You are on page 1of 194

คู่มือครู

Teacher Script

วิทยาศาสตร์กายภาพ 2
(ฟิสิกส์) ม. 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


รศ. ดร.ณรงค สังวาระนที ผศ. ดร.ชนินันท พฤกษประมูล ผศ. ดร.สุโกสินทร ทองรัตนาศิริ
ผศ. ดร.เอกภูมิ จันทรขันตี นางสาวชุลีพร สุวัฒนาพิบูล
ดร.อุดมเดช ภักดี

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นางสาวศรีภัทรา นาเลิศ นางสาวชุลีพร สุวัฒนาพิบูล
นายธนากร เสรีสกุลธร

พิมพครั้งที่ 5
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 3548012
คํ า แนะนํ า การใช้
คูม อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตร
กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 เลมนี้ จัดทําขึ้นสําหรับใหครูผูสอนใชเปน
แนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ย นและการประกั น คุ ณ ภาพผู  เ รี ย น ตามนโยบายของ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได


เพ นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
หนวยการเรียนรูที่ 1 QÍÐää×͵Œ¹à˵ØÊíÒ¤ÑÞ
ิ่ม áç
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ

เพ คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ
ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเป น ราย ·Õè·íÒãËŒÇѵ¶Ø
ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่หลักสูตรกําหนด บุคคลกอนเขาสูกิจกรรม
3. ครูถามคําถามกระตุนวา ในการเคลื่อนที่ของ
วัตถุทั้งสองลักษณะ มีปริมาณใด ที่เกี่ยวของ
และการเคลื่อนที่ ÊÒÁÒöà¤Å×è͹·Õèä´Œ

กับการเคลื่อนที่บาง และใหนักเรียนชวยกัน ตัวชี้วัด

ิ่ม ตอบคําถามปากเปลาโดยไมมีการเฉลยวาถูก ว 2.2 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4

เพ Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ หรือผิด ม.5/5


4. ครูใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเกิดปญหาและ
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี สืบเสาะหาความรูเพื่อใหไดคําตอบ โดยใช
คํ า ถาม Big Question จากหนั ง สื อ เรี ย น
ประสิทธิภาพ วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสกิ ส) ม.5 วา “อะไร
คือตนเหตุสําคัญที่ทําใหวัตถุสามารถเคลื่อนที่
ได”
ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ
เพ
5. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบความเขาใจกอน
เรียนจาก Understanding Check จากหนังสือ
เรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
จั ด การเรี ย นการสอนทั้งหมดของรายวิชากอนที่จะลงมือ
สอนจริง U n de r s t a n di n g
แนวตอบ Big Question Check

ิ่ม แรง ทําใหวัตถุเปลี่ยนรูปราง เปลี่ยนทิศทาง


เพ Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ถูก / ผิด
และทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งได ซึ่ง 1. การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวมีเพียงการเคลื่อนที่แนวตรงเท่านั้น
แรงสามารถเปลี่ยนความเร็วของวัตถุได และทําให 2. แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาเป็นแรงที่มีขนาดเท่ากันและมีทิศตรงข้ามกันจึงเป็นแรงสมดุล

ุด
สม
ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย

ใน
วัตถุเกิดความเรง จึงกลาวไดวา แรงเปนตนเหตุที่ 3. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งไฮเพอร์โบลา

ลง
ทึ ก
ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ได

บั น
4. การเคลื่อนที่ที่ความเร่งมีทิศตั้งฉากกับความเร็วตลอดเวลา คือ การเคลื่อนที่แบบวงกลม
5. การเคลื่อนที่แบบสั่นแต่ละรอบต้องผ่านต�าแหน่งสมดุล 2 ครั้งเสมอ

ิ่ม
แนวตอบ Understanding Check

เพ Chapter Concept Overview ชวยใหเ ห็นภาพรวม 1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด 4. ถูก 5. ถูก

Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู เกร็ดแนะครู


การจัดการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ จะ

ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม มีปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่หลายปริมาณ เชน ระยะทาง การกระจัด

เพ
อัตราเร็ว ความเร็ว และความเรง ซึ่งในวิชาฟสิกสจะมีตัวแปรที่ใชแทนปริมาณ
เหลานี้ เพือ่ ใหงา ยตอการเขียน การคํานวณ และการนําไปประยุกตใช ในระหวาง
ความพรอมของผูเรียนสูการสอบในระดับตาง ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรูครูอาจจะใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียนวาปริมาณ
นั้นๆ ใชตัวแปรอะไรในการเขียนแทน และเปนตัวแปรที่นิยมใชกันทั่วไป

ิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา


เพ โซน 3
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต โซน 2
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21 T6

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


การเรียนการสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหครูผูสอน ประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ที่เปนประโยชนสําหรับครู
โดยแนะนําขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอยางละเอียด เพื่อนําไปประยุกตใชจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน
เพื่อใหนักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู เกร็ดแนะครู
ความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอสังเกต แนวทางการจัด
นํา สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรมและอื่น ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรู  เ พิ่ ม เติ ม จากเนื้ อ หา สํ า หรั บ อธิ บ ายเสริ ม เพิ่ ม เติ ม ให กั บ
นักเรียน
โดยใช หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 และแบบฝกหัด
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
เปนสือ่ หลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพือ่ ใหสอดคลองตามมาตรฐานการเรียนรูแ ละ
ตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคูมือครูเลมนี้มีองคประกอบที่งายตอการใชงาน ดังนี้

โซน 1 นํา นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. การเคลื่อนที่แนวตรง Prior Knowledge 6. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ ประกอบด ว ยแนวทางสํ า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
เรียน กับนักเรียนวา “การเคลื่อนที่แนวตรง
ในชีวติ ประจ�าวันเราสามารถพบเห็นวัตถุตา่ ง ๆ ทัง้ ในสภาพ กำรàคล×อ่ นทีá่ นวตรง
ที่อยู่นิ่งและในสภาพที่เคลื่อนที่ได้ทั่วไป เช่น การเดิน การวิ่ง ลักÉณะãดที่ äม‹มี ãนกำร
การกระโดด การแล่นของรถหรือเรือ การร่วงของใบไม้ การหมุน àคล×อ่ นทีá่ บบอ×น่ æ
ลักษณะใดที่ไมมีการเคลื่อนที่แบบอื่นๆ” เสนอแนะแนวขอสอบ เพือ่ อํานวยความสะดวกใหแกครูผสู อน
ของกังหัน การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา เป็นต้น แต่ความรู้ความ ขัน้ สอน
สํารวจคนหา

กิจกรรม 21st Century Skills


เข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ได้เกิดขึ้นเมื่อสี่ร้อยกว่าปที่ผ่านมาจากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่ง
ผลการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์สรุปได้ว่า แรงเป็นต้นเหตุที่ท�าให้วัตถุเคลื่อนที่ โดยแรงที่กระท�า 1. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง การ
ต่อวัตถุส่งผลโดยตรงต่อความเร่งในการเคลื่อนที่ของวัตถุ เคลื่อนที่แนวตรง จากหนังสือเรียน
2. ครู ใ ช ส ถานการณ จํ า ลองผลั ก รถทดลองให
เคลื่อนที่ในแนวตรงบนโตะ และปลอยลูกบอล
กิจกรรมที่ใหนักเรียนไดประยุกตใชความรูสรางชิ้นงาน หรือ
ใหตกลงสูพ นื้ หอง แลวตัง้ คําถามกับนักเรียนวา
• ทัง้ รถทดลองและลูกบอลมีแนวการเคลือ่ นที่ ทํากิจกรรมรวบยอดเพือ่ ใหเกิดทักษะทีจ่ าํ เปนในศตวรรษที่ 21
อยางไร
(แนวตอบ เคลื่อนที่เปนแนวเสนตรง)

ภาพที่ 1.1 การแข่งขันว่ายน�า้ ในลูว่ า่ ยมีลกั ษณะการเคลือ่ นที่


ในแนวตรง
ภาพที่ 1.2 รถไฟฟาเคลื่อนที่บนรางตรง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• ลักษณะการเคลือ่ นทีข่ องทัง้ สองกรณีเหมือน
หรือแตกตางกันอยางไร ขอสอบเนนการคิด
(แนวตอบ เคลื่อนที่เปนแนวเสนตรงเหมือน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง (linear motion) คือ การเคลือ่ นทีไ่ ปตามเส้นทางทีเ่ ป็นเส้นตรง ซึง่ เป็น
กัน แตจะตางกันตรงทีร่ ถทดลองจะเคลือ่ นที่
เปนแนวเสนตรงในแนวระดับ สวนลูกบอล
ตัวอยางขอสอบที่มุงเนนการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พรอม
รูปแบบการเคลื่อนที่ที่ง่ายที่สุด เช่น การเคลื่อนที่ของรถไฟที่แล่นบนรางตรงบนพื้นระดับ ดังภาพ
ที่ 1.2 การตกของก้อนหินจากความสูงในแนวดิง่ เป็นต้น การเคลือ่ นทีแ่ นวตรงอาจเป็นการเคลือ่ นที่
จะเคลื่อนที่เปนแนวเสนตรงในแนวดิ่ง)
เฉลยอยางละเอียด
ด้วยความเร็วคงตัวหรือความเร่งเป็นศูนย์ เมื่อสังเกตจะได้ว่า การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวนี้
มีเฉพาะการเคลือ่ นทีแ่ นวตรงเท่านัน้ การเคลือ่ นทีร่ ปู แบบอืน่ ล้วนเป็นการเคลือ่ นทีแ่ บบมีความเร่ง
ทั้งสิ้น การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ที่นักเรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่ายกว่าการ
เคลื่อนที่แบบอื่นที่มีลักษณะซับซ้อนมากขึ้น ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
กล่าวได้ว่า การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุจากต�าแหน่งหนึ่งไปอีกต�าแหน่ง
หนึ่ง โดยมีแนวเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง สามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี ได้แก่
• การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ
ตัวอยางขอสอบที่มุงเนนการคิดวิเคราะห และสอดคลองกับ
1
• การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การตกแบบเสรี (free fall) แนวตอบ Prior Knowledge
การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ และการ
แนวขอสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พรอมเฉลยอยาง
แรงและการเคลื่อนที่ 3
เคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง ละเอียด
ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู
การเคลื่อนที่ในขอใดตางจากขออื่น 1 การตกแบบเสรี เปนการเคลือ่ นทีแ่ นวตรงซึง่ วัตถุจะเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ ภาย
กิจกรรมทาทาย
1. ทุเรียนสุกหลนจากตน
2. กอนหินกลิ้งตกจากหนาผาสูง
ใตอิทธิพลแรงโนมถวงของโลก หรือเปนการเคลื่อนที่อยางอิสระของวัตถุ โดยมี
ความเรงคงตัวเทากับความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก มีทิศทางพุงลงสู เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ตอยอดสําหรับนักเรียน
3. นักกีฬากระโดดรมลงจากเครื่องบิน จุดศูนยกลางของโลก เมื่อแรงที่กระทําตอวัตถุที่กําลังตกมีเพียงแคแรงโนมถวง
4. นักกีฬาวิ่งทางตรงระยะทาง 400 เมตร
5. การเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอลลงหวง
เพียงแรงเดียว จึงถือวาวัตถุนั้นมี “การตกแบบอิสระ” วัตถุที่ตกแบบอิสระจะมี
ความเรงในขณะที่ตกลงมา เพราะการตกอยางอิสระแรงโนมถวงเปนแรงที่ไม
ทีเ่ รียนรูไ ดอยางรวดเร็ว และตองการทาทายความสามารถใน
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากการเคลื่อนที่ทุกขอเปนการเคลื่อนที่
ที่มีความเรงเขามาเกี่ยวของ คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง
สมดุล และแรงที่ไมสมดุลจะทําใหวัตถุมีความเรง ระดับที่สูงขึ้น
ของโลก ยกเวนการวิ่งของนักกีฬาที่วิ่งทางตรงเปนระยะทาง 400
เมตร เปนการเคลื่อนที่แนวตรงดวยความเร็วคงตัวตามแนวระดับ
โซน 3
จึงทําใหไมมีความเรง ดังนั้น ตอบขอ 4.) โซน 2 กิจกรรมสรางเสริม
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่
T7
ควรไดรับการพัฒนาการเรียนรู

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมินผล


คําอธิบายหรือขอเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือขอควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุ ผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของ
ตามเนื้อหาในบทเรียน นักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีห่ ลักสูตรกําหนด
สื่อ Digital
แนะนําแหลงเรียนรูและแหลงคนควาจากสื่อ Digital ตาง ๆ
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง / ปี

ศึกษา วิเคราะห์ และแปลความหมายของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ เช่น ระยะทาง การกระจัด


อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง ลักษณะของแรง การหาแรงลัพธ์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมและปริมาณทีเ่ กีย่ วข้องกับการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม แรงสูศ่ นู ย์กลาง ความเร่งสูศ่ นู ย์กลาง การประยุกต์
ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลมในการอธิบายการเคลื่อนที่ของรถบนถนนโค้ง การแกว่งของวัตถุติดปลายเชือก
การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก ประโยชน์
จากสนามโน้มถ่วง แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า ผลของสนามไฟฟ้าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ประโยชน์จากสนามไฟฟ้า
แรงแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก ผลของสนามแม่เหล็กต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กต่อตัวน�ำที่มีกระแส
ไฟฟ้า ประโยชน์จากสนามแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน พลังงานในชีวิตประจ�ำวัน พลังงาน
ทดแทนประเภทสิ้นเปลือง พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน ไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานนิวเคลียร์ฟิชชัน พลังงานนิวเคลียร์ฟิวชัน เทคโนโลยีด้านพลังงาน คลื่นกล ส่วนประกอบของคลื่นกล อัตราเร็วของ
คลื่น สมบัติของคลื่น เสียง สมบัติของเสียง ระดับเสียง ความเข้มเสียง หูกับการได้ยิน บีต ดอปเพลอร์ ความถี่ธรรมชาติ
และการสั่นพ้อง การน�ำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์ แสง ตากับการมองเห็น การผสมแสงสี การผสมสารสี และการใช้
ประโยชน์ การบอดสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์ควบคุม
ระยะไกล การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการสื่อสารข้อมูล สัญญาณแอนะล็อก และสัญญาณดิจิทัล
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การส�ำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การอภิปราย และสรุปผล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้และน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้อง

ตัวชี้วัด
ว 2.2 ม.5/1 วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ เพือ่ อธิบายความเร่งของวัตถุ
ว 2.2 ม.5/2 สงั เกตและอธิบายการหาแรงลัพธ์ทเี่ กิดจากแรงหลายแรงทีอ่ ยูใ่ นระนาบเดียวกันทีก่ ระท�ำต่อวัตถุ โดยการเขียน
แผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์
ว 2.2 ม.5/3 สังเกต วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อวัตถุและมวล
ของวัตถุ
ว 2.2 ม.5/4 สังเกตและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ
ว 2.2 ม.5/5 สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลม และการเคลื่อนที่แบบสั่น
ว 2.2 ม.5/6 สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงโน้มถ่วงที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ รอบโลก
ว 2.2 ม.5/7 สังเกตและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้า
ว 2.2 ม.5/8 ส งั เกตและอธิบายแรงแม่เหล็กทีก่ ระท�ำต่ออนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าทีเ่ คลือ่ นทีใ่ นสนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ที่กระท�ำต่อลวดตัวน�ำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายหลักการท�ำงานของมอเตอร์
ว 2.2 ม.5/9 สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟ รวมทั้งยกตัวอย่างการน�ำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 2.2 ม.5/10 สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงเข้มและแรงอ่อน
ว 2.3 ม.5/1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชันและฟิวชัน และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานที่
ปลดปล่อยออกมาจากฟิชชันและฟิวชัน
ว 2.3 ม.5/2 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีที่น�ำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงาน โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและ
ความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย
ว 2.3 ม.5/3 สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น
ว 2.3 ม.5/4 สังเกตและอธิบายความถี่ธรรมชาติ การสั่นพ้อง และผลที่เกิดขึ้นจากการสั่นพ้อง
ว 2.3 ม.5/5 สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่นของคลื่นเสียง
ว 2.3 ม.5/6 สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มเสียงกับระดับเสียงและผลของความถี่กับระดับเสียงที่
มีต่อการได้ยินเสียง
ว 2.3 ม.5/7 สังเกตและอธิบายการเกิดเสียงสะท้อนกลับ บีต ดอปเพลอร์ และการสั่นพ้องของเสียง
ว 2.3 ม.5/8 สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างการน�ำความรู้เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวัน
ว 2.3 ม.5/9 สังเกตและอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุ และความผิดปกติในการมองเห็นสี
ว 2.3 ม.5/10 สังเกตและอธิบายการท�ำงานของแผ่นกรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการน�ำไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจ�ำวัน
ว 2.3 ม.5/11 สบื ค้นข้อมูลและอธิบายคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า และหลักการท�ำงานของอุปกรณ์
บางชนิดที่อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ว 2.3 ม.5/12 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ และเปรียบเทียบ
การสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล
รวม 22 ตัวชี้วัด
Pedagogy
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 รวมถึงสื่อการเรียนรูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ชั้น ม.5 ผูจัดทําไดออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเปนวิธี
การจัดการเรียนรูและเทคนิคการสอนที่เปยมดวยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายใหกับผูเรียน เพื่อใหผูเรียนสามารถ
บรรลุผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเ รียนทีห่ ลักสูตร
กําหนดไว โดยครูสามารถนําไปใชจัดการเรียนรูในชั้นเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ไดนํารูปแบบการสอน
แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) มาใชในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ดวยจุดประสงคของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เพื่อชวย
ุนความสนใจ
ใหผูเรียนไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค กระต
คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการคนควาหาความรู และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
eEvvaluatio ล
ความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ ผูจัดทําจึงไดเลือกใช

รวจ

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเปนขั้นตอนการเรียนรูที่มุงเนนใหผูเรียนไดมีโอกาสสราง
องคความรูดวยตนเองผานกระบวนการคิดและการลงมือทํา โดย
5Es
ใช กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร เ ป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ เพื่ อ การ
bo 4 3

n
El a

tio
พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะการเรียนรู ratio ana
ขย

รู
คว pl

าม
n E x ว
าย

แหงศตวรรษที่ 21 ามเ ายค


ขาใจ อ ธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผูจัดทําเลือกใชวิธีสอนที่หลากหลาย เชน การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุมยอย เพื่อสงเสริมการเรียนรู


รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) ใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเนนใชวิธีสอน
โดยใชการทดลองมากเปนพิเศษ เนื่องจากเปนวิธีสอนที่มุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดองคความรูจากประสบการณตรงโดย
การคิดและการลงมือทําดวยตนเอง อันจะชวยใหผูเรียนมีความรูและเกิดทักษะทางวิทยาศาสตรที่คงทน

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

ผูจ ดั ทําเลือกใชเทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ สงเสริมวิธสี อนใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เชน การใชคําถาม การเลนเกม เพื่อนชวยเพื่อน ซึ่งเทคนิคการสอนตาง ๆ จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความสุขใน
ขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งไดพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกดวย
Teacher Guide Overview
วิ ท ยาศาสตร์ ก ายภาพ 2 (ฟิ สิ ก ส์ ) ม.5
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

1 1. ว ิ เ คราะห์ แ ละแปลความหมาย
ข้อมูลความเร็วกับเวลาของการ
- ทักษะการวิเคราะห์
- ทักษะการทดลอง
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- สังเกตการน�ำเสนอและอภิปราย
- หนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน
แรงและการ เคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ เพื่ อ อธิ บ าย - ทักษะการสื่อสาร เกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ วิทยาศาสตร์
เคลื่อนที่ ความเร่งของวัตถุ (ว 2.2 ม.5/1) - ทักษะการสังเกต - สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมการหา กายภาพ 2
2. สงั เกตและอธิบายการหาแรงลัพธ์ - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน อัตราเร็วเฉลี่ย การหาขนาดและ (ฟิสิกส์) ม.5
ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่อยู่ใน - ทักษะการน�ำความรู้ไปใช้ ทิศทางของแรงลัพธ์ แรงกับ - แบบฝึกหัด
ระนาบเดียวกันที่กระท�ำต่อวัตถุ ความเร่ง เครื่องยิงโพรเจกไทล์ รายวิชาพื้นฐาน
โดยการเขียนแผนภาพการรวม การเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวดิ่ง วิทยาศาสตร์
แบบเวกเตอร์ (ว 2.2 ม.5/2) และการเคลื่อนที่แบบแกว่ง กายภาพ 2
3. สังเกต วิเคราะห์ และอธิบาย - ตรวจผังมโนทัศน์ (ฟิสิกส์) ม.5
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ง - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบ
ของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระท�ำ 16 - ตรวจแบบฝึกหัด ก่อนเรียน
ต่อวัตถุและมวลของวัตถุ ชั่วโมง - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - แบบทดสอบ
(ว 2.2 ม.5/3) รายบุคคล หลังเรียน
4. ส ังเกตและอธิบายแรงกิริยาและ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ใบงาน
แรงปฏิกริ ยิ าระหว่างวัตถุคหู่ นึง่ ๆ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - PowerPoint
(ว 2.2 ม.5/4) - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - QR Code
5. ส ังเกตและอธิบายผลของ - ภาพยนตร์สารคดี
ความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่ สั้น Twig
แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การ
เคลื่อนที่แนวตรง การเคลื่อนที่
แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่
แบบวงกลม และการเคลื่อนที่
แบบสั่น (ว 2.2 ม.5/5)

2 1. ส ืบค้นข้อมูลและอธิบาย
แรงโน้มถ่วงที่เกี่ยวกับการ
- ทักษะการวิเคราะห์
- ทักษะการทดลอง
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- สังเกตการน�ำเสนอและอภิปราย
แรงในธรรมชาติ เคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ รอบโลก - ทักษะการสื่อสาร เกี่ยวกับแรงในธรรมชาติ
(ว 2.2 ม.5/6) - ทักษะการสังเกต - สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม
2. สังเกตและอธิบายการเกิดสนาม - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนาม
แม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้า - ทักษะการน�ำความรู้ไปใช้ โน้มถ่วงของโลก ผลของสนาม
(ว 2.2 ม.5/7) แม่เหล็กต่อล�ำอิเล็กตรอน ผลของ
3. ส ังเกตและอธิบายแรงแม่เหล็กที่ สนามแม่เหล็กต่อตัวน�ำที่มีกระแส
กระท�ำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ไฟฟ้า มอเตอร์อย่างง่าย และ
ที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กและ กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ
แรงแม่ เ หล็ ก ที่ ก ระท� ำ ต่ อ ลวด 18 - ตรวจผังมโนทัศน์
ตั ว น� ำ ที่ มี ก ระแสไฟฟ้ า ผ่ า นใน ชั่วโมง - ตรวจใบงาน
สนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบาย - ตรวจแบบฝึกหัด
หลักการท�ำงานของมอเตอร์ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
(ว 2.2 ม.5/8) รายบุคคล
4. ส ังเกตและอธิบายการเกิด - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
อีเอ็มเอฟ รวมทั้งยกตัวอย่าง - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การน�ำความรู้ไปใช้ประโยชน์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
(ว 2.2 ม.5/9)
5. ส ืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงเข้ม
และแรงอ่อน (ว 2.2 ม.5/10)
หน่วย เวลาที่
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้ ใช้

3 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงาน
นิวเคลียร์ฟิชชันและฟิวชัน และ
- ทักษะการวิเคราะห์
- ทักษะการสื่อสาร
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- สังเกตการน�ำเสนอและอภิปราย
- หนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน
พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน - ทักษะการสังเกต เกี่ยวกับพลังงาน วิทยาศาสตร์
ที่ปลดปล่อยออกมาจากฟิชชันและ - ทักษะการท�ำงาน - ตรวจผังมโนทัศน์ กายภาพ 2
ฟิวชัน (ว 2.3 ม.5/1) ร่วมกัน - ตรวจใบงาน (ฟิสิกส์) ม.5
2. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยน - ทักษะการน�ำความรู้ 8 - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัด
พลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า ไปใช้ ชั่วโมง - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน รายวิชาพืน้ ฐาน
รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับ รายบุคคล วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีที่นำ� มาแก้ปัญหาหรือตอบ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม กายภาพ 2
สนองความต้องการทางด้านพลังงาน - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ฟิสิกส์) ม.5
โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - แบบทดสอบ
คุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย (ว 2.3 ม.5/2) ก่อนเรียน
- แบบทดสอบ
4 1. สังเกตและอธิบายการสะท้อน
การหักเห การเลี้ยวเบน และ
- ทักษะการวิเคราะห์
- ทักษะการทดลอง
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- สังเกตการน�ำเสนอและอภิปราย หลังเรียน
คลื่น การรวมคลื่น (ว 2.3 ม.5/3) - ทักษะการสื่อสาร เกี่ยวกับคลื่น - ใบงาน
2. สังเกตและอธิบายความถี่ธรรมชาติ - ทักษะการสังเกต - สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม - PowerPoint
การสั่นพ้อง และผลที่เกิดขึ้นจากการ - ทักษะการท�ำงาน การสะท้อนของคลื่นผิวน�้ำ - QR Code
สั่นพ้อง (ว 2.3 ม.5/4) ร่วมกัน การหักเหของคลื่นผิวน�้ำ การเลี้ยว - ภาพยนตร์สารคดี
3. สังเกตและอธิบายการสะท้อน - ทักษะการน�ำความรู้ เบนของคลื่นผิวน�้ำ การแทรกสอด สั้น Twig
การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวม ไปใช้ ของคลื่นผิวน�้ำ การเกิดบีตของ
คลื่นของคลื่นเสียง (ว 2.3 ม.5/5) เสียง และการผสมแสงสีบนฉาก
4. สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ ขาว
ระหว่างความเข้มเสียงกับระดับเสียง - ตรวจผังมโนทัศน์
และผลของความถี่กับระดับเสียงที่มีต่อ - ตรวจใบงาน
การได้ยินเสียง (ว 2.3 ม.5/6) - ตรวจแบบฝึกหัด
5. สังเกตและอธิบายการเกิดเสียงสะท้อน - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
กลับ บีต ดอปเพลอร์ และ รายบุคคล
การสั่นพ้องของเสียง (ว 2.3 ม.5/7) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
6. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างการน�ำ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ความรู้เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์ 18 - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
ในชีวิตประจ�ำวัน (ว 2.3 ม.5/8) ชั่วโมง
7. สังเกตและอธิบายการมองเห็นสีของ
วัตถุ และความผิดปกติในการมองเห็น
สี (ว 2.3 ม.5/9)
8. สังเกตและอธิบายการท�ำงานของแผ่น
กรองแสงสี การผสมแสงสี การผสม
สารสี และการน�ำไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจ�ำวัน (ว 2.3 ม.5/10)
9. สืบค้นข้อมูลและอธิบาย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และหลักการ
ท�ำงานของอุปกรณ์บางชนิดที่อาศัย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (ว 2.3 ม.5/11)
10. สืบค้นข้อมูลและอธิบายการสื่อสาร
โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการ
ส่งผ่านสารสนเทศ และเปรียบเทียบ
การสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อก
กับสัญญาณดิจิทัล (ว 2.3 ม.5/12)
สารบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ T2 -T3 T4 -T5 T6

• การเคลื่อนที่แนวตรง T7 - T15
• แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน T16 - T31
• การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล T32 - T36
• การเคลื่อนที่แบบวงกลม T37 - T42
• การเคลื่อนที่แบบสั่น T43 - T49
ทายหนวยการเรียนรูที่ 1 T50 - T53

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แรงในธรรมชาติ T54 - T55 T56 - T57 T58

• แรงจากสนามโนมถวง T59 - T67


• แรงจากสนามไฟฟา T68 - T75
• แรงจากสนามแมเหล็ก T76 - T93
• แรงในนิวเคลียส T94 - T98
ทายหนวยการเรียนรูที่ 2 T99 - T101

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาน T102 T103 T104

• พลังงานในชีวิตประจําวัน T105 - T118


• พลังงานนิวเคลียร T119 - T121
• เทคโนโลยีดานพลังงาน T122 - T125
ทายหนวยการเรียนรูที่ 3 T126 - T129

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คลื่น T130 - T131 T132 - T133 T134

• คลื่นกล T135 - T162


• คลื่นแมเหล็กไฟฟา T163 - T179
ทายหนวยการเรียนรูที่ 4 T180 - T182

Fun Science Activity T183


บรรณานุกรม T184
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อ ธิบายความหมาย แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
การเคลื่อนที่ - หนังสือเรียน รายวิชา ของการเคลื่อนที่ หาความรู้ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แนวตรง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ แนวตรงได้ (K) (5Es เกีย่ วกับการเคลื่อนที่ - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 2. สามารถบอกนิยาม Instructional แนวตรง - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
3 ม.5
- แบบฝึกหัด รายวิชา
ของปริมาณตาง ๆ
ที่เกี่ยวของกับการ
Model) - สังเกตการปฏิบัติการ
จากการท�ำกิจกรรม
ร่วมกัน
- ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เคลื่อนที่แนวตรงได - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) (K) - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการทดลอง
ม.5 3. มีทักษะการค�ำนวณ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
- ใบงาน หาปริมาณที่ - ตรวจใบงาน เรื่อง ระยะทาง
- PowerPoint เกี่ยวข้องกับ และการกระจัด
- QR Code การเคลื่อนที่ - ตรวจใบงาน เรื่อง อัตราเร็ว
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ในแนวตรง (P) และความเร็ว
Twig 4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ - ตรวจใบงาน เรื่อง ความเร่ง
อยากรู้อยากเห็น และ - ตรวจแบบฝึกหัด
ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
อย่างสร้างสรรค์ (A) Topic Question
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. สืบค้นข้อมูลการน�ำ แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
กฎการเคลื่อนที่ พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ความรู้เรื่องแรงและ หาความรู้ เกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ของนิวตัน กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) การเคลือ่ นที่ไปใช้ (5Es ของนิวตัน - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 ประโยชน์ในชีวิต Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการน�ำความรู้ การท�ำงาน
6 - แบบฝึกหัด รายวิชา ประจ�ำวันได้ (K)
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 2. อธิบายเกี่ยวกับ
Model) จากการท�ำกิจกรรม
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
ไปใช้
- ทักษะการทดลอง
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ผลของแรงลัพธ์ที่ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง
ม.5 กระท�ำต่อวัตถุได้ (P) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
- ใบงาน 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ - ตรวจใบงาน เรื่อง แรงลัพธ์
- PowerPoint อยากรู้อยากเห็น และ - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Twig อย่างสร้างสรรค์ (A) - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Topic Question
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. อธิบายผลของความ แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
การเคลื่อนที่ พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เร่งทีม่ ตี อ่ การเคลือ่ นที่ หาความรู้ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แบบโพรเจกไทล์ กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) แบบโพรเจกไทล์ได้ (5Es โพรเจกไทล์ - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 (K) Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
2 - แบบฝึกหัด รายวิชา 2. ทดลองและสรุปความ
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ สัมพันธ์ระหว่างมุมยิง
Model) จากการท�ำกิจกรรม
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
ร่วมกัน
- ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) กับระยะตกของวัตถุที่ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ไปใช้
ม.5 เคลื่อนที่แบบ การเคลื่อนที่แบบ - ทักษะการทดลอง
โพรเจกไทล์ได้ (P) โพรเจกไทล์

T2
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 (ต่อ) - ใบงาน 3. ม ีความสนใจใฝ่รู้หรือ - ตรวจใบงาน เรื่อง
การเคลื่อนที่ - PowerPoint อยากรู้อยากเห็น และ การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์
แบบโพรเจกไทล์ - QR Code ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ - ตรวจแบบฝึกหัด
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อย่างสร้างสรรค์ (A) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
2 Twig Topic Question
- สังเกตพฤติกรรม
ชั่วโมง การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. อธิบายผลของ แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
การเคลื่อนที่ พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ความเร่งที่มีต่อการ หาความรู้ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แบบวงกลม กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) เคลื่อนทีแ่ บบวงกลม (5Es วงกลม - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 ได้ (K) Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการน�ำความรู้ การท�ำงาน
2 - แบบฝึกหัด รายวิชา 2. ยกตัวอย่างกิจกรรม
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ในชีวิตประจ�ำวันที่
Model) จากการท�ำกิจกรรม
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
ไปใช้
- ทักษะการทดลอง
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) เกี่ยวข้องกับการ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง
ม.5 เคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบวงกลม
- ใบงาน ได้ (K) - ตรวจใบงาน เรื่อง
- PowerPoint 3. ทดลองและสรุปขนาด การเคลื่อนที่แบบวงกลม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ของแรงสูศ่ นู ย์กลาง ณ - ตรวจแบบฝึกหัด
Twig ต�ำแหน่งต่าง ๆ ของ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
วัตถุที่เคลื่อนที่แบบ Topic Question
วงกลมได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ การท�ำงานรายบุคคล
อยากรู้อยากเห็น และ - สังเกตพฤติกรรม
ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ การท�ำงานกลุ่ม
อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายลักษณะของ แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
การเคลื่อนที่ - หนังสือเรียน รายวิชา การเคลื่อนที่แบบสั่น หาความรู้ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แบบสั่น พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ได้ (K) (5Es แบบสัน่ - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 2. ยกตัวอย่างกิจกรรม Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
3 ม.5 ในชีวิตประจ�ำวันที่ Model) จากการท�ำกิจกรรม ร่วมกัน
- แบบฝึกหัด รายวิชา เกี่ยวข้องกับการ - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม - ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เคลื่อนที่แบบสั่นได้ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) (K) การเคลื่อนที่แบบสั่น - ทักษะการทดลอง
ม.5 3. น�ำหลักการของการ - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ใบงาน เคลื่อนที่แบบสั่นไป การเคลื่อนที่แบบสั่น
- PowerPoint ประยุกต์ใช้ในชีวิต - ตรวจแบบฝึกหัด
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ประจ�ำวันได้ (P) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Twig 4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ Topic Question
อยากรู้อยากเห็น และ - สังเกตพฤติกรรม
ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ การท�ำงานรายบุคคล
อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T3
Chapter Concept Overview
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการเปลี่ยนต�ำแหน่งของวัตถุเมื่อเทียบกับต�ำแหน่งอ้างอิงในช่วงเวลาที่สังเกต มีปริมาณที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์
(ระบุเพียงขนาด) (ระบุทั้งขนาดและทิศทาง)
ระยะทาง (m) การกระจัด (m)
ระยะทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ ระยะแนวเส้นตรงที่สั้นที่สุดมีทิศทางจากจุดเริ่มต้นถึง
จุดสุดท้าย

อัตราเร็ว (m/s) ความเร็ว (m/s)


ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา การกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา
v = ΔΔxt v = ΔΔxt

อัตราเร่ง (m/s2) ความเร่ง (m/s2)


อัตราเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา
a = ΔΔvt a = ΔΔvt

การเคลื่อนที่แนวตรงอาจเป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (ความเร่งเป็นศูนย์) หรือเป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง โดยความเร่ง


ในการเคลื่อนที่แนวตรงมีทั้งความเร่งคงตัวและความเร่งไม่คงตัว ซึ่งการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวมีเฉพาะการเคลื่อนที่แนวตรงเท่านั้น
การเคลื่อนที่รูปแบบอื่นล้วนเป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่งทั้งสิ้น

แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง เป็นการกระท�ำของวัตถุหนึ่งต่ออีกวัตถุหนึ่งซึ่งส่งผลให้วัตถุนั้นเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อมี
แรงสองแรงหรือมากกว่ามากระท�ำต่อวัตถุหนึ่ง การหาแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อวัตถุนั้นต้องใช้วิธีรวมแรงแบบเวกเตอร์ ซึ่งมี 2 วิธี คือ การเขียน
แผนภาพและการค�ำนวณ
กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน เป็นกฎทีใ่ ช้อธิบายผลของแรงต่อสภาพการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุทอี่ ธิบายได้ครอบคลุมและเข้าใจง่าย มีใจความ
ดังนี้

ข้อที่หนึ่ง : ในกรอบอ้างอิงเฉื่อย ถ้าไม่มีแรงภายนอกหรือแรงใด ๆ กระท�ำต่อวัตถุ วัตถุจะรักษาหรือคงสภาพการเคลื่อนที่เดิมไว้ คือ


หยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ต่อไปในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วคงตัว

ข้อที่สอง : เมื่อแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง โดยความเร่งของวัตถุจะแปรผันตรงกับแรงลัพธ์


ที่มากระท�ำต่อวัตถุ แต่จะแปรผกผันกับมวลของวัตถุนั้น

ข้อที่สาม : เมือ่ มีแรงกระท�ำระหว่างวัตถุสองวัตถุ แรงทีว่ ตั ถุทงั้ สองกระท�ำต่อกันจะมีขนาดเท่ากันแต่ทศิ ทางตรงข้ามกัน กล่าวคือ ทุก ๆ


แรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศตรงข้ามกันเสมอ

T4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทลเปนผลรวมของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวระดับดวยความเร็วคงตัวกับการเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ ดวยความเรงคงตัว
(เทากับความเรงโนมถวง) เกิดขึน้ เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีอ่ อกไปในอากาศ โดยความเร็วตนในการเคลือ่ นทีม่ ที ศิ ทางเอียงทํามุมกับแนวระดับ โดย
ความสูงที่วัตถุขึ้นไปถึงและระยะตกขึ้นอยูกับขนาดและทิศทางของความเร็วตนหรือมุมยิง ในกรณีที่มีขนาดความเร็วตนมีคาคงตัว
ความเรงเนื่องจาก
แรงโนมถวงของโลก

จุดสูงสุด
• ความเร็วในแนวดิ่งเปนศูนย
• ความเร็วในแนวระดับเทากับ
86
ความเร็วตนในแนวระดับ 86
จุดตก
จุดเริ่มตน
เวลาที่เงาของวัตถุเคลื่อนที่ในแนวระดับจากจุดเริ่มตน
ไปถึงจุดตกจะเทากับเวลาที่วัตถุใชในการเคลื่อนที่ตาม
เสนโคงจากจุดเริ่มตนไปถึงจุดตก
พื้นระดับ

การเคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบสั่น
การเคลื่อนที่แบบวงกลมเปนการเคลื่อนที่แบบมีความเรง การเคลื่อนที่แบบสั่นเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมารอบ
โดยความเรงมีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลางของวงกลมตลอดเวลา ตําแหนงสมดุลดวยความเรงทีม่ ที ศิ พุง เขาหาตําแหนงสมดุลตลอด
เรียกวา ความเรงเขาสูศูนยกลาง โดยเปนผลมาจากการกระทํา เวลา ความเรงในการเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่ เปนความเรงไมคงตัว มีคา
ของแรงภายนอก ซึ่งมีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลางของวงกลมการ สูงสุดที่ตําแหนงไกลสุดของการสั่น และมีคาเปนศูนยที่ตําแหนง
เคลือ่ นทีเ่ สมอ วัตถุจะเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมไดตอ งมีแรงสูศ นู ยกลาง สมดุล เนื่องจากการกระจัดของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบสั่นมีทิศพุง
ที่มีขนาดพอเหมาะที่กระทําตอวัตถุเทานั้น ออกจากจุดสมดุลตลอดเวลา ความเรงในการเคลื่อนที่แบบสั่น
จึงมีทศิ ทางตรงขามกับการกระจัดตลอดเวลา สงผลใหขนาดของ
ความเร็วในการเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่ ของวัตถุเปลีย่ นแปลงในลักษณะ
v ตรงขามกับความเรง
v
L θθ L
v m m
m m
v
Fc
f = 21π mk f = 21π Lg
ac
v T = 2π mk T = 2π Lg
v

T5
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
หนวยการเรียนรูที่ 1 QÍÐää×͵Œ¹à˵ØÊíÒ¤ÑÞ
áç
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ
ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเป น ราย ·Õè·íÒãËŒÇѵ¶Ø
บุคคลกอนเขาสูกิจกรรม
3. ครูถามคําถามกระตุนวา ในการเคลื่อนที่ของ
วัตถุทั้งสองลักษณะ มีปริมาณใด ที่เกี่ยวของ
และการเคลื่อนที่ ÊÒÁÒöà¤Å×è͹·Õèä´Œ

กับการเคลื่อนที่บาง และใหนักเรียนชวยกัน ตัวชี้วัด


ตอบคําถามปากเปลา โดยไมมีการเฉลยวาถูก ว 2.2 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4
หรือผิด ม.5/5
4. ครูใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเกิดปญหาและ
สืบเสาะหาความรูเพื่อใหไดคําตอบ โดยใช
คํ า ถาม Big Question จากหนั ง สื อ เรี ย น
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสกิ ส) ม.5 วา “อะไร
คือตนเหตุสําคัญที่ทําใหวัตถุสามารถเคลื่อนที่
ได”
5. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบความเขาใจกอน
เรียนจาก Understanding Check จากหนังสือ
เรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว

U n de r s t a n di n g
Check
แนวตอบ Big Question ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ถูก / ผิด
แรง ทําใหวัตถุเปลี่ยนรูปราง เปลี่ยนทิศทาง 1. การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวมีเพียงการเคลื่อนที่แนวตรงเท่านั้น
และทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งได ซึ่ง 2. แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาเป็นแรงที่มีขนาดเท่ากันและมีทิศตรงข้ามกันจึงเป็นแรงสมดุล

ุด
สม
ใน
แรงสามารถเปลี่ยนความเร็วของวัตถุได และทําให 3. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งไฮเพอร์โบลา
ลง
วัตถุเกิดความเรง จึงกลาวไดวา แรงเปนตนเหตุที่ ทึ ก
บั น
4. การเคลื่อนที่ที่ความเร่งมีทิศตั้งฉากกับความเร็วตลอดเวลา คือ การเคลื่อนที่แบบวงกลม
ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ได 5. การเคลื่อนที่แบบสั่นแต่ละรอบต้องผ่านต�าแหน่งสมดุล 2 ครั้งเสมอ

แนวตอบ Understanding Check


1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด 4. ถูก 5. ถูก

เกร็ดแนะครู
การจัดการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ จะ
มีปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่หลายปริมาณ เชน ระยะทาง การกระจัด
อัตราเร็ว ความเร็ว ความเรง ซึ่งในวิชาฟสิกสจะมีตัวแปรที่ใชแทนปริมาณ
เหลานี้ เพือ่ ใหงา ยตอการเขียน การคํานวณ และการนําไปประยุกตใช ในระหวาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรูครูอาจจะใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียนวาปริมาณ
นั้นๆ ใชตัวแปรอะไรในการเขียนแทน และเปนตัวแปรที่นิยมใชกันทั่วไป

T6
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. การเคลื่อนที่แนวตรง Prior Knowledge 6. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
ในชีวติ ประจ�าวันเราสามารถพบเห็นวัตถุตา่ ง ๆ ทัง้ ในสภาพ กำรàคล×อ่ นทีá่ นวตรง เรียน กับนักเรียนวา “การเคลื่อนที่แนวตรง
ที่อยู่นิ่งและในสภาพที่เคลื่อนที่ได้ทั่วไป เช่น การเดิน การวิ่ง ลักÉณะãดที่ äม‹มี ãนกำร ลักษณะใดที่ไมมีการเคลื่อนที่แบบอื่นๆ”
การกระโดด การแล่นของรถหรือเรือ การร่วงของใบไม้ การหมุน àคล×อ่ นทีá่ บบอ×น่ æ
ของกังหัน การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา เป็นต้น แต่ความรู้ความ ขัน้ สอน
เข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ได้เกิดขึ้นเมื่อสี่ร้อยกว่าปที่ผ่านมาจากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่ง สํารวจคนหา
ผลการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์สรุปได้ว่า แรงเป็นต้นเหตุที่ท�าให้วัตถุเคลื่อนที่ โดยแรงที่กระท�า 1. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง การ
ต่อวัตถุส่งผลโดยตรงต่อความเร่งในการเคลื่อนที่ของวัตถุ เคลื่อนที่แนวตรง จากหนังสือเรียน
2. ครู ใ ช ส ถานการณ จํ า ลองผลั ก รถทดลองให
เคลื่อนที่ในแนวตรงบนโตะ และปลอยลูกบอล
ใหตกลงสูพ นื้ หอง แลวตัง้ คําถามกับนักเรียนวา
• ทัง้ รถทดลองและลูกบอลมีแนวการเคลือ่ นที่
อยางไร
(แนวตอบ เคลื่อนที่เปนแนวเสนตรง)
• ลักษณะการเคลือ่ นทีข่ องทัง้ สองกรณีเหมือน
ภาพที่ 1.1 การแข่งขันว่ายน�า้ ในลูว่ า่ ยมีลกั ษณะการเคลือ่ นที่ ภาพที่ 1.2 รถไฟฟาเคลื่อนที่บนรางตรง หรือแตกตางกัน อยางไร
ในแนวตรง ที่มา : คลังภาพ อจท. (แนวตอบ เคลื่อนที่เปนแนวเสนตรงเหมือน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
กัน แตจะตางกันตรงทีร่ ถทดลองจะเคลือ่ นที่
การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง (linear motion) คือ การเคลือ่ นทีไ่ ปตามเส้นทางทีเ่ ป็นเส้นตรง ซึง่ เป็น เปนแนวเสนตรงในแนวระดับ สวนลูกบอล
รูปแบบการเคลื่อนที่ที่ง่ายที่สุด เช่น การเคลื่อนที่ของรถไฟที่แล่นบนรางตรงบนพื้นระดับ ดังภาพ จะเคลื่อนที่เปนแนวเสนตรงในแนวดิ่ง)
ที่ 1.2 การตกของก้อนหินจากความสูงในแนวดิง่ เป็นต้น การเคลือ่ นทีแ่ นวตรงอาจเป็นการเคลือ่ นที่
ด้วยความเร็วคงตัวหรือความเร่งเป็นศูนย์ เมื่อสังเกตจะได้ว่า การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวนี้
มีเฉพาะการเคลือ่ นทีแ่ นวตรงเท่านัน้ การเคลือ่ นทีร่ ปู แบบอืน่ ล้วนเป็นการเคลือ่ นทีแ่ บบมีความเร่ง
ทั้งสิ้น การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ที่นักเรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่ายกว่าการ
เคลื่อนที่แบบอื่นที่มีลักษณะซับซ้อนมากขึ้น
กล่าวได้ว่า การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุจากต�าแหน่งหนึ่งไปอีกต�าแหน่ง
หนึ่ง โดยมีแนวเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง สามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี ได้แก่
• การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ 1
• การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การตกแบบเสรี (free fall)
แนวตอบ Prior Knowledge
แรงและการเคลื่อนที่ 3
การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ และการ
เคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การเคลื่อนที่ในขอใดตางจากขออื่น 1 การตกแบบเสรี เปนการเคลือ่ นทีแ่ นวตรงซึง่ วัตถุจะเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ ภาย
1. ทุเรียนสุกหลนจากตน ใตอิทธิพลแรงโนมถวงของโลก หรือเปนการเคลื่อนที่อยางอิสระของวัตถุ โดยมี
2. กอนหินกลิ้งตกจากหนาผาสูง ความเรงคงตัวเทากับความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก มีทิศทางพุงลงสู
3. นักกีฬากระโดดรมลงจากเครื่องบิน จุดศูนยกลางของโลก เมื่อแรงที่กระทําตอวัตถุที่กําลังตกมีเพียงแคแรงโนมถวง
4. นักกีฬาวิ่งทางตรงระยะทาง 400 เมตร เพียงแรงเดียว จึงถือวาวัตถุนั้นมี “การตกแบบอิสระ” วัตถุที่ตกแบบอิสระจะมี
5. การเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอลลงหวง ความเรงในขณะที่ตกลงมา เพราะการตกอยางอิสระแรงโนมถวงเปนแรงที่ไม
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากการเคลื่อนที่ทุกขอเปนการเคลื่อนที่ สมดุล และแรงที่ไมสมดุลจะทําใหวัตถุมีความเรง
ที่มีความเรงเขามาเกี่ยวของ คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง
ของโลก ยกเวนการวิ่งของนักกีฬาที่วิ่งทางตรงเปนระยะทาง 400
เมตร เปนการเคลื่อนที่แนวตรงดวยความเร็วคงตัวตามแนวระดับ
จึงทําใหไมมีความเรง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T7
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ครูใหนกั เรียนศึกษาปริมาณทีเ่ กีย่ วของกับการ 1.1 »ÃÔÁÒ³·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè¢Í§Çѵ¶Ø
เคลื่อนที่ของวัตถุในสวนของ เรื่อง ระยะทาง การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุเปนการศึกษาการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุ โดยการ
และการกระจัด จากหนังสือเรียน เปลี่ยนแปลงนี้จะทําใหเกิดปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ1 ดังตอไปนี้
4. ครูพูดคุยซักถามเกี่ยวกับ เรื่อง ระยะทางและ 1. ระยะทางและการกระจัด เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ ตําแหนงของวัตถุจะเปลี่ยนไป เชน
การกระจัด พรอมตั้งประเด็นคําถาม เพื่อให ขณะที่รถยนตแลนไปบนทองถนนตําแหนงของรถยนตจะเปลี่ยนไป โดยการเปลี่ยนตําแหนงของ
นักเรียนแสดงความคิดเห็น เชน วัตถุสามารถพิจารณาไดจากปริมาณ ดังตอไปนี้
• ถานักเรียนเดินจากโรงเรียนกลับบานโดยที่ 1) ระยะทาง (distance) คือ ระยะทัง้ หมดทีว่ ดั ไดตามแนวการเคลือ่ นทีจ่ ริงของวัตถุ ตัง้ แต
เดินตรงไปทางทิศใต 500 เมตร แลวเดินตอ จุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่จนถึงจุดสุดทายหรือปลายทางของการเคลื่อนที่ โดยระยะทางจะระบุ
แคขนาดเพียงอยางเดียว ไมระบุทิศทาง ระยะทางจึงจัดวาเปนปริมาณสเกลาร (scalar quantity)
ไปทางทิศตะวันออกอีก 150 เมตร แลวเดิน มีหนวยเปนเมตร (m)
ตอไปทางทิศหนืออีก 500 เมตร จึงถึงบาน 2) การกระจัด (displacement) คือ ปริมาณที่บอกวาตําแหนงของจุดสุดทายของการ
นักเรียนคิดวาระยะทางการเดินจากโรงเรียน เคลื่อนที่ของวัตถุจะอยูหางจากจุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่เทาใด โดยไมคํานึงถึงเสนทางการ
กลับบานเปนเทาไร เคลื่อนที่จริงของวัตถุ การกระจัดจะระบุทั้งขนาดซึ่งเปนระยะที่วัดไดตามแนวเสนตรงเชื่อมตอ
(แนวตอบ ระยะทางทั้งหมดเทากับ 500 + ระหวางจุดเริม่ ตนกับจุดสุดทายของการเคลือ่ นที่ และทิศทางของจุดสุดทายเมือ่ เทียบกับจุดเริม่ ตน
150 + 500 = 1,150 เมตร) จึงจัดวาเปนปริมาณเวกเตอร (vector quantity) ที่มีทิศชี้จากจุดเริ่มตนไปยังจุดสุดทายของการ
• จากการเดิ น ทางกลั บ บ า นของนั ก เรี ย น เคลื่อนที่ของวัตถุ มีหนวยเปนเมตร (m) เชน การบินของนกจากจุด A ไปยังจุด B แลวบินตอไป
ยังจุด C ดังภาพที่ 1.3
อยากทราบวา ระหวางโรงเรียนและบาน
ของนักเรียนมีการกระจัดเทาไร
(แนวตอบ การกระจัดเทากับ 1,150 - 1,000 =
150 เมตร ในทิศตะวันออก)
ระยะทางจากจุด A ไปยังจุด C ของนก
การกระจัดจากจุด A ไปยังจุด C ของนก

A C B
0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 220 240
ภาพที่ 1.3 แผนภาพแสดงระยะทางและการกระจัดจากจุด A ไปยังจุด C ของนก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากภาพที่ 1.3 เมื่อนกบินจากจุด A ไปยังจุด B นกจะบินไดระยะทาง 240 เมตร และ
เมื่อนกบินตอจากจุด B ไปยังจุด C ระยะทาง 80 เมตร แสดงวา ระยะทางที่นกบินตั้งแตจุด A
ไปจนถึงจุด C รวมไดระยะทางเทากับ 240 + 80 = 320 เมตร แตการกระจัดที่นกบินจากจุด A
ไปยังจุด C เทากับ 160 เมตร มีทิศไปทางขวามือ
4

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


จากกราฟการเคลื่อนที่ของวัตถุที่กําหนดให จงหาขนาดของ
1 ตําแหนง การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆ จําเปนตองระบุ ตําแหนง
การกระจัดของการเคลื่อนที่
(position) ของวัตถุ ณ เวลาหนึง่ ๆ ในชวงเวลาทีส่ งั เกต ในการระบุตาํ แหนงของ
ความเร็ว (m/s)
วัตถุจะเทียบกับตําแหนงอางอิงหรือจุดอางอิง (reference point) โดยปกติการ
6
กําหนดจุดอางอิงจะนิยมใชสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตําแหนงไดยาก สังเกตไดงาย มี
4
ความชัดเจน เปนจุดอางอิงและใชเปนจุดเริ่มตนของการบอกตําแหนง วัตถุที่มี
2
การเคลื่อนที่แนวตรงสามารถใชเสนจํานวนในการบอกตําแหนง โดยที่ตําแหนง เวลา (s)
ของวัตถุและจุดอางอิงจะอยูบ นแนวเสนตรงเดียวกัน เชน ใชแกน X ในระบบพิกดั 0 2 4 6 8 10
ฉาก ใชจุด x = 0 เปนจุดอางอิง ตําแหนงทางขวามือมีคาเปนบวก (+) ตําแหนง (แนวตอบ หาขนาดของการกระจัดของการเคลื่อนที่จากพื้นที่
ทางซายมือมีคาเปนลบ (-) แลวบอกตําแหนงของวัตถุหรือจุดที่พิจารณาดวย ใตกราฟความสัมพันธระหวางความเร็วกับเวลา
ระยะหางตามแนวเสนตรงที่วัดจากจุดกําเนิดถึงจุดนั้นๆ จะไดวา ขนาดของการกระจัด = พื้นที่รูปสามเหลี่ยม
ขนาดของการกระจัด = 12 (10)(6)
ขนาดของการกระจัด = 30 m
ดังนั้น ขนาดของการกระจัดเทากับ 30 เมตร)

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3) ข้อเปรียบเทียบระหว่างระยะทางและการกระจัด 5. ครูใหนกั เรียนสืบเสาะหาความรูข อ เปรียบเทียบ
หรื อ ข อ แตกต า งระหว า งระยะทางและการ
กระจัด จากสื่อตางๆ เชน จากหนังสือเรียน
อินเทอรเน็ต แลวเขียนสรุปตามความเขาใจ
(ค)
ของตนเองลงในสมุดบันทึกประจําตัว
6. ครูใหนักเรียนวิเคราะหตัวอยางที่ 1.1 จาก
(ก) (ข)
หนังสือเรียน
(ง) 7. ครูแจกใบงาน เรื่อง ระยะทางและการกระจัด
จากภาพที่ 1.4 (ก) นักกรีฑา จากภาพที่ 1.4 (ข) นักกรีฑา จากภาพที่ 1.4 (ค) และ (ง) ใหนกั เรียน จากนัน้ มอบหมายใหนกั เรียนศึกษา
เริ่ ม วิ่ ง จากจุ ด เริ่ ม ต้ น ไปยั ง วิ่งเป็นเส้นทางตรง เมื่อวิ่งมา วัตถุที่เคลื่อนที่จากจุดเริ่มต้น และลงมือทํา
เส้นชัย โดยวิ่งเป็นเส้นตรงใน ได้ระยะหนึ่งจึงได้วิ่งย้อนกลับ ไปยังจุดสุดท้าย ซึ่งเป็นจุด
ทิศทางเดียวตลอดจนถึงเส้น มาตามเส้นทางเดิม เมือ่ วิง่ มา เดียวกันกับจุดเริ่มต้น กล่าว
ชัย ดังนั้น ระยะทางจะเท่ากับ ถึงจุด ๆ หนึ่ง ระยะทางตั้งแต่ คือ ครบรอบพอดี1และวัตถุที่
ขนาดของการกระจัด เริ่มต้นจะมากกว่าขนาดของ เคลือ่ นทีแ่ บบมีคาบ ขนาดของ
การกระจัด การกระจัดจะเป็นศูนย์ แต่
ระยะทางไม่เป็นศูนย์
ภาพที่ 1.4 ความแตกต่างระหว่างระยะทางกับการกระจัด
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ตัวอย่างที่ 1.1
เด็กคนหนึ่งวิ่งจากจุดเริ่มต้น A ไปยังต�าแหน่ง B แล้ววิ่งย้อนกลับไปต�าแหน่ง C จงหาระยะทางและ
การกระจัดของเด็กคนนี้
A C B ระยะทาง (m)
0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550
ภาพที่ 1.5 ต�าแหน่งที่เด็กชายคนหนึ่งวิ่งไปจากจุด A ไปยังจุด C
ที่มา : คลังภาพ อจท.

วิธีท�า ระยะทาง วัดความยาวตามเส้นทางวิ่ง A  B  C


จะได้ ระยะทาง = 550 เมตร + 200 เมตร = 750 เมตร
การกระจัด วัดจากจุดเริ่มต้น A ไปในแนวตรงถึงจุดสุดท้าย C
จะได้ การกระจัด = 350 เมตร
ดังนั้น เด็กคนนี้วิ่งได้ระยะทาง 750 เมตร และมีการกระจัด 350 เมตร มีทิศจาก A ไป C

แรงและการเคลื่อนที่ 5

กิจกรรม สรางเสริม นักเรียนควรรู


ครู ใ ห นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ ข อ เปรี ย บเที ย บ 1 คาบ (period) เปนระยะเวลาที่ตําแหนงใดๆ บนคลื่นที่เคลื่อนที่ครบหนึ่ง
ระหวางระยะทางและการกระจัด หลังจากจบกิจกรรมการจัด รอบ และสําหรับการแกวงวัตถุ คาบ หมายถึง เวลาทีว่ ตั ถุใชในการแกวงครบหนึง่
การเรียนการสอน โดยมอบหมายใหนักเรียนศึกษาคนควาขอมูล รอบ โดยคาบมีหนวยเปน วินาที (s) และเขียนแทนดวยสัญลักษณ T เชน คาบ
เพิม่ เติมจากแหลงการเรียนรูต า งๆ เชน หองสมุด หรืออินเทอรเน็ต ของการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย คือ เวลาที่โลกเดินทางหรือโคจรรอบดวง
จากนั้นนําขอมูลที่ไดศึกษานํามาทําเปนแผนพับความรู โดยทํา อาทิตยครบ 1 รอบ กลาวคือ คาบของการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยเทากับ
ลงในกระดาษ A4 เขียนดวยลายมือตัวบรรจง พรอมตกแตงให 1 ป หรือ 365 วัน หรือ 31,536,000 วินาที
สวยงาม เสร็จแลวสงครูเพื่อเปนคะแนนพิเศษ

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
8. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสื บ เสาะหาความรู  ป ริ ม าณที่ 2. อัตราเร็วและความเร็ว การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุสองวัตถุจากตําแหนงหนึง่ ไปยังอีกตําแหนง
เกีย่ วของกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุตอ โดยเรือ่ ง หนึ่ง นอกจากจะคํานึงถึงระยะทางและการกระจัดแลว ยังตองคํานึงถึงเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่
ตอไปที่จะไดศึกษา คือ อัตราเร็วและความเร็ว ดวย วัตถุทั้งสองอาจใชเวลาในการเคลื่อนที่เทากันหรือไมเทากันก็ได โดยปริมาณที่ใชบอกวาวัตถุ
จากหนังสือเรียน ใดเคลือ่ นทีไ่ ดเร็วหรือชากวากัน จะพิจารณาถึงระยะทางทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ดหรือการกระจัดเทียบกับเวลา
ที่ใชในการเคลื่อนที่
1) อัตราเร็ว (speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณ
สเกลาร มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s) ในกรณีการเคลื่อนที่ของวัตถุดวยอัตราเร็วที่ไม
เปลี่ยนแปลง แสดงวาวัตถุนั้นมีอัตราเร็วคงตัว แตในบางครั้งวัตถุอาจไมไดเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว
ที่คงตัวเสมอไป เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของ
รถประจําทาง ดังภาพที่ 1.6 จะเห็นไดวา เคลือ่ นที่
ไปด ว ยอั ต ราเร็ ว ที่ ไ ม เ ท า กั น ตลอดระยะทาง
บางชวงอาจมีการเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วมาก
และบางชวงอาจเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่ลดลง
เพื่อจอดรับผูโดยสาร เมื่อคิดอัตราเร็วโดยรวม
ตลอดระยะทางจะคิดเปน อัตราเร็วเฉลีย่ (average
speed) ซึ่งเทากับ อัตราสวนระหวางระยะทางที่
ภาพที่ 1.6 การเคลื่อนที่ของรถประจําทาง วัตถุเคลื่อนที่ไดตอชวงเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่
ที่มา : คลังภาพ อจท.

อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางที่เคลื่อนที่
ชวงเวลาทั้งหมดที่ใช

ในชีวติ ประจําวันแมวา อัตราเร็วเฉลีย่ จะมีประโยชนในการใชเปรียบเทียบวาสิง่ ใดหรือ


วัตถุใดเคลื่อนที่ไดเร็วกวากัน ในวิชาฟสิกสยังมีปริมาณที่บอกถึงอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือขณะหนึ่ง เรียกอัตราเร็วขณะนั้นวา อัตราเร็วขณะหนึ่ง (instantaneous
speed) คือ อัตราเร็วของวัตถุ ณ เวลาหนึ่ง ๆ ระหวางการเคลื่อนที่ ซึ่งเปนชวงเวลาที่สั้นมาก ๆ
โดยอัตราเร็วขณะหนึ่งของยานพาหนะสามารถอานคาไดจากมาตรอัตราเร็ว (speedometer) ที่ติด
ตั้งไวในยานพาหนะนั้น ๆ เชน มาตรอัตราเร็วของรถยนต ดังภาพที่ 1.7 อัตราเร็วเฉลี่ยของรถ
คันนี้อยูที่ 43 กิโลเมตรตอชั่วโมง ในขณะที่อัตราเร็วขณะหนึ่งเทากับ 0 กิโลเมตรตอชั่วโมง กลาว
คือ รถหยุดนิ่งไมมีการเคลื่อนที่

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดเรียนการสอน เรื่อง อัตราเร็วและความเร็ว ครูอาจอธิบายสมการ นายเฉลิมพลวิ่งรอบสนาม 1 รอบ ไดระยะทาง 400 เมตร
การคํานวณหาอัตราเร็วเฉลี่ยเพิ่มเติม โดยใชตัวแปรในการแทนปริมาณแตละ ภายในเวลา 2 นาที อัตราเร็วเฉลี่ยในการวิ่งรอบสนามของนาย
ตัว เพื่อใหงายตอการนําไปใชในการแกโจทยปญหา ดังนี้ เฉลิมพลเทากับเทาใด
1. 3.3 เมตรตอวินาที 2. 3.6 เมตรตอวินาที
จากสมการ อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางที่เคลื่อนที่
ชวงเวลาทั้งหมดที่ใช 3. 4.0 เมตรตอวินาที 4. 4.9 เมตรตอวินาที
จะไดวา vav = ΔΔxt 5. 5.5 เมตรตอวินาที
(วิเคราะหคําตอบ
จากสมการ อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางที่เคลื่อนที่
ชวงเวลาทั้งหมดที่ใช
400
อัตราเร็วเฉลี่ย = (2)(60)
400 = 3.3 m/s
อัตราเร็วเฉลี่ย = 120
จะไดวา อัตราเร็วเฉลี่ยที่นายเฉลิมพลใชในการวิ่งเทากับ 3.3
เมตรตอวินาที ดังนั้น ตอบขอ 1.)
T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
Physics 9. ครูแจกใบงาน เรื่อง อัตราเร็วและความเร็ว
in real life ใหนักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน
ปจจุบันคนส่วนใหญ่มักเข้าใจ 10. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนทํางานรวมกับผูอื่น
อัตราเร็วเฉลี่ย ว่า มาตรวัดอัตราเร็วบนหน้าปด อยางสรางสรรค จากนั้นรวมกันสืบเสาะหรือ
ของยานพาหนะต่าง ๆ เช่น รถ
มอเตอร์ไซค์ รถยนต์ จะแสดง วิเคราะหตัวอยางที่ 1.2 จากหนังสือเรียน
ค่าความเร็ว แต่ในความเป็นจริง
แล้วค่าทีแ่ สดงบนหน้าปดนัน้ คือ
อัตราเร็วขณะหนึ่ง อัตราเร็ว เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง
ซึ่งรถรุ่นใหม่ ๆ ส่วนมากมักจะมี
จอแสดงผลเพิ่มเข้ามาเพื่อบอก
ภาพที่ 1.7 มาตรอัตราเร็วของรถยนต์ ค่าอัตราเร็วเฉลี่ยด้วย
ที่มา : http://www.drivetripper.com
2) ความเร็ว (velocity) คือ การกระจัดที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรืออัตรา
การเปลี่ยนแปลงการกระจัด เนื่องจากการกระจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ความเร็วจึงเป็นปริมาณ
เวกเตอร์ และมีทศิ เดียวกับการกระจัด ปริมาณในวิชาฟิสกิ ส์ทบี่ อกให้ทราบว่าวัตถุเคลือ่ นทีไ่ ด้เร็วหรือ
ช้าเท่าใดและบอกให้ทราบว่าวัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด คือ ความเร็วเฉลี่ย (average velocity)
ซึ่งเท่ากับ อัตราส่วนระหว่างการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ต่อช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
vav คือ ความเร็วเฉลี่ย มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
vav = Δx
Δx คือ การกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
Δt
Δt คือ ช่วงเวลาทัง้ หมดที่ใช้ มีหน่วยเป็น วินาที (s)

หากพิจารณาความเร็วในการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ ณ เวลาใดเวลาหนึง่ ของการเคลือ่ นทีซ่ งึ่


เป็นช่วงเวลาทีม่ คี า่ น้อยหรือสัน้ มาก ๆ เรียกความเร็วขณะนัน้ ว่า ความเร็วขณะหนึง่ (instantaneous
velocity)
ความเร็วขณะหนึ่งที่ต�าแหน่งใดต�าแหน่งหนึ่งบนเส้นทางการเคลื่อนที่จะอยู่ในแนว1
เส้นสัมผัสกับเส้นทางการเคลื่อนที่ที่ต�าแหน่งนั้น วัตถุที่มีการเคลื่อนที่แบบโค้ง เช่น พาราโบลา
หรือวงกลม ความเร็วขณะหนึ่งของวัตถุจะเปลี่ยนทิศทางไปตามต�าแหน่งต่าง ๆ บนเส้นทางการ
เคลื่อนที่ ส่วนวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวตรง ทิศของความเร็วขณะหนึ่งจะอยู่ในทิศเดียวกับทิศที่วัตถุ
เคลื่อนที่ไป เนื่องจากเส้นสัมผัสกับเส้นตรงอยู่ในแนวเดียวกับเส้นทางการเคลื่อนที่ในแนวตรง
หากสังเกตว่า ความเร็วเฉลี่ยไม่ได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับความเร็วที่ต�าแหน่งต่าง ๆ บนเส้น
ทางการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่ 7

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เด็กชายคนหนึง่ วิง่ เปนเสนตรงไปทางซายมือเปนระยะทาง 100 1 พาราโบลา (parabola) คือ ภาคตัดกรวยที่เกิดจากการตัดกันระหวาง
เมตร ใชเวลา 35 วินาที แลววิง่ กลับเปนเสนตรงไปทางขวามือเปน พื้นผิวกรวยดวยระนาบที่ขนานกับเสนกําเนิดกรวย (generating line) ของ
ระยะทาง 20 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขอใดคือความเร็วเฉลี่ย พื้นผิวนั้น พาราโบลาสามารถกําหนดไดดวยจุดตางๆ ที่มีระยะหางจากจุดที่
ในการวิ่งของเด็กชายคนนี้
กําหนด คือ จุดโฟกัส (focus) และเสนที่กําหนด คือ เสนไดเรกตริกซ (directrix)
1. 1.5 เมตรตอวินาที ในทิศทางขวามือ
พาราโบลาเปนแนวคิดที่สําคัญในทฤษฎีคณิตศาสตร อยางไรก็ดี พาราโบลา
2. 1.5 เมตรตอวินาที ในทิศทางซายมือ
3. 2.0 เมตรตอวินาที ในทิศทางขวามือ สามารถพบไดบอยมากในโลกภายนอก และสามารถนําไปใชประโยชนในดาน
4. 2.0 เมตรตอวินาที ในทิศทางซายมือ วิศวกรรม ฟสิกส และศาสตรอื่นๆ พาราโบลามีหลายรูปแบบ เชน พาราโบลา
5. 3.0 เมตรตอวินาที ในทิศทางขวามือ แบบกรวยควํ่า พาราโบลาแบบกรวยหงาย
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ vav = ΔΔxt
vav = 100 - 40 60
35 + 5 = 40 = 1.5 m/s
จะไดวา ความเร็วเฉลี่ยของเด็กชายคนนี้เทากับ 1.5 เมตรตอ
วินาที ในทิศทางซายมือ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
11. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นว า ยั ง มี อี ก หนึ่ ง วิ ธีที่ ตัวอย่างที่ 1.2
สามารถใชเพื่อหาอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ นายธนากรเดินจากจุด A ไปยังจุด B เดินตอไปยังจุด C แลวไปยังจุด D ในเวลา 20 วินาที
ของวัตถุได คือ การใชเครื่องเคาะสัญญาณ ดังภาพที่ 1.8
B 50 เมตร C
เวลา จากนั้นครูใหนักเรียนใชโทรศัพทมือถือ
สแกน QR Code เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณ 40 เมตร 30 เมตร
เวลา จากหนังสือเรียน เพื่อเปนการศึกษา
เนื้อหาเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากหนังสือเรียน A D
90 เมตร
12. ครูสุมนักเรียน 8 คน โดยเลือกคนที่มีความ
ภาพที่ 1.8 เสนทางการเดินของนายธนากรจากจุด A ไปยังจุด D
สามารถสูง ผลการเรียนดีอันดับตนๆ ของ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ชั้นเรียน ออกมาหนาชั้นเรียน เพื่อทําหนาที่
เปนหัวหนากลุม จากนั้นครูใหนักเรียนในชั้น ก. จงหาระยะทางทั้งหมดที่นายธนากรเดินจากจุด A ไปยังจุด D
วิธีทํา ระยะทาง = ระยะ AB + ระยะ BC + ระยะ CD
เรียนทุกคนนับเลข 1-8 คนละ 1 เลข ตาม = 40 + 50 + 30
ลําดับไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน = 120 เมตร
13. ครูสุมกําหนดเลขใหหัวหนากลุมแตละคน ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดเทากับ 120 เมตร
โดยไมเรียงลําดับ แลวใหนักเรียนทุกคนแยก ข. จงหาการกระจัดของการเดินของนายธนากรครั้งนี้
เขากลุม ของตนเอง ตามเลขทีแ่ ตละคนนับได วิธีทํา การกระจัด = ระยะ AD
จากนัน้ ครูใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันศึกษา = 90 เมตร
และลงมื อ ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมการหาอั ต ราเร็ ว ดังนั้น การกระจัดของการเดินครั้งนี้เทากับ 90 เมตร
เฉลี่ย จากหนังสือเรียน ค. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในการเดิน
วิธีทํา จากสมการ อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได
ชวงเวลาที่ใช
=12020
= 6 m/s
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยในการเดินเทากับ 6 เมตรตอวินาที
ง. จงหาความเร็วเฉลี่ยในการเดิน
วิธีทํา จากสมการ ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได
ชวงเวลาที่ใช
=9020
= 4.5 m/s
ดังนั้น ความเร็วเฉลี่ยในการเดินเทากับ 4.5 เมตรตอวินาที ทิศทางจาก A ไปยัง D

8 เครื่องเคาะสัญญาณเวลา

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ระยะทางจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดชุมพรประมาณ 450
กิโลเมตร เครือ่ งบินโดยสารบินจากกรุงเทพฯ ไปจังหวัดชุมพรดวย
อัตราเร็วเฉลีย่ 125 เมตรตอวินาที จะใชเวลาในการเดินทางกีน่ าที
1. 36 นาที 2. 40 นาที 3. 56 นาที
4. 60 นาที 5. 70 นาที
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ vav = ΔΔxt
Δt = vΔx
av
Δt = (450)(1,000)
125
Δt = 3,600 s
จะไดวา เครื่องบินโดยสารใชเวลาในการเดินทางเทากับ 3,600
วินาที หรือ 3,60060 = 60 นาที ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กิจกรรม การหาอัตราเร็วเฉลี่ย 1. ครู นํ า อภิ ป รายหลั ก ในการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ
การเคลื่อนที่แนวตรง ตําแหนงของวัตถุจะมี
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์ การเปลี่ ย นแปลงในแนวเส น ตรง จึ ง ต อ งมี
• การวัด
• การลงความเห็นจากข้อมูล
หาอัตราเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วขณะหนึ่งจากการดึงแถบกระดาษ การบอกตํ า แหน ง ของวั ต ถุ และเพื่ อ ความ
จิตวิทยาศาสตร์ วัสดุอุปกรณ์ ชัดเจน การบอกตําแหนงของวัตถุจะตองเทียบ
• ความมีเหตุผล
1. ไม้บรรทัด 3. เครื่องเคาะสัญญาณเวลาความถี่ 50 เฮิรตซ์ กับจุดอางอิงหรือตําแหนงอางอิง ซึง่ เปนจุดหรือ
2. แถบกระดาษ 4. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต�่า 0-12 โวลต์ ตําแหนงที่อยูน่ิง โดยสามารถใชเสนจํานวน
วิธีปฏิบัติ ในการบอกตําแหนง
1. ต่อเครื่องเคาะสัญญาณเวลาเข้ากับหม้อแปลง 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการศึกษา
ไฟฟ้ า โวลต์ ต�่ า โดยเลื อ กใช้ ค วามต่ า งศั ก ย์ กิจกรรมการหาอัตราเร็วเฉลี่ย
กระแสสลับ 4-6 โวลต์
2. สอดปลายของแถบกระดาษผ่ า นใต้ ก ระดาษ
คาร์บอนของเครื่องเคาะสัญญาณเวลาแล้วจับไว้
ดังภาพที่ 1.9
3. เปิดสวิตช์หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต�่า ลากแถบ
กระดาษผ่านคันเคาะของเครือ่ งเคาะสัญญาณเวลา ภาพที่ 1.9 ภาพประกอบกิจกรรมการหาอัตราเร็วเฉลี่ย
โดยเพิ่มอัตราเร็วในการลากอย่างต่อเนื่อง ท�าให้ ที่มา : คลังภาพ อจท.
เกิดจุดบนแถบกระดาษเรียงตามความยาวของแถบกระดาษ
4. เลือกจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายบนแถบกระดาษที่สามารถวัดระยะทางได้สะดวก (มากกว่า 7 จุด)
5. นับจ�านวนจุดระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดสุดท้ายที่เลือก โดยไม่นับจุดเริ่มต้น (ให้จุดเริ่มต้นเป็นจุดที่ 0)
6. ค�านวณหาอัตราเร็วเฉลี่ยในการลากแถบกระดาษผ่านคันเคาะของเครื่องเคาะสัญญาณที่เลือกไว้ในข้อ 4.
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. ระยะห่างจากจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายเป็นเท่าใด และมีกี่ช่วงจุด
2. อัตราเร็วเฉลี่ยในการลากกระดาษในช่วงที่ได้เลือกไว้จากการปฏิบัติกิจกรรมเท่ากับเท่าใด
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
ลักษณะของจุดแต่ละจุดที่ปรากฏบนแถบกระดาษบ่งบอกถึงการเคลื่อนที่ของแถบกระดาษ ถ้าช่วงจุดไหน
กว้างแสดงว่าดึงแถบกระดาษด้วยอัตราเร็วสูงกว่าในช่วงที่มีช่วงจุดแคบกว่า โดยแต่ละช่วงจุดใช้เวลาเท่ากัน
คือ 501 วินาที ส�าหรับเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 ครั้งต่อวินาที ไม่ว่าช่วงจุดจะกว้างหรือ แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
แคบก็ตาม อัตราเร็วเฉลี่ยของการดึงแถบกระดาษตลอดการเคลื่อนที่ หาได้จากการน�าระยะทางทั้งหมดหาร
1. ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยพิจารณา
ด้วยเวลาที่ใช้ โดยในแต่ละช่วงจุดบนแถบกระดาษใช้เวลาเท่ากัน คือ 501 วินาที ส่วนอัตราเร็วขณะหนึ่งหาได้
จากการน�าระยะทาง 2 ช่วงจุดหารด้วยเวลาที่ใช้ คือ 502 วินาที จากผลการทํากิจกรรมจริงและจํานวนชวงจุด
จะตองเริ่มจาก 6 ชวงจุด เปนตนไป
9
2. ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยพิจารณา
จากผลการทํากิจกรรมจริง

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET บันทึก กิจกรรม

แถบกระดาษทีถ่ กู ลากผานเครือ่ งเคาะสัญญาณเวลาความถี่ 50 ตัวอยางแถบกระดาษที่ไดจากกิจกรรม


ครั้งตอวินาที ดังภาพ จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับจุด D 12 cm
A B C D

1.0 cm 2.5 cm 5.6 cm 11.0 cm จุดเริ่มตน จุดสุดทาย


(แนวตอบ จากความสัมพันธในการหาอัตราเร็วเฉลี่ยจากเครื่อง
เคาะสัญญาณเวลา อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทั้งหมด
อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะจากจุด A กับจุด D ชวงเวลาที่ใช
ชวงเวลาที่ใช อัตราเร็วเฉลี่ย = 12 × 110
-2

อัตราเร็วเฉลี่ย = (11.0 - 1.0)(0.01) (8)( 50 )


1)
(8 )( 50
อัตราเร็วเฉลี่ย = 0.75 เมตรตอวินาที
อัตราเร็วเฉลี่ย = 0.625 m/s
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับจุด D เทากับ 0.625
เมตรตอวินาที)
T13
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเกี่ยวกับอัตราเร็ว 3. ความเร่ง (acceleration) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือความเร็วที่เปลี่ยน
และความเร็ว แลวครูถามคําถามเพื่อชักชวน ไปในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น อาจเปลี่ยนแปลงเฉพาะขนาด หรือทิศทาง
เขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษาตอไป ของความเร็ว หรือเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดและทิศทางพร้อมกันก็ได้ เนื่องจากความเร็วเป็นปริมาณ
2. ครูใหนกั เรียนสืบเสาะหาความรู เรือ่ ง ความเรง เวกเตอร์ ความเร่งจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์เช่นกัน ความเร่งมีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 (m/s2)
จากหนังสือเรียน ถ้าพิจารณาความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งหมด เรียกว่า ความเร่งเฉลี่ย (average acceleration)
คือ อัตราส่วนระหว่างความเร็วทีเ่ ปลีย่ นไปทั้งหมดกับช่วงเวลาที่เกิดการเปลีย่ นแปลงความเร็วนั้น
3. ครูใหนักเรียนวิเคราะหตัวอยางที่ 1.3 จาก
หาได้จาก
หนังสือเรียน โดยใหจดบันทึกลงในสมุดบันทึก
ประจําตัว aav คือ ความเร่งเฉลี่ย มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 (m/s2)
อธิบายความรู
aav = ΔΔvt Δv คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
Δt คือ ช่วงเวลาทัง้ หมดที่ใช้ มีหน่วยเป็น วินาที (s)
1. ครูสุมตัวแทนนักเรียนแสดงวิธีทําจากโจทย
ป ญ หาในตั ว อย า งที่ 1.3 บนกระดานหน า หากพิจารณาการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาที่สั้นมาก ๆ หรือ Δt มีค่า
ชั้นเรียน เข้าใกล้ศูนย์ ความเร่งดังกล่าวจะเป็น ความเร่งขณะหนึ่ง (instantaneous acceleration)
2. นั ก เรี ย นทุ ก คนแก โ จทย ป  ญ หาที่ แ สดงการ ความเร่งในการเคลื่อนที่แนวตรงอาจมีทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือทิศตรง
คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ถ้าความเร่งมีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่วัตถุจะเคลื่อนที่เร็วขึ้น แต่ถ้า
ในแนวตรง ความเร่งมีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ เรียกว่า ความหน่วง (deceleration) วัตถุจะเคลื่อนที่ช้าลง
3. ครูแจกใบงาน เรือ่ ง ความเรง ใหนกั เรียนศึกษา ส่วนค�าว่า อัตราเร่ง มักใช้แทนขนาดของความเร่งมากกว่าจะใช้ในความหมายว่าเป็นอัตราการ
และลงมือทํา เปลี่ยนแปลงอัตราเร็ว หรืออัตราเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา
ขยายความเขาใจ การเคลื่อนที่ของรถยนต์ ãนª่วงเวลาหนÖ่ง
1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หาเกีย่ วกับการเคลือ่ นที่ ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 3
มีความเร่ง ความเร็วคงตัว ความเร็วลดลง
แนวตรง โดยใช PowerPoint
2. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง การ
เคลื่อนที่แนวตรง ลงในกระดาษ A4 t=0 t = t1 t = t2 t = t3
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
100 120 140 100 120 140 100 120 140 100 120 140
หนาชั้นเรียน และนําเสนอชิ้นงานของผูเรียน 60
80 km/h 160
180 60
80 km/h 160
180 60
80 km/h 160
180 60
80 km/h 160
180
เพื่อชี้แจงจุดดีและจุดบกพรองของนักเรียน 40
20
200
220
40
20
200
220
40
20
200
220
40
20
200
220
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก 0 0 km/h 240km
0 90 km/h 240
km
0 90 km/h 240
km
0 0 km/h 240km

Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง


ภาพที่ 1.10 การเคลื่อนที่ของรถแต่ละช่วงเวลา
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว ที่มา : คลังภาพ อจท.
5. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด 10
เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จากแบบฝกหัด
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว รถบรรทุกแลนมาดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ทันใดนัน้ เอง
ความเรง https://www.twig-aksorn.com/film/speed-velocity-accelera- มีรถจักรยานยนตขตี่ ดั หนา คนขับรถบรรทุกจึงเหยียบเบรกทําใหรถ
tion-8287/ มีความเร็วลดลงเหลือ 5 เมตรตอวินาที ในเวลา 5 วินาที ความเรง
ของรถในชวงที่คนขับเหยียบเบรกคือขอใด
1. 2 เมตรตอวินาที2 2. -2 เมตรตอวินาที2
3. 3 เมตรตอวินาที2 4. -3 เมตรตอวินาที2
5. 4 เมตรตอวินาที2
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ aav = ΔΔvt
aav = 5 -5 20
aav = -3 m/s2
จะไดวา ความเรงของรถในชวงที่คนขับเหยียบเบรกเทากับ -3
เมตรตอวินาที2 ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
หากพิจารณาภาพที่ 1.10 รถยนตคนั หนึง่ เคลือ่ นทีใ่ นแนวตรง เริม่ เคลือ่ นทีจ่ ากตําแหนง นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับการ
หนึ่งไปอีกตําแหนงหนึ่ง ถาแบงการเคลื่อนที่ออกได 3 ชวง ดังนี้ เคลือ่ นทีแ่ นวตรง โดยครูใหนกั เรียนจดบันทึกลงใน
• ชวงที่ 1 เปนการเคลือ่ นทีอ่ อกจากตําแหนงแรกดวยความเรง ทิศเดียวกับการเคลือ่ นที่ สมุดบันทึกประจําตัว
• ชวงที่ 2 เปนการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวเทากับความเร็วปลายของชวงที่ 1
• ชวงที่ 3 เปนการเคลื่อนที่ดวยความเรง ทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ ทําใหความเร็ว ขัน้ ประเมิน
ลดลงจนเปนศูนย หรือกลาวไดวาเปนการเคลื่อนที่ดวยความหนวงนั่นเอง ตรวจสอบผล
ตัวอย่างที่ 1.3 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
รถคันหนึ่งแลนอยูบนทางตรงดวยความเร็ว 5 เมตรตอวินาที เมื่อผานไป 4 วินาที ความเร็วเปลี่ยนเปน เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจก อ นเรี ย นของ
17 เมตรตอวินาที รถคันนี้มีความเรงเฉลี่ยเทาใด
นักเรียน
วิธีทํา จากสมการ aav = ΔΔvt 2. ครู ต รวจสอบผลการทํ า แบบทดสอบความ
เขาใจกอนเรียนจาก Understanding Check
aav = 17 m/s4 -s 5 m/s ในสมุดบันทึกประจําตัว
aav = 3 m/s2 3. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง ระยะ
ดังนั้น รถคันนี้มีความเรงเฉลี่ย 3 เมตรตอวินาที2 ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของรถ
ทางและการกระจัด อัตราเร็วและความเร็ว
และความเรง
4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
Topic
การเคลื่อนที่แนวตรง ในสมุดบันทึกประจําตัว
? Question 5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรือ่ ง การเคลือ่ นทีแ่ นว
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ตรง จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2
1. เด็กนักเรียนปนจักรยานไปโรงเรียนไปทางทิศเหนือเปนระยะ 2 กิโลเมตร จากนั้นปนไปทาง (ฟสิกส) ม.5
ทิศตะวันออกเปนระยะ 1.5 กิโลเมตร จงหาระยะทางและการกระจัดของเด็กนักเรียนคนนี้
6. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
2. ชายคนหนึ่งเดินวนรอบวงกลมรัศมี 7 เมตร เมื่อเดินครบ 5 รอบ ระยะทางและการกระจัด ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ในการเดินของชายคนนี้เทากับเทาใด
และการทํางานกลุม
3. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตกเปนระยะ 24 กิโลเมตร จากนั้นเคลื่อนที่กลับไปทาง
ทิศตะวันออกเปนระยะ 16 กิโลเมตร ถาใชเวลาในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 30 นาที อัตราเร็ว 7. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
เฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ยในการเคลื่อนที่ของรถคันนี้เปนกี่กิโลเมตรตอชั่วโมง เนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ที่นักเรียน
4. จากขอ 1. ถาเวลาที่ใชในการเดินทางชวงแรกและชวงที่สองเปน 6 นาที และ 4 นาที ไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจเปนราย
ตามลําดับ อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ยในการเดินทางไปโรงเรียนของเด็กนักเรียนคนนี้ บุคคล
เปนกี่เมตรตอวินาที

áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè 11

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ระยะทางเทากับ 2 + 1.5 = 3.5 km ขนาดของการกระจัดเทากับ
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง
R = 22 + 1.52 = 2.5 km โดยที่ α = tan-1(1.5 2 ) = 37 ํ ดังนั้น การ ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ
กระจัดของเด็กนักเรียนคนนี้เทากับ 2.5 กิโลเมตร ในทิศตะวันออก
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
ทํามุม 37 องศา กับทิศเหนือ
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
2. ระยะทางเทากับ (5)(2πr) = (10)(π)(7) = 220 m สวนการกระจัดเปน
ศูนย เนื่องจากเมื่อเดินครบแตละรอบจะกลับมายังจุดเริ่มตนอีกครั้ง แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
4 3 2 1

3. ระยะทางทีร่ ถเคลือ่ นทีเ่ ทากับ 24 + 16 = 40 km และการกระจัดมีขนาด


คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

เทากับ 24 - 16 = 8 km ในทิศตะวันตก โดยใชเวลาในการเคลื่อนที่ 1


2
ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
ความถูกต้องของเนื้อหา
3. ผลงานมีความคิด
สร้างสรรค์
ผลงานแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหม่และเป็น
ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ
ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด
แปลกใหม่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด
ใหม่

40 = 80 km/h
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ ระบบ

30 นาที หรือ 0.5 ชั่วโมง จึงไดอัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 0.5


4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

และความเร็วเฉลี่ยเทากับ 0.5 8 = 16 km/h ในทิศตะวันตก ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

4. เนื่องจากระยะทางเทากับ 3.5 km และการกระจัดเทากับ 2.5 km ใน


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้

ทิศตะวันออกทํามุม 37 องศา กับทิศเหนือ โดยใชเวลาในการเดินทาง


ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

6 + 4 = 10 นาที จึงไดอัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ (3.5)(1,000)


(10)(60) = 5.8 m/s
(2.5)(1,000)
และความเร็วเฉลี่ยเทากับ (10)(60) = 4.2 m/s ในทิศตะวันออก
ทํามุม 37 องศา กับทิศเหนือ T15
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 2. แรงและกฎการเคลื่อนที่ของ Prior Knowledge
2. ครูถามคําถามกระตุนนักเรียนวา กิจกรรม
ในชี วิ ต ประจํ า วั น ของนั ก เรี ย นไม ว  า จะเป น
นิวตัน ก®กำรàคล×อ่ นที¢่ อง
นิวตันãª้อธิบำยกำร
กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ�าวัน เช่น การเดิน การวิ่ง àคล×อ่ นที่ ãนáง‹มมุ ãด
การเคลื่ อ นที่ ช  า ลงหรื อ เร็ ว ขึ้ น เกี่ ย วข อ งกั บ
การผลักหรือดันวัตถุ การเตะฟุตบอล การเข็นรถ เกี่ยวข้องกับ
ปริมาณใด และใหนกั เรียนชวยกันตอบคําถาม การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ กล่าวคือ วัตถุมีการเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง วัตถุเคลื่อนที่ได้
ปากเปลา เร็วขึน้ หรือช้าลง หรือมีการเปลีย่ นทิศทาง โดยการเปลีย่ นแปลงทีก่ ล่าวมาล้วนเกีย่ วข้องกับปริมาณ
3. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ ที่เรียกว่า แรง
เรียน กับนักเรียนวา “กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
ใชอธิบายการเคลื่อนที่ในแงมุมใด” 2.1 áç
4. ครูสนทนากับนักเรียนเพือ่ ชักชวนเขาสูบ ทเรียน ในอดี ต ผู ้ ค นอาจเข้ า ใจความสั ม พั น ธ์
โดยการนําคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการสงยานขึ้น ระหว่างแรงกับการเคลือ่ นทีค่ ลาดเคลือ่ นไปบ้าง
ไปสํารวจอวกาศ จากนั้นครูถามคําถามกับ เช่น วัตถุจะมีความเร็วขนาดหนึ่งไปเรื่อย ๆ
นักเรียนวา แรงเกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของ จะต้องมีแรงกระท�าต่อวัตถุ แต่ในปจจุบันมีสิ่ง
ยานขึ้นไปบนอวกาศอยางไร ครูใหนักเรียน ที่ท�าให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของแรงกับการ
แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ โดยยังไมเฉลย เคลื่อนที่ได้ดีขึ้น คือ การส่งยานอวกาศออกไป
วาถูกหรือผิด ส�ารวจดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ นอกโลก ท�าให้เรารับรู้
ถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุในขณะที่ไม่มีแรงใด ๆ
มากระท�ากับวัตถุ เช่น การส่งยานนิวฮอไรซันส์ ภาพที่ 1.11 ภาพจ�าลอง ขณะทีย่ านฮอไรซันส์ก�าลังปฏิบตั ิ
(New Horizons) ขององค์การบริหารการบิน ภารกิจ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
และอวกาศแห่ ง ชาติ ( NASA ) เพื่ อ ปฏิ บั ติ
ภารกิจส�ารวจดาวพลูโต ดังภาพที่ 1.11 โดย
ยานเคลื่อนที่ออกจากโลกด้วยแรงขับจากจรวด
ขับดันแอตลาส 5 (Atlas V) ด้วยความเร็ว
ที่สูงมากเพื่อให้หลุดออกจากบริเวณผิวโลกที่
มีแรงดึงดูด เมื่อเคลื่อนออกห่างจากโลกจน
แรงดึงดูดของโลกกระท�ากับยานน้อยมาก ยานก็
ไม่ตอ้ งใช้เชือ้ เพลิงในการขับเคลือ่ นอีก แต่ยงั คง
แนวตอบ Prior Knowledge เคลื่อนที่ได้ด้วยความเร็วใกล้เคียงเดิม และเมื่อ
ไม่มแี รงดึงดูดกระท�า ยานก็ยงั สามารถเคลือ่ นที่ ภาพที่ 1.12 จรวดขับดันแอตลาส 5 เคลื่อนที่ออกจากฐาน
กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันเปนกฎทางกายภาพ ปล่อยจรวด
3 ขอ ทีเ่ ปนรากฐานของกลศาสตรดงั้ เดิม ใชสาํ หรับ ต่อไปได้เรื่อย ๆ ที่มา : คลังภาพ อจท.
การอธิ บ ายความสั ม พั น ธ ร ะหว า งวั ต ถุ กั บ แรงที่
12
กระทําตอวัตถุนั้น และการเคลื่อนที่เนื่องจากแรง
เหลานั้น

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง แรง ครูอาจนําขอมูลเกี่ยวกับยานนิวฮอไร- 1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน
ซันส (New Horizons) มาอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนไดเรียนรูเพิ่มเติม โดยยาน 2. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคนขอมูลเกีย่ วกับการสงยานอวกาศขึน้ ไป
นิวฮอไรซันสเปนยานสํารวจอวกาศระหวางดาวเคราะห ซึ่งปลอยเมื่อวันที่ 19 สํารวจดาวเคราะหตางๆ
มกราคม พ.ศ. 2549 เปนสวนหนึง่ ของโครงการนิวฟรอนเทียรส (New Frontiers) 3. สมาชิกในกลุมรวมกันพูดคุยและอภิปรายผลการศึกษา โดย
ขององคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติหรือองคการนาซา (NASA) สมาชิกทุกคนภายในกลุมตองอธิบายไดวา ยานอวกาศที่กลุม
ยานสรางโดยหองปฏิบัติการฟสิกสประยุกตและสถาบันวิจัยเซาทเวสต โดย ตนเองเลือกที่จะศึกษามีภารกิจหลักอะไร มีขั้นตอนการทํางาน
มี อลัน สเติรน (S. Alan Stern) เปนหัวหนาทีม ยานดังกลาวมีภารกิจเพื่อศึกษา อยางไร และสวนประกอบหรืออุปกรณแตละอยางทําหนาทีอ่ ะไร
ดาวพลูโต ดาวบริวารของดาวพลูโต และแถบไคเปอร 4. สมาชิกในกลุมรวมกันจัดทําขอมูลเปนรายงานผลการศึกษา
เรื่อง การสํารวจอวกาศ แลวนําเสนอรายงานหนาชั้นเรียน ดวย
วิธีการสื่อสารที่ทําใหผูอื่นเขาใจไดงาย

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
แรง (force) คือ สิ่งที่กระท�าต่อวัตถุแล้วส่งผลให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรือ 1. ครูใหนกั เรียนสืบเสาะหาความรู เรือ่ ง แรงและ
เปลีย่ นรูปร่าง ซึง่ การเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะขึน้ อยูก่ บั ขนาดและทิศทางของแรงทีม่ ากระท�า โดยรูปแบบ ลักษณะของแรง จากหนังสือเรียน
ของแรงทีก่ ระท�าต่อวัตถุมี 2 แบบ ได้แก่ แบบสัมผัสกันโดยตรงและแบบส่งแรงไปกระท�าในระยะห่าง 2. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนเกี่ยวกับแรง ดังนี้
ซึ่งเรียกแรงนั้นว่า แรงสัมผัส (contact force) และแรงเชิงสนาม (field force) ตามล�าดับ ตัวอย่าง • แรงในวิชาฟสิกสหมายถึงอะไร
แรงสัมผัส เช่น แรงจากกล้ามเนื้อที่ใช้ยก ดึง หรือผลักวัตถุ แรงดึงในเส้นเชือก แรงในสปริง แรง (แนวตอบ แรง คือ สิ่งที่กระทําตอวัตถุแลว
จากเครื่องจักรกล ส่วนตัวอย่างแรงเชิงสนาม เช่น แรงโน้มถ่วง แรงไฟฟ้า แรงแม่เหล็ก เนื่องจาก
สงผลใหวตั ถุเกิดการเคลือ่ นทีห่ รือเปลีย่ นรูป
แรงมีผลของทิ1ศทาง แรงจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ F โดยหน่วยของแรง
ในหน่วยเอสไอ (SI unit) คือ นิวตัน (N) หรือกิโลกรัม เมตรต่อวินาที2 (kg m/s2) ราง ซึง่ การเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะขึน้ อยูก บั ขนาด
และทิศทางของแรงที่มากระทํา เชน แรงดึง
1. ลักษณะของแรง
ในชีวิตประจ�าวันค�าว่าแรงเป็นค�าที่ใช้กันทั่วไป จะเห็นว่าค�าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงนั้น แรงผลัก แรงเสียดทาน แรงโนมถวง แรงดึง
มีความแตกต่างกัน ซึ่งในวิชาฟิสิกส์ได้ก�าหนดสิ่งที่จะเรียกว่า แรง ต้องมีลักษณะ ดังนี้ ในเสนเชือก แรงในสปริง)
• แรงโดยทั่วไปตองมีลักษณะอยางไร
1 แรงตŒองÁี¼ÙŒถÙกกระทíา (object)
หรื อ วั ต ถุ ที่ ถู ก กระท� า เช่ น แรงที่ (แนวตอบ แรงจะตองประกอบดวย 3 ลักษณะ
เราใช้ผลักหรือเข็นรถ ซึ่งรถจะเป็น คือ แรงตองมีผถู กู กระทํา แรงตองมีผกู ระทํา
วัตถุที่ถูกกระท�า และแรงตองมีทิศทาง)
• การปนเกี่ยวของกับแรงอยางไร
2 แรงตŒองÁี¼ÙŒกระทíา (agent of 2 (แนวตอบ การปน เปนการกระทําเพือ่ ใหวตั ถุมี
force) หรือวัตถุทกี่ ระท�า เช่น การเข็น
รถ ผู้กระท�าหรือผู้ที่ออกแรง คือ คน รูปรางตามที่ตองการ เชน การปนดินนํ้ามัน
1 การปนดินเหนียว โดยผูปนจะตองออกแรง
3 แรงตŒองÁีทิศทาง (direction) กระทําตอวัตถุดิบ ทําใหวัตถุดิบนั้นๆ เกิด
เช่น แรงที่คนเข็นรถ จะมีทิศทางไป การเปลี่ยนแปลงรูปรางตามที่ตองการ)
ด้านหน้าของคน ซึง่ ค�ากริยา เช่น เข็น
ผลัก ดัน ลาก ดึง จะเป็นสิ่งที่บ่งบอก 3
ทิศทางของแรงได้ Physics
in real life
ภาพที่ 1.13 ลักษณะของแรงในวิชาฟสิกส์ การปน เป็นการกระท�าเพื่อ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ให้วัตถุมีรูปร่างตามที่ต้องการ
เช่น การปนดินน�้ามัน การปน
เนื่ อ งจากแรงท� า ให้ วั ต ถุ เ กิ ด การเคลื่ อ นที่ แต่ ก าร เครื่องปนดินเผา ผู้ที่ปนจะต้อง
เคลื่อนที่ของวัตถุใด ๆ นั้น อาจมีผลมาจากแรงหลายแรงมา ออกแรงกระท�าต่อวัตถุดิบไม่ว่า
กระท�าต่อวัตถุ ในกรณีที่มีแรงหลายแรงกระท�าต่อวัตถุจะต้อง จะเป็นดินน�้ามันหรือดินเหนียว
เพือ่ ให้วตั ถุดบิ นัน้ มีรปู ร่างได้ตาม
รวมแรงทั้งหมดที่มากระท�าเพื่อหาแรงลัพธ์ที่กระท�าต่อวัตถุนั้น ที่ต้องการ
แรงและการเคลื่อนที่ 13

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


นายธนากรหิว้ ถุงกระดาษซึง่ มีเสือ้ ผาอยูภ ายใน โดยนายธนากร 1 หนวยเอสไอ เปนหนวยมาตรฐานสากลที่ระบบหนวยวัดระหวางประเทศ
หิว้ ถุงกระดาษใบนีเ้ ดินไปบนพืน้ ระดับไดระยะทาง 500 เมตร อยาก กําหนดไวเปนพื้นฐาน โดยหนวยเอสไออื่น ๆ ที่เรียกวา หนวยอนุพัทธเอสไอ จะ
ทราบวา เกิดจากการนําหนวยฐานเอสไอมาประกอบกันทัง้ หมด หนวยฐานเอสไอมีทงั้ หมด
1. ลักษณะของแรงในกรณีนี้สิ่งใดเปนผูกระทํา 7 หนวย ไดแก
(แนวตอบ ผูกระทําหรือผูที่ออกแรง คือ นายธนากร)
ชื่อหนวย สัญลักษณ ปริมาณ
2. ลักษณะของแรงในกรณีนี้สิ่งใดเปนผูถูกกระทํา
เมตร m ความยาว
(แนวตอบ ผูถูกกระทํา คือ ถุงกระดาษ)
กิโลกรัม kg มวล
3. ลักษณะของแรงในกรณีนี้มีทิศทางหรือไม อยางไร วินาที s เวลา
(แนวตอบ ทิศทางของแรงในกรณีนี้ คือ ทิศทางที่นายธนากร แอมแปร A กระแสไฟฟา
ออกแรงหิ้วถุงขึ้นในแนวดิ่ง) เคลวิน K อุณหภูมิ
โมล mol ปริมาณของสาร
แคนเดลา cd ความเขมของการสองสวาง

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1
3. ครูนาํ อภิปรายนักเรียนเกีย่ วกับการหาแรงลัพธ 2. การหาแรงลัพธ์ เนื่องจากแรงเป็นปริมาณเวกเตอร์เช่นเดียวกับการกระจัด ความเร็ว
โดยวิธกี ารเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร และความเร่ง เมื่อมีแรงสองแรงหรือมากกว่ามากระท�าต่อวัตถุหนึ่ง โดยแรงเหล่านั้นอยู่ในระนาบ
จากหนังสือเรียน เดียวกัน จะต้องรวมแรงทั้งหมดเพื่อหา แรงลัพธ์ (resultant force) ที่กระท�าต่อวัตถุนั้น ดังที่ได้
4. นักเรียนสรุปและอธิบายเกี่ยวกับแรงลัพธ และ กล่าวมาแล้วว่า แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงสามารถเขียนลูกศรหรือเวกเตอร์แทนแรงได้ โดยให้
วิธีการหาแรงลัพธโดยการเขียนแผนภาพการ ความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรงและหัวลูกศรแทนทิศทางของแรง แรงลัพธ์เขียนแทนด้วย
รวมแบบเวกเตอร โดยครูอาจสุมถามนักเรียน สัญลักษณ์ ΣF ส่วนวิธีการหาแรงลัพธ์นั้นจะต้องใช้วิธีรวมแบบเวกเตอร์เช่นกัน ซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้
เปนรายบุคคล 1) การหาแรงลัพธ์โดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ มี 2 วิธี ดังนี้
• วิธีเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว การหาแรงลัพธ์โดยวิธีนี้ท�าได้โดยการน�า
หัวลูกศร (head) ของเวกเตอร์แรงหนึ่งไปต่อกับหางลูกศร (tail) ของอีกเวกเตอร์แรงหนึ่ง จากนั้น
ลากเวกเตอร์จากหางลูกศรของเวกเตอร์แรงตัวแรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอร์แรงตัวสุดท้าย ซึ่ง
เวกเตอร์ที่ลากขึ้นมาใหม่ คือ เวกเตอร์ลัพธ์หรือแรงลัพธ์ โดยความยาวของเวกเตอร์ลัพธ์ที่ได้นั้น
แทนขนาดของแรงลัพธ์ และทิศทางของหัวลูกศรของเวกเตอร์ แทนทิศทางของแรงลัพธ์
ΣF
F1 F2 F2
F1
ภาพที่ 1.14 การหาแรงลัพธ์ของแรง F1 และ F2 โดยการเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• วิธีสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน การหาแรงลัพธ์โดยวิธีนี้ท�าได้โดยการน�าหางลูกศร
ของเวกเตอร์แรงหนึง่ ต่อกับหางลูกศรของเวกเตอร์อกี แรงหนึง่ จากนัน้ ลากเส้นประสร้างรูปสีเ่ หลีย่ ม
ด้านขนาน โดยเส้นทแยงมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนานแทนขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์
F2 F2 ΣF

F1 F1
ภาพที่ 1.15 การหาแรงลัพธ์ของแรง F1 และ F2 โดยการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2) การหาแรงลัพธ์โดยวิธกี ารค�านวณ แรงลัพธ์จะมีคา่ เท่ากับผลบวกของแรงย่อยทัง้ หมด


โดยใช้หลักทางคณิตศาสตร์มาค�านวณ กล่าวคือ ถ้า F1 F2 และ F3 เป็นแรงย่อย จะได้แรงลัพธ์
(ΣF) เป็น ΣF = F1 + F2 + F3 ซึ่งการหาแรงลัพธ์โดยวิธีการค�านวณสามารถแบ่งออกได้หลาย
กรณี ดังนี้
14

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 แรงลัพธ คือ ผลรวมของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุ ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหาแรงลัพธ โดย
เคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรง หากผลรวมของแรงหรือแรงลัพธที่มีขนาดเปน การเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร จากนั้นครูมอบหมายให
ศูนยจะทําใหวตั ถุหยุดนิง่ ไมเคลือ่ นที่ หรือวัตถุทกี่ าํ ลังเคลือ่ นทีก่ จ็ ะยังคงเคลือ่ นที่ นักเรียนเขียนสรุปลงในกระดาษ A4 เขียนดวยลายมือตัวบรรจง
ดวยอัตราเร็วเทาเดิม มนุษยมีการนําความรูเกี่ยวกับแรงลัพธมาประยุกตใช พรอมตกแตงใหสวยงาม
ประโยชนมากมาย เชน การสรางสะพานแขวน การปน จักรยานพวง การใชสนุ ขั
หลายๆ ตัวลากเลื่อน
กิจกรรม ทาทาย
ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหาแรงลัพธ โดย
การเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร จากนั้นครูมอบหมายให
นักเรียนเขียนสรุปความรูพ รอมยกตัวอยางโจทยปญ หา ทําเปนแผน
พับความรูข นาด A4 โดยนักเรียนสามารถสรางสรรคและออกแบบ
วิธกี ารนําเสนอตามรูปแบบของตนเอง พรอมทัง้ ตกแตงใหสวยงาม
ครูอาจสุมตัวแทนออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน

T18
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
• กรณีแรงย่อยทัง้ หมดมีทศิ ทางเดียวกัน สามารถหาขนาดของแรงลัพธ์ได้จากผลรวม 5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นร ว มกั น ทํ า งานกั บ ผู  อื่ น อย า ง
ของขนาดของแรงย่อยทั้งหมด และทิศทางของแรงลัพธ์จะมีทิศทางเดียวกับแรงย่อย สรางสรรคในกิจกรรม เรื่อง การหาแรงลัพธ
ตัวอย่างเช่น แรงย่อย F1 F2 และ F3 มีขนาด F1 = 3 นิวตัน F2 = 1.5 นิวตัน โดยวิธีการคํานวณ จากหนังสือเรียน โดยจด
และ F3 = 2 นิวตัน ตามล�าดับ และมีทิศทางดังภาพที่ 1.16 (ก) ขนาดของแรงลัพธ์ที่เกิดจากการ บันทึกองคความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
รวมขนาดของแรงย่อย F1 F2 และ F3 คือ ΣF = F1 + F2 + F3 ดังนั้น ΣF = 3 + 1.5 + 2 = ตามลําดับหัวขอ ดังนี้
6.5 นิวตัน ซึ่งจะมีทิศทางของแรงลัพธ์ ดังภาพที่ 1.16 (ข) • กรณีแรงยอยทั้งหมดมีทิศทางเดียวกัน
F1 F3 F1 F2 F3 • กรณีแรงยอยทั้งหมดมีทิศทางตรงขามกัน
• กรณีแรงยอยทั้งหมดมีทิศทางตั้งฉากกัน
F2 ΣF
• กรณีแรงยอยทั้งหมดมีทิศทางทํามุมใดๆ
(ก) (ข) ตอกัน
ภาพที่ 1.16 การหาแรงลัพธ์ของแรงย่อยที่มีทิศทางเดียวกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• กรณีแรงย่อยมีทิศทางตรงข้ามกัน สามารถหาแรงลัพธ์ได้จากผลรวมของแรงย่อย
ทั้งหมดในระบบ โดยก�าหนดให้แรงทิศใดทิศหนึ่งเป็นบวก และแรงอื่นที่มีทิศตรงกันข้ามเป็นลบ
ซึ่งทิศทางของแรงลัพธ์จะพิจารณาจากผลการค�านวณ หากแรงลัพธ์มีค่าเป็นบวก แรงลัพธ์นั้นจะ
มีทศิ ทางเดียวกับแรงทีก่ า� หนดไว้ แต่หากแรงลัพธ์มคี า่ เป็นลบ แรงลัพธ์นนั้ จะมีทศิ ตรงข้ามกับแรง
ที่ก�าหนดไว้
ตัวอย่างเช่น แรงย่อย F1 มีขนาด 4 นิวตัน และแรงย่อย F2 มีขนาด 2 นิวตัน
และมีทิศทางดังภาพที่ 1.17 (ก) เมื่อก�าหนดให้ทิศทางตะวันออก (ไปด้านขวามือ) เป็นบวก และ
ทิศทางตะวันตก (ไปด้านซ้ายมือ) เป็นลบ สามารถหาขนาดของแรงลัพธ์ได้จาก ΣF = F1 - F2 =
4 - 2 = 2 นิวตัน เนื่องจากแรงลัพธ์มีค่าเป็นบวก ดังนั้น แรงลัพธ์จึงมีทิศทางไปทางตะวันออก
ดังภาพที่ 1.17 (ข)
N F1
F1 F2
ΣF F2
(ก) (ข)

ภาพที่ 1.17 การหาแรงลัพธ์ของแรงย่อยทีม่ ที ศิ ทางตรงข้ามกัน


ที่มา : คลังภาพ อจท.

แรงและการเคลื่อนที่ 15

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


จงคํานวณหาแรงลัพธที่กระทําตอกลองที่วางบนพื้นระดับลื่น ครูสรุปหลักการคํานวณหาแรงลัพธอยางงาย เพื่อใหนักเรียนเขาใจไดงาย
ดังภาพ ขึ้น ตัวอยางเชน
F1 = 10 N F2 = 20 N • กรณีแรงยอยมีทิศทางเดียวกัน (แรงยอยทํามุม 0 องศา)
แรงลัพธ = ขนาดของแรงทั้งสองบวกกัน และแรงลัพธมีทิศทางเดิม
• กรณีแรงยอยมีทิศทางตรงขามกัน (แรงยอยทํามุม 180 องศา)
(แนวตอบ กําหนดใหทิศทางขวามือมีคาเปนบวกและทิศทาง แรงลัพธ = แรงที่มีขนาดมากกวาลบแรงที่มีขนาดนอย และแรงลัพธ
ซายมือมีคาเปนลบ มีทิศทางเดียวกับแรงที่มีขนาดมากกวา
จะไดวา ΣF = F2 - F1
ΣF = 20 - 10
ΣF = 10 N
ดังนัน้ แรงลัพธทกี่ ระทําตอกลองมีขนาดเทากับ 10 นิวตัน และ
มีทิศไปทางขวามือ)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
6. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนที่นั่งขางๆ แลว • กรณีแรงยอยมีทิศทางตั้งฉากกัน สามารถหาแรงลัพธไดโดยใชวิธีการวาดรูปแบบ
รวมกันศึกษา เรื่อง การหาแรงลัพธโดยวิธีการ หัวลูกศรต1อกับหางลูกศร แลวลากเสนแรงลัพธ ซึง่ จะไดรปู สามเหลีย่ มมุมฉาก จากนัน้ ใชทฤษฎีบท
คํานวณ จากหนังสือเรียน พีทาโกรัส (Pythagoras’ theorem) ในการหาขนาดของแรงลัพธ
7. ครูใหนกั เรียนแตละคูร ว มศึกษาคนควาเพิม่ เติม ตัวอยางเชน แรงยอย F1 มีขนาด 3 นิวตัน มีทิศไปทางตะวันออก และแรงยอย
จากอินเทอรเน็ต F2 มีขนาด 2 นิวตัน มีทิศไปทางเหนือ ดังภาพที่ 1.18 (ก)
N
ΣF
F2 F2
F1
θ
F1
(ก) (ข)
ภาพที่ 1.18 การหาแรงลัพธกรณีแรงยอยมีทิศทางตั้งฉากกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพที่ 1.18 จะเห็นไดวา แรง F1 และ F2 ตั้งฉากกันซึ่งเมื่อนํามาวาดรูปแบบ


หัวลูกศรตอกับหางลูกศรจะได ดังภาพที่ 1.18 (ข) ขนาดของแรงลัพธหาไดโดยการใชทฤษฎีบท
พีทาโกรัส ดังสมการ
(ΣF)2 = F12 + F22
จากภาพที่ 1.18 (ข) จะได (ΣF)2 = 32 + 22
(ΣF)2 = 13
ΣF = 13
ΣF = 3.6 N
สวนทิศทางของแรงลัพธ ΣF สามารถหาไดจากสมการดานลาง ซึ่งมุม θ เปนมุม
ที่แรงลัพธ ΣF กระทํากับทิศตะวันออก
F
tan θ = F2
1
จากภาพที่ 1.18 (ข) จะได tan θ = 23
θ = tan-1( 2 )
3
θ = 33.7 ํ

นั่นคือ แรงลัพธ ΣF มีขนาด 3.6 นิวตัน ทํามุม 33.7 องศากับทิศตะวันออก

16

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เปนทฤษฎีที่วาดวยความสัมพันธระหวางดานทั้งสาม แรงขนาด 10 นิวตัน ทํามุม 60 องศา กับแนวแกน +X ขอใด
ของสามเหลี่ยมมุมฉาก (right triangle) โดยทฤษฎีกลาวไววา กําลังสองของ เปนองคประกอบของแรงในแนวแกน X และแกน Y มีคาเทากับ
เทาใด
ดานตรงขามมุมฉาก (c2) จะเทากับผลรวมของกําลังสองของดานประกอบ
1. Fx = 2.5 นิวตัน และ Fy = 5 นิวตัน
มุมฉากที่เหลือทั้งสองดาน (a2 + b2) หรืออาจกลาวไดวา พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม 2. Fx = 2.5 นิวตัน และ Fy = 5 3 นิวตัน
จัตุรัสบนดานตรงขามมุมฉากเทากับผลบวกของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบน 3. Fx = 5 นิวตัน และ Fy = 5 นิวตัน
ดานประกอบมุมฉาก (c2 = a2 + b2) 4. Fx = 5 นิวตัน และ Fy = 5 3 นิวตัน
c 5. Fx = 10 นิวตัน และ Fy = 5 3 นิวตัน
c2 (วิเคราะหคําตอบ
B F F
จากสมการ cos θ = Fx sin θ = Fy
a2 a c Fx = F cos θ Fy = F sin θ
a C b A Fx = 10 cos 60 ํ Fy = 5 sin 60 ํ
Fx = 5 N Fy = 5 3 N
b2 b จะไดวา องคประกอบของแรงในแนวแกน X และแกน Y เทากับ
5 นิวตัน และ 5 3 นิวตัน ตามลําดับ ดังนั้น ตอบขอ 4.)
T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
• กรณีแรงย่อยมีทิศทางท�ามุมใด ๆ ต่อกัน สามารถหาแรงลัพธ์ได้จากการวาดรูป 8. ครูใหนักเรียนพูดคุยกับคูตนเองเกี่ยวกับผล
แบบหัวลูกศรต่อกับหางลูกศร แล้วลากเส้นแรงลัพธ์ ซึ่งจะได้รูปสามเหลี่ยมใด ๆ ดังภาพที่ 1.19 การศึกษา จากนั้นรวมกันสรุปผลการศึกษา
แลวจดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัวของ
ΣF แตละคน
F1 sin θ
F1 9. ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับการหาแรงลัพธ
α θ โดยวิธกี ารคํานวณทีน่ กั เรียนไดรว มกันศึกษา
F2 F1 cos θ แลว โดยครูอาจใชคําถามถามนักเรียนวา
ภาพที่ 1.19 การหาแรงลัพธ์กรณีแรงย่อยมีทิศทางท�ามุมใดๆ ต่อกัน การหาแรงลัพธโดยวิธีการคํานวณจะตองนํา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
หลักการใดทางคณิตศาสตรมาใชบาง ครูทิ้ง
ขนาดของแรงลัพธ์จะหาได้จากกฎของโคไซน์ (law of cosines) ดังสมการ ชวงเวลาใหนักเรียนไดคิดทบทวน
ΣF = F12 + F22 + 2F1F2cos θ 10. ครูสุมนักเรียนใหยืนขึ้นแลวตอบคําถามที่ครู
ไดถามไปแลว เพื่อตรวจสอบความเขาใจใน
โดยที่ θ คือ มุมที่แรงย่อยทั้งสองกระท�าต่อกัน ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ พิจารณา การบูรณาการความรูระหวางวิชาฟสิกสกับ
ได้จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังภาพที่ 1.19 ซึ่งจะได้สมการความสัมพันธ์ตามสมการ วิชาคณิตศาสตร
F sin θ
tan α = F +1 F cos θ
2 1

โดยที่ α คือ มุมที่แรงลัพธ์ ΣF กระท�ากับแรงย่อย F2


สังเกตว่า F1 และ F2 ในสมการ tan α ไม่สามารถสลับที่กันได้ และ F2 จะต้อง
เป็นด้านของสามเหลี่ยมตามแนวระดับ ส่วนด้าน F1 จะต้องท�ามุม θ เอียงกับด้าน F2 ตามภาพ
ที่ 1.19
Science Focus
กฎของโคไซน์
กฎของโคไซน์ (law of cosines) เป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์
C
ระหว่างด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยม ไปยังด้านที่เหลือและมุมที่อยู่ตรงข้าม
รูปสามเหลี่ยมใด ๆ ถ้าด้าน a b และ c เป็นด้านตรงข้ามมุม A b a
B และ C ตามล�าดับ จะได้
a2 = b2 + c2 - 2bc cos A A B
b2 = c2 + a2 - 2ca cos B c
ภาพที่ 1.20 สามเหลี่ยมใดๆ
c2 = a2 + b2 - 2ab cos C ที่มา : คลังภาพ อจท.

แรงและการเคลื่อนที่ 17

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


แรง F1 ขนาด 4 นิวตัน มีทิศทํามุมไปกับแนวแกน +X และแรง ครูอาจนําความรูที่เกี่ยวของกับการหา a
B
F2 ขนาด 3 นิวตัน มีทิศทํามุมไปกับแนวแกน +Y แรงลัพธของแรง แรงลัพธโดยวิธีการคํานวณมาอธิบายเปน
C
ทั้งสองจะทํามุมกับแนวแกน +X เปนมุมเทาใด ความรูเสริมใหนักเรียน ซึ่งเปนสิ่งที่นอก
1. 30 องศา 2. 37 องศา เหนื อ จากหนั ง สื อ เรี ย น โดยครู นํ า ความ c
3. 45 องศา 4. 53 องศา รู  ใ นวิ ช าคณิ ต ศาสตร หรื อ หลั ก การทาง b
5. 60 องศา คณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับการคํานวณหา A
F แรงลัพธ เชน กฎของไซน (law of sine)
(วิเคราะหคําตอบ จากโจทยจะไดวา tan α = F2
1
3 เปนกฎที่แสดงความสัมพันธระหวางความ
tan α = 4 ยาวดานของรูปสามเหลีย่ มใดๆ กับไซนของ
α = tan ( 3 )
-1
4 มุมในรูปสามเหลี่ยม แสดงไดดวยสมการ
α = 37 ํ
a b c
จะไดวา แรงลัพธของแรงทั้งสองจะทํามุม 37 องศา กับแนว sin A = sin B = sin C
แกน +X ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
11. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรูจากตัวอยาง ตัวอย่างที่ 1.4
ที่ 1.4 จากหนังสือเรียน ในประเด็นโจทย แรง F1 ขนาด 3 นิวตัน และแรง F2 ขนาด 4 นิวตัน กระทํากับวัตถุ
กํ า หนดสิ่ ง ใด และโจทย ต  อ งการหาสิ่ ง ใด
บาง และจดบันทึกวิธกี ารแกโจทยปญ  หาจาก ก. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ เมื่อแรง F1 และแรง F2 ทํามุมกัน 90 องศา
ตัวอยางลงในสมุดบันทึกประจําตัว วิธีทํา จากโจทย เขียนภาพได ดังภาพที่ 1.21
คํานวณหาขนาดของแรงลัพธ
12. ครูใหนักเรียนจับกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ จากภาพที่ 1.21 จะได (ΣF)2 = F12 + F22
กลุ  ม ละ 4-5 คน จากนั้ น ร ว มกั น ศึ ก ษา (ΣF)2 = 32 + 42
ΣF
แนวทางการปฏิบตั กิ จิ กรรม การหาขนาดและ F2 ΣF = 25 = 5 N
ทิศทางของแรงลัพธ จากหนังสือเรียน หาทิศทางของแรงลัพธ
F
13. แตละกลุมสงตัวแทนออกมารับอุปกรณการ จากภาพที่ 1.21 จะได tan θ = F2
θ 1
ทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน จากนั้นรวมกันลง F1 tan θ = 43
มือปฏิบัติกิจกรรมตามวิธีปฏิบัติที่ไดศึกษา อัตราสวน 1 cm : 1 N
θ = tan-1( 4 )
ภาพที่ 1.21 ภาพประกอบตัวอยางที่ 1.4 ก. 3
14. นักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรมและอธิบาย θ = 53 ํ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เกีย่ วกับผลของแรงลัพธทกี่ ระทําตอวัตถุลงใน
สมุดบันทึกประจําตัวทุกคน ดังนั้น แรงลัพธมีขนาด 5 นิวตัน และมีทิศทางทํามุม 53 องศา กับแรง F1
ข. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ เมื่อแรง F1 และแรง F2 ทํามุมกัน 60 องศา
วิธีทํา จากโจทย เขียนภาพได ดังภาพที่ 1.22
ขนาดของแรงลัพธ
จากสมการ ΣF = F12 + F22 + 2F1F2 cos θ

ΣF ΣF = 32 + 42 + 2(3)(4) cos 60 ํ
F2 ΣF = 37 = 6.08 N

หาทิศทางของแรงลัพธ
α θ F sin θ
จากสมการ tan α = F +2 F cos θ
F1 1 2
อัตราสวน 1 cm : 1 N tan α = 3 +4 sin
4 cos
60 ํ
60 ํ
ภาพที่ 1.22 ภาพประกอบตัวอยางที่ 1.4 ข.
ที่มา : คลังภาพ อจท. 3
4( 2 )
tan α = = 0.693
3 + 4 ( 12 )
α = tan-1(0.693) = 34.7 ํ

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาด 6.08 นิวตัน และมีทิศทางทํามุม 34.7 องศา กับแรง F1

18

ขอสอบเนน การคิด
นายอัคนีออกแรงขนาด 200 นิวตัน ลากกลองไมที่ (แนวตอบ พิจารณาแรงในแนวดิ่ง; Fy = F sin θ
ภายในบรรจุหนังสือเรียนเอาไวจํานวน 10 เลม ซึ่งเต็ม Fy = F sin 53 ํ
กลองพอดี ไปบนพื้นระดับลื่น จงหาแรงดึงในแนวดิ่ง Fy = (200) ( 45 )
และแรงดึงในแนวระดับวามีขนาดเทาใด หากไมคาํ นึง Fy = (40)(4)
ถึงนํ้าหนักของวัตถุและแรงปฏิกิริยาตั้งฉาก
Fy = 160 N
F = 200 N พิจารณาแรงในแนวระดับ; Fx = F cos θ
Fx = F cos 53 ํ
53 ํ Fx = (200) ( 35 )
Fx = (40)(3)
Fx = 120 N
ดังนัน้ แรงดึงในแนวดิง่ และแรงดึงในแนวระดับมีขนาดเทากับ
160 นิวตัน และ 120 นิวตัน ตามลําดับ)

T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กิจกรรม การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ 1. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน 3-4 คน
แลวใหนักเรียนแสดงวิธีการคํานวณ พรอมทั้ง
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การวัด จุดประสงค์ อธิบายวิธีการแกโจทยปญหา จากตัวอยางที่
• การสังเกต
• การตีความหมายข้อมูล
หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ท�ามุมต่อกัน 1.4
จิตวิทยาศาสตร์ วัสดุอุปกรณ์ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพิ่มเติมเกี่ยว-
• ความพยายามมุ่งมั่น
• การร่วมมือช่วยเหลือ 1. เชือก 3. เครื่องชั่งสปริง กับการแกโจทยปญหา จากตัวอยางที่ 1.4
• ความรอบคอบ
2. กระดาษสีขาว 4. ไม้โปรแทรกเตอร์ 3. ครูนาํ การอภิปรายกับนักเรียนตอบคําถามทาย
วิธีปฏิบัติ กิจกรรม การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ
1. ผูกเชือกทั้งสามเข้าด้วยกัน โดยให้ปลายด้านหนึ่งของเชือกมัดรวมกัน ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งมัดเป็นห่วง หลังจากที่นักเรียนไดทําการศึกษาแลว
แล้วน�าเครื่องชั่งสปริงมาเกี่ยวกับห่วงเชือกทั้งสาม ดังภาพที่ 1.23 4. ครูแจกใบงาน เรื่อง แรงลัพธ ใหนักเรียน แลว
1 มอบหมายให นั ก เรี ย นนํ า กลั บ ไปศึ ก ษาเป น
ภาพที่ 1.23 ภาพประกอบกิจกรรม
การบาน
3 การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2

2. วางอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ในข้อ 1. ลงบนกระดาษสีขาว แล้วค่อย ๆ ออกแรงดึงเครื่องชั่งสปริงทั้งสามจน


เห็นว่าปมเชือกที่มัดรวมกันนั้นอยู่นิ่ง อ่านค่าแรงดึงจากเครื่องชั่งสปริงทั้งสาม แล้วขีดเส้นตามแนว
เส้นเชือกทั้งสามลงบนกระดาษ
3. น�ากระดาษที่ขีดเส้นตามแนวเส้นเชือกในข้อ 2. มาเขียนเวกเตอร์แสดงค่าแรงดึงในเส้นเชือกแต่ละเส้น
4. หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงดึงเชือกทัง้ สามแรง จากวิธเี ขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว
และวิธีสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน แล้วน�าผลที่ได้จากการหาแรงลัพธ์ทั้งสองวิธีมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. แรงลัพธ์ที่ได้จากวิธีเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว และวิธีสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีค่าเท่ากัน
หรือไม่
2. แรงดึงในเส้นเชือกทั้งสามเส้นสัมพันธ์กันอย่างไร
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
การหาแรงลัพธ์โดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์สามารถท�าได้ 2 วิธี ดังที่ได้ศึกษามาแล้ว ซึ่ง
หากเป็นแรงย่อยในระนาบเดียวกัน ไม่ว่าจะใช้วิธีการใดก็จะได้แรงลัพธ์ที่มีค่าเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน ซึ่งจาก
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
กิจกรรมนี้แรงลัพธ์ที่หาได้จากวิธีเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหางต่อหัว และวิธีสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานจะ
มีค่าเท่ากันหรือค่าใกล้เคียงกัน เพราะแรงย่อยที่ใช้วิเคราะห์เป็นแรงเดียวกัน 1. มีขนาดเทากันหรือใกลเคียงกัน
2. แรงดึงในเสนเชือกของเชือกเสนที่ 3 จะเทากับ
แรงและการเคลื่อนที่ 19 ผลรวมของแรงดึงในเสนเชือกของเชือกเสนที่ 1
และ 2 ในทิศทางตรงขามกัน

กิจกรรม ทาทาย บันทึก กิจกรรม

จากการทํากิจกรรม การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ ตัวอยางเวกเตอรแสดงขนาดแรงดึงในเสนเชือกแตละเสน (โดยขนาดและทิศทาง


ครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ที่ ไ ด แ บ ง ไว เ พื่ อ ทํ า กิ จ กรรมร ว มกั น ของแรงดึงในเสนเชือกแตละเสนอาจแตกตางกันไป ขึน้ อยูก บั การจัดวางอุปกรณ
พูดคุยเกี่ยวกับผลการทํากิจกรรม และครูใหนักเรียนนําแรงดึงใน และขั้นตอนการทําการทดลองของนักเรียน)
เสนเชือกดังกลาวมาหาแรงลัพธโดยวิธีการคํานวณ โดยครูให F1 = 4.1 N
นักเรียนแตละคนแสดงวิธีการคํานวณลงในสมุดบันทึกประจําตัว
F3 = 4.9 N
แลวนํามาสงครูเพื่อเปนคะแนนพิเศษ θ

F2 = 2.8 N

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ “การ 2.2 ¡®¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè¢Í§¹Ôǵѹ
เปลี่ยนสภาพของวัตถุ มีสิ่งใดเกี่ยวของบาง” ในชีวิตประจําวัน การที่เราพยายามทําใหวัตถุมีการ
เพือ่ นําไปสูค าํ ถามทีว่ า “การทีว่ ตั ถุจะเคลือ่ นที่ เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ไมวาจะเร็วขึ้น ชาลง หรือเปลี่ยน
หรือไมเคลื่อนที่ แรงตองมีสวนเกี่ยวของทุก ทิศทางการเคลื่อนที่ ก็จะมีปริมาณที่ตานความพยายามที1่
ครั้งหรือไม อยางไร” โดยครูใหนักเรียนแสดง เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่เหลานั้น ซึ่งเรียกวา ความเฉื่อย
ความคิดเห็นกันอยางอิสระ และยังไมเฉลยวา (inertia) โดยปริมาณที่บงบอกถึงความเฉื่อยของวัตถุใด ๆ คือ
คําตอบนั้นถูกหรือผิด มวล (mass) กลาวคือ วัตถุที่มีมวลมากจะมีความเฉื่อยมาก
2. ครูแจงเนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรู เรื่อง ทําใหเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ไดยากกวาวัตถุที่มีมวลนอย
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ใหนักเรียนทราบ กวา ซึ่งก็จะมีความเฉื่อยนอยกวานั่นเอง
จากนั้นใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง เซอรไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ไดนําเสนอ
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จากหนังสือเรียน แนวคิดที่อธิบายถึงความสัมพันธของแรงกับความเรงที่มี ภาพที่ 1.24 ไอแซก นิวตัน
3. ครูใหนักเรียนใชสมารตโฟนของตนเองในการ ผลตอการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ ซึง่ เปนพืน้ ฐานของวิชากลศาสตร ที่มา : คลังภาพ อจท.
สืบเสาะหาความรูเ กีย่ วกับงานเขียนของนิวตัน เรียกแนวคิดนี้วา กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s laws of motion) ซึ่งเปนกฎที่ใชอธิบาย
(Principia) เพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต ผลของแรงตอสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุที่อธิบายไดครอบคลุมและเขาใจงาย
4. จากความรู เรือ่ ง แรง ครูตงั้ คําถามกับนักเรียน ในหัวขอการเคลื่อนที่แนวตรง ไดศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุและปริมาณตาง ๆ ที่
เพือ่ เชือ่ มโยงเพือ่ นําเขาสู เรือ่ ง กฎการเคลือ่ นที่ เกิดจากการเคลื่อนที่ เชน ตําแหนง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว ความเรง เปนตน
ขอทีห่ นึง่ ของนิวตัน เพือ่ ใหนกั เรียนทํานายหรือ โดยไมสนใจวาวัตถุนนั้ เคลือ่ นทีไ่ ดอยางไร แตในหัวขอนีจ้ ะศึกษาสาเหตุของการเคลือ่ นทีน่ นั้ โดยใช
ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับ “เมื่อไมมีแรงกระทําตอ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันในการอธิบาย ซึ่งประกอบดวยกฎ 3 ขอ
วัตถุ วัตถุจะมีสภาพการเคลื่อนที่อยางไร”
(แนวตอบ วัตถุจะคงสภาพการเคลื่อนที่เดิมไว Science Focus
คือ ถาวัตถุที่วางนิ่งอยูกับที่ก็จะยังคงรักษา §Ò¹à¢Õ¹¢Í§¹Ôǵѹ
สภาพเดิมไว แตถาวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ก็จะ ไอแซก นิวตัน (ค.ศ. 1642-1727 หรือ พ.ศ. 2185-
ยังคงเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวตลอดการ 2270) นักวิทยาศาสตรและนักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ เปนผู
เคลื่อนที่) อธิบายวา ทําไมวัตถุจึงตกลงสูพื้นดวยความเรง ผานงานเขียน
ของเขาในป พ.ศ. 2230 ชื่อวา Philosophiae Naturalis
Principia Mathematica (ภาษาละติน) หรือเรียกกันโดยทั่วไป
วา Principia ถือวาเปนหนึง่ ในหนังสือทีม่ อี ทิ ธิพลทีส่ ดุ ในอดีตและ
เปนรากฐานของวิชากลศาสตรดั้งเดิม (classical mechanics) ภาพที่ 1.25 Principia งานเขียนของ
โดยในงานเขียนนี้นิวตันไดพรรณนาถึงกฎแรงโนมถวงสากลและ นิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ที่มา : คลังภาพ อจท.

20

นักเรียนควรรู กิจกรรม 21st Century Skills


1 ความเฉื่อย (inertia) ในทางฟสิกส หมายถึง การตานการเปลี่ยนแปลง 1. ใหนักเรียนแบงกลุมกันอยางอิสระตามความสมัครใจ กลุมละ
สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆ หลักการของความเฉื่อยเปนหนึ่งในหลักการ 3-4 คน
พื้นฐานของฟสิกสดั้งเดิม ซึ่งนํามาอธิบายการเคลื่อนที่ของสสารและผลกระทบ 2. สมาชิกแตละกลุมพูดคุยกัน พรอมแบงหนาที่ของแตละคน
ที่สสารนั้นไดรับจากแรงที่มากระทํา หรือกลาวไดวา ความเฉื่อย คือ สมบัติ แลวรวมกันสืบคนขอมูลที่เกี่ยวของกับไอแซก นิวตัน
ของวัตถุที่พยายามรักษาสภาพการเคลื่อนที่ โดยการที่วัตถุที่มีมวลมากมีการ 3. สมาชิกแตละคนรวมกันพูดคุยและอภิปรายผลการศึกษาของ
เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ไดยากกวาวัตถุที่มีมวลนอย หรือวัตถุมีมวลมาก แตละคน แลวรวมกันจัดทําขอมูลที่เกี่ยวของกับนิวตันตาม
มีความเฉือ่ ยมาก ทําใหวตั ถุนนั้ เคลือ่ นทีย่ าก ตองใชแรงมากกวาวัตถุทมี่ มี วลนอย รูปแบบของแตละกลุม ซึง่ ตองเปนรูปแบบทีน่ า สนใจและสวยงาม
มีความเฉื่อยนอย ทําใหวัตถุเคลื่อนที่งาย ซึ่งใชแรงนอย 4. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาหนาชั้นเรียน เพื่อนําเสนอ
ขอมูลทีก่ ลุม ของตนเองไดจดั ทําขึน้ ดวยวิธกี ารสือ่ สารทีน่ า สนใจ
และเขาใจไดงาย

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน (Newton’s first law of motion) กล่าวถึง 5. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง กฎการเคลื่อนที่
สภาพเดิมของการเคลื่อนที่ โดยมีใจความว่า ถ้าไม่มีแรงภายนอกหรือแรงใด ๆ กระท�าต่อวัตถุ ขอที่หนึ่งของนิวตัน จากหนังสือเรียน แลวให
วัตถุจะรักษาหรือคงสภาพการเคลือ่ นทีเ่ ดิมไว้ แสดงว่าเราก�าลังสังเกตวัตถุนนั้ ในกรอบอ้างอิงเฉือ่ ย จดบันทึกเนื้อหาหรือใจความสําคัญลงในสมุด
กล่าวคือ ถ้าวัตถุอยู่นิ่ง ก็จะอยู่นิ่งต่อไปไม่เคลื่อนที่ กฎข้อนี้บางครั้งเรียกว่า กฎแห่งความเฉื่อย บันทึกประจําตัว จากนัน้ ครูนาํ อภิปรายขอสรุป
(law of inertia) เช่น การที่นักบินอวกาศลอยเคว้งคว้างในอวกาศ เพราะไม่มีมีแรงใด ๆ รวมทั้ง กฎการเคลื่อนที่ขอที่หนึ่งของนิวตัน
ประมาณได้ว่าไม่มีแรงดึงดูด แรงโน้มถ่วงจากโลกหรือดาวดวงใดมากระท�า (ในความเป็นจริง
6. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา “ถาแรงสองแรง
แรงโน้มถ่วงที่กระท�าต่อนักบินอวกาศมีขนาดน้อยมาก) นักบินอวกาศจึงสามารถลอยนิ่งอยู่ได้ใน
อวกาศ ดังภาพที่ 1.26 ที่มีขนาดไมเทากัน และทิศทางตรงขามกัน
มากระทํ า ต อ วั ต ถุ เ ดี ย วกั น จะมี ผ ลต อ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น
อยางไร” โดยครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนที่
นั่งขางๆ แลวรวมกันอภิปราย จากนั้นครูสุม
นักเรียนเพือ่ ใหอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
จากนั้นครูนําอภิปรายขอสรุปกฎการเคลื่อนที่
ขอที่สองของนิวตัน

ภาพที่ 1.26 นักบินอวกาศลอยอยู่ในอวกาศได้เพราะไม่มีแรงใดๆ มากระท�า


ที่มา : คลังภาพ อจท.
สังเกตได้วา่ เราจะไม่กล่าวถึงแรงลัพธ์ทกี่ ระท�าต่อวัตถุเป็นศูนย์ในกฎการเคลือ่ นทีข่ อ้ ทีห่ นึง่
ของนิวตัน เพียงแต่กล่าวว่า จะเป็นอย่างไรเมื่อไม่มีแรงภายนอกหรือแรงใด ๆ มากระท�าต่อวัตถุ
2. กฎการเคลือ่ นทีข่ อ้ ทีส่ องของนิวตัน (Newton’s second law of motion) มีใจความ
ว่า เมื่อแรงลัพธ์ที่กระท�าต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง โดยความเร่งจะแปรผัน
ตรงกับแรงลัพธ์ทกี่ ระท�าต่อวัตถุ และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ซึง่ เป็นการกล่าวถึงความสัมพันธ์
ระหว่างสิง่ ทีท่ า� ให้วตั ถุเกิดการเคลือ่ นที่ ปริมาณทีต่ า้ นทานสภาพการเคลือ่ นที่ และการเปลีย่ นสภาพ
การเคลื่อนที่ ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวแสดงได้ ดังสมการ
ΣF คือ แรงลัพธ์ที่กระท�าต่อวัตถุ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)

ΣF = ma m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg)


a คือ ความเร่งของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 (m/s2)
แรงและการเคลื่อนที่ 21

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดไมสอดคลองกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่หนึ่งของนิวตัน ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของ
1. นายโดงเข็นรถแลวรถไมเคลื่อนที่ นิวตัน https://www.twig-aksorn.com/film/newtons-laws-of-motion-8286/
2. รถยนตเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงตัว
3. นักบินสวมชุดนักบินอวกาศขับเครื่องบิน
4. นักบินอวกาศลอยเควงควางอยูในอวกาศ
5. การนําอาหารไปแชในตูเย็นแลวอาหารไมบูด
(วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. 2. 4. และ 5. วัตถุคงสภาพอยูนิ่ง หรือ
เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว ซึ่งสอดคลองกับกฎการเคลื่อนที่
ขอที่หนึ่งของนิวตัน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
7. ครูแบงนักเรียนออกเปน 8 กลุม กลุมละ กิจกรรม แรงกับควาÁเร่ง
ประมาณ 5-6 คน โดยใหคละกันระหวาง
นักเรียนที่มีพื้นฐานความรูเดิมในระดับเกง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์
คอนขางเกง ปานกลาง และออน ใหอยูใน • การลงความเห็นจากข้อมูล
• การตีความหมายและลงข้อสรุป
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่มากระท�าต่อวัตถุกับความเร่งของ
กลุม เดียวกัน จากนัน้ ครูใหนกั เรียนแตละกลุม วัตถุเมื่อมวลของวัตถุคงตัว
จิตวิทยาศาสตร์
รวมกันศึกษากิจกรรม แรงกับความเรง จาก
• ความมีเหตุผล วัสดุอุปกรณ์
1. รางไม้ 5. เชือก 9. เทปใส
หนังสือเรียน 2. รถทดลอง 6. ขอเกี่ยว 10. นอต
8. นั ก เรี ย นตั ว แทนแต ล ะกลุ  ม ออกมารั บ วั ส ดุ 3. แถบกระดาษ 7. รอกพร้อมที่ยึด
อุปกรณในการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน 4. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 8. แท่งไม้ส�าหรับหนุนรางไม้
วิธีปฏิบัติ
9. ครู แ นะนํ า ขั้ น ตอนและเทคนิ ค เกี่ ย วกั บ วิ ธี
ปฏิบัติ กอนที่จะลงมือปฏิบัติ จากนั้นครูให 1
ตอนที่ การชดเชยแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นจากรางไม้
ทุกกลุมลงมือปฏิบัติกิจกรรมได โดยระหวาง 1. ติดตั้งอุปกรณ์ตามภาพที่ 1.27 โดยให้รางไม้วางอยู่ในแนวระดับและยังไม่ต้องใส่นอตโลหะที่ขอเกี่ยว
ที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดินสังเกตและ เชือกไนลอน รถทดลอง หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต�่า
ใหคําแนะนําเมื่อนักเรียนไมเขาใจหรือเกิด
ปญหา
10. ครูเนนยํ้ากับนักเรียนวา เมื่อปฏิบัติกิจกรรม เครื่องเคาะ
เสร็จแลวใหตอบคําถามทายกิจกรรม จาก สัญญาณเวลา
แขนรางไม้
หนังสือเรียน โดยจดบันทึกลงในสมุดบันทึก รอก แถบกระดาษเคาะ
ประจําตัวเปนรายบุคคล สัญญาณเวลา
ขอเกี่ยว รางไม้
ภาพที่ 1.27 การติดตั้งอุปกรณ์กิจกรรมแรงกับความเร่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. จัดเชือกไนลอน แถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลา และรถทดลองให้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
3. ผลักรถทดลองให้เคลือ่ นทีไ่ ปหารอก ดังภาพที่ 1.28 (ก) หากรถทดลองเคลือ่ นทีไ่ ด้ระยะทางสัน้ ๆ แล้วหยุด
ให้หนุนปลายรางด้านที่ไม่มีรอก (อาจหนุนด้วยหนังสือ) ดังภาพที่ 1.28 (ข)

(ก) (ข)
ภาพที่ 1.28 ภาพประกอบวิธีปฏิบัติข้อ 3.
ที่มา : คลังภาพ อจท.
22

บันทึก กิจกรรม กิจกรรม สรางเสริม


ตอนที่ 1 เมือ่ นักเรียนทํากิจกรรม แรงกับความเรง เสร็จเรียบรอย ครูให
เมื่อทําการตรวจสอบการเคลื่อนที่ของรถทดลอง ถารถทดลองเคลื่อนที่ดวย นักเรียนแตละคนทบทวนผลการทํากิจกรรมของกลุมตนเอง จาก
อัตราเร็วคงตัว แถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลาจะปรากฏจุดทีม่ รี ะยะหางระหวาง นัน้ เขียนสรุปการทํากิจกรรมทัง้ ขัน้ ตอนการทํา ผลการทํากิจกรรม
จุดเทากัน และขอเสนอแนะในการทํากิจกรรมนี้หลังจากที่ทํากิจกรรมเสร็จ
แลว โดยเขียนลงในสมุดบันทึกประจําตัวเปนรายบุคคล เสร็จแลว
เก็บรวบรวมสงครูผูสอน
ตัวอยางแถบกระดาษที่ไดจากการทํากิจกรรม

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. ท�าการตรวจสอบว่ารถทดลองเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวหลังจากหนุนราง ด้วยการเปิดหม้อแปลงไฟฟ้า 1. นักเรียนแตละกลุมรวมกันวิเคราะหผลการ
โวลต์ตา�่ ให้เครือ่ งเคาะสัญญาณเวลาท�างาน ปล่อยให้รถทดลองเคลือ่ นทีเ่ พือ่ ลากแถบกระดาษเคาะสัญญาณ ปฏิบัติกิจกรรม และอภิปรายผลทายกิจกรรม
เวลา ซึง่ จะตรวจสอบได้โดยสังเกตระยะห่างระหว่างช่วงจุดบนแถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลาว่ามีระยะห่าง รวมกัน
ระหว่างช่วงจุดเท่ากัน
2. ครูสมุ นักเรียนตัวแทนกลุม ออกมาหนาชัน้ เรียน
2
ตอนที่ ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งกับแรงดึงเชือก โดยที่มวลมีค่าคงตัว แลวใหแตละคนอภิปรายผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม
1. ใช้ชุดอุปกรณ์จากตอนที่ 1 ซึ่งถือว่าแรงเสียดทานบนรางไม้ได้ถูกชดเชยแล้ว โดยจัดเชือกไนลอน ของกลุมตนเองใหเพื่อนในชั้นเรียนฟง
แถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลา และรถทดลองให้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปกิจกรรม
2. ใส่นอตลงไปที่ขอเกี่ยว 1 ตัว ดังภาพที่ 1.29 เปิดหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต�่าให้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา แรงกับความเรง
ท�างาน แล้วปล่อยให้รถทดลองลากแถบกระดาษ
เคาะสัญญาณเวลาผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
3. น�าแถบกระดาษที่ได้มาเขียนข้อความไว้ด้านหลังว่า
นอต 1 ตัว
4. เปลี่ยนแถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลา แล้วปฏิบัติ
ตามข้อ 1. ถึงข้อ 3. ซ�้า แต่เพิ่มจ�านวนนอตเป็น 2
3 4 และ 5 ตามล� า ดั บ ซึ่ ง จะได้ แ ถบกระดาษ
เคาะสัญญาณเวลาทั้งหมด 5 แถบ
5. สังเกตและเปรียบเทียบระยะห่างระหว่างจุดบนแถบ
ภาพที่ 1.29 ใส่นอตลงไปที่ขอเกี่ยว 1 ตัว
กระดาษทีไ่ ด้จากการท�ากิจกรรม และร่วมกันสรุปผล ที่มา : คลังภาพ อจท.
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
ตอนที่ 1
1. เหตุใดรถทดลองจึงเคลื่อนที่ได้ในระยะทางสั้น ๆ แล้วหยุด แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
2. การหนุนรางไม้มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
1. การเพิ่มจ�านวนนอตเปรียบเสมือนการเพิ่มปริมาณใด 1. มีแรงเสียดทานระหวางลอรถกับรางไม
2. จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดแรงดึงรถทดลองกับขนาดความเร่งของรถทดลอง จากแถบกระดาษ 2. ทําใหรางไมเอียง เปนการชดเชยแรงเสียดทาน
ที่ได้จากการท�ากิจกรรม ระหวางลอรถกับรางไม
3. ถ้าเพิ่มมวลบนรถทดลองแต่ให้จ�านวนนอตคงตัว ผลการท�ากิจกรรมที่ได้จะเป็นอย่างไร
ตอนที่ 2
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม 1. แรงดึงในเสนเชือก
จากกิจกรรมพบว่า เมือ่ มวลของรถทดลองคงตัว ขนาดแรงทีด่ งึ รถทดลองเพิม่ มากขึน้ มีผลท�าให้ความเร่ง 2. เนื่ อ งจากแรงดึ ง ในเส น เชื อ กมี ข นาดเท า กั บ
ของรถทดลองเพิ่มขึ้น ในทางกลับกัน เมื่อขนาดของแรงที่ดึงรถทดลองคงตัว หากมวลรถทดลองเพิ่มมากขึ้น นํ้าหนักของนอตที่แขวน การเพิ่มจํานวนนอต
มีผลท�าให้ความเร่งของรถทดลองลดลง จึ ง เป น การเพิ่ ม ขนาดของแรงที่ ก ระทํ า ต อ รถ
ทดลอง จึงสงผลใหความเรงในการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่ 23 ของรถทดลองมีคาเพิ่มขึ้น
3. ความเรงของรถทดลองจะลดลง

กิจกรรม ทาทาย บันทึก กิจกรรม

ครูใหนักเรียนกลับสูกลุมเดิมที่ไดแบงไวเพื่อทํากิจกรรม และ ตอนที่ 2


มอบหมายใหแตละกลุมรวมกันศึกษาการคํานวณหาอัตราเร็ว ระยะหางระหวางจุดบนแถบกระดาษจะเพิ่มขึ้นตามจํานวนนอตที่เพิ่มขึ้น
ของวัตถุจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา แลวใหแตละกลุมนําแถบ กลาวคือ ระยะหางของจุดบนแถบกระดาษที่มีนอต 1 ตัว จะมีระยะหางระหวาง
กระดาษที่ไดจากการทดลองในตอนที่ 2 มาวิเคราะหหาอัตราเร็ว จุดนอยที่สุด และเมื่อเพิ่มจํานวนนอตเปน 2 ตัว 3 ตัว และ 4 ตัว ระยะหาง
เฉลี่ยและอัตราเร็วขณะหนึ่ง โดยจัดทําเปนรายงานกลุม ระหวางจุดบนแถบกระดาษก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามลําดับ จนกระทั่งมีระยะหาง
ระหวางจุดบนแถบกระดาษมากที่สุดเมื่อมีจํานวนนอต 5 ตัว

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรูเพิ่มเติมหลัง จากกิจกรรมแรงกับความเร่ง ถ้าลองเปลี่ยนมวลของวัตถุโดยให้แรงที่กระท�าต่อวัตถุมี
จากการศึกษากิจกรรม แรงกับความเรง และ ขนาดคงตัวจะพบว่า เมือ่ เพิม่ มวลของวัตถุขนาดของความเร่งของวัตถุจะมีคา่ ลดลง (เนือ่ งจากวัตถุ
กฎการเคลื่ อ นที่ ข  อ ที่ ส องของนิ ว ตั น จาก มวลมากมีความเฉือ่ ยมากกว่าวัตถุมวลน้อย) จึงสรุปได้วา่ ขนาดของความเร่งของวัตถุแปรผันตรง
หนังสือเรียน กับขนาดของแรงทีม่ ากระท�าต่อวัตถุ แต่แปรผกผันกับมวลของวัตถุ ซึง่ สอดคล้องกับกฎการเคลือ่ นที่
5. ครูใหนักเรียนตอบคําถามทาทายการคิดขั้น ข้อที่สองของนิวตัน สามารถเขียนแทนได้ด้วยสมการ
สูงที่ถามวา “แรง 1 นิวตัน มีความหมายวา
อยางไร” a คือ ความเร่งของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 (m/s2)
6. หลังจากที่นักเรียนทราบถึงหลักการหรือกฎ a = ΣmF ΣF คือ แรงลัพธ์ที่กระท�าต่อวัตถุ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
และสมการของกฎการเคลื่อนที่ขอที่สองของ m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg)
นิวตันแลว ครูมอบหมายใหนักเรียนวิเคราะห
ตัวอยางที่ 1.5 จากหนังสือเรียน โดยแสดง
เนื่องจากมวลจะต้องมีค่าเป็นบวกเสมอ ดังนั้น จาก
วิธีการคํานวณลงในสมุดบันทึกประจําตัวของ คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง
สมการด้านบน ทิศทางของความเร่งจะต้องเป็นไปในทิศทาง
แตละคน เดียวกับแรงลัพธ์ ขนาดของความเร่งจะเพิ่มขึ้นตามขนาดของ แรง 1 นิวตัน มีความ
แรงลัพธ์ แต่เมือ่ แรงลัพธ์ทกี่ ระท�ากับวัตถุมคี า่ เป็นศูนย์ วัตถุจะยัง หมายว่าอย่างไร
คงรักษาสภาพการเคลื่อนที่ หรือคงสภาวะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่
ด้วยความเร็วคงตัวนั่นเอง
ตัวอย่างที่ 1.5
เด็กชายคนหนึ่งออกแรงเข็นลังใส่หนังสือมวล 20 กิโลกรัม ด้วยแรง 5 นิวตัน ไปทางทิศตะวัน1ออก
จงหาว่าลังใส่หนังสือจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด ถ้าลังนี้ตั้งอยู่บนพื้นผิวเรียบไม่มีแรงเสียดทาน

วิธีท�า เมือ่ ลังใส่หนังสือตัง้ อยูบ่ นพืน้ ผิวเรียบไม่มแี รงเสียดทาน แสดงว่า แรงลัพธ์ทกี่ ระท�าต่อลังนีม้ เี พียง
แรงเดียว คือ แรง 5 นิวตัน ที่เด็กชายออกแรงเข็น จึงได้ว่า
จากสมการกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
ΣF = ma
5 = (20)(a)
a = 205
a = 0.25 m/s2
ดังนั้น ลังใส่หนังสือจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 0.25 เมตรต่อวินาที2 ในทิศทางเดียวกับแรงที่มากระท�า
หรือทิศตะวันออก
แนวตอบ H.O.T.S.
แรง 1 นิวตัน คือ แรงที่ทําใหวัตถุมวล 1
24
กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเรง 1 เมตรตอวินาที2
ในทิศทางตามแนวแรง

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แรงเสียดทาน (friction) คือ แรงที่ตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยเกิดขึ้น ลังไมใบหนึ่งถูกแรงขนาด 20 นิวตัน กระทําแลวทําใหลังไม
ระหวางผิวสัมผัส 2 ผิว เชน ผิวสัมผัสของวัตถุกับผิวของพื้น แรงเสียดทานมีผล เกิดความเรง 2 เมตรตอวินาที2 อยากทราบวา ถาลังไมใบนี้
ตอการเคลื่อนที่ โดยจะพยายามตอตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ ขนาดของแรง ถูกแรงขนาด 10 นิวตัน กระทําในตําแหนงและทิศทางเดียวกันกับ
เสียดทานจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับลักษณะของผิวสัมผัส แรงกดวัตถุลงบนพื้น แรงขนาด 20 นิวตัน ลังไมใบนี้จะเกิดความเรงเทาใด
สัมผัส และชนิดของวัตถุที่สัมผัส แรงเสียดทานมีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ (แนวตอบ จากสมการ ΣF = ma
ของวัตถุ 20 = m(2)
m = 10 kg
เมื่อถูกแรง 10 นิวตัน กระทํา จะไดวา
10 = (10)a
a = 1 m/s2
ดังนั้น เมื่อลังไมใบนี้ถูกแรงขนาด 10 นิวตัน กระทํา จะเกิด
ความเรง 1 เมตรตอวินาที2)

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. กฎการเคลือ่ นทีข่ อ ทีส่ ามของนิวตัน (Newton’s third law of motion) มีใจความวา 1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทุ ก คนใช ฝ  า มื อ ตบฝ า มื อ ของ
เมื่อมีแรงกระทําระหวางวัตถุสองวัตถุ แรงที่วัตถุทั้งสองกระทําตอกันจะมีขนาดเทากัน แตทิศทาง เพือ่ นอีกคนหนึง่ แลวถามนักเรียนวา “นักเรียน
ตรงขามกัน ลองจินตนาการวา เมื่อเราใชมือ รูสึกเจ็บฝามือใชหรือไม แลวทราบหรือไมวา
ดันแผนไมอยางแรง ซึ่งถาแรงมากพอจะทําให เพราะเหตุใดเราจึงเจ็บฝามือ” เปนการกระตุน
แผนไมเกิดความเสียหาย โดยความเสียหายเปน ความสนใจของนั ก เรี ย น และเพื่ อ นํ า เข า สู 
แรงที่แผนไมดันมือ
ผลมาจากแรงที่มือดันแผนไม แตขณะเดียวกัน แรงที่มือดันแผนไม เนื้อหาที่กําลังจะศึกษา
การทีใ่ ชมอื ดันแผนไมจะทําใหเรารูส กึ เจ็บมือไป 2. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง กฎการ
ดวย แตความรูสึกดังกลาวไมไดเกิดขึ้นเพราะ เคลื่อนที่ขอที่สามของนิวตัน จากหนังสือเรียน
แรงที่มือดันแผนไม แตแรงที่ทําใหเราเจ็บมือ โดยจดบันทึกใจความสําคัญลงในสมุดบันทึก
ภาพที่ 1.30 แรงที่มือกระทําตอแผนไมและแรงที่แผนไม
คือ แรงที่แผนไมดันมือเรา ดังภาพที่ 1.30 กระทําตอมือ ประจําตัว
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1 2 3. ครูสุมนักเรียนตอบคําถามที่ครูไดถามไปตอน
ทุก ๆ แรงกิริยา (action force) หรือแรงที่กระทําตอวัตถุหนึ่ง จะมีแรงปฏิ แรงปฏิกิริยา (reaction
ตนชัว่ โมง โดยใชกฎการเคลือ่ นทีข่ อ ทีส่ ามของ
force) หรือแรงที่วัตถุกระทําโตตอบตอแรงที่มากระทํา ซึ่งแรงทั้งสองจะมีขนาดเทากัน แตมีทิศ
ตรงกันขามเสมอ ดังนั้น กฎการเคลื่อนที่ขอที่สามของนิวตันเปนจริงไมวาแรงกระทําระหวางวัตถุ นิวตันในการอธิบาย
จะเปนแรงสัมผัส เชน แรงเสียดทาน แรงดึงในเสนเชือก หรือแรงระยะไกล เชน แรงโนมถวงแรง 4. ครูใหนักเรียนวิเคราะหตัวอยางที่ 1.6 จาก
แมเหล็ก แรงไฟฟา หรือกลาวไดวา เปนกฎทีเ่ กีย่ วกับแรงคูก ริ ยิ า-ปฏิกริ ยิ า (action-reaction pair) หนังสือเรียน โดยจดบันทึกลงในสมุดบันทึก
ประจําตัว
ทิศการออกแรงดึง
5. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
รวมกันยกตัวอยางการเคลื่อนที่ดวยแรงกิริยา
50 N 50 N และแรงปฏิกิริยา ที่สามารถพบเห็นไดในชีวิต
ภาพที่ 1.31 การทดลองเพื่อพิสูจนกฎการเคลื่อนที่ขอที่สามของนิวตัน ประจําวัน โดยแตละคูยกตัวอยางมาใหมาก
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่สุด
หากออกแรงดึงเครือ่ งชัง่ สปริงทีเ่ กีย่ วกัน ดังภาพที่ 1.31 จะเห็นไดวา ขนาดของแรงดึงที่
อานไดจากเครื่องชั่งสปริงทั้งสองมีคาเทากัน โดยแรงที่สปริงอันใดอันหนึ่งดึงสปริงอีกอันหนึ่งเปน
แรงกิริยา สวนแรงดึงของสปริงอีกอันหนึ่งเปนแรงปฏิกิริยา จากผลการทดลองนี้จึงสรุปไดวา แรง
กิริยามีขนาดเทากับแรงปฏิกิริยาแตมีทิศตรงกันขาม สามารถเขียนสมการแทนกฎการเคลื่อนที่
ขอที่สามของนิวตันไดเปน
Faction คือ แรงกิริยา มีหนวยเปน นิวตัน (N)
Faction = -Freaction
Freaction คือ แรงปฏิกิริยา มีหนวยเปน นิวตัน (N)

áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè 25

กิจกรรม สรางเสริม นักเรียนควรรู


ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนอยางอิสระตามความสมัครใจ 1 แรงกิรยิ า คือ แรงทีเ่ กิดจากการกระทําโดยสิง่ ใดๆ เชน การออกแรงกดโตะ
จากนั้นใหรวมกันพูดคุยเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่สามของ การออกแรงเตะลูกฟุตบอล นํ้าหนักของวัตถุก็เปนแรงกิริยาแบบหนึ่งที่โลก
นิวตัน ตามความรูที่ไดศึกษา แลวครูใหนักเรียนแตละคูรวมกัน ออกแรงดึงดูดวัตถุใหเขาสูศูนยกลางของโลก
คิดเหตุการณหรือกิจกรรมที่พบเห็นในชีวิตประจําวันที่เกิดจาก
2 แรงปฏิกิริยา คือ แรงอันเนื่องมาจากแรงกิริยา โดยมีทิศทางตรงขามกัน
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา โดยครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน
และมีขนาดเทากับแรงกิริยาเสมอ เชน รถชนสุนัข แรงกิริยา คือ แรงที่รถกระทํา
ทีละคู เพื่อใหนําเสนอเหตุการณหรือกิจกรรมที่รวมกันคิดขึ้นมา
ตอสุนัข และแรงปฏิกิริยา คือ แรงที่สุนัขกระทําตอรถ เมื่อเราออกแรงดึงเครื่อง
ชัง่ สปริง เราจะรูส กึ วาเครือ่ งชัง่ สปริงก็ดงึ มือเราดวย และยิง่ เราออกแรงดึงเครือ่ ง
ชั่งสปริงดวยแรงมากขึ้นเทาใด เราก็จะรูสึกวาเครื่องชั่งสปริงยิ่งดึงมือเราไปมาก
ขึ้นเทานั้น

T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูใหนักเรียนคูที่สามารถยกตัวอยางไดมาก สังเกตได้ว่า แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน แต่ไม่ได้กระท�าบนวัตถุ
ที่สุด 3 ลําดับแรก ออกมาหนาชั้นเรียนแลว เดียวกัน จึงน�ามาหักล้างกันไม่ได้ เช่น กรณีรถยนต์ชนรถจักรยานยนต์ แรงที่รถยนต์กระแทก
อธิบายโดยการเขียนเวกเตอรทศิ ทางของแรงคู รถจักรยานยนต์เป็นแรงกิรยิ า ท�าให้รถจักรยานยนต์กระเด็นไปและเกิดความเสียหาย ขณะเดียวกัน
กิรยิ า-ปฏิกริ ยิ า ทีเ่ กิดขึน้ จากการเคลือ่ นทีน่ นั้ ๆ แรงที่รถจักรยานยนต์กระแทกรถยนต์เป็นแรงปฏิกิริยา ท�าให้ตัวถังรถยนต์บุบหรือยุบลงไป
2. ครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบความถูกตอง จากเดิม กล่าวคือ เกิดความเสียหายทั้งคู่ แสดงว่าแรงกิริยากับแรงปฏิกิริยาไม่ได้หักล้างกัน
ของแตละตัวอยาง คูไหนถูกตองจํานวนมาก จึงไม่ใช่แรงสมดุล เนื่องจากทั้งแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาต่างท�าให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งได้
ที่สุดครูอาจใหคะแนนพิเศษ ตัวอย่างการเคลื่อนที่ด้วยแรงกิริยา เช่น การ
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวิธีแกโจทย ขว้างก้อนหิน การตีลกู เทนนิส การเตะลูกฟุตบอล
ปญหาจากตัวอยางที่ 1.8 การพุ่งแหลน การแกว่งวัตถุ การออกแรงผลัก
4. ครูแจกใบงาน เรือ่ ง กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน วัตถุ ดังภาพที่ 1.32 ส่วนตัวอย่างการเคลื่อนที่ แรงกิริยา แรงปฏิกิริยา
ด้วยแรงปฏิกิริยา เช่น การเคลื่อนที่ของจรวด
ใหนักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน
เครื่องบินไอพ่น เรือกรรเชียง เรือหางยาว การ
ขยายความเขาใจ ทิศการเคลื่อนที่
เคลื่อนที่ของหมึก แมงกะพรุน เป็นต้น ดังภาพ
ที่ 1.33 ภาพที่ 1.32 การเตะลูกฟุตบอล
1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หาโดยเปด PowerPoint ที่มา : คลังภาพ อจท.
เรื่องที่สอนไปแลวควบคูไปดวย
2. ครูใหนักเรียนไดสืบคนขอมูลการนําความรู
เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ไปใช
ประโยชน ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น จากนั้ น ครู ใ ห
นั ก เรี ย นทํ า สรุ ป ผั ง มโนทั ศ น เรื่ อ ง กฎการ
ทิศการเคลื่อนที่
เคลื่อนที่ของนิวตัน ลงในกระดาษ A4 พรอม แรงปฏิกิริยา
ทั้งตกแตงใหสวยงาม
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ของตนเองหนาชั้นเรียน แรงกิริยา

ภาพที่ 1.33 การเคลื่อนที่ของจรวด


26 ที่มา : คลังภาพ อจท.

สื่อ Digital กิจกรรม ทาทาย


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เครื่องบินบินได ครูใหนกั เรียนแตละคนสืบคนและศึกษาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
อยางไร https://www.twig-aksorn.com/film/how-do-planes-fly-8291/ เรื่ อ ง กฎการเคลื่ อ นที่ ข  อ ที่ ส ามของนิ ว ตั น จากแหล ง ข อ มู ล
สารสนเทศ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต จากนั้นนําขอมูลมาจัดทํา
เปนใบความรู โดยครูกําหนดใหใบความรูของแตละคนตองมีการ
ยกตัวอยางกิจกรรมที่นักเรียนพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน พรอม
ทั้งเขียนแจกแจงรายละเอียดวา กิจกรรมนั้นๆ มีสิ่งใดทําหนาที่
เปนแรงกิริยา และสิ่งใดทําหนาที่เปนแรงปฏิกิริยาบาง อยางนอย
10 กิจกรรม เสร็จแลวนําสงครูเพื่อเปนคะแนนพิเศษ

T30
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
ตัวอย่างที่ 1.6 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
จากภาพที่ 1.34 จงใช้กฎการเคลื่อนที่ทั้งสามข้อของนิวตันอธิบายการออกแรงดึงเชือกของนายเอและ Topic Question เรือ่ ง แรงและกฎการเคลือ่ นที่
นางสาวบี ของนิวตัน จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึก
ประจําตัว
5. ครูมอบหมายใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด เรือ่ ง แรง
และกฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน จากแบบฝกหัด
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5

(ก) ออกแรงเท่ากันทั้งคู่ (ข) นายเอออกแรงมากกว่านางสาวบี ขัน้ สรุป


ตรวจสอบผล
ภาพที่ 1.34 การออกแรงดึงเชือกของชายหญิงคู่หนึ่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท. นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับการ
หาแรงลัพธ และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน โดย
วิธีท�า - จากภาพที่ 1.34 (ก) ออกแรงเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกัน แรงลัพธ์เป็นศูนย์ ไม่มีความเร่ง ครูใหนักเรียนเขียนสรุปความรูลงในสมุดบันทึก
แต่เชือกอาจยืดออก
ประจําตัว
- จากภาพที่ 1.34 (ข) ออกแรงไม่เท่ากัน เส้นเชือกอาจยืดออก โดยมีแรงลัพธ์ไปทางซ้าย
เนื่องจากมีความเร่งไปทางซ้าย
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง แรง-
Topic ลัพธ และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
? Question 2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ในสมุด
1. การคะม�าไปข้างหน้าของผู้โดยสารเมื่อพนักงานขับรถเหยียบเบรกกะทันหันเป็นผลมาจาก บันทึกประจําตัว
สิ่งใด และอธิบายได้ด้วยกฎการเคลื่อนที่ข้อใดของนิวตัน 3. ครู ต รวจสอบแบบฝ ก หั ด เรื่ อ ง แรงและ
2. จงอธิบายความหมายของแรง 10 นิวตัน โดยใช้กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จากแบบฝกหัด
3. แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาเป็นแรงสมดุลหรือไม่ เพราะเหตุใด วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5
4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
4. จงยกตัวอย่างการเคลื่อนที่ที่เป็นผลจากการกระท�าของแรงปฏิกิริยามา 3 ตัวอย่าง
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
และการทํางานกลุม
5. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
แรงและการเคลื่อนที่ 27 เนื้อหา เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ที่
นักเรียนไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจ
เปนรายบุคคล

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. เปนผลมาจากความเฉื่อย ซึ่งอธิบายไดดวยกฎการเคลื่อนที่ขอที่หนึ่ง
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง กฎการเคลือ่ นทีข่ อง
ของนิวตัน กลาวคือ ผูโดยสารพยายามรักษาสภาพการเคลื่อนที่ไปขาง
นิวตัน ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษา
หนาดวยความเร็วเทากับความเร็วรถกอนเหยียบเบรก เมื่อพนักงาน
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่
ขับรถเหยียบเบรก ความเร็วรถลดลง ผูโดยสารจึงคะมําไปขางหนา
แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
2. แรง 10 นิวตัน หมายถึง แรงที่ทําใหวัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวย
ความเรง 10 เมตรตอวินาที2 แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน

3. แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาไมใชแรงสมดุล เพราะไมไดกระทําตอวัตถุ
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน

เดียวกัน จึงไมหักลางกัน แมจะมีขนาดเทากันและมีทิศตรงขามก็ตาม


4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่

4. การเคลื่อนที่ของจรวด การเคลื่อนที่ของเรือกรรเชียง และการเคลื่อนที่


4 ความเป็นระเบียบ ระบบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ของแมงกะพรุน ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T31
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 3. ¡ÒÃà¤Å×è͹·ÕèẺâ¾Ãਡä·Å Prior Knowledge
2. ครูนําลูกเทนนิสหรือลูกบอลมาขวางออกไป ในชีวิตประจําวันอาจพบเห็นการเคลื่อนที่ของวัตถุ ที่มี ¡ÒÃà¤Å×Íè ¹·Õáè ºº
ในแนวระดับ และในทิศทํามุมกับแนวระดับ แนวการเคลื่อนที่ไมเปนเสนตรง เชน ขวางกอนหินออกไปใน â¾Ãਡä·Å ÁÕÅ¡Ñ É³Ð
พรอมกับใหผเู รียนสังเกตแนวการเคลือ่ นทีข่ อง ੾ÒÐÍ‹ҧäÃ
แนวระดับ กอนหินจะเคลือ่ นทีเ่ ปนแนวโคงจนกระทัง่ ตกกระทบพืน้
วัตถุที่ครูขวางออกไป ลูกบอลที่ถูกเตะขึ้นไปในอากาศจะเคลื่อนที่เปนแนวโคง การ
3. ครูเปลีย่ นเปนขวางยางลบ กอนดินนํา้ มัน หรือ เคลื่อนที่ของลูกบอลจากการเลนบาสเกตบอล
ยิงปนอัดลม และใหผูเรียนสังเกตแนวการ ฟุตบอล เบสบอล มีลกั ษณะเปนแนวโคงเชนกัน
เคลื่อนที่อีกครั้ง เรียกการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้วา การเคลื่อนที่
4. ครูถามคําถามกระตุนกับนักเรียนวา “การ แบบวิถีโคงหรือการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
เคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอล เมื่อนักกีฬาโยน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล (projectile
ไปทีแ่ ปน เพือ่ ใหลงหวง มีลกั ษณะการเคลือ่ นที่ motion) เปนการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบอิสระ
อยางไร” และใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม รูปแบบหนึง่ วัตถุใด ๆ ทีเ่ คลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล
ปากเปลา จะมีแรงกระทําอันเนื่องมาจากแรงโนมถวงของ ภาพที่ 1.35 การเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอล
(แนวตอบ มีลักษณะการเคลื่อนที่เปนวิถีโคง โลกในแนวดิง่ และแรงในแนวระดับเปนศูนย จึง ที่มา : คลังภาพ อจท.
หรือเปนการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล) ทําใหมคี วามเร็วคงตัว สวนแรงในแนวดิง่ จะทําให
5. ครู ถ ามคํ า ถามกั บ นั ก เรี ย น โดยใช คํ า ถาม วัตถุเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงคงตัวเทากับความเรง
เนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (gravitational
Prior Knowledge จากหนังสือเรียนวา “การ
acceleration) โดยการเคลื่อนที่ทั้งแนวดิ่งและ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล มีลักษณะเฉพาะ
แนวระดับจะเกิดขึ้นพรอมกัน เปนผลทําใหแนว
อยางไร” การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุเปนวิถโี คง มีลกั ษณะคลาย
รูปพาราโบลาควํ่า เชน นํ้าพุ เปนตัวอยางหนึ่ง
ที่แสดงใหเห็นถึงวิถีโคงของนํ้า ดังภาพที่ 1.36
ภาพที่ 1.36 การเคลื่อนที่ของนํ้าพุ
Science Focus
ที่มา : คลังภาพ อจท.
¤ÇÒÁà˧à¹×èͧ¨Ò¡áç⹌Á¶‹Ç§
ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก หรือที่เรามักจะเรียกวา “คา g” คือ คาที่วัดจากความ
แนวตอบ Prior Knowledge โนมถวงทีบ่ ริเวณพืน้ ผิวของโลก โดยเปนคาทีบ่ ง บอกถึงความเรง หรือการเปลีย่ นแปลงของความเร็วเทียบ
กับเวลา โดยวัตถุที่ตกลงสูพื้นโลกจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นตามคา g บนพื้นโลก ซึ่งคา g มีคาประมาณ 9.8
การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทลเปนการเคลือ่ นที่ เมตรตอวินาที2 ในความเปนจริงแลว คา g ไมใชซึ่งคาคงตัวในทุก ๆ ตําแหนงบนโลก แตจะมีคาแปร
แบบ 2 มิ ติ คื อ เคลื่ อ นที่ ทั้ ง ในแนวระดั บ และ เปลี่ยนไปตามภูมิประเทศตาง ๆ บนโลก และบนดาวเคราะหดวงอื่นก็จะมีคา g ที่แตกตางกันไป
แนวดิ่งพรอมกัน โดยในแนวดิ่งเปนการเคลื่อนที่
ที่มีความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ในขณะ
28 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
ที่ในแนวระดับไมมีความเรง เพราะไมมีแรงกระทํา
ในแนวระดับ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเพื่อเชื่อมโยงหลักการทางฟสิกสกับสถานการณในชีวิต แรงที่กระทําตอวัตถุในขณะที่วัตถุเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
ประจําวัน เชน การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือแรงใด
ตามหลักการในวิชาระบาดวิทยา (Epidemiology) มีทั้งหมด 3 รูปแบบ โดย 1. แรงแมเหล็ก
รูปแบบหนึง่ ทีเ่ กีย่ วของกับวิชาฟสกิ ส คือ Droplet Transmission เปนการแพรเชือ้ 2. แรงนิวเคลียร
ผานฝอยละออง ไดแก นํา้ ลาย นํา้ มูก และเสมหะ แตเนือ่ งจากฝอยละอองมีขนาด 3. แรงสูศูนยกลาง
ใหญ แรงโนมถวงจึงมีผลมาก จากหลักการทางฟสิกสของไวรัส (Virophysics) 4. แรงเสียดทานจลน
ฝอยละอองจะเคลื่อนที่เปนวิถีโคงแบบโพรเจกไทล (projectile) กอนตกถึงพื้น 5. แรงโนมถวงของโลก
ในระยะทางประมาณ 1-2 เมตร ตามกฎของสโตกส (Stokes’s Law) โดยระยะ (วิเคราะหคําตอบ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนการเคลื่อนที่
เวลาในการระเหยของฝอยละอองจะแปรผันตรงกับเสนผานศูนยกลางของฝอย ของวัตถุแบบอิสระ จะมีแรงกระทําเพียงแรงเดียว คือ แรงโนมถวง
ละออง ซึ่งครูสามารถศึกษาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก http://www.thaiphysoc. ของโลกในแนวดิ่ง สวนแรงในแนวระดับจะเปนศูนย จึงทําให
org/article/254/ ความเร็วในแนวระดับมีขนาดคงตัว ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
¤ÇÒÁàÃçǢͧÇѵ¶Ø·Õèà¤Å×è͹·ÕèẺâ¾Ãਡä·Å 1. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง การ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล จากหนังสือเรียน
ª‹Ç§·ÕèÇѵ¶Øà¤Å×è͹·Õè¢Öé¹ ª‹Ç§·ÕèÇѵ¶Øà¤Å×è͹·Õèŧ 2. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรูเพิ่มเติมจาก
• ความเร็วในแนวระดับมีคา เทากันทุกจุด โดยมีคา • ความเร็วในแนวระดับมีคาเทากันทุกจุด โดยมีคา สื่อดิจิทัล โดยใหนักเรียนนําสมารตโฟนของ
เทากับความเร็วตนในแนวระดับ เทากับความเร็วตนในแนวระดับ ตนเองขึ้นมาแลวสแกน QR Code เรื่อง การ
• ความเร็วในแนวดิ่งมีคาลดลงจนเปนศูนยที่ • ความเร็วในแนวดิ่งมีคาเพิ่มขึ้นจนขนาดเทากับ
จุดสูงสุด ความเร็วในแนวดิ่งที่จุดเริ่มตน แตมีทิศตรงขาม เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล จากหนังสือเรียน
กัน ดังนั้น ความเร็วในแนวดิ่งจึงไมเทากันและ 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  เรื่ อ ง การ
จะมีคา เพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีผ่ า นระดับ เคลื่ อ นที่ แ บบโพรเจกไทล ที่ ไ ด ศึ ก ษาจาก
เดียวกับจุดเริ่มตน หนังสือเรียนและ QR Code ลงในสมุดบันทึก
ความเรงเนื่องจาก
แรงโนมถวงของโลก ประจําตัว
จุดสูงสุด
• ความเร็วในแนวดิ่งเปนศูนย
จุดเริ่มตน • ความเร็วในแนวระดับเทากับ จุดตก
86
ความเร็วตนในแนวระดับ 86

เวลาทีเ่ งาของวัตถุเคลือ่ นทีใ่ นแนวระดับจากจุดเริม่ ตน


ไปถึงจุดตกจะเทากับเวลาทีว่ ตั ถุใชในการเคลือ่ นทีต่ าม
เสนโคงจากจุดเริ่มตนไปถึงจุดตก
พื้นระดับ

ความเร็วในแนวดิ่ง ความเร็วในแนวระดับ ความเร็วลัพธของวัตถุ


ภาพที่ 1.37 ความเร็วที่จุดตางๆ ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Science Focus
ÃٻẺ¢Í§â¾Ãਡä·Å
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล อาจแบงเปน 3 แบบ ดังนี้
1. โพรเจกไทลทมี่ คี วามเร็วตนในแนวระดับไมเปนศูนย และความเร็วตนในแนวดิง่ เปนศูนย เชน กอนหิน
ที่ฤูกขวางไปในแนวขนานกับพื้น ลูกปงปองที่กลิ้งตกลงมาจากโตะ เปนตน
2. โพรเจกไทลที่มีความเร็วตนในแนวระดับและในแนวดิ่งไมเปนศูนยทั้งคู โดยมีความเร็วตนทํามุมกับ
แนวระดับ
3. โพรเจกไทลทมี่ คี วามเร็วตนไมเปนศูนยทงั้ คูเ หมือนแบบที่ 2 แตตาํ แหนงเริม่ ตนและตําแหนงสุดทายอยู
ในระดับเดียวกัน เชน ลูกบอลทีถ่ กู เตะขึน้ จากพืน้ จะเคลือ่ นทีไ่ ปตกลงทีพ่ นื้ ซึง่ อยูใ นระดับเดียวกัน เปนตน
áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè 29

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เปนแนววิถีโคงแบบโพรเจกไทลในอากาศ มี ครูอาจถามคําถามทีเ่ กีย่ วของกับการเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทลของวัตถุ เชน
แรงที่กระทําตอวัตถุจํานวนกี่แรง และแรงนั้นคือแรงอะไร ครูถามนักเรียนวา เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีข่ นึ้ ไปถึงจุดบนสุดของแนววิถี ความเร็วของ
(แนวตอบ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่แบบอิสระในอากาศ โดยมีแนวการ วัตถุทงั้ ในแนวระดับและในแนวดิง่ จะเปนอยางไร โดยครูทงิ้ ชวงเวลาใหนกั เรียน
เคลื่อนที่เปนวิถีโคงแบบโพรเจกไทลจะมีความเรงเนื่องจากแรง แตละคนไดคดิ คําตอบของตนเองตามความรูท ไี่ ดศกึ ษาจากหนังสือเรียน จากนัน้
โนมถวงของโลกเพียงแรงเดียวเทานัน้ ทีม่ ากระทําตอวัตถุ สงผลให ครูอาจสุม นักเรียนบางคนออกมาหนาชัน้ เรียนเพือ่ ใหอภิปรายคําตอบของตนเอง
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปสูงระดับหนึ่งความเร็วในแนวดิ่งจะมีขนาด ซึ่งเปนการตรวจสอบความเขาใจในเนื้อหาที่ไดเรียนวานักเรียนมีความเขาใจ
เปนศูนย จากนั้นวัตถุเคลื่อนที่ตกกลับลงมาดวยความเรงเทากับ มากนอยเพียงใด
ความเรงโนมถวงของโลก)

T33
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ครูแบงกลุมใหนักเรียน จากนั้นใหนักเรียน ¡Ô¨¡ÃÃÁ à¤Ã×èͧÂÔ§â¾Ãਡä·Å
แยกเขากลุมของตนเองแลวศึกษากิจกรรม
เครื่องยิงโพรเจกไทล จากหนังสือเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
• การสังเกต ¨Ø´»ÃÐʧ¤
5. ครูแจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน • การวัด เพือ่ ศึกษาความสัมพันธระหวางมุมยิงกับระยะตกของวัตถุทเี่ คลือ่ นทีแ่ บบ
จิตวิทยาศาสตร โพรเจกไทล
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติ • ความสนใจใฝรู
• ความมุงมั่น
6. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน 1. เครื่องยิงโพรเจกไทล 4. กระดาษขาว 7. ตลับเมตร
7. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล 2. ลูกบอลพลาสติก 5. กระดาษคารบอน
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน 3. แคลมป 6. แทงพลาสติกสําหรับดันลูกบอลพลาสติกเขาไปในกระบอกยิง
8. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
1. ใชแคลมปยึดเครื่องยิงโพรเจกไทลกับโตะทดลอง
อธิบายความรู ตัง้ มุมยิงไวที่ 15 องศา แลวบรรจุลกู บอลพลาสติก
เขาไปในเครือ่ งยิง โดยใชแทงพลาสติกดันลูกบอล
1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
พลาสติกอัดสปริงเขาไปจนลูกบอลพลาสติกอยูที่
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม ตําแหนงทีเ่ หมาะสม แลวดึงเชือกลัน่ ไกยิงลูกบอล
2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลท า ย พลาสติกออกไป ดังภาพที่ 1.38 สังเกตจุดตก ภาพที่ 1.38 เครื่องยิงโพรเจกไทล
กิจกรรมรวมกัน เพื่อสรุปผลใหนักเรียนเขาใจ กระทบพื้นของลูกบอลพลาสติกอยูบริเวณใด ที่มา : คลังภาพ อจท.
ไปในแนวทางเดียวกันอีกครั้ง 2. วางกระดาษคารบอนซอนทับบนกระดาษขาว แลวนําไปวางไวบริเวณจุดตกกระทบพืน้ ของลูกบอลพลาสติก
ที่สังเกตไดจากการทดลองยิงครั้งแรก จากนั้นทดลองยิงซํ้าที่มุมยิง 15 องศา หาตําแหนงที่เปนจุดแรกที่
ลูกบอลพลาสติกตกกระทบพื้น (จุดที่สีเขมที่สุด ชัดที่สุด บนกระดาษขาว) ใชตลับเมตรวัดระยะตก (ระยะ
ในแนวระดับจากปากกระบอกของกระบอกยิงถึงจุดตกกระทบพื้น) ของลูกบอลพลาสติก แลวบันทึกผล
3. ปฏิบัติซํ้าอีก 2 ครั้ง ที่มุมยิง 15 องศา แลวหาระยะตกเฉลี่ยของมุมยิง 15 องศา
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม 4. ปฏิบัติซํ้าแตเปลี่ยนมุมยิงเปน 30 องศา 45 องศา 60 องศา และ 75 องศา ตามลําดับ แลวเปรียบเทียบ
1. มุม 45 องศา ระยะตกเฉลี่ยที่มุมยิงทั้งสาม
2. มุม 15 องศา กับมุม 75 องศา จะไดระยะตกที่
ใกลเคียงกัน และยังมี มุม 30 องศา กับมุม 60 ¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ
1. มุมยิงเทาใดที่ใหระยะตกไกลที่สุด
องศา ที่ไดระยะตกที่ใกลเคียงกัน
2. มุมยิงคูใดที่ใหระยะตกใกลเคียงกันมาก (หรือเทากันโดยประมาณ)
3. ผลบวกเทากับ 90 องศา 3. ผลบวกของมุมยิงคูที่ใหระยะตกใกลเคียงกันมาก (หรือเทากันโดยประมาณ) มีคาเทาใด
4. มุมยิงที่นอยกวา 45 องศา ระยะตกจะเพิ่มขึ้น 4. จากกิจกรรมจะสรุปความสัมพันธระหวางมุมยิงกับระยะตกไดวาอยางไร
ตามมุมยิง สวนมุมยิงที่มากกวา 45 องศา และ
ไมเกิน 90 องศา ระยะตกจะลดลงเมื่อมุมยิง
30
เพิ่มขึ้น

บันทึก กิจกรรม

มุมยิง (องศา) ครั้งที่ ระยะตก (cm) ระยะตกเฉลี่ย (cm) พิจารณาตามผลการปฏิบัติจริง ขอมูลที่ไดอาจมีความคลาดเคลื่อน


1 40.5 ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอน
15 2 39.0 40.7
3 42.2
1 68.5
30 2 71.0 70.6
3 72.8
1 77.2
45 2 76.8 77.3
3 78.0
1 70.2
60 2 69.6 70.3
3 71.0
1 41.4
75 2 39.8 40.5
3 40.2

T34
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม 3. ครูใหนกั เรียนวิเคราะหการขวางวัตถุออกไปใน
เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีอ่ อกไปในอากาศด้วยความเร็วต้นทีม่ ที ศิ ทางเอียงท�ามุมกับแนวระดับ (น้อยกว่า 90 องศา)
แนวระดับ จากภาพในหนังสือเรียนวาเกีย่ วของ
วัตถุจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นโค้งพาราโบลาด้วยความเร่งเท่ากับความเร่งโน้มถ่วง โดยความสูงที่วัตถุขึ้นไปถึง กับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลอยางไรบาง
และระยะตก (ระยะแนวระดับที่วัตถุตกห่างจากจุดเริ่มต้น) ขึ้นอยู่กับขนาดของความเร็วต้นและมุมที่ความเร็ว เพื่อเปนการเชื่อมโยงกับกิจกรรมที่ครูไดขวาง
ต้นท�ากับแนวระดับหรือที่เรียกกันว่า มุมยิง ลูกบอลใหนักเรียนดูหนาชั้นเรียน
ส�าหรับระยะตก มุมยิงทีใ่ ห้ระยะตกมากสุด คือ มุมยิง 45 องศา และระยะตกจะเพิม่ ขึน้ ตามมุมยิงในช่วงมุม 4. ครูอภิปรายรวมกับกับนักเรียนเกีย่ วกับกิจกรรม
ยิงน้อยกว่า 45 องศา แต่ระยะตกจะลดลงเมือ่ เพิม่ ค่ามุมยิงในช่วงมุมยิงมากกว่า 45 องศา โดยมุมยิงคูท่ ผี่ ลรวม
ของมุมมีค่าเท่ากับ 90 องศา เช่น มุมยิง 30 องศา กับมุมยิง 60 องศา จะให้ระยะตกเท่ากัน เมื่อความเร็วต้น ในชีวติ ประจําวันทีม่ กี ารเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจก-
เท่ากัน ไทล
5. ครูสมุ นักเรียนใหยกตัวอยางกิจกรรมทีส่ ามารถ
อธิบายการเคลื่อนที่นั้นดวยความรูเรื่องการ
จากกิจกรรมยิงวัตถุได้ผลสรุปว่า วัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ด้วยความเร็วต้นค่าหนึ่ง
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลได เชน ดานกีฬา
ระยะตกจะมีค่ามากที่สุดเมื่อมุมที่ความเร็วต้นเอียงจากแนวระดับหรือมุมยิงเป็น 45 องศา โดยใน
ไมวาจะเปน กีฬาทุมนํ้าหนัก กีฬาพุงแหลน
ช่วงมุมยิงที่มีค่าน้อยกว่า 45 องศา ระยะตกจะเพิ่มขึ้นตามค่ามุมยิง แต่ในช่วงมุมยิงมากกว่า 45
องศา แต่นอ้ ยกว่า 90 องศา ระยะตกจะลดลงเมือ่ เพิม่ ค่ามุมยิง และมีมมุ ยิงทีใ่ ห้ระยะตกเท่ากันเป็น หรื อ แม ก ระทั่ ง ที่ เ ห็ น ชั ด เจนที่ สุ ด คื อ กี ฬ า
คู่ ๆ โดยผลรวมของทั้งสองมุมรวมกันจะได้ 90 องศา เช่น วัตถุที่ถูกยิงด้วยมุม 15 องศา จะตก บาสเกตบอล
ที่ต�าแหน่งเดียวกับวัตถุที่ถูกยิงด้วยมุม 75 องศา วัตถุที่ถูกยิงด้วยมุม 30 องศา จะตกที่ต�าแหน่ง 6. ครูแจกใบงาน เรือ่ ง การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจก-
เดียวกับวัตถุที่ถูกยิงด้วยมุม 60 องศา นอกจากนั้น ระยะตกของวัตถุที่ถูกยิงด้วยมุม 15 องศา จะ ไทล ใหนํากลับไปศึกษาเปนการบาน
น้อยกว่าระยะตกของวัตถุทถี่ กู ยิงด้วยมุม 30 องศา โดยทีร่ ะยะตกของวัตถุทถี่ กู ยิงด้วยมุม 45 องศา ขยายความเขาใจ
จะมีระยะทางมากที่สุด ดังภาพที่ 1.39
1. ครูนําอภิปรายสรุปเนื้อหาเรื่องที่สอนไปแลว
ต�าแหน่งในแนวดิ่ง
โดยเปด PowerPoint ควบคูไปดวย
2. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง การ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ลงในกระดาษ A4
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
75 � 60 � ของตนเองหนาชั้นเรียน
45 �
30 �
15 � 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
จุดยิง ระยะตก Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพร-
ภาพที่ 1.39 มุมในการยิงวัตถุแบบโพรเจกไทล์คู่หนึ่งๆ ที่มีผลรวมเป็น 90 องศา เจกไทล จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึก
โดยจุดเริ่มต้นและจุดตกอยู่ระดับเดียวกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ประจําตัว แลวนํามาสงครูทายชั่วโมง
5. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
แรงและการเคลื่อนที่ 31 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล จากแบบฝกหัด
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 เปน
การบาน แลวมาสงครูในชั่วโมงถัดไป

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทลขนึ้ ไปถึงตําแหนงสูงสุด ขอใด ครูอาจถามคําถามทาทายการคิดขั้นสูงกับนักเรียน เชน ครูถามนักเรียน
กลาวถูกตองเกี่ยวกับความเร็วของวัตถุ วา ถานักกีฬากอลฟตองการตีลูกกอลฟใหไดระยะทางไกลที่สุดตองทําอยางไร
1. ความเร็วในแนวระดับเปนศูนย โดยครูทงิ้ ชวงเวลาใหนกั เรียนแตละคนไดคดิ คําตอบของตนเอง ตามความรูท ไี่ ด
2. ความเร็วมีขนาดเทากับความเร็วในแนวดิ่ง ศึกษาจากหนังสือเรียน จากนัน้ ครูอาจสุม นักเรียนบางคนออกมาหนาชัน้ เรียนเพือ่
3. ความเร็วในแนวระดับและในแนวดิ่งรวมกันเปนศูนย ใหอธิบายคําตอบของตนเองพรอมใหเหตุผล ซึง่ เปนการตรวจสอบความเขาใจใน
4. ความเร็ ว มี ข นาดเท า กั บ ความเร็ ว ในแนวดิ่ ง เมื่ อ เริ่ ม การ เนื้อหาที่ไดเรียนวานักเรียนมีความเขาใจมากนอยเพียงใด
เคลื่อนที่
5. ความเร็วมีขนาดเทากับความเร็วในแนวระดับเมื่อเริ่มการ
เคลื่อนที่
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากไมมีแรงมากระทําตอวัตถุในแนว
ระดับ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ถึงตําแหนงสูงสุดจะมีความเร็วเฉพาะใน
แนวระดับเทานั้น นั่นคือ ความเร็วของวัตถุจึงเทากับความเร็วใน
แนวระดับเมื่อเริ่มการเคลื่อนที่ ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับการ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล เพื่อใหนักเรียนทุกคน 1 ทันทีทลี่ กู บอลหลุดจากมือ ความเร็ว
ไดมีความเขาใจในเนื้อหาที่ไดศึกษามาแลวไปใน 1 แนวระดับของลูกบอลจะมีค่าคงตัว
ทางเดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง โดย 2 การเคลื่อนที่สองแนวรวมกันท�าให้
ครูใหนักเรียนเขียนสรุปความรูลงในสมุดบันทึก เส้นทางการเคลื่อนที่เป็นเส้นทางโค้ง
2
ประจําตัว 3 ความเร็วแนวดิ่งของลูกบอลเพิ่มขึ้น
3 เนื่องจากแรงโน้มถ่วงท�าให้ลูกบอล
มีความเร่งเท่ากับความเร่งโน้มถ่วง
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล ภาพที่ 1.40 การขว้างวัตถุออกไปในแนวระดับ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง การ เมื่อขว้างวัตถุออกไปในทิศทางท�ามุมใด ๆ ด้วยความเร็วต้นค่าหนึ่งโดยไม่คิดแรงต้านจาก
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล อากาศ การเคลื่อนที่ตามแนวระดับของวัตถุจะเหมือนกับการเคลื่อนที่ของอีกวัตถุหนึ่งที่เคลื่อนที่
2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question ตามแนวระดับอย่างเดียว ถ้าความเร็วตามแนวระดับของวัตถุทั้งสองเท่ากัน วัตถุทั้งสองจะมี
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ในสมุด ความเร็วตามแนวระดับคงตัวตลอดการเคลื่อนที่ ส่วนความเร็วในแนวดิ่งจะเปลี่ยนแปลงอย่าง
บันทึกประจําตัว สม�า่ เสมอ (9.8 เมตรต่อวินาที ในทุก ๆ 1 วินาที) จากผลของแรงโน้มถ่วง เส้นทางการเคลือ่ นทีข่ อง
3. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่ วัตถุที่ถูกขว้างจึงเป็นเส้นโค้งพาราโบลาคว�่าและเป็นการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ดังภาพที่ 1.40
แบบโพรเจกไทล จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตร การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นผลรวมของการเคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยความเร็ว
กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 คงตัวกับการเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ ด้วยความเร่งคงตัวเท่ากับความเร่งเนือ่ งจากแรงโน้มถ่วง กล่าวคือ
4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะมีค่าเท่ากับความเร่งของการตกแบบเสรีและมีทิศ
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล พุ่งลงตามแนวดิ่ง แต่เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจะไม่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับเส้นทาง
และการทํางานกลุม การเคลื่อนที่อย่างการตกแบบเสรี
5. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
เนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ที่ Topic
นักเรียนไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจ ? Question
เปนรายบุคคล ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นผลรวมของการเคลื่อนที่แบบใด
2. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่งหรือไม่ อย่างไร
3. ความเร็วของวัตถุทตี่ า� แหน่งสูงสุดของการเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์เป็นศูนย์หรือไม่ อย่างไร
4. การเพิ่มขนาดของความเร็วต้นส่งผลต่อความสูงที่วัตถุขึ้นไปถึงและระยะตกอย่างไร
5. มุมยิงค่าใดที่ให้ระยะตกเท่ากับมุมยิง 37 องศา
32

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนผลรวมของการเคลื่อนที่ในแนวระดับ
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ
ดวยความเร็วคงตัวกับการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเรงคงตัว
โพรเจกไทล ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดย
2. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนการเคลื่อนที่แบบมีความเรง โดย
ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ความเรงมีคาคงตัวเทากับความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก
ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
3. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ความเร็วในแนวระดับของวัตถุที่
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

3
ระดับคะแนน
2 1
ตําแหนงสูงสุดไมเปนศูนย โดยมีขนาดเทากับองคประกอบของความเร็ว
ในแนวระดับ สวนความเร็วในแนวดิง่ ของวัตถุทตี่ าํ แหนงสูงสุดเปนศูนย
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1
2
3
4
ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
ความถูกต้องของเนื้อหา
ความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นระเบียบ
3. ผลงานมีความคิด
สร้างสรรค์
ผลงานแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหม่และเป็น
ระบบ
ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ
ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด
แปลกใหม่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด
ใหม่
4. การเพิม่ ขนาดของความเร็วตนสงผลใหความสูงทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีข่ นึ้ ไปถึง
และระยะตกมีคาเพิ่มขึ้น
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

5. มุมยิงที่ใหระยะตกเทากับมุมยิง 37 องศา คือ มุมยิง 53 องศา


ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T36
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
4. ¡ÒÃà¤Å×è͹·ÕèẺǧ¡ÅÁ Prior Knowledge 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นสนทนาทบทวนความรู  เ ดิ ม
เปนการเคลือ่ นทีอ่ กี รูปแบบหนึง่ ทีเ่ ราสามารถพบเห็นไดใน ¤ÇÒÁà˧㹡ÒÃà¤Å×Íè ¹·Õè เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล โดยครู
ชีวติ ประจําวัน เชน การเคลือ่ นทีข่ องรถไฟเหาะตีลงั กา การเคลือ่ นที่ Ẻǧ¡ÅÁ ÁÕÅ¡Ñ É³Ð เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น
੾ÒÐÍ‹ҧäà อยางอิสระ ครูอาจใหนักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ
ของเข็มนาฬกา การเคลื่อนที่บนทางโคง1ของรถ การเลี้ยวโคง
ของรถการเคลื่อนที่ของแฮนด สปนเนอร (hand spinner) ของ “ผลของความเร ง ที่ มี ต  อ การเคลื่ อ นที่ แ บบ
เลนแนวใหมชนิดหนึ่งที่มีตนกําเนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกา โพรเจกไทล”
ดังภาพที่ 1.41 ซึง่ การเคลือ่ นทีด่ งั กลาวเปนการเคลือ่ นทีท่ มี่ แี นว 2. ครูถามคําถามกระตุนความสนในกับนักเรียน
การเคลื่อนที่เปนวงกลมหรือสวนของวงกลม เรียกการเคลื่อนที่ วา “ผลของความเรงที่มีตอการเคลื่อนที่แบบ
ของวัตถุนี้วา การเคลื่อนที่แบบวงกลม (circular motion) วงกลมเปนอยางไร” (ทิ้งชวงใหนักเรียนคิด)
การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีแรงกระทํากับวัตถุในทิศเขาสู แลวสุมถามนักเรียนเปนรายบุคคล โดยจะยัง
ศูนยกลางเรียกวา แรงสูศ นู ยกลาง (centripetal force) เขียนแทน ไมเฉลยคําตอบนั้นถูกหรือผิด
ดวยสัญลักษณ Fc โดยแรงสูศูนยกลางมีทิศตั้งฉากกับความเร็ว ภาพที ่ 1.41 แฮนด สปนเนอร
ที่มา : คลังภาพ อจท. 3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
ของวัตถุตลอดเวลา แรงสูศูนยกลางที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่แบบ 4. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
วงกลมไดตอ งมีขนาดทีเ่ หมาะสม จึงทําใหวตั ถุเคลือ่ นทีใ่ นแนวโคง เรียน กับนักเรียนวา “ความเรงในการเคลือ่ นที่
ของวงกลมดวยรัศมีคาหนึ่งและความเร็วคาหนึ่ง เชน การ แบบวงกลม มีลักษณะเฉพาะอยางไร”
แกวงวัตถุที่แขวนไวกับเชือกใหเปนวงกลมในระนาบระดับที่มี
องค ป ระกอบของแรงดึ ง ในเส น เชื อ กในแนวระดั บ เป น แรง
ภาพที่ 1.42 การแกวงวัตถุใหเคลือ่ นที่
สูศ นู ยกลาง ดังภาพที่ 1.42 ดาวเทียมทีโ่ คจรแบบวงกลมรอบโลก แบบวงกลมในระนาบระดั บ
จะมีแรงดึงดูดที่โลกกระทําตอดาวเทียมเปนแรงสูศูนยกลาง ที่มา : คลังภาพ อจท.
ดังภาพที่ 1.43 เปนตน

ภาพที่ 1.43 การโคจรของดาวเทียม


รอบโลก
ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Prior Knowledge
ความเร ง ในการเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลมเป น
áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè 33
ความเรงที่มีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลางของวงกลม
ตลอดเวลาเชนเดียวกับแรงสูศูนยกลาง

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ จากนั้นครูให 1 แฮนด สปนเนอร หรือตัวหมุน เปนของเลนที่เอาไวสําหรับหมุนเลนบนมือ
นักเรียนแตละคูรวมกันสืบคนขอมูลและศึกษา เรื่อง การเคลื่อนที่ โดยตรงกลางจะมีลกู ปนสําหรับหมุน และจะมีหมุดเหล็กถวงไวทปี่ ลายแตละดาน
แบบวงกลม จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต แลว วิธีเลนก็ใชนิ้วกลางและนิ้วโปงจับบริเวณแกนกลาง แลวใชนิ้วชี้หมุนเพื่อให
รวมกันพูดคุยอภิปรายผลการศึกษา สรุปเปนความคิดเห็นของ มันหมุนดวยความเร็ว ซึ่งหมุนไปเรื่อยๆ ตามที่ตองการ เหมือนควงปากกาเลน
คูตนเองเขียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว พรอมทั้งศึกษาและยก จุดประสงคหลักของแฮนด สปนเนอร คือ การแกปญหาเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้น
ตัวอยางการแกโจทยปญหาที่เกี่ยวของกับการนําหลักการของการ และเด็กที่มีอาการออทิสติก ดวยการฝกใหมีสมาธิดีขึ้น โดยการใหเด็กมีสมาธิ
เคลื่อนที่แบบวงกลมไปใช โดยครูกําหนดใหแตละกลุมตองยก จดจออยูก บั การหมุนของแฮนด สปนเนอร อีกทัง้ ยังชวยฝกการใชนวิ้ มือ ประสาท
ตัวอยางโจทยปญหามาอยางนอย 3 ขอ เสร็จแลวครูสุมนักเรียน สัมผัส ชวยลดความเครียด และทําใหผอนคลายอีกดวย
ออกมาหนาชั้นเรียนเพื่อนําเสนอผลการศึกษา เปนการทดสอบ
ความรูค วามสามารถของนักเรียนกอนทีค่ รูจะจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนตอไป

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้ การเคลื่อนที่แบบวงกลม วัตถุจะเคลื่อนที่ซ�้าแนวการเคลื่อนที่เดิม ช่วงเวลาที่วัตถุใช้ในการ
ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง การ เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ เรียกว่า คาบ (period) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ T มีหน่วยในระบบเอสไอ
เคลื่อนที่แบบวงกลม จากหนังสือเรียน เป็น วินาที (s) และจ�านวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา เรียกว่า ความถี่ (frequency)
2. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา “แรงมีผลตอการ แทนด้วยสัญลักษณ์ f มีหน่วยเป็น รอบต่อวินาที (1s ) หรือหน่วยในระบบเอสไอเป็น เฮิรตซ์ (Hz)
เคลือ่ นทีข่ องวัตถุทเ่ี คลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมอยางไร โดยความถี่และคาบมีความสัมพันธ์ ดังนี้
และทิศทางของแรงมีลักษณะอยางไร” โดยครู f = T1
สุม นักเรียนเปนบางคูใ หยนื ขึน้ แลวตอบคําถาม การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีการเปลี่ยน- v
(แนวตอบ วัตถุทมี่ กี ารเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมจะมี แปลงความเร็วตลอดเวลา แม้ว่าขนาดของ v
แนวการเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนโคง มีแรงทีต่ งั้ ฉากกับ ความเร็วหรืออัตราเร็วจะคงตัว แต่เวกเตอร์หรือ
ทิศทางของความเร็วมากระทําตลอดเวลา วัตถุ ทิศทางของความเร็วเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพราะ
จึงเคลื่อนที่แบบวงกลมได) ความเร็วที่จุดใด ๆ บนเส้นรอบวงของวงกลม v
จะอยู่ในแนวสัมผัสเส้นรอบวงของวงกลม (ซึ่ง v
มีทิศตั้งฉากกับรัศมีของวงกลม) ที่จุดนั้น ท�าให้ Fc
ทิศทางของความเร็วเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ac
จึงถือว่าเป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่งตาม v
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน ท�าให้เกิด v
ความเร่งทีม่ ที ศิ พุง่ เข้าสูจ่ ดุ ศูนย์กลางของวงกลม ภาพที่ 1.44 แรงที่กระท�าต่อวัตถุจะมีทิศเข้าหาจุด
ตลอดเวลาเช่นเดียวกับแรงสูศ่ นู ย์กลาง เรียกว่า ศูนย์กลางของการเคลือ่ นทีเ่ มือ่ วัตถุเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ความเร่งสู่ศูนย์กลาง (centripetal acceleration)
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ac ดังภาพที่ 1.44
จากภาพที่ 1.44 ความเร่งของวัตถุเป็นผลจากการกระท�าของแรง โดยทิศของความเร่ง
อยู่ในทิศเดียวกับทิศของแรงที่มากระท�า ความเร่งสู่ศูนย์กลางจึงเป็นผลจากการกระท�าของ
แรงสู่ศูนย์กลาง (Fc) ซึ่งมีทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่เสมอ โดยวัตถุจะเคลื่อนที่
เป็นวงกลมรัศมี (r) ค่าหนึ่ง และเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแนวเส้นสัมผัส ( v ) ค่าหนึ่งได้ ต้องมี
แรงสู่ศูนย์กลางที่มีขนาดพอเหมาะกระท�าต่อวัตถุเท่านั้น
จากกฎการเคลือ่ นทีข่ อ้ ทีส่ องของนิวตัน จะได้วา่ Fc = mac จากความสัมพันธ์ดงั กล่าว ท�าให้
สามารถค�านวณหาขนาดของความเร่งสู่ศูนย์กลางได้จากสมการ
ac คือ ขนาดของความเร่งสู่ศูนย์กลาง มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2 (m/s)
ac = r v2 v คือ อัตราเร็วของวัตถุตามแนวเส้นสัมผัสวงกลม มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
r คือ รัศมีของวงกลม มีหน่วยเป็น เมตร (m)
34

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม ครูอาจนําขอมูล วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมดวยอัตราเร็วสมํา่ เสมอในชวงแรก
หรือความรูเ สริมทีส่ ามารถคนหาไดจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต จากนั้นในชวงที่สองรัศมีของการเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา โดย
มาแสดงใหนักเรียนดูแลวครูอธิบายเนื้อหาสอดแทรกไปพรอมๆ กับการให อัตราเร็วยังคงเทาเดิม จงหาแรงสูศูนยกลางของวัตถุในชวงที่สอง
2
นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อที่ครูนําเสนอ เชน ครูนําคลิปวิดีโอจาก youtube (แนวตอบ จากสมการ Fc = mvr
เรื่อง ความเรงเขาสูศูนยกลาง มานําเสนอใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งสามารถ 2
ชวงแรก; Fc1 = mvr (1)
คนหาไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=nzXqGuuQk5E 2
ชวงที่สอง; Fc2 = mv2r (2)
นําสมการ (1)/(2) จะไดวา
Fc2 = 12 Fc1
ดังนัน้ แรงสูศ นู ยกลางของวัตถุในชวงทีส่ องเทากับครึง่ หนึง่ ของ
แรงสูศูนยกลางของวัตถุในชวงแรก)

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ทั้งนี้ ขนาดของแรงสู่ศูนย์กลางจะสอดคล้องกับสมการ 3. ครูนําเชือกมา 1 เสน พรอมผูกวัตถุชิ้นหนึ่งไว
ที่ปลายดานหนึ่งของเชือก แลวแกวงเชือกให
Fc คือ ขนาดของแรงสู่ศูนย์กลาง มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) วัตถุที่ผูกไวเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง พรอมกับให
2 m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg) นักเรียนสังเกตความสัมพันธของการเคลื่อนที่
Fc = mvr v คือ อัตราเร็วของวัตถุตามแนวเส้นสัมผัสวงกลม มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s) ของวัตถุนั้นกับความเร็วของวัตถุ แรงสูศูนย-
r คือ รัศมีของวงกลม มีหน่วยเป็น เมตร (m) กลาง และความเรงสูศูนยกลาง จากหนังสือ
เรียน
4. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกันเองอยางอิสระ กลุม
ส่วนคาบของการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมจะมีคา่ แปรผันตรงกับรัศมีของวงกลมการเคลือ่ นที่ และ
ละ 3-4 คน แลวศึกษากิจกรรม การเคลื่อนที่
แปรผกผันกับอัตราเร็วในแนวเส้นสัมผัส ถ้าต้องการให้คาบการเคลือ่ นทีม่ คี า่ เท่ากัน วัตถุทเี่ คลือ่ นที่
เป็นวงกลมที่มีรัศมีมากกว่าต้องเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วในแนวเส้นสัมผัสมากกว่า ซึ่งสังเกตได้จาก แบบวงกลมในแนวดิ่ง จากหนังสือเรียน
การหมุนของพัดลม จุดที่ปลายใบพัดจะเคลื่อนที่เร็วกว่าจุดที่อยู่ใกล้กึ่งกลางใบพัด ท�าให้มองเห็น
ปลายใบพัดไม่ชัดเจนในขณะที่พัดลมก�าลังหมุน แรงสู่ศูนย์กลางเป็นแรงทั่วไปที่กระท�าต่อวัตถุใน
ทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่เท่านั้น ซึ่งอาจเป็นแรงเพียงแรงเดียวหรือเป็นแรงลัพธ์
ของแรงหลายแรงที่มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่
การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมมีทงั้ การเคลือ่ นที่ N
แบบวงกลมในระนาบระดับและในระนาบดิ่ง v
ุมน
ส�าหรับการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบดิ่ง

การ
ทศิ ทาง

น�้ า หนั ก (weight; W) ของวั ต ถุ จ ะมี ผ ลต่ อ W


ขนาดของแรงสู่ศูนย์กลางที่บางต�าแหน่งด้วย Fc
โดยเฉพาะที่ต�าแหน่งสูงสุดและต�าแหน่งต�่าสุด
เช่น กรณีของชิงช้าสวรรค์ ส่งผลให้แรงแนวฉาก
(normal force; N) ที่กระเช้ากระท�าต่อคนนั่ง Fc
มีคา่ ไม่เท่ากัน ดังภาพที่ 1.45 ผลเช่นเดียวกันนี้ N
v
เกิดขึ้นกับการแกว่งวัตถุที่ผูกติดกับปลายเชือก
ให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวระนาบดิ่ง แรงที่
เชือกกระท�าต่อมือหรือแรงดึงในเส้นเชือกขณะ W
ที่วัตถุอยู่ที่ต�าแหน่งต่าง ๆ จะมีค่าไม่เท่ากัน ภาพที่ 1.45 แสดงแรงแนวฉากที่ต�าแหน่งสูงสุดและ
ต�่าสุด
ที่มา : คลังภาพ อจท.

แรงและการเคลื่อนที่ 35

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ดาวเทียมมีอัตราเร็วเทาใดในวงโคจรวงกลมรัศมี r รอบโลก ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง แรงสูศูนยกลาง
มวล M (ไมต1องแทนคาตัวแปร) 1
https://www.twig-aksorn.com/film/centripetal-force-8295/
1. ( GM 2 GM 2 เมตรตอวินาที
r3 ) 1 ( r2 )
เมตรต อ วิ น าที 2.
1
3. ( GMr )
2
เมตรต อ วิ น าที 4. (GMr) 2
เมตรตอวินาที
1
5. (GMr2) 2 เมตรตอวินาที
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ ΣF
= ma
Fc = mac
GMm = mv2
r2 r
v2 = GM
r 1
v = GM r 1 = ( GM ) 2 m/s
r
จะไดวา ดาวเทียมมีอัตราเร็วเทากับ (GM 2
r ) เมตรตอวินาที
ดังนั้น ตอบขอ 3.)
T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
5. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน ¡Ô¨¡ÃÃÁ ¡ÒÃà¤Å×è͹·ÕèẺǧ¡ÅÁã¹á¹Ç´Ôè§
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
6. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
• การสังเกต ¨Ø´»ÃÐʧ¤
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม • การลงความเห็นจากขอมูล เพื่อเปรียบเทียบขนาดของแรงสูศูนยกลางที่ตําแหนงสูงสุด ตํ่าสุด และ
จิตวิทยาศาสตร ตําแหนงกึง่ กลางระหวางตําแหนงสูงสุดกับตํา่ สุด ในการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน • ความสนใจใฝรู
• ความมีเหตุผล ในแนวดิ่ง
7. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล • การทํางานรวมกับผูอื่น
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³
8. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
1. จุกยางที่เจาะรูตรงกลางขนาดตางกัน 2 อัน 3. ตลับเมตร
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว 2. เชือกยาว 60 เซนติเมตร
อธิบายความรู ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ
1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน 1. สอดปลายขางหนึ่งของเชือกผานรูตรงกลางจุกยางอันหนึ่งแลวผูก
จุกยาง
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม ปลายเชือกเปนปมไว จากนั้นจับเชือกที่ตําแหนงหางจากจุกยาง 50
2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลท า ย เซนติเมตร แลวแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนวงกลมในแนวดิ่งดวย
อัตราเร็วคงตัวคาหนึ่ง ดังภาพที่ 1.46
กิจกรรมรวมกัน เพื่อสรุปใหนักเรียนเขาใจไป
2. เปรียบเทียบขนาดของแรงทีเ่ ชือกกระทําตอมือ (แรงดึงในเสนเชือก)
ในแนวทางเดียวกันอีกครั้ง ขณะที่จุกยางอยูที่ตําแหนงสูงสุด ตํ่าสุด และขณะที่เชือกวางตัวใน
แนวระดับ (จุกยางอยูตรงกึ่งกลางระหวางตําแหนงสูงสุดกับตํ่าสุด)
แลวบันทึกผล
3. ปฏิบัติซํ้า โดยจับเชือกที่ตําแหนงเดียวกับขอ 1. แตเพิ่มอัตราเร็วใน
การแกวงใหสูงขึ้น เปรียบเทียบขนาดของแรงที่เชือกกระทําตอมือที่ ภาพที่ 1.46 การแกวงวัตถุในแนวดิ่ง
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม ตําแหนงตํ่าสุดกับขอ 1. แลวบันทึกผล ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. แรงดึงในเสนเชือกจะมีคาสูงสุดเมื่อจุกยางอยูที่ 4. ปฏิบัติซํ้าขอ 1. แตเปลี่ยนตําแหนงจับเชือกเพื่อแกวงจุกยางเปน 30 เซนติเมตร เปรียบเทียบขนาดของ
ตําแหนงตํ่าสุด และจะมีคาตํ่าสุดเมื่อจุกยางอยู แรงทีเ่ ชือกกระทําตอมือทีต่ าํ แหนงตํา่ สุดกับขอ 1. เมือ่ แกวงจุกยางใหเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็วคงตัวคาเทากัน
แลวบันทึกผล
ที่ตําแหนงสูงสุด
5. ปฏิบตั ซิ าํ้ ขอ 3. แตเปลีย่ นจุกยางใหมขี นาดใหญขนึ้ (มวลเพิม่ ขึน้ ) เปรียบเทียบขนาดของแรงทีเ่ ชือกกระทํา
2. แรงดึงในเสนเชือกจะมีคา เพิม่ ขึน้ โดยขนาดของ ตอมือที่ตําแหนงตํ่าสุดกับขอ 1. เมื่อแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วเทากัน แลวบันทึกผล
แรงดึงในเสนเชือกจะแปรผันตรงกับอัตราเร็วใน
การเคลื่อนที่ของจุกยาง ¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ
3. ถารัศมีของการเคลือ่ นทีล่ ดลงจะสงผลใหแรงดึง 1. จากการปฏิบัติขอ 1. แรงดึงในเสนเชือกมีคาสูงสุดและตํ่าสุด เมื่อจุกยางอยูที่ตําแหนงใด
2. การเพิ่มอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของจุกยางในการปฏิบัติขอ 3. สงผลอยางไรตอแรงดึงในเสนเชือก
ในเสนเชือกมีขนาดเพิ่มขึ้น 3. การลดรัศมีของการเคลื่อนที่ของจุกยางในการปฏิบัติขอ 4. สงผลอยางไรตอแรงดึงในเสนเชือก
4. แรงดึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดจะแปรผัน 4. การเปลี่ยนจากจุกยางขนาดเล็กเปนจุกยางขนาดใหญในการปฏิบัติขอ 5. สงผลอยางไรตอแรงดึงใน
ตรงกับมวลของจุกยาง โดยถาจุกยางมีขนาด เสนเชือก
36
ใหญ ขึ้ น มวลเพิ่ ม ขึ้ น แรงดึ ง ในเส น เชื อ กที่
ตําแหนงตํ่าสุดก็จะเพิ่มขึ้นตาม

บันทึก กิจกรรม

1. เมื่อแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 50 เซนติเมตร ดวยอัตราเร็วคงตัวคาหนึ่ง ขนาดแรงดึงในเสนเชือกมีคาสูงสุด ขณะจุกยางอยูที่ตําแหนง


ตํ่าสุด ขนาดแรงดึงในเสนเชือกมีคาตํ่าสุด ขณะจุกยางอยูที่ตําแหนง...........................
........................... สูงสุด ขนาดแรงดึงในเสนเชือกมีคาระหวางคาสูงสุดกับคาตํ่าสุดขณะ
กึ่งกลาง
จุกยางอยูที่ตําแหนง...........................
มากขึ้น
2. เมื่อแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 50 เซนติเมตร ดวยอัตราเร็วคงตัวที่สูงขึ้น ขนาดของแรงดึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดมีคา...........................
3. เมื่อแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 30 เซนติเมตร ดวยอัตราเร็วคงตัวคาเทากันกับตอนแกวงจุกยางอันเดียวกันใหเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 50
มากขึ้น
เซนติเมตร ขนาดของแรงตึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดมีคา...........................
4. เมื่อแกวงจุกยางอันใหมที่มีมวลมากกวาจุกยางอันแรกใหเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 30 เซนติเมตร เทากัน ดวยอัตราเร็วคงตัวเทากันกับการแกวงจุกยางอัน
มากขึ้น
แรกขนาดของแรงตึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดมีคา...........................

T40
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
ÍÀÔ»ÃÒ¼ŷŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมหลังทํากิจกรรมวา นอกจาก
การเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลมที่ ไ ด ทํ า การศึ ก ษา
จากผลการปฏิบัติกิจกรรมจะไดวา แรงดึงในเสนเชือกจะมีคามากที่สุดเมื่อจุกยางอยูที่ตําแหนงตํ่าสุด
ของวงกลม และแรงดึงในเสนเชือกจะมีคานอยที่สุดเมื่อจุกยางอยูที่ตําแหนงสูงสุดของวงกลม เมื่อพิจารณา
มาแลวนั้น การเคลื่อนที่ของรถยนตหรือรถ
แรงที่กระทําตอจุกยางที่ตําแหนงตาง ๆ โดยกําหนดให แรงดึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดของวงกลม คือ จักรยานยนตบนถนนโคง ก็เปนการเคลื่อนที่
mv 2
Tbottom และแรงดึ งในเสนเชือกที่ตําแหนงสูงสุดของวงกลม คือ Ttop จะไดวา Tbottom = r + mg และ แบบวงกลมอีกเชนกัน โดยเปนการนําความรู
2
Ttop = mvr - mg ถามวลของจุกยางมีคาคงตัว แรงดึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดของวงกลมจะแปรผัน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลมมาอธิบายได
ตรงกับอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ แตจะแปรผกผันกับรัศมีของวงกลมที่จุกยางเคลื่อนที่ และถาอัตราเร็วในการ เชนกัน
เคลื่อนที่และรัศมีของวงกลมที่จุกยางเคลื่อนที่มีคาคงตัว แรงดึงในเสนเชือกที่ตําแหนงตํ่าสุดของวงกลมจะ 4. ครูแจกใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม
แปรผันตรงกับมวลของจุกยาง
แลวมอบหมายใหนาํ กลับไปศึกษาเปนการบาน
ขยายความเขาใจ
นอกจากนี้ เรายังสามารถประยุกตใชความรูเรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลมในกรณีอื่น ๆ อีก
เชน การเคลื่อนที่ของรถจักรยานยนตหรือรถยนตบนถนนหรือทางโคงในระนาบระดับ จะมีแรง 1. ครูนําอภิปรายสรุปเนื้อหาเรื่องที่สอนไปแลว
เสียดทาน (frictional force; f ) ที่พื้นกระทําตอลอรถไมใหรถไถลออกนอกถนนหรือหลุดโคง โดยเปด PowerPoint ควบคูไปดวย
ดังภาพที่ 1.47 (ก) โดยแรงเสียดทานจะมีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลางของทางโคง ทําหนาที่เปน 2. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนสอบถามเกีย่ วกับสิง่ ที่
แรงสูศ นู ยกลาง แตแรงเสียดทานอาจมีคา ไมมากพอทีจ่ ะทําใหเลีย้ วผานโคงไดอยางปลอดภัย ถาใช สงสัยหรือยังไมเขาใจเพิ่มเติม
ความเร็วมากเกินไปบนทางโคงจะตองระวังการใชความเร็วไมใหเกินความเร็วสูงสุดที่กําหนด 3. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง การ
สําหรับรถจักรยานยนตอาจใชการเอียงตัวและรถไปจากแนวดิง่ เขาหาโคงทางดานในของถนนเพือ่ เคลื่อนที่แบบวงกลม และยกตัวอยางกิจกรรม
เพิ่มแรงสูศูนยกลาง ทําใหมีความปลอดภัยในการขับขี่มากขึ้น ดังภาพที่ 1.47 (ข) สวนการเพิ่ม ในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่
ความปลอดภัยในการเลีย้ วโคงของรถยนตและรถจักรยานยนตใชการออกแบบถนนบริเวณทางโคง แบบวงกลม ลงในกระดาษ A4 พร อ มทั้ ง
ใหถนนเอียงโดยขอบถนนดานนอกสูงกวาขอบถนนดานใน เพราะขณะรถเลี้ยวผานถนนโคงเอียง ตกแตงใหสวยงาม
นอกจากมีองคประกอบของแรงเสียดทานที่เปนแรงสูศูนยกลางแลว ยังมีองคประกอบของแรง 4. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
แนวฉาก (N) ที่พื้นถนนกระทําตอรถที่มีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลางของทางโคงเปนแรงสูศูนยกลาง
ของตนเองหนาชั้นเรียน
เพิ่มเขามาดวย ในกรณีถนนโคงราบมีเพียงแรงเสียดทานเทานั้นที่เปนแรงสูศูนยกลาง
5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
N N cos θ = mg
Topic Question เรือ่ ง การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
θ แลวนํามาสงครูทายชั่วโมง
f 6. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
f f 2
N sin θ = mvr การเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลม จากแบบฝ ก หั ด
(ก) (ข)
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 เปน
ภาพที่ 1.47 รถยนตและรถจักรยานยนตเคลื่อนที่เขาโคงบนถนนระดับ
ที่มา : คลังภาพ อจท. การบาน แลวมาสงครูในชั่วโมงถัดไป
áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè 37

กิจกรรม 21st Century Skills สื่อ Digital


ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ กลุมละ 2-3 คน ศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง แรงเสียดทาน
แลวมอบหมายใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม https://www.twig-aksorn.com/film/friction-8294/
โดยเนนเนือ้ หาเกีย่ วกับการเคลือ่ นทีบ่ นถนนโคงของรถยนตและรถ
จักรยานยนต จากนั้นเขียนสรุปองคความรูลงในกระดาษ A4 เพื่อ
เปนการทบทวนความรูเ บือ้ งตนกอนทีจ่ ะศึกษาในหัวขอถัดไป หลัง
จากที่นักเรียนสรุปองคความรูเสร็จแลว ครูสุมนักเรียนออกมานํา
เสนอผลงานของกลุม ตนเอง โดยครูอาจถามคําถามเกีย่ วกับเนือ้ หา
ทีส่ าํ คัญในสวนนัน้ เพือ่ เปนการเนนยํา้ ใหนกั เรียนมีความเขาใจมาก
ยิ่งขึ้น และเพื่อใหทุกคนมีความเขาใจไปในทางเดียวกัน

T41
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับการ ความเร็วที่ใช้ในการเข้าโค้ง และมุมที่เอียงรถขณะเข้าโค้งราบจะขึ้นอยู่กับขนาดของแรง
เคลื่อนที่แบบวงกลม เพื่อใหนักเรียนทุกคนไดมี เสียดทานระหว่างล้อกับพืน้ ถนน ซึง่ ขนาดของแรงเสียดทานดังกล่าวจะขึน้ อยูก่ บั ขนาดสัมประสิทธิ์
ความเขาใจในเนื้อหาที่ไดศึกษามาแลวไปในทาง ความเสียดทานระหว่างล้อกับพื้นถนน ในการป้องกันรถลื่นไถลหรือเสียสมดุล โดยเฉพาะเมื่อมี
เดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง โดยครู ฝนตกท�าให้ถนนเปยก และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานลดลง พื้นถนนมีแรงเสียดทานไม่มากพอ
ให นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก หรือถนนลื่น รถอาจเกิดการลื่นไถลหรือไม่สามารถเลี้ยวผ่านโค้งไปได้ เป็นผลท�าให้เกิดอุบัติเหตุ
ประจําตัว บ่อยครั้ง จึงได้มีการออกแบบถนนให้เอียงในช่วงที่เป็นทางโค้ง โดยยกขอบถนนด้านนอกโค้งให้
สูงกว่าขอบด้านในโค้ง ดังภาพที่ 1.48 เพื่อช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุไม่ให้เกิดการลื่นไถลออก
ขัน้ ประเมิน นอกโค้งของรถ
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง การ
เคลื่อนที่แบบวงกลม
2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม ในสมุดบันทึก
ประจําตัว
3. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่
แบบวงกลม จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตร
กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 ภาพที่ 1.48 ถนนเอียงในช่วงทางโค้ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล Topic
และการทํางานกลุม ? Question
5. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
เนื้ อ หา เรื่ อ ง การเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลม ที่ 1. ขนาดและทิศทางของความเร่งสูศ่ นู ย์กลางสัมพันธ์กบั ขนาดและทิศทางของความเร็วตามแนว
นักเรียนไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจ สัมผัสอย่างไร
เปนรายบุคคล 2. แรงสู่ศูนย์กลางในการเลี้ยวผ่านถนนโค้งลื่น (ไม่มีแรงเสียดทาน) คือแรงใด
3. ในการแกว่งวัตถุให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมแนวดิ่ง แรงดึงในเส้นเชือกมีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุอยู่ที่
ต�าแหน่งใด เพราะเหตุใด
4. การเพิ่มอัตราเร็วในการเคลื่อนที่แบบวงกลมรัศมีคงตัว ส่งผลอย่างไรต่อแรงสู่ศูนย์กลางและ
คาบการเคลื่อนที่
5. ถ้าแรงเสียดทานระหว่างล้อรถกับพื้นถนนมีค่าไม่มากพอจะเกิดอะไรขึ้นกับรถที่
เลี้ยวผ่านถนนโค้ง
38

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. ขนาดของความเรงสูศูนยกลางแปรผันตรงกับกําลังสองของขนาด
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ
ความเร็วแนวสัมผัส โดยความเรงสูศ นู ยกลางจะมีทศิ ตัง้ ฉากกับความเร็ว
วงกลม ไดจากผังมโนทัศนที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยายความเขาใจ โดย
แนวสัมผัสตลอดเวลา
ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
2. แรงสูศูนยกลางในการเลี้ยวผานถนนโคงลื่น (ไมมีแรงเสียดทาน) คือ
ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
องคประกอบของแรงแนวฉาก (N) ในแนวระดับที่ถนนกระทําตอรถ
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

3
ระดับคะแนน
2 1
3. แรงดึ ง ในเส น เชื อ กมี ค  า สู ง สุ ด เมื่ อ วั ต ถุ อ ยู  ที่ ตํ า แหน ง ตํ่ า สุ ด เพราะ
ที่ตําแหนงตํ่าสุดแรงดึงในเสนเชือกจะเทากับผลรวมของแรงเขาสู
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1
2
3
4
ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
ความถูกต้องของเนื้อหา
ความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นระเบียบ
3. ผลงานมีความคิด
สร้างสรรค์
ผลงานแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหม่และเป็น
ระบบ
ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ
ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด
แปลกใหม่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด
ใหม่
ศูนยกลางกับนํ้าหนัก
4. การเพิ่มอัตราเร็วในการเคลื่อนที่แบบวงกลมรัศมีคงตัว สงผลใหขนาด
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ของแรงสูศูนยกลางเพิ่มขึ้น แตสงผลใหคาบการเคลื่อนที่ลดลง
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

5. ถาแรงเสียดทานระหวางลอรถกับพืน้ ถนนมีคา ไมมากพอ รถไมอาจเลีย้ ว


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
ผานโคงไดแตจะเคลื่อนที่ตรงไปในแนวเสนสัมผัสกับโคงดานนอกของ
ถนน (แหกโคง)

T42
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
5. ¡ÒÃà¤Å×è͹·ÕèẺÊÑè¹ Prior Knowledge 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นสนทนาทบทวนความรู  เ ดิ ม
การเคลื่อนที่ของสิ่งตาง ๆ อีกรูปแบบหนึ่งที่เราพบเห็นได ¤ÇÒÁà˧㹡ÒÃà¤Å×Íè ¹·Õè เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม โดยครูเปด
ในชีวติ ประจําวัน เชน การแกวงของลูกตุม นาฬกา การแกวงของ ẺÊѹè ÁÕÅ¡Ñ É³Ð੾ÒÐ โอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นอยาง
Í‹ҧäà อิสระ
ชิงชา การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายกีตาร การ
เคลื่อนที่ของลูกสูบในกระบอกสูบ เปนตน เราเรียกการเคลื่อนที่ 2. ครูใหนักเรียนสังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่
ลักษณะนี้วา การเคลื่อนที่แบบสั่น หรืออาจเรียกวา การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย (simple ของลูกตุม นาฬกา และการเคลือ่ นทีข่ องตุก ตา
harmonic motion) ซึ่งเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมารอบตําแหนงสมดุลหรือตําแหนงที่แรงลัพธ ติดสปริง
ที่กระทําตอวัตถุเปนศูนยดวยความเรงที่มีทิศเขาหาตําแหนงสมดุลตลอดเวลา ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวัตถุ 3. ครูตั้งคําถามกระตุนความสนใจกับนักเรียน
อยูภ ายใตการกระทําของแรงดึงกลับทีม่ ขี นาดแปรผันตรงกับขนาดของการกระจัดและมีทศิ ตรงขาม เกี่ยวกับ “การกระจัดของลูกตุมนาฬกาและ
กับการกระจัดตลอดเวลา สปริ ง ในการเคลื่ อ นที่ แ บบสั่ น เป น อย า งไร”
(ทิ้งชวงใหนักเรียนคิด) แลวสุมถามนักเรียน
เปนรายบุคคล โดยจะยังไมเฉลยคําตอบวา
ถูกหรือผิด
4. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
5. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
เรียนกับนักเรียนวา “ความเรงในการเคลื่อนที่
แบบสั่น มีลักษณะเฉพาะอยางไร”

1
(ก) การแกวงของชิงชา (ข) การแกวงของเครื่องเคาะจังหวะ
ภาพที่ 1.49 ตัวอยางลักษณะการเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมา
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่ เปนการเคลือ่ นทีท่ มี่ คี วามเรงไมคงตัว ขนาดของความเรงจะแปรผันตรง


กับขนาดของการกระจัดจากตําแหนงสมดุล ขนาดของความเรงจึงมีคา สูงสุดทีต่ าํ แหนงไกลสุดของ
การสั่น และมีคาเปนศูนยที่ตําแหนงสมดุล เนื่องจากการกระจัดของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบสั่นมีทิศ แนวตอบ Prior Knowledge
พุง ออกจากจุดสมดุลตลอดเวลา ความเรงในการเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่ จึงมีทศิ ตรงขามกับการกระจัดเสมอ ความเรงในการเคลื่อนที่แบบสั่นเปนความเรง
สงผลใหขนาดของความเร็วในการเคลื่อนที่แบบสั่นของวัตถุเปลี่ยนแปลงในลักษณะตรงขามกับ ที่ไมคงตัว ขนาดของความเรงจะแปรผันตรงกับ
ความเรง กลาวคือ ขนาดของความเร็วมีคาสูงสุดที่ตําแหนงสมดุลและเปนศูนยที่ตําแหนงไกลสุด ขนาดของการกระจัดจากตําแหนงสมดุล ซึ่งขนาด
ของการสั่น โดยการเคลื่อนที่แบบสั่นที่พบเห็นไดบอย ๆ ในชีวิตประจําวัน มีดังนี้ ของความเรงจะมีคา สูงสุดทีต่ าํ แหนงไกลสุดของการ
สัน่ และมีคา เปนศูนยทตี่ าํ แหนงสมดุล โดยความเรง
áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè 39
มีทศิ พุง เขาสูจ ดุ สมดุลตลอดเวลาและมีทศิ ตรงขาม
กับการกระจัดตลอดเวลา

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชลักษณะของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย 1 เครื่องเคาะจังหวะ (metronome) คือ เครื่องมือทําจังหวะเพื่อใชในการ
1. มีความเร็วสูงสุด ณ จุดสมดุล ฝกดนตรีหรืออุปกรณจับจังหวะ ซึ่งจะใหจังหวะหรือความเร็วในการเลนดนตรี
2. แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเปนศูนย (tempo) โดยจะบอกเปน ครั้งตอนาที (beat per minute; BPM) หมายความ
3. คาบการเคลื่อนที่ขึ้นอยูกับแอมพลิจูด วา โนตแตละตัวจะตองถูกเลนเปนจํานวนกีค่ รัง้ ตอนาที หากเพลงหรือทํานองใด
4. ทิศของความเรงเขาสูจุดสมดุลตลอดเวลา มีคา tempo สูง โนตตัวนั้นก็จะตองเลนดวยความเร็วที่สูงขึ้น ดวยจํานวนครั้ง
5. แรงที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่แปรผันตามการกระจัด มากขึ้นในหนึ่งนาที
(วิเคราะหคําตอบ การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายเปนการ
เคลื่อนที่ของวัตถุแบบกลับไปกลับมารอบตําแหนงสมดุล ความ
เร็วของวัตถุ ณ จุดสมดุลจะมีขนาดมากที่สุด ความเรงมีทิศ
พุงเขาสูจุดสมดุลตลอดเวลา แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเปนศูนย
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T43
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง การเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่ 5.1 ¡ÒÃá¡Ç‹§¢Í§Çѵ¶ØµÔ´»ÅÒÂàª×Í¡
ในสวนของหัวขอ การแกวงของวัตถุติดปลาย ในสภาวะสมดุล วัตถุอยูน งิ่ เชือกจะวางตัวในแนวดิง่ ดังภาพที่ 1.50 (ก) เรียกวา แนวสมดุล
เชือก จากหนังสือเรียน เมื่อดึงวัตถุไปทางซายใหเชือกเอียงทํามุม θ กับแนวสมดุล แลวปลอย วัตถุจะแกวงจากตําแหนง
2. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุม ละประมาณ ทีป่ ลอยผานแนวสมดุลไปทางขวาเปนมุม θ แลวหยุด จากนัน้ แกวงกลับมาทางซายผานแนวสมดุล
6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตาม ไปทางซายเปนมุม θ ไปหยุดที่ตําแหนงเดิมที่ปลอยอีกครั้งหนึ่ง ดังภาพที่ 1.50 (ข) เปนการ
ผลสัมฤทธิ์ (เกง ปานกลาง ออน) ใหอยูใน เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ
กลุมเดียวกัน เพื่อรวมกันศึกษากิจกรรม การ
เคลื่อนที่แบบแกวง จากหนังสือเรียน โดยให θ θ θ θ
นักเรียนแตละกลุม กําหนดใหสมาชิกแตละคน

แนวสมดุล
T

แนวสมดุล
มีบทบาทหนาที่ของตนเอง
แอมพล ิจูด
3. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน ิจูด แอมพลิจูด แอมพ
ลิจูด แอมพล n θ θ
i
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง จุดสมดุล จุดสมดุล ms
g mg cos θ
(ก) (ข) mg
ภาพที่ 1.50 การแกวงของวัตถุที่ผูกอยูที่ปลายเชือก และปลายเชือกอีกดานตรึงไวกับเพดาน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เมือ่ พิจารณาภาพที่ 1.50 พบวา แรงดึงกลับทีท่ าํ ใหวตั ถุแกวงกลับไปกลับมาผานแนวสมดุล
คือ องคประกอบของนํ้าหนัก หรือแรงโนมถวงที่กระทําตอวัตถุในแนวสัมผัสเสนทางการเคลื่อนที่
ของวัตถุ ดังแสดงในภาพที่ 1.50 (ข)
สังเกตวาในการเคลื่อนที่ของวัตถุครบ 1 รอบ วัตถุจะ Physics
เคลือ่ นทีผ่ า นตําแหนงสมดุล 2 ครัง้ เวลาทีใ่ ชในการแกวงกลับไป in real life
กลับมา 1 รอบ เรียกวา คาบ สวนจํานวนรอบของการแกวง เครื่ อ งเล น ในสวนสนุ ก ที่ มี
ใน 1 วินาที เรียกวา ความถี่ จุดตํ่าสุดของการแกวง เรียกวา ลั ก ษณะการเคลื่ อ นที่ ก ลั บ ไป
จุดสมดุล ซึ่งเปนจุดที่แรงลัพธเปนศูนย และการกระจัดจาก กลั บ มา หรื อ เรี ย กว า เป น การ
จุดสมดุลถึงจุดไกลสุดของการแกวงดานใดดานหนึ่ง หรือการ เคลื่ อ นที่ แ บบฮาร ม อนิ ก อย า ง
งาย เชน เครื่องเลนไวกิ้ง มีการ
กระจัดสูงสุด เรียกวา แอมพลิจดู (amplitude) ถาไมคดิ แรงตาน เคลื่อนที่แบบแกวงไปมา โดยใน
ของอากาศ และแรงเสียดทานทีจ่ ดุ แขวนเชือก วัตถุจะหยุดการ แตละรอบของการแกวงจะทํามุม
เคลื่อนที่ชั่วขณะที่ตําแหนงไกลสุดของการแกวงในแตละดาน กับแนวสมดุลตางกันไป จะทําให
หรือตําแหนงที่มีแอมพลิจูดสูงสุด มีแอมพลิจูดหรือการกระจัดใน
การแกวงแตละดานทีแ่ ตกตางกัน
คาบของการแกวงของวัตถุทผี่ กู จะขึน้ อยูก บั มุม แอมพลิจดู ซึ่งขึ้นอยูกับเจาหนาที่ผูควบคุม
มวลของวัตถุ และความยาวเชือกหรือไม อยางไร พิจารณาได เครือ่ งเลน เพือ่ ใหผเู ลนเกิดความ
จากการกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบแกวง สนุกในระดับที่ตางกัน

40

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่นหรือการเคลื่อนที่แบบ ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต แลวยก
ฮารมอนิกอยางงาย ครูอาจยกตัวอยางกิจกรรม หรืออุปกรณตางๆ ที่มีการ ตัวอยางวัตถุที่มีการเคลื่อนที่แบบสั่น โดยครูใหนักเรียนเขียน
เคลื่อนที่แบบสั่นหรือแบบฮารมอนิกอยางงาย ใหนักเรียนฟง โดยครูอาจใช อธิบายลงในสมุดบันทึกประจําตัววามีหลักการในการเคลื่อนที่
สือ่ ประกอบการสอน เชน ภาพ วิดโี อ อุปกรณจริง มาแสดงใหนกั เรียนดูพรอมกัน อยางไร เสร็จแลวรวบรวมสมุดสงครู จากนัน้ ครูอาจสุม นักเรียนออก
นั้น ครูอธิบายหลักการทํางานของอุปกรณดังกลาวในสวนที่เกี่ยวของกับเนื้อหา มาหนาชั้นเรียน เพื่อนําเสนอและอธิบายผลการศึกษาของตนเอง
ที่นักเรียนกําลังศึกษา เพื่อใหนักเรียนเกิดการจินตนาการและมีความเขาใจใน
หลักการของการเคลื่อนที่แบบสั่นมากขึ้น

T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม การเคลื่อนที่แบบแกว่ง 4. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์ ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
• การลงความเห็นจากข้อมูล 1. หาคาบการแกว่งจากการเคลื่อนที่แบบแกว่งของนอต 5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันแลกเปลี่ยนความรู
จิตวิทยาศาสตร์ 2. วิเคราะห์คาบการแกว่งเมื่อความยาวเชือกคงตัว แต่มวลของนอต
• การท�างานร่วมกับผู้อื่น และวิเคราะหผลการปฏิบัติกิจกรรม จากนั้น
• ความมีเหตุผล เปลี่ยนแปลง
• ความอยากรู้อยากเห็น 3. วิเคราะห์คาบการแกว่งเมื่อมวลของนอตคงตัว แต่ความยาวของเชือก อภิปรายผลรวมกัน
เปลี่ยนแปลง 6. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
วัสดุอุปกรณ์ จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
1. เชือก 3. ครึ่งวงกลมวัดมุม 5. ขาตั้งพร้อมคาน เพือ่ นําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจจาก
2. นอตโลหะ 4. นาฬิกาจับเวลา การปฏิบัติกิจกรรม
วิธีปฏิบัติ
1. จัดอุปกรณ์เตรียมการท�ากิจกรรม ดังภาพที่ 1.51 ดึงเชือกให้เอียงท�า
มุม 10 องศากับแนวดิง่ โดยใช้ครึง่ วงกลมวัดมุม ปล่อยให้นอตแกว่ง
พร้อมจับเวลาในการแกว่งครบ 10 รอบ บันทึกผล พร้อมค�านวณหา
คาบการแกว่ง
2. ปฏิบัติซ�้าข้อที่ 1. แต่เพิ่มมวลหรือจ�านวนของนอต โดยให้ความยาว
เชือกคงตัว เพื่อศึกษาว่ามวลมีผลต่อคาบหรือไม่
3. ปฏิบัติซ�้าข้อที่ 1. แต่เพิ่มความยาวเชือก โดยให้มวลของนอตคงตัว ภาพที่ 1.51 อุปกรณ์กิจกรรม
เพื่อศึกษาว่าความยาวเชือกมีผลต่อคาบหรือไม่ การเคลื่อนที่แบบแกว่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. เมื่อความยาวเชือกคงตัว แต่มวลของนอตมากขึ้นจะมีผลต่อคาบการแกว่งหรือไม่ อย่างไร
2. เมือ่ มวลของนอตคงตัว แต่ความยาวเชือกเปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อคาบการแกว่งหรือไม่ อย่างไร
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
การแกว่งกลับไปกลับมาในระนาบดิง่ ของวัตถุทผี่ กู ติดกับปลายเชือกมุมในการแกว่งและมวลของวัตถุ มีผล
ต่อคาบในการแกว่งน้อยกว่าความยาวของเชือกมาก และกรณีทมี่ มุ ในการแกว่งเป็นมุมเล็ก ๆ การแกว่งกลับไป
กลับมาในระนาบดิง่ ของวัตถุทผี่ กู ติดกับปลายเชือกจะเป็นการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เนือ่ งจากแรงที่
ท�าให้วตั ถุเคลือ่ นทีแ่ ละความเร่งในการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุมคี า่ แปรผันตรงกับขนาดการกระจัดและมีทศิ พุง่ เข้าหา แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
จุดสมดุล โดยคาบของการแกว่งเป็นมุมเล็ก ๆ นี้ไม่ขึ้นกับมวลของวัตถุแต่ขึ้นอยู่กับความยาวของเชือกเท่านั้น
เมือ่ เพิม่ ความยาวของเชือก คาบการแกว่งจะเพิม่ ขึน้ หรือแกว่งช้าลง โดยคาบของการแกว่งจะมีคา่ เป็นสองเท่า 1. มวลของนอตไมมีผลตอคาบการแกวง แมวา
ของคาบการเคลื่อนที่เดิม เมื่อเพิ่มความยาวเชือกเป็นสี่เท่าของความยาวเชือกเดิม จํานวนของนอต (มวล) จะเพิ่มขึ้นก็ตาม
2. ความยาวของเชื อ กมี ผ ลโดยตรงต อ คาบการ
แรงและการเคลื่อนที่ 41
แกวง เมื่อเชือกมีความยาวเพิ่มขึ้นจะสงผลให
คาบการแกวงมีคาเพิ่มขึ้นดวย

กิจกรรม ทาทาย บันทึก กิจกรรม


กรณีที่ 1 เพิม่ จํานวนนอต โดยใหความยาวเชือกคงตัว (เชือกยาว 50 เซนติเมตร)
ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต แลวยก
จํานวนนอต เวลาในการแกวงครบ คาบการแกวง
ตัวอยางวัตถุที่มีการเคลื่อนที่แบบสั่น โดยครูใหนักเรียนเขียน (ตัว) 10 รอบ (วินาที) T = t/10 (วินาที)
อธิบายลงในสมุดบันทึกประจําตัววามีหลักการในการเคลื่อนที่ 1 14.37 1.437
อยางไร และครูกาํ หนดใหสบื คนโจทยปญ หาทีเ่ กีย่ วของ แลวนํามา 2 14.11 1.411
เขียนแสดงวิธีการแกโจทยปญหานั้นดวยตนเอง ลงในสมุดบันทึก 3 14.15 1.415
ประจําตัว เสร็จแลวรวบรวมสมุดสงครู จากนั้นครูอาจสุมนักเรียน 4 14.18 1.418
ออกมาหนาชั้นเรียน เพื่อนําเสนอและอภิปรายผลการศึกษาของ กรณีที่ 2 เพิ่มความยาวเชือก โดยใหจํานวนนอตคงตัว (นอต 1 ตัว)
ตนเอง ความยาวเชือก เวลาในการแกวงครบ คาบการแกวง
(เซนติเมตร) 10 รอบ (วินาที) T = t/10 (วินาที)
30 10.94 1.094
40 12.71 1.271
50 14.11 1.411
60 15.49 1.549

T45
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน จากกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบแกวง พบวา คาบการแกวงของวัตถุที่ผูกอยูที่ปลายเชือก
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม ขึน้ อยูก บั ความยาวของเชือกทีผ่ กู วัตถุเทานัน้ โดยเฉพาะการแกวงเปนมุมนอย ๆ มวลของวัตถุและ
2. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ มุมในการแกวงจะไมมีผลตอคาบการแกวงของวัตถุเลย กรณีการแกวงเปนมุมนอย ๆ คาบ
กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ การแกวงของวัตถุที่ผูกอยูที่ปลายเชือกจะแปรผันตรงกับรากที่สองของ
กิจกรรม ความยาวเชือก ถาเชือกที่ผูกวัตถุยิ่งยาวคาบการแกวงยิ่งมีคามากหรือ
3. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย ใชเวลาในการแกวงชา โดยวัตถุที่ผูกดวยเชือกยาว 1 เมตร จะมีคาบ
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน การแกวงเปน 2 เทา ของคาบการแกวงของวัตถุที่ผูกดวยเชือกยาว 25
เซนติเมตร
ผลของความยาวเชือกที่มีตอคาบของการแกวงนี้นําไปประยุกตใช
ในการปรับเทียบการบอกเวลาของนาฬกาลูกตุม ดังภาพที่ 1.52 ได โดย
แทนความยาวเชือกดวยความยาวของกานลูกตุม (ระยะ
จากจุดแขวนที่ปลายบนถึงจุดกึ่งกลางลูกตุมที่ปลายลาง)
ถานาฬกาบอกเวลาชากวาเวลามาตรฐาน (เดินชา) ใหปรับ
กานลูกตุมใหสั้นลง แตถานาฬกาบอกเวลาเร็วกวาเวลา
มาตรฐาน (เดินเร็ว) ใหปรับกานลูกตุมใหยาวขึ้น
ภาพที่ 1.52 นาฬกาแบบลูกตุม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Science Focus
¹Ñ¡»ÃдÔÉ°¹Ò́¡Ò
เมื่อป พ.ศ. 2143 นักวิทยาศาสตรและนักประดิษฐ ไดพยายามที่จะสราง
นาฬกาทีม่ คี วามเทีย่ งตรงสูง แตปรากฏวาไมมใี ครประดิษฐได จนกระทัง่ คริสเตียน
ฮอยเกนส (Christiaan Huygens) นักฟสกิ สชาวดัตช เปนคนแรกทีป่ ระสบความ
สําเร็จ โดยเขาไดคนพบวา คาบการแกวงของลูกตุมนาฬกา ขึ้นอยูกับความยาว
ของเสนเชือกที่แขวนลูกตุมนาฬกาเทานั้น ไมขึ้นอยูกับมวลของลูกตุม
มนุษยเริม่ มีการใชนาฬกาแบบลูกตุม มาตัง้ แตป พ.ศ. 2202 ซึง่ ในขณะนัน้
ถือวามีความเที่ยงตรงสูงมาก โดยชิ้นสวนสําคัญของนาฬกาแบบลูกตุม มีดังนี้
ภาพที่ 1.53 คริสเตียน
• หนาปดมีเข็มชั่วโมง นาที และวินาที ฮอยเกนส
• มีตุมนํ้าหนักจํานวนหนึ่งหรือมากกวา (ถาเปนนาฬกาที่ทันสมัยขึ้นมา ที่มา : คลังภาพ อจท.
จะใชสปริงขดเปนวงแทน)
• ลูกตุมที่แกวงไปมา ซึ่งการแกวงทั่ว ๆ ไป คือ 1 ครั้งตอวินาที หรือบางรุนก็แกวง 2 ครั้งตอ
วินาที สวนนาฬการุนที่เกามากจะแกวง 1 ครั้งตอ 2 วินาที

42

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด s


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การแกวงของวัตถุติดปลายเชือก ครูอาจให นาฬกาแบบลูกตุมเรือนหนึ่ง มี
ความรูเ พิม่ เติมแกนกั เรียน โดยการนําสมการทีใ่ ชในการคํานวณหาคาบการแกวง การแกวงตุม นาฬกาไดกราฟ ดังภาพ
t(s)
มาแสดงใหนกั เรียนดูประกอบกับการอธิบายเนือ้ หาจากหนังสือเรียนวา คาบการ จงหาความยาวของสายตุมนาฬกา 0 4 8
แกวงของวัตถุทผี่ กู ติดปลายเชือกจะแปรผันตรงกับรากทีส่ องของความยาวเชือก (กําหนดให g = 10 m/s2)
ซึ่งสามารถคํานวณได จากสมการ (แนวตอบ จากสมการ T = 2 π gL
T = 2π gL 8 = 2 π 10L
82 = (2 π)2(10L )
เมื่อ T คือ คาบการแกวงของวัตถุ
L คือ ความยาวเชือก 64 = 4 π2(10L )
g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก 160 = π2L
L = 1602 ≈ 16.2 m
π
ดังนั้น ความยาวของสายตุมนาฬกาเทากับ 1602 เมตร หรือ
π
ประมาณ 16.2 เมตร)
T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
5.2 การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง 1. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนอยางอิสระ แลว
นอกจากการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของวัตถุที่ผูกติดกับปลายเชือกแล้ว ยังมีการเคลื่อนที่ ร ว มกั น ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การสั่ น ของวั ต ถุ ติ ด
กลับไปกลับมาของวัตถุที่ติดกับปลายสปริง เนื่องจากขณะที่วัตถุยึดติดปลายสปริง แรงในสปริง ปลายสปริง
ที่กระท�าต่อวัตถุจะมีขนาดแปรผันตรงกับระยะยืดหรือหดของสปริง หรือมีค่าแปรผันตรงกับการ 2. ครูมอบหมายใหแตละคูพูดคุยเกี่ยวกับเนื้อหา
กระจัดของวัตถุที่ยึดติดปลายสปริง และมีทิศพุ่งเข้าสู่จุดสมดุลตลอดเวลา ที่กําลังศึกษา แลวเขียนสรุปลงในสมุดบันทึก
พิจารณาสปริงทีแ่ ขวนไว้ในแนวดิง่ ดังภาพที่ 1.54 เมือ่ น�าวัตถุมายึดไว้ทปี่ ลายล่างของสปริง ประจําตัว
แล้วใช้มอื ประคองวัตถุและลดระดับวัตถุลงมาช้า ๆ สปริงจะยืดออกจนเกิดสมดุลระหว่างแรงในสปริง
กับน�้าหนักของวัตถุ สปริงจะไม่ยืดอีกแม้ว่าไม่ได้ใช้มือประคองวัตถุไว้ วัตถุจะหยุดนิ่งที่ต�าแหน่งนี้
ซึ่งเป็นต�าแหน่งสมดุลของการเคลื่อนที่ จากนั้นกดวัตถุให้สปริงยืดออกแล้วปล่อย วัตถุจะเคลื่อนที่
ขึ้นไปในแนวดิ่งผ่านต�าแหน่งสมดุลไปหยุดที่ต�าแหน่งซึ่งอยู่สูงจากต�าแหน่งสมดุลเป็นระยะเท่ากับ
ระยะทีก่ ดสปริงให้ยดื ออก จากนัน้ จะเคลือ่ นทีล่ งมาในแนวดิง่ ผ่านต�าแหน่งสมดุลไปหยุดทีต่ �าแหน่ง
ซึง่ อยูต่ า�่ กว่าต�าแหน่งสมดุลเป็นระยะเท่ากับระยะทีก่ ดสปริงให้ยดื ออก ระยะไกลสุดของการเคลือ่ นที่
ซึ่งวัดจากต�าแหน่งสมดุล เรียกว่า แอมพลิจูด และช่วงเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่จากต�าแหน่ง
ต�า่ สุดผ่านต�าแหน่งสมดุลขึน้ ไปถึงต�าแหน่งสูงสุด แล้วเคลือ่ นทีก่ ลับลงมาผ่านต�าแหน่งสมดุลไปถึง
ต�าแหน่งต�่าสุด (ผ่านต�าแหน่งสมดุล 2 ครั้ง) เรียกว่า คาบ

ความยาวปกติ
ของสปริง
ลดระดับลงมาช้า ๆ แอมพลิจูด
ต�าแหน่งสมดุล
กดวัตถุลงมาแล้วปล่อย แอมพลิจูด
ภาพที่ 1.54 การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดกับปลายสปริงในแนวดิ่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Science Focus
กฎของฮุก
โรเบิรต์ ฮุก (Robert Hooke) (พ.ศ. 2178-2246) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คน้ พบกฎทีว่ า่
ด้วยเรื่องความยืดหยุ่นและแรงเครียดในสปริง กล่าวว่า “เมื่อออกแรงภายนอกยืดหรือกดสปริงไปจาก
แนวสมดุลภายใต้ขอบเขตของการยืดหยุ่น สปริงจะมีแรงดึงกลับ (restoring force) เพื่อดึงสปริงเข้าสู่
จุดสมดุลเหมือนเดิม ซึง่ แรงนีจ้ ะแปรผันตรงกับการกระจัดของสปริงจากต�าแหน่งสมดุลนัน้ ” ซึง่ เรียกกฎนีว้ า่
กฎของฮุก (Hooke’s Law)
แรงและการเคลื่อนที่ 43

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง ครูอาจนํา
2. ใหนักเรียนรวมกันสืบคนและศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ความรูเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต มานําเสนอให
เคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง รวมทั้งกฎของฮุก นักเรียนไดศกึ ษาเพิม่ เติม และยังเปนการเพิม่ ความสนใจของนักเรียน โดยครูอาจ
3. สมาชิกแตละคนรวมกันพูดคุยแลกเปลี่ยนความรูและอภิปราย นําคลิปวิดีโอจาก youtube เรื่อง กฎของฮุก Hooke's law ซึ่งสามารถคนหาได
ผลการศึกษารวมกันภายในกลุม จากนัน้ แตละกลุม รวมกันจัดทํา จาก https://www.youtube.com/watch?v=Eocu1vlSoxY มาเปดใหนกั เรียนดู
คลิปวิดโี อ 1 คลิป สําหรับนําไปใชในการสอนหรืออธิบายความรู จากนั้นครูอาจสุมนักเรียนใหสรุปความรูที่ไดจากการศึกษาคลิปวิดีโอนี้
เกีย่ วกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุตดิ ปลายสปริง โดยรูปแบบการนํา
เสนอขึ้นอยูกับดุลยพินิจของแตละกลุม ซึ่งเนนความแปลกใหม
และเปนคลิปวิดีโอที่สามารถดึงดูดความสนใจของผูชมไดเปน
อยางดี
4. แตละกลุมนําคลิปวิดีโอมาเปดเพื่อนําเสนอใหครูและเพื่อนชม
หนาชั้นเรียน โดยสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอผลการศึกษา
รวมกับการเปดคลิปวิดีโอ

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นครู วัตถุที่ยึดติดที่ปลายข้างหนึ่งของสปริงที่วางตัวในแนวระดับและตรึงปลายอีกข้างหนึ่งไว้กับ
ใหนักเรียนอภิปรายผลการศึกษาของคูตนเอง ก�าแพง โดยวัตถุวางอยู่บนพื้นผิวลื่น (ไม่มีความเสียดทาน) เมื่อดึงวัตถุให้สปริงยืดออกจากความ
ให เ พื่ อ นในชั้ น เรี ย นฟ ง โดยครู อ าจอธิ บ าย ยาวปกติแล้วปล่อยให้เคลื่อนที่ วัตถุจะไถลกลับไปกลับมารอบต�าแหน่งสมดุล (ต�าแหน่งที่สปริงอยู่
เพิ่มเติมจากสิ่งที่นักเรียนไดอภิปราย ที่ความยาวปกติ) ดังภาพที่ 1.55 ภายใต้การกระท�าของแรงดึงกลับหรือแรงในสปริง Fs = kx เมื่อ
2. ครู แ จกใบงาน เรื่ อ ง การเคลื่ อ นที่ แ บบสั่ น k แทนค่าคงตัวของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตันต่อเมตร (N/m) และ x แทนการกระจัดของสปริงที่
จากนั้ น มอบหมายให นั ก เรี ย นศึ ก ษา แล ว ยืดหรือหดไปจากต�าแหน่งสมดุล ซึง่ แสดงว่า ขนาดของแรงดึงกลับแปรผันตรงกับระยะยืดหรือหด
รวบรวมสงครูทายชี่วโมง ของสปริง หรือขนาดของการกระจัด
ต�าแหน่งสมดุล
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
แลวนํามาสงครูทายชั่วโมง ดึงออกมา แล้วปล่อย
Fs
4. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
การเคลื่ อ นที่ แ บบสั่ น จากแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 เปน
แอมพลิจูด แอมพลิจูด
การบาน แลวมาสงครูในชั่วโมงถัดไป
Fs
วัตถุจะเคลื่อนที่กลับไป
กลับมารอบต�าแหน่งสมดุล

ภาพที่ 1.55 การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดกับปลายสปริงในแนวระดับ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
คาบของการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ยึดติดกับปลายสปริงขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุและค่าคงตัว
ของสปริง โดยมีคา่ แปรผันตรงกับรากทีส่ องของอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุกบั ค่าคงตัวของสปริง
(T ∝ mk ) กล่าวคือ ส�าหรับสปริงขดหนึ่ง (ค่าคงตัวของสปริงมีค่าคงตัวค่าหนึ่ง) คาบของการ
เคลื่อนที่ของวัตถุที่มีมวลมากกว่าจะมีค่ามากกว่า (สั่นหรือแกว่งช้ากว่า) วัตถุที่มีมวลน้อย และ
ส�าหรับวัตถุหนึง่ ทีย่ ดึ ติดกับปลายสปริงทีม่ คี า่ คงตัวของสปริงต่างกัน คาบของการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ
เมื่อยึดติดกับปลายสปริงที่มีค่าคงตัวของสปริงมากกว่า (แข็งกว่า) จะมีค่าน้อยกว่า (สั่นหรือแกว่ง
เร็วกว่า) เมื่อยึดติดกับปลายสปริงที่มีค่าคงตัวของสปริงน้อยกว่า
สังเกตได้วา่ คาบการสัน่ ของวัตถุทยี่ ดึ ติดกับปลายสปริงไม่ขนึ้ กับแอมพลิจดู ของการสัน่ หรือ
ระยะที่ดึงหรือกดสปริงจากต�าแหน่งสมดุล
44

ขอสอบเนน การคิด
รถทดลองมวล 0.50 กิโลกรัม ติดอยูก บั ปลายสปริงขางหนึง่ โดยสปริงอีกขางหนึง่ ติดอยูก บั ผนัง ดังภาพ เมือ่ ออกแรงขนาด
10 นิวตัน ในทิศขนานกับพื้นระดับ ทําใหสปริงยืดออก 20 เซนติเมตร จากนั้นปลอยรถทดลองจะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาบน
พื้นระดับลื่น คาบการสั่นของรถทดลองคันนี้เทากับเทาใด
0.50 kg (วิเคราะหคําตอบ หาคา k จากสมการ Fs = kx
F = 10 N 10 = k(0.20)
10 = 50 N/m
k = 0.20
จากสมการ T = 2 π mk
1. 0.43 วินาที
2. 0.58 วินาที T = 2 π 0.50 50
3. 0.63 วินาที T = 2 π 0.01
4. 1.35 วินาที T = 2 π(0.1)
5. 2.00 วินาที T = 0.63 s
จะไดวา คาบการสัน่ ของรถทดลองคันนีเ้ ทากับ 0.63 วินาที ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ยึดติดกับปลายสปริงน�าไปใช้ประโยชน์ในระบบกันสะเทือนของ 1. ครูนําอภิปรายสรุปเนื้อหาเรื่องที่สอนไปแลว
ยานพาหนะ เช่น รถจักรยานยนต์ รถยนต์ เป็นต้น โดยท�างานร่วมกับอุปกรณ์ทเี่ รียกกันว่า โช้กอัป โดยเปด PowerPoint ควบคูไปดวย
(shock absorber) ซึง่ หน้าทีห่ ลักของระบบกันสะเทือน คือ ลดการสัน่ สะเทือนทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ 2. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนสอบถามเกีย่ วกับสิง่ ที่
ของล้อบนผิวถนนทีข่ รุขระ โดยขดลวดสปริงซึง่ อยูร่ ะหว่างล้อกับตัวรถท�าหน้าทีร่ บั น�า้ หนักและแรง สงสัยหรือยังไมเขาใจเพิ่มเติม
กระแทก การยุบและยืดตัวของขดลวดสปริงขณะรถเคลือ่ นทีบ่ นผิวถนนขรุขระท�าให้ลอ้ รถเคลือ่ นที่ 3. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง การ
ขึ้นลงในแนวดิ่งได้ซึ่งส่งผลให้การสั่นของตัวรถลดลง เนื่องจากการสั่นของล้อส่งถ่ายไปยังตัวรถ เคลื่อนที่แบบสั่น และยกตัวอยางกิจกรรมใน
น้อยกว่าที่ล้อสั่นจริง ท�าให้ผู้โดยสารและสัมภาระได้รับแรงสะเทือนจากล้อน้อยลง แต่รถอาจสั่น
ชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่แบบ
ขึ้นลงตามสมบัติของสปริง ท�าให้รถเคลื่อนที่ไม่นุ่มนวล ซึ่งแก้ไขได้โดยการติดตั้งโช้กอัปเข้ากับ
สั่น ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงให
ขดลวดสปริง
โช้กอัปเป็นอุปกรณ์ไฮดรอลิกที่ใช้ดูดซับ
จุดยึดบน สวยงาม
พลังงานการสั่นของสปริง โดยเปลี่ยนพลังงาน 4. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
การสั่นสะเทือนเป็นพลังงานความร้อน โช้กอัป ก้านลูกสูบ ของตนเองหนาชั้นเรียน
ช่วยรองรับแรงกระแทก ลดแรงสั่นสะเทือนของ น�้ามัน
รถ และหน่วงการเคลื่อนที่ขึ้นลงของตัวรถ โดย กระบอกสูบอันใน
ควบคุมการอัดขยาย หรือการสัน่ ของสปริง หรือ
ท่อความดัน
แหนบ เพื่อหน่วงไม่ให้เกิดการสั่นต่อเนื่องนาน
เกินไป ท�าให้การเด้งขึ้นลงหรือการสั่นของตัว วาล์ว
รถและล้อลดน้อยลง รถจึงเคลื่อนที่ได้นุ่มนวล จุดยึดล่าง
ขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยให้รถทรงตัวดี ลดการ ช่วงขยาย ช่วงอัด
โคลงเคลงของตัวรถ ลดการสึกหรอของยาง ภาพที่ 1.56 ส่วนประกอบและการท�างานของระบบกัน
ระบบรองรับและระบบบังคับเลี้ยว สะเทือน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Topic
? Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. แรงดึงกลับที่ท�าให้เกิดการเคลื่อนที่แบบสั่นมีลักษณะเฉพาะอย่างไร
2. จงเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของความเร็วกับความเร่งในการเคลื่อนที่แบบสั่น
3. จงระบุต�าแหน่งสมดุลในการแกว่งของวัตถุที่ผูกอยู่ที่ปลายเชือกและต�าแหน่งสมดุลในการสั่น
ของวัตถุที่ยึดอยู่ที่ปลายสปริง
4. คาบการแกว่งของวัตถุที่ผูกอยู่ที่ปลายเชือกเมื่อแกว่งเป็นมุมเล็ก ๆ ขึ้นอยู่กับสิ่งใด อย่างไร
5. คาบการแกว่งของวัตถุที่ยึดอยู่ที่ปลายสปริงขึ้นอยู่กับสิ่งใด จงอธิบาย

แรงและการเคลื่อนที่ 45

แนวตอบ Topic Question


1. มีขนาดแปรผันตรงกับขนาดของการกระจัด แตมีทิศทางตรงขามกับการกระจัด หรือมีทิศพุงเขาหาตําแหนงสมดุลตลอดเวลา
2. ความเร็วกับความเรงในการเคลื่อนที่แบบสั่นเปลี่ยนแปลงในลักษณะตรงขามกัน กลาวคือ ขณะที่ความเร็วมีขนาดนอยที่สุด ความเรงจะมีขนาดมากที่สุด
(ณ ตําแหนงไกลสุดของการสั่น) และขณะที่ความเร็วมีขนาดมากที่สุด ความเรงจะมีขนาดนอยที่สุด (ณ ตําแหนงสมดุล)
3. ตําแหนงสมดุลในการแกวงของวัตถุที่ผูกอยูที่ปลายเชือก คือ ตําแหนงที่เชือกวางตัวในแนวดิ่งหรือเมื่อวัตถุแกวงมาถึงตําแหนงตํ่าสุด สวนตําแหนงสมดุล
ในการสั่นของวัตถุที่ยึดอยูที่ปลายสปริง คือ ตําแหนงที่แรงในสปริงมีขนาดเทากับนํ้าหนักของวัตถุสําหรับการสั่นขึ้นลงในแนวดิ่ง หรือตําแหนงที่สปริง
ไมยืดไมหด (อยูที่ความยาวปกติ) สําหรับการสั่นไปมาบนพื้นระดับลื่น
4. คาบการแกวงของวัตถุที่ผูกอยูที่ปลายเชือกเมื่อแกวงเปนมุมเล็กๆ ขึ้นอยูกับความยาวของเชือก โดยมีคาแปรผันตรงกับรากที่สองของความยาวเชือก
(T ∝ L ) กลาวคือ เชือกที่ผูกวัตถุยิ่งยาว คาบการแกวงยิ่งมีคามาก วัตถุยิ่งแกวงชา
5. คาบการสัน่ ของวัตถุทยี่ ดึ อยูท ปี่ ลายสปริงขึน้ อยูก บั มวลของวัตถุและคาคงตัวของสปริง โดยมีคา แปรผันตรงกับรากทีส่ องของอัตราสวนระหวางมวลของวัตถุ
กับคาคงตัวของสปริง (T ∝ mk ) กลาวคือ มวลของวัตถุยิ่งมีคามากและคาคงตัวของสปริงยิ่งมีคานอย คาบการสั่นยิ่งมีคามาก วัตถุยิ่งสั่นชา

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
5. ครูใหนกั เรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง Summary
ดวยกรอบ Self Check เรื่อง แรงและการ áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè
เคลื่อนที่ จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึก
ประจําตัว
6. ครูมอบหมายใหนักเรียนอธิบายลักษณะการ ¡ÒÃà¤Å×è͹·Õèá¹ÇµÃ§
เคลื่อนที่แบบสั่นและทําแบบฝกหัดจาก Unit การเคลื่อนที่ของวัตถุ เปนการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุเมื่อเทียบกับตําแหนงอางอิงในชวงเวลาที่สังเกต
Question หนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการ มีปริมาณที่เกี่ยวของ คือ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และความเรง โดยระยะทางและอัตราเร็ว
เคลื่อนที่ จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุด เปนปริมาณสเกลาร สวนการกระจัด ความเร็ว และความเรง เปนปริมาณเวกเตอร
การเคลื่อนที่แนวตรงอาจเปนการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว (ความเรงเปนศูนย) หรือเปนการเคลื่อนที่
บันทึกประจําตัวเปนการบาน แลวรวบรวมสง ดวยความเรง โดยความเรงในการเคลื่อนที่แนวตรงมีทั้งความเรงคงตัวและความเรงไมคงตัว การเคลื่อนที่
ครูเพื่อตรวจสอบและใหคะแนน ดวยความเร็วคงตัวนี้มีเฉพาะการเคลื่อนที่แนวตรงเทานั้น การเคลื่อนที่รูปแบบอื่นลวนเปนการเคลื่อนที่แบบ
7. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ มีความเรงทั้งสิ้น
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน áçáÅС®¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè¢Í§¹Ôǵѹ
แรง เปนการกระทําของวัตถุหนึ่งตออีกวัตถุหนึ่งซึ่งสงผลใหวัตถุนั้นเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ แรง
ขัน้ สรุป เปนปริมาณเวกเตอร เมือ่ มีแรงสองแรงหรือมากกวามากระทําตอวัตถุหนึง่ การหาแรงลัพธทกี่ ระทําตอวัตถุนนั้
ตรวจสอบผล ตองใชวิธีรวมแรงแบบเวกเตอร ซึ่งมี 2 วิธี คือ การเขียนแผนภาพและการคํานวณ
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เปนกฎที่ใชอธิบายผลของแรงตอสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุที่อธิบายได
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ ครอบคลุมและเขาใจงาย มีใจความ ดังนี้
การเคลื่อนที่แบบสั่น เพื่อใหนักเรียนทุกคนไดมี ขอที่หนึ่ง : ในกรอบอางอิงเฉื่อย ถาไมมีแรงภายนอกหรือแรงใด ๆ กระทําตอวัตถุ วัตถุจะรักษาหรือคงสภาพ
ความเขาใจในเนื้อหาที่ไดศึกษามาแลวไปในทาง การเคลื่อนที่เดิมไว คือ หยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ตอไปในแนวเสนตรงดวยความเร็วคงตัว
เดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง โดยครู ขอที่สอง : เมือ่ แรงลัพธทกี่ ระทําตอวัตถุไมเปนศูนย วัตถุจะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงของวัตถุแปรผันตรงกับแรงลัพธ
ที่มากระทําตอวัตถุ แตจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุนั้น
ให นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก
ขอที่สาม : เมื่อมีแรงกระทําระหวางวัตถุสองวัตถุ แรงที่วัตถุทั้งสองกระทําตอกันจะมีขนาดเทากันแตทิศทาง
ประจําตัว ตรงขามกัน กลาวคือ ทุก ๆ แรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงขามกันเสมอ

¡ÒÃà¤Å×è͹·ÕèẺâ¾Ãਡä·Å
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนผลรวมของการเคลื่อนที่ในแนว 86
86

ระดับดวยความเร็วคงตัวกับการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเรงคงตัว
(เทากับความเรงโนมถวง) เกิดขึน้ เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีอ่ อกไปในอากาศ โดย
ความเร็วตนในการเคลื่อนที่มีทิศทางเอียงทํามุมกับแนวระดับ โดยความ
สูงที่วัตถุขึ้นไปถึงและระยะตกของวัตถุขึ้นอยูกับขนาดและทิศทางของ ภาพที่ 1.57 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
ความเร็วตนหรือมุมยิง ในกรณีที่ขนาดความเร็วตนมีคาคงตัว ที่มา : คลังภาพ อจท.

46

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น เมื่อจบกิจกรรมการ ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น ดวยตนเอง
จัดการเรียนการสอนครูอาจสุมนักเรียนเพื่อถามคําถาม เพื่อตรวจสอบความ อีกครั้ง หลังจากนั้นครูมอบหมายใหนักเรียนเขียนสรุปความรู
เขาใจของนักเรียนวาในระหวางครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น นักเรียนมี ลงในกระดาษ A4 อยางสรางสรรคพรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
ความตั้งใจในการศึกษามากนอยเพียงใด หรือครูอาจนําขอสอบที่เกี่ยวของกับ ตามความสามารถ ครูอาจสุมตัวแทนออกมานําเสนอผลงาน
การใชหลักการ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น ในการแกโจทยปญหามาใหนักเรียน หนาชั้นเรียน เมื่อจบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน ครูเก็บ
ไดฝกสมองและทดลองทํา โดยครูอาจนําไปตรวจและใหเปนคะแนนพิเศษ รวบรวมผลงานของนักเรียนกลับไปตรวจเพื่อเปนคะแนนพิเศษ

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล

การเคลื่อนที่แººวงกลÁ 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
การเคลื่อนที่แบบวงกลมเป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง โดย เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจหลั ง เรี ย นของ
ความเร่งมีทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางของวงกลมตลอดเวลา เรียกว่า นักเรียน
ความเร่งสู่ศูนย์กลาง โดยเป็นผลจากการกระท�าของแรงภายนอก ซึ่งมี 2. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง การ
ทิศพุง่ เข้าหาจุดศูนย์กลางของวงกลมการเคลือ่ นทีเ่ สมอ วัตถุจะเคลือ่ นที่
เป็นวงกลมได้ต้องมีแรงสู่ศูนย์กลางที่มีขนาดพอเหมาะกระท�าต่อวัตถุ เคลื่อนที่แบบสั่น
เท่านั้น แรงสู่ศูนย์กลางไม่ใช่แรงพิเศษแต่เป็นแรงทั่วไปที่กระท�าต่อวัตถุ 3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
ในทิศพุง่ เข้าสูจ่ ดุ ศูนย์กลางของวงกลมการเคลือ่ นที่ โดยอาจเป็นแรงเพียง การเคลื่อนที่แบบสั่น ในสมุดบันทึกประจําตัว
แรงเดียวหรือเป็นแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงทีม่ ที ศิ พุง่ เข้าสูจ่ ดุ ศูนย์กลาง ภาพที่ 1.58 ชิงช้าสวรรค์
ของวงกลมการเคลื่อนที่ ที่มา : คลังภาพ อจท. 4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question หนวย
การเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ ในสมุด
การเคลื่อนที่แººสั่น บันทึกประจําตัว
การเคลื่อนที่แบบสั่นเป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมารอบต�าแหน่งสมดุล ด้วยความเร่งที่มีทิศพุ่งเข้าหา
ต�าแหน่งสมดุลตลอดเวลา ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบสั่นเป็นความเร่งไม่คงตัว มีค่าสูงสุดที่ต�าแหน่งไกลสุด 5. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเขาใจของ
ของการสัน่ และมีคา่ เป็นศูนย์ทตี่ า� แหน่งสมดุล เนือ่ งจากการกระจัดของวัตถุทเี่ คลือ่ นทีแ่ บบสัน่ มีทศิ พุง่ ออกจาก ตนเอง Self Check จากหนังสือเรียน ในสมุด
จุดสมดุลตลอดเวลา ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบสั่นจึงมีทิศตรงข้ามกับการกระจัดตลอดเวลา ส่งผลให้ขนาด บันทึกประจําตัว
ของความเร็วในการเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่ ของวัตถุเปลีย่ นแปลงในลักษณะตรงข้ามกับความเร่ง กล่าวคือ ขนาดของ
ความเร็วมีค่าสูงสุดที่ต�าแหน่งสมดุลและเป็นศูนย์ที่ต�าแหน่งไกลสุดของการสั่น 6. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่
แบบสัน่ จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ
Self Check 2 (ฟสิกส) ม.5
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด 7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
และการทํางานกลุม
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
8. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
1. ถ้าความเร็วของรถยนต์คันหนึ่งที่ก�าลังเคลื่อนที่ในแนวตรงเปลี่ยนจาก 1.1
0 เป็น 20 เมตรต่อวินาที ในช่วง 5 วินาทีแรก และมีความเร็วเป็น 36 เนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบสั่น ที่นักเรียน
เมตรต่อวินาที ในวินาทีที่ 9 แสดงว่ารถยนต์คันนี้เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจเปนราย
(เฉลี่ย) คงตัว บุคคล
2.1
มุ ด

2. การสลับล�าดับแรงย่อยที่น�ามารวมกันในการหาแรงลัพธ์ด้วยวิธีเขียน
นส

แผนภาพจะไม่สง่ ผลต่อค่าแรงลัพธ์ที่ได้ นัน่ คือ ยังคงได้แรงลัพธ์เท่าเดิม


งใ

ทึ ก

3. ถ้าแรง F ท�าให้วัตถุที่มีมวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a แล้วแรง 2F


บั น

2.2
จะท�าให้วัตถุที่มีมวล 2m เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 2a
4. แรงกิรยิ าและแรงปฏิกริ ยิ าเป็นแรงคูก่ นั โดยแรงปฏิกริ ยิ าจะเกิดหลังแรง 2.2
ทล์ กิริยาเสมอ
5. ความเร่งในการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมจะมีทศิ ตัง้ ฉากกับความเร็วตลอดเวลา 4. แนวตอบ Self Check
แรงและการเคลื่อนที่ 47 1. ผิด 2. ถูก 3. ผิด
4. ผิด 5. ถูก

กิจกรรม ทาทาย แนวทางการวัดและประเมินผล


ครูใหนกั เรียนศึกษาหนวยการเรียนรูท ี่ 1 แรงและการเคลือ่ นที่ ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การเคลือ่ นทีแ่ บบสัน่
ดวยตนเองอีกครั้ง หลังจากนั้นครูมอบหมายใหนักเรียนเขียนสรุป ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ
ความรู โดยการทําเปนแผนพับความรู ขนาด A4 อยางสรางสรรค การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงามตามความสามารถ ครูอาจสุมตัวแทน ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
ออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน เมื่อจบกิจกรรมการจัดการ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-5 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

เรียนการสอน ครูเก็บรวบรวมผลงานของนักเรียนกลับไปตรวจเพือ่ แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์


คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน

เปนคะแนนพิเศษ
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
4 ความเป็นระเบียบ ระบบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

เฉลย Unit Question


1. ความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่แนวตรง อาจมีทิศ
เดียวกันหรือทิศตรงขามกันกับทิศการเคลื่อนที่ Unit Question
ของวั ต ถุ ถ า ความเร ง มี ทิ ศ เดี ย วกั บ ทิ ศ การ ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
เคลื่ อ นที่ ความเร็ ว ของวั ต ถุ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น อย า ง
ตอเนื่อง แตถาความเรงมีทิศตรงขามกับทิศ 1. จงระบุทิศทางของความเร่งและผลของความเร่งต่อความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ ความเร็วของวัตถุจะลดลงอยาง 2. หนูตัวหนึ่งวิ่งรอบสระน�้ารูปวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร โดยเคลื่อนที่ครบรอบใน
ตอเนื่อง เวลา 2 นาที
2. ก. ระยะทางที่หนูวิ่งไดมีคาเทากับ 1 ใน 4 ของ ก. จงหาระยะทางและขนาดของการกระจัดของหนูขณะวิ่งได้ 1 ใน 4 รอบของสระ
ความยาวของเสนรอบวงของวงกลมรัศมี ข. จงหาระยะทางและขนาดของการกระจัดของหนูขณะวิ่งได้ครึ่งรอบสระ
7 เมตร ซึ่งมีคาเทากับ ค. จงหาความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 2 นาที
1 (2πr) = πr = ( 1 )(22)(7) = 11 m 3. รถคันหนึ่งเริ่มต้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ถูกเร่งจนมีความเร็วเป็น 20 เมตร
4 2 2 7
ขนาดของการกระจัดมีคาเทากับความยาว ต่อวินาที ในวินาทีที่ 5 และถูกเร่งจนมีความเร็วเป็น 50 เมตรต่อวินาที ในอีก 3 วินาที ต่อมา
ดานตรงขามมุมฉากของสามเหลีย่ มมุมฉาก ความเร่งเฉลี่ยของรถในแต่ละช่วงการเคลื่อนที่และตลอดการเคลื่อนที่มีค่าเท่าใด
ทีม่ ดี า นประกอบมุมฉากยาว 7 เมตร ทัง้ สอง 4. จากภาพที่ 1.59 จงหาแรงลัพธ์ของแรงดังต่อไปนี้ (ก�าหนดให้ อัตราส่วน 1 เซนติเมตร : 3
ดาน ซึ่งมีคาเทากับ นิวตัน)
72 + 72 = 7 2 = 9.9 m F2 = 9 N
30 �
ข. ระยะทางทีห่ นูวงิ่ ไดมคี า เทากับครึง่ หนึง่ ของ F3 = 6 N
ความยาวของเสนรอบวงของวงกลมรัศมี 7 45 �
60 �
เมตร ซึ่งมีคาเทากับ F1 = 12 N
1 (2πr) = πr = (22)(7) = 22 m ภาพที่ 1.59 แรง F1 F2 และ F3
2 7 ที่มา : คลังภาพ อจท.
ขนาดของการกระจัดมีคาเทากับความยาว
ของเสนผานศูนยกลางของวงกลมซึ่งมีคา ก. แรง F1 กับแรง F2 ข. แรง F2 กับแรง F3 ค. แรง F1, F2 และ F3
เทากับ 14 เมตร 5. สถานการณ์ดังต่อไปนี้อธิบายได้ด้วยกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันข้อใด
ค. ในชวงเวลา 2 นาที หนูวิ่งครบรอบวงกลม ก. การเพิ่มจ�านวนสุนัขลากเลื่อนเพื่อเร่งการเดินทาง
พอดีหรือกลับมาถึงจุดเริ่มตนอีกครั้ง ขนาด ข. การชนกันของรถยนต์ คนขับมักได้รับบาดเจ็บจากการชนกับกระจกบังลม
ของการกระจัดเปนศูนย ขนาดของความเร็ว ค. การเคลื่อนที่ของจรวด
เฉลี่ยจึงเปนศูนย ขณะที่ระยะทางที่หนูวิ่ง ง. การได้รับแรงกระแทกบริเวณหัวไหล่ที่ประทับพานท้ายปนเมื่อลั่นไกยิงกระสุนปนออกไป
ไดมีคาเทากับความยาวของเสนรอบวงของ จ. การลดจ�านวนสิ่งของที่บรรทุกท�าให้รถบรรทุกท�าความเร็วได้สูงขึ้น
วงกลมรัศมี 7 เมตร ซึ่งมีคาเทากับ ฉ. การคงอยู่ในสภาพเอียงจากแนวดิ่งของหอเอนเมืองปิซา
2πr = (2)(22
7 )(7) = 44 m 48
หาอัตราเร็วเฉลี่ยไดจาก
อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได
ชวงเวลาที่ใช
อัตราเร็วเฉลี่ย = (2)(60) = 11
44
30 = 0.37 m/s 4. ก. เมื่อเขียนแผนภาพเพื่อหาแรงลัพธ R ของแรง F1 กับแรง F2 แลววัด
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 0.37 เมตรตอวินาที ความยาว R ได 2.05 cm และวัดมุมระหวาง R กับแนวแกน +X
3. ในชวง 5 วินาทีแรก ได 17 องศา จากอัตราสวนที่ใชเขียนแผนภาพ จะไดขนาดของ
ความเร็วของรถเทากับ 20 - 10 = 10 m/s ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ แรงลัพธเทากับ 2.05 × 3 = 6.15 N ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ
ความเรงเฉลี่ยของรถเทากับ 10 2 6.15 นิวตัน ในทิศทํามุม 17 องศา เหนือแนวแกน +X
5 = 2 m/s ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่
ในชวง 3 วินาทีตอมา ข. เมื่อเขียนแผนภาพเพื่อหาแรงลัพธ R ของแรง F2 กับแรง F3 แลววัด
ความเร็วของรถเทากับ 50 - 20 = 30 m/s ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ ความยาว R ได 4.0 cm และวัดมุมระหวาง R กับแนวแกน +X
ความเรงเฉลี่ยของรเทากับ 30 2
3 = 10 m/s ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่
ได 89 องศา จากอัตราสวนที่ใชเขียนแผนภาพ จะไดขนาดของ
ตลอดการเคลื่อนที่ แรงลัพธเทากับ 4.0 × 3 = 12 N ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 12
ความเร็วของรถเทากับ 50 - 10 = 40 m/s ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ นิวตัน ในทิศทํามุม 89 องศา เหนือแนวแกน +X
เวลาที่ใชในการเคลื่อนที่เทากับ 8 วินาที ความเรงเฉลี่ยเทากับ ค. เมื่อเขียนแผนภาพเพื่อหาแรงลัพธ R ของแรง และ F1 F2 และ F3
40 = 5 m/s2 ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ แลววัดความยาว R ได 3.9 cm และวัดมุมระหวาง R กับแนวแกน
8 +X ได 31 องศา จากอัตราสวนที่ใชเขียนแผนภาพ จะไดขนาดของ
แรงลัพธเทากับ 3.9 × 3 = 11.7 N ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ
11.7 นิวตัน ในทิศทํามุม 31 องศา เหนือแนวแกน +X

T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

5. ก. ขอที่สอง
ข. ขอที่สาม
6. จงระบุทิศทางของความเร่งและผลของความเร่งต่อความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบ ค. ขอที่สาม
โพรเจกไทล์ ง. ขอที่สาม
7. นักกีฬากอล์ฟตีลูกกอล์ฟ 3 ลูก ด้วยความเร็วต้นขนาดเท่ากันไปตกบนพื้นที่ต�าแหน่ง ➊ ➋ จ. ขอที่สอง
และ ➌ ดังภาพที่ 1.60 ฉ. ขอที่หนึ่ง
6. ความเร ง มี ทิ ศ พุ  ง ลงตามทิ ศ ของความเร ง
เนือ่ งจากแรงโนมถวงของโลก สงผลใหความเร็ว
ในแนวดิ่งของวัตถุเปลี่ยนไป วินาทีละ 9.8 m/s
➊ ➋ ➌ แตความเร็วในแนวระดับมีขนาดเทากับองค-
ภาพที่ 1.60 นักกีฬากอล์ฟตีลูกกอล์ฟไปที่ต�าแหน่งต่างๆ ประกอบของความเร็วตนในแนวระดับตลอด
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ผลสรุปต่อไปนี้ถูกหรือผิด เพราะเหตุใด การเคลื่อนที่
ก. ความเร็วในแนวระดับเท่ากัน 7. ก. ผิด เพราะมุมทีค่ วามเร็วตนทํากับแนวระดับ
ข. ความเร่งในแนวระดับเท่ากันและไม่เท่ากับศูนย์ ในการตีลูกกอลฟแตละครั้งมีขนาดไมเทา
ค. ที่จุดสูงสุดความเร็วของลูกกอล์ฟแต่ละลูกมีค่าเป็นศูนย์ กัน ขณะที่ความเร็วตนมีขนาดเทากัน องค-
8. ส�าหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มุมยิงที่มีค่าเท่ากับ 35 องศา จะให้ระยะตกเท่ากับมุมยิง ประกอบของความเร็วตนในแนวระดับใน
ค่าเท่าใด เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วต้นเท่ากัน และถ้าเวลาทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีจ่ ากพืน้ ดินขึน้ ไป การตีลูกกอลฟแตละครั้งจึงมีขนาดไมเทา
ถึงต�าแหน่งสูงสุดเท่ากับ 3 วินาที วัตถุจะลอยอยู่ในอากาศนานเท่าใด (เวลานับจากเคลื่อนที่ กัน
ขึ้นไปจากพื้นดินจนตกกระทบพื้นดิน) ข. ผิด เพราะความเร็วในแนวระดับมีขนาด
9. จงระบุทิศทางของความเร่งและผลของความเร่งต่อความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบวงกลม คงตัว ความเรงในแนวระดับจึงเปนศูนย
ค. ผิด เพราะที่จุดสูงสุดความเร็วของวัตถุมี
10. เมื่อแกว่งวัตถุที่ผูกอยู่ที่ปลายเชือกให้แกว่งเป็นวงกลมในแนวดิ่ง ถ้าเพิ่มความเร็วในการแกว่ง ขนาดเทากับองคประกอบของความเร็วตน
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เชือกจะขาดเมื่อวัตถุอยู่ที่ต�าแหน่งใด เพราะเหตุใด และในทันทีที่เชือกขาด
วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในแนวใด เพราะเหตุใด ในแนวระดับ ซึ่งไมเปนศูนย
8. มุมยิง 35 องศา จะใหระยะตกเทากับมุมยิง 55
11. จงระบุทิศทางของความเร่งและผลของความเร่งต่อความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบสั่น
องศา และวัตถุจะลอยอยูใ นอากาศนาน 6 วินาที
12. ส�าหรับการสั่นของวัตถุที่ยึดอยู่ที่ปลายสปริง เปนสองเทาของเวลาทีว่ ตั ถุเริม่ เคลือ่ นทีไ่ ปถึงจุด
ก. แรงดึงกลับที่ท�าให้วัตถุสั่นไปมาคือแรงใด สูงสุด
ข. ต�าแหน่งสมดุลของการสั่นอยู่ที่ใด
ค. ความเร็วและความเร่งของวัตถุมีค่าสูงสุดและต�่าสุดที่ต�าแหน่งใด 9. ความเรงมีทิศพุงเขาสูศูนยกลางของวงกลม
ง. คาบการสั่นขึ้นอยู่กับอะไรและอย่างไร ต้องมีข้อจ�ากัดเกี่ยวกับแอมพลิจูดอย่างการแกว่ง ตลอดเวลา จึงมีทศิ ตัง้ ฉากกับความเร็วทุกจุดบน
ของวัตถุที่ผูกอยู่ที่ปลายเชือกหรือไม่ เสนทางการเคลื่อนที่ ความเรงในการเคลื่อนที่
แบบวงกลมไมสงผลตอขนาดของความเร็ว แต
แรงและการเคลื่อนที่ 49
สงผลใหทิศของความเร็วเปลี่ยนแปลงตลอด
เวลาหรือทุกจุดบนเสนทางการเคลื่อนที่

10. เชือกจะขาดเมื่อวัตถุแกวงมาถึงตําแหนงตํ่าสุด ซึ่งเปนตําแหนงที่แรง ค. ความเร็ว มีคามากที่สุดที่ตําแหนงสมดุลและมีคานอยที่สุด (เปนศูนย)


ดึงในเสนเชือกมีขนาดมากที่สุด โดยทันทีที่เชือกขาดวัตถุจะเคลื่อนที่ ที่ตําแหนงไกลสุดของการสั่น
ออกไปในแนวระดับ เนื่องจากความเร็วของวัตถุที่ตําแหนงตํ่าสุดอยู ความเรง มีคามากที่สุดที่ตําแหนงไกลสุดของการสั่นและมีคานอยที่สุด
ในแนวระดับ (เปนศูนย) ที่ตําแหนงสมดุล
11. ความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบสั่นมีทิศพุงเขาหาตําแหนงสมดุล ง. คาบการสัน่ ขึน้ อยูก บั คาคงตัวของสปริงและมวลของวัตถุทยี่ ดึ อยูท ปี่ ลาย
ตลอดเวลา ความเร ง ในการเคลื่ อ นที่ แ บบสั่ น ส ง ผลให ข นาดของ สปริง โดยมีคา แปรผันตรงกับรากทีส่ องของมวลวัตถุ แตมคี า แปรผกผัน
ความเร็วเพิ่มขึ้นจากศูนยที่ตําแหนงไกลสุดของการสั่นจนมีขนาด กับรากที่สองของคาคงตัวของสปริง กลาวคือ มวลวัตถุยิ่งมาก คาคงตัว
มากที่สุดที่ตําแหนงสมดุลและลดลงจนเปนศูนยอีกครั้งที่ตําแหนง ของสปริงยิ่งนอย คาบการสั่นยิ่งมีคามาก วัตถุยิ่งสั่นชา โดยที่คาบการ
ไกลสุดของการสั่น สั่นของมวลที่ยึดอยูที่ปลายสปริงไมตองมีขอจํากัดเกี่ยวกับแอมพลิจูด
12. ก. แรงในสปริง อยางการแกวงของวัตถุที่ผูกอยูที่ปลายเชือก กลาวคือ จะสั่นดวย
ข. ตํ า แหน ง ที่ แ รงในสปริ ง มี ข นาดเท า กั บ นํ้ า หนั ก ของวั ต ถุ สํ า หรั บ แอมพลิจดู เทาใดก็ได เพียงแตไมทาํ ใหสปริงครากเทานัน้ (สปริงยืดออก
การสั่นขึ้นลงในแนวดิ่ง หรือตําแหนงที่สปริงไมยืดไมหด (อยูที่ จนไมอาจกลับคืนสูสภาพเดิมได)
ความยาวปกติ) สําหรับการสั่นไปมาบนพื้นระดับลื่น

T53
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายแรงที่เกี่ยวข้อง แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
แรงจากสนาม - หนังสือเรียน รายวิชา กับสนามโน้มถ่วงที่มี หาความรู้ - ส ังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
โน้มถ่วง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ต่อการเคลื่อนที่ของ (5Es เกีย่ วกับแรงจากสนาม - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) วัตถุได้ (K) Instructional โน้มถ่วง - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
5 ม.5
- แบบฝึกหัด รายวิชา
2. ทดลองและอธิบาย
การเคลือ่ นที่ของวัตถุ
Model) - สังเกตการปฏิบัติการ
จากการท�ำกิจกรรม
ร่วมกัน
- ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ในสนามโน้มถ่วงได้ - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) (P) - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการทดลอง
ม.5 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ แรงจากสนามโน้มถ่วง
- ใบงาน อยากรู้อยากเห็น และ - ตรวจใบงาน เรื่อง แรงจาก
- PowerPoint ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น สนามโน้มถ่วง
- QR Code อย่างสร้างสรรค์ (A) - ตรวจแบบฝึกหัด
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Twig Topic Question
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. อ ธิบายลักษณะของ แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
แรงจากสนาม พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ สนามไฟฟ้าได้ (K) หาความรู้ เกีย่ วกับแรงจากสนามไฟฟ้า - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ไฟฟ้า กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 2. อธิบายความสัมพันธ์ (5Es - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 ระหว่างสนามไฟฟ้า Instructional แรงจากสนามไฟฟ้า - ทักษะการน�ำความรู้ การท�ำงาน
2 - แบบฝึกหัด รายวิชา
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์
กับประจุไฟฟ้าชนิด
ต่าง ๆ ได้ (K)
Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง แรงจาก
สนามไฟฟ้า
ไปใช้
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 3. ทดลองและอธิบาย - ตรวจแบบฝึกหัด
ม.5 ผลของสนามไฟฟ้า - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- ใบงาน ต่ออนุภาคที่มีประจุ Topic Question
- PowerPoint ไฟฟ้าได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ การท�ำงานรายบุคคล
Twig อยากรู้อยากเห็น และ - สังเกตคุณลักษณะ
ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น อันพึงประสงค์
อย่างสร้างสรรค์ (A)
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. บอกความแตกต่าง แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
แรงจากสนาม พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ระหว่างสารที่เป็น หาความรู้ เกี่ยวกับแรงจากสนาม - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แม่เหล็ก กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) แม่เหล็กและสารที่ (5Es แม่เหล็ก - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 ไม่เป็นแม่เหล็กได้ (K) Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
2 - แบบฝึกหัด รายวิชา 2. ใช้ทักษะการทดลอง
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ การสรุป และการ
Model) จากการท�ำกิจกรรม
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
ร่วมกัน
- ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) อภิปรายแรงจาก - ตรวจใบงาน เรื่อง แรงจาก ไปใช้
ม.5 สนามแม่เหล็กได้ สนามแม่เหล็ก - ทักษะการทดลอง
- ใบงาน ถูกต้อง (P) - ตรวจแบบฝึกหัด
- PowerPoint 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code อยากรู้อยากเห็น และ การท�ำงานรายบุคคล
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น - สังเกตพฤติกรรม
Twig อย่างสร้างสรรค์ (A) การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T54
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. อธิบายผลของสนาม แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
แรงจากสนาม พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ แม่เหล็กที่มีต่อตัวน�ำ หาความรู้ เกี่ยวกับประโยชน์จาก - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แม่เหล็ก 2 กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ที่มกี ระแสไฟฟ้าได้ (5Es สนามแม่เหล็ก - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 (K) Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
6 - แบบฝึกหัด รายวิชา 2. ประดิษฐ์มอเตอร์อย่าง
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ง่ายเพื่อประยุกต์ใช้
Model) จากการท�ำกิจกรรม
- ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
ร่วมกัน
- ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) งานในชีวิตประจ�ำวัน - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ไปใช้
ม.5 ได้ (K) แรงจากสนามแม่เหล็ก - ทักษะการทดลอง
- PowerPoint 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ - ตรวจใบงาน เรื่อง แรงจาก
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อยากรู้อยากเห็น และ สนามแม่เหล็ก
Twig ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น - ตรวจแบบฝึกหัด
อย่างสร้างสรรค์ (A) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Topic Question
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. บอกความหมายของ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
แรงในนิวเคลียส - ห นังสือเรียน รายวิชา แรงเข้มและแรงอ่อน หาความรู้ - ส ังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ได้ (K) (5Es เกี่ยวกับแรงในนิวเคลียส - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
3 กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 2. อธิบายเกี่ยวกับ Instructional - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
ม.5 องค์ประกอบของ Model) แรงในนิวเคลียส ร่วมกัน
ชั่วโมง - แบบฝึกหัด รายวิชา นิวเคลียสได้ (P) - ตรวจใบงาน เรื่อง แรงใน - ทักษะการน�ำความรู้
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ นิวเคลียส ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) อยากรู้อยากเห็น และ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการทดลอง
ม.5 ท�ำงานร่วมกับผูอ้ ื่นได้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- ใบงาน อย่างสร้างสรรค์ (A) Topic Question
- PowerPoint - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น การท�ำงานรายบุคคล
Twig - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T55
Chapter Concept Overview
แรงจากสนามโนมถ่วง
แรงโน้มถ่วงของโลกท�าให้สิ่งต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกมีน�้าหนัก
และเคลื่อนที่จากที่สูงลงสู่ที่ต�่า โดยน�้าหนักของวัตถุจะมีทิศพุ่งลง
ตามแนวดิ่งและตกผ่านศูนย์ถ่วงซึ่งเป็นเสมือนจุดรวมน�้าหนักของ
วัตถุเสมอ ไม่วา่ วัตถุจะวางตัวอยูใ่ นลักษณะใด แรงโน้มถ่วงของโลก
ยังส่งผลให้วัตถุเคลื่อนที่ในสนามโน้มถ่วงของโลกแบบมีความเร่ง
เรียกว่า ความเร่งโน้มถ่วง หรือความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ
โลก ซึ่งมีค่าประมาณ 9.8 เมตรต่อวินาที2 (ค่าเฉลี่ยทั่วพื้นผิวโลก)
ในทิศพุ่งลงตามแนวดิ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก เมื่อไม่คิดแรงต้าน
อากาศหรือแรงต้านการเคลื่อนที่ใด ๆ จะเรียกว่า การตกแบบเสรี

สนามโน้มถ่วงของโลกมีทิศพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก

แรงจากสนามไฟฟา
แรงไฟฟ้า เป็นแรงทีก่ ระท�าระหว่างประจุไฟฟ้า ซึง่ มีทงั้ แรงผลักและแรงดึงดูด โดยแรงไฟฟ้าระหว่างประจุชนิดเดียวกันจะเป็นแรงผลัก
ส่วนแรงไฟฟ้าระหว่างประจุตา่ งชนิดกันจะเป็นแรงดึงดูด คูลอมบ์ได้ทา� การทดลองเพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงระหว่างประจุ
กับปริมาณประจุบนทรงกลมตัวน�า ประจุที่กระจายอยู่บนทรงกลมตัวน�ามีสภาพเป็นจุดประจุ คูลอมบ์จึงสรุปผลการทดลองว่า ขนาดของแรง
ระหว่างระหว่างจุดประจุแปรผันตรงกับผลคูณของปริมาณประจุของจุดประจุทงั้ สอง แต่แปรผกผันกับก�าลังสองของระยะห่างระหว่างจุดประจุ
ทั้งสอง สามารถค�านวณหาขนาดของแรงระหว่างจุดประจุได้ จากสมการ

F คือ ขนาดของแรงระหว่างจุดประจุ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)


k คือ ค่าคงตัวของการแปรผัน มีหน่วยเป็น นิวตัน เมตร2 ต่อคูลอมบ์2
F = kQ12Q2
1
(N m2/C2) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 9 × 109 N m2/C2 หรือ k = 4πε
0
r Q1 และ Q2 คือ ขนาดของจุดประจุ มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (C)
r คือ ระยะห่างระหว่างจุดประจุ มีหน่วยเป็น เมตร (m)

เมือ่ อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าอยูใ่ นสนามไฟฟ้าหรือเคลือ่ นทีเ่ ข้าสูบ่ ริเวณทีม่ สี นามไฟฟ้า อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้านัน้ จะได้รบั แรงกระท�าจาก
สนามไฟฟ้า ถ้าเป็นสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก แรงไฟฟ้าที่กระท�าต่ออนุภาคจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า แต่ถ้าเป็น
อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ แรงไฟฟ้าที่กระท�าต่ออนุภาคจะมีทิศตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า

E E
(ก) เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง (ข) เคลื่อนที่เข้าไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอ
T56
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
แรงจากสนามแม่เหล็ก
สนามแม่เหล็กมีแหล่งก�ำเนิดส�ำคัญ 2 แหล่ง คือ จากแม่เหล็กธรรมชาติ และจากกระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่านตัวน�ำ โดยลักษณะของ
เส้นสนามแม่เหล็ก (เส้นแรงแม่เหล็ก) พิจารณาได้จากการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กที่โรยไว้รอบ ๆ แท่งแม่เหล็กหรือตัวน�ำที่มีกระแสไฟฟ้า
ผ่าน แรงแม่เหล็กระหว่างขัว้ แม่เหล็กคล้ายกับแรงไฟฟ้าทีก่ ระท�ำระหว่างประจุไฟฟ้า คือ แรงแม่เหล็กระหว่างขัว้ แม่เหล็กชนิดเดียวกันจะเป็น
แรงผลัก ส่วนแรงแม่เหล็กระหว่างขั้วแม่เหล็กต่างชนิดกันจะเป็นแรงดึงดูด

S N จุดสะเทิน N S S N S N

(ก) หันขั้วชนิดเดียวกันเข้าหากัน (ข) หันขั้วต่างชนิดกันเข้าหากัน


เส้นสนามแม่เหล็กระหว่างแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง
ถ้าน�ำลวดตัวน�ำมาพันเป็นขดลวดแล้วน�ำไปวางในสนามแม่เหล็กสม�ำ่ เสมอ เมือ่ จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด แรงแม่เหล็กทีก่ ระท�ำต่อ
ขดลวดจะท�ำให้ขดลวดหมุน ซึ่งเป็นพื้นฐานในการสร้างมอเตอร์และเครื่องวัดไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น แกลแวนอมิเตอร์ แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์
โอห์มมิเตอร์
ขดลวด ขดลวด
แกนหมุน แกนหมุน

แหวน
แปรงสัมผัส แหวน

แหวนผ่าซีก แปรงสัมผัส
แปรงสัมผัส
(ก) มอเตอร์กระแสตรง (ข) มอเตอร์กระแสสลับ
โครงสร้างของมอเตอร์
แรงในนิวเคลียส
แรงในนิวเคลียสเป็นแรงกระท�ำในระยะใกล้ (ภายในนิวเคลียส) แรงในนิวเคลียสหรือแรงนิวเคลียร์มี 2 ประเภท ได้แก่ แรงนิวเคลียร์
อย่างเข้มและแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน โดยแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงกระท�ำระหว่างนิวคลีออน (โปรตอนและนิวตรอน) ส่วนแรงนิวเคลียร์
อย่างอ่อนเป็นแรงกระท�ำภายในนิวคลีออน
แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงที่ยึดนิวคลีออนไว้ภายในนิวเคลียส และเป็นแรงที่ส่งผล นิวคลีออน
โดยตรงต่อเสถียรภาพของนิวเคลียส ส่วนแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนเป็นแรงที่ท�ำให้โปรตอนเปลี่ยน
เป็นนิวตรอน และนิวตรอนเปลี่ยนเป็นโปรตอนผ่านการสลายให้อนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี
แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนช่วยให้เกิดสมดุลระหว่างโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส ส่งผลให้ทกุ
สิง่ อยูร่ วมกันได้ในนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์ทงั้ 2 ประเภท ยังเกีย่ วข้องโดยตรงกับปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์
ฟิวชันในดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการหลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนหรือโปรตอนให้
เป็นธาตุหนัก โดยแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนจะเปลี่ยนโปรตอนให้เป็นนิวตรอน จากนั้นแรงนิวเคลียร์ แทนแรงนิวเคลียร์
อย่างเข้มจะท�ำหน้าที่ยึดเหนี่ยวโปรตอนและนิวตรอนให้อยู่รวมกันเพื่อสร้างนิวเคลียสดิวเทอเรียม
ซึ่งท�ำปฏิกิริยาต่อไปเพื่อสร้างนิวเคลียสฮีเลียมพร้อมปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลออกมา
T57
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูถามคําถามกับนักเรียนพรอมการสาธิต เชน
หนวยการเรียนรูที่ 2 Q áç¾×é¹°Ò¹ÁÕ¡Õ誹Դ
ครูถอื แปรงลบกระดานโดยยืน่ แขนออกไปดาน
หนาลําตัวใหแปรงลบกระดานอยูใ นระดับเดียว
กับไหล จากนัน้ ครูปลอยแปรงลบกระดาน แลว
แรงในธรรมชาติ ᵋÅЪ¹Ô´ÁÕÅѡɳÐ
Í‹ҧäÃ
ถามคําถามกับนักเรียนวา
• แปรงลบกระดานตกลงสูพื้นเพราะเหตุใด
(แนวตอบ วัตถใดๆ จะตกลงสูพ นื้ เพราะแรง ตัวชี้วัด
โนมถวงของโลกดึงดูดวัตถุนนั้ ๆ ซึง่ ในกรณีนี้ ว 2.2 ม.5/6 ม.5/7 ม.5/8 ม.5/9
แรงโนมถวงของโลกดึงดูดแปรงลบกระดาน ม.5/10
แปรงลบกระดานจึงตกลงสูพื้น)
2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
3. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ
ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเป น ราย
บุคคลกอนเขาสูกิจกรรม
4. ครูถามคําถามนําเขาสูบ ทเรียนกับนักเรียน โดย
ใชคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 หนวย
การเรียนรูที่ 2 วา “แรงพื้นฐานมีกี่ชนิด และ
แตละชนิดมีลักษณะอยางไร”
5. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบความเขาใจกอน
เรียนจาก Understanding Check จากหนังสือ U n de r s t a n di n g
เรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว Check
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ถูก / ผิด
1. แรงโน้มถ่วงเป็นได้เพียงแรงดึงดูด แต่แรงไฟฟ้าและแรงแม่เหล็กเป็นได้ทั้งแรงดึงดูด
แนวตอบ Big Question และแรงผลัก
แรงพื้นฐานในธรรมชาติมี 4 ชนิด โดยเปน 2. ลักษณะร่วมกันของแรงโน้มถ่วงและแรงไฟฟ้า คือ ต่างเป็นไปตามกฎก�าลังสองผกผัน

ุด
สม
ใน
แรงเชิงสนาม ไดแก แรงจากสนามโนมถวง แรง 3. แรงไฟฟ้ากระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าทั้งที่เคลื่อนที่และไม่เคลื่อนที่ แต่แรงแม่เหล็ก

ลง
ทึ ก
กระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่เท่านั้น บั น
จากสนามไฟฟา แรงจากสนามแมเหล็ก และแรง 4. แรงที่เกี่ยวข้1องกับการสลายให้อนุ2ภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี คือ แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน
ในนิวเคลียส 5. แรงเสียดทาน แรงดึงในเส้นเชือก และแรงในสปริง ล้วนเป็นผลมาจากแรงนิวเคลียร์แบบเข้ม
แนวตอบ Understanding Check
1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก 4. ถูก 5. ผิด

นักเรียนควรรู
1 แรงเสียดทาน (frictional force) คือ แรงที่ตอตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ
เกิดขึ้นระหวางผิวสัมผัสของวัตถุกับพื้นผิวใดๆ แรงเสียดทานแบงออกเปน 2
ประเภท ไดแก
• แรงเสียดทานสถิต เกิดขึ้นในวัตถุที่หยุดนิ่ง ในขณะที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่
แรงเสียดทานสถิตจะมีคาสูงสุด
• แรงเสียดทานจลน เกิดขึ้นในวัตถุที่มีการเคลื่อนที่
2 แรงดึงในเสนเชือก (tension force) คือ แรงทีเ่ กิดขึน้ ในเสนเชือกทีถ่ กู ขึงตึง
โดยทีใ่ นเสนเชือกเดียวกันยอมมีแรงดึงในเสนเชือกเทากันทุกจุด และทิศทางของ
แรงดึงในเสนเชือกมีทิศพุงออกจากวัตถุที่เราพิจารณาตามแนวของเสนเชือก

T58
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. แรง¨า¡ÊนามâนŒม¶‹Çง Prior Knowledge 6. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
ในชีวิตประจ�าวัน ถ้าเราสังเกตธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม áร§â¹Œม¶‹ว§¢Í§âÅก เรียนกับนักเรียนวา “แรงโนมถวงของโลกสง
รอบตัวเรา จะพบว่า สิ่งต่าง ๆ แม้จะมีรูปทรงหรือขนาดที่แตก- Ê‹§¼ÅÍ‹ҧäร ผลอยางไรตอสิ่งตางๆ บนพื้นผิวโลก”
ต่างกัน แต่มักจะเคลื่อนที่จากที่สูงลงสู่ที่ที่ต�่ากว่าเสมอ ถ้าไม่มี ต‹ÍÊิ§è ต‹Ò§ æ 7. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนความรู
บ¹¾×¹é ¼ิวâÅก
แรงอื่นนอกจากแรงโน้มถ่วงมากระท�า เช่น น�้าตกที่ไหลลงมา เดิมเกีย่ วกับแรงและการเคลือ่ นที่ เพือ่ เชือ่ มโยง
จากต้นน�้า ก้อนหินตกจากยอดเขาลงสู่เชิงเขา ใบไม้ ดอกไม้ ผลไม้ หรือกิ่งไม้ตกลงสู่พื้นใต้ต้นไม้ เขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษา
เม็ดฝนจากก้อนเมฆตกจากฟ้าลงสู่พื้น เป็นต้น
1.1 แรงâนŒม¶‹ÇงแÅÐÊนามâนŒม¶‹Çง
เมือ่ ปล่อยวัตถุจากความสูงระดับหนึง่ วัตถุนนั้ จะตกลงสูพ่ นื้ เหตุการณ์ทกี่ ล่าวนัน้ แสดงให้เห็น
ว่ามีแรงกระท�าต่อวัตถุ ท�าให้วตั ถุเคลือ่ นทีจ่ ากต�าแหน่งทีส่ งู กว่าไปยังต�าแหน่งทีต่ า�่ กว่า โดยแรงนัน้
เกิดจากโลกดึงดูดวัตถุ เรียกว่า แรงโน้มถ่วง (gravitational force) และเนื่องจากรอบโลกมีสนาม
โน้มถ่วง (gravitational field) ส่งผลให้เกิด
แรงดึงดูดกระท�าต่อมวลของวัตถุทงั้ หลาย กล่าว
ได้ว่า แรงโน้มถ่วงเป็นแรงดึงดูดระหว่างมวล
ของวัตถุ โดยแรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง
จะแปรผันตรงกับผลคูณของมวลของวัตถุทั้ง
สองแต่จะแปรผกผันกับก�าลังสองของระยะห่าง
ระหว่างศูนย์กลางมวลของวัตถุทั้งสอง และแรง
ที่กระท�าต่อแต่ละวัตถุจะมีขนาดเท่ากันแต่มีทิศ
ตรงข้ามเสมอโดยไม่ขึ้นกับมวลของแต่ละวัตถุ ภาพที่ 2.1 ก้อนหินตกจากภูเขา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาพที่ 2.2 น�้าตกโกดาฟอสส์ในประเทศไอซ์แลนด์
ที่มา : คลังภาพ อจท.

แนวตอบ Prior Knowledge


แรงโนมถวงสงผลใหเกิดแรงดึงดูดกระทําตอ
มวลของวัตถุ โดยมีทิศทางตามสนามโนมถวง ซึ่ง
แรงในธรรมชาติ 51
พุงเขาสูศูนยกลางของโลก ทําใหวัตถุเคลื่อนที่จาก
ตําแหนงที่สูงกวาไปยังตําแหนงที่ตํ่ากวา

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง ครูอาจนําความรูของวิชาคณิตศาสตรมาอธิบายเพิ่มเติมใหกับนักเรียน
1. แรงโนมถวงและสนามโนมถวงเหมือนกัน เพื่อใหนักเรียนมีพื้นฐานในการคิดและคํานวณมากขึ้น โดยอาจจะนําหลักการ
2. มวลและนํ้าหนักเปนปริมาณสเกลารทั้งคู เกี่ยวกับการแปรผันมาสอนทบทวนกับนักเรียน เชน การแปรผัน (variation)
3. สนามโนมถวงของโลกมีขนาดเทากับ 9.8 เมตรตอวินาที2 คือ ความสัมพันธระหวางปริมาณสองปริมาณหรือมากกวานั้น เมื่อปริมาณ
4. แรงนิวเคลียรเปนแรงดึงดูดระหวางโปรตอนกับอิเล็กตรอน หนึ่งเปลี่ยนแปลงไป อีกปริมาณหนึ่งจะเปลี่ยนตามไปดวยอยางไดสัดสวนกัน
5. มวลมีขนาดเปลีย่ นไปตามคาความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวง สามารถแบงการแปรผันออกเปน 3 ชนิด ไดแก
ที่เปลี่ยนไป 1. การแปรผันตรง (direct variation)
2. การแปรผกผัน (inverse variation)
(วิเคราะหคําตอบ สนามโนมถวงของโลกที่ตําแหนงใดๆ เทากับ
3. การแปรผันเกี่ยวเนื่อง (joint variation)
แรงโนมถวงที่โลกกระทําตอวัตถุนั้น โดยวัตถุจะถูกโลกดึงดูด
ดวยแรงขนาด 9.8 นิวตัน ในทิศพุงเขาสูศูนยกลางของโลก นั่น
คือ สนามโน2มถวงของโลกมีขนาดเทากับ 9.81 kg
N = 1 N/kg หรือ
9.8 kg m/s = 9.8 m/s2 ดังนั้น ตอบขอ 4.)
1 kg

T59
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรูเกี่ยวกับแรง แรงโน้มถ่วงมีผลมากต่1อวัตถุขนาดใหญ่หรือวัตถุทมี่ มี วลมาก โดยเป็นแรงยึดระบบขนาดใหญ่
โนมถวงและสนามโนมถวง จากหนังสือเรียน เช่น ระบบสุรยิ ะ หรือกาแล็กซี ให้คงรูปอยูไ่ ด้ และเป็นแรงยึดวัตถุทมี่ มี วลน้อยให้เคลือ่ นทีไ่ ปรอบ ๆ
วัตถุที่มีมวลมากกว่า เช่น ดวงจันทร์โคจรรอบดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์และบริวารของดาวเคราะห์
โคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นต้น เนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ยึดดวงจันทร์ให้โคจรรอบดาวเคราะห์มีทิศ
พุง่ เข้าสูศ่ นู ย์กลางของดาวเคราะห์ และแรงโน้มถ่วงทีย่ ดึ ดาวเคราะห์และบริวารของดาวเคราะห์ให้
โคจรรอบดวงอาทิตย์มีทิศพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ แรงโน้มถ่วงที่ยึดให้ดาวที่มีมวลน้อย
โคจรไปรอบ ๆ ดาวที่มีมวลมากกว่าจึงท�าหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง ส�าหรับโลก กรณีที่เทียบเคียง
กันได้ คือ การโคจรรอบโลกของดวงจันทร์และดาวเทียม เช่นเดียวกับดาวดวงอื่น แรงโน้มถ่วงที่
โลกกระท�าต่อวัตถุอื่นจะมีทิศพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลกเสมอ ถ้าประมาณว่าสัณฐานของโลกเป็น
ทรงกลม แรงโน้มถ่วงของโลกจะมีทิศตั้งฉากกับจุดต่าง ๆ บนพื้นผิวโลก เนื่องจากสนามโน้มถ่วง
มีทิศพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของทรงกลมตามแนวรัศมีของทรงกลม ดังภาพที่ 2.3

ภาพที่ 2.3 สนามโน้มถ่วงของโลกมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก


ที่มา : คลังภาพ อจท.
สนามโน้มถ่วงเป็นปริมาณที่ท�าให้เกิดแรงโน้มถ่วงกระท�าต่อมวลของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณ
เดียวกันกับความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก จึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ และเขียนแทนได้ด้วย
สัญลักษณ์ g มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของวัตถุที่เป็นต้นก�าเนิดสนาม เช่น สนามโน้มถ่วงของโลก
มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก หรือสนามโน้มถ่วงของดวงดาวใด ๆ ก็มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของดาว
ดวงนั้น ๆ
52

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 กาแล็กซี (galaxy) หรือดาราจักร เปนกลุมของดาวฤกษนับลานดวง กับ ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับแรงโนมถวงและสนามโนมถวง
สสารระหวางดาว อันประกอบดวยแกส ฝุน และสสารมืด รวมอยูดวยกันดวย 1. วัตถุมีนํ้าหนัก เพราะแรงโนมถวงของโลก
แรงโนมถวง ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดนอยใหญตางกัน นับแตดาราจักรแคระ 2. วัตถุไมหลุดไปจากโลก เพราะแรงโนมถวงของโลก
ที่มีดาวฤกษประมาณสิบลานดวงไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษที่มีดาวฤกษ 3. มีเพียงสนามโนมถวงของโลกเทานั้นที่มีทิศพุงเขาสู
ประมาณลานลานดวง โคจรรอบศูนยกลางมวลจุดเดียวกัน ในดาราจักรหนึ่งๆ ศูนยกลาง
ยังประกอบไปดวยระบบดาวหลายดวง กระจุกดาวจํานวนมาก และเมฆระหวาง 4. วัตถุที่ตกแบบอิสระมีความเรงเทากันเพราะแรงโนมถวง
ดาวหลายประเภท ดวงอาทิตยของเราเปนหนึ่งในบรรดาดาวฤกษในดาราจักร ของโลก
ทางชางเผือก เปนศูนยกลางของระบบสุรยิ ะซึง่ มีโลกและวัตถุอนื่ ๆ โคจรโดยรอบ 5. สนามโนมถวงมีคาลดลงตามระดับความสูงเมื่อวัดขึ้นไป
จากผิวโลก
(วิเคราะหคําตอบ สนามโนมถวงของโลกมีทิศพุงเขาสูศูนยกลาง
ของโลก สนามโนมถวงของดาวดวงใดๆ ก็มที ศิ พุง เขาสูศ นู ยกลาง
ดาวดวงนั้นๆ เชนกัน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
จากภาพที่ 2.4 ถาพิจารณาบริเวณที่ 2. ครูอภิปรายกับนักเรียน โดยใหนักเรียนสังเกต
อยูใกลผิวโลกและมีพื้นที่นอย ๆ อาจประมาณ ภาพ สนามโน ม ถ ว งของโลกมี ทิ ศ พุ  ง เข า สู 
ไดวา สนามโนมถวงของโลกสมํ่าเสมอ โดย ศูนยกลางของโลก จากหนังสือเรียน ครูถาม
สนามโนมถวงของโลกที่ตําแหนงใด ๆ เทากับ คําถามชวนคิดกับนักเรียนวา “แลวดาวดวง
แรงโนมถวงที่โลกกระทําตอวัตถุนั้น เชน มวล อื่ น ๆ มี ส นามโน ม ถ ว งเหมื อ นโลกหรื อ ไม
มาตรฐาน 1 กิโลกรัม วางอยูบ นพืน้ ผิวโลก วัตถุ อยางไร” โดยครูเปดโอกาสใหนกั เรียนไดแสดง
จะถูกโลกดึงดูดดวยแรง 9.8 นิวตัน ในทิศเขาสู ความคิดเห็นอยางอิสระ
ศูนยกลางของโลก ดังนั้น สนามโนมถวงของ
โลกบริเวณนั้นจะมีขนาด 9.8 นิวตัน = 9.8 ภาพที ผิ ว
่ 2.4 สนามโนมถวงของโลกบริเวณพื้นทีนอยๆ บน
โลกมี คาสมํ่าเสมอ
1 กิโลกรัม
นิวตันตอกิโลกรัม หรือเทากับ 9.8 เมตรตอ ที่มา : คลังภาพ อจท.
วินาที2 ในทิศเขาสูศูนยกลางของโลก
ในความเปนจริงเนื่องจากสัณฐานของโลกไมเปนทรงกลมที่สมบูรณ เสนผานศูนยกลาง
ระหวางขั้วโลก (เหนือ-ใต) นอยกวาเสนผานศูนยกลางบริเวณเสนศูนยสูตร จึงสงผลใหตําแหนง
บนผิวโลกอยูหางจากศูนยกลางของโลกไมเทากัน ทําใหสนามโนมถวงของโลก ณ ตําแหนงตาง ๆ
บนผิวโลกมีคาตางกันเล็กนอย
ความสูงระดับ (km) สนามแรงโนมถวงมีคา
384,000 ดวงจั น ทร ; g = 0.026 m/s 2 ลดลงตามระดั บความสูงที่วัด
ขึ้นไปจากพื้นผิวโลก เนื่องจาก
35,700 ดาวเทียมสื่อสาร ; g = 0.225 m/s 2 อยูหางจากจุดศูนยกลางของ
โลกมากขึ้น และมีคาเปลี่ยน
แปลงตามตําแหนงตาง ๆ บน
พื้นผิวโลก กลาวคือ โลก ดวง-
1 จันทร ดาวฤกษ ดาวเคราะห
สถานี อ วกาศ ; g = 8.68 m/s 2
400 อื่ น ๆ และบริ ว ารของดาว-
เคราะหในระบบสุริยะ รวมทั้ง
10 เครื่องบินโดยสาร ; g = 9.77 m/s 2 เทหวัตถุ (astronomical object)
ผิวโลก ; g = 9.8 m/s2 ทั้งหลาย ลวนมีสนามโนมถวง
ของตัวเองเชนกัน โดยสนาม
ศูนยกลางโลก โนมถวงเหลานี้มีคาตางกันไป
ภาพที่ 2.5 สนามโนมถวงที่ความสูงตางๆ จากผิวโลก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
áç㹸ÃÃÁªÒµÔ 53

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


1. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน 1 สถานีอวกาศ (space station) เปนสิ่งกอสรางที่ออกแบบโดยมนุษย เพื่อ
2. สมาชิ ก แต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น สื บ ค น ข อ มู ล และศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ใชเปนที่อยูในการดํารงชีพในอวกาศ โดยอยูในวงโคจรตํ่า เชน สถานีอวกาศ
เกี่ยวกับสนามโนมถวง จากนั้นรวมกันพูดคุยอภิปรายผลการ นานาชาติ (international space station) หรือ ISS เปนหองปฏิบัติการลอยฟา
ศึกษารวมกันภายในกลุม ซึง่ โคจรรอบโลกทีร่ ะยะความสูงประมาณ 410 กิโลเมตรเหนือผิวโลก เคลือ่ นทีด่ ว ย
3. แตละกลุมรวมกันจัดทําโปสเตอร เพื่อนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับ อัตราเร็วเฉลีย่ 27,724 กิโลเมตรตอชัว่ โมง โคจรรอบโลก 1 รอบ ใชเวลาประมาณ
สนามโนมถวง ที่กลุมตนเองรวมกันศึกษาและอภิปรายผลแลว 92 นาที สรางขึ้นดวยความรวมมือจาก 16 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
โดยผลงานของแตละกลุมตองมีลายมือของสมาชิกกลุมทุกคน ทําการคนควาและทดลองทางวิทยาศาสตรหลากหลายสาขา ไดแก ดาราศาสตร
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม อุตุนิยมวิทยา วัสดุศาสตร ชีววิทยา เคมี และฟสิกส เนื่องจากสถานีอวกาศอยู
4. ครูสมุ ตัวแทนกลุม ออกมาหนาชัน้ เรียน เพือ่ นําเสนอผลงานของ ในสภาพไรแรงโนมถวง นักวิทยาศาสตรจึงสามารถทําการทดลองหรือประดิษฐ
กลุมตนเองดวยรูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจ และใชภาษาที่ ผลิตภัณฑใหมๆ ซึ่งไมสามารถกระทําบนพื้นผิวโลกได ดังนั้น สถานีอวกาศ
เขาใจงาย นานาชาติจึงมีความสําคัญตออนาคตของมนุษยชาติเปนอยางมาก

T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง การ 1.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก
เคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ ใ นสนามโน ม ถ ว งของโลก วัตถุทอี่ ยูใ่ นสนามโน้มถ่วงของโลกจะถูกโลกดึงดูด เมือ่ เราปล่อยวัตถุให้ตกบริเวณใกล้ผวิ โลก
จากหนังสือเรียน แรงดึงดูดของโลกจะท�าให้วตั ถุเคลือ่ นทีเ่ ร็วขึน้ กล่าวได้วา่ วัตถุนนั้ มีความเร่ง โดยโลกส่งแรงโน้มถ่วง
4. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ กระท�าต่อวัตถุที่อยู่ในสนามโน้มถ่วงของโลก ในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก หรือทิศพุ่งลงตามแนว
กลุมละ 3-4 คน ดิ่งเมื่อเทียบกับพื้นผิวโลก เรียกว่า ความเร่งโน้มถ่วง (gravitational acceleration) ส่งผลให้วัตถุ
5. ครูใหสมาชิกแตละกลุม รวมกันสนทนาเกีย่ วกับ ที่เคลื่อนที่ในสนามโน้มถ่วงของโลกแบบมีความเร่ง ถ้าไม่คิดแรงต้านอากาศ ความเร่งนี้จะมีค่า
สิง่ ทีต่ นเองไดศกึ ษามา จากนัน้ รวมกันอภิปราย คงตัว ไม่ขึ้นกับมวลและรูปทรงของวัตถุ ในการตกของวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งโน้มถ่วง
เปนผลการศึกษาของกลุม 9.8 เมตรต่อวินาที2 มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก
6. ครูใหนักเรียนจดบันทึกสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับ เมือ่ ปล่อยวัตถุให้ตกลงมาจากความสูงระดับหนึง่ วัตถุจะเคลือ่ นทีล่ งในแนวดิง่ ด้วยความเร็วต้น
การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในสนามโนมถวงของโลก เป็นศูนย์ ความเร่งโน้มถ่วงท�าให้ขนาดของความเร็วเพิ่มขึ้นวินาทีละ 9.8 เมตรต่อวินาที เช่น
ลงในสมุดบันทึกประจําตัวของแตละคน เพื่อ เมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที และ 2 วินาที ความเร็วของวัตถุจะมีค่าเป็น 9.8 เมตรต่อวินาที และ
นําสงครูหลังจบกิจกรรมการเรียนรู 19.6 เมตรต่อวินาที ตามล�าดับ ดังภาพที่ 2.6 (ก) แต่เมื่อไรก็ตาม ที่เราโยนวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่ง
ด้วยความเร็วต้นค่าหนึ่ง วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งโน้มถ่วง 9.8 เมตรต่อวินาที2 มีทิศเข้าสู่
ศูนย์กลางของโลก แต่ความเร็วของวัตถุมีทิศขึ้น ความเร่งโน้มถ่วงมีทิศตรงข้ามกับความเร็วจึง
ท�าให้ขนาดของความเร็วลดลง 9.8 เมตรต่อวินาที ในทุก ๆ 1 วินาที จนเป็นศูนย์เมื่อวัตถุขึ้นไปถึง
จุดสูงสุด จากนัน้ วัตถุจะตกลงมาในแนวดิง่ ด้วยความเร่งโน้มถ่วง
v = 0 m/s
ที่มีทิศเดียวกับความเร็วจึงท�าให้ขนาดของความเร็วเพิ่มขึ้น 9.8 t = 1.5 s
เมตรต่อวินาที ในทุก ๆ 1 วินาที จนเท่ากับขนาดของความเร็วต้น
เมื่อเคลื่อนที่ลงมาถึงจุดเริ่มต้น จากนั้นขนาดของความเร็วจะ v =t 4.9 m/s
= 1.0 s t = 2.0 s
เพิ่มขึ้นในทุก ๆ วินาที จนมีค่าสูงสุดขณะวัตถุตกกระทบพื้น v = 4.9 m/s
ดังภาพที่ 2.6 (ข)
g = 9.8 m/s2 u = 14.7 m/s
t=0
t=0 t = 3.0 s
u = 0 m/s v = 14.7 m/s
t=1s
v = 9.8 m/s

t=2s t = 4.0 s
v = 19.6 m/s v = 24.5 m/s
(ก) (ข)
ภาพที่ 2.6 ความเร็วขณะเวลาต่างๆ ของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่งในสนามความโน้มถ่วงของโลก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
54

สื่อ Digital กิจกรรม สรางเสริม


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ขอมูลนารู : แรง G ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงขอมูลสารสนเทศ
https://www.twig-aksorn.com/film/factpack-g-force-8303/ เกีย่ วกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในสนามโนมถวงของโลก เชน คนหา
ขอมูลการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง (การตกแบบเสรี) จาก
อินเทอรเน็ต จากนั้นใหนักเรียนเขียนสรุปความรู รวมถึงหลักการ
ที่เกี่ยวของลงในสมุดบันทึกประจําตัว

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
จากภาพที่ 2.6 เรียกการเคลื่อนที่ลักษณะนี้ว่า การตกแบบเสรี (free fall) เมื่อพิจารณา 1. ครูสมุ บางกลุม ออกมาหนาชัน้ เรียน จากนัน้ ให
จากภาพที่ 2.6 (ก) ถ้าความเร็วต้นของวัตถุไม่เป็นศูนย์ หรือเปลี่ยนจากการปล่อยให้วัตถุตกลงมา นักเรียนนําเสนอผลการศึกษาของกลุมตนเอง
เป็นการขว้างวัตถุลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้นค่าหนึ่ง ความเร็วของวัตถุจะยังคงมีขนาดเพิ่ม 2. ครูและนักเรียนรวมกันอธิบายเกีย่ วกับความเร็ว
ขึ้นวินาทีละ 9.8 เมตรต่อวินาที เช่นเดิม ขณะเวลาเดียวกัน (เช่น ขณะเวลา t = 1.0 s) ขนาด ขณะเวลาตางๆ ของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
ของความเร็วในกรณีทขี่ ว้างวัตถุลงมาจึงมีคา่ มากกว่ากรณีทปี่ ล่อยวัตถุให้ตกลงมาอยูเ่ ท่ากับขนาด ในสนามโนมถวงของโลก โดยครูใหนักเรียน
ความเร็วต้นของวัตถุ ซึ่งพิจารณาได้จากช่วงการเคลื่อนที่ลงจากจุดเริ่มต้น ดังภาพที่ 2.6 (ข) ซึ่ง ศึกษาจากหนังสือเรียนควบคูไปกับการที่ครู
เป็นการเคลื่อนที่ขึ้นและลงในแนวดิ่งอย่างต่อเนื่องในสนามโน้มถ่วง สามารถสรุปได้ในเบื้องต้น อธิบาย เพื่อใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาสวน
ดังนี้ นั้นมากยิ่งขึ้น
• ในช่วงเคลื่อนที่ขึ้น ความเร็วของวัตถุมีทิศตรงข้ามกับความเร่งโน้มถ่วง ส่งผลให้ขนาด
ของความเร็วของวัตถุลดลง แต่ในช่วงที่วัตถุเคลื่อนที่ลงความเร็วของวัตถุมีทิศเดียวกับความเร่ง
โน้มถ่วง ส่งผลให้ขนาดของความเร็วของวัตถุเพิ่มขึ้น โดยขนาดของความเร็วของวัตถุเพิ่มขึ้น
หรือลดลงอย่างสม�่าเสมอ 9.8 เมตรต่อวินาที ในทุก ๆ 1 วินาที การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งในสนาม
โน้มถ่วงของโลกจึงจัดเป็นการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงตัว
• เมื่อเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงต�าแหน่งสูงสุด วัตถุจะหยุดเคลื่อนที่ชั่วขณะหนึ่ง นั่นคือ วัตถุจะมี
ความเร็วเป็นศูนย์ ก่อนจะเคลือ่ นทีต่ กกลับลงมาด้วยความเร็วต้นของการเคลือ่ นทีล่ งในแนวดิง่ เป็น
ศูนย์
• เวลาทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีข่ นึ้ ไปถึงต�าแหน่งสูงสุดมีคา่ เท่ากับขนาดของความเร็วต้นหารด้วยขนาด
ของความเร่งโน้มถ่วง เช่น กรณีภาพที่ 2.6 (ข) เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงต�าแหน่งสูงสุดเท่ากับ
14.7 m/s = 1.5 s
9.8 m/s2
• เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงต�าแหน่งสูงสุด แล้วเคลื่อนที่ตกกลับลงมาที่ระดับเดียวกับ
ต�าแหน่งเริ่มต้นมีค่าเป็น 2 เท่าของเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงต�าแหน่งสูงสุด
• เวลาทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีข่ นึ้ ไปในแนวดิง่ กับเวลาทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีต่ กกลับลงมาในแนวดิง่ ระหว่าง
สองต�าแหน่งใด ๆ มีคา่ เท่ากัน เช่น จากภาพที่ 2.6 (ข) เวลาทีว่ ตั ถุใช้ในการเคลือ่ นทีข่ นึ้ จากต�าแหน่ง
t = 0 ไปยังต�าแหน่ง t = 1.0 s มีค่าเท่ากับเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ตกกลับลงมาจากต�าแหน่ง t = 2.0 s
มายังต�าแหน่ง t = 3.0 s เป็นต้น
• ความเร็วขณะเคลือ่ นทีข่ นึ้ กับความเร็วขณะเคลือ่ นทีล่ งทีค่ วามสูงเดียวกันจะมีขนาดเท่ากัน
แต่มีทิศตรงข้ามกัน ขนาดของความเร็วของวัตถุขณะตกลงมาถึงระดับเดียวกับต�าแหน่งเริ่มต้นจึง
เท่ากับขนาดของความเร็วต้น

แรงในธรรมชาติ 55

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ครูใหนักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวง
วัตถุในสนามโนมถวง เพิม่ เติมจากหนังสือเรียน จากนัน้ ใหนกั เรียน ของโลก ครูอาจสุมตัวแทนนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นครูใหนักเรียน
วิ เ คราะห ส รุ ป ความรู  แ ละยกตั ว อย า งวั ต ถุ ที่ เ คลื่ อ นที่ ใ นสนาม ขึ้นไปยืนบนเกาอี้แลวปลอยลูกบอลหรือวัตถุใหตกแบบอิสระลงสูพื้นหอง แลว
โนมถวง โดยจัดทําเปนแผนพับความรูขนาด A4 พรอมทั้งตกแตง ใหนักเรียนที่อยูในชั้นเรียนสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากนั้นครูใหนักเรียน
ใหสวยงาม เสร็จแลวครูอาจสุม นักเรียนออกมานําเสนอผลงานของ คนเดิมโยนวัตถุชนิ้ เดิมขึน้ ดานบนดวยอัตราเร็วคาหนึง่ แลวนักเรียนทุกคนสังเกต
ตนเองหนาชั้นเรียน แลวเก็บรวบรวมผลงานทั้งหมดสงครูผูสอน การเคลื่อนที่ของวัตถุ เสร็จแลวครูอธิบายหลักการที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่
ของวัตถุทงั้ สองกรณีประกอบกับใหนกั เรียนศึกษาเนือ้ หาจากหนังสือเรียนควบคู
ไปดวย เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น

T63
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูถามนักเรียนวา “นักเรียนชั่งนํ้าหนักครั้ง 1.3 ¹íéÒ˹ѡ
ลาสุดเมื่อไร และนํ้าหนักที่ไดเทากับเทาไร” จากที่ไดกลาวมาแลวขางตน แรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ ก็คือ นํ้าหนัก (weight)
2. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้น ของวัตถุบนโลก ซึ่งสามารถคํานวณไดจากสมการ
ครูใหนักเรียนขึ้นบนเครื่องชั่ง เพื่อชั่งนํ้าหนัก
ปจจุบัน W คือ นํ้าหนักของวัตถุ มีหนวยเปน นิวตัน (N)
3. ครูถามคําถามชวนคิดกับนักเรียนวา “ตัวของ W = mg m คือ มวลของวัตถุ มีหนวยเปน กิโลกรัม (kg)
นักเรียนมีมวลกีก่ โิ ลกรัม” โดยครูยงั ไมเฉลยวา g คือ ความเรงโนมถวง ณ ตําแหนงที่วัตถุวางอยู มีหนวยเปน
เมตรตอวินาที2 (m/s2)
คําตอบที่นักเรียนตอบนั้นถูกหรือผิด
4. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง นํา้ หนัก จากหนังสือ นํา้ หนักของวัตถุเปนผลทีเ่ กิดจากจากความเรงโนมถวงของโลก หรือแรงทีม่ วลของโลกกระทํา
เรียน ตอมวลของวัตถุ จึงมีทิศพุงลงตามแนวดิ่งเสมอ บริเวณหนึ่งบนพื้นผิวโลกที่มีพื้นที่นอย ๆ พื้นผิว
5. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา ตัวของนักเรียน โลกจะเปนผิวราบ ไมวาวัตถุจะวางตัวอยูในลักษณะใดก็ตาม นํ้าหนักของวัตถุจะมีแนวกระทําผาน
มีมวลกีก่ โิ ลกรัม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลัง จุด ๆ หนึง่ ทีเ่ ปนเสมือนจุดรวมนํา้ หนักของวัตถุ ซึง่ เรียกวา ศูนยถว ง (center of gravity) กลาวไดวา
ศึกษาเนื้อหา เรื่อง นํ้าหนัก จากหนังสือเรียน นํา้ หนักของวัตถุมคี า เทากับผลคูณระหวางมวลของวัตถุกบั ความเรงโนมถวง โดยความเรงโนมถวง
(g) มีคาลดลงที่ระดับสูงขึ้นไปจากพื้นผิวโลก เนื่องจากอยูหางจากศูนยกลางของโลกมากขึ้น เชน
(แนวตอบ ขึน้ อยูก บั นํา้ หนักทีช่ งั่ ไดจากเครือ่ งชัง่
นํามวล 10 กิโลกรัม ไปชั่งที่ตําแหนงหนึ่งบนผิวโลกซึ่งมีความเรงโนมถวงเทากับ 9.80 เมตรตอ
แลวนําไปคํานวณจากสมการ W = mg)
วินาที2 มวลกอนนี้จะมีนํ้าหนัก 98.0 นิวตัน แตถานํามวลกอนเดียวกันนี้ ขึ้นไปชั่งที่ระยะหาง
6. ครูแจกเศษกระดาษทีเ่ กิดจากการแบงกระดาษ จากผิวโลก 400 กิโลเมตร ซึ่งมีความเรงโนมถวงประมาณ 8.68 เมตรตอวินาที2 มวลกอนนี้จะมี
ขนาด A4 ออกเปน 4 สวน เทาๆ กัน ให นํ้าหนัก 86.8 นิวตัน ซึ่งมีนํ้าหนักนอยกวานํ้าหนักบนผิวโลก ดังภาพที่ 2.7 นอกจากนั้น นํ้าหนัก
นักเรียน ของวัตถุยังมีคาเปลี่ยนไปตามตําแหนงตาง ๆ บนพื้นผิวโลก ตามตําแหนงทางภูมิศาสตร และอีก
7. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน สวนหนึ่งเปนผลมาจากการหมุนรอบตัวเองและการโคจรรอบดวงอาทิตย
วา “หากโลกไรซึ่งแรงโนมถวง จะสงผลตอ
สิ่งตางๆ บนโลกหรือไม อยางไร” โดยครูให
นักเรียนเขียนคําตอบลงในเศษกระดาษที่ครู 0 100
0
20 0 100
0
20

แจกให เสร็จแลวตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวม
100 20 100 20
80 40 80 40
80 40 60 80 40 60
60 60

สงครู 10 kg 10 kg
10 kg 10 kg
คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง
W = (10 kg)(9.80 m/s2) = 98.0 N W = (10 kg)(8.68 m/s2)
= 86.8 N หากโลกไรซึ่งแรงโนม
แนวตอบ H.O.T.S. บนผิวโลก 400 กิโลเมตร เหนือผิวโลก
ถ ว งจะส ง ผลต อ สิ่ ง ต า ง ๆ
ภาพที่ 2.7 นํ้าหนักเปลี่ยนไปตามระยะหางจากศูนยกลางโลก
แรงโนมถวงเปนแรงที่กระทําตอวัตถุ สงผล ที่มา : คลังภาพ อจท. บนโลกหรือไม อยางไร
ใหวัตถุเคลื่อนที่ลงสูผิวโลกเสมอ แรงโนมถวงมีทิศ
พุงเขาสูศูนยกลางของโลก หากไรซึ่งแรงโนมถวง
56 นํ้าหนัก
จะสงผลใหวัตถุลอยขึ้นไปในอากาศเชนเดียวกับ
ในอวกาศ หรือเรียกวา สภาพไรนํ้าหนัก

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง นํ้าหนัก นักบินอวกาศคนหนึ่งชั่งนํ้าหนักบนดาวเคราะห A ได 250
นิวตัน นํ้าหนักของนักบินอวกาศคนนี้เมื่อชั่งบนผิวโลกจะเทากับ
เทาใด (กําหนดใหคา g ที่ผิวดาวเคราะห A เทากับ 5 m/s2)
1. 150 นิวตัน 2. 196 นิวตัน 3. 250 นิวตัน
4. 392 นิวตัน 5. 490 นิวตัน
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ WA = mgA
250 = m(5)
m = 50 kg
นักบินอวกาศคนนีม้ มี วล 50 กิโลกรัม เมือ่ เขาชัง่ นํา้ หนักบนโลก
จะเทากับ W = mg
W = (50)(9.8) = 490 N
จะไดวา นํ้าหนักของนักบินอวกาศคนนี้เมื่อชั่งบนผิวโลกจะ
เทากับ 490 นิวตัน ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T64
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก 8. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกับเพื่อนอยางอิสระ
กลุมละ 5-6 คน จากนั้นครูมอบหมายให
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์ นักเรียนศึกษากิจกรรม แรงที่เกี่ยวของกับการ
• การลงความเห็นจากข้อมูล
• การตีความหมายข้อมูลและ
เพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก เคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ ใ นสนามโน ม ถ ว งของโลก
ลงข้อสรุป
วัสดุอุปกรณ์ จากหนังสือเรียน
จิตวิทยาศาสตร์
• ความอยากรู้อยากเห็น 1. เทปใส 5. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา อธิบายความรู
• ความมีเหตุผล 2. ไม้บรรทัด 6. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต�่า 0 -12 โวลต์
3. แถบกระดาษ 7. ถุงทรายที่มีมวลต่างกัน 3 ถุง 1. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว ครูใหนักเรียน
4. สายไฟต่อวงจร ตอบคํ า ถามท า ยกิ จ กรรมลงในสมุ ด บั น ทึ ก
วิธีปฏิบัติ ประจําตัว
1. ต่อเครื่องเคาะสัญญาณเวลาเข้ากับหม้อแปลง 2. ครูใหแตละกลุมรวมกันพูดคุยเกี่ยวกับผลการ
ไฟฟ้ า โวลต์ ต�่ า โดยเลื อ กใช้ ค วามต่ า งศั ก ย์ ปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลเปนขอสรุป
กระแสสลับ 4-6 โวลต์ และใช้เทปใสยึดกระดาษไว้
กับถุงทรายถุงหนึง่ (เครือ่ งเคาะสัญญาณและแถบ ของกลุม
กระดาษต้องอยู่ในระนาบแนวดิ่ง) ดังภาพที่ 2.8 3. ครูสุมสมาชิกแตละกลุม กลุมละ 1 คน ออก
2. เปิดสวิตช์เครื่องเคาะสัญญาณเวลา แล้วปล่อย มาหนาชั้นเรียน แลวใหนําเสนอผลการปฏิบัติ
ถุงทรายลงมาในแนวดิ่ง กิจกรรมจากการอภิปรายรวมกันภายในกลุม
3. ปฏิบัติซ�้าอีก 2 ครั้ง โดยเปลี่ยนถุงทรายที่มีมวล
ภาพที่ 2.8 ภาพประกอบกิจกรรมการเคลื่อนที่ของวัตถุใน ของตนเอง
แตกต่างไป และแถบกระดาษในการปฏิบัติแต่ละ สนามโน้มถ่วงของโลก 4. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นแล ว ร ว มกั น อภิ ป ราย
ครั้ง น�าแถบกระดาษทั้งสามแถบมาเปรียบเทียบ ที่มา : คลังภาพ อจท.
กัน ผลการศึกษากิจกรรม การเคลื่อนที่ของวัตถุ
ในสนามโนมถวงของโลก
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. ถุงทรายแต่ละถุงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันหรือไม่
2. ถุงทรายแต่ละถุงเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่ากันหรือไม่
3. ถุงทรายแต่ละถุงเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด เพราะเหตุใด

อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
เมื่อพิจารณาลักษณะของจุดบนแถบกระดาษทั้งสามแถบจะพบว่า ระยะห่างระหว่างจุดแต่ละคู่ที่อยู่ถัดกัน
ไปจะเหมือนกัน แสดงว่าถุงทรายทั้งสามต่างเคลื่อนที่ลงมาด้วยความเร่งคงตัวเท่ากับความเร่งโน้มถ่วงของ แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
โลกแม้วา่ มวลของถุงทรายทั้งสามไม่เท่ากัน โดยถุงทรายจะตกลงมาด้วยความเร่งโน้มถ่วงของโลกซึ่งมีค่า 9.8
เมตรต่อวินาที2 ในทิศลงสูพ่ นื้ โลกเสมอ ดังนัน้ ความเร่งของวัตถุทเี่ คลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ จึงไม่ขนึ้ กับมวลของวัตถุ 1. เทากัน
2. เทากัน
3. ถุงทรายเคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งแบบอิสระจะมี
แรงในธรรมชาติ 57
ความเรงเทากับความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง
ของโลกขนาด 9.8 เมตรตอวินาที2

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

หากนักเรียนขวางกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่ง ความเร็วในการ ตัวอยางแถบกระดาษที่ไดจากกิจกรรม


เคลื่อนที่ของกอนหินจะเปนอยางไร
ครั้งที่ 1
( แนวตอบ ก อ นหิ น จะเคลื่ อ นที่ ช  า ลง เนื่ อ งจากทิ ศ ทางการ
เคลื่อนที่และทิศทางของความเร็วอยูในทิศตรงกันขามกับทิศทาง ครั้งที่ 2
ของความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงของโลกซึง่ มีทศิ พุง ลง ความเร็ว
ของกอนหินที่เคลื่อนที่ขึ้นจึงจะลดลงวินาทีละ 9.8 เมตรตอวินาที ครั้งที่ 3
และความเร็วของกอนหินจะลดลงเรือ่ ยๆ จนเปนศูนยเมือ่ เคลือ่ นที่
ขึ้นไปถึงจุดสูงสุด) จุดเริ่มตน

พิจารณาตามผลการปฏิบัติกิจกรรมจริง ขอมูลที่ไดอาจมีความคลาดเคลื่อน
ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอน

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ แรงโน ม ถ ว ง 1.4 »ระโยªน์¨ากสนามโน้มถ่วง
สนามโนมถวง และนํา้ หนัก เพือ่ ทบทวนความรู การเรียนรู้เกี่ยวกับสนามของแรงโน้มถ่วงช่วยให้เราเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ
2. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง ประโยชนจากสนาม ทั้งใกล้และไกลตัวมากขึ้น ปัจจุบันมนุษย์ใช้ประโยชน์จากสนามโน้มถ่วงทั้งในชีวิตประจ�าวันและ
โนมถวง จากหนังสือเรียน การท�างานผ่านทางอุปกรณ์หรือเครือ่ งมือบางอย่าง เช่น กระด้ง สามเกลอ หรือปัน จัน่ ตอกเสาเข็ม
อธิบายความรู อุปกรณ์ป้องกันการหลับใน เป็นต้น
1. ครูสมุ นักเรียน 2-3 คน ใหออกมาหนาชัน้ เรียน 1. กระด้ง ใช้สา� หรับฝัดเมล็ดพันธุข์ า้ วเพือ่ แยกเมล็ดทีไ่ ม่สมบูรณ์ออก ก่อนน�าเมล็ดพันธุข์ า้ ว
ไปแช่น�้าเพื่อให้งอก หรือใช้ฝัดข้าวเปลือกเพื่อแยกฝุนหรือสิ่งที่ไม่ต้องการออก หรือใช้ฝัดข้าวสาร
2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางการนําความรู เรื่อง
เพื่อแยกแกลบในข้าวสารที่ผ่านการซ้อม หรือการสีออกจากเมล็ดข้าว ส�าหรับการฝัดข้าวสารเมื่อ
สนามโนมถวงไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ฝัดกระด้งจะมีแรงส่งให้เมล็ดข้าวและแกลบลอย
3. ครูแจกใบงาน เรื่อง แรงจากสนามโนมถวง ขึ้นไปในอากาศ ผลจากน�้าหนักของเมล็ดข้1าวที่
ใหนักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก และแรงพยุงของ
ขยายความเขาใจ อากาศ ท�าให้เมล็ดข้าวตกถึงกระด้งก่อนแกลบ
1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หา เรือ่ ง สนามโนมถวง เมื่อเลื่อนกระด้งออกไปจะแยกรับเมล็ดข้าวให้
ตกในกระด้ง ขณะที่แกลบจะตกนอกกระด้ง
โดยเปด PowerPoint ใหนักเรียนศึกษาควบคู
สังเกตว่าสิง่ ทีต่ อ้ งการแยกออกไปจะเบากว่าสิง่ ที่
ไปดวย
ต้องการเก็บไว้ การใช้กระด้งฝัดเมล็ดพันธุ์ข้าว
2. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง แรง เปลือกหรือข้าวสาร จึงควรท�าบริเวณกลางแจ้ง
จากสนามโนมถวง ลงในกระดาษ A4 พรอม ภาพที่ 2.9 การใช้กระด้งฝดเมล็ดพันธุ์ข้าว ดังภาพที่ 2.9
ทั้งตกแตงใหสวยงาม ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. ปนจั่นตอกเสาเข็ม เป็นอุปกรณ์
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ส� า หรั บ ตอกเสาเข็ ม ขนาดใหญ่ ใช้ แ รงจาก
ของตนเองหนาชั้นเรียน เครื่องจักรดึงสายสลิงเพื่อยกค้อนตอกเสาเข็ม
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก (แท่งโลหะขนาดใหญ่) ขึน้ ไปแล้วปล่อยให้ตกลง
Topic Question เรื่อง แรงจากสนามโนมถวง มากระแทกหัวเสาเข็ม ดังภาพที่ 2.10 แรง
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว กระแทกหัวเสาเข็มมีค่าเพิ่มขึ้นตามความสูงที่
5. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด เครื่องจักรดึงค้อนตอกเสาเข็มของปันจั่นขึ้นไป
เรื่อง แรงจากสนามโนมถวง จากแบบฝกหัด จากหัวเสาเข็ม เนื่องจากความเร็วที่ค้อนตอก
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 เสาเข็มตกกระทบเสาเข็มจะเพิ่มขึ้นตามความ
ภาพที่ 2.10 การตอกเสาเข็มด้วยปนจั่นตอกเสาเข็ม สูงเหนือหัวเสาเข็ม และความเร็วที่สูงกว่าท�าให้
ที่มา : คลังภาพ อจท. เกิดแรงกระแทกที่มีขนาดมากกว่า

58

นักเรียนควรรู กิจกรรม 21st Century Skills


1 แรงพยุง (buoyant force) หรือแรงลอยตัว คือ แรงลัพธของแรงทีข่ องเหลว 1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน
กระทําตอวัตถุสวนที่จมอยูในของเหลว มีขนาดเทากับนํ้าหนักของของเหลวที่มี 2. สมาชิ ก แต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น สื บ ค น และศึ ก ษาข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม
ปริมาตรเทากับวัตถุสวนที่จม ถาวัตถุอยูนิ่งในนํ้า แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุจะมี เกี่ยวกับการนําหลักการของสนามโนมถวงไปประยุกตใชใน
ขนาดเทากับศูนย ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน จะไดวา ชีวิตประจําวัน จากแหลงขอมูลตาง ๆ เชน หองสมุด หรือ
อินเทอรเน็ต จากนั้นรวมกันอภิปรายผลการศึกษาภายในกลุม
แรงพยุง = นํ้าหนักของวัตถุที่ชั่งในอากาศ - นํ้าหนักวัตถุที่ชั่งในของเหลว 3. แตละกลุมจัดทํารายงานผลการศึกษา เรื่อง ประโยชนจาก
สนามโนมถวง โดยการเขียนขอมูลลงในกระดาษ A4 พรอมทั้ง
ตกแตงใหสวยงาม
4. ครูสุมตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุม
ตนเองหนาชัน้ เรียน โดยนักเรียนตองนําเสนอดวยภาษาทีเ่ ขาใจ
งาย และรูปแบบการนําเสนอมีความนาสนใจ

T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
3. เครือ่ งเตือนการหลับใน ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้าของ นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
เสียงปลุกทีเ่ ปิดปิดวงจรด้วยสวิตช์ปรอทซึง่ มีลกั ษณะเป็นกระเปาะ แรงโนมถวงและสนามโนมถวง โดยครูใหนกั เรียน
แก้ว ภายในบรรจุปรอทและมีขวั้ ไฟฟ้า ดังภาพที่ 2.11 การใช้งาน เขียนสรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ต้องน�ามาเหน็บด้านหลังใบหู ขณะศีรษะตัง้ ตรง สวิตช์ปรอทจะอยู่
ในแนวดิ่งและปรอทไม่สัมผัสขั้วไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าของเสียงปลุก ขัน้ ประเมิน
ยังไม่ครบวงจรจึงไม่มสี งิ่ ใดเกิดขึน้ ดังภาพที่ 2.12 (ก) แต่เมือ่ คน ตรวจสอบผล
ขับรถง่วงหรืออ่อนเพลีย ศีรษะจะเอนไปข้างหน้า สนามโน้มถ่วง 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
ท�าให้ปรอทไหลไปสัมผัสกับขั้วไฟฟ้าของสวิตช์ ท�าให้ครบวงจร
เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจก อ นเรี ย นของ
ไฟฟ้าจึงส่งเสียงเตือนหรือเสียงปลุกดังขึ้น ดังภาพที่ 2.12 (ข) ภาพที่ 2.11 เครื่องเตือนการหลับใน
นักเรียน
เสียงปลุกท�าให้เกิดการตื่นตัวและเสียงจะเงียบทันทีเมื่อศีรษะตั้ง ที่มา : www.endoacustica.com
ตรง โดยไม่ตอ้ งถอดเครือ่ งออกหรือปิดสวิตช์เครือ่ ง เครือ่ งป้องกันการหลับในนีเ้ หมาะกับคนขับรถ 2. ครู ต รวจสอบผลการทํ า แบบทดสอบความ
เพราะการหลับในขณะขับรถเป็นสาเหตุหลักอย่างหนึง่ ทีท่ า� ให้เกิดอุบตั ริ า้ ยแรงบนท้องถนน เครือ่ ง เขาใจกอนเรียนจาก Understanding Check
ป้องกันการหลับในนีย้ งั เหมาะส�าหรับผูท้ ตี่ อ้ งการความตืน่ ตัวขณะท�างาน เช่น เจ้าหน้าทีร่ กั ษาความ ในสมุดบันทึกประจําตัว
ปลอดภัย ผู้ควบคุมเครื่องจักร นักศึกษาขณะเรียนหรือขณะอ่านหนังสือเตรียมตัวสอบ เป็นต้น 3. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง แรง
จากสนามโนมถวง
4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
แรงจากสนามโนมถวง ในสมุดบันทึกประจําตัว
(ก) (ข) 5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง แรงจากสนาม
ภาพที่ 2.12 ลักษณะการใช้งานของเครื่องเตือนการหลับใน
ที่มา : คลังภาพ อจท. โนมถวง จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ
Topic 2 (ฟสิกส) ม.5
? Question 6. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
1. น�้าหนักของวัตถุจะผ่านจุดใดในวัตถุ และในทิศทางใด และการทํางานกลุม
2. วัตถุทมี่ มี วล 10 กิโลกรัม จะมีนา�้ หนักเท่าใดบนโลก และจะมีมวลและน�า้ หนักเท่าใดบนดวงจันทร์ 7. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
3. เหตุใดความเร่งโน้มถ่วงจึงมีค่าเปลี่ยนไป (เล็กน้อย) ตามต�าแหน่งต่าง ๆ บนพื้นผิวโลก เนือ้ หา เรือ่ ง แรงจากสนามโนมถวง ทีน่ กั เรียน
4. จงอธิบายการเปลี่ยนแปลงของความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ขึ้นและลงในแนวดิ่งในสนามโน้ม ไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจเปนราย
ถ่วงของโลก บุคคล
5. วัตถุทเี่ คลือ่ นทีข่ นึ้ ไปในแนวดิง่ ด้วยความเร็วต้น 19.6 เมตรต่อวินาที จะขึน้ ไปถึงต�าแหน่งสูงสุด
ในเวลากีว่ นิ าที และจะตกกลับมายังต�าแหน่งเริม่ ต้นในเวลากีว่ นิ าที (นับจากเริม่ เคลือ่ นที)่ โดย
มีความเร็วเท่าใดขณะตกกลับมาถึงต�าแหน่งเริ่มต้น (ไม่คิดผลจากแรงต้านอากาศ)
แรงในธรรมชาติ 59

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. นํา้ หนักของวัตถุจะผานศูนยถว งของวัตถุ โดยผานในแนวดิง่ เสมอไมวา
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง แรงจากสนาม
วัตถุจะวางตัวในแนวใดก็ตาม
โนมถวง ไดจากผังมโนทัศนท่ีนักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยายความเขาใจ โดย
2. จะมีนํ้าหนัก (10)(9.8) = 98 N บนโลก และจะมีมวล 10 kg เทาเดิม ศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
บนดวงจันทร แตจะมีนํ้าหนัก (10)(1.62) = 16.2 N บนดวงจันทร ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2 แรงในธรรมชาติ
3. เนื่องจากสัณฐานของโลกไมไดเปนทรงกลมที่สมบูรณ และเปนผล
มาจากการหมุนรอบตัวเองและการโคจรรอบดวงอาทิตย แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 4-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

3
ระดับคะแนน
2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง

4. ในชวงการเคลือ่ นทีข่ นึ้ ไปในแนวดิง่ ความเร็วของวัตถุจะลดลงวินาทีละ ลาดับที่

1
คะแนน
รายการประเมิน

ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
4 3
ระดับคุณภาพ
2 1
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น
2. ผลงานมีความ
ถูกต้องสมบูรณ์
3. ผลงานมีความคิด
เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องครบถ้วน
ผลงานแสดงออกถึง
จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น
เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น
ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ
กับจุดประสงค์
เนื้อหาสาระของผลงาน
ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด

9.8 m/s สวนในชวงการเคลื่อนที่ลง ความเร็วของวัตถุจะเพิ่มขึ้นวินาที 2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น

ละ 9.8 m/s จนมีคาสูงสุดเมื่อกระทบพื้นในแนวระดับ


รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

5. จะขึน้ ไปถึงตําแหนงสูงสุดในเวลา 19.6


............../................./................

9.8 = 2 วินาที และจะตกกลับมายัง


เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก

ตําแหนงเริ่มตนในเวลา 4 วินาที (นับจากเริ่มเคลื่อนที่) โดยมีความเร็ว


11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

19.6 เมตรตอวินาที ขณะตกกลับมาถึงตําแหนงเริ่มตน (ไมคิดผลจาก


แรงตานอากาศ)

T67
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 2. แรง¨ากสนามไฟฟ้า Prior Knowledge
2. ครูสนทนากับนักเรียน ทบทวนความรู เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแรงไฟฟ้าที่สังเกตได้ตั้งแต่สมัย áรงä¿¿‡ำกัº
แรงจากสนามโนมถวง กรีกโบราณ คือ ภายหลังการเช็ดถูแท่งอ�าพันด้วยผ้าขนสัตว์ áรงâ¹้มถ‹วง
3. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ àËม×อ¹ Ëร× อµ‹ำงกั¹
แท่งอ�าพันจะดูดวัสดุเบา ๆ ได้ ต่อมามีผู้ทดลองถูวัตถุอื่น ๆ เช่น อย‹ำงäร
เรียน กับนักเรียนวา “แรงไฟฟากับแรงโนมถวง แท่งแก้ว แท่งยาง ด้วยวัสดุตา่ ง ๆ กัน ไม่วา่ จะเป็นผ้าไหม ผ้าขน
เหมือนหรือตางกัน อยางไร” โดยเมื่อนักเรียน สัตว์ ผ้าฝ้าย หรือผ้าแพร แล้วพบว่า วัตถุนั้นดูดวัสดุเบา ๆ ได้เช่นเดียวกับแท่งอ�าพัน โดยในช่วง
ไดสืบเสาะหาความรูแลวนักเรียนจะตองตอบ แรก ๆ ทีส่ งั เกตพบไม่ทราบว่าเป็นผลจากสิง่ ใด แต่ในเวลาต่อมาทราบว่าเป็นผลจากแรงไฟฟ้าจาก
คําถามได ประจุไฟฟ้าในวัตถุ
2.1 แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า
1. แรงไฟฟ้า (electric force) เป็นแรงกระท�าระหว่างประจุไฟฟ้า ซึ่งมีทั้งที่เป็นแรงผลัก
และแรงดึงดูด (ต่างจากแรงโน้มถ่วงทีเ่ ป็นเพียงแรงดึงดูด) สอดคล้องกับการมีประจุไฟฟ้า (electric
charge) หรือเรียกสั้น ๆ ว่าประจุ (charge) มี 2 ชนิด คือ ประจุบวกและประจุลบ โดยแรงไฟฟ้า
ระหว่างประจุชนิดเดียวกันจะเป็นแรงผลัก ส่วนแรงไฟฟ้าระหว่างประจุตา่ งชนิดกันจะเป็นแรงดึงดูด
แรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าคู่หนึ่ง ๆ จากการทดลองเพื่อศึกษาความสั
1 มพันธ์ระหว่าง
ขนาดของแรงระหว่างประจุกับปริมาณประจุบนทรงกลมตัวน�าของคูลอมบ์ ประจุที่กระจายอยู่บน
ทรงกลมตัวน�ามีสภาพเป็นจุดประจุ (point charge) คูลอมบ์จงึ สรุปผลการทดลองว่า ขนาดของแรง
ระหว่างจุดประจุแปรผันตรงกับผลคูณของปริมาณประจุของจุดประจุทั้งสอง (F ∝ Q1Q2) แต่
แปรผกผันกับก�าลังสองของระยะห่างระหว่างจุดประจุทั้งสอง (F ∝ 12 ) โดยแรงที่กระท�าต่อแต่ละ
r
จุดประจุจะมีขนาดเท่ากันและทิศตรงข้ามกันเสมอ ซึ่งไม่ขึ้นกับปริมาณประจุของแต่ละจุดประจุ
เรียกผลสรุปดังกล่าวว่า กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’s law) สามารถค�านวณหาขนาดของแรง
ระหว่างจุดประจุได้จากสมการ

F คือ ขนาดของแรงระหว่างจุดประจุ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)


k คือ ค่าคงตัวของการแปรผัน มีหน่วยเป็น นิวตัน เมตร2 ต่อคูลอมบ์2
F = kQ12Q2
1
(N m2/C2) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 9 × 109 N m2/C2 หรือ k = 4πε
0
แนวตอบ Prior Knowledge r Q1 และ Q2 คือ ขนาดของจุดประจุ มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (C)
ตางกัน เพราะแรงโนมถวงเปนแรงดึงดูดที่ r คือ ระยะห่างระหว่างจุดประจุ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
กระทํ า ต อ วั ต ถุ ที่ มี ม วลในทิ ศ ของสนามโน ม ถ ว ง
ส ว นแรงไฟฟ า เป น แรงที่ ก ระทํ า ต อ อนุ ภ าคที่ มี
60
ประจุไฟฟา ซึ่งเปนไดทั้งแรงดึงดูดและแรงผลัก

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 คูลอมบ นักฟสิกสชาวฝรั่งเศส มีชื่อเต็มภาษาฝรั่งเศสวา ชารล-โอกุสแต็ง โปรตอนอนุภาคหนึง่ วางอยูใ นสนามไฟฟา 2.5 × 104 นิวตันตอ
เดอ กูลง (Charles-Augustin de Coulomb) (พ.ศ. 2279-2349) คูลอมบ คูลอมบ มีทศิ ตามแนวแกน +X จงหาแรงไฟฟาทีเ่ กิดขึน้ บนโปรตอน
ไดทาํ การทดลองวัดแรงระหวางประจุในป พ.ศ. 2328 วัดแรงไฟฟาระหวางประจุ ตัวนี้
ทัง้ สองทําใหคลู อมบเปนผูค ดิ คน กฎของคูลอมบ (Coulom’s Law) มีใจความวา (แนวตอบ เนื่องจากโปรตอนเปนอนุภาคที่มีประจุบวก
“แรงระหวางประจุไฟฟามีคาแปรผันตามผลคูณของประจุไฟฟาทั้งสองและ จากสมการ E = qF จะไดวา
แปรผกผันกับระยะทางระหวางประจุไฟฟาทั้งสองยกกําลังสอง” ขนาดของแรงไฟฟาที่เกิดขึ้น F = qE
F = (1.6 × 10-19)(2.5 × 104)
สื่อ Digital F = 4 × 10-15 N
ดังนั้น แรงไฟฟาที่เกิดขึ้นมีขนาดเทากับ 4 × 104 นิวตัน มีทิศตาม
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง สนามไฟฟา แนวแกน +X)

สนามไฟฟา
T68 www.aksorn.com/interactive3D/RKB27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
วัตถุทุกชนิดประกอบด้วยอะตอม และภายในอะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 1. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง แรง
(elementary particle) 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ไฟฟา จากหนังสือเรียน
โปรตอน (proton) เป็นอนุภาคย่อยของอะตอม มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก นิวตรอน (neutron) 2. ครูใหนักเรียนสรุปแนวคิด (concept) ที่ได
เป็นอนุภาคย่อยของอะตอมอีกตัวหนึ่งที่ไม่มีประจุไฟฟ้า (เป็นกลางทางไฟฟ้า) และอิเล็กตรอน จากการสืบเสาะหาความรู เรื่อง แรงไฟฟา
(electron) เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ โดยโปรตอนซึ่งมีประจุบวกกับนิวตรอนที่ไม่มีประจุ พรอมทั้งสมการที่ใชในการคํานวณหาขนาด
รวมกันอยูใ่ นนิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบจะเคลือ่ นทีไ่ ปรอบ ๆ นิวเคลียส และในสภาวะ ของแรงระหวางจุดประจุ ลงในสมุดบันทึก
ปกติภายในอะตอมจะมีโปรตอนและอิเล็กตรอนจ�านวนเท่ากัน ปริมาณประจุสุทธิในแต่ละอะตอม ประจําตัว
จึงเป็นศูนย์ ส่งผลให้วัตถุในสภาวะปกติมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า เพราะปริมาณประจุบวกและ
ประจุลบในวัตถุมีค่าเท่ากัน
ตารางที่ 2.1 : การเปรียบเทียบความแตกต่างของอนุภาคมูลฐานของอะตอม
อนุภาค โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
สัญลักษณ์ p หรือ p+ n หรือ n0 e หรือ e-
มวล (กิโลกรัม) 1.673 × 10-27 1.675 × 10-27 9.109 × 10-31
ประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์) 1.602 × 10-19 0 1.602 × 10-19
ชนิดประจุไฟฟ้า +1 0 -1
วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะเปลี่ยนไปเป็นวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเมื่อได้รับหรือสูญเสีย
อิเล็กตรอน วัตถุทสี่ ญู เสียอิเล็กตรอนจะเปลีย่ นไปเป็นวัตถุทมี่ ปี ระจุบวก ส่วนวัตถุทไี่ ด้รบั อิเล็กตรอน
จะเปลี่ยนไปเป็นวัตถุที่มีประจุลบ โดยแรงไฟฟ้าระหว่างวัตถุที่มีประจุเป็นเช่นเดียวกับแรงไฟฟ้า
ระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า กล่าวคือ วัตถุที่มีประจุเหมือนกันจะส่งแรงผลักกระท�าต่อกัน
ส่วนวัตถุที่มีประจุต่างกันจะส่งแรงดึงดูดกระท�าต่อกัน
2. สนามไฟฟ้า (electric field) เมือ่ พิจารณาบริเวณรอบ ๆ วัตถุทมี่ ปี ระจุไฟฟ้าจะมีสนาม
ไฟฟ้า (E) แผ่กระจายในบริเวณรอบประจุ เช่น สนามไฟฟ้าของประจุบวกและประจุลบ ดังภาพที่
2.13 ซึ่งตรวจสอบได้โดยน�าประจุทดสอบขนาด +q (จุดประจุบวกที่มีปริมาณประจุน้อยมาก) ไป
วางทีต่ า� แหน่งต่าง ๆ โดยรอบวัตถุทมี่ ปี ระจุ จากการพิจารณาทิศของแรงทีก่ ระท�าต่อประจุทดสอบที่
ต�าแหน่งต่าง ๆ จะท�าให้ได้เส้นสนามไฟฟ้า (electric field lines) ซึ่งสนามไฟฟ้าที่จุดนั้น ๆ เท่ากับ
แรงที่กระท�าต่อประจุทดสอบขนาดหนึ่งหน่วยคูลอมบ์ที่วางอยู่ ณ ต�าแหน่งนั้น (E = +Fq ) จากกฎ
ของคูลอมบ์สามารถหาสนามไฟฟ้า ณ ต�าแหน่งดังกล่าวได้ จากสมการ
E = kQ2
r
แรงในธรรมชาติ 61

ขอสอบเนน การคิด
ลูกพิท 2 ลูก แตละลูกมีประจุ +1 ไมโครคูลอมบ วางอยูหางกันเปนระยะ 3 เซนติเมตร แรงไฟฟาและสนามไฟฟาที่เกิดขึ้นบนลูกพิท
มีขนาดเทากับขอใด
kQ1Q2
1. 1 นิวตัน และ 1 นิวตันตอคูลอมบ จากสมการ F =
r2 9
2. 0.001 นิวตัน และ 1 นิวตันตอคูลอมบ -6
F = (9 × 10 )(1 × 10 -2)(1
-6
× 10 )
2
3. 0.001 นิวตัน และ 1,000 นิวตันตอคูลอมบ (3 × 10 )
-3
6
4. 10 นิวตัน และ 10 × 10 นิวตันตอคูลอมบ F = 9 × 10
= 10 N
6
9 × 10-4
5. 0.01 นิวตัน และ 10 × 10 นิวตันตอคูลอมบ และจากสมการ E = kQ2
(วิเคราะหคําตอบ จากโจทย สามารถวาดภาพได ดังนี้ r 9 -6
E = (9 × 10 )(1 × 10 )
-2 2
3 cm (3 × 10 )
3
E = 9 × 10-4 = 10 × 106 N/C
9 × 10
จะไดวา แรงไฟฟาและสนามไฟฟาทีเ่ กิดขึน้ บนลูกพิทมีขนาด
+1 μµ C +1 μ
µ C เทากับ 10 นิวตัน และ 10 × 106 นิวตันตอคูลอมบ ตามลําดับ
ดังนั้น ตอบขอ 4.)
T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ครู นํ า นั ก เรี ย นอภิ ป รายเพื่ อ แสดงตาราง
E
เปรียบเทียบความแตกตางของอนุภาคมูลฐาน
ของอะตอม จากนั้ น ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมา E
หน า ชั้ น เรี ย นแล ว เติ ม ข อ มู ล ลงในตารางให E
ถูกตอง E
4. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง สนาม (ก) ประจุบวก (โปรตอน) (ข) ประจุลบ (อิเล็กตรอน)
ไฟฟา จากหนังสือเรียน พรอมทัง้ จดบันทึกสรุป ภาพที่ 2.13 สนามไฟฟาของประจุไฟฟา
ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว ที่มา : คลังภาพ อจท.
5. ครูแจกใบงาน เรื่อง แรงจากสนามไฟฟา ให
จากภาพที่ 2.13 แสดงใหเห็นเสนสนามไฟฟาของจุดประจุ (อนุภาคที่มีประจุไฟฟาหรือ
นักเรียนศึกษา แลวรวบรวมสงครูทายชั่วโมง
วัตถุทมี่ ปี ระจุ ซึง่ มีขนาดเล็ก เชน ทรงกลมตัวนําเล็ก ๆ) สังเกตวาเสนสนามไฟฟาของจุดประจุบวก
เปนเสนตรงที่มีทิศพุงออกตามแนวรัศมีของวงกลมที่มีจุดประจุบวกเปนศูนยกลาง สวนเสน
สนามไฟฟาของจุดประจุลบเปนเสนตรงที่มีทิศพุงเขาตามแนวรัศมีของวงกลมที่มีจุดประจุลบเปน
ศูนยกลาง เสนสนามไฟฟามีลกั ษณะตางกันตามลักษณะของวัตถุมปี ระจุทเี่ ปนตนกําเนิด เชน วัตถุ
ที่มีประจุตางชนิดกันอยูใกลกันเสนสนามไฟฟารวมของประจุทั้งสองจะเปน ดังภาพที่ 2.14 (ก)
สวนวัตถุที่มีประจุชนิดเดียวกัน เสนสนามไฟฟาจะเปน ดังภาพที่ 2.14 (ข)

จุดสะเทิน

(ก) ประจุตางชนิดกัน (ข) ประจุชนิดเดียวกัน


ภาพที่ 2.14 เสนสนามไฟฟาของสองประจุ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากภาพที่ 2.14 เสนสนามไฟฟาของสองจุดประจุที่มีปริมาณประจุเทากัน วางอยูใกล
กัน เสนสนามไฟฟาของสองจุดประจุจะเปนเสนโคง โดยเสนสนามไฟฟาแตละเสนจะพุงออกจาก
จุดประจุบวกและโคงเขาหาจุดประจุลบที่อยูใกล ๆ ในกรณีที่ไมมีจุดประจุลบอยูในบริเวณนั้น จาก
ภาพที่ 2.14 (ก) จะสังเกตพบการลูเขาหากันของเสนสนามไฟฟาซึ่งแสดงใหเห็นถึงธรรมชาติของ
แรงดึงดูดระหวางประจุตา งชนิดกัน สวนภาพที่ 2.14 (ข) จะสังเกตพบการเบนออกจากกันของเสน
สนามไฟฟาซึ่งแสดงใหเห็นถึงธรรมชาติของแรงผลักระหวางประจุชนิดเดียวกัน

62

ขอสอบเนน การคิด
จากภาพ ที่จุด A ขนาดของสนามไฟฟามีคาเทาใด
E1 (วิเคราะหคําตอบ จากสมการ E = kQ2
Eลัพธ
r
A เนื่องจากE1 = E2
9 -6
E2 จะไดวา E1 = E2 = (9 × 10 )(62 × 10 )
3
3
E1 = E2 = 54 × 10
9
E1 = E2 = 6 × 103 N/C
จากภาพโจทย สามารถหาสนามไฟฟาลัพธไดจากสมการ
Q1 = +6 μC + 60 ํ 60 ํ - Q = -6 μC
3m 2 Eลัพธ = E1 cos 60 ํ + E2 cos 60 ํ
1. 2 × 103 นิวตันตอคูลอมบ Eลัพธ = 2E1 cos 60 ํ
2. 3 × 106 นิวตันตอคูลอมบ Eลัพธ = (2)(6 × 103)( 12 )
3. 6 × 103 นิวตันตอคูลอมบ Eลัพธ = 6 × 103 N/C
4. 9 × 106 นิวตันตอคูลอมบ จะไดวา สนามไฟฟาที่จุด A มีขนาดเทากับ 6 × 103 นิวตันตอคูลอมบ
5. 15 × 103 นิวตันตอคูลอมบ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
สังเกตว่าเส้นสนามไฟฟ้าจะไม่ตัดกันที่จุดหนึ่ง ๆ ในสนามไฟฟ้าจึงมีเส้นแรงไฟฟ้าผ่าน 1. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นให
เพียงเส้นเดียว จากภาพที่ 2.14 (ข) จะพบว่า ไม่มเี ส้นแรงไฟฟ้าผ่านกึง่ กลางระหว่างจุดประจุทงั้ สอง อธิบายคําตอบที่นักเรียนไดทําลงไปในใบงาน
(ซึ่งมีประจุเหมือนกันและมีปริมาณประจุเท่ากัน) แสดงว่า กึ่งกลางระหว่างจุดนั้นไม่มีสนามไฟฟ้า เรื่อง แรงจากสนามไฟฟา
หรือสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ (E = 0) เรียกว่า จุดสะเทิน (neutral point) ในสนามไฟฟ้า 2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ แรง
ในความเป็นจริงแล้ว เส้นสนามไฟฟ้ามีอยูจ่ ริงแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่แสดงให้เห็น ไฟฟาและสนามไฟฟา โดยครูใหนกั เรียนศึกษา
ได้จากการทดลอง โดยพิจารณาได้จากการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กที่ลอยอยู่ในน�้ามันที่มี จากหนังสือเรียนควบคูไปกับการที่ครูอธิบาย
ขั้วไฟฟ้าซึ่งต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสตรงโวลต์สูงจุ่มอยู่ เช่น เส้นสนามไฟฟ้าของสนามไฟฟ้า เพื่อใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาสวนนั้นมาก
จากจุดประจุบวกและจุดประจุลบที่มีปริมาณประจุเท่ากัน ดังภาพที่ 2.15 (ก) และเส้นสนามไฟฟ้า ยิ่งขึ้น
ของสนามไฟฟ้าจากประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน ปริมาณประจุเท่ากัน จะที่กระจายอย่างสม�่าเสมอ
บนแผ่นตัวน�าสองแผ่นที่วางขนานกัน ดังภาพที่ 2.15 (ข)
บริเวณที่มีเส้นสนามไฟฟ้าหนาแน่นมาก (เส้นสนามไฟฟ้าอยู่ชิดกัน) ขนาดของสนาม
ไฟฟ้าจะมีค่ามากกว่าบริเวณที่มีเส้นสนามไฟฟ้าหนาแน่นน้อย (เส้นสนามไฟฟ้าอยู่ห่างกัน) จาก
ลักษณะของเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุ จุดประจุสองจุดประจุ และประจุทกี่ ระจายอย่างสม�า่ เสมอ
เป็นแนวตรง จึงพิจารณาได้ว่าขนาดของสนามไฟฟ้าบริเวณใกล้ ๆ ต้นก�าเนิดสนามไฟฟ้าเหล่านี้
มีคา่ มากกว่าขนาดของสนามไฟฟ้าบริเวณไกลออกไป สนามไฟฟ้าของต้นก�าเนิดสนามไฟฟ้าเหล่านี้
จึงเป็นสนามไฟฟ้าไม่สม�่าเสมอ ขณะที่สนามไฟฟ้าบริเวณระหว่างแผ่นตัวน�าขนานสองแผ่นที่
มีประจุต่างชนิดกัน ปริมาณประจุเท่ากัน จะกระจายอย่างสม�่าเสมอเป็นสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอ
เนื่องจากเส้นสนามไฟฟ้าขนานกัน และทุกบริเวณมีเส้นสนามไฟฟ้าหนาแน่นเท่ากัน

(ก) (ข)
ภาพที่ 2.15 เส้นสนามไฟฟ้าที่ได้จากการทดลอง
ที่มา : http://tsgphysics.mit.edu

แรงในธรรมชาติ 63

ขอสอบเนน การคิด
ทรงกลมที่มีประจุไฟฟา 2 อัน ซึ่งมีประจุบวกและมีขนาดเทากันทั้งคู วางหางกันระยะทางคาหนึ่ง เสนสนามไฟฟาที่เกิดขึ้นเปนไป
ตามขอใด

1. 2. 3.

4. 5.

(วิเคราะหคําตอบ เสนสนามไฟฟาจะมีทิศพุงออกจากประจุบวก และพุงเขาสูประจุลบเสมอ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูอภิปรายกับนักเรียนเกีย่ วกับสนามไฟฟาของ 2.2 ¼ลของสนามไฟฟ้าต่ออนุÀาคที่มี»ระ¨ุไฟฟ้า
อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟา จากนัน้ ครูตงั้ คําถามกับ สนามไฟฟ้าจะส่งแรงไฟฟ้ากระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าซึ่งอยู่ในสนามไฟฟ้า โดยแรง
นักเรียนวา “ถาอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟาเคลือ่ นที่ ไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้าที่กระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุบวกจะมีทิศเดียวกับทิศของสนามไฟฟ้า ส่วน
ผานบริเวณที่มีสนามไฟฟาสมํ่าเสมอจะเปน แรงไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้าที่กระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุลบจะมีทิศตรงข้ามกับทิศของสนามไฟฟ้า
อยางไร” โดยเปดโอกาสใหนกั เรียนแสดงความ แรงไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้าจึงท�าให้อนุภาคทีม่ ปี ระจุเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร่ง โดยความเร่งของอนุภาค
คิดเห็นอยางอิสระ และยังไมเฉลยวาคําตอบ ทีม่ ปี ระจุบวกจะมีทศิ เดียวกับสนามไฟฟ้า ส่วนความเร่งของอนุภาคทีม่ ปี ระจุลบจะมีทศิ ตรงข้ามกับ
ของนักเรียนคนไหนถูกหรือผิด สนามไฟฟ้า
2. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง ผลของ ถ้าอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งในสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอที่มีทิศพุ่งลงตาม
สนามไฟฟาตออนุภาคที่มีประจุไฟฟา จาก แนวดิ่ง อนุภาคที่มีประจุบวกจะเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงตัวลงไปในแนวดิ่ง แต่อนุภาค
หนังสือเรียน ที่มีประจุลบจะเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงตัวขึ้นไปในแนวดิ่ง ดังภาพที่ 2.16 (ก) แต่ถ้า
3. ครูใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับเรื่องที่กําลัง อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วต้นในแนวระดับเข้าไปในสนามไฟฟ้าสม�า่ เสมอทีม่ ที ศิ
ศึกษา โดยจดบันทึกลงในสมุดบันทึกประจําตัว พุง่ ลงตามแนวดิง่ เส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคจะเป็นโค้งพาราโบลา โดยเป็นโค้งพาราโบลาคว�า่
4. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน ถ้าอนุภาคที่มีประจุบวก และเป็นโค้งพาราโบลาหงายถ้าเป็นอนุภาคที่มีประจุลบ ซึ่งในทันทีที่พ้น
วา “ถาใหอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉาก จากสนามไฟฟ้าอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ต่อไปในแนวตรง ดังภาพที่ 2.16 (ข)
กับสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ แนวการเคลื่อนที่
ของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนไปหรือไม อยางไร”
โดยครูมอบหมายใหนักเรียนเขียนคําตอบของ
ตนเองลงในสมุดบันทึกประจําตัว
5. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง ประโยชนจากสนาม E E
ไฟฟา จากหนังสือเรียน (ก) เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง (ข) เคลื่อนที่เข้าไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
ภาพที่ 2.16 เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มี
ประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง

ถ้าให้อิเล็กตรอน
จากภาพที่ 2.16 จะสังเกตได้ว่า การเคลื่อนที่ของอนุภาค เคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับ
ที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า บวกในสนามไฟฟ้ า สม�่ า เสมอในกรณี ทั้ ง สอง สนามไฟฟ้าสม�่าเสมอ แนว
แนวตอบ H.O.T.S. คล้ายกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง (ของโลก) โดย การเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอน
อิเล็กตรอนเปนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบ เมื่อ กรณีแรกคล้ายกับการตกแบบเสรี ส่วนกรณีที่สองคล้ายกับการ จะเปลีย่ นไปหรือไม่ อย่างไร
เคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เมื่อความเร็วต้นอยู่ในแนวระดับ
แนวการเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนจะเบนออกเปนเสน
64
โคงพาราโบลา ซึง่ ทิศทางการเบนออกนีจ้ ะสวนทาง
กับทิศทางของสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ

ขอสอบเนน การคิด
เมื่อใหอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผานบริเวณที่มีสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ ดังภาพ แนวการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเปนอยางไร

อิเล็กตรอน สนามไฟฟา
-

1. 2. 3. 4. 5.
(วิเคราะหคําตอบ จากโจทย สนามไฟฟามีทิศพุงขึ้นตามแนวดิ่ง อิเล็กตรอนเปนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบ เนื่องจาก
อนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบเคลื่อนที่ผานสนามไฟฟาสมํ่าเสมอจะเกิดแรงไฟฟากระทําในทิศสวนทางกับสนามไฟฟา
นั่นคือ แรงไฟฟาจึงกระทําตออิเล็กตรอนในทิศพุงลงตามแนวดิ่ง อิเล็กตรอนจึงมีแนวการเคลื่อนที่โคงลง ดังภาพ

อิเล็กตรอน สนามไฟฟา
ดังนั้น ตอบขอ 4.) -

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2.3 »ระโยªน์¨ากสนามไฟฟ้า 1. นักเรียนเก็บรวบรวมสมุดบันทึกประจําตัวสงครู
การเรียนรูเ้ กีย่ วกับแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าช่วยให้เราเข้าใจปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติ เพื่อตรวจคําตอบคําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ทัง้ ใกล้และไกลตัวมากขึน้ ซึง่ ในปัจจุบนั มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าทัง้ ในชีวติ 2. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นให
ประจ�าวันและการท�างาน อธิบายการนําความรูเกี่ยวกับสนามไฟฟาไป
1. เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นอุปกรณ์ส�าหรับถ่ายส�าเนาสิ่งพิมพ์ ประกอบด้วยแผ่นฟิล์มที่ ประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน จากสิง่ ทีไ่ ดศกึ ษา
ฉาบด้วยตัวน�าซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ คือ จะเป็นตัวน�าเมื่อโดนแสง และเป็นฉนวนเมื่อไม่โดนแสง มาแลว
โดยเครื่องถ่ายเอกสารมีส่วนประกอบและหลักการท�างาน ดังนี้ 3. ครูตรวจคําตอบคําถามทาทายการคิดขั้นสูง
แลวคืนสมุดบันทึกประจําตัวใหนักเรียน
ส่วน»ระกอºและหลักการท�างานของเครื่องถ่ายเอกสาร ขยายความเขาใจ
หลักการทํางาน
• เมื่อเครื่องเริ่มท�างาน 1. ครูนาํ อภิปรายขยายความเขาใจนักเรียน โดยใช
ส่วนทําความร้อน แผ่นฟิล์มจะมีประจุบวก PowerPoint เรื่อง แรงจากสนามไฟฟา ให
ให้ความร้อนแก่ผงหมึกท�าให้ผงหมึก • หลอดไฟในเครือ่ งถ่าย
ละลายติดแน่นบนกระดาษ นักเรียนศึกษาควบคูไปดวย
เอกสารส่องแสงผ่านสิง่ พิมพ์
ให้ หั ก เหผ่ า นเลนส์ ไ ปตก 2. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง แรง
เอกสารต้นฉบับ กระทบกับแผ่นฟิลม์ บริเวณ จากสนามไฟฟา ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้ง
สีขาวบนสิง่ พิมพ์แสงสามารถ ตกแตงใหสวยงาม
ทะลุมากระทบแผ่นฟิล์ม ไม่
เกิ ด ประจุ บ วกบริ เ วณที่ ถู ก
แสง ส่วนบริเวณที่เป็นลาย
เส้นสีด�าไม่มีแสงตกกระทบ
กระดาษ กับแผ่นฟิล์ม เกิดประจุบวก
ท�าส�าเนา ส�าเนาออก บริเวณที่ไม่ถูกแสง
• พ่ น ผงหมึ ก ซึ่ ง มี ป ระจุ ล บ
กระจกเงา ลูกกลิ้ง ลงบนฟิล์ม ผงหมึกติดกับ
ท�าหน้าทีโ่ ฟกัสภาพของ มีลักษณะเป็นทรงกระบอก แผ่นฟิล์มเฉพาะบริเวณที่มี
เอกสารต้นฉบับลงบน อะลูมิเนียม เคลือบผิวด้วย ประจุบวก ท�าให้ได้ลายเส้น
ลูกกลิ้งรับภาพ เซเลเนียม ท�าหน้าที่สร้าง เหมือนต้นฉบับ จากนั้นกด
ภาพและถ่ายทอดภาพไปยัง แผ่นกระดาษที่มีประจุบวก
กระดาษ
ลงบนฟิลม์ ทีม่ ผี งหมึก จะได้
ภาพที่ 2.17 ส่วนประกอบและหลักการท�างานของเครื่องถ่ายเอกสาร ภาพส�าเนาทีเ่ หมือนต้นฉบับ
ที่มา : คลังภาพ อจท. และน�าไปอบความร้อนเพื่อ
ให้ผงหมึกติดแน่น ท�าให้ได้
ส�าเนาที่ชัดเจนและถาวร
แรงในธรรมชาติ 65

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เครื่องฟอกอากาศใชหลักการของแรงชนิดใด และมีหลักการ ในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง ประโยชนจากสนามไฟฟา ครูอาจให
ทํางานอยางไร นักเรียนจับกลุมอยางอิสระ กลุมละ 3-4 คน แลวใหแตละกลุมรวมกันสืบคน
(แนวตอบ ใชหลักการของแรงระหวางประจุและสนามไฟฟา และศึกษาหาขอมูลเกีย่ วกับเครือ่ งมือหรืออุปกรณทนี่ าํ ความรูเ รือ่ งสนามไฟฟามา
การทํางานของเครือ่ งฟอกอากาศเริม่ จากมีการดูดอากาศ (โมเลกุล ประยุกตใช และใหรว มกันเขียนสรุปอธิบายหลักการทํางานของอุปกรณนนั้ ในรูป
อากาศรวมกับอนุภาคของฝุน) ผานตะแกรงที่มีประจุไฟฟา ทําให แบบอินโฟกราฟก (infographic) ที่สวยงามและสื่อสารขอมูลไดครบถวน โดย
ฝุนที่เคลื่อนที่ผานตะแกรงมีประจุไฟฟา เมื่อฝุนเคลื่อนที่ผาน ครูอาจใหนกั เรียนนําอินโฟกราฟกทีแ่ ตละกลุม ไดจดั ทําติดทีฝ่ าหนังรอบหองเรียน
เขาไปในสนามไฟฟา ฝุนเหลานั้นจะมีแรงไฟฟากระทําสงผลให แลวใหนักเรียนเดินชมผลงานของกลุมตางๆ และใหสอบถามแลกเปลี่ยนขอมูล
ทิศทางการเคลือ่ นทีเ่ บนออกไป เหลือเพียงอากาศทีไ่ รฝนุ เคลือ่ นที่ กัน โดยที่ครูคอยสังเกตการณและใหขอมูลที่ถูกตองเพิ่มเติมแกนักเรียน
ออกจากเครื่องฟอกอากาศ)

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน 2. เครือ่ งพ่นสี เป็นอุปกรณ์สา� หรับพ่นผงสี เพือ่ ให้สยี ดึ ติดชิน้ งานได้ดกี ว่าการพ่นแบบปกติ
ของตนเองหนาชั้นเรียน เหมาะส�าหรับงานทีต่ อ้ งใช้สปี ริมาณมาก และเป็นผลดีตอ่ สิง่ แวดล้อมเนือ่ งจากมีสารเคมีตกค้างใน
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก สิง่ แวดล้อมน้อย โดยหลักการพ่นสีดว้ ยเครือ่ งพ่นสีระบบไฟฟ้าสถิตนีส้ ามารถน�าไปใช้ในการเคลือบ
Topic Question เรื่อง แรงจากสนามไฟฟา ผิวชิ้นงานด้วยผงจากวัสดุอื่น ๆ เช่น การเคลือบผิวด้วยพลาสติก การเคลือบผิวด้วยไฟเบอร์ (การ
ลงในสมุดบันทึกประจําตัว ท�าพรมกระดาษปิดผนัง การท�าลวดลายบนเสื้อผ้า) เป็นต้น โดยเครื่องพ่นสีมีส่วนประกอบและ
5. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด หลักการท�างาน ดังนี้
เรื่อง แรงจากสนามไฟฟา จากแบบฝกหัด
ส่วน»ระกอºและหลักการท�างานของเครื่อง¾่นสี หลักการทํางาน
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 • ท�าให้ผงสีกลายเป็นอนุภาคที่
มีประจุไฟฟ้า
ขัน้ สรุป อิเล็กโทรด • เมื่ อ ผงสี เ ป็ น อนุ ภ าคที่ มี
ตรวจสอบผล เป็นขั้วไฟฟ้าที่ให้ประจุลบแก่ละอองสี ประจุไฟฟ้าแล้ว ขณะถูกพ่น
ออกจากเครื่องพ่น ผงสีจะ
นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกับแรง เกาะติดชิน้ งานได้ดยี งิ่ ขึน้
ไฟฟาและสนามไฟฟา เพื่อใหนักเรียนทุกคนไดมี • อากาศและสีในสภาพของ
ความเขาใจในเนื้อหาที่ไดศึกษามาแลวไปในทาง เหลวบรรจบกันที่ปลายหัว
อากาศ ฉีด ความดันอากาศท�าให้สี
เดียวกัน โดยครูใหนักเรียนเขียนสรุปความรูลงใน + กระจายออกเป็นละอองสี
สมุดบันทึกประจําตัว ของเหลว - • ละอองสีได้รับประจุลบเมื่อ
เคลื่ อ นผ่ า นอิ เ ล็ ก โทรดที่
ปลายหัวฉีดก่อนพุง่ ออกจาก
ขัน้ ประเมิน ชิ้นงาน หัวฉีดไปยังชิน้ งาน
• แรงดึงดูดระหว่างประจุต่าง
ตรวจสอบผล เมื่อต่อกับความต่างศักย์โวลต์สูงจะมี
ประจุตรงข้ามกับละอองสี (ประจุบวก) ชนิดกันของละอองสีกับชิ้น
1. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง แรงจากสนาม งานเป็นกลางจะดึงดูดละออง
ไฟฟา จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ สีให้เกาะติดชิน้ งาน
• หลังการพ่นสีปล่อยให้สแี ห้ง
2 (ฟสิกส) ม.5 ข้อเสียของเครื่องพ่นสี ชิ้นงานที่เป็นรูปเหลี่ยมบริเวณขอบ โดยการผึง่ ลมหรืออบสี เพือ่
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ และมุมของชิ้นงานจะมีสีเคลือบหนากว่าบริเวณอื่นซึ่งแก้ไขได้โดย ให้ผงสีเคลือบติดแน่นกับผิว
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล การปิดระบบให้ประจุไฟฟ้าแก่ละอองสีเมือ่ พ่นสีไปทีข่ อบหรือมุมของ ชิน้ งาน
และการทํางานกลุม ชิ้นงานและมีข้อควรระวัง คือ ถ้าชิ้นงานไม่ได้ต่อลงดิน ละอองสีที่มี • ถ้าชิน้ งานเป็นโลหะ ท�าให้ชนิ้
ประจุจะพุ่งเข้าสิ่งที่ต่อลงดิน (มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับดินหรือเป็นกลาง) งานมีประจุตรงข้ามกับผงสี
ที่อยู่ใกล้ที่สุดแทน โดยต่อชิ้นงานเข้ากับความ
ต่างศักย์สูง ๆ จะท�าให้ผงสี
ภาพที่ 2.18 ส่วนประกอบและหลักการท�างานของเครื่องพ่นสี เคลือบผิวชิน้ งานได้ดยี งิ่ ขึน้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
66

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรือ่ ง แรงจากสนามไฟฟา หยดนํ้ามันหยดหนึ่งถูกทําใหมีประจุไฟฟา จึงสามารถลอยนิ่ง
ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ อยูไดโดยไมตกลงสูพื้นในบริเวณที่มีสนามไฟฟาในทิศลงตาม
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา แนวดิง่ จงหาวาหยดนํา้ มันมีประจุไฟฟาชนิดใด และถากลับทิศของ
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2 แรงในธรรมชาติ สนามไฟฟาเปนทิศขึ้นตามแนวดิ่งจะสงผลอยางไรตอหยดนํ้ามัน
1. ประจุลบ เคลื่อนที่ลง 2. ประจุลบ เคลื่อนที่ขึ้น
3. ประจุบวก เคลื่อนที่ลง 4. ประจุบวก เคลื่อนที่ขึ้น
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 4-5 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง

5. ประจุอะไรก็ได เคลื่อนที่ขึ้น
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

(วิเคราะหคําตอบ หากสนามไฟฟามีทิศลงตามแนวดิ่งประจุบวก
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี

จะเกิดแรงไฟฟาในทิศลง นั่นคือ หยดนํ้ามันจึงตองเปนประจุลบ


ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
14–16
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
เพื่อใหเกิดแรงไฟฟาในทิศขึ้นตามแนวดิ่ง และหากกลับทิศของ
สนามไฟฟาใหอยูในทิศขึ้นตามแนวดิ่ง จะทําใหแรงไฟฟาที่เกิด
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

ขึ้นกับหยดนํ้ามันเปลี่ยนเปนทิศลงตามแนวดิ่ง ทําใหหยดนํ้ามัน
เคลื่อนที่ลงสูพื้น ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
3. การประยุกต์ใช้ไฟฟ้าสถิตกับการทดลองหาประจุไฟฟ้า การทดลองหยดน�า้ มันของ 3. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
มิลลิแกน (Millikan’s oil drop experiment) เพือ่ หาประจุของอิเล็กตรอนโดยใช้หลักสมดุลของแรง เนื้อหา เรื่อง แรงจากสนามไฟฟา ที่นักเรียน
เนื่องจากสนามไฟฟ้าเท่ากับแรงจากสนามโน้มถ่วง ไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจเปนราย
1 2 3 บุคคล
4. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง แรง
จากสนามไฟฟา
qE 5. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
E E E แรงจากสนามไฟฟา ในสมุดบันทึกประจําตัว
mg

มิ ล ลิ แ กนพ่ น น�้ า มั น ออกจาก • หยดน�้ามันเคลื่อนที่ในสนาม • ปรั บ ความต่ า งศั ก ย์ ร ะหว่ า ง


ปากกระบอกฉีดเป็นฝอย ท�าให้ ไฟฟ้าภายในแผ่นโลหะคูข่ นาน แผ่นโลหะ ท�าให้หยดน�้ามัน
หยดน�้ามันเกิดประจุขึ้นจากการ (แผ่นด้านบนมีศักย์ไฟฟ้าบวก เคลื่อนที่ช้าลงจนมีความเร็ว
เสียดสีกับปากกระบอกฉีด ซึ่งมี แผ่นด้านล่างมีศักย์ไฟฟ้าลบ) คงตัวหรือหยุดนิ่ง
ทั้งประจุบวกและประจุลบ • แรงเนือ่ งจากสนามไฟฟ้าท�าให้ • หยดน�้ามันนี้หยุดนิ่งได้
หยดน�้ามันขนาดต่าง ๆ ที่มี เนื่องจากสมดุลของแรงจาก
ประจุลบมีการเคลื่อนที่แบบ สนามไฟฟ้า และแรงจากสนาม
ช้า ๆ โดยบางหยดหยุดนิ่ง โน้มถ่วง
• แรงเนื่ อ งจากสนามไฟฟ้ า
ท�าให้หยดน�้ามันที่มีประจุบวก
เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง
ภาพที่ 2.19 การทดลองหยดน�้ามันของมิลลิแกน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Topic
? Question
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. การท�าให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นวัตถุที่มีประจุ โดยการน�าวัตถุที่มีประจุไป
สัมผัสวัตถุท่ีเป็นกลางทางไฟฟ้ากับการเหนี่ยวน�าวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าด้วยวัตถุที่มีประจุ
มีผลลัพธ์ที่เหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
2. เส้นสนามไฟฟ้าสัมพันธ์กบั ขนาดและทิศทางของสนามไฟฟ้าอย่างไร และเส้นสนามไฟฟ้าของ
สนามไฟฟ้าไม่สม�่าเสมอกับเส้นสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร
3. การท�างานของเครื่องก�าจัดฝุนแบบใช้ไฟฟ้าสถิต และจอแสดงผลของเครื่องออสซิลโลสโคป
เป็นการใช้ประโยชน์จากความรู้เกี่ยวกับแรงไฟฟ้าหรือสนามไฟฟ้าเรื่องใด
แรงในธรรมชาติ 67

แนวตอบ Topic Question


1. ตางกัน เนื่องจากการทําใหวัตถุที่เปนกลางทางไฟฟากลายเปนวัตถุที่มีประจุโดยการนําวัตถุที่มีประจุไปสัมผัส วัตถุที่มีประจุจะสูญเสียประจุไปสวนหนึ่ง
(ปริมาณประจุลดลง) และวัตถุที่เปนกลางจะกลายเปนวัตถุที่มีประจุซึ่งมีประจุชนิดเดียวกับประจุของวัตถุที่มีประจุที่นํามาสัมผัส สวนการทําใหวัตถุที่เปน
กลางกลายเปนวัตถุทมี่ ปี ระจุโดยการเหนีย่ วนํา ปริมาณประจุของวัตถุทมี่ ปี ระจุจะไมเปลีย่ นแปลง และวัตถุทเี่ ปนกลางจะกลายเปนวัตถุทมี่ ปี ระจุซงึ่ มีประจุ
ชนิดตรงขามกับประจุของวัตถุที่มีประจุที่นํามาเหนี่ยวนํา (นําเขามาใกลวัตถุเปนกลาง)
2. ขนาดของสนามไฟฟาสัมพันธกับความหนาแนนของเสนสนามไฟฟา กลาวคือ สนามไฟฟาบริเวณที่มีเสนสนามไฟฟาอยูชิดกันมีคามากกวาสนามไฟฟา
บริเวณที่มีเสนสนามไฟฟาอยูหางกันโดยทิศทางของสนามไฟฟาที่จุดใดจะอยูในแนวเสนสัมผัสกับเสนสนามไฟฟาที่จุดนั้น สวนความแตกตางระหวางเสน
สนามไฟฟาของสนามไฟฟาไมสมํา่ เสมอกับเสนสนามไฟฟาสมํา่ เสมอ คือ เสนสนามไฟฟาของสนามไฟฟาไมสมํา่ เสมอจะเปนเสนโคงหรือเสนตรงทีไ่ มขนาน
กัน ขณะที่เสนสนามไฟฟาของสนามสมํ่าเสมอจะเปนเสนตรงที่มีแนวขนานกัน
3. การทํางานของเครื่องกําจัดฝุนโดยใชไฟฟาสถิตเปนการใชประโยชนจากความรูเกี่ยวกับแรงดึงดูดระหวางประจุไฟฟาตางชนิดกัน สวนการทํางานของ
จอแสดงผลของออสซิลโลสโคปเปนการใชประโยชนจากความรูเกี่ยวกับการเบนของลําอิเล็กตรอนในสนามไฟฟา

T75
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูสนทนาและซักถามประสบการณเดิมของ 3. แรง¨ากสนามแม่เหลçก Prior Knowledge
นักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง แมเหล็ก ที่เคยรับรู แม่เหล็ก (magnet) เป็นวัตถุที่ดึงดูดวัตถุที่มีเหล็กเป็นส่วน ผล¢องส¹ำมáม‹àËลçก
มาก อ น โดยครู อ าจใช คํ า ถามต อ ไปนี้ ถ าม ประกอบได้ นอกจากนี้ แม่เหล็กยังสามารถดึงดูดนิกเกิล (Nickel; áละผล¢องส¹ำมä¿¿‡ำ
นักเรียน ซึง่ ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนแสดงความ µ‹ออ¹ุภำคทÕมè ปÕ ระจุ
Ni) และโคบอลต์ (Cobalt; Co) ได้ดว้ ย โดยสารทีแ่ ม่เหล็กดึงดูดได้ ä¿¿‡ำµ‹ำงกั¹อย‹ำงäร
คิดเห็นอยางอิสระ โดยยังไมเฉลยวาคําตอบ เรียกว่า สารแม่เหล็ก (magnetic substances) à¾รำะà˵ุãด
ของใครถูกหรือผิด เชน
3.1 แรงแม่เหลçกและสนามแม่เหลçก
• แมเหล็กที่นักเรียนรูจักหมายถึงอะไร
• แมเหล็กมีกี่ชนิด และแตละชนิดมีจุดเดน ปรากฏการณ์ เ กี่ ย วกั บ แรงแม่ เ หล็ ก สั ง เกตพบมาตั้ ง แต่ ส มั ย กรี ก โบราณเช่ น เดี ย วกั บ
อยางไร ปรากฏการณ์ทางไฟฟ้า เริ่มจากการขุดพบก้อนสินแร่แมกนีไทต์ (magnetite; Fe3O4) และพบว่า
• นักเรียนสามารถใชประโยชนจากแมเหล็ก
ก้อนสินแร่นี้ดึงดูดวัตถุที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบได้ ซึ่งมีสมบัติสามารถดึงดูดเหล็กได้แรงมากจึง
เป็นแม่เหล็กธรรมชาติ เมื่อน�าก้อนสินแร่แม่เหล็กนี้ไปฝนเป็นทรงกลม พบว่าที่สองต�าแหน่งซึ่ง
นั้นไดอยางไร และนําไปใชอะไรบาง
อยู่ตรงข้ามกันตามแนวเส้นผ่านศูนย์กลางของ
2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
ทรงกลมมีอ�านาจแม่เหล็กแรงกว่าต�าแหน่งอื่น
3. ครูสนทนากับนักเรียน ทบทวนความรู เรื่อง เรียกต�าแหน่งทัง้ สองนีว้ า่ ขัว้ แม่เหล็ก (magnetic
แรงจากสนามไฟฟา pole) แม่เหล็กธรรมชาติจงึ มีขวั้ แม่เหล็กสองขัว้
4. ครู ถ ามคํ า ถาม Prior Knowledge จาก เสมอ ซึ่งการเรียกขั้วแม่เหล็กนั้นจะเรียกตาม
หนั ง สื อ เรี ย นกั บ นั ก เรี ย นว า “ผลของสนาม ทิศที่ชี้ไป คือ เรียกขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือว่า
แมเหล็กและผลของสนามไฟฟาตออนุภาคทีม่ ี ขั้วเหนือ (north pole) และเรียกขั้วที่ชี้ไปทาง
ภาพที่ 2.20 ก้อนสินแร่แมกนีไทต์
ประจุไฟฟาตางกันอยางไร เพราะเหตุใด” ที่มา : คลังภาพ อจท. ทิศใต้ว่า ขั้วใต้ (south pole)

แม่เหล็กส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็นรูปทรงใด
ก็ตามมักจะมีสองขั้ว เช่น แท่งแม่เหล็กรูป
เกือกม้า และแท่งแม่เหล็กตรงเป็นตัวอย่าง
ของแม่เหล็กสองขั้วที่พบเห็นทั่วไป ส�าหรับ
แท่งแม่เหล็กสองขั้ว ขั้วแม่เหล็กอาจอยู่บริเวณ
ปลายแท่งแม่เหล็ก (ปลายละขั้ว) หรืออยู่บน
ผิวด้านข้างของแท่งแม่เหล็ก (ผิวละขั้ว) โดย
แท่งแม่เหล็กที่มีขั้วอยู่บนผิวด้านข้าง เรียกว่า
แนวตอบ Prior Knowledge แม่เหล็กขั้วข้าง
ตางกัน เพราะแรงเนือ่ งจากสนามไฟฟากระทํา ภาพที่ 2.21 แท่งแม่เหล็ก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ต อ อนุ ภ าคที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ า ทั้ ง ที่ เ คลื่ อ นที่ แ ละไม
68
เคลื่อนที่ สวนแรงเนื่องจากสนามแมเหล็กกระทํา
ตออนุภาคที่มีประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่เทานั้น

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูนําขอมูลที่เกี่ยวของกับแมเหล็กมานําเสนอใหนักเรียนดู เพื่อเปนความรู สนามแมเหล็กมีผลตอนิวตรอนหรือไม อยางไร
เบื้องตนในการเรียนการสอนใน เรื่อง แรงจากสนามแมเหล็ก ตอไป เชน ครูนํา 1. มีผล เพราะนิวตรอนเปนประจุบวก
คลิปวิดีโอจาก youtube เรื่อง แรงระหวางขั้วแมเหล็กสงผลใหแมเหล็กผลักกัน 2. ไมมีผล เพราะนิวตรอนเปนประจุบวก
และดูดกัน มาใหนักเรียนศึกษา ซึ่งสามารถคนหาไดจาก 3. ไมมีผล เพราะนิวตรอนเปนกลางทางไฟฟา
https://www.youtube.com/watch?v=cozrJUknFY0&list=PLgm36wXFlxy8d 4. จะไมมีผล หากนิวตรอนมีประจุบวกเทากับประจุลบ
GUu1KxkAET426QvKsZTr&index=93&t=0s 5. จะมีผล เมื่อนิวตรอนเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก
(วิเคราะหคาํ ตอบ นิวตรอนเปนกลางทางไฟฟา ไมมที งั้ ประจุบวก
และประจุลบ ไมวาจะเคลื่อนที่หรืออยูนิ่งในสนามแมเหล็กก็จะไม
สื่อ Digital เกิดแรงแมเหล็กมากระทําตอนิวตรอน ดังนั้น ตอบขอ 3.)
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง สนามแมเหล็ก

สนามแมเหล็ก
T76 www.aksorn.com/interactive3D/RKB28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1
บริ2 เวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็กที่มีแรงแม่เหล็กกระท�าต่อสารแม่เหล็ก เช่น เหล็ก นิกเกิล 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกันอยางอิสระ กลุมละ
โคบอลต์ เป็นบริเวณที่อยู่ในนสนามแม่เหล็ก (magnetic field) ของแท่งแม่เหล็ก ลักษณะของสนาม 3-4 คน
แม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กพิจารณาได้จากลักษณะการเรียงตัวของผงตะไบเหล็ก (iron filings) ที่ 2. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรู เรื่อง แรง
โรยรอบ ๆ แท่งแม่เหล็กเรียงตัวกันเป็นแนว เรียกว่า เส้นสนามแม่เหล็ก (magnetic field lines) แมเหล็กและสนามแมเหล็ก จากหนังสือเรียน
หรือเส้นแรงแม่เหล็ก ดังภาพที่ 2.22 โดยเส้นของผงตะไบเหล็กจะไม่ข้ามกันและจะหนาแน่นมาก 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสื บ เสาะหาความรู  เ พิ่ ม เติ ม
บริเวณขั้วแม่เหล็ก นอกจากนี้ ลักษณะการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กที่โรยไว้ในบริเวณระหว่างขั้ว เกี่ยวกับเข็มทิศ จากอินเทอรเน็ต โดยเขียน
แม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กสองแท่งจะช่วยให้สงั เกตพบธรรมชาติของแรงกระท�าระหว่างขัว้ แม่เหล็ก สรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
เหมือนกันและขั้วแม่เหล็กต่างกันได้

ภาพที่ 2.22 การเรียงตัวของผงตะไบเหล็กรอบแท่งแม่เหล็ก


ที่มา : คลังภาพ อจท.
เส้นสนามแม่เหล็กสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กทั้งขนาดและทิศทาง โดยขนาดของสนาม
แม่เหล็กสัมพันธ์กับความหนาแน่นของเส้นสนามแม่เหล็ก กล่าวคือ ขนาดของสนามแม่เหล็กจะ
มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อความหนาแน่นของเส้นสนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้น ถ้าเส้นแรงแม่เหล็กเป็นเส้นตรง
ทิศของสนามแม่เหล็กจะอยู่ในทิศเดียวกับทิศของเส้นสนามแม่เหล็ก ถ้าเส้นแรงแม่เหล็กเป็น
เส้นโค้งทิศของสนามแม่เหล็กทีจ่ ดุ ใด ๆ จะมีทศิ เดียวกับเส้นสัมผัสของเส้นสนามแม่เหล็ก ณ จุดนัน้

Science Focus
เขçมทิÈ
เข็มทิศ (compass) เป็นเครือ่ งมือส�าหรับใช้หาทิศทาง โดยมีเข็มแม่เหล็ก
ที่แกว่งไปมาอิสระในแนวระดับ ทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ตามแรงดึงดูดของ
แม่เหล็กโลก และทีห่ น้าปัดมีสว่ นแบ่งส�าหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลาย
ชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ
ภาพที่ 2.23 เข็มทิศ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แรงในธรรมชาติ 69

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


เสนแรงแมเหล็กคือขอใด 1 นิกเกิล (Nickel) คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมเทากับ 28 และเขียนแทน
1. เสนที่มีทิศพุงออกจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต ดวยสัญลักษณ Ni นิกเกิลจัดอยูในกลุมโลหะแทรนซิชัน (transition metal)
2. เสนที่แสดงทิศของสนามแมเหล็ก นิกเกิลเปนโลหะที่มีความมันวาว สีขาวเงิน อยูกลุมเดียวกับเหล็ก มีความแข็ง
3. เสนที่แสดงการวางตัวของเข็มทิศ แตตีเปนแผนได โดยมากกวากึ่งหนึ่งของโลหะนิกเกิลที่ผลิตไดทั้งหมดใชใน
4. ขอ 2.-3. รวมกัน อุตสาหกรรมโลหะเจือ (alloy)
5. ขอ 1.-3. รวมกัน
2 โคบอลต (Cobalt) คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมเทากับ 27 และเขียนแทน
(วิเคราะหคําตอบ เสนแรงแมเหล็กหรือเสนสนามแมเหล็กแสดง ดวยสัญลักษณ Co โคบอลตจัดอยูในกลุมโลหะแทรนซิชัน (transition metal)
ทิศของสนามแมเหล็กในบริเวณนั้นๆ โดยจะมีทิศพุงออกจาก ซึ่งชวยควบคุมการเผาไหม ไมทําใหเกิดคารไบด จึงชวยปองกันไมใหเหล็กเกิด
ขั้วเหนือไปยังขั้วใต และเข็มทิศจะวางตัวในแนวเดียวกับเสนแรง เนื้อหยาบที่อุณหภูมิสูง และยังชวยเสริมโครงสรางทางโมเลกุลใหเหล็กมีความ
แมเหล็กเสมอ ดังนั้น ตอบขอ 5.) แข็งแรงที่อุณหภูมิสูง

T77
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ครูนําแทงแมเหล็ก 2 แทง ขึ้นมาแสดงให เมื่อทดลองน�าเข็มทิศมาวางที่ต�าแหน่งต่าง ๆ รอบแท่งแม่เหล็กพบว่า การวางตัวของเข็ม
นักเรียนดู จากนั้นสุมนักเรียนออกมาหนาชั้น ทิศจะอยู่ในแนวเดียวกับเส้นสนามแม่เหล็ก โดยสนามแม่เหล็กจากแท่งแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งออก
เรียน 2 คน ใหนักเรียนถือแทงแมเหล็กคนละ จากขั้วเหนือ (N) ไปยังขั้วใต้ (S) ดังภาพที่ 2.24
1 แทง แลวใหนักเรียนคนแรกหันขั้วเหนือไป
ดานหนา และนักเรียนคนที่สองหันขั้วใตไป
ดานหนา จากนั้นครูใหนักเรียนทั้งสองคนหัน
หนาเขาหากัน นําแทงแมเหล็กเขาใกลกนั แลว
ใหนักเรียนทั้งสองคนอธิบายผลที่เกิดขึ้น N S
5. ครูใหนักเรียนคนที่สองกลับดานแทงแมเหล็ก
ให หั น ขั้ ว เหนื อ ไปด า นหน า จากนั้ น ครู ใ ห
นั ก เรี ย นทั้ ง สองคนทํ า ซํ้ า เช น เดิ ม แล ว ให
นักเรียนทั้งสองคนอธิบายผลที่เกิดขึ้นอีกครั้ง
ภาพที่ 2.24 การวางตัวของเข็มทิศในแนวเส้นสนามแม่เหล็ก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

S N จุดสะเทิน N S S N S N

(ก) หันขั้วชนิดเดียวกันเข้าหากัน
(ข) หันขั้วต่างชนิดกันเข้าหากัน
ภาพที่ 2.25 เส้นสนามแม่เหล็กระหว่างแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพที่ 2.25 (ก) จะเห็นได้ว่า มีบางบริเวณที่ไม่มีเส้นสนามแม่เหล็กผ่าน ซึ่งแสดงว่า


บริเวณนัน้ สนามแม่เหล็กมีคา่ เป็นศูนย์หรือไม่มสี นามแม่เหล็ก ซึง่ บริเวณดังกล่าวเรียกว่า จุดสะเทิน
นอกจากนัน้ ยังเห็นได้วา่ เส้นสนามแม่เหล็กจะวนอยูร่ อบ ๆ แท่งแม่เหล็ก ซึง่ แตกต่างกับเส้นสนาม
ไฟฟ้าทีไ่ ม่วนอยูร่ อบประจุแต่จะพุง่ ออก (เมือ่ เป็นประจุบวก) หรือพ่งุ เข้า (เมือ่ เป็นประจุลบ) เท่านัน้

70

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง สนามแมเหล็ก ครูอาจนําความรูเพิ่มเติม ขอใดใหความหมายจุดสะเทินไดถูกตอง
จากสือ่ การเรียนรูต า งๆ มานําเสนอใหนกั เรียนไดศกึ ษาเพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียน 1. ตําแหนงที่ไมมีประจุไฟฟา
เกิดความสนใจและเขาใจในเนื้อหาที่กําลังศึกษามากยิ่งขึ้น โดยครูนําวิดีโอ 2. ตําแหนงที่ไมมีแรงกระทําตอเข็มทิศ
การประชุมวาดวยเทคโนโลยี การบันเทิง และการออกแบบ หรือเรียกยอๆ วา TED 3. ตําแหนงที่เข็มทิศวางตัวในแนวใดก็ได
ที่มีการพูดถึงสนามแมเหล็ก เชน เดฟ เบรน (Dave Brain) ∣ TEDxBoulder 4. ตําแหนงที่สนามแมเหล็กรวมตัวกันแลวเปนศูนย
ดาวเคราะหตองการปจจัยใดในการคํ้าจุนชีวิต ซึ่งสามารถคนหาไดจาก 5. ตําแหนงที่สนามแมเหล็กรวมตัวกันแลวไมเปนศูนย
https://www.ted.com/ (วิเคราะหคําตอบ จุดสะเทิน คือ ตําแหนงที่ไมมีเสนสนาม
talks/dave_brain_what_ แมเหล็กผาน ซึง่ แสดงวา ณ ตําแหนงนัน้ สนามแมเหล็กหักลางกัน
a_planet_needs_to_ จนมีคาเปนศูนย ดังนั้น ตอบขอ 4.)
sustain_life/transcript?
language=th#t-699190

T78
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ความเป็นจริงโลกมีสนามแม่เหล็กซึ่งมีสมบัติคล้ายกับแท่งแม่เหล็กขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลาง 6. ครูรวมกันอภิปรายผลที่เกิดขึ้นพรอมกับให
โลก วางตัวระหว่างทิศเหนือและทิศใต้ทางภูมิศาสตร์ของโลกโดยประมาณ อ�านาจแม่เหล็กของ นักเรียนศึกษาภาพแสดงเสนสนามแมเหล็ก
แม่เหล็กโลกเกิดจากขณะที่โลกหมุนรอบแกนตัวเอง โลหะเหลวในแกนโลกจะเคลื่อนที่เกิดการ ระหวางแทงแมเหล็ก 2 แทง จากหนังสือเรียน
ไหลวนของของเหลวภายในโลก ท�าให้เกิดสนามแม่เหล็ก และเนื่องจากขั้วเหนือของเข็มทิศจะชี้ 7. เมื่ อ นั ก เรี ย นทราบถึ ง ทิ ศ ทางของเส น สนาม
ไปยังจุดทางทิศเหนือ เรียกว่า ทิศเหนือแม่เหล็ก และท�านองเดียวกันทิศใต้ของเข็มทิศชี้ไปยัง แมเหล็กแลว ครูใหนักเรียนเปรียบเทียบสนาม
ทิศใต้แม่เหล็ก ดังภาพที่ 2.26 (ก) โดยแม่เหล็กสมมติใจกลางโลกจะมีขั้วใต้ที่ชี้ไปยังทิศเหนือ แมเหล็กโลก จากหนังสือเรียน
แม่เหล็ก ซึ่งอยู่ในทิศเหนือทางภูมิศาสตร์ (ขั้วโลกเหนือ) และมีขั้วเหนือที่ชี้ไปยังทิศใต้แม่เหล็ก 8. ครูใหนักเรียนใชสมารตโฟนสแกน QR Code
ซึ่งอยู่ในทิศใต้ทางภูมิศาสตร์ (ขั้วโลกใต้) จะพบว่า สนามแม่เหล็กโลกมีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือ เรือ่ ง สนามแมเหล็กโลก จากหนังสือเรียน เพือ่
(ทิศใต้แม่เหล็ก) ไปยังขั้วใต้ (ทิศเหนือแม่เหล็ก) ดังภาพที่ 2.26 (ข) ศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล
ทิศเหนือแม่เหล็ก ทิศเหนือแม่เหล็ก ทิศเหนือทางภูมิศาสตร์
ทิศเหนือทางภูมิศาสตร์

N
S

S N

ทิศใต้แม่เหล็ก ทิศใต้แม่เหล็ก
ทิศใต้
ทิศใต้ทางภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์
(ก) (ข)
ภาพที่ 2.26 สนามแม่เหล็กโลก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Science Focus
สนามแม่เหลçกโลก
สนามแม่เหล็กโลกมีความส�าคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ช่วยป้องกันให้ปลอดภัยจากอันตรายของ
ลมสุริยะ (solar wind) ซึ่งเป็นกระแสอนุภาคที่มีประจุ ส่วนใหญ่เป็นโปรตอน อิเล็กตรอน และอนุภาค
แอลฟา ซึ่งพุ่งออกมาจากผิวของดวงอาทิตย์ ขณะเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กโลก อนุภาคเหล่านี้จะ
ถูกเบี่ยงเบนให้เคลื่อนที่อ้อมออกไปโดยอันตรกิริยาระหว่างสนามแม่
1 เหล็กโลกกับลมสุริยะส่งผลให้สนาม
แม่เหล็กโลกด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ลู่ไปคล้ายดาวหาง เรียกลักษณะที่เกิดขึ้นว่า แมกนีโตสเฟยร์
(magnetosphere) นอกจากนี้ ยังส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ออโรรา (aurora) หรือแสงเหนือแสงใต้ด้วย

สนามแม่เหล็กโลก แรงในธรรมชาติ 71

กิจกรรม สรางเสริม นักเรียนควรรู


ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง แรงแมเหล็กและสนามแมเหล็ก 1 ดาวหาง (comet) คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย
ดวยตนเองอีกครั้ง โดยอาจใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจาก มีสวนที่ระเหิดเปนแกสเมื่อเขาใกลดวงอาทิตย ทําใหเกิดชั้นฝุนและแกสที่ฝามัว
แหลงขอมูลตางๆ เชน หองสมุด หรืออินเทอรเน็ต ประกอบกับ ลอมรอบและทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเปนปรากฏการณ
การศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน จากนั้นเขียนสรุปความรูลงใน จากการแผรังสีของดวงอาทิตยไปบนนิวเคลียสของดาวหาง คาบการโคจรของ
กระดาษ A4 เสร็จแลวรวบรวมสงครู ซึ่งครูอาจสุมนักเรียนให ดาวหางมีความยาวนานแตกตางกันไปหลายแบบ ตัง้ แตไมกปี่ ไ ปจนถึงหลายพันป
นําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน เพื่อทดสอบความเขาใจ
ของนักเรียนอีกครั้ง
สื่อ Digital
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน
QR Code เรื่อง สนามแมเหล็กโลก

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
9. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นขางๆ แลวรวมกัน 3.2 ¼ลของสนามแม่เหลçกต่ออนุÀาคที่มี»ระ¨ุไฟฟ้า
ศึกษา เรือ่ ง ผลของสนามแมเหล็กตออนุภาค สนามแม่เหล็กนอกจากจะส่งแรงกระท�าต่อสารแม่เหล็ก FB
ที่มีประจุไฟฟา จากหนังสือเรียน แล้ว สนามแม่เหล็กยังส่งแรงกระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
10. ครูอาจถามคําถามชวนคิดกับนักเรียนเมื่อ เช่นเดียวกับแรงไฟฟ้าด้วย แต่ต่างกันที่สนามแม่เหล็กจะส่งแรง +
เริ่มศึกษาเนื้อหาวา “นักเรียนเคยไดยินคําวา กระท�าต่ออนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าทีก่ า� ลังเคลือ่ นทีใ่ นสนามแม่เหล็ก
θ
B
v
กฎมือขวา หรือไม แลวกฎมือขวานี้คืออะไร” เท่านัน้ ขณะทีส่ นามไฟฟ้าส่งแรงกระท�าต่ออนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้า
โดยครูอาจสุมถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบ ไม่ว่าอนุภาคนั้นจะอยู่นิ่งหรือก�าลังเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้า และ (ก) อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก
ข้อแตกต่างอีกอย่างหนึ่งระหว่างแรงไฟฟ้าและแรงแม่เหล็ก คือ -
ความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่กําลัง θ B
จะศึกษา แรงไฟฟ้าจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้าเมื่อเป็นประจุบวก และมี v
ทิศตรงข้ามกับสนามไฟฟ้าเมื่อเป็นประจุลบ ขณะที่แรงแม่เหล็ก FB
(FB) มีทศิ ตัง้ ฉากกับสนามแม่เหล็ก (B) และความเร็วของอนุภาค (ข) อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ
ที่มีประจุไฟฟ้า ( v ) โดยแรงแม่เหล็กบนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ภาพที่ 2.27 ทิศของแรงแม่เหล็ก
บวก เช่น โปรตอน จะมีทิศตรงข้ามกับแรงแม่เหล็กบนอนุภาค บนอนุ ภ าคที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า ที่ ก� า ลั ง
เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก
ที่มีประจุไฟฟ้าลบ เช่น อิเล็กตรอน ดังภาพที่ 2.27 ที่มา : คลังภาพ อจท.
เราสามารถหาทิศของแรงแม่เหล็กบนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกได้จากกฎมือขวา (right-
hand grip rule) ดังภาพที่ 2.28 โดยเริ่มจากกางมือขวาออกให้นิ้วทั้งสี่เรียงชิดติดกันและตั้งฉาก
กับนิว้ หัวแม่มอื จากนัน้ วางมือขวาให้ปลายนิว้ ทัง้ สีช่ ไี้ ปในทิศของความเร็ว ( v ) โดยให้ทศิ ของสนาม
แม่เหล็ก ( B) พุ่งออกจากฝามือ แล้วงอนิ้วทั้งสี่วนเข้าหาสนามแม่เหล็ก ( B) นิ้วหัวแม่มือขวา
จะเป็นทิศของผลคูณเชิงเวกเตอร์ v × B ซึ่งเป็นทิศของแรงแม่เหล็ก FB ที่ต้องการบนอนุภาค
ประจุไฟฟ้าบวก

FB

+ +
v B B
v

ภาพที่ 2.28 การหาทิศของแรงแม่เหล็กบนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกโดยใช้กฎมือขวาส�าหรับผลคูณเชิงเวกเตอร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

72

ขอสอบเนน การคิด
อนุภาคหนึง่ มีประจุไฟฟา 2.5 × 10-19 คูลอมบ ถูกแรงกระทําขนาด 12.5 × 10-14 นิวตัน สงผลใหเมือ่ อนุภาคเคลือ่ นที่
เขาไปในบริเวณที่มีสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอดวยความเร็ว 2.5 × 105 เมตรตอวินาที ในทิศตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก
ดังภาพ สนามแมเหล็กมีขนาดเทากับขอใด
q (วิเคราะหคําตอบ จากสมการ FB
= qvB sin θ
FB + FB
= qvB sin 90 ํ
FB
B = B
qv
1. 0.5 เทสลา =B 12.5 × 10-14
(2.5 × 10-19)(2.5 × 105)
2. 1.0 เทสลา -14
3. 1.5 เทสลา B = 12.5 × 10-14
6.25 × 10
4. 2.0 เทสลา 12.5
B = 6.25
5. 2.5 เทสลา B = 2.0 T
จะไดวา ขนาดของสนามแมเหล็กเทากับ 2.0 เทสลา ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กฎมือขวาส�าหรับผลคูณเชิงเวกเตอร์ใช้หาทิศของแรงแม่เหล็กที่กระท�าบนอนุภาคที่ 1. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นให
มีประจุไฟฟ้าลบได้เช่นกัน โดยมีวิธีการเหมือนกับการหาทิศของแรงแม่เหล็กบนอนุภาคที่มี อธิบายเกี่ยวกับการหาทิศของแรงแมเหล็กบน
ประจุไฟฟ้าบวกเพียงแค่กลับทิศ 180 องศา (ตรงข้ามกัน) ก็จะได้ทิศของแรงแม่เหล็กบนอนุภาค อนุภาคที่มีประจุไฟฟาโดยใชกฎมือขวา
ที่มีประจุไฟฟ้าลบที่ต้องการ ซึ่งก็คือ ทิศตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือขวา ดังภาพที่ 2.29 2. ครูอาจกําหนดทิศของความเร็วของอนุภาคทีม่ ี
ประจุไฟฟา จากนัน้ ใหนกั เรียนใชกฎมือขวาใน
การหาทิศของแรงแมเหล็กทีก่ ระทําตออนุภาค
- - ที่มีประจุไฟฟานั้น
v B B
v 3. ครูและนักเรียนรวมกันอธิบายเกี่ยวกับผลของ
FB สนามแมเหล็กตออนุภาคที่มีประจุไฟฟา โดย
ครูใหนักเรียนศึกษาจากหนังสือเรียนควบคูไป
ภาพที่ 2.29 การหาทิศของแรงแม่เหล็กบนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบโดยใช้กฎมือขวาส�าหรับผลคูณเชิงเวกเตอร์
ที่มา : คลังภาพ อจท. กับการที่ครูอธิบาย เพื่อใหเกิดความเขาใจใน
เนื้อหาสวนนั้นมากยิ่งขึ้น
แรงแม่เหล็กบนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ามีค่าสูงสุดเมื่อความเร็วของอนุภาคมีทิศตั้งฉากกับ
สนามแม่เหล็ก ดังภาพที่ 2.30 (ก) และมีค่าลดลงเมื่อความเร็วมีทิศท�ามุม θ กับสนามแม่เหล็ก
(ไม่เป็นมุมฉาก) ดังภาพที่ 2.30 (ข) และมีค่าเป็นศูนย์เมื่อความเร็วของอนุภาคอยู่ในแนวขนาน
เช่น ทิศเดียวกันหรือทิศตรงข้ามกับสนามแม่เหล็ก ดังภาพที่ 2.30 (ค) กล่าวได้ว่า สนามแม่เหล็ก
ส่งแรงกระท�าต่ออนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าทีก่ า� ลังเคลือ่ นทีใ่ นแนวท�ามุมใด ๆ กับสนามแม่เหล็กทีไ่ ม่ใช่
ทิศเดียวกันหรือทิศตรงข้าม แรงแม่เหล็กมีทศิ ตัง้ ฉากกับความเร็วของอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้า จึงไม่
ส่งผลให้ขนาดของความเร็วของอนุภาคเปลีย่ นไป (ต่างจากแรงไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้า) แรงแม่เหล็ก
จึงมีผลต่อทิศของความเร็วของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเท่านั้น กล่าวคือ ท�าให้ทิศของความเร็ว
ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเปลี่ยนไป หรือท�าให้แนวการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเบน
ไปจากแนวการเคลื่อนที่เดิม เช่น การเบนแนวการเคลื่อนที่อิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็กส่งผลให้
ล�าอิเล็กตรอน (อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ตามกันมาอย่างต่อเนื่อง) ในหลอดรังสีแคโทดเบนขึ้นหรือ
เบนลงจากแนวระดับ เมื่อน�าแม่เหล็กเข้ามาใกล้
Fmax F
B B + v
+ B + θ B B
v v +
v
(ก) (ข) (ค)
ภาพที่ 2.30 ทิศของความเร็วของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าท�ามุมต่างๆ กับสนามแม่เหล็ก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

แรงในธรรมชาติ 73

ขอสอบเนน การคิด
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เขาสูสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอขนาด 2.0 เทสลา อยากทราบวาแรงแมเหล็กที่กระทําตออิเล็กตรอนเมื่ออิเล็กตรอน
เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 4.0 × 105 เมตรตอวินาที ในทิศทางตอไปนี้
ก. ทํามุม 30 องศา กับสนามแมเหล็ก ข. ทํามุม 90 องศา กับสนามแมเหล็ก
(แนวตอบ จากสมการ FB = qvB sin θ (แนวตอบ จากสมการ FB = qvB sin θ
FB = qvB sin 30 ํ FB = qvB sin 90 ํ
FB = (1.6 × 10-19)(4.0 × 105)(2.0)( 12 ) FB = (1.6 × 10-19)(4.0 × 105)(2.0)(1)
FB = 6.4 × 10-14 N FB = 12.8 × 10-14 N
ดังนั้น เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในทิศทางทํามุม 30 องศา ดังนั้น เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในทิศทางทํามุม 90 องศา
กับสนามแมเหล็ก แรงแมเหล็กที่กระทําตออิเล็กตรอนมีขนาด กับสนามแมเหล็ก แรงแมเหล็กที่กระทําตออิเล็กตรอนมีขนาด
เทากับ 6.4 × 10-14 นิวตัน) เทากับ 12.8 × 10-14 นิวตัน)

T81
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุม ละประมาณ กิจกรรม ¼ลของสนามแม่เหลçกต่อล�าอิเลçกตรอน
6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตาม
ผลสัมฤทธิ์ ใหอยูในกลุมเดียวกัน เพื่อรวมกัน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์
ศึกษากิจกรรม ผลของสนามแมเหล็กตอลํา • การลงความเห็นจากข้อมูล
• การพยากรณ์
1. เพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก เมื่ออิเล็กตรอน
อิเล็กตรอน จากหนังสือเรียน จิตวิทยาศาสตร์
เคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กในทิศตั้งฉากและขนานกับ
• ความอยากรู้อยากเห็น สนามแม่เหล็ก
2. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน • ความมีเหตุผล 2. เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างแรงแม่เหล็กที่กระท�าต่ออนุภาคที่มี
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง ประจุไฟฟ้ากับแรงไฟฟ้าที่กระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
3. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ 3. เพื่อประยุกต์กฎมือขวาและกฎมือซ้ายในการหาทิศของแรงแม่เหล็กที่
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม กระท�าต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบซึ่งเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน วัสดุอุปกรณ์
4. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล 1. แท่งแม่เหล็ก 3. หลอดรังสีแคโทด
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน 2. สายไฟต่อวงจร 4. แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สูง (12,000-15,000 โวลต์)
5. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม วิธีปฏิบัติ
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
1. ใช้สายไฟต่อวงจรต่อหลอดรังสีแคโทดเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สงู โดยต่อขัว้ แคโทดของหลอด
เพือ่ นําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจจาก เข้ากับขั้วลบของแหล่งจ่ายไฟฟ้า และต่อขั้วแอโนดของหลอดเข้ากับขั้วบวกของแหล่งจ่ายไฟฟ้า จากนั้น
การปฏิบัติกิจกรรม เปิดสวิตช์ของแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สงู จากนัน้ จะปรากฏแนวสว่างขึน้ ในหลอดรังสีแคโทด ดังภาพ
ที่ 2.31
อธิบายความรู ! S afety first
ขั้วแอโนด
1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน ช่องเปิด จอเรืองแสง ระมัดระวังไม่ให้ส่วนใดของ
ขั้วแคโทด
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม ร่างกายและโลหะอื่นใดเข้าใกล้
ขั้วของหลอดรังสีแคโทด เพราะ
2. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ จะได้รบั อันตรายจากไฟฟ้าความ
กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สูง ต่างศักย์สูง
กิจกรรม
ภาพที่ 2.31 การจัดอุปกรณ์กิจกรรมผลของสนามแม่เหล็กต่อล�าอิเล็กตรอน
3. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย ที่มา : คลังภาพ อจท.
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน
4. ครูแจกใบงาน เรื่อง แรงจากสนามแมเหล็ก 2. น�าขั้วเหนือ (N) ของแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ล�าอิเล็กตรอนทางด้านข้างของหลอดรังสีแคโทด โดยให้แท่ง
ใหนักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน แม่เหล็กอยู่ในระดับเดียวกันและตั้งฉากกับรังสีแคโทด สังเกตผลที่เกิดขึ้น แล้วบันทึกผล
3. ปฏิบัติซ�้าข้อ 2. โดยเปลี่ยนจากขั้วเหนือเป็นขั้วใต้ (S) ของแท่งแม่เหล็ก สังเกตผลที่เกิดขึ้น แล้วบันทึกผล
4. น�าขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ล�าอิเล็กตรอนทางด้านบนของหลอดรังสีแคโทด โดยจับแท่งแม่เหล็ก
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม ให้วางตัวในแนวดิ่ง สังเกตผลที่เกิดขึ้น แล้วบันทึกผล
1. ลําอิเล็กตรอนจะเบนไปจากแนวเดิม
2. ลําอิเล็กตรอนจะเบนไปจากแนวเดิมโดยจะเบน 74
ไปในทิศทางตรงขามกับขอ 1.

บันทึก กิจกรรม
• เมื่อหลอดรังรังสีแคโทดทํางาน จะเห็นลําอิเล็กตรอน (แนวสวาง) เปนเสนตรงเกิดขึ้นระหวางขั้วแคโทดและขั้วแอโนด
• เมื่อนําขั้วเหนือของแทงแมเหล็กเขาใกลลําอิเล็กตรอนทางดานขาง ลําอิเล็กตรอนจะเบนไปจากเดิม แตถาสลับขั้วเปนขั้วใตของแทงแมเหล็ก ลําอิเล็กตรอน
ก็จะเบนไปเชนกัน แตจะเบนไปในทิศตรงขามกัน
• เมื่อนําขั้วเหนือของแทงแมเหล็กเขาใกลลําอิเล็กตรอนในลักษณะที่สนามแมเหล็กมีทิศตั้งฉากกับลําอิเล็กตรอนและมีทิศพุงเขา สงผลใหลําอิเล็กตรอนเบน
โคงลง ดังภาพ ก จากนั้นสลับขั้วของแทงแมเหล็กเปนขั้วใตแลวนําไปเขาใกลลําอิเล็กตรอน ในกรณีนี้สนามแมเหล็กจะมีทิศพุงออก สงผลใหลําอิเล็กตรอน
เบนโคงขึ้น ดังภาพ ข
B B
ขั้วแคโทด e ขั้วแอโนด ขั้วแคโทด e ขั้วแอโนด

ภาพ ก ภาพ ข

T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
5. ปฏิบัติซ�้าข้อ 4. โดยเปลี่ยนจากขั้วเหนือเป็นขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก สังเกตผลที่เกิดขึ้น แล้วบันทึกผล 1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หา เรือ่ ง แรงจากสนาม
6. น�าแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ลา� อิเล็กตรอนทางด้านข้างของหลอดรังสีแคโทด โดยจับแท่งแม่เหล็กให้อยูใ่ นระดับ แมเหล็ก โดยเปด PowerPoint ใหนักเรียน
เดียวกันและขนานกับล�าอิเล็กตรอน สังเกตผลที่เกิดขึ้น แล้วบันทึกผล ศึกษาควบคูไปดวย
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม 2. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนสอบถามเกีย่ วกับสิง่ ที่
1. เมื่อหันขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้หลอดรังสีแคโทด ล�าอิเล็กตรอนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ สงสัยหรือยังไมเขาใจเพิ่มเติม
อย่างไร 3. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปองคความรู เรื่อง แรง
2. เมื่อหันขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้หลอดรังสีแคโทด ล�าอิเล็กตรอนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร จากสนามแมเหล็ก จากที่ไดศึกษามา ลงใน
สมุดบันทึกประจําตัว เสร็จแลวตัวแทนนักเรียน
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
เก็บรวบรวมสงครูทายชั่วโมง
เมือ่ ต่อขัว้ ทัง้ สองของหลอดรังสีแคโทดเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สงู อิเล็กตรอนจะถูกผลักดัน 4. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด
ให้เคลือ่ นทีจ่ ากขัว้ แคโทดไปยังขัว้ แอโนดอย่างต่อเนือ่ งในลักษณะของล�าอิเล็กตรอน เมือ่ ล�าอิเล็กตรอนกระทบ
ฉากแก้วทีเ่ คลือบด้วยสารเรืองแสงจะท�าให้เห็นเส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องล�าอิเล็กตรอน โดยเมือ่ น�าแท่งแม่เหล็ก
เรื่อง แรงจากสนามแมเหล็ก จากแบบฝกหัด
เข้าใกล้หลอดรังสีแคโทด อิเล็กตรอนทีเ่ คลือ่ นทีใ่ นสนามแม่เหล็กจะถูกแรงเนือ่ งจากสนามแม่เหล็กกระท�า ท�าให้ วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5
อิเล็กตรอนเบนไปจากแนวระดับหรือแนวการเคลื่อนที่เดิม
ขัน้ สรุป
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับสนามแม่เหล็กโลก คือ แสงเหนือและแสงใต้ เกิดขึ้นเมื่อลมสุริยะ ตรวจสอบผล
เคลื่อนที่มากระทบกับสนามแม่เหล็กโลกจะท�าให้เส้นสนามแม่เหล็กโลกลู่ไปทางด้านตรงข้ามกับ นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
ดวงอาทิตย์ สนามแม่เหล็กโลกจึงไม่สมมาตร อิเล็กตรอนและโปรตอนในลมสุริยะเมื่อเคลื่อนเข้า แรงแมเหล็ก สนามแมเหล็ก และผลของสนาม
สู่สนามแม่เหล็กโลกจะถูกกักให้เคลื่อนที่แบบควงสว่านอยู่ภายในสนามแม่เหล็กโลกในบริเวณที่ แมเหล็กที่มีตออนุภาคที่มีประจุไฟฟา โดยครูให
เรียกว่า แถบรังสีแวน อัลเลน (Van Allen radiation belt) มีลักษณะคล้ายขนมโดนัทล้อมรอบ นักเรียนสรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
โลกและมีอยู่สองแถบ โดยอิเล็กตรอนถูกกักในแถบรังสีชั้นนอก ส่วนโปรตอนถูกกักในแถบรังสี
ชัน้ ใน อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าในแถบรังสีแวน อัลเลน เมือ่ เคลือ่ นทีผ่ า่ นเข้ามาในชัน้ บรรยากาศโลก
ขัน้ ประเมิน
บริเวณเหนือขัว้ โลก (เหนือและใต้) จะชนกับอะตอมของแกสต่าง ๆ และปลดปล่อยแสงสว่างสีตา่ ง ๆ ตรวจสอบผล
ออกมา เรียกว่า ออโรรา (aurora)
1. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง แรง
จากสนามแมเหล็ก
2. ครูตรวจการสรุปองคความรู เรื่อง แรงจาก
สนามแมเหล็ก จากสมุดบันทึกประจําตัว
3. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง แรงจากสนาม
แมเหล็ก จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ
ภาพที่ 2.32 อิทธิพลของลมสุริยะต่อสนามแม่เหล็กโลก ภาพที่ 2.33 ตัวอย่างปรากฏการณ์ออโรรา 2 (ฟสิกส) ม.5
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. 4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
แรงในธรรมชาติ 75
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
และการทํางานกลุม

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. นักเรียนแบงกลุมกันเองตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน ครูสามารถวัดและประเมินผลโดยการสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
2. แต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น สื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผลของลมสุ ริ ย ะที่ มี โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานราย
ตอโลก จากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เชน หองสมุด หรือ บุคคล ทีแ่ นบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูท ี่ 2 แรงในธรรมชาติ
อินเทอรเน็ต จากนั้นรวมกันพูดคุยและอภิปรายผลการศึกษา
ของสมาชิกแตละคน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ

3. แตละกลุม รวมกันจัดทํารายงาน เรือ่ ง ผลของลมสุรยิ ะทีม่ ตี อ โลก ลาดับที่


ระดับคะแนน

รายการประเมิน
3
ระดับคะแนน
2 1

โดยการเขียนลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีน้าใจ   

4. ครูสมุ สมาชิกตัวแทนกลุม ออกมาหนาชัน้ เรียน จากนัน้ ใหนาํ เสนอ 5 การตรงต่อเวลา


รวม
  

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ผลงานของกลุมตนเอง โดยมีรูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจ เกณฑ์การให้คะแนน


............/.................../................

และเขาใจงาย
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T83
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนความรู เรื่อง 3.3 ¼Å¢Í§Ê¹ÒÁáÁ‹àËÅ硵‹ÍµÑǹíÒ·ÕèÁÕ¡ÃÐáÊä¿¿‡Ò
แรงจากสนามแมเหล็ก ที่ไดศึกษาไปแลว เพื่อ กระแสไฟฟาในตัวนําเปนผลจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระในตัวนํา เมื่อจายกระแส
เปนการเชือ่ มโยงความรูส เู รือ่ งทีก่ าํ ลังจะศึกษา ไฟฟาผานตัวนําที่อยูในสนามแมเหล็ก ผลจากแรงแมเหล็กที่กระทําตออิเล็กตรอนอิสระในตัวนํา
2. ครูอาจสุมนักเรียน เพื่อใหแสดงวิธีการใชกฎ ทําใหเกิดแรงแมเหล็กบนตัวนํา โดยแรงแมเหล็กบนตัวนําเปนผลรวมของแรงแมเหล็กทีก่ ระทําตอ
มือขวาในการหาทิศของแรงแมเหล็กที่กระทํา อิเล็กตรอนอิสระทั้งหลายในตัวนํา
ตออนุภาคที่มีประจุไฟฟา เปนการกระตุน สําหรับลวดตัวนําตรงกระแสไฟฟาจะผานลวดตัวนําในแนวตรง จึงไมมีแรงแมเหล็กกระทํา
ความสนใจกอนเขาสูก จิ กรรมการจัดการเรียน บนลวดตัวนําตรงที่วางตัวในแนวเดียวกับสนามแมเหล็ก เนื่องจากอิเล็กตรอนอิสระในลวดตัวนํา
การสอน เคลื่อนที่ในแนวเดียวกับสนามแมเหล็ก แตเมื่อลวดตัวนําตรงวางตัวในแนวทํามุมใด ๆ กับสนาม
แมเหล็กที่ไมไดวางตัวในทิศเดียวกันหรือตรงขามกัน (0 หรือ 180 องศา) จะมีแรงแมเหล็กกระทํา
ขัน้ สอน บนลวดตัวนําตรงในแนวตั้งฉากกับแนวการวางตัวของลวดตัวนําตรง โดยขนาดของแรงแมเหล็ก
สํารวจคนหา บนลวดตัวนําตรงจะมีคาสูงสุดเมื่อลวดตัวนําตรงวางตัวในแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก ดังภาพ
ที่ 2.34
1. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง ผลของสนามแมเหล็ก
ตอตัวนําที่มีกระแสไฟฟา จากหนังสือเรียน
2. ครูใหนักเรียนบันทึกสรุปความรู เรื่อง ผลของ I I
สนามแมเหล็กตอตัวนําที่มีกระแสไฟฟา ลงใน Bout FB Bout
สมุดบันทึกประจําตัว
l l

FB

I I
(ก) (ข)
ภาพที่ 2.34 แรงแมเหล็ก ( FB) บนลวดตัวนําตรงที่มีกระแสไฟฟา (I) ไหลผานและอยูในสนามแมเหล็ก
ที่มีทิศพุงออกจากกระดาษ ( Bout ) สมํ่าเสมอ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทิศของแรงแมเหล็กบนลวดตัวนําตรงหาไดจากกฎมือขวา สําหรับผลคูณเชิงเวกเตอรทาํ นอง
เดียวกับการหาทิศของแรงแมเหล็กบนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาซึ่งเคลื่อนที่เขาไปในสนามแมเหล็ก
โดยแรงแมเหล็กบนลวดตัวนําตรงที่มีกระแสไฟฟาผานและอยูในสนามแมเหล็กจะมีทิศเดียวกับ
l × B เมื่อ l แทนเวกเตอรที่มีขนาดเทากับความยาวของลวดตัวนําตรงและมีทิศเดียวกับกระแส
ไฟฟา และ B แทนสนามแมเหล็ก
76

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ผลของสนามแมเหล็กตอตัวนําที่มีกระแส ครูมอบหมายใหนกั เรียนกลับไปศึกษา เรือ่ ง ผลคูณเชิงเวกเตอร
ไฟฟา ครูอาจนําความรูเกี่ยวกับหลักการทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับผลคูณ จากวิชาคณิตศาสตร แลวสรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
เชิงเวกเตอร มาสอนและอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจมากยิ่งขึ้น เพื่อเปน เปนการบาน เสร็จแลวรวบรวมสงครู โดยครูอาจสุมนักเรียนให
พื้นฐานในการศึกษาเกี่ยวกับการใชกฎมือขวาสําหรับผลคูณเชิงเวกเตอร โดย อภิปรายผลการศึกษาของตนเอง เปนการบูรณาการรวมกันระหวาง
ผลคูณเชิงเวกเตอร คือ การนําเวกเตอรมาคูณกัน และผลลัพธจากการคูณกัน วิชาคณิตศาสตรและวิชาฟสิกส
จะออกมาเปนเวกเตอร จึงเรียกวา ผลคูณเชิงเวกเตอร (cross product หรือ
vector product)

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
การใช้กฎมือขวาส�าหรับผลคูณเชิงเวกเตอร์หาทิศของแรงแม่เหล็กบนลวดตัวน�าตรง จากภาพ 3. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นรวมกัน
ที่ 2.34 (ก) แรงแม่เหล็กที่กระท�าต่อลวดตัวน�าตรงจะตั1 ้งฉากกับลวดตัวน�าตรงและสนามแม่เหล็ก ศึกษาการใชกฎมือขวาสําหรับหาทิศของแรง
เสมอ เนื่องจาก l มีทิศเดียวกับทิศของกระแสไฟฟ้า จะพิจารณาได้ว่า แรงแม่เหล็กบนลวดตัวน�า แมเหล็กบนลวดตัวนําตรง จากหนังสือเรียน
ตรงที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ในสนามแม่เหล็กสม�่าเสมอสามารถใช้กฎมือขวาหาทิศของแรง 4. ครูสมุ นักเรียน 1 คู จากนัน้ ใหยนื ขึน้ แลวอธิบาย
แม่เหล็กได้ โดยการใช้นิ้วทั้งสี่ชี้ไปในทิศเดียวกับกระแสไฟฟ้า แล้วหันฝามือไปทิศเดียวกับสนาม การใชกฎมือขวาสําหรับหาทิศของแรงแมเหล็ก
แม่เหล็ก จากนั้นงอนิ้วทั้งสี่วนเข้าหาทิศของสนามแม่เหล็ก ทิศที่นิ้วหัวแม่มือจะชี้ คือ ทิศของแรง บนลวดตัวนําตรง ใหเพื่อนในชั้นเรียนดู
แม่เหล็กบนลวดตัวน�าตรงที่ต้องการ ดังภาพที่ 2.35 5. ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเกี่ยวกับผลของ
สนามแมเหล็กตอตัวนําที่มีกระแสไฟฟา เพื่อ
l ใหนักเรียนเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น
B l B 6. ครูใหนกั เรียนแยกเขากลุม ของตนเองตามทีไ่ ด
แบงไวตอนทํากิจกรรม ผลของสนามแมเหล็ก
ตอลําอิเล็กตรอน
FB

ภาพที่ 2.35 การหาทิศของแรงแม่เหล็กบนลวดตัวน�าตรง จากภาพที่ 2.34 (ก)


ที่มา : คลังภาพ อจท.

ในท�านองเดียวกันส�าหรับการหาทิศของแรงแม่เหล็กทีก่ ระท�าต่อลวดตัวน�าตรงจะตัง้ ฉากกับ


ลวดตัวน�าตรง จากภาพที่ 2.34 (ข) จะพิจารณาได้ ดังภาพที่ 2.36

FB

B
l B
l

ภาพที่ 2.36 การหาทิศของแรงแม่เหล็กบนลวดตัวน�าตรง จากภาพที่ 2.34 (ข)


ที่มา : คลังภาพ อจท.
สังเกตได้วา่ การกลับทิศของกระแสไฟฟ้าส่งผลให้แรงแม่เหล็กบนลวดตัวน�าตรงกลับทิศด้วย
เช่นกัน
แรงในธรรมชาติ 77

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ จากนั้นให 1 กระแสไฟฟา (electric current) คือ การไหลของประจุไฟฟาผานวงจร โดย
แต ล ะคู  ร  ว มกั น ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การใช ก ฎมื อ ขวาสํ า หรั บ ผลคู ณ วงจรนี้อาจจะเล็กเพียงแคนาฬกาขอมือ หรืออาจจะเปนโครงขายของสายไฟฟา
เชิงเวกเตอรเพิ่มเติม จากแหลงขอมูลตางๆ เชน หองสมุด หรือ ที่ครอบคลุมทั้งเมือง สัญลักษณของกระแสไฟฟา คือ I ซึ่งมีที่มาจากคําใน
อินเทอรเน็ต แลวรวมกันจัดทําคลิปวิดีโอนําเสนอเกี่ยวกับกฎ ภาษาฝรั่งเศสที่วา intensité de courant หรือ intensity of current หมายถึง
มือขวา มีความยาวไมตํ่ากวา 3 นาที โดยรูปแบบการนําเสนอขึ้น ความเขมของกระแส กระแสไฟฟาเกิดขึ้นจากการไหลของอิเล็กตรอนผาน
อยูกับนักเรียนแตละคู แตจะตองมีความนาสนใจ และสามารถ จุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งผานวัสดุตัวนํา นั่นคือ การถายโอนประจุไฟฟา ซึ่งก็คือ
สือ่ สารการใชกฎมือขวาสําหรับผลคูณเชิงเวกเตอรไดอยางถูกตอง อิเล็กตรอน โดยกระแสไฟฟาจะเคลื่อนที่หรือไหลจากจุดที่มีศักยไฟฟาสูงไปยัง
เสร็จแลวครูอาจสุมผลงานของนักเรียนมานําเสนอหนาชั้นเรียน จุดที่มีศักยไฟฟาตํ่ากวา กระแสไฟฟามีหนวยวัดในระบบหนวยเอสไอเปน
เพื่อเปนการศึกษารวมกัน แอมแปร (A) ซึ่งเปนการไหลของประจุไฟฟาที่ไหลขามพื้นผิวหนึ่งดวยอัตรา 1
คูลอมบตอวินาที กระแสไฟฟาสามารถวัดไดโดยใชแอมมิเตอร

T85
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
7. ครูใหสมาชิกแตละกลุม รวมกันศึกษากิจกรรม กิจกรรม ¼ลของสนามแม่เหลçกต่อตัวน�าที่มีกระแสไฟฟ้า
ผลของสนามแม เ หล็ ก ต อ ตั ว นํ า ที่ มี ก ระแส
ไฟฟา จากหนังสือเรียน โดยสมาชิกแตละคน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์
อาจมีหนาที่เหมือนเดิมหรืออาจปรับเปลี่ยน • การตีความหมายข้อมูลและ
ลงข้อสรุป
เพือ่ ศึกษาแรงทีก่ ระท�าต่อตัวน�าทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่านและอยูใ่ นสนามแม่เหล็ก
หน า ที่ กั น ใหม ภ ายในกลุ  ม ได เพื่ อ ให เ กิ ด จิตวิทยาศาสตร์ วัสดุอุปกรณ์
• ความมุ่งมั่น
กระบวนการทํางานรวมกันไดดียิ่งขึ้น • ความมีเหตุผล 1. แผ่นไม้ 4. แม่เหล็กขั้วข้าง 2 แท่ง
• ความสนใจใฝรู้ 2. เข็มหมุด 5. แบตเตอรี่ 9 โวลต์
8. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
3. สายไฟต่อวงจร 6. แถบอะลูมิเนียมฟอยล์
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
9. ครูใหความรูเ พิม่ เติมหรือเทคนิคเกีย่ วกับการ วิธีปฏิบัติ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม 1. จัดอุปกรณ์การทดลอง ดังภาพที่ 2.37 โดยให้ แถบอะลูมิเนียมฟอยด์
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน แม่เหล็กขั้วข้างหันขั้วต่างกันเข้าหากันและระวัง
เข็มหมุด
อย่าให้แถบอะลูมเิ นียมฟอยล์ตงึ หรือหย่อนเกินไป แผ่นไม้
10. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล S
2. ต่อสายไฟสีด�าระหว่างขั้วลบของแบตเตอรี่กับ
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน เข็มหมุดตัวขวาที่ B และต่อปลายข้างหนึ่งของ S
A B
11. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม สายไฟสีแดงเข้าที่ขั้วบวกของแบตเตอรี่ จากนั้น
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว น�าปลายอีกข้างหนึ่งของสายไฟสีแดงไปแตะเข็ม ภาพที่ 2.37 การจัดอุปกรณ์กจิ กรรมผลของสนามแม่เหล็กต่อ
หมุดตัวซ้ายที่ A แล้วปล่อย สังเกตผลที่เกิดขึ้น ตัวน�าที่มีกระแสไฟฟ้า
เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ กับแถบอะลูมิเนียมฟอยล์ แล้วบันทึกผล ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากการปฏิบัติกิจกรรม 3. ปฏิบัติซ�้า โดยสลับปลายสายไฟที่ต่อกับขั้วแบตเตอรี่เพื่อกลับทิศของกระแสไฟฟ้า สังเกตผลที่เกิดขึ้นกับ
แถบอะลูมิเนียมฟอยล์ แล้วบันทึกผล
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. จากกิจกรรม แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
2. ถ้าเปลีย่ นจากการกลับทิศของกระแสไฟฟ้าทีผ่ า่ นตัวน�าเป็นการกลับทิศของสนามแม่เหล็ก จะส่งผลต่อแรง
แม่เหล็กบนตัวน�าหรือไม่ อย่างไร
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
เมือ่ กระแสไฟฟ้าผ่านตัวน�าทีว่ างตัง้ ฉากกับสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงแม่เหล็กกระท�าต่อตัวน�า ท�าให้ตวั น�า
1. มีการเปลี่ยนแปลง โดยขึ้นอยูกับทิศทางของ เคลื่อนที่ โดยทิศของแรงแม่เหล็กจะขึ้นกับทิศทางของสนามแม่เหล็กและกระแสไฟฟ้า ดังภาพที่ 2.38
กระแสไฟฟาที่ไหลผานแผนตัวนํา คือ จะมีทั้ง ทิศของแรงแม่เหล็ก
ทิศของสนามแม่เหล็ก
ทิศของสนามแม่เหล็ก
การโกงขึ้นและแอนลงในแนวดิ่ง ทิศของกระแสไฟฟ้า

2. การกลับทิศของกระแสไฟฟาที่ผานตัวนํา สงผล ทิศของกระแสไฟฟ้า ทิศของแรงแม่เหล็ก


ใหแรงแมเหล็กบนตัวนํากลับทิศ และการกลับ ภาพที่ 2.38 ทิศของกระแสไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก และแรงแม่เหล็ก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทิ ศ ของสนามแม แ หล็ ก แทนการกลั บ ทิ ศ ของ
78
กระแสไฟฟา จะสงผลใหแรงแมเหล็กบนตัวนํา
กลับทิศดวยเชนกัน

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
• เมือ่ ตอสายไฟสีดาํ ระหวางขัว้ ลบของแบตเตอรีก่ บั เข็มหมุดตัวขวาที่ B และตอ ถานําแทงแมเหล็กเขาใกลบริเวณหนาจอโทรทัศนรนุ เกา ภาพที่
ปลายขางหนึง่ ของสายไฟสีแดงเขาทีข่ ว้ั บวกของแบตเตอรี่ เมือ่ นําปลายอีกขาง ปรากฏบนหนาจอโทรทัศนจะเปนอยางไร
หนึ่งของสายไฟสีแดงไปแตะเข็มหมุดตัวซายที่ A แลวปลอย ผลที่เกิดขึ้นกับ (แนวตอบ ภาพทีป่ รากฏบนหนาจอโทรทัศนจะบิดเบีย้ ว และเมือ่
แถบอะลูมิเนียมฟอยลจะโกงขึ้น แสดงวา
แถบอะลูมิเนียมฟอยล คือ ................................................................................................... เคลื่อนแทงแมเหล็กไปตามตําแหนงตางๆ บนหนาจอ ตําแหนง
แรงแมเหล็กที่กระทําตอแถบอะลูมิเนียมฟอยมีทิศพุงขึ้นตามแนวดิ่ง
......................................................................................................................................................... ภาพที่บิดเบี้ยวก็จะเคลื่อนที่ตาม ที่เปนเชนนี้เพราะภาพที่ปรากฏ
• เมื่อตอสายไฟสีดําระหวางขั้วบวกของแบตเตอรี่กับเข็มหมุดตัวขวาที่ B และ บนหนาจอโทรทัศนรุนเกาเกิดจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไป
ตอปลายขางหนึ่งของสายไฟสีแดงเขาที่ขั้วลบของแบตเตอรี่ เมื่อนําปลายอีก ตกกระทบจอภาพที่ฉาบดวยสารเรืองแสงและเกิดเรืองแสงขึ้น
ขางหนึ่งของสายไฟสีแดงไปแตะเข็มหมุดตัวซายที่ A แลวปลอย ผลที่เกิดขึ้น เมื่อนําแมเหล็กไปเขาใกลหนาจอจะเกิดแรงกระทําตออิเล็กตรอน
แถบอะลูมิเนียมฟอยลจะแอนลง แสดงวา
กับแถบอะลูมิเนียมฟอยล คือ ............................................................................................ ทําใหอิเล็กตรอนเบนไปจากแนวการเคลื่อนที่เดิม จึงทําใหภาพที่
แรงแมเหล็กที่กระทําตอแถบอะลูมิเนียมฟอยมีทิศพุงลงตามแนวดิ่ง
......................................................................................................................................................... ปรากฏหนาจอบิดเบี้ยวไป)

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3.4 »ระโยªน์¨ากสนามแม่เหลçก 1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
มนุษย์ใช้ประโยชน์จากสนามแม่เหล็กโลกโดยสร้างเข็มทิศขึน้ มาเพือ่ ใช้บอกทิศทาง เนือ่ งจาก เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
เข็มทิศเป็นแม่เหล็กแท่งเล็ก ๆ จะวางตัวในแนวเหนือ-ใต้ในสนามแม่เหล็กโลกเสมอ ซึ่งเข็มทิศ 2. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ
เป็นอุปกรณ์ส�าคัญของนักเดินทางและนักส�ารวจในหลายศตวรรษที่ผ่านมา กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ
สมบัตดิ งึ ดูดสารแม่เหล็กของแม่เหล็กเป็นพืน้ ฐานในการประดิษฐ์หรือสร้างเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ กิจกรรม
หลายอย่างมาใช้งาน เช่น กระดุมแม่เหล็กติด 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลทายกิจกรรม
กระเปา แม่เหล็กติดกระดานไวท์บอร์ด ของ และสรุปความรูรวมกัน
ที่ระลึกและของเล่นเด็กติดแม่เหล็ก เครื่องมือ สํารวจคนหา
จับติดด้วยแม่เหล็กส�าหรับเก็บสิ่งของที่มีสาร
แม่เหล็กเป็นส่วนประกอบซึ่งตกลงไปในที่แคบ 1. ครู นํ า อภิ ป รายร ว มกั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ ผล
ที่มือของเราเอื้อมหยิบไม่ถึง มีลักษณะเหมือน กิจกรรม ผลของสนามแมเหล็กตอตัวนําที่มี
เสาอากาศวิทยุ ยืดหดได้ ทีป่ ลายล่างมีแม่เหล็ก กระแสไฟฟา เพื่อเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาที่กําลัง
แรงสูงติดอยู่ และแม่เหล็กยกของ (lifting magnet) ภาพที่ 2.39 ตัวอย่างแม่เหล็กยกของ จะศึกษา
เป็นต้น ที่มา : คลังภาพ อจท. 2. ครูกลาวนําวา เราสามารถนําความรูเกี่ยวกับ
ผลของแรงแม่เหล็กต่อล�าอิเล็กตรอนน�าไปใช้ควบคุมให้ลา� อิเล็กตรอนกวาดไปมาบนจอ เพือ่ สนามแมเหล็กไปประยุกตใช หรือสามารถนํา
สร้างภาพบนจอโทรทัศน์ (รุ่นเก่า) โดยสนามแม่เหล็กที่ใช้เป็นสนามแม่เหล็กจากขดลวดสองชุด ไปอธิบายสิ่งตางๆ ในชีวิตประจําวันได
ขดลวดชุดหนึ่งสร้างสนามแม่เหล็กในแนวดิ่งเพื่อควบคุมให้ล�าอิเล็กตรอนกวาดไปมาในแนวระดับ 3. ครูใหนกั เรียนสืบเสาะหาความรู เรือ่ ง ประโยชน
(แกน X) ขดลวดอีกชุดหนึ่งสร้างสนามแม่เหล็กในแนวระดับเพื่อควบคุมให้ล�าอิเล็กตรอนกวาดไป จากสนามแมเหล็ก จากหนังสือเรียน
มาในแนวดิ่ง (แกน Y) สนามแม่เหล็กทั้งสองจึงควบคุมให้ล�าอิเล็กตรอนกวาดไปทั่วจอโทรทัศน์
ท�าให้เกิดภาพเต็มจอโทรทัศน์ ดังภาพที่ 2.40

ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็กแนวดิ่ง
ล�าอิเล็กตรอน
แคโทด

ปนอิเล็กตรอน
จอฉาบสารเรืองแสง
ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็กแนวระดับ
ภาพที่ 2.40 การใช้ประโยชน์จากผลของแรงแม่เหล็กต่อล�าอิเล็กตรอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

แรงในธรรมชาติ 79

ขอสอบเนน การคิด
ลวดตัวนําตรงเสนหนึง่ ยาว 100 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟา 4 แอมแปร × × × × ×I × ×
ไหลผาน โดยลวดตัวนําตรงนี้วางอยูในสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอขนาด
Bพุงเขา
0.5 เทสลา ดังภาพ ขอใดคือขนาดของแรงแมเหล็กที่กระทําตอลวด × × × × × × ×
ตัวนําตรงนี้
1. 1 นิวตัน 2. 1.5 นิวตัน
3. 2 นิวตัน 4. 2.5 นิวตัน
× × × × × ×
5. 4 นิวตัน 30 ํ
× I × × × ×
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ FB = IlB sin θ
เนื่องจากสนามแมเหล็กมีทิศตั้งฉากกับลวดตัวนําตรง
จะไดวา FB = (4)(1)(0.5) sin 90 ํ
FB = (2)(1)
FB = 2 N
จะไดวา แรงแมเหล็กที่กระทําตอลวดตัวนําตรงนี้มีขนาดเทากับ 2 นิวตัน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ครูใหนักเรียนจดบันทึกสิ่งที่กําลังศึกษาลงใน หากนําลวดตัวนําตรงมาขดเปนวงแลวนําไปวางในสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ เมื่อจายกระแส
สมุดบันทึกประจําตัว ไฟฟาผานวงลวด แรงลัพธที่กระทําตอวงลวดจะเปนศูนย แตแรงที่กระทําตอดานแตละดานของ
5. ครู เ น น ยํ้ า กั บ นั ก เรี ย นว า ให พ ยายามศึ ก ษา วงลวดที่มีแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็กจะประกอบกันเปนแรงคูควบและทอรกของแรงคูควบที่
ทําความเขาใจกับภาพโครงสรางของมอเตอร ทําใหวงลวดหมุนรอบแกนของวงลวด ดังภาพที่ 2.41
จากหนังสือเรียน หรือครูอาจใหนกั เรียนศึกษา F3 F3
F1
คนควาเพิม่ เติมเกีย่ วกับโครงสรางของมอเตอร
I
จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต I
ซึ่งสามารถคนหาขอมูลไดงายและรวดเร็ว B
I
I
F2
F4 F4
ภาพที่ 2.41 แรงแมเหล็กจากสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอบนวงลวดที่มีกระแสไฟฟาผาน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เมือ่ นําลวดตัวนํามาพันเปนขดลวดแลวนําไปวางในสนามแมเหล็กระหวางขัว้ เหนือและขัว้ ใต


ของแมเหล็กซึ่งเปนสนามสมํ่าเสมอ แลวจายกระแสไฟฟาผานขดลวด ขดลวดจะหมุนรอบแกน
ของขดลวด โดยทอรกทีก่ ระทําตอขดลวดจะมีคา เพิม่ ขึน้ ตามจํานวนรอบของขดลวด ผลทีเ่ กิดขึน้ นี้
เปนพื้นฐานในการสรางเครื่องวัดไฟฟาตาง ๆ เชน แกลแวนอมิเตอร แอมมิเตอร โวลตมิเตอร
โอหมมิเตอร มอเตอร เปนตน โดยมอเตอรแบงออกเปน 2 แบบ คือ มอเตอรกระแสตรงและ
มอเตอรกระแสสลับ โครงสรางหลักของมอเตอรทั้งสองแบบพิจารณาได ดังภาพที่ 2.42
ขดลวด ขดลวด
แกนหมุน แกนหมุน

แหวน
แปรงสัมผัส แหวน

แหวนผาซีก แปรงสัมผัส
แปรงสัมผัส

(ก) มอเตอรกระแสตรง (ข) มอเตอรกระแสสลับ


ภาพที่ 2.42 โครงสรางของมอเตอร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
80

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจนําความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทํางานของมอเตอรมานําเสนอให ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับแรงคูค วบ โมเมนต
นักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม เชน นําวิดีโอจาก youtube เรื่อง AC Generator ∣∣ ของแรง และทอรก จากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เชน หอง
3D Animation Video ∣∣ 3D video ซึ่งสามารถคนหาไดจาก สมุด หรืออินเทอรเน็ต จากนั้นสรุปความรูที่ไดลงในสมุดบันทึก
https://www.youtube.com/watch?v=gQyamjPrw-U เพือ่ ใหนกั เรียนไดเกิด ประจําตัว โดยครูอาจสุมนักเรียนเพื่ออภิปรายผลการศึกษาของ
จินตนาการและมองเห็นการทํางานของมอเตอรเปนภาพ 3 มิติ ซึ่งจะสงผลให ตนเองหนาชั้นเรียน
นักเรียนมีความเขาใจการทํางานของมอเตอรมากยิ่งขึ้น

T88
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม มอเตอร์อย่างง่าย 6. ครูใหนักเรียนแยกเขากลุมเดิมของตนเองที่
ครูเคยแบงไวแลว จากนัน้ ครูใหสมาชิกแตละ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์ กลุม รวมกันศึกษากิจกรรม มอเตอรอยางงาย
• การพยากรณ์
• การลงความเห็นจากข้อมูล
เพือ่ ศึกษาส่วนประกอบส�าคัญและหลักการท�างานของมอเตอร์กระแสตรง เพือ่ ประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน จากหนังสือ
อย่างง่าย เรียน โดยสมาชิกแตละคนอาจมีหนาทีเ่ หมือน
จิตวิทยาศาสตร์
• ความอยากรู้อยากเห็น
• ความมีเหตุผล วัสดุอุปกรณ์ เดิมหรืออาจปรับเปลีย่ นหนาทีก่ นั ใหมภายใน
1. ลวดอาบน�้ายา 4. ลวดโลหะ กลุม เพือ่ ใหเกิดกระบวนการทํางานรวมกันได
2. มีดหรือกระดาษทราย 5. แม่เหล็ก
3. แกนทรงกระบอก 6. ถ่านไฟฉาย ดียิ่งขึ้น
7. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
วิธีปฏิบัติ ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
1. น�าลวดอาบน�้ายามาพันรอบแกนทรงกระบอก ขดลวดอาบน�้ายา
ประมาณ 25 รอบ โดยให้เหลือส่วนปลายของ 8. ครูใหความรูเ พิม่ เติมหรือเทคนิคเกีย่ วกับการ
ลวดข้างละ 5 เซนติเมตร ดึงขดลวดออกจากทรง ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
กระบอกแล้วบีบให้เป็นขดลวดวงกลม พันปลาย ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
เส้นลวดเข้ากับขดลวดแต่ละด้าน แล้วใช้มีดหรือ
กระดาษทรายขูดน�า้ ยาทีป่ ลายเส้นลวดทัง้ สองออก 9. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
โดยขูดออกเพียงครึ่งเดียวและบริเวณที่ขูดน�้ายา การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
ออกของเส้นลวดทั้งสองอยู่ทางด้านตรงกันข้าม 10. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
2. น�าลวดโลหะมาดัดให้เป็นรูปทรง ดังภาพที่ 2.43 แท่งแม่เหล็ก
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
แล้ววางประกบหัว-ท้ายก้อนถ่านไฟฉาย ใช้นิ้ว
หัวแม่มอื และนิว้ ชีก้ ดปลายข้างหนึง่ ของลวดโลหะ ภาพที่ 2.43 มอเตอร์อย่างง่าย เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ
ไว้ หรือน�าเทปกาวมาติดให้ลวดโลหะประกบอยูก่ บั ที่มา : คลังภาพ อจท. จากการปฏิบัติกิจกรรม
ถ่านไฟฉาย จากนัน้ น�าปลายขดลวดทีเ่ ตรียมไว้วางพาดบนลวดโลหะ จัดขดลวดให้อยูต่ รงกลาง ปลายเส้นลวด
ที่ขูดน�้ายาออกซึ่งวางพาดอยู่บนลวดโลหะจะท�าหน้าที่เป็นแกนหมุนของขดลวด สังเกตผลที่เกิดขึ้น
3. น�าชุดอุปกรณ์ทเี่ ตรียมไว้ตามข้อ 2. เข้าใกล้แท่งแม่เหล็ก โดยให้ขดลวดอยูเ่ หนือแท่งแม่เหล็ก ดังภาพที่ 2.43
สังเกตผลที่เกิดขึ้น แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
4. กลับทิศของกระแสไฟฟ้า (สลับขั้วถ่านหรือกลับหัว-ท้ายของก้อนถ่าน) แล้วปฏิบัติข้อ 3. ซ�้า สังเกตผล 1. เมื่อจายกระแสไฟฟาผานขดลวดที่อยูในสนาม
ที่เกิดขึ้น แมเหล็กสมํ่าเสมอ แรงลัพธที่กระทําตอขดลวด
5. กลับทิศของสนามแม่เหล็ก (กลับขั้วของแท่งแม่เหล็ก) แล้วปฏิบัติข้อ 3. ซ�้า สังเกตผลที่เกิดขึ้น จะเปนศูนยแตทอรกลัพธที่กระทําตอขดลวดไม
เปนศูนย ขดลวดจึงไมเลื่อนตําแหนงแตจะหมุน
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
รอบแกนของขดลวด
1. จากกิจกรรมเมื่อน�าขดลวดไปต่อกับแบตเตอรี่ซึ่งมีแท่งแม่เหล็กวางอยู่ ผลที่ได้จะเป็นอย่างไร
2. ถ้ากลับทิศของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวด ผลที่เกิดขึ้นกับขดลวดจะเป็นอย่างไร 2. ทอรกลัพธที่กระทําตอขดลวดกลับทิศ ขดลวด
3. ถ้ากลับทิศของสนามแม่เหล็กที่ผ่านขดลวด ผลที่เกิดขึ้นกับขดลวดจะเป็นอย่างไร จึงหมุนในทิศตรงขามกับตอนกอนกลับทิศของ
กระแสไฟฟา
แรงในธรรมชาติ 81
3. ขดลวดหมุนในทิศตรงขาม ผลเปนเชนเดียวกับ
การกลับทิศของกระแสไฟฟา

กิจกรรม 21st Century Skills บันทึก กิจกรรม

1. ครูใหนกั เรียนแตละกลุม (กลุม เดิมจากการทํากิจกรรม มอเตอร การปฏิบัติกิจกรรม ผลการสังเกตขดลวด


อยางงาย) รวมกันพูดคุยอภิปรายผลการศึกษากิจกรรมอีกครั้ง จัดชุดอุปกรณที่ตามวิธีปฏิบัติขอที่ 2. ขดลวดไมหมุน
โดยเชื่อมโยงหลักการ เรื่อง แรงจากสนามแมเหล็ก ในการ นําแทงแมเหล็กวางไวใตขดลวด ขดลวดหมุน
อธิบายผลของกิจกรรม ของชุดอุปกรณจากขอที่ 2.
2. สมาชิกแตละกลุมรวมกันประดิษฐอุปกรณหรือของเลนขึ้นมา
กลับทิศของกระแสไฟฟาโดยการ ขดลวดหมุนในทิศตรงขามกับทิศ
1 ชิ้น โดยอุปกรณดังกลาวตองมีสวนประกอบที่ทํางานตาม
กลับขั้วถานไฟฉาย การหมุนกอนการกลับขั้วถานไฟฉาย
หลักการของมอเตอรอยางงายอยูด ว ย โดยอุปกรณหรือของเลน
ชิ้นนี้ตองมีความแปลกใหมและนาสนใจ กลับทิศของสนามแมเหล็กโดยการ ขดลวดหมุนในทิศตรงขามกับทิศ
3. นําผลงานของตนเองออกมานําเสนอและอธิบายหลักการทํางาน กลับขั้วแทงแมเหล็ก การหมุนกอนการกลับขัว้ แทงแมเหล็ก
หนาชั้นเรียน

T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม เมือ่ จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดทีอ่ ยูใ่ นสนามแม่เหล็กสม�า่ เสมอ แรงลัพธ์ทกี่ ระท�าต่อขดลวดเป็นศูนย์ แต่
2. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ ทอร์กลัพธ์ทกี่ ระท�าต่อขดลวดไม่เป็นศูนย์ ขดลวดจึงไม่เลือ่ นต�าแหน่งแต่จะหมุนรอบแกนของขดลวด การกลับ
กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ ทิศของกระแสไฟฟ้าที่จ่ายผ่านขดลวดหรือการกลับทิศของสนามแม่เหล็ก (อย่างใดอย่างหนึ่ง) ส่งผลให้ทอร์ก
กิจกรรม ลัพธ์ที่กระท�าต่อขดลวดกลับทิศ ขดลวดจึงหมุนในทิศตรงข้ามกับตอนก่อนกลับทิศของกระแสไฟฟ้าหรือ
สนามแม่เหล็ก ผลของการหมุนของขดลวดทีอ่ ยูใ่ นสนามแม่เหล็กสม�า่ เสมอเมือ่ มีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดเป็น
3. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย หลักการในการสร้างมอเตอร์ โดยมอเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้งานกันโดยทั่วไปมีส่วนประกอบหลักเหมือนมอเตอร์
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน อย่างง่ายและมีหลักการท�างานใกล้เคียงกัน ซึ่งมอเตอร์ขนาดใหญ่มีส่วนประกอบที่ซับซ้อนกว่ามาก
4. ครูนําสรุปหลังจากศึกษากิจกรรม มอเตอร การน�าขดลวดที่ต่อกับแบตเตอรี่ไปวางในสนามแม่เหล็กจะส่งผลให้เกิดแรงที่กระท�าต่อขดลวดที่มีกระแส
อยางงาย โดยเชื่อมโยงไปถึงกฎการเหนี่ยวนํา ไฟฟ้าท�าให้ขดลวดหมุน ในทางกลับกัน หากไม่มีแบตเตอรี่ในวงจรแล้วท�าการหมุนขดลวดในสนามแม่เหล็ก
จะท�าให้เกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวดได้เช่นกัน โดยกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น เรียกว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�า
ของฟาราเดย ซึง่ เปนกฎพืน้ ฐานทางไฟฟาและ (induced current)
แมเหล็ก

มอเตอร์ไฟฟ้า (electric motor) เป็นอุปกรณ์ทเี่ ปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เครือ่ งใช้


ไฟฟ้าที่ใช้มอเตอร์เป็น1ส่วนประกอบส�าคัญ เช่น พัดลม เครื่องดูดฝุน สว่าน นอกจากนี้ ยังมีมาตร
ไฟฟ้า เช่น มัลติมิเตอร์ชนิดหน้าปัดมีเข็มชี้ ก็ใช้หลักการเดียวกันกับมอเตอร์ไฟฟ้า
จากกิจกรรมจะพบว่า เมือ่ หมุนขดลวดในสนามแม่เหล็กสม�า่ เสมอ จ�านวนเส้นสนามแม่เหล็ก
ที่ตัดผ่านขดลวดหรือที่เรียกว่า ฟลักซ์แม่เหล็ก (magnetic flux) จะเปลี่ยนแปลงตามเวลา ซึ่ง
ส่งผลให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวน�า (induced electromotive force) หรือที่เรียกว่า อีเอ็มเอฟ
เหนี่ยวน�า จึงท�าให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�าขึ้นในขดลวด
ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) (พ.ศ. 2334-2410) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้
ทดลองเพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนีย่ วน�าและการเปลีย่ นแปลงของฟลักซ์
แม่เหล็กที่ผ่านขดลวด สรุปได้ว่า “แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดแปรผันตรงกับ
อัตราการเปลีย่ นแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กทีผ่ า่ นขดลวดเทียบกับเวลา” หรือทีเ่ รามักเรียกว่า กฎการ
เหนี่ยวนําของฟาราเดย์ (Faraday’s law of induction) ซึ่งเป็นกฎพื้นฐานทางไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ทิศของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวน�าและทิศของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�าหาได้โดยใช้กฎของ
เลนซ์ (Lenz’s law) ซึ่งมีใจความว่า “แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นจะมีทิศเดียวกับทิศที่ก่อ
ให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนําในขดลวดในทิศที่ทําให้เกิดสนามแม่เหล็ก ซึ่งให้ฟลักซ์แม่เหล็กต้าน
การเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กเดิม”
82

นักเรียนควรรู กิจกรรม ทาทาย


1 มัลติมเิ ตอร (multimeter) คือ เครือ่ งมือวัดทางไฟฟาทีส่ ามารถวัดปริมาณ ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลและศึกษาเกีย่ วกับกฎการเหนีย่ วนํา
ไฟฟาไดหลากหลายชนิด เชน แรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา ความตานทานไฟฟา ของฟาราเดย (Faraday’s law of induction) เพิ่มเติม จากแหลง
และสามารถใชกบั ไฟฟากระแสตรง (DC) หรือไฟฟากระแสสลับ (AC) ได แหลง ขอมูลสารสนเทศตางๆ เชน หองสมุด หรืออินเทอรเน็ต จากนั้น
พลังงานในการทํางานของมัลติมิเตอรในปจจุบันนั้นไดมาจากแบตเตอรี่ขนาด สรุปผลการศึกษา โดยการเขียนลงในกระดาษ A4 แบบมีเสน
AA หรือ AAA ทําใหอปุ กรณมขี นาดเล็กและนํา้ หนักเบา สามารถนําไปใชงานในที่ เสร็จแลวเก็บรวบรวมสงครู ครูอาจสุม นักเรียนออกมานําเสนอและ
ตางๆ ไดอยางงายดาย การแสดงผลของมัลติมเิ ตอรจะมี 2 แบบ คือ มัลติมเิ ตอร อภิปรายผลการศึกษาของตนเองหนาชั้นเรียน
แบบเข็ม (analog multimeter) และมัลติมเิ ตอรแบบตัวเลข (digital multimeter)

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�า 1. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุม ละประมาณ
6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตาม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จุดประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ ใหอยูในกลุมเดียวกัน เพื่อรวมกัน
• การลงความเห็นจากข้อมูล เพื่อศึกษาการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�าในขดลวดตัวน�า ศึกษากิจกรรม กระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา จาก
จิตวิทยาศาสตร์
• ความอยากรู้อยากเห็น วัสดุอุปกรณ์ หนังสือเรียน
• ความมีเหตุผล
• การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ 1. แท่งแม่เหล็ก 2. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
2. แกลแวนอมิเตอร์ ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
3. ขดลวดทองแดงอาบน�้ายา 3. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
วิธีปฏิบัติ ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
แท่งแม่เหล็ก
1. ต่อขดลวดทองแดงอาบน�้ายากับแกลแวนอมิเตอร์ 4. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
ขนาด 2 มิลลิแอมแปร์ การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
2. น�าแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้าใกล้ขดลวดทองแดง 5. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
สังเกตการเบนของเข็มแกลแวนอมิเตอร์ จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
3. กลับขัว้ ของแท่งแม่เหล็ก และปฏิบตั ติ ามข้อ 2. ซ�้า เพือ่ นําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจจาก
4. ให้ แ ท่ ง แม่ เ หล็ ก อยู ่ กั บ ที่ แ ล้ ว เคลื่ อ นที่ ข ดลวด การปฏิบัติกิจกรรม
ทองแดง สังเกตการเบนของเข็มแกลแวนอมิเตอร์ ขดลวดทองแดง
อธิบายความรู
ภาพที่ 2.44 อุปกรณ์กิจกรรมกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�า
ที่มา : คลังภาพ อจท. 1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
1. เมื่อน�าแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ขดลวดทองแดง เข็มของแกลแวนอมิเตอร์จะเบนอย่างไร 2. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ
2. เมื่อกลับขั้วแท่งแม่เหล็กแล้วน�าแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ขดลวดทองแดง เข็มของแกลแวนอมิเตอร์จะเบน กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ
เหมือนหรือต่างจากเดิม อย่างไร กิจกรรม

อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
จากกิจกรรม เมือ่ น�าแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ขดลวดทองแดงทีต่ อ่ กับแกลแวนอมิเตอร์ เข็มของแกลแวนอมิเตอร์
จะเบนไปจากต�าแหน่งเดิมเนือ่ งจากมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึน้ ในขดลวดทองแดง ในทางกลับกัน ถ้าให้แท่งแม่เหล็ก
อยู่กับที่ และเคลื่อนที่ขดลวดทองแดงไปมาให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ตัดขดลวดทองแดงเปลี่ยนแปลง ก็จะท�าให้เกิด
กระแสไฟฟ้าผ่านแกลแวนอมิเตอร์ได้เช่นกัน
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
แรงในธรรมชาติ 83
1. เบนออกจากตําแหนงเดิม
2. เบนออกจากตําแหนงเดิมในทิศตรงขามกัน

กิจกรรม สรางเสริม บันทึก กิจกรรม

จากการทํากิจกรรม กระแสไฟฟาเหนีย่ วนํา ครูอาจใหนกั เรียน การปฏิบัติกิจกรรม การเบนของเข็มแกลแวนอมิเตอร


ลองลดจํานวนขดลวดที่พันอยูรอบแกนใหมีจํานวนรอบที่นอยลง แทงแมเหล็กเคลื่อนที่เขาใกลขดลวด เข็มเบนออกจากขีด 0
จากนั้ น ให นั ก เรี ย นลองทํ า กิ จ กรรมซํ้ า อี ก ครั้ ง หนึ่ ง เพื่ อ ดู ผ ลที่ ทองแดง
เกิดขึ้นวาเหมือนหรือแตกตางจากกิจกรรมเดิมอยางไร โดยครูให
กลั บ ขั้ ว ของแท ง แม เ หล็ ก แล ว นํ า เข็มเบนออกจากขีด 0 ในดานตรงขาม
นักเรียนสังเกตและบันทึกผลการทํากิจกรรมนี้ลงในสมุดบันทึก
แทงแมเหล็กเคลื่อนที่เขาใกลขดลวด กอนการกลับขั้วแทงแมเหล็ก
ประจําตัว เสร็จแลวรวบรวมสงครู
ทองแดง
แท ง แม เ หล็ ก อยู  กั บ ที่ แ ล ว เคลื่ อ นที่ เข็มเบนออกจากขีด 0
ขดลวดทองแดง

T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย การเกิดแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนําและกระแสไฟฟาเหนีย่ วนําขึน้ ในขดลวดเมือ่ หมุนขดลวด
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน ในสนามแมเหล็กสมํา่ เสมอนีเ้ ปนพืน้ ฐานในการสรางเครือ่ งกําเนิดไฟฟ1 าเพือ่ ผลิตพลังงานไฟฟามา
4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ศึ ก ษาและอธิ บ าย ใชประโยชน โดยเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนอุปกรณที่เปลี่ยนพลังงานกล เชน พลังงานนํ้า พลังงาน
เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟา จากหนังสือเรียน ไอนํ้า เปนพลังงานไฟฟา ซึ่งเครื่องกําเนิดไฟฟามี 2 แบบ คือ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และ
เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง โดยสวนประกอบหลักของเครื่องกําเนิดไฟฟาทั้งสองแบบพิจารณา
ขยายความเขาใจ ได จากภาพที่ 2.45
1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หา เรือ่ ง แรงจากสนาม แหวน
แหวน แปรงสัมผัส
แมเหล็ก โดยเปด PowerPoint ใหนักเรียน
แปรงสัมผัส แหวนผาซีก
ศึกษาควบคูไปดวย
2. ครูใหนกั เรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง แรงจาก ขดลวด ขดลวด
สนามแมเหล็ก ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้ง
ตกแตงใหสวยงาม พลังงานกล พลังงานกล
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน (ใชหมุนขดลวด) (ใชหมุนขดลวด)

ของตนเองหนาชั้นเรียน
(ก) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (ข) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
ภาพที่ 2.45 สวนประกอบหลักของเครื่องกําเนิดไฟฟา
Topic Question เรื่อง แรงจากสนามแมเหล็ก ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
แลวนํามาสงครูทายชั่วโมง สังเกตไดวา เครือ่ งกําเนิดไฟฟาทัง้ สองแบบมีสว นประกอบหลักเหมือนกัน ตางกันเพียงลักษณะ
5. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด ของแหวนและการติดตั้งแปรง กลาวคือ แหวนของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับเปนแหวนเต็ม
เรื่อง แรงจากสนามแมเหล็ก จากแบบฝกหัด วงสองวงแยกกัน (slip ring) ยึดติดกับปลายแตละขางของขดลวดและติดตั้งแปรงเรียงกันสัมผัส
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 มาสง กับแหวนแตละวง สวนแหวนของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงเปนแหวนผาซีก (split ring) หรือ
ครูในชั่วโมงถัดไป แหวนวงเดียวแบงออกเปนสองซีก และติดตั้งแปรงขนานกันประกบอยูคนละขางของแหวนผาซีก
การผลิตไฟฟาของเครือ่ งกําเนิดไฟฟาตองใชพลังงานกลจากภายนอก (เครือ่ งยนต พลังงาน
นํ้า พลังงานลม) หมุนขดลวดที่อยูในสนามแมเหล็กระหวางขั้วเหนือและขั้วใต ขณะขดลวดกําลัง
หมุนจะเกิดการเปลีย่ นแปลงของจํานวนเสนสนามแมเหล็ก (ฟลักซแมเหล็ก) ทีพ่ งุ ผานระนาบของ
ขดลวดทําใหเกิดแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนําและกระแสไฟฟาเหนีย่ วนําขึน้ ในขดลวด กระแสไฟฟา
เหนี่ยวนํานี้จะออกจากขดลวดสูวงจรภายนอกผานทางแหวนและแปรง แลวกลับเขาสูขดลวดผาน
ทางแปรงและแหวน โดยกระแสไฟฟาทีไ่ ดจากเครือ่ งกําเนิดไฟฟากระแสสลับจะกลับทิศทุกครึง่ รอบ
ของการหมุนของขดลวด ดังภาพที่ 2.46 (ก) สวนกระแสไฟฟาที่ไดจากเครื่องไฟฟากระแสตรงจะ
มีทิศเดียวเทานั้น ดังภาพที่ 2.46 (ข)
84

นักเรียนควรรู กิจกรรม ทาทาย


1 พลังงานกล (mechanical energy) เปนพลังงานที่เกี่ยวของกับการ ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงขอมูลสารสนเทศ
เคลือ่ นทีข่ องวัตถุ แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก พลังงานศักยและพลังงานจลน เชน อินเทอรเน็ต เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟา โดยครูใหนักเรียน
โดยพลังงานศักยเปนพลังงานที่สะสมอยูในวัตถุ สวนพลังงานจลนเปนพลังงาน เขียนสรุปสาระสําคัญของเนื้อหาที่นักเรียนกําลังศึกษาลงในสมุด
ของวัตถุขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ พลังงานศักยมี 2 ชนิด คือ พลังงานศักยยืดหยุน บันทึกประจําตัว ซึ่งครูกําหนดใหนักเรียนศึกษาทั้งในสวนของ
ซึ่งเปนพลังงานที่สะสมในวัตถุที่มีการยืดหยุนได เชน พลังงานที่สะสมในสปริง เครือ่ งกําเนิดไฟฟากระแสตรง และเครือ่ งกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
ในแถบยางหรือหนังสติ๊ก พลังงานศักยอีกชนิดหนึ่งเปนพลังงานที่สะสมในวัตถุ เพื่อใหนักเรียนไดทราบถึงการทํางานและความแตกตางของทั้ง
ที่อยูในตําแหนงสูงจากพื้นผิวโลก เรียกวา พลังงานศักยโนมถวง สองชนิด

T92
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
ผลของสนามแมเหล็กทีม่ ตี อ ตัวนําทีม่ กี ระแสไฟฟา
มอเตอรอยางงาย และเครื่องกําเนิดไฟฟา เพื่อ
ให นั ก เรี ย นทุ ก คนได มี ค วามเข า ใจในเนื้ อ หา
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�า ที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว ไปในทางเดี ย วกั น และเป น
ความเขาใจทีถ่ กู ตอง โดยครูใหนกั เรียนเขียนสรุป
ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
0 1 1 3 1
0 1
4
1
2
3
4 1 4 2 4
ขัน้ ประเมิน
1 รอบ ของการหมุน 1 รอบ ของการหมุน ตรวจสอบผล
(ก) เครื่องก�าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ข) เครื่องก�าเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 1. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
แรงจากสนามแมเหล็ก ในสมุดบันทึกประจําตัว
ภาพที่ 2.46 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�าจากเครื่องก�าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับและเครื่องก�าเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 2. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง แรงจากสนาม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แมเหล็ก จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ
Topic 2 (ฟสิกส) ม.5
? Question 3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
1. เส้นสนามแม่เหล็กต่างจากเส้นสนามไฟฟ้าอย่างไร เพราะเหตุใด และการทํางานกลุม
4. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
2. เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะมีลักษณะอย่างไร
ก. เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่เข้าไปในแนวตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กสม�่าเสมอ เนือ้ หา เรือ่ ง แรงจากสนามแมเหล็ก ทีน่ กั เรียน
ข. เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่เข้าไปในแนวท�ามุมใด ๆ กับสนามแม่เหล็กสม�่าเสมอ ได ส ร า งขึ้ น จากขั้ น ขยายความเข า ใจเป น
ค. เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็กไม่สม�่าเสมอทางด้านที่สนามแม่เหล็กมีความ รายบุคคล
เข้มสูงกว่า
3. เหตุใดขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ในสนามแม่เหล็กสม�่าเสมอจึงหมุนได้ทั้ง ๆ ที่แรง
แม่เหล็กลัพธ์ที่กระท�าต่อขดลวดเป็นศูนย์
4. ภายใต้เงื่อนไขใดจะท�าให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวน�าขึ้นในขดลวดที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก
สม�า่ เสมอ และเพือ่ ให้เกิดแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนีย่ วน�าขึน้ ในขดลวดของเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้าภายใต้
เงื่อนไขดังกล่าวจะต้องท�าอย่างไร

แรงในธรรมชาติ 85

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. พิจารณาเปรียบเทียบจากแทงแมเหล็กกับจุดประจุ โดยเสนสนาม
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง แรงจากสนามแมเหล็ก
แมเหล็กของแทงแมเหล็กจะวนออกจากขัว้ เหนือแลววกกลับเขาสูข วั้ ใต
ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ
ขณะที่เสนสนามไฟฟาของจุดประจุ เมื่อออกจากจุดประจุบวกแลว
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
จะไมยอนกลับมายังจุดประจุบวกอีก หรือเสนสนามไฟฟาที่เขาสูจุด
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2 แรงในธรรมชาติ
ประจุลบจะสิ้นสุดที่จุดประจุลบ
2. ก. อนุภาคจะเคลี่อนที่วนเปนวงกลม แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 4-5 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

ข. อนุภาคจะเคลื่อนที่วนเปนวงเกลียว
ระดับคะแนน
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์

ค. อนุภาคจะเคลื่อนที่วนเปนวงเกลียวที่มีรัศมีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

3. ทอร ก ลั พ ธ (โมเมนต ลั พ ธ ) ที่ ก ระทํ า ต อ ขดลวดไม เ ป น ศู น ย จึ ง มี


แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

แรงบิดขดลวดใหหมุนรอบแกนหมุนได ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................

4. เมื่อเสนสนามแมเหล็กที่พุงผานขดลวดเปลี่ยนแปลงตามเวลา แต
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี

เนื่องจากสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ ถาขดลวดอยูนิ่ง เสนสนามแมเหล็ก 8–10


ต่ากว่า 8
พอใช้
ปรับปรุง

ทีพ่ งุ ผานขดลวดจะไมเปลีย่ นแปลง เพือ่ ใหเกิดแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนํา


ขึ้นในขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟาภายใตเงื่อนไขดังกลาวจึงตอง
หมุนขดลวด
T93
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนเกีย่ วกับแรงและ 4. แรงในนิวเคลียส Prior Knowledge
ชนิดของแรงทีเ่ รียนผานมาแลว และสนทนาถึง จากแบบจ�าลองอะตอมของธาตุท�าให้ทราบว่าอะตอมของ ¢¹ำด¢องáรง㹸รรมªำµิ
การเรียนเกีย่ วกับอะตอมและโครงสรางอะตอม ธาตุประกอบด้วยอิเล็กตรอนเคลื่อนที่กระจายเป็นชั้น ๆ รอบ ทÕè äด้ÈกÖ Éำมำáล้ว
ที่นักเรียนเรียนผานมาในวิชาเคมี สามารถนํา ã¹ระดัºอ¹ุภำค
นิวเคลียสซึ่งมีโปรตอนและนิวตรอนรวมตัวกันอยู่ภายใน โดยที่ จะàรÕยงล�ำดัºäด้อย‹ำงäร
มาเชื่อมโยงกับวิชาฟสิกสได อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ โปรตอนเป็นอนุภาค
2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ ทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าบวก และนิวตรอนเป็นอนุภาคทีไ่ ม่มปี ระจุไฟฟ้า จากความรูเ้ กีย่ วกับแรงไฟฟ้าท�าให้
3. ครู ถ ามคํ า ถาม Prior Knowledge จาก พิจารณาได้ว่า แรงที่ยึดอิเล็กตรอนไว้ในอะตอมเป็นแรงไฟฟ้าระหว่างประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน
หนังสือเรียน กับนักเรียนวา “ขนาดของแรงใน การที่โปรตอนและนิวตรอนรวมตัวกันอยู่ในนิวเคลียสได้นั้น ต้องมีแรงในธรรมชาติที่มีค่าเท่ากับ
ธรรมชาติที่ไดศึกษามาแลวในระดับอนุภาค หรือมากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้าระหว่างโปรตอนในนิวเคลียส ซึง่ เรียกแรงดังกล่าวว่า แรงนิวเคลียร์
จะเรียงลําดับไดอยางไร” (nuclear force)
4. ครูใหนกั เรียนรวมกันตัง้ คําถามทีต่ อ งการรูจ าก แรงนิวเคลียร์เป็นแรงกระท�าทีเ่ กิดขึน้ ภายในนิวเคลียส โดย
เนื้อหาที่เกี่ยวของกับ เรื่อง แรงในนิวเคลียส เกิดระหว่างอนุภาคที่อยู่ติดกันท�าหน้าที่ยึดเหนี่ยวอนุภาคต่าง ๆ
นิวคลีออน

ให้อยูร่ วมกันในนิวเคลียส โดยอนุภาคในนิวเคลียสเรียกรวมกันว่า


นิวคลีออน (nucleon) ผลรวมของจ�านวนโปรตอนและจ�านวน
นิวตรอนในนิวเคลียส เรียกว่า จ�านวนนิวคลีออน จึงกล่าวได้ว่า แทนแรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์เป็นแรงที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนทั้ง 2 ประเภท ภาพที่ 2.47 แรงนิวเคลียร์
(โปรตอนและนิวตรอน) เข้าด้วยกัน ซึ่งไม่ใช่แรงไฟฟ้าระหว่าง ที่มา : คลังภาพ อจท.
ประจุไฟฟ้าและแรงดึงดูดระหว่างมวล (แรงโน้มถ่วง) แต่แรงนิวเคลียร์เป็นแรงทีเ่ กิดขึน้ ในระยะทาง
สัน้ ๆ เกิดขึน้ ระหว่างอนุภาคทีอ่ ยูต่ ดิ กันและปลดปล่อยพลังงานออกมาเพือ่ ท�าให้นวิ เคลียสแตกออก
ในนิวเคลียสของธาตุแต่ละธาตุจะมีจา� นวนโปรตอนแน่นอนค่าหนึง่ และมีคา่ ต่างกันไปในแต่ละ
ธาตุ ถ้าทราบจ�านวนโปรตอนในนิวเคลียสจะบอกได้วา่ เป็นนิวเคลียสหรืออะตอมของธาตุใด เช่น ถ้า
จ�านวนโปรตอนในนิวเคลียสเท่ากับ 1 จะเป็นธาตุไฮโดรเจน (H) แต่ถา้ จ�านวนโปรตอนในนิวเคลียส
เท่ากับ 6 จะเป็นธาตุคาร์บอน (C) เป็นต้น
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (nuclear symbol) คือ สัญลักษณ์ที่แสดงชนิดของธาตุ เลขมวล (mass
number; A) และเลขอะตอม (atomic number; Z) โดยเราสามารถใช้เลขมวลและเลขอะตอม
ในการหาจ�านวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมได้ เนือ่ งจากโปรตอนและนิวตรอนแต่ละอนุภาคมีมวล
ประมาณ 1 amu (1.67 × 10-27 kg) เลขมวลจึงเป็นตัวเลขแสดงผลรวมของจ�านวนโปรตอนและ
แนวตอบ Prior Knowledge นิวตรอนหรือจ�านวนนิวคลีออนในนิวเคลียสด้วย
เมื่อเรียงลําดับตามระยะระหวางแรงที่กระทํา
ตอวัตถุหรืออนุภาค จากนอยไปมาก ไดแก แรงใน 86
นิวเคลียส แรงไฟฟา แรงแมเหล็ก และแรงโนมถวง

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาที่เชื่อมโยงไปถึงวิชาเคมี เชน ครู นิวคลีออนหมายถึงอะไร
อาจอธิบายวา amu ยอมาจาก atomic mass unit คือ หนวยมวลอะตอม เปน 1. นิวเคลียสภายในอะตอม
หนวยทีใ่ ชในการวัดมวลของอะตอมและโมเลกุล โดยคําจํากัดความแลวกําหนด 2. นิวตรอนภายในนิวเคลียส
ให 1 หนวยมวลอะตอม เทากับ 12 1 ของมวล 1 อะตอม ของคารบอน-12 หรือ 3. โปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส
ประมาณ 1.66053886 × 10-24 กรัม 4. โปรตอนและอิเล็กตรอนภายในนิวเคลียส
5. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนภายในนิวเคลียส
(วิเคราะหคําตอบ นิวคลีออน หมายถึง อนุภาคภายในนิวเคลียส
สื่อ Digital ซึ่งก็คือ โปรตอนและนิวตรอน ดังนั้น ตอบขอ 3.)
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง แรงในนิวเคลียส

แรงในนิวเคลียส
www.aksorn.com/interactive3D/RKB29
T94
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
สัญลักษณ์ของธาตุ 1. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวรวมกันศึกษา
เรื่อง แรงในนิวเคลียส จากหนังสือเรียน
A
X
เลขมวล จะได้ว่า 2. ครูอาจยกตัวอยางธาตุในวิชาเคมี จากนั้นสุม
เป็นตัวเลขที่แสดงผลรวมของ
จ�ำนวนโปรตอนและนิวตรอน จ�ำนวนโปรตอน = Z นักเรียนใหอธิบายวา สามารถเขียนสัญลักษณ
เลขอะตอม
เป็นตัวเลขที่แสดงจ�ำนวนโปรตอน
Z จ�ำนวนอิเล็กตรอน = จ�ำนวนโปรตอน = Z
จ�ำนวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม
= A-Z
นิวเคลียรของธาตุนั้นไดอยางไร และธาตุนั้น
มีเลขมวลและเลขอะตอมเทาใด รวมทั้งครู
ภาพที่ 2.48 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ อาจถามเพิ่มอีกวา ธาตุนั้นมีจํานวนโปรตอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
นิวตรอน และอิเล็กตรอนเทาใดบาง ตามลําดับ
แรงนิวเคลียร์เป็นแรงในธรรมชำติเช่นเดียวกับแรงโน้มถ่วง แรงไฟฟ้ำ และแรงแม่เหล็ก
โดยเป็นแรงกระท�ำระหว่ำงอนุภำคที่อยู่ติดกันภำยในนิวเคลียสจึงจัดเป็นแรงระยะใกล้ ขณะที่แรง
โน้มถ่วงจัดเป็นแรงระยะไกล ส่วนแรงไฟฟ้ำและแรงแม่เหล็กเป็นแรงกระท�ำทั้งในระยะใกล้และ
ระยะไกล (เมื่อเทียบกับแรงนิวเคลียร์)
4.1 แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม
แรงนิวเคลียร์1อย่างเข้ม (strong nuclear force) หรือแรง
เข้ม หรืออันตรกิรยิ ำอย่ำงเข้ม เป็นแรงกระท�ำระหว่ำงนิวคลีออน
ให้รวมตัวกันอยูใ่ นนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์อย่ำงเข้มเป็นแรงดึงดูด n
ที่มีก�ำลังแรงส�ำหรับนิวคลีออน และยังสำมำรถยึดโปรตอนกับ e - p + e-
นิวเคลียสของอะตอมเข้ำด้วยกันได้
ปัจจุบันเป็นที่เข้ำใจแล้วว่ำแรงนิวเคลียร์อย่ำงเข้มเป็นผล
สืบเนื่องมำจำกแรงที่ยึดเหนี่ยวควาร์ก (quark) ซึ่งเป็นอนุภำคที่ ภาพที่ 2.49 นิวเคลียสของอะตอม
ประกอบกันเป็นโปรตอนหรือนิวตรอนเข้ำด้วยกันเพื่อก่อให้เกิด ฮีเลียม โปรตอน 2 ตัว มีประจุเท่ากัน
นิ ว คลี อ อน เมื่ อ เปรี ย บเที ย บอนุ ภ ำคในระดั บ ขนำดเดี ย วกั น แต่ ยงั คงติดอยูด่ ว้ ยกัน เป็นผลมาจาก
แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม
แรงนิวเคลียร์อย่ำงเข้มมีค่ำสูงสุดเมื่อเทียบกับแรงชนิดอื่นมีค่ำ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ประมำณ 10-100 เท่ำของแรงไฟฟ้ำ (แรงระหว่ำงประจุไฟฟ้ำในนิวเคลียส) ขณะที่แรงไฟฟ้ำมีค่ำ
ประมำณ 1039 เท่ำของแรงโน้มถ่วง (แรงไฟฟ้ำและแรงโน้มถ่วงระหว่ำงโปรตอนกับอิเล็กตรอน)
อย่ำงไรก็ตำม แรงนิวเคลียร์อย่ำงเข้มจะลดลงอย่ำงรวดเร็วเมื่อระยะห่ำงเพิ่มขึ้นและมีค่ำน้อยมำก
จนไม่ต้องน�ำมำพิจำรณำเมื่อระยะห่ำงมำกกว่ำ 10-14 เมตร (ระดับขนำดอะตอม) ด้วยเหตุนี้แรง
ยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอนให้เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสจึงไม่ใช่แรงนิวเคลียร์ แต่เป็นแรงไฟฟ้ำระหว่ำง
ประจุต่ำงชนิดกัน

แรงในธรรมชาติ 87

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


แรงในธรรมชาติในขอใดเปนแรงที่ออนที่สุด 1 อันตรกิริยา (interaction) เปนชนิดของการกระทําที่เกิดขึ้นระหวางวัตถุ
1. แรงโนมถวง 2 วัตถุ หรือมากกวา มีผลซึ่งกันและกัน ในทางฟสิกสอันตรกิริยา หมายถึง
2. แรงแมเหล็กไฟฟา แรงระหวางอนุภาค มี 4 ชนิด ไดแก
3. แรงเสียดทานจลน 1. แรงโนมถวง
4. แรงนิวเคลียรอยางเขม 2. แรงแมเหล็กไฟฟา
5. แรงนิวเคลียรอยางออน 3. แรงนิวเคลียรอยางเขม
(วิเคราะหคําตอบ แรงในธรรมชาติมี 4 ชนิด คือ แรงโนมถวง 4. แรงนิวเคลียรอยางออน
แรงแมเหล็กไฟฟา แรงนิวเคลียรอยางออน และแรงนิวเคลียร
อยางเขม โดยแรงในธรรมชาติทแี่ รงทีส่ ดุ คือ แรงนิวเคลียรอยางเขม
สวนแรงในธรรมชาติทอี่ อ นทีส่ ดุ คือ แรงโนมถวง ดังนัน้ ตอบขอ 1.)

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ครูใหนกั เรียนศึกษาขอมูลเกีย่ วกับควารก จาก
กรอบ Science Focus จากหนังสือเรียน โมเลกุล
โลก สสาร
4. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับควารกเพิ่มเติม
โดยการนําสมารตโฟนของตนเองขึ้นมา แลว
นําไปสแกน QR Code เรื่อง ควารก จาก
หนังสือเรียน
โปรตอน อิเล็กตรอน
<10-16 m
อะตอม
นิวตรอน ∼ 10-10 m

ควาร์ก
<10-16 m

นิวเคลียส
∼10-14 m

โปรตอนหรือนิวตรอน (นิวคลีออน)
∼10-15 m 1
ภาพที่ 2.50 แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างของสสาร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Science Focus
ควาร์ก
จากการศึกษาผลที่เกิดขึ้นภายหลังการชนกันของอนุภาคต่าง ๆ โดยใช้เครื่องเร่งอนุภาคที่มี
พลังงานสูง ท�าให้พบอนุภาคที่เป็นส่วนประกอบของโปรตอนและนิวตรอน เรียกว่า ควาร์ก ซึ่งเชื่อว่าเป็น
อนุภาคที่เล็กที่สุดมีทั้งหมด 6 ชนิด หรือเรียกว่า เฟลเวอร์ (flavour) ได้แก่ อัป ดาวน์ ชาร์ม สเตรนจ์
ท็อป และบอตทอม โดยควาร์กที่พบมากที่สุดในเอกภพ คือ อัปควาร์กและดาวน์ควาร์ก เนื่องจากเป็น
ชนิดที่เสถียรที่สุดและเกิดจากการแปรสภาพจากควาร์ก 4 ชนิดที่เหลือ
เมื่อควาร์กตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไปรวมกัน
u u u d โดยแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มอาจก่อให้เกิดอนุภาคใหม่
d d เรียกว่า แฮดรอน (hadron) ซึ่งแฮดรอนที่เสถียรที่สุด
(ก) โปรตอน (ข) นิวตรอน คื อ โปรตอนและนิวตรอน โดยที่โปรตอนเกิดจากการ
ภาพที่ 2.51 ควาร์กของโปรตอนและนิวตรอน รวมตั วของอัปควาร์ก 2 อนุภาค กับดาวน์ควาร์ก
ที่มา : คลังภาพ อจท. 1 อนุภาค ขณะที่นิวตรอนเกิดจากการรวมตัวของ
อัปควาร์ก 1 อนุภาค กับดาวน์ควาร์ก 2 อนุภาค

88 ควาร์ก

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 สสาร (matter) คือ สิง่ ทีม่ ตี วั ตน มีมวล และตองการทีอ่ ยู สามารถสัมผัสได แรงแบบใดทีเ่ หนีย่ วรัง้ ใหโปรตอนอยูร วมกันไดในนิวเคลียสของ
โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5 (การไดเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การไดลิ้มรส และ อะตอม
การไดสัมผัส) แตยังไมทราบสมบัติที่แนนอน เชน ดิน นํ้า อากาศ ภายในสสาร 1. แรงไฟฟา
หรือเนื้อของสสาร เรียกวา สาร (subtance) สสารที่อยูบนโลกอาจอยูในสถานะ 2. แรงโนมถวง
ตางๆ ขึ้นอยูกับอุณหภูมิ ความดัน และสมบัติภายในของสาร (สมบัติทาง 3. แรงแมเหล็ก
กายภาพ และสมบัติทางเคมี) สถานะของสสารแบงออกเปน 3 สถานะ ไดแก 4. แรงนิวเคลียรอยางเขม
ของแข็ง (solid) ของเหลว (liquid) และแกส (gas) 5. แรงนิวเคลียรอยางออน
(วิเคราะหคําตอบ แรงนิวเคลียรอยางเขมเปนแรงยึดเหนี่ยวใน
สื่อ Digital นิวเคลียส เกิดจากควารก ซึ่งเปนอนุภาคที่อยูในโปรตอนและ
นิ ว ตรอนดึ ง ดู ด กั น ทํ า ให โ ปรตอนและนิ ว ตรอนรวมกั น อยู  ใ น
ศึกษาเพิม่ เติมไดจากการสแกน นิวเคลียส ดังนั้น ตอบขอ 4.)
QR Code เรื่อง ควารก

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4.2 áç¹ÔÇà¤ÅÕÂÏÍ‹ҧ͋͹ 5. ครู ถ ามคํ า ถามท า ทายการคิ ด ขั้ น สู ง จาก
แรงนิวเคลียรอยางออน (weak nuclear force) หรือแรงออน หรืออันตรกิริยาอยางออน หนั ง สื อ เรี ย นกั บ นั ก เรี ย นว า “เพราะเหตุ ใ ด
เปนแรงกระทําภายในแตละนิวคลีออน จึงเปนแรงกระทําในระยะใกลกวาแรงนิวเคลียรอยางเขม การสลายใหอนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี
(ประมาณ 10-17-10-18 m) แรงนิวเคลียรอยางออนเปนแรงที 1 ่ทําใหโปรตอนเปลี่ยนเปนนิวตรอน จึงอธิบายไมไดดว ยแรงนิวเคลียรอยางเขม แรง
และนิวตรอนเปลี่ยนเปนโปรตอนผานการสลายใหอนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี แมเหล็กไฟฟา และแรงโนมถวง”
แรงนิวเคลียรอยางออนทําใหเกิดสมดุลระหวางโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส สงผล 6. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวรวมกันศึกษา
ใหทุกสิ่งอยูรวมกันไดในนิวเคลียส และยังมีความสําคัญตอปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันในดวงอาทิตย ค น คว า เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เครื่ อ งชนอนุ ภ าค
และดาวฤกษตา ง ๆ ซึง่ เปนการหลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนหรือโปรตอนใหเปนธาตุหนัก โดยแรง แฮดรอนขนาดใหญ (LHC) จากอินเทอรเน็ต
นิวเคลียรอยางออนจะเปลี่ยนโปรตอนใหเปนนิวตรอน จากนั้นแรงนิวเคลียรอยางเขมจะทําหนาที่ จากนั้นเขียนสรุปผลการศึกษาเปนความคิด
ยึดเหนี่ยวโปรตอนและนิวตรอนใหอยูรวมกันเพื่อสรางนิวเคลียสดิวเทอเรียม (Deuterium) ซึ่งทํา
ปฏิกริ ยิ าตอไปเพือ่ สรางนิวเคลียสฮีเลียมพรอมปลดปลอยพลังงานปริมาณมหาศาลออกมา ปฏิกริ ยิ า เห็นของคูตนเองลงในกระดาษ A4
นิวเคลียรฟว ชันในดวงอาทิตยและดาวฤกษตา ง ๆ จึงเกีย่ วของกับแรงนิวเคลียรทงั้ สองประเภทโดยตรง
ในระดับขนาดเดียวกัน แรงนิวเคลียรอยางออนมีคานอย
กวาแรงนิวเคลียรอยางเขม แรงไฟฟาและแรงแมเหล็กมาก แต คําถามทาทายการคิดขัน้ สูง
มีคา มากกวาแรงโนมถวงเล็กนอย โดยแรงแมเหล็กและแรงไฟฟา
มีคาประมาณ 1012 เทาของแรงนิวเคลียรอยางออน เพราะเหตุใดการสลาย
ให อ นุ ภ าคบี ต าของธาตุ
สังเกตไดวา แรงโนมถวง แรงไฟฟา เปนไปตามกฎกําลัง กั ม มั น ตรั ง สี จึ ง อธิ บ าย
สองผกผัน กลาวคือ ขนาดของแรงแปรผกผันกับกําลังสองของ ไม ไ ด ด  ว ยแรงนิ ว เคลี ย ร
ระยะหางระหวางตนกําเนิดของแรง เชน ถาระยะหางเพิ่มขึ้น 2 แบบเข ม แรงแม เ หล็ ก
เทา ขนาดของแรงจะลดลงเหลือ 1 ใน 4 ขณะที่แรงนิวเคลียร ไฟฟา และแรงโนมถวง
ทั้ง 2 แบบ ไมไดเปนตามกฎกําลังสองผกผัน

Science Focus
à¤Ã×èͧª¹Í¹ØÀÒ¤áδÃ͹¢¹Ò´ãËÞ‹
เครือ่ งชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ (large hadron col-
lider; LHC) คือ เครื่องเรงอนุภาคที่ใหญที่สุดในโลก โดยองคการ
วิจัยนิวเคลียรยุโรป (European Organization for Nuclear
Research) หรือเซิรน (Conseil Européen pour la Recherche
Nucléaire; CERN) เปนผูสรางเครื่องนี้ขึ้นที่บริเวณเขตแดน แนวตอบ H.O.T.S.
ประเทศฝรัง่ เศสและสวิตเซอรแลนด ใกลกบั กรุงเจนีวา เปนทอใตดนิ
ลักษณะเปนวงแหวนขนาดความยาวเสนรอบวง 27 กิโลเมตร ภาพที่ 2.52 เครื่องชนอนุภาค LHC
เนื่ อ งจากแรงนิ ว เคลี ย ร อ ย า งอ อ นเป น แรง
ที่มา : คลังภาพ อจท. กระทํ า ระหว า งนิ ว คลี อ อน และในการสลายให
อนุภาคบีตาของธาตุกมั มันตรังสีแรงนิวเคลียรอยาง
áç㹸ÃÃÁªÒµÔ 89
ออนจะทําหนาที่เปลี่ยนนิวตรอนไปเปนโปรตอน
ขณะที่มีการปลดปลอยอิเล็กตรอนและนิวทริโน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


เมื่อสารกัมมันตรังสีสลายตัวใหอนุภาคบีตา 2 ตัว นิวเคลียส 1 การสลายใหอนุภาคบีตา (Beta decay) เปนรูปแบบหนึง่ ของการสลายตัว
ของสารดังกลาวจะมีเลขมวลและเลขอะตอมเปลี่ยนไปอยางไร ของธาตุกมั มันตรังสีทอี่ นุภาคบีตาถูกปลดปลอยออกมา เกิดขึน้ สําหรับนิวเคลียส
(แนวตอบ ลัญลักษณนิวเคลียรของบีตา คือ -10e ของธาตุกมั มันตรังสีทมี่ นี วิ ตรอนมากเกินไป ทําใหเกิดความไมสมดุลในนิวเคลียส
เขียนและดุลสมการการสลายตัวใหอนุภาคบีตา กําหนดใหเริม่ ตน ในกรณีที่ปลดปลอยอิเล็กตรอนจะเปนบีตาลบ (β-) สวนในกรณีท่ีปลดปลอย
เปน X สลายกลายเปน Y จะได AZ11X A2 0
Z2Y + 2(-1e) โพซิตรอนจะเปนบีตาบวก (β+)
ผลรวมของเลขมวลกอน = ผลรวมของเลขมวลหลัง
A1 = A 2 + 0
A1 = A 2 (เลขมวลเทาเดิม)
สื่อ Digital
ผลรวมของเลขอะตอมกอน = ผลรวมของเลขอะตอมหลัง ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตร
Z1 = Z2 + (-2) สารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง แรงในธรรมชาติ
Z2 = Z1 + 2 (เลขอะตอมเพิ่มขึ้น 2) https://www.twig-aksorn.com/
ดังนั้น เลขมวลเทาเดิมและเลขอะตอมเพิ่มขึ้น 2) film/forces-of-nature-8293/

T97
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้น การลดลงของพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนในช่วงเลขมวลค่าสูง ๆ หรือนิวเคลียสขนาด
ใหนําเสนอผลการศึกษาของคูตนเองเกี่ยวกับ ใหญ่ เป็นการยืนยันว่าแรงนิวเคลียร์เป็นแรงระยะใกล้ เนื่องจากในนิวเคลียสขนาดใหญ่โปรตอนจะ
เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ จนครบ อยูห่ า่ งกันมากกว่าในนิวเคลียสขนาดเล็ก และแรงผลักทางไฟฟ้าระหว่างโปรตอนเริม่ มีความส�าคัญ
ทุกคู นิวเคลียสจึงมีเสถียรภาพน้อยลง
2. ครูใหนักเรียนรวมกันโหวตลงคะแนนผลงาน ปัจจุบันมนุษย์ใช้ประโยชน์จากแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนของรังสีที่ได้จากการสลายของ
นิวเคลียสกัมมันตรังสี ดังนี้
ของเพื่อน โดยครูอาจตรวจและใหคะแนน
• ด้านการแพทย์ ใช้ตรวจวินิจฉัยโรคและรักษาโรค (ส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง)
พิเศษสําหรับเจาของผลงาน • ด้านโบราณคดี ใช้หาอายุของวัตถุโบราณหรือซากสิ่งมีชีวิต
3. ครูแจกใบงาน เรื่อง แรงในนิวเคลียส จากนั้น • ด้านการเกษตร ใช้ฉายรังสีเพื่อก�าจัดแมลงและควบคุมการงอก ฉายรังสีเพื่อปรับปรุง
มอบหมายใหนกั เรียนศึกษา แลวรวบรวมสงครู พันธุ์พืช
ทายชั่วโมง • ด้านอุตสาหกรรม ใช้ปรับปรุงการผลิต เช่น ฉายรังสีเพือ่ ถนอมอาหาร ฉายรังสีเพือ่ ปรับปรุง
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก สีของอัญมณี และควบคุมการผลิต เช่น ตรวจวัดปริมาณตะกัว่ ตรวจสอบรอยเชือ่ ม ตรวจสอบและ
Topic Question เรื่อง แรงในนิวเคลียส จาก ควบคุมความหนาของแผ่นวัสดุโดยใช้รังสี
หนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว แลว ส่วนแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มใช้ประโยชน์จากพลั
1 งงานนิ2วเคลียร์ที่ได้จากการแตกตัวของ
นํามาสงครูทายชั่วโมง นิวเคลียสของธาตุหนัก (เลขมวลสูง ๆ เช่น ยูเรเนียม พลูโทเนียม) ภายในเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์
5. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง ซึ่งท�าหน้าที่เปลี่ยนพลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานความร้อน เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตกระแส
แรงในนิวเคลียส จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตร ไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 เปนการบาน แลวนํา Topic
มาสงครูในชั่วโมงถัดไป ? Question
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. ถ้าต้องการทราบว่าเป็นนิวเคลียสของธาตุใดต้องพิจารณาจากสิ่งใดในนิวเคลียส โดยจ�านวน
สิ่งนั้นพิจารณาจากอะไร
2. นิวคลีออนคืออะไร และจ�านวนนิวคลีออนพิจารณาได้จากสิ่งใด
3. จงระบุว่าสมบัติต่อไปนี้เป็นสมบัติของแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มหรือแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน
ก. เป็นแรงกระท�าระหว่างนิวคลีออน
ข. เป็นแรงที่ท�าให้โปรตอนเปลี่ยนเป็นนิวตรอน
ค. เป็นแรงที่ท�าให้เกิดสมดุลระหว่างโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส
4. แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มและแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน
ในดวงอาทิตย์อย่างไร
5. เสถียรภาพของนิวเคลียสพิจารณาได้จากสิ่งใดและอย่างไร และเหตุใดนิวเคลียส
ขนาดใหญ่จึงมีเสถียรภาพน้อยลง
90

นักเรียนควรรู แนวตอบ Topic Question


1. จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส โดยพิจารณาไดจากเลขอะตอม
1 ยูเรเนียม (Uranium) คือ ธาตุที่มีเลขอะตอม 92 เขียนแทนดวยสัญลักษณ
2. อนุภาคในนิวเคลียส โดยจํานวนนิวคลีออนพิจารณาไดจากเลขมวล
U เปนธาตุโลหะกัมมันตรังสี เปนโลหะแอกทิไนดสีเงินวาว ไอโซโทป U-235
ใชเปนเชื้อเพลิงนิวเคลียรในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรและอาวุธนิวเคลียร ตาม 3. ก. แรงนิวเคลียรอยางเขม ข. แรงนิวเคลียรอยางออน
ธรรมชาติพบยูเรเนียมในปริมาณเล็กนอยในหิน ดิน นํ้า พืช และสัตว รวมทั้ง ค. แรงนิวเคลียรอยางออน
มนุษยดวย 4. แรงนิวเคลียรอยางออนจะเปลี่ยนโปรตอนใหเปนนิวตรอน จากนั้นแรง
2 พลูโทเนียม (Plutonium) คือ ธาตุที่มีเลขอะตอม 94 เขียนแทนดวย นิวเคลียรอยางเขมจะทําหนาที่ยึดเหนี่ยวโปรตอนและนิวตรอนใหอยู
สัญลักษณ Pu เปนธาตุโลหะกัมมันตรังสี เปนโลหะแอกทิไนดสีขาวเงิน และจะ รวมกัน เพื่อสรางนิวเคลียสดิวเทอเรียมซึ่งทําปฏิกิริยาตอไปเพื่อสราง
มัวลงเมือ่ สัมผัสอากาศ ซึง่ เกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติพลูโทเนียมมี นิวเคลียสฮีเลียม พรอมปลดปลอยพลังงานปริมาณมหาศาลออกมา
6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าทางเคมีกบั คารบอน 5. พิจารณาไดจากพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออน โดยนิวเคลียสที่มี
แฮโลเจน ไนโตรเจน และซิลิคอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสรางสารประกอบ พลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนสูงจะมีเสถียรภาพสูงกวานิวเคลียสที่
ออกไซดและไฮไดรดมากกวารอยละ 70 ของปริมาตร ซึง่ จะแตกออกเปนผงแปง มีพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนตํ่า และเหตุที่นิวเคลียสขนาดใหญ
ที่สามารถติดไฟไดเอง มีเสถียรภาพนอยลงเปนเพราะในนิวเคลียสขนาดใหญ โปรตอนจะอยู
หางกันมากกวาในนิวเคลียสขนาดเล็ก และแรงผลักทางไฟฟาระหวาง
T98 โปรตอนเริ่มมีความสําคัญ นิวเคลียสจึงมีเสถียรภาพนอยลง
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
Summary 1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หา เรือ่ ง แรงในธรรมชาติ
áç㹸ÃÃÁªÒµÔ โดยเปด PowerPoint ควบคูไปดวย
2. ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนสอบถามเกีย่ วกับสิง่ ที่
สงสัยหรือยังไมเขาใจเพิ่มเติม
áç¨Ò¡Ê¹ÒÁ⹌Á¶‹Ç§ 3. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง แรงใน
แรงโนมถวงของโลกทําใหสิ่งตาง ๆ บนพื้นผิวโลกมีนํ้าหนักและ นิวเคลียส ลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตง
เคลือ่ นทีจ่ ากทีส่ งู ลงสูท ตี่ าํ่ โดยนํา้ หนักของวัตถุจะมีทศิ พุง ลงตามแนวดิง่ ใหสวยงาม
และตกผานศูนยถว ง ซึง่ เปนเสมือนจุดรวมนํา้ หนักของวัตถุเสมอ ไมวา วัตถุ 4. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
จะวางตัวอยูใ นลักษณะใด แรงโนมถวงของโลกยังสงผลใหวตั ถุทเี่ คลือ่ นที่
ในสนามโนมถวงของโลกแบบมีความเรง เรียกวา ความเรงโนมถวง ของตนเองหนาชั้นเรียน
ซึง่ มีคา 9.8 เมตรตอวินาที2 (คาเฉลีย่ ทัว่ พืน้ ผิวโลก) มีทศิ พุง ลงตามแนวดิง่ 5. ครูใหนกั เรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
เมือ่ ไมคดิ แรงตานอากาศหรือแรงตานการเคลือ่ นทีใ่ ด ๆ จะเรียกวา การตก ภาพที่ 2.53 สนามโนมถวงของโลก ดวยกรอบ Self Check เรื่อง แรงในธรรมชาติ
แบบเสรี ที่มา : คลังภาพ อจท. จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
áç¨Ò¡Ê¹ÒÁä¿¿‡Ò 6. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
Unit Question หนวยการเรียนรูที่ 2 แรงใน
ธรรมชาติ จากหนังสือเรียน โดยทําลงในสมุด
จุดสะเทิน บันทึกประจําตัวเปนการบาน แลวรวบรวมสง
ครูเพื่อตรวจสอบและใหคะแนน
ภาพที่ 2.54 แรงกระทําระหวางประจุไฟฟา 7. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน
เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาอยูในสนามไฟฟาหรือเคลื่อนที่เขาสูบริเวณที่มีสนามไฟฟา อนุภาคที่มี
ประจุไฟฟานั้นจะไดรับแรงกระทําจากสนามไฟฟา ถาเปนสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ อนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวก
แรงไฟฟาที่กระทําตออนุภาคจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟา แตถาเปนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบ แรงไฟฟาที่ ขัน้ สรุป
กระทําตออนุภาคจะมีทิศตรงขามกับสนามไฟฟา ตรวจสอบผล

áç¨Ò¡Ê¹ÒÁáÁ‹àËÅç¡ นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ


สนามแมเหล็กมีแหลงกําเนิดสําคัญ 2 แหลง คือ แมเหล็กธรรมชาติ และกระแสไฟฟาทีเ่ คลือ่ นทีผ่ า นตัวนํา แรงในนิวเคลียส เพื่อใหนักเรียนทุกคนไดมีความ
โดยลักษณะของเสนสนามแมเหล็ก พิจารณาไดจากการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กที่โรยไวรอบ ๆ แทงแมเหล็ก เข า ใจในเนื้ อ หาที่ ไ ด ศึ ก ษามาแล ว ไปในทาง
หรือตัวนําที่มีกระแสไฟฟาผาน แรงแมเหล็กระหวางขั้วแมเหล็กคลายกับแรงกระทําระหวางประจุไฟฟา คือ เดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง โดยครู
ขั้วเหมือนกันผลักกันขั้วตางกันดูดกัน ให นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก
ถานําลวดตัวนํามาพันเปนขดลวดแลวนําไปวางในสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ เมื่อจายกระแสไฟฟาผาน
ขดลวด แรงแมเหล็กที่กระทําตอขดลวดจะทําใหขดลวดหมุน ผลที่เกิดขึ้นนี้เปนพื้นฐานในการสรางมอเตอร ประจําตัว
และเครื่องวัดไฟฟาตาง ๆ (แกลแวนอมิเตอร แอมมิเตอร โวลตมิเตอร โอหมมิเตอร)
áç㹸ÃÃÁªÒµÔ 91

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. นักเรียนแบงกลุม อยางอิสระตามความสมัครใจ กลุม ละ 3-4 คน เมื่อครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จ หรือถึงชวงทายของกิจกรรมใน
2. สมาชิกแตละกลุม รวมกันศึกษา เรือ่ ง แรงในธรรมชาติ จากแหลง หนวยการเรียนรูที่ 2 แรงในธรรมชาติ ครูอาจถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาที่
ขอมูลสารสนเทศตางๆ เชน หองสมุด วารสาร อินเทอรเน็ต นักเรียนไดศกึ ษาแลว เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน หรือครูอาจนําคลิป
จากนั้นพูดคุยอภิปรายผลการศึกษารวมกันภายในกลุม วิดโี อทีเ่ กีย่ วของมานําเสนอใหนกั เรียนดู เพือ่ เปนการอธิบายความรูเ สริมเพิม่ เติม
3. แตละกลุมรวมกันจัดทํารายงาน เรื่อง แรงในธรรมชาติ โดยครู จากเนื้อหาในหนังสือเรียน เชน คลิปวิดีโอจาก youtube เรื่อง แรงในธรรมชาติ
กําหนดใหใชวธิ กี ารเขียนดวยลายมือตัวบรรจงลงในกระดาษ A4 ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=CAmTmX_
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม E7TM
4. ครู ใ ห แ ต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนกลุ  ม ออกมาหน า ชั้ น เรี ย น เพื่ อ
นําเสนอผลงานของกลุมตนเอง โดยรูปแบบการนําเสนอขึ้นอยู
กับแนวทางของกลุมและใชภาษาที่เขาใจงาย สามารถดึงดูด
ความสนใจของผูฟงได

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน แรงในนิวเคลียส นิวคลีออน
เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจหลั ง เรี ย นของ แรงในนิวเคลียสเป็นแรงกระท�าในระยะใกล้ (ภายในนิวเคลียส) แรง
นักเรียน ในนิวเคลียสหรือแรงนิวเคลียร์มี 2 ประเภท ได้แก่ แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม
2. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง แรง และแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน โดยแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงกระท�า
ในนิวเคลียส ระหว่างนิวคลีออน (โปรตอนและนิวตรอน) ส่วนแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน
เป็นแรงกระท�าภายในนิวคลีออน
3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง แทนแรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเป็นแรงที่ยึดนิวคลีออนไว้ภายในนิวเคลียส
แรงในนิวเคลียส ในสมุดบันทึกประจําตัว และเป็นแรงที่ส่งผลโดยตรงต่อเสถียรภาพของนิวเคลียส ส่วนแรง ภาพที่ 2.55 แรงนิวเคลียร์
4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question หนวย นิวเคลียร์อย่างอ่อนเป็นแรงที่ท�าให้โปรตอนเปลี่ยนเป็นนิวตรอน และ ที่มา : คลังภาพ อจท.
การเรียนรูที่ 2 แรงในธรรมชาติ ในสมุดบันทึก นิวตรอนเปลี่ยนเป็นโปรตอนผ่านการสลายให้อนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสี แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนช่วยให้
ประจําตัว เกิดสมดุลระหว่างโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส ส่งผลให้ทกุ สิง่ อยูร่ วมกันได้ในนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์
5. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเขาใจของ ทั้ง 2 ประเภท ยังเกี่ยวข้องโดยตรงกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันในดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการ
หลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนหรือโปรตอนให้เป็นธาตุหนัก โดยแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนจะเปลี่ยนโปรตอนให้
ตนเอง Self Check จากหนังสือเรียน ในสมุด เป็นนิวตรอน จากนัน้ แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มจะท�าหน้าทีย่ ดึ เหนีย่ วโปรตอนและนิวตรอนให้อยูร่ วมกันเพือ่ สร้าง
บันทึกประจําตัว นิวเคลียสดิวเทอเรียม ซึง่ ท�าปฏิกริ ยิ าต่อไปเพือ่ สร้างนิวเคลียสฮีเลียมพร้อมปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาล
6. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรือ่ ง แรงในนิวเคลียส ออกมา
จากแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ 2
(ฟสิกส) ม.5 Self Check
7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่กําหนดให้
และการทํางานกลุม
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
8. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
1. ดาวเทียมและดวงจันทร์โคจรรอบโลกโดยมีแรงโน้มถ่วงเป็นแรงสู่ 1.1
เนื้อหา เรื่อง แรงในนิวเคลียส ที่นักเรียนได ศูนย์กลาง
สร า งขึ้ น จากขั้ น ขยายความเข า ใจเป น ราย 2. เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวน�าตรงจะเกิดสนามแม่เหล็กรอบลวด 3.3
บุคคล ตัวน�าทั้งในแนวขนานและแนวตั้งฉากกับลวดตัวน�าตรง

มุ ด
3. แรงแม่เหล็กที่กระท�าต่อลวดตัวน�าที่อยู่ในสนามแม่เหล็กและมีกระแส 3.3
นส
ไฟฟ้าผ่านเป็นพื้นฐานในการสร้างมอเตอร์ งใ

ทึ ก
บั น

4. แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนีย่ วน�าทีเ่ กิดขึน้ ในขดลวดตัวน�าทีก่ า� ลังหมุนในสนาม 3.4


แม่เหล็กสม�่าเสมอเป็นพื้นฐานในการสร้างเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า
5. แรงเข้มที่เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในนิวเคลียสจะเปลี่ยน 4.2
เป็นแรงอ่อนเมื่อเกิดการสลายของนิวเคลียส
แนวตอบ Self Check
1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก 92
4. ถูก 5. ผิด

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง แรงในนิวเคลียส ได ถาในธรรมชาติไมมีแรงนิวเคลียร เหตุการณในขอใดตอไปนี้
จากผังมโนทัศนที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ นาจะเปนไปไดมากที่สุด
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา 1. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2 แรงในธรรมชาติ 2. ธาตุทุกตัวจะปลอยกัมมันตรังสี
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
3. ธาตุสูญเสียอิเล็กตรอนวงนอกสุด
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-2, 4-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้อง
4. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียม
5. นิวเคลียสจะมีเฉพาะโปรตอน ไมมีนิวตรอน
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่

(วิเคราะหคําตอบ เมื่อไมมีแรงนิวเคลียรทําใหไมมีแรงดึงดูด
แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี

ระหวางโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส กลาวไดวา ภายใน


ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
14–16
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
นิวเคลียสจะมีโปรตอนหรือนิวตรอนไดเพียง 1 ตัว นั่นคือ จะเกิด
ไดเฉพาะธาตุไฮโดรเจนเทานั้น ดังนั้น ตอบขอ 1.)
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

เฉลย Unit Question

Unit Question 1. ก. เปนสนามไฟฟาไมสมํ่าเสมอ


ข. เปนสนามไฟฟาไมสมํ่าเสมอ
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้ ค. เปนสนามไฟฟาไมสมํ่าเสมอ
ง. เปนสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ
1. พิจารณาสนามไฟฟ้าที่ก�าหนดให้แล้วระบุว่าเป็นสนามไฟฟ้าสม�่าเสมอหรือไม่สม�่าเสมอ 2. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่เปนแนวเสนตรงขนาน
ก. สนามไฟฟ้าของจุดประจุ
กับสนามไฟฟาไปทางซาย เนื่องจากแรงไฟฟา
ข. สนามไฟฟ้าของจุดประจุสองจุดประจุที่วางใกล้กัน
บนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาลบมีทิศตรงขามกับ
ค. สนามไฟฟ้าจากประจุที่กระจายอย่างสม�่าเสมอเป็นแนวตรง
ง. สนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นตัวน�าขนานที่มีประจุต่างชนิดกัน สนามไฟฟา
3. วางหันขั้วตางกันเขาหากัน สนามแมเหล็ก
2. ถ้าวางอิเล็กตรอนไว้ในสนามไฟฟ้าทีม่ ที ศิ ไปทางขวา การเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร บริเวณระหวางขั้วทั้งสองของแมเหล็กจะเปน
เพราะเหตุใด
สนามสมํ่าเสมอ
3. การจัดวางสนามแม่เหล็กขัว้ ปลายสองแท่งในลักษณะใดทีใ่ ห้สนามแม่เหล็กสม�า่ เสมอ และเป็น 4. จากกฎมือขวาแบบกํามือ เมื่อกํามือขวารอบ
สนามแม่เหล็กบริเวณใด โซเลนอยดแกนโลหะโดยใหปลายนิ้วทั้งสี่ชี้ไป
4. จงระบุทิศของสนามแม่เหล็กและสภาพขั้วแม่เหล็กของ ในทิศทางเดียวกับทิศการวนของกระแสไฟฟา
โซเลนอยด์แกนโลหะ ดังภาพที่ 2.56 ในขดลวดที่พันรอบแกนโลหะ นิ้วหัวแมมือจะ
5. โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน เมือ่ เคลือ่ นทีเ่ ข้าไปในแนว I I ชี้ไปทางขวา สนามแมเหล็กจึงมีทิศไปทางขวา
ที่ไม่ขนานกับสนามแม่เหล็ก อนุภาคใดที่ไม่ได้รับแรงกระท�า ภาพที่ 2.56 โซเลนอยด์ และปลายขวาเปนขั้วเหนือ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
จากสนามแม่เหล็ก เพราะเหตุใด 5. จากสมการ FB = q(v × B) จะพิจารณาไดวา
Bout นิวตรอนไมไดรบั แรงกระทําจากสนามแมเหล็ก
6. ถ้าอิเล็กตรอนในล�าอิเล็กตรอนเคลือ่ นทีไ่ ปทางขวาและสนาม v
แม่เหล็กมีทศิ พุง่ ออกตัง้ ฉากกับล�าอิเล็กตรอน ดังภาพที่ 2.57 เนื่องจากนิวตรอนไมมีประจุไฟฟา (q = 0)
ล�าอิเล็กตรอนจะเบนแนวการเคลื่อนที่อย่างไร ภาพที่ 2.57 ทิศการเคลื่อนที่ 6. จากกการพิจารณาดวยกฎมือซายสําหรับผล
ของอิเล็กตรอน คูณเชิงเวกเตอรจะพบวา ลําอิเล็กตรอนจะเบน
7. มอเตอร์มีหลักการท�างานอย่างไร ที่มา : คลังภาพ อจท.
ขึ้นไปจากแนวระดับ
8. แรงในธรรมชาติแรงใดบ้างที่เป็นไปตามกฎก�าลังสองผกผัน 7. การเกิ ด แรงกระทํ า ต อ ขดลวดที่ อ ยู  ใ นสนาม
และแรงใดบ้างที่ไม่เป็นไปตามกฎก�าลังสองผกผัน แมเหล็กเมื่อจายกระแสไฟฟาผานขดลวด
9. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ด้วยแรงใด 8. แรงในธรรมชาติที่เปนตามกฎกําลังสองผกผัน
10. การสลายให้อนุภาคบีตาของธาตุกัมมันตรังสีเกี่ยวข้องกับแรงใด คือ แรงโนมถวง แรงไฟฟา และแรงแมเหล็ก
สวนแรงในธรรมชาติทไี่ มเปนตามกฎกําลังสอง
ผกผัน คือ แรงในนิวเคลียส (แรงนิวเคลียร)
แรงในธรรมชาติ 93 9. แรงนิวเคลียรอยางเขม
10. แรงนิวเคลียรอยางออน

T101
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายความหมาย แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
พลังงานในชีวิต - หนังสือเรียน รายวิชา ของพลังงานและ หาความรู้ - ส ังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
ประจ�ำวัน พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ จ�ำแนกประเภทของ (5Es พลังงานในชีวิตประจ�ำวัน - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) พลังงานทดแทนได้ Instructional - ตรวจผังมโนทัศน์ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
4 ม.5 (K)
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. อธิบายแหล่งที่มาของ
Model) เรื่อง พลังงานทดแทน
- ตรวจใบงาน เรื่อง พลังงาน
ร่วมกัน
- ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ พลังงานทีพ่ บเห็นจาก สิ้นเปลือง ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) การท�ำกิจกรรมต่าง ๆ - ตรวจแบบฝึกหัด
ม.5 ในชีวิตประจ�ำวันได้ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- ใบงาน (K) Topic Question
- PowerPoint 3. น�ำเสนอผลการศึกษา - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code เรื่อง ไฟฟ้าจาก การท�ำงานรายบุคคล
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น พลังงานแสงอาทิตย์ - สังเกตพฤติกรรม
Twig อย่างเป็นล�ำดับ การท�ำงานกลุ่ม
ขั้นตอน (P) - สังเกตคุณลักษณะ
4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ อันพึงประสงค์
อยากรู้อยากเห็น (A)
5. ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น
อย่างสร้างสรรค์ (A)
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. อธิบายความหมาย แบบสืบเสาะ - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
พลังงาน พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ของพลังงาน หาความรู้ พลังงานในชีวิตประจ�ำวัน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
นิวเคลียร์ กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) นิวเคลียร์ได้ (K) (5Es - ตรวจผังมโนทัศน์ - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 2. จ�ำแนกประเภทของ Instructional เรื่อง พลังงานนิวเคลียร์ - ทักษะการน�ำความรู้ การท�ำงาน
1 - แบบฝึกหัด รายวิชา
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์
พลังงานนิวเคลียร์
ฟิชชันและฟิวชันได้
Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง พลังงาน
นิวเคลียร์
ไปใช้
ชั่วโมง กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) (K) - ตรวจแบบฝึกหัด
ม.5 3. เขียนสรุปข้อมูล เรื่อง - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- ใบงาน พลังงานนิวเคลียร์ได้ Topic Question
- PowerPoint อย่างครบถ้วน - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ตรงตามจุดประสงค์ การท�ำงานรายบุคคล
Twig ที่ต้องการสื่อสาร (P) - สังเกตคุณลักษณะ
4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ อันพึงประสงค์
อยากรู้อยากเห็น (A)
แผนฯ ที่ 3 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อ ธิบายการเปลี่ยน แบบสืบเสาะ - สังเกตการอภิปรายเกี่ยวกับ - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
เทคโนโลยีด้าน - หนังสือเรียน รายวิชา พลังงานทดแทนเป็น หาความรู้ เทคโนโลยี - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
พลังงาน พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ พลังงานไฟฟ้าได้ (K) (5Es ด้านพลังงาน - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 2. อภิปรายเกี่ยวกับการ Instructional - ตรวจผังมโนทัศน์ - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
3 ม.5 น�ำเทคโนโลยีมา Model) เรื่อง เทคโนโลยีด้าน ร่วมกัน
- แบบฝึกหัด รายวิชา แก้ปัญหาด้านพลังงาน พลังงาน - ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ได้ (K) - ตรวจใบงาน เรื่อง ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 3. น�ำเสนอผลงาน เรื่อง เทคโนโลยีด้านพลังงาน
ม.5 เทคโนโลยีด้าน - ตรวจแบบฝึกหัด
- ใบงาน พลังงาน ได้อย่าง - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- PowerPoint ครบถ้วนและเป็น Topic Question
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ล�ำดับขั้นตอน (P) - สังเกตพฤติกรรม
Twig 4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ การท�ำงานรายบุคคล
อยากรู้อยากเห็น (A) - สังเกตพฤติกรรม
5. ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การท�ำงานกลุ่ม
อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T102
Chapter Concept Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
พลังงานในชีวิตประจําวัน
• พลังงานทดแทน เปนพลังงานที่นํามาใชแทนนํ้ามัน แบงออกเปน 2 ประเภท
- พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เปนพลังงานทดแทนจากแหลงพลังงานที่ใชไปนาน ๆ แลวจะหมดไป เชน แกสธรรมชาติ ถานหิน
พลังงานนิวเคลียร
- พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน เปนพลังงานที่ไดมาจากแหลงที่เมื่อใชแลวสามารถนํากลับมาใชไดอีก เชน พลังงานแสงอาทิตย
พลังงานลม พลังงานนํ้า พลังงานชีวมวล พลังงานความรอนใตพิภพ
• ไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรและแสงอาทิตย
- ไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร ไดจากโรงไฟฟานิวเคลียรซงึ่ ใชเครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียรฟช ชันเปนแหลงกําเนิดพลังงานความรอนเพือ่ ใชใน
กระบวนการผลิตพลังงานไฟฟา
- ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย มีหลักการทีใ่ ชในการเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟา 2 หลักการ คือ การใชความรอนจาก
แสงอาทิตยในการผลิตพลังงานไฟฟา และการเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟาโดยตรง การใชความรอนจากแสงอาทิตยใน
การผลิตพลังงานไฟฟามี 2 ระบบ ไดแก ระบบความรอนรวมศูนยและระบบสระแสงอาทิตย
พลังงานนิวเคลียร
• ฟชชัน เปนปฏิกิริยานิวเคลียรที่นิวเคลียสของธาตุหนักแยกออกเปน 2 นิวเคลียสของธาตุที่เบากวา
ธาตุที่มีมวลนอย
นิวตรอน

พลังงาน นิวตรอน
นิวตรอน
ธาตุที่มีมวลมาก
นิวตรอน
ธาตุที่มีมวลนอย

• ฟวชัน เปนปฏิกิริยานิวเคลียรที่นิวเคลียสของธาตุเบา 2 นิวเคลียสรวมกันเปนนิวเคลียสของธาตุหนัก


ธาตุที่มีมวลนอย + ธาตุที่มีมวลมาก
+ ฟวชัน +

+
พลังงาน
+ +

ธาตุที่มีมวลนอย อนุภาคตาง ๆ เชน โฟตอน


นิวตริโน โพซิตรอน โปรตอน

เทคโนโลยีดานพลังงาน
เทคโนโลยีดานพลังงานเปนการนําความรูและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรมาสรางอุปกรณ เชน เซลลเชื้อเพลิง เซลลสุริยะ หรือ
ผลิตภัณฑตาง ๆ (เอทานอล ไบโอดีเซล แกสชีวภาพ) เพื่อแกปญหาหรือตอบสนองความตองการดานพลังงาน ซึ่งชวยใหเกิดประโยชน
สูงสุดในการใชพลังงานและลดปญหาสิ่งแวดลอม ทําใหการใชพลังงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เซลลเชื้อเพลิงและเซลลสุริยะเปนอุปกรณผลิต
พลังงานไฟฟา สวนเอทานอล ไบโอดีเซล และแกสชีวภาพ เปนผลิตภัณฑทนี่ าํ มาใชเปนเชือ้ เพลิงแทนการใชนาํ้ มัน แกสธรรมชาติ หรือถานหิน
ซึ่งจะชวยลดปญหามลพิษในอากาศ สําหรับเอทานอลนิยมนําไปผสมกับนํ้ามันเบนซินในอัตราสวนตาง ๆ เรียกวา แกสโซฮอล และเมื่อนํา
แกสโซฮอลไปใชกับยานพาหนะจะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวานํ้ามันเบนซิน เนื่องจากออกซิเจนที่เปนสวนประกอบของเอทานอล
จะชวยใหการเผาไหมภายในหองเครื่องสมบูรณยิ่งขึ้นและลดปริมาณแกสคารบอนมอนอกไซดที่ปลอยออกมาจากทอไอเสีย

T103
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
หนวยการเรียนรูที่ 3 Q ¤ÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ
ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเป น ราย
บุคคลกอนเขาสูกิจกรรม
พลังงาน ·Ò§à·¤â¹âÅÂÕ
Ê‹§¼Åµ‹Í¾Åѧ§Ò¹
ËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäÃ
3. ครูและนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับกิจกรรมในชีวติ
ประจําวันของนักเรียน แลวใหนักเรียนชวยกัน
ยกตัวอยางพลังงานที่รูจักวามีอะไรบาง ตัวชี้วัด
4. ครูกระตุนความสนใจของนักเรียนโดยถามวา ว 2.3 ม.5/1 ม.5/2
“ในความเขาใจของนักเรียน นักเรียนคิดวา
คําวาพลังงานหมายถึงอะไร” และใหนักเรียน
ชวยกันตอบคําถามปากเปลาโดยไมมกี ารเฉลย
วาถูกหรือผิด
5. ครูถามคําถามนําเขาสูบทเรียน โดยใชคําถาม
Big Question จากหนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน
วิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ 2 (ฟ สิ ก ส ) ม.5
วา “ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสงผลตอ
พลังงานหรือไม อยางไร
6. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบความเขาใจกอน
เรียนจาก Understanding Check ลงในสมุด
บันทึกประจําตัว

แนวตอบ Big Question U n de r s t a n di n g


Check
ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสง ผลตอพลังงาน
ใหนักเรียนพิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด
เนื่องจากการพัฒนาของเทคโนโลยีทําใหเกิดการ ถูก / ผิด
1. พลังงำนในชีวิตประจ�ำวันแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พลังงำนจลน์และพลังงำนศักย์
สรางสรรคอุปกรณที่ใชในการสรางพลังงานหรือ
2. แกสธรรมชำติ ถ่ำนหิน และพลังงำนนิวเคลียร์ เป็นพลังงำนทดแทนประเภทสิ้นเปลือง
กักเก็บพลังงานไดมปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ จึงสามารถ

ุด
3. โรงไฟฟำนิวเคลียร์เป็นกำรใช้ประโยชน์จำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์แบบฟิชชัน

สม
แก ป  ญ หาและตอบสนองความต อ งการด า น
ใน
ลง
4. เซลล์สุริยะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงำนแสงอำทิตย์เป็นพลังงำนไฟฟำโดยตรง ทึ ก
พลังงานไดมากขึ้น ทั้งนี้ยังทําใหการใชพลังงานมี
บั น

5. พลังงำนที่ได้จำกเซลล์เชื้อเพลิง คือ พลังงำนควำมร้อน


ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
แนวตอบ Understanding Check
1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก 4. ถูก 5. ผิด

สื่อ Digital
ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง พลังงานรูปแบบตางๆ
https://www.twig-aksorn.com/film/forms-of-energy-8310/

T104
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. พลังงานในชีวิตประจ�าวัน Prior Knowledge 7. ครูใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตองการ
ในชีวติ ประจ�ำวันของเรำมีควำมเกีย่ วข้องกับกำรใช้พลังงำน พลังงานแบ่งตามการ เรี ย นรู  เรื่ อ ง พลั ง งาน แล ว บั น ทึ ก เป น
ต่ำง ๆ อยูต่ ลอดเวลำ พลังงำนทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�ำวันส่วนใหญ่เป็น ใช้งานในชีวติ ประจ�าวัน ขอบเขตและเปาหมายที่ตองการเรียนรู ลงใน
พลังงำนที่ได้จำกน�้ำมัน แม้แต่พลังงำนไฟฟ้ำที่ใช้กันส่วนใหญ่ก็ ออกเป็ นกีป่ ระเภท
อะไรบ้าง
สมุดบันทึกประจําตัวเพื่อนํามาสงครู
มำจำกโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อน ซึ่งใช้ควำมร้อนจำกกำรเผำไหม้ 8. ครูถามคําถาม Prior Knowledge เพือ่ เปนการ
ของน�ำ้ มัน ถ่ำนหิน และแก๊สธรรมชำติ ในกำรผลิตไฟฟ้ำมีเพียงส่วนน้อยทีม่ ำจำกโรงไฟฟ้ำพลังน�ำ้ ตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับ เรื่อง พลังงาน
และโรงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์ ของนักเรียนวา “พลังงานแบงตามการใชงาน
1.1 ประเภทของพลังงาน ในชีวติ ประจําวันออกเปนกีป่ ระเภท อะไรบาง”
9. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวาจะไดศกึ ษาเกีย่ วกับ
พลังงาน (energy) คือ ควำมสำมำรถในกำรท�ำงำนของวัตถุ หำกวัตถุใดท�ำงำนได้แสดงว่ำ
วัตถุนั้นมีพลังงำน ในปัจจุบันพลังงำนเป็นสิ่งจ�ำเป็นในกำรด�ำรงชีวิตของมนุษย์ โดยควำมต้องกำร พลังงานในชีวิตประจําวัน
ใช้พลังงำนของมนุษย์เพิ่มขึ้นตำมจ�ำนวนประชำกรและควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี นอกจำกนี้
พลังงำนยังส่งผลให้เกิดกำรเปลีย่ นแปลงทำงธรรมชำติซงึ่ ส่งผลกระทบต่อกำรด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ ขัน้ สอน
ด้วย เรำสำมำรถแบ่งพลังงำนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ สํารวจคนหา

1. พลังงานตามการใช้งานในชีวิตประจ�าวัน แบ่งเป็น 6 ประเภท ดังนี้ 1. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง ประเภทของพลังงาน


1) พลังงานกล (mechanical energy) เป็นพลังงำนที่ใช้ในกำรท�ำงำนของเครื่องกล และ จากหนังสือเรียน
เป็นพลังงำนทีท่ ำ� ให้วตั ถุเคลือ่ นที่ สิง่ มีชวี ติ ใช้พลังงำนกลในกำรท�ำกิจกรรมทีต่ อ้ งมีกำรเคลือ่ นไหว 2. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียนออกมาหนาชัน้ เรียน เพือ่
หรือกำรท�ำงำนต่ำง ๆ เช่น กำรเดิน กำรขยับแขนขำ กำรเคลื่อนย้ำยวัตถุ เป็นต้น อธิบายความหมายของพลังงานทีค่ รูกาํ หนดให
2) พลังงานเคมี (chemical energy) เป็นพลังงำนทีส่ ะสมอยูใ่ นสำรต่ 1 ำง ๆ โดยอยูใ่ นพันธะ คนละ 1 พลังงาน พรอมยกตัวอยาง โดยไมให
ระหว่ำงอะตอมในโมเลกุล เช่น พลังงำนที นที่เก็บสะสมในเซลล์ไฟฟ้ำเคมี ถ่ำนไฟฉำย แบตเตอรี่ ซํ้ากับในหนังสือเรียน
พลังงำนในอำหำร เป็นต้น เมื่อพันธะแตกสลำย พลังงำนที่สะสมไว้นี้จะถูกปลดปล่อยออกมำ 3. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ แลวรวม
3) พลังงานความร้อน (thermal energy) ทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้มำจำกหลำยแหล่ง เช่น กันคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานกล
ดวงอำทิตย์ กำรเผำไหม้ของเชือ้ เพลิง กำรเปลีย่ นรูปมำจำกพลังงำนไฟฟ้ำ เป็นต้น โดยควำมร้อน พลังงานเคมี พลังงานความรอน พลังงานไฟฟา
ท�ำให้วตั ถุหรือสำรมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ ขยำยตัว เปลีย่ นสถำนะ และท�ำให้เกิดกำรเปลีย่ นแปลงทำงเคมี พลังงานการแผรังสี และพลังงานนิวเคลียร
4) พลังงานไฟฟ้า (electrical energy) ทีน่ ำ� มำใช้งำนเป็นพลังงำนทีผ่ ลิตจำกแหล่งก�ำเนิด จากนัน้ รวมกันสรุป แลวเขียนลงในสมุดบันทึก
ไฟฟ้ำ เช่น ถ่ำนไฟฉำย แบตเตอรี่ เซลล์สุริยะ เป็นต้น เป็นพลังงำนที่ให้ควำมสะดวกสบำยกับ ประจําตัว
มนุษย์มำก และเปลี่ยนเป็นพลังงำนรูปอื่นได้ง่ำย
5) พลังงานการแผ่รังสี (radiant energy) เป็นพลังงำนที่เคลื่อนที่มำจำกแหล่งก�ำเนิด
ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำหรือรังสีที่มีควำมถี่ต่ำง ๆ อำจกล่ำวได้ว่ำ พลังงำนกำรแผ่รังสีเป็น
พลังงำนจำกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ สิ่งมีชีวิตอำศัยพลังงำนกำรแผ่รังสีในกระบวนกำรที่ส�ำคัญต่ำง ๆ แนวตอบ Prior Knowledge
เช่น กำรมองเห็นภำพ กำรสังเครำะห์ด้วยแสง เป็นต้น
แบงออกเปน 6 ประเภท ไดแก พลังงานกล
พลังงาน 95
พลังงานเคมี พลังงานความรอน พลังงานไฟฟา
พลังงานการแผรังสี และพลังงานนิวเคลียร

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


พลังงานความรอนเดินทางจากดวงอาทิตยมาถึงโลก 1 เซลลไฟฟาเคมี เปนอุปกรณที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟาจากปฏิกิริยา
โดยกระบวนการใด เคมี ห รื อ ช ว ยอํ า นวยความสะดวกในการทํ า ให เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ผ  า นการใช
1. ความรอนเดินทางผานลม พลังงานไฟฟา เซลลไฟฟาเคมีแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก เซลลกัลวานิก
2. การพาความรอนของลมสุริยะ (galvanic cell) คือ เซลลไฟฟาเคมีทเี่ ปลีย่ นพลังงานเคมีเปนพลังงานไฟฟา เชน
3. ความรอนถูกแผรังสีผานอากาศ ถ า นไฟฉาย แบตเตอรี่ และเซลล อิ เ ล็ ก โทรไลต (electrolytic cell) คื อ
4. การพาความรอนผานกระแสอากาศ เซลลไฟฟาเคมีที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานเคมี เชน เซลลแยกนํ้า
5. ความรอนถูกนําผานโมเลกุลของอากาศ ดวยไฟฟา การชุบโลหะดวยไฟฟา
(วิเคราะหคาํ ตอบ ความรอนจากดวงอาทิตยมกี ารถายโอนโดยใช
วิธีการแผรังสี ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ครูถามคําถามกระตุนความคิดกับนักเรียนวา 6) พลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) เป็นพลังงำนที่ได้จำกนิวเคลียสของอะตอมเมื่อ
กฎการอนุรักษพลังงาน กลาววาอยางไร เกิดปฏิกิริยำนิวเคลียร์ รวมทั้งพลังงำนจำกรังสีที่ปลดปล่อยออกมำจำกสำรกัมมันตภำพรังสี โดย
5. ครูใหนักเรียนศึกษาแผนภาพแสดงตัวอยาง พลังงำนนิวเคลียร์มีบทบำทต่อควำมเป็นอยู่ปกติของสิ่งมีชีวิตน้อยกว่ำพลังงำนรูปอื่น
การเปลีย่ นรูปพลังงานระหวางพลังงานรูปแบบ 2. พลังงานตามการใชงานของนักวิทยาศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
ตางๆ จากหนังสือเรียน 1) พลังงานจลน์ (kinetic energy) เป็นพลังงำนทีส่ ะสมอยูใ่ นวัตถุหรืออะตอมหรือโมเลกุล
6. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสถานการณใน เนือ่ งจำกกำรเคลือ่ นทีข่ องวัตถุหรืออะตอมหรือโมเลกุลของสำร พลังงำนจลน์อำจอยูใ่ นรูปพลังงำนกล
ปจจุบัน ทั่วโลกกําลังประสบปญหาเกี่ยวกับ พลังงำนควำมร้อน และพลังงำนกำรแผ่รังสี
พลังงาน เชน ปริมาณนํ้ามันดิบที่ลดลงอยาง 2) พลังงานศักย์ (potential energy) เป็นพลังงำนทีส่ ะสมอยูใ่ นวัตถุเนือ่ งจำกกำรเปลีย่ น
ตอเนื่อง สงผลใหราคาขายสูงขึ้น ทําใหมีการ ต�ำแหน่งของวัตถุ หรือเป็นพลังงำนที่สะสมอยู่ในอะตอมและโมเลกุลของวัตถุเนื่องจำกกำรสร้ำง
สงเสริมงานสํารวจและวิจัยเพื่อคนหาแหลง พันธะระหว่ำงกัน หรือเป็นพลังงำนที่สะสมอยู่ในนิวเคลียสของอะตอมเนื่องจำกกำรยึดเหนี่ยวกัน
พลังงานใหมทดแทนพลังงานจากนํ้ามันและ ของอนุภำคในนิวเคลียส พลังงำนศักย์จึงอำจอยู่ในรูปพลังงำนกล พลังงำนเคมี พลังงำนไฟฟำ
เชื้อเพลิงฟอสซิลอื่นๆ ซึ่งพลังงานที่ผลิตขึ้น และพลังงำนนิวเคลียร์
มาทดแทนนํ้ า มั น และเชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล คื อ พลังงำนไม่สำมำรถท�ำให้สูญหำยไปหรือสร้ำงขึ้นมำใหม่ได้ แต่เปลี่ยนรูปได้ เรียกกฎที่
พลังงานทดแทน กล่ำวถึงกำรคงตัวของพลังงำนนี้ว่ำ กฎการอนุรักษ์พลังงาน (law of conservation of energy)
โดยพลังงำนทุกรูปแบบมีควำมสัมพันธ์กันทั้งทำงตรงและทำงอ้อม ดังภำพที่ 3.1
7. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาความหมายของ
พลังงานทดแทนจากแหลงขอมูลสารสนเทศ พลังงานเคมี ปฏิก
ำ ิริยำค
์ไฟฟ ำยค
เซลล กำรเผำไหม้ วำ
ปฏิก มร้อน
ฟำ ิริยำด
ร ด ว
้ ยไฟ ูดกล
ืนคว
ก ส ำ ์ พลังงานการแผ่รังสี กำรเผำส ำม
ย ซ
ร แ
กำ หลอดร ง
ั ส เ
ี อ ก ำ ร ให้ร้อนจัด ร้อน
กำรดูดกล
หลอดไฟฟหำลอดโฟโตเซลล์ ืนรังสี
พลังงานไฟฟา กำร กำรแผ่กัมมันตรังสี พลังงานความรอน
ระดมย ร ม ำณู
ิงนิวเคล ณ ป

ียสของ ฏิกร ้อน
มอเ ธำตุ เครื่องป ว ำมร
ตอร ค
์ พลังงานนิวเคลียร์ งกล
เครื่อ
สี
ไดน ำ ร เ สียด
ำโม ก

พลังงานกล

ภาพที่ 3.1 แผนภาพแสดงตัวอยางการเปลี่ยนรูปแบบระหวางพลังงานรูปแบบตางๆ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
96

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับกฎการอนุรักษพลังงาน ซึ่งเปนกฎที่วา ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาค น คว า เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ กฎการอนุ รั ก ษ
ดวยการที่พลังงานไมสามารถทําใหสูญหายหรือสรางขึ้นมาใหมได แตพลังงาน พลังงาน และออกแบบแผนภาพแสดงการเปลี่ยนรูปพลังงานของ
สามารถเปลี่ยนรูปได ครูอาจเขียนแผนภาพตัวอยางการเปลี่ยนรูประหวาง พลังงานรูปแบบตางๆ ใหครอบคลุมและครบถวน โดยทําลงใน
พลังงานรูปแบบตางๆ แลวสุมนักเรียนใหออกมาเติมขอความที่ถูกตองในแตละ สมุดบันทึกประจําตัว
ตําแหนง

สื่อ Digital กิจกรรม ทาทาย


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตร ใหนักเรียนคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปพลังงาน
สารคดีสั้น Twig เรื่อง การเปลี่ยนรูป ของพลังงานรูปแบบตางๆ พรอมทัง้ เขียนแผนภาพประกอบ ซึง่ ใน
พลังงาน https://www.twig-aksorn. แผนภาพนั้นๆ ใหนักเรียนใสตัวอยางพลังงานที่พบเห็นไดในชีวิต
com/film/energy-transforma- ประจําวันลงไปแทนชือ่ ของพลังงานนัน้ ๆ ครูมอบหมายใหนกั เรียน
tion-8311/ ทําลงในกระดาษ A4 แลวสงครูผูสอนเปนรายบุคคล

T106
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1.2 พลังงานทดแทน 8. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง พลังงานทดแทน
ปัจจุบันทั่วโลกก�ำลังประสบปัญหำเกี่ยวกับปริมำณน�้ำมันที่ลดลง รำคำน�้ำมันที่แพงขึ้น และ ประเภทสิ้นเปลือง จากหนังสือเรียน
ปัญหำมลภำวะในอำกำศทีเ่ กิดจำกกำรเผำไหม้ของเชือ้ เพลิงฟอสซิล ท�ำให้มกี ำรส่งเสริมงำนส�ำรวจ 9. ครู ใ ห ค วามรู  เ พิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ความหมาย
และวิจัยเพื่อค้นหำแหล่งพลังงำนใหม่มำทดแทนพลังงำนจำกน�้ำมันและเชื้อเพลิงฟอสซิลอื่น ๆ ของ NGV วาหมายถึง ยานพาหนะที่ใชแกส
หลำยประเทศก�ำลังมุง่ ศึกษำวิจยั หำเทคโนโลยีใหม่เพือ่ ผลิตพลังงำนจำกชีวมวลทีม่ อี ยูใ่ นธรรมชำติ ธรรมชาติเปนเชือ้ เพลิง โดยไมไดหมายถึงแกส
ภำยใต้แนวคิดกำรใช้พลังงำนอย่ำงยั่งยืน กล่ำวคือ สำมำรถควบคุมแหล่งพลังงำนใหม่นี้ให้ผลิต ที่นํามาใชเปนเชื้อเพลิง เพราะแกสที่นํามาใช
พลังงำนได้อย่ำงต่อเนือ่ งและเพียงพอต่อกำรใช้ดว้ ยต้นทุนทีต่ ำ�่ จำกกำรใช้ทรัพยำกรภำยในประเทศ นัน้ จะเรียกวา แกสธรรมชาติอดั หรือ CNG ซึง่
โดยที่กำรผลิตและกำรใช้พลังงำนมีผลกระทบต่อสภำพแวดล้อมและสุขภำพของมนุษย์น้อยที่สุด นักเรียนสามารถศึกษาไดจากกรอบ Physics in
พลังงานทดแทน (alternative energy) เป็นพลังงำนทีน่ ำ� มำใช้แทนน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง แบ่งออก real life
เป็น 2 ประเภท คือ พลังงำนทดแทนประเภทสิ้นเปลือง และพลังงำนทดแทนประเภทหมุนเวียน
1. พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เป็นพลังงำนทดแทนจำกแหล่งพลังงำนที่ใช้ไป
นำน ๆ แล้วจะหมดไปได้ เช่น แก๊สธรรมชำติ ถ่ำนหิน พลังงำนนิวเคลียร์ เป็นต้น
1) แก๊สธรรมชาติ เป็นสำรปิโตรเลียมเช่นเดียวกับน�้ำมัน เกิดจำกกำรทับถมของ
ซำกสิ่งมีชีวิตเป็นเวลำหลำยล้ำนปี แก๊สธรรมชำติจัดเป็นสำรประกอบไฮโดรคำร์บอนชนิดหนึ่ง
ประกอบด้วยสำรไฮโดรคำร์บอนประเภทต่ำง ๆ เช่น มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน
เป็นต้น เป็นส่วนใหญ่ส่วนที่เหลือเป็นแก๊สอื่น ๆ เช่น แก๊สไนโตรเจน แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์
แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น กำรใช้ประโยชน์แก๊สธรรมชำติเป็นกำรน�ำสำรไฮโดรคำร์บอนต่ำง ๆ
ที่แยกออกมำจำกแก๊สธรรมชำติไปใช้ประโยชน์ เช่น
• มีเทน ใช้เป็นเชือ้ เพลิงในกำรผลิตไฟฟ้ำและอุตสำหกรรม และใช้เป็นเชือ้ เพลิงของ
ยำนพำหนะ
• อีเทนและโพรเพน ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสำหกรรมปิโตรเคมี
• โพรเพนและบิวเทน ใช้เป็นแก๊สหุงต้มและใช้เป็น
Physics
เชื้อเพลิงในโรงงำนอุตสำหกรรมและยำนพำหนะ in real life
กำรใช้แก๊สธรรมชำติมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย NGV ย่อมำจำก natural gas
เนื่ อ งจำกกำรเผำไหม้ ข องแก๊ ส ธรรมชำติ เ ป็ น กำรเผำไหม้ ที่ vehicles หมำยถึง ยำนพำหนะ
สมบูรณ์ สิง่ ทีเ่ หลือจำกกำรเผำไหม้ คือ แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ ที่ใช้แก๊สธรรมชำติเป็นเชื้อเพลิง
และน�้ำ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะเกิดขึ้นในขั้นตอนขุดเจำะ ไม่ ไ ด้ ห มำยถึ ง แก๊ ส ที่ น� ำ มำใช้
เป็นเชื้อเพลิง เพรำะแก๊สที่น�ำ
คือ ผลกระทบต่อสภำพแวดล้อมทำงทะเลบริเวณที่ขุดเจำะแก๊ส มำใช้เป็นเชื้อเพลิงนั้นจะเรียกว่ำ
ธรรมชำติ แก๊สธรรมชำติอัด (compressed
natural gas หรือ CNG)
พลังงาน 97

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


แกสมีเทนซึ่งถือวาเปนแกสเรือนกระจกชนิดหนึ่งมีอันตราย ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัดสวนทั่วไปของแกสธรรมชาติ
มากกวาแกสคารบอนไดออกไซดกี่เทาโดยประมาณ
ชื่อ สูตรเคมี สัดสวน (%)
1. 2.5 เทา แกสมีเทน (methane) CH4 70-90
2. 15 เทา
แกสอีเทน (ethane) C2H6
3. 25 เทา
แกสโพรเพน (propane) C3H8 0-20
4. 30 เทา
แกสบิวเทน (butane) C4H10
5. 35 เทา
แกสคารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคาํ ตอบ แกสทีเ่ กิดจากของเนาเสีย มีสว นผสมบางชนิด (carbon dioxide) CO2 0-8
ในไอเสียของรถยนต เรียกวา แกสมีเทน (methane) นํามาใชเปน แกสออกซิเจน (oxygen) O2 0-0.2
แกสเชือ้ เพลิงใหความรอนได แตหากถูกปลอยออกสูช นั้ บรรยากาศ แกสไนโตรเจน (nitrogen) N2 0-0.5
จะสงผลกระทบทําใหเกิดสภาวะเรือนกระจกไดมากกวาแกส แกสไฮโดรเจนซัลไฟด
คารบอนไดออกไซดมากถึง 25 เทา โดยประมาณ ดังนั้น ตอบขอ H2S 0-5
(hydrogen sulfifif ide)
3.) แกสอื่นๆ Ar, He, Ne, Xe เล็กนอย
T107
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
10. ครูถามคําถามกระตุนความคิดนักเรียนวา 2) ถ่านหิน ถ่ำนหินเกิดขึน้ มำจำกกำรเปลีย่ นแปลงตำมธรรมชำติของพืช ทีส่ ลำยตัวและ
ใหนกั เรียนชวยกันยกตัวอยางการใชพลังงาน สะสมอยูใ่ นลุม่ น�ำ้ หรือแอ่งน�ำ้ ต่ำง ๆ เป็นเวลำหลำยร้อยล้ำนปี เมือ่ เกิดกำรเปลีย่ นแปลงของผิวโลก
ทดแทนในจังหวัดที่นักเรียนอาศัยอยู และ เช่น แผ่นดินไหว ภูเขำไฟระเบิด หรือมีกำรทับถมของตะกอนมำกขึ้น ท�ำให้แหล่งสะสมตัวนั้นได้
พลั ง งานทดแทนนั้ น เป น แหล ง พลั ง งาน รับควำมกดดันและควำมร้อนที่มีอยู่ภำยในโลกเพิ่มขึ้น ซำกพืชเหล่ำนั้นก็จะเกิดกำรเปลี่ยนแปลง
ทดแทนประเภทใด โดยครูคอยกระตุนให กลำยเป็นถ่ำนหินชนิดต่ำง ๆ ถ่ำนหินถูกน�ำมำใช้เป็นเชื้อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ กำรถลุง
โลหะ กำรผลิตปูนซีเมนต์ และอุตสำหกรรมที่ใช้เครื่องจักรไอน�้ำ เป็นต้น ถ่ำนหินเป็นเชื้อเพลิงที่
นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายหาคํ า ตอบอย า ง
มีมำกที่สุดบนโลกประมำณ 2 ใน 3 ของเชื้อเพลิงทั้งหมด โดย 1 ใน 3 ของถ่ำนหินทั้งหมดเป็น
อิสระ ถ่ำนหินลิกไนต์
11. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้ 3) น�้ามันดิบ เป็นแร่เชื้อเพลิงที่มีสถำนะเป็นของเหลว มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น
รวมกันพูดคุยและสรุปความรู เรื่อง พลังงาน สำรประกอบของไฮโดรเจนและคำร์บอน จึงถูกเรียกว่ำเป็นสำรประกอบไฮโดรคำร์บอน น�้ำมันดิบ
ทดแทนประเภทสิ้นเปลือง ลงในสมุดบันทึก ที่ขุดขึ้นมำจะไม่สำมำรถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที ต้องมีกำรแยกสำรประกอบไฮโดรคำร์บอน
ประจําตัว ต่ำง ๆ ออกเป็นกลุม่ ก่อน จึงจะน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ วิธกี ำรแยกสำรทีป่ นอยูใ่ นน�ำ้ มันดิบออกจำกกัน
เรียกว่ำ กำรกลัน่ น�ำ้ มันดิบ เมือ่ น�ำน�ำ้ มันดิบมำกลัน่ จะได้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงและน�ำ้ มันหล่อลืน่ ส�ำหรับ
เครื่องยนต์ประเภทต่ำง ๆ รวมทั้งกำรให้พลังงำนควำมร้อนและแสงสว่ำง ส่วนที่เหลือจำกกำร
กลัน่ น�ำ้ มันน�ำไปใช้เป็นวัตถุดบิ ของอุตสำหกรรมปิโตรเคมี ใช้ประดิษฐ์ของใช้สำ� เร็จรูป เช่น พลำสติก
ไนลอน เส้นใยสังเครำะห์ ปุย เป็นต้น
¡ารขนÊ‹งน�éาÁันดิº
ถังเก็บน�้ำมันดิบ โรงกลั่น ถังเก็บน�้ำมันส�ำเร็จรูป
แท่นขุดเจำะน�้ำมัน น�้ำมันดิบ
ขนส่งทำงท่อ

โรงกลั่นน�้ามัน ขนส่งทำงเรือ

ขนส่งทำงรถบรรทุก
โรงงานอุตสาหกรรม
ขนส่งทำงรถไฟ

ผู้ใช้น�้ำมัน สถำนีบริกำรน�้ำมัน กำรขนส่งล�ำเลียงน�้ำมัน คลังน�้ำมัน


ภาพที่ 3.2 การขนสงนํ้ามันดิบ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
98

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดการเรียนการสอนเกีย่ วกับนํา้ มันดิบ ครูอาจเพิม่ ความสนใจหรือเสริม ขอใดไมใชประเภทของถานหิน
ความเขาใจของนักเรียน โดยการแนะนําใหนกั เรียนไปศึกษาเพิม่ เติมจากสือ่ การ 1. พีต 2. ลิกไนต
เรียนรูตางๆ ไมวาจะเปนของประเทศไทย หรือของตางประเทศ เชน ครูอาจนํา 3. บิทูมินัส 4. แอลคาไลน
คลิปวิดีโอจาก youtube เรื่อง นํ้ามัน การขนสงนํ้ามัน ซึ่งสามารถคนหาไดจาก 5. แอนทราไซต
https://www.youtube.com/watch?v=gtoNHnD2UQ4 มาเปดใหนักเรียนดู (วิเคราะหคําตอบ ถานหินสามารถแยกประเภทตามลําดับชั้นได
เพื่อเปนความรูเสริมใหกับนักเรียน เปน 5 ประเภท คือ พีต (peat) เปนขัน้ แรกในกระบวนการเกิดถานหิน
มีปริมาณออกซิเจนและความชื้นสูงแตสามารถใชเปนเชื้อเพลิงได
ลิกไนต (lignite) เปนถานหินที่ใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับผลิตกระแส
ไฟฟา ซับบิทูมินัส (subbituminous) เปนเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพ
เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟาและงานอุตสาหกรรม บิทูมินัส
(bituminous) เปนเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ และเปนวัตถุดิบ
เพือ่ เปลีย่ นเปนเชือ้ เพลิงอืน่ ๆ และแอนทราไซต (anthracite) เปน
เชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมตางๆ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T108
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4) พลังงานนิวเคลียร์ เป็นพลังงำนทีไ่ ด้มำจำกปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์ ซึง่ มี 2 แบบ คือ ฟิชชัน 12. ครู ถ ามคํ า ถามท า ทายการคิ ด ขั้ น สู ง จาก
(fission) และฟิวชัน (fussion) เป็นแหล่งพลังงำนทดแทนที่จะมีบทบำทมำกขึ้นในอนำคต กำร หนังสือเรียนกับนักเรียนวา “เหตุใดจึงจัด
ใช้ประโยชน์พลังงำนนิวเคลียร์เป็นกำรใช้พลังงำนควำมร้อนที่เกิดขึ้นจำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์ใน ใหพลังงานนิวเคลียรเปนพลังงานทดแทน
กระบวนกำรผลิตไฟฟ้ำในโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ ซึ่งปฏิกิริยำนิวเคลียร์ขจัดปัญหำกำรปล่อยมลพิษ ประเภทสิ้ น เปลื อ ง” โดยให นั ก เรี ย นเขี ย น
ทำงอำกำศรวมทั้งกำรปล่อยแก๊สเรือนกระจกที่เป็นปัญหำหลักของเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ แต่อำจมี คําตอบของตนเองลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ปัญหำทีเ่ กิดจำกกำรรัว่ ไหลของรังสีหรือนิวตรอนทีเ่ กิดจำกปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์แบบฟิชชัน จึงจ�ำเป็น
ต้องมีเทคโนโลยีควบคุมที่ดีเพื่อป้องกันกำรรั่วไหลของรังสี ปัญหำอีกอย่ำงหนึ่ง คือ กำรก�ำจัดกำก อธิบายความรู
เชือ้ เพลิงนิวเคลียร์ ซึง่ ต้องมีมำตรกำรควบคุมดูแลกำรก�ำจัดกำกเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์ ไม่ให้สง่ ผลเสีย 1. ใหนกั เรียนจับกลุม 3 คน ตามเลขทีข่ องตนเอง
ต่อสิง่ แวดล้อม เนือ่ งจำกกำกเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์ยงั ปลดปล่อยรังสีทเี่ ป็นอันตรำยออกมำตลอดเวลำ
และคงสภำพอยู่เป็นเวลำยำวนำนมำก เชน กลุมเลขที่ 1-3 กลุมเลขที่ 4-6 ไปเรื่อยๆ
โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อนแบบหนึ่ง ใช้แหล่งพลังงำนควำมร้อนจำก จากนัน้ ครูแจกใบงาน เรือ่ ง พลังงานสิน้ เปลือง
เครือ่ งปฏิกรณ์ทใี่ ช้พลังงำนนิวเคลียร์ในกำรผลิตไอน�ำ้ แรงดันสูงจ่ำยให้กบั กังหันไอน�ำ้ จำกนัน้ กังหัน ใหนักเรียนชวยกันทํา
ไอน�้ำจะไปหมุนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำเพื่อผลิตเป็นกระแสไฟฟ้ำออกมำ 2. ครูนาํ อธิบายความหมายของพลังงาน ประเภท
ของพลังงาน รวมถึงพลังงานทดแทนประเภท
ค�ำถำมท้ำทำยกำรคิดขัน
้ สูง สิ้นเปลือง เพื่อเปนการสรุปความเขาใจของ
เหตุใดจึงจัดให้พลังงาน นักเรียนใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน
นิ ว เคลี ย ร์ เ ป็ น พลั ง งำน
ทดแทนประเภทสิ้นเปลือง

ภาพที่ 3.3 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

2. พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน เป็นแหล่งพลังงำนที่เกิดขึ้นอยู่อย่ำงต่อเนื่อง แนวตอบ H.O.T.S.


สำมำรถเกิดขึ้นใหม่หรือหมุนเวียนกลับมำใช้ใหม่ได้ ไม่หมดไปจำกโลก เช่น พลังงำนแสงอำทิตย์ เนื่องจากนักวิทยาศาสตรคนพบวา เชื้อเพลิง
พลังงำนลม พลังงำนน�้ำ พลังงำนชีวมวล พลังงำนควำมร้อนใต้พิภพ เป็นต้น ประโยชน์ที่ได้จำก นิวเคลียรของดวงอาทิตยจะหมดภายใน 5 พัน
พลังงำนหมุนเวียนมีหลำยด้ำน ทั้งกำรรักษำสิ่ง1แวดล้อม กำรลดมลพิษจำกกำรผลิตไฟฟ้ำจำก ลานป ซึ่งแรยูเรเนียมที่ใชเปนแหลงพลังงานในโรง
เชื้อเพลิงฟอสซิลจ�ำพวกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมต่ำง ๆ อีกทั้งยังลดกำรน�ำเข้ำเชื้อเพลิงจำก ไฟฟานิวเคลียร เกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียส
ต่ำงประเทศ และพลังงำนเชื้อเพลิงยังให้ผลตอบแทนกำรลงทุนที่น่ำสนใจอีกด้วย เทคโนโลยี ของยูเรเนียมกลายเปนธาตุใหม เมื่อยูเรเนียมเกิด
เกีย่ วกับพลังงำนหมุนเวียนนีไ้ ด้รบั กำรพัฒนำไปอย่ำงมำก รวมถึงกำรเปลีย่ นรูปพลังงำนหมุนเวียน
เหล่ำนี้เป็นพลังงำนไฟฟ้ำ ปฏิกริ ยิ านิวเคลียรแลว จะไมสามารถทําใหธาตุใหม
ที่เกิดขึ้นกลับคืนสภาพไปเปนยูเรเนียมไดอีก จึงมี
พลังงาน 99
ความเปนไปไดทเี่ ชือ้ เพลิงนิวเคลียรของโลกจะหมด
ไปในอนาคต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดตอไปนี้เปนพลังงานสิ้นเปลือง 1 ปโตรเลียม (petroleum) คือ สารประกอบไฮโดรคารบอนที่เกิดขึ้นเอง
1. พลังงานนํ้า ปาไม กากออย ในธรรมชาติจากซากพืชและซากสัตวที่ทับถมกันหลายลานป มักพบอยูใน
2. นํ้ามันดิบ แกสธรรมชาติ ถานหิน ชั้นหินตะกอน (sedimentary rock) ทั้งในสภาพของแข็ง ของเหลว และแกส
3. พลังงานชีวมวล พลังงานลม แกสธรรมชาติ มีคุณสมบัติไวไฟเมื่อนํามากลั่นหรือผานกระบวนการแยกแกส จะไดผลิตภัณฑ
4. พลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย นํ้ามันดิบ ชนิดตางๆ เชน แกสหุงตม นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันกาด นํ้ามันดีเซล นํ้ามันเตา
5. พลังงานคลื่น พลังงานแสงอาทิตย แกสธรรมชาติ ยางมะตอย และยังสามารถใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิตเคมีภณ ั ฑตา งๆ เชน นํา้ มัน
(วิเคราะหคําตอบ พลังงานสิ้นเปลือง เปนพลังงานที่ใชแลวหมด หลอลื่น จาระบี ปุยเคมี พลาสติก ยางสังเคราะห
ไป ไมสามารถสรางขึ้นมาใหมได ประกอบดวย แกสธรรมชาติ
ถานหิน นํ้ามันดิบ และพลังงานนิวเคลียร ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T109
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง พลังงานทดแทน
ประเภทหมุนเวียน จากหนังสือเรียน
พลังงานËÁØนเวีÂน 1
2. ครู แ นะนํ า ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ
22
พลังงานหมุนเวียนประเภทตางๆ จากแหลง
ขอมูลสารสนเทศหรืออินเทอรเน็ต โดยเนนยํ้า 44
ถึ ง ขั้ น ตอนหรื อ กระบวนการในการเปลี่ ย น 55
รูปพลังงานเปนพลังงานไฟฟาของพลังงาน 33
หมุนเวียนประเภทตางๆ
3. ครูใหนกั เรียนจับกลุม กับเพือ่ นกลุม ละ 5-6 คน
จากนัน้ รวมกันอภิปรายผลการศึกษาของแตละ
คนภายในกลุม แลวเขียนสรุปลงในสมุดบันทึก
ประจําตัว
4. ครูสุมตัวแทนของแตละกลุม ออกมานําเสนอ
ผลการศึ ก ษาและอภิ ป รายร ว มกั น ของกลุ  ม
ตนเองใหเพื่อนๆ และครูฟงหนาชั้นเรียน 1 พลังงานน�éา
โรงไฟฟ้ำ หม้อแปลงไฟฟ้ำ เขื่อน อ่ำงเก็บน�้ำ

เป็นพลังงำนหมุนเวียนที่ใช้ในกำรผลิตกระแส
ไฟฟ้ ำ โดยใช้ เ ครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ ำ ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ สำยส่งไฟฟ้ำ
แกนของกังหัน ท�ำให้เกิดกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำจำก
เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ
พลังงำนศักย์โน้มถ่วงของน�้ำที่ถูกกักเก็บไว้เหนือ
เขื่อน
ทำงน�้ำออก กังหัน ท่อส่งน�้ำ ประตูน�้ำ ทำงน�้ำเข้ำ

2 พลังงานควาÁรŒอนãตŒพิÀพ กังหัน โรงก�ำเนิดไฟฟ้ำ


เป็นกำรน�ำเอำพลังงำนควำมร้อนที่อยู่ใต้ดินขึ้น
มำใช้ ควำมร้อนดังกล่ำวอยูใ่ นแกนกลำงของโลกเกิด
เครื่องควบแน่น
ขึน้ มำตัง้ แต่โลกก�ำเนิดขึน้ โดยน�ำน�ำ้ ทีม่ คี วำมร้อนสูง
ไปผ่ำนกระบวนกำรจนได้ไอน�ำ้ เอำแรงอัดของไอน�ำ้ ถังพักน�้ำร้อน ไอน�้ำ
ที่ได้ไปหมุนกังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำ น�้ำเกลือ
น�้ำเสีย

ภาพที่ 3.4 พลังงานหมุนเวียน


100 ที่มา : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ในการเรียนการสอน เรื่อง พลังงานหมุนเวียน ครูนําความรูมาอธิบาย ขอใดไมใชประเภทของชีวมวล
เพิม่ เติมเกีย่ วกับเครือ่ งกําเนิดไฟฟาวา เปนอุปกรณทที่ าํ หนาทีเ่ ปลีย่ นพลังงานกล 1. มูลสัตว
เปนพลังงานไฟฟา โดยอาศัยการเหนีย่ วนําของแมเหล็กตามหลักการของไมเคิล 2. ขยะชุมชน
ฟาราเดย คือ การเคลือ่ นทีข่ องขดลวดตัวนําผานสนามแมเหล็ก หรือการเคลือ่ นที่ 3. ของเหลือจากการเกษตร
แมเหล็กผานขดลวดตัวนํา จะทําใหเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นในขดลวด 4. ของเหลือจากการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร
ตัวนํานั้น เพื่อใหนักเรียนไดคิดเชื่อมโยงจากเนื้อหาที่จะเรียนไปสูชีวิตประจําวัน 5. ของเหลือจากโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
(วิเคราะหคําตอบ ชีวมวลแบงออกเปน 6 ประเภท จากแหลง
กํ า เนิ ด ของชี ว มวลนั้ น ๆ คื อ ชี ว มวลที่ เ กิ ด จากการเพาะปลู ก
สื่อ Digital ชีวมวลที่เกิดขึ้นหลังการเกิดไฟไหมปา ชีวมวลที่เกิดขึ้นจากของ
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตร เสียทางการเกษตร ชีวมวลที่เกิดขึ้นในปาและอุตสาหกรรมปาไม
สารคดีสั้น Twig เรื่อง พลังงานนํ้า ชีวมวลจากมูลสัตว และชีวมวลจากขยะชุมชน ดังนั้น ตอบขอ 5.)
https://www.twig-aksorn.com/
film/hydropower-8146/

T110
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3 ¾Åѧ§Ò¹ªÕÇÁÇÅ สารอินทรีย ไอนํ้า กังหัน เครื่องกําเนิดไฟฟา
5. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา พลังงานทดแทน
เปนพลังงานที่ถูกเก็บสะสมอยูในสิ่งมีชีวิตหรือ แตละประเภทสามารถเปลี่ยนรูปเปนพลังงาน
สารอินทรียทั่ว ๆ ไปตามธรรมชาติ เชน ตนหญา บานเรือน ไฟฟาไดอยางไร เพื่อเปนการเนนยํ้าถึงจุด
กิ่งไม สิ่งปฏิกูลจากการเลี้ยงสัตวหรือขยะ โดยนํา ประสงคในการศึกษา เรือ่ ง พลังงานหมุนเวียน
มาหมักทําใหเกิดเปนแกสชีวภาพ ซึ่งสามารถนําไป
6. ครูใหนกั เรียนเก็บรวบรวมใบงาน เรือ่ ง พลังงาน
ใชเปนแกสหุงตม เพื่อผลิตพลังงานความรอน หรือ
นําไปผลิตกระแสไฟฟา1 และยังไดปุยชีวภาพที่เกิด สิ้ น เปลื อ ง ส ง คื น ครู เ พื่ อ นํ า ไปตรวจและให
จากการหมักสารอินทรียตาง ๆ ดวย ถังหมัก แกสชีวภาพ โรงผลิตพลังงานไฟฟา หมอแปลงไฟฟา คะแนน
7. ครูทบทวนเนื้อหาที่ไดศึกษาไปในชั่วโมงที่แลว
4 ¾Åѧ§Ò¹áʧÍҷԵ อีกครั้ง โดยเปด PowerPoint เรื่อง พลังงาน
แสงอาทิตย เปนพลังงานจากการแผรงั สีของดวงอาทิตยในรูปของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา และเปนแหลงพลังงาน ทดแทน แลวนําสรุปใหนักเรียนเขาใจตรงกัน
สําคัญของโลก เพราะรอยละ 99 ของพลังงานความรอนที่ใหความอบอุนแกโลกมาจากพลังงานแสงอาทิตย 8. ครูสนทนากับนักเรียนในประเด็นที่เกี่ยวของ
แสงอาทิตยสามารถผลิตกระแสไฟฟาได โดยใชเซลลสุริยะ (solar cell) เพื่อผลิตกระแสไฟฟา
กับพลังงานนิวเคลียรที่ไดศึกษาไปแลววาเปน
ก เซลลสรุ ยิ ะ เปลีย่ นแสงอาทิตย ข แบตเตอรี่ แ ละอุ ป กรณ ค ตูควบคุมไฟฟา ทําหนาที่
เปนไฟฟากระแสตรง แปลงไฟฟาแปลงไฟฟาจาก จายไฟไปยังเครือ่ งใชไฟฟา พลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง ซึ่งเปนแหลง
กระแสตรงเปนกระแสสลับ ในบาน พลังงานอยางหนึ่งที่สะอาดและเปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม
ก ข ค
เซลลสุริยะ แบตเตอรี่ ตูควบคุมไฟฟา เครื่องใชไฟฟา

5 ¾Åѧ§Ò¹ÅÁ
เมือ่ ลมพัดมาปะทะกับใบพัดของกังหันลม ใบพัดของกังหันลมจะหมุน ซึง่ การหมุนของใบพัดจะอยูใ นรูปของ
พลังงานกลและจะเปลี่ยนรูปไปเปนพลังงานไฟฟา โดยแรงจากการหมุนนี้จะถูกสงผานแกนหมุนทําใหเกิดการ
เหนี่ยวนําที่เครื่องกําเนิดไฟฟาทําใหเกิดพลังงานไฟฟา
กังหันลม สายสงไฟฟา

หองควบคุมการจายไฟฟา อาคารบานเรือน

หมอแปลงไฟฟา

พลังงานหมุนเวียน ¾Åѧ§Ò¹ 101

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การเปลีย่ นรูปพลังงานลมเปนพลังงานไฟฟา ตองอาศัยอุปกรณ 1 สารอินทรีย (organic) คือ สารที่มีธาตุคารบอนเปนองคประกอบ โดย
ใดในการเปลี่ยนรูปพลังงาน สามารถเกิดขึ้นไดตามธรรมชาติหรือเกิดจากการสังเคราะห ยกเวนสารใน
1. กังหันลม 2. เซลลสุริยะ กลุมตอไปนี้ ไดแก เกลือคารบอเนต ไฮโดรเจนคารบอเนต สารประกอบ
3. อินเวอรเตอร 4. มัลติมิเตอร ออกไซดของคารบอน (เชน คารบอนไดออกไซด) สารประกอบเกลือคารไบด
5. คอนเวอรเตอร (เชน แคลเซียมคารไบด) เกลือไซยาไนด เกลือไซยาเนต สารที่มีคารบอนเปน
(วิเคราะหคําตอบ พลั ง งานลม เป น พลั ง งานตามธรรมชาติ ที่ องคประกอบเพียงธาตุเดียว (เชน เพชร) โดยสารในกลุมดังกลาวจะเรียกวา
เกิดจากความแตกตางของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศ เปนกลุม สารอนินทรีย (inorganic) ซึง่ สารอินทรียท พี่ บไดในธรรมชาติจะเรียกวา
และแรงจากการหมุนของโลก สิ่งเหลานี้เปนปจจัยที่กอใหเกิด สารชีวโมเลกุล
ความเร็วลมและกําลังลม การนําลมมาใชประโยชนจะตองอาศัย
เครือ่ งจักรกลสําคัญ คือ กังหันลม ในการเปลีย่ นพลังงานจลนจาก
การเคลือ่ นทีข่ องลมเปนพลังงานกลเพือ่ สงไปยังมอเตอรเพือ่ เปลีย่ น
เปนพลังงานไฟฟาตอไป ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T111
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
9. ครูนําเขาสูเนื้อหาที่กําลังจะศึกษาดวยการ 1.3 ไ¿¿‡า¨า¡พลังงานนิวเคลียร์áลÐáสงอา·ิตย์
สนทนาตอวา การผลิตไฟฟาจากพลังงาน พลังงำนส่วนใหญ่ทใี่ ช้งำนผลิตขึน้ มำจำกทรัพยำกรหรือแหล่งพลังงำนธรรมชำติ เช่น ถ่ำนหิน
นิวเคลียร ผลิตไดจากโรงไฟฟานิวเคลียร น�้ำมัน น�้ำ ลม แสงอำทิตย์ เป็นต้น พลังงำนเหล่ำนี้บำงส่วนใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ำ โดยโรงไฟฟ้ำใช้
คือ ใชความรอนจากเครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร ควำมร้อนขับเคลือ่ นจำกพลังงำนเหล่ำนีใ้ นกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ และน�ำไปใช้ดำ้ นอืน่ ๆ ซึง่ พลังงำน
แบบฟชชัน นิวเคลียร์เป็นแหล่งพลังงำนอย่ำงหนึ่งที่สะอำดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
10. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาส ว นประกอบสํ า คั ญ 1. ไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ผลิตได้จำกโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ วิธีกำรผลิตไฟฟ้ำของ
ภายในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรแบบฟชชัน โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ คือ ใช้ควำมร้อนจำกเครือ่ งปฏิกรณ์แบบฟชชัน (fission reactor) ท�ำให้นำ�้ เดือด
ที่ประกอบดวย มัดเชื้อเพลิง แทงควบคุม กลำยเป็นไอไปขับกังหันไอน�้ำของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำ โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์
และตั ว หน ว งอั ต ราเร็ ว ของนิ ว ตรอน จาก จึงจัดอยู่ในประเภทโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อน
หนังสือเรียน 1) ส่วนประกอบส�าคัญภายในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบฟชชัน มีดังนี้
11. ครูสุมถามคําถามกับนักเรียนเกี่ยวกับสวน • มัดเชื้อเพลิง (fuel assembly) ประกอบด้วย แท่งเชื้อเพลิง (fuel rod) จ�ำนวนมำก
ประกอบภายในเครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียรแบบ (บำงแบบมี 204 แท่ง) สอดผ่ำนตะแกรงสีเ่ หลี่ยมจัตุรสั แล้วผนึกเข้ำด้วยกันเป็นมัด แท่งเชือ้ เพลิง
ฟชชันทีไ่ ดศกึ ษามาแลว เพือ่ เพิม่ ความเขาใจ แต่ละแท่งยำว 12 ฟุต (ประมำณ 3.7 เมตร) ประกอบด้วย เม็ดเชื้อเพลิง (pellet) รูปทรงกระบอก
ใหมากขึ้น เล็ก ๆ เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 8-10 มิลลิเมตร สู1ง 9-15 มิลลิเมตร ท�ำจำกออกไซด์ของยูเรเนียม
(UO2) บรรจุเรียงกันในท่อทีท่ ำ� จำกเซอร์โคเนียมหรืออัลลอยด์ของเซอร์โคเนียม ดังภำพที่ 3.5 (ก)
• แท่งควบคุม (control rod) ท�ำจำกโบรอน แคดเมียม แฮฟเนียม หรือธำตุอื่นที่มี
สมบัตดิ ดู ซับนิวตรอน ใช้ควบคุมกำรเกิดปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์ของแท่งเชือ้ เพลิง โดยสอดแท่งควบคุม
เข้ำไประหว่ำงแท่งเชื้อเพลิงในมัดเชื้อเพลิง ซึ่งบรรจุอยู่ในถังปฏิกรณ์ที่ทนควำมดันสูง (steel
pressure vessel) ดังภำพที่ 3.5 (ข)

สปริง
ถังปฏิกรณ์ที่ทนควำมดันสูง
เม็ดเชื้อเพลิง แท่งควบคุม
3.7 m
ท่อเซอร์โคเนียม
ตะแกรง
แท่งเชื้อเพลิง

มัดเชื้อเพลิง
(ก) แท่งเชื้อเพลิง (ข)
ภาพที่ 3.5 แทงเชื้อเพลิง แทงควบคุม และถังปฏิกรณ์ที่ใชบรรจุมัดเชื้อเพลิง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
102

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เซอรโคเนียม (zirconium) คือ ธาตุที่มีสัญลักษณ Zr มีเลขอะตอมเทากับ แทงควบคุมในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรมีความสําคัญอยางไร
40 เปนโลหะที่มีจุดหลอมเหลว 1,852 องศาเซลเซียส มีจุดเดือด 4,377 องศา (แนวตอบ แทงควบคุมจะทําจากสารดูดซับนิวตรอน หรือที่
เซลเซียส และเปนโลหะแทรนซิชนั ทีม่ สี ขี าวเทาคลายไทเทเนียม (Ti) เซอรโคเนียม เรียกวา neutron poison จะถูกใชในการดูดซับนิวตรอน ถามีการ
จัดเปนธาตุทคี่ อ นขางวองไวตอปฏิกริ ยิ าเคมี ณ อุณหภูมสิ งู ความไวตอไนโตรเจน ดูดซับนิวตรอนมากขึ้นในแทงเชื้อเพลิง หมายความวา มีนิวตรอน
และออกซิเจนของธาตุนี้เปนประมาณ 3 เทา เมื่อเปรียบเทียบกับไทเทเนียม นอยลงที่พรอมจะทําใหเกิดปฏิกิริยาฟชชัน ดังนั้น การดันแทง
เซอรโคเนียมจึงเปนวัตถุโครงสรางทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ สําหรับเตาปฏิกรณนวิ เคลียร
ควบคุมลึกเขาไปในเครื่องปฏิกรณจะลดการเกิดปฏิกิริยาฟชชัน
และมักใชประโยชนดานตางๆ อีกมากมาย ไดแก
การสงออกพลังงานก็จะลดลงดวย ในทางกลับกัน การดึงแทง
- ใชทําชิ้นสวนของเครื่องยนตไอพนและจรวด
- ใชทําถวยกระเบื้องทนไฟ ควบคุมขึน้ จะเพิม่ การเกิดปฏิกริ ยิ าฟชชัน สงผลใหเพิม่ การสงออก
- ใชทําอิฐทนไฟสําหรับเตาหลอมโลหะ พลังงานใหมากขึ้น)
- ใชทําฉนวนกันไฟฟาแรงสูง
- ใชทําชิ้นสวนของหัวเทียนรถยนต
- ใชทําชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

T112
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
เมื่อสอดแท่งควบคุมเข้ำไปในมัดเชื้อเพลิง แท่งควบคุมจะดูดซับนิวตรอนอัตรำเร็ว 12. ครูใหนักเรียนแบงกลุมอยางอิสระ กลุมละ
ต�่ำส่วนใหญ่ไว้ ท�ำให้อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำฟิชชันและก�ำลังกำรผลิตของเครื่องปฏิกรณ์ลดลง แต่ 3-4 คน จากนั้นใหรวมกันศึกษาการทํางาน
ถ้ำดึงแท่งควบคุมออกไป จ�ำนวนนิวตรอนที่ถูกดูดซับไว้จะลดลง อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำและก�ำลัง ของโรงไฟฟานิวเคลียร จากหนังสือเรียน
กำรผลิตของเครือ่ งปฏิกรณ์จะเพิม่ ขึน้ ในกรณีฉกุ เฉินสำมำรถปิดปฏิกริ ยิ ำลูกโซ่ได้โดยกำรสอดแท่ง 13. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตใหนกั เรียนกลุม ละ
ควบคุมทั้งหมดเข้ำไประหว่ำงแท่งเชื้อเพลิงในแกนของเครื่องปฏิกรณ์ 1 แผน
• ตัวหน่วงอัตราเร็วของนิวตรอน เป็นวัสดุหรือสำรที่ใช้หน่วงนิวตรอนที่เกิดจำก 14. ครูแนะนําใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติม
ปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์ ซึง่ เคลือ่ นทีเ่ ร็วเกินไปให้เคลือ่ นทีช่ ำ้ ลงจนมีอตั รำเร็วต�ำ่ พอทีจ่ ะท�ำให้เกิดปฏิกริ ยิ ำ จากอินเทอรเน็ต แลวรวมกันอภิปรายผล
นิวเคลียร์ได้ เครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์รนุ่ 1เก่ำใช้แกรไฟต์บริสทุ ธิส์ งู เป็นตัวหน่วงอัตรำเร็วของนิวตรอน การศึกษาจนไดเปนแนวทางที่เขาใจตรงกัน
เครื่องปฏิกรณ์สมัยใหม่ใช้น�้ำมวลหนัก (heavy water) หรือน�้ำจืดเป็นตัวหน่วงอัตรำเร็วนิวตรอน ทั้งกลุม
สำรหรือวัสดุอื่นที่ใช้เป็นตัวหน่วงอัตรำเร็วนิวตรอน ได้แก่ คำร์บอนไดออกไซด์ และเบริลเลียม 15. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปขอมูลที่ไดจากการ
2) การท�างานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ศึกษาลงในกระดาษฟลิปชารต เพื่อนําเสนอ
¡าร·íางาน¢องâรงไ¿¿‡านิวเคลียร์ ผลการศึกษาหนาชั้นเรียน พรอมตกแตงให
วงปิดแรก สวยงาม
โครงสร้ำงคลุมเครื่องปฏิกรณ์
สำยส่งไฟฟ้ำ
แท่งควบคุม
ไอน�้ำ
ถังปฏิกรณ์ที่ กังหันไอน�้ำ
ทนควำมดันสูง

อุปกรณ์ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ วงปิดที่สอง


ก�ำเนิดไอน�้ำ
ไอน�้ำ
ปัมน�้ำ
น�้ำอุ่น
แท่ง
เชื้อเพลิง เครื่องควบแน่น อำกำศอุ่นชื้น
น�้ำ น�้ำเย็น
ฝอยน�้ำ
ปัมน�้ำ
อ่ำงน�้ำเย็น
หอระบำยควำมร้อน
น�้ำจำกทะเลสำบ หรือแม่น�้ำ

ภาพที่ 3.6 การทํางานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.
พลังงาน 103

กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน 1 นํ้ามวลหนัก (D2O) คือ นํ้าที่อะตอมไฮโดรเจน 2 ตัว ถูกแทนที่ดวย
2. ใหนกั เรียนรวมกันสืบคนขอมูลเกีย่ วกับการทํางานของโรงไฟฟา ดิวเทอเรียม และดิวเทอเรียมก็เปนไอโซโทปหนึ่งของไฮโดรเจน ประกอบดวย
นิวเคลียร โปรตอน 1 ตัว และนิวตรอน 1 ตัว นํ้ามวลหนักมีอยูตามธรรมชาติในนํ้า แตมี
3. สมาชิกในกลุมรวมกันพูดคุยและอภิปรายผลการศึกษา โดย ปริมาณนอยมาก นอยกวา 1 ใน 5,000 สวน (1/5,000) นํ้ามวลหนักเปน 1 ใน
สมาชิกทุกคนภายในกลุมตองสามารถอธิบายไดวา โรงไฟฟา 2 วิธกี าร ทีใ่ ชในการหนวงนิวตรอนและตัวระบายความรอนออกจากมัดเชือ้ เพลิง
นิวเคลียรมขี นั้ ตอนการทํางานอยางไร สวนประกอบหรืออุปกรณ ที่จะทําใหเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรทํางานได
แตละอยางทําหนาที่อะไร
4. สมาชิกในกลุมรวมกันจัดทําขอมูลเปนรายงานผลการศึกษา
เรื่อง โรงไฟฟานิวเคลียร แลวนําเสนอรายงานหนาชั้นเรียนดวย สื่อ Digital
วิธีการสื่อสารที่ทําใหผูอื่นเขาใจไดงาย ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง การทํางานของโรงไฟฟานิวเคลียร

การทํางานของโรงไฟฟานิวเคลียร
www.aksorn.com/interactive3D/RKB32
T113
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น เพื่ อ จำกภำพที่ 3.6 เป็นแผนภำพแสดงกำรท�ำงำนของโรงไฟฟำนิวเคลียร์ จะสังเกตได้วำ่
นําเสนอผลการศึกษาการทํางานของโรงไฟฟา จะแยกระบบกำรท�ำงำนของโรงไฟฟำนิวเคลียร์ออกเป็นสองวงปิด ดังนี้
นิวเคลียรทีละกลุม จนครบทุกกลุม • วงปดแรก ท�ำหน้ำทีเ่ ป็นระบบผลิตไอน�ำ้ โดยใช้ควำมร้อนทีเ่ กิดจำกนิวเคลียร์ฟชิ ชัน
2. ครูอธิบายการทํางานของโรงไฟฟานิวเคลียรให ของแท่งเชื้อเพลิงต้มน�้ำในอุปกรณ์ก�ำเนิดไอน�้ำ ให้เดือดกลำยเป็นไอแล้วน�ำไปขับกังหันไอน�้ำ
นักเรียนฟงอีกครัง้ เพือ่ เปนการรวบยอดความคิด ของเครื่องก�ำเนิดไฟฟำเพื่อผลิตกระแสไฟฟำส่งเข้ำสู่ระบบส่งก�ำลังไฟฟำ ส่วนไอน�้ำหลังจำกใช้
จากการนําเสนอผลงานของแตละกลุม โดย ขับกังหันไอน�้ำจะผ่ำนเข้ำสู่เครื่องควบแน่นกลำยเป็นน�้ำร้อนและถูกลดอุณหภูมิลงโดยน�้ำในวงปิด
ครูอาจใหนักเรียนทําการสแกน QR Code ที่สอง แล้วผ่ำนเข้ำสู่อุปกรณ์ก�ำเนิดไอน�้ำเพื่อต้มน�้ำให้เดือดกลำยเป็นไอน�้ำ วนเป็นวงรอบเช่นนี้
ตลอดกำรท�ำงำนของโรงไฟฟำนิวเคลียร์ โดยน�้ำในวงปิดแรกท�ำหน้ำที่เป็นทั้งสำรหน่วงนิวตรอน
เรื่อง โรงไฟฟานิวเคลียร จากหนังสือเรียน
และสำรระบำยควำมร้อนออกจำกเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
เพื่อชวยในการสรุปความรูใหชัดเจนยิ่งขึ้น • วงปดทีส่ อง ท�ำหน้ำทีเ่ ป็นระบบหล่อเย็น โดยน�ำ้ ในวงปิดทีส่ องจะรับควำมร้อนจำกไอน�ำ้
3. ครูเสริมความรู เรือ่ ง โรงไฟฟานิวเคลียรฟว ชัน ในเครื่องควบแน่นแล้วไหลเข้ำสู่หอระบำยควำมร้อนเพื่อลดอุณหภูมิ โดยพ่นน�้ำลงบนอ่ำงน�้ำเย็น
ในกรอบ Science Focus จากหนังสือเรียน ที่ฐำนของหอระบำยควำมร้อน น�้ำที่พ่นลงไปส่วนหนึ่งกลำยเป็นไอน�้ำ (ที่ไม่ปนเปอนกัมมันตรังสี)
ระบำยออกทำงปำกปล่องของหอระบำยควำมร้อน อีกส่วนหนึ่งกลำยเป็นน�้ำเย็นไหลกลับเข้ำสู่
ส่วนของวงปิดแรกที่อยู่ในเครื่องควบแน่น วนเป็นวงรอบเช่นนี้ตลอดกำรท�ำงำนของโรงไฟฟำ
นิวเคลียร์เช่นกัน โดยน�้ำเย็นที่ใช้หมุนเวียนในวงปิดที่สองมำจำกแหล่งน�้ำ เช่น ทะเลสำบ สระน�้ำ
แม่น�้ำ เป็นต้น
กำรออกแบบโรงไฟฟำนิวเคลียร์ต้องค�ำนึงถึงควำมปลอดภัย ต้องมีอำคำรหรือ
โครงสร้ำงทีใ่ ช้ปกคลุมเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์เพือ่ ปองกันกำรรัว่ ไหลของกัมมันตรังสีทแี่ พร่ออกไป
เมื่อเกิดอุบัติเหตุภำยในโรงไฟฟำนิวเคลียร์ โรงไฟฟำนิวเคลียร์จัดว่ำมีควำมปลอดภัยสูง เพรำะมี
กฎระเบียบต่ำง ๆ ในกำรท�ำงำนที่เข้มงวด และเทคโนโลยีโรงไฟฟำนิวเคลียร์มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อ
เนื่องจนมีควำมปลอดภัยสูงมำกในปจจุบัน ท�ำให้โรงไฟฟำนิวเคลียร์เป็นทำงเลือกที่น่ำสนใจอย่ำง
หนึ่งในกำรผลิตกระแสไฟฟำ
Science Focus
âรงไ¿¿‡านิวเคลียร์¿วªัน
โรงไฟฟานิวเคลียร์ฟวชัน ปจจุบันมีเพียงโรงไฟฟำนิวเคลียร์ฟิชชันเท่ำนั้น โรงไฟฟำนิวเคลียร์
ฟิวชันก�ำลังอยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำ โดยมีโรงไฟฟำนิวเคลียร์ฟิวชันต้นแบบอยู่ที่เมืองคำดำรัช ประเทศ
ฝรั่งเศส เพื่อกำรค้นคว้ำทดลองภำยใต้ควำมร่วมมือกันของโครงกำร ITER (International Thermo-
nuclear Experimental Reactor) ของประเทศฝรัง่ เศส เกำหลีใต้ ญีป่ นุ จีน สหรัฐอเมริกำ สหภำพยุโรป
และอินเดีย ซึง่ ก�ำลังก้ำวหน้ำมำกและคำดว่ำจะมีกำรสร้ำงโรงงำนไฟฟำนิวเคลียร์ฟวิ ชันตำมควำมร่วมมือ
ITER ในอีก 30-40 ปีข้ำงหน้ำ

104 โรงไฟฟานิวเคลียร์

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจเสริมความรูเ พิม่ เติมในสวนของขอดีและขอเสียทีเ่ กิดขึน้ จากโรงไฟฟา หัวใจของโรงไฟฟานิวเคลียรคืออะไร
นิวเคลียร โดยครูเนนยํา้ กับนักเรียนถึงการออกแบบโรงไฟฟานิวเคลียรตอ งคํานึง ( แนวตอบ เครื่ อ งปฏิ ก รณ นิ ว เคลี ย ร ความร อ นของแกน
ถึงความปลอดภัยเปนหลัก ซึง่ ในสวนของขอเสียหรือผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ นีค้ รูอาจ เครื่องปฏิกรณถูกสรางขึ้นโดยปฏิกิริยานิวเคลียรที่มีการควบคุม
นําขอมูลขาวสาร หรือคลิปวิดีโอการระเบิดของโรงไฟฟานิวเคลียรที่เกิดขึ้นจริง ความรอนนีถ้ กู สงผานไปใหนาํ้ หลอเย็นขณะทีม่ นั ถูกสูบผานเครือ่ ง
มาใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเปนความรูที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ปฏิกรณ และเปนการดึงเอาพลังงานจากเครื่องปฏิกรณออกมา
ความรอนจากปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชันจะถูกใชในการสรางไอนํ้า
สื่อ Digital ซึง่ จะไหลผานกังหันไอนํา้ ทีจ่ ะสงกําลังไปหมุนเครือ่ งกําเนิดไฟฟา)

ศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code
เรื่อง โรงไฟฟานิวเคลียร

T114
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2. ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย หลักการที่ใชในการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยเปน 1. ครูใหนักเรียนกลับเขากลุมเดิมที่ไดแบงไวเมื่อ
พลังงานไฟฟามี 2 หลักการ ดังตอไปนี้ ชั่วโมงที่ผานมา จากนั้นรวมกันศึกษา เรื่อง
1) การใชความรอนจากแสงอาทิตยในการผลิตพลังงานไฟฟา แบงเปน 2 ระบบ ดังนี้ ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย จากหนังสือ-
• ระบบความรอนรวมศูนย ใชอุปกรณรับแสง เชน กระจกเงา หรือวัสดุสะทอนแสงที่ เรียน
หมุนตามดวงอาทิตยได เพื่อรวมความรอนจากแสงอาทิตยมาไวที่จุดเดียวกันทําใหเกิดความรอน 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นร ว มกั น พู ด คุ ย เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่
สูงสงผานไปยังตัวกลาง แลวนําความรอนจากตัวกลางไปผลิตเปนไอเพื่อขับเคลื่อนเครื่องกําเนิด ศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ไฟฟา ระบบความรอนรวมศูนยแบงเปน 3 ประเภท คือ ระบบรางตรง ระบบหอคอยกลาง และ ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว เพื่อนําสง
ระบบจานรวมกับเครื่องจักร ปจจุบันระบบการผลิตกระแสไฟฟาระบบความรอนรวมศูนยไมแพร ครูทายชั่วโมง
หลายนัก เนื่องจากตนทุนการผลิตสูง ระบบนี้เหมาะกับการผลิตไฟฟาจากรังสีตรงเทานั้น เชน
แสงอาทิตยจากทะเลทราย จึงไมเหมาะสมกับประเทศไทย
• ระบบสระแสงอาทิตย เปนระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยที่เหมาะกับ
ประเทศไทย เพราะเก็บความรอนไดทงั้ จากรังสีตรงและรังสีกระจาย ซึง่ ของเหลวภายในสระ (นํา้ เกลือ)
เมื่อไดรับความรอนจากแสงอาทิตยจะมีความหนาแนนเพิ่มขึ้นจึงจมลงสูกนสระ ความรอนจึงเก็บ
สะสมอยูที่กนสระ ขณะที่นํ้าที่ผิวสระเปนนํ้าอุณหภูมิตํ่าจึงเกิดการสูญเสียใหแกบรรยากาศนอย
ในการผลิตไฟฟาตองสูบนํา้ เกลือทีก่ น สระซึง่ มีความเขมขนสูงและอุณหภูมสิ งู ผานทอเขาสูเ ครือ่ ง
กําเนิดไอนํา้ เพือ่ ผลิตไอนํา้ ไปขับกังหันไอนํา้ ของเครือ่ งกําเนิดไฟฟาเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟา แลวสูบ
กลับสูก น สระตามเดิม ขณะเดียวกันตองสูบนํา้ เกลือบริเวณผิวสระซึง่ เจือจางและมีอณ ุ หภูมติ าํ่ ผาน
ทอเขาสูเครื่องควบแนนเพื่อใชในการควบแนนไอนํ้าที่ขับกังหันใหเปนของเหลวกลับเขาสูเครื่อง
กําเนิดไอนํ้า สวนนํ้าเกลือที่สูบมาจากผิวสระจะถูกสูบกลับไปยังผิวสระตามเดิม ดังภาพที่ 3.7
เครื่องควบแนน
กังหันไอนํ้า
นํ้าเย็น เครื่องกําเนิดไฟฟา

ปม

นํ้าเกลือเจือจางเย็น เครื่องกําเนิดไอนํ้า
ชั้นนํ้าเกลือที่ไมมีการพา นํ้าเกลือรอน
ความรอน
นํ้าเกลือเขมขนรอน พื้นดิน

ภาพที่ 3.7 การผลิตไฟฟาดวยระบบสระแสงอาทิตย


ที่มา : คลังภาพ อจท.
¾Åѧ§Ò¹ 105

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชความรอนจาก ครูอาจนําสื่อหรือสารสนเทศตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใชความรอนจาก
แสงอาทิตยในการผลิตพลังงาน จากนั้นครูมอบหมายใหนักเรียน แสงอาทิตยในการผลิตพลังงานไฟฟา ระบบความรอนรวมศูนยมานําเสนอให
เขียนสรุปลงในกระดาษ A4 ดวยลายมือของตนเอง ตัวบรรจง นักเรียนไดศกึ ษาเพิม่ เติม เชน อุปกรณทใี่ ชรบั แสงในระบบดังกลาว ไมวา จะเปน
พรอมตกแตงใหสวยงาม กระจกเงาหรือวัสดุสะทอนแสงทีห่ มุนตามดวงอาทิตยได และทีส่ าํ คัญไปกวานัน้
ครูควรกลาวถึงประเภทของระบบความรอนรวมศูนย ซึง่ ประกอบดวย ระบบตรง
ระบบหอคอยกลาง และระบบจานรวมกับเครือ่ งจักร พรอมกับนําเสนอภาพหรือ
กิจกรรม ทาทาย วิธีการทํางานของระบบนั้นๆ ประกอบการนําเสนอ
ครูใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการใชความรอนจากแสง
อาทิตยในการผลิตพลังงาน จากนัน้ ครูมอบหมายใหนกั เรียนเขียน
สรุปความรูทําเปนแผนพับความรูขนาด A4 โดยนักเรียนสามารถ
สร า งสรรค แ ละออกแบบวิ ธีก ารนํ า เสนอตามสไตล ข องตนเอง
พรอมทั้งตกแตงใหสวยงามตามความสามารถ ครูอาจสุมตัวแทน
ออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน เสร็จแลวเก็บรวบรวมสงครู

T115
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอผลการศึกษา 2) การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เปนพลังงานไฟฟาโดยตรง ท�ำได้โดยใช้เซลล์สุริยะ
หนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 5 กลุม (solar cell) แต่เซลล์สุริยะเพียงเซลล์เดียวให้พลังงำนไฟฟำน้อยมำก กำรผลิตไฟฟำโดยใช้เซลล์
ซึ่งครูเปนคนเลือกวาจะใหกลุมไหนนําเสนอ สุริยะจึงต้องน�ำเซลล์สุริยะหลำย ๆ เซลล์ม1ำต่อเข้ำด้วยกันเป็นแผงเซลล์สุริยะ (solar module) และ
เรื่องอะไร โดยมีหัวขอเรื่อง ดังตอไปนี้ เนื่องจำกเซลล์สุริยะผลิตไฟฟ 2 ำกระแสตรงและท�ำงำนเมื่อมีแสงอำทิตย์มำตกกระทบเท่ำนั้น ถ้ำ
• การใชความรอนจากแสงอาทิตยในการผลิต ต้องกำรใช้ไฟฟำกระแสสลับและต้องกำรเก็บสะสมพลังงำนไฟฟำไว้ใช้ในเวลำที่ไม่มีแสงอำทิตย์
ไฟฟา ระบบความรอนรวมศูนย จ�ำเป็นต้องต่อแผงเซลล์สรุ ยิ ะร่วมกับอุปกรณ์อนื่ ๆ โดยรวมเข้ำเป็นระบบผลิตไฟฟำจำกเซลล์สรุ ยิ ะ
• การใชความรอนจากแสงอาทิตยในการผลิต ซึ่งมีส่วนประกอบหลัก ดังภำพที่ 3.8
ไฟฟา ระบบสระแสงอาทิตย
• การเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงาน
ไฟฟาโดยตรง ระบบเซลลสุริยะแบบอิสระ
อุปกรณ์ควบคุมการประจุ ควบคุมกำร แผงเซลล์สุริยะ เปลี่ยนพลังงำนแสง
• การเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงาน อัดประจุเข้ำแบตเตอรี่เมื่อประจุไฟ อำทิตย์ให้เป็นพลังงำนไฟฟำ
ไฟฟาโดยตรง ระบบเซลลสุริยะแบบตอกับ เต็มหรือแรงดันไฟฟำสูงเกินไป
ระบบจําหนาย DC
• การเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงาน
ไฟฟาโดยตรง ระบบเซลลสุริยะแบบผสม
ผสาน DC
2. ขณะที่นักเรียนแตละกลุมกําลังนําเสนอ ครู
อาจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิม่ เติมในเรือ่ ง DC AC
นั้ น ๆ ให นั ก เรี ย นทุ ก คนได มี ค วามเข า ใจที่ แบตเตอรี่ เก็บสะสมพลังงำนไฟฟำ
ที่ ผ ลิ ต มำจำกเซลล์ สุ ริ ย ะไว้ ใ ช้ ใ น อุปกรณ์แปลงระบบไฟฟา แปลงไฟฟำ
ตรงกันมากยิ่งขึ้น เวลำที่ไม่มีแสงอำทิตย์ กระแสงตรงให้เป็นไฟฟำกระแสสลับ
เพื่อใช้กับอุปกรณ์ไฟฟำ และควบคุม
แรงดันให้อยู่ในระดับที่ต้องกำร

ภาพที่ 3.8 สวนประกอบหลักของระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยเซลล์สุริยะ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

ระบบผลิตไฟฟำโดยใช้เซลล์สุริยะแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ ระบบเซลล์สุริยะแบบ


อิสระ (PV standalone system) ระบบเซลล์สุริยะแบบต่อกับระบบจ�ำหน่ำย (PV grid connected
system) และระบบเซลล์สุริยะแบบผสมผสำน (PV hybrid system) ซึ่งแต่ละระบบผลิตออกมำ
เพื่อตอบสนองกำรใช้งำนที่ต่ำงกัน
106

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 กระแสตรง (direct current; DC) คือ กระแสไฟฟาทีม่ ที ศิ ทางการเคลือ่ นที่ จงอธิบายหลักการทํางานของระบบเซลลสุริยะแบบอิสระเมื่อ
ไปในทิศทางเดียวกันเปนวงจร ในอดีตไฟฟากระแสตรงถูกเรียกวา กระแส แบงตามชวงเวลา
กัลวานิก (galvanic current) อุปกรณที่สามารถผลิตไฟฟากระแสตรงได เชน (แนวตอบ ชวงเวลากลางวัน เซลลสรุ ยิ ะไดรบั แสงอาทิตยสามารถ
เซลลสุริยะ แบตเตอรี่ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง ไฟฟากระแสตรงสามารถ ผลิตไฟฟาจายใหแกโหลด พรอมทั้งประจุพลังงานไฟฟาสวนเกิน
ไหลผานตัวนําไฟฟา เชน สายไฟ สารกึ่งตัวนํา ฉนวนไฟฟา หรือแมกระทั่ง ไวในแบตเตอรี่พรอมๆ กัน สวนในชวงกลางคืน เซลลสุริยะไม
เคลื่อนที่ในภาวะสุญญากาศในรูปของลําอิเล็กตรอนหรือลําไอออนได ไดรับแสงอาทิตยจึงไมสามารถผลิตไฟฟาได ดังนั้น พลังงานจาก
2 กระแสสลับ (alternating current; AC) คือ กระแสไฟฟาที่มีทิศทาง แบตเตอรี่ที่เก็บประจุไวในชวงกลางวันจะถูกจายใหแกโหลด จึง
การเคลื่ อ นที่ ไ ปและกลั บ ตลอดระยะเวลา มี ก ารสลั บ ขั้ ว บวกและลบกั น อยู  สามารถกลาวไดวา ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลสุริยะแบบอิสระ
ตลอดเวลา เชน ไฟฟาที่ไดจากถานไฟฉาย แบตเตอรี่ของรถยนต ไฟฟากระแส สามารถจายกระแสไฟฟาใหโหลดไดทั้งกลางวันและกลางคืน)
สลับจึงเปนไฟฟาที่เหมาะสําหรับบานเรือนหรือธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใชไฟฟา
ปริมาณมากๆ โดยไฟฟากระแสสลับมีคุณสมบัติที่สามารถสงไปในที่ไกลๆ ไดดี
กําลังไมตก และสามารถแปลงแรงดันใหสงู ขึน้ หรือตํา่ ลงไดตามตองการโดยการ
ใชหมอแปลง (transformer)
T116
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
• ระบบเซลล์สุริยะแบบอิสระ ออกแบบมำเพื่อใช้ผลิตไฟฟ้ำในชนบทหรือพื้นที่ที่ไม่มี 1. ครูนําอภิปรายสรุปเนื้อหาดวยคําถามตอไปนี้
ระบบสำยส่งไฟฟ้ำ อุปกรณ์ส�ำคัญในระบบประกอบด้วยแผงเซลล์สุริยะ อุปกรณ์ควบคุมกำรประจุ แลวใหนักเรียนชวยกันตอบปากเปลา โดยเปด
ไฟและควบคุมกำรไหลของกระแสไฟฟ้ำ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์แปลงและควบคุมระบบไฟฟ้ำชนิด PowerPoint เรื่องที่สอนไปแลวควบคูไปดวย
อิสระ ดังภำพที่ 3.9 • เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตยนําไปใชใน
กี่รูปแบบ อะไรบาง
แผงเซลล์สุริยะ อุปกรณ์ (แนวตอบ 2 รูปแบบ คือ นําไปผลิตไฟฟา
ควบคุมกำร
ประจุไฟ และนําไปผลิตนํ้ารอน)
• พลังงานลมเปนพลังงานลักษณะใด
(แนวตอบ พลังงานกล)
วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ำ แบตเตอรี่
• แหลงพลังงานใดที่เปนแหลงพลังงาน
ตนกําเนิดของพลังงานอื่น
(แนวตอบ พลังงานจากดวงอาทิตย)
2. ครูใหนกั เรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง พลังงาน
แผงควบคุมวงจร แผงควบคุมวงจร อุปกรณ์แปลงระบบไฟฟ้ำ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ (ส�ำรอง) ทดแทน ลงในกระดาษ A4
ไฟฟ้ำกระแสตรง ไฟฟ้ำกระแสสลับ
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ภาพที่ 3.9 ระบบเซลล์สุริยะแบบอิสระ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ของตนเองหนาชั้นเรียน
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
• ระบบเซลล์ สุ ริ ย ะแบบ แผงเซลล์สุริยะ มำตรไฟฟ้ำ สำยส่งไฟฟ้ำ Topic Question เรือ่ ง พลังงานในชีวติ ประจําวัน
ต่อกับระบบจ�าหน่าย ออกแบบมำเพื่อ จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ใช้ผลิตไฟฟ้ำในเขตเมืองหรือพื้นที่ที่มี แลวนํามาสงครูทายชั่วโมง
ระบบจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำเข้ำถึง โดยผลิต 5. ครูมอบหมายการบานใหนักเรียน โดยใหทํา
ไฟฟ้ ำ ผ่ ำ นอุ ป กรณ์ แ ปลงและควบคุ ม แบบฝกหัด เรื่อง พลังงานในชีวิตประจําวัน
ระบบไฟฟ้ำเพื่อแปลงไฟฟ้ำกระแสตรง จากแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ 2
เป็นไฟฟ้ำกระแสสลับแล้วจ่ำยเข้ำสูร่ ะบบ (ฟสิกส) ม.5
สำยส่งไฟฟ้ำโดยตรง อุปกรณ์ส�ำคัญ
ในระบบประกอบด้ ว ยแผงเซลล์ สุ ริ ย ะ
อุปกรณ์แปลงและควบคุมระบบไฟฟ้ำ
ชนิดต่อกับระบบจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำ ดังภำพ เครื่องใช้ไฟฟ้ำ แผงควบคุมวงจรไฟฟ้ำ อุปกรณ์แปลงระบบไฟฟ้ำ
ที่ 3.10 ภาพที่ 3.10 ระบบเซลล์สุริยะแบบตอกับระบบจําหนาย
ที่มา : คลังภาพ อจท.
พลังงาน 107

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนพลังงานแสง การจัดการเรียนการสอนหรือทํากิจกรรมเกี่ยวกับ เรื่อง ระบบผลิตไฟฟา
อาทิตยเปนพลังงานไฟฟาโดยตรง โดยจดบันทึกสรุปองคความรู โดยใชเซลลสุริยะ ครูอาจนําสื่อสารสนเทศที่เกี่ยวของมาอธิบายเพิ่มเติม หรือ
ที่ไดจากการศึกษาลงในสมุดบันทึกประจําตัว นํามาเปดผานเครื่องฉายใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมซึ่งเปนสิ่งที่นอกเหนือจาก
หนั ง สื อ เรี ย น เช น คลิ ป วิ ดี โ อจาก youtube เรื่ อ ง โซลาร เ ซลล ล อยนํ้ า
แห ง แรกของไทย (สามารถค น หาได จ าก https://www.youtube.com/
watch?v=qurRFIsYwTg) โดยคลิปวิดีโอดังกลาวนั้น เปนตัวอยางหนึ่งของการ
กิจกรรม ทาทาย ใชเซลลสุริยะในพื้นที่จํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด
ใหนักเรียนคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนพลังงานแสง
อาทิตยเปนพลังงานไฟฟาโดยตรง โดยเนือ้ หาทีน่ าํ เสนอในรายงาน
ควรแยกเปนระบบเซลลสุริยะแบบอิสระ ระบบเซลลสุริยะแบบตอ
กับระบบจําหนาย และระบบเซลลสรุ ยิ ะแบบผสมผสาน ครูกาํ หนด
ใหนักเรียนตองทํารายงานดวยวิธีการเขียนดวยลายมือ

T117
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ • ระบบเซลล์สรุ ยิ ะแบบผสมผสาน ออกแบบมำเพือ่ ท�ำงำนร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟำ
พลังงานในชีวิตประจําวันและพลังงานทดแทน หรือระบบผลิตไฟฟำอื่น ๆ เช่น เครื่องก�ำเนิดไฟฟำดีเซล ไฟฟำพลังลม ไฟฟำพลังน�้ำ เป็นต้น
โดยครู ใ ห นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด ดังภำพที่ 3.11
แผงเซลล์สุริยะ
บันทึกประจําตัว

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล กังหันลม เครื่องก�ำเนิดไฟฟำดีเซล
อØ»¡ร³์á»ลงรÐบบไ¿¿‡า
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจก อ นเรี ย นของ
แบตเตอรี่
นักเรียน (ก) ระบบเซลล์สุริยะกับไฟฟำพลังลมและเครื่องก�ำเนิดไฟฟำดีเซล
2. ครู ต รวจสอบผลการทํ า แบบทดสอบความ
เขาใจกอนเรียนจาก Understanding Check
ในสมุดบันทึกประจําตัว
3. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง
พลังงานสิ้นเปลือง
เครื่องก�ำเนิดไฟฟำดีเซล แผงเซลล์สุริยะ
4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question
เรื่อง พลังงานในชีวิตประจําวัน ในสมุดบันทึก
ประจําตัว (ข) ระบบเซลล์สุริยะกับเครื่องก�ำเนิดไฟฟำดีเซล
5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง พลังงานใน ภาพที่ 3.11 ระบบเซลล์สุริยะแบบผสมผสาน
ชีวิตประจําวัน จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตร ที่มา : คลังภาพ อจท.
กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 Topic
6. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ ? Question
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้
และการทํางานกลุม 1. พลังงำนที่สะสมในแบตเตอรี่ พลังงำนที่ได้จำกแบตเตอรี่ และพลังงำนที่ใช้ในกำรเคลื่อนไหว
7. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป เป็นพลังงำนประเภทใด ตำมล�ำดับ
เนื้อหา เรื่อง พลังงานทดแทน ที่นักเรียนได 2. พลังงำนทดแทนมีกี่ประเภท อะไรบ้ำง และแต่ละประเภทต่ำงกันอย่ำงไร
สร า งขึ้ น จากขั้ น ขยายความเข า ใจเป น ราย 3. พลังงำนน�้ำที่น�ำมำใช้ในกำรผลิตกระแสไฟฟำมีกี่รูปแบบ อะไรบ้ำง
บุคคล 4. ไฟฟำจำกพลังงำนนิวเคลียร์ได้จำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์แบบใด
5. ถ้ำต้องกำรเปลี่ยนพลังงำนแสงอำทิตย์เป็นไฟฟำโดยตรงต้องใช้อุปกรณ์ใด
108

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. พลั ง งานที่ ส ะสมในแบตเตอรี่ เ ป น พลั ง งานเคมี พลั ง งานที่ ไ ด จ าก
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง พลังงานทดแทน
แบตเตอรี่เปนพลังงานไฟฟา และพลังงานที่ใชในการเคลื่อนไหวเปน
ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ
พลังงานกล
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
2. มี 2 ประเภท คือ พลังงานสิน้ เปลืองและพลังงานหมุนเวียน โดยพลังงาน
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 พลังงาน
สิ้นเปลืองเปนพลังงานที่ไดจากแหลงที่เมื่อใชไปนานๆ แลวจะหมดไป
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-3 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
สวนพลังงานหมุนเวียนเปนพลังงานที่ไดมาจากแหลงที่เมื่อใชแลว
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์

สามารถนํากลับมาใชไดอีก
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน

3. มี 3 รูปแบบ คือ พลังงานนํ้าจากเขื่อน (พลังงานจากการไหลของนํ้า)


ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่

พลังงานนํ้าขึ้น-นํ้าลง และพลังงานจากคลื่นนํ้า
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
4. ไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน
ช่วงคะแนน
14–16
11–13
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
ดี
5. เซลลสุริยะ
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T118
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
2. พลังงานนิวเคลียร์ Prior Knowledge 1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
ในชีวิตประจ�ำวันเรำมักจะพบกับปฏิกิริยำเคมี เช่น กำร พลังงานที่ ได้จาก 2. ครูนําวีดิทัศนเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียรและ
ประกอบอำหำรด้วยควำมร้อน กำรเผำไหม้เชือ้ เพลิง กระบวนกำร ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ระเบิดปรมาณูมาเปดใหนักเรียนชม
เป็นผลมาจากสิง่ ใด 3. นั ก เรี ย นอภิ ป รายและบอกได ว  า พลั ง งาน
ย่อยอำหำรของร่ำงกำย เป็นต้น โดยปฏิกิริยำเคมีเป็นกำร
เปลี่ยนแปลงในระดับอะตอมและโมเลกุล โดยไม่เกี่ยวข้องกับ นิวเคลียรมีประโยชนและโทษอยางไรในชีวิต
นิวเคลียสของอะตอม แต่กำรเปลีย่ นแปลงกับนิวเคลียสของอะตอมทีท่ ำ� ให้เกิดกำรเปลีย่ นชนิดของ ประจําวัน
ธำตุ จะเรียกกำรเปลี่ยนแปลงนี้ว่ำ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (nuclear reaction) หลังกำรเกิดปฏิกิริยำ 4. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
นิวเคลียร์ธำตุตั้งต้นจะเปลี่ยนเป็นธำตุอื่น และมวลอะตอมรวมของธำตุหลังเกิดปฏิกิริยำนิวเคลียร์ เรียน เพื่อกระตุนความสนใจของนักเรียนวา
จะมีค่ำน้อยกว่ำมวลอะตอมรวมของธำตุก่อนเกิดปฏิกิริยำนิวเคลียร์ มวลที่ลดลงหรือมวลพร่อง “พลังงานทีไ่ ดจากปฏิกริ ยิ านิวเคลียรเปนผลมา
(mass defect) จะเปลี่ยนเป็นพลังงำนตำมหลักสมมูลของมวลสำรและพลังงำน (mass-energy จากสิง่ ใด” และใหนกั เรียนชวยกันตอบคําถาม
equivalence) ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ซึ่งมีควำมสัมพันธ์ ตำมสมกำร ปากเปลา โดยไมมีการเฉลยวาถูกหรือผิด
E คือ พลังงำนที่ได้จำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์ มีหน่วยเป็น จูล (J) 5. ครูถามคําถามกระตุนความสนใจกับนักเรียน
Δm คือ มวลพร่อง หรือผลต่ำงของมวลอะตอมรวมก่อนเกิดปฏิกิริยำกับมวล วา “พลังงานนิวเคลียรเกิดขึ้นไดอยางไร”
E = (Δm)c2 อะตอมรวมหลังเกิดปฏิกิริยำ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg) 6. ครูใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตองการ
c คือ อัตรำเร็วของแสงในสุญญำกำศ เท่ำกับ 3 × 108 เมตรต่อวินำที (m/s) เรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง พลังงานนิวเคลียร แลว
บันทึกเปนขอบเขตและเปาหมายที่ตองการ
พลังงำนที่ได้จำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์ เรียกว่ำ พลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) โดย เรียนรูลงในสมุดเพื่อนํามาสงครู
ปฏิกิริยำนิวเคลียร์มี 2 ประเภท คือ ฟิชชันและฟิวชัน
Science Focus
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (พ.ศ. 2422-2498) ศำสตรำจำรย์
ทำงฟิสิกส์และนักฟิสิกส์ทฤษฎี ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่ำงกว้ำง
ขวำงว่ำเป็นนักวิทยำศำสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่
20 ในปี พ.ศ. 2448 เขำเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภำพพิเศษ
(theory of special relativity) แสดงให้เห็นว่ำ มวลเป็นรูป
หนึง่ ของพลังงำน ซึง่ เขำได้รบั รำงวัลโนเบลสำขำฟิสกิ ส์ในปี พ.ศ. แนวตอบ Prior Knowledge
2464 จำกกำรอธิบำยปรำกฏกำรณ์โฟโตอิเล็กทริก และจำกกำร
ท�ำประโยชน์แก่ฟิสิกส์ทฤษฎี ไอน์สไตน์ได้ตีพิมพ์ผลงำนทั้งทำง พลังงานที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรเปนผล
วิทยำศำสตร์และอื่น ๆ มำกกว่ำ 400 ชิ้น และในปี พ.ศ. 2542 มาจากการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียสของธาตุ ซึ่ง
ภาพที่ 3.12 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
นิตยสำรไทม์ (TIME) ยกย่องให้เขำเป็นบุรุษแห่งศตวรรษ ที่มา : คลังภาพ อจท. การเปลี่ยนแปลงนั้นมี 2 แบบ คือ นิวเคลียสของ
ธาตุมวลมากแตกออกเปนธาตุที่มีมวลนอยกวา
พลังงาน 109
และนิวเคลียสของธาตุที่มีมวลนอยรวมกันเปน
นิวเคลียสของธาตุที่มีมวลมากขึ้น

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร แ บบคายพลั ง งานและดู ด กลื น พลั ง งาน เมือ่ มีการกลาวถึงอัลเบิรต ไอนสไตน แนนอนวาผลงานทีโ่ ดดเดนเปนทีร่ จู กั
เกิดไดอยางไร กันทัว่ ไป คือ ทฤษฎีสมั พัทธภาพ ซึง่ ครูอาจนําขอมูลเพิม่ เติมทีเ่ กีย่ วของกับทฤษฎี
(แนวตอบ ปฏิกิริยาคายพลังงาน เกิดขึ้นเมื่อมวลรวมกอนเกิด ดังกลาวมาสอนและอธิบายใหนกั เรียนไดเกิดความเขาใจเพิม่ มากขึน้ หรือครูอาจ
ปฏิกิริยามากกวามวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา และปฏิกิริยาดูดกลืน จะนําตัวอยางโจทยปญหาที่เกี่ยวของกับหลักสมมูลของมวลสารและพลังงาน
พลังงาน เกิดขึ้นเมื่อมวลรวมกอนเกิดปฏิกิริยานอยกวามวลรวม ตามสมการ E = (∆Δm)c2 มาแสดงใหนักเรียนไดศึกษา
หลังเกิดปฏิกิริยา พลังงานที่คายหรือดูดกลืนสามารถหาไดจาก
ผลตางของมวลรวมกอนเกิดปฏิกิริยากับหลังเกิดปฏิกิริยา) สื่อ Digital
ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตร
สารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง อาวุธนิวเคลียร
https://www.twig-aksorn.com/
film/nuclear-fission-8355/

T119
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง พลังงานนิวเคลียร ¿ªªัน
จากหนังสือเรียน ปฏิกิริยำที่นิวเคลียสของธำตุที่มีมวลมำก แตกออกเป็นสองนิวเคลียสของธำตุที่มีมวลน้อยกว่ำ เรียกว่ำ
2. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ฟชชัน (fission)
ฟชชันและฟวชันจากแหลงขอมูลสารสนเทศ ธาตุที่มีมวลมาก พลังงานที่ไดจากการเกิดฟชชัน
3. ครูใหนกั เรียนเขียนสรุปความรูท ไี่ ดศกึ ษาลงใน ธำตุ ที่ นิ ย มใช้ ใ นปฏิ กิ ริ ย ำฟิ ช ชั น ในกำรเกิดแต่ละครั้งมีค่ำประมำณ 200 MeV
สมุดบันทึกประจําตัวของแตละคน คือ ยูเรเนียม-235 ยูเรเนียม-233 โดยพลังงำนส่วนใหญ่จะอยูใ่ นรูปพลังงำนจลน์
ยูเรเนียม-238 และพลูโทเนียม-239 ของธำตุมวลเบำที่เกิดขึ้นและนิวตรอน
4. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น
เพื่ อ อธิ บ ายให เ พื่ อ นในชั้ น เรี ย นฟ ง เกี่ ย วกั บ ธำตุที่มีมวลน้อย
ขอมูลที่ตนเองไดทําการศึกษามาแลว นิวตรอน
5. ครูแจกใบงาน เรื่อง พลังงานนิวเคลียร ให พลังงาน นิวตรอน
นักเรียน จากนั้นมอบหมายใหนักเรียนลงมือ นิวตรอน
ธำตุที่มีมวลมำก
ทําแลวเก็บรวบรวมสงคืนครูทายชั่วโมง นิวตรอน
ธำตุที่มีมวลน้อย
อธิบายความรู้
1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร อนุภาคที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาฟชชัน ธาตุที่มีมวลนอย
ความหมายของปฏิกริ ยิ าฟชชัน ปฏิกริ ยิ าฟวชัน นอกจำกนิวตรอนแล้ว ยังมีอนุภำคไฟฟำอืน่ รวมทัง้ ขึ้นอยู่กับธำตุมวลมำกที่ใช้ในปฏิกิริยำ
รังสีแกมมำ ที่ท�ำให้เกิดปฏิกิริยำฟิชชันได้
และการใชประโยชน
2. ครูเปด PowerPoint เรื่อง พลังงานนิวเคลียร ¿ªªันãนâรงไ¿¿‡านิวเคลียร์
ใหนักเรียนดูเพื่อเปนการสรุปความรู เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในโรงงำนไฟฟำนิวเคลียร์จะเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ (chain reaction) เนื่องจำกใน
3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความสําคัญของ แต่ละฟิชชันของยูเรเนียม-235 จะเกิดนิวตรอน 2-3 ตัว และนิวตรอนเหล่ำนี้จะเคลื่อนเข้ำชนนิวเคลียสอื่น
ของยูเรเนียมต่อไปอย่ำงต่อเนื่อง จึงส่งผลให้ได้พลังงำนปริมำณมหำศำล
พลังงานนิวเคลียรในชีวิตประจําวัน 91 Kr
36
ขยายความเข้าใจ นิวตรอน 235 U
92
1. ครูใหนกั เรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง พลังงาน
235 U
นิวเคลียร ลงในกระดาษ A4 92 พลังงาน นิวตรอน 235 U
นิวตรอน 92
2. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ของตนเองหนาชั้นเรียน นิวตรอน 235 U
142 Ba 92
56
ภาพที่ 3.13 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟชชัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
110

สื่อ Digital กิจกรรม 21st Century Skills


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง นิวเคลียรฟว ชัน : วิธี ครู ใ ห นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กั น อย า งอิ ส ระ กลุ  ม ละ 3-4 คน
แบบรอนและแบบเย็น https://www.twig-aksorn.com/film/nuclear-fusion- แลวใหสมาชิกแตละกลุมรวมกันศึกษา เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร
the-hot-and-cold-science-8328/ ทั้งแบบฟชชันและฟวชัน จากหนังสือเรียนหรือจากแหลงขอมูล
สารสนเทศ จากนั้ น ครู ม อบหมายให แ ต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น พู ด คุ ย
สรุปผลการศึกษา แลวรวมกันสรางสรรคผลงานเปนคลิปวิดีโอที่
เกี่ยวของกับฟชชันและฟวชัน โดยใชโปรแกรมพื้นฐานในการทํา
เชน Microsoft PowerPoint จากนั้นบันทึกเปนไฟลวิดีโอ แลว
ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน

T120
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
¿วªัน 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
ปฏิกิริยำนิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธำตุที่มีมวลน้อยรวมกันเป็นนิวเคลียสของธำตุที่มีมวลมำกขึ้น เรียกว่ำ Topic Question เรือ่ ง พลังงานในชีวติ ประจําวัน
ฟวชัน (fusion) จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ธาตุที่มีมวลนอย พลังงานที่ไดจากการเกิดฟวชัน แลวสงครูทายชั่วโมง
ในดวงอำทิตย์จะเป็นนิวเคลียสของธำตุไฮโดรเจน พลังงำนทีไ่ ด้จำกกำรเกิดฟิวชัน 1 ครัง้ มีคำ่ น้อยกว่ำ 4. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
รวมตัวกัน แต่บนพื้นโลกมนุษย์จะท�ำให้นิวเคลียส ฟิชชัน แต่พลังงำนต่อมวลของปฏิกิริยำฟิวชันจะ พลังงานนิวเคลียร จากแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
ของธำตุดิวเทอเรียมและทริเทียมรวมตัวกัน มำกกว่ำพลังงำนต่อมวลที่ได้จำกปฏิกิริยำฟิชชัน
ประมำณ 3.5-4.6 เท่ำ กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5

ธำตุที่มีมวลน้อย + ธำตุที่มีมวลมำก ขัน้ สรุป


+ ฟิวชัน + ตรวจสอบผล
+ พลังงำน
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
+ + พลังงานนิวเคลียร โดยครูใหนักเรียนเขียนสรุป
ความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว
อนุภำคต่ำง ๆ เช่น โฟตอน
ธำตุที่มีมวลน้อย นิวตริโน โพซิตรอน โปรตอน
ขัน้ ประเมิน
¿วªันãน´วงอา·ิตย์ ¿วªันบนพ×éนâล¡ ตรวจสอบผล
ปฏิกิริยำฟิวชันเป็นแหล่งก�ำเนิดพลังงำนของดวง นักวิทยำศำสตร์ได้สร้ำงเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
อำทิตย์และดำวฤกษ์ต่ำง ๆ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงำน ฟิวชัน ทีส่ ำมำรถควบคุมกำรเกิดปฏิกริ ยิ ำฟิวชันให้อยู่ 1. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง
ปริ ม ำณมหำศำลในธรรมชำติ ท� ำ ให้ ด วงอำทิ ต ย์ ในบริเวณจ�ำกัดได้ดว้ ย เครือ่ งโทคำแมค (Tokamak) พลังงานนิวเคลียร
และดำวฤกษ์ปลดปล่อยพลังงำนเป็นเวลำยำวนำน โดยใช้สนำมแม่เหล็กกักขังอนุภำคที่มีพลังงำนสูงที่
ปฏิกริ ยิ ำฟิวชันในดวงอำทิตย์เกิดจำกกำรรวมตัวของ เกิดจำกปฏิกิริยำฟิวชัน 2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
นิวเคลียสของไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส เป็นนิวเคลียส พลังงานนิวเคลียร ในสมุดบันทึกประจําตัว
ของฮีเลียม-4 (He-4) 1 นิวเคลียส 3. ครูตรวจแบบฝกหัด เรื่อง พลังงานนิวเคลียร
ภาพที่ 3.14 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟวชัน
ที่มา : คลังภาพ อจท. จากแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ 2
Topic (ฟสิกส) ม.5
? Question 4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
1. ฟิชชันกับฟิวชันต่ำงกันอย่ำงไร และการทํางานกลุม
2. พลังงำนนิวเคลียร์ที่ได้จำกฟิชชันและฟิวชันเป็นผลจำกสิ่งใด ค�ำนวณได้อย่ำงไร 5. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
3. ปฏิกิริยำนิวเคลียร์ที่เกิดในดวงอำทิตย์และโรงไฟฟำนิวเคลียร์เป็นปฏิกิริยำเดียวกัน เนื้อหา เรื่อง พลังงานนิวเคลียร ที่นักเรียน
หรือไม่ อย่ำงไร ไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจเปนราย
พลังงาน 111 บุคคล

แนวตอบ Topic Question แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ฟชชัน เปนปฏิกิริยานิวเคลียรที่นิวเคลียสของธาตุหนักแยกออกเปน 2
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง พลังงานนิวเคลียร
นิวเคลียสของธาตุที่เบากวา สวนฟวชัน เปนปฏิกิริยานิวเคลียรที่ธาตุ
ไดจากผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑ
เบารวมกันเปนธาตุหนัก
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมา
2. เปนผลจากการเปลีย่ นรูปจากมวลไปเปนพลังงาน คํานวณไดจากสมการ
ทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 พลังงาน
สมมูลระหวางมวลและพลังงาน คือ E = (∆Δm)c2 ถามวลพรองอยูใน
หนวย u พลังงานที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรในหนวย MeV คํานวณ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-3 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์

ไดจากสมการ E = (∆Δm)(931) Mev แตถามวลพรองอยูในหนวย kg


ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน

พลังงานที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรในหนวย J คํานวณไดจากสมการ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่

E = (∆Δm)(9 × 1016) J
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

3. ไมใชปฏิกิริยาเดียวกัน เนื่องจากปฏิกิริยานิวเคลียรในดวงอาทิตย ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

เปนปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันที่เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสของ ช่วงคะแนน
14–16
11–13
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
ดี

ไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส เปนนิวเคลียสของฮีเลียม-4 (He-4) 1 นิวเคลียส


8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

สวนปฏิกิริยานิวเคลียรในโรงไฟฟานิวเคลียรเปนปฏิกิริยาฟชชันที่เกิด
จากการชนกันของนิวตรอนกับยูเรเนียมหรือพลูโตเนียม
T121
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 3. เ·คâนâลยี´Œานพลังงาน Prior Knowledge
2. ครู ถ ามคํ า ถาม Prior Knowledge จาก วิ วั ฒ นำกำรของเทคโนโลยี ด ้ ำ นพลั ง งำน เริ่ ม ต้ น ขึ้ น เËตØผลËลัก¢องการ
หนั ง สื อ เรี ย น เพื่ อ กระตุ  น ความสนใจของ ประมำณคริสต์ศตวรรษที่ 17 จำกกำรใช้พลังงำนเชือ้ เพลิงฟอสซิล ¾Ñ²นาเ·คâนâลยี
นั ก เรี ย นว า “เหตุ ผ ลหลั ก ของการพั ฒ นา ด้านพลังงาน
เป็นแหล่งพลังงำนในอุตสำหกรรม อย่ำงไรก็ตำม เชื้อเพลิง ค×ÍÊิ§è ã´
เทคโนโลยี ด  า นพลั ง งานคื อ สิ่ ง ใด” และให ฟอสซิลไม่สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรในกำรใช้พลังงำน
นักเรียนชวยกันตอบคําถามปากเปลา โดยไมมี ของมนุษย์ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ จึงมีควำมเป็นไปได้ทเี่ ชือ้ เพลิงชนิดนีจ้ ะหมดไปในคริสต์ศตวรรษ
การเฉลยวาถูกหรือผิด ที่ 21 เทคโนโลยีพลังงำนจึงได้รับกำรพัฒนำขึ้นโดยมีเป้ำหมำยเพื่อแสวงหำแหล่งพลังงำนชนิด
3. ครูสนทนากับนักเรียนตอ โดยถามคําถามกับ อื่น ๆ ทดแทนกำรใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
นักเรียนวา ตามความคิดของนักเรียน อะไร เทคโนโลยีดำ้ นพลังงำนเป็นกำรน�ำควำมรู้ ทักษะ และกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์มำสร้ำง
บางที่เปนเทคโนโลยีดานพลังงาน ใหนักเรียน อุปกรณ์ เช่น เซลล์เชื้อเพลิง เซลล์สุริยะ เอทำนอล ไบโอดีเซล แก๊สชีวภำพ เพื่อแก้ปัญหำและ
ชวยกันตอบคําถามปากเปลา โดยไมมีการ ตอบสนองควำมต้องกำรด้ำนพลังงำน ซึ่งจะช่วยให้กำรใช้พลังงำนเกิดประโยชน์สูงสุดรวมทั้งลด
เฉลยวาถูกหรือผิด ปัญหำสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
4. ครูใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตองการ 1. เซลล์เชือ้ เพลิง (fuel cell) เป็นอุปกรณ์ผลิตกระแสไฟฟ้ำจำกปฏิกริ ยิ ำเคมี เซลล์เชือ้ เพลิง
เรียนรู เรื่อง เทคโนโลยีดานพลังงาน แลว แต่ละเซลล์ประกอบด้วย ขั้วแอโนด (anode) ขั้วแคโทด (cathode) และสารพาประจุ (electrolyte)
บันทึกเปนขอบเขตและเปาหมายที่ตองการ โดยปฏิกิริยำที่ท�ำให้เกิดกระแสไฟฟ้ำเกิดที่ขั้วไฟฟ้ำแอโนดและแคโทด ส่วนสำรพำประจุท�ำหน้ำที่
เรียนรูลงในสมุดเพื่อนํามาสงครู น�ำพำอนุภำคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้ำจำกขัว้ ไฟฟ้ำหนึง่ ไปอีกขัว้ ไฟฟ้ำหนึง่ และเป็นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (catalyst)
เมือ่ พิจำรณำเซลล์เชือ้ เพลิงจำกสำรพำประจุทใี่ ช้จะจ�ำแนกได้ 5 ประเภท โดยสำรพำประจุ
ที่ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงและกำรใช้งำนเซลล์เชื้อเพลิงแต่ละชนิด สรุปได้ดังตำรำงที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 : ประเภทของเซลล์เชื้อเพลิงและตัวอย่างการใช้งาน
ประเภทของเซลล์เชื้อเพลิง สารพาประจุที่ใช้ การใช้งาน
เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคำไลน์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ แหล่งพลังงำนไฟฟ้ำในยำนอวกำศ และ
(AFC) (KOH) อุปกรณ์ต่ำง ๆ เช่น เครื่องเจำะแบบพกพำ
เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก กรดฟอสฟอริก (H3PO4) แหล่งพลังงำนไฟฟ้ำในโรงงำนอุตสำหกรรม
(PAFC) โรงพยำบำล โรงเรียน โรงไฟฟ้ำ สนำมบิน
เซลล์เชื้อเพลิง เกลือคำร์บอเนตหลอมของ ผลิตไฟฟ้ำในโรงไฟฟ้ำขนำดใหญ่
แบบคำร์บอเนตหลอม (MCFC) โซเดียม
เซลล์เชือ้ เพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง เซรำมิก แหล่งพลังงำนไฟฟ้ำในโรงงำนอุตสำหกรรม
(SOFC) ขนำดใหญ่
เซลล์เชื้อเพลิงแบบเยื่อแลกเปลี่ยน พอลิเมอร์ แหล่งพลังงำนไฟฟ้ำของรถยนต์ โน้ตบุ๊ก
โปรตอน (PEMFC) (ใช้แทนแบตเตอรี่) โทรศัพท์มือถือ
แนวตอบ Prior Knowledge
112
เพือ่ แกปญ
 หาหรือตอบสนองความตองการดาน
พลังงานที่มีมากขึ้น

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง เซลลเชื้อเพลิง ครูอาจเสริมความรู ขอใดถูกตองเกี่ยวกับเซลลเชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน
เพิ่มเติมใหนักเรียน โดยการนําสื่อจากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต 1. แอโนด คือ Cl แคโทด คือ C สารพาประจุ คือ ZnCl2
มาแสดงใหนักเรียนศึกษา พรอมทั้งครูอธิบายประกอบการนําเสนอ เพื่อให 2. แอโนด คือ C แคโทด คือ Cl2 สารพาประจุ คือ KOH
นักเรียนเขาใจไปในแนวทางเดียวกัน เชน นําขอมูลที่เกี่ยวกับเซลลเชื้อเพลิง 3. แอโนด คือ C แคโทด คือ Zn สารพาประจุ คือ MnO2, KOH
และหลักการทํางานของเซลลเชือ้ เพลิง (http://www2.dede.go.th/hydronet/ 4. แอโนด คือ Zn แคโทด คือ C, MnO2 สารพาประจุ คือ KOH
01Knowledge/01Fuel%20Cell/FuelCellMain.html) มานําเสนอผานเครือ่ งฉาย 5. แอโนด คือ Zn แคโทด คือ C สารพาประจุ คือ NH4Cl,
(projector) หนาชั้นเรียน ZnCl2, H2O
( วิเคราะหคําตอบ เซลล แ อลคาไลน ใ ช ห ลั ก การเช น เดี ย วกั บ
ถานไฟฉาย สวนประกอบตางๆ คลายกัน โดยที่แอโนดทําดวย
สังกะสี (Zn) และจะถูกลอมรอบดวยสารผสมระหวางสังกะสีกับ
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) ที่แคโทดมีสารผสมระหวาง
แมงกานีสออกไซด (MnO2) กับแกรไฟต (C) สารพาประจุ คือ
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T122
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2. เซลลสุริยะ (solar cell) เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยเปน 1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง เทคโนโลยีดาน
พลังงานไฟฟาไดโดยตรง เซลลสุริยะประดิษฐขึ้นครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2497 และในป พ.ศ. 2502 พลังงาน จากหนังสือเรียน
มีการนําเซลล 1 สุริยะไปใชเปนแหลงจายพลังงานไฟฟาใหดาวเทียมในอวกาศ เซลลสุริยะสรางจาก 2. ครูใหนักเรียนแตละคนสืบคนขอมูลเพิ่มเติม
สารกึ่งตัวนํา (semiconductor) โครงสรางหลักของเซลลสุริยะ คือ รอยตอพีเอ็นของสารกึ่งตัวนํา โดยเปนเรื่องที่เกี่ยวกับเซลลเชื้อเพลิง เซลล
จากนั้นนํามาผานกระบวนการแพรซึมสารเจือปน ทั้งดานหนาและดานหลังของรอยตอพีเอ็น สุริยะ เอทานอล ไบโอดีเซล และแกสชีวภาพ
ฉาบดวยโลหะเงินที่ผิวสัมผัสเพื่อใหเปนขั้วไฟฟา ผิวดานรับแสงจะมีชั้นแพรซึมที่มีการนําไฟฟา จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต
และมีการเคลือบผิวดวยฟลมกันการสะทอนเพื่อปองกันไมใหแสงอาทิตยสะทอนกลับออกไป เพื่อศึกษาประกอบกับเนื้อหาจากหนังสือเรียน
จากเซลลสรุ ยิ ะ ขัว้ ไฟฟาดานหนาทีร่ บั แสงจะมีลกั ษณะเปนลายตะแกรง ซึง่ จมอยูใ นชิน้ สารกึง่ ตัวนํา 3. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 5-6 คน
ทั้งนี้ เพื่อใหเหลือบริเวณที่แสงสองลงไปรับแสงไดมากที่สุด และทําหนาที่รวบรวมกระแสไฟฟา แบบคละความสามารถของนักเรียน (เกง-
ที่เกิดจากพลังงานแสงอาทิตยอยางมีประสิทธิภาพดวย สวนขั้วไฟฟาดานหลังเปนขั้วโลหะเต็ม คอนขางเกง-ปานกลาง-ออน) ใหอยูในกลุม
พื้นผิว ดังภาพที่ 3.15
ตะแกรง เชื่อมตอกับจุดสัมผัสดานหลังของเซลลถัดไป เดียวกัน
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพู ด คุ ย และอภิ ป รายร ว มกั น
เคลือบผิวกันการสะทอน ภายในกลุม จากขอมูลที่สมาชิกแตละคนได
รอยตอพีเอ็น ศึกษาคนความาเบื้องตนแลว
สารกึ่งตัว ดเอ็น ผิวสัมผัสโลหะดานหลัง 5. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตใหนักเรียนกลุมละ
เชื่อมตอกับตะแกรงดานบน สารกึ่งตัวนาํ ชนิดพี
นาํ ชนิ
ของเซลลกอนหนานี้ 1 แผน
ภาพที่ 3.15 โครงสรางของเซลลสุริยะ 6. ครูมอบหมายใหนักเรียนแตละกลุมเขียนสรุป
ที่มา : คลังภาพ อจท. องคความรูห ลังจากทีไ่ ดอภิปรายผลการศึกษา
หากตองการใหไดกําลังไฟฟา (กระแสไฟฟาและแรงดันไฟฟา) มากเพียงพอสําหรับใช รวมกันแลว โดยรวมกันสรางสรรครูปแบบการ
งานตองนําเซลลสุริยะหลาย ๆ เซลลมาตอกันเปนแผงเซลลสุริยะ (solar module) นําเสนอใหมีเนื้อหาครบถวน มีความนาสนใจ
• ตอแบบขนาน เมื่อตองการใหไดกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้น สามารถเขาใจไดงาย และมีความสวยงาม
• ตอแบบอนุกรม เมื่อตองการใหไดแรงดันไฟฟาสูงขึ้น 7. ครูกําหนดเวลาในการสรางสรรคผลงานให
ชุดแผงเซลลสุริยะ นักเรียน เมื่อครบกําหนดเวลาตามที่กําหนด
แผงเซลลสุริยะ
เซลลสุริยะ ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําผลงานของตนเอง
ไปแปะไวที่ผนังโดยรอบหองเรียน

ภาพที่ 3.16 ชุดแผงเซลลสุริยะ


ที่มา : คลังภาพ อจท. ¾Åѧ§Ò¹ 113

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การเผาไหม ข องนํ้ า มั น เบนซิ น ในข อ ใดที่ ทํ า ให เ ครื่ อ งยนต 1 สารกึง่ ตัวนํา คือ สารหรือวัสดุทมี่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการนําไฟฟาอยูร ะหวางตัวนํา
เกิดการจุดระเบิดไดงายที่สุด และฉนวน เชน ซิลิคอน (Si) เจอรเมเนียม (Ge) เทลลูเรียม (Te) สารดังกลาว
1. นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 20 เหลานี้มีคุณสมบัติเปนสารกึ่งตัวนํา คือ มีจํานวนอิเล็กตรอนอิสระอยูนอยจึง
2. นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 90 ไมสามารถใหกระแสไฟฟาไหลเปนจํานวนมาก ลําพังสารนีอ้ ยางเดียวไมสามารถ
3. นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 91 ทําประโยชนอะไรไดมากนัก ดังนั้น เพื่อที่จะใหไดกระแสไฟฟาไหลเปนจํานวน
4. นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 มาก จึงตองมีการปรุงแตง โดยการเจือปนอะตอมของธาตุอื่นลงไปในเนื้อสาร
5. นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 100 เนื้ อ เดี ย วเหล า นี้ หรื อ เอาอะตอมของธาตุ บ างชนิ ด มาทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั น ให ไ ด
(วิเคราะหคําตอบ เลขออกเทนเปนตัวเลขที่ใชบอกคุณภาพของ สารประกอบที่มีคุณสมบัติตามที่ตองการ สารกึ่งตัวนําที่สรางขึ้นโดยวิธีดังกลาว
นํ้ามันเบนซินในรถยนต โดยนํ้ามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหม นี้ เรียกวา สารกึ่งตัวนําไมบริสุทธิ์ หรือสารกึ่งตัวนําแบบสารประกอบตามลําดับ
เชนเดียวกับไอโซออกเทน (เชื้อเพลิงที่เหมาะสมกับเครื่องยนตที่ ซึ่งจะเปนสารที่ใชทําทรานซิสเตอรและไดโอดชนิดตางๆ
ใชนํ้ามันเบนซิน การระเบิดและจังหวะในกระบอกสูบเหมาะสม)
มีเลขออกเทนเปน 100 สวนนํ้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหม
เชนเดียวกับเฮปเทนมีเลขออกเทนเปน 0 ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T123
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
8. ครูและนักเรียนรวมกันเดินชมผลงาน พรอม 3. เอทานอล (etanol) หรือเอทิลแอลกอฮอล์ ได้มำจำกกำรหมักผลิตผลทำงกำรเกษตร
ฟงการนําเสนอของแตละกลุม โดยครูสุม ที่มีน�้ำตำลหรือแป้งเป็นองค์ประกอบ โดยผลิตผลที่มีน�้ำตำลเป็นองค์ประกอบจะน�ำไปหมักได้ทันที
กลุมที่จะนําเสนอเปนลําดับแรก จากนั้นครู แต่ผลิตผลที่มีแป้งเป็นองค์ประกอบต้องเปลี่ยนแป้งเป็นน�้ำตำลก่อนจะน�ำไปใช้ในกระบวนกำร
และนักเรียนกลุมอื่นๆ ไปรวมตัวกันที่หนา หมัก กระบวนกำรผลิตเอทำนอลเป็ 1 นกระบวนกำรทำงชีววิทยำ กำรเปลี่ยนน�้ำตำลเป็นเอทำนอล
ผลงานของกลุมที่นําเสนอ จากนั้นใหวนไป ในกระบวนกำรหมักต้องอำศัยยีสต์ (yeast) ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ประเภทหนึ่ง
ทีละกลุมจนครบทุกกลุม โดยขั้นตอนแรกของกำรผลิตเอทำนอลจะต้องเริ่มจำกกำรเลี้ยงยีสต์ จำกนั้นน�ำยีสต์
9. ขณะที่ เ พื่ อ นกํ า ลั ง นํ า เสนอผลงาน ครู ใ ห ใส่ลงในถังหมักที่มีน�้ำตำลหรือกำกน�้ำตำลที่เจือจำงด้วยน�้ำเปล่ำ (ไม่มีอำกำศภำยใน) ขั้นที่สอง
นักเรียนกลุมอื่นๆ ที่ไมไดเปนสมาชิกกลุม ต้องท�ำให้สำรละลำยเอทำนอลมีควำมเข้มข้นสูงขึ้น ซึ่งวิธีที่นิยมใช้กัน คือ กำรแยกเอทำนอลออก
เดี ย วกั น จดบั น ทึ ก สิ่ ง ที่ ไ ด เ รี ย นรู  จ ากการ จำกน�้ำโดยกำรกลั่น เมื่อแยกเอทำนอลไปแล้วจะเหลือสำรละลำยที่เรียกว่ำ น�้ำกำกส่ำ ขั้นตอน
นํ า เสนอของกลุ  ม นั้ น ๆ ลงในสมุ ด บั น ทึ ก สุดท้ำยจะต้องก�ำจัดสำรอินทรียใ์ นน�ำ้ กำกส่ำและแยกยีสต์ออกจำกน�ำ้ กำกส่ำแล้วน�ำน�ำ้ เสียไปบ�ำบัด
รัฐบำลมีนโยบำยกำรพัฒนำและกำรส่งเสริมกำรน�ำเอทำนอลซึ่งเป็นผลิตผลทำงเกษตร
ประจําตัว
มำใช้เป็นเชือ้ เพลิง โดยน�ำเอทำนอลมำผสมกับน�ำ้ มันเบนซินในอัตรำส่วนต่ำง ๆ น�้ำมันผสมที่ได้
10. เมื่อนําเสนอผลงานครบทุกกลุมแลว ครูให
เรียกว่ำ แก๊สโซฮอล์ (gasohol) กำรใช้แก๊สโซฮอล์จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่ำน�้ำมัน
นักเรียนกลับเขากลุมของตนเอง แลวรวม เบนซิน เนื่องจำกออกซิเจนที่เป็นส่วนประกอบของเอทำนอลจะช่วยให้กำรเผำไหม้ภำยในห้อง
กันพูดคุยประเมินผลงานพรอมใหคะแนน เครื่องสมบูรณ์ยิ่งขึ้นและลดปริมำณแก๊สคำร์บอนมอนอกไซด์ที่ปล่อยออกมำจำกท่อไอเสีย
ผลงานของแตละกลุม รวมทัง้ กลุม ของตนเอง
4. ไบโอดีเซล (biodiesel) หรือน�ำ้ มันดีเซลชีวภำพ ได้จำกกำรแปรรูปน�ำ้ มันพืชชนิดต่ำง ๆ
พร อ มเหตุ ผ ลประกอบลงในกระดาษ A4
หรือน�้ำมันที่ใช้แล้วในครัวเรือน โดยใช้กระบวนการทรานส์เอสเทอริฟเคชัน (transesterification
แลวรวบรวมสงครู process) โดยน�ำน�้ำมันพืชหรือไขมันสัตว์มำท�ำปฏิกิริยำเคมีกับแอลกอฮอล์ และมีด่ำงเป็น
ตัวเร่งปฏิกิริยำ ผลสุดท้ำยของปฏิกิริยำจะได้แอลคิลเอสเทอร์ของกรดไขมันหรือไบโอดีเซล และ
มีกลีเซอรีนเป็นผลิตภัณฑ์ร่วม หลังจำกแยกกลีเซอรีนออกไปและท�ำควำมสะอำดไบโอดีเซลแล้ว
จะได้ไบโอดีเซลในสภำพพร้อมต่อกำรใช้งำน
Science Focus
¢Œอ´ี¢อง¡าร㪌ไบâอ´ีเ«ล
กำรใช้น�้ำมันไบโอดีเซลช่วยลดกำรปล่อยแก๊สเรือนกระจก
แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น พืชสำมำรถน�ำกลับไปใช้ในกำร
สังเครำะห์แสงจนหมด จึงไม่มีแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ปลดปล่อย
ออกสู่สิ่งแวดล้อม และที่ส�ำคัญไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่ปรำศจำก
ก�ำมะถันหรือซัลเฟอร์ (sulfur) ซึง่ เป็นสำรพิษทีเ่ ป็นอันตรำยต่อมนุษย์ ภาพที่ 3.17 หนึง่ ในวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิต
ปนเปอนในสิ่งแวดล้อม ไบโอดีเซลจึงเป็นเชื้อเพลิงสะอำดที่เป็นมิตร ไบโอดีเซล คือ ปาล์ม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
กับสิ่งแวดล้อม

114

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ยีสต หรือสาเหลา คือ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากหรือจุลินทรียชนิดหนึ่ง ขอใดไมใชปจจัยและสภาพแวดลอมที่มีผลตอแกสชีวภาพ
อยูในอาณาจักรฟงไจ (fungi) ซึ่งเปนอาณาจักรเดียวกันกับรา (mold) ยีสตมี 1. ความเปนกรดดาง
เซลลชนิดยูคาริโอต (eukaryote) เปนเซลลเดี่ยวรูปรางกลม รูปไข หรือเหมือน 2. ความลึกของบอหมัก
ผลเลมอน มีขนาดใหญกวาแบคทีเรีย (bacteria) มีเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 3. อุณหภูมิในการเดินระบบ
ประมาณ 5 ไมครอน ยีสตมีเอนไซม (enzyme) ที่ยอยสลายกรดอินทรียตางๆ 4. ปริมาณสารอินทรียเขาสูระบบ
ที่ใชในการถนอมอาหาร เชน กรดแลกติก (lactic acid) กรดแอซีติก (acetic 5. ระยะเวลาการกักเก็บสารอินทรียในถังหมัก
acid) ได ทําใหอาหารมีสภาวะเหมาะสมตอการเจริญของแบคทีเรียและเนาเสีย (วิเคราะหคําตอบ การยอยสลายสารอินทรียและการผลิตแกส
ได อาหารที่เกิดการเนาเสียจากยีสตมักเกิดกลิ่นหมัก เปนเมือก หรือฝาบริเวณ ชีวภาพมีปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก อุณหภูมิในการเดินระบบ
ผิวหนาของอาหาร รวมทั้งเกิดความขุนและเกิดฟองแกสได ความเปนกรด-ดาง อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน ปริมาณ
สารอินทรียเ ขาสูร ะบบ ระยะเวลาการกักเก็บสารอินทรียใ นถังหมัก
ปริมาณของแข็ง การคลุกเคลา สารอาหาร สารยับยั้งและสารพิษ
แอลคาลินิตี ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T124
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
5. แกสชีวภาพ (biogas) เปนแกสที่เกิดจากกระบวนการยอยสลายสารอินทรีย โดย 1. ครูอธิบาย เรื่อง เทคโนโลยีดานพลังงาน ให
แบคทีเรียภายใตสภาวะที่ไมมีแกสออกซิเจน กระบวนการผลิตแกสชีวภาพเริ่มจากการนํา นั ก เรี ย นฟ ง อี ก ครั้ ง โดยเป ด PowerPoint
สารอินทรีย ไดแก มูลสัตว พืช วัสดุเหลือใชทางการเกษตร ของเสียหรือนํ้าเสียจากกระบวนการ เรื่อง เทคโนโลยีดานพลังงาน ควบคูไปกับการ
ตาง ๆ มารวมกันในบอผสม จากนัน้ จึงนําไปหมักในบอหมักเพือ่ ใหแบคทีเรียยอยสลายสารอินทรีย อธิบายเนื้อหาจากหนังสือเรียน เพื่อเปนการ
เหลานั้น โดยกระบวนการยอยสลายจนไดแกสชีวภาพมี 3 ขั้นตอน ดังนี้ สรุปเนื้อหาและสรางความเขาใจของนักเรียน
• ขั้นตอนที่ 1 เปนการยอยสลายสารอินทรียโมเลกุล Physics ใหเปนไปในแนวทางเดียวกันมากยิ่งขึ้น
ใหญ เชน ไขมัน แปง โปรตีน เซลลูโลส เปนตน ใหกลายเปน in real life 2. ครูสมุ นักเรียนแลวถามคําถามกับนักเรียน เพือ่
สารอินทรียที่มีโมเลกุลเล็กลงและละลายนํ้าได เชน กรดอะมิโน แกสชีวภาพนําไปใชประโยชน ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนในเบื้องตน
กรดไขมัน กลูโคส กลีเซอรอล โดยแบคทีเรียยอยสลายสาร ได ดังนี้ 3. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
อินทรียแตละชนิด - ใชเปนแกสหุงตมแทน
แกสธรรมชาติ Topic Question เรือ่ ง เทคโนโลยีดา นพลังงาน
• ขั้นตอนที่ 2 เปนการเปลี่ยนสารอินทรียที่อยูในรูป - ใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับ จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
สารละลายใหกลายเปนกรดอินทรียระเหยงาย (volatile acids) เครื่องสูบนํ้า เครื่องยนต และรวบรวมสงครูทายชั่วโมง
เชน กรดนํ้าสม กรดมด เปนตน รถยนต
- ใชเปนเชื้อเพลิงเพื่อให 4. ครูแจกใบงาน เรื่อง เทคโนโลยีดานพลังงาน
• ขั้นตอนที่ 3 เปนการเปลี่ยนกรดอินทรียใหเปนแกส ความรอนสําหรับการอบแหง ใหนักเรียนนํากลับไปทําเปนการบาน
มีเทน แกสคารบอนไดออกไซด และแกสอืน่ ๆ โดยแบคทีเรียยอย ผลิตภัณฑ
สลายกรดอินทรีย ในขัน้ ตอนนีแ้ บคทีเรียทีม่ คี วามสําคัญทีส่ ดุ คือ - ใชเปนเชื้อเพลิงใหความรอน
ในภาคอุตสาหกรรม เชน
แบคทีเรียสรางมีเทน (methane-producing bacteria) ใชตมนํ้าในหมอไอนํ้า

Topic
? Question
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. จงเปรียบเทียบแบตเตอรี่กับเซลลเชื้อเพลิง
2. โครงสรางหลักของเซลลสุริยะคืออะไร และปรากฏการณที่ทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้นในเซลล
สุริยะ คือปรากฏการณใด
3. เอทานอลทีไ่ ดจากการหมักมีความเขมขนรอยละเทาใดโดยปริมาตร และตองทําอยางไรจึงจะได
เอทานอลทีม่ คี วามเขมขนสูงกวารอยละ 95 โดยปริมาตร เพือ่ ใหนาํ ไปใชกบั เครือ่ งยนตได
4. จงอธิบายกระบวนการในการผลิตไบโอดีเซล
5. แกสชีวภาพประกอบดวยแกสชนิดใดบาง และแกสชนิดใดในแกสชีวภาพที่ใชเปน
เชื้อเพลิงได

¾Åѧ§Ò¹ 115

แนวตอบ Topic Question


1. เซลลเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟา โดยอาศัยปฏิกิริยาไฟฟาเคมีคลายแบตเตอรี่ แตตางกันตรงที่เซลลเชื้อเพลิงไมตองอัดประจุกอนนําไปใชงาน และไมตอง
อัดประจุใหมหลังจากใชงานจนแรงดันไฟฟาออนลงจนใชงานไมไดอยางแบตเตอรี่ เพียงแตเติมเชื้อเพลิงเขาไปเทานั้น เซลลเชื้อเพลิงจะอยูในสภาพพรอม
ใชงานทันที
2. โครงสรางหลักของเซลลสุริยะ คือ รอยตอพีเอ็น (p-n junction) ของสารกึ่งตัวนํา สวนปรากฏการณที่ทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้นในเซลลสุริยะ คือ
ปรากฏการณโฟโตโวลทาอิก (photovoltaic)
3. เอทานอลที่ไดจากการหมักมีความเขมขนรอยละ 8-10 โดยปริมาตร ถาตองการใหไดเอทานอลที่มีความเขมขนสูงกวารอยละ 95 โดยปริมาตร เพื่อให
นําไปใชกับเครื่องยนตได ตองนําเอทานอลที่ไดจากการหมักไปกลั่นเพื่อแยกเอทานอลออกจากนํ้า โดยการกลั่นครั้งแรกจะไดเอทานอลที่มีความเขมขน
รอยละ 95 โดยปริมาตร จากนั้นนําเอทานอลที่มีความเขมขนรอยละ 95 ไปกลั่นตอ จะไดเอทานอลที่มีความเขมขนสูงกวารอยละ 95 โดยปริมาตร
ตามตองการ
4. กระบวนการในการผลิตไบโอดีเซล คือ นํานํ้ามันพืชหรือไขมันสัตวไปทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอล โดยมีดางเปนตัวเรงปฏิกิริยา
5. แกสชีวภาพ ประกอบดวย แกสมีเทน (CH4) ประมาณรอยละ 50-70 แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) ประมาณรอยละ 30-50 สวนที่เหลือเปนแกสอื่นๆ
เชน แกสไฮโดรเจน (H2) แกสออกซิเจน (O2) แกสไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) แกสไนโตรเจน (N2) โดยแกสในแกสชีวภาพที่ใชเปนเชื้อเพลิงได คือ
แกสมีเทน

T125
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. ครูเก็บรวบรวมใบงาน เรื่อง เทคโนโลยีดาน Summary
พลั ง งาน ที่ ใ ห นั ก เรี ย นนํ า กลั บ ไปทํ า เป น พลังงาน
การบาน
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า สรุ ป ผั ง มโนทั ศ น เรื่ อ ง
เทคโนโลยีดานพลังงาน ลงในกระดาษ A4 พลังงานในชีวิตประจ�าวัน
3. ครูอธิบายสรุปความรูอีกครั้ง โดยใหนักเรียน
ประเภทของพลังงาน
ดู Summary เรื่อง พลังงาน จากหนังสือเรียน
พลังงำนแบ่งตำมกำรใช้งำนในชีวติ ประจ�ำวันเป็น 6 ประเภท ได้แก่ พลังงำนกล พลังงำนเคมี พลังงำนควำมร้อน
หนา 116-118 พลังงำนไฟฟ้ำ พลังงำนกำรแผ่รังสี และพลังงำนนิวเคลียร์
4. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
พลังงานทดแทน
ของตนเองหนาชั้นเรียน
พลังงำนทดแทนเป็นพลังงำนที่น�ำมำใช้แทนน�้ำมัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
5. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง • พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เป็นพลังงำนทดแทนจำกแหล่งที่เมื่อใช้ไปนำน ๆ จะหมดไปได้ เช่น
เทคโนโลยี ด  า นพลั ง งาน จากแบบฝ ก หั ด แก๊สธรรมชำติ ถ่ำนหิน พลังงำนนิวเคลียร์ เป็นต้น
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 • พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน เป็นพลังงำนทีไ่ ด้มำจำกแหล่งทีเ่ มือ่ ใช้แล้วสำมำรถน�ำกลับมำใช้ได้อกี
6. ครูใหนกั เรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง เช่น พลังงำนแสงอำทิตย์ พลังงำนลม พลังงำนน�้ำ พลังงำนชีวมวล พลังงำนควำมร้อนใต้พิภพ เป็นต้น
ในกรอบ Self Check เรือ่ ง พลังงาน จากหนังสือ โดยพลังงำนทดแทนประเภทหมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นพลังงำนทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ไม่ปลดปล่อยมลพิษ
สู่สิ่งแวดล้อม
เรียน
7. ครูใหนักเรียนทํา Unit Question จากหนังสือ- ไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์และแสงอาทิตย์
เรียนเปนการบาน โดยทําลงในสมุดบันทึก • ไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ได้จำกโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ซึ่งใช้เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชันเป็นแหล่ง
ก�ำเนิดพลังงำนควำมร้อนเพื่อใช้ในกระบวนกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำ
ประจําตัว • ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ กำรเปลี่ยนพลังงำนแสงอำทิตย์เป็นพลังงำนไฟฟ้ำมี 2 หลักกำร คือ กำร
8. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ เปลี่ยนพลังงำนแสงอำทิตย์เป็นพลังงำนไฟฟ้ำโดยตรง ท�ำได้โดยใช้เซลล์สุริยะ และกำรใช้ควำมร้อนจำก
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน แสงอำทิตย์ในกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำมี 2 ระบบ ดังนี้
- ระบบความร้อนรวมศูนย์ ใช้อุปกรณ์รับแสง เช่น กระจกเงำหรือวัสดุสะท้อนแสงที่หมุนตำมดวงอำทิตย์
ขัน้ สรุป ได้เพื่อรวมควำมร้อนจำกแสงอำทิตย์มำไว้ที่จุดเดียวกัน ท�ำให้เกิดควำมร้อนสูง
ส่งผ่ำนไปยังตัวกลำง แล้วน�ำไอหรือควำมร้อนจำกตัวกลำงไปผลิตไอ
ตรวจสอบผล
เพื่อขับเคลื่อนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ - ระบบสระแสงอาทิตย์ ใช้น�้ำเกลือเก็บสะสม
เทคโนโลยีดานพลังงาน โดยครูใหนักเรียนเขียน ควำมร้อนไว้ที่ก้นสระ กำรผลิตไฟฟ้ำต้องสูบ
น�ำ้ เกลือทีก่ น้ สระซึง่ มีควำมเข้มข้นและอุณหภูมิ
สรุปความรูลงในสมุดบันทึกประจําตัว สูงผ่ำนท่อเข้ำสู่เครื่องก�ำเนิดไอน�้ำเพื่อผลิต
ไอน�ำ้ ไปขับกังหันไอน�ำ้ ของเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ำ
เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำ ภาพที่ 3.18 เซลล์สุริยะใชสําหรับเปลี่ยนพลังงาน
แสงอาทิตย์เปนพลังงานไฟฟ้าเพื่อใชงานตามบานเรือน
116 ที่มา : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมาถึงตอนทายแลว ครูอาจนําอภิปราย ครู ใ ห นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง พลั ง งาน
สรุปความรูของทั้งหนวยการเรียนรูที่ 3 พลังงาน เพื่อเปนการกระชับเนื้อหา หลังจากจบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน โดยมอบหมายให
และสรางความเขาใจใหนักเรียนเขาใจไปในแนวทางเดียวกัน โดยอาจนําสื่อ นักเรียนทําลงในกระดาษ A4 เขียนดวยลายมือตัวบรรจง พรอม
จากแหลงขอมูลสารสนเทศมานําเสนอใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึง ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวสงครูเพื่อเปนคะแนนพิเศษ
ประสิทธิภาพและประโยชนที่ไดจากการหันมาใชพลังงานทดแทน เชน ครูอาจ
นําคลิปวิดีโอจาก youtube เรื่อง อนาคตพลังงานทางเลือก ดับฝนโซลารเซลล
(สามารถคนหาไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=ugREARUbICs)
มาเปดใหนักเรียนดู แลวรวมกันแสดงความคิดเห็นรวมกัน

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
¾Åѧ§Ò¹¹ÔÇà¤ÅÕÂÏ 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
พลังงานนิวเคลียรไดมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร ซึ่งมี 2 แบบ ดังนี้ เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจหลั ง เรี ย นของ
ฟชชัน นักเรียน
เปนปฏิกริ ยิ านิวเคลียรทเี่ มือ่ มีอนุภาคเคลือ่ นเขาชนนิวเคลียสของธาตุหนัก นิวเคลียสของธาตุหนักจะแยกออก 2. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง
เปน 2 นิวเคลียสของธาตุที่เบากวา โดยมวลอะตอมรวมของนิวเคลียสที่ไดจากการแยกตัวจะมีคานอยกวา เทคโนโลยีดานพลังงาน
มวลอะตอมของนิวเคลียสของธาตุหนักที่เปนนิวเคลียสตั้งตน 3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
ธาตุที่มีมวลนอย
นิวตรอน
เทคโนโลยีดานพลังงาน ในสมุดบันทึกประจํา
ตัว
พลังงาน นิวตรอน
นิวตรอน 4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question หนวย
ธาตุที่มีมวลมาก
นิวตรอน การเรียนรูที่ 3 พลังงาน ในสมุดบันทึกประจํา
ธาตุที่มีมวลนอย ตัว
ภาพที่ 3.19 การแยกตัวของนิวเคลียสยูเรเนียม-235 เมื่อทําปฏิกิริยากับนิวตรอนความเร็วตํ่า 5. ครู ต รวจสอบแบบฝ ก หั ด เรื่ อ ง เทคโนโลยี
ที่มา : คลังภาพ อจท. ดานพลังงาน จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตร
ฟวชัน กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5
เปนปฏิกิริยานิวเคลียรที่ธาตุเบารวมกันเปนธาตุหนัก โดยมวลอะตอมรวมของธาตุหลังเกิดปฏิกิริยาจะมีคา 6. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเขาใจของ
นอยกวามวลอะตอมรวมของธาตุตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยา มวลที่หายไปหรือมวลพรองจะเปลี่ยนเปนพลังงาน
ซึ่งคํานวณไดจากสมการสมมูลของมวลและพลังงาน ตนเอง Self Check ในสมุดบันทึกประจําตัว
7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
E = (Δm)c2 ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ปฏิกิริยาฟวชันเปนแหลงกําเนิดพลังงานของดวงอาทิตยและดาวฤกษตาง ๆ ซึ่งเปนแหลงพลังงานที่มีปริมาณ และการทํางานกลุม
มหาศาลในธรรมชาติ ทําใหดวงอาทิตยและดาวฤกษปลดปลอยพลังงานเปนเวลายาวนาน ปฏิกิริยาฟวชันใน
ดวงอาทิตย แสดงดังภาพที่ 3.20 8. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
นิวตริโน 2H
เนือ้ หา เรือ่ ง เทคโนโลยีดา นพลังงาน ทีน่ กั เรียน
1H รังสีแกมมา
1H
ไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจเปนราย
1H
โพซิตรอน 3He
บุคคล
1H
4He
1H
3He
1H นิวตริโน
1H
1H
2H รังสีแกมมา
โพซิตรอน
ภาพที่ 3.20 ปฏิกิริยาฟวชันของโปรตอน-โปรตอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
¾Åѧ§Ò¹ 117

กิจกรรม ทาทาย แนวทางการวัดและประเมินผล


ครูใหนกั เรียนศึกษาหนวยการเรียนรูท ี่ 3 พลังงาน ดวยตนเอง ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง เทคโนโลยีดาน
อีกครั้ง หลังจากนั้นครูมอบหมายใหนักเรียนเขียนสรุปความรู พลั ง งานได จ ากผั ง มโนทั ศ น ที่ นั ก เรี ย นได ส ร า งขึ้ น ในขั้ น ขยายความเข า ใจ
โดยการทําเปนแผนพับความรูขนาด A4 สรางสรรคและตกแตง โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ใหสวยงามตามความสามารถ ครูอาจสุมตัวแทนออกมานําเสนอ (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 พลังงาน
ผลงานหนาชั้นเรียน เมื่อจบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

ครูเก็บรวบรวมผลงานของนักเรียนกลับไปตรวจเพื่อเปนคะแนน
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1-3
ระดับคะแนน
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง

พิเศษ
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
ระบบ
4 ความเป็นระเบียบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
รวม
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T127
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ถูก 3. ผิด
à·¤â¹âÅÂÕ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹
4. ถูก 5. ถูก
เทคโนโลยีดานพลังงานเปนการนําความรูและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรมาสรางอุปกรณ เชน เซลล
เชื้อเพลิง เซลลสุริยะ หรือผลิตภัณฑตาง ๆ (เอทานอล ไบโอดีเซล แกสชีวภาพ) เพื่อแกปญหาหรือตอบสนอง
ความตองการดานพลังงาน ซึง่ ชวยใหเกิดประโยชนสงู สุดในการใชพลังงานและลดปญหาสิง่ แวดลอม ทําใหการ
ใชพลังงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
วาลวและทอนําแกส
คอกสัตว
แกนเหล็กกันโครง บอชั้นนอก ลานตากมูลสัตว
แกสชีวภาพ (นํ้า)
รางระบายมูลสัตว
เฉลย Unit Question
ทอทางเขา ทอทางออก
1. แบ ง ออกเป น 6 ประเภท คื อ พลั ง งานกล มูลสัตว
พลังงานเคมี พลังงานความรอน พลังงานไฟฟา บอชั้นใน (บอหมัก)
ถังเหล็ก
พลังงานการแผรังสี และพลังงานนิวเคลียร ภาพที่ 3.21 กระบวนการหมักมูลสัตวใหเกิดแกสชีวภาพ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. พลังงานในชีวิตประจําวันที่มีบทบาทตอความ เซลลเชื้อเพลิงและเซลลสุริยะเปนอุปกรณผลิตพลังงานไฟฟา สวนเอทานอล ไบโอดีเซล แกสชีวภาพ เปน
เปนอยูปกติของสิ่งมีชีวิตมากที่สุด คือ พลังงาน ผลิตภัณฑที่นํามาใชเปนเชื้อเพลิงแทนการใชนํ้ามัน แกสธรรมชาติ หรือถานหิน ซึ่งจะชวยลดปญหามลพิษ
การแผรังสี โดยเฉพาะพลังงานการแผรังสีจาก ในอากาศ สําหรับเอทานอลนิยมนําไปผสมกับนํ้ามันเบนซินในอัตราสวนตาง ๆ เรียกวา แกสโซฮอล และเมื่อ
ดวงอาทิตย สวนพลังงานในชีวิตประจําวันที่มี นําแกสโซฮอลไปใชกบั ยานพาหนะจะสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอยกวานํา้ มันเบนซิน เนือ่ งจากออกซิเจนที่
เปนสวนประกอบของเอทานอลจะชวยใหการเผาไหมภายในหองเครื่องสมบูรณยิ่งขึ้น
บทบาทตอความเปนอยูปกติของสิ่งมีชีวิตนอย
ที่สุด คือ พลังงานนิวเคลียร Self Check
3. กฎการอนุรักษพลังงานกลาววา พลังงานไม ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยพิจารณาขอความวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด
สามารถสรางขึ้นใหมหรือทําลายใหหมดไปได หากพิจารณาขอความไมถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอที่กําหนดให
แตพลังงานสามารถเปลี่ยนรูปได ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
4. ก. การทํางานของพัดลมเปนการเปลีย่ นรูปจาก 1. ฟชชันเปนปฏิกริ ยิ าทีน่ วิ เคลียสทีม่ มี วลนอยรวมตัวกันเปนนิวเคลียสทีม่ ี 1.1
มวลมากขึ้น
พลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล 2. พลังงานทดแทนทีเ่ ปนพลังงานหมุนเวียน สวนใหญนาํ มาใชในการผลิต 1.2
ข. การทํางานของเซลลไฟฟาเปนการเปลีย่ นรูป พลังงานไฟฟา
ุด
สม
ใน
จากพลังงานเคมีเปนพลังงานไฟฟา 3. พลังงานทดแทนเปนพลังงานทีน่ าํ มาใชแทนถานหิน เพือ่ ลดมลภาวะใน 1.2
ลง
ทึ ก

ค. การทํางานของเครื่องปฏิกรณปรมาณูเปน อากาศ
บั น

การเปลี่ยนรูปจากพลังงานนิวเคลียรเปน 4. พลังงานที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรเปนไปตามความสัมพันธระหวาง 2.
มวลกับพลังงาน
พลังงานความรอน 5. แกสโซฮอลเปนนํ้ามันผสมระหวางนํ้ามันเบนซินกับเอทานอล 3.
ง. การทํางานของไดนาโมเปนการเปลี่ยนรูป
118
จากพลังงานกลเปนพลังงานไฟฟา
จ. การทํ า งานของหลอดรั ง สี เ อกซ เ ป น การ
เปลี่ยนรูปจากพลังงานไฟฟาเปนพลังงาน
การแผรังสี
5. พลังงานทดแทนนํามาใชแทนนํ้ามัน แบงเปน 2 ประเภท คือ พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง ไดแก แกสธรรมชาติ ถานหิน พลังงานนิวเคลียร และ
พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน ไดแก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานนํ้า พลังงานลม
6. พลังงานลม
7. การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยมี 2 หลักการใหญๆ คือ การใชความรอนจากแสงอาทิตยในการผลิตพลังงานไฟฟากับการเปลี่ยนพลังงานแสง
อาทิตยเปนพลังงานไฟฟาโดยตรง
8. • อุปกรณควบคุมการประจุไฟ ทําหนาทีค่ วบคุมการประจุไฟเขาแบตเตอรีใ่ หเหมาะสมกับความจุของแบตเตอรี่ ตัดการประจุไฟเขาแบตเตอรีเ่ มือ่ ประจุไฟ
จนเต็มแลวหรือเมื่อมีแรงดันไฟฟาสูงเกินไป และควบคุมการจายกระแสไฟฟาออกจากแบตเตอรี่ โดยตัดการจายกระแสไฟฟาใหกับอุปกรณไฟฟา
เมื่อแรงดันของแบตเตอรี่ลดลงจนจายกระแสไฟฟาไมได นอกจากนี้ ยังทําหนาที่ปองกันการไหลกลับของกระแสไฟฟาจากแบตเตอรี่ไปยังเซลลสุริยะ
ตอนที่เซลลสุริยะไมไดผลิตไฟฟา
• อุปกรณแปลงระบบไฟฟา ทําหนาที่แปลงไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับ เพื่อนําไปใชกับอุปกรณไฟฟาที่ใชไฟฟากระแสสลับ และควบคุมระดับ
แรงดันไฟฟาใหอยูที่ระดับที่ตองการ

T128
นํา สอน สรุป ประเมิน

9. • แท ง ควบคุ ม ในเครื่ อ งปฏิ ก รณ นิ ว เคลี ย ร


ฟ ช ชั น ทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม การเกิ ด ปฎิ กิ ริ ย า
Unit Question นิวเคลียรของแทงเชื้อเพลิง โดยสอดแทง
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้ ควบคุมเขาไปในระหวางแทงเชื้อเพลิงใน
มั ด เชื้ อ เพลิ ง เมื่ อ ต อ งการลดอั ต ราการ
1. พลังงำนเมื่อแบ่งตำมกำรใช้งำนในชีวิตประจ�ำวันแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้ำง เกิดปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชันและลดกําลัง
2. พลังงำนในชีวิตประจ�ำวันประเภทใดที่มีบทบำทต่อควำมเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตมำกที่สุด และ การผลิ ต ของเครื่ อ งปฏิ ก รณ และดึ ง แท ง
ประเภทใดที่มีบทบำทต่อควำมเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตน้อยที่สุด ควบคุ ม บางส ว นออกไปจากมั ด เชื้ อ เพลิ ง
3. กฎกำรอนุรักษ์พลังงำนกล่ำวว่ำอย่ำงไร เมื่ อ ต อ งการเพิ่ ม อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า
4. กำรท�ำงำนของอุปกรณ์ที่ก�ำหนดให้สำมำรถเปลี่ยนรูปจำกพลังงำนรูปใดเป็นพลังงำนรูปใด นิวเคลียรฟชชันและเพิ่มกําลังการผลิตของ
ก. พัดลม ง. ไดนำโม เครื่องปฏิกรณ ในกรณีฉุกเฉิน ถาตองการ
ข. เซลล์ไฟฟ้ำ จ. หลอดรังสีเอกซ์ ป ด ปฏิ กิ ริ ย าลู ก โซ ให ส อดแท ง ควบคุ ม
ค. เครื่องปฏิกรณ์ปรมำณู ทั้งหมดเขาไประหวางแทงเชื้อเพลิงในแกน
5. พลังงำนทดแทนน�ำมำใช้แทนสิ่งใด แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้ำง พร้อมยกตัวอย่ำง ของเครื่องปฏิกรณ
• ตัวหนวงอัตราเร็วของนิวตรอน ในเครื่อง
6. กำรผลิตพลังงำนกลและพลังงำนไฟฟ้ำโดยใช้พลังงำนทดแทนชนิดใดที่มีต้นทุนต�่ำที่สุด
ปฏิ ก รณ นิ ว เคลี ย ร ฟ  ช ชั น ทํ า หน า ที่ ห น ว ง
7. หลักกำรที่ใช้ในกำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนแสงอำทิตย์มีกี่หลักกำร อะไรบ้ำง นิ ว ตรอนที่ เ กิ ด จากปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร ซึ่ ง
8. จงอธิบำยกำรท�ำหน้ำทีข่ องอุปกรณ์ควบคุมกำรประจุไฟและอุปกรณ์แปลงระบบไฟฟ้ำในระบบ เคลื่อนที่เร็วเกินไปใหเคลื่อนที่ชาลงจนมี
ผลิตไฟฟ้ำโดยใช้เซลล์สุริยะ อั ต ราเร็ ว ตํ่ า พอที่ จ ะทํ า ให เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย า
9. จงอธิบำยกำรท�ำงำนของแท่งควบคุมและตัวหน่วงอัตรำเร็วของนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียรได
นิวเคลียร์ฟิชชัน 10. ปฏิกริ ยิ านิวเคลียรฟว ชันบนดวงอาทิตยตอ งการ
10. เหตุใดปฏิกิริยำนิวเคลียร์ฟิวชันบนดวงอำทิตย์จึงไม่สำมำรถท�ำให้เกิดขึ้นบนโลกได้ และต้อง ความหนาแนนโปรตอน (หรือไฮโดรเจน) สูงมาก
ท�ำอย่ำงไรจึงท�ำให้เกิดปฏิกิริยำนิวเคลียร์ฟิวชันบนโลกได้ จึ ง ไม เ หมาะกั บ การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร
11. เหตุใดจึงเรียกเซลล์สุริยะอีกอย่ำงหนึ่งว่ำเซลล์โฟโตโวลทำอิก (photovoltaic cell) ฟวชันบนโลก ปฏิกริ ยิ านิวเคลียรฟว ชันทีม่ นุษย
12. กระแสไฟฟ้ำที่ได้จำกเซลล์เชื้อเพลิงและเซลล์สุริยะเป็นกระแสตรงหรือกระแสสลับ ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น บนโลกจะใช ดิ ว เทอเรี ย มและ
13. ประเทศไทยใช้วัตถุดิบใดในกำรผลิตเอทำนอลและไบโอดีเซล ทริเทียมซึ่งเปนไอโซโทปของไฮโดรเจนแทน
ไฮโดรเจน โดยทีด่ วิ เทอเรียมและทริเทียมทีเ่ ปน
14. กระบวนกำรในกำรผลิตไบโอดีเซลเรียกว่ำกระบวนกำรอะไร จงอธิบำยกำรผลิตไบโอดีเซลตำม
เชื้อเพลิงในปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันสกัดได
กระบวนกำรดังกล่ำว
จากนํ้าและผลิตไดจากลิเทียมซึ่งเปนธาตุที่มี
15. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกระบวนกำรย่อยสลำยสำรอินทรีย์โดยแบคทีเรียภำยใต้สภำวะไม่มีแก๊ส ปริมาณมากบนโลก ทําใหไมมีปญหาเกี่ยวกับ
ออกซิเจน คือสิ่งใด
ปริมาณเชื้อเพลิง
พลังงาน 119

11. เนื่องจากกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้นในเซลลสุริยะเปนไปตามปรากฏการณโฟโตโวลทาอิก ซึ่งอิเล็กตรอนหลุดออกมาจากอะตอม เพราะไดรับพลังงานจาก


โฟตอนของแสงอาทิตยที่ตกกระทบ กอนที่สนามไฟฟาบริเวณใกลรอยตอพีเอ็นจะผลักดันใหอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ขามรอยตอพีเอ็นออกสูวงจรภายนอก
สงผลใหมีกระแสไฟฟาผานออกจากเซลลสุริยะ
12. กระแสตรง
13. ออย กากนํ้าตาล ขาวฟางหวาน มันสําปะหลัง ขาว ขาวโพด ใชในการผลิตเอทานอล และปาลมดิบ สบูดํา นํ้ามันใชแลว ใชในการผลิตไบโอดีเซล
14. เรียกวา กระบวนการทรานสเอสเทอริฟเคชัน การผลิตไบโอดีเซลเริ่มจากการนํานํ้ามันพืชหรือไขมันสัตวมาทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอล (เมทานอลหรือ
เอทานอล) โดยมีดาง (โซเดียมไฮดรอกไซดหรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด) เปนตัวเรงปฏิกิริยา
15. แกสชีวภาพ

T129
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อ ธิบายรูปร่างและ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
คลื่นกล - หนังสือเรียน รายวิชา ชนิดของคลื่นกลได้ หาความรู้ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ (K) (5Es เกีย่ วกับคลื่นกล - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
6 กายภาพ 2 (ฟิสิกส์)
ม.5
2. อธิบายลักษณะทีส่ ำ� คัญ
ของคลื่นกลได้ (K)
Instructional - สังเกตการปฏิบัติการ
Model) จากการท�ำกิจกรรม
- ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน
การท�ำงาน
ชั่วโมง
- แบบฝึกหัด รายวิชา 3. ท�ำการทดลองเพื่อ - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม - ทักษะการน�ำความรู้
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ศึกษาสมบัติของ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) คลื่นกลได้ (P) คลื่นกล - ทักษะการทดลอง
ม.5 4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ใบงาน อยากรู้อยากเห็น และ องค์ประกอบคลื่นกล
- PowerPoint ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น - ตรวจแบบฝึกหัด
- QR Code อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น การท�ำงานรายบุคคล
Twig - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. อธิบายการเกิดคลื่น แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
เสียง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เสียง ธรรมชาติของ หาความรู้ เกีย่ วกับสมบัตขิ องคลืน่ เสียง - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) เสียงได้ (K) (5Es - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
4 ม.5
- แบบฝึกหัด รายวิชา
2. สืบค้นข้อมูลและ
อภิปรายเกี่ยวกับ
Instructional จากการท�ำกิจกรรม
Model) - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม
- ทักษะการน�ำความรู้
ไปใช้
การท�ำงาน
ชั่วโมง
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ มลพิษทางเสียงได้ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการทดลอง
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) (P) เสียง
ม.5 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ - ตรวจใบงาน เรื่อง สมบัติ
- ใบงาน อยากรู้อยากเห็น และ ของคลื่นเสียง
- PowerPoint ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น - ตรวจแบบฝึกหัด
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตพฤติกรรม
Twig การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. บอกความหมาย แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
เสียง 2 พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ แ ละอธิบายเกี่ยวกับ หาความรู้ เกี่ยวกับประโยชน์ของเสียง - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ปรากฏการณ์ (5Es - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
2 ม.5
- แบบฝึกหัด รายวิชา
ดอปเพลอร์ และการ
สั่นพ้องของเสียงได้
Instructional ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
Model) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
- ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน
การท�ำงาน
ชั่วโมง
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ (K) Topic Question - ทักษะการน�ำความรู้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) 2. สืบค้นข้อมูลการน�ำ - ตรวจแบบฝึกหัด ไปใช้
ม.5 ความรู้เกี่ยวกับเสียง - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการทดลอง
- ใบงาน ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint ประจ�ำวันได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code 3. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ การท�ำงานกลุ่ม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อยากรู้อยากเห็น และ - สังเกตคุณลักษณะ
Twig ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น อันพึงประสงค์
อย่างสร้างสรรค์ (A)

T130
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียน รายวิชา 1. บอกลักษณะส�ำคัญของ แบบสืบเสาะ - สังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
คลื่น พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หาความรู้ เกี่ยวกับแสง - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
แม่เหล็กไฟฟ้า กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) และอธิบายการเกิด (5Es - สังเกตการปฏิบัติการ - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
ม.5 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ Instructional จากการท�ำกิจกรรม - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
3 - แบบฝึกหัด รายวิชา (K) Model) - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม ร่วมกัน
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 2. เปรียบเทียบความ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง แสง - ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) แตกต่างระหว่างแสงสี - ตรวจใบงาน เรื่อง ไปใช้
ม.5 ปฐมภูมิกับสารสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการทดลอง
- PowerPoint ปฐมภูมิได้ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 3. สืบค้นข้อมูลและ - สังเกตพฤติกรรม
Twig อธิบายเกี่ยวกับ การท�ำงานรายบุคคล
สเปกตรัม - สังเกตพฤติกรรม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ การท�ำงานกลุ่ม
(P) - สังเกตคุณลักษณะ
4. มีความสนใจใฝ่รู้หรือ อันพึงประสงค์
อยากรู้อยากเห็น และ
ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น
อย่างสร้างสรรค์ (A)

แผนฯ ที่ 5 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย


ประโยชน์ของ - หนังสือเรียน รายวิชา มีการท�ำงานโดยอาศัย หาความรู้ - ส ังเกตการน�ำเสนอผลงาน - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
คลื่น พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ (5Es เกีย่ วกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ทักษะการสังเกต - มุ่งมั่นใน
แม่เหล็กไฟฟ้า กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) (K) Instructional - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - ทักษะการท�ำงาน การท�ำงาน
ม.5 2. นำ� ความรู้เกี่ยวกับ Model) ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็ก ร่วมกัน
3 - แบบฝึกหัด รายวิชา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟฟ้า - ทักษะการน�ำความรู้
ชั่วโมง พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ไปอธิบายสถานการณ์ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก ไปใช้
กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต Topic Question - ทักษะการทดลอง
ม.5 ประจ�ำวันได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน 3. มีความสนใจใฝ่ร้หู รือ การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint อยากรู้อยากเห็น และ - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ การท�ำงานกลุ่ม
Twig อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T131
Chapter Concept Overview
คลื่นกล
คลื่นกล เป็นคลื่นที่ต้องอำศัยตัวกลำงในกำรเคลื่อนที่หรือถ่ำยโอนพลังงำน อัตรำเร็วของคลื่นกลขึ้นอยู่กับควำมยืดหยุ่นของตัวกลำงที่
คลื่นกลเคลื่อนที่ผ่ำน เมื่อพิจำรณำจำกลักษณะกำรสั่นของอนุภำคที่คลื่นกลเคลื่อนผ่ำน สำมำรถแบ่งคลื่นกลได้เป็น 2 ชนิด คือ คลื่นตำม
ยำว และคลื่นตำมขวำง มีสมบัติร่วมกัน 4 ประกำร ได้แก่

กำรสะท้อน กำรหักเห กำรแทรกสอด กำรเลี้ยวเบน


สมบัติของคลื่นกล

เสียง เกิดจำกกำรสัน่ ของแหล่งก�ำเนิดเสียง โดยพลังงำนของกำรสัน่ สะเทือนจำกแหล่งก�ำเนิดเสียงจะถ่ำยโอนผ่ำนตัวกลำงท�ำให้อนุภำค


ตัวกลำงสั่นไปมำ ส่งผลให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมดันในตัวกลำงที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่ำน และผลจำกกำรเปลี่ยนแปลงควำมดันท�ำให้เกิด
คลื่นอัด-ขยำย แผ่ไปในตัวกลำง โดยเกิดเป็นส่วนอัดและส่วนขยำยขึ้นในตัวกลำงที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่ำน
อัด อัด อัด อัด อัด อัด

ขยำย ขยำย ขยำย ขยำย ขยำย ขยำย


ส่วนอัดและส่วนขยำยในตัวกลำงที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่ำน

คลื่นแมเหล็กไฟฟา
Y E
คลื่นแมเหล็กไฟฟา ประกอบด้วยสนำมแม่เหล็กและสนำม
ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนแปลงตำมเวลำ โดยสนำมทั้งสองมีทิศตั้งฉำกกัน E c c
B
และตั้งฉำกกับทิศกำรเคลื่อนที่ของคลื่น จึงจัดเป็นคลื่นตำมขวำง O B
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำแผ่ออกไปจำกแหล่งก�ำเนิดโดยไม่ต้องอำศัย B E
ตัวกลำงในกำรเคลื่อนที่และเคลื่อนที่ผ่ำนสุญญำกำศด้วยอัตรำเร็ว
เท่ำกับแสง คือ 3 × 108 เมตรต่อวินำที เมื่อวัตถุใดดูดกลืน Z
X
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำที่มำตกกระทบ อุณหภูมิของวัตถุนั้นจะสูงขึ้น E
แสดงว่ำ มีกำรถ่ำยโอนพลังงำนไปพร้อมกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ B
เช่นเดียวกับคลื่นกล ส่วนประกอบและทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำมีควำมถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้ำง (104 - 1023 เฮิรตซ์) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำทุกย่ำนควำมถี่ (หรือควำมยำวคลื่น)
รวมกัน เรียกว่ำ สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ ซึ่งประกอบด้วย คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟำเรด แสงขำว รังสีอัลตรำไวโอเลต รังสีเอกซ์
และรังสีแกมมำ เมื่อเรียงล�ำดับจำกควำมถี่ต�่ำไปสูงหรือเรียงล�ำดับจำกควำมยำวคลื่นยำวไปสั้น
แสง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำเพียงชนิดเดียวที่นัยน์ตำมนุษย์สำมำรถรับรู้ได้ แสงจำกแหล่งก�ำเนิดธรรมชำติที่ส�ำคัญมำก คือ แสงจำก
ดวงอำทิตย์ เป็นแสงใสไม่มีสี เรียกว่ำ แสงขำว แต่เมื่อหักเหผ่ำนปริซึมหรือละอองน�้ำในอำกำศแสงขำวจะแยกออกเป็นสีต่ำง ๆ เกิดเป็น
ปรำกฏกำรณ์ในธรรมชำติ เช่น รุ้ง กำรทรงกลดของดวงอำทิตย์ มิรำจ โดยปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้นเป็นผลมำจำกกำรหักเหของคลื่น เพรำะ
แสงเป็นทั้งคลื่นและอนุภำค

T132
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

การบอดสี เป็นความบกพร่องในการมองเห็นสีทเี่ กิดจากการขาดหายไปของเซลล์รปู กรวยบนจอตา กล่าวคือ บนจอตามีเซลล์รปู กรวย


เพียงสองชนิดหรือชนิดเดียว การบอดสีทดสอบได้โดยใช้แผ่นทดสอบการบอดสี โดยแผ่นทดสอบการบอดสีที่จักษุแพทย์นิยมใช้ คือ แผ่น
ทดสอบการบอดสีอิชิฮารา
การบอดสีแดง การบอดสีเขียว การบอดสีน�้ำเงิน
บนจอตาไม่มีเซลล์รูปกรวย บนจอตาไม่มีเซลล์รูปกรวย บนจอตาไม่มีเซลล์รูปกรวย
ที่ไวต่อแสงสีแดง ที่ไวต่อแสงสีเขียว ที่ไวต่อแสงสีน�้ำเงิน

การผสมแสงสี ท�ำให้ได้แสงสีหลากหลายหรือเปลี่ยนแสงสี แดง เหลือง เขียว


ไปจากเดิม เมื่อน�ำแสงสีปฐมภูมิในสัดส่วนที่เหมาะสมมาผสมกันจะ
ท�ำให้ได้แสงขาว การผสมแสงสีน�ำไปใช้ประโยชน์ในการจัดไฟแสงสี
ในการแสดงบนเวที การแสดงไฟแสงสีของสถานที่ตา่ ง ๆ การสร้าง
ภาพสีบนจอโทรทัศน์สีและจอแอลอีดี (LED) เมื่อน�ำแผ่นกรองแสง แสงขาว
ไปกั้นแสงขาว แผ่นกรองแสงจะดูดกลืนแสงสีบางสีไว้และยอมให้
แสงบางสีผ่านไปได้ โดยยอมให้ทะลุผ่านได้เฉพาะแสงสีเดียวกับ แดงม่วง น�้ำเงินเขียว
สีของแผ่นกรองแสงหรือแสงสีที่มีความยาวคลื่นใกล้เคียงกับสีของ
แผ่นกรองแสงเท่านั้น
น�้ำเงิน
การผสมแสงสีปฐมภูมิ
การผสมสารสี ท�ำให้ได้สารสีที่หลากหลายหรือเปลี่ยนสารสีไปจากเดิม เมื่อน�ำสารสีปฐมภูมิในปริมาณที่เท่ากันมาผสมกันจะได้
สารสีผสมเป็นสีด�ำ การผสมสารสีน�ำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ งานก่อสร้าง การท�ำเฟอร์นิเจอร์
ประโยชน์ของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าน�ำไปใช้ น�้ำเงิน
ประโยชน์ในการท�ำงานของอุปกรณ์บางชนิด เช่น อุปกรณ์ควบคุม
น�้ำเงินเขียว แดงม่วง
ระยะไกล (remote control) อาศัยรังสีอินฟราเรดและคลื่นวิทยุใน
การท�ำงาน เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) อาศัย
ด�ำ
รังสีเอกซ์ในการท�ำงาน และเครื่องถ่ายภาพการสั่นพ้องแม่เหล็ก
(MRI) อาศัยคลื่นวิทยุในการท�ำงาน นอกจากนี้ ยังใช้ประโยชน์ใน เขียว แดง
การสื่อสารเพื่อส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่
หนึง่ ผ่านสือ่ กลางแบบใช้สาย (แสงเลเซอร์) และสือ่ กลางแบบไร้สาย เหลือง
(รังสีอินฟราเรด ไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ) โดยสัญญาณข้อมูลที่ใช้
ในการสื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ การผสมสารสีปฐมภูมิ
ระดับสัญญาณ

สัญญาณแอนะล็อก เวลา

ระดับสัญญาณ

สัญญาณดิจิทัล
เวลา
ลักษณะของสัญญาณข้อมูล
T133
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ สถานการณ
หนวยการเรียนรูที่ 4 Q
ในชีวติ ประจําวัน เมือ่ เราขวางกอนหินลงไปใน
แหลงนํ้า หลังจากที่กอนหินกระทบกับผิวนํ้า
นักเรียนสังเกตเห็นสิง่ ใดเกิดขึน้ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ คือ
คลื่น ÊÁºÑµÔ㴢ͧ¤Å×è¹
·Õè·íÒãËŒ¤Å×è¹µ‹Ò§¨Ò¡Çѵ¶Ø
Í‹ҧªÑ´à¨¹
อะไร มีความสําคัญอยางไร เหตุใดนํ้าบริเวณ
อื่นๆ ที่ไมโดนกอนหินโดยตรงจึงถูกรบกวน
ไปดวย ตัวชี้วัด
2. ครูทิ้งชวงเวลาใหนักเรียนคิด จากนั้นครูเปด ว 2.3 ม.5/3 ม.5/4 ม.5/5 ม.5/6
ม.5/7 ม.5/8 ม.5/9 ม.5/10
โอกาสให นั ก เรี ย นแสดงความคิ ด เห็ น อย า ง ม.5/11 ม.5/12
อิสระ
3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
4. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อ
เป น การตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย น
เปนรายบุคคลกอนเขาสูกิจกรรม
5. ครูถามคําถามนําเขาสูบทเรียน โดยใชคําถาม
Big Question จากหนังสือเรียน กับนักเรียนวา
“สมบัติใดของคลื่นที่ทําใหคลื่นตางจากวัตถุ
อยางชัดเจน”

แนวตอบ Big Question U n de r s t a n di n g


Check
ลักษณะการสงผานพลังงาน เนื่องจากการสง
ผานพลังงานของวัตถุหรืออนุภาคนั้น อนุภาคจะ ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
ถูก / ผิด
เปนตัวนําพาพลังงานไปถึงจุดหมาย สวนการสง 1. การเคลื่อนที่แบบคลื่นเป็นการขนส่งพลังงานโดยไม่มีการเคลื่อนย้ายมวล
ผานพลังงานของคลืน่ เมือ่ คลืน่ เคลือ่ นที่ คลืน่ จะพา 2. คลื่นเสียงในอากาศเป็นคลื่นกลที่เป็นคลื่นตามขวาง

ุด
3. เสียงที่หูของมนุษย์ทนได้มีความเข้มสูงสุด 1 วัตต์ต่อตารางเมตร และระดับความดังสูงสุด

สม
พลังงานไปดวย แตตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผานจะ

ใน
120 เดซิเบล
ลง
ไมไดเคลื่อนที่ตามคลื่นไป จะเคลื่อนที่กลับไปกลับ 4. แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน�้าเงิน เมื่อน�ามาผสมกันจะได้แสงขาว ทึ ก
บั น

มาอยูตําแหนงเดิม 5. แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงสุด

แนวตอบ Understanding Check


1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก 4. ถูก 5. ผิด

เกร็ดแนะครู
การจัดการเรียนการสอน หนวยการเรียนรูท ี่ 4 คลืน่ ครูอาจจะตองจัดเตรียม
สื่อการเรียนรูตางๆ ที่ใชในการศึกษาสมบัติของคลื่นและลักษณะการเคลื่อนที่
ของคลื่น เชน ขดสปริง ชุดอุปกรณถาดคลื่น เสนเชือก มาใชในการสอน
เพือ่ เปนการอธิบายประกอบกับเนือ้ หาในหนังสือเรียนใหนกั เรียนเกิดความเขาใจ
และมีความสนใจที่จะศึกษา เรื่อง คลื่น มากขึ้น

T134
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. คลื่นกล Prior Knowledge 6. ครูใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตองการ
คลื่นเป็นสภาพรบกวนที่แผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดใน คล×¹è กลมÕลกÑ É³Ð เรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง คลื่น แลวบันทึกเปน
แนวเส้นตรงในทิศใด ๆ หรือโดยรอบแหล่งก�าเนิด ซึง่ การแผ่ออก ੾ำÐอย‹ำ§äร ขอบเขตและเปาหมายที่ตองการเรียนรูลงใน
ẋ§àปš¹กÕªè ¹ิ´ สมุดเพื่อนํามาสงครู
ไปของสภาพรบกวนนั้นจะมีการถ่ายโอนหรือขนส่งพลังงานไป อÐäรº้ำ§
ด้วย ถ้าแบ่งคลืน่ ตามตัวกลางทีใ่ ช้ในการถ่ายโอนพลังงานจะแบ่ง 7. ครูถามคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
ได้เป็นคลื่นกลและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เรียน เพือ่ เปนการตรวจสอบความรูเ ดิมเกีย่ วกับ
คลื่นกล (mechanical wave) เป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถ่ายโอน เรื่อง คลื่น ของนักเรียนวา “คลื่นกลมีลักษณะ
พลังงาน อัตราเร็วของคลื่นกลขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนผ่าน ตัวอย่างของ เฉพาะอยางไร แบงเปนกี่ชนิด อะไรบาง”
คลื่นกล เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นในสปริง คลื่นน�้า คลื่นเสียง เป็นต้น ความเปลี่ยนแปลงที่ 8. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวาจะไดศกึ ษาเกีย่ วกับ
เกิดขึน้ กับตัวกลางหรือบริเวณในตัวกลางทีค่ ลืน่ กลเคลือ่ นผ่านจะเกิดขึน้ เฉพาะบริเวณทีค่ ลืน่ ก�าลัง คลื่นกล
เคลื่อนผ่านเท่านั้น หลังจากคลื่นเคลื่อนผ่านบริเวณนั้นไปแล้ว ตัวกลางจะเปลี่ยนกลับสู่สภาพเดิม
เมื่อพิจารณาจากลักษณะการสั่นของอนุภาคตัวกลางขณะคลื่นกลเคลื่อนผ่าน สามารถแบ่ง ขัน้ สอน
คลื่นกลออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ สํารวจคนหา
คลื่นตามยาว (longitudinal wave) คลื่นตามขวาง (transverse wave) 1. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง คลืน่ กล จากหนังสือ
เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ตามหรือ เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ขวางหรือ เรียน
ขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น อาจกล่าวได้ว่า ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นผิวน�้า 2. ครูสุมตัวแทนนักเรียนใหยืนขึ้น เพื่ออธิบาย
อนุภาคของตัวกลางจะสั่นในแนวเดียวกับแนวการ คลื่นในเส้นเชือก คลื่นที่เกิดจากการสะบัดปลายขด ความหมายของคลืน่ กล จากนัน้ ครูสมุ นักเรียน
เคลือ่ นทีห่ รือแนวการถ่ายโอนพลังงานของคลืน่ เช่น ลวดสปริง เมื่อสะบัดปลายขดลวดสปริง ขดลวดหรือ
คลื่นเสียง คลื่นตามยาวบนขดลวดสปริงที่เกิดจาก อนุภาคของตัวกลางจะเคลือ่ นทีก่ ลับไปกลับมาในแนว เพิ่มอีก 2 คน เพื่ออธิบายความหมายของคลื่น
การดึงหรืออัดสปริง โดยเมื่อขยับปลายของขดลวด ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นบนขดลวดสปริง ตามยาวและคลื่นตามขวาง
สปริงเข้าและออก ท�าให้ขดลวดหรืออนุภาคของ
ตัวกลางเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนวขนานกับทิศ ทิศการเคลื่อนที่ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่นบนขดลวดสปริง ของอนุภาค

ทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาค ส่วนอัด
(ก) คลื่นในเส้นเชือก

ส่วนขยาย ทิศการเคลื่อนที่ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น


ของอนุภาค แนวตอบ Prior Knowledge
ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
คลื่ น กล เป น คลื่ น ที่ อ าศั ย ตั ว กลางในการ
(ข) คลื่นในสปริง เคลื่ อ นที่ ห รื อ ถ า ยโอนพลั ง งาน ซึ่ ง ต า งจาก
ภาพที่ 4.1 คลื่นตามยาว ภาพที่ 4.2 คลื่นตามขวาง คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ ไ ม อ าศั ย ตั ว กลางในการ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
เคลื่อนที่หรือถายโอนพลังงาน โดยคลื่นกลแบง
คลื่น 121
ตามลักษณะการสั่นของตัวกลางเปน 2 ชนิด ไดแก
คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวาง

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดจัดเปนคลื่นกล ครู อ าจนํ า สื่ อ การเรี ย นการสอนจากแหล ง ข อ มู ล สารสนเทศที่ เ กี่ ย วกั บ
1. คลื่นเสียง คลื่นนํ้า คลื่นกล มานําเสนอใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม เชน วิดีโอจาก youtube
2. คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ เรื่อง คลื่นตามยาว ซึ่งสามารถคนหาไดจาก https://www.youtube.com/
3. คลื่นเสียง คลื่นแสง watch?v=F6Fb105Smw4
4. คลื่นแสง คลื่นความรอน
5. คลื่นในสปริง คลื่นไมโครเวฟ
( วิเคราะหคําตอบ คลื่ น กล เป น คลื่ น ที่ อ าศั ย ตั ว กลางในการ
เคลื่อนที่ เชน คลื่นเสียง คลื่นนํ้า คลื่นในเสนเชือก คลื่นในสปริง
คลื่นแผนดินไหว คลื่นไหวสะเทือน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T135
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนที่นั่งขางๆ แลว 1.1 ส‹วนประกอบของคลื่น
ร ว มกั น ค น คว า ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ คลื่ น เมื่อท�าการสะบัดเส้นเชือกขึ้นและลง จะท�าให้เกิดคลื่นตามขวางบนเส้นเชือก โดยคลื่นบน
ตามยาวและคลื่นตามขวาง จากนั้นรวมกัน เส้นเชือกจะสามารถอธิบายส่วนประกอบหรือปริมาณที่เกิดขึ้นจากการสะบัดเส้นเชือกได้ ดังนี้
สรุปแลวเขียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
สั นคลื่น หรื อ ยอดคลื่ น (crest) เป็น ความยาวคลื่น (wavelength; λ) เป็นความยาว
4. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง สวนประกอบของ ต� า แหน่ ง ที่ มี ก ารกระจั ด สู ง สุ ด เหนื อ ของคลื่น 1 ลูกคลื่น ซึ่งมีค่าเท่ากับระยะห่างจาก
คลื่น และอัตราเร็วของคลื่น จากหนังสือเรียน แนวสมดุล สันคลื่นหนึ่งถึงสันคลื่นที่อยู่ติดกัน หรือระยะห่าง
จากท้องคลื่นหนึ่งถึงท้องคลื่นที่อยู่ติดกัน
โดยครูกําหนดใหนักเรียนเขียนสรุปเกี่ยวกับ λ
เนือ้ หาทีก่ าํ ลังศึกษาลงในสมุดบันทึกประจําตัว

A
แนวสมดุล เป็นแนว
ทีก่ ารกระจัดเป็นศูนย์

ท้องคลื่น (trough) เป็นต�าแหน่งที่มี แอมพลิจดู (amplitude; A) เป็นระยะกระจัดสูงสุด


การกระจัดสูงสุดใต้แนวสมดุล จากแนวสมดุล ซึ่งเท่ากับความสูงของสันคลื่น
หรือความสูงของท้องคลื่นจากแนวสมดุล

ภาพที่ 4.3 สวนประกอบตางๆ ของคลื่นรูปไซน


ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพที่ 4.3 ความยาวคลื่นน�าไปสู่การนิยามคาบและความถี่ ดังนี้


• คาบ (period) คือ ช่วงเวลาที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่กลับไปกลับมาครบ 1 รอบ
หรือเวลาที่เกิดคลื่น 1 ลูก หรือเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ไปเป็นระยะทาง 1 ความยาวคลื่น
• ความถี่ (frequency) คือ จ�านวนลูกคลืน่ ทีเ่ กิดขึน้ ใน 1 วินาที หรือจ�านวนลูกคลืน่ ทีเ่ คลือ่ นที่
ผ่านจุดหนึ่งใน 1 วินาที หรือจ�านวนรอบที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่กลับไปกลับมาใน 1 วินาที
ซึ่งความถี่และคาบมีความสัมพันธ์กัน ดังสมการ
1
f = T1 f คือ ความถี่ มีหน่วยเป็น ลูกคลื่นต่อวินาที รอบต่อวินาที (s-1) หรือเฮิรตซ์ ((Hz)
T คือ คาบ มีหน่วยเป็น วินาที (s)

122

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 เฮิรตซ (Hertz) เปนหนวยอนุพัทธในระบบหนวยระหวางชาติ (SI unit) ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสวนประกอบของคลื่น
ซึ่งเปนหนวยของคาความถี่ โดย 1 เฮิรตซ คือ ความถี่ที่เทากับ 1 ครั้งตอ และความสัมพันธระหวางคาบกับความถี่ จากนัน้ ใหนกั เรียนเขียน
วินาที (1/s หรือ s-1) จะไดวา 50 เฮิรตซ คือ ความถี่ที่เทากับ 50 ครั้งตอวินาที สรุปความรู พรอมทั้งยกตัวอยางคลื่นรูปไซนที่มีความถี่ตางกัน
ชื่อหนวยเฮิรตซมาจากชื่อของ ไฮนริช รูดอลฟ เฮิรตซ นักฟสิกสชาวเยอรมัน 4 คา โดยเขียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว เสร็จแลวรวบรวมสง
ซึ่งเปนนักวิทยาศาสตรทางดานแมเหล็กไฟฟา หนวยเฮิรตซไดกําหนดครั้งแรก ครู ซึ่งครูอาจสุมนักเรียนออกมาวาดคลื่นรูปไซนตามคาความถี่
ในป พ.ศ. 2473 แลวเริ่มมาใชแทน หนวยรอบตอวินาที (cycles per second ที่ครูกําหนดใหบนกระดานหนาชั้นเรียน
หรือ cps) ในป พ.ศ. 2503 ตอมาในป พ.ศ. 2513 หนวยเฮิรตซไดใชทดแทน
การใชหนวยรอบตอวินาทีแทบทั้งหมด

T136
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1.2 อัตราเร็วของคลื่น 5. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของคลื่น จะสังเกตได้ว่า เมื่ออนุภาคของเชือกเคลื่อนที่กลับไป สวนประกอบของคลื่น และอัตราเร็วของคลื่น
กลับมาครบ 1 รอบ ระยะทางที่คลื่นสามารถเคลื่อนที่ไปได้จะมีค่าเป็น 1 เท่าของความยาวคลื่น จากแหลงขอมูลสารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต
และใช้เวลา 1 เท่าของคาบ ซึง่ สามารถค�านวณอัตราเร็วของคลืน่ (v) ได้จากระยะทางทีค่ ลืน่ เคลือ่ นที่ 6. ครูแจกใบงาน เรื่อง องคประกอบของคลื่นกล
ได้ (Δx) ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่จากเริ่มต้นจนถึงระยะทางนั้น (Δt) ดังสมการ ใหนักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน
7. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง สมบัติของคลื่น ใน
v = ΔΔxt
หัวขอการสะทอนจากหนังสือเรียน
อัตราเร็วของคลื่นยังสามารถค�านวณได้จากค่าความยาวคลื่น (λ) และคาบ (T) หรือความถี่ 8. ครูแนะนําใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับการ
( f ) ของคลื่น โดยที่คลื่นใช้เวลาเท่ากับ 1 คาบของคลื่น ในการเคลื่อนที่ไปเป็นระยะทางเท่ากับ 1 สะทอนของคลื่น จากแหลงขอมูลสารสนเทศ
ความยาวคลื่น อัตราเร็วของคลื่นสามารถค�านวณได้จากสมการ เชน อินเทอรเน็ต เพื่อใหไดรับขอมูลที่หลาก
หลาย และสรางความเขาใจใหตนเองมากขึ้น
v คือ อัตราเร็วของคลื่น มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
v = fλ f คือ ความถี่ มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)
λ คือ ความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น เมตร (m)

1.3 สมบัติของคลื่น
คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางมีสมบัติร่วมกัน 4 ประการ คือ การสะท้อน การหักเห
การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด
1 แต่คลื่นตามขวางมีสมบัติอีกประการหนึ่งที่ไม่มีในคลื่นตามยาว
คือ การโพลาไรส์ โดยการโพลาไรส์ของคลื่นตามขวางไม่สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้ จึงไม่กล่าว
ถึงในที่นี้ คุณสมบัติการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดยังมีความส�าคัญต่อการระบุว่าสิ่งใดเป็นคลื่น
หรือเป็นวัตถุ เนื่องจากคุณสมบัติเหล่านี้เกิดได้กับคลื่นเท่านั้น ไม่เกิดขึ้นกับวัตถุ
1. การสะท้อน (reflection) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวางแล้วไม่อาจเคลื่อนที่
ต่อไปในทิศทางเดิมได้ เช่น คลื่นน�้าเมื่อกระทบขอบสระ คลื่นจะเคลื่อนที่กลับสู่ตัวกลางเดิม
เรียกว่า เกิดการสะท้อน
เงื่อนไขการเกิดการสะท้อนของคลื่น

หากสิ่งกีดขวางมีขนาดใกล้เคียง หากไม่มีการสูญเสียพลังงาน
สิ่งกีดขวางมีขนาดใหญ่เมื่อ กับความยาวคลื่น คลื่นจะเกิดการ แอมพลิจูดของคลื่นสะท้อนจะเท่า
เทียบกับความยาวคลื่น กระเจิงและเกิดการสะท้อน กับแอมพลิจูดของคลื่นตกกระทบ

คลื่น 123

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


คลื่นขบวนหนึ่งความถี่ 10 เฮิรตซ เคลื่อนที่จากนํ้าลึกดวย 1 การโพลาไรส (polarization) เปนปรากฏการณของคลื่นตามขวาง คือ
อัตราเร็ว 3 เมตรตอวินาที เขาสูนํ้าตื้นในทิศทางตั้งฉากกับผิวรอย คลื่นที่มีระนาบการสั่นในระนาบใดระนาบหนึ่งเพียงระนาบเดียว คลื่นแสงที่ถูก
ตอ ถาอัตราเร็วในนํ้าตื้นเทากับ 2 เมตรตอวินาที ความยาวคลื่น ปลอยออกมาจากแหลงกําเนิดแสงสวนใหญจะเปนคลื่นที่มีระนาบการสั่นของ
ในนํ้าตื้นเทากับขอใด สนามแมเหล็กและสนามไฟฟาหลายระนาบ จึงเปนแสงที่ไมโพลาไรส ถาเรา
1. 0.1 เมตร 2. 0.2 เมตร เอาแผนโพลารอยด (polaroid) ไปกั้น แสงที่ผานแผนโพลารอยดมาจะเปนแสง
3. 0.3 เมตร 4. 0.4 เมตร ที่มีระนาบการสั่นเพียงระนาบเดียวตามแกนของแผนโพลารอยด แสงที่ผาน
5. 0.5 เมตร มานี้เรียกวา แสงโพลาไรส (polarized light) โดยความเขมของแสงจะลดไป
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ v = f λ ครึ่งหนึ่งจากเดิม
2 = (10)λ
λ =
2
10
λ = 0.2 m
จะไดวา ความยาวคลื่นในนํ้าตื้นเทากับ 0.2 เมตร ดังนั้น ตอบ
ขอ 2.)

T137
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
9. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุม ละประมาณ เมื่อคลื่นตกกระทบสิ่งกีดขวางที่เป็นพื้นผิวราบ รังสีตกกระทบท�ามุม θi กับเส้นแนวฉาก
6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตาม คลื่นจะสะท้อนกลับโดยรังสีสะท้อนท�ามุม θr กับเส้นแนวฉาก ดังภาพที่ 4.4
ผลสัมฤทธิ์ (เกง ปานกลาง ออน) ใหอยูใน ทิศการเคลื่อนที่ เส้นแนวฉาก ทิศการเคลื่อนที่
กลุ  ม เดี ย วกั น เพื่ อ ร ว มกั น ศึ ก ษากิ จ กรรม ของคลื่นตกกระทบ ของคลื่นสะท้อน
การสะทอนของคลื่นผิวนํ้าจากหนังสือเรียน
โดยใหนักเรียนแตละกลุมกําหนดใหสมาชิก
หน้าคลื่นตกกระทบ θi θr หน้าคลื่นสะท้อน
แตละคนมีบทบาทหนาที่ของตนเอง θi θr
10. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง ภาพที่ 4.4 การสะท้อนของคลื่นที่พื้นผิวราบ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
11. ครูใหความรูเ พิม่ เติมหรือเทคนิคเกีย่ วกับการ
มุมระหว่างทิศการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ ตกกระทบ (รังสีตกกระทบ) กับเส้นแนวฉาก เรียกว่า
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
มุมตกกระทบ (angle of incidence; θi) และมุมระหว่างทิศการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ สะท้อน (รังสีสะท้อน)
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
กับเส้นแนวฉาก เรียกว่า มุมสะท้อน (angle of reflection; θr) ซึง่ ทิศการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ จะตัง้ ฉาก
12. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล กับแนวของหน้าคลื่น โดยผลการศึกษาทั้งทางทฤษฎีและจากการทดลองพบว่า มุมตกกระทบจะ
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน เท่ากับมุมสะท้อน ซึ่งเรียกว่า กฎการสะท้อนของคลื่น
13. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม เมื่อพิจารณาลักษณะการสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว ดังนี้
เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ ทิศของคลื่นตกกระทบ ทิศของคลื่นตกกระทบ
จากการปฏิบัติกิจกรรม
14. ในระหว า งที่ นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรม ครู
เดินสังเกตการณและคอยใหคําปรึกษาเมื่อ
นักเรียนเกิดปญหา หรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับ
กิจกรรม
ทิศของคลื่นสะท้อน
ทิศของคลื่นสะท้อน

การสะท้อนที่ปลายตรึง (ปลายปิด) เกิดขึ้นเมื่อน�าปลาย การสะท้อนที่ปลายอิสระ (ปลายเปิด) เกิดขึ้นเมื่อน�าปลาย


เชือกด้านหนึ่งไปตรึงไว้กับที่ตรึงให้แน่นแล้วสะบัดปลาย เชือกด้านหนึ่งผูกไว้กับเสา โดยที่เชือกสามารถเคลื่อนที่
เชือกอีกด้านที่เป็นอิสระ คลื่นสะท้อนจะมีการกระจัดตาม ได้อย่างอิสระแล้วสะบัดปลายเชือก คลื่นสะท้อนจะมีการ
แนวดิ่งในทิศตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ กระจัดตามแนวดิ่งในทิศทางเดียวกับคลื่นตกกระทบ
(ก) การสะท้อนที่ปลายตรึงแน่น (ข) การสะท้อนที่ปลายอิสระ
ภาพที่ 4.5 ลักษณะการสะท้อนของคลื่นบนเส้นเชือก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
124

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดการเรียนการสอนเกีย่ วกับสมบัตกิ ารสะทอนของคลืน่ ครูอาจอธิบาย เชือกเสนหนึ่งมีปลายดานหนึ่งถูกตรึง
เพิ่มเติมจากหนังสือเรียน เพื่อใหนักเรียนไดเกิดความเขาใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เชน แนนไวกับเสา จากนั้นสะบัดเชือกใหเกิด
ครูอธิบายเพิ่มเติมวา θi คือ มุมตกกระทบ โดย i ยอมาจาก incident และ θr คลื่นเคลื่อนที่ ดังภาพ ถาการสะทอนไมมี
คือ มุมสะทอน โดย r ยอมาจาก reflection การสูญเสียพลังงาน ขอใดกลาวไดถูกตอง
1. แอมพลิจูดลดลง
2. แอมพลิจูดเพิ่มขึ้น
3. ทิศการกระจัดเหมือนคลื่นตกกระทบ
4. ทิศการกระจัดตรงขามคลื่นตกกระทบ
5. อัตราเร็วของคลื่นสะทอนมากกวาคลื่นตกกระทบ
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากเชือกถูกตรึงแนนไวกับเสา เมื่อคลื่น
เคลื่อนที่ไปตกกระทบเสาแลวสะทอนออกมาโดยไมมีการสูญเสีย
พลังงาน ทําใหคลื่นสะทอนกลับทิศการกระจัดเปนทิศตรงขาม
กับคลื่นตกกระทบ สวนแอมพลิจูดและอัตราเร็วของคลื่นจะคงตัว
ดังนั้น ตอบขอ 4.)
T138
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
¡Ô¨¡ÃÃÁ การสะท้อนของคลื่น¼ิวนíéา 1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ
กิจกรรม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จØ´ปรÐʧค 2. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
• การลงความเห็นจากข้อมูล เพื่อศึกษาการสะท้อนของคลื่นผิวน�้าเมื่อตกกระทบผิวสะท้อนตรงและ เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
จิตวิทยาศาสตร์ ผิวสะท้อนโค้ง 3. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ
• ความสนใจใฝรู้
• ความมีเหตุผล ÇÑÊ´ØอØปกร³ กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ
1. ถาดคลื่น 4. ไม้บรรทัด กิจกรรม
2. แผ่นกั้นคลื่นผิวราบ (แผ่นยาว) 5. ดินสอ
3. ฉากรับภาพ (กระดาษขาว) 6. แผ่นกั้นคลื่นผิวโค้ง 4. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน
ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ
1. วางแผ่นกัน้ คลืน่ ผิวราบลงบริเวณกลางถาดคลืน่ โดยวางแผ่นกัน้ คลืน่ แผ่นกั้นคลื่นผิวราบ ดินสอ
ให้อยู่ในแนวขนานกับคานก�าเนิดคลื่น ถาดคลื่น
2. ท�าให้เกิดคลืน่ ดลโดยใช้ดนิ สอแตะผิวน�า้ เป็นจังหวะติดต่อกัน 6-7 ลูก
ดังภาพที่ 4.6 (ก) สังเกตลักษณะของหน้าคลืน่ สะท้อน พร้อมบันทึกผล
3. ปฏิบัติซ�้าข้อ 2. แต่เปลี่ยนเป็นใช้สันไม้บรรทัดแตะผิวน�้าเป็นจังหวะ
เพือ่ ให้เกิดคลืน่ ดล ติดต่อกัน 6-7 ลูก ดังภาพที่ 4.6 (ข) สังเกตลักษณะ (ก)
ของหน้าคลื่นสะท้อน พร้อมบันทึกผล ไม้บรรทัด
4. ยกแผ่นกัน้ คลืน่ ผิวราบออกจากถาดคลืน่ วางแผ่นกัน้ คลืน่ ผิวโค้งลงไป
แทน โดยหันด้านโค้งนูนรับคลืน่ ตกระทบก่อน ปฏิบตั ซิ า�้ ข้อ 2. และ 3.
แล้วบันทึกผลเป็นลักษณะของหน้าคลืน่ สะท้อนของหน้าคลืน่ วงกลม
และหน้าคลื่นตรงเมื่อตกกระทบกับผิวสะท้อนโค้งนูน ตามล�าดับ
(ข)
5. เปลี่ยนเป็นหันด้านโค้งเว้าของแผ่นกั้นคลื่นผิวโค้งรับคลื่นตกกระทบ ภาพที่ 4.6 ภาพประกอบกิ จกรรมการ
แล้วปฏิบัติซ�้า สังเกตผลที่เกิดขึ้นพร้อมบันทึกผล สะท้อนของคลื่นผิวนํ้า
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. การสะท้อนของคลื่นผิวน�้าเป็นการสะท้อนลักษณะปลายตรึงหรือปลายอิสระ เพราะเหตุใด
2. คลื่นตกกระทบหน้าคลื่นตรงเมื่อตกกระทบผิวสะท้อนตรง จะได้คลื่นสะท้อนที่มีหน้าคลื่นลักษณะอย่างไร
3. แหล่งก�าเนิดหน้าคลื่นวงกลมที่จุดโฟกัสของผิวสะท้อนโค้งเว้าให้คลื่นสะท้อนหน้าคลื่นตรงหรือหน้าคลื่น แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
วงกลม
1. เปนลักษณะปลายอิสระ เพราะเฟสหรือทิศของ
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม การกระจัดไมเปลี่ยนแปลง ซึ่งคลื่นสะทอนมีทิศ
จากกิจกรรมจะพบว่า ลักษณะของหน้าคลืน่ สะท้อนจะขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของหน้าคลืน่ ตกกระทบและลักษณะ ของการกระจัดเหมือนกับคลื่นตกกระทบ
ของผิวสะท้อนคลืน่ โดยการสะท้อนของคลืน่ จากผิวสะท้อนตรง ผิวสะท้อนโค้งนูน และผิวสะท้อนโค้งเว้า จะเป็น
พื้นฐานส�าคัญในการศึกษาสมบัติการสะท้อนแสงของกระจกเงาราบ กระจกนูน และกระจกเว้า ซึ่งคลื่นสะท้อน 2. จะได ค ลื่ น สะท อ นที่ มี ห น า คลื่ น เป น เส น ตรง
จะเป็นไปตามกฎการสะท้อนของคลื่น เหมือนกับคลื่นตกกระทบแตมีทิศตรงขามกับ
คลื่นตกกระทบ
คลื่น 125
3. ใหคลื่นสะทอนหนาคลื่นตรงไปรวมกันที่จุดๆ
หนึ่งบนผิวสะทอน

บันทึก กิจกรรม

คลื่นตกกระทบและแผนกั้น ลักษณะของคลื่นสะทอน
คลื่นวงกลมตกกระทบแผนกั้นคลื่นผิวราบ เปนคลื่นวงกลมเหมือนกับคลื่นตกกระทบ แตมีทิศตรงขามกับคลื่น
ตกกระทบ
คลื่นเสนตรงตกกระทบแผนกั้นคลื่นผิวราบ เปนคลืน่ เสนตรงเหมือนกับคลืน่ ตกกระทบ แตมที ศิ ตรงขามกับคลืน่
ตกกระทบ
คลื่นวงกลมตกกระทบแผนกั้นคลื่นผิวโคงดานโคงนูน เปนคลื่นวงกลมเหมือนกับคลื่นตกกระทบ แตมีทิศตรงขามกับคลื่น
ตกกระทบ
คลื่นเสนตรงตกกระทบแผนกั้นคลื่นผิวโคงดานโคงนูน เปนคลืน่ เสนตรงเหมือนกับคลืน่ ตกกระทบ แตมที ศิ ตรงขามกับคลืน่
ตกกระทบ
คลื่นวงกลมตกกระทบแผนกั้นคลื่นผิวโคงดานโคงเวา เปนคลื่นวงกลมเหมือนกับคลื่นตกกระทบ แตมีทิศตรงขามกับคลื่น
ตกกระทบ
คลื่นเสนตรงตกกระทบแผนกั้นคลื่นผิวโคงดานโคงเวา เปนคลื่นเสนตรงเหมือนคลื่นตกระทบ รวมกันที่จุดๆ หนึ่งบนผิว
สะทอน
T139
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง สมบัติของคลื่น ใน 2. การหักเห (refraction)1 การหักเหของคลืน่ เกิดขึน้ เมือ่ คลืน่ เคลือ่ นทีผ่ า นรอยตอระหวาง
หัวขอการหักเหจากหนังสือเรียน ตัวกลาง 2 ชนิด ทีม่ คี วามหนาแนนตางกัน ทิศการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ จะมีการเปลีย่ นแปลง เนือ่ งจาก
2. ครูแนะนําใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ กฎ อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไปจากเดิม เชน คลื่นนํ้าเมื่อเคลื่อนที่ผานบริเวณที่มีความลึกไมเทากัน
ของสเนลล (Snell’s law) จากแหลงขอมูล คลื่นเสียงในอากาศที่เคลื่อนที่ผานบริเวณที่มีอุณหภูมิตางกัน เปนตน
สารสนเทศ เชน อินเทอรเน็ต เพื่อใหไดรับ พิจารณาการหักเหของคลื่นที่เคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางสองตัวกลาง ถาคลื่นเคลื่อนที่
ขอมูลที่หลากหลาย และสรางความเขาใจให ผานตัวกลางที่ 1 ตกกระทบรอยตอระหวางตัวกลางโดยทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบทํามุม
ตนเองไดมากขึ้น θ1 กับเสนแนวฉาก แลวเคลื่อนที่ตอไปในตัวกลางที่ 2 โดยทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นหักเหทํามุม
θ2 กับเสนแนวฉาก ดังภาพที่ 4.7
3. ครู ถ ามคํ า ถามท า ทายการคิ ด ขั้ น สู ง จาก
หนังสือเรียนกับนักเรียนวา “เพราะเหตุใดเมื่อ ทิศการเคลื่อนที่ เสนแนวฉาก
เรามองคลื่นในทะเลที่ระยะไกลๆ เราจะเห็น ของคลื่นตกกระทบ v1
λ1 ตัวกลางที่ 1
คลื่นใหญกวาคลื่นที่เคลื่อนที่เขาใกลฝง” θ1
4. ครูใหนกั เรียนกลับเขากลุม ของตนเองทีค่ รูเคย เสนรอยตอ
คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง
แบงไวแลว เพื่อศึกษากิจกรรมการหักเหของ ทิศการเคลื่อนที่
λ2 θ2 ของคลื่นหักเห เพราะเหตุใดเมือ่ เรามอง
คลื่นผิวนํ้าจากหนังสือเรียน โดยแตละกลุม ตัวกลางที่ 2 คลื่ น ในทะเลที่ ร ะยะไกล ๆ
อาจมีการปรับเปลี่ยนหนาที่ของสมาชิกแตละ v2
เราจะเห็นคลืน่ ใหญกวาคลืน่
คน เพื่อใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดอยางมี ภาพที่ 4.7 การหักเหของคลื่น ที่เคลื่อนที่เขาใกลฝง
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ของสมาชิกภายในกลุม ถาความยาวคลืน่ และอัตราเร็วของคลืน่ ตกกระทบมีคา เปน λ1 และ v1 ขณะทีค่ วามยาวคลืน่
5. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน และอัตราเร็วของคลื่นหักเหมีคาเปน λ2 และ v2 ผลจากการศึกษาพบวา ความสัมพันธระหวางมุม
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง ตกกระทบ มุมหักเห และความยาวคลื่นในตัวกลางทั้งสองเปนตามสมการ
6. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม θ1 คือ มุมตกกระทบ มีหนวยเปน องศา
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน θ2 คือ มุมหักเห มีหนวยเปน องศา
sin θ1 = = vv12
λ1 λ1 คือ ความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 มีหนวยเปน เมตร (m)
sin θ 2 λ2 λ2 คือ ความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 2 มีหนวยเปน เมตร (m)
แนวตอบ H.O.T.S. v1 คือ อัตราเร็วคลื่นในตัวกลางที่ 1 มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
v2 คือ อัตราเร็วคลื่นในตัวกลางที่ 2 มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)
คลื่นที่อยูในทะเลจะอยูใกลแหลงกําเนิดคลื่น
และไดรับการถายโอนพลังงานมากกวาคลื่นที่อยู สามารถสรุปไดวา อัตราสวนระหวางคาไซนของมุมตกกระทบและคาไซนของมุมหักเห
ใกลฝง เมื่อคลื่นในทะเลเคลื่อนที่เขาใกลฝง แรง มีคาคงตัว ซึ่งเรียกวา กฎการหักเหของคลื่น หรือกฎของสเนลล (snell’s law)
เสียดทานระหวางพื้นใตทะเลกับคลื่นนํ้าจะมากขึ้น
126
สงผลใหคลื่นมีการสูญเสียพลังงาน เราจึงมองเห็น
คลื่นที่เขาใกลฝงเล็กกวาคลื่นที่อยูไกลออกไป

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ความหนาแนน (density) เปนการวัดมวลตอหนึ่งหนวยปริมาตร ยิ่งวัตถุ คลื่นนํ้าเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าตื้นไปยังบริเวณนํ้าลึก ดังภาพ
มีความหนาแนนมากขึ้น มวลตอหนวยปริมาตรก็ยิ่งมากขึ้น กลาวไดวา วัตถุที่มี จงหาความยาวคลื่นของคลื่นบริเวณนํ้าลึก
ความหนาแนนสูงจะมีปริมาตรนอยกวาวัตถุความหนาแนนตํ่า โดยที่วัตถุนั้นๆ λ1 = 5 cm
มีมวลเทากัน ความหนาแนนมีหนวยในระบบเอสไอ คือ กิโลกรัมตอลูกบาศก นํ้าตื้น 30 ํ
37 ํ นํ้าลึก
เมตร (kg/m3) ความหนาแนนเฉลี่ยสามารถคํานวณหาไดจากความสัมพันธ λ2
d = mv
sin θ1 λ1
โดยที่ d คือ ความหนาแนนของวัตถุ มีหนวยเปน กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (แนวตอบ จากสมการ sin θ2 = λ2
(kg/m3) sin 30 ํ = 5
m คือ มวลของวัตถุ มีหนวยเปน กิโลกรัม (kg) sin 37 ํ λ2
λ2 = ( 5 )(sin 37 ํ)
v คือ ปริมาตรของวัตถุ มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร (m3) sin 30 ํ
λ2 = (5)(2)( 3 )
5
λ2 = 6 cm
ดังนั้น ความยาวคลื่นของคลื่นบริเวณนํ้าลึกเทากับ 6 เซนติเมตร)
T140
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
¡Ô¨¡ÃÃÁ ¡ÒÃËÑ¡àˢͧ¤Å×è¹¼ÔǹíéÒ 7. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
• การสังเกต ¨Ø´»ÃÐʧ¤ 8. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
• การลงความเห็นจากขอมูล เพื่อศึกษาการหักเหของคลื่นผิวนํ้า จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
จิตวิทยาศาสตร
• ความสนใจใฝรู ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³ เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ
• ความมีเหตุผล
1. ชุดถาดคลื่น 3. แผนกระจกใสรูปสี่เหลี่ยม จากการปฏิบัติกิจกรรม
2. ฉากรับภาพ (กระดาษขาว) 9. ในระหวางที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดิน
ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ สังเกตการณและคอยใหคาํ ปรึกษาเมือ่ นักเรียน
1. จัดชุดถาดคลืน่ และวางแผนกระจกใสรูปสีเ่ หลีย่ มลงในถาดคลืน่ เกิดปญหา หรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับกิจกรรม
ใหผวิ บนของแผนกระจกใสอยูใ ตผวิ นํา้ ประมาณ 1- 2 มิลลิเมตร
อธิบายความรู
เพือ่ ใหบริเวณเหนือกระจกใสเปนบริเวณนํา้ ตืน้ โดยใหขอบแผน
ขนานกับคานกําเนิดคลื่นหนาตรง ดังภาพที่ 4.8 1. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ
2. ทําใหเกิดคลื่นหนาตรงตอเนื่อง เคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกไป กิจกรรม
ยังบริเวณนํา้ ตืน้ เหนือแผนกระจกใส สังเกตและบันทึกแนวหนา 2. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
คลื่นและทิศการเคลื่อนที่บริเวณนํ้าลึกและนํ้าตื้น
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
3. ปฏิบัติซํ้าขอ 2. โดยวางแผนกระจกใสใหขอบของแผนทํามุม
ตาง ๆ กับหนาคลืน่ สังเกตและบันทึกแนวหนาคลืน่ และทิศการ ภาพที่ 4.8 ชุดถาดคลืน่ กิจกรรมการหักเห 3. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ
เคลื่อนที่บริเวณนํ้าลึกและนํ้าตื้น ของคลื่นผิวนํ้า กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
กิจกรรม
¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ
4. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย
1. เมือ่ คลืน่ ผิวนํา้ เคลือ่ นทีผ่ า นรอยตอระหวางบริเวณนํา้ ลึกและบริเวณนํา้ ตืน้ ถาหนาคลืน่ ตกกระทบขนานกับ
รอยตอ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นและความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงอยางไร กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน
2. เมื่อคลื่นผิวนํ้าเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางบริเวณนํ้าลึกและบริเวณนํ้าตื้น ถาดานหนาคลื่นตกกระทบทํา
มุมกับรอยตอ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นและความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงอยางไร
3. เมือ่ คลืน่ ผิวนํา้ เคลือ่ นทีจ่ ากบริเวณนํา้ ลึกเขาสูบ ริเวณนํา้ ตืน้ อัตราเร็วของคลืน่ เปลีย่ นแปลงหรือไม อยางไร
ÍÀÔ»ÃÒ¼ŷŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ
เมื่อคลื่นผิวนํ้าเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกเขาสูบริเวณนํ้าตื้น อัตราเร็วคลื่นและความยาวคลื่นจะลดลง โดย
การลดลงของอัตราเร็วสังเกตไดจากการทีส่ ว นของหนาคลืน่ ในนํา้ ลึกลํา้ หนาสวนของหนาคลืน่ เดียวกันในนํา้ ตืน้ แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
สวนการลดลงของความยาวคลื่น สังเกตไดจากการที่หนาคลื่นในนํ้าตื้นอยูชิดกันมากกวาหนาคลื่นในนํ้าลึก
ถาหนาคลืน่ ตกกระทบมีแนวขนานกับรอยตอระหวางบริเวณนํา้ ลึกและบริเวณนํา้ ตืน้ แมวา ทิศการเคลือ่ นทีข่ อง 1. ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นหักเหไมเปลี่ยน-
คลืน่ ไมเปลีย่ นแปลงแตถอื วาเกิดการหักเหแลว เนือ่ งจากอัตราเร็วคลืน่ เปลีย่ นไป แตถา หนาคลืน่ ตกกระทบทํา แปลงไปจากเดิม แตความยาวคลื่นจะลดลง
มุมใด ๆ กับรอยตอระหวางบริเวณนํ้าลึกและบริเวณนํ้าตื้นทิศการเคลื่อนที่จะเปลี่ยนไป 2. ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นหักเหจะเบนไป
จากแนวเดิม ความยาวคลืน่ จะลดลง และจะเกิด
¤Å×è¹ 127
การสะทอน
3. เปลี่ยนแปลง โดยอัตราเร็วของคลื่นจะลดลง

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

คลื่นขบวนหนึ่งเกิดการหักเหขึ้น โดยคลื่นขบวนนี้มีความถี่ คลืน่ ตกกระทบหนาคลืน่ ตรงเคลือ่ นที่ ลักษณะแนวหนาคลื่นและทิศทาง


20 เฮิรตซ เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที ถาหนาคลื่น จากบริเวณนํ้าลึกไปบริเวณนํ้าตื้น การเคลื่อนที่ของคลื่นหักเห
ตกกระทบทํามุม 30 องศา กับรอยตอของตัวกลาง ทําใหคลืน่ หักเห เมื่อขอบของแผนกระจกใสขนาน คลื่นหักเหจะมีความยาวคลื่นลดลง
มีความยาวคลื่น 0.2 เมตร หนาคลื่นหักเหทํามุมกี่องศากับรอยตอ กับคานกําเนิดคลื่น โดยจะมีทศิ ทางการเคลือ่ นทีไ่ มเปลีย่ น
ของตัวกลาง ไปจากเดิม
(แนวตอบ คํานวณหา λ1 จากสมการ v = f λ1 เมื่อขอบของแผนกระจกใสทํามุม คลื่นหักเหจะมีความยาวคลื่นลดลง
λ1 = v = 10 = 0.5 m กับคานกําเนิดคลื่น โดยจะมีทิศทางการเคลื่อนที่เบนไป
f 20
sin θ1 จากเดิม
จากสมการ sin θ = λ
λ1
sin θ2 = 0.5
2.5
2 2
sin 30 ํ = 0.5 sin θ 2 = 0.2
sin θ2 0.2 -1
θ2 = sin (0.2)
0.5 = 2.5
sin θ2 θ2 = 11.5 ํ

ดังนั้น หนาคลื่นหักเหทํามุม 11.5 องศา กับรอยตอของตัวกลาง)

T141
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง สมบัติของคลื่น ใน 3. การเลีย้ วเบน (diffraction) เมือ่ คลืน่ เคลือ่ นผ่านมุมหรือขอบของสิง่ กีดขวาง ส่วนของ
หัวขอการเลี้ยวเบนจากหนังสือเรียน คลืน่ บริเวณใกล้มมุ ของสิง่ กีดขวาง จะเบนทิศการเคลือ่ นทีอ่ อ้ มผ่านมุมของสิง่ กีดขวางไปปรากฏอยู่
2. ครูใหนกั เรียนกลับเขากลุม ของตนเองทีค่ รูเคย ด้านหลังของสิ่งกีดขวางได้ เรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า การเลี้ยวเบนของคลื่น ดังภาพที่ 4.9
แบงไวแลว เพื่อศึกษากิจกรรมการเลี้ยวเบน
ของคลื่นผิวนํ้าจากหนังสือเรียน โดยแตละ
กลุมอาจมีการปรับเปลี่ยนหนาที่ของสมาชิก
แตละคน เพื่อใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมได
อยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยขึ้นอยูกับ สิ่งกีดขวาง
ดุลยพินิจของสมาชิกภายในกลุม
3. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง (ก) (ข)
4. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ ภาพที่ 4.9 การเลี้ยวเบนของคลื่นผานสิ่งกีดขวาง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน การเลีย้ วเบนผ่านช่องแคบของคลืน่ หน้าคลืน่ จะมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ขนาดความกว้าง
5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล ของช่องแคบเมื่อเทียบกับความยาวคลื่น
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน • ขนาดของช่องแคบกว้างน้อยหรือกว้างเท่า ๆ กับความยาวคลื่น การเลี้ยวเบนจะมาก
โดยช่องแคบจะเป็นเสมือนจุดก�าเนิดคลืน่ ซึง่ แผ่คลืน่ รูปวงกลมออกไป แต่คลืน่ ตกกระทบจะมีหน้า
คลื่นเป็นเส้นตรง ดังภาพที่ 4.10 (ข)
• ขนาดของช่องแคบกว้างกว่าความยาวคลื่นมาก การเลี้ยวเบนจะน้อย โดยคลื่นตก
กระทบที่มีหน้าคลื่นเป็นเส้นตรงจะเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบไป โดยมีหน้าคลื่นเป็นเส้นตรงในช่วง
กว้างเท่ากับความกว้างของช่องแคบ และจะเกิดแนวการรวมกันแบบเสริมและแบบหักล้างคงตัว
ดังภาพที่ 4.10 (ค)

(ก) (ข) (ค)


ภาพที่ 4.10 การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวนํ้าที่เคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวางหรือชองแคบที่มีความกว้างตางกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
128

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


การจัดการเรียนการสอนเกีย่ วกับสมบัตกิ ารเลีย้ วเบนของคลืน่ ครูอาจนําสือ่ การทดลองเพือ่ สังเกตผลของสิง่ กีดขวางเมือ่ คลืน่ เคลือ่ นทีผ่ า น
การเรียนรูท เี่ ปนวิดโี อหรือภาพเคลือ่ นไหวมานําเสนอใหนกั เรียนไดศกึ ษาประกอบ เปนการศึกษาสมบัติของคลื่นตามขอใด
กับการศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน เพื่อเปนการสรางความเขาใจใหนักเรียน 1. การหักเห
อีกทั้งยังเปนการกระตุนความสนใจของนักเรียนใหเกิดความสนใจที่จะศึกษา 2. การสะทอน
เนื้อหาในเรื่องที่ครูกําลังสอนตอไป เชน ครูนําภาพเคลื่อนไหวของการเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบน
ของคลื่นผิวนํ้าเมื่อเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวางที่มีความกวางของชองตางกัน 4. การแทรกสอดแบบเสริม
5. การแทรกสอดแบบหักลาง
(วิเคราะหคําตอบ การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ปะทะ
สิ่งกีดขวางแลวเบนการเคลื่อนที่ออมสิ่งกีดขวางนั้น ดังนั้น ตอบ
ขอ 3.)

T142
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
¡Ô¨¡ÃÃÁ การเลีéยวเบนของคลื่น¼ิวนíéา 6. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จØ´ปรÐʧค เพือ่ นําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจจาก
• การลงความเห็นจากข้อมูล เพื่อศึกษาการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน�้า การปฏิบัติกิจกรรม
จิตวิทยาศาสตร์
• ความสนใจใฝรู้ ÇÑÊ´ØอØปกร³ 7. ในระหวางที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูเดิน
• ความมีเหตุผล
1. ชุดถาดคลื่น สังเกตการณและคอยใหคาํ ปรึกษาเมือ่ นักเรียน
2. แผ่นกั้นคลื่นผิวราบ (แผ่นยาว) 2 แผ่น เกิดปญหา หรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับกิจกรรม
ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ อธิบายความรู
1. จัดชุดถาดคลื่น และวางแผ่นกั้นคลื่นบริเวณกลางถาดคลื่น โดยใช้ โคมไฟ
แผ่นกั้นคลื่นสองแผ่นท�าช่องเปิดในแนวขนานกับคานก�าเนิดคลื่น 1. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ
คานก�าเนิดคลื่น
ให้ช่องเปิดมีความกว้างมากกว่าความยาวคลื่นมาก ดังภาพที่ 4.11 กิจกรรม
2. ท�าให้เกิดคลืน่ หน้าตรงต่อเนือ่ งเคลือ่ นทีเ่ ข้าหาแผ่นกัน้ สังเกตลักษณะ 2. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
ของหน้าคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านช่องเปิด เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
3. ปรับความกว้างของช่องเปิดให้มีความใกล้เคียงความยาวคลื่น แล้ว 3. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ
สังเกตลักษณะของหน้าคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านช่องเปิด แผ่นกั้นคลื่น กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ
4. ปฏิบัติซ�้าโดยปรับความกว้างของช่องเปิดให้มีความกว้างน้อยกว่า
ความยาวคลื่น แล้วสังเกตลักษณะของหน้าคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่าน กิจกรรม
ช่องเปิด 4. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย
5. เปรียบเทียบลักษณะของหน้าคลื่นจากข้อ 3. 4. และ 5. ภาพที่ 4.11 การจัดชุดถาดคลื่นเพื่อ กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน
ศึกษาการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวนํ้า
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. เมื่อใช้แผ่นกั้น 2 แผ่น ท�าเป็นช่องเปิดที่มีความกว้างมากกว่าและใกล้เคียงกับความยาวคลื่นของ
คลื่นผิวน�้า คลื่นที่เคลื่อนผ่านช่องเปิดมีลักษณะอย่างไร
2. ความกว้างของช่องเปิดเมื่อเทียบกับความยาวคลื่นส่งผลอย่างไรต่อการเลี้ยวเบนของคลื่นที่ช่องเปิด แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
1. เมื่อชองเปดมีความกวางนอยกวาและใกลเคียง
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
ความยาวคลื่น คลื่นที่ผานชองเปดจะเปนคลื่น
เมือ่ คลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปพบสิง่ กีดขวางทีม่ ลี กั ษณะเป็นขอบหรือช่อง คลืน่ จะเคลือ่ นทีอ่ อ้ มผ่านสิง่ กีดขวางไปได้ วงกลม และเมื่อชองเปดมีความกวางมากกวา
โดยส่วนของคลื่นบริเวณใกล้ขอบของสิ่งกีดขวางจะเบนทิศทางการเคลื่อนที่อ้อมผ่านสิ่งกีดขวางไปปรากฏ
ด้านหลังของสิง่ กีดขวาง ซึง่ แสดงถึงสมบัตกิ ารเลีย้ วเบนของคลืน่ กล่าวได้วา่ คลืน่ จะเลีย้ วเบนได้ดเี มือ่ ช่องเปิด ความยาวคลื่น คลื่นที่ผานชองเปดจะเปนคลื่น
มีความกว้างใกล้เคียงกับความยาวคลื่น หรือกว้างมากกว่าความยาวคลื่นไม่มากนัก ส�าหรับช่องเปิดที่มี เสนตรง โดยมีชวงกวางเทากับความกวางของ
ความกว้างน้อยกว่าความยาวคลื่นมาก ๆ คลื่นที่เลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดจะมีหน้าคลื่นเป็นวงกลม ชองแคบ
2. ยิง่ ความกวางของชองเปดมากการเลีย้ วเบนของ
คลื่น 129
คลื่นจะเกิดไดนอย และยิ่งความกวางของชอง
เปดนอยการเลี้ยวเบนของคลื่นจะเกิดไดมาก

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

ถาใหคลืน่ นํา้ เคลือ่ นทีผ่ า นชองเปดทีม่ คี วามกวาง 2.2 เซนติเมตร เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานขอบแผนกั้น การเลี้ยวเบนของคลื่นจะเกิดขึ้น โดย
คลืน่ นํา้ ทีม่ คี วามยาวคลืน่ เทาใดจึงจะแสดงการเลีย้ วเบนไดเดนชัด สวนที่คลื่นสามารถออมขอบของแผนกั้นไปทางดานหลังของแผนกั้นได และ
ที่สุด เมื่อทําใหระยะหางระหวางแผนกั้นคลื่นมีความกวางนอยๆ แลวคอยๆ กวาง
1. 0.5 เซนติเมตร มากขึ้น การเลี้ยวเบนของคลื่นจะแตกตางกัน ถาระยะหางระหวางแผนกั้นคลื่น
2. 1.0 เซนติเมตร มีความกวางนอยกวาความยาวคลื่น คลื่นที่เลี้ยวเบนออกมาจะเปนคลื่นวงกลม
3. 1.5 เซนติเมตร
4. 2.0 เซนติเมตร
5. 2.5 เซนติเมตร
(วิเคราะหคาํ ตอบ การเลีย้ วเบนเดนชัดเมือ่ ความยาวคลืน่ มากกวา
ความกวางของชองเปด เนื่องจากชองเปดกวาง 2.2 เซนติเมตร
คลืน่ ทีม่ คี วามยาวคลืน่ มากกวา 2.2 เซนติเมตร จะแสดงการเลีย้ วเบน
ไดเดนชัดที่สุด ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T143
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนความรูว า สมบัติ 4. การแทรกสอด (interference) เป็นปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึ้นเมือ่ คลื่นสองขบวนเคลือ่ นที่
ของคลื่นกลมีกี่ประการ ประกอบดวยอะไร มาพบกันบนตัวกลางเดียวกัน ซึ่งจะเกิดการรวมกันหรือการแทรกสอดของคลื่นได้ 2 แบบ คือ
บาง” การแทรกสอดแบบเสริม (constructive interference) และการแทรกสอดแบบหักล้าง (destructive
(แนวตอบ 4 ประการ ไดแก การสะทอน การ interference)
หักเห การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด) การáทรกสอดáบบเสริม การáทรกสอดáบบËักล้าง
2. ครูถามคําถามกับนักเรียนตอวา “สมบัติใดที่ เกิดขึ้นเมื่อการกระจัดของคลื่นทั้ง1สอง ณ ต�าแหน่งที่ เกิดขึ้นเมื่อการกระจัดของคลื่นทั้งสอง ณ ต�าแหน่งที่
เรายังไมไดศึกษาบาง” เพื่อนําเขาสูเนื้อหาที่ ซ้อนทับกันมีทิศทางเดียวกัน (เฟสตรงกัน) โดยการ ซ้อนทับกันมีทิศทางตรงกันข้าม (เฟสตรงข้ามกัน)
กําลังจะศึกษา แทรกสอดแบบเสริมกันเกิดขึ้นเมื่อสันคลื่นซ้อนทับ โดยการแทรกสอดแบบหักล้างกันเกิดขึน้ เมือ่ สันคลืน่
3. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง สมบัติของคลื่น ใน กับสันคลืน่ หรือท้องคลืน่ ซ้อนทับกับท้องคลืน่ ผลจาก ซ้อนทับกับท้องคลื่น ผลจากการแทรกสอดแบบหัก
การแทรกสอดแบบเสริมกันท�าให้ได้คลื่นลัพธ์ที่มี ล้างกันท�าให้ได้คลื่นลัพธ์ที่มีสันคลื่นต�่ากว่าสันคลื่น
หัวขอการแทรกสอดจากหนังสือเรียน ขนาดหรือแอมพลิจูดเพิ่มขึ้น เดิม (ขนาดของแอมพลิจูดลดลง)
4. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ
สมบัติการแทรกสอดของคลื่นที่กําลังศึกษา
เพือ่ กระตุน ความสนใจและเพิม่ ความเขาใจให 1. 1.
มากขึ้น
5. ครูใหนักเรียนแยกเขากลุมของตนเองที่ครูเคย
แบงไวแลวในการทํากิจกรรม 2. 2.
6. ครูแจกกระดาษฟลิปชารตใหนักเรียนกลุมละ
1 แผน
3.
7. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปขอมูลที่ไดจากการ 3.
ศึกษา เรือ่ ง สมบัตขิ องคลืน่ ลงในกระดาษฟลิป-
ชารต เพื่อนําเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน 4.
พรอมตกแตงใหสวยงาม โดยครูแนะนําให 4.
นักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต
แลวรวมกันอภิปรายผลการศึกษาจนไดเปน 5.
แนวทางที่เขาใจตรงกันทั้งกลุม 5.

(ก) การแทรกสอดแบบเสริม (ข) การแทรกสอดแบบหักล้าง


ภาพที่ 4.12 การแทรกสอดของคลื่นในเส้นเชือก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

130

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 เฟส (phases) เปนการบอกตําแหนงของวัตถุหรืออนุภาคที่มีการเคลื่อนที่ การแทรกสอดแบบเสริมจะเกิดขึ้นเมื่อใด
เปนรอบเมื่อเทียบเปนรัศมีวงกลมที่กวาดไป มีหนวยเปน องศาหรือเรเดียน 1. ความเร็วและความถี่เทากัน
(radian) แบงออกเปน 2 ประเภท 2. ความถี่และแอมพลิจูดเทากัน
1. เฟสตรงกัน คือ ตําแหนง 2 ตําแหนงบนคลื่นที่มีการกระจัด ความเร็ว 3. ความยาวคลื่นและความถี่เทากัน
และความเรงที่มีทั้งขนาดและทิศทางเทากัน โดย 2 ตําแหนงนั้นจะ 4. สันคลื่นลูกที่ 1 อยูตรงกับสันคลื่นลูกที่ 2
ตางกันเปนจํานวนเต็มรอบ 5. สันคลื่นลูกที่ 1 อยูตรงกับทองคลื่นลูกที่ 2
2. เฟสตรงขาม คือ ตําแหนง 2 ตําแหนงบนคลื่นที่มีการกระจัด ความเร็ว (วิเคราะหคําตอบ เมื่อคลื่น 2 ลูก เคลื่อนที่มาพบกันและเกิดการ
และความเรงที่เทากันเฉพาะขนาด แตมีทิศทางตรงขามกัน โดย 2 รวมกันหรือแทรกสอดแบบเสริมกัน สงผลใหแอมพลิจูดสูงขึ้น
ตําแหนงนั้นจะตางกันครึ่งรอบ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T144
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
หากเป็นการแทรกสอดของคลื่นต่อเนื่องสองขบวนที่มีอัตราเร็ว ความถี่ และแอมพลิจูด 8. ครูสมุ นักเรียนใหออกมาหนาชัน้ เรียน เพือ่ ให
เท่ากัน แต่มีเฟสต่างกัน 180 องศา เช่น คลื่นตกกระทบกับคลื่นสะท้อนในเส้นเชือก คลื่นวงกลม นักเรียนนําเสนอผลการศึกษา
สองขบวนในถาดคลื่น จะเกิดรูปแบบการแทรกสอดคงตัวแบบหนึ่ง เรียกว่า คลื่นนิ่ง (standing 9. ครูใหแตละกลุม เตรียมตัวและแบงหนาทีข่ อง
wave) โดยภาพที่ 4.13 เป็นคลื่นนิ่งในเส้นเชือก และภาพที่ 4.14 เป็นคลื่นนิ่งของคลื่นผิวน�้า สมาชิกภายในกลุม เพื่อศึกษากิจกรรมการ
แทรกสอดของคลื่นผิวนํ้าจากหนังสือเรียน
จุดตรึง บัพ เครื่องสั่น 10. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
11. ครูใหความรูเ พิม่ เติมหรือเทคนิคเกีย่ วกับการ
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
ปฏิบัพ ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
ภาพที่ 4.13 คลื่นนิ่งในเส้นเชือก 12. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
ที่มา : https://www.grasshopper3d.com การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
13. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ
ปฏิบัพที่ยอดคลื่น จากการปฏิบัติกิจกรรม
บัพ
14. ในระหว า งที่ นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรม ครู
ปฏิบัพที่ท้องคลื่น เดินสังเกตการณและคอยใหคําปรึกษาเมื่อ
นักเรียนเกิดปญหา หรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับ
ภาพที่ 4.14 คลื่นนิ่งของคลื่นผิวน�้า กิจกรรม
ที่มา : คลังภาพ อจท. 15. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบรอย
คลื่นนิ่งของคลื่นในเส้นเชือกมีลักษณะเป็นวง (loop) บางต�าแหน่งบนเส้นเชือกที่อยู่นิ่ง ครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ศึ ก ษา
ตลอดเวลา เรียกว่า บัพ (node) และบางต�าแหน่งบนเส้นเชือกมีการกระจัดสูงสุด เรียกว่า ปฏิบัพ เรื่อง ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพองตาม
(antinode) โดยต�าแหน่งที่เป็นบัพและปฏิบัพเกิดสลับกันและอยู่ห่างกันเท่ากับ 1 ใน 4 ของ ธรรมชาติจากหนังสือเรียน จากนัน้ แตละกลุม
ความยาวคลื่น ส่วนระยะห่างระหว่างบัพและบัพที่อยู่ถัดกันมีค่าเท่ากับ 1 ใน 2 หรือครึ่งหนึ่งของ ร ว มกั น สนทนาและอภิ ป รายผลการศึ ก ษา
ความยาวคลืน่ ส่วนคลืน่ นิง่ ของคลืน่ ผิวน�า้ จะประกอบด้วยแนวบัพและแนวปฏิบพั สลับกัน โดยแนว เปนความคิดเห็นของกลุม
บัพเป็นแนวที่สันคลื่นพบกับท้องคลื่น (รวมกันแล้วแอมพลิจูดของคลื่นลัพธ์เป็นศูนย์) ส่วนแนว
ปฏิบพั เป็นแนวทีส่ นั คลืน่ พบกับสันคลืน่ หรือท้องคลืน่ พบกับท้องคลืน่ (รวมกันแล้วแอมพลิจดู ของ
คลื่นลัพธ์มีค่าสูงสุด)
คลื่น 131

ขอสอบเนน การคิด
จากภาพ เปนการแทรกสอดของคลื่นผิวนํ้าที่เกิดจากแหลงกําเนิดอาพันธ S1 และ S2 โดยมี P เปนจุดใดๆ บนแนวเสันบัพ
ระยะ S1P เทากับ 15 เซนติเมตร ระยะ S2P เทากับ 5 เซนติเมตร ถาอัตราเร็วของคลื่นทั้งสองเทากับ 60 เซนติเมตรตอวินาที
แหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ
ปฏิบัพ (วิเคราะหคําตอบ จากภาพ พบวาจุด P อยูบนเสนบัพ (node) ที่ 2
บัพ
จากสมการตําแหนงบัพ S1P - S2P  = (n - 12 ) λ
15 - 5  = (2 - 1 ) λ
2
P 10 = 32 λ
S1 S2 λ = 20 cm
3
จากสมการ v = fλ f = (60)(3)
20
1. 6 เฮิรตซ 2. 7 เฮิรตซ
λ = v f = 180
3. 8 เฮิรตซ 4. 9 เฮิรตซ f 20
5. 10 เฮิรตซ 20 = 60 f = 9 Hz
3 f
จะไดวา แหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่ 9 เฮิรตซ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T145
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูสุมนักเรียนใหออกมาหนาชั้นเรียน เพื่อ ¡Ô¨¡ÃÃÁ ¡ÒÃá·Ã¡ÊÍ´¢Í§¤Å×è¹¼ÔǹíéÒ
อภิปรายผลการศึกษา เรื่อง ความถี่ธรรมชาติ
และการสั่นพองตามธรรมชาติ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
• การสังเกต ¨Ø´»ÃÐʧ¤
2. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ • การลงความเห็นจากขอมูล เพื่อศึกษาและอธิบายสมบัติการแทรกสอดของคลื่นผิวนํ้า
จิตวิทยาศาสตร
กิจกรรม • ความสนใจใฝรู ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³
• ความมีเหตุผล
3. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน 1. ชุดถาดคลื่น
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม 2. ฉากรับภาพ (กระดาษขาว)
4. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ
กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ 1. จัดชุดถาดคลื่นโดยเสียบปุมกลม 2 อัน ใหหางจากชองเสียบกลาง
1 ชอง ปรับระดับของคานกําเนิดคลื่นใหปุมกลมทั้งสองแตะผิวนํ้า โคมไฟ
กิจกรรม พอดี หนาคลื่น
5. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลท า ย 2. ทําใหเกิดคลื่นวงกลมตอเนื่องสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการ
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน แผออกไปแทรกสอดกันและเกิดลวดลายของการแทรกสอดขึ้น
บนฉากรับภาพใตถาดคลื่น ดังภาพที่ 4.15 ปรับอัตราการหมุนของ
ขยายความเขาใจ มอเตอรใหเห็นลวดลายการแทรกสอดที่ชัดเจน สังเกตและบันทึก
1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หาโดยเปด PowerPoint ภาพบนฉากรับภาพทั้งแนวแถบมืดและแนวแถบสวาง
เรื่องที่สอนควบคูไปดวย 3. ปรับอัตราการหมุนของมอเตอรใหเร็วขึ้นและชาลง สังเกตการ
เปลี่ยนแปลงของลวดลายการแทรกสอด ภาพที่ 4.15 ชุดถาดคลื่นกิจกรรม
2. ครูใหนกั เรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง คลืน่ กล การแทรกสอดของคลื่นผิวนํ้า
4. เปลี่ยนชองเสียบปุมกลมทั้งสองใหหางจากชองเสียบกลาง 2 ชอง
ลงในกระดาษ A4 ทดลองซํ้า เปรียบเทียบลวดลาย
ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ของตนเองหนาชั้นเรียน ¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ
4. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด 1. เพราะเหตุใดปุมกลมทั้งสองจึงจัดเปนแหลงกําเนิดคลื่นอาพันธที่ใหคลื่นที่มีเฟสเริ่มตนตรงกัน
เรื่อง คลื่นกล จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตร 2. แนวกึ่งกลางระหวางปุมกลมทั้งสองเปนแนวเสนบัพหรือแนวเสนปฏิบัพ เพราะเหตุใด
3. ผิวนํ้าบนเสนปฏิบัพและเสนบัพแตละเสน มีลักษณะอยางไร
กายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5
ÍÀÔ»ÃÒ¼ŷŒÒ¡Ԩ¡ÃÃÁ
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม การแทรกสอดของคลื่นผิวนํ้าจากแหลงกําเนิดอาพันธจะเกิดการแทรกสอดคงตัวแบบหนึ่ง ซึ่งประกอบ
1. เพราะปุมกลมทั้งสองสั่นดวยความถี่เทากัน ดวยแนวปฏิบัพสลับกับแนวบัพ โดยแนวกึ่งกลางของแหลงกําเนิดอาพันธจะเปนแนวปฏิบัพ ถาคลื่น
2. แนวเส น ปฏิ บั พ เพราะเป น แนวกึ่ ง กลางของ สองขบวนจากแหลงกําเนิดอาพันธมีเฟสเริ่มตนตรงกัน พบวา บนเสนปฏิบัพแตละเสนจะประกอบดวย
จุดที่สันคลื่นพบกัน สลับกับจุดที่ทองคลื่นพบกัน ผิวนํ้าตรงจุดที่สันคลื่นพบกันจะนูนขึ้นมากที่สุด สวนผิวนํ้า
แหลงกําเนิดอาพันธ ตรงจุดที่ทองคลื่นพบกันจะเวาลงไปมากที่สุด บนเสนบัพแตละเสนประกอบดวยจุดที่สันคลื่นพบกับทองคลื่น
3. ผิวนํา้ บนเสนปฏิบพั จะเปนจุดทีส่ นั คลืน่ มาพบกัน ผิวนํ้าบนแนวเสนบัพแตละเสนจึงราบเรียบ
จึ ง ทํ า ให นู น ขึ้ น มากที่ สุ ด และยั ง เป น จุ ด ที่
132
ทองคลื่นมาพบกันจึงทําใหเวาลงไปมากที่สุด
สวนผิวนํ้าบนเสนปฏิบัพจะราบเรียบ

บันทึก กิจกรรม
ขอสอบเนน การคิด
ตัวอยาง ลวดลายการแทรกสอดที่ปรากฏบนฉากรับภาพ แหลงกําเนิดคลื่นอาพันธ 2 แหลง อยูหางกัน 12 เซนติเมตร
จุดกึ่งกลางระหวางแหลงกําเนิดทั้งสองจะเปนอยางไร
1. ตําแหนงบัพเสมอ
2. ตําแหนงปฏิบัพเสมอ
3. ตําแหนงบัพหรือปฏิบัพขึ้นอยูกับความถี่คลื่น
4. ตําแหนงบัพหรือปฏิบัพขึ้นอยูกับความเร็วคลื่น
5. ตําแหนงบัพหรือปฏิบัพขึ้นอยูกับความยาวคลื่น
(วิเคราะหคาํ ตอบ แหลงกําเนิดอาพันธในกรณีทมี่ เี ฟสของคลืน่ ตรง
กัน จุดกึ่งกลางระหวางแหลงกําเนิดทั้งสองจะเปนตําแหนงปฏิบัพ
หรือแนวเสริมกลางเสมอ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T146
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
1.4 ความ¶ี่¸รรมชาติáละการสั่นพ้องตาม¸รรมชาติ นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
1. ความถี่ธรรมชาติ (natural frequency) เป็นความถี่ในการแกว่งหรือสั่นอย่างอิสระ คลืน่ กล องคประกอบของคลืน่ กล และสมบัตขิ อง
ของวัตถุในระบบหนึ่ง ซึ่งมีค่าเฉพาะค่าหนึ่ง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะทางโครงสร้างของวัตถุหรือ คลืน่ กล โดยครูใหนกั เรียนเขียนสรุปความรูท งั้ หมด
ระบบนั้น ลงในสมุดบันทึกประจําตัว
เมื่อพิจารณาลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกและวัตถุท่ียึดอยู่ที่ปลายสปริง จะได้ว่า ลูกตุ้มที่ผูก
ติดกับเชือกที่ยาวต่างกัน จะมีความถี่ธรรมชาติในการแกว่งต่างกัน มีค่าตามสมการ f = 21π Lg ขัน้ ประเมิน
และวัตถุที่ยึดติดกับปลายสปริงที่มีความแข็งหรือค่าคงตัวของสปริงต่างกัน จะมีความถี่ธรรมชาติ ตรวจสอบผล
ในการสั่นต่างกัน มีค่าตามสมการ f = 21π mk 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจก อ นเรี ย นของ
นักเรียน
θ L 2. ครู ต รวจสอบผลการทํ า แบบทดสอบความ
m m เขาใจกอนเรียนจาก Understanding Check
ในสมุดบันทึกประจําตัว
3. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรื่อง องค-
ภาพที่ 4.16 ลูกตุ้มผูกติดกับเชือก ภาพที่ 4.17 วัตถุที่ยึดอยูที่ปลายสปริง
ประกอบของคลื่นกล
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. 4. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง คลื่นกล จาก
แบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส)
2. การสัน่ พ้อง (resonance) เป็นการแกว่งหรือสัน่ ของวัตถุหรือระบบ เมือ่ กระตุน้ ให้แกว่ง ม.5
หรือสัน่ ด้วยความถีเ่ ท่ากับความถีธ่ รรมชาติของวัตถุหรือระบบนัน้ ซึง่ ส่งผลให้วตั ถุสนั่ ด้วยแอมพลิจดู 5. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
ที่เพิ่มมากขึ้น เกิดขึ้นได้ 2 แบบ ได้แก่ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
• การสัน่ พ้องด้วยแรง เป็นการสัน่ พ้องทีเ่ กิดขึน้ โดยการออกแรงกระท�าต่อวัตถุหรือระบบ และการทํางานกลุม
เป็นจังหวะที่มีความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ เช่น การแกว่งชิงช้า คนแกว่งชิงช้าต้อง 6. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
ออกแรงผลักให้ตรงกับจังหวะการแกว่งตามธรรมชาติของชิงช้า ขณะที่ชิงช้าแกว่งกลับมาถึง เนือ้ หา เรือ่ ง คลืน่ กล ทีน่ กั เรียนไดสรางขึน้ จาก
ต�าแหน่งสูงสุดใกล้ ๆ กับคนแกว่งชิงช้าจะแกว่งต่อไปโดยมีแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขั้นขยายความเขาใจเปนรายบุคคล
• การสัน่ พ้องด้วยคลืน่ เป็นการสัน่ พ้องทีเ่ กิดขึน้ โดยการส่งคลืน่ ทีม่ คี วามถีเ่ ท่ากับความถี่
ธรรมชาติของวัตถุหรือระบบไปกระทบกับวัตถุหรือระบบ เช่น กระจกหน้าต่างหรือกระจกรถยนต์
ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณทีม่ เี สียงดังมาก จะมีการสัน่ เป็นเพราะเสียงทีส่ ง่ มาจากแหล่งก�าเนิดมีความถีใ่ กล้เคียง
กับความถี่ธรรมชาติของกระจก หากเสียงจากแหล่งก�าเนิดมีความถี่พอดีกับความถี่ธรรมชาติของ
กระจก จะท�าให้กระจกสั่นแรงขึ้นจนกระทั่งแตกร้าวได้
คลื่น 133

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง คลื่นกล ไดจาก
2. แตละกลุมรวมกันพูดคุยเกี่ยวกับ เรื่อง ความถี่ธรรมชาติและ ผังมโนทัศนทนี่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑการวัด
การสัน่ พองตามธรรมชาติ จากนัน้ สมาชิกแตละคนรวมกันสืบคน และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทาย
ขอมูลเพิ่มเติม แลวอภิปรายผลรวมกันภายในกลุม แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 คลื่น
3. ครูแจกกระดาษขนาด A3 ใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน โดยแตละ
กลุมรวมกันจัดทําโปสเตอรสรุปผลการศึกษา ซึ่งรูปแบบการ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1, 3-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน

นําเสนอขึ้นอยูกับดุลยพินิจของแตละกลุม
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน

4. แตละกลุมนําผลงานของตนเองออกมาแปะติดไวบนกระดาน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่

หนาชั้นเรียน จากนั้นครูสุมตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอ
4 ความเป็นระเบียบ ระบบ
รวม 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ผลงานของกลุมตนเอง ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T147
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเสียงที่นักเรียน 1.5 เสียง
ไดยินจากสถานการณในชีวิตประจําวัน เสียงเป็นคลื่นกลจึงต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถ่ายโอนพลังงาน เสียงเกิดจาก
2. ครูสนทนากับนักเรียนตอเกีย่ วกับการเกิดคลืน่ การสั่นของแหล่งก�าเนิดเสียง โดยพลังงานการสั่นสะเทือนจากแหล่งก�าเนิดเสียงจะถ่ายโอนผ่าน
และสมบัตติ า งๆ พรอมถามคําถามกับนักเรียน ตัวกลาง ท�าให้อนุภาคตัวกลางสั่นไปมา ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความดันในตัวกลางที่
เชน คลื่นเสียงเคลื่อนผ่าน และผลจากการเปลี่ยนแปลงความดันท�าให้เกิดคลื่นอัดและคลื่นขยายแผ่ไป
• นั ก เรี ย นทราบหรื อ ไม ว  า เสี ย งที่ เ ราได ยิ น ในตัวกลาง โดยเกิดเป็นส่วนอัดและส่วนขยายขึ้นในตัวกลางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่าน
ทุกวันนี้ เกิดขึ้นไดอยางไร
อัด อัด อัด อัด อัด อัด
(แนวตอบ เกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิด
เสียง)
• นักเรียนวา เสียงจัดเปนคลืน่ หรือไม นักเรียน
จะพิสูจนไดอยางไร
ขยาย ขยาย ขยาย ขยาย ขยาย ขยาย
( แนวตอบ เสี ย งจั ด เป น คลื่ น กลชนิ ด หนึ่ ง
เนื่ อ งจากมี ส มบั ติ ก ารสะท อ น การหั ก เห ภาพที่ 4.18 สวนอัดและสวนขยายในตัวกลางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผาน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด เหมือน
คลื่นกลทุกประการ) ส่วนอัดและส่วนขยายทีเ่ กิดขึน้ ในตัวกลางขณะทีค่ ลืน่ เสียงเคลือ่ นผ่าน มีลกั ษณะเช่นเดียวกับ
3. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวาจะไดศกึ ษาเกีย่ วกับ ส่วนอัดและส่วนขยายทีเ่ กิดขึน้ ในขดลวดสปริงขณะทีค่ ลืน่ ตามยาวเคลือ่ นผ่าน ระยะจากส่วนอัดหนึง่
เสียง ถึงส่วนอัดที่อยู่ถัดไป เรียกว่า ความยาวคลื่น (λ) ของคลื่นเสียง ส่วนความถี่ของคลื่นเสียงจะมีค่า
เท่ากับความถี่ในการสั1 ่นของแหล่งก�าเนิดเสียง ย่านความถี่ของคลื่นเสียงอยู่ในช่วงประมาณ 0.1
เฮิรตซ์ ถึง 600 เมกะเฮิรตซ์ (0.1 Hz-600 MHz) โดยแบ่งตามช่วงความถี่ได้ ดังนี้
• คลื่นเสียงความถี่ต�่า (infrasonic waves) หรือคลื่นใต้เสียง (infrasound) เป็นคลื่นเสียงที่มี
ความถี่ต�่ากว่า 20 เฮิรตซ์ ได้แก่ คลื่นที่เกิดจากกระแสลม คลื่นแผ่นดินไหว สัตว์บางประเภทรับรู้
และใช้ประโยชน์จากคลื่นใต้เสียงได้ เช่น ช้างใช้คลื่นเสียงความถี่ต�่าในการสื่อสารระยะทางไกล ๆ
เป็นต้น
• คลื่นเสียงที่ได้ยิน (audible wave) เป็นคลื่นเสียงที่ประสาทหูของมนุษย์ปกติรับรู้ได้
มีความถี่โดยประมาณ 20-20,000 เฮิรตซ์ เช่น เสียงพูดคุยของมนุษย์ เสียงจากล�าโพง
เสียงจากเครื่องดนตรี เป็นต้น
• คลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonic waves) หรือคลื่นเหนือเสียง (ultrasound) เป็นคลื่นเสียง
ทีม่ คี วามถีส่ งู กว่า 20,000 เฮิรตซ์ ได้แก่ คลืน่ เสียงทีเ่ กิดจากการสัน่ ของผลึกควอตซ์ (quartz crystal)
คลื่นเสียงที่เกิดจากอวัยวะผลิตเสียงของสัตว์บางชนิด เช่น ค้างคาว โลมา เป็นต้น
134

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 เมกะ (Mega) เปนคํานําหนาหนวยที่ใชในระบบเมตริกที่เรียกกันวา ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ จากนั้นครู
คําอุปสรรค (prefix) แสดงถึงคาหนึ่งลาน (106 หรือ 1,000,000) คําดังกลาวเริ่ม มอบหมายใหนกั เรียนรวมกันศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับคลืน่ เสียงแตละ
ใชอยางเปนทางการในระบบเอสไอตั้งแตป พ.ศ. 2503 คําวา เมกะ มีรากศัพท กลุมตามชวงความถี่ (เชน คลื่นเสียงความถี่ตํ่า คลื่นเสียงที่ไดยิน
มาจากภาษากรีกวา เมกัส (megas) ซึ่งแปลวา ใหญ ยิ่งใหญ ตัวอยางการใช คลื่นเสียงความถี่สูง) จากอินเทอรเน็ต แลวรวมกันสรุปความรูที่
เมกะ นําหนาหนวย เชน ไดลงในกระดาษ A4 แบบมีเสน โดยเขียนดวยลายมือของทั้งคู
• 1 เมกะเฮิรตซ (MHz) เทากับ 1,000,000 เฮิรตซ (Hz) พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวรวบรวมสงครู
• 1 เมกะพิกเซล (MP) เทากับ 1,000,000 พิกเซล (P)
• 1 เมกะเมตร (Mm) เทากับ 1,000,000 เมตร (m)

T148
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. สมบัติของคลื่นเสียง เสียงในอากาศเป็นเสียงที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวันมากที่สุด 1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง เสียง จากหนังสือ
โดยเสียงในอากาศจะเป็นคลื่นตามยาว จึงมีสมบัติของคลื่นตามยาวครบทั้ง 4 ประการ เช่นเดียว เรียน
กับคลื่นตามขวาง คือ การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด 2. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ คลื่นเสียง ที่
1) การสะท้อนของเสียง เกิดขึ้นเมื่อเสียงตกกระทบสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกล้เคียงหรือ แบงตามชวงความถี่ ไดแก คลืน่ เสียงความถีต่ าํ่
ขนาดใหญ่กว่าความยาวคลื่นของเสียง หรือเมื่อคลื่นเสียงตกกระทบรอยต่อของตัวกลาง 2 ชนิด คลืน่ เสียงทีไ่ ดยนิ และคลืน่ เสียงความถีส่ งู โดย
ที่อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางทั้งสองต่างกันมาก หรือตัวกลางชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน ครูอาจนําสือ่ จากแหลงขอมูลสารสนเทศมาให
การสะท้อนของเสียงเป็นไปตามกฎการสะท้อนของคลืน่ คือ มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน โดยที่ นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกเหนือจากหนังสือ
เสียงตกกระทบกับเสียงสะท้อนอยู่ในตัวกลางเดียวกันจึงมีอัตราเร็วเท่ากัน โดยปรากฏการณ์ที่เกิด เรียน
จากการสะท้อนของเสียง ได้แก่ เสียงก้อง เสียงสะท้อน และการจางหายของเสียง 3. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้
ร ว มกั น ศึ ก ษาสมบั ติ ข องคลื่ น เสี ย งในหั ว ข อ
สมบัติการสะท้อน
คลื่นเสียง
การสะทอนของเสียงจากหนังสือเรียน
คลื่ น เสี ย งตกกระทบผิ ว
รอยต่ อ ระหว่ า งตั ว กลาง 4. ครูสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้น
คลื่นสะท้อน
หรือตัวกลางชนิดเดียวกัน ใหยืนหันหนาเขาหาผนังหองเรียน พูดคําวา
แต่อุณหภูมิต่างกัน “ฮัลโหล” แลวสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น

ภาพที่ 4.19 การสะท้อนของเสียง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ธรรมชาติอย่างหนึ่งของหูมนุษย์ คือ ความสามารถในการแยกเสียงว่าเกิดก่อนหรือ
หลังได้เมื่อเสียงสองเสียงนั้นมาถึงหูห่างกันไม่น้อยกว่า 0.1 วินาที เนื่องจากเสียงจะติดหูอยู่นาน
0.1 วินาที ก่อนจะจางหายไป ถ้าเสียงสะท้อนมาถึงหูห่างกันมากกว่า 0.1 วินาที หูจะแยกเสียง
ที่ได้ยินเป็นค�า ๆ ได้ เสียงที่ได้ยินจะเป็นลักษณะของการได้ยินซ�้าค�าเดิม ซึ่งเรียกว่า เสียงสะท้อน
(echo) แต่ถา้ เสียงสะท้อนมาถึงหูหา่ งกันน้อยกว่า 0.1 วินาที หูไม่อาจแยกเสียงทีไ่ ด้ยนิ เป็นค�า ๆ ได้
ท�าให้รสู้ กึ ว่าได้ยนิ เสียงนัน้ นานกว่าปกติ ซึง่ เรียกว่า เสียงก้อง (reverberation) เมือ่ ท�าให้เกิดเสียงดัง
ขึ้นในห้องแล้วหยุด เสียงจะค่อย ๆ ดังขึ้น แล้วค่อย ๆ เบาลงจนกระทั่งไม่ได้ยิน ระยะเวลาตั้งแต่
หยุดท�าให้เกิดเสียงจนกระทั่งไม่ได้ยินเสียง เรียกว่า เวลาจางหายของเสียง ห้องที่มีเวลาจางหาย
ของเสียงยาวนานเกินไป อาจเป็นเพราะภายในห้องมีสงิ่ สะท้อนเสียงทีม่ ลี กั ษณะแข็ง เรียบ การลด
เวลาจางหายของเสียงในห้องจึงอาจท�าได้โดยการปิดผนังห้อง พืน้ ห้อง หรือเพดาน ด้วยวัสดุทมี่ เี นือ้
เป็นรูพรุน การปูพรม ติดผ้าม่าน เป็นต้น
คลื่น 135

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


วัสดุทใี่ ชในการบุผนังโรงภาพยนตรมผี ลในการลดปรากฏการณ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เสียงคืออะไร?
ใดของเสียง https://www.twig-aksorn.com/film/what-is-sound-8229/
1. การหักเห
2. การเกิดบีต
3. การสะทอน
4. การสั่นพอง
5. ปรากฏการณดอปเพลอร
(วิเคราะหคําตอบ โรงภาพยนตรเปนหองโลงจึงเกิดเสียงสะทอน
ซึ่งเสียงสะทอนนี้จะกอใหเกิดปญหาในการรับชมภาพยนตร จึงมี
การบุผนังและเกาอี้ของโรงภาพยนตรดวยวัสดุดูดซับเสียง เพื่อ
ลดการสะทอนของเสียง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T149
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
5. ครูใหนกั เรียนศึกษาเกีย่ วกับสมบัตขิ องเสียงตอ 2) การหักเหของเสียง เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเสียงตกกระทบรอยต่อของตัวกลาง 2 ชนิด หรือ
ในหัวขอการหักเหของเสียง การเลี้ยวเบนของ เคลื่อนที่ผ่าน 2 บริเวณ ของตัวกลางชนิดเดียวกันที่มีอุณหภูมิต่างกัน โดยที่อัตราเร็วของเสียง
เสียง และการแทรกสอดของเสียง ในตัวกลางทั้งสองต่างกันไม่มากนัก เช่น การรับฟังเสียงตอนกลางคืนจะได้ยินเสียงดีกว่าตอน
6. ครูใหนกั เรียนแตละคูร ว มกันเขียนสรุปเกีย่ วกับ กลางวัน การเห็นฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เป็นต้น
สมบัตขิ องคลืน่ เสียงลงในกระดาษ A4 เสร็จแลว
ตัวแทนรวบรวมสงครูทายชั่วโมง สมบัติการหักเห
คลื่ น เสี ย งเคลื่ อ นที่ จ าก
ตั ว กลางหนึ่ ง ไปยั ง อี ก
ตัวกลางหนึง่ โดยคลืน่ เสียง คลื่นเสียง
ทีเ่ คลือ่ นทีผ่ า่ นตัวกลางใหม่
จะมีความถี่ ( f ) คงเดิม
ภาพที่ 4.20 การหักเหของเสียงในตัวกลางที่ตางชนิดกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเห็นฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยนิ เสียงฟ้าร้อง เกิดจากการหักเหของเสียงเมือ่ เคลือ่ นทีผ่ า่ น


อากาศสองบริเวณที่มีอุณหภูมิต่างกัน อุณหภูมิของอากาศใกล้1 พื้นดินจะร้อนกว่าอากาศเบื้องบน
เสียงทีเ่ กิดขึน้ บริเวณพืน้ ดินจะหักเหขึน้ สูบ่ รรยากาศ โดยเบนเข้าหาเส้นแนวฉากหรือเบนออกจาก
รอยต่อระหว่างอากาศร้อนและเย็น การเคลื่อนที่ในอากาศที่มีอุณหภูมิสูงจะเร็วกว่าในอากาศที่มี
อุณหภูมิต�่า ดังนั้น เสียงจึงเคลื่อนที่เบนขึ้นเรื่อย ๆ จนท�าให้เราไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง

อากาศเย็น

ทิศทางการเคลื่อนที่
ของเสียงฟ้าร้อง

ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง

อากาศร้อน

ภาพที่ 4.21 การหักเหของเสียงในอากาศ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
136

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 บรรยากาศ (atmosphere) คือ อากาศที่หอหุมโลกหรือบรรยากาศที่อยู ปรากฏการณในขอใดของคลื่นที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
รอบตั ว เราตั้ ง แต พื้ น โลกขึ้ น ไป แรงดึ ง ดู ด ของโลกที่ มี ต  อ บรรยากาศทํ า ให ความยาวคลื่น
บรรยากาศมีการเคลือ่ นตัวตามการหมุนของโลกไปพรอมกับพืน้ โลก บรรยากาศ 1. การหักเห
ทําใหสิ่งมีชีวิตบนโลกมีชีวิตอยูได โดยเปนแหลงแกสออกซิเจน (O2) สําหรับ 2. การสะทอน
การหายใจของสิ่งมีชีวิต เปนแหลงแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) ใหพืชใช 3. การเลี้ยวเบน
ในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ชวยปองกันรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) จาก 4. การแทรกสอดแบบเสริม
ดวงอาทิตยไมใหมาถึงพื้นโลก และทําใหสะเก็ดดาวถูกเผาไหมกอนที่จะตกลงสู 5. การแทรกสอดแบบหักลาง
พื้นโลกและเปนอันตรายแกสิ่งมีชีวิต (วิเคราะหคําตอบ การหักเหเปนการที่คลื่นเคลื่อนที่ผานตัวกลาง
ทําใหคลื่นเปลี่ยนความเร็วและความยาวคลื่น การสะทอนเปน
การที่ ค ลื่ น กระทบพื้ น ผิ ว แล ว เกิ ด การเปลี่ ย นทิ ศ ทางกลั บ เข า สู 
ทิศทางเดิม การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ออมสิ่งกีดขวาง
การแทรกสอดเปนการรวมกันของคลื่นสองขบวนขึ้นไป ดังนั้น
ตอบขอ 1.)

T150
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3) การเลี้ยวเบนของเสียง การที่เสียงเคลื่อนที่ผานมุมหรือออมสิ่งกีดขวางไปปรากฏ 1. ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมผลงานการสรุป
ดานหลังของสิ่งกีดขวางได เรียกปรากฏการณที่เกิดขึ้นวา การเลี้ยวเบนของเสียง เมื่อเสียงตก ความรู  เ กี่ ย วกั บ สมบั ติ ข องคลื่ น เสี ย งส ง ครู
กระทบบริเวณมุมหรือขอบของสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใหญ เชน กําแพง ตึก หนาตาง ประตู จะเกิด ผูสอน
การเลี้ยวเบนขึ้น สงผลใหคนที่อยูหลังกําแพงหรือขอบของสิ่งกีดขวางนั้นไดยินเสียงโดยไมเห็น 2. ครูตรวจสอบผลงานของนักเรียนในเบื้องตน
แหลงกําเนิดเสียง เปนตน จากนั้นสุมผลงานที่โดดเดนและใหนักเรียน
สมบัติการเลี้ยวเบน เจาของผลงานออกมาหนาชั้นเรียน เพื่อนํา
คลื่ น เสี ย งเดิ น ทางอ อ ม เสนอผลงานของตนเอง
สิง่ กีดขวาง โดยคลืน่ จะแผ
จากขอบของสิ่งกีดขวาง คลื่นเสียง
ไปยั ง ด า นหลั ง ของสิ่ ง -
กีดขวาง

ภาพที่ 4.22 การเลี้ยวเบนของเสียง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
4) การแทรกสอดของเสียง เกิดจากคลื่นเสียงสองขบวนที่มีความถี่เทากันและมีเฟส
ตรงกันเคลื่อนที่มาซอนทับกัน ทําใหเกิดเสียงดังและเสียงคอยสลับกันไป ตําแหนงเสียงดังเปน
ตําแหนงที่คลื่นเสียงทั้งสองขบวนมีการแทรกสอดแบบเสริมกัน เรียกวา ปฏิบัพ (antinode; A)
ตําแหนงเสียงคอยเปนตําแหนงที่คลื่นเสียงทั้งสองขบวนมีการแทรกสอดแบบหักลางกัน เรียกวา
บัพ (node; N) ตัวอยางปรากฏการณที่เกิดจากการแทรกสอดของเสียง ไดแก บีต (beat) และการ
สั่นพอง (resonance)

ปฏิบัพ
บัพ
ปฏิบัพ
บัพ
ปฏิบัพ

(ก) (ข)
ภาพที่ 4.23 การแทรกสอดของเสียงจากแหลงกําเนิดอาพันธ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ¤Å×è¹ 137

ขอสอบเนน การคิด
ลําโพง S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดเสียงที่ใหเสียงเหมือนกันทุกประการ โดยใหเสียงที่มีความถี่ 160 เฮิรตซ และอยูหางกัน 8 เมตร ดังภาพ
จงหาวา บนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสอง มีตําแหนงบัพเกิดขึ้นกี่ตําแหนง ถากําหนดใหอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเปน 400
เมตรตอวินาที จากสมการ ตําแหนงบัพ d sin θ = (n - 12 ) λ
8m 8 sin 90 ํ = (n - 12 )(2.5)
(8)(1) = (n - 12 )(2.5)
S1 S2 8 1
2.5 = n - 2
1. 2 ตําแหนง 2. 3 ตําแหนง 3. 4 ตําแหนง 3.2 + 12 = n
4. 5 ตําแหนง 5. 6 ตําแหนง 3.2 + 0.5 = n
(วิเคราะหคําตอบ คํานวณหาความยาวคลื่นจากสมการ n = 3.7
v = fλ n = 3 (เนื่องจาก n ตองเปนจํานวนเต็ม)
400 = 160 λ จะไดวา บนเสนตรงเชื่อมระหวางแหลงกําเนิดเสียงทั้งสองมีตําแหนงบัพ
λ = 2.5 m เกิดขึ้นเทากับ 3 + 3 = 6 ตําแหนง ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T151
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง ธรรมชาติของเสียง 2. ธรรมชาติของเสียง เสียงที่มนุษยไดยินมีมากมายแตกตางกันไป ไมวาจะเปนเสียงสูง
จากหนังสือเรียน เสียงตํ่า เสียงดัง เสียงคอยและบางครั้งเสียงที่เราไดยินสามารถบอกไดวาเสียงนั้นเปนเสียงอะไร
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจดบั น ทึ ก ความรู  ที่ ไ ด ศึ ก ษา หรือเสียงของใคร โดยที่เราไมเห็นแหลงกําเนิดเสียง
เกี่ยวกับ เรื่อง ธรรมชาติของเสียง ลงในสมุด 1) ความเขมเสียง (sound intensity) คือ พลังงานเสียงที่ถายโอนผานพื้นที่ซึ่งตั้งฉาก
บันทึกประจําตัว กับทิศการเคลื่อนที่ของเสียงตอหนวยพื้นที่ในหนึ่งหนวยเวลา ความเขมเสียงมีหนวยเปน วัตตตอ
3. ครูใหนักเรียนสืบเสาะหาความรูและจดบันทึก ตารางเมตร (W/m2) สามารถคํานวณได จากสมการ
ตารางความเข ม และระดั บ เสี ย งจากแหล ง
ความเขมเสียง = กําลังเสียงของแหลงกําเนิด
กําเนิดเสียงตางๆ ลงในสมุดบันทึกประจําตัว พื้นที่ซึ่งตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
2) ระดับเสียง (sound level) เมื่อเปรียบเทียบคาสูงสุดกับตํ่าสุดของความเขมเสียง
ที่หูของมนุษยรับฟงไดพบวา คาสูงสุดมีคาเปน 1012 เทาของคาตํ่าสุดของความเขมเสียงที่หูของ
มนุษยรบั ฟงได ความเขมเสียงทีห่ มู นุษยตอบสนองไดจงึ มีชว งกวางมาก ทําใหการอธิบายความดัง
ของเสียงดวยความเขมเสียงเปนเรื่องยาก นักวิทยาศาสตรจึงเปลี่ยนมาอธิบายความดังของเสียง
ดวยระดับเสียงแทนความเขมเสียง โดยระดับเสียงที่หูของมนุษยปกติสามารถรับฟงไดอยูในชวง
0-120 เดซิเบล และเนื่องจากความดังของเสียงแปรผันตรงกับ
ความเขมเสียง
จากนิยามระดับเสียงไมมหี นวย แตนกั วิทยาศาสตร
กําหนดหนวยของระดับเสียงเปน เบล (bel) เพื่อเปนเกียรติแก
อะเล็กซานเดอร เกรแฮม เบลล (Alexander Graham Bell)
ผูประดิษฐโทรศัพทคนแรก แตหนวยเบลเปนหนวยใหญ จึงนิยม
ใชหนวย เดซิเบล (dB) ซึ่งมีคาเปน 1 ใน 10 ของหนวยเบล
(1 bel = 10 decibel) แทนหนวยเบล โดยระดับเสียงหนวยเดซิเบล
หาคาได จากสมการ ภาพที่ 4.24 ตัวอยางอุปกรณวดั ระดับ
เสียง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

β คือ ระดับเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล (dB)


β = 10 log ( I ) I คือ ความเขมเสียง มีหนวยเปน วัตตตอตารางเมตร (W/m2)
I0
I0 คือ ความเขมเสียงที่หูมนุษยเริ่มไดยินเทากับ 10-12 มีหนวยเปน วัตตตอตาราง
เมตร (W/m2)

138

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ขอมูลนารู : ระดับ ความดัง-คอยของเสียงขึ้นอยูกับสิ่งใดของคลื่น
เดซิเบล https://www.twig-aksorn.com/film/factpack-decibel-range- 1. ความถี่
8237/ 2. ตัวกลาง
3. อัตราเร็ว
4. แอมพลิจูด
5. ความยาวคลื่น
(วิเคราะหคําตอบ ความดัง-คอยของเสียงถูกระบุดวยความเขม
ของเสียง ซึ่งบงบอกระดับพลังงานของคลื่นเสียง พิจารณาไดจาก
แอมพลิจูดของคลื่น ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T152
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ระดับเสียง 0 เดซิเบล เรียกว่า ขีดเริ่มของการได้ยิน (threshold of hearing) 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากสื่ อ ดิ จิ ทั ล
ส่วนระดับเสียง 120 เดซิเบล เรียกว่า ขีดเริ่มของความเจ็บปวด (threshold of pain) ระดับเสียง โดยนําสมารตโฟนขึ้นมาแลวนํามาสแกน QR
0 เดซิเบล ก�าหนดจากการเริ่มได้ยินเสียงที่มีความถี่ 1,000 เฮิรตซ์ ซึ่งมีความเข้ม 10-12 วัตต์ Code เรื่อง มลพิษทางเสียง จากหนังสือเรียน
ต่อตารางเมตร ส่วนระดับเสียง 120 เดซิเบล ก�าหนดจากเสียงที่มีความถี่ 1,000 เฮิรตซ์ ซึ่งมี 5. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรางสรรคแผนพับ
ความเข้ม 1.0 วัตต์ ความเข้มเสียงและระดับเสียง (ช่วง 0-120 เดซิเบล) ของเสียงจากแหล่ง ความรูขนาด A4 เรื่อง มลพิษทางเสียง พรอม
ก�าเนิดเสียงต่าง ๆ และผลต่อการได้ยิน พิจารณาได้จากตารางที่ 4.1 ตกแตงใหสวยงาม เพื่อสงครูทายชั่วโมง
ตารางที่ 4.1 : ความเข้มเสียงและระดับเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียงต่าง ๆ ขัน้ สอน
ความเข้มเสียง ระดับเสียง อธิบายความรู
แหล่งก�าเนิดเสียง/สถานการณ์ (W/m2) (dB) ผลต่อการได้ยิน
1. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นออกมาหน า ชั้ น เรี ย น
ขีดเริ่มของการได้ยิน 10-12 0
เสียงใบไม้ไหว 10-11 10
ยากต่อการได้ยิน เพื่อใหนักเรียนนําเสนอแผนพับความรูของ
เสียงผิวปาก (ค่าเฉลี่ย) 10-10 20 ตนเอง
เสียงเบา
ห้องสมุด 10-9 30 2. ครูและนักเรียนรวมกันศึกษาเกี่ยวกับ มลพิษ
ส�านักงานหรือบ้าน (ค่าเฉลี่ย) 10-8 40 ของเสียง จากกรอบ Science Focus จาก
เสียงปานกลาง
รถยนต์ (เบาเครื่อง) 10-7 50 หนังสือเรียน
เสียงสนทนา 10-6 60
เสียงดัง 3. ครูสนทนากับนักเรียนและใหความรูเพิ่มเติม
รถยนต์ (เร่งเครื่อง) 10-5 70
ถนนที่มีการจราจรคับคั่ง 10-4 80 เกี่ยวกับธรรมชาติของเสียง
รถไฟลอยฟ้า 10-3 90 เสียงดังมาก
เครื่องบิน 10-2 100
ปืนใหญ่ 10-1 110
สูญเสียการได้ยิน
จรวด 4 × 10-1 116
ฟ้าผ่า 1 120 รู้สึกปวดหู

Science Focus
มลพิษทางเสียง
เสียงที่มีระดับเสียงสูงหรือเสียงที่ก่อให้เกิดความร�าคาญแก่ผู้ฟังจัดเป็นมลพิษทางเสียง (noise
pollution) มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและคุณภาพชีวติ ของมนุษย์ไม่แพ้มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน�า้
และมลพิษทางดิน การจัดการหรือปรับปรุงแหล่งก�าเนิดเสียงให้มกี า� ลังเสียงลดลงจะท�าให้ระดับเสียงลดลง
จัดเป็นวิธีการลดมลพิษทางเสียงวิธีหนึ่ง โดยปัญหามลพิษทางเสียงส่วนใหญ่เกิดจากยานพาหนะต่าง ๆ
ที่มีอายุการใช้งานมากหรือเกิดจากการดัดแปลงท่อไอเสียให้มีเสียงดัง ในกรณีที่เราไม่สามารถแก้ไข
ความดังของเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียงได้ สามารถป้องกันตนเองได้เบื้องต้น เช่น การใช้ที่อุดหูหรือ
ที่ครอบหูที่มีการติดตั้งวัสดุเก็บเสียง เป็นต้น

มลพิษทางเสียง คลื่น 139

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


องค ก ารอนามั ย โลกได กํ า หนดระดั บ เสี ย งที่ ป ลอดภั ย ต อ หู ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง มลพิษทางเสียง
และจิตใจของผูฟงไวไมเกินกี่เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน
กี่ชั่วโมง
1. ไมเกิน 75 เดซิเบล ไดยินติดตอกันไมเกิน 8 ชั่วโมง
2. ไมเกิน 85 เดซิเบล ไดยินติดตอกันไมเกิน 8 ชั่วโมง
3. ไมเกิน 75 เดซิเบล ไดยินติดตอกันไมเกิน 9 ชั่วโมง
4. ไมเกิน 85 เดซิเบล ไดยินติดตอกันไมเกิน 9 ชั่วโมง
5. ไมเกิน 95 เดซิเบล ไดยินติดตอกันไมเกิน 9 ชั่วโมง
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ องค ก ารอนามั ย โลกกํ า หนดระดั บ เสี ย งที่
ปลอดภัยตอหูและจิตใจไวไมเกิน 85 เดซิเบล และไดยินติดตอ
กันไมเกิน 8 ชั่วโมง ซึ่งถาเกินกวานี้จะเปนเสียงที่กอใหเกิด
อันตรายตอหูและจิตใจ ถือวาเปนมลพิษทางเสียง ดังนั้น ตอบ
ขอ 2.)

T153
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูสนทนากับนักเรียน โดยถามคําถามเชื่อม- 3. หูกบั การได้ยนิ การได้ยนิ เป็นการท�างานประสานกันระหว่างหูกบั สมอง โดยหูทา� หน้าที่
โยงไปถึงวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ (ชีววิทยา) ส่งผ่านคลื่นเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียงไปสู่สมอง ส่วนสมองท�าหน้าที่แปลความหมายของเสียงที่
วา “นักเรียนทราบหรือไมวาหูแบงเปนกี่สวน ได้ยิน กล่าวคือ เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่มาถึงหู หูชั้นนอกจะส่งคลื่นเสียงที่ได้รับผ่านทางรูหูไปยัง
แตละสวนประกอบดวยอะไรบาง” จากนั้นครู เยื่อแก้วหู เยื่อแก้วหูจะเริ่มสั่นและถ่ายทอดการสั่นไปยังกระดูก 3 ชิ้น ในหูชั้นกลาง กระดูก 3 ชิ้น
ทิง้ ชวงเวลาใหนกั เรียนคิด แลวอาจสุม นักเรียน จะส่งผ่านการสั่นนี้เข้าสู่หูชั้นในผ่านทางหน้าต่างรูปไข่
เพื่อตอบคําถาม และครูยังไมเฉลยวาคําตอบ
นั้นถูกหรือผิด
ส่วนประกอบของËÙ
2. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง หูกับการไดยิน จาก
หนังสือเรียน หูชั้นนอก หูชั้นกลาง หูชั้นใน
3. ครูอาจเนนยํ้าใหนักเรียนทําความเขาใจและ ประกอบด้วย ใบหูและรูหู ประกอบด้วย เยือ่ แก้วหู กระดูก ประกอบด้วย คอเคลีย หลอด
จดจําใหไดวาหูแตละสวนประกอบดวยอะไร ท�าหน้าที่ รับเสียงจากภายนอก ค้อน กระดูกทั่ง กระดูกโกลน ครึ่งวงกลม ประสาทรับเสียง
บาง เป็ น ทางผ่ า นของเสี ย งและ ท�าหน้าที่ ขยายเสียงให้ดังขึ้น ท�าหน้าที่ รับรูก้ ารสัน่ ของคลืน่
ขยายสัญญาณเสียงบางความถี่ และลดเสี ย งให้ เ บาลง เพื่ อ เสียง แปลงสัญญาณเสียงเป็น
4. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ป้องกันเสียงไม่ให้เข้าไปท�าลาย สัญญาณประสาท พร้ อ มทั้ ง
สวนประกอบของหูจากอินเทอรเน็ต เพื่อให หู ชั้ น ใน และปรั บ ความดั น ส่งสัญญาณการรับรู้ผ่านเส้น
ใบหู
เกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น อากาศภายในหูให้เท่ากับความ ประสาทไปยังสมอง และสมอง
ดั น อากาศภายนอกหู หาก จะท�าหน้าที่แปลสัญญาณที่ได้
5. ครูสมุ ถามนักเรียนเกีย่ วกับสวนประกอบของหู ความดันไม่เท่ากันจะท�าให้ ประสาทรับเสียง
เพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความตั้งใจในการ หูออื้
ศึกษาคนควาหรือไม เชน หูชั้นนอก ประกอบ กระดูกค้อน
ดวยอะไรบาง และทําหนาที่อะไร เยื่อแก้วหู
(แนวตอบ ประกอบดวยใบหูและรูหู ทําหนาทีร่ บั
คอเคลีย
เสียงจากภายนอก เปนทางผานของเสียง และ
ขยายสัญญาณเสียงบางความถี่) คลื่นเสียง

รูหู 1
ท่อยูสเตเชียน
กระดูกทั่ง กระดูกโกลน

ภาพที่ 4.25 ส่วนประกอบของหู


ที่มา : คลังภาพ อจท.
140

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ทอยูสเตเชียน (Eustachian tube) อาจเรียกไดอีกชื่อวา Auditory tube อวัยวะที่เปนสวนประกอบของหูที่ทําหนาที่ควบคุมสมดุลของ
หรือ Pharyngotympanic tube ไดรับการตั้งชื่อตาม บารโตโลมีโอ ยูสเตชี รางกายคือขอใด
(Bartolomeo Eustachi) นักกายวิภาคศาสตร ชาวอิตาเลียน ที่เปนคนบรรยาย 1. ใบหู 2. เยื่อแกวหู
ถึงเนื้อเยื่อชิ้นนี้เปนคนแรก ทอยูสเตเชียนมีความยาวประมาณ 35 มิลลิเมตร 3. กระดูกทั่ง 4. กระดูกคอน
เสนผานศูนยกลางประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ตอนตนของทอชวงที่ตอออกจากหู 5. หลอดครึ่งวงกลม
ชัน้ กลาง ผนังทอจะเปนกระดูก แตตอ จากนัน้ จะเปนกระดูกออน ซึง่ การเปด-ปด (วิเคราะหคําตอบ ระบบหลอดครึ่งวงกลมสามารถตรวจจับการ
ของทอนี้ เพื่อชวยปรับความดันระหวางในหูชั้นกลางกับในอากาศ (ในลําคอ) เคลื่อนไหวแบบหมุนไมวาจะเปนแบบเคลื่อนไหวเอง หรือการ
ใหอยูใ นสมดุล เพือ่ คงความดันใหปกติในหูชนั้ กลาง เปนการปกปองเนือ้ เยือ่ หูชน้ั เคลื่อนไหวเนื่องจากปจจัยภายนอกได เปนสวนของระบบการ
กลาง (แกวหูและกระดูกหูชนั้ กลาง) ไมใหบาดเจ็บจากการเปลีย่ นแปลงความดัน ทรงตัว โดยมีหลอดครึ่งวงกลม (semicircular canal) เปน
ทั้งจากอากาศ เสียงตางๆ รวมทั้งจากการคั่งคางของสารคัดหลั่งจากหูชั้นกลาง องคประกอบหลัก หลอดครึ่งวงกลมทําใหสามารถรูสึกถึงการ
เคลื่อนไหวในเชิงหมุนได เชน เกาอี้หมุน การเลี้ยวซายขวา
กมเก็บของ นอนตะแคง ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T154
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. บีต เสียงที่ดังจากแหล่งก�าเนิดแหล่งเดียวจะดังสม�่าเสมอ ส่วนเสียงที่ได้ยินจากแหล่ง 6. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง บีต จากหนังสือ
ก�าเนิดสองแหล่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย เมื่อเคลื่อนผ่านบริเวณเดียวกันในตัวกลางหนึ่ง ผู้ฟัง เรียน
จะได้ยินเสียงที่ดังค่อยสลับกันตลอดเวลา และเป็นจังหวะคงตัว เรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ว่า 7. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุม ละประมาณ
บีต (beat) ซึ่งเกิดจากการรวมกันของคลื่นสองขบวนที่มีความถี่ไม่เท่ากัน ถ้าความถี่มีค่าต่างกัน 6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียน
เล็กน้อย เสียงบีตจะได้ยินเป็นจังหวะช้า ๆ แต่ถ้าความถี่มีค่าต่างกันมากขึ้น เสียงบีตที่ได้ยินจะ ตามผลสัมฤทธิ์ เพื่อรวมกันศึกษากิจกรรม
เป็นจังหวะเร็วขึ้น ถ้าคลื่นเสียงสองขบวนนั้นมีความถี่เป็น f1 และ f2 ซึ่งมีค่าต่างกันเล็กน้อยและ การเกิดบีตของเสียงจากหนังสือเรียน
มีแอมพลิจูดเท่ากัน คลืน่ ลัพธ์ที่ได้จากการรวมกันหรือแทรกสอดกันของคลืน่ ทั้งสองขบวน จะเป็น
ดังภาพที่ 4.26 8. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
คลื่นขบวนที่ 1 9. ครูใหความรูเ พิม่ เติมหรือเทคนิคเกีย่ วกับการ
ความถี่ f1
ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
คลื่นขบวนที่ 2 ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
ความถี่ f2 10. นักเรียนแตละกลุม รวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
f1 มากกว่า f2 เล็กน้อย
การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
คลื่นสองขบวน 11. ครูเนนยํา้ ใหนกั เรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
รวมกัน
จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
เฟส เฟส เฟส เฟส เฟส เฟส เฟส
ตรงกัน ตรงข้าม ตรงกัน ตรงข้าม ตรงกัน ตรงข้าม ตรงกัน 12. ในระหว า งที่ นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรม ครู
แอมพลิจูด เดินสังเกตการณและคอยใหคําปรึกษาเมื่อ
ของคลื่นลัพธ์ นักเรียนเกิดปญหา หรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับ
กิจกรรม
ภาพที่ 4.26 การซ้อนทับระหว่างคลื่นสองขบวนท�าให้เกิดบีตของเสียง อธิบายความรู
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ
จากภาพที่ 4.26 จะพบว่า แอมพลิจดู ของคลืน่ ลัพธ์ไม่คงตัว สอดคล้องกับการทีค่ วามดัง กิจกรรมวาเกิดปญหาหรือมีอุปสรรคอะไรบาง
ของเสียงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา กล่าวคือ เสียงจะดังขึ้นจนสุดแล้วเบาลงสุดสลับกัน โดยความถี่
ของเสียงที่ได้ยินจะมีค่าเท่ากับค่าเฉลี่ยของความถี่ของเสียงจากคลื่นเสียงทั้งสองขบวน สามารถ ในระหวางปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติ
หาได้จากสมการ f = (f1 + f2)/2 ส่วนจ�านวนครั้งที่เกิดเสียงดังในแต่ละวินาที หรือจ�านวนบีตที่ 2. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
เกิดขึ้นในแต่ละวินาทีเท่ากับผลต่างของความถี่ของคลื่นเสียงทั้งสองขบวน ซึ่งเรียกว่า ความถี่บีต เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
(beat frequency) สามารถหาได้จากสมการ fb = | f1 - f2|
เนือ่ งจากเสียงติดหูมนุษย์อยูป่ ระมาณ 0.1 วินาที ในทางทฤษฎีมนุษย์จงึ รับรูบ้ ตี ทีม่ คี วาม
ถีบ่ ตี ไม่เกิน 10 เฮิรตซ์ เพราะถ้าความถีบ่ ตี สูงกว่านีจ้ ะแยกเสียงดังแต่ละครัง้ ไม่ได้ แต่ในทางปฏิบตั ิ
หูมนุษย์จะรับรู้บีตที่มีความถี่บีตไม่เกิน 7 เฮิรตซ์เท่านั้น
คลื่น 141

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ถาตองการใหเกิดเสียงดังเปนจังหวะๆ หางกันทุกครึง่ วินาที จะ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เครื่องดนตรี
ตองเคาะสอมเสียงที่มีความถี่ 500 เฮิรตซ พรอมกับสอมเสียงที่มี https://www.twig-aksorn.com/film/musical-instruments-8235/
ความถี่เทาใด
(แนวตอบ จากโจทย จะไดวา ในเวลา 1 วินาที จะไดยนิ เสียง 2 ครัง้
แสดงวา จํานวนบีตเทากับ 2 ครั้งตอวินาที
จากสมการ fb = f1 - f2 
2 = 500 - f2 
2 = 500 - f2 หรือ 2 = f2 - 500
f2 = 498 Hz หรือ f2 = 502 Hz
ดังนั้น ตองเคาะสอมเสียงที่มีความถี่ 498 เฮิรตซ หรือ 502 เฮิรตซ
พรอมกับสอมเสียงที่มีความถี่ 500 เฮิรตซ)

T155
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ กิจกรรม การเกิดบีตของเสียง
กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ
กิจกรรม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• การสังเกต จØ´ปรÐʧค
4. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลทาย • การลงความเห็นจากข้อมูล
• การพยากรณ์
เพื่อศึกษาการเกิดบีตของเสียง
กิจกรรมและสรุปความรูรวมกัน จิตวิทยาศาสตร์ ÇÑÊ´ØอØปกร³
• ความอยากรู้อยากเห็น
5. ครู อ ธิ บ ายความรู  เ พิ่ ม เติ ม หลั ง จากปฏิ บั ติ • ความมีเหตุผล 1. ล�าโพง 2 ตัว 3. เครื่องก�าเนิดสัญญาณเสียง 2 เครื่อง
กิจกรรมเกี่ยวกับประโยชนของบีต จากกรอบ 2. สายไฟต่อวงจร 4 เส้น
Science Focus จากหนังสือเรียน Çิ¸Õป¯ิºÑµิ
ขยายความเขาใจ 1. ต่อล�าโพงตัวหนึง่ เข้ากับเครือ่ งก�าเนิดสัญญาณเสียงเครือ่ งหนึง่ ด้วยสายไฟต่อวงจร โดยต่อลักษณะเดียวกัน
เป็น 2 ชุด แล้วน�ามาจัดวาง ดังภาพที่ 4.27
1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หาโดยเปด PowerPoint ปุมปรับความถี่อย่างหยาบ
เรื่องที่สอนควบคูไปดวย ปุมปรับความถี่อย่างละเอียด ปุมปรับความดัง ปุม เปิด-ปิด
2. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง เสียง ช่องส�าหรับต่อล�าโพง
ลงในกระดาษ A4
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ของตนเองหนาชั้นเรียน
4. ครูแจกใบงาน เรื่อง สมบัติของคลื่นเสียง ให
นักเรียนศึกษาและลงมือทํา เสร็จแลวรวบรวม
สงครูทายชั่วโมง
5. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง
เสียง จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2 ภาพที่ 4.27 การจัดวางอุปกรณกิจกรรมการเกิดบีตของเสียง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
(ฟสิกส) ม.5
2. หมุนปุมเลือกความถี่ของเครื่องก�าเนิดสัญญาณเสียงทั้งสองเครื่องไปที่ 1 กิโลเฮิรตซ์ แล้วหมุนปุมปรับ
ความดังให้เสียงจากล�าโพงทั้งสองดังพอควรและดังเท่ากัน
ขัน้ สรุป 3. ให้ผู้ฟังไปยืนด้านหน้าล�าโพงทั้งสองโดยยืนตรงแนวกึ่งกลางระหว่างล�าโพงทั้งสอง แล้วฟังเสียงจากล�าโพง
ตรวจสอบผล ทั้งสอง
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ 4. หมุนปุม ปรับความถีอ่ ย่างละเอียดของเครือ่ งก�าเนิดสัญญาณเสียงเครือ่ งหนึง่ เพือ่ ให้เสียงจากเครือ่ งก�าเนิด
คลื่นเสียง สมบัติของคลื่นเสียง เพื่อใหนักเรียน สัญญาณเสียงมีความถี่ต่างกันเล็กน้อย แล้วให้ผู้ฟังไปยืนฟังเสียงจากล�าโพงทั้งสองตัวที่ต�าแหน่งเดิม
เปรียบเทียบกับเสียงที่ได้ยินจากล�าโพงทั้งสองตัวในข้อที่ 3.
ทุ ก คนได มี ค วามเข า ใจในเนื้ อ หาที่ ไ ด ศึ ก ษา
5. ปิดเครือ่ งก�าเนิดสัญญาณเสียงเครือ่ งทีห่ มุนปรับความถีล่ ะเอียด แล้วให้ผฟู้ งั ไปยืนฟังเสียงจากล�าโพงทีเ่ หลือ
มาแลวไปในทางเดียวกัน และเปนความเขาใจที่ ที่ต�าแหน่งเดิม เปรียบเทียบกับเสียงที่ได้ยินจากล�าโพงทั้งสองตัวในข้อ 3. และ 4.
ถูกตอง โดยครูใหนักเรียนเขียนสรุปความรูลงใน
สมุดบันทึกประจําตัว 142

ขอสอบเนน การคิด
รถไฟ 2 ขบวน กําลังแลนเขาสูช านชาลาตามรางคูข นานจากทิศตรงกันขาม พรอมกับเปดหวูดความถี่ 325 เฮิรตซ ขบวนหนึง่ แลนดวยอัตราเร็ว
15 เมตรตอวินาที นายสถานีซึ่งอยูที่สถานีรถไฟไดยินเสียงหวูดเปนจังหวะ 5 ครั้งตอวินาที ถาอัตราเร็วของเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตรตอ
วินาที รถไฟอีกขบวนหนึ่งกําลังแลนดวยอัตราเร็วเทาใด
1. 9.28 เมตรตอวินาที 2. 10.15 เมตรตอวินาที 3. 12.10 เมตรตอวินาที
4. 14.55 เมตรตอวินาที 5. 15.11 เมตรตอวินาที
(วิเคราะหคําตอบ จากสมการ fb = f1 - f2  340 = ( 335
325 )(340 - x)
vt vt
fb = f0 ( v - v ) - f0 ( v - v )
t s t s
340 - x = (340)(325)
335
340 340
5 = 325 (340 - 15 ) - 325 (340 - x ) 340 - x = 329.85
x = 10.15 m/s
5 = 340 - 325(340340- x )
จะไดวา รถไฟอีกขบวนหนึ่งกําลังแลนดวยอัตราเร็วเทากับ 10.15
325(340340- x ) = 335 เมตรตอวินาที ดังนั้น ตอบขอ 2.)
340 = 335
340 - x 325

T156
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม 1. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรือ่ ง สมบัติ
1. เสียงที่ได้ยินจากแหล่งก�าเนิดเสียงแหล่งเดียวกับเสียงที่ได้ยินจากแหล่งก�าเนิดเสียงสองแหล่งที่มีความถี่ ของคลื่นเสียง
เท่ากันตรงแนวกึ่งกลางระหว่างแหล่งก�าเนิดทั้งสองต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด 2. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง เสียง จากแบบ-
2. เสียงที่ได้ยินจากแหล่งก�าเนิดเสียงแหล่งเดียวกับเสียงที่ได้ยินจากแหล่งก�าเนิดเสียงสองแหล่งที่มีความถี่
ต่างกันเล็กน้อยต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
ฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5
3. เสียงที่ได้ยินจากแหล่งก�าเนิดเสียงสองแหล่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อยกับเสียงที่ได้ยินจากแหล่งก�าเนิด 3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
เสียงสองแหล่งทีม่ คี วามถีเ่ ท่ากัน ตรงแนวกึง่ กลางระหว่างแหล่งก�าเนิดทัง้ สองต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
และการทํางานกลุม
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม 4. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
บีตเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงสองขบวนที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย (น้อยกว่า 7 เฮิรตซ์) ซึ่ง เนื้อหา เรื่อง เสียง ที่นักเรียนไดสรางขึ้นจาก
เคลือ่ นผ่านบริเวณเดียวกันในตัวกลางหนึง่ ผลจากการแทรกสอดดังกล่าวท�าให้ผฟู้ งั ทีอ่ ยูท่ จี่ ดุ หนึง่ ในบริเวณนัน้ ขั้นขยายความเขาใจเปนรายบุคคล
ได้ยนิ เสียงทีม่ คี วามดังเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา โดยจะได้ยนิ เสียงดังมากเมือ่ ส่วนอัดของคลืน่ ทัง้ สองมาถึงหูผฟู้ งั
พร้อมกัน แต่ในเสี้ยววินาทีต่อมา ส่วนอัดของคลื่นขบวนหนึ่งจะมาถึงหูของผู้ฟังพร้อมกับส่วนขยายของคลื่น
อีกขบวนหนึ่ง ผู้ฟังจึงไม่ได้ยินเสียงหรือได้ยินเสียงเบา ๆ ในช่วงเวลาหนึ่งซึ่งมีค่ามากกว่าคาบของคลื่นแต่ละ
ขบวนมาก ผู้ฟังจะได้ยินเสียงดังขึ้นจนดังที่สุดและเบาลงจนเบาที่สุดหรือเงียบหายไปสลับกันเป็นช่วง ๆ
กล่าวคือ ผู้สังเกตจะได้ยินเสียงดัง-ค่อยสลับกันเป็นจังหวะคงตัว
ส่วนการแทรกสอดของเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียงอาพันธ์ทใี่ ห้เสียงซึง่ เฟสเริม่ ต้นตรงกัน ตรงแนวกึง่ กลาง
ระหว่างแหล่งก�าเนิดเสียงทั้งสองจะเป็นแนวปฏิบัพกลาง ซึ่งเป็นแนวที่คลื่นเสียงทั้งสองขบวนแทรกสอดแบบ
เสริมกัน บนแนวนี้จึงได้ยนิ เสียงดังตลอดเวลา โดยแอมพลิจูดของคลื่นเสียงที่เกิดจากการแทรกสอดแบบเสริม แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
กันของคลืน่ เสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียงอาพันธ์จะมีคา่ เป็นสองเท่าของแอมพลิจดู ของคลืน่ เสียงแต่ละขบวนทีม่ า
รวมหรือแทรกสอดกัน 1. ถึงแมวาจะไดยินเสียงดังตลอดเวลาเหมือนกัน
แตเสียงที่ไดยินจากแหลงกําเนิดเสียงสองแหลง
ที่ความถี่เทากันตรงแนวกึ่งกลางระหวางแหลง
กําเนิดทั้งสองจะดังกวา เพราะอยูบนแนวการ
Science Focus แทรกสอดแบบเสริม
ประโยชน์ของบีต 2. เสียงทีไ่ ดยนิ จากแหลงกําเนิดแหลงเดียวจะไดยนิ
บีตใช้ในการปรับเทียบเสียงดนตรีจากเครื่องดนตรี โดยให้เครื่องดนตรีที่ต้องการปรับเทียบเสียง
เพียงเสียงดังตลอดเวลา แตเสียงที่ไดยินจาก
ตัวโน้ตหนึ่งเปล่งเสียงออกมาพร้อมกับส้อมเสียงหรืออุปกรณ์ส�าหรับเทียบเสียงดนตรีอื่น ๆ ที่ให้เสียงที่มี แหลงกําเนิดเสียงสองแหลงทีต่ า งกันเล็กนอยจะ
ความถี่เท่ากับความถี่มาตรฐานของเสียงตัวโน้ตเดียวกัน ถ้าได้ยินเสียงบีตแสดงว่าคลื่นเสียงจากแหล่ง เปนเสียงดัง-คอยสลับกันเปนจังหวะคงตัว
ก�าเนิดทัง้ สองมีความถีต่ า่ งกันไม่มากนัก ให้ปรับสภาพแหล่งก�าเนิดของแหล่งก�าเนิดเสียงของดนตรี เช่น 3. เสียงที่ไดยินจากแหลงกําเนิดเสียงสองแหลงที่
ปรับความตึงของสายกีตาร์จนเสียงบีตหายไป เมื่อให้เสียงออกมาพร้อมกัน เสียงตัวโน้ตนั้นจะมีความถี่
เท่ากับความถี่มาตรฐาน
ตางกันเล็กนอยจะเปนเสียงดัง-คอยสลับกันเปน
จังหวะคงตัว แตเสียงที่ไดยินจากแหลงกําเนิด
เสียงสองแหลงที่ความถี่เทากันตรงแนวกึ่งกลาง
คลื่น 143
ระหวางแหลงกําเนิดทั้งสองจะไดยินเสียงดัง
ตลอดเวลา

บันทึก กิจกรรม แนวทางการวัดและประเมินผล


ความถี่ของเครื่องกําเนิดสัญญาณเสียง เสียงที่ไดยิน ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง เสียง ไดจากผังมโน-
ความถี่ทั้งสองตัวเทากัน เสียงดังตลอดเวลา ทัศนที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑการวัดและ
ความถี่ทั้งสองตัวตางกันเล็กนอย เสียงดัง-คอยสลับกันเปนจังหวะ ประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการ
คงตัว จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 คลื่น
ตัวที่ถูกปรับความถี่ถูกปด เสียงดังตลอดเวลาเหมือนกันแต
เบากวาตอนที่เปดทั้งสองตัว
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1, 3-5 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
4 ความเป็นระเบียบ ระบบ
รวม 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T157
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย น โดยถามคํ า ถามกั บ 5. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เมือ่ แหล่งก�าเนิดเสียงให้เสียงออกมา เสียงก็จะกระจายออก
นักเรียนเพื่อเปนการกระตุนความสนใจ เชน ไปทุกทิศทางด้วยความถี่ที่เท่ากัน ถ้าแหล่งก�าเนิดเสียงหยุดนิ่งเราจะพบว่าเสียงที่ผู้ฟังได้ยินจะมี
นักเรียนคิดวา เสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจาก ความถี่เดียวกับที่แหล่งก�าเนิดเสียงให้ออกมา
ความถี่เดิมจะเปนอยางไร ถ้าแหล่งก�าเนิดเสียงและผูฟ้ งั เคลือ่ นทีส่ มั พัทธ์กนั ผูฟ้ งั จะได้ยนิ เสียงทีม่ คี วามถีต่ า่ งไปจาก
(แนวตอบ ความถีส่ งู กวาเดิมจะไดยนิ เสียงแหลม ความถี่ของเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียง ผลดังกล่าวนี้ เรียกว่า ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ (Doppler
แตถาความถี่ตํ่ากวาเดิมจะไดยินเสียงทุม) effect) เพื่อให้เกียรติคริสเตียน ดอปเพลอร์ (Christian Doppler) ซึ่งเป็นคนแรกที่อธิบาย
2. ครูแจงใหนกั เรียนทราบวาจะไดศกึ ษาเกีย่ วกับ ปรากฏการณ์นี้ เมือ่ ป พ.ศ. 2385 โดยปรากฏการณ์นจี้ ะเกิดขึน้ เมือ่ แหล่งก�าเนิดเสียงเคลือ่ นที่ ผูฟ้ งั
เคลื่อนที่ หรือทั้งแหล่งก�าเนิดเสียงและผู้ฟังเคลื่อนที่ ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไป
ปรากฏการณดอปเพลอร การสัน่ พองของเสียง
และประโยชนของเสียง
3. ครูสนทนากับนักเรียนวา “สําหรับปรากฏการณ B A
ดอปเพลอร เปนปรากฏการณทผี่ ฟู ง ไดยนิ เสียง
เปลีย่ นไปจากเดิม โดยไมปรับเปลีย่ นเสียงจาก
แหลงกําเนิด”
4. ครูถามนักเรียนตอวา “ถาไมปรับเสียงจาก
แหลงกําเนิดเสียง แลวความถี่เสียงเปลี่ยนไป
ไดอยางไร” โดยครูทิ้งชวงเวลาใหนักเรียนคิด
ภาพที่ 4.28 ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียง
และอาจสุมนักเรียนใหแสดงความคิดเห็นจาก ที่มา : คลังภาพ อจท
ความรูเดิม
(แนวตอบ แหลงกําเนิดเสียงหรือผูฟงเคลื่อนที่ จากภาพที่ 4.28 ผูฟ้ งั A และ B ยืนอยูร่ มิ ถนน ขณะนัน้ มีรถฉุกเฉินคันหนึง่ เคลือ่ นทีเ่ ข้าหา
ดวยความเร็วสัมพัทธที่ไมเทากับศูนย) ผูฟ้ งั A และในขณะเดียวกันก็เคลือ่ นทีห่ า่ งออกไปจากผูฟ้ งั B ไซเรนของรถฉุกเฉินปลดปล่อยเสียง
ความถี่ค่าหนึ่งออกมา ผลจากการเคลื่อนที่ของรถท�าให้ไซเรนเกิดการเคลื่อนที่ด้วย การเคลื่อนที่
ไปพร้อมกับรถท�าให้หน้าคลืน่ ของคลืน่ เสียงอัดตัวกันทางด้านหน้ารถและขยายออกทางด้านท้ายรถ
เนื่องจากระยะห่างระหว่างหน้าคลื่นที่อยู่ถัดกัน คือ ความยาวคลื่น ดังนั้น ความยาวคลื่นของเสียง
จากไซเรนที่ปรากฏต่อผู้ฟัง A จึงมีค่าน้อยกว่าความยาวคลื่นของเสียงจากไซเรนที่ปรากฏต่อ
ผูฟ้ งั B ท�าให้ผฟู้ งั A ทีแ่ หล่งก�าเนิดเสียงเคลือ่ นทีเ่ ข้าหาจะได้ยนิ เสียงความถีส่ งู กว่าเสียงจากแหล่ง
ก�าเนิดเสียง ขณะที่ผู้ฟัง B ที่แหล่งก�าเนิดเสียงเคลื่อนที่ห่างออกไปได้ยินเสียงความถี่ต�่ากว่าเสียง
จากแหล่งก�าเนิดเสียง
สรุปได้ว่า เมื่อแหล่งก�าเนิดเสียงเคลื่อนเข้าหาผู้สังเกตที่อยู่นิ่ง เสียงที่ผู้สังเกตได้ยินจะมี
ความถี่สูงกว่าเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียง แต่ถ้าแหล่งก�าเนิดเสียงเคลื่อนออกห่างผู้สังเกตที่อยู่นิ่ง
เสียงที่ผู้สังเกตได้ยินจะมีความถี่ต�่ากว่าเสียงจากแหล่งก�าเนิดเสียง
144

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ปรากฏการณดอป- ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยน-
เพลอร https://www.twig-aksorn.com/film/doppler-shift-8232/ แปลงของอะไร
1. ระดับเสียง 2. ความดังเสียง
3. ความเขมเสียง 4. มลพิษทางเสียง
5. ความไพเราะของเสียง
(วิเคราะหคําตอบ ปรากฏการณดอปเพลอรเกิดจากการเคลื่อนที่
สัมพัทธระหวางแหลงกําเนิดเสียงหรือผูฟ ง ทําใหผฟู ง ไดยนิ เสียงที่
มีความถีไ่ มเทากับความถีเ่ สียงทีแ่ หลงกําเนิดเสียงใหออกมา นัน่ คือ
ระดับเสียงทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป โดยระดับเสียงเกิดจากความถีข่ องการ
สัน่ สะเทือนของวัตถุ วัตถุทสี่ นั่ สะเทือนเร็วกวาทําใหเกิดระดับเสียง
สูงกวา ในขณะที่วัตถุที่สั่นสะเทือนชากวาทําใหเกิดระดับเสียงตํ่า
กวา ความถี่ซึ่งเปนตัวกําหนดระดับเสียงไดมาจากการวัดความ
สั่นสะเทือนของวัตถุ ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T158
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
6. การสั่นพ้องของเสียง เมื่อคลื่นเสียงตกกระทบหรือ 1. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง ปรากฏการณดอป-
เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของ เพลอรจากหนังสือเรียน
วัตถุหรือตัวกลางนัน้ ท�าให้วตั ถุหรือตัวกลางนัน้ สัน่ ด้วยแอมพลิจดู 2. ครูใหนกั เรียนศึกษา เรือ่ ง การสัน่ พองของเสียง
สูงกว่าปกติและเกิดเสียงดังมาก เรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า จากหนังสือเรียน
การสั่นพ้องของเสียง (sound resonance) ตัวอย่างการเกิดการ 3. ครูเตรียมขวดเปลา 2 ขวด โดยขวดใบหนึง่ เปน
สัน่ พ้องของเสียงทีพ่ บเห็นได้ทวั่ ไป ได้แก่ การเปาลมผ่านปากขวด ขวดเปลา สวนขวดอีกใบเติมนํา้ ลงไป 1/3 ของ
แล้วเกิดเสียงดังขึ้น ดังภาพที่ 4.29 ขวด จากนั้นสุมนักเรียนออกมาหนาชั้นเรียน
ลมทีเ่ ปาผ่านปากขวดท�าให้เกิดการหมุนวนของอากาศ ภาพที่ 4.29 การเกิดการสั่นพ้องของ แลวใหนกั เรียนลองปฏิบตั ติ ามเนือ้ หา เรือ่ ง การ
ซึ่งส่งผลให้เกิดส่วนอัดและส่วนขยายของอากาศ ท�าให้เกิดเสียง เสีที่มยางจากการเป าลมผานปากขวด
: คลังภาพ อจท. สัน่ พองของเสียง จากหนังสือเรียน เพือ่ ทดสอบ
ดังขึ้น เนื่องจากโมเลกุลของอากาศบริเวณปากขวดสั่นได้อย่าง วาผลที่เกิดขึ้นจะเปนอยางไร
อิสระ ขณะทีก่ น้ ขวดขัดขวางการสัน่ ของโมเลกุลของอากาศ ท�าให้ได้ยนิ เสียงความถีค่ า่ หนึง่ ดังจาก
บริเวณปากขวด ถ้าเทน�้าลงไปในขวดแล้วเปาลมผ่านปากขวดใหม่ จะได้ยินเสียงที่มีความถี่สูงขึ้น
ดังจากบริเวณปากขวด ความถี่ของเสียงจากการเปาลมผ่านปากขวดจึงขึ้นอยู่กับความยาวของ
ล�าอากาศในขวด และเพื่อยืนยันว่าการเกิดเสียงดังจากการเปาลมผ่านปากขวดเป็นผลจากการ
กระตุน้ ให้อากาศภายในขวดสัน่ ด้วยความถีเ่ ท่ากับความถีธ่ รรมชาติ ให้นา� ขวดทีม่ ขี นาดเท่ากันและ
มีรูปทรงเหมือนกัน (เพื่อให้มีความถี่ธรรมชาติเท่ากัน) มา 2 ใบ ถือขวดทั้งสองไว้ โดยให้ปากขวด
ใบแรกอยู่ใกล้ปากและให้ปากขวดใบที่สองอยู่ใกล้ช่องหู จากนั้นเปาลมผ่านปากขวดใบแรก
ดังภาพที่ 4.30 (ก) ผลที่เกิดขึ้น คือ จะได้ยินเสียงดังบริเวณปากขวดใบที่สองที่อยู่ใกล้หู โดยเสียง
ที่ได้ยินจะดังพอกันและทุ้ม-แหลมเหมือนกัน (ความถี่เท่ากัน) กับเสียงที่เกิดจากการเปาลมผ่าน
ปากขวดใบแรก จากนั้นใส่น�้าลงไปในขวดใบแรก ถือขวดทั้งสองไว้แบบเดิม แล้วเปาลมผ่านปาก
ขวดใบแรก ดังภาพที่ 4.30 (ข) จนเกิดเสียงดังขึน้ บริเวณปากขวดใบแรก แต่ครัง้ นีจ้ ะไม่ได้เกิดเสียง
ดังขึ้นบริเวณปากขวดใบที่สอง เนื่องจากความยาวของล�าอากาศในขวดทั้งสองไม่เท่ากัน ความถี่
ธรรมชาติของอากาศในขวดทั้งสองมีค่าไม่เท่ากัน

(ก) (ข)
ภาพที่ 4.30 การทดลองเปาปากขวดเพื่อกระตุ้นให้อากาศภายในขวดสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่น 145

ขอสอบเนน การคิด
หลอดปลายปดดานหนึ่งยาว 20 เซนติเมตร เมื่อใหเสียงความถี่ตางๆ ตั้งแต 20-5,000 เฮิรตซ เขาทางปลายดานที่เปด พบวา จะไดยินเสียง
ดังมากกวาปกติ มีความถี่ตํ่าสุดและสูงสุดเทาใด ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 360 เมตรตอวินาที และความยาวคลื่นเทากับ 80 เซนติเมตร
1. 450-4,500 เฮิรตซ 2. 450-4,850 เฮิรตซ 3. 450-4,950 เฮิรตซ 4. 900-4,500 เฮิรตซ 5. 900-4,950 เฮิรตซ
(วิเคราะหคําตอบ จากขอบเขตความถี่ที่โจทยกําหนด เริ่มคิดที่ความถี่ตํ่าสุด (f0)
จากสมการ v = fλ
360 = f0(0.8)
f0 = 360
0.8 = 450 Hz
ความถี่ถัดไปจะเปนจํานวนคี่เทา 3f0 = (3)(450) = 1,350 Hz
5f0 = (5)(450) = 2,250 Hz

11f0 = (11)(450) = 4,950 Hz
จะไดวา เสียงดังมากกวาปกติที่ความถี่ตํ่าสุด 450 เฮิรตซ และความถี่สูงสุด 4,950 เฮิรตซ ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T159
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ครูอาจนําสอมเสียงขนาดตางๆ พรอมกับชุด การเปลีย่1นแปลงค่าความถีธ่ รรมชาติตามความยาวของล�าอากาศในขวดหรือท่อ ทดสอบ
ทดลองทอสัน่ พองของเสียง มาแสดงใหนกั เรียน ได้โดยใช้ส้อมเสียง ซึ่งส้อมเสียงเป็นแหล่งก�าเนิดเสียงอย่างหนึ่ง ส้อมเสียงแต่ละอันจะมีความถี่
ศึ ก ษาประกอบกั บ การศึ ก ษาเนื้ อ หา จาก ธรรมชาติในการสั่นอยู่ค่าหนึ่ง เมื่อเคาะเบา ๆ ที่ขาข้างหนึ่งของส้อมเสียง ส้อมเสียงจะสั่นและ
หนังสือเรียน ให้เสียงความถี่ค่านั้นออกมา โดยส้อมเสียงที่มีความถี่สูงจะสั้นกว่าส้อมเสียงที่มีความถี่ต�่า ซึ่ง
5. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สอดคล้องกับความยาวของอากาศในขวด
การสั่นพองของเสียงจากอินเทอรเน็ต จากนั้น ความถี่ต�่า ความถี่สูง
ใหนักเรียนเขียนสรุปความรูลงในสมุดบันทึก
ประจําตัว
6. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ ประโยชนของ
เสียงจากหนังสือเรียน
7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า แผ น พั บ ความรู  ข นาด A4
เกี่ยวกับประโยชนของเสียง โดยครูกําหนดให
มีการยกตัวอยางการนําความรู เรื่อง เสียงไป ภาพที่ 4.31 ส้อมเสียงที่มีความถี่ต่างๆ กัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ประยุกตใช ซึ่งเปนตัวอยางที่ไมซํ้ากับหนังสือ
เรียน ถาเวลาไมพอครูอาจกําหนดใหนักเรียน เมือ่ เคาะส้อมเสียงอันหนึง่ แล้วถือไว้เหนือปากท่อของอุปกรณ์ทเี่ รียกว่า ท่อสัน่ พ้องเสียง
(resonance tube) จากนัน้ เพิม่ ความยาวของล�าอากาศในท่อโดยการลดระดับน�า้ ในท่อลงช้า ๆ (ตอน
นํากลับไปทําเปนการบาน แลวนํามาสงใน
เริ่มต้นให้เติมระดับน�้าสูงเกือบถึงปากท่อ) เมื่อความยาวของล�าอากาศในท่อมีค่าเหมาะสมจะเกิด
ชั่วโมงถัดไป การสั่นพ้องขึ้น และเสียงจากการสั่นพ้องจะแทรกสอดกับเสียงจากส้อมเสียงท�าให้เกิดคลื่นนิ่งที่
มีแอมพลิจูดมากกว่าแอมพลิจูดของเสียงจากส้อมเสียงมาก ท�าให้ได้ยินเสียงซึ่งดังกว่าเสียงจาก
ส้อมเสียง ซึง่ ดังขึน้ บริเวณปากท่อ โดยความถีข่ องเสียงทีไ่ ด้ยนิ นี้ มีคา่ เท่ากับความถีข่ องส้อมเสียง
กระปองสามารถเลื่อนขึ้น
ท่อแก้วหรือท่อพลาสติกใส และเลื่อนลงเพื่อเพิ่มความ
ระดับน�้า ยาวของล�าอากาศได้
สเกล (cm) ส�าหรับอ่านค่า
ความยาวของล�าอากาศ สายยาง

ภาพที่ 4.32 ท่อสั่นพ้องเสียง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
146

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สอมเสียง (tuning fork) คือ แทงโลหะที่มีปลาย 2 กาน ขึ้นรูปเปนรูปตัว X เปนระดับเสียงดนตรีทมี่ คี วามถี่ 340 เฮิรตซ เสียง X′ เปนเสียง
U ทําจากวัสดุที่มีความยืดหยุน ซึ่งโดยปกติจะทําจากเหล็กกลา เมื่อทําใหสอม คูแปดของเสียง X ถาอากาศมีอุณหภูมิเทากับ 15 องศาเซลเซียส
เสียงเกิดการสั่นสะเทือนดวยการเคาะที่พื้นผิวของมันหรือตีดวยวัตถุ สอมเสียง ความยาวคลื่นของเสียง X′ ในอากาศเทากับกี่เมตร
จะสะทอนเสียงในระดับเสียงที่คงตัว หลังจากนั้นใหรอสักพัก ปลอยใหเสียงสูง 1. 0.2 เมตร 2. 0.5 เมตร 3. 0.8 เมตร
คอยๆ หายไป ระดับเสียงที่อยูในสอมเสียงจะถูกปลอยออกมา ขึ้นอยูกับ 4. 2.0 เมตร 5. 3.0 เมตร
ความยาวของกานโลหะทัง้ สอง ซึง่ จะมีสว นทีไ่ มเกิดการสัน่ สะเทือน 2 จุด ใกลกบั (วิเคราะหคําตอบ พิจารณา X′ จากโจทยกําหนดวาเปนเสียงคู
แนวโคงของตัว U สอมเสียงใชเปนความถี่อางอิง เชน นิยมใชเทียบระดับเสียง แปดของ X แสดงวา X′ มีความถี่เปนสองเทา X คือ 680 เฮิรตซ
เครื่องดนตรี จากสมการ v = fλ
331 + 0.6t = f λ
331 + 0.6(15) = (680)λ
340 = 680λ
λ = 340 = 0.5 m
680
จะไดวา ความยาวคลืน่ ของเสียง X′ ในอากาศเทากับ 0.5 เมตร

T160 ดังนั้น ตอบขอ 2.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
7. ประโยชน์ของเสียง เสียงไม่ได้มปี ระโยชน์ตอ่ มนุษย์เพียงใช้ในการพูดคุย ติดต่อสือ่ สาร 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สนทนาเกี่ ย วกั บ
สร้างความบันเทิง หรือเตือนภัยเท่านั้น มนุษย์ยังน�าความรู้เรื่องเสียงมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ประโยชน ข องเสี ย งจากตั ว อย า งที่ มี อ ยู  ใ น
อีกมากมาย โดยสร้างเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อาศัยสมบัติบางประการของเสียง ตัวอย่าง หนังสือเรียน
เช่น 2. ครูสุมนักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับการนํา
• เครือ่ งอัลตราซาวนด์ (ultrasound) ทีใ่ ช้ในทางการแพทย์ เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้ตรวจอวัยวะ ความรูเกี่ยวกับเสียงไปประยุกตใช
ภายในของผู1 ้รับการตรวจ เช่น หัวใจ มดลูก ครรภ์ เนื้องอก เป็นต้น โดยเครื่องอัลตราซาวนด์จะ
ส่งคลื่นดลหรือพัลส์ (pulse) ของคลื่นเหนือเสียง (ความถี่อยู่ในช่วง 1- 5 เมกะเฮิรตซ์) ผ่านผิวหนัง ขยายความเขาใจ
เข้าไปในร่างกายผูร้ บั การตรวจ และจะเกิดสัญญาณสะท้อนกลับมายังเครือ่ งรับคลืน่ สะท้อน จากนัน้ 1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หาโดยเปด PowerPoint
จะเปลีย่ นสัญญาณสะท้อนเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งต่อไปยังเครือ่ งวิเคราะห์สญั ญาณ เพือ่ ประมวลผล เรื่องที่สอนควบคูไปดวย
ออกมาเป็นภาพบนจอแสดงผล เช่น การตรวจครรภ์ด้วยเครื่องอัลตราซาวนด์ เป็นต้น 2. ครูใหนกั เรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง ปรากฏ-
• อุปกรณ์โซนาร์ (sonar) ท�างานโดยส่งคลืน่ เหนือเสียงไปกระทบวัตถุแล้วสะท้อนกลับเพือ่ การณดอปเพลอร ลงในกระดาษ A4
หาต�าแหน่งของวัตถุ อุปกรณ์โซนาร์ใช้ในการเดินเรือ การวัดความลึกของทะเล การท�าแผนที่พื้น 3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ทะเล การประมง (หาต�าแหน่งของฝูงสัตว์น�้า) การติดตามเรือ เรือด�าน�้า และขีปนาวุธ เป็นต้น ของตนเองหนาชั้นเรียน
ในการวัดความลึกของทะเล อุปกรณ์สง่ คลืน่ เหนือเสียง (transmitter) จะส่งพัลส์ของคลืน่ 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาและทํ า แบบฝ ก หั ด จาก
เหนือเสียงออกไปตกกระทบและสะท้อนกลับจากพืน้ ทะเลเข้าสูอ่ ปุ กรณ์รบั คลืน่ เหนือเสียง ความลึก Topic Question เรื่อง คลื่นกล จากหนังสือ
ของทะเลหาจากเวลาทีผ่ า่ นไปนับจากการส่งพัลส์ของคลืน่ เหนือเสียงออกไปจนได้รบั คลืน่ ทีส่ ะท้อน
เรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว แลวนํามาสง
กลับจากพืน้ ทะเล โดยอุปกรณ์โซนาร์จะน�าเวลาทีต่ รวจวัดได้ไปค�านวณและแสดงผลให้ทราบความลึก
ครูทายชั่วโมง
ของทะเลบนจอแสดงผลของอุปกรณ์โซนาร์ในเวลาอันรวดเร็ว
5. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด
เรือ่ ง ปรากฏการณดอปเพลอร จากแบบฝกหัด
วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสกิ ส) ม.5 มาสงครู
อุปกรณ์ส่งและรับ อุปกรณ์ส่งคลื่น ในชั่วโมงถัดไป
คลื่นเหนือเสียง เหนือเสียง
อุปกรณ์รับคลื่น
คลื่นเหนือเสียง เหนือเสียง
ที่ส่งออกมา คลื่นเหนือเสียง คลื่นเหนือเสียง
ที่สะท้อนกลับ ที่ส่งออกมา
คลื่นเหนือเสียง
ที่สะท้อนกลับ

(ก) การประมง (ข) การวัดความลึกของทะเล


ภาพที่ 4.33 การใช้อุปกรณโซนาร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่น 147

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


อุปกรณโซนารในเรือประมงลําหนึง่ ไดรบั สัญญาณทีส่ ะทอนจาก 1 คลื่นดล (pulse wave) คือ คลื่นที่เกิดจากการที่แหลงกําเนิดสั่นหรือการ
ทองทะเลหลังจากสงสัญญาณลงไปเปนเวลา 0.6 วินาที ถาอัตรา รบกวนตัวกลางเปนชวงเวลาสั้นๆ ทําใหเกิดคลื่นแผออกไปเปนจํานวนนอยๆ
เร็วของเสียงในนํา้ เปน 1,500 เมตรตอวินาที ทะเลมีความลึกเทาใด เพียง 1 หรือ 2 คลื่น เชน การใชนิ้วจุมที่ผิวนํ้าเพียงครั้งหรือ 2 ครั้ง หรือการ
1. 150 เมตร 2. 200 เมตร สะบัดเชือก เพื่อใหเกิดคลื่นในเสนเชือกเพียง 1 หรือ 2 ครั้ง หรือการโยนหินลง
3. 300 เมตร 4. 450 เมตร ไปในนํ้า ทําใหเกิดระลอกคลื่นกระจายเปนวงออกจากจุดศูนยกลางตําแหนงที่
5. 550 เมตร หินตกลงไป และเกิดเปนคลื่นเพียงแคระลอกเดียวกอนจะหายไป
(วิเคราะหคําตอบ ระยะที่เสียงจากอุปกรณโซนารเดินทางเปน
2 เทา ของความลึก (d)
จากสมการ Δx = vt
2d = (1,500)(0.6)
2d = 900
d = 450 m
จะไดวา ทะเลมีความลึก 450 เมตร ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T161
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ • การเปลงเสียงของมนุษย เสียงที่มนุษยเปลงออกมาตองอาศัยการเปด-ปดโพรงหรือชอง
ปรากฏการณดอปเพลอร การสั่นพองของเสียง ตาง ๆ ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง ไมวาจะเปนชองคอ โพรงจมูก ชองปาก ประกอบกับอวัยวะในชอง
ประโยชนของเสียง เพื่อใหนักเรียนทุกคนไดมี ปาก เชน ลิ้น ฟน เพดานปาก ริมฝปาก เปนตน
ความเขาใจในเนื้อหาที่ไดศึกษามาแลวไปในทาง โพรงจมูก ชองปาก
เดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง โดยครู เพดานแข็ง เพดานออน
ให นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด บั น ทึ ก
ริมฝปาก คอหอย
ประจําตัว
ฟน ลิ้นเปด-ปดกลองเสียง
ขัน้ ประเมิน ลิ้น
ตรวจสอบผล กลองเสียง หลอดอาหาร
1. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า แผ น พั บ ความรู 
เรื่อง ประโยชนของเสียง
2. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง ภาพที่ 4.34 อวัยวะตางๆ ในระบบการเปลงเสียงของมนุษย
คลื่นกล ในสมุดบันทึกประจําตัว ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง เสียง จากแบบ- การสั่นพองดังกลาวทําใหเกิดเสียงพยัญชนะหรือสระของภาษาที่ตองการพูด โดยเสียง
ฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 ในภาษาเกิดจากลมจากปอดผานทอลม กลองเสียง เมื่อลมผานเสนเสียงภายในกลองเสียง
4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ เสนเสียงจะสั่นทําใหเกิดเสียง และขณะที่ลมผานชองปากหรือชองจมูก อวัยวะตาง ๆ เชน ลิ้น
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล เพดานปาก ปุมเหงือก ฟน ริมฝปาก จะปรับระดับลมใหเปนเสียงตาง ๆ ตามที่ผูพูดตองการ
และการทํางานกลุม Topic
5. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป Question
เนื้อหา เรื่อง ปรากฏการณดอปเพลอร ที่
?
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
นักเรียนไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความเขาใจ
1. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางมีความเหมือนหรือตางกัน อยางไร
เปนรายบุคคล
2. การเห็นฟาแลบแลวไมไดยินเสียงฟารองดังตามมาเปนผลจากสมบัติใดของเสียง
3. เสียงที่หูมนุษยรับรูไดมีความถี่อยูในชวงใด และระดับความดังของเสียงที่หูมนุษยรับฟงได
มีคาอยูในชวงใด
4. ผูฟงเคลื่อนที่เขาหาแหลงกําเนิดเสียงที่อยูนิ่ง จะไดยินเสียงที่มีความถี่สูงกวาหรือตํ่ากวา
ความถี่ของเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง ปรากฏการณที่เกิดขึ้นนี้เรียกวาปรากฏการณอะไร
5. ความถี่ธรรมชาติของอากาศภายในทอสัมพันธกับความยาวของลําอากาศอยางไร

148

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. คลืน่ ตามยาว เปนคลืน่ ทีเ่ มือ่ เคลือ่ นผานตัวกลาง อนุภาคตัวกลางจะสัน่
ครูสามารถวัดและประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ในแนวเดียวกับแนวการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ สวนคลืน่ ตามขวาง เปนคลืน่
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน
ที่เมื่อเคลื่อนผานตัวกลาง อนุภาคตัวกลางจะสั่นในแนวตั้งฉากกับแนว
รายบุคคล ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 คลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น
2. การเห็นฟาแลบแลวไมยินเสียงฟารองดังตามมา เปนผลจากสมบัติการ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
หักเหของเสียง
ลาดับที่
ระดับคะแนน

รายการประเมิน
3
ระดับคะแนน
2 1
3. เสียงที่หูมนุษยรับรูไดมีความถี่อยูในชวง 20 เฮิรตซ ถึง 20,000 เฮิรตซ
และระดับความดังของเสียงที่หูมนุษยรับฟงไดมีคาอยูในชวง 0-120
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีน้าใจ   

เดซิเบล
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
............/.................../................
4. ปรากฏการณดอปเพลอร
5. ความถี่ธรรมชาติของอากาศภายในทอมีคาตํ่าลงเมื่อความยาวของ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
14–15
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
ลําอากาศเพิ่มขึ้น
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T162
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
2. คลื่นแม่เËล็กไ¿¿‡า Prior Knowledge 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเกิดสนาม
มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยกับคลื่นกลมานานจนถึงป พ.ศ. คล×¹è áม‹àËลçกä¿¿‡ำ แมเหล็ก การเกิดกระแสไฟฟาเหนี่ยวนําใน
2416 เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell) ได้ µ‹ำ§จำกคล×¹è กล ขดลวดตัวนํา คลื่นและสมบัติของคลื่น เพื่อ
เสนอทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเสนอว่ามีคลื่นอีกชนิดหนึ่ง อย‹ำ§äร ทบทวนความรูของนักเรียนกอนเขาสูกิจกรรม
ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้
1 าและสนามแม่เหล็ก การจัดการเรียนรู
และเดินทางผ่านสุญญากาศได้ เรียกว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟา (electromagnetic waves; EM) ต่อมา 2. ครูตั้งคําถามใหเปนเปาหมายสําหรับนักเรียน
ในป พ.ศ. 2431 ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ (Heinrich Rudolf Hertz) ได้ท�าการทดลองแล้วพบว่า โดยเมือ่ จบกิจกรรมการจัดการเรียนรู นักเรียน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอยู่จริงในธรรมชาติส�าเร็จเป็นคนแรก โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เฮิรตซ์
จะตองตอบคําถามนี้ไดอยางถูกตอง ครบถวน
ค้นพบในครั้งนั้น คือ คลื่นวิทยุ และจากการศึกษาในเวลาต่อมาพบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีหลาย
รูปแบบและมีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง ซึ่งพิจารณาได้จาก สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟา และตรงประเด็น เชน “คลื่นแมเหล็กไฟฟาคือ
ที่น�าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบต่าง ๆ มาจัดเรียงกันตามความถี่หรือความยาวคลื่น อะไร เกิดขึ้นไดอยางไร คลื่นแมเหล็กไฟฟา
มีสมบัติเหมือนคลื่นกลที่ไดศึกษามาแลวหรือ
2.1 ลักษ³ะของคลื่นแม่เËล็กไ¿¿‡า ไม อยางไร”
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็ก (B) และสนามไฟฟ้า (E) ที่เปลี่ยนแปลง 3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
ตามเวลาในระนาบทีต่ งั้ ฉากกัน โดยการเหนีย่ วน�ากันอย่างต่อเนือ่ งระหว่างสนามแม่เหล็กและสนาม 4. ครูถามคําถามกระตุนความสนใจกับนักเรียน
ไฟฟ้าที่เป็นส่วนประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นกลไกในการแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดของ โดยใชคําถาม Prior Knowledge จากหนังสือ
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า เนือ่ งจากการเหนีย่ วน�าระหว่างสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าเกิดขึน้ ได้แม้แต่
ในสุญญากาศ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเคลื่อนผ่านสุญญากาศได้ และการเคลื่อนที่แบบคลื่นจะมีการ เรียนวา “คลื่นแมเหล็กไฟฟาตางจากคลื่นกล
ถ่ายโอนพลังงานไปพร้อม ๆ กับคลื่นด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นปรากฏการณ์การถ่ายโอน อยางไร”
พลังงานด้วยคลืน่ จากแหล่งก�าเนิดเช่นเดียวกับคลืน่ กล แต่ตา่ งจากคลืน่ กลตรงทีค่ ลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายโอนพลังงาน ส�าหรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทิศการเคลื่อนที่หรือ
ทิศการถ่ายโอนพลังงานของคลื่นอยู่ในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Y E คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง
เพราะสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าทีเ่ ป็นส่วน
E c c ประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง
B
O B ในแนวตั้ ง ฉากกั บ ทิ ศ การเคลื่ อ นที่ ข องคลื่ น
B E เมื่ อ วั ต ถุ ใ ดดู ด กลื น คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ที่ ม า
Z ตกกระทบอุณหภูมขิ องวัตถุนนั้ จะสูงขึน้ แสดงว่า
X มีการถ่ายโอนพลังงานไปพร้อมกับคลืน่ แม่เหล็ก แนวตอบ Prior Knowledge
E
B ไฟฟ้าเช่นเดียวกับคลื่นกล
คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เป น คลื่ น ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ไ ม
ภาพที่ 4.35 ส่วนประกอบและทิศทางการเคลื่อนที่ของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟา อาศัยอนุภาคตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถายโอน
ที่มา : คลังภาพ อจท. พลังงาน ซึ่งตางจากคลื่นกล เชน เสียง ที่ตอง
คลื่น 149
อาศัยอนุภาคตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถายโอน
พลังงาน

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


คลื่นกลและคลื่นแมเหล็กไฟฟาแตกตางกันอยางไร 1 สุญญากาศ (vacuum) คือ ปริมาตรของชองวางซึ่งไมมีสสารอยูภายใน
1. ทิศทางการเคลื่อนที่แตกตางกัน เหมือนกับความดันแกสที่นอยกวาความดันบรรยากาศมากๆ ในความเปนจริง
2. องคประกอบของคลื่นแตกตางกัน เราไมสามารถทําใหปริมาตรของชองวางวางเปลาไดอยางสมบูรณ ที่เรียกวา
3. ความหลากหลายของชนิดของคลื่น สุญญากาศสมบูรณ (perfect vacuum) ซึง่ มีความดันแกสเปนศูนย สุญญากาศ
4. ตัวกลางในการเคลื่อนที่แตกตางกัน สมบูรณจงึ เปนแนวความคิดทีไ่ มสามารถสังเกตการณไดในทางปฏิบตั ิ นักฟสกิ ส
5. การสั่นของอนุภาคตัวกลางแตกตางกัน มักจะถกเถียงเกีย่ วกับผลการทดลองในอุดมคติวา จะเกิดอะไรขึน้ ในสุญญากาศ
(วิเคราะหคาํ ตอบ คลืน่ กลเปนคลืน่ ทีต่ อ งอาศัยอนุภาคของตัวกลาง สมบูรณ โดยใชคําวา สุญญากาศ แทน สุญญากาศสมบูรณ และใชคําวา
ในการเคลื่อนที่หรือถายโอนพลังงาน แตคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปน สุญญากาศบางสวน (partial vacuum) แทนความหมายของสุญญากาศที่เกิด
คลืน่ ทีไ่ มตอ งอาศัยอนุภาคของตัวกลางในการเคลือ่ นทีห่ รือสงผาน ขึ้นไดจริง
พลังงาน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T163
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นทีน่ งั่ ขางๆ จากนัน้ 2.2 สเปกตรัมคลื่นáม‹เËล็กไ¿¿‡า
รวมกันศึกษา เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ใน หลังการค้นพบคลื่นวิทยุของเฮิรตซ์ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปอื่น ๆ
หัวขอลักษณะของคลื่นแมเหล็กไฟฟา และ อีกหลายชนิด และพบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง (104 เฮิรตซ์ ถึง
สเปกตรัมคลืน่ แมเหล็กไฟฟาจากหนังสือเรียน 1023 เฮิรตซ์) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกย่านความถี่ (หรือความยาวคลื่น) รวมกัน เรียกว่า สเปกตรัม
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จากสื่ อ คลื่นแม่เหล็กไฟฟา (electromagnetic spectrum) ดังภาพที่ 4.36
ดิจิทัล โดยครูใหนักเรียนนําสมารตโฟนขึ้นมา
แลวนําไปสแกน QR Code เรือ่ ง คลืน่ แมเหล็ก-
วิทยุ ไมโครเวฟ อินฟราเรด แสงขาว อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา
ไฟฟา จากหนังสือเรียน
3. ครูแนะนําใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติม
จากอินเทอรเน็ต และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับ
สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟาใหไดมากที่สุด
จากนั้นรวมกันสนทนา แลวอภิปรายผลการ
ศึกษารวมกัน

104 - 109 108 - 1012 1011 - 1014 1014 1015 - 1018 1016 - 1019 1019 - 1023
ช่วงความถี่ -6(Hz)
103 10-2 10-5 5 × 10 10-8 10-10 10-12
ความยาวคลื่น (m)

1 100 10,000 10 million


อุณหภูมิ (K)
ภาพที่ 4.36 สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน คือ
คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสงขาว รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา ซึ่งเรียง
ล�าดับจากความถี่ต�่าไปสูงหรือเรียงล�าดับจากความยาวคลื่นยาวไปสั้น แต่ไม่มีเส้นแบ่งที่ชัดเจน
ระหว่างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างชนิดที่อยู่ถัดกันในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กล่าวคือ มีการ
เหลื่อมซ้อนกันของช่วงความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีชื่อเรียกต่างกันดังข้อมูลช่วงความถี่
(โดยประมาณ) ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แสดงดังภาพที่ 4.36

150 คลื่นแมเหล็กไฟฟา

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นในขอใดไมเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
1. คลื่นแสง
2. คลื่นวิทยุ
3. รังสีเอกซ
4. คลื่นเสียง
5. คลื่นไมโครเวฟ
(วิเคราะหคําตอบ คลื่นเสียงเปนคลื่นกล อาศัยตัวกลางในการ
เคลื่อนที่ คือ อากาศ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T164
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2.3 แสง 4. ครูใหนักเรียนแตละคูรวมกันศึกษา เรื่อง แสง
แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพียงชนิดเดียวที่นัยน์ตามนุษย์สามารถรับรู้ได้ แสงจากแหล่ง จากหนังสือเรียน
ก�าเนิดธรรมชาติที่ส�าคัญมาก คือ แสงจากดวงอาทิตย์หรือแสงแดด ซึ่งเป็นแสงใสไม่มีสี เรียกว่า 5. ครูใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
แสงขาว (white light) แต่เมื่อแสงขาวหักเหผ่านปริซึมหรือผ่านละอองน�้าในอากาศจะแยกออก สเปกตรัมของแสงขาวตามความยาวคลืน่ จาก
เป็นแสงสีต่าง ๆ อินเทอรเน็ต โดยพยายามรวบรวมขอมูลที่
เกี่ยวของใหไดมากที่สุด
แสงที่มนุษย์สามารถมอง
เห็นได้ หรือแสงขาว

สเปกตรัมของแสงขาว
ปริซึมสามเหลี่ยม
ภาพที่ 4.37 แสงขาวตกกระทบผิวปริซึมสามเหลี่ยมแล้วเกิดการกระจายแสง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การทีแ่ สงขาวแยกออกเป็นแสงสีตา่ ง ๆ เมือ่ ผ่านปริซมึ หรือละอองน�า้ เป็นเพราะแสงสีตา่ งกัน


จะเกิดการหักเหไม่เท่ากัน โดยสเปกตรัมของแสงนั้นประกอบไปด้วยแสงสีม่วง แสงสีคราม แสงสี
น�้าเงิน แสงสีเขียว แสงสีเหลือง แสงสีแสด และแสงสีแดง เมื่อเรียงล�าดับแสงสีต่าง ๆ ตาม
ความยาวคลื่น จากความยาวคลื่นสั้นไปหาความยาวคลื่นยาว ดังภาพที่ 4.38

รังส )
ีอัลต (IR
ราไ เรด
วโอ
เลต อี ินฟรา
(UV รังส
)

400 450 500 550 600 650 700

ภาพที่ 4.38 สเปกตรัมของแสงขาวตามความยาวคลื่น มีหน่วยเปน นาโนเมตร (nm)


ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่น 151

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใดตอไปนี้มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สี
1. แสงขาว https://www.twig-aksorn.com/film/colour-8239/
2. คลื่นวิทยุ
3. รังสีแกมมา
4. รังสีอินฟาเรด
5. คลื่นไมโครเวฟ
(วิเคราะหคําตอบ จากสเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา เมื่อเรียง
ลําดับคลื่นแมเหล็กไฟฟาตามความยาวคลื่นจากนอยไปมาก ได
ดังนี้ คลืน่ วิทยุ คลืน่ ไมโครเวฟ อินฟาเรด แสงขาว อัลตราไวโอเลต
รังสีเอกซ รังสีแกมมา ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T165
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
6. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา “นักเรียนทราบ 1. ตากับการมองเห็น ตาของมนุษยมรี ปู ทรงเกือบเปนทรงกลม ภายในมีของเหลวใสบรรจุ
หรือไมวาตาของมนุษยมีสวนประกอบอะไร อยู โดยมีเนื้อเยื่อที่เหนียวและแข็งแรงหุมไวจึงคงรูปรางอยูได ตาอยูในโพรงชองวางของกะโหลก
บาง และทําหนาที่อะไร” ศีรษะใตหนาผากที่เรียกวาเบาตาหรือกระบอกตา โดยมีกลามเนื้อยึด 6 มัด ชวยใหกลอกตาไปมา
(แนวตอบ ตาของมนุษยมสี ว นประกอบมากมาย ได สวนประกอบตาง ๆ ของตาพิจารณาไดจากภาพที่ 4.39
1
และสวนประกอบตางๆ ก็มีหนาที่แตกตางกัน สเคลอรา (sclera)
(
ไป เชน กระจกตา ทําหนาที่เปนทางผานของ กระจกตา (cornea) ส ว นสี ข าวของนั ย น ต า เป น
ทางผานของแสงเขาสูตา เนื้อเยื่อชั้นนอกที่หอหุมลูกตา
แสงเขาสูตา มานตา ทําหนาที่ควบคุมปริมาณ
มานตา (iris) จอตา (retina)
แสงที่จะผานไปสูเลนสตา) ควบคุมปริมาณแสงที่จะ จอประสาทตา ชวยใหมองภาพ
7. ครูอาจถามคําถามตอวา “การทีม่ นุษยมองเห็น ผานไปสูเลนสตา ไดชัดเจน
วัตถุเปนสีตางๆ เกิดจากอะไร” รูมานตา (pupil) เสนประสาทตา (optic nerve)
ทางผานของแสงเขาสู ตัวสงผานการกระตุนของการ
(แนวตอบ เกิดจากการที่แสงตกกระทบจอตา เลนสตา มองเห็ น จากจอประสาทตา
ซึ่งมีเซลลรับแสงอยู ทําใหมนุษยมองเห็นวัตถุ เลนสตา (lens) มายังสมอง
เปนสีตางๆ ได) ทําใหแสงหักเหแลวไปตก กลามเนื้อยึดเลนสตา
บนจอตา (ciliary muscle)
ควบคุมความนูนของเลนสตา
ภาพที่ 4.39 โครงสรางของนัยนตา
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การมองเห็นเปนการทํางานรวมกันของตาและสมอง การมองเห็นชวยใหจดจําและแยก
ความแตกตางของสิง่ ตาง ๆ ไดดกี วาการไดยนิ และการสัมผัส โดยการมองเห็นวัตถุเปนสีตา ง ๆ นัน้
เกิดจากการที่แสงตกกระทบจอตา (retina) ซึ่งมีเซลลรับแสงที่ประกอบดวยเซลลรูปแทงและเซลล
รูปกรวย ดังภาพที่ 4.40

เซลลรูปแทง

เซลลรูปกรวย

เซลลประสาทสองขั้ว

เซลลปมประสาท

ภาพที่ 4.40 เซลลรูปกรวยและเซลลรูปแทงในจอตา


ที่มา : คลังภาพ อจท.
152

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 สเคลอรา (sclera) หรือเปลือกลูกตา เปนชั้นนอกสุดของลูกตา เห็นเปน แนวคิ ด ที่ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ของแมกซ เ วลล เ กี่ ย วกั บ ทฤษฎี
สีขาว มีลกั ษณะเหนียวแตไมยดื หยุน กลาวไดวา เปนสวนตาขาวทีเ่ รามองเห็นได คลื่นแมเหล็กไฟฟาคืออะไร
เวลาลืมตา สวนที่คลุมตาดําก็เปนสเคลอรา แตมีลักษณะใส เรียกวา กระจกตา (แนวตอบ แมกซเวลล (Maxwell) เปนผูใหทฤษฎีเกี่ยวกับ
(cornea) ซึง่ เปนทางผานของแสงเขาสูต าชัน้ ใน กระจกตามีเยือ่ บางๆ ใสๆ คลุม คลืน่ แมเหล็กไฟฟา โดยไดทาํ นายกอนทีจ่ ะมีการทดลองสนับสนุน
อยู คือ เยื่อตา (conjunctiva) ซึ่งจะชุมชื้นอยูเสมอ เพราะมีนํ้าตาและนํ้ามันมา ไววา “ถาสนามแมเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงจะเหนื่ยวนําใหเกิด
เคลือบอยู การเปลี่ยนดวงตาของแพทย คือ การเปลี่ยนกระจกตา ถาหากมีบาง สนามไฟฟา และถาสนามไฟฟาเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิด
สิง่ บางอยางมาปดกระจกตา จะทําใหขนุ ไมใส เรียกวา เปนตอเนือ้ หรือตอกระจก สนามแมเหล็ก” นั่นคือ เมื่อประจุไฟฟาเคลื่อนที่ดวยความเรงหรือ
ความหนวงจะสามารถแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาได)

T166
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1
เซลล์รูปแท่ง (rod cells) รับรู้เกี่ยวกับความเข้มแสงและการเคลื่อนไหว เซลล์รูปแท่งมี 8. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการมองเห็นภาพ
ความไวต่อแสงความเข้มต�่ามากกว่าเซลล์รูปกรวย (cone cells) แต่แยกความแตกต่างของสีไม่ได้ จากหนังสือเรียน จากนัน้ ครูอาจสุม นักเรียนให
การมองเห็นในเวลากลางคืนจึงเกิดจากการท�างานของเซลล์รปู แท่ง โดยภาพทีเ่ ห็นจะเป็นภาพขาว ยืนขึน้ แลวอธิบายการมองเห็นภาพของมนุษย
ด�า เซลล์รปู กรวยรับรูเ้ กีย่ วกับสีโดยต้องการแสงพอประมาณและท�าหน้าทีไ่ ด้ดใี นทีท่ มี่ แี สงสว่างมาก จากที่ไดศึกษามาแลว
เซลล์รปู แท่งและเซลล์รปู กรวยเชือ่ มต่อกันด้วยเซลล์ประสาทและใยประสาท โดยใยประสาทจะรวม 9. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ การมองเห็ น
กันเป็นเส้นประสาทตา (optic nerve) ซึ่งเป็นทางผ่านของสัญญาณไฟฟ้าเคมี (electrochemical ภาพ จากนั้ น ครู แ บ ง นั ก เรี ย นออกเป น กลุ  ม
signal) ที่เซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยสร้างขึ้นเพื่อน�าข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เห็นไปยังสมอง
โดยใชเกณฑการแบงตามความผิดปกติทาง
เซลล์ทงั้ สองชนิดมีปริมาณและกระจายตัวอยูใ่ นบริเวณต่าง ๆ บนจอตาไม่เท่ากัน โดยเซลล์
สายตา ไดแก สายตาปกติ สายตาสั้น สายตา
รูปแท่งมีประมาณ 20 เท่าของเซลล์รูปกรวย บริเวณบนจอตาที่ไม่มีเซลล์รูปแท่งอยู่เลย เรียกว่า
มาคูลา (macula) จุดกึ่งกลางของมาคูลา เรียกว่า โฟเวีย (fovea) ใช้ส�าหรับเพ่งดูรายละเอียดของ ยาว สายตาเอียง แลวใหนักเรียนแยกเขากลุม
ภาพให้เห็นชัดที่สุดและใช้แยกความแตกต่างของสีต่าง ๆ และบางบริเวณไม่มีทั้งเซลล์รูปแท่งและ ของตนเอง
เซลล์รูปกรวยอยู่เลย เรียกบริเวณนั้นว่า จุดบอด (blind spot) ซึ่งแสงที่ตกบริเวณนั้นจะไม่มีภาพ
เกิดขึ้น
การมองเË็นÀาพ
4

1 2

1 2 3 4 5
แสงจากวัตถุผ่าน ม่านตาหดหรือขยายตัว แสงหักเหผ่าน เซลล์รูปแท่งและเซลล์ เกิดกระแสประสาท
กระจกตา เพื่อปรับปริมาณแสงที่ เลนส์ตาไปตก รูปกรวยรับแสงและสี ส่งไปยังสมอง ท�าให้
เข้าตา บนจอตา ของวัตถุ มองเห็นภาพ

ภาพที่ 4.41 การมองเห็นภาพ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
การมองเห็นภาพเกิดขึ้นเมื่อแสงจากวัตถุหักเหผ่านระบบหักเหแสงของตา (กระจกตา
ของเหลวในช่องหน้าลูกตา เลนส์ตา และวุน้ ใสหลังเลนส์ตา) ไปตกบนจอตา เมือ่ เซลล์รบั แสงทัง้ รูป
แท่งและรูปกรวยได้รบั แสง จะตอบสนองต่อแสงและสร้างสัญญาณไฟฟ้าเคมีสง่ ผ่านเส้นประสาทตา
เซลล์ประสาทจะเปลีย่ นสัญญาณไฟฟ้าเคมีเป็นสัญญาณประสาทก่อนส่งต่อไปยังสมอง ส่วนเปลือก
สมองส่วนการเห็น (visual cortex) ซึ่งท�าหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็นเพื่อแปลความสัญญาณท�าให้
เกิดการมองเห็นและรับรู้รูปร่างและสีของวัตถุ
คลื่น 153

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


คลื่นชนิดใดตอไปนี้ที่สามารถตรวจจับไดดวยจักษุสัมผัส 1 ความเขมแสง (light intensity) การวัดคาความเขมของแสง สามารถวัด
1. แสงขาว ไดหลายคา เชน
2. คลื่นวิทยุ • ลูเมน (lumen) เปนคาที่ใชในการวัดฟลักซ (flux) ซึ่งเปนคาของพลังงาน
3. รังสีเอกซ ที่เกิดมาจากแหลงกําเนิดแสงนั้นๆ ในเวลาหนึ่งๆ โดยการวัดจะวัดเฉพาะแสงที่
4. รังสีแกมมา สายตามนุษยสามารถมองเห็นได ไมไดวัดคาพลังงานทั้งหมด
5. คลื่นไมโครเวฟ • ลักซ (lux) เปนการวัดคาความสองสวาง (illumination) ซึ่งมีความ
(วิเคราะหคําตอบ จักษุสัมผัส คือ การมองเห็น ดวงตาสามารถ แตกตางจากฟลักซ เพราะฟลักซเปนคาพลังงานทีอ่ อกมาจากจุดกําเนิด แตความ
มองเห็นคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความยาวคลื่นของแสงขาว สองสวางเปนพลังงานแสงที่ตกกระทบพื้นผิว
(visible light) ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T167
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
10. ครูใหแตละกลุมรวมกันศึกษาเกี่ยวกับความ แสงจากวัตถุทผี่ า่ นระบบหักเหแสงของตาจะรวมกันแล้วตกลงบนจอตาพอดี โดยต�าแหน่ง
ผิดปกติทางสายตาจากหนังสือเรียน ใกล้สุดในการมองวัตถุที่ตามองเห็นภาพชัดเจน เรียกว่า จุดใกล้ (near point) และต�าแหน่ง
11. สมาชิ ก แต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น สนทนาและ ไกลสุดทีต่ าเห็นภาพชัดเจน เรียกว่า จุดไกล (far point) ส�าหรับคนทีม่ สี ายตาปกติ จุดใกล้จะอยูท่ รี่ ะยะ
อภิ ป รายผลการศึ ก ษาร ว มกั น จากนั้ น ครู ห่างประมาณ 25 เซนติเมตร จากตา โดยไม่ตอ้ งเพ่งมอง และจุดไกลสุดจะอยูท่ รี่ ะยะอนันต์ ดังภาพ
กําหนดใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานํา ที่ 4.42
เสนอผลการศึกษาของกลุมตนเองหนาชั้น จุดไกล (∞)
เรียน
12. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา “นอกจากความ 25 cm
ผิดปกติทางสายตาที่ไดศึกษามาแลว ยังมี จุดใกล้
ความผิดปกติหรือความบกพรองอะไรอีกบาง ภาพที่ 4.42 จุดไกลและจุดใกล้ของคนสายตาปกติ
ที่เกี่ยวกับการมองเห็น” ที่มา : คลังภาพ อจท.
(แนวตอบ ความบกพรองของการมองเห็นสี) ส�าหรับคนที่มีความผิดปกติทางสายตา ได้แก่ สายตาสั้น (myopia) สายตายาว (hyperopia)
13. ครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ศึ ก ษา และสายตาเอียง (astigmatism) มีสาเหตุและวิธีแก้ไข ดังภาพที่ 4.43
เกี่ ย วกั บ ความบกพร อ งของการมองเห็ น สี สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง
จากหนังสือเรียน

สาเหตุ : กระจกตาโค้งมากกว่าปกติ สาเหตุ : กระจกตาโค้ ง น้ อ ยกว่ า ปกติ สาเหตุ : กระจกตามีความโค้งไม่เท่า


แสงจากวัตถุจงึ ตกไม่ถงึ จอภาพ แสงจากวัตถุจงึ ตกเลยจอภาพ กัน แสงจากวัตถุจึงตกไม่ถึง
มองใกล้ชัดแต่มองไกลไม่ชัด มองไกลชัดแต่มองใกล้ไม่ชัด จอภาพ และมีความเบลอ

25 cm
วัตถุ
ระยะใกล้สุดที่เห็นชัด

แก้ไข : สวมแว่นตาทีท่ า� จากเลนส์เว้า แก้ไข : สวมแว่นตาทีท่ า� จากเลนส์นนู แก้ไข : สวมแว่ น ตาที่ ท� า จากเลนส์
เพื่ อ กระจายแสงให้ ไ ปตกที่ เพือ่ รวมแสงให้ไปตกทีจ่ อภาพ ทรงกระบอกหรือเลนส์กาบ
จอภาพพอดี พอดี กล้วย เพื่อรวมแสงให้ไปตก
ที่จอภาพพอดี
ภาพที่ 4.43 ความผิดปกติทางสายตาและการแก้ไข
ที่มา : คลังภาพ อจท.
154

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจนําความรูเ กีย่ วกับความผิดปกติทางสายตามาอธิบายหรือสนทนากับ คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทุกชนิดมีสมบัตเิ หมือนกันอยางหนึง่ สมบัติ
นักเรียน เชน สายตาสั้นเทียม (pseudomyopia) เปนภาวะสายตาสั้นที่เกิดขึ้น ดังกลาวคืออะไร
จากกลามเนื้อในเนื้อเยื่อ ciliary body ในลูกตาที่ใชในการเพงมองสิ่งที่อยูใกล 1. มีความถี่เทากัน
เปนเวลานานๆ กลามเนื้อมัดนี้จะมีการทํางานมากเกินไปจนเกิดการเกร็งคาง 2. เลี้ยวเบนไดเทากัน
จึงเกิดภาวะสายตาสัน้ คางอยู เมือ่ มองไกลจึงยังอยูใ นภาวะสายตาสัน้ ทําใหมอง 3. แทรกสอดไดเทากัน
ภาพไกลไมชัด ซึ่งมักเปนอยูระยะเวลาหนึ่ง ถากลามเนื้อนี้คลายตัว สายตาก็จะ 4. มีความยาวคลื่นเทากัน
กลับมาเหมือนเดิม ดังนั้น ภาวะนี้จึงถือวาเปนสายตาสั้นเทียมหรือสายตาสั้น 5. มีอัตราเร็วในสุญญากาศเทากัน
ชั่วคราว ( วิ เ คราะห คํ า ตอบ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ทุ ก ชนิ ด เดิ น ทางใน
สุญญากาศดวยอัตราเร็วที่เทากัน โดยเทากับอัตราเร็วของแสงใน
สุญญากาศ (3 × 108 เมตรตอวินาที) ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T168
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
ระบบหักเหแสงของตาท�าให้เกิดภาพจริงหัวกลับของวัตถุบนจอตา แต่สมองจะแสดงเป็น 1. ครูนําตัวอยางแผนทดสอบการบอดสีอิชิฮารา
ภาพกลับกันกับภาพบนจอตาเพื่อสร้างภาพของวัตถุที่รับรู้จากการมองเห็นในสภาพการวางตัว มาแสดงใหนักเรียนดู
ทีแ่ ท้จริงของวัตถุนนั้ ส่วนสีของวัตถุทมี่ องเห็นนัน้ เป็นผลจากการรับรูข้ องเซลล์รปู กรวย 3 ชนิด ซึง่ 2. ครูใหนกั เรียนออกมาหนาชัน้ เรียนแลวทดสอบ
มีความไวต่อสีต่างกัน คือ เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน�้าเงิน กล่าวคือ การบอดสีทีละ 1 คน จนครบทุกคน เพื่อ
เมื่อแสงตกกระทบผิววัตถุ วัตถุจะดูดกลืนแสงสีบางสีไว้ ซึ่งขึ้นกับสารสีหรือเม็ดสี (pigment)
เปนการตรวจสอบความบกพรองของการมอง
บนผิววัตถุ แล้วสะท้อนแสงสีทเี่ หลือออกมา เมือ่ แสงสีทสี่ ะท้อนออกมาจากผิววัตถุเข้าสูต่ า ผลจาก
การรับรู้ร่วมกันของเซลล์รูปกรวยทั้ง 3 ชนิด ท�าให้มองเห็นวัตถุเป็นสีต่าง ๆ เห็นสีของตนเอง
มนุษย์อาจมีความบกพร่องในการมองเห็นสีได้ โดยอาจเกิดจากพันธุกรรม การได้รบั สาร 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสเปกตรัมของ
เคมีบางชนิดเข้าสู่ร่างกาย หรือจากสาเหตุอื่น ๆ ความบกพร่องของการมองเห็นสีของมนุษย์แบ่ง แสงขาวตามความยาวคลื่น โดยครูอาจสุม
ออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ ดังนี้ นักเรียนใหอธิบายวาชวงแสงแตละสีอยูใ นชวง
1) ความไวในการมองเห็นสีน้อยกว่าปกติ เป็นความบกพร่องในลักษณะที่มองเห็นสี ความยาวคลื่นใดบาง
บางสีได้น้อยกว่าคนที่มีการมองเห็นสีปกติ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ ความไวในการมองเห็นสีแดง 4. ครูและนักเรียนรวมกันอธิบายความรูเกี่ยวกับ
น้อยกว่าปกติ ความไวในการมองเห็นสีเขียวน้อยกว่าปกติ และความไวในการมองเห็นสีน�้าเงิน ตากับการมองเห็น
น้อยกว่าปกติ
2) การบอดสี (color blindness) เป็นความบกพร่องในการมองเห็นสีที่เกิดจากการขาด
หายไปของเซลล์รปู กรวยบนจอตา กล่าวคือ บนจอตามีเซลล์รปู กรวยเพียงสองชนิดหรือเพียงชนิด
เดียว ถ้าบนจอตามีเซลล์รูปกรวยเพียงสองชนิด การบอดสีจะมี 3 แบบ ได้แก่
• การบอดสีแดง บนจอตาไม่มีเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง คนที่ตาบอดสีแดงจะ
เห็นเฉพาะสีน�้าเงินสีเหลือง สีเทา และสีผสมระหว่างสีทั้งสาม
• การบอดสีเขียว บนจอตาไม่มีเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว คนที่ตาบอดสีเขียว
จะเห็นเฉพาะสีน�้าเงิน สีเหลือง สีเทา และสีผสมระหว่างสีทั้งสาม เช่นเดียวกับตาบอดสีแดง
• การบอดสีน�้าเงิน บนจอตาไม่มีเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน�้าเงิน คนที่ตาบอด
สีน�้าเงินจะเห็นเฉพาะสีเขียว สีแดง สีเทา และสีผสมระหว่างสีทั้งสาม โดยการบอดสีน�้าเงินพบ
น้อยกว่าการบอดสีแดงและการบอดสีเขียวทั้งชายและหญิง
Science Focus
แผ่นทดสอบการบอดสี
การบอดสีทดสอบได้โดยใช้แผ่นทดสอบการบอดสีทจี่ กั ษุแพทย์
นิยมใช้ คือ แผ่นทดสอบการบอดสีอชิ ฮิ ารา (Ishihara test for color
blindness) ออกแบบโดย ดร.ชิโนบุ อิชิฮารา มีทั้งหมด 38 แผ่น
แต่ในทางการแพทย์การใช้แผ่นทดสอบดังกล่าวเพียง 4 แผ่น ก็เพียงพอ
ที่จะตรวจสอบได้แล้วว่าบุคคลที่รับการทดสอบนั้นมีอาการตาบอดสี
หรือไม่
ภาพที่ 4.44 แผ่นทดสอบการบอดสี
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คลื่น 155

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน การจัดการเรียนการสอน เรื่อง ตากับการมองเห็น ครูอาจนําสื่อการเรียนรู
2. รวมกันสืบคนขอมูลเกีย่ วกับสารสีหรือรงควัตถุ (pigment) เชน ที่สามารถอธิบายขยายความเขาใจใหนักเรียนเพิ่มเติมนอกเหนือจากหนังสือ
คลอโรฟลล (chlorophyll) แคโรทีนอยด (carotenoid) แอนโท- เรียนมานําเสนอใหนกั เรียนไดศกึ ษา โดยอาจเปนสือ่ การเรียนรูใ นวิชาชีววิทยาที่
ไซยานิน (anthocyanin) ไมโอโกลบิน (myoglobin) จากนั้น เกี่ยวของกับ เรื่อง ตากับการมองเห็น เชน ครูนําวิดีโอจาก youtube เรื่อง วิชา
สมาชิกแตละกลุมรวมกันพูดคุยอภิปรายผลการศึกษา ชีววิทยา-ตาและการมองเห็น มานําเสนอใหนักเรียนศึกษา โดยสามารถคนหา
3. แตละกลุม รวมกันจัดทํารายงาน เรือ่ ง รงควัตถุ โดยวิธกี ารพิมพ ไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=SRYAH4pcrEo
หรือเขียนลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม
4. ครูใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุมตนเองหนาชั้น
เรียน ดวยวิธีการนําเสนอที่นาสนใจ และวิธีการสื่อสารที่เขาใจ
ไดงาย

T169
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย น โดยเป ด ประเด็ น ว า 2. การผสมแสงสี การผสมสารสี และการใชประโยชน การมองเห็นสีตาง ๆ นอกจาก
การที่มนุษยเรามองเห็นภาพ เกิดจากแสงไป จะขึ้นกับเซลลรับแสงของตาแลว ยังขึ้นอยูกับแสงสีที่ตกกระทบวัตถุและสารสีบนวัตถุ เมื่อฉาย
กระทบกับจอตาซึ่งมีเซลลรับแสงอยู ทําใหเรา แสงขาวลงบนวัตถุทึบแสง วัตถุจะดูดกลืนแสงบางสีไวและสะทอนแสงบางสีออกมา โดยการเห็น
มองเห็นภาพตางๆ แลวนักเรียนทราบหรือไมวา วัตถุมสี นี นั้ จะขึน้ อยูก บั วาวัตถุสะทอนแสงสีใดเขาสูต า เพราะแสงสีทสี่ ะทอนออกมาจากวัตถุจะเปน
สี ข องวั ต ถุ ห รื อ แสงสี ต  า งๆ นั้ น เกิ ด ขึ้ น ได แสงสีเดียวกับสีของวัตถุ
อยางไร 1) การผสมแสงสีและการใชประโยชน หากทดลองฉายแสงสีแดง แสงสีเขียว และแสง
2. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การผสมแสงสีและ สีนํ้าเงิน ที่มีความเขมเทา ๆ กัน ใหซอนทับกันบนฉากขาวจะไดแสงขาว เหมือนกับการนําแสงสี
การใชประโยชน จากหนังสือเรียน ตาง ๆ ในสเปกตรัมของแสงขาวทุกแสงสีมาผสมกัน แตเมือ่ ลองนําแสงสีอนื่ ๆ ในสเปกตรัมแสงขาว
3. ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุม ละประมาณ ที่มีความเขมเทากันมาผสมกัน ปรากฏวาไมไดแสงขาว จึงเรียกแสงสีแดง (red; R) แสงสีเขียว
6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตาม (green; G) และแสงสีนํ้าเงิน (blue; B) รวมกันวา แสงสีปฐมภูมิ (primary colour light) และ
ผลสัมฤทธิ์ (เกง ปานกลาง ออน) ใหอยูใน แสงสีปฐมภูมิคูหนึ่ง ๆ ที่มีความเขมเทากันมาผสมกันบนฉากขาว จะปรากฏผล ดังภาพที่ 4.45
กลุมเดียวกัน เพื่อรวมกันศึกษากิจกรรมการ แดง เหลือง เขียว
ผสมแสงสีบนฉากขาวจากหนังสือเรียน โดย
ใหนักเรียนแตละกลุมกําหนดใหสมาชิกแตละ
คนมีบทบาทหนาที่ของตนเอง
แสงขาว
แดงมวง นํ้าเงินเขียว

นํ้าเงิน
ภาพที่ 4.45 การผสมแสงสีปฐมภูมิบนฉากขาว
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพที่ 4.45 จะพิจารณาไดวา แสงสีแดงผสมกับแสงสีเขียวจะไดแสงสีเหลือง


(yellow; Y) แสงสีแดงผสมกับแสงสีนํ้าเงินจะไดแสงสีแดงมวง (magenta; M) และแสงสีนํ้าเงิน
ผสมกับแสงสีเขียวจะไดแสงสีนาํ้ เงินเขียว (cyan; C) แสงสีทเี่ กิดจากการผสมกันของแสงสีปฐมภูมิ
คูหนึ่ง ๆ เรียกวา แสงสีทุติยภูมิ ซึ่งแสงสีทุติยภูมินี้เมื่อนําไปผสมกับแสงสีปฐมภูมิที่เหลือจะได
แสงขาว เรียกวา แสงสีเติมเต็ม ของกันและกัน

156

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เลเซอรทํางาน การที่เรามองเห็นแสงสีตาง ๆ นั้นเกี่ยวของกับสิ่งใดของแสง
อยางไร? 1. ความถี่
https://www.twig-aksorn.com/film/how-do-lasers-work-8241/ 2. อัตราเร็ว
3. ความเขม
4. แอมพลิจูด
5. การกระจัด
(วิเคราะหคําตอบ แสงสีตางๆ ที่แตกตางกันเกิดจากความถี่ที่
แตกตางกัน ไมเกี่ยวกับอัตราเร็วแสงในตัวกลาง โดยที่อัตราเร็ว
แสงเกี่ยวของกับดัชนีหักเห แอมพลิจูดเกี่ยวของกับความเขมแสง
ความถี่เกี่ยวของกับสีของแสง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T170
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
¡Ô¨¡ÃÃÁ ¡ÒüÊÁáʧÊÕº¹©Ò¡¢ÒÇ 4. ครูชี้แจงจุดประสงคของกิจกรรมใหนักเรียน
ทราบ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
• การสังเกต ¨Ø´»ÃÐʧ¤ 5. ครูใหความรูเพิ่มเติมหรือเทคนิคเกี่ยวกับการ
• การจําแนกประเภท
• การลงความเห็นจากขอมูล
เพื่อตรวจสอบทฤษฎีการผสมแสงสี ปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุม
จิตวิทยาศาสตร ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³ ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
• ความมีเหตุผล
• ความรวมมือชวยเหลือ 1. ชุดไฟแสงสีปฐมภูมิ 6. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยวิเคราะหผล
• การเห็นคุณคาทางวิทยาศาสตร
2. ฉากรับแสง (สีขาว) การปฏิบัติกิจกรรม แลวอภิปรายผลรวมกัน
7. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตอบคําถามทายกิจกรรม
ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔ จากหนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว
1. จัดชุดอุปกรณ ดังภาพที่ 4.46
เพื่อนําสงครูเปนการตรวจสอบความเขาใจ
จากการปฏิบัติกิจกรรม
8. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา เรื่อง
การผสมสารสีและการใชประโยชน จากนั้น
แตละกลุม รวมกันอภิปรายผลการศึกษาภายใน
กลุม
ภาพที่ 4.46 การจัดอุปกรณกิจกรรมการผสมแสงสีบนฉากขาว
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. เปดสวิตชของหลอดไฟทั้งสามสี ปรับกระบอกบรรจุหลอดไฟใหแสงจากหลอดไฟทั้งสามสีไปซอนทับกัน
บนฉากขาว จากนั้นหมุนปุมปรับความเขมของแสงแตละสี สังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปรับความ
เขมของแสงแตละสีจนสวนที่ซอนทับกันของทั้งสามแสงสีเปนแสงขาว (กลมกลืนกับฉาก)
3. ปดสวิตชของหลอดไฟสีนํ้าเงิน แลวปรับกระบอกบรรจุหลอดไฟใหแสงจากหลอดไฟสีแดงซอนทับกับแสง
จากหลอดไฟสีเขียว สังเกตสีของบริเวณที่แสงสีทั้งสองซอนทับกัน สังเกตแลวบันทึกผล
4. ปดสวิตชของหลอดไฟสีเขียวแลวเปดสวิตชของหลอดไฟสีนาํ้ เงินอีกครัง้ ปรับกระบอกบรรจุหลอดไฟใหแสง
จากหลอดไฟสีแดงซอนทับกับแสงจากหลอดไฟสีนํ้าเงิน สังเกตสีของบริเวณที่แสงสีทั้งสองซอนทับกัน
แลวบันทึกผล
5. ปดสวิตชของหลอดไฟสีแดงแลวเปดสวิตชของหลอดไฟสีเขียวอีกครั้ง ปรับกระบอกบรรจุหลอดไฟใหแสง
จากหลอดไฟสีนํ้าเงินซอนทับกับแสงจากหลอดไฟสีเขียว สังเกตสีของบริเวณที่แสงสีทั้งสองซอนทับกัน
แลวบันทึกผล
6. เปดสวิตชหลอดไฟสีแดงอีกครั้ง แลวปรับกระบอกบรรจุหลอดไฟใหแสงจากหลอดไฟสีแดงซอนทับกับ
บริเวณที่แสงจากหลอดไฟสีน้ําเงินซอนทับกับแสงจากหลอดไฟสีเขียว (จากขอ 5.) สังเกตผลที่เกิดขึ้น
แลวบันทึกผล
¤Å×è¹ 157

กิจกรรม สรางเสริม สื่อ Digital


ครูใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมจากแหลงขอมูลสารสนเทศ ศึกษาเพิ่มเติมไดจากการสแกน QR Code เรื่อง การผสมแสงสี
เชน อินเทอรเน็ต เกีย่ วกับ เรือ่ ง การผสมแสงสีและการใชประโยชน
จากนั้ น เขี ย นสรุ ป ความรู  ที่ ได ลงในสมุ ดบั นทึ ก ประจํ า ตั ว โดย
รูปแบบการสรุปความรูขึ้นอยูกับดุลยพินิจของนักเรียน ซึ่งอาจ
เปนการจดบันทึกปกติหรือจัดทําเปนอินโฟกราฟกก็ได เสร็จแลว
การผสมแสงสี
www.aksorn.com/interactive3D/RKB42
รวบรวมสงครู

บันทึก กิจกรรม
1. เหลือง
บริเวณที่แสงสีแดงซอนทับกับแสงสีเขียวเปนแสงสี ..................................................
2. แดงมวง
บริเวณทีแ่ สงสีแดงซอนทับกับแสงสีนาํ้ เงินเปนแสงสี ................................................
3. นํ้าเงินเขียว
บริเวณที่แสงสีนํ้าเงินซอนทับกับแสงสีเขียวเปนแสงสี ..............................................
4. บริเวณที่แสงสีแดงซอนทับกับบริเวณที่แสงสีนํ้าเงินซอนทับแสงสีเขียวเปน
ขาว
แสงสี ..............................................
T171
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
เพื่อนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม 1. แสงสีคู่ใดบ้างที่เป็นแสงสีเติมเต็มกันและกัน โดยเมื่อน�ามาผสมกันแล้วท�าให้ได้แสงขาว
2. ครูสุมนักเรียนเพื่อถามคําถามที่เกี่ยวของกับ 2. ถ้าต้องการได้แสงสีผสมเป็นโทนสีตา่ ง ๆ ของสีแสด จากสีออ่ นทางด้านใกล้แสงสีเขียวไปเป็นสีเข้มทางด้าน
กิจกรรม เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจหลังปฏิบตั ิ ใกล้แสงสีแดง ต้องท�าการทดลองอย่างไร
กิจกรรม
อภิปรำยผลท้ำยกิจกรรม
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลทายกิจกรรม
และสรุปความรูรวมกัน เมื่อฉายแสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน�้าเงินที่มีความเข้มเท่ากันไปซ้อนทับกันบนฉากขาว บริเวณที่
แสงสีทั้งสามซ้อนทับกันจะเป็นแสงขาว เมื่อปิดหลอดไฟสีน�้าเงิน บนฉากขาวบริเวณที่แสงสีแดงซ้อนทับกับ
แสงสีเขียวจะเป็นแสงสีเหลือง เมือ่ ปิดหลอดไฟสีเขียวแล้วเปิดหลอดไฟสีนา�้ เงินอีกครัง้ บริเวณทีแ่ สงสีแดงซ้อน
ทับกับแสงสีน�้าเงินจะเป็นแสงสีแดงม่วง เมื่อปิดหลอดไฟสีแดงแล้วเปิดหลอดไฟสีเขียวอีกครั้ง บริเวณที่แสง
สีน�้าเงินซ้อนทับแสงสีเขียวจะเป็นแสงสีน�้าเงินเขียว ซึ่งเป็นไปตามหลักการผสมแสงสี และเมื่อเปิดหลอดไฟ
สีแดงอีกครัง้ บริเวณทีแ่ สงสีแดงซ้อนทับแสงสีนา�้ เงินเขียวจะเป็นแสงขาว เนือ่ งจากแสงสีแดงและแสงสีนา�้ เงิน
เขียวเป็นแสงสีเติมเต็มของกันและกัน ถ้าแสงสีหนึง่ มีความเข้มน้อยกว่าอีกแสงสีหนึง่ ทีผ่ สมกันแสงแสงสีผสม
ทีไ่ ด้จะปรากฏเป็นโทนสีตา่ ง ๆ ของแสงสีทไี่ ด้จากการผสมของสองแสงสีนนั้ เมือ่ มีความเข้มเท่ากัน โดยค่อนไป
ทางแสงสีที่มีความเข้มมากกว่า

หลักการผสมแสงสีทเี่ ราพบเจอในชีวติ ประจ�าวันส่วนใหญ่มกั น�าไปใช้ประโยชน์ในการ


จัดไฟหรือแสงสีในการแสดงบนเวที การแสดงไฟแสงสีของสถานที่ต่าง ๆ

(ก) มารีนาเบย์แซนส์ (Marina Bay Sands) (ข) การ์เดนส์บายเดอะเบย์ (Gardens by the Bay)
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
ภาพที่ 4.47 ตัวอย่างการแสดงแสงสีของสถานที่ต่างๆ ในประเทศสิงคโปร
1. แสงสีเหลืองกับแสงสีนํ้าเงิน แสงสีแดงมวงกับ ที่มา : คลังภาพ อจท.
แสงสีเขียว แสงสีนํ้าเงินเขียวกับแสงสีแดง
2. ผสมแสงสีเขียวกับแสงสีแดง โดยแสงสีเขียวมี 158
ความเขมขนนอยกวาแสงสีแดง

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจนําคลิปวิดีโอจาก youtube ที่เกี่ยวของกับการแสดงไฟแสงสีตางๆ ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลและศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เรื่อง
ในชีวิตประจําวันมานําเสนอใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรูดวย การผสมแสงสีและการใชประโยชน จากแหลงขอมูลสารสนเทศ
ตนเองจากสื่อการเรียนรูตางๆ และเปนการเพิ่มความสนใจของนักเรียนอีกดวย เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต จากนัน้ เขียนสรุปความรูล งในกระดาษ
เชน ครูอาจนําวิดโี อ เรือ่ ง Iconsiam Fountain Show 4K Footage-ไอคอนสยาม A4 ดวยรูปแบบของตนเอง พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลว
นํา้ พุเตนระบํา แสง สี เสียง มาเปดใหนกั เรียนดู ซึง่ สามารถคนหาไดจาก https:// ตัวแทนเก็บรวบรวมสงครู โดยครูอาจสุมผลงานเปนบางชิ้น แลว
www.youtube.com/watch?v=m3pN8aIqXoE ใหเจาของผลงานออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน

T172
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
นอกจากจะนําแสงสีมาใชประโยชนในดานการจัดแสดงไฟตามสถานที่ตาง ๆ แลว 1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หา โดยเปด PowerPoint
แสงสียังสามารถใชประโยชนในการสรางภาพสีบนจอเครื่องรับโทรทัศนสีและจอแอลอีดีอีกดวย เรื่องที่สอนควบคูไปดวย
โดยการสรางภาพสีบนจอเครือ่ งรับโทรทัศนลว นเปนไปตามหลักการผสมแสงสี แตกระบวนการอาจ 2. ครูใหนักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรื่อง แสง
ตางกันตามชนิดของจอ ดังภาพที่ 4.48 ลงในกระดาษ A4
3. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ของตนเองหนาชั้นเรียน
4. ครูแจกใบงาน เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ให
นักเรียนนํากลับไปศึกษาเปนการบาน
5. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด
เรื่ อ ง คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า จากแบบฝ ก หั ด
(ก) จอแบบซีอารที (CRT) (ข) จอแบบผลึกเหลว (LCD) (ค) จอแบบแอลอีดี (LED) วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5 มาสง
ภาพที่ 4.48 การนําหลักการผสมแสงสีไปใชประโยชนดานจอภาพ ครูในชั่วโมงถัดไป
ที่มา : คลังภาพ อจท.
2) การผสมสารสีและการใชประโยชน การสะทอนหรือการดูดกลืนแสงสีใดเปนผลมาจาก
สารสีในวัตถุนั้น โดยวัตถุจะสะทอนแสงสีที่มีสีเดียวกับสารสีในวัตถุออกมาและดูดกลืนแสงสีอื่น ๆ
ไวหมด สารสีผสมกันไดเชนเดียวกับแสงสี แตมผี ลในทางตรงกันขาม กลาวคือ สารสีปฐมภูมมิ ี 3 สี
ไดแก สีนาํ้ เงินเขียว สีแดงมวง และสีเหลือง โดยสีนาํ้ เงินเขียวดูดกลืนสีแดง สีแดงมวงดูดกลืนสีเขียว
สีเหลืองดูดกลืนสีนาํ้ เงิน จึงเรียกวา สารสีปฐมภูมิ ถานําสารสีทงั้ สามมาผสมกันในปริมาณเทา ๆ กัน
จะไดสดี าํ (ขณะทีก่ ารนําแสงสีปฐมภูมมิ าผสมกันในปริมาณเทา ๆ กันจะไดแสงขาว) การผสมสารสี
จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา การผสมสีแบบลบ และเรียกการผสมแสงสีวา การผสมสีแบบบวก ซึ่งเมื่อ
นําสารสีปฐมภูมิหรือแมสีคูหนึ่ง ๆ ปริมาณเทา ๆ กันมาผสมกัน จะปรากฏผล ดังภาพที่ 4.49
นํ้าเงิน

นํ้าเงินเขียว แดงมวง

ดํา
เขียว แดง

เหลือง

ภาพที่ 4.49 การผสมสารสีปฐมภูมิ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
¤Å×è¹ 159

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลและศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง ขอมูลนารู : การผสมสี
ผสมแสงสีและการผสมสารสี จากแหลงการเรียนรูส ารสนเทศ เชน https://www.twig-aksorn.com/film/factpack-colour-mixing-8244/
หองสมุด อินเทอรเน็ต จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาสรุปดวยวิธีการ
จัดทําเปนแผนพับความรูขนาด A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม การผสมสีแบบลบ
เสร็จแลวรวบรวมสงครู โดยครูอาจสุม ผลงานนักเรียน เพือ่ นําเสนอ
ใหเพื่อนในชั้นเรียนดูหนาชั้นเรียน

ทําใหเกิดสีอื่นๆ ได

T173
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ จากภาพที่ 4.49 จะพิจารณาได้ว่า สารสีแดงม่วงผสมกับสารสีเหลืองจะได้สารสีแดง
ลั ก ษณะของคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า สเปกตรั ม สารสีแดงม่วงผสมกับสารสีนา�้ เงินเขียวจะได้สารสีนา�้ เงิน และสารสีนา�้ เงินเขียวผสมกับสารสีเหลือง
คลื่นแมเหล็กไฟฟา และแสง เพื่อใหนักเรียน จะได้สารสีเขียว สารสีที่เกิดจากการผสมกันของสารสีปฐมภูมิคู่หนึ่ง ๆ เรียกว่า สารสีทุติยภูมิ
ทุกคนไดมคี วามเขาใจในเนือ้ หาทีไ่ ดศกึ ษามาแลว สารสีทุติยภูมิจึงประกอบด้วยสารสีแดง สารสีน�้าเงิน และสารสีเขียว ซึ่งสารสีปฐมภูมิและสารสี
ไปในทางเดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง ทุติยภูมิที่ผสมกันแล้วได้สีด�า เรียกว่า สารสีเติมเต็มกันและกัน เช่น สารสีเหลืองกับสารสีน�้าเงิน
โดยครู ใ ห นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด
สารสีแดงม่วงกับสารสีเขียว
สารสีปฐมภูมเิ ป็นแม่สี การเปลีย่ นแปลงปริมาณของแม่สที นี่ า� มาผสมกันท�าให้ได้สาร
บันทึกประจําตัว
สีทุติยภูมิที่มีโทนสีต่าง ๆ กัน ดังตัวอย่างในภาพที่ 4.50
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง
คลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง คลื่นแมเหล็ก-
ไฟฟา จากแบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2
(ฟสิกส) ม.5
3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ ภาพที่ 4.50 ตัวอยางสารสีที่เกิดจาการผสมแมสี
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ที่มา : คลังภาพ อจท.
และการทํางานกลุม หลักการผสมสารสีนี้น�าไปใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ งานก่อสร้าง การท�า
4. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป เฟอร์นิเจอร์ และใช้ในระบบการพิมพ์ออฟเซต (offset printing) หรือที่เรียกว่า ระบบสี CMYK
เนื้อหา เรื่อง แสง ที่นักเรียนไดสรางขึ้นจาก ประกอบด้วยสีน�้าเงินเขียว (cyan) สีแดงม่วง (magenta) สีเหลือง (yellow) และสีด�า (key)
ขั้นขยายความเขาใจเปนรายบุคคล นอกจากนี้ หลักการเกีย่ วกับการผสมสารสีและแสงสีสามารถน�าไปอธิบายการมองเห็น
สีของวัตถุทึบแสง และสีของวัตถุโปร่งใสได้ กล่าวคือ เมื่อฉายแสงขาวลงบนวัตถุทึบแสง วัตถุจะ
สะท้อนแสงสีทเี่ ป็นสีเดียวกับสารสีทมี่ อี ยูใ่ นวัตถุ และแสงสีทผี่ สมกันเป็นแสงสีเดียวกับสารสีทมี่ อี ยู่
ในวัตถุออกมา แล้วดูดกลืนแสงสีอน่ื ๆ ไว้ เมือ่ แสงสีทสี่ ะท้อนออกมาจากผิววัตถุเข้าสูต่ า ผลจากการ
รับรู้สีของเซลล์รูปกรวยบนจอตาท�าให้มองเห็นวัตถุเป็นสีต่าง ๆ ซึ่งเป็นไปตามหลักการผสมแสงสี
เมือ่ ฉายแสงขาวผ่านแผ่นวัตถุโปร่งใสสีตา่ ง ๆ เช่น กระดาษแก้ว แผ่นพลาสติกบาง ๆ
แผ่นวัตถุจะดูดกลืนแสงบางสีไว้และแสงบางสีจะผ่านแผ่นวัตถุไปได้ โดยแผ่นวัตถุจะยอมให้ผา่ นได้
เฉพาะแสงสีเดียวกับสีของแผ่นวัตถุ หรือแสงสีทมี่ คี วามยาวคลืน่ ใกล้เคียงกับสีของแผ่นวัตถุเท่านัน้
จึงเรียกว่า แผ่นกรองแสง เพราะกรองแสงขาวให้เหลือเพียงแสงสีเดียวกับสีของแผ่นกรองแสง
เท่านั้น
160

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง แสง ไดจากผังมโน- ถานําสารสีปฐมภูมิทั้ง 3 สี ในอัตราสวนตางๆ มาผสมกัน
ทัศนที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑการวัดและ จะไมสามารถผสมสีใหเกิดสีในขอใดตอไปนี้
ประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการ 1. ดํา
จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 คลื่น 2. ขาว
3. เขียว
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1, 3-5
แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์ ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

3
ระดับคะแนน
2 1
4. นํ้าเงิน
5. เหลือง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด
2
3
4
ความถูกต้องของเนื้อหา
ความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นระเบียบ
รวม
สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหม่และเป็น
ระบบ
4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น
ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด

ผลงานส่วนใหญ่มีความ
แปลกใหม่

ผลงานมีความเป็น
ใหม่

ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
(วิเคราะหคําตอบ สารสีปฐมภูมิ ไดแก สีนํ้าเงินเขียว สีแดงมวง
และสีเหลือง เมื่อนําสีทั้งสามมาผสมกัน จะไมสารถทําใหเกิดเปน
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

สีขาวไดเลย ดังนั้น ตอบขอ 2.)


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T174
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
2.4 »ÃÐ⪹¢Í§¤Å×è¹áÁ‹àËÅç¡ä¿¿‡Ò 1. ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนความรูเกี่ยวกับ
นอกจากใชประโยชนจากพลังงานของคลืน่ แมเหล็กไฟฟาโดยตรงแลว มนุษยมวี ธิ ใี ชประโยชน คลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลื่นแมเหล็กไฟฟาในลักษณะอื่นอีกหลายแบบ ไดแก การสรางอุปกรณตาง ๆ ที่ทํางานโดยอาศัย 2. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา “นักเรียนทราบ
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเพื่อนําไปใชงานในดานตาง ๆ เชน อุปกรณควบคุมระยะไกล (remote control) หรือไมวา ในชีวติ ประจําวันของนักเรียนมีอะไร
เครื่องถายภาพเอกซเรยคอมพิวเตอร (computed tomography scanner) และเครื่องถายภาพการ บางที่สามารถอธิบายไดดวยความรูเกี่ยวกับ
สัน่ พองแมเหล็ก (magnetic resonance scanner) และการใชคลืน่ แมเหล็กไฟฟาในการสือ่ สารขอมูล คลืน่ แมเหล็กไฟฟา” ครูทงิ้ ชวงเวลาใหนกั เรียน
1. อุปกรณควบคุมระยะไกล หรือที่เรียกกันทั่วไปวา รีโมต (remote) เปนอุปกรณที่ใช คิดคําตอบ จากนั้นครูอาจสุมนักเรียนเพื่อให
ควบคุมการทํางานของเครือ่ งมือหรืออุปกรณอนื่ ๆ ซึง่ เปนการควบคุมจากระยะไกลแบบไรสาย คือ นักเรียนไดแสดงความคิดเห็นของตนเอง
ใชคลืน่ แมเหล็กไฟฟาเปนสือ่ กลางในการสงสัญญาณ โดยรีโมตแบงตามชนิดของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
ที่ใชเปนสื่อกลางในการสงสัญญาณเปน 2 ชนิด ดังนี้ ขัน้ สอน
1) รีโมตอินฟราเรด ใชรงั สีอนิ ฟราเรดเปนสือ่ กลางในการสงสัญญาณ สวนประกอบหลัก สํารวจคนหา
ของรีโมตไออาร คือ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อุปกรณสงสัญญาณอินฟราเรด (IR transmitter) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกันอยางอิสระ กลุมละ
อุปกรณประมวลผล (microprocessor) และหลอดแอลอีดี (1 หลอด หรือ 2 หลอด) รีโมตไออาร 4-5 คน จากนัน้ ครูใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกัน
ที่พบเห็นไดทั่วไป คือ รีโมตที่ใชกับเครื่องใชไฟฟาภายในบาน เชน โทรทัศน เครื่องเสียง เครื่อง ศึกษา เรื่อง ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
เลนดีวีดี เครื่องปรับอากาศ โฮมเธียเตอร เปนตน โดยในเครื่องใชไฟฟาเหลานี้ตองติดตั้งอุปกรณ จากหนังสือเรียน
รับสัญญาณอินฟราเรด (IR receiver) และอุปกรณประมวลผล (microprocessor) ไว 2. ครูจดั เตรียมสลากหมายเลข 1-4 ใสไวในกลอง
2) รีโมตคลื่นวิทยุ หรือรีโมตอารเอฟ ใชคลื่นวิทยุเปนสื่อกลางในการสงสัญญาณ สวน ทึบแสง
ประกอบหลักของรีโมตอารเอฟ คือ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อุปกรณสงสัญญาณคลื่นวิทยุ และ 3. ครูใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมาหนาชัน้ เรียน
อุปกรณประมวลผล รีโมตอารเอฟที่พบเห็นไดทั่วไป ไดแก กุญแจรีโมตที่ใชเปด-ปดประตูรถยนต จากนัน้ ใหตวั แทนจับสลากทีละ 1 คน โดยหยิบ
ประตูโรงเก็บรถ ประตูรวั้ บาน รีโมตทีใ่ ชควบคุมของเลนหรืออุปกรณบงั คับวิทยุ เปนตน โดยอุปกรณ แลวเปดดูวา ไดหมายเลขอะไรใหจาํ เอาไว แลว
เหลานี้และรถยนตจะมีเครื่องรับวิทยุและอุปกรณประมวลผลติดตั้งไว ซึ่งรีโมตอารเอฟมีหลักการ เก็บกลับไปไวในกลองเชนเดิม จนครบทุกคน
ทํางานเหมือนรีโมตไออารเพียงแตเปลี่ยนจากการส 1 งสัญญาณรังสีอินฟราเรดเปนการสงสัญญาณ
คลื่ น วิ ท ยุ ที่ ส อดคล อ งกั บ คํ า สั่ ง ตั ว เลขฐานสองของปุ  ม กดไปยั ง
เครือ่ งรับคลืน่ วิทยุในอุปกรณทคี่ วบคุมการทํางานโดยรีโมตอารเอฟ
เครื่องรับคลื่นวิทยุจะถอดรหัสของสัญญาณที่ไดรับ ทําใหอุปกรณ
นัน้ รับรูแ ละเขาใจคําสัง่ ทีไ่ ดรบั ขอไดเปรียบของรีโมตอารเอฟเหนือ
รีโมตไออาร คือ ระยะทําการ เพราะรีโมตอารเอฟสงสัญญาณไดไกล
ถึง 100 ฟุต (ประมาณ 30.48 เมตร) และสัญญาณวิทยุสามารถ
ทะลุผานผนังและตูกระจกได ภาพที่ 4.51 กุญแจรีโมตทีใ่ ชคลืน่ วิทยุ
ในการเปด-ปดประตูรถยนต
ที่มา : คลังภาพ อจท.
¤Å×è¹ 161

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


คําสั่งจากรีโมตคอนโทรลเพื่อเปด-ปด หรือเปลี่ยนชองสถานี 1 เลขฐานสอง เปนตัวเลขที่อยูในระบบตัวเลขฐานสอง (binary numeral
โทรทัศน ใชสิ่งใดเปนตัวนําสัญญาณ system) คือ ระบบเลขที่มีสัญลักษณเพียงสองตัว ไดแก 0 กับ 1 บางครั้งอาจ
1. แสงขาว หมายถึง การมีโอกาสเลือกไดเพียง 2 ทาง เชน ปดกับเปด ไมใชกบั ใช เท็จกับจริง
2. รังสีเอกซ ซายกับขวา ในปจจุบันเลขฐานสองเปนพื้นฐานในการทํางานของคอมพิวเตอร
3. รังสีแกมมา โดยนําเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไมมีไฟฟาและสถานะมีไฟฟา) มา
4. รังสีอินฟราเรด ใชในการสรางไมโครโปรเซสเซอรทมี่ หี นวยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต หรือ
5. รังสีอัลตราไวโอเลต มากกวานั้น ซึ่งสามารถเรียกไดวาเปนการประมวลผลแบบดิจิทัล
(วิเคราะหคําตอบ รีโมตคอนโทรลหรืออุปกรณควบคุมระยะไกล
เปนอุปกรณการควบคุมจากระยะไกลแบบไรสาย โดยรีโมตที่ใช
ภายในบาน เชน รีโมตโทรทัศน เครื่องเสียง เครื่องปรับอากาศ จะ
อาศัยสัญญาณอินฟราเรด ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T175
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ครูแจงใหนักเรียนทราบวา แตละหมายเลขที่ 2. เครื่องถายภาพเอกซเรยคอมพิวเตอร หรือเครื่องซีที (CT scanner) พัฒนามาจาก
แตละกลุมไดไปนั้นหมายถึงอะไร ดังนี้ เครือ่ งเอกซเรยดจิ ทิ ลั ทีส่ รางภาพอวัยวะทัง้ กอนเหมือนเครือ่ งเอกซเรยธรรมดามาเปนการสรางภาพ
• หมายเลข 1 อุปกรณควบคุมระยะไกล ภาคตัดขวาง (cross section) ของลําตัวผูร บั การตรวจ ทําใหไดภาพอวัยวะเปนชัน้ ๆ หนาประมาณ
• หมายเลข 2 เครื่องถายภาพเอกซเรย 0.200-1.00 มิลลิเมตร ตามขนาดอวัยวะทีต่ รวจ ลักษณะเหมือนซอยอวัยวะนัน้ เปนแผนบาง ๆ แลว
คอมพิวเตอร นํามาถายภาพรังสีเอกซดวยเครื่องเอกซเรยธรรมดา โดย CT ยอมาจาก Computed Tomography
• หมายเลข 3 เครื่องถายภาพการสั่นพอง ซึ่งหมายถึง การถายภาพรังสีสวนตัดโดยอาศัยคอมพิวเตอร เครื่องซีทีแบงหนวยการทํางานเปน
แมเหล็ก 3 หนวย คือ หนวยสแกน หนวยเก็บและประมวลผลขอมูล และหนวยแสดงผล โดยหนวยสแกน
• หมายเลข 4 การใชคลื่นแมเหล็กไฟฟา ประกอบดวยหลอดรังสีเอกซตัวบังคับรังสีเอกซ และหัววัดรังสีเอกซ สําหรับเครื่องซีทีที่ใชงานกัน
ในการสื่อสารขอมูล ในปจจุบันสวนใหญจะมีลักษณะภายนอก ดังภาพที่ 4.52
5. ครู ม อบหมายให แ ต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ศึ ก ษา การทํางานของเครื่องซีที หลอดรังสีเอกซจะฉายลํารังสีเอกซ
คนควาขอมูลที่เกี่ยวกับหัวขอที่กลุมตนเองได รูปพัดผานตัวผูรับการตรวจไปยังหัววัดรังสีเอกซซึ่งอยู
โดยพยายามรวบรวมข อ มู ล ให ไ ด ม ากที่ สุ ด ตรงกันขาม โดยหลอดรังสีเอกซและหัววัดรังสีเอกซจะ
หมุนไปรอบตัวผูร บั การตรวจพรอมกัน หัววัดรังสีเอกซ
จากนั้นรวมกันสนทนาและอภิปรายผลการ
จะสงสัญญาณความเขมของรังสีเอกซในมุมตาง ๆ
ศึกษาภายในกลุม แลวนําขอมูลที่ไดมาเขียน
ขณะหมุนรอบตัวผูรับการตรวจที่ผานการแปลง
เปนรายงานลงในกระดาษ A4 นําสงครูทาย เปนสัญญาณดิจิทัล แลวใหหนวย
ชั่วโมง เก็ บ และประมวลผลข อ มู ล
6. ในขณะทีน่ กั เรียนกําลังรวมกันศึกษาและจัดทํา ทําการวิเคราะหและสรางภาพ
รายงาน ครูเดินสังเกตการณและใหคําปรึกษา ภาคตัดขวางของรางกายหรือ
เมื่อนักเรียนเกิดปญหาหรือมีขอสงสัย อวัยวะที่ตําแหนงนั้นแลวจัดเก็บไว
จากนั้นมอเตอรจะทําใหเตียงขยับไป
ข า งหน า เล็ ก น อ ยเพื่ อ ทํ า การ
สแกนที่ตําแหนงใหมจนครบ
ทุกภาคตัดขวางที่กําหนด
ภาพที่ 4.52 เครื่องถายภาพเอกซเรยคอมพิวเตอร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1
จุดประสงคหลักในการทําซีทสี แกน คือ การตรวจหาความผิดปกติในเนือ้ เยือ่ กระดูก หรือ
โครงสรางของรางกาย และใชชวยในการบอกตําแหนงที่แมนยําในการวางเครื่องมือเขาไปรักษา
โดยการทําซีทีสแกนนิยมใชกับการตรวจรางกายบริเวณศีรษะและคอ บริเวณชองทอง บริเวณ
ชองอก และกระดูกสันหลัง สวนกลามเนื้อและกระดูกสวนอื่น ๆ ไมนิยมใชการตรวจดวยวิธีนี้
162

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 เนื้อเยื่อ (tissue) ในทางชีววิทยา คือ กลุมของเซลลที่ทําหนาที่รวมกันใน ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การทํ า งานของ
สิ่งมีชีวิต ในรางกายของสัตวไมวาจะเปนมนุษยหรือสัตวชั้นตํ่าลงไป เชน แมลง เครื่องถายภาพเอกซเรยคอมพิวเตอรจากอินเทอรเน็ต ทั้งขอมูล
ตางประกอบดวยเนื้อเยื่อพื้นฐาน 4 ประเภท ไดแก ตั ว หนั ง สื อ และข อ มู ล ที่ เ ป น ภาพเคลื่ อ นไหวหรื อ คลิ ป วิ ดี โ อ
• เนื้อเยื่อบุผิว (epithelium tissue) เปนเนื้อเยื่อที่ประกอบไปดวยชั้นของ การทํางาน จากนั้นใหนักเรียนจดบันทึกวิธีการทํางานของเครื่อง
เซลลที่ปกคลุมพื้นผิวของอวัยวะตางๆ เชน พื้นผิวของผิวหนัง มีหนาที่ พรอมทั้งอธิบายการทํางานของอุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของลงใน
ปกปองจากสิ่งแวดลอมภายนอก หลั่งสารและดูดซึมสาร สมุดบันทึกประจําตัว เสร็จแลวรวบรวมสงครู
• เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) ทําหนาที่เปนโครงรางยึดสวน
ตางๆ เขาไวดวยกัน เชน เลือด กระดูก
• เนื้อเยื่อกลามเนื้อ (muscular tissue) แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
กลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อโครงราง และกลามเนื้อหัวใจ
• เนื้อเยื่อประสาท (nervous tissue) ประกอบดวยเซลลที่รวมตัวกันเปน
สมอง ไขสันหลัง และระบบประสาทนอกสวนกลาง

T176
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. เครื่ อ งถ่ า ยภาพการสั่ น พ้ อ งแม่ 7. ครู ถ ามคํ า ถามกั บ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่
เหล็ก หรือเครื่องเอ็มอาร์ไอ (MRI scanner) นักเรียนกําลังศึกษา โดยอาจเปนแนวทางใน
เป็นอุปกรณ์ถ่ายภาพภาคตัดขวางเนื้อเยื่อหรือ การศึกษาคนควาขอมูลของนักเรียนแตละกลุม
อวัยวะของร่างกายเช่นเดียวกับเครือ่ งซีที โดยใช้ เชน
สนามแม่เหล็กและคลืน่ วิทยุรว่ มกับคอมพิวเตอร์ • ขอไดเปรียบของรีโมตคลื่นวิทยุที่เหนือกวา
สร้างภาพเสมือนจริงของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ รีโมตอินฟาเรดคืออะไร เพราะเหตุใด
ภาพที่ได้มีรายละเอียดเหมือนภาพถ่ายจริงจึง (แนวตอบ ระยะทําการ เพราะรีโมตคลื่นวิทยุ
ให้ข้อมูลได้มากกว่าเครื่องซีทีท�าให้สามารถ (ก)
สงสัญญาณไดไกลถึง 100 ฟุต และสัญญาณ
จ�าแนกสมบัตทิ แี่ ตกต่างกันของเนือ้ เยือ่ ได้ดกี ว่า ขดลวดส่งและ แม่เหล็ก
วิทยุสามารถทะลุผานผนังและตูกระจกได)
และสามารถตรวจได้ทุกทิศทางและทุกระนาบ รับคลื่นวิทยุ ก�าลังสูง
• ความพิ เ ศษของเครื่ อ งถ า ยภาพเอกซเรย
โดยไม่ต้องเปลี่ยนท่าผู้ปวย และเนื่องจากไม่ใช้
ผู้รับการตรวจ คอมพิวเตอรที่เครื่องเอกซเรยธรรมดาไม
รังสีเอกซ์หรือรังสีใด ๆ ใช้เพียงสนามแม่เหล็ก
สามารถทําไดคืออะไร
และคลื่นวิทยุ เครื่องเอ็มอาร์ไอจึงเป็นอุปกรณ์ เตียง
บันทึกภาพเพื่อการวินิจฉัยที่ปลอดภัยที่สุดของ ( แนวตอบ เครื่ อ งถ า ยภาพเอกซเรย
วงการแพทย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เครื่อง คอมพิวเตอรสามารถสรางภาพภาคตัดขวาง
เอ็มอาร์ไอมีส่วนประกอบส�าคัญ 4 ส่วน คือ ของลําตัวผูร บั การตรวจ ทําใหไดภาพอวัยวะ
แม่เหล็กก�า1ลังสูง ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก เปนชั้นๆ)
เครื่องสแกน ค่าลดหลั่น • สื่อกลางในการสงผานขอมูลแบบใชสาย
ค่าลดหลั่น (gradient coil) ขดลวดส่งและ (ข)
รับคลื่นวิทยุ (radio frequency coil) และ ภาพที่ 4.53 เครื่องถ่ายภาพการสั่นพ้องแม่เหล็ก
เหมือนหรือแตกตางกับสื่อกลางแบบไรสาย
คอมพิวเตอร์ ที่มา : คลังภาพ อจท. อยางไร
4. การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟาในการสื่อสารข้อมูล จากนิยามของการสื่อสารข้อมูลจะ (แนวตอบ แตกตางกัน คือ สื่อกลางแบบใช
พบลักษณะร่วมกันอย่างหนึ่ง คือ การส่งข้อมูลหรือสารสนเทศต้องส่งผ่านสื่อกลาง แต่ข้อมูลหรือ สายจะสงขอมูลผานสายนําสัญญาณไฟฟา
สารสนเทศจะส่งผ่านสื่อกลางโดยตรงไม่ได้ ต้องแปลงเป็นสัญญาณหรือรหัสก่อนแล้วจึงส่งผ่าน ดวยระดับสัญญาณไฟฟาที่แตกตางกัน แต
สือ่ กลางไปยังผูร้ บั และเมือ่ ถึงปลายทางหรือผูร้ บั ต้องแปลงสัญญาณหรือรหัสนัน้ กลับมาเป็นข้อมูล สือ่ กลางแบบไรสายจะใชคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
หรือสารสนเทศเหมือนทีส่ ง่ มา ในระหว่างการส่งอาจมีสงิ่ รบกวน (noise) จากภายนอก ท�าให้ขอ้ มูล ในการสงผานหรือในการสื่อสารขอมูล เชน
บางส่วนเสียหายหรือผิดเพีย้ นไป โดยการส่งในระยะไกลจะเกิดสิง่ รบกวนมากกว่าการส่งในระยะใกล้ อิ น ฟาเรด ใช เ ป นสื่ อ กลางในการสื่ อสาร
จึงต้องหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด ระยะใกลโดยไมมสี งิ่ กีดขวางระหวางผูส ง กับ
1) ข้อมูลหรือสารสนเทศไม่สามารถส่งไปในระยะทางไกลได้โดยตรง ต้องแปลงข้อมูลหรือ ผูรับ)
สารสนเทศให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า สัญญาณข้อมูล (data signal) ก่อนส่งผ่านสื่อกลางใน
การส่งข้อมูล ซึ่งนอกจากจะส่งข้อมูลไปได้ในระยะทางไกลแล้ว ยังเป็นการส่งข้อมูลด้วยความเร็ว
สูงด้วย โดยสัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
คลื่น 163

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องถายภาพ 1 ขดลวดสรางสนามแมเหล็กคาลดหลั่น เปนขดลวดที่บรรจุอยูในโพรงของ
เอกซเรยคอมพิวเตอรและเครือ่ งถายภาพการสัน่ พองแมเหล็ก จาก แมเหล็กทีม่ กี าํ ลังสูง และอาศัยระบบคอมพิวเตอร ทําหนาทีค่ วบคุมสวิตช เปด-ปด
แหลงขอมูลสารสนเทศ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต จากนั้นเขียน ให ไ ฟฟ า เข า ไปในขดลวดดั ง กล า ว เพื่ อ เปลี่ ย นระดั บ ของแรงแม เ หล็ ก ตาม
สรุปความรูท ไี่ ดไมวา จะเปนสวนประกอบและการทํางานของแตละ ความตองการ ขดลวดนี้ทําหนาที่สรางสนามแมเหล็กใหแกเนื้อเยื่อที่ตองการ
เครือ่ งวาเปนอยางไร และทัง้ สองเครือ่ งมีขอ ดี-ขอเสียอะไรบาง โดย จะสรางภาพ โดยการปรับสนามแมเหล็กทําใหสามารถสรางภาพที่ระนาบ
อาจใชการเปรียบเทียบขอมูลของเครื่องทั้งสองในแตละดาน โดย หนึ่งระนาบใดตามตองการ อาจเปนภาพตัดตามขวาง ตัดตามยาว หรือตัด
การจัดทําเปนใบความรูขนาด A4 พรอมทั้งตกแตงใหสวยงาม ตามเฉียง โดยไมตองเปลี่ยนทาทางของผูปวย
เสร็จแลวครูอาจสุมนักเรียนออกมานําเสนอผลงานของตนเอง
หนาชั้นเรียน

T177
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สนทนาเกี่ ย วกั บ • สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) เป็นสัญญาณทีม่ ลี กั ษณะเป็นคลืน่ ต่อเนือ่ ง โดย
ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากหนังสือ แต่ละคลืน่ อาจมีความถีแ่ ละความเข้มของสัญญาณหรือแอมพลิจดู ต่างกัน โดยความถีแ่ ละความเข้ม
เรียน ของสัญญาณจะเปลี่ยนแปลงตามเวลาอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น สัญญาณเสียงใน
2. ครูสุมสมาชิกตัวแทนกลุม จากกลุมที่ไดสลาก สายโทรศัพท์ ลักษณะของสัญญาณแอนะล็อกพิจารณาได้ จากภาพที่ 4.54
หมายเลข 1 ออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นให ระดับสัญญาณ
นําเสนอรายงานของกลุมตนเอง
3. ครูสุมสมาชิกตัวแทนกลุมตอไป จากกลุมที่ได เวลา
สลากหมายเลข 2 ออกมานําเสนอรายงาน ภาพที่ 4.54 ลักษณะของสัญญาณแอนะล็อก
จากนั้นครูสุมจนครบ 4 หมายเลข ที่มา : คลังภาพ อจท.
สัญญาณแอนะล็อกถูกรบกวนให้เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เนื่องจากสัญญาณรบกวนจะ
เติมเข้าไปในสัญญาณจริงโดยตรง ท�าให้เกิดความผิดเพีย้ นของสัญญาณซึง่ ส่งผลให้แปลความหมาย
ผิดพลาดไป จึงไม่นิยมใช้สัญญาณแอนะล็อกในการส่งสัญญาณเพื่อการสื่อสารที่ต้องการความ
แม่นย�าสูง แต่มักใช้ในการสื่อสารทางวิทยุในระยะใกล้ เช่น ใช้ในระบบวิทยุเอเอ็มและเอฟเอ็ม
เป็นต้น
• สัญญาณดิจทิ ลั (digital signal) เป็นสัญญาณทีม่ ลี กั ษณะเป็นคลืน่ ไม่ตอ่ เนือ่ ง คล้าย
ขั้นบันได ขนาดของสัญญาณดิจิทัลมีค่าคงตัวเป็นช่วง ๆ และการเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณ
เป็นแบบทันทีทันใด เช่น สัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการท�างานและติดต่อสื่อสารกัน ลักษณะ
ของสัญญาณดิจิทัลพิจารณาได้ จากภาพที่ 4.55
ระดับสัญญาณ

เวลา
ภาพที่ 4.55 ลักษณะของสัญญาณดิจิทัล
ที่มา : คลังภาพ อจท.
สัญญาณดิจทิ ลั เมือ่ ถูกรบกวนจะเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมได้นอ้ ย เนือ่ งจากสัญญาณ
รบกวนต้องมีคา่ สูงกว่าค่าทีต่ งั้ ไว้เท่านัน้ จึงจะเกิดการเปลีย่ นแปลงขึน้ ส่งผลให้การส่งสัญญาณดิจทิ ลั
ไปในระยะไกลน่าเชื่อถือมากกว่าการส่งสัญญาณแอนะล็อก เพราะความผิดเพี้ยนที่เกิดจากการ
รบกวนโดยสัญญาณรบกวนจากสิง่ แวดล้อมมีนอ้ ยกว่า ซึง่ เป็นจุดเด่นของสัญญาณดิจทิ ลั ทีเ่ หนือกว่า
สัญญาณแอนะล็อก และอีกหลายปัจจัยทีท่ า� ให้การส่งข้อมูลในรูปสัญญาณดิจทิ ลั เป็นทีน่ ยิ มกว่าการ
ส่งข้อมูลในรูปสัญญาณแอนะล็อก
164

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง โทรศัพทมอื ถือทํางาน หนวยวัดความถี่ของสัญญาณขอมูลแบบแอนะล็อกคือขอใด
อยางไร? https://www.twig-aksorn.com/film/how-do-mobile-phones- 1. บิต
work-8248/ 2. ไบต
3. เฮิรตซ
4. เดซิเบล
5. เมตรตอวินาที
(วิเคราะหคําตอบ สัญญาณแอนะล็อกเปนสัญญาณแบบตอเนื่อง
มีลักษณะเปนคลื่นไซน (sine wave) โดยแตละคลื่นจะมีความถี่
และความเขมของสัญญาณที่ตางกัน วิธีวัดความถี่จะนับจํานวน
รอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เชน สัญญาณขอมูลที่
มีความถี่ 60 รอบ ใน 1 วินาที จะไดวา สัญญาณนี้มีความถี่ 60
เฮิรตซ (Hz) ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T178
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2) การสื่อสารข้อมูลต้องอาศัยสื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูลเพื่อน�าข้อมูลไปยังจุดหมาย 4. ครูและนักเรียนรวมกันอธิบายความรู เรื่อง
ปลายทาง สือ่ กลางในการสือ่ สารข้อมูลมีความส�าคัญเพราะเป็นปัจจัยหนึง่ ทีก่ า� หนดประสิทธิภาพใน ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือการนํา
การสื่อสาร เช่น ความเร็วในการส่งข้อมูล รวมถึงคุณภาพของการส่งข้อมูล เป็นต้น โดยสื่อกลาง ความรูเ กีย่ วกับคลืน่ แมเหล็กไฟฟาไปประยุกต
ในการสื่อสารข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ ใชในชีวิตประจําวัน
• สื่อกลางแบบใช้สาย ได้แก่ สายน�าสัญญาณไฟฟ้า ส่งข้อมูลด้วยระดับสัญญาณ 5. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก
ไฟฟ้าที่แตกต่างกัน อุปกรณ์รับสัญญาณที่ปลายทางจะตรวจวัดระดับสัญญาณเพื่อแปลงกลับเป็น Topic Question เรือ่ ง คลืน่ แมเหล็กไฟฟา จาก
ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ใกล้เคียงหรือเหมือนกับทางด้านส่ง และสายเส้นใยน�าแสง ประกอบด้วย หนังสือเรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว และ
เส้นใยน�าแสง (fiber optic) หลาย ๆ เส้นอยู่รวมกัน รวบรวมสงครูทายชั่วโมง
• สือ่ กลางแบบไร้สาย คือ การใช้คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าในการสือ่ สารข้อมูล ประกอบด้วย
ขยายความเขาใจ
- อินฟราเรด (infrared) ใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารระยะใกล้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง
ระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ เช่น การรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเมาส์แบบไร้สาย 1. ครูนาํ อภิปรายสรุปเนือ้ หาโดยเปด PowerPoint
- คลื่นวิทยุ (radio wave) ใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารได้ทั้งระยะไกลและใกล้ โดย เรื่องที่สอนควบคูไปดวย
อุปกรณ์สง่ จะส่งข้อมูลในรูปสัญญาณคลืน่ วิทยุผา่ นอากาศไปยังอุปกรณ์รบั สัญญาณ ซึง่ ใช้คลืน่ วิทยุ 2. ครูใหนกั เรียนทําสรุปผังมโนทัศน เรือ่ ง ประโยชน
ในแถบความถี่ต่างกันในการส่งข้อมูล ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ลงในกระดาษ A4
- ไมโครเวฟ (microwave) ใช้เป็นสือ่ กลางในการสือ่ สารระยะไกล โดยเครือ่ งส่งจะส่ง
ข้อมูลในรูปสัญญาณไมโครเวฟผ่านอากาศไปยังเครือ่ งรับเช่นเดียวกับคลืน่ วิทยุ สัญญาณไมโครเวฟ
เดินทางเป็นเส้นตรง แต่เดินทางผ่านวัตถุทกี่ ดี ขวางไม่ได้ การสือ่ สารโดยใช้ไมโครเวฟเป็นสือ่ กลาง
จะส่งข้อมูลด้วยอัตราการส่งข้อมูลสูง แต่มีข้อจ�ากัด คือ สัญญาณจะถูกรบกวนจากพายุและฝน
Topic
? Question
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. กลไกในการแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคืออะไร
2. การบอดสีมีสาเหตุมาจากอะไร และการบอดสีมีกี่แบบ อะไรบ้าง
3. เหตุใดจึงเห็นดอกดาวเรืองเป็นสีเหลืองในแสงขาว แต่เห็นดอกดาวเรืองเป็นสีดา� ในแสงสีนา�้ เงิน
4. การท�างานของอุปกรณ์ควบคุมระยะไกลหรือรีโมตคอนโทรลต้องอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ชนิดใดบ้าง
5. สัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารมีกี่ชนิด อะไรบ้าง และสัญญาณเหล่านั้นแตกต่างกันอย่างไร

คลื่น 165

แนวตอบ Topic Question


1. การเหนี่ยวนําอยางตอเนื่องระหวางสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กที่เปนสวนประกอบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. เกิดจากการขาดหายไปของเซลลรูปกรวยบนจอตา ถาบนจอตามีเซลลรูปกรวยเพียงสองชนิด การบอดสีจะมี 3 แบบ คือ การบอดสีแดง การบอดสีเขียว
และการบอดสีนํ้าเงิน ถาบนจอตามีเซลลรูปกรวยเพียงชนิดเดียว จะเปนการบอดสีสมบูรณหรือการบอดสีทุกสี
3. การที่เห็นดอกดาวเรืองเปนสีเหลืองในแสงขาว เนื่องจากสารสีเหลืองในดอกดาวเรืองจะสะทอนแสงสีเหลือง แสงสีแดง แสงสีเขียว แตดูดกลืนแสงสีอื่นๆ
โดยที่แสงสีแดงและแสงสีเขียวผสมกันไดแสงสีเหลืองเชนกัน เมื่ออยูภายใตแสงขาวจึงเห็นดอกดาวเรืองเปนสีเหลือง แตเมื่ออยูภายใตแสงสีนํ้าเงิน สารสี
เหลืองในดอกดาวเรืองดูดกลืนแสงสีนํ้าเงินไว จึงไมมีแสงสีใดเลยสะทอนกลับออกมา ทําใหเห็นสีของดอกดาวเรืองเปนสีดํา
4. การทํางานของอุปกรณควบคุมระยะไกลหรือรีโมตคอนโทรล ตองอาศัยรังสีอินฟราเรดสําหรับรีโมตอินฟาเรด และอาศัยคลื่นวิทยุสําหรับรีโมตคลื่นวิทยุ
5. สัญญาณที่ใชในการสื่อสารมี 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล โดยสัญญาณแอนะล็อกเปนสัญญาณที่มีลักษณะเปนคลื่นตอเนื่อง โดย
แตละคลื่นอาจมีความถี่และความเขมของสัญญาณ (แอมพลิจูด) ตางกัน โดยความถี่และความเขมของสัญญาณจะเปลี่ยนแปลงตามเวลาอยางตอเนื่อง
แบบคอยเปนคอยไป สวนสัญญาณดิจิทัลเปนสัญญาณที่มีลักษณะเปนคลื่นไมตอเนื่อง คลายขั้นบันได ขนาดของสัญญาณดิจิทัลมีคาคงตัวเปนชวงๆ และ
การเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณเปนแบบทันทีทันใด

T179
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
3. ครูอธิบายสรุปความรู เรื่อง คลื่น อีกครั้ง โดย Summary
ใหนักเรียนดู Summary จากหนังสือเรียน คลื่น
4. ครูสมุ เลือกนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน
ของตนเองหนาชั้นเรียน
5. ครูใหนกั เรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง คลื่นกล
ดวยกรอบ Self Check เรือ่ ง คลืน่ จากหนังสือ คลืน่ กล เป็นคลืน่ ทีต่ อ้ งอาศัยตัวกลางในการเคลือ่ นทีห่ รือถ่ายโอนพลังงาน อัตราเร็วของคลืน่ กลขึน้ อยูก่ บั
เรียนลงในสมุดบันทึกประจําตัว ความยืดหยุ่นของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่าน
6. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจาก สมบัติของคลื่น
Unit Question หนวยการเรียนรูท ี่ 4 คลืน่ จาก
หนังสือเรียนเปนการบาน โดยทําลงในสมุด
บันทึกประจําตัว แลวรวบรวมสงครูเพื่อตรวจ
สอบและใหคะแนน การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน
7. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด ภาพที่ 4.56 สมบัติของคลื่น
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เรื่อง ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา จาก
เสียง
แบบฝกหัด วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส)
เสียง เกิดจากการสั่นของแหล่งก�าเนิดเสียง โดยพลังงานการสั่นสะเทือนจากแหล่งก�าเนิดเสียงจะถ่าย
ม.5 มาสงครูในชั่วโมงถัดไป โอนผ่านตัวกลาง ท�าให้อนุภาคตัวกลางสั่นไปมา ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความดันในตัวกลางที่คลื่นเสียง
8. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ เคลือ่ นทีผ่ า่ น และผลจากการเปลีน่ แปลงความดันท�าให้เกิดคลืน่ อัด-ขยาย แผ่ไปในตัวกลางโดยเกิดเป็นส่วนอัด
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนักเรียน และส่วนขยายขึ้นในตัวกลางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่าน
เสียงในอากาศเป็นเสียงทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ ประจ�าวันมากทีส่ ดุ เสียงในอากาศเป็นคลืน่ ตามยาว จึงมีสมบัติ
4 ประการ เช่นเดียวกับคลื่นกล คือ การสะท้อน การหักเก การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด
ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
คลื่นáม‹เËล็กไ¿¿‡า
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามเวลา โดยสนามทัง้ สอง
ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา เพื่อใหนักเรียน มีทิศตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น จึงจัดให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง
ทุกคนไดมีความเขาใจในเนื้อหาที่ไดศึกษาแลว คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไปจากแหล่งก�าเนิดโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางและเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศ ด้วย
ไปในทางเดียวกัน และเปนความเขาใจที่ถูกตอง อัตราเร็วเท่ากับแสง (3 × 108 m/s) เมื่อวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มาตกกระทบ อุณหภูมิของวัตถุ
นั้นจะสูงขึ้น แสดงว่ามีการถ่ายโอนพลังงานไปพร้อมกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นเดียวกับคลื่นกล
โดยครู ใ ห นั ก เรี ย นเขี ย นสรุ ป ความรู  ล งในสมุ ด คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้ามีความถีต่ อ่ เนือ่ งกันเป็นช่วงกว้าง (104 -1023 Hz) คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทุกย่านความถี่
บันทึกประจําตัว (หรือความยาวคลื่น) รวมกัน เรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟา ซึ่งประกอบด้วยคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสี
อินฟราเรด แสงขาว รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา เมื่อเรียงล�าดับจากความถี่ต�่าไปสูง หรือ
เรียงล�าดับจากความยาวคลื่นยาวไปสั้น

166

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง คลื่น ที่ไดรวมกันศึกษามาแลววามี การสงคลื่นวิทยุระบบ FM มีขอดีอยางไร
สวนไหนทีย่ งั ไมเขาใจหรือยังมีขอ สงสัยในจุดไหนบาง จากนัน้ ครูอาจนําอภิปราย 1. สรางไดไมยาก
สรุปเนือ้ หา หนวยการเรียนรูท ่ี 4 คลืน่ จาก Summary หรือครูอาจนําสือ่ การสอน 2. ถูกรบกวนไดยาก
เชน PowerPoint เรื่อง คลื่น มาเปดควบคูประกอบไปกับการอภิปรายสรุปจาก 3. สามารถสงไปไดไกล
หนังสือเรียน เพื่อขยายความเขาใจของนักเรียนใหเกิดความเขาใจและสามารถ 4. ไมตองผสมสัญญาณเสียงกับคลื่นพาหะ
นําหลักการเกี่ยวกับคลื่นไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดมากขึ้น 5. เครื่องรับและเครื่องสงสัญญาณทําไดงาย
(วิเคราะหคําตอบ คลื่นวิทยุระบบ FM จะถูกรบกวนไดยาก
เพราะคลืน่ ถูกสงไปในชวงความถีแ่ คบๆ จึงไมถกู รบกวนจากคลืน่
ความถี่อื่นๆ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T180
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
แสง 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
แสง เปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟาเพียงชนิดเดียวทีน่ ยั นตามนุษยสามารถรับรูไ ด แสงจากแหลงกําเนิดธรรมชาติ เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจหลั ง เรี ย นของ
ที่สําคัญมาก คือ แสงจากดวงอาทิตย หรือแสงแดดซึ่งเปนแสงใสไมมีสี เรียกวา แสงขาว (white light) แต นักเรียน
เมือ่ หักเหผานปริซมึ หรือผานละอองนํา้ ในอากาศจะแยกออกเปนแสงสีตา ง ๆ แสงทําใหเกิดปรากฏการณตา ง ๆ
เชน รุง การทรงกลดของดวงอาทิตย การเกิดมิราจ เปนตน โดยปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเปนผลมาจาก 2. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า รายงาน เรื่ อ ง
สมบัติของคลื่น เนื่องจากแสงเปนทั้งคลื่นและอนุภาค ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
การบอดสี เปนความบกพรองในการมองเห็นสีทเ่ี กิดจากการขาดหายไปของเซลลรปู กรวยบนจอตา กลาว 3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Topic Question เรือ่ ง
คือ บนจอตามีเซลลรูปกรวยเพียงสองชนิดหรือเพียงชนิดเดียว การบอดสีทดสอบไดโดยใชแผนทดสอบการ คลื่นแมเหล็กไฟฟา ในสมุดบันทึกประจําตัว
บอดสี โดยแผนทดสอบการบอดสีที่จักษุแพทยนิยมใช คือ แผนทดสอบการบอดสีอิชิฮารา
การผสมแสงสี ทําใหไดแสงสีหลากหลาย หรือเปลีย่ นไปจากเดิม เมือ่ นําแสงสีปฐมภูมใิ นสัดสวนทีเ่ หมาะสม 4. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเขาใจของ
มาผสมกันจะไดแสงขาว การผสมแสงสีนําไปใชประโยชนในการจัดไฟแสงสีในการแสดงบนเวที การแสดง ตนเอง Self Check เรื่อง คลื่น จากหนังสือ
ไฟแสงสีของสถานทีต่ า ง ๆ การสรางภาพสีบนจอเครือ่ งรับโทรทัศนสแี ละจอแอลอีดี เมือ่ นําแผนกรองแสงไปกัน้ เรียนในสมุดบันทึกประจําตัว
แสงขาว แผนกรองแสงจะดูดกลืนแสงสีบางสีไวและยอมใหแสงบางสีผานไปได โดยยอมใหทะลุผานไดเฉพาะ
แสงสีเดียวกับสีของแผนกรองแสงหรือแสงสีที่มีความยาวคลื่นใกลเคียงกับสีของแผนกรองแสงเทานั้น 5. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question หนวย
การผสมสารสี ทําใหไดสารสีทหี่ ลากหลาย หรือเปลีย่ นไปจากเดิม ถานําสารสีปฐมภูมใิ นปริมาณทีเ่ ทากันมา การเรียนรูที่ 4 คลื่น ในสมุดบันทึกประจําตัว
ผสมกันจะไดสารสีผสมเปนสีดํา การผสมสารสีนําไปใชในการสรางสรรคงานศิลปะ งานกอสราง การทํา 6. ครู ต รวจสอบแบบฝ ก หั ด เรื่ อ ง ประโยชน
เฟอรนิเจอร เปนตน ของคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า จากแบบฝ ก หั ด
ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส) ม.5
คลื่นแมเหล็กไฟฟานําไปใชประโยชนในการทํางานของอุปกรณบางชนิด เชน อุปกรณควบคุมระยะไกล 7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
(รังสีอนิ ฟราเรดและคลืน่ วิทยุ) เครือ่ งถายภาพเอกซเรยคอมพิวเตอร (รังสีเอกซ) และเครือ่ งถายภาพการสัน่ พอง
แมเหล็ก (คลื่นวิทยุ) และใชในการสื่อสารเพื่อสงผานขอมูลและสารสนเทศจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งผานสื่อกลาง ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
แบบใชสาย (แสงเลเซอร) และสื่อกลางแบบไรสาย (รังสีอินฟราเรด ไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ) และการทํางานกลุม
8. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากชิ้ น งานการสรุ ป
Self Check
เนือ้ หา เรือ่ ง ประโยชนของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยพิจารณาขอความวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด ทีน่ กั เรียนไดสรางขึน้ จากขัน้ ขยายความเขาใจ
หากพิจารณาขอความไมถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอที่กําหนดให เปนรายบุคคล
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวาง 1.3
2. การสัน่ พองเกิดขึน้ เมือ่ วัตถุถกู กระตุน ใหสนั่ ดวยความถีธ่ รรมชาติในการสัน่ 1.4
ของวัตถุ
ุด
สม
ใน

3. บีตเปนผลจากการรวมกันของคลื่นเสียงสองขบวนที่มีความถี่ใกลเคียงกัน 1.5
ลง
ทึ ก

4. การมองเห็นวัตถุเปนสีตาง ๆ ขึ้นกับแสงสีที่สะทอนออกมาจากวัตถุ 2.3


บั น

5. สัญญาณแอนะล็อกสงผานไดโดยมีความผิดพลาดนอยกวาสัญญาณดิจิทัล 2.4
แนวตอบ Self Check
¤Å×è¹ 167 1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก
4. ถูก 5. ผิด

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 3-4 คน ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ประโยชนของ
2. สมาชิกแตละคนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ เรือ่ ง คลืน่ จากนัน้ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ได จ ากผั ง มโนทั ศ น ที่ นั ก เรี ย นได ส ร า งขึ้ น ในขั้ น ขยาย
แต ล ะคนอภิ ป รายผลการศึ ก ษาของตนเองจนได เ ป น ความ ความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/
คิดเห็นของกลุม ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่
3. แตละกลุมรวมกันจัดทําเปนสรุปผลการศึกษา เรื่อง คลื่น เปน 4 คลื่น
แผนภาพหรืออินโฟกราฟก (infographic) พรอมทั้งตกแตงให แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1, 3-5 เกณฑ์ประเมินผังมโนทัศน์

สวยงาม แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ประเด็นที่ประเมิน

1. ผลงานตรงกับ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้อง
คะแนน

4. ครูสุมตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานของกลุม
จุดประสงค์ที่กาหนด จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์
ระดับคุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 3. ผลงานมีความคิด ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด

ตนเองหนาชั้นเรียน
2 ความถูกต้องของเนื้อหา สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิด ใหม่
3 ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น แปลกใหม่
4 ความเป็นระเบียบ ระบบ
รวม 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น
ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแต่มีข้อบกพร่อง ระเบียบและมี
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ข้อบกพร่องมาก

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../................./................
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–16 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T181
นํา สอน สรุป ประเมิน

เฉลย Unit Question


1. คลื่นจะเกิดการเลี้ยวเบนและคลื่นจะเกิดการ
หักเหตามลําดับ Unit Question
2. พิ จ ารณาจากลั ก ษณะการสั่ น ของอนุ ภ าค คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
ตัวกลางขณะคลื่นกลเคลื่อนผาน ถาเปนคลื่น 1. เมือ่ คลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปพบขอบสิง่ กีดขวาง และคลืน่ เคลือ่ นทีผ่ า นรอยตอระหวางตัวกลางทีต่ า งกัน
ตามยาว อนุภาคตัวกลางจะสั่นในแนวเดียวกับ จะเกิดอะไรขึ้น
แนวการเคลื่อนที่ของคลื่น แตถาเปนคลื่นตาม 2. การแบงชนิดของคลืน่ กลเปนคลืน่ ตามยาวและคลืน่ ตามขวางเปนการแบงโดยพิจารณาจากสิง่ ใด
ขวาง อนุภาคตัวกลางจะสั่นในแนวตั้งฉากกับ และอยางไร พรอมยกตัวอยางคลื่นกลที่เปนคลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางมาอยางละ 2
การเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอยางคลื่นตามยาว ตัวอยาง
ไดแก คลืน่ เสียง คลืน่ ในสปริง และตัวอยางคลืน่ 3. ความยาวคลื่นของคลื่นตามขวางและความยาวคลื่นของคลื่นตามยาวแตกตางกันอยางไร
ตามขวาง ไดแก คลื่นผิวนํ้า คลื่นในเสนเชือก 4. อัตราเร็วของคลื่นผิวนํ้าเปลี่ยนแปลงอยางไรเมื่อเคลื่อนที่จากบริเวณนํ้าลึกเขาสูบริเวณนํ้าตื้น
3. ความยาวคลืน่ ของคลืน่ ตามขวาง คือ ระยะหาง และสงผลใหเกิดการเปลี่ยนอยางไรกับหนาคลื่น
จากสันคลื่นถึงสันคลื่นที่อยูติดกัน หรือระยะ 5. การสั่นพองเกิดจากอะไร แบงเปนกี่ชนิด อะไรบาง พรอมยกตัวอยางการสั่นพองแตละชนิด
หางจากทองคลื่นถึงทองคลื่นที่อยูติดกัน สวน 6. จงระบุวาปรากฏการณตอไปนี้เปนผลจากสมบัติใดของเสียง
ความยาวคลื่นของคลื่นตามยาว คือ ระยะหาง ก. เสียงกอง ข. การเห็นฟาแลบแตไมไดยินเสียงฟารองดังตามมา
จากกึ่งกลางของสวนอัดถึงกึ่งกลางของสวนอัด ค. การไดยินเสียงรถตัดหญาดังขามกําแพงมาโดยที่มองไมเห็นรถตัดหญา
ที่อยูติดกัน หรือระยะหางจากกึ่งกลางของสวน 7. จงเปรียบเทียบปรากฏการณบีตกับปรากฏการณดอปเพลอร
ขยายถึงกึ่งกลางของสวนขยายที่อยูติดกัน
8. สิ่งที่กําหนดใหตอไปนี้เปนการใชประโยชนจากสมบัติใดหรือปรากฏการณใดของเสียง
4. เมื่ อ คลื่ น เคลื่ อ นที่ จ ากบริ เ วณนํ้ า ลึ ก เข า สู  ก. เครื่องอัลตราซาวนด ข. การออกแบบเครื่องดนตรี
บริเวณนํ้าตื้น อัตราเร็วของคลื่นผิวนํ้าจะลดลง ค. การปรับเทียบเสียงจากเครื่องดนตรี ง. การอธิบายการเปลงเสียงของมนุษย
เนื่องจากความถี่ของคลื่นไมเปลี่ยนแปลง คลื่น 9. ระบบหักเหแสงของตาประกอบดวยอะไรบาง และภาพที่เกิดจากระบบหักเหแสงของตา
ในนํา้ ตืน้ จึงมีความยาวคลืน่ ลดลง สงผลใหหนา มีลักษณะอยางไร
คลื่นอยูชิดกันมากขึ้น 10. แมสีแสงประกอบดวยแสงสีอะไรบาง แมสีแสงที่มีความเขมเทากันเมื่อนํามาผสมกันจะได
5. การสั่นพองเกิดจากการกระตุนใหวัตถุสั่นดวย แสงสีผสมเปนแสงสีใด และแมสีประกอบดวยสารสีใดบาง แมสีที่มีปริมาณเทากันเมื่อนํามา
ความถี่เทากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ แบง ผสมกันจะไดสารสีผสมเปนสีใด
เปน 2 ชนิด ไดแก การสั่นพองดวยแรง เชน 11. เหตุใดจึงจัดใหคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง
การสั่นพองของสะพาน การสั่นพองของอาคาร 12. เหตุใดคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความถี่เทากันบางชวงจึงมีชื่อเรียกไมเหมือนกัน
สูง และการสั่นพองดวยคลื่น เชน การสั่นพอง 13. เหตุใดจึงนิยมใชสัญญาณดิจิทัลในการสงสัญญาณในระยะทางไกล
ของเสียงในเครื่องดนตรีประเภทเปา
14. จงระบุชนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ใชในการสงผานขอมูลและสารสนเทศ
6. ก. การสะทอน ข. การหักเห ก. สื่อกลางแบบใชสาย ข. สื่อกลางแบบไรสาย
ค. การเลี้ยวเบน 168
7. บีต เกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงสอง
ขบวนที่มีความถี่ใกลเคียงกัน ผูสังเกตซึ่งอยูที่
จุดหนึ่งในบริเวณนั้นจะไดยินเสียงที่มีความดังเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดย 11. เพราะสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาที่เปนสวนประกอบของคลื่น
ไดยินเสียงดังขึ้นจนดังที่สุดและเบาลงจนเบาที่สุด หรือเงียบหายไปสลับกัน แมเหล็กไฟฟาเปลีย่ นแปลงในแนวตัง้ ฉากกับทิศการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่
เปนจังหวะ สวนปรากฏการณดอปเพลอร เกิดขึ้นเมื่อแหลงกําเนิดเสียง 12. เนื่องจากมีแหลงกําเนิดตางกัน และการเรียกชื่อคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ผูสังเกต หรือทั้งแหลงกําเนิดเสียงและผูสังเกตเคลื่อนที่ ผูสังเกตจะไดยิน จะยึดตามแหลงกําเนิดและวิธีการตรวจวัดพลังงานที่มากับคลื่นนั้นๆ
เสียงทีม่ คี วามถีต่ า งไปจากความถีข่ องเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงขณะอยูน งิ่ เปนหลัก
โดยเสียงที่ไดยินจะมีความถี่สูงขึ้นเมื่อเคลื่อนที่เขาหากัน แตเสียงที่ไดยิน 13. สั ญ ญาณดิ จิ ทั ล เมื่ อ ถู ก รบกวนจะเปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม ได น  อ ย
จะมีความถี่ตํ่าลงเมื่อเคลื่อนที่ออกหางกัน เนื่องจากสัญญาณรบกวนตองมีคาสูงกวาคาที่ตั้งไวเทานั้นจึงจะเกิด
8. ก. การทะลุผานและสะทอนกลับของคลื่นเหนือเสียง การเปลี่ยนแปลงขึ้น สงผลใหการสงสัญญาณดิจิทัลไปในระยะไกล
ข. การสั่นพองของเสียง ค. บีต ง. การสั่นพองของเสียง นาเชื่อถือมากกวาการสงสัญญาณแอนะล็อก เพราะความผิดเพี้ยนที่
9. ประกอบดวย กระจกตา ของเหลวในชองหนาลูกตา เลนสตา และวุนใส เกิดจากการรบกวนโดยสัญญาณรบกวนจากสิ่งแวดลอมมีนอยกวา
หลังเลนสตา โดยภาพที่เกิดเปนภาพจริงหัวกลับกับวัตถุ จึงนิยมใชสัญญาณดิจิทัลในการสงสัญญาณในระยะทางไกล
10. แมสีแสง ประกอบดวย แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีนํ้าเงิน แมสีแสงที่มี 14. ก. แสงเลเซอร
ความเขมเทากันเมื่อนํามาผสมกันจะไดแสงขาว สวนแมสีสารประกอบดวย ข. รังสีอินฟราเรด ไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ
สารสีแดงมวง สารสีเหลือง และสารสีนํ้าเงินเขียว แมสีสารที่มีปริมาณ
เทากันเมื่อนํามาผสมกันจะไดสารสีผสมเปนสีดํา

T182
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวทางการทํากิจกรรม

F u n Fun Science Activity


ครูอาจแนะนําหรือเสนอแนะหลักการที่ใชใน
S cience y การปฏิบัติกิจกรรมเสียงระฆังจากชอนโลหะ เพื่อ
Activit
เสียงระ¦ัง¨ากช้อนโลËะ
ใหนักเรียนสามารถทํากิจกรรมไดอยางถูกตองและ
มีความเขาใจหลักการทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ
ÇÑÊ´ØอØปกร³ ดังนี้
1. ช้อนโลหะ 1 คัน
2. ส้อมโลหะ 1 คัน • ครูแนะนําใหนักเรียนทดลองเปลี่ยนชนิดของ
3. เชือกด้าย เชือก เชน เชือกฟาง เชือกไนลอน เชือก
ยาวประมาณ 1.0 เมตร เสนใยธรรมชาติ (เชือกปอ เชือกปาน) เพื่อ
เปรียบเทียบความแตกตางที่เกิดขึ้นวา ชนิด
ของเชือกจะมีผลตอเสียงที่เกิดขึ้น
• ครูใหนักเรียนทดลองเปลี่ยนความยาวเชือก
Çิ¸Õป¯ิºÑµิ ในการทํากิจกรรมแตละครัง้ เพือ่ เปรียบเทียบ
1. น�าเชือกด้ายที่เตรียมไว้มามัดช้อน โดยให้ช้อนอยู่กึ่งกลางของ ความแตกตางทีเ่ กิดขึน้ วา ความยาวของเชือก
เชือก เมื่อมัดเสร็จแล้วความยาวของเชือกทั้งสองข้างจะเท่ากัน
จะมีผลตอเสียงที่เกิดขึ้น
หรือใกล้เคียงกันมากที่สุด
2. น�าปลายเชือกมาพันรอบนิ้วชี้ทั้ง 2 ข้าง ประมาณ 2-3 รอบ
• ครู อ าจตั้ ง ประเด็ น ป ญ หาเพื่ อ กระตุ  น ให
3. น�านิ้วชี้ที่พันเชือกแล้วไปแตะที่รูหูทั้ง 2 ข้าง แล้วเอนตัวไปข้าง
นักเรียนเกิดกระบวนการคิด โดยครูแนะนํา
หน้าเล็กน้อยเพือ่ ให้ชอ้ นห้อยลงตามแรงโน้มถ่วงของโลกและแกว่ง ใหนักเรียนทดลองใชชอนหรือสอมที่ทําจาก
ได้อย่างอิสระ วัสดุอื่นๆ ที่ไมใชโลหะ เชน พลาสติก ไม
4. ขยับตัวเล็กน้อยให้ช้อนไปกระทบหรือแตะกับขอบโตะหรือผนัง เซรามิ ก มาใช ใ นการทํ า กิ จ กรรม เพื่ อ
เบา ๆ สังเกตผลที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบความแตกตางที่เกิดขึ้นวา วัสดุ
ลักษณะการปฏิบัติเพื่อให้เกิด
5. ปฏิบัติซ�้าตามข้อ 1.-4. โดยเปลี่ยนจากช้อนโลหะเป็นส้อมโลหะ เสียงระฆังจากช้อนโลหะ ตางชนิดกันจะมีผลตอเสียงที่เกิดขึ้นหรือไม
สังเกตผลที่เกิดขึ้นว่าเหมือนหรือต่างจากการใช้ช้อนโลหะ ที่มา : คลังภาพ อจท. อยางไร
ËลÑกกำรทำ§ÇิทยำÈำʵร • ครูอาจนํากิจกรรมเสียงระฆังจากชอนโลหะ
มาใชในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง เสียง
หลังจากที่ช้อนโลหะหรือส้อมโลหะกระทบกับวัตถุใด ๆ จะเกิดการสั่นสะเทือนและท�าให้เกิดคลื่นเสียง โดย
คลื่นเสียงที่เกิดขึ้นจะเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นเชือกด้ายไปยังหูของผู้ท�าการทดลองและยังจะกระจายไปใน โดยนํากิจกรรมนี้มาใหนักเรียนปฏิบัติในขั้น
อากาศโดยรอบตัวผู้ท�าการทดลอง จึงกล่าวได้ว่า เสียงที่ผู้ท�าการทดลองได้ยินเกิดจากการสั่นของอนุภาคของ กระตุนความสนใจ หรือนํากิจกรรมนี้มาใช
ช้อนโลหะ โดยลักษณะของเสียงทีไ่ ด้ยนิ จะคล้ายกับเสียงระฆังหรือเสียงฆ้อง ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั แอมพลิจดู ของการสัน่ ในขั้นสํารวจคนหา เพื่อใหนักเรียนไดทดลอง
หรือขนาดของช้อนโลหะ และความยาวของเชือกที่ใช้ ส่วนผู้ที่ไม่ได้ถือเชือกหรือไม่ได้เป็นผู้ทดลองจะไม่ได้ยิน และสืบเสาะหาความรูจ นไดขอ สรุปทีว่ า เสียง
เสียงระฆัง แต่จะได้ยนิ เพียงแค่เสียงทีช่ อ้ นหรือส้อมโลหะกระทบกับวัตถุใด ๆ เท่านัน้ นัน่ เป็นเพราะเสียงสามารถ
เคลื่อนที่ในตัวกลางที่เป็นของแข็ง (เชือกด้าย) ได้ดีกว่าตัวกลางที่เป็นแกส (อากาศ) ตองใชตัวกลางในการเคลื่อนที่และชนิดของ
169 ตัวกลางที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของเสียง

T183
บรรณานุ ก รม
กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. (2550). สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์ น�ำไปสู่การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร :
อักษรเจริญทัศน์.
ชุติมา วัฒนะคีรี. (2549). กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
ณรงค์ สังวาระนที และสุชาติ แซ่เฮง. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
ณรงค์ สังวาระนที. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
อักษรเจริญทัศน์.
ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน : องค์ความรูเ้ พือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่ 17. กรุงเทพมหานคร :
ด่านสุทธาการพิมพ์.
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ส�ำนักงาน. (2549). หนังสือชุดกิจกรรมส่งเสริม
การเรียนรู้ “การสืบค้นทางวิทยาศาสตร์” ระดับมัธยมศึกษา. ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ.
วันเฉลิม กลิน่ ศรีสขุ . (2558). การใช้กจิ กรรมค่ายวิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขนั้ พืน้ ฐาน. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน), มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : ตถาตาพับลิเคชั่น.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ การเคลื่อนที่และแรงใน
ธรรมชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
. (2559). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ พลังงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
ส�ำนักบริหารวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์, แผนกบริหารหลักสูตร. (2557). เอกสารเผยแพร่ความรู้วิชาการศึกษา :
วิธีการสอน (Teaching Methodology). กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์.
สุโกสินทร์ ทองรัตนาศิริ และมนต์อมร ปรีชารัตน์. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ. (2547). 21 วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
ภาพพิมพ์.
อรุณี เรืองวิเศษ. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. พิมพ์
ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.

T184
สร้างอนาคตเด็กไทย
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก

คู่มือครู
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ¡ÒÂÀÒ¾ 2 (¿Êԡʏ) Á.5

นร.วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5


ISBN : 978 - 616 - 203 - 830 - 3
บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
บริ
ษ ท
ั อักษรเจริ
โทร./แฟกซ์ ญทั2999
0 2622 ศน์ อจท. จำกัตดิ 20 คูส
(อัตโนมั ่ าย)
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร
www.aksorn.com Aksornกรุ
ACTงเทพมหานคร 10200 9 786162 038303
โทร./แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) www.aksorn.com 96.-

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท.
คู่มือครู นร. วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 8 858649 144171

ID Line : @aksornkrumattayom
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
www.aksorn.com
่ าย)
อักษรเจริญทัศน์ อจท.
350.-
ราคานีเ้ ป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like