว อายุ และองค์ประกอบ
ดาวทีด่ เู หมือนจะไมมแี สงจากดาวหรือกาแล็กซี ของเอกภพ ซึง่ ปัจจุบนั รังสีไมโครเวฟพืน้ หลังเป็นแหล่งข้อมูลทีบ่ อกถึงสภาพของเอกภพได้ดที สี่ ดุ
ใดๆ นัน้ ยังมีพลังงานทีห่ ลงเหลือมากจากการ อย่างไรก็ตาม รังสีไมโครเวฟในบางช่วงคลื่นไม่สามารถทะลุผ่านชั้นบรรยากาศลงมายังพื้นโลกได้
กําเนิดของเอกภพซึง่ อยูใ นรูปของรังสีไมโครเวฟ อีกทั้งวัตถุเกือบทุกชนิดที่อยู่ในอุณหภูมิห้องจะดูดกลืนและ Earth Science
พืน้ หลัง เปล่งแสงในช่วงคลืน่ ไมโครเวฟ ด้วยเหตุนกี้ ารศึกษารังสีไมโครเวฟ in real life
ที่ความละเอียดสูงจึงต้องท�าในอวกาศ รั ง สี ไ มโครเวฟพื้ น หลั ง นั้ น มี
การแผ่รังสีที่ใกล้เคียงกับการ
กล้องโทรทรรศน์ที่ศึกษารังสีไมโครเวฟพื้นหลังเริ่ม แผ่รังสีของวัตถุด�าในอุดมคติ
ตั้งแต่กล้องที่ติดไปกับดาวเทียมโคบี (Cosmic Background ทีอ่ ณุ หภูมิ 2.7 เคลวิน จึงกล่าว
Explorer; COBE) ในปี ค.ศ. 1989 ตามมาด้วยกล้องทีต่ ดิ ไปกับ ได้ว่า เอกภพในยุคปัจจุบันมี
ดาวเทียมดับเบิลยูแมป (Wilkinson Microwave Anisotropy อุณหภูมิ 2.7 เคลวิน อย่างไร
ก็ตาม แต่ละบริเวณของเอกภพ
Probe; WMAP) ในปี ค.ศ. 2001 และล่าสุด คือ กล้องที่ติดไป มี อุ ณ หภู มิ ต ่ า งกั น ในระดั บ
กับดาวเทียมพลังค์ (Planck) ในปี ค.ศ. 2009 โดยได้ภาพที่มี ไมโครเคลวิน ซึ่งถูกแสดงด้วย
รายละเอียดของรังสีไมโครเวฟพื้นหลังมากขึ้น จุดสีนา�้ เงินและจุดสีแดงในภาพ
ที่ 6.21 (ก)

(ก) รังสีไมโครเวฟพื้นหลัง (ข) กล้องโทรทรรศน์อวกาศพลังค์

ภาพที่ 6.21 รังสีไมโครเวฟพื้นหลังเป็นพลังงานที่หลงเหลืออยู่จากการก�าเนิดเอกภพ ซึ่งถูกบันทึกโดย


กล้องโทรทรรศน์อวกาศพลังค์
ที่มา : NASA
72

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


หลั ง จากที่ ค รู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ กล อ งโทรทรรศน อุณหภูมิ 2.7 เคลวิน ที่หลงเหลืออยูจากบิกแบงเปนอุณหภูมิ
ไมโครเวฟ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรังสีไมโครเวฟพื้นหลังวา รังสีไมโครเวฟ ของสิ่งใด
พื้นหลังถูกคนพบครั้งแรกโดยอารโน อัลลัน เพนเซียส (Arno Allan Penzias) 1. พื้นที่วางในอวกาศ 2. แกสระหวางกาแล็กซี
และรอเบิรต วูดโรว วิลสัน (Robert Woodrow Wilson) ในป ค.ศ. 1964 เมื่อ 3. แกนกลางของดาวฤกษ 4. รังสีไมโครเวฟพื้นหลัง
เครื่องตรวจวัดรังสีไมโครเวฟพบรังสีไมโครเวฟที่มาจากทองฟาซึ่งมีลักษณะ 5. แกสบนผิวของดาวฤกษ
เหมือนกันทุกประการไมวาจะหันเครื่องตรวจวัดไปทิศทางใด จากนั้นพวกเขา (วิเคราะหคําตอบ มนุษยไมสามารถสังเกตอุณหภูมิ 2.7 เคลวิน
จึงคนพบวารังสีดังกลาวคือ พลังงานที่หลงเหลืออยูของเอกภพจากชวงแรกของ ไดโดยตรง นัน่ คือ ไมสามารถนําเทอรมอมิเตอรไปวัดอุณหภูมขิ อง
การเกิดบิกแบง ซึง่ จากการคนพบนีท้ าํ ใหพวกเขาไดรบั รางวัลโนเบลสาขาฟสกิ ส อวกาศได เนื่องจากอวกาศไมมีบรรยากาศ และอุณหภูมิของแกส
ในป ค.ศ. 1978 ใดๆ ก็ตามจะขึ้นอยูกับกระบวนการที่เกิดขึ้น แตอุณหภูมิที่หลง
เหลือของเอกภพนั้นไดมาจากการแผรังสีไมโครเวฟพื้นหลัง ซึ่งมี
ลักษณะการแผรังสีตรงกับวัตถุดําที่มีอุณหภูมิ 2.7 เคลวิน ดังนั้น
ตอบขอ 3.)

T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
3. กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด (infrared telescope) รังสีอินฟราเรดมีความยาวคลื่น 4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ
ในช่วง 0.7 ไมโครเมตร ถึง 1 มิลลิเมตร เป็นรังสีที่มีพลังงานน้อย ถูกดูดกลืนได้ยาก จึงมีอ�านาจ กลองโทรทรรศนอนิ ฟราเรดวา รังสีอนิ ฟราเรด
ทะลุทะลวงได้ดี ท�าให้สามารถสังเกตวัตถุด้านหลังฝุนหรือแกสในอวกาศได้ เช่น บริเวณที่มี สามารถทะลุทะลวงฝุนไดดี ทําใหสามารถ
ดาวฤกษ์ก�าลังก่อตัวบริเวณเนบิวลา อย่างไรก็ตาม รังสีอินฟราเรดถูกดูดกลืนได้ง่ายโดยไอน�้าใน เห็ น โครงสร า งที่ ถู ก บดบั ง ด ว ยฝุ  น ได หอ
ชัน้ บรรยากาศ ดังนัน้ กล้องโทรทรรศน์อนิ ฟราเรดจึงต้องอยูใ่ นบริเวณทีเ่ ป็นภูเขาสูง มีความชืน้ ต�า่ สังเกตการณทางอินฟราเรดตองสรางบนยอด
หรืออยู่นอกชั้นบรรยากาศ เขาสูงหรือนอกโลกเพือ่ ลดผลกระทบจากไอนํา้
เนือ่ งจากรังสีอนิ ฟราเรดเป็นรังสีความร้อนทีแ่ ผ่ออกมาจากวัตถุทมี่ อี ณ ุ หภูมใิ กล้เคียงกับ ในชั้นบรรยากาศ
อุณหภูมิห้อง ดังนั้น การท�างานของกล้องโทรทรรศน์อินฟราเรดจึงจ�าเป็นต้องมีการหล่อเย็นด้วย
อุณหภูมิที่ต�่ามาก โดยเฉพาะในช่วงอินฟราเรดไกล (far infrared) ที่มีความยาวคลื่นสูง ดังเช่น
กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (Spitzer
Space Telescope; SST) ที่ถูกส่งขึ้นไปสู่
อวกาศเมื่อปี ค.ศ. 2003 และได้บรรทุกฮีเลียม
เหลวขึ้นไปด้วยเพื่อหล่อเย็นอุปกรณ์ให้อยู่ที่
อุณหภูมิ 4 เคลวิน เมื่อฮีเลียมเหลวหมดไป
ในวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2009 จึงท�าให้
อุปกรณ์สว่ นมากไม่สามารถท�างานได้อกี ต่อไป
แต่ยังคงท�างานต่อไปได้ในช่วง “ภารกิจอุ่น”
(Spitzer Warm Mission) โดยใช้อุปกรณ์ที่
ไม่ตอ้ งอาศัยการหล่อเย็นจากฮีเลียมเหลว และ ภาพที่ 6.22 กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (spitzer)
ในปัจจุบนั กล้องโทรทรรศน์สปิตเซอร์ได้ถกู ปลด ที่มา : NASA
ประจ�าการเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2020
ส� า หรั บ กล้ อ งโทรทรรศน์ อ วกาศ
ฮับเบิลแม้ว่าจะท�างานในช่วงคลื่นแสงที่ตา
มองเห็ น แต่ ก ารที่ อ ยู ่ น อกชั้ น บรรยากาศ
จึ ง ท� า ให้ ส ามารถสั ง เกตการณ์ ใ นช่ ว งคลื่ น
อินฟราเรดใกล้ (near infrared) ได้ด้วย
จากภาพที่ 6.23 (ก) เป็นเนบิวลาที่
ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในช่วง
(ก) ช่วงคลืน่ แสงทีต่ ามองเห็น (ข) ช่วงคลื่นอินฟราเรด
คลื่นที่ตามองเห็น และภาพที่ 6.23 (ข) เป็น
ภาพที่ถ่ายเนบิวลาในช่วงคลื่นอินฟราเรด จะ ภาพที่ 6.23 เนบิวลาที่ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ
ฮับเบิลในช่วงคลื่นแสงต่างกัน
เห็นได้ว่า คลื่นอินฟราเรดสามารถส่องทะลุฝุน ที่มา : NASA
และแกสในเนบิวลาที่บดบังแสงจากดาวฤกษ์
เบื้องหลังได้ เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 73

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


รังสีในขอใดสามารถทะลุผานฝุนและแกสในแถบทางชางเผือกได ศึกษาเพิม่ เติมไดจากสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง กลองโทรทรรศนฮบั เบิล https://
1. แสง www.twig-aksorn.com/fifilm/hubble-space-telescope-7781/
2. รังสีเอกซ
3. รังสีแกมมา
4. รังสีอินฟราเรด
5. รังสีอัลตราไวโอเลต
(วิเคราะหคําตอบ รังสีอินฟราเรดมีความยาวคลื่นในชวง 0.7
ไมโครเมตร -1 มิลลิเมตร ซึ่งมีสมบัติที่สามารถทะลุผานฝุนและ
แกสตางๆ ในทางชางเผือกได ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
5. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ 4. กล้องโทรทรรศน์รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet) หรือรังสี
กลองโทรทรรศนรังสีอัลตราไวโอเลตวา รังสี ยูวี (UV) มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงที่ตามองเห็น โดยอยู่ในช่วง 10-400 นาโนเมตร สามารถ
อัลตราไวโอเลตมีความยาวคลื่นสั้นกวาแสงที่ ใช้ฆ่าเชื้อในทางการแพทย์และน�้าดื่มได้ แต่
ตามองเห็น ศึกษาพลังงานในชวงความยาวคลืน่ เป็นอันตรายต่อมนุษย์โดยท�าให้ผิวหนังไหม้
10-400 นาโนเมตร รังสีอัลตราไวโอเลตไม และน�าไปสู่โรคมะเร็งผิวหนัง อย่างไรก็ตาม
สามารถผ า นชั้ น บรรยากาศมาได ม ากนั ก โลกมีชั้นโอโซนในบรรยากาศห่อหุ้มอยู่ ซึ่งกั้น
กลองโทรทรรศนรังสีอัลตราไวโอเลตจึงตอง ไม่ให้รังสียูวีผ่านมายังพื้นโลกได้มากนัก แต่
ถู ก ส ง ออกไปสํ า รวจนอกโลก กระบวนการ ในด้านดาราศาสตร์นั้นการที่รังสียูวีไม่สามารถ
ทางดาราศาสตร ที่ ส ามารถปล อ ยวั ต ถุ รั ง สี ผ่ า นชั้ น บรรยากาศมาได้ ม ากนั ก ท� า ให้ ไ ม่
อัลตราไวโอเลตจะเปนวัตถุทองฟาพวกที่มี สามารถสังเกตปรากฏการณ์ในช่วงรังสียูวีของ
อุณหภูมิสูง เชน ดาวยักษนํ้าเงิน ดาวฤกษ วัตถุท้องฟ้าได้จากบนโลก กล้องโทรทรรศน์ที่
อายุมาก เนบิวลา ดาวแคระขาว กาแล็กซี สังเกตปรากฏการณ์ของรังสียูวีได้จึงต้องเป็น ภาพที่ 6.24 กล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEX (Galaxy
Evolution Explorer; GALEX) ศึกษาในช่วงรังสีอลั ตรา
กัมมันต ควาซาร รวมไปถึงชั้นโฟโตสเฟยร กล้องโทรทรรศน์อวกาศทีถ่ กู ส่งออกไปนอกโลก ไวโอเลต
ของดวงอาทิตยดวย กระบวนการทางดาราศาสตร์ ที่ ที่มา : NASA

สามารถปล่อยรังสีอัลตราไวโอเลตจะเป็นวัตถุท้องฟ้าพวกที่มีอุณหภูม1ิสูง เช่น ดาวยักษ์น�้าเงิน2


ดาวฤกษ์อายุมาก เนบิวลา ดาวแคระขาว กาแล็กซีกมั มันต์ และควาซาร์ รวมไปถึงชัน้ โฟโตสเฟียร์
ของดวงอาทิตย์ด้วย

(ก) ช่วงแสงที่ตามองเห็น (ข) ช่วงคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลต


ภาพที่ 6.25 กาแล็กซี M81 ที่ถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEX ในช่วงคลื่นแสงที่แตกต่างกัน
ที่มา : NASA
74

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ควาซาร เปนวัตถุพลังงานสูงทีด่ เู ผินๆ จะปรากฏคลายดาวฤกษ แตแทจริง รังสีอัลตราไวโอเลตมีประโยชนตอเราอยางไร
แลวเปนกาแล็กซีทมี่ ใี จกลางสวางมากและอยูห า งไกลจากโลกมาก ควาซารอาจ 1. ใชฆาเชื้อโรค
จะเปนวัตถุกลุมที่สวางที่สุดในเอกภพ ซึ่งมีความสวางที่มากกวากาแล็กซีทั่วไป 2. ใชรักษาดวงตา
หลายเทา 3. ใชถนอมอาหาร
4. ใชรักษาโรคบางชนิด
2 ชัน้ โฟโตสเฟยร เปนชัน้ บรรยากาศทีต่ ดิ กับผิวของดวงอาทิตย มีความหนา
5. ใชตรวจอวัยวะภายใน
ประมาณ 400 กิโลเมตร อุณหภูมสิ ว นทีต่ ดิ ผิวดวงอาทิตยประมาณ 10,000 เคลวิน
สวนที่ติดกับชั้นโครโมสเฟยรประมาณ 4,200 เคลวิน แกสที่อยูในชั้นนี้จะแผรังสี ( วิ เ คราะห คํ า ตอบ รั ง สี อั ล ตราไวโอเลต เป น อั น ตรายต อ
ออกสูอ วกาศ ไดแก รังสีเอกซ รังสีอลั ตราไวโอเลต แสงสวาง และคลืน่ ความรอน สิ่งมีชีวิตหากไดรับในปริมาณมากเกินไป นอกจากนี้ ยังเปน
เปนชั้นที่มีปรากฏการณที่สําคัญ เชน การเกิดกลุมจุด อันตรายตอดวงตาและผิวหนังอีกดวย จึงมีการนําหลอดรังสี UV
(อัลตราไวโอเลต) ใสในเครื่องกรองนํ้าเพื่อฆาเชื้อโรค ดังนั้น ตอบ
ขอ 1.)

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
5. กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ รังสีเอกซ์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้อย่างแพร่หลายใน 6. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ
ทางการแพทย์ มีอ�านาจทะลุทะลวงและพลังงานสูง แต่สามารถผ่านมายังพื้นโลกได้ไม่มากนัก กลองโทรทรรศนรังสีเอกซวา รังสีเอกซเปน
เนื่องจากโลกมีชั้นบรรยากาศห่อหุ้มอยู่ จึงท�าให้การศึกษาปรากฏการณ์ในย่านรังสีเอกซ์ของ คลื่นแมเหล็กไฟฟา มีอํานาจทะลุทะลวงและ
วัตถุท้องฟ้าต้องท�าจากนอกโลกเท่านั้น พลังงานสูง ดังนั้น กลองโทรทรรศนรังสีเอกซ
การปลดปล่อยรังสีเอกซ์เกิดขึ้นกับ จึงใชแผนโลหะหนาหลายชั้นที่ทํามุมปานให
วัตถุทมี่ คี วามร้อนสูง เช่น การระเบิดของดาวฤกษ์ รังสีเอกซคอยๆ เบี่ยงเบนเขาไปหาจุดโฟกัส
กระจุกกาแล็กซี สสารที่ก�าลังตกลงสู่หลุมด�า วัตถุทอ งฟาทีส่ ามารถปลอยรังสีเอกซ เชน การ
มวลสารระหว่างกาแล็กซี ระเบิดของดาวฤกษ กระจุกกาแล็กซี สสารที่
กําลังตกลงสูหลุมดํา
ปั ญ หาหนึ่ ง ของกล้ อ งโทรทรรศน์
รังสีเอกซ์ คือ รังสีเอกซ์มีอ�านาจทะลุทะลวงสูง ภาพที่ 6.26 กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
มาก นั่นหมายความว่า รังสีเอกซ์สามารถทะลุ
ผ่านแก้วหรือกระจกทุกชนิดที่ใช้รวมแสงในช่วงคลื่นอื่น ๆ ได้ ดังนั้น ในกล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์
เช่น กล้องอวกาศจันทรา (Chandra X-ray Observatory) จึงใช้แผ่นโลหะหนาหลายชัน้ ทีท่ า� มุมป้าน
ให้รังสีเอกซ์ค่อย ๆ เบี่ยงเบนเข้าไปหาจุดโฟกัส ซึ่งจะประกอบขึ้นด้วยตัวตรวจวัดรังสีเอกซ์พิเศษ
2 ประเภทหลัก คือ High Resolution Camera (HRC) และ Advanced CCD Imaging Spec-
trometer (ACIS) ซึ่งไวต่อรังสีเอกซ์ในช่วงประมาณ 0.1-10.0 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์
แผ่นโลหะ

จุดโฟกัส

รังสีเอกซ์

ภาพที่ 6.27 การใช้แผ่นโลหะเพื่อเบี่ยงเบนทิศทางของรังสีเอกซ์ในกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา


ที่มา : กลองโทรทรรศน์อวกาศจันทรา
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 75

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ปรากฏการณในขอใดสามารถสังเกตไดในชวงรังสีเอกซ หลังจากทีค่ รูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับกลองโทรทรรศนรงั สีเอกซ
1. ดาวยักษนํ้าเงิน ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะพิเศษของกลองโทรทรรศนรังสีเอกซวา
2. แกนกาแล็กซีกัมมันต ลักษณะพิเศษของกลองโทรทรรศนรังสีเอกซ คือ กระจกสะทอนรังสีเอกซ
3. การเกิดซูเปอรโนวา มี ผิ ว สะท อ นรู ป พาราโบลอยด (paraboloid) เชื่ อ มต อ กั บ ผิ ว สะท อ นรู ป
4. สสารที่กําลังตกลงสูหลุมดํา ไฮเพอรโบลอยด (hyperboloid) วางซอนกันจํานวนหลายชั้น ตัวอยางเชน
5. อิเล็กตรอนที่รวมกับนิวเคลียสเมื่อกําเนิดเอกภพ กลองโทรทรรศนอวกาศเอกซเอ็มเอ็ม-นิวตัน (XMM-Newton) ของยุโรป
(วิเคราะหคําตอบ วัตถุทกี่ าํ ลังตกลงสูห ลุมดําเปนวัตถุทปี่ ลอยรังสี
ออกมามากในชวงรังสีเอกซ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T85
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ 6. กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมา รังสีแกมมาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพ1 ลังงานสูง
กล อ งโทรทรรศน รั ง สี แ กมมาและเครื่ อ ง ทีส่ ดุ ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ทปี่ ล่อยรังสีแกมมา อาจมาจากการเกิดซูเปอร์โนวา การยุบตัว
ตรวจวั ด รั ง สี ค อสมิ ก ว า รั ง สี แ กมมาเป น ของดาวฤกษ์ ม วลมาก กลายเป็ น หลุ ม ด� า
คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีพลังงานสูงที่สุด วัตถุ พัลซาร์ ซากของซูเปอร์โนวา ควาซาร์ รวมไป
ทองฟาทีส่ ามารถปลอยรังสีแกมมา เชน ดาวฤกษ ถึงดวงอาทิตย์ด้วย แต่เนื่องจากชั้นบรรยากาศ
ทีม่ มี วลมาก พัลซาร การเกิดซูเปอรโนวา ซาก ของโลกดูดซับรังสีแกมมาไว้ได้หมด การสังเกต
ของซูเปอรโนวา เควซาร รวมไปถึงดวงอาทิตย ปรากฏการณ์เหล่านี้จึงต้องสังเกตเหนือชั้น
เนือ่ งจากชัน้ บรรยากาศดูดซับรังสีแกมมาไวได บรรยากาศ
หมด การสังเกตปรากฏการณรังสีแกมมาจึง ในยุคแรกดาวเทียมที่ถูกส่งขึ้นไป
ตองทําเหนือชัน้ บรรยากาศ สวนเครือ่ งตรวจวัด เพื่อสังเกตในช่วงรังสีแกมมานั้น ถูกส่งขึ้นไป
รังสีคอสมิก ถึงแมวา รังสีคอสมิกจะมีพลังงานสูง เพื่อศึกษาแหล่งก�าเนิดรังสีแกมมาบนโลกเพื่อ ภาพที่ 6.28 กล้องโทรทรรศน์อวกาศสวิฟต์ (swift)
แตก็ไมสามารถผานชั้นบรรยากาศลงมายัง ค้นหาการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ แต่กลับพบว่า ศึกษาห้วงอวกาศ ในช่วงคลืน่ รังสีแกมมารวมทัง้ รังสีเอกซ์
พืน้ โลกได การศึกษารังสีคอสมิกจึงตองศึกษา มีการระเบิดของรังสีแกมมาบ่อยครัง้ จากแหล่ง ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากรังสีอนื่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ รังสีคอสมิกชนกับ ก�าเนิดนอกโลก น�าไปสู่การค้นพบการระเบิดครั้งใหญ่ของรังสีแกมมา (Gamma-Ray Bursts;
โมเลกุลตางๆ ในชัน้ บรรยากาศ GRBs) ซึ่งเป็นการระเบิดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งในเอกภพ โดยภายในเวลาไม่กี่วินาทีสามารถ
ปลดปล่อยพลังงานออกมามากกว่าพลังงานที่ดวงอาทิตย์จะปลดปล่อยออกมาตลอดชั่วอายุขัย
ของดวงอาทิตย์ ปัจจุบันมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศสวิฟต์คอยติดตามการระเบิดของรังสีแกมมา
อย่างต่อเนื่อง
7. เครือ่ งตรวจวัดรังสีคอสมิก นอกจากการแผ่รงั สีทอี่ ยูใ่ นรูปของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าแล้ว
บางกรณีวตั ถุทอ้ งฟ้ายังสามารถปล่อยพลังงานออกมาในรูปของอนุภาคความเร็วสูงหรือรังสีคอสมิก
(cosmic rays) ด้วย แม้จะเรียกว่า รังสี แต่ในความเป็นจริงแล้ว รังสีคอสมิกเป็นอนุภาคที่มีประจุ
และเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วสูงมาก โดยอนุภาครังสีคอสมิกทีม่ พี ลังงานมากทีส่ ดุ สามารถมีพลังงาน
ได้สูงถึง 3 × 1020 อิเล็กตรอนโวลต์ สูงกว่าอนุภาคที่มีพลังงานมากที่สุดที่ถูกเร่งด้วยเครื่องเร่ง
อนุภาคที่มนุษย์สร้างขึ้นถึง 40 ล้านเท่า
รังสีคอสมิกสามารถเกิดขึน้ จากดวงอาทิตย์ จากการระเบิดซูเปอร์โนวา จากแก่นกาแล็กซี
ของกาแล็กซีอน่ื แม้วา่ รังสีคอสมิกจะมีพลังงานสูง แต่ไม่สามารถผ่านชัน้ บรรยากาศลงมาสูพ่ นื้ โลกได้
การศึกษารังสีคอสมิกจึงต้องศึกษาจากรังสีอื่น ๆ ที่เป็นผลลัพธ์จากการชนของอนุภาครังสีคอสมิก
เข้ากับโมเลกุลในชั้นบรรยากาศ ปล่อยออกมาเป็นอนุภาคและรังสีอื่น ๆ ซึ่งจากการศึกษาอนุภาค
และรังสีเหล่านี้ ท�าให้สามารถหาทิศทางและพลังงานของรังสีคอสมิกได้
76

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


หลังจากที่ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับกลองโทรทรรศนรังสี รังสีคอสมิกประกอบดวยสิ่งใดเปนสวนมาก
แกมมาและเครือ่ งตรวจวัดรังสีคอสมิก ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับสมบัตขิ อง 1. นิวทริโน
รังสีคอสมิกวา เปนอนุภาคพลังงานสูงจากแหลงกําเนิดในอวกาศ ซึ่งมีพลังงาน 2. ปฏิสสาร
ประมาณ 108-1020 อิเล็กตรอนโวลต ประกอบดวยนิวเคลียสของธาตุตางๆ 3. นิวตรอน
ประมาณ 99% สวนอีกประมาณ 1% จะอยูในรูปของอิเล็กตรอนอิสระ (อนุภาค 4. โปรตรอน
บีตา) และอีกสวนนอยเปนปฏิสสาร เชน โพซิตรอน แอนติโปรตอน ซึง่ เปนอนุภาค 5. นิวเคลียสของธาตุ
ทีม่ ปี ระจุไฟฟา ทําใหเสนทางการเคลือ่ นทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยางตอเนือ่ งในสนามแม
เหล็กของทางชางเผือกและของระบบสุริยะ (วิเคราะหคําตอบ รังสีคอสมิกประกอบดวยนิวเคลียสของธาตุ
ตางๆ ประมาณ 99% สวนอีกประมาณ 1% จะอยูในรูปของ
อิเล็กตรอนอิสระ (อนุภาคบีตา) และอีกสวนนอยเปนปฏิสสาร
นักเรียนควรรู ดังนั้น ตอบขอ 5.)
1 ซูเปอรโนวา เกิดจากการที่ดาวฤกษที่มีขนาดใหญ ซึ่งมีมวลสารปริมาณ
มากไดใชเชือ้ เพลิงนิวเคลียสทีแ่ กนกลางจนหมด จึงเกิดการยุบตัวเขาไปอัดแนน
ในใจกลางแลวระเบิดออกมาอยางรุนแรงกลายเปนแสงสวางไปทั่วทองฟา

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
8. เครื่องตรวจจับนิวทริโน อนุภาคอีกชนิดหนึ่งที่มีแหล่งก�าเนิดจากนอกโลก คือ 8. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับเครือ่ ง
อนุภาคนิวทริโน (neutrino) ซึ่งเป็นอนุภาคที่มีมวลน้อยมาก เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเกือบเท่าแสง ตรวจวัดนิวทริโนวา นิวทริโนเปนอนุภาคที่มี
และแทบไม่มีปฏิสัมพันธ์กับอนุภาคอื่นใดเลย โดยทุก 1 วินาที จะมีนิวทริโนจากดวงอาทิตย์ มวลนอย เคลื่อนที่ดวยความเร็วเกือบเทาแสง
มีปฏิสมั พันธกบั อนุภาคอืน่ ๆ นอยมาก เกิดขึน้
ประมาณ 65 พันล้านอนุภาค ผ่านพื้นที่ 1 ตารางเซนติเมตรบนโลก ส่วนมากจะผ่านโลกไปโดย
จากการระเบิ ด บริ เ วณแก น กลางดาวฤกษ
ไม่ชนกับอนุภาคใด ๆ ซึ่งจากสมบัติที่นิวทริโนสามารถทะลุผ่านสสารได้โดยไม่ชนอนุภาคใด ๆ การเกิดบิกแบง การชนกันของหลุมดํา ทุกวินาที
ท�าให้นิวทริโนสามารถทะลุผ่านห้วงอวกาศหรือหลุดออกมาจากแกนกลางของดาวฤกษ์ได้ง่าย จะมี นิ ว ทริ โ นจากดวงอาทิ ต ย ป ระมาณ 65
แต่ในขณะเดียวกันการตรวจจับนิวทริโนจึงเป็นไปได้ยากด้วย พั น ล า นตั ว เคลื่ อ นที่ ผ  า นพื้ น ที่ 1 ตาราง
หอสังเกตการณ์นวิ ทริโน เช่น ซูเปอร์คะเมะโอะคันเดะ (Super-Kamiokande) มักถูกสร้าง เซนติเมตรบนโลก และสวนมากจะผานโลก
ไว้ใต้ภูเขาขนาดใหญ่ เพื่อป้องกันการรบกวนจากรังสีอื่น ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อเครื่องตรวจวัด โดยไมชนกับอนุภาคใดๆ หอสังเกตการณ
ภายในซูเปอร์คะเมะโอะคันเดะจะบรรจุด้วยน�้าบริสุทธิ์จ�านวนมหาศาล เมื่อนิวทริโนชนกับอนุภาค นิวทริโนมักถูกสรางไวใตพื้นดินหรือใตภูเขา
โมเลกุลของน�้าจะเกิดการปล่อยรังสีออกมา ซึ่งสามารถตรวจพบได้ด้วยหลอดวัดแสงจ�านวนมาก ขนาดใหญ เพื่อปองกันการรบกวนจากรังสี
ที่อยู่ตามผนัง ดังภาพที่ 6.29 อื่นๆ ที่อาจสงผลกระทบตอเครื่องตรวจวัด
ด้วยสมบัติการทะลุทะลวงของนิวทริโน ท�าให้อนุภาคนิวทริโนสามารถหลุดออกมาจาก ลงมือทํา (Doing)
การระเบิดซูเปอร์โนวาได้กอ่ นคลืน่ แสง ในปี ค.ศ. 1987 มีการค้นพบนิวทริโนภายในหอสังเกตการณ์ 9. นักเรียนทําใบงาน เรื่อง การสังเกตการณทาง
นิวทริโนหลายแห่งบนโลก เป็นเวลา 2-3 ชัว่ โมง ก่อนทีจ่ ะมีการเห็นการระเบิดซูเปอร์โนวา นอกจากนี้ ดาราศาสตรในชวงความยาวคลื่นตางๆ
ในอนาคตหากพัฒนาเครื่องตรวจจับนิวทริโน Con���t Q�e����n
ได้พอดี จะช่วยให้สามารถศึกษาย้อนกลับไป เหตุใดจึงตองสงกลองโทรทรรศนบางประเภท ขัน้ สรุป
ในอดี ต ของเอกภพก่ อ นเกิ ด รั ง สี ไ มโครเวฟ ขึ้นไปในอวกาศ
นักเรียนสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง การสังเกตการณ
พื้นหลังได้
ทางดาราศาสตรในชวงความยาวคลืน่ ตางๆ ลงใน
ภาพที่ 6.29 หอสังเกตการณ์นวิ ทริโนซูเปอร์คะเมะโอะคันเดะในเหมืองใต้ดนิ ซึง่ อยูใ่ ต้ภเู ขาในเมืองคะเมะโอะกะของประเทศ สมุดประจําตัว
ญี่ปุน
ที่มา : Kamiokande Observatory, ICRR (Institute for Cosmic Ray Research), The University of Tokyo
ขัน้ ประเมิน
1. ครู ต รวจสอบผลการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง การ
สังเกตการณทางดาราศาสตรในชวงความยาว
คลื่นตางๆ
2. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน
รายบุคคล และพฤติกรรมการทํางานกลุม
3. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานผังมโนทัศน
77 เรื่อง การสังเกตการณทางดาราศาสตรในชวง
ความยาวคลื่นตางๆ

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับกลองโทรทรรศนในชวงความยาว ครูสามารถวัดและประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุมในการศึกษาคนควา
คลืน่ ทีต่ นเองสนใจจากแหลงขอมูลทีน่ า เชือ่ ถือ แลวเขียนสรุปขอมูล ขอมูลเกีย่ วกับเรือ่ ง การสังเกตการณทางดาราศาสตรในชวงความยาวคลืน่ ตางๆ
ที่ศึกษาไดลงในกระดาษ A4 เปนรายบุคคล โดยชิ้นงานที่นักเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
จัดทําจะตองเปนไปตามเงื่อนไข ดังนี้ ทีแ่ นบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูท ี่ 6 เทคโนโลยีอวกาศกับ
• จัดทําในรูปแบบอินโฟกราฟก การประยุกตใช
• ตองอางอิงแหลงขอมูลที่นํามาจัดทําอยางนอย 2 แหลง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี
ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชือ่ –สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี

T87
8–10 พอใช้
ต่่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ น�า (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สนทนาเกี่ ย วกั บ 1.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในการส�ารวจอวกาศที่น่าสนใจ
ดาราศาสตร ใ นช ว งความยาวคลื่ น ต า งๆ
1. ดาวเทียม เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและส่งไปโคจรรอบโลกเพื่อใช้ในการสื่อสาร
เพื่อเปนการทบทวนความรูของนักเรียนจาก
1) การส่งและการโคจรของดาวเทียม ขว้างวัตถุหนึ่งไปข้างหน้า วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ไป
คาบเรียนที่ผานมา และนําไปสูหัวขอตอไป
ระยะทางหนึง่ ก่อนทีจ่ ะค่อย ๆ ย้อยและตกลงสูพ่ นื้ โลก เมือ่ ขว้างวัตถุได้เร็วขึน้ วัตถุนนั้ ก็จะเดินทาง
2. ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับเทคโนโลยีอวกาศ
ไปด้วยระยะทางทีไ่ กลขึน้ ก่อนทีจ่ ะตกถึงพืน้ โลก เมือ่ เราเพิม่ ความเร็วถึงจุดจุดหนึง่ อัตราการตกของ
วา ความกาวหนาของเทคโนโลยีอวกาศ เชน วัตถุนั้นจะเท่ากับอัตราการโค้งของพื้นโลกและท�าให้วัตถุอยู่ในสภาพที่ตกลงสู่แรงโน้มถ่วงเรื่อย ๆ
จรวด ดาวเทียม ยานอวกาศ ไดนํามาใชใน แต่ไม่มีวันถึงพื้นโลก จึงเรียกเส้นทางเดินทาง
การสํารวจขอมูลของวัตถุในทองฟา ทําใหได วนไปรอบ ๆ โลกนีว้ า่ วงโคจร และเรียกอัตราเร็ว
เรียนรูเ กีย่ วกับวัตถุในทองฟาและอวกาศเพิม่ ขึน้ ที่พอเหมาะว่า อัตราเร็วโคจร โดยดาวเทียมที่
และมีประโยชนในการพัฒนาเทคโนโลยีใน โคจรรอบโลกจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วนี้
ดานการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ ดานการ อั ต ราเร็ ว โคจรขึ้ น อยู ่ กั บ แรง
สือ่ สาร ดานการพยากรณอากาศ ดานการแพทย โน้มถ่วง จึงมีค่าที่สูงเมื่ออยู่ใกล้พื้นโลก และ
ดานการทหาร และดานอื่นๆ ช้าลงเมื่ออยู่สูงจากพื้นโลก ส่วนดาวเทียมที่
โคจรรอบวัตถุทมี่ แี รงโน้มถ่วงน้อยกว่าโลก เช่น
ขัน้ สอน ดวงจันทร์ จะมีอัตราเร็วโคจรที่ต�่ากว่า ภาพที่ 6.30 สปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก
รู้ (Knowing) ดาวเทียมดวงแรกของโลกมีชอื่ ว่า ที่ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศ
ที่มา : NASA
1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน คละความ สปุตนิก 1 (Sputnik 1) และถูกส่งขึ้นสู่อวกาศ
สามารถ (เกง ปานกลาง และออน) สมาชิก โดยสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1957 นับแต่นนั้ มามนุษย์ได้มกี ารส่งดาวเทียมไปโคจรรอบโลกเรือ่ ย ๆ
แตละคนศึกษา 1 หัวขอ คือ ดาวเทียม สถานี ด้วยจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ณ ปัจจุบันนี้มีดาวเทียมโคจรอยู่รอบโลกประมาณ 3,000 ดวง และ
อวกาศ ยานอวกาศ กลองโทรทรรศนอวกาศ มีเพียง 1,500 ดวง ที่ยังอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
และหุน ยนตสาํ รวจอวกาศไรคนขับ ผลัดเปลีย่ น 2) การใช้ประโยชน์จากดาวเทียม ปัจจุบนั นีเ้ รามีการใช้ประโยชน์จากดาวเทียมมากมาย
กันอภิปรายเรือ่ งทีต่ นศึกษาใหเพือ่ นในกลุม ฟง เช่น
และอภิปรายรวมกันในกลุม จนทุกคนเขาใจ โดย • ดาวเทียมสังเกตการณ์โลก เป็น
ครูจะใหคําแนะนําหรืออธิบายเพิ่มในกลุมที่มี ดาวเทียมที่ท�าการสังเกตการณ์บนพื้นโลก เช่น
ขอสงสัย ท�าแผนที่ (เช่น Google Maps) ส�ารวจทรัพยากร
โลก อุตุนิยมวิทยา ศึกษาสภาพแวดล้อม
ภาพที่ 6.31 ดาวเทียมไทยโชตหรือดาวเทียมธีออส (THEOS)
เป็นดาวเทียมที่ใช้ในการส�ารวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรก
ของไทย
ทีม่ า : ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ
78

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง เรือ่ งราวของดาวเทียม https:// ถาวัตถุอยูระดับความสูงจากผิวโลกระดับเดียวกัน ความเร็ว
www.twig-aksorn.com/fifilm/the-satellite-story-7790/ หลุดพนจะเปนอยางไร
(แนวตอบ เนื่ อ งจากความเร็ ว หลุ ด พ น จากโลกที่ ผิ ว โลกมี ค  า
ประมาณ 11.2 กิโลเมตรตอชั่วโมง ถาที่ระดับความสูงมากกวานี้
ความเร็วหลุดพนจะมีคาลดลง โดยความเร็วหลุดพนไมขึ้นอยูกับ
มวลและรูปรางของวัตถุ ซึ่งหมายความวา ถาอยูที่ระดับความสูง
เดียวกัน วัตถุทุกชนิดจะตองอาศัยความเร็วหลุดพนเทากัน)

T88
นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
• ดาวเทียมสือ่ สาร เป็นดาวเทียมทีท่ า� หน้าทีใ่ นการส่งสัญญาณสือ่ สาร เช่น สัญญาณ 2. ครูสมุ นักเรียนใหออกมานําเสนอผลการศึกษา
โทรทัศน์และสัญญาณอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม การสื่อสารผ่านดาวเทียมช่วยให้สัญญาณที่ส่ง หนาชัน้ เรียน โดยสุม ออกมาเพียง 5 กลุม ซึง่ ครู
ไม่ถูกกีดขวางโดยลักษณะทางภูมิศาสตร์ และสามารถเชื่อมต่อสื่อสารในพื้นที่ที่ห่างไกลได้ เปนคนเลือกวาจะใหกลุม ใดนําเสนอเรือ่ งอะไร
• ดาวเทียมทางทหาร เป็นดาวเทียมทีท่ า� หน้าทีส่ อดแนมหรือตรวจจับการปล่อยรังสี ตามหัวขอเรือ่ ง ดังตอไปนี้
เช่น การทดลองนิวเคลียร์ ข้อมูลเกีย่ วกับดาวเทียมจ�าพวกนีม้ กั ถูกเก็บเป็นความลับทางการทหาร • ดาวเทียม
• ดาวเทียมน�าทาง เป็นระบบดาวเทียมทีท่ า� หน้าทีส่ ง่ สัญญาณวิทยุเพือ่ ระบุตา� แหน่ง • สถานีอวกาศ
บนพื้นโลก ระบบจีพีเอส (Global Positioning System; GPS) ที่ใช้บนโทรศัพท์มาจากการ • ยานอวกาศ
จับเวลาของสัญญาณที่มาจากระบบดาวเทียมเหล่านี้ • กลองโทรทรรศนอวกาศ
• กล้องโทรทรรศน์อวกาศ เป็นดาวเทียมที่ท�าหน้าที่สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ • หุนยนตสํารวจอวกาศไรคนขับ
กล้องโทรทรรศน์อวกาศที่อยู่บนดาวเทียมเหล่านี้สามารถท�าการสังเกตการณ์โดยปราศจากการ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
รบกวนจากสภาพอากาศบนโลกโดยสิ้นเชิง นอกจากนี้ ยังสามารถท�าการสังเกตการณ์ในช่วงคลื่น
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน)
ที่ไม่สามารถทะลุผ่านลงมายังพื้นโลกได้อีกด้วย
2. สถานีอวกาศ คือ ห้องปฏิบัติการลอยฟ้าที่โคจรรอบโลก สถานีอวกาศเป็นห้องปฏิบัติ
การที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ในระยะยาว และมีภารกิจหลักในการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
สภาวะไร้น�้าหนักที่มีต่อมนุษย์ พืช สัตว์ วัสดุศาสตร์ รวมทั้งการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อม
ในการส่งมนุษย์เดินทางไปในอวกาศในอนาคต ปัจจุบันสถานีอวกาศนานาชาติเป็นดาวเทียมที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก

ภาพที่ 6.32 สถานีอวกาศนานาชาติเป็นห้องทดลองขนาดยักษ์ที่โคจรอยู่รอบโลก สถานีอวกาศนานาชาติ


ใช้เวลาเพียง 92 นาที ในการโคจรรอบโลก 1 รอบ
ที่มา : NASA/ลูกเรือ STS-132
สถานีอวกาศนานาชาติ
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 79
www.aksorn.com/interactive3D/RNC43

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับสถานีอวกาศนานาชาติ ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ สถานี อ วกาศว า สถานี อ วกาศนานาชาติ
1. สถานีอวกาศนานาชาติโคจรอยูในวงโคจรคางฟา เปนโครงการที่เกิดจากความรวมมือระหวาง 16 ประเทศ นําโดยประเทศ
2. วิจัยเทคโนโลยีใหมๆ ที่สามารถทําไดบนโลก สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุน รัสเซีย 11 ประเทศยุโรป และบราซิล มีลักษณะ
3. เจาหนาที่ในสถานีอวกาศอยูในสภาวะไรนํ้าหนัก เปนหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรขนาดใหญ มีการศึกษาคนควาและทดลอง
4. สถานีอวกาศจะตองมีเจาที่ประจําการตลอดเวลา หลายดาน เชน คนควาวิจัย และเทคโนโลยีที่ไมสามารถทดลองบนโลกได
5. ทําการทดลองและสังเกตการณอวกาศจากนอกโลก
(วิเคราะหคําตอบ สถานีอวกาศนานาชาติ เปนหองทดลองสําหรับ สื่อ Digital
งานคนควาวิจัยเทคโนโลยีใหมๆ ที่ไมสามารถทําไดบนโลก มี
เจาหนาที่ปฏิบัติงานอยูภายในสถานีตลอดเวลา โดยอยูในสภาวะ ศึกษาเพิม่ เติมจากการสแกน QR Code เรือ่ ง สถานีอวกาศนานาชาติ
ไรนํ้าหนัก ซึ่งสถานีอวกาศนานาชาติจะโคจรอยูสูงจากพื้นโลก
ประมาณ 354 กิโลเมตร ซึ่งไมใชความสูงในวงโคจรคางฟา
ดังนั้น ตอบขอ 1.) สถานีอวกาศนานาชาติ
www.aksorn.com/interactive3D/RKC43

T89
นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความรู 3. ยานอวกาศ เป็นยานพาหนะที่น�า
ที่ไดศึกษาเกี่ยวกับดาวเทียม สถานีอวกาศ มนุษย์หรืออุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ขึ้นไปสู่
ยานอวกาศ กลองโทรทรรศนอวกาศ และ อวกาศ เพือ่ ส�ารวจหรือเดินทางไปยังดาวดวงอืน่
หุนยนตสํารวจอวกาศไรคนขับ ยานอวกาศล� า แรกที่ น� า มนุ ษ ย์ ไ ปเยื อ นยั ง
วัตถุอื่นนอกจากโลกของเรา คือ ยานอวกาศ
Eagle ในโครงการอพอลโล 11 ที่ น� า นี ล
อาร์มสตรอง (Neil Armstrong) และบัซซ์
อั ล ดริ น (Buzz Aldrin) ไปเหยี ย บลงบน
ดวงจันทร์ในปี ค.ศ. 1969
4. กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ปัจจุบัน
มีกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่โคจรอยู่รอบโลก ภาพที่ 6.33 ยานอวกาศ Eagle เป็นยานที่ลงจอดบน
ดวงจันทร์ (Lunar Module) ในโครงการอพอลโล 11
และท�าการศึกษาวัตถุท้องฟ้าในหลายช่วงคลื่น ภายหลังจากภารกิจที่น�ามนุษย์คนแรกลงไปเหยียบบน
ที่ไม่สามารถสังเกตได้จากบนโลก และมักถูก ดวงจันทร์ได้ส�าเร็จ
ติดตั้งอยู่กับดาวเทียม นอกจากนี้ ยังมีกล้อง ที่มา : NASA
โทรทรรศน์อวกาศที่ท�าการศึกษาวัตถุท้องฟ้าโดยเฉพาะอีกด้วย เช่น กล้องโทรทรรศน์อวกาศ
เอสดีโอ (Solar Dynamics Observatory; SDO) ที่ท�าการศึกษาดวงอาทิตย์ ดาวเทียมพลังค์
ขององค์การสหภาพยุโรปที่ท�าการสังเกตการณ์รังสีไมโครเวฟพื้นหลัง
5. หุ่นยนต์ส�ารวจอวกาศไร้คนขับ เนื่องจากการส่งมนุษย์ไปส�ารวจอวกาศจะตามมา
ด้วยน�้าหนักบรรทุกที่มาก ระบบพยุงชีพที่วุ่นวาย อาหาร ระบบก�าจัดของเสีย น�้าดื่ม ระยะเวลา
อันยาวนานในการส�ารวจระบบสุริยะไปจนถึงความจ�าเป็นที่จะต้องเดินทางเพื่อน�ามนุษย์อวกาศ
กลับคืนมายังโลก หุน่ ยนต์สา� รวจอวกาศไร้คนขับจึงเป็นทางเลือกทีถ่ กู และปลอดภัยกว่ามาก อีกทัง้
ยังท�าให้เดินทางไปสถานที่ที่ปัจจุบันมนุษย์ไม่สามารถเดินทางไปได้
ในวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2004 ยานส�ารวจฮอยเกนส์ (Huygens) ได้ลงจอดลงบนพื้น
ผิวของดวงจันทร์ไททันเป็นครัง้ แรก และได้เปิดเผยพืน้ ผิวทีโ่ ดยปกติถกู ปกคลุมด้วยเมฆทีห่ นา และ
ยังยืนยันถึงมหาสมุทรที่ประกอบด้วยมีเทนบนพื้นผิว
ภาพที่ 6.34 พื้นผิวของดวงจันทร์ไททันที่บันทึกเอาไว้โดยยานส�ารวจฮอยเกนส์
ที่มา : ESA/NASA/JPL/University of Arizona

80

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจนําภาพยานอวกาศตางๆ มาใหนักเรียนพิจารณา และอธิบายถึง ยานขนสงอวกาศมีคุณสมบัติเดนอยางไร
จุดประสงคของการสงยานอวกาศนั้นๆ ขึ้นไปในอวกาศ เชน 1. นํ้าหนักเบา
- ยานอวกาศกาลิเลโอ เปนยานสํารวจดาวพฤหัส 2. เคลื่อนที่ไดเร็ว
- ยานอวกาศนิวฮอไรซันส เปนยานสํารวจดาวพลูโต ดวงจันทรบริวาร 3. สามารถนํากลับมาใชใหม
ชารอน และวัตถุอื่นๆ ในแถบไคเปอร 4. บรรทุกนักบินอวกาศไดจํานวนมาก
- ยานอวกาศดิสคัฟเวอรี เปนยานที่ขึ้นไปปลอยกลองโทรทรรศนอวกาศ 5. ลดความเร็วที่เกิดขึ้นระหวางการเดินทาง
ฮับเบิล รวมทั้งภารกิจซอมแซมกลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิลในครั้งที่ (วิเคราะหคําตอบ ยานขนสงอวกาศเมื่อขึ้นสูวงโคจรและปฏิบัติ
สองและสาม การเสร็จเรียบรอยสามารถกลับลงสูพื้นโลกได และไมจําเปนตอง
- ยานอวกาศเอนเดฟเวอร เปนยานทีใ่ ชปลอยดาวเทียม เชือ่ มตอกับสถานี ทิ้งชิ้นสวนตางๆ ระหวางการเดินทาง จึงทําใหยานขนสงอวกาศ
อวกาศมีรของรัสเซีย และลําเลียงชิ้นสวนของสถานีอวกาศนานาชาติ สามารถนํากลับมาใชใหมได ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T90
นํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
นอกจากนี้ ยานส�ารวจอวกาศนิวฮอร์ไรซอนส์ (New Horizons) ใช้เวลาถึง 9 ปี ในการ 4. ครูใหนักเรียนศึกษาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เดินทางจากโลกไปยังดาวพลูโต และได้เข้าใกล้ดาวพลูโตทีส่ ดุ ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 และ การขนสงดาวเทียม สถานีอวกาศ ยานอวกาศ
กลองโทรทรรศนอวกาศ และหุนยนตสํารวจ
ได้เปิดเผยให้เห็นถึงภาพถ่ายที่แสดงพื้นผิวของดาวพลูโตเป็นครั้งแรก
อวกาศไรคนขับ จากหนังสือเรียนและแหลง
เรียนรูอื่นๆ เชน วารสารเกี่ยวกับดาราศาสตร
เว็บไซตขององคการนาซา โดยครูชว ยเชือ่ มโยง
ความรูใหมจากความรูเดิมที่ไดเรียนรูมาแลว

ภาพที่ 6.35 ภาพวาดของยานส�ารวจอวกาศนิวฮอร์- ภาพที่ 6.36 ภาพถ่ายทีเ่ ผยให้เห็นถึงพืน้ ผิวของดาวพลูโต


ไรซอนส์และดาวพลูโต เป็นครั้งแรก
ที่มา : NASA/New Horizons ที่มา : NASA/New Horizons

Core Concept
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
เทคโนโลยีอวกาศกับการส�ารวจอวกาศ
Topic
Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. กล้องโทรทรรศน์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
2. ปัญหาเรื่องความคลาดรงค์คืออะไร และจะเกิดกับกล้องโทรทรรศน์ชนิดใด
3. เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์คืออะไร
4. เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์แต่ละแบบมีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
5. นอกจากคลื่นแสงที่ตามองเห็นยังมีคลื่นชนิดอื่นอีกหรือไม่
6. เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์ประเภทใดที่ใช้วัดความสว่างของท้องฟ้า
7. เพราะเหตุใดจึงต้องส่งกล้องโทรทรรศน์รังสีอัลตราไวโอเลตขึ้นไปยังอวกาศ
8. อัตราเร็วการโคจรของดาวเทียมขึ้นอยู่กับสิ่งใด

เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 81

แนวตอบ Topic Questions


1. กลองโทรทรรศนแบงออกเปน 3 ประเภท คือ กลองโทรทรรศนแบบหักเหแสง กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสง และกลองโทรทรรศนแบบผสม
2. ปญหาเรื่องความคลาดรงค คือ แสงแตละสีมีระยะโฟกัสไมเทากัน โดยแสงที่ความยาวคลื่นยาวจะมีความยาวโฟกัสยาวกวาแสงที่มีความยาวคลื่นสั้น
ทําใหไดภาพที่มีลักษณะเปนสีเหลือบประกายรุง ซึ่งจะเกิดกับกลองโทรทรรศนแบบหักเหแสง
3. คือ เครื่องมือที่ใชในการบันทึกและสะสมแสงที่กลองโทรทรรศนรับมาได
4. - เพลตถายภาพและฟลมสามารถเก็บแสงไดนานกวาขีดจํากัดของสายตามนุษย วัดความสวางของดาวฤกษได แตมีวิธีทํายาก มีตนทุนสูงและมีปญหา
เรื่องการอิ่มตัวไดงาย ทําใหสัญญาณที่ไดรับลดลง
- มาตรแสงและโพลาริมิเตอร สามารถวัดความเขมของแสงได แตไมสามารถแยกวัตถุออกจากแหลงกําเนิดอื่นๆ ได
- กลองซีซีดี สามารถเก็บสัญญาณแสงที่พบไดในโทรศัพทเคลื่อนที่และกลองถายรูปดิจิทัล แตไมสามารถระบุไดวาแสงที่ตกกระทบเปนแสงสีใด
- อินเตอรฟรอมิเตอรทําใหไดภาพวัตถุที่มีความละเอียดสูง แตสามารถทําไดคอนขางยากสําหรับกลองโทรทรรศนคลื่นแสง
5. ไมมี เพราะดวงตาของเราสามารถรับแสงไดในชวงความยาวคลื่นแสงที่ตามองเห็นไดเทานั้น
6. มาตรแสง
7. รังสีอัลตราไวโอเลตไมสามารถผานชั้นบรรยากาศมาไดมากนัก กลองโทรทรรศนรังสีอัลตราไวโอเลตจึงตองถูกสงออกไปสํารวจนอกโลก
8. อัตราเร็วโคจรขึ้นอยูกับแรงโนมถวง จึงมีคามากขึ้นเมื่ออยูใกลพื้นโลกและมีคานอยลงเมื่ออยูสูงจากพื้นโลก

T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
Key Question
5. ครู นํ า อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี อ วกาศ เ ท ค โ น โ ล ยี อ ว ก า ศ 2. เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ ใช้
ว า ป จ จุ บั น ได มี ก ารพั ฒ นารู ป แบบการใช สามารถนํามาประยุกต
เทคโนโลยีอวกาศตางๆ มากมาย เพือ่ ใชในการ ใช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ได
บางคนอาจมองว่า การส�ารวจอวกาศเป็นเรื่องไกลตัว และ
หรือไม ห่างไกลจากชีวิตประจ�าวันของมนุษย์บนพื้นโลกอย่างพวกเรามาก
สํารวจอวกาศ เชน ดาวเทียมถูกสงขึ้นไปจาก
แต่การจะได้มาซึง่ การส�ารวจอวกาศนัน้ จะต้องผ่านการค้นคว้า วิจยั
โลกโดยจรวดหรือยานขนสงอวกาศ ดาวเทียม
และทดสอบในอีกหลาย ๆ ด้าน แท้จริงแล้วรอบตัวเรากลับเต็มไปด้วยเทคโนโลยีที่เป็นผลมาจาก
สามารถโคจรรอบโลกได โดยอาศัยหลักการ
การค้นคว้าวิจัยเทคโนโลยีทางอวกาศ
เดียวกับทีด่ วงจันทรโคจรรอบโลก คือ ณ ระดับ
ความสูงจากผิวโลกระดับหนึ่ง ดาวเทียมจะ เริ่มตั้งแต่โทรศัพท์มือถือของเรา กล้องโทรศัพท์มือถือหลาย ๆ กล้องนั้นใช้ซีมอส (CMOS)
ซึ่งพัฒนามาจากการส�ารวจอวกาศและการบันทึกภาพในไฟล์ JPEG ก็มาจากการค้นคว้า
ตองมีอตั ราเร็วในการโคจรรอบโลกทีเ่ หมาะสม
การบีบอัดข้อมูลเพื่อส่งผ่านเสาอากาศส�าหรับยานส�ารวจอวกาศ อินเทอร์เน็ตก็พัฒนามาจาก
ค า หนึ่ ง แรงมี แ รงโน ม ถ ว งของโลกดึ ง ดู ด
ยุคของการส่งยานอวกาศ ร่วมกับดาวเทียมที่
ดาวเทียมเปนแรงสูศูนยกลางและดาวเทียม
คอยสะท้อนสัญญาณอินเทอร์เ1น็ตทีถ่ กู ส่งขึน้ ไป
เปนหองทดลองที่บรรจุอุปกรณไว แลวสงขึ้น
โดยจรวด แม้ ก ระทั่ ง จี พี เ อสที่ ร ะบุ ต�าแหน่ง
ไปโคจรรอบโลก เพื่อประโยชนในดานตางๆ
ของเราก็ประกอบด้วยระบบดาวเทียมที่คอย
6. นักเรียนและครูรว มกันอภิปรายเพิม่ เติมเกีย่ วกับ ส่งสัญญาณมายังพื้นโลก
ประโยชนและความกาวหนาของการสํารวจ
นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ยังมีอุปกรณ์
อวกาศ
เครื่องใช้ในชีวิตประจ�าวันอีกหลายอย่างที่ถูก
คิดค้นวิจยั ขึน้ มาจากการผลักดันทางเทคโนโลยี ภาพที่ 6.37 ซีมอสทีเ่ ป็นเซ็นเซอร์รบั ภาพในกล้องถ่ายรูป
อวกาศ เช่น เมมโมรีโฟม (memory foam) ถูกพัฒนามาจากการส�ารวจอวกาศ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เหล็ ก ดั ด ฟั น แว่ น สายตา แขนขาเที ย ม
เครื่องช่วยฟัง เทคโนโลยีการแช่แข็งอาหาร Core Concept
ปรอทวัดอุณหภูมแิ บบอินฟราเรด เครือ่ งดูดฝุน
ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญ เรื่อง
ผ้าห่มอวกาศ อาหารเด็ก เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ ใช้

Topic
Questions
แนวตอบ Key Question ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
เทคโนโลยีอวกาศสามารถน�ามาประยุกต์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไร จงอธิบาย
เทคโนโลยี อ วกาศสามารถนํ า มาประยุ ก ต พร้อมยกตัวอย่าง
ใชเปนเครื่องมือเครื่องใชในชีวิตประจําวัน เชน
อิ น เทอร เ น็ ต ที่ ถู ก พั ฒ นามาจากยุ ค ของการส ง 82
ยานอวกาศร ว มกั บ ดาวเที ย มที่ ค อยส ง สั ญ ญาณ
อินเทอรเน็ตที่ถูกสงขึ้นไปโดยจรวด

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Topic Questions

ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเพื่อปองกันไมใหนักเรียนเขาใจผิดเกี่ยวกับจีพีเอส เทคโนโลยีอวกาศสามารถนํามาประยุกตใชเปนเครื่องมือเครื่องใชใน
และจีพีอารเอส วา ทั้ง 2 เทคโนโลยีมีความแตกตางกัน โดยจีพีเอส คือ ระบบ ชีวิตประจําวัน ซึง่ ไดมกี ารคิดคนวิจยั ขึน้ มาจากการผลักดันทางเทคโนโลยี
การหาตําแหนงหรือพิกัดของสถานที่ตางๆ สวนจีพีอารเอส เปนเทคโนโลยีบน อวกาศ เชน จีพีเอส เมมโมรีโฟม เหล็กจัดฟน แวนสายตา แขนขาเทียม
โทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีความสามารถในการสงขอมูลผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่ อ งช ว ยฟ ง เทคโนโลยี ก ารแช แ ข็ ง อาหาร ปรอทวั ด อุ ณ หภู มิ แ บบ
อินฟราเรด เครื่องดูดฝุน ผาหมอวกาศ อาหารเด็ก

นักเรียนควรรู
1 จีพเี อส คือ ระบบการหาตําแหนงหรือพิกดั ของสถานทีต่ า งๆ โดยประกอบ
ดวยดาวเทียม 24 ดวง แบงออกเปน 6 รอบวงโคจร แตละวงโคจรมีดาวเทียม 4
ดวง ซึง่ จีพเี อสจะรับสัญญาณจากดาวเทียม ซึง่ ประกอบดวยขอมูลทีร่ ะบุตาํ แหนง
และเวลาขณะสงสัญญาณ จากนั้นตัวเครื่องรับสัญญาณจีพีเอสจะประมวลผล
ความแตกตางของเวลาในการรับสัญญาณเทียบกับเวลาจริง ณ ปจจุบันเพื่อแปร
เปนระยะทางระหวางเครื่องรับสัญญาณกับดาวเทียมแตละดวง

T92
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
Earth Science 7. ครูใหนกั เรียนทุกคนทําใบงาน เรือ่ ง อุปกรณที่
in real life ขีดจํากัดกําลังแยกภาพของตามนุษย์ ใชในการสํารวจอวกาศ พรอมทัง้ สังเกตคําตอบ
กับหน้าจอโทรศัพท์มือถือ ของนักเรียน เพือ่ ประเมินพฤติกรรมนักเรียนเปน
ดวงตาของมนุษย์ก็ไม่ต่างอะไรกับกล้องโทรทรรศน์กล้องหนึ่ง โดยดวงตาของมนุษย์แต่ละคน รายบุคคล พรอมใหคาํ แนะนําเพิม่ เติม
มีความคมชัดไม่เท่ากัน ดวงตาบางคูอ่ าจมีความคมชัดทีแ่ ย่กว่าและต้องใช้แว่นตาในการแก้ไขสายตา
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ในขณะที่ดวงตาของบางคนอาจคมชัดดีอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ขีดจ�ากัดความคมชัดที่สุดที่สามารถ
สังเกตเห็นได้ด้วยดวงตาของมนุษย์ถูกก�าหนดเอาไว้โดยก�าลังแยกภาพ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ดวงตาของมนุษย์มีรูม่านตากว้างประมาณ 4 มิลลิเมตร หากพิจารณาความยาวคลื่นของ 8. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมาเฉลยใบงาน เรื่ อ ง
แสงที่ตามองเห็น จะพบว่า ขีดจ�ากัดก�าลังแยกภาพสูงสุดของมนุษย์อยู่ที่ประมาณ 601 องศา หรือ อุปกรณที่ใชในการสํารวจอวกาศ โดยครูให
1 ลิปดา นั่นหมายความว่า วัตถุใด ๆ ที่มีขนาดเชิงมุมปรากฏเล็กกว่า 1 ลิปดา ดวงตาของมนุษย์ นักเรียนรวมกันพิจารณาวาคําตอบใดถูกตอง
จะไม่สามารถแยกรายละเอียดออกจากกันได้เลย นั่นหมายความว่า ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือจึง จากนั้นครูเฉลยคําตอบที่ถูกตองใหนักเรียน
ไม่มีความจ�าเป็นที่จะพัฒนาหน้าจอให้เล็กเกินไปกว่าขีดจ�ากัดนี้มากนัก เนื่องจากรายละเอียดที่
เล็กกว่าขีดจ�ากัดในการมองเห็นของมนุษย์ไม่ได้ท�าให้ผู้ใช้งานได้รายละเอียดเพิ่มเติมแต่อย่างใด
และยังสิ้นเปลืองต้นทุนการผลิตโดยใช่เหตุ
ขนาดเชิงมุมปรากฏขึ้นอยู่กับระยะห่างจากผู้สังเกต สมมติว่า ระยะที่ใกล้ที่สุดที่จ้องมอง
โทรศัพท์มือถือในมือของเราคือ 25 เซนติเมตร จากดวงตาเราจะพบว่า วัตถุจะต้องมีขนาดเล็ก
กว่า 75 ไมครอน จึงจะมีขนาดเชิงมุมปรากฏเล็กกว่า 1 ลิปดาที่ระยะนี้ นั่นหมายความว่า ขนาด
พิกเซลที่เล็กที่สุดของหน้าจอโทรศัพท์มือถือที่ดวงตาของมนุษย์จะสังเกตได้ ต้องมีขนาดไม่ต�่ากว่า
75 ไมครอน หากขนาดพิกเซลของหน้าจอที่เล็กกว่า 75 ไมครอน จะไม่มีประโยชน์ต่อการ
มองเห็นของผู้ใช้แต่อย่างใด และหน้าจอที่มีขนาดพิกเซลเล็กกว่า 75 ไมครอนนี้ จะหมายความว่า
ไม่มีมนุษย์คนใดที่สามารถสังเกตเห็นรายละเอียดของพิกเซลหน้าจอได้ และภาพที่ปรากฏจะมี
รายละเอียดที่คมชัดมากเกินกว่าที่ดวงตาของมนุษย์จะสังเกตได้
อย่างไรก็ตาม ขนาดจ�ากัดของพิกเซลนีข้ นึ้ อยูก่ บั ระยะห่างของผูส้ งั เกต ในอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
ทีม่ รี ะยะในการดูแตกต่างกันออกไป เช่น แท็บเล็ตหรือจอคอมพิวเตอร์ ระยะพิกเซลทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีม่ นุษย์
ยังคงสามารถแยกแยะได้จะมีขนาดที่ต่างกันออกไป

ภาพที่ 6.38 ขนาดพิกเซลของหน้าจอโทรศัพท์มือถือไม่ควรมีขนาดที่เล็กกว่าขีดจ�ากัดการแยกภาพของ


มนุษย์ เพราะดวงตาของมนุษย์ไม่สามารถแยกรายละเอียดออกจากกันได้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 83

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดไมใชผลจากเทคโนโลยีอวกาศที่มนุษยสรางขึ้น ศึกษาเพิ่มเติมไดจากสารคดีสั้น Twig เรื่อง จีพีเอสคืออะไร https://www.
1. แผนที่ google บนอินเทอรเน็ต twig-aksorn.com/film/what-is-gps-7806/
2. ภาพถายหมูเมฆเพื่อใชพยากรณอากาศ
3. เครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนจากแผนดินไหว
4. ภาพถายดาวเทียมเพื่อตรวจสอบสภาพปาไมและบริเวณที่
เกิดไฟปา
5. การถายทอดสดสัญญาณฟุตบอลโลกจากประเทศหนึ่งไป
ยังอีกประเทศหนึ่ง
(วิเคราะหคําตอบ เทคโนโลยีอวกาศ เปนเทคโนโลยีการสํารวจและ
เก็บขอมูลเกีย่ วกับอวกาศและขอมูลเกีย่ วกับโลก เชน การถายภาพ
จากดาวเทียมหรือสถานีอวกาศและขอมูลเกี่ยวกับโลก เชน การ
ถายภาพจากดาวเทียมหรือสถานีอวกาศ เพื่อนํามาใชพยากรณ
อากาศ ถายภาพภูมิประเทศ สวนเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนจาก
แผนดินไหวไมจําเปนตองอาศัยความรูทางดานอวกาศ ดังนั้น
ตอบขอ 3.)
T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
9. ครูมอบหมายใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด Topic
Summary
Questions จากหนังสือเรียนลงในสมุดประจําตัว เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ ใช้
เพื่อนําสงครูทายชั่วโมง
10. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ กล้องโทรทรรศน์
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน • หน้าที่ของกล้องโทรทรรศน์
- รวมแสงด้วยพื้นที่รับแสงที่มากกว่านัยน์ตามนุษย์
11. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด Unit
- เพิ่มขนาดเชิงมุมปรากฏของวัตถุหรือเพิ่มก�าลังขยาย
Questions 6 และ Test for U จากหนังสือเรียน - เพิ่มก�าลังแยกภาพ
ลงในสมุดประจําตัวสงครูในชั่วโมงถัดไป - ระบุต�าแหน่งของวัตถุ
• อัตราส่วนโฟกัส (F) หาได้จากอัตราส่วนระหว่างความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วตั ถุ (f) กับเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของเลนส์ใกล้วัตถุ (D)
F = Df
• ก�าลังรวมแสง หาได้จากอัตราส่วนระหว่างพื้นที่รับแสงกับพื้นที่ที่แสงตกกระทบ เมื่อสนใจเพียงอัตราส่วน
ระหว่างพื้นที่รวมแสง 2 บริเวณ จะหาอัตราส่วนก�าลังรวมแสงได้ ดังนี้

อัตราส่วนก�าลังรวมแสง = (เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ A)
2
เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ B
• ก�าลังขยาย (M) หาได้จากอัตราส่วนระหว่างความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ (fobs) กับความยาวโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตา (feye)
f
M = fobs
eye

• ก�าลังแยกภาพ เป็นระยะห่างเชิงมุมที่เล็กที่สุดที่กล้องโทรทรรศน์สามารถแยกจุด 2 จุด ออกจากกันได้


โดยขีดจ�ากัดการแยกภาพมีหน่วยเป็นเรเดียน
ขีดจ�ากัดการแยกภาพ = 1.22 Dλ
• ประเภทของกล้องโทรทรรศน์

(ก) กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง (ข) กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (ค) กล้องโทรทรรศน์แบบผสม


ใช้ เ ลนส์ นู น เป็ น เลนส์ ใ กล้ วั ต ถุ ท� า ใช้กระจกเว้าแทนเลนส์เพื่อรวมแสง เป็นกล้องทีใ่ ช้ทงั้ เลนส์และกระจกเว้า
หน้าที่รวมแสง แล้วใช้เลนส์ใกล้ตา ซึง่ มีราคาถูกกว่า น�า้ หนักเบากว่า และ เพื่ อ รวมแสง เป็ น การผสมผสาน
(อาจเป็นเลนส์นนู หรือเลนส์เว้า) เพือ่ การสะท้อนของแสงสามารถเกิดขึ้น จุดเด่นของกล้องทั้งแบบหักเหแสง
ขยายภาพ ได้เท่ากันในทุกความยาวคลื่น และแบบสะท้อนแสงเข้าด้วยกัน
ภาพที่ 6.39 กล้องโทรทรรศน์ประเภทต่าง ๆ
84 ที่มา : คลังภาพ อจท.

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากสารคดีสั้น Twig เรื่อง ชีวิตในอวกาศ https://www. ดาวเทียมไทยคมจัดเปนดาวเทียมประเภทใด
twig-aksorn.com/fififilm/life-in-space-7894/ 1. ดาวเทียมสื่อสาร
2. ดาวเทียมทางทหาร
3. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
4. ดาวเทียมสํารวจทรัพยากร
5. ดาวเทียมไทยคมสามารถใชงานไดหลากหลายวัตถุประสงค
(วิเคราะหคําตอบ ดาวเทียมไทยคมเปนดาวเทียมสื่อสาร ดังนั้น
ตอบขอ 1.)

T94
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. นักเรียนสรุป เรือ่ ง อุปกรณทใี่ ชในการสํารวจ
เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์ อวกาศ ในรูปแบบแผนภาพหรืออินโฟกราฟก
• เพลตถ่ายภาพและฟิล์ม ฉาบด้วยสารไวแสงเพื่อบันทึกแสง เมื่อน�ามาล้างภาพของดาวฤกษ์ที่สว่างจะ 2. ครูใหนกั เรียนแตละคนพิจารณาวา ในหัวขอที่
มีสัญญาณติดอยู่บนเพลตถ่ายภาพและฟิล์มมาก เรียนมาและในการปฏิบตั กิ จิ กรรมมีจดุ ใดทีย่ งั
• มาตรแสง เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้วดั ความเข้มของแสง โดยหากใช้แผ่นกรองแสงโพลาไรซ์จะเรียกว่า โพลาริมเิ ตอร์ เขาใจไมชดั เจนหรือยังมีขอ สงสัย ถามี ครูชว ย
• ตัวเพิ่มความเข้มภาพ มีลักษณะเดียวกันกับที่พบได้ในกล้องมองกลางคืน มักใช้ในช่วงคลื่นที่มีการตรวจวัด
ได้ยากหรือมีสัญญาณน้อย อธิบายเพิ่มเติมและทดสอบความเขาใจของ
• กล้องซีซีดี มีสารกึ่งตัวน�าแบ่งออกเป็นพิกเซล เมื่อมีแสงตกกระทบพิกเซลจะเก็บสัญญาณไว้ แล้วแปลง นักเรียนโดยการใหตอบคําถาม
ออกมาเป็นสัญญาณภาพ 3. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาที่ได
• อินเทอร์ฟีรอมิเตอร์ ใช้หลักการรวมแสงที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์ 2 กล้องขึ้นไป เพื่อเพิ่มรายละเอียด ศึกษาผานมาแลววามีสว นใดทีย่ งั ไมเขาใจ แลว
ของภาพ
ใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น โดยครูอาจใช
ดาราศาสตร์ในชวงความยาวคลื่นอื่น ๆ PowerPoint เรื่อง อุปกรณที่ใชในการสํารวจ
• กล้องโทรทรรศน์วิทยุ มี1หลักการท�างานเหมือนกับเครื่องรับสัญญาณ อวกาศ มาชวยในการอธิบาย
วิทยุ เนื่องจากคลื่นวิทยุมีความยาวคลื่นค่อนข้างมาก ท�าให้ต้องใช้
จานรับสัญญาณขนาดใหญ่หรือหลายจานท�างานร่วมกัน
• กล้องโทรทรรศน์ไมโครเวฟ รังสีไมโครเวฟในบางช่วงคลืน่ ไม่สามารถ
ทะลุผ่านชั้นบรรยากาศลงมายังพื้นโลกได้ การศึกษารังสีไมโครเวฟที่
ความละเอียดสูงจึงต้องท�าในอวกาศ
• กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด รังสีอินฟราเรดเป็นรังสีความร้อนที่แผ่ ภาพที่ 6.40 กล้องโทรทรรศน์วิทยุ
ออกมาจากวัตถุทมี่ อี ณุ หภูมใิ กล้เคียงกับอุณหภูมหิ อ้ ง การท�างานของ FAST (Five hundred meter
กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรดจึงจ�าเป็นต้องมีการหล่อเย็น Aperture Spherical radio
Telescope; FAST)
• กล้องโทรทรรศน์รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอัลตราไวโอเลตไม่สามารถ ที่มา : NASA
ผ่านชัน้ บรรยากาศมาได้มากนัก กล้องโทรทรรศน์รงั สีอลั ตราไวโอเลต
จึงต้องถูกส่งออกไปส�ารวจนอกโลก
• กล้องโทรทรรศน์รงั สีเอกซ์ รังสีเอกซ์มอี า� นาจทะลุทะลวงสูงมาก ดังนัน้
กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ จึงใช้แผ่นโลหะหนาหลายชั้นที่ท�ามุมป้าน
ให้รังสีเอกซ์ค่อย ๆ เบี่ยงเบนเข้าไปหาจุดโฟกัส
• กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมา เนื่องจากชั้นบรรยากาศดูดซับรังสี
แกมมาไว้ได้หมด การสังเกตปรากฏการณ์รงั สีแกมมาจึงต้องท�าเหนือ
ชั้นบรรยากาศ
• เครื่องตรวจวัดรังสีคอสมิก ถึงแม้ว่ารังสีคอสมิกจะมีพลังงานสูง แต่ ภาพที่ 6.41 กล้องโทรทรรศน์อวกาศ
ไม่สามารถผ่านชัน้ บรรยากาศลงมาสูพ่ นื้ โลกได้ การศึกษารังสีคอสมิก GALEX (Galaxy Evolution
Explorer; GALEX)
จึงต้องศึกษาจากรังสีอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น เนื่องจากรังสีคอสมิกชนกับ ที่มา : NASA
โมเลกุลต่าง ๆ ในชั้นบรรยากาศ
• เครื่องตรวจจับนิวทริโน หอสังเกตการณ์นิวทริโนมักถูกสร้างไว้ใต้ภูเขาขนาดใหญ่เพื่อป้องกันการรบกวนจาก
รังสีอื่น ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อเครื่องตรวจจับ
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 85

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ดาวเทียมในขอใดเปนดาวเทียมสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ 1 คลื่นวิทยุ เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในชวงความถี่วิทยุบน
ดวงแรกของประเทศไทย เสนสเปกตรัมแมเหล็กไฟฟา โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอาจแบงออกเปน 2 ประเภท
1. ดาวเทียมธีออส ใหญๆ คือ คลื่นดิน (Ground Wave) กับคลื่นฟา (Sky Wave) ซึ่งพลังงานของ
2. ดาวเทียมไทยคม 1 คลื่นวิทยุสวนใหญจะเดินทางอยูใกลๆ ผิวโลก หรือเรียกวา คลื่นดิน ซึ่งคลื่นนี้
3. ดาวเทียมปาลาปา จะเดินไปตามสวนโคงของโลก และคลืน่ อีกสวนทีอ่ อกจากสายอากาศดวยมุมแผ
4 ดาวเทียมแลนดแซต คลื่นเปนคาบวกจะเดินทางจากพื้นโลกพุงไปยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟา
5. ดาวเทียมอินเทลแซต และจะสะทอนกลับลงมายังโลก เรียกวา คลื่นฟา
(วิเคราะหคําตอบ ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรก
ของประเทศไทย คือ ดาวเทียมธีออส ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรื่อง อุปกรณที่ Apply Your Knowledge
ใชในการสํารวจอวกาศ คําชี้แจง อ่านข้อความและสืบค้นข้อมูลเพื่อน�าไปตอบค�าถามที่ก�าหนดให้
3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Questions ดาวเทียมเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถโคจรรอบโลกโดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ซึ่งดาวเทียมเป็น
เรือ่ ง อุปกรณทใี่ ชในการสํารวจอวกาศ ในสมุด เครื่องมือที่มีความซับซ้อน มีส่วนประกอบหลายอย่าง สามารถท�างานได้โดยอัตโนมัติ ส่วนประกอบ
ประจําตัว แต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมการท�างานแยกกัน และมีอุปกรณ์ที่ควบคุมให้ระบบต่าง ๆ ท�างานร่วมกัน
4. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง อุปกรณที่ใชในการ เมื่อดาวเทียมถูกส่งออกไปโคจรรอบโลกจะมีทั้งดาวเทียมที่อยู่บริเวณใกล้ผิวโลกและดาวเทียม
สํารวจอวกาศ จาก Unit Questions 6 ที่อยู่สูงขึ้นไป นักเรียนคิดว่า ดาวเทียมบริเวณใดที่ต้องใช้ความเร็วในการโคจรรอบโลกมากกว่ากัน
เพราะอะไร และดาวเทียมมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร เมื่อเทียบกับการเคลื่อนที่ของโลก
5. ครูตรวจแบบฝกหัด เรือ่ ง เทคโนโลยีอวกาศกับ
การประยุกตใช จาก Test for U
Self Check
6. ครูประเมินทักษะและกระบวนการ โดยการ
สังเกตการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
รายบุคคล และพฤติกรรมการทํางานกลุม หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
7. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานในรูปแบบ
1. สัญลักษณ์บนกล้องถ่ายรูปที่มีเลนส์ f/8 แสดงว่ามีช่องรับแสงแคบกว่า 1.1
แผนภาพหรืออินโฟกราฟก เรื่อง อุปกรณที่ใช ความยาวโฟกัสถึง 8 เท่า จึงมีความไวแสงมากกว่าเลนส์ที่ f/2
ในการสํารวจอวกาศ
2. เมือ่ เพิม่ ก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์จะท�าให้ภาพมีความละเอียดสูงขึน้ 1.1
3. กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงสามารถสร้างและรองรับน�้าหนักกล้อง 1.1
ขนาดใหญ่ได้ง่ายที่สุด
4. ฐานระบบศูนย์สตู รสามารถติดตามการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุทอ้ งฟ้าได้ โดยการ 1.1
หมุนแกนไปในอัตราเดียวกับการหมุนของโลก

ุด
สม
ใน
5. มาตรแสงเป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดความเข้มแสง 1.2

ลง
ทึ ก
บั น
6. รังสีอินฟราเรดมีอ�านาจทะลุทะลวงได้ดี ท�าให้สามารถสังเกตวัตถุด้านหลัง 1.3
ฝุนหรือแกสในอวกาศได้ เช่น บริเวณเนบิวลา
7. ดาวเทียมแต่ละดวงจะใช้ความเร็วเท่ากันในการโคจรรอบโลก 1.4
8. ยานขนส่งอวกาศส�ารวจสิ่งที่อยู่ไกลจากโลก ส่วนดาวเทียมใช้ส�ารวจสิ่งที่ 1.4
อยู่ใกล้จากโลก
9. ระบบยานขนส่งอวกาศ ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ จรวดเชือ้ เพลิงแข็ง และ 1.4
แนวตอบ Self Check ยานขนส่งอวกาศ
10. เทคโนโลยีอวกาศใช้ในการศึกษาวิชาดาราศาสตร์เท่านั้น ไม่สามารถน�ามา 2.
1. ผิด 2. ผิด 3. ถูก ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้
4. ถูก 5. ถูก 6. ถูก 86
7. ผิด 8. ถูก 9. ผิด
10. ผิด

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Apply Your Knowledge


จากกฎแรงโนมถวงของนิวตัน สรุปไดวา ยิง่ ใกลศนู ยกลางของโลกแรง
ครูสามารถวัดและประเมินชิน้ งานการสรุปความรู เรือ่ ง อุปกรณทใี่ ชในการ โนมถวงจะยิ่งเพิ่มขึ้น ดังนั้น ดาวเทียมที่อยูใกลผิวโลกจะตองใชความเร็ว
สํารวจอวกาศในรูปแบบแผนภาพ หรือ อินโฟกราฟก โดยศึกษาเกณฑการวัดและ ในการโคจรรอบโลกมากกวาดาวเทียมที่อยูสูงขึ้นไป ซึ่งดาวเทียมโคจร
ประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการ ไปพรอมๆ กับโลกที่หมุนรอบตัวเอง โดยดาวเทียมตองการลอยคางอยู
จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 6 เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกตใช เหนือพิกัดภูมิศาสตรที่ระบุบนพื้นผิวโลกตลอดเวลา ซึ่งอยูที่ความสูง
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินชิ้นงานสรุปข้อมูลแผนผังความคิด/ผังมโนทัศน์/อินโฟกราฟิก
35,786 กิโลเมตร เหนือพื้นผิวโลก วงโคจรระดับนี้เรียกวา วงโคจรคางฟา
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ

ลาดับที่
ระดับคะแนน
รายการประเมิน
4 3
ระดับคุณภาพ
2 1
(geostationary orbit) เปนวงโคจรที่เหมาะสําหรับใชในการสะทอน
1
2
3
4
ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
ความถูกต้องของเนื้อหา
ความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นระเบียบ
สัญญาณโทรคมนาคม
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./...............
เกณฑ์ประเมินชิ้นงานสรุปข้อมูลแผนผังความคิด/ผังมโนทัศน์/อินโฟกราฟิก
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผ ล ง านไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีค วามน่ า สนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิ ด
สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แต่ยัง ไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่
แปลกใหม่และเป็น ใหม่
ระบบ
4. ผลงานมีความเป็น ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไ ม่ เ ป็ น
ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เป็ นร ะเบี ยบ แต่ ยั ง มี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี

T96
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions 6

U nit
คําชี้แจง :
Questions 4
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
1. การเพิ่มกําลังขยายของกลองโทรทรรศนไมได
ชวยใหสามารถแยกรายละเอียดของภาพได
มากขึ้น ซึ่งเปรียบไดกับการนําภาพความละ
1. การเพิม่ ก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ชว่ ยให้สามารถแยกรายละเอียดของภาพได้มากขึน้ เอียดตํา่ มาสองดูดว ยแวนขยาย ความละเอียด
หรือไม่ อย่างไร ของภาพยอมเทาเดิม แตสงิ่ ทีม่ คี วามสําคัญตอ
รายละเอียดของภาพ คือ กําลังแยกภาพ
2. กล้องโทรทรรศน์และฐานกล้องโทรทรรศน์แบบใดที่สามารถสร้างและรองรับน�้าหนักกล้อง
ขนาดใหญ่ได้ง่ายที่สุด 2. กลองโทรทรรศนและฐานกลองโทรทรรศน
ที่ ส ามารถสร า งและรองรั บ นํ้ า หนั ก กล อ ง
3. ฐานกล้องโทรทรรศน์ในระบบใดทีส่ ามารถติดตามการเคลือ่ นทีข่ องดาวฤกษ์ได้ โดยการหมุน ขนาดใหญ ไ ด คื อ กล อ งโทรทรรศน แ บบ
เพียงแกนเดียว สะทอนแสง โดยมีฐานระบบขอบฟา เนื่องจาก
กลองโทรทรรศนแบบสะทอนแสงใชกระจกเวา
4. กล้องโทรทรรศน์บนหอดูดาวแห่งชาติบนยอดดอยอินทนนท์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เปนตัวรวมแสง ซึ่งมีลักษณะหนาโดยรอบแต
เมตร ซึง่ เท่ากับกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล หากนัยน์ตามนุษย์มขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลาง บางตรงกลาง และสามารถรองรั บ นํ้ า หนั ก
1 เซนติเมตร กล้องโทรทรรศน์บนหอดูดาวแห่งชาตินี้จะสามารถรวมแสงได้ประมาณกี่เท่า จากด า นหลั ง กระจกได ต า งจากเลนส นู น
ของนัยน์ตามนุษย์ ซึ่งตองรับนํ้าหนักสวนขอบที่บาง สวนฐาน
5. หากใช้เลนส์ตาขนาดความยาวโฟกัส 25 มิลลิเมตร กับกล้องที่มีเลนส์ใกล้วัตถุขนาด กล อ งโทรทรรศน นั้ น หากเป น ฐานระบบ
ความยาวโฟกัส 1,000 มิลลิเมตร จะได้ก�าลังขยายกี่เท่า ศู น ย สู ต รจํ า เป น ต อ งอาศั ย แกนหมุ น ที่ ทํ า
มุมเอียงกับแรงโนมถวงของโลก จึงสรางไดยาก
6. กล้องโทรทรรศน์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10.4 เมตร หากสมมติให้ตาของมนุษย์มีขนาด โดยเฉพาะสําหรับกลองที่มีนํ้าหนักมาก
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร กล้องโทรทรรศน์จะมีก�าลังรวมแสงมากกว่าตาของมนุษย์ 3. ฐานกลองโทรทรรศนที่สามารถติดตามการ
กี่เท่า เคลือ่ นทีข่ องดาวฤกษไดโดยการหมุนเพียงแกน
7. กล้องโทรทรรศน์มีความยาวโฟกัส 100 มิลลิเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลางหน้ากล้อง เดียว คือ ฐานระบบศูนยสูตร ซึ่งเปนฐานที่มี
การเอียงแกนหมุนใหสอดคลองกับขั้วฟาของ
25 มิลลิเมตร กล้องโทรทรรศน์มีอัตราส่วนโฟกัสเท่าใด
ทรงกลมฟา ทัง้ นี้ เพือ่ ใหสอดคลองกับการหมุน
8. กล้องโทรทรรศน์ A มีความยาวโฟกัส 200 มิลลิเมตร และมีขนาดหน้ากล้อง 10 มิลลิเมตร ของโลกตามระบบพิกัดศูนยสูตร ฐานระบบนี้
ส่วนกล้องโทรทรรศน์ B มีความยาวโฟกัส 200 มิลลิเมตร และมีขนาดหน้ากล้อง 20 จึงทําใหการติดตามวัตถุทองฟาเปนไปไดงาย
มิลลิเมตร กล้องโทรทรรศน์ใดมีก�าลังรวมแสงมากกว่ากัน และมากกว่ากันเท่าใด และแมนยํา จึงเหมาะกับการถายภาพวัตถุ
ทองฟา และเหมาะกับกลองโทรทรรศนที่มี
กําลังขยายสูง แตมีขนาดไมใหญมากนัก
เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 87

4. จากสมการ 7. จาก F = Df
2
อัตราสวนกําลังรวมแสง = ( เสเสนนผผาานศู นยกลางของเลนส A
นศูนยกลางของเลนส B ) F = 100 mm
25 mm = 4
24 mm 2 ดังนั้น อัตราสวนโฟกัสของกลองโทรทรรศนตัวนี้ คือ f/4
= ( 0.01 mm ) = 57,600
ดังนัน้ กลองโทรทรรศนมกี าํ ลังรวมแสงมากกวาตามนุษย 57,600 เทา 8. จากสมการ
2
5. จาก M = fobs
f
eye
อัตราสวนกําลังรวมแสง = ( เสเสนนผผาานศู นยกลางของเลนส A
นศูนยกลางของเลนส B )
1,000 mm = 40 = (10 mm 2 = 1
= 25 mm 20 mm) 4
ดังนั้น จะไดกําลังขยาย 40 เทา ดังนัน้ กลองโทรทรรศน B มีกาํ ลังรวมแสงมากกวากลองโทรทรรศน A 4 เทา
6. จากสมการ
เสนผานศูนยกลางของเลนส A 2
อัตราสวนกําลังรวมแสง = (
เสนผานศูนยกลางของเลนส B )
= (10.4 m 2 = 1,081,600
0.01 m)
ดังนัน้ กลองโทรทรรศนมกี าํ ลังรวมแสงมากกวาตามนุษย 1,081,600 เทา

T97
นํา สอน สรุป ประเมิน

9. ความยาวโฟกั ส ของเลนส กํ า ลั ง ขยาย


1,000 mm = 44 เทา ดังนั้น จะเห็นวัตถุที่มี
25 mm 9. กล้องโทรทรรศน์มีความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ 1,100 มิลลิเมตร ความยาวโฟกัส
ขนาดเชิงมุม 30 พิลิปดา ใหญขึ้น 44 เทา ซึ่ง
เทากับ 30 × 44 = 1,320 พิลิปดา หรือเทากับ ของเลนส์ใกล้ตา 25 มิลลิเมตร หากน�ากล้องโทรทรรศน์นี้ไปส่องวัตถุที่มีขนาดเชิงมุม
22 ลิปดา 30 พิลิปดา จะสังเกตเห็นวัตถุนี้มีขนาดเชิงมุมผ่านกล้องโทรทรรศน์เท่าใด
10. กําลังขยาย คือ อัตราสวนระหวางความยาว 10. หากต้องการเพิ่มก�าลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ควรท�าอย่างไร
โฟกัสของเลนสใกลวัตถุ (fobs) กับ ความยาว
โฟกัสของเลนสใกลตา (feye) จึงสามารถเพิ่ม 11. ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อก�าลังขยายภาพ
กําลังขยายได โดยการลดความยาวโฟกัสของ 12. หากดาวฤกษ์ 2 ดวง อยูห่ า่ งกันเป็นมุมน้อยกว่าก�าลังแยกภาพของกล้องโทรทรรศน์ จะเห็น
เลนสใกลตา ดาวฤกษ์ 2 ดวงนี้ มีลักษณะอย่างไร
11. กํ า ลั ง ขยายของกล อ งโทรทรรศน ขึ้ น อยู  กั บ
13. ขีดจ�ากัดสูงสุดในการแยกภาพของกล้องโทรทรรศน์ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง
อัตราสวนระหวางความยาวโฟกัสของเลนส
ใกลวัตถุ (fobs) กับความยาวโฟกัสของเลนส 14. จงเรียงล�าดับคลื่นต่อไปนี้จากความยาวคลื่นยาว (พลังงานต�่า) ไปยังความยาวคลื่นสั้น
ใกลตา (feye) ดังนั้น หากเปลี่ยนเลนสใกลตา (พลังงานสูง)
จะมีผลตอกําลังขยาย โดยหากใชเลนสใกลตา
แสงที่ตามองเห็น อัลตราไวโอเลต อินฟราเรด
ที่มีความยาวโฟกัสนอยลงจะทําใหไดกําลัง
ขยายเพิ่มมากขึ้น ซึ่งรายละเอียดของภาพจะ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
ยังคงเดิมเพียง แตไดภาพที่มีขนาดใหญขึ้น
15. ช่วงคลื่นใดที่สามารถท�าการสังเกตได้จากบนพื้นโลก
12. กํ า ลั ง แยกภาพของกล อ งโทรทรรศน เ ป น
คุณสมบัติที่ชวยบอกวาจะสามารถแยกวัตถุที่ 16. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการศึกษาดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นอื่น ๆ
อยูใกลกันที่สุดไดเพียงใด หากดาว 2 ดวงที่
อยูใกลกันเกินกวากําลังแยกภาพ จะทําใหไม 17. การส่งกล้องโทรทรรศน์ขึ้นสู่อวกาศมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
สามารถสังเกตเห็นดาว 2 ดวงนั้นแยกกันได 18. การศึกษาวัตถุท้องฟ้าที่มีอุณหภูมิใกล้เคียงกับเอกภพควรใช้กล้องโทรทรรศน์ที่มีลักษณะ
แตจะสังเกตเห็นไดเปนเพียงวัตถุเดียวกัน เชน อย่างไร
เดียวกับรถยนตที่อยูไกลมากจนสังเกตเห็นวา
ไฟหนารถมีเพียงดวงเดียว 19. กล้องโทรทรรศน์ที่สังเกตในช่วงคลื่นแสงกับกล้องโทรทรรศน์วิทยุที่มีขนาดกระจกหรือ
จานเท่ากัน กล้องโทรทรรศน์ชนิดใดมีก�าลังแยกภาพดีกว่ากัน เพราะเหตุใด
13. จากสมการ sin θ = 1.22 Dλ ซึ่งเปนสมการ
ขีดจํากัดการแยกภาพ จะไดเห็นวา θ แปรผัน 20. เทคโนโลยีอวกาศมีความส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร
ตามอัตราสวนระหวาง λ กับ D ดังนัน้ ขีดจํากัด
สูงสุดในการแยกภาพของกลองโทรทรรศนขึ้น
อยูก บั ความยาวคลืน่ แสงและเสนผานศูนยกลาง 88

ของเลนสใกลวัตถุหรือชองรับแสงของกลอง
14. เรียงลําดับคลื่นจากความยาวคลื่นยาว (พลัง
งานตํ่า) ไปยังความยาวคลื่นสั้น (พลังงานสูง) ได ดังนี้ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ อินฟราเรด แสงที่ตามองเห็น อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ และรังสีแกมมา
15. ชวงคลื่นที่สามารถทําการสังเกตไดจากบนพื้นโลก คือ คลื่นวิทยุ แสงที่ตามองเห็น บางสวนของอินฟราเรด และอัลตราไวโอเลต สวนชวงคลื่นอื่นๆ นอก
เหนือจากนี้จะถูกดูดกลืนโดยชั้นบรรยากาศ ทําใหไมสามารถทําการสังเกตบนพื้นโลกได ซึ่งจําเปนตองสังเกตโดยการสงดาวเทียมออกไปใหพนจากชั้น
บรรยากาศของโลก
16. แสงที่ตามองเห็นเปนเพียงสวนหนึ่งของสเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา วัตถุตางๆ ในเอกภพมีการปลดปลอยคลื่นตางๆ นอกเหนือไปจากที่ตาของมนุษย
มองเห็น ดังนั้น การศึกษาเพียงแคแสงที่ตามองเห็นเปนเพียงสวนหนึ่งของเรื่องราวของเอกภพเทานั้น
17. การสงกลองโทรทรรศนขึ้นสูอวกาศชวยใหสามารถสังเกตวัตถุทองฟาที่อยูในชวงคลื่นที่ไมสามารถสังเกตไดจากบนพื้นโลก และชวยกําจัดปญหากําลัง
แยกภาพที่มีขอจํากัดจากชั้นบรรยากาศ
18. กลองโทรทรรศนไมโครเวฟศึกษาเกี่ยวกับรังสีไมโครเวฟพื้นหลังซึ่งเปนพลังงานที่หลงเหลือมาจากการกําเนิดของเอกภพ
19. กลองโทรทรรศนวิทยุมีกําลังแยกภาพไดดีกวากลองโทรทรรศนที่สังเกตในชวงคลื่นแสง เนื่องจากกําลังแยกภาพแปรผันตรงกับความยาวคลื่น และ
กลองโทรทรรศนวิทยุมีความยาวคลื่นมากกวากลองโทรทรรศนที่สังเกตในชวงคลื่นแสง
20. เทคโนโลยีอวกาศเปนการนําเอาเทคโนโลยีมาใชประโยชนในเรือ่ งของการสํารวจอวกาศและศึกษาเรือ่ งตางๆ เกีย่ วกับโลก เชน เรือ่ งของการสือ่ สารภายใน
ประเทศหรือระหวางประเทศ การพยากรณอากาศ โดยกรมอุตุนิยมวิทยาทุกแหงจะตองใชดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาสําหรับการสงสัญญาณภาพถายทาง
อากาศอันประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ทําใหรลู ว งหนาวาสภาพอากาศของโลกสวนไหนเปนอยางไร แลวมีการออกเตือนประชาชนใหระวังสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ได
T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Test for U


1. 4. กําลังรวมแสงขึ้นอยูกับพื้นที่ในการ
Test for U
ตอบ ขอ
รับแสง เมื่อเสนผานศูนยกลางเพิ่มขึ้น 10 เทา
พื้ น ที่ รั บ แสงก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น 10 2 = 100 เท า จึ ง
คําชี้แจง : เลื อ กค� า ตอบที่ ถู ก ต้ อ งที่ สุ ด เพี ย งค� า ตอบเดี ย ว สามารถรวมแสงไดมากกวาเดิม 100 เทา
1. กล้องโทรทรรศน์ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มขึ้น 10 เท่า จะมีก�าลังรวมแสงเพิ่มขึ้นกี่เท่า 2. ตอบ ขอ 2. ดาวเทียมนัน้ โคจรดวยความเร็วโคจร
1. 0.1 เท่า 2. 1 เท่า ซึ่งเปนความเร็วที่พอดีที่ทําใหดาวเทียมโคง
3. 10 เท่า 4. 100 เท่า ออมผิวโลกในขณะทีย่ งั คงตกอยูอ ยางตอเนือ่ ง
5. 1,000 เท่า แมกระทั่งในอวกาศก็ยังคงมีแรงโนมถวงจาก
โลกเสมอ
2. เพราะเหตุใดดาวเทียมจึงไม่ตกลงสู่พื้นโลก
1. เพราะดาวเทียมมีน�้าหนักเบา 3. ตอบ ขอ 4. จากสมการ
2. เพราะโคจรด้วยความเร็วที่พอดี ขีดจํากัดการแยกภาพ = 1.22 Dλ
-9
3. เพราะในอวกาศไม่มีแรงโน้มถ่วง = 1.22 × 500-3×10 m
4. เพราะในอวกาศไม่มีแรงเสียดทาน 2 × 10 m
5. เพราะโคจรอยู่ในวงโคจรที่ไม่มีแรงโน้มถ่วงกระท�า = 122 × 10-6
= 0.000122 เรเดียน
3. รูมา่ นตาของมนุษย์มเี ส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร หากสังเกตด้วยแสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ 4. ตอบ ขอ1. ความคลาดรงค เ กิ ด จากแสงที่ มี
500 นาโนเมตร ขีดจ�ากัดดวงตาของมนุษย์จะสามารถสังเกตรายละเอียดที่เล็กที่สุด ความยาวคลื่นตางกันจะมีดรรชนีหักเหและ
เป็นระยะเชิงมุมเท่าใด
เส น ทางเดิ น ไม เ ท า กั น โดยพบได เ ฉพาะใน
1. 0.5 เรเดียน 2. 0.0001 องศา
เลนสซงึ่ เปนสวนประกอบของกลองโทรทรรศน
3. 0.0005 องศา 4. 0.0001 เรเดียน
แบบหักเหแสง
5. 0.0005 เรเดียน
4. ความคลาดเคลื่อนแบบใดพบได้ในกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
1. ความคลาดรงค์
2. ความคลาดเคลื่อนทรงกลม
3. ความคลาดเคลื่อนแบบโคม่า
4. ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสั่นพ้อง
5. ความคลาดเคลื่อนแบบปรับตามสภาพแสง

เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกต์ใช้ 89

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

5. 4. กลองโทรทรรศนแบบกาลิเลโอนัน้ เปน
ตอบ ขอ
กลองโทรทรรศนแบบหักเหแสงโดยใชเลนส
ใกลตาเปนเลนสเวา
6. ตอบ ขอ 4. สภาวะไรนํ้าหนักนั้นไมไดเกิดขึ้นจาก 5. กล้องโทรทรรศน์ประเภทใดที่ไม่มีกระจกเป็นส่วนประกอบ
ระยะหางจากโลกหรือสภาวะสุญญากาศ แต 1. กล้องโทรทรรศน์แบบผสม
สภาวะไรนํ้าหนักนั้นเกิดขึ้นไดทุกเมื่อกับทุก 2. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเห
วัตถุทกี่ าํ ลังตกลงอยางอิสระภายใตแรงโนมถวง 3. กล้องโทรทรรศน์แบบนิวตัน
เชน บนเครือ่ งเลนในสวนสนุก สาเหตุทภี่ ายใน 4. กล้องโทรทรรศน์แบบกาลิเลโอ
สถานี อ วกาศนั้ น เป น สภาวะไร นํ้ า หนั ก เป น 5. กล้องโทรทรรศน์แบบโฟกัสหลัก
เพราะวาสถานีอวกาศกําลังตกอยูอยางอิสระ 6. เราจะพบสภาวะไร้น�้าหนักเมื่อใด
ภายใตแรงโนมถวงของโลก 1. เมื่ออยู่ในสุญญากาศ
7. ตอบ ขอ4. ดาวเที ย มไทยโชตหรื อ ดาวเที ย ม 2. เมื่อเคลื่อนที่ด้วยความเฉื่อย
ธี อ อสเป น ดาวเที ย มที่ ใ ช ใ นการสํ า รวจ 3. เมื่ออยู่สูงจากพื้นโลกเพียงพอ
ทรัพยากรธรรมชาติดวงแรกของไทย 4. เมื่อก�าลังตกลงอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วง
5. เมื่อลดขนาดของมวลให้น้อยจนถือได้ว่าไม่มีแรงมากระท�า
8. ตอบ ขอ4. ชัน้ บรรยากาศและสนามแมเหล็กโลก
เปนสิ่งที่คอยปกปองโลกจากลมสุริยะเอาไว 7. ดาวเทียมไทยโชตหรือดาวเทียมธีออสเป็นดาวเทีียมที่ใช้ประโยชน์ด้านใด
ลมสุริยะนั้นสามารถรบกวนการทํางานของ 1. ด้านการสื่อสาร
ดาวเทียมได ในปจจุบันเรายังไมมีเทคโนโลยี 2. ด้านการทดลองนิวเคลียร์
ใดๆ ที่ จ ะสามารถป อ งกั น ลมสุ ริ ย ะจาก 3. ด้านการตรวจจับการปล่อยรังสี
ดวงอาทิตยได 4. ด้านการส�ารวจทรัพยากรธรรมชาติ
5. ด้านการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์
8. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่ได้จากดาวเทียม
1. พยากรณ์อากาศ
2. ระบบระบุต�าแหน่ง
3. สัญญาณอินเทอร์เน็ต
4. ป้องกันโลกจากลมสุริยะ
5. การสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์

90

T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวทางการจัดทํากิจกรรม
Fun Science Activity
Fun Sc ence ครูอธิบายถึงวัสดุอุปกรณที่ตองเตรียมมาใชใน
Activity กิจกรรม แลวอธิบายถึงวิธีการทํากิจกรรมในแตละ
ขั้ น ตอนเพื่ อ ให นั ก เรี ย นมองเห็ น ภาพในการทํ า
นาฬกาแดด กิจกรรม และปฏิบัติกิจกรรมในแตละกลุมไดอยาง
รวดเร็ว ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเปลี่ยนละติจูด
วัสดุอุปกรณ์
ของผูสังเกตเพื่อใหมีความหลากหลายในการบอก
1. กระดาษแข็ง 4. เข็มทิศ เวลาของนาฬกาแดด หลังจากทํ า กิ จ กรรมแล ว
2. ไม้เสียบลูกชิน้ 5. กาว
3. กรรไกร
ใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอชิ้นงานหนา
ชัน้ เรียน จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลทีไ่ ด
วิธีปฏิบัติ
จากการทํากิจกรรม
1. ตัดส่วนประกอบต่าง ๆ ของนาฬิกาแดดตามทีพ่ มิ พ์จาก https://www.arvindguptatoys.com/arvindgupta/toys/
pdf/Makeyourownsundial.pdf แล้วติดกาวแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน ซึ่งจะได้ส่วนประกอบทั้งหมด 3 ส่วน
2. วางส่วนก�าเนิดเงาไว้ที่ฐานโดยให้ละติจูดของผู้สังเกตอยู่ตรงกับขีดสีด�าของฐาน เช่น กรุงเทพมหานคร
มีละติจูด 13.75 องศาเหนือ
3. ตัดบริเวณด้านบนของส่วนก�าเนิดเงาให้ตรงกับละติจูดของผู้สังเกต แล้ววางส่วนหน้าปัดในแนวขวาง
4. วางนาฬิกาแดดบนพื้นราบที่มีแสงแดดส่องถึง โดยหันนาฬิกาแดดให้ส่วนแหลมของไม้เสียบลูกชิ้น
ชี้ไปทางทิศเหนือโดยใช้เข็มทิศ จากนั้นอ่านเวลาโดยดูจากเงาบนสเกลเวลา
1 2 3

ขั้นตอนประกอบนาฬิกาแดด
ที่มา : https://www.arvindguptatoys.com/toys/Makeyourownsundial.html
หลักการทางวิทยาศาสตร์

นาฬิกาแดดเป็นเครื่องมือที่ใช้บอกเวลาของมนุษย์มาตั้งแต่
อดีต ซึ่งช่วยในการระบุมุมชั่วโมงของดวงอาทิตย์ ท�าให้ทราบ
เวลาสุริยคติ แต่นาฬิกาแดดทุกชนิดจะบอกคลาดเคลื่อนจาก
เวลาจริง เนื่องจากแกนของโลกเอียง 23.5 องศา และวงโคจร
ของโลกเป็นรูปวงรี ท�าให้ระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
ไม่ใช่ระยะทางคงที่
นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร

91

T101
ภาคผนวก

การปฏิบัติตนในห้องปฏิบัติการ

การศึกษาวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จะประกอบด้วยส่วนของเนื้อหาภาคทฤษฎีและการปฏิบัติควบคู่กัน เพื่อ


ให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น โดยการท�ำกิจกรรมทั้งนอกสถานที่และท�ำการทดลองในห้องปฏิบัติการจะ
ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์หลาย ๆ ด้าน ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์มากมายแก่ผู้เรียน
การท�ำการทดลองในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อาจมีสภาวะที่เสี่ยงต่ออันตราย ผู้ปฏิบัติกิจกรรมจึงควรตระหนักถึง
ความปลอดภัยทั้งต่อตนเองและทรัพย์สินในห้องปฏิบัติการ โดยในห้องปฏิบัติการควรมีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยอย่าง
เพียงพอแก่การใช้งาน มีข้อแนะน�ำแก่ผู้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความระมัดระวัง และมีความพร้อมที่จะแก้ไขอุบัติเหตุที่อาจ
เกิดขึ้น ซึ่งข้อเสนอแนะและข้อควรปฏิบัติในการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ มีดังนี้

1. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ห้องปฏิบัติการ
ข้อปฏิบัติในการใช้ห้องปฏิบัติการถูกก�ำหนดขึ้นเพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจก่อให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุข้ึน
ในห้องปฏิบัติการ ซึ่งข้อปฏิบัติสำ� หรับผู้ใช้ห้องปฏิบัติการ มีดังนี้
1) ระมัดระวังในการท�ำการทดลอง และท�ำการทดลองอย่างตั้งใจ ไม่เล่นหยอกล้อกัน
2) เรียนรู้ต�ำแหน่งที่เก็บ และศึกษาการใช้งานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับความปลอดภัย เช่น เครื่องดับเพลิง น�้ำพุส�ำหรับ
ล้างตา ตู้เก็บยาปฐมพยาบาล โทรศัพท์ สัญญาณเตือนภัย นอกจากนี้ ยังต้องเรียนรู้วิธีการใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง
ตัวอย่างสัญลักษณ์แสดงต�ำแหน่งที่เก็บและอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับความปลอดภัย

ถังดับเพลิง ล้างตาฉุกเฉิน ช�ำระล้างฉุกเฉิน ปฐมพยาบาล กระดิ่งเตือนภัย

3) อ า่ นคูม่ อื ปฏิบตั กิ ารให้เข้าใจก่อนลงมือท�ำการทดลอง หากยังไม่เข้าใจขัน้ ตอนใดหรือการใช้งานอุปกรณ์การทดลองใด


ควรปรึกษาครูให้เข้าใจก่อนลงมือท�ำการทดลอง
4) ปฏิบัติตามคู่มืออย่างเคร่งครัด ในกรณีที่ต้องท�ำการทดลองนอกเหนือจากที่ก�ำหนดจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้สอน
ก่อนทุกครั้ง
5) ไม่ควรท�ำการทดลองในห้องปฏิบัติการเพียงคนเดียว เพราะหากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นจะไม่มีผู้ให้ความช่วยเหลือ
6) ไม่รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งไม่ใช้เครื่องแก้วหรืออุปกรณ์ทำ� การทดลองเป็นภาชนะ
ใส่อาหารและเครื่องดื่ม
7) ดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบบนโต๊ะท�ำการทดลองตลอดเวลา สิ่งของเครื่องใช้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการ
ท�ำการทดลองให้เก็บไว้บริเวณอื่นที่ไม่ใช่โต๊ะท�ำการทดลอง
8) อ่านคู่มือการใช้อุปกรณ์ทดลองทุกชนิดให้ละเอียดก่อนใช้งาน และถ้าเป็นอุปกรณ์ทางไฟฟ้าจะต้องระวังอย่าให้มือ
เปียกขณะใช้งาน และการถอดหรือเสียบเต้าเสียบต้องจับที่เต้าเสียบเท่านั้น

T102
9) ห ากท�ำการทดลองทีต่ อ้ งใช้ความร้อนจากตะเกียงและแก๊ส จะต้องท�ำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ ไม่รนิ ของเหลว
ที่ติดไฟง่ายใกล้เปลวไฟ ขณะเผาสารในหลอดทดลองต้องหันปากหลอดไปในบริเวณที่ไม่มีผู้อื่น และดับตะเกียงหรือ
ปิดแก๊สทันทีที่เลิกใช้งาน
10) สารเคมีทุกชนิดในห้องปฏิบัติการเป็นอันตราย จึงไม่ควรสัมผัส ชิม หรือสูดดมสารเคมีใด ๆ นอกจากจะได้รับ
ค�ำแนะน�ำที่ถูกต้องแล้ว และไม่น�ำสารเคมีใด ๆ ออกจากห้องปฏิบัติการ
11) ตรวจสอบฉลากที่ปิดสารเคมีทุกครั้งก่อนน�ำมาใช้ รินหรือตักสารออกมาในปริมาณที่พอใช้เท่านั้น ไม่เทสารเคมีที่
เหลือกลับขวดเดิม และไม่เทน�้ำลงในกรด
12) เมื่อท�ำการทดลองเสร็จแล้ว ต้องท�ำความสะอาดเครื่องมือและเก็บเข้าที่เดิมทุกครั้ง ท�ำความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการ
และสอดเก้าอี้เข้าใต้โต๊ะ ล้างมือด้วยสบู่และน�้ำก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ
2. ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์จ�ำเป็นต้องมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบัติการ และเครื่องมือวิทยาศาสตร์
ต่าง ๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจท�ำให้เกิดอันตรายและอุบัติเหตุต่อบุคคล และห้องปฏิบัติการอาจได้รับความเสียหายได้ เพื่อให้การ
ปฏิบัติกิจกรรมในห้องปฏิบัติการมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง จึงมีแนวทางเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า มีข้อควรระวัง ดังนี้
• ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าด้วยความระมัดระวัง เช็ดมือและเท้าให้แห้งทุกครั้งที่ต้องสัมผัสกับอุปกรณ์ไฟฟ้า
• ถ้าต้องใช้สายไฟฟ้าต่อจากเต้ารับเดียวกันหลายสายหรือจ�ำเป็นต้องใช้ต่อพ่วงกัน ควรเลือกเต้ารับชนิดที่มีสวิตช์
เปิด-ปิด และไม่ต่อพ่วงเกิน 2 สาย
• หลังเลิกใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า ให้ถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้ง
• อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดควรมีสัญญาณไฟที่แสดงว่าเครื่องก�ำลังท�ำงานอยู่ และถ้าเกิดความผิดปกติในระหว่างการ
ใช้งาน ต้องหยุดการท�ำงานของอุปกรณ์นั้นทันที
• เตาไฟฟ้าต้องมีขดลวดของเตาไฟฟ้าอยู่ในเบ้าและไม่ช�ำรุดเสียหาย
• ต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้า สายไฟฟ้า สวิตช์ และเครื่องควบคุมอุณหภูมิที่ชำ� รุดทันที
2) ความปลอดภัยในการใช้แก๊สและสารไวไฟ มีข้อควรระวัง ดังนี้
• ไม่น�ำถังแก๊สที่บุบ เป็นสนิม หรือรั่วซึมมาใช้ในห้องปฏิบัติการ
• สถานทีว่ างถังแก๊สต้องเป็นบริเวณทีอ่ ากาศถ่ายเทได้สะดวก และต้องมีการตรวจสอบการรัว่ ของแก๊สอย่างสม�ำ่ เสมอ
• จัดท�ำสัญลักษณ์เตือนอันตรายของสารไวไฟ และติดข้อปฏิบัติไว้ในสถานที่วางถังแก๊ส
• ก่อนเปิดวาล์วควรตรวจสอบสภาพของสายแก๊สและหัวแก๊ส เมื่อเลิกใช้งานต้องปิดวาล์วก่อนปิดเครื่องควบคุม
ความดันของแก๊สที่ใช้ทุกครั้ง
• ตรวจสอบว่าแก๊สที่น�ำมาใช้เป็นประเภทเดียวกับที่ระบุไว้ที่ถังแก๊ส และต้องใช้อุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊สตาม
มาตรฐานของแก๊สชนิดนั้น
• ตอ้ งท�ำการปฏิบตั กิ ารทีต่ อ้ งใช้เปลวไฟด้วยความระมัดระวัง และหลีกเลีย่ งทีจ่ ะอยูใ่ กล้สงิ่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความร้อนหรือ
เชื้อเพลิงซึ่งอาจท�ำให้เกิดไฟลุกไหม้
• กรณีเกิดไฟไหม้ตอ้ งรีบปิดตะเกียงแอลกอฮอล์หรือท่อแก๊สทุกท่อทันที ปิดถังแก๊สและน�ำสารไวไฟทุกชนิดออกจาก
บริเวณนั้นให้เร็วที่สุด

T103
• ต้องมีเครื่องดับเพลิงอยู่ในบริเวณที่ใช้งาน และมีทางออกฉุกเฉินที่เปิดได้ตลอดเวลา
• เมือ่ มีสารติดไฟต้องแก้ไขสถานการณ์อย่างเหมาะสม ถ้าลุกไหม้เล็กน้อยให้ใช้ผ้าเปียกคลุมสิ่งนั้นไว้ ถ้าเสื้อผ้าลุก
ติดไฟให้นอนลงกลิ้งตัวกับพื้นหรือใช้ผ้าหนาห่มคลุมทับ และรีบน�ำผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลทันที
3) ความปลอดภัยจากรังสีและไอสารพิษ มีข้อควรระวัง ดังนี้
• การทดลองที่มีควันพิษเกิดขึ้นจะต้องใช้ผ้ากรองควันพิษปิดจมูกและปาก และควรท�ำการทดลองในตู้ดูดควันที่อยู่
ในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
• การทดลองทีใ่ ช้หลอดเลเซอร์เป็นแหล่งก�ำเนิดแสง ต้องไม่มองทีล่ ำ� แสงโดยตรง และควรมีขอ้ ความเตือนอันตราย
ติดไว้ที่หลอดเลเซอร์ พร้อมชี้แจงถึงวิธีใช้ที่ถูกต้องก่อนการใช้งาน
• การใช้สารกัมมันตรังสีในการท�ำปฏิบัติการ ควรเก็บไว้ในปริมาณที่จ�ำเป็นต้องใช้เท่านั้น และจะต้องขออนุญาต
จากหน่วยราชการที่ควบคุมการใช้สารกัมมันตรังสีด้วย พร้อมทั้งปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำอย่างเคร่งครัด ต้องเก็บ
สารกัมมันตรังสีไว้ในกล่องตะกั่วที่มีความหนาโดยรอบไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว และการหยิบสารกัมมันตรังสีจะต้องใช้
อุปกรณ์ที่ออกแบบโดยเฉพาะ
• ขณะทดลองเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสี ผู้ทดลองจะต้องอยู่ไกลจากแหล่งก�ำเนิดกัมมันตภาพรังสีให้มากที่สุด และ
ต้องใช้เวลาในการทดลองให้น้อยที่สุด ผู้ทำ� การทดลองและผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีเครื่องวัดกัมมันตภาพรังสีติดตัว
ไว้ตรวจสอบปริมาณรังสีที่ได้รับตลอดเวลา เพื่อป้องกันการรับรังสีเกินมาตรฐานความปลอดภัย
4) ความปลอดภัยจากไฟไหม้
เมื่อเกิดไฟไหม้ขึ้นในห้องปฏิบัติการ ผู้ปฏิบัติการและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องออกจากห้องปฏิบัติการทันที แล้วดึง
สญั ญาณแจ้งเตือนเหตุไฟไหม้ พร้อมเรียกให้คนช่วยเหลือ และจะต้องมีสารเคมีทใี่ ช้ในการดับไฟอยูป่ ระจ�ำห้องปฏิบตั ิ
การและมีสภาพพร้อมใช้งาน โดยผู้ใช้ห้องปฏิบัติการทุกคนต้องมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ กลไกการท�ำงานของการ
ดับไฟ เพื่อให้สามารถใช้ได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพ ซึ่งสารที่น�ำมาใช้ดับไฟได้ มีดังนี้
• น�้ำ ช่วยท�ำให้เชื้อเพลิงที่ก�ำลังลุกไหม้ลดอุณหภูมิลงได้ และไม่มีการลุกไหม้เพิ่มขึ้นใหม่ โดยน�้ำใช้ดับไฟที่เกิด
จากเชื้อเพลิงประเภทของแข็งได้ดี แต่ไม่ควรใช้ดับไฟที่เกิดจากสารประเภทของเหลวที่ไวไฟ เนื่องจากจะท�ำให้
ของเหลวกระจายออกเป็นบริเวณกว้าง และของเหลวส่วนทีอ่ ยูบ่ นผิวน�ำ้ ยังคงลุกไหม้และท�ำให้ไฟลุกลามต่อไปได้
• โฟมของคาร์บอนไดออกไซด์ มีลกั ษณะเป็นฟองทีม่ สี มบัตกิ นั อากาศไม่ให้เข้าไปถึงบริเวณทีเ่ กิดไฟไหม้ และป้องกัน
ไม่ให้เชื้อเพลิงระเหยเพิ่มเติมออกมาอีก จึงท�ำให้เปลวไฟลดลงและดับในที่สุด
• แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารที่ใช้ในอุปกรณ์ดับเพลิงทั่วไป แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะหนักกว่าอากาศ เมื่อ
เข้าไปผสมอยูก่ บั อากาศในบริเวณไฟไหม้เป็นปริมาณมาก ๆ จะท�ำให้ปริมาณของแก๊สออกซิเจนในอากาศบริเวณ
นั้นเจือจางลง จึงท�ำให้เปลวไฟลดและดับในที่สุด
• ไอของสารอินทรีย์บางชนิด สารอินทรีย์บางชนิดที่เป็นของเหลวที่ระเหยเป็นไอได้ง่าย และหนักกว่าอากาศ เมื่อ
ไอของสารนี้ลอยอยู่เหนือบริเวณไฟไหม้ ก็จะเข้าไปแทนที่อากาศบริเวณนั้น จึงท�ำให้ไฟไม่ลุกลามต่อไป ซึ่งสาร
อินทรีย์ที่ใช้โดยทั่วไป คือ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ จะใช้ดับไฟกรณีที่ไฟไหม้บริเวณนอกอาคาร แต่สารอินทรีย์
ชนิดนี้จะมีอันตรายต่อร่างกายมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวังและต้องไม่ใช้ดับไฟที่เกิดจากการลุกไหม้ของโลหะ
โซเดียม หรือโพแทสเซียม เพราะอาจเกิดการระเบิดขึ้นได้

T104
3. การปฐมพยาบาล
การปฏิบัติการทุกครั้งจะต้องท�ำด้วยความระมัดระวังหรือมีการป้องกันที่ดี เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น แต่
อย่างไรก็ตาม หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นแล้วจะต้องแก้ไขสถานการณ์และปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ทันที จึงต้องมีความรู้
ความเข้าใจในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ซึ่งสรุปได้ดังตาราง
ตาราง สรุปข้อมูลการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหากเกิดอุบัติเหตุในห้องปฏิบัติการ
อุบัติเหตุ การปฐมพยาบาล
แก้วบาด ถ้าแก้วบาดเล็กน้อย ให้ห้ามเลือดโดยใช้ผ้าที่สะอาดพับหนา ๆ กดลงบนบาดแผล กรณีที่มี
เลือดไหลออกมามาก ควรใช้ผ้ารัดเหนือบริเวณบาดแผล และน�ำส่งแพทย์ทันที
ไฟลวกหรือโดนของร้อน ใช้นำ�้ ล้างมาก ๆ และห้ามล้างด้วยสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แล้วปิดด้วยผ้าพัน
แผลทีแ่ ห้งหรือสะอาด ถ้าไฟลวกมากให้รบี น�ำส่งแพทย์
สารเคมีถูกผิวหนัง ล้างบริเวณนัน้ ด้วยน�ำ้ สะอาดปริมาณมาก ๆ ในทันที เพือ่ ป้องกันสารซึมเข้าผิวหนังหรือท�ำลาย
เซลล์ผิว และหากมีสารถูกผิวหนังในปริมาณมากต้องรีบน�ำส่งแพทย์ พร้อมกับแจ้งชนิดของ
สารให้แพทย์ทราบ เพื่อจะได้แก้ไขอย่างถูกต้องทันที
สารเข้าตา ล้างด้วยน�้ำสะอาดปริมาณมากในทันทีเป็นเวลานานไม่น้อยกว่า 15 นาที เพื่อให้สารเจือจาง
หรือหมดไป และรีบน�ำส่งแพทย์ทันที
สูดไอหรือแก๊ส ต้องรีบออกจากบริเวณนั้นไปอยู่ในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก พยายามสูดอากาศ
บริสทุ ธิ์ให้เต็มที่ กรณีที่ได้รบั สารเข้าร่างกายในปริมาณมากและหมดสติ ต้องใช้วธิ กี ารผายปอด
หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ และน�ำส่งแพทย์ทันที
การกลืนกินสารเคมี ต้องรีบน�ำส่งแพทย์ทันที พร้อมทั้งน�ำตัวอย่างสารหรือสลากไปด้วย เพื่อแจ้งให้แพทย์ได้ช่วย
เหลือและให้การรักษาได้ถูกต้องทันที
ถูกกระแสไฟฟ้าดูด รีบตัดกระแสไฟฟ้าทันที โดยการถอดเต้าเสียบหรือยกสะพานไฟ หรือใช้ฉนวนผลักหรือฉุดให้ผทู้ ี่
ได้รบั อันตรายออกจากแหล่งกระแสไฟฟ้า หรือเขีย่ สายไฟฟ้าให้หลุดออกไปจากตัวผูบ้ าดเจ็บ
ห้ามใช้มอื เปล่าแตะต้องตัวผูท้ กี่ ำ� ลังได้รบั อันตรายจากกระแสไฟฟ้า เมือ่ น�ำผูถ้ กู กระแสไฟฟ้า
ดูดออกจากแหล่งกระแสไฟฟ้าได้แล้ว ต้องท�ำการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นโดยการผายปอดหรือ
เป่าปากให้ปอดท�ำงาน นวดหัวใจแล้วรีบน�ำส่งแพทย์ทันที

4. สิ่งที่ต้องค�ำนึงถึงในการปฏิบัติและเขียนรายงานการปฏิบัติกิจกรรม
• วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ ขั้นก�ำหนดปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นตรวจสอบสมมติฐาน
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล และขั้นสรุปผล
• ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การค�ำนวณ การทดลอง การตั้งสมมติฐาน
• จติ วิทยาศาสตร์ เช่น ความรับผิดชอบ ความมีเหตุผล การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ นื่
การท�ำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
• จ ริยธรรมทางวิทยาศาสตร์ เช่น ความซื่อสัตย์ ความรอบคอบ ความน่าเชื่อถือ
สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะท�ำให้ผู้เรียนหรือผู้ปฏิบัติกิจกรรมมีคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยที่เกิดจากการศึกษาหาความรู้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง

T105
บรรณานุ ก รม
กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. 2550. สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์ น�ำไปสู่การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
ชุติมา วัฒนะคีรี. 2549. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ทิศนา แขมมณี. 2556. ศาสตร์การสอน องค์ความรูเ้ พือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่ 17. กรุงเทพฯ :
ด่านสุทธาการพิมพ์
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ส�ำนักงาน. 2549. หนังสือชุดกิจกรรมส่งเสริม
การเรียนรู้ “การสืบค้นทางวิทยาศาสตร์” ระดับมัธยมศึกษา. ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ.
พิมพ์พนั ธ์ เดชะคุปต์. 2544. การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธกี ารสอนแบบสืบสวน. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุฟ๊ แมเนจเม้นท์.
ภพ เลาหไพบูลย์. 2542. แนวการสอนวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
มติพล ตัง้ มติธรรม. 2558. หนังสือเสริมสร้างศักยภาพและทักษะ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 3 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
. 2563. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
วิจารณ์ พานิช. 2555. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ตถาตา พับลิเคชั่น.
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, ส�ำนัก. 2553. แนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. 2560. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. 2554. คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สรศักดิ์ แพรค�ำ. 2544. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. อุบลราชธานี : สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.
ส�ำนักบริหารวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีปญั ญาภิวฒ ั น์, แผนกบริหารหลักสูตร. 2557. เอกสารเผยแพร่ความรูว้ ชิ าการศึกษา :
วิธีการสอน (Teaching Methodology). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์.
สุวทิ ย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ. 2547. 21 วิธจี ดั การเรียนรู้ : เพือ่ พัฒนากระบวนการคิด. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

T106
สร้างอนาคตเด็กไทย
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก
ĔïðøąÖĆîÙčèõćóÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšøć÷üĉßćđóĉęöđêĉö

คู่มือครู
ĀîĆÜÿČĂđøĊ÷îøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ēúÖǰ éćøćýćÿêøŤǰ ĒúąĂüÖćýǰ ßĆĚîöĆí÷ö
ýċÖþćðŘìĊęǰ  đúŠöǰ êćöñúÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÖúŠčöÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎšüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ÞïĆïðøĆïðøčÜǰóýǰ
 ǰêćöĀúĆÖÿĎêøĒÖîÖúćÜÖćøýċÖþć×ĆîĚ óČîĚ åćîǰóčìíýĆÖøćßǰǰđúŠöîĊǰĚ ïøĉþìĆ ǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆéǰ
đðŨîñĎÝš ĆéóĉöóŤđñ÷ĒóøŠĒúąÝĞćĀîŠć÷ǰēé÷ĕéšÝĆéìĞćÙĞćĂíĉïć÷øć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęöĊìĆĚÜñúÖćøđøĊ÷îøĎǰš ÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎš
đóĉęöđêĉöĒúąĂÜÙŤðøąÖĂïÿĞćÙĆâĂČęîìĊęÿĞćîĆÖóĉöóŤÝĆéìĞć×ċĚîǰ đóČęĂĔĀšÿëćîýċÖþćĕéšđìĊ÷ïđÙĊ÷ÜÖĆïĀúĆÖÿĎêø×ĂÜ

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒà¾ÔèÁàµÔÁÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ âÅ¡ ´ÒÃÒÈÒʵÏ áÅÐÍÇ¡ÒÈ Á.6 àÅ‹Á 2


ÿëćîýċÖþćĒúąóĉÝćøèćđúČĂÖĔßšĀîĆÜÿČĂîĊĚðøąÖĂïÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ĔĀšÿĂéÙúšĂÜÖĆïĀúĆÖÿĎêøÿëćîýċÖþć
×ĂÜêîĕéšêćöÙüćöđĀöćąÿö
ǰ ǰ ñĎšđøĊ÷ïđøĊ÷Üǰ éøöêĉóúǰǰêĆĚÜöêĉíøøö
ǰ ǰ ñĎšêøüÝǰ ǰ éøüćÿčđìóǰǰĀúüÜìĉó÷Ť
ǰ ǰ ǰ ǰ îć÷íĊø÷čìíŤǰǰúĂ÷úĉï
ǰ ǰ ǰ ǰ îć÷ïčââùìíĉĝǰǰßčîĀÖĉÝ
ǰ ǰ ïøøèćíĉÖćø øýïčâøĆÖþćǰǰÿčîìøíøøö
ïøĉ þĆ ì ǰ ĂĆ Ö þøđÝøĉ â ìĆ ý îŤ ǰ ĂÝìǰ ÝĞ ć ÖĆ é ǰ ×ĂøĆ ï øĂÜüŠ ć ǰ ñĎš đøĊ ÷ ïđøĊ ÷ Üǰ ñĎš ê øüÝǰ Ēúąïøøèćíĉ Ö ćøǰ
éĆÜÖúŠćüǰđðŨîñĎìš öĊę ÙĊ üćöøĎÙš üćöÿćöćøëĔîÖćøÝĆéìĞćĀîĆÜÿČĂîĊĔĚ ĀšöÙĊ üćöëĎÖêšĂÜǰĒúąöĊÙè č õćóĔîÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎš
êćöüĆêëčðøąÿÜÙŤ×ĂÜøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęÖĞćĀîé
ĀćÖñĎšĔßšĀîĆÜÿČĂĀøČĂÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćîóïüŠćǰĀîĆÜÿČĂđúŠöîĊĚöĊךĂïÖóøŠĂÜǰ
đîČĚĂĀćĕöŠëĎÖêšĂÜǰ đÖĉéñúđÿĊ÷Āć÷êŠĂÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÿŠÜñúÖøąìïìĆĚÜéšćîÙčèíøøöǰ Ýøĉ÷íøøöǰ ĒúąÙüćööĆęîÙÜ
×ĂÜßćêĉǰ đöČęĂïøĉþĆìĄǰĕéšìøćïĒúšüǰïøĉþĆìĄǰ÷ĉîéĊÜéÖćøÝĞćĀîŠć÷ìĆîìĊǰ ĒúąđøĊ÷ÖđÖĘïĀîĆÜÿČĂìĊęÝĞćĀîŠć÷ìĆĚÜĀöé
đóČęĂĒÖšĕ×ĔĀšëĎÖêšĂÜǰêúĂéÝîßéĔßšÙŠćđÿĊ÷Āć÷ìĊęđÖĉé×ċĚîÝøĉÜĔĀšÖĆïñĎšìĊęĕéšøĆïÙüćöđÿĊ÷Āć÷îĆĚîǰìĆĚÜîĊĚǰĔĀšđðŨîĕðêćö
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰóýǰǰóøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ  ǰóýǰǰĒúą
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ  ǰóýǰǰøüöìĆĚÜ÷ĉî÷ĂöĔĀšÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć
×ĆĚîóČĚîåćîëĂéëĂîøć÷ßČęĂĀîĆÜÿČĂîĊĚĂĂÖÝćÖïĆâßĊÖĞćĀîéÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšÿĞćĀøĆïđúČĂÖĔßšĔîÿëćîýċÖþćĕðÖŠĂî
ÝîÖüŠćÝąĕéšøĆïĒÝšÜüŠćöĊÖćøĒÖšĕ×ĒúšüǰóøšĂöìĆĚÜÖćøĒÝšÜðøąßćÿĆöóĆîíŤĔĀšÿëćîýċÖþćìøćï

ǰ ǰ
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ îć÷ßĆ÷èøÜÙŤ úĉöðşÖĉêêĉÿĉî
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ÖøøöÖćøñĎšÝĆéÖćøǰïøĉþĆìǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆé

นร.โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.6 เล่ม 2


ISBN : 978 - 616 - 203 - 945 - 4
บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
บริโทร./แฟกซ์
ษท
ั อักษรเจริ ญทัศน์
0 2622 อจท.(อัจำกั
2999 ตโนมัดติ 20 คูส
่ าย)
9 786162 039454
êÐúôĀÖ úèĀÖùĆüโทร./แฟกซ์ 142 òāñöăÙāċíăēðċäăðčôÐãāòā÷āùäòŞ
ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงACT
เทพมหานคร 10200  ČôÿüöÐā÷ðċôŚ ð
ċòĄñè.....................................................................................................................................................................................
www.aksorn.com Aksorn
. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส ่ าย) www.aksorn.com 68.-

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท.
คู่มือครู นร.โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.6 เล่ม 2

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
8 858649 147691
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) 300.-
ID Line : @aksornkrumattayom www.aksorn.com อักษรเจริญทัศน์ อจท.
ราคานีเ้ ป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like