You are on page 1of 273

ฉบั

บปร
บปร
ั งพฤษภา
ุ คม2562
คู่มือครู

รายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์
ชั้น

ประถมศึกษาปีที่ ๔ เล่ม ๒
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดทำ�โดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คํานํา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร วิธีการ
เรี ย นรู้ การประเมิ น ผล การจั ด ทํ า หนั ง สื อ เรี ย น คู่ มื อ ครู แบบฝึ ก หั ด กิ จ กรรม และสื่ อ การเรี ย นรู้ เพื่ อ ใช้
ประกอบการเรียนรูใ้ นกลุม
่ สาระการเรียนรูว้ ท
ิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๒ นี้ จัดทําตามมาตรฐานการเรียนรู้


และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้น พื้น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ โดยมี เ นื้อ หาสาระเกี่ย วกั บ การวิ เ คราะห์ ตัว ชี้วัด สาระการเรี ย นรู้ร ายชั้น ปี
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสําคัญ แนวการจัดการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน ตัวอย่างข้อสอบ
ประจําบทพร้อมเฉลย ซึ่งสอดคล้องกับหนังสือเรียนและแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ ๔ เล่ม ๒ ที่ต้องใช้ควบคู่กัน

สสวท. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า คูม


่ อื ครูเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วนสําคัญในการพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ ขอขอบคุณผูท
้ รงคุณวุฒิ บุคลากรทางการศึกษาและ
หน่วยงานต่าง ๆ ทีม
่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการจัดทําไว้ ณ โอกาสนี้

(ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจํานงค์)
ผู้อํานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คำ�ชี้แจง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำ�มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระ
การเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน
้ พืน
้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจด
ุ เน้นเพือ่ ต้องการพัฒนาผูเ้ รียนให้มค
ี วามรูค
้ วามสามารถทีท
่ ด
ั เทียมกับนานาชาติ
ได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ท่เี ชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย
มีการทำ�กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ ๒๑ สสวท. จึงได้จดั ทำ�คูม
่ อื ครูประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาพืน
้ ฐานคณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
เล่ม ๒ ทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร เพือ่ เป็นแนวทางให้โรงเรียนนำ�ไปจัดการเรียนการสอนในชัน
้ เรียน

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๒ นี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ


การวิเคราะห์ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูร้ ายชัน
้ ปี จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ แนวการจัดการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรม
ในหนั ง สื อ เรี ย น ตั ว อย่ า งข้ อ สอบประจำ � บทพร้ อ มเฉลย ซึ่ง ครู ผู้ส อนสามารถนำ � ไปใช้ เ ป็ น แนวทางในการวางแผน
การจั ด การเรี ย นรู้ใ ห้ บ รรลุ จุด ประสงค์ ท่ีต้ัง ไว้ โดยสามารถนำ � ไปจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ไ ด้ ต ามความเหมาะสมและ
ความพร้ อ มของโรงเรี ย น ในการจั ด ทำ � คู่ มื อ ครู เ ล่ ม นี้ ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี ย่ิ ง จากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ
คณาจารย์ นักวิชาการอิสระ ครูผู้สอน รวมทั้งนักวิชาการจากสถาบันต่าง ๆ และสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
จึงขอขอบคุณมา ณ ทีน
่ ้ี

สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สอน และผู้ท่ี


เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้จัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้
คูม
่ อื ครูเล่มนีม
้ คี วามสมบูรณ์ยง่ิ ขึน
้ โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จะขอบคุณยิง่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ

หน้า

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (1)
ตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-5 (2)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-5 (9)
ผังมโนทัศน์เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (16)
ตัวอย่างคำ�อธิบายรายวิชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (17)
ตัวอย่างโครงสร้างเวลาเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (19)
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง (20)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
แนวการจัดการเรียนรู้

บทที่ 6 เศษส่วน 1

ตัวอย่างข้อสอบ 32

บทที่ 7 ทศนิยม 38

ตัวอย่างข้อสอบ 66

บทที่ 8 มุม 70

ตัวอย่างข้อสอบ 90

บทที่ 9 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 100

ตัวอย่างข้อสอบ 135

บทที่ 10 การนำ�เสนอข้อมูล 146

ตัวอย่างข้อสอบ 171

เฉลยแบบฝึกหัด เล่ม 2 179

บทที่ 6 เศษส่วน 180

บทที่ 7 ทศนิยม 189

บทที่ 8 มุม 199

บทที่ 9 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 208

บทที่ 10 การนำ�เสนอข้อมูล 227

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู 229

คณะผู้จัดทำ� 244
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค. 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค. 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค. 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค. 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (1)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-5

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 1.1 เข้าใจความ 1. อ่านและเขียน ตัวเลข 1. อ่านและเขียนตัวเลข 1. เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วน
หลากหลายของการแสดง ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย เป็นตัวประกอบของ
จำ�นวน ระบบจำ�นวน และตัวหนังสือแสดง และตัวหนังสือแสดง 10 หรือ 100 หรือ
การดำ�เนินการของ จำ�นวนนับไม่เกิน จำ�นวนนับที่มากกว่า 1,000 ในรูปทศนิยม
จำ�นวนผลที่เกิดขึ้นจาก 100,000 และ 0 100,000
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
การดำ�เนินการ สมบัติ
2. เปรียบเทียบและเรียง 2. เปรียบเทียบและเรียง ของโจทย์ปัญหาโดย
ของการดำ�เนินการ
ลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน ลำ�ดับจำ�นวนนับที่ ใช้บัญญัติไตรยางศ์
และนำ�ไปใช้
100,000 จาก มากกว่า 100,000
3. หาผลบวก ผลลบของ
สถานการณ์ต่าง ๆ จากสถานการณ์ต่าง ๆ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
3. บอก อ่านและเขียน 3. บอก อ่านและเขียน
4. หาผลคูณ ผลหารของ
เศษส่วนแสดงปริมาณ เศษส่วน จำ�นวนคละ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
สิ่งต่าง ๆ และแสดง แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ
สิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน และแสดงสิ่งต่าง ๆ 5. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
ที่กำ�หนด ตามเศษส่วน จำ�นวน โจทย์ปัญหาการบวก
คละที่กำ�หนด การลบ การคูณ การหาร
4. เปรียบเทียบเศษส่วน
เศษส่วน 2 ขั้นตอน
ที่ตัวเศษเท่ากัน 4. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับ
โดยที่ตัวเศษน้อยกว่า เศษส่วนและจำ�นวนคละ 6. หาผลคูณของทศนิยม
หรือเท่ากับตัวส่วน ที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น ที่ผลคูณเป็นทศนิยม
พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์ 5. อ่านและเขียนทศนิยม 7. หาผลหารที่ตัวตั้งเป็น
แสดงการบวกและ ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่งแสดง จำ�นวนนับหรือทศนิยม
ประโยคสัญลักษณ์แสดง ปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง และ
การลบของจำ�นวนนับ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ
ไม่เกิน 100,000 และ 0 ตามทศนิยมที่กำ�หนด ผลหารเป็นทศนิยม
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
6. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า 6. เปรียบเทียบและเรียง
ในประโยคสัญลักษณ์ ลำ�ดับทศนิยมไม่เกิน 8. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
แสดงการคูณของจำ�นวน 3 ตำ�แหน่งจาก โจทย์ปัญหาการบวก
1 หลักกับจำ�นวนไม่เกิน สถานการณ์ต่าง ๆ การลบ การคูณ การหาร
4 หลักและจำ�นวน 2 หลัก ทศนิยม 2 ขั้นตอน
กับจำ�นวน 2 หลัก

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (2)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
7. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า 7. ประมาณผลลัพธ์ของ 9. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ในประโยคสัญลักษณ์ การบวก การลบ การคูณ ของโจทย์ปัญหาร้อยละ
แสดงการหารที่ตัวตั้ง การหารจาก ไม่เกิน 2 ขัน
้ ตอน
ไม่เกิน 4 หลัก สถานการณ์ต่าง ๆ
ตัวหาร 1 หลัก อย่างสมเหตุสมผล

8. หาผลลัพธ์การบวก 8. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ลบ คูณ หารระคน ในประโยคสัญลักษณ์
ของจำ�นวนนับไม่เกิน แสดงการบวกและ
100,000 และ 0 ประโยคสัญลักษณ์
แสดงการลบของ
9. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
จำ�นวนนับที่มากกว่า
โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
100,000 และ 0
ของจำ�นวนนับไม่เกิน
100,000 และ 0 9. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์
10. หาผลบวกของเศษส่วน
แสดงการคูณของจำ�นวน
ที่มีตัวส่วนเท่ากันและ
หลายหลัก 2 จำ�นวน
ผลบวกไม่เกิน 1 และ
ที่มีผลคูณไม่เกิน 6 หลัก
หาผลลบของเศษส่วน
และประโยคสัญลักษณ์
ที่มีตัวส่วนเท่ากัน
แสดงการหารที่ตัวตั้ง
11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ไม่เกิน 6 หลัก ตัว
โจทย์ปัญหาการบวก หารไม่เกิน 2 หลัก
เศษส่วนที่มีตัวส่วน
10. หาผลลัพธ์การบวก
เท่ากันและผลบวก
ลบ คูณ หารระคนของ
ไม่เกิน 1 และโจทย์
จำ�นวนนับ และ 0
ปัญหาการลบเศษส่วน
ที่มีตัวส่วนเท่ากัน

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (3)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
ของจำ�นวนนับทีม
่ ากกว่า
100,000 และ 0

12. สร้างโจทย์ปัญหา
2 ขั้นตอนของ
จำ�นวนนับ และ 0
พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ

13. หาผลบวก ผลลบ


ของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละที่ตัวส่วน
ตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ
ของอีกตัวหนึ่ง

14. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาการบวก
และโจทย์ปัญหา
การลบเศษส่วนและ
จำ�นวนคละที่ตัวส่วน
ตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ
ของอีกตัวหนึ่ง

15. หาผลบวก ผลลบ


ของทศนิยมไม่
เกิน 3 ตำ�แหน่ง

16. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปญ ั หาการบวก
การลบ 2 ขั้นตอน
ของทศนิยมไม่
เกิน 3 ตำ�แหน่ง

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (4)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 1.2 เข้าใจและ 1. ระบุจำ�นวนที่หายไป - -
วิเคราะห์แบบรูป ความ ในแบบรูปของจำ�นวน
สัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับ ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง
และอนุกรม และนำ�ไปใช้ ทีละเท่า ๆ กัน

ค. 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ - - -


และอสมการอธิบาย
ความสัมพันธ์หรือช่วยแก้
ปัญหาที่กำ�หนดให้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐาน 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
เกี่ยวกับการวัด วัดและ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน โจทย์ปัญหเกี่ยวกับเวลา ของโจทย์ปัญหาเกี่ยว
คาดคะเนขนาดของสิ่งที่ กับความยาวที่มีการ
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ 2. วัดและสร้างมุม โดยใช้
ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ เปลี่ยนหน่วยและ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โพรแทรกเตอร์
เขียนในรูปทศนิยม
เวลาและระยะเวลา
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
3. เลือกใช้เครื่องวัดความ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ยาวที่เหมาะสม วัดและ ความยาวรอบรูปและ
น้ำ�หนักที่มีการเปลี่ยน
บอกความยาวของสิ่ง พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
หน่วยและเขียน
ต่าง ๆ เป็นเซนติเมตร มุมฉาก
ในรูปทศนิยม
และมิลลิเมตร
เมตรและเซนติเมตร 3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
4. คาดคะเนความยาวเป็น
ปริมาตรของทรง
เมตรและเป็นเซนติเมตร
สี่เหลี่ยมมุมฉากและ
ความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (5)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
5. เปรียบเทียบความยาว 4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ระหว่าง ของโจทย์ปัญหาเกี่ยว
เซนติเมตรกับมิลลิเมตร กับ ความยาวรอบรูป
เมตรกับเซนติเมตร ของรูปสี่เหลี่ยมและ
กิโลเมตรกับเมตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
จากสถานการณ์ต่าง ๆ ด้านขนานและรูป
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
6. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาวที่มี
หน่วยเป็นเซนติเมตร
และมิลลิเมตร
เมตรและเซนติเมตร
กิโลเมตรและเมตร

7. เลือกใช้เครื่องชั่งที่
เหมาะสม วัดและ
บอกน้ำ�หนักเป็น
กิโลกรัมและขีด
กิโลกรัมและกรัม

8. คาดคะเนน้ำ�หนักเป็น
กิโลกรัมและเป็นขีด

9. เปรียบเทียบน้ำ�หนัก
ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม
จากสถานการณ์ต่าง ๆ

10. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาเกี่ยว
กับน้ำ�หนักที่มีหน่วย
เป็นกิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (6)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต

ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
11. เลือกใช้เครื่องตวง
ที่เหมาะสม วัดและ
เปรียบเทียบปริมาตร
ความจุเป็น
ลิตรและมิลลิลิตร

12. คาดคะเนปริมาตร
และความจุเป็นลิตร

13. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรและ
ความจุที่มีหน่วยเป็น
ลิตรและมิลลิลิตร

ค. 2.2 เข้าใจและ 1. ระบุรูปเรขาคณิตสอง 1. จำ�แนกชนิดของมุม 1. สร้างเส้นตรงหรือส่วน


วิเคราะห์รูปเรขาคณิต มิติที่มีแกนสมมาตรและ บอกชือ่ มุม ส่วนประกอบ ของเส้นตรงให้ขนานกับ
สมบัติของรูปเรขาคณิต จำ�นวนแกนสมมาตร ของมุมและเขียน เส้นตรงหรือส่วนของ
ความสัมพันธ์ระหว่าง สัญลักษณ์แสดงมุม เส้นตรงที่กำ�หนดให้
รูปเรขาคณิต และ
2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2. จำ�แนกรูปสี่เหลี่ยม
ทฤษฎีบททางเรขาคณิต
เมื่อกำ�หนดความยาว โดยพิจารณาจาก
และนำ�ไปใช้
ของด้าน สมบัติของรูป

3. สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิด
ต่าง ๆ เมื่อกำ�หนด
ความยาวของด้าน
และขนาดของมุมหรือ
เมื่อกำ�หนดความยาว
ของเส้นทแยงมุม

4. บอกลักษณะของปริซึม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (7)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 3.1 เข้าใจกระบวนการ 1. เขียนแผนภูมิรูปภาพ 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง 1. ใช้ข้อมูลจากกราฟ
ทางสถิติ และใช้ความรู้ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ ตารางสองทางในการหา เส้นในการหาคำ�ตอบ
ทางสถิติในการแก้ปัญหา รูปภาพในการหาคำ�ตอบ คำ�ตอบของโจทย์ปัญหา ของโจทย์ปัญหา
ของโจทย์ปัญหา
2. เขียนแผนภูมิแท่ง
2. เขียนตารางทางเดียว จากข้อมูลที่เป็น
จากข้อมูลที่เป็น จำ�นวนนับ
จำ�นวนนับ และใช้
ข้อมูลจากตารางทาง
เดียวในการหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหา

ค. 3.2 เข้าใจหลักการนับ - - -
เบื้องต้น ความน่าจะเป็น
และนำ�ไปใช้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (8)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-5

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 1.1 เข้าใจความ จำ�นวนนับไม่เกิน จำ�นวนนับที่มากกว่า เศษส่วน และการบวก
หลากหลายของการแสดง 100,000 และ 0 100,000 และ 0 การลบ การคูณ การ
จำ�นวน ระบบจำ�นวน หารเศษส่วน
• การอ่าน การเขียน • การอ่าน การเขียน
การดำ�เนินการของ
ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขฮินดูอารบิก • การเปรียบเทียบเศษส่วน
จำ�นวนผลที่เกิดขึ้นจาก
ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ ตัวเลขไทยและตัว และจำ�นวนคละ
การดำ�เนินการ สมบัติ
แสดงจำ�นวน หนังสือแสดงจำ�นวน
ของการดำ�เนินการ และ • การบวก การลบเศษส่วน
นำ�ไปใช้ • หลัก ค่าของเลขโดด • หลัก ค่าประจำ�หลัก และจำ�นวนคละ
ในแต่ละหลัก และ และค่าของเลขโดด
• การคูณ การหารของ
การเขียนตัวเลขแสดง ในแต่ละหลัก และ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
จำ�นวนในรูปกระจาย การเขียนตัวเลขแสดง
จำ�นวนในรูปกระจาย
• การเปรียบเทียบและ • การบวก ลบ คูณ หาร
เรียงลำ�ดับจำ�นวน • การเปรียบเทียบและ ระคนของเศษส่วน
เรียงลำ�ดับจำ�นวน และจำ�นวนคละ
เศษส่วน
• ค่าประมาณของ • การแก้โจทย์ปัญหา
• เศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่า เศษส่วนและจำ�นวนคละ
จำ�นวนนับและการ
หรือเท่ากับตัวส่วน
ใช้เครื่องหมาย ≈
• การเปรียบเทียบและ
เศษส่วน
เรียงลำ�ดับเศษส่วน
• เศษส่วนแท้ เศษเกิน
การบวก การลบ การคูณ
การหารจำ�นวนนับไม่ • จำ�นวนคละ
เกิน 100,000 และ 0
• ความสัมพันธ์ระหว่าง
• การบวกและการลบ จำ�นวนคละและเศษเกิน

• การคูณ การหารยาว • เศษส่วนที่เท่ากัน


และการหารสั้น เศษส่วนอย่างต่ำ�
และเศษส่วนที่เท่ากับ
จำ�นวนนับ

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (9)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
• การบวก ลบ คูณ หารระคน • การเปรียบเทียบ ทศนิยม
เรียงลำ�ดับเศษส่วน
• การแก้โจทย์ปัญหาและ • ความสัมพันธ์ระหว่าง
และจำ�นวนคละ
การสร้างโจทย์ปัญหา เศษส่วนและทศนิยม
พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ ทศนิยม
• ค่าประมาณของทศนิยม
การบวก การลบเศษส่วน • การอ่านและการเขียน ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ที่เป็นจำ�นวนเต็ม
• การบวกและการลบ ตามปริมาณที่กำ�หนด ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง และ
เศษส่วน 2 ตำ�แหน่ง
• หลัก ค่าประจำ�หลัก ค่าของ การใช้เครื่องหมาย ≈
• การแก้โจทย์ปัญหาการบวก เลขโดดในแต่ละหลัก
จำ�นวนนับและ 0 การบวก
และโจทย์ปัญหาการลบ ของทศนิยม และ การลบ การคูณ และ
เศษส่วน การเขียนตัวเลขแสดง การหาร
ทศนิยมในรูปกระจาย
• การแก้โจทย์ปัญหาโดย
• ทศนิยมที่เท่ากัน ใช้บัญญัติไตรยางศ์

• การเปรียบเทียบและ การคูณ การหารทศนิยม


เรียงลำ�ดับทศนิยม
• การประมาณผลลัพธ์ของ
การบวก การลบ การคูณ การบวก การลบ การคูณ
การหารจำ�นวนนับที่ การหารทศนิยม
มากกว่า 100,000 และ 0
• การคูณทศนิยม
• การประมาณผลลัพธ์
• การหารทศนิยม
ของการบวก การลบ
การคูณ การหาร
• การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ทศนิยม
• การบวกและการลบ

• การคูณและการหาร

• การบวก ลบ คูณ หารระคน

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (10)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
• การแก้โจทย์ปัญหาและ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
การสร้างโจทย์ปัญหา
พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ • การอ่านและการเขียน
ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
การบวก การลบเศษส่วน
• การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
• การบวก การลบเศษส่วน
และจำ�นวนคละ

• การแก้โจทย์ปญ
ั หาการบวก
และโจทย์ปัญหาการลบ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ

การบวก การลบทศนิยม

• การบวก การลบทศนิยม

• การแก้โจทย์ปัญหา
การบวก การลบ ทศนิยม
ไม่เกิน 2 ขั้นตอน

ค. 1.2 เข้าใจและ แบบรูป แบบรูป


วิเคราะห์แบบรูป ความ
• แบบรูปของจำ�นวน • แบบรูปของจำ�นวนทีเ่ กิดจาก
สัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับ
ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง การคูณ การหารด้วย
และอนุกรม และนำ�ไปใช้
ทีละเท่า ๆ กัน จำ�นวนเดียวกัน

ค. 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ


และอสมการอธิบาย
ความสัมพันธ์หรือช่วย
แก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (11)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐาน เงิน เวลา การคูณ การหารของ
เกี่ยวกับการวัด วัดและ ∙∙การบอกจำ�นวนเงิน ∙∙การบอกระยะเวลา ความยาว
คาดคะเนขนาดของสิ่งที่ และเขียนแสดงจำ�นวน เป็นวินาที นาที ชั่วโมง ∙∙ความสัมพันธ์ระหว่าง
ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ เงินแบบใช้จุด วัน สัปดาห์ เดือน ปี หน่วยความยาว
เซนติเมตรกับมิลลิเมตร
∙∙การเปรียบเทียบจำ�นวนเงิน ∙∙การเปรียบเทียบระยะเวลา
เมตรกับเซนติเมตร
และการแลกเงิน โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง
กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้
หน่วยเวลา
∙∙การอ่านและเขียนบันทึก ความรู้เรื่องทศนิยม
รายรับรายจ่าย ∙∙การอ่านตารางเวลา
∙∙การแก้โจทย์ปัญหา
∙∙การแก้โจทย์ปัญหา ∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เกี่ยวกับความยาวโดยใช้
เกี่ยวกับเงิน เวลา ความรู้เรื่องการเปลี่ยน
หน่วยและทศนิยม
เวลา การวัดและสร้างมุม
น้ำ�หนัก
∙∙การบอกเวลาเป็นนาฬิกา ∙∙การวัดขนาดของมุม
และนาที โดยใช้โพรแทรกเตอร์ ∙∙ความสัมพันธ์ระหว่าง
หน่วยน้ำ�หนัก กิโลกรัม
∙∙การเขียนบอกเวลาโดยใช้ ∙∙การสร้างมุมเมื่อกำ�หนด กับกรัม โดยใช้ความรู้
มหัพภาค (.) หรือ ขนาดของมุม เรื่องทศนิยม
ทวิภาค (:) และการอ่าน
∙∙รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ∙∙การแก้โจทย์ปัญหา
∙∙การบอกระยะเวลา เกี่ยวกับน้ำ�หนัก โดยใช้
∙∙ความยาวรอบรูปของ
เป็นชั่วโมงและนาที ความรู้เรื่องการเปลี่ยน
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
หน่วยและทศนิยม
∙∙การเปรียบเทียบระยะ
∙∙พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
เวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ ∙∙ปริมาตรและความจุ
มุมฉาก
ระหว่างชั่วโมงกับนาที
∙∙ปริมาตรของทรง
∙∙การแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับ
∙∙การอ่านและการเขียน สี่เหลี่ยมมุมฉากและ
ความยาวรอบรูปและพื้นที่
บันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา ความจุของภาชนะ
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
เวลาและระยะเวลา ∙∙ความสัมพันธ์ระหว่าง
มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์
เซนติเมตร และ
ลูกบาศก์เมตร
© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (12)
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ความยาว ∙∙การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรของ
∙∙การวัดความยาวเป็น
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
เซนติเมตรและมิลลิเมตร
และความจุของภาชนะ
เมตรและเซนติเมตร
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
กิโลเมตรและเมตร
รูปเรขาคณิตสองมิติ
∙∙การเลือกเครื่องวัด
ความยาวที่เหมาะสม ∙∙ความยาวรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยม
∙∙การคาดคะเนความยาว
เป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร ∙∙พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
ด้านขนานและรูป
∙∙การเปรียบเทียบความยาว
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
โดยใช้ความสัมพันธ์
ระหว่างหน่วยความยาว ∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ความยาวรอบรูปของ
∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
รูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของ
ความยาว
รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและ
น้ำ�หนัก รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

∙∙การเลือกเครื่องชั่ง
ที่เหมาะสม

∙∙การคาดคะเนน้ำ�หนัก
เป็นกิโลกรัมและเป็นขีด

∙∙การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก
โดยใช้ความสัมพันธ์

∙∙ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม

∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
น้ำ�หนัก

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (13)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ปริมาตรและความจุ

∙∙การวัดปริมาตรและความจุ
เป็นลิตรและมิลลิลิตร

∙∙การเลือกเครื่องตวง
ที่เหมาะสม

∙∙การคาดคะเนปริมาตร
และความจุเป็นลิตร

∙∙การเปรียบเทียบปริมาตร
และความจุโดยใช้ความ
สัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ
มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ
ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร

∙∙การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรและ
ความจุที่มีหน่วย เป็น
ลิตรและมิลลิลิตร

ค. 2.2 เข้าใจและ รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต


วิเคราะห์รูปเรขาคณิต
• รูปที่มีแกนสมมาตร ∙∙ระนาบ จุด เส้นตรง ∙∙เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์
สมบัติของรูปเรขาคณิต
รังสี ส่วนของเส้นตรง แสดงการตั้งฉาก
ความสัมพันธ์ระหว่าง
และสัญลักษณ์แสดง
รูปเรขาคณิต และ ∙∙เส้นขนานและสัญลักษณ์
ทฤษฎีบททางเรขาคณิต ∙∙เส้นตรง รังสี ส่วนของ แสดงการขนาน
และนำ�ไปใช้ เส้นตรง
∙∙การสร้างเส้นขนาน

∙∙มุมแย้ง มุมภายในและ
มุมภายนอกที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
(Transversal)

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (14)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
∙∙มุม รูปเรขาคณิตสองมิติ

- ส่วนประกอบของมุม ∙∙ชนิดและสมบัติ
ของรูปสี่เหลี่ยม
- การเรียกชื่อมุม
∙∙การสร้างรูปสี่เหลี่ยม
- สัญลักษณ์แสดงมุม
รูปเรขาคณิตสามมิติ
- ชนิดของมุม
∙∙ลักษณะและส่วนต่าง ๆ
∙∙ชนิดและสมบัติของ
ของปริซึม
รูปสี่เหลี่ยมุมฉาก
การสร้างรูปสี่เหลี่ยม-
มุมฉาก

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.3 ป.4 ป.5
ค. 3.1 เข้าใจกระบวนการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล
ทางสถิติ และใช้ความรู้ และการนำ�เสนอข้อมูล
∙∙การอ่านและการเขียน ∙∙การอ่านและการเขียน
ทางสถิติในการแก้ปัญหา
∙∙การเก็บรวบรวมข้อมูล แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง
และจำ�แนกข้อมูล (ไม่รวมการย่นระยะ)
∙∙การอ่านกราฟเส้น
∙∙การอ่านและการเขียน ∙∙การอ่านตารางสองทาง
แผนภูมิรูปภาพ (Two-Way Table)

∙∙การอ่านและการเขียน
ตารางทางเดียว
(One-Way Table)
ค. 3.2 เข้าใจหลักการ - - -
นับเบื้องต้น ความน่าจะ
เป็น และนำ�ไปใช้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (15)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับที่มากกว่า การบวก การลบ การคูณ การหาร การเก็บรวบรวมข้อมูล


เวลา การวัด รูปเรขาคณิต
100,000 และ 0 ่ ากกว่า 100,000 และ 0
จำ�นวนนับทีม และการนำ�เสนอข้อมูล

∙∙ การอ่านการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ∙∙ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก ∙∙ การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ∙∙ กรวัดขนาดของมุมโดยใช้ ∙∙ ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง ∙∙ การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน การลบ การคูณ การหาร ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี โพรแทรกเตอร์ และสัญลักษณ์แสดง เส้นตรง รังสี (ไม่รวมการย่นระยะ)
ส่วนของเส้นตรง
∙∙ หลัก ค่าประจำ�หลัก ค่าของตัวเลขโดด ∙∙ การบวก และการลบ ∙∙ การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ ∙∙ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ∙∙ การอ่านตารางสองทาง
ในหลักต่างๆ และการเขียนตัวเลข ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา ∙∙ ส่วนประกอบของมุม การเรียกชื่อมุม (Two-Way Table)
∙∙ การคูณ และการหาร ∙∙ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
แสดงจำ�นวนในรูปกระจาย สัญลักษณ์แสดงมุม และชนิดของมุม
∙∙ การอ่านตารางเวลา
∙∙ การบวก ลบ คูณ หารระคน ∙∙ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
∙∙ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน ∙∙ การสร้างมุมเมื่อกำ�หนดขนาดของมุม
∙∙ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา รอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
∙∙ การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้าง
∙∙ ค่าประมาณของจำ�นวนนับ ∙∙ ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
โจทย์ปัญหาพร้อมทั้งหาคำ�ตอบ
และการใช้เครื่องหมาย ≈
∙∙ การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ ทศนิยมและการบวก การลบ การคูณ


แบบรูป
การหารเศษส่วน การหารทศนิยม
∙∙ เศษส่วนแท้ เศษเกิน จำ�นวนคละ ∙∙ การอ่าน การเขียนทศนิยมไม่เกิน ∙∙ แบบรูปของจำ�นวนที่เกิดจากการคูณ
3 ตำ�แหน่ง การหารด้วยจำ�นวนเดียวกัน
∙∙ ความสัมพันธ์ของจำ�นวนคละและเศษเกิน
∙∙ หลัก ค่าประจำ�หลัก ค่าของเลขโดด
∙∙ เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำ�
ในหลักต่าง ๆ และการเขียนตัวเลข
เศษส่วนที่เท่ากับจำ�นวนนับ
แสดงทศนิยมในรูปกระจาย
∙∙ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วน
∙∙ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยม
จำ�นวนคละ
∙∙ การบวก การลบทศนิยม
∙∙ การบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
∙∙ โจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนิยม
∙∙ โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วน
ไม่เกิน 2 ขั้นตอน
และจำ�นวนคละ

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (16)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ตัวอย่างคำ�อธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

รหัสวิชา ค 14101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 160 ชั่วโมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำ�นวณ และฝึกการแก้ปัญหาในเนื้อหาต่อไปนี้

การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำ�นวนที่มากกว่า100,000 หลัก


ค่าประจำ�หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย
การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน ค่าประมาณของจำ�นวนนับและการใช้เครื่องหมาย ≈
การบวกและการลบจำ�นวนที่มากกว่า 100,000

การคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ


การหาร การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งหาคำ�ตอบ แบบรูปของจำ�นวนที่เกิดจาก
การคูณ การหารด้วยจำ�นวนเดียวกัน

เศษส่วนแท้ เศษเกิน จำ�นวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนคละและเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน


เศษส่วนอย่างต่ำ� และเศษส่วนที่เท่ากับจำ�นวนนับ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วน จำ�นวนคละ
การบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
จำ�นวนคละ

การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง หลัก ค่าประจำ�หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก


ของทศนิยม และการเขียนตัวเลขแสดงทศนิยมในรูปกระจาย ทศนิยมที่เท่ากัน การเปรียบเทียบและ
เรียงลำ�ดับทศนิยม การบวก การลบทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ทศนิยมไม่เกิน 2 ขั้นตอน

การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้


ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอ่านตารางเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา

ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม


ส่วนประกอบของมุม การเรียกชื่อมุม สัญลักษณ์แสดงมุม ชนิดของมุม การวัดขนาดของมุม โดยใช้
โพรแทรกเตอร์ การสร้างมุมเมื่อกำ�หนดขนาดของมุม

ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของ-


รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (17)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่านตารางสองทาง โดยจัดประสบการณ์หรือ


สร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัว ให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าจากการปฏิบัติจริง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ
การคิดคำ�นวณ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการแก้ปัญหา การสื่อสารและการสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ สามารถทำ�งานอย่างเป็นระบบ
มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเองรวมทั้งตระหนักใน
คุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

การวัดและประเมินผล เน้นการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย


โดยให้สอดคล้องกับบริบท และเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป4/6, ป.4/7, ป.4/8, ป.4/9
ป.4/10, ป.4/11 ป.4/12, ป.4/13, ป.4/14, ป.4/15, ป4/16
ค 1.2 -
ค 1.3 -
ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3,
ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2
ค 3.1 ป.4/1
ค 3.2 -
รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (18)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ตัวอย่างโครงสร้างเวลาเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

บทที่/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง)

ภาคเรียนที่ 1
บทที่ 1 จำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000 12

บทที่ 2 การบวก การลบจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000 13

บทที่ 3 การคูณ การหาร 24

บทที่ 4 การบวก ลบ คูณ หารจำ�นวนนับ 19

บทที่ 5 เวลา 12

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : ทัศนศึกษาแสนสนุก -

รวมภาคเรียนที่ 1 80

ภาคเรียนที่ 2
บทที่ 6 เศษส่วน 12

บทที่ 7 ทศนิยม 13

บทที่ 8 มุม 24

บทที่ 9 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 19

บทที่ 10 การนำ�เสนอข้อมูล 12

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : วิศวกรตัวน้อย -

รวมภาคเรียนที่ 2 80

รวมเวลาเรียนตลอดปีการศึกษา 160

หมายเหตุ 1. ควรสอนวันละ 1 ชั่วโมง 4 วันต่อสัปดาห์


2. จำ�นวนชั่วโมงที่ใช้สอนแต่ละบทนั้นได้ รวมเวลาที่ใช้ทดสอบไว้แล้ว
3. กำ�หนดเวลาทีใ่ ห้ไว้แต่ละบทเป็นเวลาโดยประมาณ ครูอาจปรับให้เหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรียน
4. กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็มเป็นกิจกรรมเสริม ครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมนี้ในเวลาที่เหมาะสม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (19)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ


้ กนกลาง
บทที่ 6 เศษส่วน นักเรียนสามารถ 1. บอก อ่านและเขียน เศษส่วน
1. ระบุเศษส่วนแท้ เศษเกิน เศษส่วน จำ�นวนคละ xx เศษส่วนแท้ เศษเกิน
และจำ�นวนคละ แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ
และแสดงสิ่งต่าง ๆ xx จำ�นวนคละ
2. แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน จำ�นวนคละ xx ความสัมพันธ์ระหว่าง
ด้วยเศษส่วน และ ที่กำ�หนด จำ�นวนคละและเศษเกิน
จำ�นวนคละ
2. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับ xx เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วน
3. เปรียบเทียบและ เศษส่วนและจำ�นวนคละ อย่างต่ำ� และเศษส่วน
เรียงลำ�ดับเศษส่วน ที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น ที่เท่ากับจำ�นวนนับ
และจำ�นวนคละ พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง xx การเปรียบเทียบ
4. หาผลบวก ผลลบของ 3. หาผลบวก ผลลบของ เรียงลำ�ดับเศษส่วน
เศษส่วนและจำ�นวนคละ เศษส่วนและจำ�นวนคละ และจำ�นวนคละ
5. แก้โจทย์ปัญหาการบวก ที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น การบวก การลบเศษส่วน
การลบเศษส่วน และ พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง
จำ�นวนคละและนำ�ไปใช้ xx การบวก การลบเศษส่วน
4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ และจำ�นวนคละ
ในสถานการณ์ต่าง ๆ โจทย์ปัญหาการบวก
และโจทย์ปัญหาการลบ xx การแก้โจทย์ปัญหา
เศษส่วนและจำ�นวนคละ การบวกและโจทย์
ที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น ปัญหาการลบเศษส่วน
พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง
บทที่ 7 ทศนิยม นักเรียนสามารถ 1. ประมาณผลลัพธ์ของ ทศนิยม
1. เขียนและอ่านทศนิยม การบวก การลบ การคูณ xx การอ่านและการเขียน
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง แสดง การหารจากสถานการณ์ ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
ปริมาณของสิ่งต่างๆ ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล ตามปริมาณที่กำ�หนด
รวมทั้งแสดงสิ่งต่าง ๆ 2. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า xx หลัก ค่าประจำ�หลัก
ตามทศนิยมที่กำ�หนด ในประโยคสัญลักษณ์ ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก
2. เปรียบเทียบและเรียง แสดงการบวกและ ของทศนิยม และ
ลำ�ดับทศนิยม ประโยคสัญลักษณ์ การเขียนตัวเลขแสดง
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง แสดงการลบของจำ�นวนนับ ทศนิยมในรูปกระจาย
จากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่มากกว่า 100,000
และ 0 xx ทศนิยมที่เท่ากัน
3. บวกและลบทศนิยม xx การเปรียบเทียบและ
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง เรียงลำ�ดับทศนิยม
และจำ�นวนคละ

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (20)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ


้ กนกลาง
4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ การบวก การลบทศนิยม
โจทย์ปัญหาการบวก xx การบวก การลบทศนิยม
โจทย์ปัญหาการลบของ
ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง xx การแก้โจทย์ปัญหา
การบวก การลบทศนิยม
5. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ไม่เกิน 2 ขั้นตอน
โจทย์ปัญหาหรือปัญหา
ในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับ แบบรูป
การบวก การลบ 2 ขัน ้ ตอน xx แบบรูปของจำ�นวนทีเ่ กิดจาก
ของทศนิยมไม่เกิน การคูณ การหารด้วย
3 ตำ�แหน่ง จำ�นวนเดียวกัน

บทที่ 8 มุม นักเรียนสามารถ 1. จำ�แนกชนิดของมุม รูปเรขาคณิต


1. บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ xx ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี
ของมุม และสัญลักษณ์ ของมุมและเขียน ส่วนของเส้นตรงและ
แทนมุม สัญลักษณ์แสดงมุม สัญลักษณ์แสดงเส้นตรง
2. วัดมุมที่มีขนาดต่าง ๆ 2. วัดและสร้างมุม รังสี ส่วนของเส้นตรง
โดยใช้โพรแทรกเตอร์ โดยใช้โพรแทรกเตอร์ xx มุม
3. จำ�แนกชนิดของมุม −−ส่วนประกอบของมุม
4. สร้างมุมขนาดต่าง ๆ −−การเรียกชื่อมุม
โดยใช้โพรแทรกเตอร์ −−สัญลักษณ์แสดงมุม
−−ชนิดของมุม
การวัดและสร้างมุม
xx การวัดขนาดของมุม
โดยใช้โพรแทรกเตอร์
xx การสร้างมุมเมื่อกำ�หนด
ขนาดของมุม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (21)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ


้ กนกลาง
บทที่ 9 นักเรียนสามารถ 1. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1. บอกชนิดและสมบัติของ เมื่อกำ�หนดความยาว xx ชนิดและสมบัติของ
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ของด้าน รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2. เขียนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ xx การสร้างรูป
โดยใช้ไม้ฉาก และ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สี่เหลี่ยมมุมฉาก
โพรแทรกเตอร์ ความยาวรอบรูปและ
xx ความยาวรอบรูปของ
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
3. หาความยาวรอบรูปของ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
มุมฉาก
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก xx พื้นที่ของรูป
4. หาพื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมมุมฉาก
โดยการนับตาราง xx การแก้โจทย์ปัญหา
5. หาพื้นที่ของรูป เกี่ยวกับความยาว
สี่เหลี่ยมมุมฉาก รอบรูปและพื้นที่ของ
6. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ความยาวรอบรูปและพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

บทที่ 10 นักเรียนสามารถ 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง การนำ�เสนอข้อมูล


การนำ�เสนอข้อมูล 1. อ่านตารางสองทาง ตารางสองทางในการหา xx การอ่านและการเขียน
คำ�ตอบของโจทย์ปัญหา แผนภูมิแท่ง
2. ใช้ขอ้ มูลจากตารางสองทาง
ในการหาคำ�ตอบของ (ไม่รวมการย่นระยะ)
โจทย์ปัญหา xx การอ่านตารางสองทาง
3. อ่านแผนภูมิแท่ง (Two-Way Table)

4. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง
ในการหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหา
5. เขียนแผนภูมิแท่ง

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561 (22)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

บทที่ เศษส่วน
6
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. ระบุเศษส่วนแท้ เศษเกิน และจำ�นวนคละ ••เศษส่วนและจำ�นวนคละเป็นจำ�นวนที่ใช้แสดงปริมาณ


2. แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ด้วยเศษส่วนและจำ�นวนคละ ของสิ่งต่าง ๆ
••เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน เรียกว่า เศษส่วนแท้
••เศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากับหรือมากกว่าตัวส่วน เรียกว่า
เศษเกิน
••จำ�นวนคละเป็นจำ�นวนที่เขียนในรูปจำ�นวนนับกับ
เศษส่วนแท้
••การเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกินทำ�ได้โดย นำ�ตัวส่วน
คูณกับจำ�นวนนับแล้วบวกกับตัวเศษ ผลลัพธ์ที่ได้
เป็นตัวเศษของเศษเกิน โดยมีตัวส่วนคงเดิม
••การเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละทำ�ได้โดย นำ�ตัวส่วน
ไปหารตัวเศษ ผลหารที่ได้เป็นจำ�นวนนับ เศษที่ได้เป็น
ตัวเศษ โดยมีตัวส่วนคงเดิม
••จำ�นวนนับทุกจำ�นวนสามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้
โดยที่ตัวส่วนหารตัวเศษได้ลงตัว ซึ่งผลหารที่ได้เท่ากับ
จำ�นวนนับนั้น
••จำ�นวนนับทุกจำ�นวนสามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้
ถ้าตัวเศษเป็นจำ�นวนนับนั้น ตัวส่วนจะเป็น 1

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 1
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
3. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ ••การทำ�เศษส่วนให้เท่ากับเศษส่วนที่กำ�หนด อาจทำ�ได้โดย
นำ�จำ�นวนนับจำ�นวนเดียวกันคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน
••การทำ�เศษส่วนให้เท่ากับเศษส่วนที่กำ�หนด อาจทำ�ได้โดย
นำ�จำ�นวนนับจำ�นวนเดียวกันหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน
ซึ่งจำ�นวนนับนั้นต้องหารทั้งตัวเศษและตัวส่วนได้ลงตัว
••การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน อาจทำ�ได้โดย
ทำ�ตัวส่วนให้เท่ากัน เมื่อตัวส่วนเท่ากันแล้ว จึงเปรียบเทียบ
ตัวเศษ เศษส่วนใดมีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า
••การเปรียบเทียบจำ�นวนคละ ให้เปรียบเทียบจำ�นวนนับก่อน
- ถ้าจำ�นวนนับของจำ�นวนคละใดมากกว่า
จำ�นวนคละนั้นจะมากกว่า
- ถ้าจำ�นวนนับของจำ�นวนคละเท่ากัน ให้เปรียบเทียบ
เศษส่วน เศษส่วนใดมากกว่า จำ�นวนคละนั้นจะ
มากกว่า
••การเรียงลำ�ดับเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน อาจใช้วิธี
ทำ�เศษส่วนทุกจำ�นวนให้มีตัวส่วนเท่ากัน แล้วเรียงลำ�ดับ
โดยพิจารณาจากตัวเศษ

4. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำ�นวนคละ ••การบวก หรือ การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน


ต้องทำ�ตัวส่วนให้เท่ากันก่อน แล้วจึงนำ�ตัวเศษมาบวกกัน
หรือลบกัน
••การบวก หรือ การลบจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย
เปลี่ยนจำ�นวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน แล้วจึงหาผลบวก
หรือผลลบ

5. แก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาเริ่มจากการทำ�ความเข้าใจปัญหา


และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ วางแผนแก้ปัญหา ดำ�เนินการตามแผน และตรวจสอบ

2| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

6.1 เศษส่วนแท้ เศษเกิน 1 -    -

6.2 จำ�นวนคละ 2 -    -
••การเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน
••การเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ

6.3 เศษส่วนที่เท่ากับจำ�นวนนับ 2 -    -

6.4 เศษส่วนที่เท่ากัน 2 -    -

6.5 เศษส่วนอย่างต่ำ� 2 -    -

6.6 การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ 4 -    -
••การเปรียบเทียบเศษส่วน จำ�นวนคละ
••การเรียงลำ�ดับเศษส่วน จำ�นวนคละ

6.7 การบวก การลบ 4 -    -


••การบวก การลบเศษส่วน
••การบวก การลบจำ�นวนคละ

6.8 โจทย์ปัญหา 4     -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1     

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 3
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

คำ�ใหม่
เศษส่วนแท้ เศษเกิน จำ�นวนคละ เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำ�

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
1. ความหมายของเศษส่วน
2. การบวก การลบ การคูณ และการหารจำ�นวนนับและศูนย์
3. การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
4. การบวก การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแสดงเศษส่วน
2. กระดาษวงกลมแสดงเศษส่วน
3. ดินสอสี

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 2–49
2. แบบฝึกหัด หน้า 2–19

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
23 ชั่วโมง

4| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

1. ครูใช้สถานการณ์ทำ�น้ำ�ผลไม้รวมหน้า 3 นำ�สนทนา เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับเศษส่วน โดยใช้คำ�ถามดังนี้

••ในการทำ�น้ำ�ผลไม้รวม จำ�นวน 5 แก้ว ต้องใช้้น้ำ�ผลไม้ชนิดใดมากกว่ากันและมากกว่ากันเท่าใด


••ถ้าต้องการทำ�น้ำ�ผลไม้รวม จำ�นวน 10 แก้ว จะใช้น้ำ�ส้มคั้นปริมาณเท่าใด
••ถ้าต้องการทำ�น้ำ�ผลไม้รวม จำ�นวน 10 แก้ว ต้องใช้น้ำ�ผลไม้ทั้งหมดเท่าใด
ทั้งนี้ครูไม่จำ�เป็นต้องเฉลย ควรให้นักเรียนเป็นผู้หาคำ�ตอบเอง หลังจากเรียนจบบทนี้แล้ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 5
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. เตรียมความพร้อมเป็นการตรวจสอบความรู้พื้นฐานที่
จำ�เป็นสำ�หรับการเรียนในบทนี้ โดยมีส่วนที่เป็นเนื้อหาและ
ส่วนที่เป็นคณิตคิดท้าทาย ซึ่งต้องนำ�ความรู้พื้นฐานมาใช้ใน
การแก้ปัญหา วิธีแก้ปัญหาอาจแตกต่างกัน ครูควรนำ�วิธี
แก้ปัญหานั้น ๆ มาเป็นประเด็นในการอภิปรายเพื่อเรียนรู้
ร่วมกัน ถ้านักเรียนยังมีความรูพ
้ น
้ื ฐานไม่เพียงพอ ครูควรทบทวน
โดยใช้สื่อประกอบการอธิบาย แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.1 4 2
6 5
เป็นรายบุคคล

หมายเหตุ ข้อ 3 โจทย์ข้อ 2) ที่ถูกต้อง คือ

3
+ = 1
8 3 1 5 3
+
8
8
11
มีหลายคําตอบ
13 13

แจนมีเคก 1 กอน
ใหเพื่อน แบงใหเพื่อน 1 กอน
3
สมาชิก สมาชิก เหลือเคกแบงใหสมาชิกในครอบครัว 4 กอน
6
สมาชิก สมาชิก สมาชิกในครอบครัวแตละคนไดเคก 1 กอน
6

6| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.1 เศษส่วนแท้ เศษเกิน

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ
1. แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ด้วยเศษส่วน
2. ระบุเศษส่วนแท้ เศษเกิน

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษวงกลมชุดละ 7 แผ่น แต่ละแผ่นแบ่งเป็น
8 ส่วนเท่า ๆ กัน
2. ดินสอสี

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนแสดงปริมาณของสิง่ ต่าง ๆ ด้วยเศษส่วน และ
การสอนเศษส่วนแท้และเศษเกิน ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้
นักเรียนจับคูก ่ น
ั ครูแจกกระดาษวงกลม กลุม ่ ละ 7 แผ่น
แล้วให้นก ั เรียนปฏิบตั ก
ิ จิ กรรมตามสถานการณ์หน้า 5
โดยให้กระดาษวงกลมแต่ละแผ่นแทนขนมเปีย๊ ะ แล้วระบายสี
แสดงขนมเปีย๊ ะทีแ่ ต่ละคนได้รบ ั ด้วยสีทแ่ี ตกต่างกัน
ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย พร้อมกับให้นก ั เรียน
ทำ�กิจกรรมตามลำ�ดับ ครูให้นก ั เรียนสังเกตผลบวกทีไ่ ด้
แล้วร่วมกันอภิปรายเพือ่ นำ�ไปสูข่ อ้ สังเกตทีว่ า่ การบวกเศษส่วน
ทีม ่ ต
ี วั ส่วนเท่ากัน ให้น�ำ ตัวเศษมาบวกกัน และตัวส่วนคงเดิม
ซึง่ ผลบวกทีไ่ ด้ อาจมีตวั เศษน้อยกว่าตัวส่วน หรือเท่ากับ
หรือมากกว่าตัวส่วน
หมายเหตุ ครูอาจทำ�กิจกรรมไปพร้อมกับนักเรียน โดยใช้
สื่อกระดาษวงกลมติดบนกระดาน แล้วให้ตัวแทนนักเรียน
ระบายสีตามที่สถานการณ์กำ�หนด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 7
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. ครูและนักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 6 แล้วร่วมกัน
อภิปรายเพื่อเปรียบเทียบเศษส่วนแท้และเศษเกิน กับ 1
เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เศษส่วนแท้จะน้อยกว่า 1
แต่เศษเกินจะเท่ากับหรือมากกว่า 1 ครูให้นักเรียน
ยกตัวอย่างเศษส่วนแท้และเศษเกินเพิ่มเติม พร้อมระบุ
เหตุผล แล้วให้นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเศษส่วนแท้และ
เศษเกินอีกครั้ง ซึ่งจะได้ว่า

••เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน เรียกว่า เศษส่วนแท้


••เศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากับหรือมากกว่าตัวส่วน เรียกว่า
เศษเกิน 2 3
4 4
••เศษส่วนแท้จะน้อยกว่า 1 แต่เศษเกินจะเท่ากับหรือ 5
4
2 7

มากกว่า 1 4 4

จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.2 เป็นรายบุคคล

3 2 13 7 เปนเศษสวนที่มีตัวเศษนอยกวาตัวสวน
4 4 18 8
8 9 5 15 7 เปนเศษสวนที่มีตัวเศษเทากับหรือมากกวาตัวสวน
8 8 4 12 4

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 7 เป็นรายบุคคล

ตัวอยาง
1 2 3 9 10
...........................................................................................
4 5 7 11 15
2 4 5 7 10
...........................................................................................
2 3 4 5 8

8| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.2 จำ�นวนคละ

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ
1. แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ด้วยจำ�นวนคละ
2. ระบุจำ�นวนคละ

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 3 เซนติเมตร
ยาว 6 เซนติเมตร ชุดละ 7 แผ่น
1 1
2. กระดาษวงกลมขนาด แผ่น และ แผ่น
4 2

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนแสดงปริมาณของสิง่ ต่าง ๆ ด้วยจำ�นวนคละ
ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นก ั เรียนจับคูก
่ นั ครูแจกกระดาษ
รูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก กลุม ่ ละ 7 แผ่น แทนขนม 7 ชิน ้
แล้วให้นก ั เรียนปฏิบต
ั ก
ิ จิ กรรมตามสถานการณ์หน้า 8-9
ครูใช้การถาม–ตอบประกอบการอธิบายการแบ่งขนม
แต่ละครัง้ แล้วช่วยกันบอกจำ�นวนขนมทีแ่ ต่ละคนได้รบ ั
จากนัน ้ ครูแนะนำ�การเขียนจำ�นวนขนมทีแ่ ต่ละคนได้รบ ั
ในรูปจำ�นวนคละ แล้วให้นก ั เรียนร่วมกันอภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสู่
ข้อสรุปว่า จำ�นวนคละเป็นจำ�นวนทีใ่ ช้แสดงปริมาณ
ของสิง่ ต่าง ๆ เขียนในรูปจำ�นวนนับกับเศษส่วนแท้
ครูให้นก ั เรียนยกตัวอย่างจำ�นวนคละเพิม ่ เติม และครูอาจ
กำ�หนดจำ�นวนอืน ่ ๆ ให้นก ั เรียนพิจารณาว่าเป็นจำ�นวนคละ
5
หรือไม่ เพราะเหตุใด เช่น 2 จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรม
3
หน้า 9 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.3 เป็นรายบุคคล
2
1
3
หนึ่งเศษสองสวนสาม

3
4
4
สี่เศษสามสวนสี่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 9
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. การสอนการเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน หน้า 10
ครูควรใช้การซักถามเพื่อทบทวนการเขียนจำ�นวนคละ
ในรูปการบวกของจำ�นวนนับกับเศษส่วนแท้ เศษส่วนที่
เท่ากับ 1 และการบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โดยอาจ
ใช้สื่อประกอบการอธิบาย
1
ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาการเขียน 2 ในรูปเศษเกิน
5
3
โดยใช้สื่อ จากนั้นให้พิจารณาการเขียน 5 ในรูปเศษเกิน
4
โดยไม่ใช้สื่อ แล้วให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่าง
จำ�นวนคละกับเศษเกิน จาก
1 (2 × 5) + 1 11
2 = =
5 5 5
3 (5 × 4) + 3 23
และ 5 = =
4 4 4
และร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การเขียน
จำ�นวนคละในรูปเศษเกิน ทำ�ได้โดยนำ�ตัวส่วนคูณกับ
จำ�นวนนับ แล้วบวกกับตัวเศษ ผลลัพธ์ที่ได้เป็นตัวเศษ
ของเศษเกินโดยมีตัวส่วนคงเดิม
จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างและทำ�กิจกรรมหน้า 11

3 (5 7) 3 1 (4 4) 1
5 4
7 7 4 4
38 17
7 4
ดังนั้น 3 38 ดังนั้น 1 17
5 4
7 7 4 4

38 17
7 4

1 (9 2) 1 11 (1 12) 11
9 1
2 2 12 12
19 23
2 12
ดังนั้น 1 19 ดังนั้น 11 23
9 1
2 2 12 12

19 23
2 12

10 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

3. การสอนการเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ หน้า 12
ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนจับคู่กัน ครูแจกชิ้นส่วน
1
ของกระดาษวงกลมขนาด แผ่น กลุ่มละ 9 ชิ้น แล้วให้
4
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามสถานการณ์หน้า 12
9
พร้อมทั้งใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายการเขียน
4
ในรูปจำ�นวนคละ โดยให้สังเกตจากสื่อ

จากนั้นให้ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 13 โดยครูแจกชิ้นส่วน
1
ของกระดาษวงกลมขนาด แผ่น กลุ่มละ 7 ชิ้น
2
7
แล้วใช้การถาม–ตอบประกอบการอธิบายการเขียน
2
ในรูปจำ�นวนคละ โดยให้สังเกตจากสื่อ
9 7
ครูนำ�วิธีคิดในการทำ� และ ให้เป็นจำ�นวนคละ จาก
4 2

จากรูป กระดาษ 4 ชิ้น ประกอบได้ 1 แผ่น


ดังนั้น กระดาษ 9 ชิ้น ประกอบได้ 9 ÷ 4 แผ่น
4 9
2 เศษ 1

จะได้ 2 แผ่น กับ 1 แผ่น หรือ 21 แผ่น


4 4

จากรูป กระดาษ 2 ชิ้น ประกอบได้ 1 แผ่น


ดังนั้น กระดาษ 7 ชิ้น ประกอบได้ 7 ÷ 2 แผ่น
2 7
3 เศษ 1

จะได้ 3 แผ่น กับ 1 แผ่น หรือ 31 แผ่น


2 2

จากนั้นร่วมกันอภิปรายและหาความสัมพันธ์ระหว่างเศษเกิน
กับจำ�นวนคละ เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า การเขียนเศษเกิน
ในรูปจำ�นวนคละ ทำ�ได้โดยนำ�ตัวส่วนไปหารตัวเศษ
ผลหารทีไ่ ด้เป็นจำ�นวนนับ เศษทีไ่ ด้เป็นตัวเศษ โดยมีตวั ส่วน
คงเดิม จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างและทำ�กิจกรรม
หน้า 14 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.4 เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 11
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

3
2
8
สองเศษสามสวนแปด

1
4
5
สี่เศษหนึ่งสวนหา

5 16 6 46
3 เศษ 1 7 เศษ 4
9 (3 11) 9 4 (5 7) 4
ดังนั้น 16 1 ดังนั้น 46 4 3 5
3 7 11 11 7 7
5 5 6 6 42 39
11 7
ดังนั้น 9 42 ดังนั้น 4 39
3 5
11 11 7 7
1 4
3 7
5 6
42 39
11 7

9 31 8 77
3 เศษ 4 9 เศษ 5 2 (6 5) 2 3 (8 10) 3
6 8
5 5 10 10
ดังนั้น 31 4 ดังนั้น 77 5 32 83
3 9 5 10
9 9 8 8 2 32 3 83
ดังนั้น 6 ดังนั้น 8
5 5 10 10

4 5
3 9
9 8 32 83
5 10

4. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 15-16 เป็นรายบุคคล

ในการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ นักเรียนอาจระบุวิธีตรวจสอบ
โดยเปลี่ยนจำ�นวนคละให้เป็นเศษเกิน หรือ เปลี่ยนเศษเกิน 5 14 2 17
2 เศษ 4 8 เศษ 1
ให้เป็นจำ�นวนคละ ครูควรนำ�มาเป็นประเด็นในการอภิปราย ดังนั้น 14
5
2
4
5
ดังนั้น 17
2
8
1
2

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจวิธีตรวจสอบทั้ง 2 วิธี
4 1
2 8
5 2

4 75 3 19
18 เศษ 3 6 เศษ 1
ดังนั้น 75 3 ดังนั้น 19 1
18 6
4 4 3 3

3 1
18 6
4 3

เทากัน อาจตรวจสอบไดโดย
1. เขียนรูปแสดง 23 และ 43 แลวเปรียบเทียบกัน
5 5
หรือ 2. เขียน 23 ในรูปจํานวนคละ หรือเขียน 43 ในรูปเศษเกิน แลวเปรียบเทียบกัน
5 5

12 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.3 เศษส่วนที่เท่ากับจำ�นวนนับ

(เนื้อหานี้เป็นพื้นฐานสำ�หรับการเรียนเรื่องการเปรียบเทียบ
และการเรียงลำ�ดับเศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วน)

สื่อการเรียนรู้
กระดาษวงกลมขนาดเท่ากัน

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนเศษส่วนทีเ่ ท่ากับจำ�นวนนับ ครูควรจัดลำ�ดับ
เนือ
้ หาดังนี้
••เศษส่วนที่เท่ากับ 1
••เศษส่วนที่เท่ากับ 2
••เศษส่วนที่เท่ากับ 3

1. ครูทบทวนเศษส่วนที่เท่ากับ 1 โดยอาจแบ่งนักเรียน
กลุ่มละ 2–3 คน แจกกระดาษวงกลม กลุ่มละ 4 แผ่น
แล้วให้แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมหน้า 17 ครูใช้การถาม–ตอบ
ประกอบการอธิบาย โดยให้สังเกตจากสื่อ แล้วร่วมกัน
อภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า เศษส่วนที่เท่ากับ 1 จะมี
ตัวเศษและตัวส่วนเป็นจำ�นวนนับที่เท่ากัน จากนั้นให้
ช่วยกันตอบคำ�ถามหน้า 17 และยกตัวอย่างเศษส่วน
ที่เท่ากับ 1
หมายเหตุ กระดาษวงกลมทีใ่ ช้ควรกำ�หนดจุดศูนย์กลางและ
จุดแบ่ง 2 ส่วน 3 ส่วน และ 4 ส่วน ทีข
่ อบกระดาษ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 13
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. การสอนเศษส่วนที่เท่ากับ 2 หน้า 18 และเศษส่วนที่


เท่ากับ 3 หน้า 19 ครูอาจจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกับการสอน
เศษส่วนที่เท่ากับ 1 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่
ข้อสรุปว่า จำ�นวนนับทุกจำ�นวน สามารถเขียนในรูป
เศษส่วนได้ โดยที่ตัวส่วนหารตัวเศษได้ลงตัว ซึ่งผลหารที่ได้
เท่ากับจำ�นวนนับนั้น

14 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

3. ครูและนักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 20 จากนั้น
ให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.5 เป็นรายบุคคล

5 10 3 18
3

9 81 8 16
9 2

30
9

90

ตัวอยาง
8 18
1 2
40 36
4 3

75 9
5 9

7 5

8 1

5 6

4. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 21 เป็นรายบุคคล

16

9
100

4
36

10

ตัวอยาง
6 12 18
1 2 3

7 14 21
1 2 3

20 40 60
1 2 3

7 11

1 7

จากโจทย 5 คิดไดจาก 30 5 จะได 30 5 150


30
150
ดังนั้น 5
30

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 15
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.4 เศษส่วนที่เท่ากัน

(เนื้อหานี้เป็นพื้นฐานสำ�หรับการเรียนเรื่องการเปรียบเทียบ
และการเรียงลำ�ดับเศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วน)

สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดเท่ากัน
1 2 3 4
แสดง และ
2 4 6 8
2. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดเท่ากัน
2
แสดง จำ�นวน 2 แผ่น
3
1
3. กระดาษวงกลมขนาดเท่ากันแสดง
4
จำ�นวน 2 แผ่น
2 6

4. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดเท่ากัน
5 1
แสดง และ 2 4

10 2

แนวการจัดการเรียนรู้
4 9
1. การสอนเศษส่วนทีเ่ ท่ากัน ควรเริม ่ จากแนะนำ�ให้นก ั เรียน
รูจ้ ก
ั เศษส่วนทีเ่ ท่ากันก่อน ครูอาจจัดกิจกรรมโดย
ติดแถบกระดาษรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากทีม ่ สี ว่ นทีร่ ะบายสี
1 2 3 4
แสดง และ บนกระดาน
2 4 6 8
ให้นก ั เรียนสังเกตส่วนทีร่ ะบายสีและครูใช้การถาม-ตอบ
ประกอบการอธิบาย ซึง่ จากการสังเกตจะได้วา่ ทุกรูปมีสว่ น
1 2 3 4
ทีร่ ะบายสีเท่ากัน ดังนัน ้ = = =
2 4 6 8
จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 22

16 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. การสอนการหาเศษส่วนที่เท่ากันโดยใช้การคูณ
ครูอาจจัดกิจกรรมโดยติดแถบกระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2
ที่มีส่วนที่ระบายสีแสดง จำ�นวน 2 แผ่น บนกระดาน
3
แล้วร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมหน้า 23 และครูใช้การถาม–ตอบ
2 4
ประกอบการอธิบาย เพื่อแสดงว่า =
3 6
4 2
ซึ่ง ได้จาก นำ� 2 มาคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วนของ
6 3
2×2 4
นั่นคือ =
3×2 6
1 3
การแสดงว่า = ครูจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับ
4 12
2 4
การแสดงว่า =
3 6
3

แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การทำ�เศษส่วน 4

ให้เท่ากับเศษส่วนที่กำ�หนด อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับ


จำ�นวนเดียวกันคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน
จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง หน้า 24 แล้วร่วมกัน
ทำ�กิจกรรม จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.6 เป็นรายบุคคล

ข้อควรระวัง

ครูควรตรวจสอบการเขียนแสดงวิธีทำ� เช่น
2 2 2 4
ถ้านักเรียนเขียนเป็น = × =
7 7 2 14
ซึ่งเป็นการคูณเศษส่วนด้วยเศษส่วน และนักเรียน

ยังไม่ได้เรียนในชั้นนี้ ครูควรแนะนำ�ให้เขียนเป็น
2 2×2 4
= =
7 7 × 2 14

4 7

4 7

3 8

3 8
5
มีหลายคําตอบ
5

ตัวอยาง ตัวอยาง
2 2 2 4 6 6 2 12
7 7 2 14 8 8 2 16

2 2 3 6 6 6 3 18
7 7 3 21 8 8 3 24

2 2 4 8 6 6 4 24
7 7 4 28 8 8 4 32

2 4 6 8 6 12 18 24
7 14 21 28 8 16 24 32

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 17
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

3. การสอนการหาเศษส่วนที่เท่ากันโดยใช้การหารหน้า 25
ครูอาจจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับการสอนการหาเศษส่วน
ที่เท่ากันโดยใช้การคูณ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่
ข้อสรุปที่ว่า การทำ�เศษส่วนให้เท่ากับเศษส่วนที่กำ�หนด
อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับจำ�นวนเดียวกันหารทั้งตัวเศษ
และตัวส่วน ซึ่งจำ�นวนนับนั้นต้องหารทั้งตัวเศษและ
ตัวส่วนได้ลงตัว จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง หน้า 26
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.7
เป็นรายบุคคล

ข้อควรระวัง
ครูควรตรวจสอบการเขียนแสดงวิธีทำ� เช่น ถ้านักเรียน
36 36 2 18
เขียนเป็น = ÷ = ซึ่งเป็นการหารเศษส่วน
60 60 2 30
ด้วยเศษส่วน และนักเรียนยังไม่ได้เรียนในชั้นนี้ ครูควรแนะนำ�
36 36 ÷ 2 18
ให้เขียนเป็น = =
60 60 ÷ 2 30

3 5

3 5
3 2

3 2
4 8

4 8

ตัวอยาง ตัวอยาง
36 36 2 18 18 18 3 6
60 60 2 30 27 27 3 9

36 36 3 12 18 18 9 2
60 60 3 20 27 27 9 3

36 18 12 18 6 2
60 30 20 27 9 3

18 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

4. ตัวอย่างหน้า 27 เป็นการหาจำ�นวนที่แทนด้วย
โดยหาจำ�นวนนับมาคูณหรือหารเพื่อให้ได้ตัวเศษหรือตัวส่วน
ตามที่กำ�หนด ซึ่งอาจใช้ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณกับ
การหาร จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.8
เป็นรายบุคคล

5 5 5 25 40 40 2 20
9 9 5 45 6 6 2 3

ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 25 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 3


25 3

7 7 7 1 8 8 4 2
28 28 7 4 12 12 4 3

ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 4 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 2


4 2

6 6 3 2 16 16 4 4
9 9 3 3 60 60 4 15

ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 3 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 4


3 4

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 28 เป็นรายบุคคล

3 3 6 18 90 90 10 9
7 7 6 42 120 120 10 12

ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 18 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 12


18 12

10 10 2 20 25 25 5 5
13 13 2 26 45 45 5 9

ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 20 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 5


20 5

ตัวอยาง เทากัน เพราะ 12 12 12 1


48 48 12 4

หรือ 1 1 12 12
4 4 12 48

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 19
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.5 เศษส่วนอย่างต่ำ�

(เนื้อหานี้เป็นพื้นฐานสำ�หรับการเรียนเรื่องการเปรียบเทียบ
และการเรียงลำ�ดับเศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วน)

สื่อการเรียนรู้
-

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนเศษส่วนอย่างต่�ำ ควรเริม
่ จากแนะนำ�ให้นก
ั เรียน

รูจ้ ก
ั เศษส่วนอย่างต่�ำ ก่อน ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นก
ั เรียน
6 2
พิจารณา และ หน้า 29 และใช้การถาม-ตอบ
8 5
ประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกันอภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสู่
ข้อสรุปทีว่ า่ เศษส่วนทีไ่ ม่มจ
ี �ำ นวนนับใดทีม ่ ากกว่า 1
หารทัง้ ตัวเศษและตัวส่วนได้ลงตัว เรียกเศษส่วนนัน ้ ว่า
ไมเปนเศษสวนอยางตํ่า มี 2 ที่หารทั้ง 6 และ 24 ไดลงตัว
เศษส่วนอย่างต่�ำ จากนัน ้ ให้นก ั เรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม ไมเปนเศษสวนอยางตํ่า มี 3 ที่หารทั้ง 9 และ 15 ไดลงตัว

ไมเปนเศษสวนอยางตํ่า มี 7 ที่หารทั้ง 21 และ 14 ไดลงตัว


ข้อควรระวัง
เปนเศษสวนอยางตํ่า มี 1 เทานั้นที่หารทั้ง 4 และ 9 ไดลงตัว

เศษส่วนอย่างต่�ำ ในชัน
้ ประถมศึกษา จะกล่าวถึงเฉพาะ
เศษส่วนทีต
่ วั เศษและตัวส่วนเป็นจำ�นวนนับ

20 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. การสอนการทำ�เศษส่วนให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ�
18
ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนพิจารณาการทำ�
42
ให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ� และตัวอย่าง หน้า 30
โดยครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย และอาจ
กระตุ้นให้นักเรียนหาวิธีคิดที่แตกต่างจากตัวอย่าง
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.9
เป็นรายบุคคล

5 14
3 15

4 3
7 8

2 6
5 5

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 31 เป็นรายบุคคล

24 24 8 3 54 54 9 6
56 56 8 7 63 63 9 7

3 6
7 7

3 4
5 9

6 2
5 3

1 3
2 2

หาจํานวนนับจํานวนเดียวกันที่มากที่สุด นํามาหารทั้งตัวเศษและตัวสวนไดลงตัว
เชน 45 45 15 3 หรือ 45 45 5 9
60 60 15 4 60 60 5 12

และ 9 9 3 3
12 12 3 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 21
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.6 การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วน
และจำ�นวนคละ

สื่อการเรียนรู้

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนการเปรียบเทียบและการเรียงลำ�ดับเศษส่วน
และจำ�นวนคละ ครูควรจัดลำ�ดับเนือ
้ หาดังนี้
••การเปรียบเทียบเศษส่วน
••การเปรียบเทียบจำ�นวนคละ
••การเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ

1. การสอนการเปรียบเทียบเศษส่วนทีต ่ วั ส่วนตัวหนึง่ เป็น


พหุคณ ู ของตัวส่วนอีกตัวหนึง่ ครูควรเริม
่ จากการทบทวน
เศษส่วนทีเ่ ท่ากันและการเปรียบเทียบเศษส่วนทีต ่ วั ส่วนเท่ากัน
ซึง่ อาจใช้สอ
่ื ประกอบการอธิบาย จากนัน ้ ครูอาจจัดกิจกรรม
2 5
โดยให้นก
ั เรียนพิจารณาการเปรียบเทียบ กับ หน้า 32
3 9
และใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกัน 7 7 2 14 24 24 2 48
เนื่องจาก เนื่องจาก
อภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสูข ้ สรุปทีว่ า่ การเปรียบเทียบเศษส่วน
่ อ 10 10 2 20 15 15 2 30
และ 48 36
30 30
และ 9 14 ดังนั้น 24 36
ทีม
่ ตี วั ส่วนไม่เท่ากัน อาจทำ�ได้โดย ทำ�ตัวส่วนให้เท่ากัน 20 20
หรือ เนื่องจาก
15
36
30
36 2 18
30 30 2 15
เมือ
่ ตัวส่วนเท่ากันแล้ว จึงเปรียบเทียบตัวเศษ เศษส่วนใด ดังนั้น 9 7 และ 24 18
20 10 15 15
ดังนั้น 24 36

มีตวั เศษมากกว่า เศษส่วนนัน ้ จะมากกว่า จากนัน้ ร่วมกัน


15 30
9 7 24 36
20 10 15 30

พิจารณาตัวอย่าง และร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 33 แล้วให้


10 10 8 80 5 5 6 30
ทำ�แบบฝึกหัด 6.10 เป็นรายบุคคล
เนื่องจาก เนื่องจาก
11 11 8 88 6 6 6 36

และ 80 78 และ 29 30
หมายเหตุ การเขียนแสดงวิธก ี ารเปรียบเทียบเศษส่วน 88 88 36 36

ในกิจกรรมหน้า 33 ข้อใดทีส่ ามารถแสดงวิธท ี �ำ ได้ 2 วิธี ดังนั้น 10 78 ดังนั้น 29 5


11 88 36 6

ให้นก
ั เรียนเลือกทำ�เพียง 1 วิธี 10
11
78
88
29
36
5
6

เนื่องจาก 7 7 3 21 เนื่องจาก 35 11
2
8 8 3 24 12 12
ดังนั้น 7 21 และ 211 3
8 24 12
หรือ เนื่องจาก 21 21 3 7 ดังนั้น 35
3
24 24 3 8 12
ดังนั้น 7 21 หรือ เนื่องจาก 3 3 3 12 36
8 24 1 1 12 12
และ 35 36
12 12
ดังนั้น 35 3
12
7 21 35
3
8 24 12

22 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. การสอนการเปรียบเทียบจำ�นวนคละ ครูอาจจัดกิจกรรม
5 1
โดยให้นกั เรียนร่วมกันพิจารณาการเปรียบเทียบ 3 กับ 4
6 2
หน้า 34 ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย จากนั้น
สอนการเปรียบเทียบจำ�นวนคละกับเศษเกิน ซึ่งครูควรเริ่ม
จากการทบทวนการเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ และการ
เขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกินก่อน แล้วให้ร่วมกันพิจารณา
2 27
การเปรียบเทียบ 2 กับ และร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�
5 10
ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การเปรียบเทียบจำ�นวนคละกับจำ�นวนคละ
ให้เปรียบเทียบจำ�นวนนับของจำ�นวนคละก่อน

••ถ้าจำ�นวนนับของจำ�นวนคละใดมากกว่า
จำ�นวนคละนั้นจะมากกว่า

••ถ้าจำ�นวนนับของจำ�นวนคละเท่ากัน
ให้เปรียบเทียบเศษส่วน เศษส่วนใดมากกว่า
จำ�นวนคละนั้นจะมากกว่า

การเปรียบเทียบจำ�นวนคละกับเศษเกิน อาจทำ�ได้โดย
ทำ�เศษเกินให้อยู่ในรูปจำ�นวนคละ แล้วใช้หลักการ
เปรียบเทียบจำ�นวนคละ หรือทำ�จำ�นวนคละให้อยู่ในรูป
เศษเกิน แล้วใช้หลักการเปรียบเทียบเศษส่วน
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 35 แล้วให้ทำ�
แบบฝึกหัด 6.11 เป็นรายบุคคล

เปรียบเทียบจํานวนนับ พบวา 5 > 2 เปรียบเทียบจํานวนนับ พบวา 2 = 2


ดังนั้น 51 > 23 จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 2
6 4 9 3
เนื่องจาก 2 = 2 3 = 6
3 3 3 9
และ 4 6
<
9 9
ดังนั้น 4 2
2 < 2
9 3

1 3 4 2
5 > 2 2 < 2
6 4 9 3

ตัวอยาง ตัวอยาง
เปรียบเทียบจํานวนนับ พบวา 3 = 3 เนื่องจาก 33 = 45 จึงเปรียบเทียบ 45 กับ 410
7 7 7 14
จึงเปรียบเทียบ 1 กับ 9 เปรียบเทียบจํานวนนับ พบวา 4 = 4
4 12
เนื่องจาก 1 = 1 3 = 3 จึงเปรียบเทียบ 5 กับ 10
4 4 3 12 7 14
และ 3
<
9 เนื่องจาก 5 = 5 2 = 10 จะได 45 = 410
12 12 7 7 2 14 7 14
ดังนั้น 31 < 3 9 ดังนั้น 33 = 410
4 12 7 14

1 9 33 = 410
3 < 3
4 12 7 14

ตัวอยาง ตัวอยาง
เนื่องจาก 9 = 4
1 จึงเปรียบเทียบ 1
4 กับ 1 3 52 =
เนื่องจาก 17
5 5 5 10 3 3
เปรียบเทียบจํานวนนับ พบวา 1 = 1 และ 17 = 17 2 = 34 ซึ่ง 34 > 33
3 3 2 6 6 6
จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 3 จะได 17 > 33
5 10 3 6
เนื่องจาก 4
=
4 2
=
8 ดังนั้น 2
5 > 33
5 5 2 10 3 6
และ 8 3 จะได 14 > 1 3
>
10 10 5 10
ดังนั้น 9 3
> 1
5 10
9
> 1
3 52 > 33
5 10 3 6

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 23
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

3. การสอนการเรียงลำ�ดับเศษส่วน จำ�นวนคละ ครูอาจ


จัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนร่วมกันพิจารณา และสังเกต
การเรียงลำ�ดับเศษส่วน จำ�นวนคละ หน้า 36 โดยครูใช้
การถาม-ตอบประกอบการอธิบายและให้นักเรียนสังเกต
วิธีการเรียงลำ�ดับ ซึ่งจะได้ว่า การเรียงลำ�ดับเศษส่วน
ที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน อาจใช้วิธีทำ�เศษส่วนทุกจำ�นวนให้มี
ตัวส่วนเท่ากัน แล้วเรียงลำ�ดับโดยพิจารณาจากตัวเศษ
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.12
เป็นรายบุคคล

9 3 9 1
8 4 16 2
1 3 7 4
3 2 2
3 6 3 18

4. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 37 เป็นรายบุคคล

< =

> >

= <

11 21 5
14 28 7
8 2 11
3 3 3
9 3 18

12 5 3
4 4
3 12 6
11 2 13 7
1 1 1 1
30 5 30 10

1. พิจารณาจํานวนทั้งหมด พบวา 3 เปนเศษสวนแท ดังนั้น 3 นอยที่สุด


4 4
2. เปลี่ยน 13 เปนจํานวนคละได 1 1
12 12
3. เปรียบเทียบ 11 1 1 และ 2 1 จะได 2 1 มากที่สุด
2 12 24 24
4. เปรียบเทียบ 11 กับ 1 1 เนื่องจาก 1 = 1 จึงเปรียบเทียบ 1 กับ 1 ซึ่งตัวเศษเทากัน
2 12 2 12
จึงเปรียบเทียบตัวสวน พบวา 2 < 12 แสดงวา 1 > 1 ดังนั้น 1 1 11 หรือ 13 <
>
1
1
2 12 12 2 12 2
5. เรียงลําดับจากนอยไปมากได 3 13 11 2 1
4 12 2 24

24 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.7 การบวก การลบ

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถหาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละ

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษวงกลมขนาดเท่ากัน ที่มีจุดศูนย์กลางและ
จุดแบ่ง 8 ส่วนที่ขอบกระดาษ ชุดละ 4 แผ่น
2. ดินสอสี

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนการบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
ครูควรจัดลำ�ดับเนือ
้ หาดังนี้
••การบวก การลบเศษส่วนทีต่ วั ส่วนตัวหนึง่ เป็นพหุคณ

ของตัวส่วนอีกตัวหนึง่
••การบวก การลบจำ�นวนคละ

1. การสอนการบวก การลบเศษส่วนทีต ่ วั ส่วนตัวหนึง่ เป็น


พหุคณู ของตัวส่วนอีกตัวหนึง่ ครูควรเริม ่ จากการทบทวน
การบวก การลบเศษส่วนทีม ่ ตี วั ส่วนเท่ากัน จากนัน ้ ครูแบ่ง
นักเรียน กลุม
่ ละ 2–3 คน แจกกระดาษวงกลมขนาดเท่ากัน
กลุม
่ ละ 4 แผ่น ให้แต่ละกลุม ่ ปฏิบต ั ก
ิ จิ กรรมตามสถานการณ์
หน้า 38 ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย โดยให้
สังเกตจากสือ ่ แล้วร่วมกันอภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสูข ่ อ
้ สรุปทีว่ า่
การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน
ต้องทำ�ตัวส่วนให้เท่ากัน แล้วจึงนำ�ตัวเศษมาบวกกันหรือ
ลบกัน จากนัน ้ ร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 39-40
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 40 และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 6.13
เป็นรายบุคคล
หมายเหตุ ครูควรเน้นว่า ผลบวกหรือผลลบเศษส่วน ควรตอบ
ในรูปเศษส่วนอย่างต่�ำ จำ�นวนคละ หรือจำ�นวนนับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 25
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

17 5 17 5 4 2 2
2 2
24 6 24 6 4 9 9
17 20 2
2
24 24 9
17 20
24
37
24
113
24
113 2
2
24 9

5 5 5 2 5 30 3 30 2 3
2 4 2 2 4 7 14 7 2 14
10 5 60 3
4 4 14 14
10 5 60 3
4 14
5 57
4 14
11 41
4 14
11 41
4 14

26 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. การสอนการบวก การลบจำ�นวนคละ ครูอาจจัดกิจกรรม


โดยให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาการหาผลบวกและผลลบ
จำ�นวนคละ หน้า 41 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุป
ที่ว่า การบวก หรือ การลบจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย
เปลี่ยนจำ�นวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน แล้วจึงหาผลบวก
หรือผลลบ จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง แล้วร่วมกัน
ทำ�กิจกรรมหน้า 42 และให้ทำ�แบบฝึกหัด 6.14
เป็นรายบุคคล

2
3

12 37 5 43 21 21 11 21
3 12 3 12 5 15 5 15
5 4 43 11 3 21
3 4 12 5 3 15
20 43 33 21
12 12 15 15
20 43 33 21
12 15
63 54
12 15
21 18
4 5
51 33
4 5

51 33
4 5

45 213 29 49 12 6 9 6
6 18 6 18 7 35 7 35
29 3 49 9 5 6
6 3 18 7 5 35
87 49 45 6
18 18 35 35
87 49 45 6
18 35
38 39
18 35
19 14
9 35
21
9

21 14
9 35

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 27
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

3. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 43 เป็นรายบุคคล

1 3 1 2 3 32 4 1 17 81
4 8 4 2 8 5 20 5 20
2 3 17 4 81
8 8 5 4 20
2 3 68 81
8 20 20
5 68 81 149
8 20 20
79
20
5 79
8 20

3 2 4 3
2 51 31 11 19
4 4 4 2 6 2 6
8 3 11 3 19
4 4 2 3 6
8 3 33 19
4 6 6
5 33 19 14
4 6 6
11 7 21
4 3 3
11 21
4 3

ไมถูกตอง เพราะการบวกเศษสวนที่ตัวสวนไมเทากัน ตองทําตัวสวนใหเทากันกอน


แลวจึงนําตัวเศษมาบวกกัน ซึ่งแสดงไดดังนี้
5 3 5 3 2 5 6 5 6 11
14 7 14 7 2 14 14 14 14

28 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

6.8 โจทย์ปัญหา

จุดประสงค์การเรียนรู้

นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

สื่อการเรียนรู้

แนวการจัดการเรียนรู้
1. ครูใช้สถานการณ์จากโจทย์ปญ ั หาหน้า 44 นำ�สนทนา
เกีย่ วกับวิธกี ารหาคำ�ตอบ โดยครูอาจใช้การถาม-ตอบ
เพือ ่ ฝึกให้นกั เรียนคิดอย่างเป็นระบบตามขัน ้ ตอนการ
แก้โจทย์ปญ ั หา และอาจใช้สอ ่ื หรือเขียนภาพประกอบ
การอธิบายการวางแผนแก้ปญ ั หา จากนัน ้ ร่วมกันพิจารณา
ตัวอย่าง หน้า 45 ซึง่ ครูควรเน้นย้�ำ เกีย่ วกับการเขียน
ภาพประกอบ แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 45-46
และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 6.15 เป็นรายบุคคล

11 กก.
5

ไก

3
ปลา 10
กก.

จิราพรซื้อไก 11 กิโลกรัม
5
ซื้อไกมากกวาปลา 3 กิโลกรัม
10
เนื่องจาก 11 6 6 2 12
5 5 5 2 10
ดังนั้นจิราพรซื้อปลา 12 3 9 กิโลกรัม
10 10 10

จิราพรซื้อปลา 9 กิโลกรัม
10

2
7
ของระยะทางทั้งหมด
วันแรก
8 ของระยะทางทั้งหมด
21

วันที่สอง

วันแรกบอยวิ่งได 2 ของระยะทางทั้งหมด
ผสมยา 1 ลิตร 7
10
นํ้าผึ้ง 2 ลิตร วันที่สองวิ่งได 8 ของระยะทางทั้งหมด
นํ้าผึ้งที่เหลือ 5 21
เนื่องจาก 2 2 3 6
7 7 3 21
มีนํ้าผึ้ง 2 ลิตร ดังนั้น วันที่สองวิ่งไดระยะทางมากกวาวันแรก 8 6 2 ของระยะทางทั้งหมด
5 21 21 21
นําไปผสมยา 1 ลิตร
10
เนื่องจาก 2 2 2 4
5 5 2 10
ดังนั้น เหลือนํ้าผึ้ง 4 1 3 ลิตร วันที่สองวิ่งไดระยะทางมากกวาวันแรกอยู 2 ของระยะทางทั้งหมด
10 10 10 21
เหลือนํ้าผึ้ง 3 ลิตร
10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 29
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 47-48 เป็นรายบุคคล

อานหนังสือ 3 เลม
8

วันเสาร

วันอาทิตย 5
24
เลม

วันเสารตาลอานหนังสือได 3 เลม
8
วันอาทิตยอานไดนอยกวาวันเสาร 5 เลม
24
เนื่องจาก 3 3 3 9
8 8 3 24
ดังนั้น วันอาทิตยตาลอานหนังสือ 9 5 4 1 เลม
24 24 24 6
วันอาทิตยตาลอานหนังสือ 1 เลม
6

5
12
ถาด

พร
1 ถาด
3

กวาง

วรรณแบงพิซซาใหพร 5 ถาด
12
แบงใหกวาง 1 ถาด
3
เนื่องจาก 1 1 4 4
3 3 4 12
ดังนั้น พรไดพิซซามากกวากวาง 5 4 1 ถาด
12 12 12
วรรณไดพิซซามากกวากวางอยู 1 ถาด
12

เวลาทั้งหมด

1 7
วิ่ง 2 ชั่วโมง เดิน 12 ชั่วโมง

กิ๊บวิ่งออกกําลังกาย 1 ชั่วโมง
2
เดินอีก 7 ชั่วโมง
12
เนื่องจาก 1 1 6 6
2 2 6 12
ดังนั้น กิ๊บใชเวลาออกกําลังกายทั้งหมด 6 7 13 11 ชั่วโมง
12 12 12 12
กิ๊บใชเวลาออกกําลังกายทั้งหมด 1 1 ชั่วโมง
12

หาปริมาณนํ้าที่เติมทั้งหมด แลวนําไปเปรียบเทียบกับความจุของถัง
- ถาปริมาณนํ้าที่เติมทั้งหมดเทากับความจุของถัง แสดงวานํ้าที่เติมเต็มถังพอดี
- ถาปริมาณนํ้าที่เติมทั้งหมดนอยกวาความจุของถัง แสดงวานํ้าที่เติมยังไมเต็มถัง
- ถาปริมาณนํ้าที่เติมทั้งหมดมากกวาความจุของถัง แสดงวานํ้าที่เติมจะลนถัง
(นักเรียนอาจใชวิธีวาดรูปหรือการคํานวณ)

30 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียน
นำ�ความรู้ที่ได้จากการเรียนในบทเรียนนี้มาช่วยกันแก้ปัญหา
โดยอาจแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ช่วยกันทำ�
กิจกรรม แล้วนำ�เสนอผลงานโดยใช้ภาพประกอบการอธิบาย
เกี่ยวกับวิธีแบ่งขนม ครูและเพื่อนในชั้นเรียนช่วยกัน
พิจารณาความถูกต้อง ถ้าพบข้อผิดพลาดให้ช่วยกันเสนอแนะ
วิธีแบ่งขนมลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้ได้ปริมาณตามที่กำ�หนด
ตลอดจนช่วยกันเสนอแนะวิธีพิจารณาเปรียบเทียบ
ปริมาณขนมชั้นที่แบ่ง

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 31
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 6 เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถระบุเศษส่วนแท้ เศษเกิน และจำ�นวนคละ

จำ�นวนต่อไปนี้เป็นเศษส่วนแท้ เศษเกิน หรือจำ�นวนคละ เพราะเหตุใด

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถแสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ด้วยเศษส่วนและจำ�นวนคละ

เติมข้อความ เศษส่วน หรือจำ�นวนคละ จากสถานการณ์ที่กำ�หนด

แม่ซื้อวุ้นกระทิ 3 ถาดขนาดเท่ากัน แล้วแบ่งวุ้นกระทิดังนี้


ให้คุณปู่ ให้เพื่อนบ้าน

ให้คุณตา

ถาดที่ 1 ถาดที่ 2 ถาดที่ 3

1. คุณปู่ได้รับวุ้นกระทิ ………………………………….. ถาด

2. เพื่อนบ้านกับคุณตา ได้รับวุ้นกระทิต่างกัน ……………………… ถาด

3. แม่เหลือวุ้นกระทิ ………………………………….. ถาด

32 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ

1. เติม > < หรือ = ในช่องว่าง

7 14 2 10
1) ............. 2) .............
14 28 3 18

8 3 3 9
3) ............. 4) 3 .............
15 5 10 2

22 5 1 5
5) ............. 6) 7 ............. 7
16 4 5 35

31 37 3 7
2. เรียงลำ�ดับ 1 จากน้อยไปมาก
20 40 2 4

5 9 11 13 11
3. เรียงลำ�ดับ 1 จากมากไปน้อย
3 18 9 36 72

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนสามารถหาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำ�นวนคละ

พิจารณาการหาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำ�นวนคละต่อไปนี้ ว่าถูกหรือผิด ถ้าผิดให้แก้ไขให้ถูกต้อง

12 4
1. + =
15 3
12 4 12 + 4
วิธีทำ� + =
15 3 15 + 3
16
=
18
8
=
9
8
ตอบ
9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 33
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

1 11
2. 2 − =
8 16
1 11 17 11
วิธีทำ� 2 − = −
8 16 8 16
6
=
16
3
=
8
3
ตอบ
8

2 9
3. 4 − 3 =
5 20
2 9 22 69
วิธีทำ� 4 −3 = −
5 20 5 20
47
=
15
2
= 3
15
2
ตอบ 3
15

1 7
4. 5 + 2 =
4 12
1 7 21 31
วิธีทำ� 5 +2 = +
4 12 4 12
63 31
= +
12 12
94
=
12
47
=
6
5
= 7
6
5
ตอบ 7
6

34 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5 นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ


และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

แสดงวิธีทำ�

9
1. กล้าใช้เวลาทำ�การบ้านคณิตศาสตร์ ชั่วโมง และใช้เวลาทำ�งานศิลปะมากกว่าทำ�การบ้านคณิตศาสตร์
20
1
ชั่วโมง กล้าใช้เวลาทำ�งานศิลปะกี่ชั่วโมง
4
4 6
2. ปรัชญ์มีน้ำ�ตาล 2 กิโลกรัม นำ�ไปทำ�ขนม 1 กิโลกรัม ปรัชญ์เหลือน้ำ�ตาลเท่าใด
5 10
5 3
3. เชือกเส้นหนึ่งตัดไปใช้ เมตร เหลือเชือก 1 เมตร เดิมเชือกเส้นนี้ยาวเท่าใด
8 4
3 7
4. ถนนเข้าหมู่บ้านเปี่ยมสุขยาว 2 กิโลเมตร ซึ่งยาวมากกว่าถนนเข้าหมู่บ้านอยู่เจริญ กิโลเมตร
5 25
ถนนเข้าหมู่บ้านอยู่เจริญยาวเท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 35
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 6 เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. เป็นเศษเกิน เพราะตัวเศษเท่ากับตัวส่วน
2. เป็นเศษส่วนแท้ เพราะตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน
3. เป็นจำ�นวนคละ เพราะมีจำ�นวนนับ กับ เศษส่วนแท้
4. เป็นเศษเกิน เพราะตัวเศษมากกว่าตัวส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1
1.
4

2 1
2. หรือ
6 3

7 3
3. หรือ 1
4 4

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3

1. 1) = 2) >
3) < 4) <
5) > 6) >

3 31 7 37
2. 1
2 20 4 40

5 11 11 9 13
3. 1
3 9 72 18 36

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4

1. ผิด แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้

12 4 12 20
วิธีทำ� + = +
15 3 15 15
32
=
15
2
= 2
15
2
ตอบ 2
15

36 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 6 |เศษส่วน

2. ผิด แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้

1 11 17 11
วิธีทำ� 2 − = −
8 16 8 16
34 11
= −
16 16
23
=
16
7
= 1
16
7
ตอบ 1
16

3. ผิด แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้

2 9 22 69
วิธีทำ� 4 −3 = −
5 20 5 20
88 69
= −
20 20
19
=
20
19
ตอบ
20

4. ถูก

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5

14 7
1. ชั่วโมง หรือ ชั่วโมง
20 10

12 1
2. กิโลกรัม หรือ 1 กิโลกรัม
10 5

19 3
3. เมตร หรือ 2 เมตร
8 8

58 8
4. กิโลเมตร หรือ 2 กิโลเมตร
25 25

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 37
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

บทที่ ทศนิยม
7
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. เขียนและอ่านทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง แสดงปริมาณ ••ทศนิยมเป็นจำ�นวนชนิดหนึ่งที่ใช้แสดงปริมาณต่าง ๆ


ของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยม มี . เป็นจุดทศนิยม โดยตัวเลขที่อยู่หน้าจุดทศนิยมแสดง
ที่กำ�หนด จำ�นวนนับหรือศูนย์ ตัวเลขที่อยู่หลังจุดทศนิยมแสดง
จำ�นวนที่น้อยกว่า 1
••การอ่านทศนิยม ตัวเลขที่อยู่หน้าจุดทศนิยม
อ่านเช่นเดียวกันกับจำ�นวนนับหรือศูนย์
ตัวเลขหลังจุดทศนิยมอ่านเรียงตัว

2. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง การเปรียบเทียบทศนิยมใช้วิธีการเดียวกับการเปรียบเทียบ


จากสถานการณ์ต่าง ๆ จำ�นวนนับ โดยเปรียบเทียบจำ�นวนที่อยู่หน้าจุดทศนิยมก่อน
ถ้าจำ�นวนที่อยู่หน้าจุดทศนิยมเท่ากัน จึงเปรียบเทียบจำ�นวน
ที่อยู่หลังจุดทศนิยมทีละหลัก โดยเริ่มจากหลักส่วนสิบ
จำ�นวนที่มีค่าของเลขโดดมากกว่า จำ�นวนนั้นจะมากกว่า

3. บวกและลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง การบวกและการลบทศนิยมใช้หลักการเดียวกันกับการบวก


และการลบจำ�นวนนับ โดยนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกันมาบวก
หรือลบกัน

4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาหรือปัญหาในชีวิตจริง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบทศนิยม เริ่มจาก


ที่เกี่ยวข้องกับการบวก การลบ 2 ขั้นตอน ของทศนิยม ทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนการแก้ปัญหา ดำ�เนินการ
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ตามแผน และตรวจสอบ

38 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

7.1 การอ่าน การเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง 4 -  - - -


•• ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
•• ทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง
•• ทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง

7.2 การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ 4 -   - -
•• หลัก ค่าประจำ�หลัก และการเขียนในรูปกระจาย
•• การเปรียบเทียบทศนิยม
•• การเรียงลำ�ดับทศนิยม

7.3 การบวกและการลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง 5 -   - -


•• การบวกทศนิยมที่ไม่มีการทด
•• การบวกทศนิยมที่มีการทด
•• การลบทศนิยมที่ไม่มีการกระจาย
•• การลบทศนิยมที่มีการกระจาย
•• การบวก การลบทศนิยม 2 ขั้นตอน

7.4 โจทย์ปัญหา 5     -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1     -

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 39
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

คำ�ใหม่
ทศนิยม หลักส่วนสิบ หลักส่วนร้อย หลักส่วนพัน

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน

ความหมายของเศษส่วน เศษส่วนที่เท่ากัน การบวกเศษส่วนที่ตัวส่วนเท่ากัน เศษเกินและจำ�นวนคละ

สื่อการเรียนรู้
แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเท่ากัน
••แสดง 1 หน่วย
••แบ่ง 10 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
••แบ่ง 100 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 50-99
2. แบบฝึกหัด หน้า 20-39

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
20 ชั่วโมง

40 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

1. ครูนำ�สนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์หน้าเปิดบท แล้วให้นักเรียนตอบคำ�ถาม อาจใช้คำ�ถามอื่นเพิ่มเติม เช่น

•• ตำ�แหน่งของ 8.95 บนเส้นจำ�นวน อยู่ระหว่าง 9 กับ 10 ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด


•• 7.4 ควรอยู่ตำ�แหน่งใดบนเส้นจำ�นวน เพราะเหตุใด
ซึ่งคำ�ตอบอาจแตกต่างกัน ครูควรให้นักเรียนมีโอกาสร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำ�ตอบเหล่านั้น
โดยครูไม่จำ�เป็นต้องเฉลย แต่หลังจากเรียนเรื่องความหมายของทศนิยมแล้ว ครูควรให้นักเรียนย้อนกลับมาตอบ
คำ�ถามนี้อีกครั้ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 41
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

2. ครูทบทวนความรูเ้ กีย่ วกับความหมายของเศษส่วน


และเศษส่วนทีเ่ ท่ากัน โดยให้ท�ำ กิจกรรมหน้า 52
จากนัน
้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 7.1 เป็นรายบุคคล

6 9 27
10 10 100

4 40 400

1 10 100

400
มีหลายคําตอบ

2
มีหลายคําตอบ

3 30 300

42 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7.1 การอ่าน การเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถเขียนและอ่านทศนิยมไม่เกิน
3 ตำ�แหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งแสดงสิ่งต่าง ๆ
ตามทศนิยมที่กำ�หนด

สื่อการเรียนรู้
แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเท่ากัน

••แสดง 1 หน่วย
••แบ่ง 10 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม
1 ตำ�แหน่ง
••แบ่ง 100 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม
2 ตำ�แหน่ง

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนการอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
ควรแบ่งเนือ
้ หาตามลำ�ดับขัน
้ การเรียนรู้ ดังนี้
••ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
••ทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง
••ทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง
โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้
1. ครูน�ำ สนทนาเกีย่ วกับสิง่ ต่าง ๆ ในชีวต
ิ จริงทีเ่ กีย่ วข้อง
กับทศนิยม โดยอาจใช้ภาพแสดงทศนิยมหน้า 53
แล้วใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายเพือ ่ เชือ่ มโยง
ไปสูท
่ ศนิยม พร้อมทัง้ แนะนำ�ทศนิยมและการอ่านทศนิยม ดังนี้
••ทศนิยมเป็นจำ�นวนชนิดหนึง่ ทีใ่ ช้แสดงปริมาณต่าง ๆ
มี . เป็นจุดทศนิยม โดยตัวเลขทีอ
่ ยูห
่ น้าจุดทศนิยม
แสดงจำ�นวนนับหรือศูนย์ ตัวเลขทีอ ่ ยูห
่ ลังจุดทศนิยม
แสดงจำ�นวนทีน ่ อ
้ ยกว่า 1
••การอ่านทศนิยม ตัวเลขทีอ่ ยูห
่ น้าจุดทศนิยม
อ่านเช่นเดียวกันกับจำ�นวนนับหรือศูนย์
ตัวเลขหลังจุดทศนิยมอ่านเรียงตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 43
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

2. การสอนทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง ครูควรเริ่มจากทศนิยม


1 ตำ�แหน่ง ที่น้อยกว่า 1 แล้วจึงตามด้วยทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
ที่มากกว่า 1
การสอนทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง ที่น้อยกว่า 1
ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนพิจารณาหน้า 54
ซึ่งครูควรใช้สื่อและการถาม–ตอบประกอบการอธิบาย
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 55 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.2
เป็นรายบุคคล

0.7
ศูนยจุดเจ็ด

0.6
ศูนยจุดหก

0.5

0.8

44 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. การสอนทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง ที่มากกว่า 1 ครูอาจ


จัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนพิจารณาหน้า 56 ซึ่งครูควรใช้สื่อ
และการถาม–ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกันอภิปราย
เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง มีเลขโดด
หลังจุดทศนิยม 1 ตัว เลขโดดที่อยู่หลังจุดทศนิยม
แสดงจำ�นวนว่าเป็นกี่ส่วนใน 10 ส่วนเท่า ๆ กัน
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 57 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.3
เป็นรายบุคคล

หมายเหตุ สำ�หรับการสอนเรื่องทศนิยมมีข้อควรระวังดังนี้
••ครูควรอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า แผ่นตารางร้อย
กับแผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่แบ่งเป็น
100 ส่วนเท่า ๆ กัน มีความแตกต่างกันอย่างไร
••แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่แบ่งเป็น 10 ส่วน
เท่า ๆ กัน และ 100 ส่วนเท่า ๆ กัน ต้องมีขนาด
เท่ากัน

1.2
หนึ่งจุดสอง

4
2 2.4 สองจุดสี่
10

3
20 20.3 ยี่สิบจุดสาม
10

9
48 48.9 สี่สิบแปดจุดเกา
10

8
101 101.8 หนึ่งรอยเอ็ดจุดแปด
10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 45
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

4. การสอนทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง ที่น้อยกว่า 1 ครูอาจจัด


กิจกรรมโดยให้นักเรียนพิจารณาหน้า 58-60 ซึ่งครูควร
ใช้สื่อและการถาม–ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกัน
อภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง
มีเลขโดดหลังจุดทศนิยม 2 ตัว โดยเลขโดดที่อยู่
หลังจุดทศนิยมตัวที่ 1 เป็นทศนิยมตำ�แหน่งที่ 1
แสดงจำ�นวนว่าเป็นกี่ส่วนใน 10 ส่วนเท่า ๆ กัน
และเลขโดดที่อยู่หลังจุดทศนิยมตัวที่ 2 เป็นทศนิยม
ตำ�แหน่งที่ 2 แสดงจำ�นวนว่าเป็นกี่ส่วนใน 100 ส่วน
เท่า ๆ กัน จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 60

0.14 0.58
ศูนยจุดหนึ่งสี่ ศูนยจุดหาแปด

0.04 0.62

0.89 0.21

0.07 0.30

46 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. การเขียนภาพแสดงทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง หน้า 61


ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใช้สื่อประกอบการอธิบายทีละขั้น
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.4
เป็นรายบุคคล

6. หน้า 62 เป็นการสอนการเขียนจำ�นวนนับในรูปทศนิยม
เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนเรื่องทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง
ที่มากกว่า 1 ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนพิจารณา
จากสื่อและใช้การถาม–ตอบ เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า
จำ�นวนนับสามารถเขียนเป็นทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง หรือ
2 ตำ�แหน่งได้ โดยเติมจุดทศนิยม แล้วเติม 0 ต่อท้าย 1 ตัว
หรือ 2 ตัว ตามลำ�ดับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 47
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

7. การสอนทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง ที่มากกว่า 1 ครูอาจ


จัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนพิจารณาหน้า 63 ซึ่งครูควร
ใช้สื่อและการถาม–ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกัน
อภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
สามารถเขียนเป็นทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง โดยเติม 0 ต่อท้าย
1 ตัว จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 64 แล้วให้
ทำ�แบบฝึกหัด 7.5 เป็นรายบุคคล

6.0 6.00

10 10.00

12 12.0

55 55.00

701.0 701.00

12
5 5.12 หาจุดหนึ่งสอง
100

96
34 34.96 สามสิบสี่จุดเกาหก
100

25
10 10.25 สิบจุดสองหา
100

5
700 700.05 เจ็ดรอยจุดศูนยหา
100

48 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

8. การสอนทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง ครูอาจจัดกิจกรรมโดย


ให้นักเรียนพิจารณาหน้า 65-67 ซึ่งครูควรใช้สื่อและ
การถาม–ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกันอภิปราย
เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง มีเลขโดด 1 ช�อง แบ�งเป�น 10 ส�วนเท�า ๆ กัน
จะได� 100 ช�อง แบ�งเป�น
100 10 = 1,000 ส�วนเท�า ๆ กัน
หลังจุดทศนิยม 3 ตัว เลขโดดที่อยู่หลังจุดทศนิยมตัวที่ 1
เป็นทศนิยมตำ�แหน่งที่ 1 แสดงจำ�นวนว่าเป็นกี่ส่วน
ใน 10 ส่วนเท่า ๆ กัน เลขโดดที่อยู่หลังจุดทศนิยมตัวที่ 2
เป็นทศนิยมตำ�แหน่งที่ 2 แสดงจำ�นวนว่าเป็นกี่ส่วน
ใน 100 ส่วนเท่า ๆ กัน และเลขโดดที่อยู่หลังจุดทศนิยม
ตัวที่ 3 เป็นทศนิยมตำ�แหน่งที่ 3 แสดงจำ�นวนว่า
เป็นกี่ส่วนใน 1,000 ส่วนเท่า ๆ กัน จากนั้นร่วมกันทำ�
กิจกรรมหน้า 67

การแบง�เปน

10 100
1,000 สว�น

หาจุดแปดสี่สอง
แปดสิบเอ็ดจุดสองเกาสาม
สี่รอยสามจุดศูนยหนึ่งเจ็ด

0.562

42.347

600.009

0.007 0.081

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 49
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

9. ครูแนะนำ�การเขียนจำ�นวนนับในรูปทศนิยมไม่เกิน
3 ตำ�แหน่ง และทศนิยมที่เท่ากันในหน้า 68 แล้วให้นักเรียน
พิจารณาตัวอย่างและร่วมกันทำ�กิจกรรม จากนั้นให้
ทำ�แบบฝึกหัด 7.6 เป็นรายบุคคล

17.60 17.600

25.9 25.900

100.3 100.30

66.9 66.90

55.00 55.000

647.2 647.200

3,719.6 3,719.600

10.0 10.00

10. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 69 เป็นรายบุคคล

สิบแปดจุดหก ยี่สิบหาจุดสามศูนย
ศูนยจุดศูนยเจ็ดหนึ่ง หารอยเอ็ดจุดสี่แปดเกา

302.4
6.528
0.096

ไมเทากัน เพราะ และ

เทากัน เพราะ ทศนิยม 2 ตําแหนง สามารถเขียนเปนทศนิยม 3 ตําแหนง โดยเติม 0 ตอทาย


1 ตัว ซึ่งทศนิยมที่ไดจะเทากับทศนิยมเดิม

50 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7.2 การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยม
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง จากสถานการณ์ต่าง ๆ

สื่อการเรียนรู้
แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเท่ากัน

••แสดง 1 หน่วย
••แบ่ง 10 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม
1 ตำ�แหน่ง
••แบ่ง 100 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม
2 ตำ�แหน่ง

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนการเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยม ควรแบ่ง
เนือ
้ หาตามลำ�ดับขัน
้ การเรียนรู้ ดังนี้
••หลัก ค่าประจำ�หลัก และการเขียนในรูปกระจาย
••การเปรียบเทียบทศนิยม
••การเรียงลำ�ดับทศนิยม

โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้
1. การสอนเรื่องหลักและค่าประจำ�หลักของทศนิยมหน้า 70 ครูควรทบทวนหลักและค่าประจำ�หลักของจำ�นวนนับ
โดยอาจยกตัวอย่างจำ�นวนนับไม่เกิน 4 หลัก 2-3 จำ�นวน ให้นักเรียนบอกหลักและค่าประจำ�หลัก พร้อมสังเกตค่าประจำ�หลัก
ของหลักที่อยู่ติดกัน ซึ่งจะพบว่า จำ�นวนนับใด ๆ ค่าประจำ�หลักของหลักที่อยู่ทางซ้ายเป็น 10 เท่าของค่าประจำ�หลักของหลัก
1
ที่อยู่ติดกันทางขวา หรือค่าประจำ�หลักของหลักทางขวาเป็น เท่าของค่าประจำ�หลักของหลักที่อยู่ติดกันทางซ้าย จากนั้น
10
ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย เพื่อเชื่อมโยงไปสู่หลักและค่าประจำ�หลักของทศนิยม โดยใช้ข้อมูลจากหน้า 70
แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า จำ�นวนนับและทศนิยมใด ๆ ค่าประจำ�หลักของหลักที่อยู่ทางซ้ายเป็น 10 เท่า
1
ของค่าประจำ�หลักของหลักที่อยู่ติดกันทางขวา หรือค่าประจำ�หลักของหลักทางขวาเป็น เท่าของค่าประจำ�หลัก
10
ของหลักที่อยู่ติดกันทางซ้าย แล้วให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักหน้า 71 จากนั้นให้
ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 71-72 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.7 เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 51
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

3 อยูในหลักสวนสิบ มีคา 3 หรือ 0.3


10

7 อยูในหลักสวนพัน มีคา 7 หรือ 0.007


1000

8 อยูในหลักสวนรอย มีคา 8 หรือ 0.08


100

0 อยูในหลักสวนสิบ มีคา 0

สิบ 60 536.806

หนวย 4

สวนสิบ 0

8 26.352
สวนรอย หรือ 0.08
100
สวนพัน 9 หรือ 0.009
1000

3,248.601

879.013

2. การสอนเรื่องการเขียนทศนิยมในรูปกระจาย ครูอาจให้
นักเรียนพิจารณาการเขียน 81.239 ในรูปกระจายหน้า 73
พร้อมใช้การถาม–ตอบ ประกอบการอธิบาย ครูควร
ยกตัวอย่างทศนิยมอื่นเพิ่มเติม แล้วให้นักเรียนเขียนใน
รูปกระจาย จากนั้นให้ร่วมทำ�กิจกรรม แล้วทำ�แบบฝึกหัด 7.8
เป็นรายบุคคล

60 9 8
10 100
300 10 6 3 9 2
10 100 1000
100 40 6 2 6 3
10 100 1000

52 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. การสอนเรื่องการเปรียบเทียบทศนิยมหน้า 74 ครูควร
ใช้สื่อ พร้อมถาม – ตอบประกอบการอธิบาย เพื่อให้
นักเรียนสังเกตจากสื่อ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่
ข้อสรุปที่ว่า การเปรียบเทียบทศนิยมใช้วิธีการเดียวกันกับ
การเปรียบเทียบจำ�นวนนับ โดยเปรียบเทียบจำ�นวน
ที่อยู่หน้าจุดทศนิยมก่อน ถ้าจำ�นวนที่อยู่หน้าจุดทศนิยม
เท่ากัน ให้เปรียบเทียบจำ�นวนที่อยู่หลังจุดทศนิยม
ในหลักเดียวกัน โดยเริ่มจากหลักส่วนสิบ ถ้าจำ�นวน
ในหลักส่วนสิบเท่ากัน ให้เปรียบเทียบจำ�นวนในหลัก
ส่วนร้อย หลักส่วนพัน ตามลำ�ดับ จำ�นวนที่มีค่าของ
เลขโดดมากกว่า จำ�นวนนั้นจะมากกว่า จากนั้น
ร่วมกันพิจารณาตัวอย่างการเปรียบเทียบทศนิยมหน้า 75
ครูควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม ให้นักเรียนเปรียบเทียบ
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม และให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.9
เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 53
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

4. การสอนการเรียงลำ�ดับทศนิยม ครูอาจนำ�สนทนาเกี่ยวกับ
สถานการณ์หน้า 76 แล้วใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย
แสดงเหตุผล เพื่อหาวิธีเรียงลำ�ดับความสูง โดยครูอาจแนะนำ�
ให้เขียนทศนิยมแสดงความสูงในแนวตั้ง โดยให้หลักเดียวกัน
อยู่ตรงกัน แล้วพิจารณาเปรียบเทียบทศนิยมทีละคู่ จากนั้น
ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 77 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.10
เป็นรายบุคคล

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 78 เป็นรายบุคคล

0.46 0.5 0.64

8.596 8.9 8.96

ขากาโบราซี พมา
100.902 100.9 100.029
ดอยอินทนนท ไทย
คินาบาลู ปุนจักจายา และ
ขากาโบราซี
0.66 0.64 0.46 ปุนจักจายา
ขากาโบราซี
ปุนจักจายา
คินาบาลู
210.71 210.701 210.7 210.017

เขียนทศนิยมในแนวตัง้ โดยใหจาํ นวนทีอ่ ยูใ นหลักเดียวกันอยูต รงกัน แลวเปรียบเทียบโดยใช


วิธกี ารเดียวกันกับการเปรียบเทียบจํานวนนับ โดยเปรียบเทียบจํานวนทีอ่ ยูห นาจุดทศนิยมกอน
ถาพบวาเทากัน จึงเปรียบเทียบจํานวนในหลักสวนสิบ หลักสวนรอย และหลักสวนพัน ตามลําดับ
มีหลายคําตอบ จากนั้นเรียงลําดับทศนิยมจากนอยไปมาก ซึ่งจะไดดังนี้ 1.001 1.01 1.1 1.101

54 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7.3 การบวกและการลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถบวกและลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

สื่อการเรียนรู้

แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเท่ากัน
••แสดง 1 หน่วย
••แบ่ง 10 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม
1 ตำ�แหน่ง
••แบ่ง 100 ส่วนเท่า ๆ กัน สำ�หรับแสดงทศนิยม
2 ตำ�แหน่ง

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนการบวกและการลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
ควรแบ่งเนือ
้ หาตามลำ�ดับขัน
้ การเรียนรู้ ดังนี้
••การบวกทศนิยมทีไ่ ม่มกี ารทด
••การบวกทศนิยมทีม่ กี ารทด
••การลบทศนิยมทีไ่ ม่มกี ารกระจาย
••การลบทศนิยมทีม่ กี ารกระจาย
••การบวก การลบทศนิยม 2 ขัน
้ ตอน

โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้
1. การสอนเรือ ่ งการบวกทศนิยมทีไ่ ม่มก ี ารทด หน้า 79-80
ครูควรใช้สอ ่ื และการถาม–ตอบประกอบการอธิบาย
เพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปว่า การบวกทศนิยมทีไ่ ม่มก ี ารทด
ใช้หลักการเดียวกันกับการบวกจำ�นวนนับ โดยนำ�จำ�นวน
ทีอ
่ ยูใ่ นหลักเดียวกันมาบวกกัน และควรบวกจำ�นวน
ในหลักขวาสุดก่อน จากนัน ้ ให้รว่ มกันพิจารณาตัวอย่าง
การบวกทศนิยมทีไ่ ม่มก ี ารทดหน้า 81 ครูควรยกตัวอย่าง
เพิม ่ เติม ให้นก ั เรียนหาผลบวก แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม
และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 7.11 เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 55
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

0.3 0 7 1 0. 0 0 0

0.2 9 0 8. 5 4 6

0.5 9 7 1 8. 5 4 6

๐.๕๙๗ ๑๘.๕๔๖

0.8 5.891

3.67 0.799

49.96 37.585

2. การสอนเรื่องการบวกทศนิยมที่มีการทด หน้า 82
ครูจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับการบวกทศนิยมที่ไม่มีการทด
เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การบวกทศนิยมที่มีการทด ใช้หลักการ
เดียวกันกับการบวกจำ�นวนนับ โดยนำ�จำ�นวนที่อยู่ใน
หลักเดียวกันมาบวกกัน และควรบวกจำ�นวนใน
หลักขวาสุดก่อน ถ้าผลบวกในหลักใดครบสิบหรือ
มากกว่าสิบ ให้ทดจำ�นวนที่ครบสิบในหลักถัดไปทางซ้าย
จากนั้น ครูให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาการหาผลบวกจาก
ตัวอย่างหน้า 83 โดยใช้การอธิบายแสดงเหตุผล แล้วร่วมกัน
ทำ�กิจกรรมหน้า 84 และให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.12
เป็นรายบุคคล

หมายเหตุ ครูควรเน้นย้�ำ ว่าถ้ามีการทด ต้องนำ�ตัวทดไปรวมกับ


จำ�นวนในหลักถัดไปทางซ้าย

56 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2


า า า

6 8. 2 4.7 2

1 4. 9 3.8 0

8 3. 1 8.5 2

๘๓.๑ ๘.๕๒

7 0.4 6 2. 9 5 5

5 4.3 9 9 7. 4 8 6

1 2 4.8 5 1 0 0. 4 4 1

๑๒๔.๘๕ ๑๐๐.๔๔๑

2 5.9 1 0 7. 9 6 5

0.7 2 4 8. 3 0 0

2 6.6 3 4 1 6. 2 6 5

๒๖.๖๓๔ ๑๖.๒๖๕

1.4 22.101

6.062 53.372

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 85 เป็นรายบุคคล

3.534 27.90
8.637 0.65
12.171 28.55

๑๒.๑๗๑ ๒๘.๕๕

19.360 30.85
5.087 269.15
24.447 300.00

๒๔.๔๔๗ ๓๐๐.๐๐ หรือ ๓๐๐

ทํา 45.12 ใหเปนทศนิยม 3 ตําแหนง โดยเติม 0 ในหลักสวนพัน แลวนําจํานวนทีอ่ ยู


ในหลักเดียวกันมาบวกกัน โดยเริม่ จากหลักสวนพัน ได 9 สวนพัน ผลบวกในหลักสวนรอยได 10 สวนรอย
ซึง่ เทากับ 1 สวนสิบ จึงทด 1 ในหลักสวนสิบ ผลบวกในหลักสวนสิบรวมกับตัวทดได 2 สวนสิบ
ผลบวกในหลักหนวยได 14 หนวย ซึง่ เทากับ 1 สิบ กับ 4 หนวย จึงทด 1 ในหลักสิบ และผลบวก
ในหลักสิบรวมกับตัวทดได 5 สิบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 57
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

4. การสอนเรื่องการลบทศนิยมที่ไม่มีการกระจาย หน้า 86
ครูควรใช้สื่อควบคู่ไปกับการถาม–ตอบประกอบการอธิบาย
เพือ่ นำ�ไปสูข ้ สรุปว่า การลบทศนิยมที่ไม่มีการกระจาย
่ อ
ใช้หลักการเดียวกันกับการลบจำ�นวนนับ โดยนำ�จำ�นวน
ที่อยู่ในหลักเดียวกันมาลบกัน และควรลบจำ�นวนจาก
หลักขวาสุดก่อน จากนั้น ให้ร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง
การลบทศนิยมที่ไม่มีการกระจาย หน้า 87
ครูควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม ให้นักเรียนหาผลลบ
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม และให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.13
เป็นรายบุคคล

การลบทศนย
ิ มทไ�ีมม
� ก
ี ารกระจาย ใชห
� ลก
ั การเดย
ี วกน
ั กบ
ั การลบจาำนวนนบ

โดยนำาจำานวนทอ
�ี ยใ�ูนหลก
ั เดย
ี วกน
ั มาลบกน
ั และควรลบจาำนวนจากหลก
ั ขวาสด
ุ กอ
� น

1 5. 4 7 2 0. 9 2 7

3. 0 5 1 0. 8 0 0

1 2. 4 2 1 0. 1 2 7

๑๒.๔๒๑ ๐.๑๒๗

0.2 3.3

4.32 5.665

10.043 13.172

58 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. การสอนเรื่องการลบทศนิยมที่มีการกระจาย หน้า 88
ครูควรทบทวนเกี่ยวกับค่าประจำ�หลักของทศนิยม
โดยอาจให้นักเรียนตอบคำ�ถาม เช่น

1 หน่วยเท่ากับกี่ส่วนสิบ
1 ส่วนสิบเท่ากับกี่ส่วนร้อย
1 ส่วนร้อยเท่ากับกี่ส่วนพัน

จากนั้นครูจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกับการลบทศนิยมที่ไม่มี
การกระจายจนได้ข้อสรุปว่า การลบทศนิยมที่มีการกระจาย
ใช้หลักการเดียวกันกับการลบจำ�นวนนับ โดยนำ�จำ�นวนที่
อยู่ในหลักเดียวกันมาลบกัน ถ้าในหลักใดตัวตั้งน้อยกว่า
ตัวลบ ให้กระจายตัวตั้งในหลักถัดไปทางซ้ายมารวมกับ
ตัวตั้งหลักนั้นก่อน แล้วจึงหาผลลบ จากนั้นครูให้นักเรียน
ร่วมกันพิจารณาการหาผลลบจากตัวอย่างหน้า 89 โดยใช้
การอธิบายแสดงเหตุผล ครูควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม
ให้นักเรียนหาผลลบ แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม และให้ทำ�
แบบฝึกหัด 7.14 เป็นรายบุคคล

3 4. 5 1 8. 2 4 6

9. 9 2 5. 3 5 0

2 4. 5 9 2. 8 9 6

๒๔.๕๙ ๒.๘๙๖

9 6. 7 0 0 2 1. 8 5 3

2 0. 5 8 4 1 2. 9 4 6

7 6. 1 1 6 8. 9 0 7

๗๖.๑๑๖ ๘.๙๐๗

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 59
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

6. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 90 เป็นรายบุคคล

15.59 81.723
3.07 19.804
12.52 61.919

๑๒.๕๒ ๖๑.๙๑๙

7.200 4.010
2.168 4.009
5.032 0.001

๕.๐๓๒ ๐.๐๐๑

ทํา 45.12 ใหเปนทศนิยม 3 ตําแหนง โดยเติม 0 ในหลักสวนพัน แลวนําจํานวนที่อยู


ในหลักเดียวกันมาลบกัน โดยเริม่ จากหลักสวนพัน พบวา ตัวตัง้ ในหลักสวนพัน หลักสวนรอย
และหลักหนวย นอยกวาตัวลบ จึงตองกระจายตัวตั้งในหลักที่อยูติดกันทางซาย
มารวมกับตัวตั้งในหลักนั้น ๆ แลวลบกันกับตัวลบ

60 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7. การบวก การลบทศนิยม 2 ขั้นตอน เป็นเนื้อหาที่ใช้เป็น


พื้นฐานในการแก้โจทย์ปัญหา ครูควรทบทวนลำ�ดับขั้น
ของการดำ�เนินการก่อน โดยอาจกำ�หนดโจทย์การบวก
การลบจำ�นวนนับ 2 ขั้นตอน แล้วให้นักเรียนบอกลำ�ดับ
ขั้นการดำ�เนินการ เช่น

••964 – (490 + 272) =


••1,500 – 159 + 767 =

จากนั้นใช้การอธิบายเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การบวก การลบ
ทศนิยม 2 ขั้นตอน ซึ่งมีลำ�ดับขั้นการดำ�เนินการเช่นเดียวกับ
จำ�นวนนับ แล้วใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง
ในหน้า 91 แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 91-92 และให้
ทำ�แบบฝึกหัด 7.15 เป็นรายบุคคล

หมายเหตุ สำ�หรับหัวข้อนี้ ครูไม่จำ�เป็นต้องประเมินผล

หาผลลัพธของ 3.56 + 14.7 หาผลลัพธของ 25 - 18.26


3.56 25.00
14.70 18.26
18.26 6.74
๖.๗๔

0.90
0.24
1.140
0.783
0.357

๐.๓๕๗

34.20
8.89
43.090
11.056
54.146

๕๔.๑๔๖

หาผลลัพธของ 5 - 0.813 หาผลลัพธของ 12.36 - 4.187


5.000 12.360
0.813 4.187
4.187 8.173

๘.๑๗๓

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 61
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

7.4 โจทย์ปัญหา

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
หรือปัญหาในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับการบวก การลบ
2 ขั้นตอน ของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

สื่อการเรียนรู้
-

แนวการจัดการเรียนรู้
า า
1. ในการสอนโจทย์ปญ ั หา 2 ขัน
้ ตอน ควรสอนโจทย์ปญั หา
1 ขัน
้ ก่อน ซึง่ ครูอาจจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกับการสอน
โจทย์ปญ ั หาของจำ�นวนนับ โดยใช้สถานการณ์จาก
โจทย์ปญ ั หาหน้า 93 นำ�สนทนาเกีย่ วกับวิธก ี ารหาคำ�ตอบ
พร้อมใช้การถาม–ตอบ เพือ ่ ฝึกให้นก
ั เรียนคิดอย่างเป็นระบบ
ตามขัน ้ ตอนการแก้โจทย์ปญ ั หา และอาจแนะนำ�ให้เขียนภาพ
ประกอบเพือ ่ ช่วยในการวางแผนแก้ปญ ั หา จากนัน ้ ร่วมกัน
พิจารณาตัวอย่างหน้า 93-94 ครูควรใช้การซักถาม
ให้นก ั เรียนแสดงเหตุผล โดยเน้นการแปลความหมาย
จากคำ�หรือข้อความในโจทย์ปญ ั หาเพือ่ เชือ
่ มโยงไปสู่
การดำ�เนินการ แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 94 และ
ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 7.16 เป็นรายบุคคล

A5 21 ซม. 8.7 ซม.

A4

ดังนั้น กระดาษขนาด A4 ยาว 21 + 8.7 = 29.7 เซนติเมตร


๒๙.๗ เซนติเมตร
สูงกวา

ดังนั้น ตึกใบหยก 2 สูงกวา ตึกใบหยก 1


328.4 ม.

และสูงกวา 328.4 - 151 = 177.4 เมตร


151 ม.

ใบหยก1 ใบหยก2
ตึกใบหยก ๒ สูงกวา ตึกใบหยก ๑ และสูงกวา ๑๗๗.๔ เมตร

ตองการ 8 ไร
มีอยู 6.25 ไร ซื้อเพิ่ม
ดังนั้น พอตองซื้อที่ดินเพิ่ม 8 - 6.25 = 1.75 ไร
๑.๗๕ ไร

62 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. ในการสอนโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน ครูอาจใช้สถานการณ์


จากโจทย์ปัญหาหน้า 95 นำ�สนทนา แล้วให้ช่วยกันเขียน
ภาพจากโจทย์ จากนั้นช่วยกันวิเคราะห์ว่าในการหาคำ�ตอบ
ควรหาสิ่งใดก่อน-หลัง เพราะเหตุใด แล้วร่วมกันพิจารณา
ตัวอย่างหน้า 96 โดยจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับหน้า 95
ซึ่งครูอาจเสนอวิธีคิดเพิ่มเติมที่ต่างจากตัวอย่าง ดังนี้

ต้องการสร้างถนน 5 กิโลเมตร
เดือนที่ 1 สร้างถนนได้ 1.25 กิโลเมตร
เหลือถนนที่ต้องสร้างอีก 5 – 1.25 = 3.75 กิโลเมตร
เดือนที่ 2 สร้างถนนได้ 1.756 กิโลเมตร
เหลือถนนที่ต้องสร้างในเดือนที่ 3 อีก
3.75 – 1.756 = 1.994 กิโลเมตร
ดังนั้น เดือนที่ 3 สร้างถนนได้ 1.994 กิโลเมตร
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 7.17
เป็นรายบุคคล

50 ม.
5.25 ม. 3.5 ม.
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 เชือกที่เหลือ
ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตัดขายไป 5.25 + 3.5 = 8.75 เมตร
ดังนั้น รานคาเหลือเชือกไนลอน 50 - 8.75 = 41.25 เมตร
๔๑.๒๕ เมตร

จากกรุงเทพฯ ถึงตรัง
347.5 กม. 408.7 กม. 93.8 กม.
ชวงที่ 1 ชวงที่ 2 ชวงที่ 3

ดังนั้น เบญขับรถจากกรุงเทพฯ ถึงจังหวัดตรังเปนระยะทาง 347.5 + 408.7 + 93.8 = 850 กิโลเมตร


๘๕๐ กิโลเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 63
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 97-98 เป็นรายบุคคล

ม.ค. 152.73 ลาน ลบ.ม. 6.4 ลาน ลบ.ม.


รวม 2 เดือน
ก.พ.

เดือนกุมภาพันธระบายนํ้าออก 152.73 + 6.4 = 159.13 ลานลูกบาศกเมตร


ดังนั้น 2 เดือนนี้ เขื่อนรัชชประภาระบายนํ้าออก 152.73 + 159.13 = 311.86 ลานลูกบาศกเมตร
๓๑๑.๘๖ ลานลูกบาศกเมตร

60 บาท
กรรไกร 17.50 บาท เทปใส 12.75 บาท กระดาษสี

ดังนั้น ซื้อกระดาษสี 60 - (17.50 + 12.75) = 60 - 30.25 = 29.75 บาท

๒๙.๗๕ บาท

ความยาวทั้งหมด
เชื่อกเดิม เสนที่ 1 2.75 ม. เสนที่ 2 1.5 ม.

ผูกตอกัน
แลววัดใหม
3.185 ม. ปม

ดังนั้น สวนที่ผูกเปนปมมีความยาว (2.75 + 1.5) − 3.185 = 4.25 − 3.185 = 1.065 เมตร

๑.๐๖๕ เมตร

ขั้นที่ 1 หาความยาวของทอนํ้าทอนที่ 2
ได 2.25 - 0.5 = 1.75 เมตร
ขั้นที่ 2 หาความยาวของทอนํ้า โดยนําความยาวของทอนแรก รวมกับความยาวทอนที่ 2
ได 2.25 + 1.75 = 4 เมตร

64 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียน
ใช้ความรู้เกี่ยวกับการบวก การลบทศนิยม และเรื่องต่าง ๆ
ที่เรียนมาแล้วมาช่วยในการแก้ปัญหา โดยครูอาจให้นักเรียน
ทำ�เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน แล้วนำ�เสนอผลงาน ครูและ
เพื่อนในชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
ในประเด็นต่าง ๆ และอภิปรายถึงแนวคิดหรือยุทธวิธีที่
นักเรียนใช้

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 65
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 7 ทศนิยม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถเขียนและอ่านทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ


รวมทั้งแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่กำ�หนด

1. เขียนทศนิยมแสดงส่วนที่ระบายสี

ตัวเลข....................................................... ตัวหนังสือ........................................................................

2. ระบายสีแสดง 1.27 พร้อมเขียนเป็นตัวหนังสือ

ตัวหนังสือ........................................................................

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง จากสถานการณ์ต่าง ๆ

ตอบคำ�ถามโดยใช้สถานการณ์ต่อไปนี้

“ในเวลา 1 ชั่วโมง มิววิ่งได้ระยะทาง 9.67 กิโลเมตร น้ำ�วิ่งได้ระยะทาง 9.401 กิโลเมตร และยุวิ่งได้ระยะทาง


9.5 กิโลเมตร”

1. ใครวิ่งได้ระยะทางมากที่สุด

2. เรียงลำ�ดับระยะทางที่แต่ละคนวิ่งได้ในเวลา 1 ชั่วโมง จากมากไปน้อย

66 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถบวกและลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. 0.86 + 0.451

2. 6.1 – 4.521

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนสามารถแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาหรือปัญหาในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับ
การบวก การลบ 2 ขั้นตอน ของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. วันที่ 12 เมษายน กรุงเทพฯ มีอุณหภูมิสูงสุด 38.5 องศาเซลเซียส วันต่อมาอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 0.7 องศาเซลเซียส


วันที่ 13 เมษายน กรุงเทพฯ มีอุณหภูมิสูงสุดเท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 67
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 7 | ทศนิยม

2. เหยือกใบหนึ่งมีความจุ 1.5 ลิตร มีน้ำ�ในเหยือกอยู่ 0.7 ลิตร จะต้องเติมน้ำ�อีกกี่ลิตรจึงจะเต็มเหยือก

3. วันแรกลุงมั่นหาแร่ทองคำ�ได้ 4.168 กรัม วันที่สองหาแร่ทองคำ�ได้น้อยกว่าวันแรก 0.509 กรัม


รวม 2 วัน ลุงมั่นหาแร่ทองคำ�ได้เท่าใด

68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 7 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 7 ทศนิยม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. ตัวเลข 3.5 ตัวหนังสือ สามจุดห้า

2. ตัวหนังสือ หนึ่งจุดสองเจ็ด

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1. มิว

2. 9.67 9.5 9.401

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3

1. 1.311

2. 1.579

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4

1. 39.2 องศาเซลเซียส

2. 0.8 ลิตร

3. 7.827 กรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 69
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

บทที่ มุม
8
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และสัญลักษณ์แทนมุม ••มุม คือ รังสี 2 เส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน


รังสี 2 เส้นนี้ เรียกว่า แขนของมุม และจุดปลายที่เป็น
จุดเดียวกันนี้ เรียกว่า จุดยอดมุม
•• หรือ เป็นสัญลักษณ์แสดงมุม
2. วัดมุมที่มีขนาดต่าง ๆ โดยใช้โพรแทรกเตอร์
การวัดขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ ทำ�ได้โดย
วางโพรแทรกเตอร์ให้จุดกึ่งกลางของโพรแทรกเตอร์ทับ
จุดยอดมุมของมุมที่ต้องการวัด และให้แนวศูนย์องศา
ของโพรแทรกเตอร์ทาบไปบนแขนข้างหนึ่งของมุม
จากนั้นอ่านขนาดของมุม โดยนับจาก 0 องศาที่ตรงกับ
แขนของมุมข้างหนึ่ง ไปจนถึงรอยขีดบอกองศาที่ตรงกับ
แขนของมุมอีกข้างหนึ่ง รอยขีดนั้นจะบอกขนาดของ
มุมที่ต้องการวัด

3. จำ�แนกชนิดของมุม มุมต่าง ๆ จำ�แนกตามขนาดได้ดังนี้


มุมศูนย์ มีขนาด 0 ํ
มุมแหลม มีขนาดมากกว่า 0 ํ แต่น้อยกว่า 90 ํ
มุมฉาก มีขนาด 90 ํ
มุมป้าน มีขนาดมากกว่า 90 ํแต่น้อยกว่า 180 ํ
มุมตรง มีขนาด 180 ํ
มุมกลับ มีขนาดมากกว่า 180 ํ แต่น้อยกว่า 360 ํ

4. สร้างมุมขนาดต่าง ๆ โดยใช้โพรแทรกเตอร์ การสร้างมุมให้มีขนาดตามที่ต้องการ มีขั้นตอน ดังนี้


ขั้นที่ 1 ลากรังสี 1 เส้นเป็นแขนของมุมพร้อมทั้งกำ�หนด
จุดปลาย
ขั้นที่ 2 วางโพรแทรกเตอร์ให้จุดกึ่งกลางทับจุดปลายและ
แนวศูนย์องศาทาบไปบนรังสี
ขั้นที่ 3 นับจำ�นวนองศาจาก 0 ํ ไปจนถึงขนาดของมุมที่
ต้องการ โดยเขียนจุดกำ�กับไว้ แล้วลากรังสีจาก
จุดปลายให้ผ่านจุดที่เขียนกำ�กับไว้ จะได้มุมมีขนาด
ตามต้องการ

70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 -    

8.1 จุด เส้นตรง รังสี และส่วนของเส้นตรง 2 -    -

8.2 มุม ส่วนประกอบของมุม และการเรียกชื่อมุม 1 -   - -

8.3 มุมฉาก มุมตรง มุมแหลม มุมป้าน 2 -    -

8.4 การวัดขนาดของมุม และการจำ�แนกชนิดของมุม 3 -    -

8.5 การสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ 1    - -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1     

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

คำ�ใหม่
ระนาบ จุด จุดปลาย จุดตัด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม แขนของมุม จุดยอดมุม ขนาดของมุม มุมศูนย์
มุมแหลม มุมฉาก มุมสองมุมฉาก มุมตรง มุมป้าน มุมกลับ โพรแทรกเตอร์ ไม้ฉาก องศา

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
-

สื่อการเรียนรู้
1. โพรแทรกเตอร์ชนิดครึ่งวงกลม และโพรแทรกเตอร์ชนิดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

2. กระดาษสำ�หรับพับให้เกิดมุม

3. ไม้ฉาก

4. แบบจำ�ลองของมุม

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนหน้า 100–133

2. แบบฝึกหัดหน้า 40–57

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
11 ชั่วโมง

72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

1. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับมุมโดยใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในชีวิตจริงที่มีลักษณะอ้าหรือกางได้ เช่น กรรไกร


หนังสือ พัด วงเวียน ฯลฯ พร้อมตั้งประเด็นคำ�ถาม
••นักเรียนคิดว่า กรรไกรกับพัด ที่ครูถืออยู่นี้ สิ่งใดอ้าหรือกางมากกว่ากัน รู้ได้อย่างไร
••ถ้าครูให้นักเรียนออกมาทำ�กรรไกรในมือครูให้อ้ามากขึ้น จะทำ�อย่างไร
••ถ้าครูให้นักเรียนออกมาทำ�ให้พัดกางน้อยลง จะทำ�อย่างไร
ประเด็นคำ�ถามดังกล่าวข้างต้น ต้องการให้นักเรียนเกิดความรู้สึก (Sense) เกี่ยวกับมุม จากนั้นใช้ภาพจากหน้าเปิดบท
นำ�สนทนาและตอบคำ�ถาม ซึ่งคำ�ถาม 1 ต้องการให้นักเรียนมองจากภาพไม่ต้องทำ�การวัดจริง ส่วนคำ�ถาม 2
ให้นักเรียนตอบอย่างอิสระ โดยครูไม่ควรบอกว่าอะไรถูก อะไรผิด แต่กล่าวทิ้งท้ายว่า เราสามารถใช้วิธีการตรวจสอบว่าสิ่งใด
อ้าหรือกางมากเท่าใด โดยใช้เครื่องมือมาตรฐานที่เรียกว่า โพรแทรกเตอร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 73
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

2. กิจกรรมเตรียมความพร้อม หน้า 102 เป็นการทบทวน


การลากเส้นในแนวตรงเชือ ่ มจุดหนึง่ กับอีกจุดหนึง่ ให้เกิดภาพ
ส่วนกิจกรรม คณิตคิดท้าทาย เป็นการเชือ ่ มโยงการลากเส้น
ต่อจุดกับกลุม ่ ดาว ครูอาจให้ความรูเ้ กีย่ วกับ กลุม
่ ดาว
โดยเปิดคลิปวิดโี อจาก www.youtube.com แล้วให้นก ั เรียน
ปฏิบตั ก
ิ จิ กรรม สร้างกลุม
่ ดาวตามจินตนาการพร้อมทัง้ ตัง้ ชือ ่
และอธิบายกลุม ่ ดาวของตนเอง กิจกรรมนีจ้ ะช่วยพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์และฝึกทักษะการสือ ่ สาร จากนัน ้ ให้ท�ำ
แบบฝึกหัด 8.1 เป็นรายบุคคล

ตัวอยาง

ผีเสื้อ

กลุ่มดาว

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

8.1 จุด เส้นตรง รังสี และส่วนของเส้นตรง

(เนื้อหานี้เป็นพื้นฐานในการเรียนเรื่องมุม)

สื่อการเรียนรู้
-

แนวการจัดการเรียนรู้
1. ครูน�ำ อภิปรายเกีย่ วกับประสบการณ์ทน ่ี ก
ั เรียนเคยพบ
“จุด” และ “เส้นในแนวตรง” ในชีวต ิ จริง โดยอาจให้นก ั เรียน
ยกตัวอย่าง และอธิบายถึงการนำ�ไปใช้ประโยชน์จากจุดและ
เส้นในแนวตรง จากนัน ้ ให้นก
ั เรียนพิจารณาภาพหน้า 103
เพือ
่ ให้เห็นถึงการใช้จดุ และเส้นในแนวตรงในชีวต ิ จริง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 75
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

2. ครูอธิบายลักษณะของ ระนาบ จุด และวิธีการเขียนจุด


หน้า 104 จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม
3. ครูอธิบายลักษณะของเส้นตรง พร้อมทั้งสาธิตวิธีเขียน
เส้นตรง หน้า 105 แล้วให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม
ในหน้า 105-106 จากนั้นทำ�แบบฝึกหัด 8.2 เป็นรายบุคคล
ความรู้เสริม
1. ระนาบ จุด และเส้นตรง เป็น คำ�อนิยาม ครูไม่จำ�เป็นต้องให้
นิยามของคำ�เหล่านั้นกับนักเรียน แต่ควรอธิบายถึงลักษณะ
และการนำ�ไปใช้ เช่น
••ระนาบ มีลักษณะแบนราบ เรียบ และมีอาณาบริเวณ
ไม่จำ�กัด ใช้รองรับรูปเรขาคณิตที่เขียนบนระนาบ เช่น
จุด เส้นตรง รูปสามเหลี่ยม วงกลม ฯลฯ
••จุด เป็นรูปเรขาคณิตที่ไม่มีมิติ ใช้บอกตำ�แหน่ง
••เส้นตรง เป็นรูปเรขาคณิต 1 มิติ มีลักษณะเป็นเส้น
ในแนวตรงที่มีความยาวไม่จำ�กัด K T

2. “เมื่อกำ�หนดจุด 2 จุดบนระนาบ จะมีเส้นตรงที่ลากผ่านจุด


H
2 จุดนี้ได้เพียงเส้นเดียวเท่านั้น” ข้อความนี้เป็น สัจพจน์ทาง
เรขาคณิต ซึ่งสัจพจน์ (Postulate) เป็นข้อความที่ยอมรับ S
G
ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์

ตัวอยาง


ตัวอยาง

หลาย
ตัวอยาง
F

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

4. การสอนความหมายของรังสีและส่วนของเส้นตรง
ในหน้า 107-108 ครูควรทบทวนลักษณะของเส้นตรง
เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการอธิบาย และสาธิตวิธีการเขียนรังสี
และส่วนของเส้นตรง พร้อมสัญลักษณ์ ครูควรเน้นย้ำ�ว่า
เส้นตรงและรังสีมีความยาวไม่จำ�กัด จึงไม่สามารถวัด
ความยาวได้ แต่ส่วนของเส้นตรงมีความยาวจำ�กัด
สามารถวัดความยาวของส่วนของเส้นตรงได้ จากนั้น
ให้ร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 109 แล้วทำ�แบบฝึกหัด 8.3
เป็นรายบุคคล

EF KL

CD NM

AB GH GJ

4 เซนติเมตร

ตัวอยาง ตัวอยาง Q

G H P

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 77
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ และสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 110-111 เป็นรายบุคคล

ความรู้เสริม
1. รังสีและส่วนของเส้นตรง เป็นคำ�นิยามที่ใช้เส้นตรง หลาย

เป็นคำ�พื้นฐานในการอธิบายหรือให้ความหมาย ดังนี้
••รังสี เป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรงที่มีจุดปลาย 1 จุด 1

••ส่วนของเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรงที่มีจุดปลาย
2 จุด
2. รังสีและส่วนของเส้นตรงเป็นรูปเรขาคณิต 1 มิติ
3. YX กับ XY แตกต่างกัน เนื่องจาก YX มีจุด Y เป็น
จุดปลาย แต่ XY มีจุด X เป็นจุดปลาย 6

กข คง กง ขค กค ขง
4. YX กับ XY ไม่แตกต่างกัน เนื่องจากทั้ง YX และ XY
เป็นส่วนของเส้นตรงเดียวกันที่มีจุด X และจุด Y
เป็นจุดปลาย FG และ GF

สวนของเสนตรง LM

ตัวอยาง

A
AB

E F
EF
C D
CD

สวนของเสนตรง GO ยาว 8 เซนติเมตร


หรือ ความยาวของสวนของเสนตรง GO เทากับ 8 เซนติเมตร

78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

8.2 มุม ส่วนประกอบของมุม และการเรียกชื่อมุม

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถบอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม
และสัญลักษณ์แทนมุม

สื่อการเรียนรู้
กระดาษสำ�หรับพับให้เกิดมุม

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนให้นก ั เรียนเข้าใจเกีย่ วกับมุม ครูควรให้นก
ั เรียน
ปฏิบต
ั ก
ิ จิ กรรมหน้า 112 พร้อมทัง้ ใช้การถาม-ตอบประกอบ
การอธิบายเพือ ่ นำ�ไปสูล่ ก
ั ษณะของมุม ส่วนประกอบของมุม
และการเรียกชือ่ มุม โดยใช้ขอ
้ มูลหน้า 112-113
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 114 และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 8.4
เป็นรายบุคคล

TPN หรือ NPT


จุด P
PT และ PN

ABC หรือ CBA


จุด B
BA และ BC

ZYN หรือ NYZ


จุด Y
YZ และ YN

ตัวอยาง
C

B A

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 79
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

2. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจ และสรุปความรูท ้ ไ่ี ด้
ให้นก
ั เรียนทำ�กิจกรรมหน้า 115 เป็นรายบุคคล

ความรู้เสริม
1. มุมเป็นคำ�นิยาม ตัวอยาง

••มุม เป็นรังสี 2 เส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน M N


จุด K
••รังสี 2 เส้นนี้ เรียกว่า แขนของมุม และจุดปลายที่เป็น K KM และ KN

จุดเดียวกันนี้ เรียกว่า จุดยอดมุม


2. ในการปฏิบัติโดยพับกระดาษแล้วลากเส้นตามขอบ AXD DXC CXB

กระดาษที่พับทำ�ให้เกิดมุมในหน้า 112 เราอาจไม่เขียน . AXC DXB AXB

บนรังสีและอาจไม่เขียนหัวลูกศรที่แขนของมุม แต่อย่างไร
ก็ตามแขนของมุมยังคงเป็นรังสีเสมอ นั่นหมายความว่า
เราสามารถลากเส้นในแนวตรงต่อแขนของมุมออกไปได้
ตามต้องการ
รังสีเปนแขนของมุม

3. การใช้สัญลักษณ์บอกชื่อมุม เช่น มุม ABC


เขียนแทนด้วย ABC หรือ ABC ไม่เขียน มุม ABC หรือ ตัวอยาง
มุม ABC
E

S
SET
T
จุด E

80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

8.3 มุมฉาก มุมตรง มุมแหลม มุมป้าน

(เนื้อหานี้เป็นพื้นฐานในการจำ�แนกชนิดของมุม
ตามขนาดที่วัดด้วยเครื่องมือที่มาตรฐาน)

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษที่พับเป็นมุม
2. ไม้ฉาก

แนวการจัดการเรียนรู้
หัวข้อนีเ้ ป็นการสอนให้นก
ั เรียนรูจ้ ก
ั มุมฉาก มุมตรง
มุมแหลม มุมป้าน โดยใช้มม ุ ฉากเป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ
ขนาดของมุม ซึง่ ครูอาจจัดกิจกรรม ดังนี้
1. ให้นก
ั เรียนคาดคะเนก่อนว่า มุม ABC มุม DEF และ
มุม GHK ในหน้า 116 มุมใดมีขนาดใหญ่ทส่ี ด
ุ มุมใดมี
ขนาดเล็กทีส่ ด

2. ให้นก ั เรียนพับกระดาษตามขัน ้ ตอนหน้า 116 พร้อม
แนะนำ�ว่า มุมทีม ่ ข
ี นาดเท่ากับมุมทีพ ั ได้น้ี เป็น มุมฉาก
่ บ
ซึง่ มีขนาด 1 มุมฉาก จากนัน ้ ให้นก
ั เรียนใช้กระดาษทีพ ่ บ
ั เป็น
มุมฉากนี้ ตรวจสอบขนาดของมุมทัง้ สามข้างต้น แล้วตอบ
คำ�ถามท้ายหน้า 116

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 81
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

3. ครูแนะนำ�ไม้ฉากซึ่งเป็นเครื่องมือมาตรฐานโดยใช้ของจริง
และให้นักเรียนเปรียบเทียบขนาดของมุมที่ไม้ฉากทั้งสามมุม
กับกระดาษที่พับเป็นมุมฉาก จากนั้นให้นักเรียนสำ�รวจว่า
สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวนักเรียน มีสิ่งใดบ้างที่มีลักษณะเป็น
มุมฉาก โดยให้นักเรียนลองใช้กระดาษที่พับเป็นมุมฉาก
หรือไม้ฉากเป็นเครื่องมือในการสำ�รวจ แล้วทำ�กิจกรรมใน
หน้า 117

4. ครูแนะนำ�มุมสองมุมฉาก หรือมุมตรง โดยใช้มุมฉากเป็น


พื้นฐานในการอธิบาย แล้วให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม
หน้า 118 จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 8.5 เป็นรายบุคคล

เปนมุมฉาก ไมเปนมุมฉาก

ไมเปนมุมฉาก ไมเปนมุมฉาก

เปนมุมฉาก เปนมุมฉาก

82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. ครูให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติกิจกรรม หน้า 119


ครูแนะนำ�มุมแหลมและมุมป้าน แล้วให้นักเรียนระบุมุมใน
ข้อ 1 - 8 ว่าเป็นมุมชนิดใด จากนั้นให้นักเรียนร่วมกัน
ปฏิบัติกิจกรรมในหน้า 120 และให้ทำ�แบบฝึกหัด 8.6
เป็นรายบุคคล

6. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 121 เป็นรายบุคคล มุมที่เล็กกวามุมฉาก มุมฉาก

ความรู้เสริม
ในการกำ�หนดชนิดของมุม นักคณิตศาสตร์เริ่มจาก มุมที่ใหญกวามุมฉาก มุมตรง

สร้างมุมฉากและกำ�หนดขนาดมาตรฐานของมุม 1 มุมฉาก
จากนั้นขยายขนาดมาตรฐานเป็น 2 มุมฉาก 3 มุมฉาก และ
4 มุมฉาก แล้วแบ่งชนิดของมุมตามข้อตกลง ดังนี้
มุมที่ใหญกวามุมฉาก มุมที่เล็กกวามุมฉาก

••มุมที่มีขนาด 1 มุมฉาก เรียกว่า มุมฉาก


••มุมที่มีขนาดเล็กกว่ามุมฉาก เรียกว่า มุมแหลม
••มุมที่มีขนาด 2 มุมฉาก เรียกว่า มุมตรง มุมที่ใหญกวามุมฉาก มุมที่เล็กกวามุมฉาก
••มุมที่มีขนาดใหญ่กว่ามุมฉาก แต่เล็กกว่ามุมตรง เรียกว่า
มุมป้าน

มุมฉาก ไดแก AMC EMC DMF BMD


มุมตรง ไดแก AME BMF
มุมแหลม ไดแก AMB BMC CMD DME EMF
มุมปาน ไดแก AMD BME CMF AMF

WPI GHO
VUQ XYZ
เปนมุมที่มีขนาด 2 มุมฉาก ตัวอยาง สิ่งที่มีมุมฉากเปนสวนประกอบ เชน ไมบรรทัด
JKL MNP DEF สิ่งที่มีมุมแหลมเปนสวนประกอบ เชน ไมฉาก
เปนมุมที่ขนาดเล็กกวามุมฉาก สิ่งที่มีมุมปานเปนสวนประกอบ เชน เข็มสั้นและเข็มยาวของนาฬกาขณะเวลา 8 นาฬกา
ABC RST
เปนมุมที่ขนาดใหญกวามุมฉาก

มุมแหลม ไดแก BAE CAE ABE ACE


BDE CDE EBD ECD BDC
มุมปาน ไดแก ABD ACD
มุมแหลม มุมฉาก มุมปาน มุมตรง
มุมฉาก ไดแก BAC BEA CEA BED CED
มุมตรง ไดแก AED BEC

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 83
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

8.4 การวัดขนาดของมุม และการจำ�แนกชนิดของมุม

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ
1. วัดมุมที่มีขนาดต่าง ๆ โดยใช้โพรแทรกเตอร์
2. จำ�แนกชนิดของมุม

สื่อการเรียนรู้
1. แบบจำ�ลองของมุม
2. โพรแทรกเตอร์ชนิดครึ่งวงกลม
3. โพรแทรกเตอร์ชนิดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนเกีย่ วกับขนาดของมุม ในหน้า 122 ครูใช้การสาธิต
ประกอบการอธิบายเกีย่ วกับขนาดของมุมต่าง ๆ โดยใช้
แบบจำ�ลองของมุม ซึง่ อาจทำ�จากกระดาษแข็งรูปลูกศร 2 ชิน

ติดหมุดไว้ทป
่ี ลาย ดังภาพ เพือ
่ แสดงการหมุนแขนของมุม

ครูแนะนำ�หน่วยทีใ่ ช้ในการวัดขนาดของมุม คือ องศา จากนัน



ใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายเพือ ่ ระบุขนาดของ
มุมฉาก
2. ครูแนะนำ�เครือ ่ งมือมาตรฐานทีใ่ ช้ในการวัดขนาดของมุม
คือ โพรแทรกเตอร์ ทัง้ ชนิดครึง่ วงกลม และชนิดรูปสีเ่ หลีย่ ม
ผืนผ้า ครูสาธิตการวัดขนาดของมุม 1 มุม จากนัน ้ ให้นก ั เรียน
ปฏิบตั ต ิ ามครูทลี ะขัน
้ ตอน แล้วจึงให้นกั เรียนปฏิบตั เิ องโดยครู
เป็นผูใ้ ห้ค�ำ แนะนำ� ต่อมาให้นกั เรียนพิจารณาการวัดขนาด
ของมุมหน้า 123 พร้อมตอบคำ�ถาม

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. ครูนำ�สนทนาเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหาสำ�หรับการวัด
ขนาดของมุมในกรณีที่แขนของมุมสั้นไม่ถึงรอยขีดบอกองศา
ในโพรแทรกเตอร์ ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงเหตุผล
จากนั้นครูใช้การสาธิตประกอบการอธิบายเพื่อแสดงการวัด
ขนาดของมุมดังกล่าว แล้วให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม
หน้า 124 และให้ทำ�แบบฝึกหัด 8.7 เป็นรายบุคคล

4. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายการจำ�แนก
ชนิดของมุมต่าง ๆ ตามขนาด ในหน้า 125 โดยเชื่อมโยงกับ
ความรู้ในหัวข้อ 8.3 หน้า 116-120 แล้วให้ตอบคำ�ถาม
ท้ายหน้า 125 พร้อมระบุเหตุผลและร่วมกันทำ�กิจกรรม
หน้า 126 จากนั้นครูอธิบายข้อตกลงในการเขียนสัญลักษณ์
m(GDX) = 35 ํ m(GHK) = 120 ํ
แสดงมุมฉากและส่วนโค้งของวงกลมที่ต้องการ หน้า 126 GDX เปนมุมแหลม GHK เปนมุมปาน
เพราะมีขนาดนอยกวา 90 ํ เพราะมีขนาดมากกวา 90 ํ
แตนอยกวา 180 ํ

m(POQ) = 70 ํ m(BPM) = 90 ํ
POQ เปนมุมแหลม BPM เปนมุมฉาก
เพราะมีขนาดนอยกวา 90 ํ เพราะมีขนาดเทากับ 90 ํ

m(LMN) = 153 ํ m(VUW) = 180 ํ


LMN เปนมุมปาน VUW เปนมุมตรง
เพราะมีขนาดมากกวา 90 ํ เพราะมีขนาดเทากับ 180 ํ
แตนอยกวา 180 ํ

มุมปาน เพราะมีขนาดมากกวา 90 ํ แตนอยกวา 180 ํ

มุมแหลม เพราะมีขนาดมากกวา 0 ํ แตนอยกวา 90 ํ

มุมตรง เพราะมีขนาดเทากับ 180 ํ

มุมกลับ เพราะมีขนาดมากกวา 180 ํ แตนอยกวา 360 ํ

มุมฉาก เพราะมีขนาดเทากับ 90 ํ

มุมกลับ เพราะมีขนาดมากกวา 180 ํ แตนอยกวา 360 ํ

มุมศูนย เพราะมีขนาดเทากับ 0 ํ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 85
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

5. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายเกี่ยวกับการหา
ขนาดของมุมกลับ หน้า 127 แล้วร่วมกันอภิปรายว่า
สามารถหาวิธีวัดขนาดของมุมกลับด้วยวิธีอื่นได้หรือไม่
อย่างไร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 127
แล้วทำ�แบบฝึกหัด 8.8 เป็นรายบุคคล

6. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 128 เป็นรายบุคคล

ความรู้เสริม
1. มุมที่มีขนาดเท่ากัน แขนของมุมอาจยาวไม่เท่ากัน

D
A
215
315

B C E F 270
300

2. มุมที่มีขนาดเดียว ได้แก่ มุมศูนย์ มีขนาด 0 ํ มุมฉาก


มีขนาด 90 ํ และมุมตรง มีขนาด 180 ํ มุมที่มีหลายขนาด
ได้แก่ มุมแหลม ซึ่งมีขนาดมากกว่า 0 ํ แต่น้อยกว่า 90 ํ
มุมป้าน ซึ่งมีขนาดมากกว่า 90 ํ แต่น้อยกว่า 180 ํ และ
มุมกลับ ซึ่งมีขนาดมากกว่า 180 ํ แต่น้อยกว่า 360 ํ
3. การหาขนาดของมุมกลับอาจใช้วิธีที่ต่างจากหน้า 127
m(ABC) = 102 ํ
ABC เปนมุมปาน

เช่น เพราะมีขนาดมากกวา 90 ํ แตนอยกวา 180 ํ

m(DMF) = 300 ํ
DMF เปนมุมกลับ

T T เพราะมีขนาดมากกวา 180 ํ แตนอยกวา 360 ํ

m(FPG) = 90 ํ FPG เปนมุมฉาก


เพราะมีขนาดเทากับ 90 ํ
m(PFG) = 52 ํ และ m(PGF) = 38 ํ

N 2 N PFG และ PGF เปนมุมแหลม


เพราะมีขนาดมากกวา 0 ํ แตนอยกวา 90 ํ
R K 1 R

จากรูป TNR เป็นมุมกลับ ลากรังสี NK เพื่อแบ่ง TNR เป็น 90 ํ มุมทุกมุมที่มี มุมทุกมุมที่มี 180 ํ มุมทุกมุมที่มี

1 และ 2 โดยให้ 1 เป็นมุมตรง มีขนาด 180 ํ


ขนาดมากกวา 0 ํ ขนาดมากกวา 90 ํ ขนาดมากกวา 180 ํ
แตนอยกวา 90 ํ แตนอยกวา 180 ํ แตนอยกวา 360 ํ

แล้ววัดขนาด 2 โดยใช้โพรแทรกเตอร์ ได้ 60 ํ


ดังนั้น m(TNR) = 180 + 60 = 240 ํ

86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

8.5 การสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
โดยใช้โพรแทรกเตอร์

สื่อการเรียนรู้
โพรแทรกเตอร์

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนการสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ในหน้า
129-130 ครูควรใช้การสาธิตประกอบการอธิบายแล้วให้
นักเรียนทำ�ตามทีละขัน
้ ครูอาจให้นก
ั เรียนสร้างมุมชนิดต่าง ๆ
เพิม
่ เติมอีก 2-3 มุม โดยครูก�ำ หนดขนาดของมุมให้ และ
ในกรณีทเ่ี ป็นมุมกลับ ควรให้นก ั เรียนร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับ
วิธสี ร้างมุมกลับ ทั้งนี้เพื่อฝึกทักษะการสร้างมุม จากนั้นให้
นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 131 แล้วทำ�แบบฝึกหัด 8.9
เป็นรายบุคคล

B 20 ํ
C D E
แหลม ฉาก

G L

135 ํ 78 ํ

K H M
ปาน แหลม

R
S
0ํ
18
O
T
U 340 ํ
P ตรง กลับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 87
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

2. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 132 เป็นรายบุคคล

120 ํ
P V
240 ํ 120 ํ
กลับ ปาน

1. ลาก BT
2. วางโพรแทรกเตอรใหจุดกึ่งกลางของโพรแทรกเตอรทับจุด B
โดยใหแนวศูนยองศาทับ BT นับจํานวนองศาจาก 0 ํ ไปถึง 125 ํ
แลวเขียนจุด A กํากับไว
3. ลาก BA จะได ABT มีขนาด 125 ํ

1. การวางโพรแทรกเตอรใหจุดกึ่งกลางของโพรแทรกเตอรทับจุดยอดมุม
และใหแนวศูนยองศาของโพรแทรกเตอรทับแขนขางหนึ่งของมุม
2. การคํานึงถึงชนิดของมุมที่ตองการสรางและขนาดของมุมที่ตองการสราง
โดยเฉพาะมุมกลับ ซึ่งโพรแทรกเตอรโดยทั่วไปไมมีตัวเลขที่แสดงขนาด
ของมุมกลับ

88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนใช้
ความรู้และทักษะเกี่ยวกับการวัดขนาดของมุม การสร้างมุม
และเรื่องอื่น ๆ ที่เรียนแล้วมาแก้ปัญหาผ่านกิจกรรม
โดยควรให้นักเรียนทำ�เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน แล้ว
นำ�เสนอผลงาน และควรให้นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง โดยใช้ไม้บรรทัดและโพรแทรกเตอร์
พร้อมทั้งระบุข้อผิดพลาดที่พบ จากนั้นให้เจ้าของผลงาน
แก้ไขให้ถูกต้อง

G E

D
C

A B

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 89
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 8 มุม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถบอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และสัญลักษณ์แทนมุม

บอกชื่อมุมโดยใช้สัญลักษณ์แทนมุม ชื่อจุดยอด และแขนของมุม

1. ชื่อมุม

จุดยอดมุม

แขนของมุม

2. ชื่อมุม

จุดยอดมุม

แขนของมุม

3. ชื่อมุม

จุดยอดมุม

แขนของมุม

90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถวัดมุมที่มีขนาดต่าง ๆ โดยใช้โพรแทรกเตอร์

หาขนาดของมุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมทุกมุม

1. มุม TMD มีขนาด ........................................

2. มุม MDP มีขนาด ........................................

3. มุม DPT มีขนาด ........................................

4. มุม PTM มีขนาด ........................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 91
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถจำ�แนกชนิดของมุม

1. จำ�แนกชนิดของมุมต่อไปนี้

1) มุม MAH เป็นมุม …………………………………………………………….

2) มุม DAH เป็นมุม ……………………………………………………………….

3) มุม FAH เป็นมุม ……………………………………………………………….

4) มุม DAM เป็นมุม ………………………………………………………........

5) มุม FAM เป็นมุม ………………………………………………………........

92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. บอกชนิดของมุมพร้อมแสดงเหตุผล

ขนาดของมุม ชนิดของมุม เหตุผล

1) m(AXB) = 296 ํ

2) m(DPE) = 90 ํ

3) m(SYP) = 0 ํ

4) m(WZK) = 135 ํ

5) m(TVN) = 180 ํ

6) m(KLH) = 74 ํ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 93
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนสามารถสร้างมุมขนาดต่าง ๆ โดยใช้โพรแทรกเตอร์

1. สร้างมุมตามที่กำ�หนด

1) กทม มีขนาด 123 ํ

2) สวย มีขนาด 55 ํ

3) ABC มีขนาด 90 ํ

4) DEF มีขนาด 260 ํ

94 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. สร้างมุมและบอกชื่อมุมตามข้อกำ�หนด

ข้อกำ�หนด รูป ชื่อมุม

1) มุมแหลม มี DE และ
DR เป็นแขนของมุม

2) มุมป้าน มี AK และ
AX เป็นแขนของมุม

3) มุมฉาก มี กข และ กค
เป็นแขนของมุม

4) มุมกลับ มี NW และ
NZ เป็นแขนของมุม

5) มุมตรง มี AC และ
AB เป็นแขนของมุม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 95
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 8 มุม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. ชื่อมุม PKS หรือ SKP


จุดยอดมุม จุด K
แขนของมุม KP และ KS

2. ชื่อมุม DRE หรือ ERD


จุดยอดมุม จุด R
แขนของมุม RD และ RE

3. ชื่อมุม ACW หรือ WCA


จุดยอดมุม จุด C
แขนของมุม CA และ CW

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1. 93 องศา

2. 90 องศา
ขนาดของมุมคลาดเคลื่อนจากนี้ได้ไม่เกิน 1 องศา
3. 125 องศา

4. 52 องศา

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3

1. 1) มุมแหลม

2) มุมฉาก

3) มุมกลับ

4) มุมป้าน

5) มุมตรง

2. 1) มุมกลับ เพราะมีขนาดมากกว่า 180 ํ แต่น้อยกว่า 360 ํ

2) มุมฉาก เพราะมีขนาดเท่ากับ 90 ํ

3) มุมศูนย์ เพราะมีขนาดเท่ากับ 0 ํ

4) มุมป้าน เพราะมีขนาดมากกว่า 90 ํ แต่น้อยกว่า 180 ํ

5) มุมตรง เพราะมีขนาดเท่ากับ 180 ํ

6) มุมแหลม เพราะมีขนาดมากกว่า 0 ํ แต่น้อยกว่า 90 ํ

96 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4

1. 1)

ตัวอย่าง
ท ม
123 ํ

2)

ตัวอย่าง ส

55 ํ
ว ย

3)

ตัวอย่าง A

90 ํ
B C

4)

ตัวอย่าง

260 ํ
E F

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 97
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม

2. 1)

ตัวอย่าง E

D R
EDR หรือ RDE

2)

ตัวอย่าง
A K

XAK หรือ KAX

3)

ตัวอย่าง

ขกค หรือ คกข

98 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 8 | มุม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

4)

ตัวอย่าง W

WNZ หรือ ZNW


5)

ตัวอย่าง

C
CAB หรือ BAC

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 99
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

บทที่ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
9
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. บอกชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ••รูปสีเ่ หลีย่ มทีม่ มี มุ ทัง้ สีม่ มุ เป็นมุมฉาก เรียกว่า รูปสีเ่ หลีย่ ม-
มุมฉาก
••รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านยาวเท่ากันทุกด้าน เรียกว่า
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
••รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้ามยาวเท่ากัน 2 คู่
โดยด้านที่อยู่ติดกัน ยาวไม่เท่ากัน เรียกว่า รูปสี่เหลี่ยม-
ผืนผ้า ด้านที่สั้นกว่าเรียกว่า ด้านกว้าง ด้านที่ยาวกว่า
เรียกว่า ด้านยาว
••ในรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดยอดมุม
จุดหนึ่งไปยังจุดยอดมุมอีกจุดหนึ่ง ซึ่งส่วนของเส้นตรงนั้น
ไม่ใช่ด้านของรูปสี่เหลี่ยม เรียกว่า เส้นทแยงมุมของรูป-
สี่เหลี่ยม
••เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมี 2 เส้น ซึ่งยาวเท่ากัน
แบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน และตัดกันเป็นมุมฉาก
••เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามี 2 เส้น ซึ่งยาวเท่ากัน
แบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน และตัดกันไม่เป็นมุมฉาก

2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยใช้ไม้ฉาก และ การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เป็นการสร้างตามลักษณะของ


โพรแทรกเตอร์ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละชนิด ซึ่งต้องอาศัยทักษะการวัด
ความยาว การใช้ไม้ฉากหรือโพรแทรกเตอร์

3. หาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม เป็นผลบวกของความยาว


ของด้านทุกด้านของรูปสี่เหลี่ยม

100 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
4. หาพื้นที่ของรูปโดยการนับตาราง ••พื้นที่ เป็นบริเวณภายในที่ถูกปิดล้อมด้วยขอบของรูป
หรือบริเวณภายในของรูปปิด
••การหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตสองมิติ อาจหาได้จากการ
นับจำ�นวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่เรียงติดกันและไม่ซ้อนทับ
กัน จนเต็มพื้นที่ของรูปเรขาคณิตสองมิตินั้น
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 1 หน่วย มีพื้นที่
1 ตารางหน่วย
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 1 เซนติเมตร
มีพื้นที่ 1 ตารางเซนติเมตร ใช้อักษรย่อ ตร.ซม.
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 1 เมตร
มีพื้นที่ 1 ตารางเมตร ใช้อักษรย่อ ตร.ม.
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 1 กิโลเมตร
มีพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ใช้อักษรย่อ ตร.กม.
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 1 วา
มีพื้นที่ 1 ตารางวา ใช้อักษรย่อ ตร.ว.
••การหาพื้นที่โดยประมาณ ให้นับพื้นที่ส่วนที่เต็มตาราง-
หน่วย รวมกับพื้นที่ส่วนที่ไม่เต็มตารางหน่วย โดยพื้นที่
ส่วนที่ไม่เต็มตารางหน่วยให้นำ�มารวมกัน ให้ได้ 1 ตาราง-
หน่วยหรือใกล้เคียง 1 ตารางหน่วยก่อน สำ�หรับพื้นที่
ส่วนที่เหลือ ถ้าเหลือตั้งแต่ครึ่งตารางหน่วยขึ้นไปให้นับเป็น
1 ตารางหน่วย ถ้าเหลือไม่ถึงครึ่งตารางหน่วยให้ตัดทิ้ง
ไม่ต้องนำ�มารวม

5. หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากอาจหาได้จาก
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ความกว้าง × ความยาว
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวด้าน × ความยาวด้าน

6. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก อาจใช้กระบวนการแก้ปัญหา
ตามขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการตามแผน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบหรือมองย้อนกลับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 101
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

9.1 ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 4 -  - - -
•• ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
•• เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม

9.2 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2 -  -  -
9.3 ความยาวรอบรูป 2   - - -
••ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
••ความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยม
ที่สามารถแบ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
9.4 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5   - - -
•• พื้นที่
•• หน่วยของพื้นที่
•• การหาพื้นที่โดยใช้การนับตาราง
•• พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและพื้นที่ของ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
•• พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมที่สามารถแบ่งเป็น
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

9.5 โจทย์ปัญหา 4     -
•• โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
•• โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ร่วมคิดร่วมทำ� 1     

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

102 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

คำ�ใหม่
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ความยาวรอบรูป เส้นทแยงมุม พื้นที่ ตารางหน่วย
ตารางเซนติเมตร (ตร.ซม.) ตารางเมตร (ตร.ม.) ตารางกิโลเมตร (ตร.กม.) ตารางวา (ตร.ว.)

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
รูปสี่เหลี่ยม มุม การวัดความยาว การบวก ลบ คูณ หารจำ�นวนนับ

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษที่พับเป็นมุมฉาก ไม้ฉาก โพรแทรกเตอร์
2. ภาพที่มีขอบของภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เชือก
3. ไม้ไอศกรีม ก้านไม้ขีด หรือหลอดกาแฟ
4. กระดาษแข็งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
••กว้าง 6 ซม. ยาว 8 ซม. 1 แผ่น
••กว้าง 20 ซม. ยาว 25 ซม. 3 แผ่น
••ยาวด้านละ 7 ซม. 1 แผ่น
5. กระดาษสีอย่างบาง
••รูปสามเหลี่ยม ยาวด้านละ 5 ซม. 50 แผ่น
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาวด้านละ 5 ซม. 25 แผ่น
••วงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 5 ซม. 25 แผ่น
6. สีเทียน กาว

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนหน้า 134-199
2. แบบฝึกหัดหน้า 58-85

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
19 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 103
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

1. ครูใช้ภาพในหน้าเปิดบทนำ�สนทนาเกี่ยวกับลักษณะของสนามกีฬาประเภทต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับ
รูปสี่เหลี่ยม และอาจให้นักเรียนตอบคำ�ถาม เช่น

••เห็นรูปสี่เหลี่ยมที่ใดบ้าง

••ในสนามวอลเลย์บอล มีรูปสี่เหลี่ยมกี่รูป

••สนามใด มีรูปสี่เหลี่ยมมากที่สุด

หรือครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนสำ�รวจห้องเรียนของตนเอง แล้วให้บอกว่าพบรูปสี่เหลี่ยมที่ใดบ้าง

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. เตรียมความพร้อมเป็นการตรวจสอบความรูพ ้ น ้ื ฐาน
ทีจ่ �ำ เป็นสำ�หรับการเรียนบทนี้ โดยมีสว่ นทีเ่ ป็นเนือ้ หาและ
ส่วนทีเ่ ป็นคณิตคิดท้าทาย ซึง่ เป็นการนำ�ความรูไ้ ปใช้ใน
สถานการณ์ปญ ั หา ถ้าพบว่านักเรียนยังมีความรูพ ้ น ้ื ฐาน
ไม่เพียงพอ ควรทบทวนก่อน แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.1
เป็นรายบุคคล

เปนรูปปดที่มี 4 ดาน 4 มุม

ตัวอยาง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 105
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

9.1 ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถบอกชนิด และสมบัติของ
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สื่อการเรียนรู้
กระดาษที่พับเป็นมุมฉาก ไม้ฉาก โพรแทรกเตอร์

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนชนิดของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ครูอาจจัดกิจกรรมดังนี้
1. ครูทบทวนความรูเ้ กีย่ วกับมุมฉาก โดยให้นก ั เรียนสาธิตวิธี 1 3

ตรวจสอบมุมฉากโดยใช้กระดาษทีพ ่ บ
ั เป็นมุมฉาก ไม้ฉาก 5 8

2 4 7
และโพรแทรกเตอร์ แล้วให้ท�ำ กิจกรรมหน้า 137 ครูแนะนำ�ว่า
รูปสีเ่ หลีย ่ มทีม ่ มี ม
ุ ทัง้ สีม
่ ม
ุ เป็นมุมฉาก เรียกว่า รูปสีเ่ หลีย
่ ม-
มุมฉาก จากนัน ้ ให้นกั เรียนช่วยกันตอบคำ�ถามว่า จากกิจกรรม
มีรป
ู ใดบ้างทีเ่ ป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ซึง่ ครูอาจยกตัวอย่าง
รูปสีเ่ หลีย่ มเพิม่ เติม แล้วให้นกั เรียนตรวจสอบว่ารูปทีค่ รูยกตัวอย่าง
เป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากหรือไม่

2. ครูแนะนำ�การกำ�หนดชือ ่ และการเรียกชือ ่ รูปสีเ่ หลีย่ ม


หน้า 138 ครูอาจยกตัวอย่างอืน ่ เพิม
่ เติม เพือ
่ ฝึกการกำ�หนด
ชือ
่ และเรียกชือ
่ รูปสีเ่ หลีย่ ม จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรม และ
ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.2 เป็นรายบุคคล

4 APLB ARCB RPLC และ


IMLK

106 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. การสอนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั และรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า จะต้องให้


นักเรียนสามารถจำ�แนกและบอกลักษณะของรูปสีเ่ หลีย่ ม
มุมฉากแต่ละชนิดได้ ซึง่ ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นก ั เรียน
สำ�รวจความยาวด้านของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากหน้า 139
แล้วร่วมกันอภิปรายผลการสำ�รวจทีไ่ ด้เพือ ่ นำ�ไปสูข่ อ
้ สรุป
หน้า 140 ทีว่ า่ การจำ�แนกรูปสีเ่ หลีย ่ มมุมฉาก โดยพิจารณา
จากความยาวด้าน จำ�แนกได้ 2 ชนิด คือ

1) รูปสีเ่ หลีย
่ มมุมฉากทีม่ ด
ี า้ นยาวเท่ากันทุกด้าน เรียกว่า
รูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ส

2) รูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากทีม ่ ด


ี า้ นตรงข้ามยาวเท่ากัน 2 คู่
โดยด้านทีอ ่ ยูต
่ ด
ิ กันยาวไม่เท่ากัน เรียกว่า
รูปสีเ่ หลีย ่ มผืนผ้า ด้านทีส ่ น
้ั กว่าเรียกว่า ด้านกว้าง
ด้านทีย ่ าวกว่าเรียกว่า ด้านยาว
รูป 1 2 และ 4 ความยาวของดานทุกดานยาวเทากัน

ครูอาจยกตัวอย่างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากอืน


่ เพิม
่ เติม
ให้นก
ั เรียนบอกชนิดของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก พร้อมระบุเหตุผล
จากนัน้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 141 แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.3 รูป 3 5 และ 6 ความยาวของดานตรงขามยาวเทากัน 2 คู
และดานที่อยูติดกันยาวไมเทากัน
เป็นรายบุคคล

มีมุมทุกมุมเปนมุมฉาก และมีดานยาวเทากันทุกดาน

มีมุมบางมุมไมเปนมุมฉาก

มีมุมทุกมุมเปนมุมฉาก ดานตรงขามยาวเทากัน 2 คู


และดานที่อยูติดกันยาวไมเทากัน

มุมทุกมุมไมเปนมุมฉาก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 107
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

4. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ให้ท�ำ กิจกรรม
หน้า 142–143 เป็นรายบุคคล

2 3 และ 5

3 1 2 และ 4

M P

5 หนวย

N O
8 หนวย

ผืนผา

ตัวอยาง
A B

D C
7 หนวย

จัตุรัส

108 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. การสอนสมบัตเิ กีย่ วกับเส้นทแยงมุมของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก


ควรเริม ่ จากการแนะนำ�ให้นก ั เรียนรูจ้ ก
ั เส้นทแยงมุมก่อน
โดยให้นกั เรียนพิจารณาเส้นทแยงมุมของรูปสีเ่ หลีย่ มหน้า 144
ซึง่ ครูควรเขียนรูปประกอบการอธิบาย จากนัน ้ ร่วมกันอภิปราย
เกี่ยวกับลักษณะของเส้นทแยงมุม เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า
เส้นทแยงมุมของรูปสีเ่ หลีย ่ ม เป็นส่วนของเส้นตรง
ทีล ่ ากจากจุดยอดมุมจุดหนึง่ ไปยังจุดยอดมุมอีกจุดหนึง่
โดยส่วนของเส้นตรงนัน ้ ไม่ใช่ดา้ นของรูปสีเ่ หลีย ่ ม
ครูควรให้นก ั เรียนฝึกหาเส้นทแยงมุมของรูปสีเ่ หลีย่ มเพิม ่ เติม
และทบทวนความรูเ้ กีย่ วกับจุดตัด แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม
หน้า 144-146

YK และ EO กพ และ ชร

ตัวอยาง
ตัวอยาง A B E F

O
H G

D C

EG และ FH
AC และ BD

ยาวเทากัน
ยาวเทากัน
ยาวเทากัน
ยาวเทากัน
เปน เพราะ EO และ OG ยาวเทากัน
เปน เพราะ AO และ OC ยาวเทากัน
แบงครึ่ง เพราะ FH ผานจุด O
แบงครึ่ง เพราะ BD ผานจุด O

ยาวเทากัน
ยาวเทากัน
เปน เพราะ HO และ OF ยาวเทากัน
เปน เพราะ BO และ OD ยาวเทากัน
แบงครึ่ง เพราะ EG ผานจุด O
แบงครึ่ง เพราะ AC ผานจุด O

ไมเปนมุมฉาก
มีขนาด 90 ํ และเปนมุมฉาก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 109
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

6. ครูใช้การถาม – ตอบประกอบการอธิบายเกีย่ วกับส่วนของ


เส้นตรง 2 เส้น ทีแ่ บ่งครึง่ ซึง่ กันและกันหน้า 147 แล้วให้
นักเรียนช่วยกันนำ�ผลการปฏิบต ั ก
ิ จิ กรรม 1 หน้า 145 และ
2 หน้า 146 มาบันทึกในตาราง หน้า 147 แล้วร่วมกัน

อภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสูข ่ อ
้ สรุปเกีย่ วกับ เส้นทแยงมุมของ
รูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั และรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า จากนัน้
ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.4 เป็นรายบุคคล

- เสนทแยงมุม 2 เสน มีความยาวเทากัน


- เสนทแยงมุมแบงครึ่งซึ่งกันและกัน
- เสนทแยงมุมตัดกันเปนมุมฉาก

- เสนทแยงมุม 2 เสน มีความยาวเทากัน


- เสนทแยงมุมแบงครึ่งซึ่งกันและกัน
- เสนทแยงมุมตัดกันไมเปนมุมฉาก

7. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 148 เป็นรายบุคคล

ถา AG ยาว 3 ซม. แสดงวา AC ยาว 2 3 = 6 ซม.


เนื่องจาก BD ยาวเทากับ AC ดังนั้น BD ยาว 6 ซม.

EFGH เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา

รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากมี 2 ชนิดคือรูปสี่เหลี่ยมผืนผากับรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
เสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตัดกันเปนมุมฉาก แต เสนทแยงมุม
ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผาตัดกันไมเปนมุมฉาก ดังนั้น ขอความดังกลาว ถูกตอง

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผา

110 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

9.2 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
โดยใช้ไม้ฉาก และโพรแทรกเตอร์

สื่อการเรียนรู้
ไม้ฉาก โพรแทรกเตอร์

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก นักเรียนต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับ
มุมฉาก มุมฉาก
ลักษณะของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากแต่ละชนิด มีทก ั ษะการวัด
ความยาว และการสร้างมุมฉากโดยใช้ไม้ฉากและโพรแทรกเตอร์
มุมฉาก มุมฉาก

ครูอาจจัดกิจกรรม โดยเริม ่ จากการทบทวนความรูเ้ กีย่ วกับ 6 เซนติเมตร 3 เซนติเมตร

ลักษณะของรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าและรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั แล้วให้


เพราะมีมุมทุกมุมเปนมุมฉาก เพราะมีมุมทุกมุมเปนมุมฉาก
นักเรียนทำ�กิจกรรมตรวจสอบรูปสีเ่ หลีย่ ม หน้า 149
แล้วร่วมกันอภิปราย เพือ ่ ให้เห็นถึงความเหมือนกันและ
ความแตกต่างกันระหว่างรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากับรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา เพราะดานตรงขาม เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ยาวเทากัน 2 คู และดานที่อยูติดกันยาวไมเทากัน เพราะดานทุกดานยาวเทากัน
ซึง่ ความรูท ้ ไ่ี ด้จากกิจกรรมนีจ้ ะเป็นพืน
้ ฐานในการสร้าง
รูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก
2. การสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากโดยใช้ไม้ฉากและโพรแทรกเตอร์
หน้า 150-151 ครูควรให้นก ั เรียนเขียนรูปคร่าว ๆ ตาม
ข้อกำ�หนดก่อน จากนัน ้ ครูสาธิตพร้อมอธิบายแสดงเหตุผล
การสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากทีละขัน ้ โดยเชือ่ มโยงกับความรู้
ทีไ่ ด้จากหน้า 149 แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 152
ครูควรให้นก ั เรียนฝึกสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากอืน
่ เพิม
่ เติม
จากนัน ้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.5 เป็นรายบุคคล
หมายเหตุ ไม้ฉากแต่ละอันอาจกำ�หนดขีดบอกตำ�แหน่ง
ของ 0 แตกต่างกัน ดังนัน ้ ในการสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก
ให้ลากเส้นตัง้ ฉากก่อน แล้วจึงวัดความยาวให้ได้ความยาว
ตามต้องการ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 111
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

อ น

5 ซม.

ล ว
8 ซม.

รูปสี่เหลี่ยมผืนผา

4ซ
ม.

3. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 153 เป็นรายบุคคล โดยข้อ 2 นักเรียน
แต่ละคนอาจสร้างรูปแตกต่างกัน ครูควรนำ�รูปทีแ่ ตกต่างกัน
มาอภิปรายเพิม่ เติม
F

ซ ม.
3.5

ตัวอยาง
W X

3 ซม.

Z Y
6 ซม.

1. ความรูเกี่ยวกับลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละชนิด
2. ทักษะการวัดความยาวและการสรางมุมฉากโดยใชโพรแทรกเตอรหรือไมฉาก

112 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

9.3 ความยาวรอบรูป

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถหาความยาวรอบรูปของ
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สื่อการเรียนรู้
1. ภาพที่มีขอบของภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เชือก
2. ไม้ไอศกรีม ก้านไม้ขีด หรือหลอดกาแฟ

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ควรเริม
่ จาก
การแนะนำ�ให้นก
ั เรียนรูจ้ ก
ั ความหมายของความยาวรอบรูป
ของรูปสีเ่ หลีย่ มก่อน แล้วจึงเชือ่ มโยงไปสูก่ ารหาความยาวรอบรูป
ของรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าและรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั โดยครูอาจนำ�ภาพ
และเชือกมาให้นก ั เรียนปฏิบต
ั ก ิ จิ กรรมตามสถานการณ์
หน้า 154 แล้วร่วมกันอภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสูข
่ อ
้ สรุปทีว่ า่
ผลบวกของความยาวของด้านทุกด้านของรูปสีเ่ หลีย ่ ม
เป็นความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย ่ มนัน

2. ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายเกีย่ วกับความยาว
รอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เพื่อนำ�ไปสู่สูตรการหา
ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ซึง่ จะได้วา่
ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย
่ มผืนผ้า
= 2 × (ความกว้าง + ความยาว)
จากนัน
้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 155

2 (14 + 16)
60

2 (5 + 7)
24

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 113
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

3. การสอนความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ครูจด
ั กิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับการสอนความยาวรอบรูป
ของรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ซึง่ จะได้วา่
ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย
่ มจัตรุ ส

= 4 × ความยาวด้าน
จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 156 ทัง้ นีค ้ รูควรให้นกั เรียน
ฝึกหาความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าและรูปสีเ่ หลีย่ ม
จัตรุ สั เพิม
่ เติม โดยอาจให้นกั เรียนสำ�รวจสิง่ ต่าง ๆ รอบตัว
ว่าสิง่ ของใดทีม ่ ลี กั ษณะเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก แล้วให้หา
ความยาวรอบรูปของสิง่ นัน ้
4. หน้า 157 เป็นเนือ้ หาทีส่ ร้างความเข้าใจเกีย่ วกับ ขนาดของ
รูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากกับความยาวรอบรูป ซึง่ ครูอาจจัดกิจกรรม 4 11
44
โดยกำ�หนดรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก 2 รูป ทีม
่ ขี นาดต่างกัน แต่มี
ความยาวรอบรูปเท่ากัน เช่น

4 22
1 88

4 ม.
3 ม.

6 ม. 5 ม.

70 ซม.

50 ซม. 30 ซม.

ให้นกั เรียนหาความยาวรอบรูป แล้วร่วมกันอภิปรายเพือ่ นำ�ไป


สูข่ อ้ สรุปว่า รูปสีเ่ หลีย
่ มทีม
่ ขี นาดต่างกัน อาจมีความยาว รูปที่ 1 3

รอบรูปเท่ากัน และรูปสีเ่ หลีย ่ มทีม่ ค


ี วามยาวรอบรูปเท่ากัน รูปที่ 1 กวาง 1 เซนติเมตร
รูปที่ 2
อาจมีขนาดต่างกัน จากนัน ้ ให้นกั เรียนร่วมกันพิจารณาการ ยาว 5 เซนติเมตร
รูปที่ 2 กวาง 2 เซนติเมตร
หาความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากหน้า 157 พร้อม ยาว 4 เซนติเมตร
รูปที่ 3 ยาวดานละ 3 เซนติเมตร
ตอบคำ�ถาม แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.6 รูปที่ 3

เป็นรายบุคคล

114 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ให้ทำ�กิจกรรม
หน้า 158 เป็นรายบุคคล

44 48

100 44

60

4 80

168
672

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 115
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

6. การสอนความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลีย่ มทีส่ ามารถ


แบ่งเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ครูอาจจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกับ
การหาความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ ม โดยใช้การถาม-ตอบ
ประกอบการอธิบายสถานการณ์หน้า 159 เพือ่ นำ�ไปสูข่ อ้ สรุปว่า
ความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลีย ่ มหาได้โดยนำ�ความยาว
ของด้านทุกด้านมารวมกัน จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 160
ซึง่ กิจกรรมข้อ 2 กำ�หนดความยาวด้านของรูปหลายเหลีย่ มให้
บางด้าน ครูควรแนะนำ�ให้นกั เรียนลากเส้นแบ่งรูปหลายเหลีย่ ม
นัน ้ ให้เป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก แล้วใช้ความรูเ้ กีย่ วกับความยาว
ด้านของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากมาใช้ในการหาความยาวของด้านที่
ไม่ได้ก�ำ หนดความยาวให้ ทัง้ นีค ้ รูควรให้นกั เรียนหาความยาว
รอบรูปของรูปหลายเหลีย่ มอืน ่ ๆ ทีส่ ามารถแบ่งเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม
มุมฉาก เพือ่ ฝึกทักษะเพิม ่ เติม

6 8 4 16 68

6 ม. 3 ม.
2 ม.

9 2

6 6 2 3 8 9 34

116 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7. หน้า 161 เป็นวิธกี ารหาความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลีย่ ม


อีกวิธห ี นึง่ ซึง่ อาศัยแนวคิดทีว่ า่ รูปหลายเหลีย่ มบางรูปที่
สามารถแบ่งเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากได้ อาจหาความยาวรอบรูป
ได้โดยใช้การเลือ่ นด้านบางด้านให้มาต่อกันเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม
มุมฉาก ซึง่ จะทำ�ให้เห็นว่า ความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลีย่ ม
จะเท่ากับความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ทัง้ นี้ ครูควร
ใช้สอ่ื เช่น ไม้ไอศกรีม ก้านไม้ขด ี หรือหลอดกาแฟ ประกอบ
การอธิบายการเลือ่ นด้านของรูปหลายเหลีย่ ม จากนัน ้ ให้รว่ มกัน
ทำ�กิจกรรมแล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.7 เป็นรายบุคคล

4 ซม.

2 ซม.
5
9
2 (5 9) 28

8. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 162 เป็นรายบุคคล

44

132

นําความยาวของดานทุกดานมารวมกัน หรือนําความกวางบวกดวยความยาว
แลวคูณดวย 2

นําความยาวของดานทุกดานมารวมกัน หรือนําความยาว 1 ดานคูณดวย 4

ในกรณีที่รูความยาวของดานทุกดาน ใหนําความยาวของดานทุกดานมารวมกัน
สวนในกรณีที่รูความยาวของดานบางดาน อาจใชวิธีเลื่อนดานบางดานมาตอกัน
ใหเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แลวใชความรูเกี่ยวกับการหาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชวยหาคําตอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 117
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

9.4 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถหาพื้นที่ของรูปโดยใช้การนับตาราง

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษแข็งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
••กว้าง 6 ซม. ยาว 8 ซม. 1 แผ่น
••ยาวด้านละ 7 ซม. 1 แผ่น
••กว้าง 20 ซม. ยาว 25 ซม. 3 แผ่น
2. กระดาษสีอย่างบาง
••รูปสามเหลี่ยม ยาวด้านละ 5 ซม. 50 แผ่น
••รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาวด้านละ 5 ซม. 25 แผ่น
••วงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 5 ซม. 25 แผ่น
3. สีเทียน กาว

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนเรือ ่ งพืน้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก นักเรียนควร
มีความเข้าใจเกีย่ วกับความหมายของพืน ้ ที่ หน่วยของพืน ้ ที่
และการหาพืน ้ ทีโ่ ดยใช้การนับตาราง เพือ ่ ใช้เป็นพืน
้ ฐานในการ
หาพืน ้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากรวมทัง้ พืน ้ ทีข
่ องรูปหลายเหลีย่ ม
ทีส่ ามารถแบ่งเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากได้
การสอนความหมายของพืน
้ ที่ ครูอาจจัดกิจกรรม ดังนี้
1. ครูน�ำ สนทนาโดยใช้สถานการณ์ หน้า 163 เพือ่ นำ�ไปสู่
ความหมายของพืน ้ ทีว่ า่ “พืน
้ ทีเ่ ป็นบริเวณภายใน
ทีป
่ ด
ิ ล้อมด้วยขอบของรูปหรือบริเวณภายในของ
รูปปิด” แล้วร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับการแบ่งทีด ่ น

ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. ครูจดั กิจกรรม หน้า 164 โดยใช้กระดาษแข็งรูปสีเ่ หลีย่ ม
มุมฉาก ขนาดกว้าง 6 ซม. ยาว 8 ซม. และ
ยาวด้านละ 7 ซม. อย่างละ 1 แผ่น ให้นก
ั เรียน
ร่วมกันพิจารณาและอภิปรายเพือ
่ เปรียบเทียบพืน้ ที่
ของกระดาษทัง้ สองแผ่น

118 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. การสอนให้นก ั เรียนเกิดความคิดรวบยอดเกีย่ วกับวิธห ี า


พืน
้ ทีข
่ องรูปเรขาคณิตสองมิติ ครูควรให้นก ั เรียนปฏิบต ั ิ
กิจกรรมหน้า 165 แล้วร่วมกันอภิปราย เพือ ่ นำ�ไปสูข่ อ้ สรุปว่า
การหาพืน ้ ทีข ่ องรูปเรขาคณิตสองมิติ อาจหาได้จากการนับ
จำ�นวนรูปสีเ่ หลีย ่ มจัตรุ ส
ั ทีเ่ รียงชิดติดกันและไม่ทบ ั ซ้อนกัน
จนเต็มพืน ้ ทีข ่ องรูปเรขาคณิตสองมิตน ิ น้ั แล้วร่วมกันปฏิบต ั ิ
กิจกรรมหน้า 166-167 สำ�หรับกิจกรรมในข้อ 3) หน้า 167
ครูควรให้นก ั เรียนนำ�เสนอผลงานของตนเองแล้วร่วมกัน
อภิปรายเพือ ่ ให้ได้ขอ ้ สรุปว่า รูปสีเ่ หลีย
่ มมุมฉากทีม ่ พ ี น ้ื ที่
เท่ากันอาจมีรป ู ร่างแตกต่างกัน จากนัน ้ ทำ�แบบฝึกหัด 9.8
เป็นรายบุคคล

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 20
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

18

25

ตัวอยาง

21

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 119
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

การสอนหน่วยของพืน ้ ที่ ครูควรแนะนำ�พืน ้ ทีเ่ ป็น


ตารางหน่วยก่อน แล้วเชือ ่ มโยงไปสูพ ่ น
้ื ทีเ่ ป็นตารางเซนติเมตร
พืน
้ ทีเ่ ป็นตารางเมตร พืน
้ ทีเ่ ป็นตารางวา โดยอาจจัดกิจกรรม
ดังนี้
1. ครูแนะนำ�พืน ้ ที่ 1 ตารางหน่วยก่อน แล้วร่วมกันพิจารณา
หน้า 168 โดยครูอธิบายเชือ ่ มโยงกับความรูท
้ ไ่ี ด้จากหน้า 165
แล้วร่วมกันอภิปรายเพือ่ นำ�ไปสูข่ อ้ สรุปทีว่ า่ รูปทีม ่ ข
ี นาดเท่ากัน
ถ้าใช้หน่วยการวัดพืน ้ ทีท
่ ต
่ี า่ งกัน ผลการวัดทีไ่ ด้จะไม่เท่ากัน
ถ้าใช้หน่วยการวัดพืน ้ ทีห
่ น่วยเดียวกัน ผลการวัดทีไ่ ด้จะเท่ากัน
จากนัน้ ให้นก
ั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 169

16 13

16 13

11 35

11 35

120 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. ครูแนะนำ�หน่วยพืน ้ ทีเ่ ป็นตารางเซนติเมตร โดยอธิบาย


เชือ
่ มโยงกับพืน ้ ทีเ่ ป็นตารางหน่วย พร้อมแนะนำ�นักเรียน
เพิม่ เติมว่า สัญลักษณ์ ซม.2 หรือ cm2 ทีพ ่ บเห็นในชีวต
ิ จริง
หมายถึง ตารางเซนติเมตร จากนัน ้ ให้นก
ั เรียนร่วมกันทำ�
กิจกรรมหน้า 170

10 24 ตารางเซนติเมตร
10 24 ตร.ซม.

36 ตารางเซนติเมตร 41 ตารางเซนติเมตร
36 ตร.ซม. 41 ตร.ซม.

3. ครูแนะนำ�หน่วยพืน ้ ทีเ่ ป็นตารางเมตร โดยอธิบายเชือ ่ มโยง


กับพืน
้ ทีเ่ ป็นตารางหน่วย พร้อมแนะนำ�นักเรียนเพิม ่ เติมว่า
2 2
สัญลักษณ์ ม. หรือ m ที่พบเห็นในชีวิตจริง หมายถึง
ตารางเมตร จากนัน ้ ให้นกั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 171

17 16 ตารางเมตร
17 16 ตร.ม.

28 ตารางเมตร
28 ตร.ม.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 121
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

4. ครูแนะนำ�หน่วยพืน ้ ทีเ่ ป็นตารางวา โดยอธิบายเชือ ่ มโยง


กับพืน
้ ทีเ่ ป็นตารางหน่วย พร้อมแนะนำ�นักเรียนเพิม ่ เติมว่า
2
สัญลักษณ์ ว. ทีพ ่ บเห็นในชีวต ิ จริง หมายถึง ตารางวา
แล้วให้นก ั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 172 จากนัน ้ จึงแนะนำ�
หน่วยการวัดพืน ้ ทีเ่ ป็นตารางกิโลเมตร และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.9
เป็นรายบุคคล

8 9 ตารางวา
8 9 ตร.ว.

22 ตารางวา
22 ตร.ว.

5. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 173 เป็นรายบุคคล
ความรูเ้ พิม
่ เติม
รูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทีม
่ คี วามยาวด้านละ 1 หน่วย จะมีพน ้ื ที่
1 ตารางหน่วย แต่รป ู ทีม
่ พ
ี น
้ื ที่ 1 ตารางหน่วย อาจไม่ใช่
รูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เช่น
••รูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าที่ กว้าง 0.5 หน่วย ยาว 2 หน่วย 18 ตารางหนวย 10 ตารางเซนติเมตร
18 ตารางหนวย 10 ตร.ซม.
••รูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนานทีม่ ฐี านยาว 2 หน่วย
สูง 0.5 หน่วย
••รูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูนทีม่ เี ส้นทแยงมุมยาว
1 หน่วย และ 2 หน่วย 8 ตารางวา
8 ตร.ว.
10 ตารางเมตร
10 ตร.ม.

••รูปสามเหลีย่ มทีม่ ฐี านยาว 2 หน่วย สูง 1 หน่วย 9 ตารางเซนติเมตร


9 ตร.ซม.

แบงพื้นที่ดานบนของโตะครูเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 1 ซม.
แลวนับจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่ 1 ตร.ซม. ที่ได
จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่นับไดจะเปนพื้นที่ดานบนของโตะครู

122 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

การสอนการหาพืน ้ ทีโ่ ดยใช้การนับตารางจะเน้นการหา


พืน
้ ทีข
่ องรูปทีม
่ สี ว่ นทีไ่ ม่เต็มตาราง แต่สามารถรวมกันได้
เต็มตาราง กับการหาพืน ้ ทีโ่ ดยประมาณของรูปทีม ่ สี ว่ นที่
ไม่เต็มตารางแต่ไม่สามารถรวมกันได้เต็มตาราง ซึง่ อาจจัด
กิจกรรม ดังนี้
1. ทบทวนการหาพืน ้ ทีข ่ องรูปโดยการนับตารางจากรูปที่
เต็มตาราง จากนัน ้ ให้พจิ ารณารูปทีม ่ สี ว่ นทีไ่ ม่เต็มตารางหน่วย
แล้วร่วมกันอภิปรายว่า มีวธิ ห ี าพืน
้ ทีโ่ ดยใช้การนับตารางได้อย่างไร
่ นำ�ไปสูแ่ นวคิดทีว่ า่ การหาพืน
เพือ ้ ทีข่ องรูปทีม ่ สี ว่ นทีไ่ ม่เต็ม
ตารางหน่วย ให้น�ำ พืน ้ ทีส
่ ว่ นทีไ่ ม่เต็มตารางหน่วยมารวมกัน
ให้ได้ทลี ะ 1 ตารางหน่วย แล้วนำ�ไปรวมกับพืน ้ ทีส ่ ว่ นทีเ่ ต็ม
ตารางหน่วย จากนัน ้ ร่วมกันพิจารณาการหาพืน ้ ทีข่ องรูป
หน้า 174 โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายแล้ว
ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 175

10 20

12 16

16 24

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 123
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2. เนือ ้ หาหน้า 176 เป็นการหาพืน ้ ทีข ่ องรูปทีม่ สี ว่ นทีไ่ ม่เต็ม


ตารางแต่ไม่สามารถรวมกันได้เต็มตารางหน่วยพอดี ครูให้
นักเรียนร่วมกันพิจารณาการหาพืน ้ ทีข ่ องวงกลม แล้วร่วมกัน
อภิปรายถึงวิธก ี ารหาพืน ่ นำ�ไปสูแ่ นวคิดทีว่ า่ การหา
้ ที่ เพือ
พืน ้ ทีโ่ ดยประมาณ ต้องนับพืน ้ ทีส ่ ว่ นทีเ่ ต็มตารางหน่วย
รวมกับพืน ้ ทีส
่ ว่ นทีไ่ ม่เต็มตารางหน่วย โดยพืน ้ ทีส่ ว่ นทีไ่ ม่
เต็มตารางให้น�ำ มารวมให้ได้ 1 ตารางหน่วยหรือใกล้เคียง
1 ตารางหน่วยก่อน สำ�หรับพืน ้ ทีส ่ ว่ นทีเ่ หลือ ถ้าเหลือ
ตัง้ แต่ครึง่ ตารางหน่วยขึน ้ ไปให้นบ ั เป็น 1 ตารางหน่วย
ถ้าเหลือไม่ถงึ ครึง่ ตารางหน่วย ให้ตด ั ทิง้ ไม่ตอ้ งนำ�มารวม
จากนัน ้ ให้นก
ั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมในหน้า 177-178
แล้วทำ�แบบฝึกหัด 9.10 เป็นรายบุคคล

27 23

25 20

20 10
หมายเหตุ คําตอบอาจแตกตางจากนี้ ขึ้นอยูกับการรวมพื้นที่ใหเปน 1 ตร.ซม. อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน
แตทั้งนี้ไมควรแตกตางเกิน 2 ตร.ซม.

124 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 179 เป็นรายบุคคล

25 21

22 54

แบงพื้นที่กระดาษ A4 เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 1 ซม. แลวนับจํานวนของ


รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่ 1 ตร.ซม. ที่ได โดยนับสวนที่เต็มตารางกอน จากนั้น
จึงนับสวนที่ไมเต็มตาราง โดยสวนที่ไมเต็มตารางใหนับรวมกันใหใกลเคียงหรือเทากับ 1 ตร.ซม.
สวนที่เหลือถานับรวมกันไดตั้งแตครึ่ง ตร.ซม.ขึ้นไป ใหนับเปน 1 ตร.ซม.
ถานับรวมกันไดนอยกวาครึ่ง ตร.ซม. ไมตองนํามารวม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 125
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สื่อการเรียนรู้
-

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนการหาพืน
้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ครูอาจจัด
กิจกรรมดังนี้
1. ให้นกั เรียนพิจารณาการหาพืน ้ ทีข ่ องรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า
หน้า 180 โดยให้นก ั เรียนหาพืน
้ ทีโ่ ดยใช้การนับตาราง
จากนัน้ อธิบายเชือ ่ มโยงการนับตารางกับความหมายของ 2 4
2
8
4
4 6
4
24
6

การคูณ เพือ ่ นำ�ไปสูส่ ต


ู รการหาพืน้ ที่ ซึง่ จะได้วา่
พืน
้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย
่ มผืนผ้า = ความกว้าง × ความยาว 12 16
12 16 192

จากนัน
้ ร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 180
2. การหาพืน้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั อาจจัดกิจกรรมทำ�นอง ความกวาง ความยาว

เดียวกับการหาพืน ้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า เพือ
่ นำ�ไปสูส่ ต
ู ร
การหาพืน้ ที่ ซึง่ จะได้วา่
พืน
้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ส
ั = ความยาวด้าน × ความยาวด้าน
จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 181

2 วา 5 เซนติเมตร
2 2 4 ตารางวา 5 5 25 ตารางเซนติเมตร

4 เมตร
4 4 16 ตารางเมตร

ความยาวดาน ความยาวดาน

126 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. ครูใช้การถาม-ตอบเกีย่ วกับสูตรการหาพืน ้ ทีข่ องรูปสีเ่ หลีย่ ม-


มุมฉาก ให้นกั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 182-183
สำ�หรับกิจกรรมข้อ 2 ให้นก ั เรียนช่วยกันแสดงวิธค ี ด

พร้อมแสดงเหตุผลเพือ ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ จากนัน ้
ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 9.11 เป็นรายบุคคล
4. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 184 เป็นรายบุคคล

4 5 20 2 3 6

6 6 36 ตร.ว. 2 2 4 ตร.กม.

20 20 400 ตร.ม. 150 300 45,000 ตร.ซม.

รูปสี่เหลี่ยมผืนผา 27 ตร.ซม.

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 144 ตร.ว.

8 ม.

11 กม. 121 ตร.กม.

10 ว. 10 ว. ผืนผา จัตุรัส
3 ซม. 5 ซม. 4 ซม.
4 ซม.
3 5 15 ตร.ซม. 4 4 16 ตร.ซม.

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน
ผืนผา 12 20 = 240 ตร.ซม.

ตองรูความกวางและความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแลวหาพื้นที่โดยนําความกวาง
รูปสี่เหลี่ยมผืนผา
คูณกับความยาว มีหนวยเปนตารางหนวย (ตามหนวยความยาว)
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ความกวาง ความยาว
ความยาวดาน ความยาวดาน
400
ตองรูความยาวดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแลวหาพื้นที่โดยนําความยาวของดาน 2 ดาน
1,600
มาคูณกัน มีหนวยเปนตารางหนวย (ตามหนวยความยาว)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 127
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

5. การสอนการนำ�ความรู้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉากไปใช้หาพืน ้ ทีข
่ องรูปหลายเหลีย่ มบางรูป โดยใช้
การแบ่งรูปหลายเหลีย่ มนัน ้ เป็นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากแล้วหาพืน ้ ที่
ครูอาจจัดกิจกรรมให้นก ั เรียนช่วยกันพิจารณาการหาพืน ้ ที่
ของรูปหลายเหลีย่ ม หน้า 185 โดยใช้การอธิบายแสดงเหตุผล
เกี่ยวกับการหาพื้นที่แต่ละวิธี จากนั้นให้นักเรียนร่วมกัน
ทำ�กิจกรรม หน้า 186-187 สำ�หรับกิจกรรมข้อ 2 ครูควร
ให้นักเรียนนำ�เสนอวิธีคิดที่แตกต่างกันพร้อมอธิบายเหตุผล
และครูควรอธิบายวิธีคิดอื่นที่แตกต่างจากวิธีคิดของนักเรียน
เพื่อให้เห็นวิธีคิดที่หลากหลาย แล้วทำ�แบบฝึกหัด 9.12
เป็นรายบุคคล

8 ตร.ซม. 10 ตร.ซม.

27 ตร.ซม.

20 ตร.ม.
18 ตร.ซม.

15 ตร.ม. 15 ตร.ม. 9 ตร.ซม.

50 ตร.ม. 54 ตร.ซม.

8 ตร.ว.

16 ตร.ว.
1 6 6
24 ตร.ว.

1 5 5
6 5 11 48 ตร.ว. 24 ตร.ซม.
11

128 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

6. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 188 เป็นรายบุคคล

7 ตร.ซม.

7 ตร.ซม.
2 ตร.ซม.

24 ตารางเซนติเมตร 16 ตารางเซนติเมตร

แบงรูปใหเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แลวหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก-
แตละรูป จากนั้นนําพื้นที่ทั้งหมดมารวมกัน
1 แบงเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวดานละ 10 ม. 6 รูป
หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแลวคูณดวย 6
2 จะไดรูปนี้มีพื้นที่ 6 (10 10) = 600 ตร.ม.
2 แบงเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวดานละ 10 ม. 2 รูป
และรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 10 ม. และยาว 40 ม. 1 รูป
จะไดรูปนี้มีพื้นที่ 2 (10 10) (10 40) = 600 ตร.ม.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 129
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

9.5 โจทย์ปัญหา

จุดประสงค์การเรียนรู้

นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สื่อการเรียนรู้
-

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนการแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับความยาวรอบรูป
ของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก หน้า 189 ครูควรใช้การถาม-ตอบ
ประกอบการอธิบายตามกระบวนการแก้ปญ ั หา และ
ควรแนะนำ�ให้นก ั เรียนวาดรูปประกอบเพือ ่ ช่วยในการวางแผน
แก้ปญั หา แล้วร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 190 ทัง้ นี้
ครูเน้นย้�ำ ให้นกั เรียนตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ
กับโจทย์ทก ุ ครัง้ ถ้าคำ�ตอบนัน ้ มีความสอดคล้องกับเงือ ่ นไข
ของโจทย์แสดงว่าคำ�ตอบนัน ้ ถูกต้อง จากนัน้ ร่วมกัน
ทำ�กิจกรรมหน้า 191 และทำ�แบบฝึกหัด 9.13 เป็นรายบุคคล

15 15 = 30 ซม.
50 ซม.
50 30 = 20 ซม.
20 2 = 10 ซม.
๑๐ เซนติเมตร

ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 4 ความยาวดาน
เนื่องจากกระเบื้องมีความยาวรอบรูป 100 เซนติเมตร
จะได 100 = 4 25
หรือความยาวดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 100 4 = 25 เซนติเมตร
ดังนั้น กระเบื้องแผนนี้ยาวดานละ 25 เซนติเมตร

๒๕ เซนติเมตร

130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนให้ท�ำ กิจกรรม
หน้า 192 เป็นรายบุคคล

ขึงลวด 3 รอบ ใชลวดยาว 720 เมตร


ขึงลวด 1 รอบ ใชลวดยาว 720 3 = 240 เมตร
จากความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 4 ความยาวดาน
จะได 240 = 4 60
หรือ ความยาวดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 240 4 = 60 เมตร
ดังนั้น ที่ดินแปลงนี้ยาวดานละ 60 เมตร
๖๐ เมตร

15 ม.

ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = 2 (ความกวาง ความยาว)


จะได 86 = 2 (ความกวาง ความยาว)
ความกวาง ความยาว = 86 2 = 43 เมตร
สนามกวาง 15 เมตร
ดังนั้น สนามยาว 43 15 = 28 เมตร

๒๘ เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 131
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

3. การสอนโจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับพืน


้ ทีข ่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก
หน้า 193 จัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกับการสอนโจทย์ปญ ั หา
เกีย่ วกับความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก จากนัน ้ ร่วมกัน
พิจารณาตัวอย่างหน้า 194 แล้วให้นก ั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม
หน้า 195-196 และทำ�แบบฝึกหัด 9.14 เป็นรายบุคคล

20 ซม.

ติดภาพ 9 ซม. 16 ซม.

พื้นที่สวนที่ไมไดติดภาพ คิดไดจาก พื้นที่กระดาษสีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก พื้นที่ของภาพที่ติด


เนื่องจาก กระดาษสีเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว
จะได กระดาษสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่ = 16 20 = 320 ตร.ซม.
ติดภาพเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวดาน ความยาวดาน
จะได ภาพที่ติดมีพื้นที่ = 9 9 = 81 ตร.ซม.

พื้นที่กระดาษสี พื้นที่ของภาพที่ติด
16 20 320
9 9 81
320 81 239
๒๓๙ ตารางเซนติเมตร

132 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

4. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 197 เป็นรายบุคคล

พื้นที่ทางเดิน คิดไดจาก พื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ดานบนของสระนํ้า


เนื่องจาก พื้นที่ทั้งหมดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว
จะได พื้นที่ทั้งหมด = 25 70 = 1,750 ตร.ม.
เนื่องจากพื้นที่ดานบนของสระนํ้าเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว
จะได พื้นที่ดานบนของสระนํ้า = 20 50 = 1,000 ตร.ม.
พื้นที่ทางเดิน = พื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ดานบนของสระนํ้า
= 1,750 1,000 = 750 ตร.ม.
ดังนั้น ทางเดินรอบสระมีพื้นที่ 750 ตร.ม.

๗๕๐ ตารางเมตร

พื้นที่สนามหญา คิดไดจาก พื้นที่ทั้งหมด พื้นที่แปลงไมดอก


เนื่องจากพื้นที่ทั้งหมดและพื้นที่แปลงไมดอกเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว
พื้นที่ทั้งหมด = 10 11 = 110 ตร.ม.
พื้นที่แปลงไมดอก = 5 10 = 50 ตร.ม.
ดังนั้น สนามหญามีพื้นที่ 110 50 = 60 ตร.ม.

๖๐ ตารางเมตร

หาความยาวของดานยาวจากโจทย ซึ่งจะไดวา รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนี้ยาว 20 + 10 = 30 ซม.


แลวอาจวาดรูปประกอบซึ่งจะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผากวาง 20 ซม. ยาว 30 ซม. จากนั้นจึงหาพื้นที่
โดยใช ความกวาง ความยาว

หาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งกวาง 20 ซม. ยาว 30 ซม.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 133
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ร่วมคิดร่วมทำ�
ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมกลุม ่ ทีม
่ งุ่ ให้นกั เรียนนำ�ความรู้
เกีย่ วกับความยาวรอบรูปและพืน ้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก
และเรือ ่ งอืน ่ ๆ ทีเ่ รียนมาแล้ว ไปใช้ในการแก้ปญ ั หา
ผ่านกิจกรรมการแบ่งทีด ่ น
ิ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดยครูอาจแบ่งนักเรียนเป็นกลุม ่ กลุม ่ ละ 3-4 คน ช่วยกัน
ปฏิบต ั กิ จิ กรรมแล้วนำ�เสนอผลงาน ครูและเพือ ่ นในชัน้ ร่วมกัน
อภิปราย แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ เช่น
••ทีด่ น
ิ ของดารณีมพ
ี น
้ื ทีเ่ ท่าใด มีวธิ ค
ี ด
ิ อย่างไร
••เมือ่ แบ่งทีด่ น
ิ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทีด
่ น
ิ แต่ละส่วนมีพน
้ื ทีเ่ ท่าใด มีวธิ ค
ี ด
ิ อย่างไร
••รูปแสดงการแบ่งทีด่ น
ิ แต่ละส่วน ต้องระบายสี
ส่วนละกีช
่ อ
่ ง มีวธิ ค
ี ด
ิ อย่างไร
••รูปแสดงการแบ่งทีด่ น
ิ ของแต่ละกลุม
่ เหมือนกันหรือ
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร 10 ม.
A
30 ม.

300 ตร.ม.
30 ม.

••จากกรณีทบ
่ี างกลุม
่ มีวธิ ก
ี ารแบ่งทีด
่ น
ิ แตกต่างกัน B 1,800 ตร.ม.

นักเรียนได้ขอ
้ สังเกตอะไรจากกรณีน้ี
C 400 ตร.ม.
10 ม.

(ตัวอยางคําตอบ)
แบงรูปออกเปน 3 สวนคือ A B C มีความยาวดานดังรูปดานซาย
A มีพื้นที่ 10 30 = 300 ตร.ม.
B มีพื้นที่ 30 60 = 1,800 ตร.ม.
C มีพื้นที่ 10 40 = 400 ตร.ม.

ที่ดินทั้งหมดมีพื้นที่ 300 + 1,800 + 400 = 2,500 ตร.ม.


แบงพื้นที่เปน 100 สวน ดังนั้น 1 สวนมีพื้นที่ 2,500 100 = 25 ตร.ม.
จะได 1 พื้นที่อยูอาศัยและปลูกสวนครัว 10 สวน คิดเปน 10 25 = 250 ตร.ม.
2 พื้นที่พืชสวน พืชไร ไมยืนตน 30 สวน คิดเปน 30 25 = 750 ตร.ม.
3 พื้นที่นาขาวเทากับพื้นที่พืชสวน 30 สวน คิดเปน = 750 ตร.ม.
4 สระกักเก็บนํ้าเทากับพื้นที่นาขาว30 สวน คิดเปน = 750 ตร.ม.

2 พืชสวน พืชไร
ไมยืนตน
3 นาขาว

4 สระกักเก็บนํ้า

1 ที่อยูอาศัยและปลูก
พืชสวนครัว

เนื่องจาก เทากับ 5 5 = 25 ตร.ม.


จะได 1 มีพ้นื ที่ 250 25 = 10 สวน
2 มีพื้นที่ 750 25 = 30 สวน
3 มีพื้นที่ 750 25 = 30 สวน
4 มีพื้นที่ 750 25 = 30 สวน

คําตอบอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

134 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 9 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถบอกชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

1. ตรวจสอบรูปที่กำ�หนด แล้วตอบคำ�ถาม

ข I

A D ว
ค T
P

ก B C น
ง S บ
N O K
จ ป J


K C ส อ L
น M
1) รูปใดบ้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพราะเหตุใด

2) รูปใดบ้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพราะเหตุใด

3) รูปใดบ้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เพราะเหตุใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 135
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2. กำ�หนด WXYZ เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน และมีจุด O เป็นจุดตัดของเส้นทแยงมุม

1) WXYZ เป็นรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด

2) เส้นทแยงมุมของ WXYZ มีกี่เส้น อะไรบ้าง

3) WOX มีขนาดกี่องศา

4) ถ้า WO ยาว 5 เซนติเมตร XZ ยาวเท่าใด

3. กำ�หนด PQRS เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีจุด E เป็นจุดตัดของเส้นทแยงมุม และ PEQ มีขนาด 105 องศา

1) ด้าน PQ และด้าน QR มีความยาวเท่ากันหรือไม่

2) มีด้านใดบ้างที่มีความยาวเท่ากับด้าน RS

3) ถ้า PR ยาว 12 เซนติเมตร ES ยาวเท่าใด

136 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยใช้ไม้ฉาก และโพรแทรกเตอร์

1. สร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า DOME ให้มีด้านยาว ยาว 7 เซนติเมตร และมี ME เป็นด้านกว้าง พร้อมเขียนความยาว


ของด้านกำ�กับ

2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส QRST ที่มี RS ยาว 4 เซนติเมตร

3. สร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีผลบวกของความกว้างและความยาวเป็น 13 เซนติเมตร พร้อมกำ�หนดชื่อ


และเขียนความยาวของด้านกำ�กับ

4. สร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีผลบวกของความยาวด้านที่อยู่ติดกัน 2 ด้าน เป็น 10 เซนติเมตร พร้อมกำ�หนดชื่อ


และเขียนความยาวของด้านกำ�กับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 137
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถหาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

1. พิจารณารูปที่กำ�หนด แล้วเติมคำ�ตอบ

20 ซม.
A B

33 ซม.
27 ซม.

36 ซม.

12 ซม.
C 20 ซม. D
25 ซม.
14 ซม.

10 ซม.
24 ซม.

1) ถ้านำ�รูปทั้งสี่รูปมาเรียงลำ�ดับตามความยาวรอบรูปจากน้อยไปมาก จะได้ดังนี้

รูป .............. มีความยาวรอบรูป ................... เซนติเมตร

รูป .............. มีความยาวรอบรูป ................... เซนติเมตร

รูป .............. มีความยาวรอบรูป ................... เซนติเมตร

รูป .............. มีความยาวรอบรูป ................... เซนติเมตร

2) ถ้าเพิ่มความกว้างและความยาวของรูป A ด้านละ 2 เซนติเมตร รูป A จะมีความยาวรอบรูปเพิ่มขึ้น

.................. เซนติเมตร

2. กำ�หนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และ EFGH เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีความยาวรอบรูปเท่ากัน


ถ้า EFGH กว้าง 6 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร ABCD จะมีความยาวด้านเป็นเท่าใด

3. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวของแต่ละด้านเป็นจำ�นวนนับ และมีความยาวรอบรูป 22 เซนติเมตร


จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความกว้างเท่าใดได้บ้าง

138 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนสามารถหาพื้นที่ของรูปโดยการนับตาราง

หาพื้นที่ของรูปโดยใช้การนับตาราง

1. 1 หน่วย 2. 1 ซม.

1 ซม.
1 หน่วย

พื้นที่ ....................................................................... พื้นที่ .......................................................................

3. 1 ม. 4. 1 วา
1 ม.

1 วา

พื้นที่ ....................................................................... พื้นที่ .......................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 139
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5 นักเรียนสามารถหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

หาพื้นที่ของรูปต่อไปนี้
1. 2.
4 หน่วย 5 ซม.

3 ซม.
พื้นที่ ....................................................................... พื้นที่ .......................................................................
3. 4.
2
กม
5ม

. .
0ม
.

พื้นที่ ....................................................................... พื้นที่ .......................................................................


5. 6.

40 ซม.

2 ซม.
20 ซม.
30 ซม.

4 ซม.
10 ซม.

พื้นที่ ....................................................................... พื้นที่ .......................................................................

140 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7. ถ้าจะตัดกระดาษให้ได้ตามรูปในข้อ 5. โดยใช้กระดาษรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก จะต้องใช้กระดาษ


ที่มีพื้นที่น้อยที่สุดเท่าใด

ตอบ ..................................................................................................................................................

8. ถ้าจะตัดกระดาษให้ได้ตามรูปในข้อ 6. โดยใช้กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จะต้องใช้กระดาษ


ที่มีพื้นที่น้อยที่สุดเท่าใด

ตอบ ..................................................................................................................................................

9. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวรอบรูป 40 เมตร มีพื้นที่เท่าใด

ตอบ ..................................................................................................................................................

10. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านกว้าง 20 เซนติเมตร ด้านยาว ยาวกว่าด้านกว้าง 5 เซนติเมตร


รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้มีพื้นที่เท่าใด

ตอบ ..................................................................................................................................................

11. ถ้าสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากให้มีความยาวด้านเป็นจำ�นวนนับและมีความยาวรอบรูป 16 เซนติเมตร

1) จะได้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีขนาดต่างกัน ……………….. รูป

2) รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีพื้นที่มากที่สุด มีขนาด ................................................................................

มีพื้นที่ .........................................................................................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 141
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 6 นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

แสดงวิธีทำ�

1. ชาวนาเกลือเดินสำ�รวจรอบพื้นที่ทำ�นาเกลือซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 80 เมตร 1 รอบ


ชาวนาเกลือจะต้องเดินสำ�รวจเป็นระยะทางเท่าใด

2. ลุงมีที่ดินแปลงหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 100 วา ยาว 250 วา ที่ดินของลุงมีพื้นที่เท่าใด

3. หยกต้องการปูกระเบื้องพื้นห้องน้ำ�ซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 3 เมตร ช่างรับเหมาคิดค่าปูกระเบื้อง


ตารางเมตรละ 300 บาท หยกจะต้องจ่ายค่าจ้างช่างกี่บาท

142 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

4. วราภรณ์มีกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 80 เซนติเมตร นำ�มาตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส


ยาวด้านละ 40 เซนติเมตร จำ�นวน 2 แผ่น กระดาษที่เหลือจากการตัดมีพื้นที่เท่าใด

5. แดงมีที่ดินรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่ 100 ตารางวา ถ้าเขาต้องการล้อมรั้วลวดหนามที่ดินโดยรอบ 4 ชั้น


เขาจะต้องเตรียมลวดหนามยาวอย่างน้อยเท่าใด

6. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 20 เซนติเมตร ถ้าเพิ่มความยาวของด้านที่อยู่ตรงข้ามกัน เพียงคู่เดียว


ให้ยาวขึ้นอีกด้านละ 10 เซนติเมตร จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีพื้นที่เท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 143
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 9 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. 1) IPST ABCD NOCK และ ดบมน เพราะมุมทั้งสี่มุมเป็นมุมฉาก

2) IPST และ NOCK เพราะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านยาวเท่ากันทุกด้าน

3) ABCD และ ดบมน เพราะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ด้านตรงข้ามยาวเท่ากัน 2 คู่

โดยด้านที่อยู่ติดกันยาวไม่เท่ากัน

2. 1) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

2) มี 2 เส้น ได้แก่ WY และ XZ

3) 90 องศา

4) 10 เซนติเมตร

3. 1) ไม่เท่ากัน

2) ด้าน PQ

3) 6 เซนติเมตร

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1. มีหลายคำ�ตอบ

2. Q R

4 ซม.

T S
3. มีหลายคำ�ตอบ

4. ก ข

5 ซม.

ง ค
144 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 9 | รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3
1. 1) รูป B , 106 เซนติเมตร
รูป A , 108 เซนติเมตร
รูป C , 122 เซนติเมตร
รูป D , 132 เซนติเมตร
2) 8 เซนติเมตร
2. 9 เซนติเมตร
3. 1 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร 3 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร และ 5 เซนติเมตร

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4
1. 11 ตารางหน่วย
2. 16 ตารางเซนติเมตร
3. 12 ตารางเมตร
4. 9 ตารางวา

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5
1. 16 ตารางหน่วย
2. 15 ตารางเซนติเมตร
3. 50 ตารางเมตร
4. 4 ตารางกิโลเมตร
5. 32 ตารางเซนติเมตร
6. 900 ตารางเซนติเมตร
7. 64 ตารางเซนติเมตร
8. 2,000 ตารางเซนติเมตร
9. 100 ตารางเมตร
10. 500 ตารางเซนติเมตร
11. 1) 4 รูป (กว้าง 1 ซม. ยาว 7 ซม., กว้าง 2 ซม. ยาว 6 ซม., กว้าง 3 ซม. ยาว 5 ซม. และ
ยาวด้านละ 4 ซม.)
2) ยาวด้านละ 4 เซนติเมตร 16 ตารางเซนติเมตร

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 6
1. 320 เมตร
2. 25,000 ตารางวา
3. 2,700 บาท
4. 800 ตารางเซนติเมตร
5. 160 เมตร
6. 600 ตารางเซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 145
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

บทที่ การนำ�เสนอข้อมูล
10
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. อ่านตารางสองทาง ตารางสองทาง (two-way table) เป็นตารางที่จำ�แนกข้อมูล


2. ใช้ข้อมูลจากตารางสองทางในการหาคำ�ตอบของ เป็น 2 ลักษณะ โดยการอ่านตารางสองทางให้อ่านข้อมูล
โจทย์ปัญหา ในแนวตั้งและแนวนอนที่สัมพันธ์กัน

3. อ่านแผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำ�เสนอข้อมูลที่ใช้
4. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่งในการหาคำ�ตอบของ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแสดงจำ�นวนของแต่ละรายการ
โจทย์ปัญหา โดยการอ่านแผนภูมิแท่งทำ�ได้โดยเทียบส่วนปลายสุดของ
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรูปกับจำ�นวนบนเส้นแสดงจำ�นวน

5. เขียนแผนภูมิแท่ง ส่วนประกอบของแผนภูมิแท่ง ได้แก่ ชื่อแผนภูมิและ


ตัวแผนภูมิ
••ชื่อแผนภูมิ เป็นส่วนที่แสดงให้ทราบว่า เป็นข้อมูล
เกี่ยวกับเรื่องใด เวลาใด
••ตัวแผนภูมิ ประกอบด้วย เส้นแสดงจำ�นวน
เส้นแสดงรายการ และรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่แสดงจำ�นวน
ของแต่ละรายการ ซึ่งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรูปต้อง
มีความกว้างเท่ากัน เริ่มต้นจากระดับเดียวกันที่ 0 และ
ระยะห่างระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากควรเท่ากัน

146 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

10.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจำ�แนกข้อมูล 1 -  -  -
•• ข้อมูลจากการสำ�รวจ
•• ข้อมูลจากการทดลอง

10.2 การนำ�เสนอข้อมูล 4    - -
•• ตารางสองทาง
•• การใช้ข้อมูลจากตารางสองทางในการหา
คำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
•• แผนภูมิแท่ง
•• การใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่งในการหา
คำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
•• การเขียนแผนภูมิแท่ง

ร่วมคิดร่วมทำ� 1    - -

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 147
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

คำ�ใหม่
ตารางสองทาง แผนภูมิแท่ง

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
การอ่านแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว

สื่อการเรียนรู้
1. บัตรภาพสัตว์เลี้ยง

2. ขวดโหลทึบหรือกล่องทึบสำ�หรับใส่ลูกปัด

3. ลูกปัดขนาดเท่ากัน สีแดง 40 เม็ด สีน้ำ�เงิน 30 เม็ด และสีดำ� 10 เม็ด

4. ลูกเต๋ากลุ่มละ 2 ลูก

5. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดเท่ากัน

6. เงินเหรียญ เช่น เหรียญหนึ่งบาท

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 200–227

2. แบบฝึกหัด หน้า 86–99

3. วีดิทัศน์แนะนำ�รถไฟฟ้าใต้ดิน

4. แผนที่เส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดิน

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
7 ชั่วโมง

148 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

1. ทบทวนความรู้เกี่ยวกับตารางทางเดียวโดยใช้ข้อมูลจากหน้าเปิดบทเพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการนำ�เสนอข้อมูล
โดยใช้คำ�ถาม เช่น

••การนำ�เสนอข้อมูลนี้เกี่ยวกับเรื่องใด

••การนำ�เสนอข้อมูลทั้งสองแบบ แบบใดน่าสนใจมากกว่ากัน เพราะเหตุใด

••การนำ�เสนอข้อมูลแบบใดที่แสดงการเปรียบเทียบจำ�นวนนักเรียนในแต่ละชั้นได้ง่ายกว่ากัน

••การนำ�เสนอข้อมูลทั้งสองแบบมีจุดเด่นแตกต่างกันอย่างไร

โดยคำ�ตอบของนักเรียนอาจแตกต่างกัน ซึ่งครูไม่จำ�เป็นต้องเฉลย ควรให้นักเรียนเป็นผู้หาคำ�ตอบเองหลังจากเรียน


เรื่องแผนภูมิแท่งแล้ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 149
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

2. เตรียมความพร้อมเป็นการตรวจสอบความรูพ ้ น
้ื ฐานทีจ่ �ำ เป็น
สำ�หรับการเรียนบทนี้ ถ้าพบว่านักเรียนยังมีความรูพ้ น
้ื ฐาน
ไม่เพียงพอ ควรทบทวนก่อน แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 10.1
เป็นรายบุคคล

า า


70
20
50
50
100
290

ศุกร 100
อังคาร 20
พุธ พฤหัสบดี

3,684

150 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

10.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจำ�แนกข้อมูล

(เนื้อหานี้เป็นพื้นฐานสำ�หรับการเรียนเรื่องการนำ�เสนอข้อมูล)

สื่อการเรียนรู้
1. บัตรภาพสัตว์เลี้ยง
2. ขวดโหลทึบหรือกล่องทึบสำ�หรับใส่ลูกปัด
3. ลูกปัดขนาดเท่ากัน สีแดง 40 เม็ด สีน้ำ�เงิน 30 เม็ด
และสีดำ� 10 เม็ด
4. ลูกเต๋ากลุ่มละ 2 ลูก

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การสอนเกีย่ วกับการนำ�เสนอข้อมูล ควรเริม
่ จากการเก็บ
รวบรวมข้อมูลและการจำ�แนกข้อมูล ซึง่ การเก็บรวบรวมข้อมูล
มีหลายวิธี ครูอาจจัดกิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลจากการ
สำ�รวจสัตว์เลีย้ งทีน
่ ก
ั เรียนชอบ โดยให้นก
ั เรียนเลือกบัตรภาพ
สัตว์เลีย้ งคนละ 1 ใบ นำ�ไปติดบนกระดาน แล้วช่วยกัน
ตอบคำ�ถามจากผลการสำ�รวจ เช่น
••สัตว์เลีย้ งทีน
่ ก
ั เรียนชอบมีกช
่ี นิด อะไรบ้าง อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

••สัตว์เลีย้ งแต่ละชนิดมีนกั เรียนชอบกีค่ น


••นักเรียนชอบสัตว์เลีย้ งชนิดใดมากทีส่ ดุ
••นักเรียนชอบสัตว์เลีย้ งชนิดใดน้อยทีส่ ดุ
••เรียงลำ�ดับชือ่ สัตว์เลีย้ งทีน
่ ก
ั เรียนชอบจากมากไปน้อย
อย่างไร
จากนัน้ ให้ชว่ ยกันจำ�แนกและนับจำ�นวนสัตว์เลีย้ งแต่ละชนิด
พร้อมบันทึกผลในตาราง ครูให้นก ั เรียนตอบคำ�ถามชุดเดิม
แล้วเปรียบเทียบว่าระหว่างการตอบคำ�ถามก่อนจำ�แนกข้อมูล
กับหลังจำ�แนกข้อมูล อย่างไหนทีน ่ ก
ั เรียนสามารถตอบคำ�ถาม
ได้รวดเร็วกว่า
หมายเหตุ ถ้าในห้องมีจ�ำ นวนนักเรียนน้อย ครูอาจจัดกิจกรรม
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจำ�แนกข้อมูลลักษณะอืน ่
ตามความเหมาะสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 151
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

2. ครูจด ั กิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง ซึง่ ก่อนทำ�


กิจกรรมควรให้นกั เรียนคาดเดาหรือทำ�นายผลการหยิบลูกปัด
ทีจ่ ะเกิดขึน
้ เช่น

••นักเรียนคิดว่าจะหยิบได้ลกู ปัดสีใดมากทีส่ ด
ุ เพราะเหตุใด
••นักเรียนคิดว่าจะหยิบได้ลกู ปัดสีใดน้อยทีส่ ด
ุ เพราะเหตุใด
••นักเรียนคิดว่าจะหยิบได้ลกู ปัดสีเขียวหรือไม่ เพราะเหตุใด
แบ่งนักเรียน กลุม่ ละ 3-4 คน ให้กลุม
่ แรกสุม่ หยิบลูกปัดใน
ขวดโหลทึบ 1 กำ�มือ แล้วบันทึกผลในตาราง จากนัน ้ ให้ใส่ จํานวนลูกปดแตละสีที่สุมหยิบได

ลูกปัดทัง้ หมดคืนในขวดโหล แล้วให้กลุม ่ ต่อไปปฏิบต ั กิ จิ กรรม


แดง
ทำ�นองเดียวกัน นํ้าเงิน
ขาว
จากนัน
้ ให้แต่ละกลุม
่ ตอบคำ�ถามต่อไปนี้ ดํา

••นักเรียนหยิบได้ลกู ปัดสีใดมากทีส่ ด

••นักเรียนหยิบได้ลกู ปัดสีใดน้อยทีส่ ด

••นักเรียนหยิบได้ลกู ปัดสีใดจำ�นวนเท่ากัน
อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

••เรียงลำ�ดับสีลกู ปัดจากน้อยไปมากอย่างไร

แล้วให้ทกุ กลุม่ นำ�คำ�ตอบมาร่วมกันพิจารณาและอภิปราย


ว่าผลการปฏิบต ั กิ จิ กรรมกับผลทีค ่ าดเดาไว้สอดคล้องกันหรือไม่
เพราะเหตุใด ซึง่ คำ�ตอบทีไ่ ด้อาจสอดคล้องหรือไม่สอดคล้อง
กับผลทีค ่ าดเดาก็ได้ ขึน ้ อยูก่ บ
ั ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม ครูแนะนำ�
ว่าการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทดลองควรทำ�ซ้�ำ หลาย ๆ ครัง้
เพือ่ ให้ผลการทดลองมีความน่าเชือ่ ถือ

จากนัน
้ ให้รว่ มกันอภิปรายถึงประโยชน์ของการจำ�แนกข้อมูล
และการนำ�เสนอข้อมูลในรูปตารางเพือ่ นำ�ไปสูข
่ อ้ สรุปทีว่ า่
การจำ�แนกข้อมูลและการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง
ช่วยให้เห็นภาพรวมของข้อมูล และสามารถบอกรายละเอียด
และเปรียบเทียบข้อมูลแต่ละรายการได้ชด ั เจนยิง่ ขึน

152 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. ให้นกั เรียนปฏิบต
ั กิ จิ กรรมหน้า 205 เป็นกลุม
่ เพือ่ ฝึกทักษะ
การเก็บรวบรวมข้อมูล การจำ�แนกข้อมูล และการนำ�เสนอ
ข้อมูลในรูปตารางทางเดียว

สำ�หรับกิจกรรมข้อ 2 ครูอาจใช้ค�ำ ถามเพือ่ ให้นกั เรียนสังเกต


ผลบวกของแต้มทีไ่ ด้จากการโยนลูกเต๋า 2 ลูก เช่น

••ผลบวกเป็นเท่าใดบ้าง
••ผลบวกทีน
่ อ้ ยทีส่ ด
ุ เป็นเท่าใด
••ผลบวกทีม
่ ากทีส่ ด
ุ เป็นเท่าใด อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

••ผลบวกเป็น 1 ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด


••ผลบวกเป็น 13 ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ให้แต่ละกลุม
่ พิจารณาคำ�ตอบแต่ละประเด็น แล้วร่วมกัน
อภิปรายเพือ่ สรุปผลเกีย่ วกับผลบวกของแต้มทีไ่ ด้จากการโยน
ลูกเต๋า 2 ลูก จากนัน
้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 10.2 เป็นรายบุคคล

หมายเหตุ แบบฝึกหัด 10.2 ข้อ 2

••การบันทึกผลใน 1) ให้บน
ั ทึกผลการโยนเหรียญแต่ละครัง้ อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

ในกระดาษทด แล้วนับจำ�นวนครัง้ ทีเ่ หรียญหงายหัวและก้อย


พร้อมบันทึกผลในตาราง

••การจัดกิจกรรมใน 2) ครูอาจให้จบ ั คูโ่ ยนเหรียญ โดยให้


แต่ละคูโ่ ยนเหรียญ ให้มจี �ำ นวนครัง้ ต่างกัน เช่น 30 ครัง้
50 ครั้ง 70 ครั้ง 100 ครั้ง บันทึกผลแล้วสังเกต
ผลการโยนเหรียญเพือ่ นำ�ไปสูก่ ารคาดการณ์ผลทีอ่ าจเกิดขึน ้
จากการโยนเหรียญ 1,000 ครัง้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 153
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

4. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นกั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 206 เป็นรายบุคคล

จํานวนขยะในบริเวณโรงเรียน

ขยะ ขวดนํ้า เศษดินสอ กลองนม เศษกระดาษ ถุงพลาสติก รวม


จํานวน (ชิ้น) 2 5 4 6 7 24

ถุงพลาสติก
ชวยใหเห็นภาพรวมของขอมูล และสามารถ
บอกรายละเอียดและเปรียบเทียบขอมูลแตละรายการได

ใชวิธีการสอบถามและบันทึกผล แลวจําแนก
และนับจํานวนนักเรียนที่ชอบผลไมแตละชนิด

154 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

10.2 การนำ�เสนอข้อมูล

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ
1. อ่านตารางสองทาง
2. ใช้ข้อมูลจากตารางสองทางในการหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหา

สื่อการเรียนรู้
1. วีดิทัศน์แนะนำ�รถไฟฟ้าใต้ดิน

2. แผนที่เส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดิน

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การนำ�เสนอข้อมูลมีหลายรูปแบบ เช่น ตารางทางเดียว ให้นก
ั เรียนสังเกตวิธอ
ี า่ นข้อมูลจากตารางสองทางว่า สามารถ
ตารางสองทาง แผนภูมริ ป ู ภาพ แผนภูมแิ ท่ง ในการนำ�เสนอ อ่านจำ�นวนพนักงานชาย พนักงานหญิง และพนักงานทัง้ หมด
ข้อมูลด้วยตารางสองทาง นักเรียนจะต้องเข้าใจวิธกี ารนำ�เสนอ ได้จากตารางเดียวกัน นอกจากนีย้ งั สามารถเปรียบเทียบ
ข้อมูลด้วยตารางทางเดียวก่อน ซึง่ ครูอาจทบทวนโดยใช้ขอ ้ มูล ข้อมูลแต่ละรายการได้งา่ ย
หน้า 207 เกีย่ วกับจำ�นวนพนักงานชายของโรงงานบางปูและ จากนัน
้ ร่วมกันอภิปรายเพือ
่ นำ�ไปสูข
่ อ
้ สรุปว่า
จำ�นวนพนักงานหญิงของโรงงานบางปู แล้วร่วมกันสรุปให้ได้
••ตารางสองทางมีการจำ�แนกข้อมูล 2 ลักษณะ
ว่า ตารางทางเดียวมีการจำ�แนกข้อมูล 1 ลักษณะ
••การอ่านตารางสองทาง เริม
่ จากชือ
่ ตาราง เพือ
่ ให้
ครูแนะนำ�ว่าเมือ
่ นำ�ข้อมูลจากตารางทางเดียวทัง้ สองตารางนี้
ทราบว่าเป็นการนำ�เสนอข้อมูลเรือ ่ งใด จากนัน
้ จึงอ่าน
มาเขียนรวมเป็นตารางเดียวกัน ตารางทีไ่ ด้ใหม่เรียกว่า
รายละเอียดของข้อมูลในตารางโดยพิจารณาข้อมูล
ตารางสองทาง ครูให้นกั เรียนฝึกอ่านตารางสองทาง หน้า 207
ในแนวตัง้ และแนวนอนทีส ่ ม
ั พันธ์กนั พร้อมทัง้
โดยตอบคำ�ถาม เช่น
อ่านแหล่งทีม
่ าของข้อมูล (ถ้ามี)
••ตารางนีแ้ สดงอะไร
••โรงงานบางปูมกี แ่ี ผนก อะไรบ้าง
••พนักงานแต่ละแผนกมีกค่ี น เป็นชายกีค่ น เป็นหญิงกีค่ น
••แผนกใดมีพนักงานมากทีส่ ดุ และน้อยทีส่ ดุ
••แผนกใดบ้างมีพนักงานชายมากกว่าพนักงานหญิง
••โรงงานนีม้ พ
ี นักงานทัง้ หมดกีค่ น เป็นชายกีค่ น เป็นหญิงกีค่ น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 155
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

2. ให้นกั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 208–209 ทัง้ นีค


้ รูอาจ
ให้นกั เรียนฝึกทักษะการอ่านตารางสองทางเพิม่ เติม โดยให้
นักเรียนตอบคำ�ถามจากตารางสองทาง เช่น

ระยะทางการซ้อมวิ่งแต่ละประเภทใน 1 สัปดาห์
ระยะทาง (กิโลเมตร)
ประเภทการวิ่ง
นักวิ่งแข่งขัน นักวิ่งปกติ
มินิมาราธอน
(Mini marathon) 130-160 40-50

ฮาล์ฟมาราธอน
(Half marathon) 160-175 50-65

มาราธอน
(Marathon) 160-225 50-80

ที่มา: http://www.wingnaidee.com/article/วิ่งระยะต่างๆ 4,636,298

21,833,336

••การซ้อมวิง่ มินม
ิ าราธอนของนักวิง่ ปกติ ใน 1 สัปดาห์ รัสเซีย

มีระยะทางการซ้อมวิง่ กีก่ โิ ลเมตร มาเลเซีย

••ถ้าใน 1 สัปดาห์ บาสซ้อมวิง่ ได้ระยะทาง 161 กิโลเมตร


บาสซ้อมการวิง่ ประเภทใด

••ถ้าเปรมต้องการแข่งขันวิง่ มาราธอน เปรมจะต้องซ้อมวิง่


เป็นระยะทางกีก่ โิ ลเมตรใน 1 สัปดาห์

จากนัน
้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 10.3 เป็นรายบุคคล

38

วิ่ง 75

ฟุตบอล
วิ่ง
33

วายนํ้า
วายนํ้า กับ เทนนิส
บาสเกตบอล วิ่ง
ปงปอง และ เทนนิส

156 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นกั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 210 เป็นรายบุคคล

หมายเหตุ สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ นักเรียนแต่ละคนอาจใช้ส�ำ นวน


ในการตอบต่างกัน ครูควรพิจารณาว่าสามารถสือ่ ความหมาย
ได้ถกู ต้อง ครบถ้วนหรือไม่ ถ้าพบข้อผิดพลาด ครูควรอธิบาย
เพิม
่ เติมจนนักเรียนสามารถสรุปความรูไ้ ด้ถกู ต้องครบถ้วน

115

15.18 น.

รถเร็ว 06.40 น.

07.30 น.

อานชื่อตารางกอนวาเปนการนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใด มาจากแหลงใด
(ถามีการอางอิง) การอานรายละเอียดของขอมูลในตารางทําไดโดย พิจารณาขอมูลในแนวตั้ง
และแนวนอนที่สัมพันธกัน จากนั้นควรนําขอมูลแตละรายการมาเปรียบเทียบหรือเชื่อมโยงกัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 157
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

4. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาการแก้โจทย์ปญั หาโดย
ใช้ขอ้ มูลจากตารางสองทาง หน้า 211–212 เพือ่ ฝึกการ
แก้โจทย์ปญ ั หา แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ

158 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. ครูน�ำ สนทนาเกีย่ วกับรถไฟฟ้าใต้ดน


ิ หรือให้ดวู ด
ี ท
ิ ศ
ั น์แนะนำ�รถไฟฟ้าใต้ดนิ อาจนำ�แผนทีเ่ ส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดน
ิ จากเว็บไซต์
มาฝึกการนับจำ�นวนสถานี แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 213 นอกจากนีค ้ รูอาจจัดกิจกรรมเสริมเพือ่ ฝึกทักษะการแก้โจทย์ปญ
ั หา
โดยใช้ขอ้ มูลจากตารางสองทาง เช่น

ราคาตั๋วเครื่องบินไป – กลับ (หน่วยเป็นบาท)


สายการบิน A สายการบิน B
เส้นทางการบินไป – กลับ
เที่ยวไป เที่ยวกลับ เที่ยวไป เที่ยวกลับ
กรุงเทพฯ – หาดใหญ่ 1,699.00 1,899.00 2,273.00 1,943.00

หาดใหญ่ – เชียงราย 3,197.99 3,597.99 3,340.00 2,834.00

กรุงเทพฯ – เชียงราย 1,799.00 1,999.00 2,161.45 1,941.45

แบ่งนักเรียนกลุม
่ ละ 2–3 คน แล้วตอบคำ�ถามต่อไปนีโ้ ดยใช้
ข้อมูลจากตารางสองทาง

1. ใบหม่อนต้องการเดินทางไปเทีย่ วปีนงั ประเทศมาเลเซีย


โดยเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปหาดใหญ่ โดยเครือ่ งบิน และ
ค่าพาหนะในการเดินทางจากหาดใหญ่ไปปีนงั มีดงั นี้

1) ค่ารถไฟจากหาดใหญ่ – ปาตัง เทีย่ วละ 70 บาท


2) ค่ารถไฟจากปาตัง – บัตเตอร์เวิรท
์ เทีย่ วละ 90 บาท
3) ค่าข้ามแพจากบัตเตอร์เวิรท
์ ไปปีนงั เทีย่ วละ 5 บาท
ใบหม่อนต้องใช้ขอ้ มูลดังกล่าววางแผนการเดินทางอย่างไร จึง
จะจ่ายเงินค่าพาหนะน้อยทีส่ ดุ

2. ปริน
๊ ซ์ท�ำ งานอยูท
่ จ่ี งั หวัดเชียงราย และต้องการเดินทางกลับ
บ้านทีก่ รุงเทพฯ ปริน ๊ ซ์จะเลือกเดินทางไป – กลับอย่างไร
จึงจะจ่ายเงินค่าพาหนะน้อยทีส่ ด ุ

3. แม่และวายุก�ำ หนดการเดินทางไปเทีย่ วต่างจังหวัด ดังนี้

วันที่ 29 ธ.ค. 61 เดินทางจากกรุงเทพฯ ไปหาดใหญ่


จังหวัดสงขลา
วันที่ 31 ธ.ค. 61 เดินทางจากหาดใหญ่ไปวนอุทยาน
ภูชฟ
้ี า้ จังหวัดเชียงราย
วันที่ 2 ม.ค. 62 เดินทางจากจังหวัดเชียงราย กลับ
กรุงเทพฯ พอใชบัตรเติมเงินประเภทบุคคลทั่วไป
สถานีรัชดาภิเษก สถานีกําแพงเพชร
เกดใชบัตรเติมเงินประเภทนักเรียน นักศึกษา
สถานีรัชดาภิเษก สถานีสามยาน

4 สถานี 11 สถานี

แม่และวายุจะวางแผนการเดินทางอย่างไรจึงจะจ่ายเงินค่า พอเดินทางไป กลับ วันละ 2 เที่ยว เที่ยวละ 23 บาท


พอจายคาโดยสารวันละ 2 23 = 46 บาท
ถาพอมีเงินในบัตร 500 บาท แสดงวา
เกดเดินทางไป กลับ วันละ 2 เที่ยว เที่ยวละ 35 บาท
เกดจายคาโดยสารวันละ 2 35 = 70 บาท
ถาเกดมีเงินในบัตร 500 บาท แสดงวา

พาหนะน้อยทีส่ ด

พอจะเดินทางไป กลับ ไดมากที่สุด 500 46 เกดจะเดินทางไป กลับ ไดมากที่สุด 500 70
คิดเปน 10 วัน คิดเปน 7 วัน

10
7
จากนัน
้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 10.4 เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 159
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

6. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นกั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 214 เป็นรายบุคคล

21

28 51
14
83

นําจํานวนสมาชิกในชุมนุมทั้งหมด ลบดวยผลรวมของจํานวนสมาชิกในชุมนุมดนตรี
ชุมนุมศิลปะและชุมนุมปงปอง จะได 189 (35 + 64 + 39) = 51 คน
ดังนั้นชุมนุมภาษาอังกฤษมีสมาชิกทั้งหมด 51 คน
๕๑

72

ตัวอยาง นําจํานวนเหรียญทองทั้งหมด ลบดวยผลรวมของจํานวนเหรียญทอง


ป พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2558

160 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ
1. อ่านแผนภูมิแท่ง
2. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่งในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา

สื่อการเรียนรู้
กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดเท่ากัน

แนวการจัดการเรียนรู้
1. แผนภูมแิ ท่งเป็นการนำ�เสนอข้อมูลอีกรูปแบบหนึง่ ครูควร
ทบทวนความรูเ้ กีย่ วกับแผนภูมริ ป ู ภาพหน้า 215 โดยใช้
กระดาษรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากขนาดเท่ากัน แทนรูปภาพ 1 รูป
ประกอบการอธิบาย เพือ ่ เชือ
่ มโยงไปสูแ่ ผนภูมแิ ท่ง
หน้า 215–216
จากนัน
้ ร่วมกันพิจารณาและอภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสูข
่ อ
้ สรุปทีว่ า่
แผนภูมท ิ ใ่ี ช้รป
ู สีเ่ หลีย
่ มมุมฉากแสดงข้อมูล เรียกว่า
แผนภูมแ ิ ท่ง สามารถนำ�เสนอได้ทง้ั แนวตัง้ และแนวนอน
••แผนภูมแิ ท่งประกอบด้วย ชือ่ แผนภูมแิ ละตัวแผนภูมิ
••ชือ่ แผนภูมิ เป็นส่วนทีแ่ สดงให้ทราบว่า เป็นข้อมูลเกีย่ ว
กับเรือ
่ งใด เวลาใด
••ตัวแผนภูมิ ประกอบด้วย เส้นแสดงจำ�นวน เส้นแสดง
รายการ และรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากทีแ ่ สดงจำ�นวนของ
แต่ละรายการ ซึง่ รูปสีเ่ หลีย
่ มมุมฉากแต่ละรูปต้องมี
ความกว้างเท่ากัน เริม
่ ต้นจากระดับเดียวกันที่ 0 และ
ระยะห่างระหว่างรูปสีเ่ หลีย ่ มมุมฉากแต่ละรูป
ควรเท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 161
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

2. ครูให้นกั เรียนฝึกอ่านแผนภูมแิ ท่งหน้า 216 โดยให้พจิ ารณา


จากส่วนปลายสุดของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากของแต่ละรายการ
เทียบกับเส้นแสดงจำ�นวน ครูอาจตัง้ คำ�ถามเพิม ่ เติม เช่น

••เรียงลำ�ดับจำ�นวนไอศกรีมทีข
่ ายได้จากมากไปน้อยอย่างไร
••วันใดขายไอศกรีมได้เงินมากทีส่ ด
ุ รูไ้ ด้อย่างไร
••วันใดขายไอศกรีมได้เงินน้อยทีส่ ด
ุ รูไ้ ด้อย่างไร
••วันใดบ้างขายไอศกรีมได้มากกว่ากัน 10 แท่ง
••วันทีข
่ ายได้มากทีส่ ด
ุ ขายได้เป็นกีเ่ ท่าของวันทีข
่ ายได้
น้อยทีส่ ด

จากนัน ้ ให้นกั เรียนช่วยกันนำ�เสนอข้อมูลจำ�นวนไอศกรีม
ทีส่ หกรณ์โรงเรียนขายได้ ตัง้ แต่วน
ั ที่ 10 ถึง 14 กรกฎาคม
2560 ด้วยแผนภูมแิ ท่งแนวนอน

162 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

3. ครูและนักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 218–219 ซึง่


ครูอาจตัง้ คำ�ถามเพิม ่ เติมได้ และอาจนำ�แผนภูมแิ ท่งเกีย่ วกับ
เรือ่ งอืน
่ ๆ ให้นกั เรียนฝึกทักษะการอ่านเพิม่ เติม แล้วให้
ทำ�แบบฝึกหัด 10.5 เป็นรายบุคคล

5 ชบา บานชื่น เข็ม ชวนชม


และดาวเรือง
13
เข็ม 19
บานชื่นกับชวนชม 12
3
65

เข็ม ดาวเรือง บานชื่น ชวนชม ชบา

จํานวนรองเทาประเภทตาง ๆ ที่รานคาขายไดใน 1 สัปดาห


230
410

รองเทาแตะ รองเทาผาใบ รองเทากีฬา รองเทาหนัง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 163
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

4. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นกั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 220 เป็นรายบุคคล

การตูน 50

30

นิตยสาร สารคดี

นิตยสาร สารคดี นิทาน การตูน

ถาเปนแผนภูมิแทงในแนวตั้ง ใหเปรียบเทียบความสูง
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละรายการ
ถาเปนแผนภูมิแทงในแนวนอน ใหเปรียบเทียบความยาว
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละรายการ

164 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

5. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาการแก้โจทย์ปญ ั หาโดย
ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมแิ ท่ง หน้า 221 เพือ่ ฝึกการแก้โจทย์ปญ
ั หา
นอกจากนีค ้ รูอาจตัง้ คำ�ถามเพิม
่ เติม เช่น

••ถ้าสบูน่ �ำ้ นมข้าวก้อนละ 35 บาท ร้านค้าขายสบูน


่ �ำ้ นมข้าว
ได้เงินเท่าใด
••ถ้าสบูก่ ห
ุ ลาบ ราคาก้อนละ 40 บาท และสบูล่ าเวนเดอร์
ราคาก้อนละ 95 บาท สบูช ่ นิดใดขายได้เงินมากกว่า และ
มากกว่าเท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 165
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

6. ครูและนักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 222 ซึง่ ครูอาจตัง้


คำ�ถามเพิม
่ เติม เช่น

••ถ้า พ.ศ. 2560 มีพน ้ื ทีป


่ า่ ไม้เป็นครึง่ หนึง่ ของ พ.ศ. 2516
พ.ศ. 2560 มีพน้ื ทีป
่ า่ ไม้เท่าใด
••พ.ศ. 2551 มีพน
้ื ทีป
่ า่ ไม้มากกว่า พ.ศ. 2525 กีต
่ าราง
กิโลเมตร
และอาจนำ�แผนภูมแิ ท่งเกีย่ วกับเรือ่ งอืน
่ ๆ ให้นกั เรียนฝึกทักษะ
การแก้โจทย์ปญ
ั หาเพิม
่ เติม จากนัน ้ ทำ�แบบฝึกหัด 10.6
เป็นรายบุคคล

37,869

45,502

58,227

799

ปริมาณพลังงานในอาหารประเภทต่าง ๆ ต่อ 1 จาน


อาหาร
ข้าวขาหมู 690

ข้าวไข่เจียว 445

ข้าวหมูทอด 416

ข้าวมันไก่ 596

ข้าวผัดอเมริกัน 790

ข้าวผัดกะเพราหมู 580

ข้าวคลุกกะปิ 410
พลังงาน (กิโลแคลอรี่)
0 100 200 300 400 500 600 700 800 900

ที่มา: https://www.honestdocs.co/table-of-calories-in-food-types

โดยครูอาจใช้ค�ำ ถาม เช่น


••แก้วตารับประทานข้าวผัดอเมริกนั 1 จาน ส่วนเพชรรับประทานข้าวหมูทอด 1 จาน ใครจะได้รบ
ั พลังงานอาหารมากกว่า
และมากกว่าเท่าใด
••ถ้าวันนีม
้ นัสรับประทานข้าวขาหมู 2 จาน มนัสจะได้รบ
ั พลังงานอาหารเท่าใด
••ถ้าใน 1 วัน ออมสินต้องการรับประทานอาหารมือ้ เช้า มือ้ กลางวัน และมือ้ เย็น มือ้ ละ 1 จาน โดยเลือกเมนูอาหารไม่ซ�ำ้ กัน
เพือ่ ให้ได้พลังงานอาหารตัง้ แต่ 1,500–1,800 กิโลแคลอรี่ ออมสินเลือกรับประทานอาหารประเภทไหนได้บา้ ง

166 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

7. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นกั เรียน
ทำ�กิจกรรมหน้า 223 เป็นรายบุคคล

155

5,740

67

คาเขาชมทั้งหมดในวันที่ 6 หาไดจากคาเขาชมของเด็กรวมกับคาเขาชมของผูใหญ
คาเขาชมของเด็ก คิดจากเด็ก 50 คน คนละ 35 บาท
เปนเงิน 50 x 35 = 1,750 บาท
คาเขาชมของผูใหญ คิดจากผูใหญ 98 50 = 48 คน คนละ 70 บาท
เปนเงิน 48 x 70 = 3,360 บาท
ดังนั้น ในวันที่ 6 เก็บคาเขาชมไดทั้งหมด 1,750 + 3,360 = 5,110 บาท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 167
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถเขียนแผนภูมิแท่ง

สื่อการเรียนรู้
-

แนวการจัดการเรียนรู้
1. การเขียนแผนภูมิแท่ง ครูควรทบทวนส่วนประกอบของ
แผนภูมิแท่งก่อน แล้วใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย
เพื่อเชื่อมโยงการนำ�เสนอข้อมูลในรูปตารางทางเดียวไปสู่การ
เขียนแผนภูมิแท่ง จากหน้า 224 พร้อมทั้งอ่านแผนภูมิแท่ง
ที่ได้ หรือครูอาจจัดกิจกรรมเสริม เช่น ให้นักเรียนช่วยกัน
สำ�รวจสีที่ชอบมากที่สุด แล้วนำ�เสนอด้วยแผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่งที่ได้อาจแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการแบ่งเส้นแสดง
จำ�นวน ทั้งนี้ต้องสามารถสื่อความหมายได้ตรงกัน

168 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

2. ครูและนักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 225–226 โดยครู


ควรเน้นย้ำ�กับนักเรียนในการเขียนแผนภูมิแท่งจะต้องเขียน
ส่วนประกอบของแผนภูมิแท่งให้ครบ แล้วให้ทำ�
แบบฝึกหัด 10.7 เป็นรายบุคคล

ตัวอยาง
จํานวนนักเรียนชั้น ป.1 ถึง ป.6 ของโรงเรียนเปยมสุขที่ใชบริการหองสมุดใน 1 สัปดาห

จํานวน (คน)

50

40

30

20

10

0 ชั้น
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ตัวอยาง
จํานวนสัตวเลี้ยงของลุงตู

ชนิดสัตวเลี้ยง

เปด

ไก

แกะ

แพะ

วัว

จํานวน (ตัว)
0 6 12 18 24 30 36

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 169
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

ร่วมคิดร่วมทำ�

ในการจัดกิจกรรม ครูควรแบ่งนักเรียน กลุม ่ ละ 3–4 คน


ให้แต่ละกลุม ่ สำ�รวจข้อมูลทีแ่ ตกต่างกัน แล้วนำ�เสนอข้อมูล
ด้วยแผนภูมแิ ท่ง จากนัน ้ นำ�ผลงานเสนอหน้าชัน ้
พร้อมตัง้ คำ�ถามให้เพือ ่ นในชัน
้ ช่วยกันตอบ โดยครูอาจ
ตัง้ คำ�ถามเพิม่ เติมเพือ
่ ให้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญ

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

170 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 10 การนำ�เสนอข้อมูล

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถอ่านตารางสองทาง

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำ�ถาม

ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันของคนไทย 1 คน พ.ศ. 2560


ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต
กิจกรรม
วันทำ�งานหรือวันเรียนหนังสือ วันหยุด

ติดต่อสื่อสาร 3 ชั่วโมง 30 นาที 3 ชั่วโมง 36 นาที

ดูทีวี ดูหนัง หรือฟังเพลง 2 ชั่วโมง 18 นาที 2 ชั่วโมง 42 นาที

เล่นเกม 2 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง 24 นาที

อ่านหนังสือ 1 ชั่วโมง 54 นาที 2 ชั่วโมง

เรียบเรียงข้อมูลจาก: http://ourgreenfish.com/th/สถิติผู้ใช้งานอินเทอร์/

1. กิจกรรมใดมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันมากที่สุด
2. กิจกรรมใดมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันน้อยที่สุด
3. กิจกรรมใดบ้างมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันเท่ากัน
4. คนไทยส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อดูหนังในวันหยุดเป็นระยะเวลาโดยเฉลี่ยต่อวันเท่าใด
5. ในวันทำ�งานแม่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อติดต่อสื่อสารเป็นระยะเวลาโดยเฉลี่ยต่อวันเท่าใด
6. ในวันทำ�งานหรือวันเรียนหนังสือมีกิจกรรมใดบ้างที่ใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันมากกว่า 120 นาที
7. ในวันหยุดไทเกอร์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเล่นเกมโดยเฉลี่ยต่อวันกี่นาที
8. ในวันหยุดมีกิจกรรมใดที่ใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันไม่น้อยกว่า 190 นาที

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 171
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถใช้ข้อมูลจากตารางสองทางในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำ�ถาม

จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เข้าไปอุทยานแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558 – 2560


จำ�นวน (คน)
อุทยานแห่งชาติ
2558 2559 2560
ดอยอินทนนท์ 604,252 667,830 672,389
เขาใหญ่ 1,179,806 1,210,295 1,458,759
แก่งกระจาน 132,108 135,041 141,307
เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด 252,855 267,624 495,565
อ่าวพังงา 73,175 65,679 52,711
รวม 2,242,196 2,346,469 2,820,731
ที่มา: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ค่าเข้าอุทยานแห่งชาติ
ค่าเข้า (บาท)
อุทยานแห่งชาติ
เด็ก ผู้ใหญ่
ดอยอินทนนท์ 20 50
เขาใหญ่ 20 40
แก่งกระจาน 40 100
เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด 20 40
อ่าวพังงา 30 60
ที่มา: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

1. ปีงบประมาณใดมีจำ�นวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดและน้อยที่สุด และมีจำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างกันกี่คน
2. ถ้าปีงบประมาณ 2560 มีนักท่องเที่ยวที่เป็นเด็กเข้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 2,308 คน
จะเก็บค่าเข้าชมจากนักท่องเที่ยวที่เป็นผู้ใหญ่ได้เท่าใด
3. ถ้าปีงบประมาณ 2559 มีนักท่องเที่ยวที่เป็นผู้ใหญ่เข้าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 1,109,876 คน ซึ่งมากกว่า
นักท่องเที่ยวที่เป็นผู้ใหญ่ของปีงบประมาณ 2560 อยู่ 23,189 คน ปีงบประมาณ 2560 มีนักท่องเที่ยวที่เป็นเด็ก
เข้าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่กี่คน
4. ถ้าปีงบประมาณ 2558 เก็บค่าเข้าอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงาจากนักท่องเที่ยวที่เป็นเด็กได้ 122,490 บาท
จะมีนักท่องเที่ยวที่เป็นผู้ใหญ่กี่คน

172 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถอ่านแผนภูมิแท่ง

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำ�ถาม
สวนผลไม้ต่าง ๆ เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปรับประทานผลไม้ โดยคิดค่าบริการต่อคนดังนี้

ค่าบริการต่อคนของสวนผลไม้ต่าง ๆ

สวนผลไม้

สวนตาติ่ง

สวนผู้ใหญ่คำ�นึง

สวนละไม

สวนผู้ใหญ่ก้อง

สวนลุงทองใบ

สวนป้าหยัน

สวนยายทุม

สวนผู้ใหญ่สมควร
ค่าบริการ (บาท)
0 100 200 300 400 500

1. ค่าบริการของสวนตาติ่งน้อยกว่าสวนยายทุมเท่าใด
2. ถ้าเบลมีเงิน 300 บาท เบลสามารถใช้บริการที่สวนใดได้บ้าง
3. สวนใดบ้างที่คิดค่าบริการเป็นครึ่งหนึ่งของสวนป้าหยัน
4. สวนใดบ้างที่คิดค่าบริการมากกว่า 350 บาท
5. สวนใด ถ้ามีการปรับค่าบริการขึ้นอีก 180 บาท ค่าบริการใหม่จะเป็น 430 บาท
6. ถ้าสวนที่คิดค่าบริการมากที่สุด ปรับลดราคาลง 70 บาท สวนนี้จะคิดค่าบริการใหม่เท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 173
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนสามารถใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่งในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำ�ถาม

จำ�นวนไข่ไก่ที่ฟาร์มแห่งหนึ่งเก็บได้ตั้งแต่วันที่ 12-18 มีนาคม 2560

จำ�นวน (ฟอง)

3,000
2,460 2,370 2,400 2,430 2,370 2,300
2,500
1,980
2,000
1,500
1,000
500
0 วันที่
12 มีี.ค. 13 มีี.ค. 14 มีี.ค. 15 มีี.ค. 16 มีี.ค. 17 มีี.ค. 18 มีี.ค.

1. วันที่ 13 ฟาร์มแห่งนี้คัดขนาดไข่ที่เก็บได้ เป็นไข่เบอร์ 1 จำ�นวน 607 ฟอง ที่เหลือเป็นไข่เบอร์ 3 นำ�มาจัดใส่แผง


แผงละ 30 ฟอง จะจัดไข่เบอร์ 3 ได้กี่แผง
2. ฟาร์มแห่งนี้ขายไข่คละเบอร์ครั้งแรกวันที่ 12 ราคาฟองละ 3 บาท ในอีก 4 วันต่อมา ขายไข่คละเบอร์ครั้งที่ 2
โดยขายเพิ่มขึ้นฟองละ 1 บาท ขายไข่ครั้งที่ 2 ได้เงินกี่บาท
3. วันที่ 14 ราคาไข่คละเบอร์ ฟองละ 3.10 บาท วันที่ 18 ราคาไข่คละเบอร์ลดลงฟองละ 0.10 บาท
วันที่ 18 ฟาร์มแห่งนี้ขายไข่ได้เงินกี่บาท

174 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5 นักเรียนสามารถเขียนแผนภูมิแท่ง

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้เขียนแผนภูมิแท่ง

1. จำ�นวนขนมต่าง ๆ ที่ขายในงานมหกรรมอาหารไทย

ขนม จำ�นวน (ถาด)

หม้อแกง 140

บ้าบิ่น 90

วุ้นลูกตาล 70

ขนมชั้น 110

ข้าวเหนียวตัด 80

2. จำ�นวนอุทยานแห่งชาติในแต่ละภาคของประเทศไทย พ.ศ. 2559

ภาค จำ�นวน (แห่ง)

เหนือ 47

ตะวันออกเฉียงเหนือ 23

กลาง 16

ตะวันออก 9

ใต้ 34

ที่มา: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 175
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 10 การนำ�เสนอข้อมูล

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. ติดต่อสื่อสาร
2. อ่านหนังสือ
3. เล่นเกม กับ อ่านหนังสือ
4. 2 ชั่วโมง 42 นาที
5. 3 ชั่วโมง 30 นาที
6. ติดต่อสื่อสาร กับ ดูทีวี ดูหนัง หรือฟังเพลง
7. 144 นาที
8. ติดต่อสื่อสาร

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2
1. ปีงบประมาณ 2560 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยวมากที่สุด ปีงบประมาณ 2558 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยวน้อยที่สุด
และมีจำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างกัน 578,535 คน
2. 13,899,900 บาท
3. 372,072 คน
4. 69,092 คน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3
1. 100 บาท
2. สวนตาติ่ง สวนผู้ใหญ่ก้อง สวนลุงทองใบ และสวนผู้ใหญ่สมควร
3. สวนลุงทองใบและสวนผู้ใหญ่สมควร
4. สวนละไมและสวนป้าหยัน
5. สวนตาติ่ง
6. 380 บาท

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4
1. 58 แผง
2. 9,480 บาท
3. 5,940 บาท

176 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5

1.

จำ�นวนขนมต่าง ๆ ที่ขายในงานมหกรรมอาหารไทย

จำ�นวน (ถาด)

160

140

120

100

80

60

40

20

0 ขนม
หม้อแกง บ้าบิ่น วุ้นลูกตาล ขนมชั้น ข้าวเหนียวตัด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 177
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 10 | การนำ�เสนอข้อมูล

2.

จำ�นวนอุทยานแห่งชาติในแต่ละภาคของประเทศไทย พ.ศ. 2559

จำ�นวน (แห่ง)

52

48

44

40

36

32

28

24

20

16

12

0 ภาค
เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก ใต้

178 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เฉลยแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ สารบัญเฉลยแบบฝึกหัด
เล่ม ๒


ชั้นประถมศึกษาปีที่
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

บทที่
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เศษส่วน (หน้า 180)
6
บทที่ ทศนิยม (หน้า 189)
7
บทที่ มุม (หน้า 199)
8
บทที่ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก (หน้า 208)
9
บทที่ การนำ�เสนอข้อมูล (หน้า 227)
10
180

6
7
เศษหกสวนเจ็ด

4
4
เศษสี่สวนสี่

2
6
เศษสองสวนหก
3 4 5 8 6 7 9 11
9 9 9 9 12 12 12 12

1
3
เศษหนึ่งสวนสาม
8 3 8
11 11

5 2 1 1
7 มีหลายคําตอบ
2 2
เศษหาสวนเจ็ด
181

หกเศษสองสวนสาม

1
7
2

34 สามเศษสี่สวนเกา
9

มีหลายคําตอบ

55
6

มีหลายคําตอบ
สี่เศษสี่สวนหา
182

5 24

(7 5) + 2 2 เศษ 1 4 เศษ 4
(2 9) + 4
24 72
9 9 5 5
18 + 4 35 + 2
9 5 24
22 37 ดังนั้น 7 21 ดังนั้น 44
3 3 5 5
9 5
24 22 37
ดังนั้น ดังนั้น 72
9 9 5 5
21 44
3 5

22 37
9 5

6 23 9 35
3 เศษ 5 3 เศษ 8
6 (3 11) + 6 (10 10) + 9
3 10 9
11 11 10 10
33 + 6 100 + 9 23
11 10 ดังนั้น 35 ดังนั้น 35 38
39 109 6 6 9 9
11 10
6 39 109
ดังนั้น 3 ดังนั้น 10 9 35 38
11 11 10 10
6 9

39 109
11 10

1
31 9
4 2

10 1 4 4
59 37 5 7
8 6
54 2
9
40 23 8 10
9 12
183

2 6 4 20 6 2

4 6 2

7 49 9 72 8 4
7 8 8 4

24 มีหลายคําตอบ มีหลายคําตอบ
6

96 ตัวอยาง
9

1 1 2 2 10 10 2 20
5 5 2 10 11 11 2 22
1 1 3 3 10 10 3 30
ตัวอยาง 5 5 3 15 11 11 3 33
6 9 12 12 18 24 1 1 4 4 10 10 4 40
2 3 4 2 3 4 5 5 4 20 11 11 4 44
22 44 55 14 28 70
2 4 5 2 4 10 1 2 3 4 10 20 30 40
5 10 15 20 11 22 33 44

9 3 7 7 2 14 15 15 2 30
9 9 2 18 20 20 2 40
7 7 3 21 15 15 3 45
11 1 9 9 3 27 20 20 3 60
7 7 4 28 15 15 4 60
9 9 4 36 20 20 4 80
9 12
7 14 21 28 15 30 45 60
9 18 27 36 20 40 60 80
184

2 6
2 6

2 10
20 20 5 4 36 36 9 4
2 10 25 25 5 5 63 63 9 7

3 28 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 4 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 4


3 28

4 4

ตัวอยาง

7 7 10 70 5 5 8 40
10 10 2 5 12 12 2 6 15 15 10 150 9 9 8 72
20 20 2 10 42 42 2 21
10 10 5 2 12 12 3 4
20 20 5 4 42 42 3 14 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 150 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 40
10 10 10 1 12 12 6 2
20 20 10 2 42 42 6 7

150 40
10 5 2 1 12 6 4 2
20 10 4 2 42 21 14 7

27 27 3 9 35 35 5 7 16 16 4 4 55 55 11 5
36 36 3 12 140 140 5 28 12 12 4 3 110 110 11 10
27 27 9 3 35 35 7 5
36 36 9 4 140 140 7 20
27 27 2 54 35 35 35 1 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 4 ดังนั้น จํานวนที่แทนดวย คือ 10
36 36 2 72 140 140 35 4

27 9 3 54 35 7 5 1 4 10
36 12 4 72 140 28 20 4
185

ตัวอยาง

2 2 2 1 25 25 5 5
40 40 2 20 45 45 5 9

1 5
20 9

16 16 8 2 48 48 6 8
64 64 8 8 30 30 6 5

2 2 2 1
8 8 2 4

1 8
4 5

3 1
5 4
5 3
4 4
2 3
5 2
186

5 7 11 16
4 8 24 48

11 21 5 39
4 8 2 16

9 7 4 36
20 10 5 40

5 43 10 7
2 2
3 18 18 9
187

ตัวอยาง ตัวอยาง

6 1 6 1 3 7 7 7 7 3 13 16 13 5 16 73 57 73 57 3
9 3 9 3 3 24 8 24 8 3 3 15 3 5 15 24 8 24 8 3
6 3 7 21 65 16 81 73 171 244
9 9 24 24 15 15 15 24 24 24
9 28 7 1 27 2 61 10 1
1 1 5
9 1 24 6 6 2 5 5 6 6
1 1 5 10 1
6 5 6

12 21 12 4 21 4 4 25 24 25 2 24 9
16 4 16 4 4 9 9 9 18 9 2 18 11
3 21 4 50 24 74 5 9
5
4 4 9 18 18 18 11
24 4 37
6 5 41 5 9
4 9 9 9 11
6 1 5 9
4
9 11

ตัวอยาง ตัวอยาง

7 8 7 4 8 9 12 9 3 12 28 13 28 13 2 17 40 17 3 40
3 12 3 4 12 10 30 10 3 30 20 10 20 10 2 7 21 7 3 21
28 8 27 12 28 26 2 51 40
12 12 30 30 20 20 20 21 21
20 5 2 15 1 1 11
1
2 12 3 5 1 30 2 1 10 11 21
1
5 2 10 21

1 5 4 1 13 2 13 2 5 41 2 12 7 8 45
4 4 4 25 5 25 5 5 12 1 12 8 8
20 1 13 10 41 24 17 56 45 11
4 4 25 25 12 12 12 8 8 8
19 3
4 3 15 13
3 4 4 25 12 8
4 3 15 13
4 25 12 8
188

ตัวอยาง

ใชไป 2 ขวด
9
1
เกลือปนที่มีอยูเดิม
เหลืออยู ขวด
3
วิชาคณิตศาสตร ชั่วโมง ชั่วโมง
แมใชเกลือปนไป 2 ขวด
วิชาศิลปะ 9
ทําใหเหลือเกลือปน 1 ขวด
3
2
เนื่องจาก 1 1 3 3
ขนุนใชเวลาทําการบานวิชาคณิตศาสตร 1 ชั่วโมง 3 3 3 9
5 ดังนั้น เดิมในขวดนี้มีเกลือปน 2 3 5 ขวด
ใชเวลาทําการบานวิชาศิลปะมากกวาวิชาคณิตศาสตร 8 ชั่วโมง 9 9 9
20 เดิมในขวดนี้มีเกลือปน 5 ขวด
เนื่องจาก 1 2 7 7 4 28 9
5 5 5 4 20
ดังนั้น ขนุนใชเวลาทําการบานศิลปะ 28 8 36 9 14 ชั่วโมง
20 20 20 5 5
ขนุนใชเวลาทําการบานวิชาศิลปะ 1 4 ชั่วโมง
5

กม.

นํ้าที่ตองเติมอีก เดินวันแรก
ตองการใหมีนํ้า 7 ตู
1 8 เดินวันที่ 2 กม.
มีนํ้าอยู ตู
2

แคนเดินออกกําลังกายวันแรกได 2 9 กิโลเมตร
ในตูปลามีนํ้าอยู 1 ตู 10
2 แคนเดินวันแรกไดมากกวาวันที่ 2 11 กิโลเมตร
ตองการใหตูปลามีนํ้า 7 ตู 5
8 เนื่องจาก 2 9 29 และ 1 1 6 6 2 12
เนื่องจาก 1 1 4 4 10 10 5 5 5 2 10
2 2 4 8 ดังนั้น วันที่ 2 แคนเดินไดระยะทาง 29 12 17 7 กิโลเมตร
1
ดังนั้น จะตองเติมนํ้าอีก 7 4 3 ตู 10 10 10 10
8 8 8 วันที่ 2 แคนเดินไดระยะทาง 1 7 กิโลเมตร
จะตองเติมนํ้าอีก 3 ตู 10
8
189

0.5
ศูนยจุดหา

0.4
ศูนยจุดสี่

0.3 1.7 0.55 0.6


ศูนยจุดหก

6 60 600

2 20 200

90 มีหลายคําตอบ

75 750 มีหลายคําตอบ

ศูนยจุดสอง ศูนยจุดเกา
4 8 80

1 มีหลายคําตอบ
0.7 0.5

มีหลายคําตอบ
190

สี่จุดหา

1.2 หนึ่งจุดสอง

หนึ่งจุดแปด

3.4 สามจุดสี่

สามจุดศูนย

2.8 สองจุดแปด
สองจุดเกา

3.6 79.4

3.1 สามจุดหนึ่ง 20.8 314.5


191

8.0 8.00

25 25.0

19 19.00
0.23 0.78
100 100.00
ศูนยจุดสองสาม ศูนยจุดเจ็ดแปด
340 340.0

0.05 0.47

0.15 0.39

0.20 0.75

85
7 7.85 เจ็ดจุดแปดหา
100

24
51 51.24 หาสิบเอ็ดจุดสองสี่
100

98
26 26.98 ยี่สิบหกจุดเกาแปด
100

34
981 981.34 เการอยแปดสิบเอ็ดจุดสามสี่
100
192

15.022

0.933

หนึ่งจุดเกาเจ็ดเจ็ด
หนึ่งจุดสองหาหนึ่ง
หนึ่งจุดสี่สองเกา 711.0

691.08
0.004

0.029
157.36

0.070

0.893

26.352

5.010 10.00 หรือ 10.000


3,246.031
8.70 หรือ 8.700 23.49

700.550 0.060 387.013


193

5 9 1

3 5 8
4

9
200 70

6 7
1,000 9

2 4
9,000

60 + 5 + 3 + 2
10 1000

100 + 20 + 4 + 1 + 7 แกสโซฮอล E85


10 100 1000

9 + 3 แกสโซฮอล 95
100 1000
ดีเซล
500 + 90 + 3 + 6 + 6 + 5
10 100 1000

8 + 4 + 9
700 + 7 +
10 100 1000
มีหลายคําตอบ
300 + 8
1000

มีหลายคําตอบ
194

0.092 0.209 0.9


7 8.6 0 0 2 3.1 5 0

71.565 71.655 71.656 71.665 0.3 0 1 4 6.0 0 7

7 8.9 0 1 6 9.1 5 7

๗๘.๙๐๑ ๖๙.๑๕๗

44.7 44.5 44.057

4.5 0 0 1 7.1 5 0
9.62 9.6 9.26 9.2
0.0 9 8 2.6 2 5

4.5 9 8 1 9.7 7 5

๔.๕๙๘ ๑๙.๗๗๕
มีหลายคําตอบ

12.106 12.107 12.108 12.109


1 3.5 1 8 1 0 8.0 8 1
4.696 4.697 4.698 2 5.0 7 0 8 0 1.0 1 8

มีหลายคําตอบ 3 8.5 8 8 9 0 9.0 9 9

๓๘.๕๘๘ ๙๐๙.๐๙๙

มีหลายคําตอบ
7.7 0.86
มีหลายคําตอบ
13.762 2.916
195

1 5.7 4 5.2 6 1 9.1 9 4 3. 2 7

9.8 2 9 .7 7 8.0 1 4 1. 2 0

2 5.5 7 5.0 3 1 1.1 8 2. 0 7

๒๕.๕ ๗๕.๐๓ ๑๑.๑๘ ๒.๐๗

0.3 6 0 9 0 5 .6 2 9 0 .9 4 8 3 5 . 1 7 8

5.8 7 4 1 2 .4 0 0 0.0 2 3 4. 0 5 0

6.2 3 4 9 1 8 .0 2 9 0.9 2 5 3 1. 1 2 8

๖.๒๓๔ ๙๑๘.๐๒๙ ๐.๙๒๕ ๓๑.๑๒๘

4.9 9 8 0.9 6 0 1 8 .3 5 5 7 .8 6

0.2 0 0 1.3 5 5 5 .2 4 7 .2 0

5.1 9 8 2.3 1 5 1 3 .1 1 5 0 .6 6

๕.๑๙๘ ๒.๓๑๕ ๑๓.๑๑ ๕๐.๖๖

1.2 0.55 0.6 3.29

30.023 22.318 0.03 4.07


196

0 .2 0 7 8 3 .1 2 6 วิธีทํา 3.401 วิธีทํา 9.00


0.600 4.36
0.0 1 8 5 7.4 8 0
4.001 4.640
0.1 8 9 2 5.6 4 6
0.892 2.051
๐.๑๘๙ ๒๕.๖๔๖ 3.109 2.589
ตอบ ๓.๑๐๙ ตอบ ๒.๕๘๙

0.3 1 0 9 .4 0

0.2 9 4 6 .7 5

0.0 1 6 2 .6 5

๐.๐๑๖ ๒.๖๕

วิธีทํา หาผลลัพธของ 84.3 47.75 วิธีทํา หาผลลัพธของ 47.75 15.068


84.30 47.750
6 .1 0 0 1 0 0 .0 0 0 47.75 15.068

4.3 2 8 5.4 3 6 36.55 32.682


หาผลลัพธของ 36.55 15.068 หาผลลัพธของ 84.3 32.682
1.7 7 2 9 4.5 6 4
36.550 84.300
๑.๗๗๒ ๙๔.๕๖๔
15.068 32.682
21.482 51.618
ตอบ ๒๑.๔๘๒ ตอบ ๕๑.๖๑๘
0.72 0.67

3.528 4.973
197

วิธีคิด
ครั้งที่ 1 79.37 คะแนน 0.45 คะแนน

วิธีคิด ครั้งที่ 2
ตัวที่ 1 1.3 กก.
ทั้งหมด
ดังนั้น โมณีกาทําคะแนนครั้งที่ 2 ได 79.37 + 0.45 = 79.82 คะแนน
ตัวที่ 2 1.6 กก.
ตอบ ๗๙.๘๒ คะแนน

ดังนั้น ปองคุณซื้อไก 1.3 + 1.6 = 2.9 กิโลกรัม


ตอบ ๒.๙ กิโลกรัม

วิธีคิด 1.3 กม.


3.145 กม.
วิธีคิด 26.88 บาท
บาน โรงเรียน
แกสโซฮอล 91 มากกวา บาน โรงพยาบาล
แกสโซฮอล 95 ดังนั้น ระยะทางจากบานถึงโรงพยาบาล 3.145 + 1.3 = 4.445 กิโลเมตร

27.15 บาท ตอบ ๔.๔๔๕ กิโลเมตร

ดังนั้น แกสโซฮอล 95 ราคามากกวา แกสโซฮอล 91


และมากกวาอยู 27.15 26.88 = 0.27 บาท
ตอบ แกสโซฮอล ๙๕ ราคามากกวาแกสโซฮอล ๙๑ อยู ๐.๒๗ บาท
198

วิธีคิด
ที่ดินทั้งหมด

เดิม 37.5 ไร ไดอีก 18 ไร


แอนมีที่ดินทั้งหมด 37.5 + 18 = 55.5 ไร
ที่ดินทั้งหมด 55.5 ไร

ยางพารา 10.75 ไร ปาลมนํ้ามัน


ขาวสาร ดังนั้น แอนปลูกปาลมนํ้ามัน 55.5 10.75 = 44.75 ไร
ตอบ ๔๔.๗๕ ไร

ถั่วลิสง

32.433 ตัน
วิธีคิด
วันที่ 1 5.5 ลิตร 1.75 ลิตร

วันที่ 2
บริษัทสงออกขาวสารมากกวานํ้าตาลทราย 14.925 ตัน
วันที่ 2 แมคาใชนํ้ามัน 5.5 + 1.75 = 7.25 ลิตร
20 ลิตร

บริษัทสงออกนํ้าตาลทรายนอยกวามันสําปะหลัง 0.75 ตัน

วันที่ 1 5.5 ลิตร วันที่ 2 7.25 ลิตร เหลือ


รวม 2 วัน แมคาใชนํ้ามัน 5.5 + 7.25 = 12.75 ลิตร
8.175 ตัน
เหลือนํ้ามัน 20 12.75 = 7.25 ลิตร
ดังนั้น 2 วัน แมคาใชนํ้ามัน 12.75 ลิตร และเหลือนํ้ามัน 7.25 ลิตร
ตอบ ๒ วัน แมคาใชนํ้ามัน ๑๒.๗๕ ลิตร และเหลือนํ้ามัน ๗.๒๕ ลิตร
199

ตัวอยาง

ดินสอ
200

ตัวอยาง

ตัวอยาง
N
S
MN และ XK ตัดกันที่จุด T จุด A อยูบน CD แตจุด B
O
ไมอยูบน CD

ตัวอยาง
S ตัวอยาง
C V
K F
X T
G
D

ตัวอยาง R
ตัวอยาง
A

M L
B F E
P
W B
EP ตัด WY ที่จุด R และ XQ QB และ XB
ตัด LM ที่จุด O

ตัวอยาง C ตัวอยาง
L K H
Y

M Y
B
N U W U R
201

ตัวอยาง

B T

L
T P U
C
G

F S
SB DG FI และ OC M
C Y
B
RL EN และ KA P W
X
A E
LP และ HM
D N

5.3

2.9
202

CDF FDE EDB


CDB CDE FDB

KTC หรือ CTK


จุด T
TK และ TC

YRU หรือ URY


จุด R ตัวอยาง
RY และ RU

K
M
DMS หรือ SMD
จุด M
C
MD และ MS L T

HOP หรือ POH


จุด O
OH และ OP
A
D

AFN หรือ NFA


จุด F
B C
FA และ FN
203

ตัวอยาง มุมฉาก ไดแก FAD DAB BAH HAF EAG

มุมตรง ไดแก FAB DAH

ตัวอยาง

M
จุด M
MX และ ME
204

UTX MPG
ตัวอยาง

FBY

NOC VDS

ตัวอยาง ตัวอยาง
A E
F

C D

จุด B จุด E
BA และ BC EF และ ED
205

ตัวอยาง
m(CDA) = 90 CDA เปนมุมฉาก
m(DAB) = 90 DAB เปนมุมฉาก
m(ABC) = 130 ABC เปนมุมปาน
m(BCD) = 50 BCD เปนมุมแหลม

90

180

40

45

50

85

130

95

60 118

90 43

120 114

23 98
206

ตัวอยาง
มุมปาน เปนมุมที่มีขนาดมากกวา 90 แตนอยกวา 180

S SUT
มุมศูนย เปนมุมที่มีขนาดเทากับ 0

U T
มุมฉาก เปนมุมที่มีขนาดเทากับ 90
E EDR

มุมกลับ เปนมุมที่มีขนาดมากกวา 180 แตนอยกวา 360


D R

XAK มุมตรง เปนมุมที่มีขนาดเทากับ 180

X A K
มุมแหลม เปนมุมที่มีขนาดมากกวา 0 แตนอยกวา 90

W WNZ

Z
N m(HAY) = 210

XGY

G Y X

m(PRX) = 331
M
มุมกลับ CMB

B
C
207

ตัวอยาง

D
A

105 60

B C E F

ปาน แหลม

140

G L

15
120 M N
H I
ตัวอยาง ตัวอยาง

ปาน แหลม P K
Q

V X R
B H

45 Y Z
W R 315

แหลม กลับ 280 70


208

4
ABCD HIEJ GHJF GIEF

7
209

4
C D
6

4
F E

ผืนผา
ABCD ผืนผา
มีมุมทุกมุมเปนมุมฉาก มี m(AB) = m(DC) m(BC) = m(AD) และ m(AB) = m(BC)
ตัวอยาง
D F

4 H G
4

4
ผืนผา

4
M N

ยองส จัตุรัส

มีมุมทุกมุมเปนมุมฉาก และ m(ยอ) = m(อง) = m(สง) = m(สย) P O

จัตุรัส
210

A S

F D

ผืนผา
จัตุรัส

ตัวอยาง
H I

K J

ผืนผา
ผืนผา

ตัวอยาง
ตัวอยาง
P L
R W

Y O

จัตุรัส จัตุรัส
211

ตัวอยาง

4 ซม.
I P

7 ซม.
6 ซม.
N

T S
9 ซม. G K

รูปสี่เหลี่ยมผืนผา

6 ซม.

ตัวอยาง
M N 9 ซม.
M L

ตัวอยาง A C
5 ซม.

P O 5 ซม.

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส B D
10 ซม.
212

18 72

132 6
213

18 ม.

5 ม.
12 + 4 + 5 + 6 + 5 + 4 + 10 + 4 +12 + 18 80

11 ซม.
C D
18 2 (17 + 29) 92

21
A

ม.
E
10

14
ม.
28

ม.
14
32
36
36

ม.
21
4 49 196
48
214

24

12 12
24

24
55

35

20 15 36
215

15 ตารางเมตร 16 ตารางเซนติเมตร
15 ตร.ม. 16 ตร.ซม.

22 ตารางหนวย 15 ตารางเซนติเมตร
15 ตร.ซม.

4 ตารางวา 24 ตารางเซนติเมตร
4 ตร.ว. 24 ตร.ซม.

12 ตารางเซนติเมตร 8 ตารางเมตร
12 ตร.ซม. 8 ตร.ม.

36 ตารางเซนติเมตร 35 ตารางเซนติเมตร
36 ตร.ซม. 35 ตร.ซม.
8 ตารางวา 8 ตารางเซนติเมตร
8 ตร.ว. 8 ตร.ซม.
216

16 16

15 18 12 21

34 15 18 19

39
หมายเหตุ คําตอบอาจแตกตางจากนี้ ขึ้นอยูกับการรวมพื้นที่ใหเปน 1 ตร.ซม.
แตทั้งนี้ไมควรแตกตางเกิน 2 ตร.ซม.
217

80 ซม. 100 ซม. 6 ม.


80 100 8,000 ตร.ซม. 6 6 36 ตร.ม.
2 หนวย 3 หนวย 4 ซม.
2 3 6 ตารางหนวย 4 4 16 ตร.ซม.

12 วา 45 ซม. 75 ซม.
12 12 144 ตร.ว. 45 75 3,375 ตร.ซม.

5 ม. 3 ซม. 7 ซม.
5 5 25 ตร.ม. 3 7 21 ตร.ซม.

3 ซม. 2 วา 4
วา 4 ซม. 8 ซม. 5 ซม.
3 3 9 ตร.ซม. 2 4 8 ตารางวา 4 8 32 ตร.ซม. 5 5 25 ตร.ซม.
218

A C

ตัวอยาง
ตัวอยาง ลากเสนแบงรูปตัวอักษรแตละตัวใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1 ตร.ซม. หลาย ๆ รูป
แบงรูปที่กําหนดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3 รูป คือ รูป A รูป B รูป C จะได รูปตัวอักษร I มีพื้นที่ 5 ตร.ซม.
รูป A มีพื้นที่ 5 25 = 125 ตร.ม. รูปตัวอักษร P มีพื้นที่ 10 ตร.ซม.
รูป B มีพื้นที่ 5 10 = 50 ตร.ม. รูปตัวอักษร S มีพื้นที่ 11 ตร.ซม.
รูป C มีพื้นที่ 5 5 = 25 ตร.ม. รูปตัวอักษร T มีพื้นที่ 7 ตร.ซม.
ดังนั้น รูปที่กําหนดมีพื้นที่ 125 + 50 + 5 = 200 ตร.ม. ดังนั้น รูปตัวอักษร IPST มีพื้นที่ 5 + 10 + 11 + 7 = 33 ตร.ซม.
ตอบ ๒๐๐ ตารางเมตร ตอบ ๓๓ ตารางเซนติเมตร
219

ความกวาง

125 ซม.
บานหนาตางมีความยาวโดยรวม 4 ม. 10 ซม. หรือ (4 100) + 10 = 410 ซม.
จากความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง + ความยาว + ความกวาง + ความยาว
20 ม.
410 = ความกวาง + 125 + ความกวาง + 125

12 ม. 410 = ความกวาง + ความกวาง + 250


410 250 = 2 ความกวาง
160 = 2 ความกวาง
ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = 2 (ความกวาง + ความยาว) 160 = 2 80
ดังนั้น สนามนี้มีความยาวโดยรอบ = 2 (12 + 20) = 64 เมตร ดังนั้น บานหนาตางกวาง 80 ซม.
หรือ สนามนี้มีความยาวโดยรอบ = 12 + 20 + 12 + 20 = 64 เมตร
๘๐ เซนติเมตร

๖๔ เมตร

ความยาวดาน

แปลงผักมีความยาวโดยรอบ 3 ม. 80 ซม. หรือ (3 100) + 80 = 380 ซม.


31 ซม. ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 4 ความยาวดาน
จะได 380 = 4 ความยาวดาน
เนื่องจาก 380 = 4 95
ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 4 ความยาวดาน
ดังนั้น แปลงผักนี้ยาวดานละ 95 ซม.
ดังนั้น นุนตองใชเชือกยาวอยางนอย = 4 31 = 124 ซม.
หรือ นุนตองใชเชือกยาวอยางนอย = 31 + 31 + 31 + 31 = 124 ซม.

๙๕ เซนติเมตร
๑๒๔ เซนติเมตร
220

25 ม.
จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกวาง ความยาว
ความยาว ดังนั้น กระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากมีพื้นที่ = 18 30 = 540 ตร.ซม.

จากความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = 2 (ความกวาง + ความยาว)


จะได 140 = 2 (25 + ความยาว)
เนื่องจาก 140 = 2 (25 + 45)
ดังนั้น คอกเลี้ยงสัตวมีความยาว 45 ม. ๕๔๐ ตารางเซนติเมตร

๔๕ เมตร

จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวดาน ความยาวดาน


ดังนั้น สนามหญามีพื้นที่ = 15 15 = 225 ตร.ม.

แบบที่ ความกวาง (ซม.) ความยาว (ซม.) ความยาวรอบรูป (ซม.) ๒๒๕ ตารางเมตร


1 1 9 2 (1 + 9) = 20
2 2 8 2 (2 + 8) = 20
3 3 7 2 (3 + 7) = 20
4 4 6 2 (4 + 6) = 20
จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว
5 5 5 2 (5 + 5) = 20
ดังนั้น หยกตองปูพรมคิดเปนพื้นที่ = 14 17 = 238 ตร.ม.

๕ แบบ

๒๓๘ ตารางเมตร
221

ความยาว

48 ตร.ม. 6 ม.

สี่เหลี่ยมจัตุรัส
จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว
จะได 48 = 6 ความยาว
เนื่องจาก 48 = 6 8 ความยาวดาน ความยาวดาน
ดังนั้น กนบอมีความยาว 8 เมตร 7 7 = 49 ตร.ม.

จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกวาง ความยาว


๘ เมตร จะได พื้นหองมีพื้นที่ = 7 12 = 84 ตร.ม.
ดังนั้น บริเวณที่ไมไดปูเสื่อมีพื้นที่ 84 49 = 35 ตร.ม.

12 ม.

27 ม.

จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง ความยาว


แปลงผักมีพื้นที่ = 12 27 = 324 ตร.ม.
แบงที่ดินเปน 4 สวน สวนละเทา ๆ กัน จะไดสวนละ 324 4 = 81 ตร.ม.
ดังนั้น แปลงปลูกผักแตละชนิดมีพื้นที่ 81 ตร.ม.

๘๑ ตารางเมตร ๓๕ ตารางเมตร
222

ตัวอยาง
จํานวนดินสอที่รานสหกรณโรงเรียนเปยมอุดมขายไดตั้งแตวันจันทรถึงวันศุกร

อาทิตย 55
อังคาร 15
40
พุธ ศุกร
10
80
223

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

ผลการสํารวจวิธีเดินทางมาโรงเรียนของนักเรียน ชั้น ป.4 จํานวน 35 คน

ขี่จักรยาน 7
อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

เดิน 12

นั่งรถโรงเรียน 8

นั่งรถประจําทาง 8

35

อยูในดุลยพินิจของครูผูสอน
224

ป.6 32
9,883,289
ป.2 16
133,851
ป.1 ป.4
2557
20
174,852 ลานบาท หรือ 174,852,000,000 บาท
9 11
2556
133,851 ลานบาท หรือ 133,851,000,000 บาท

528,000 1,209,590

154,434,000,000
225

456

93 160 293 2,213

688 567 4,417

60
54

293
272 531
456
2,213

60 4,417 265,200
760
272

160

531

ชาย หญิง
13
226

1,205
จํานวนไมผลในสวนของนายบุญมา
กันยายน 2,186

มะมวง มะละกอ ฝรั่ง นอยหนา สม ขนุน


กันยายน ตุลาคม กรกฎาคม สิงหาคม พฤศจิกายน ธันวาคม
70
989
มะมวง ขนุน
1,349
80
พฤศจิกายน และ เดือนธันวาคม
410
สม และ ขนุน
มะมวง กับ มะละกอ ฝรั่ง กับ นอยหนา
และ สม กับ ขนุน
227

10.47 น. หรือ 10 : 47 20.18 น. หรือ 20 : 18

พฤษภาคม ธันวาคม
3,820
81
11,610

1,068
228

จํานวนนักเรียนที่ทํากิจกรรมหลังเลิกเรียนของนักเรียน ป.4

จํานวนนักกีฬาของโรงเรียนธรรมรัก
จํานวน (คน) จํานวน (คน)

50

40

30

20

10

0 กิจกรรม
ดูแลสัตวเลี้ยง อานหนังสือ ชวยงานบาน เลนกีฬา ทําการบาน
ชนิดกีฬา
เปตอง วอลเลยบอล ฟุตซอล ปงปอง บาสเกตบอล
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู

หลักสูตร การสอน และการวัดผลประเมินผล เป็นองค์ประกอบหลักที่สำ�คัญในการออกแบบแนวทางการจัดการเรียนรู้


หากมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง จะส่งผลต่อองค์ประกอบอื่นตามไปด้วย ดังนั้น เพื่อความสอดคล้อง
และเกิดประสิทธิผลในการนำ�ไปใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จึงกำ�หนดเป้าหมายและจุดเน้นหลายประการที่ครูควรตระหนักและทำ�ความเข้าใจ เพื่อให้
การจัดการเรียนรู้สัมฤทธิ์ผลตามที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตร ครูควรศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องต่อไปนี้

1. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนำ�ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้
ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในที่นี้ เน้นที่
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำ�เป็น และต้องการพัฒนาให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ได้แก่ความสามารถต่อไปนี้

1) การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการทำ�ความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา และเลือกใช้


วิธีการที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึงความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบพร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง
2) การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้รูป ภาษาและสัญลักษณ์
ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน
3) การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์เนื้อหา
ต่าง ๆ หรือศาสตร์อื่น ๆ และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง
4) การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนับสนุนหรือโต้แย้ง เพื่อนำ�ไปสู่การสรุป
โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ
5) การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่เพื่อปรับปรุง พัฒนา
องค์ความรู้

2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ควรมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อไปนี้
1) ทำ�ความเข้าใจหรือสร้างกรณีทั่วไปโดยใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษากรณีตัวอย่างหลาย ๆ กรณี
2) มองเห็นว่าสามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
3) มีความมุมานะในการทำ�ความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
4) สร้างเหตุผลเพื่อสนับสนุนแนวคิดของตนเองหรือโต้แย้งแนวคิดของผู้อื่นอย่างสมเหตุสมผล
5) ค้นหาลักษณะที่เกิดขึ้นซ้ำ� ๆ และประยุกต์ใช้ลักษณะดังกล่าวเพื่อทำ�ความเข้าใจหรือแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ

3. การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบันนี้มุ่งเน้นการวัดและการประเมินการปฏิบัติงานในสภาพ
ที่เกิดขึ้นจริงหรือที่ใกล้เคียงกับสภาพจริง รวมทั้งการประเมินเกี่ยวกับสมรรถภาพของนักเรียนเพิ่มเติมจากความรู้ที่ได้จาก
การท่องจำ� โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายจากการที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้เผชิญกับปัญหาจากสถานการณ์จริง
หรือสถานการณ์จำ�ลอง ได้แก้ปัญหา สืบค้นข้อมูล และนำ�ความรู้ไปใช้ รวมทั้งแสดงออกทางการคิด การวัดผลประเมินผล
ดังกล่าวมีจุดประสงค์สำ�คัญดังต่อไปนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 229
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

1) เพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและตัดสินผลการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด


เพื่อนำ�ผลที่ได้จากการตรวจสอบไปปรับปรุงพัฒนาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้น
2) เพื่อวินิจฉัยความรู้ทางคณิตศาสตร์และทักษะที่นักเรียนจำ�เป็นต้องใช้ในชีวิตประจำ�วัน เช่น ความสามารถในการ
แก้ปัญหา การสืบค้น การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนำ�ความรู้ไปใช้ การคิดวิเคราะห์ การคิด
สร้างสรรค์ การควบคุมกระบวนการคิด และนำ�ผลที่ได้จากการวินิจฉัยนักเรียนไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการ
เรียนรู้ที่เหมาะสม
3) เพื่อรวบรวมข้อมูลและจัดทำ�สารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลจากการประเมินผลที่ได้ในการสรุปผล
การเรียนของนักเรียนและเป็นข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนหรือผู้เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม รวมทั้งนำ�สารสนเทศ
ไปใช้วางแผนบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

การกำ�หนดจุดประสงค์ของการวัดผลประเมินผลอย่างชัดเจน จะช่วยให้เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือวัดผลได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ สามารถวัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัดและนำ�ผลที่ได้ไปใช้งานได้จริง

แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีแนวทางที่สำ�คัญดังนี้
1) การวัดผลประเมินผลต้องกระทำ�อย่างต่อเนื่อง โดยใช้คำ�ถามเพื่อตรวจสอบและส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
ด้านเนือ้ หา ส่งเสริมให้เกิดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอย่างคำ�ถามต่อไปนี้ “นักเรียนแก้ปญ
ั หานีไ้ ด้
อย่างไร” “ใครมีวิธีการนอกเหนือไปจากนี้บ้าง” “นักเรียนคิดอย่างไรกับวิธีการที่เพื่อนเสนอ” การกระตุ้นด้วยคำ�ถาม
ที่เน้นการคิดจะทำ�ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันเองและระหว่างนักเรียนกับครู นักเรียนมีโอกาสแสดง
ความคิดเห็น นอกจากนี้ครูยังสามารถใช้คำ�ตอบของนักเรียนเป็นข้อมูลเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ และ
พัฒนาการด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้อีกด้วย
2) การวัดผลประเมินผลต้องสอดคล้องกับความรู้ความสามารถของนักเรียนที่ระบุไว้ตามตัวชี้วัดซึ่งกำ�หนดไว้ใน
หลักสูตรที่สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้ครูจะต้องกำ�หนดวิธีการวัดผลประเมินผล
เพื่อใช้ตรวจสอบว่านักเรียนได้บรรลุผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ และต้องแจ้งตัวชี้วัดในแต่ละเรื่อง
ให้นักเรียนทราบโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพื่อให้นักเรียนได้ปรับปรุงตนเอง
3) การวัดผลประเมินผลต้องครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ โดยเน้นการเรียนรู้ด้วยการทำ�งานหรือทำ�กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดสมรรถภาพทั้งสามด้าน ซึ่งงานหรือ
กิจกรรมดังกล่าวควรมีลักษณะดังนี้

• สาระในงานหรือกิจกรรมต้องเน้นให้นักเรียนได้ใช้การเชื่อมโยงความรู้หลายเรื่อง
• วิธีหรือทางเลือกในการดำ�เนินงานหรือการแก้ปัญหามีหลากหลาย
• เงื่อนไขหรือสถานการณ์ของปัญหามีลักษณะปลายเปิด เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดงความสามารถ
ตามศักยภาพของตน

• งานหรือกิจกรรมต้องเอื้ออำ�นวยให้นักเรียนได้ใช้การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำ�เสนอ
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การพูด การเขียน การวาดภาพ

• งานหรือกิจกรรมควรมีความใกล้เคียงกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เพื่อช่วยให้นักเรียนได้เห็นการเชื่อมโยง
ระหว่างคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง ซึ่งจะก่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์

230 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

4) การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ต้องใช้วิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม และใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ
เพื่อให้ได้ข้อมูลและสนเทศเกี่ยวกับนักเรียน เช่น เมื่อต้องการวัดผลประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียนอาจใช้
การทดสอบ การตอบคำ�ถาม การทำ�แบบฝึกหัด การทำ�ใบกิจกรรม หรือการทดสอบย่อย เมื่อต้องการตรวจสอบ
พัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรียนด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อาจใช้การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
รู้ การสัมภาษณ์ การจัดทำ�แฟ้มสะสมงาน หรือการทำ�โครงงาน การเลือกใช้วิธีการวัดที่เหมาะสมและเครื่องมือที่มี
คุณภาพ จะทำ�ให้สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการวัดได้ ซึ่งจะทำ�ให้ครูได้ข้อมูลและสนเทศเกี่ยวกับนักเรียนอย่างครบถ้วน
และตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผล อย่างไรก็ตาม ครูควรตระหนักว่าเครื่องมือวัดผลประเมินผลการ
เรียนรู้ที่ใช้ในการประเมินตามวัตถุประสงค์หนึ่ง ไม่ควรนำ�มาใช้กับอีกวัตถุประสงค์หนึ่ง เช่น แบบทดสอบที่ใช้ในการ
แข่งขันหรือการคัดเลือกไม่เหมาะสมที่จะนำ�มาใช้ตัดสินผลการเรียนรู้
5) การวัดผลประเมินผลเป็นกระบวนการที่ใช้สะท้อนความรู้ความสามารถของนักเรียน ช่วยให้นักเรียนมีข้อมูลใน
การปรับปรุงและพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองให้ดีขึ้น ในขณะที่ครูสามารถนำ�ผลการประเมินมาใช้ใน
การวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน รวมทั้งปรับปรุงการสอนของครูให้มี
ประสิทธิภาพ จึงต้องวัดผลประเมินผลอย่างสม่ำ�เสมอและนำ�ผลที่ได้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งอาจ
แบ่งการประเมินผลเป็น 3 ระยะดังนี้
ประเมินก่อนเรียน เป็นการประเมินความรู้พื้นฐานและทักษะจำ�เป็นที่นักเรียนควรมีก่อนการเรียนรายวิชา บทเรียน
หรือหน่วยการเรียนใหม่ ข้อมูลที่ได้จากการวัดผลประเมินผลจะช่วยให้ครูนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ดังนี้
• จัดกลุ่มนักเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของนักเรียน
• วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูพิจารณาเลือกตัวชี้วัด เนื้อหาสาระ กิจกรรม แบบฝึกหัด อุปกรณ์
และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับความรู้พื้นฐานและทักษะของนักเรียน และสอดคล้องกับการเรียนรู้
ที่กำ�หนดไว้

ประเมินระหว่างเรียน เป็นการประเมินเพื่อวินิจฉัยนักเรียนในระหว่างการเรียน ข้อมูลที่ได้จะช่วยให้ครูสามารถ


ดำ�เนินการในเรื่องต่อไปนี้

• ศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นระยะ ๆ ว่านักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นเพียงใด ถ้าพบว่านักเรียนไม่มี


พัฒนาการเพิ่มขึ้นครูจะได้หาทางแก้ไขได้ทันท่วงที
• ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน ถ้าพบว่านักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนใดจะได้จัดให้เรียนซ้ำ� หรือนักเรียน
เรียนรู้บทใด ได้เร็วกว่าที่กำ�หนดไว้จะได้ปรับวิธีการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังช่วยให้ทราบจุดเด่นและจุดด้อย
ของนักเรียนแต่ละคน

ประเมินหลังเรียน เป็นการประเมินเพื่อนำ�ผลที่ได้ไปใช้สรุปผลการเรียนรู้หรือเป็นการวัดผลประเมินผลแบบสรุปรวบยอด
หลังจากสิ้นสุดภาคการศึกษาหรือปีการศึกษาของนักเรียน รวมทั้งครูสามารถนำ�ผลการประเมินที่ได้ไปใช้ในการวางแผนและ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

4. การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

ในศตวรรษที่ 21 (1 มกราคม ค.ศ. 2001 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2100) โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะ
เป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งผลให้จำ�เป็นต้องมีการเตรียมนักเรียนให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ของโลก ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนมีความรู้ ในวิชาหลัก (Core Subjects)
มีทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) และพัฒนานักเรียนให้มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ 21 ไม่ว่าจะเป็นทักษะการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร และทักษะชีวิตทั้งนี้เครือข่าย P21 (Partnership
for 21st Century Skill) ได้จำ�แนกทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ 21 ออกเป็น 3 หมวด ได้แก่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 231
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก่ การคิดสร้างสรรค์ (Creativity)


การคิดแบบมีวจิ ารณญาณ/การแก้ปญ ั หา (Critical Thinking/Problem-Solving) การสือ่ สาร (Communication)
และ การร่วมมือ (Collaboration)
2) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology Skills) ได้แก่
การรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) การรู้ทันเทคโนโลยีและ
การสื่อสาร (Information, Communication, and Technology Literacy)
3) ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ได้แก่ ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility
and Adaptability) มีความคิดริเริ่มและกำ�กับดูแลตัวเองได้ (Initiative and Self-direction) ทักษะสังคมและ
เข้าใจในความต่างระหว่างวัฒนธรรม (Social and Cross-cultural Skills) การเป็นผู้สร้างผลงานหรือผู้ผลิตและ
มีความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Productivity and Accountability) และมีภาวะผู้นำ�และความรับผิดชอบ (Leadership
and Responsibility)
ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อม บริบททางสังคม
และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ครูต้องออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ โดยให้นักเรียนได้เรียนจากสถานการณ์
ในชีวิตจริงและเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้จุดประกายความสนใจใฝ่รู้ อํานวยความสะดวก และสร้าง
บรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

5. การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา

การแก้ปญ
ั หาทางคณิตศาสตร์เป็นกระบวนการทีม ่ งุ่ เน้นให้ผเู้ รียนใช้ความรูท
้ ห
ี่ ลากหลายและยุทธวิธี ทีเ่ หมาะสมในการหา
คำ�ตอบของปัญหา ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนากระบวนการแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง สามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย คือ กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิด
ของโพลยา (Polya) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนสำ�คัญ 4 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการตามแผน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ
ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าสถานการณ์ที่กำ�หนดให้เป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร ต้องการ
ให้หาอะไร กำ�หนดอะไรให้บ้าง เกี่ยวข้องกับความรู้ใดบ้าง การทำ�ความเข้าใจปัญหา อาจใช้วิธีการต่าง ๆ ช่วย เช่น การวาดภาพ
การเขียนตาราง การบอกหรือเขียนสถานการณ์ปัญหาด้วยภาษาของตนเอง
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด จะแก้อย่างไร รวมถึงพิจารณา
ความสัมพันธ์ของสิง่ ต่างๆ ในปัญหา ผสมผสานกับประสบการณ์การแก้ปญ ั หาทีผ
่ เู้ รียนมีอยู่ เพือ
่ กำ�หนดแนวทางในการแก้ปญ
ั หา
และเลือกยุทธวิธีแก้ปัญหา

ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนหรือแนวทางที่วางไว้ จนสามารถหาคำ�ตอบได้


ถ้าแผนหรือยุทธวิธีที่เลือกไว้ไม่สามารถหาคำ�ตอบได้ ผู้เรียนต้องตรวจสอบความถูกต้องของแต่ละขั้นตอนในแผนที่วางไว้ หรือ
เลือกยุทธวิธีใหม่จนกว่าจะได้คำ�ตอบ

ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาความถูกต้องและความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ ผู้เรียนอาจมองย้อนกลับ


ไปพิจารณายุทธวิธีอื่น ๆ ในการหาคำ�ตอบ และขยายแนวคิดไปใช้กับสถานการณ์ปัญหาอื่น

232 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

6. ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำ�เร็จในการแก้ปัญหา ผู้สอนต้องจัด
ประสบการณ์การแก้ปัญหาที่หลากหลายและเพียงพอให้กับผู้เรียน โดยยุทธวิธีที่เลือกใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ นั้น จะต้อง
มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน ยุทธวิธีการแก้ปัญหาที่ผู้เรียนในระดับประถมศึกษาควรได้รับการ
พัฒนาและฝึกฝน เช่น การวาดภาพ การหาแบบรูป การคิดย้อนกลับ การเดาและตรวจสอบ การทำ�ปัญหาให้ง่ายหรือแบ่ง
เป็นปัญหาย่อย การแจกแจงรายการหรือสร้างตาราง การตัดออก และ การเปลี่ยนมุมมอง

1) การวาดภาพ (Draw a Picture)

การวาดภาพ เป็นการอธิบายสถานการณ์ปัญหาด้วยการวาดภาพจำ�ลอง หรือเขียนแผนภาพ เพื่อทำ�ให้เข้าใจปัญหา


ได้ง่ายขึ้น และเห็นแนวทางการแก้ปัญหานั้น ๆ ในบางครั้งอาจได้คำ�ตอบจากการวาดภาพนั้น

ตัวอย่าง
2
โต้งมีเงินอยูจ่ �ำ นวนหนึง่ วันเสาร์ใช้ไป 300 บาท และวันอาทิตย์ใช้ไป ของเงินทีเ่ หลือ ทำ�ให้เงินทีเ่ หลือ คิดเป็นครึง่ หนึง่
5
ของเงินที่มีอยู่เดิม จงหาว่าเดิมโต้งมีเงินอยู่กี่บาท

แนวคิด

แสดงว่า เงิน 1 ส่วน เท่ากับ 300 บาท

เงิน 6 ส่วน เท่ากับ 6 × 300 = 1,800 บาท

ดังนั้น เดิมโต้งมีเงินอยู่ 1,800 บาท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 233
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

2) การหาแบบรูป (Find a Pattern)

การหาแบบรูป เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา โดยค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เป็นระบบ หรือที่เป็นแบบรูป


แล้วนำ�ความสัมพันธ์หรือแบบรูปที่ได้นั้นไปใช้ในการหาคำ�ตอบของสถานการณ์ปัญหา

ตัวอย่าง ในงานเลี้ยงแห่งหนึ่งเจ้าภาพจัด และ ตามแบบรูปดังนี้

ถ้าจัดโต๊ะและเก้าอี้ตามแบบรูปนี้จนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอี้ทั้งหมดกี่ตัว

แนวคิด
1) เลือกยุทธวิธีที่จะนำ�มาใช้แก้ปัญหา ได้แก่ วิธีการหาแบบรูป
2) พิจารณารูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 แล้วเขียนจำ�นวนโต๊ะและจำ�นวนเก้าอี้ของแต่ละรูป

โต๊ะ 1 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว เก้าอี้ด้านข้าง 2 ตัว

โต๊ะ 2 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว เก้าอี้ด้านข้าง 2+2 ตัว

โต๊ะ 3 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว เก้าอี้ด้านข้าง 2+2+2 ตัว

โต๊ะ 4 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว เก้าอี้ด้านข้าง 2+2+2+2 ตัว

3) พิจารณาหาแบบรูปจำ�นวนเก้าอี้ที่เปลี่ยนแปลงเทียบกับจำ�นวนโต๊ะ พบว่า จำ�นวนเก้าอี้ซึ่งวางอยู่ที่ด้านหัว


กับด้านท้ายคงตัวไม่เปลี่ยนแปลง แต่เก้าอี้ด้านข้างมีจำ�นวนเท่ากับ จำ�นวนโต๊ะคูณด้วย 2
4) ดังนั้นเมื่อจัดโต๊ะและเก้าอี้ตามแบบรูปนี้ไปจนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอี้ทั้งหมดเท่ากับ จำ�นวนโต๊ะคูณด้วย 2
แล้วบวกกับจำ�นวนเก้าอี้หัวกับท้าย 2 ตัว ได้คำ�ตอบ 22 ตัว

234 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

3) การคิดย้อนกลับ (Work Backwards)

การคิดย้อนกลับ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่ทราบผลลัพธ์ แต่ไม่ทราบข้อมูลในขั้นเริ่มต้น การคิดย้อนกลับ


เริ่มคิดจากข้อมูลที่ได้ในขั้นสุดท้าย แล้วคิดย้อนกลับทีละขั้นมาสู่ข้อมูลในขั้นเริ่มต้น

ตัวอย่าง

เพชรมีเงินจำ�นวนหนึ่ง ให้น้องชายไป 35 บาท ให้น้องสาวไป 15 บาท ได้รับเงินจากแม่อีก 20 บาท ทำ�ให้ขณะนี้เพชร


มีเงิน 112 บาท เดิมเพชรมีเงินกี่บาท

แนวคิด

จากสถานการณ์เขียนแผนภาพได้ ดังนี้ตัวอย่าง
เงินที่มีอยู่เดิม เงินที่มีขณะนี้
- - +
112
35 15 20
ให้น้องชาย ให้น้องสาว แม่ให้

คิดย้อนกลับจากจำ�นวนเงินที่เพชรมีขณะนี้ เพื่อหาจำ�นวนเงินเดิมที่เพชรมี

เงินที่มีอยู่เดิม เงินที่มีขณะนี้
+ + -
142 107 92 112
35 15 20

ให้น้องชาย ให้น้องสาว แม่ให้

ดังนั้น เดิมเพชรมีเงิน 142 บาท

4) การเดาและตรวจสอบ (Guess and Check)

การเดาและตรวจสอบ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเงื่อนไขต่าง ๆ ผสมผสานกับความรู้ และประสบการณ์


เดิมเพื่อเดาคำ�ตอบที่น่าจะเป็นไปได้ แล้วตรวจสอบความถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้องให้เดาใหม่โดยใช้ข้อมูลจากการเดาครั้งก่อนเป็น
กรอบในการเดาคำ�ตอบครั้งต่อไปจนกว่าจะได้คำ�ตอบที่ถูกต้องและสมเหตุสมผล

ตัวอย่าง

จำ�นวน 2 จำ�นวน ถ้านำ�จำ�นวนทั้งสองนั้นบวกกันจะได้ 136 แต่ถ้านำ�จำ�นวนมากลบด้วยจำ�นวนน้อยจะได้ 36


จงหาจำ�นวนสองจำ�นวนนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 235
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

แนวคิด เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 100 กับ 36 (ซึ่งมีผลบวก เป็น 136)

ตรวจสอบ 100 + 36 = 136 เป็นจริง

แต่ 100 – 36 = 64 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข

เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน

จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 90 กับ 46 (ซึ่งมีผลบวกเป็น 136 )

ตรวจสอบ 90 + 46 = 136 เป็นจริง

แต่ 90 – 46 = 44 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข

เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน

จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 80 กับ 56 (ซึ่งผลบวกเป็น 136 )

ตรวจสอบ 80 + 56 = 136 เป็นจริง

แต่ 80 – 56 = 24 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข

เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน โดยที่ ตัวตั้งควรอยู่ระหว่าง 80 และ 90

เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวน คือ 85 กับ 51

ตรวจสอบ 85 + 51 = 136 เป็นจริง

แต่ 85 – 51 = 34 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข

เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 เล็กน้อย จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวน คือ


86 กับ 50

ตรวจสอบ 86 + 50 = 136 เป็นจริง

และ 86 – 50 = 36 เป็นจริง

ดังนั้น จำ�นวน 2 จำ�นวนนั้น คือ 86 กับ 50

236 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

5) การทำ�ปัญหาให้ง่าย (Simplify the problem)

การทำ�ปัญหาให้ง่าย เป็นการลดจำ�นวนที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์ปัญหา หรือเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่คุ้นเคย ในกรณี


ที่สถานการณ์ปัญหามีความซับซ้อนอาจแบ่งปัญหาเป็นส่วนย่อย ๆ ซึ่งจะช่วยให้หาคำ�ตอบของสถานการณ์ปัญหาได้ง่ายขึ้น

ตัวอย่าง
จงหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมที่แรเงาในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

แนวคิด
1
ถ้าคิดโดยการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมจากสูตร × ความสูง × ความยาวของฐาน ซึ่งพบว่ามีความยุ่งยากมาก
2
แต่ถ้าเปลี่ยนมุมมองจะสามารถแก้ปัญหาได้ง่ายกว่า ดังนี้
วิธีที่ 1 จากรูป เราสามารถหาพื้นที่ A + B + C + D แล้วลบออกจากพื้นที่ทั้งหมดก็จะได้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่ต้องการได้

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม A เท่ากับ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร


พื้นที่รูปสามเหลี่ยม B เท่ากับ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม C เท่ากับ 6 × 3 = 18 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม D เท่ากับ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร
จะได้พื้นที่ A + B + C + D เท่ากับ 80 + 15 + 18 + 21 = 134 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยมที่ต้องการเท่ากับ (16 × 10) – 134 = 26 ตารางเซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 237
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

วิธีที่ 2 จากรูปสามารถหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่ต้องการได้ดังนี้

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AEG เท่ากับ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร


จากรูปจะได้ว่า พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AEG เท่ากับพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ACE
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ACE เท่ากับ 80 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABH เท่ากับ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม HDE เท่ากับ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร
และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม BCDH เท่ากับ 3 × 6 = 18 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AHE เท่ากับ 80 – (15 + 21 + 18) = 26 ตารางเซนติเมตร

6) การแจกแจงรายการ (Make a list)

การแจกแจงรายการ เป็นการเขียนรายการหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ การแจกแจงรายการ


ควรทำ�อย่างเป็นระบบ โดยอาจใช้ตารางช่วยในการแจกแจงหรือจัดระบบของข้อมูลเพือ ่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างชุดของข้อมูล
ที่นำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบ

ตัวอย่าง

นักเรียนกลุ่มหนึ่งต้องการซื้อไม้บรรทัดอันละ 8 บาท และดินสอแท่งละ 4 บาท เป็นเงิน 100 บาท ถ้าต้องการไม้บรรทัด


อย่างน้อย 5 อัน และ ดินสออย่างน้อย 4 แท่ง จะซื้อไม้บรรทัดและดินสอได้กี่วิธี

แนวคิด เขียนแจกแจงรายการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนและราคาไม้บรรทัดกับดินสอ ดังนี้


ถ้าซื้อไม้บรรทัด 5 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 5 × 8 = 40 บาท
เหลือเงินอีก 100 – 40 = 60 บาท จะซื้อดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 60 ÷ 4 = 15 แท่ง
ถ้าซื้อไม้บรรทัด 6 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 6 × 8 = 48 บาท
เหลือเงินอีก 100 – 48 = 52 บาท จะซื้อดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 52 ÷ 4 = 13 แท่ง
สังเกตได้ว่า เมื่อซื้อไม้บรรทัดเพิ่มขึ้น 1 อัน จำ�นวนดินสอจะลดลง 2 แท่ง

238 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เขียนแจกแจงในรูปตาราง ได้ดังนี้

ไม้บรรทัด เหลือเงิน ดินสอ


(บาท)
จำ�นวน (อัน) ราคา (บาท) จำ�นวน (แท่ง)

5 5 × 8 = 40 100 – 40 = 60 60 ÷ 4 = 15
6 6 × 8 = 48 100 – 48 = 52 52 ÷ 4 = 13
7 7 × 8 = 56 100 – 56 = 44 44 ÷ 4 = 11
8 8 × 8 = 64 100 – 64 = 36 36 ÷ 4 = 9
9 9 × 8 = 72 100 – 72 = 28 28 ÷ 4 = 7
10 10 × 8 = 80 100 – 80 = 20 20 ÷ 4 = 5

ดังนั้น จะซื้อไม้บรรทัดและดินสอให้เป็นไปตามเงื่อนไขได้ 6 วิธี

7) การตัดออก (Eliminate)
การตัดออก เป็นการพิจารณาเงื่อนไขของสถานการณ์ปัญหา แล้วตัดสิ่งที่กำ�หนดให้ในสถานการณ์ปัญหาที่ไม่
สอดคล้องกับเงื่อนไข จนได้คำ�ตอบที่ตรงกับเงื่อนไขของสถานการณ์ปัญหานั้น

ตัวอย่าง

จงหาจำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว


4,356 9,084 5,471 9,346 4,782 7,623
2,420 3,474 1,267 12,678 2,094 6,540
4,350 4,140 5,330 3,215 4,456 9,989

แนวคิด พิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 5 ได้ลงตัว จึงตัดจำ�นวนที่มีหลักหน่วยไม่เป็น 5 หรือ 0 ออก

จำ�นวนที่เหลือได้แก่ 2,420 6,540 4,350 4,140 5,330 และ 3,215


จากนั้นพิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140
ดังนั้น จำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 239
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

8) การเปลี่ยนมุมมอง (Changing the problem views)


การเปลี่ยนมุมมองเป็นการแก้สถานการณ์ปัญหาที่มีความซับซ้อน ไม่สามารถใช้วิธียุทธวิธีอื่นในการหาคำ�ตอบได้
จึงต้องเปลี่ยนวิธีคิด หรือแนวทางการแก้ปัญหาให้แตกต่างไปจากที่คุ้นเคยเพื่อให้แก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น

ตัวอย่าง

จากรูป เมื่อแบ่งเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน จงหาพื้นที่ส่วนที่แรเงา

แนวคิด พลิกครึ่งวงกลมส่วนล่างจะได้พื้นที่ส่วนที่ไม่แรเงาเป็นวงกลมรูปที่ 1 ส่วนที่แรเงาเป็นวงกลมรูปที่ 2 ดังรูป

พื้นที่ส่วนที่แรเงา เท่ากับ พื้นที่วงกลมที่ 2 ลบด้วยพื้นที่กลมที่ 1

จะได้ ตารางหน่วย

จากยุทธวิธีข้างต้นเป็นยุทธวิธีพื้นฐานสำ�หรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษา ผู้สอนจำ�เป็นต้องสดแทรกยุทธวิธีการแก้ปัญหา
ที่เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน อาทิเช่น ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 2 ผู้สอนอาจเน้นให้ผู้เรียนใช้การวาดรูป หรือการ
แจกแจงรายการช่วยในการแก้ปัญหา ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – 6 ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนใช้การแจกแจงรายการ การวาดรูป
การหาแบบรูป การเดาและตรวจสอบ การคิดย้อนกลับ การตัดออก หรือการเปลี่ยนมุมมอง

ปัญหาทางคณิตศาสตร์บางปัญหานั้นอาจมียุทธวิธีที่ใช้แก้ปัญหานั้นได้หลายวิธี ผู้เรียนควรเลือกใช้ยุทธวิธีให้เหมาะสม
กับสถานการณ์ปัญหา ในบางปัญหาผู้เรียนอาจใช้ยุทธวิธีมากกว่า 1 ยุทธวิธีเพื่อแก้ปัญหานั้น

240 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

7. การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำ�ให้การติดต่อ
สื่อสาร และเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางช่องทางต่าง ๆ สามารถทำ�ได้อย่างสะดวก ง่ายและรวดเร็ว โดยใช้สื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ก็เช่นกัน ต้องมีการปรับปรุงและปรับตัวให้เข้ากับบริบททางสังคมและเทคโนโลยี
ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งจำ�เป็นต้องอาศัยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้น่าสนใจ
สามารถนำ�เสนอเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้และช่วยลดภาระงานบางอย่างทั้ง
ผู้เรียนและผู้สอนได้ เช่น การใช้เครือข่ายสังคม (Social network : Line, Facebook, Twitter) ในการสั่งการบ้าน
ติดตามภาระงานที่มอบหมายหรือใช้ติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา
ทั้งนี้ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาควรบูรณาการและประยุกต์ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
และหลากหลาย ตลอดจนพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

สถานศึกษามีบทบาทอย่างยิ่งในการจัดสิ่งอำ�นวยความสะดวก ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนได้มีโอกาส
ในการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้มากที่สุด เพื่อจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำ�นวยต่อ
การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้มากที่สุดสถานศึกษาควรดำ�เนินการ ดังนี้

1) จัดให้มีห้องปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ที่มีสื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์


โปรเจคเตอร์ ให้เพียงพอกับจำ�นวนผู้เรียน
2) จัดเตรียมสื่อ เครื่องมือประกอบการสอนในห้องเรียนเพื่อให้ผู้สอนได้ใช้ในการนำ�เสนอเนื้อหาในบทเรียน เช่น
คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ เครื่องฉายทึบแสง เครื่องขยายเสียง เป็นต้น
3) จัดเตรียมระบบสื่อสารแบบไร้สายที่ปลอดภัยโดยไม่มีค่าใช้จ่าย (secured-free WIFI) ให้เพียงพอ กระจายทั่วถึง
ครอบคลุมพื้นที่ในโรงเรียน
4) ส่งเสริมให้ผู้สอนนำ�สื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้สอนเข้ารับการอบรม
อย่างต่อเนื่อง
5) ส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้ปกครองได้ตรวจสอบ ติดตามผลการเรียน การเข้าชั้นเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น
ผู้ปกครองสามารถเข้าเว็บมาดูกล้องวีดิโอวงจรปิด (CCTV) การเรียนการสอนของห้องเรียนที่บุตรของตนเองเรียน
อยู่ได้

ผู้สอนในฐานะที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน จำ�เป็นต้องศึกษาและนำ�สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้อง เหมาะสม กับสภาพแวดล้อม และความพร้อมของโรงเรียน ผู้สอนควรมีบทบาท
ดังนี้
1) ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสื่อ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2) จัดหาสื่อ อุปกรณ์ โปรแกรม แอปพลิเคชันต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมเพื่อนำ�เสนอเนื้อหาให้ผู้เรียนสนใจ
และเข้าใจมากยิ่งขึ้น
3) ใช้สื่อ เทคโนโลยีประกอบการสอน เช่น ใช้โปรแกรม Power point ในการนำ�เสนอเนื้อหาใช้ Line และ Facebook
ในการติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนและผู้ปกครอง
4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ เทคโนโลยีมาใช้ในการเรียน เช่น เครื่องคิดเลข โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad
(GSP), GeoGebra เป็นต้น
5) ปลูกจิตสำ�นึกให้ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับเวลาและสถานที่ การใช้งานอย่างประหยัด
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 241
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เพื่อส่งเสริมการนำ�สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ บรรลุผลตามจุดประสงค์ของหลักสูตร และสามารถนำ�ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ทั้งในการ
เรียนและใช้ในชีวิตจริง ผู้สอนควรจัดหาและศึกษาเกี่ยวกับสื่อ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ควรมีไว้ใช้ในห้องเรียน เพื่อนำ�เสนอ
บทเรียนให้น่าสนใจ สร้างเสริมความเข้าใจของผู้เรียนทำ�ให้การสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

8. สถิติในระดับประถมศึกษา

ในปัจจุบัน เรามักได้ยินหรือได้เห็นคำ�ว่า “สถิติ” อยู่บ่อยครั้ง ทั้งจากโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรืออินเทอร์เน็ต


ซึ่งมักจะมีข้อมูลหรือตัวเลขเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ เช่น สถิติจำ�นวนนักเรียนในโรงเรียน สถิติการมาโรงเรียนของนักเรียน
สถิติการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนในช่วงเทศกาลต่างๆ สถิติการเกิดการตาย สถิติผู้ป่วยโรคเอดส์ เป็นต้น จนทำ�ให้หลายคน
เข้าใจว่าสถิติคือข้อมูลหรือตัวเลข แต่ในความเป็นจริง สถิติยังรวมไปถึงวิธีการที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนำ�เสนอ
ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความหมายข้อมูลด้วย ซึ่งผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติจะสามารถนำ�สถิติไป
ช่วยในการตัดสินใจ การวางแผนดำ�เนินงาน และการแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านการดำ�เนินชีวิต ธุรกิจ ตลอดจนถึง
การพัฒนาประเทศ เช่น ถ้ารัฐบาลต้องการเพิ่มรายได้ของประชากร จะต้องวางแผนโดยอาศัยข้อมูลสถิติประชากร สถิติการ
ศึกษา สถิติแรงงาน สถิติการเกษตร และสถิติอุตสาหกรรม เป็นต้น

ดังนั้นสถิติจึงเป็นเรื่องสำ�คัญและมีความจำ�เป็นที่ต้องจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และ
สามารถนำ�สถิติไปใช้ในชีวิตจริงได้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา จึงจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการ
นำ�เสนอข้อมูล ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานสำ�หรับการเรียนสถิติในระดับที่สูงขึ้น โดยในการเรียนการสอนควรเน้นให้ผู้เรียนใช้
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมด้วย

การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)

ในการศึกษาหรือตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ จำ�เป็นต้องอาศัยข้อมูลประกอบการตัดสินใจทั้งสิ้น จึงจำ�เป็นที่ต้องมีการเก็บ


รวบรวมข้อมูล ซึ่งมีวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสำ�รวจ การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์ หรือการทดลอง ทั้งนี้
การเลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจะขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการศึกษา

การนำ�เสนอข้อมูล (Representing Data)

การนำ�เสนอข้อมูลเป็นการนำ�ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจัดแสดงให้มีความน่าสนใจ และง่ายต่อการทำ�ความเข้าใจ
ซึ่งการนำ�เสนอข้อมูลสามารถแสดงได้หลายรูปแบบ โดยในระดับประถมศึกษาจะสอนการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบของ
แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น และตาราง ซึ่งในหลักสูตรนี้ได้มีการจำ�แนกตารางออกเป็น
ตารางทางเดียว และตารางสองทาง

ตาราง (Table)

การบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ กับจำ�นวนในรูปตาราง เป็นการจัดตัวเลขแสดงจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ


อย่างมีระเบียบในตาราง เพื่อให้อ่านและเปรียบเทียบง่ายขึ้น

ตารางทางเดียว (One - Way Table)

ตารางทางเดียวเป็นตารางที่มีการจำ�แนกรายการตามหัวเรื่องเพียงลักษณะเดียว เช่น จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียน


แห่งหนึ่งจำ�แนกตามชั้น

242 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง

ชั้น จำ�นวน (คน)

ประถมศึกษาปีที่ 1 65
ประถมศึกษาปีที่ 2 70
ประถมศึกษาปีที่ 3 69
ประถมศึกษาปีที่ 4 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 60

รวม 398

ตารางสองทาง (Two – Way Table)


ตารางสองทางเป็นตารางทีม
่ ก
ี ารจำ�แนกรายการตามหัวข้อเรือ
่ ง 2 ลักษณะ เช่น จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึง่
จำ�แนกตามชั้นและเพศ

จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง

เพศ
ชั้น รวม (คน)
ชาย (คน) หญิง (คน)

ประถมศึกษาปีที่ 1 38 27 65
ประถมศึกษาปีที่ 2 33 37 70
ประถมศึกษาปีที่ 3 32 37 69
ประถมศึกษาปีที่ 4 28 34 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 32 40 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 25 35 60

รวม 188 210 398

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 243
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

บรรณานุกรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพืน


้ ฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชัน
้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 .
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร. องค์การค้าของ สกสค.
. (2561). แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร.
องค์การค้าของ สกสค.
. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย จำ�กัด.
. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร.
องค์การค้าของ สกสค.
. (2553). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร.
องค์การค้าของ สกสค.
. (2553). แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร.
องค์การค้าของ สกสค.
. (2553). แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร.
องค์การค้าของ สกสค.
rd
Charlotte Collars; Kody Phong Lee; Lee Ngan Hoe. (2016). Sharping Maths Coursebook 4A. 3 Edition.
Singapore.
rd
. (2016). Sharping Maths Coursebook 4B. 3 Edition. Singapore.
nd
Loi Huey Shing. (2013). Discovery Maths Textbook 4A. 2 Edition. Times Printers. Singapore.
nd
June Song; Tey Hwee Chen. (2015). Discovery Maths Textbook 4B. 2 Edition. Times Printers. Singapore.
st
Law Chor Hoo; R Sachidanandan. (2009). Discovery Maths workbook 4A. 1 Edition. Singapore.
Marshall Cavendish Education.
st
. (2009). Discovery Maths workbook 4B. 1 Edition. Singapore. Marshall Cavendish Education.
KEIRINKAN Co., Ltd. Fun with MATH 4A for Elementary School. Osaka. Japan. Shinko Shuppansha
KEIRINKAN.
. Fun with MATH 4B for Elementary School. Osaka. Japan. Shinko Shuppansha
KEIRINKAN.

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2

คณะผู้จัดทำ� คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

คณะทีป
่ รึกษา
นางพรพรรณ ไวทยางกูร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รองศาสตราจารย์สญ
ั ญา มิตรเอม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายประสาท สอ้านวงศ์ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธิการ

คณะผูเ้ ขียน
ผูช
้ ว่ ยศาสตราจารย์ทรงชัย อักษรคิด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายนนท์วริศ เกียรติศรุตสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
นายตีรวิชช์ ทินประภา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน
ั ทา
นางชนิสรา เมธภัทรหิรญ
ั มหาวิทยาลัยสวนดุสต

นายภีมวัจน์ ธรรมใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวภัทรวดี หาดแก้ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวเบญจมาศ เหล่าขวัญสถิตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวกชพร วงศ์สว่างศิริ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผูพ
้ จ
ิ ารณา
รองศาสตราจารย์นพพร แหยมแสง ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
นายนิรน
ั ดร์ ตัณฑัยย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดหงส์รต
ั นาราม กรุงเทพมหานคร
นางสาวจิราพร พรายมณี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน
ั ทา
นางสาวจินดา พ่อค้าชำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนศึกษานารีวท
ิ ยา กรุงเทพมหานคร
นายณัฐ จัน
่ แย้ม ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนไชยฉิมพลีวท
ิ ยาคม กรุงเทพมหานคร
นายสมเกียรติ เพ็ญทอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายภีมวัจน์ ธรรมใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวภัทรวดี หาดแก้ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวเบญจมาศ เหล่าขวัญสถิตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวกชพร วงศ์สว่างศิริ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ
นายนิรน
ั ดร์ ตัณฑัยย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดหงส์รต
ั นาราม กรุงเทพมหานคร
นางสาวจิราพร พรายมณี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน
ั ทา
นายสมเกียรติ เพ็ญทอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ
นางพรนิภา เหลืองสฤษดิ
์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวละออ เจริญศรี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ออกแบบรูปเล่ม
นายมนูญ ไชยสมบูรณ์ ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
บริษท
ั ดิจต
ิ อล เอ็ดดูเคชัน
่ จำ�กัด

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2561

You might also like