You are on page 1of 433

ฉบับเผยแพร� ต.ค.

63
คู�มือครูรายวิชาเพิ่มเติม

คู�มือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร� | ชั้นมัธยมศึกษาป�ที่ ๔ | เล�ม ๑


คูมือครู

รายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร
ชั้น

มัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑

ตามผลการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

ฉบับเผยแพร ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓


คํานํา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) มีหนาที่ในการพัฒนา


หลั ก สู ตร วิ ธีก ารเรี ยนรู การประเมิ นผล การจั ดทํ า หนั ง สื อ เรี ยน คู มื อ ครู แบบฝ ก ทั ก ษะ
กิจกรรม และสื่อการเรียนรูเพื่อใชประกอบการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตรของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู มื อ ครู ร ายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม คณิ ตศาสตร ชั้ นมั ธยมศึ ก ษาป ที่ ๔ เล ม ๑ นี้ จั ดทํ า ตาม
ผลการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเนื้อหาสาระ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ
การสอน แนวทางการจัดกิจกรรมในหนัง สือ เรี ยน การวัดผลประเมินผลระหว างเรี ยน การ
วิเคราะหความสอดคลองของแบบฝกหัดทายบทกับจุดมุงหมายประจําบท ความรูเพิ่มเติม
สํ า หรั บ ครู ซึ่ ง เป น ความรู ที่ ค รู ค วรทราบนอกเหนื อ จากเนื้ อ หาในหนั ง สื อ เรี ย น ตั ว อย า ง
แบบทดสอบประจํา บทพร อมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝกหัด ซึ่งสอดคลองกับหนังสือ เรี ย น
รายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑ ที่ตองใชควบคูกัน
สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนรู และ
เปนสวนสําคัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ขอขอบคุ ณผู ทรงคุ ณ วุ ฒิ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาและหน ว ยงานต า ง ๆ ที่ มี สวนเกี่ ย วข อ ง
ในการจัดทําไว ณ โอกาสนี้

(นางพรพรรณ
ไวทยางกูร)
ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คําชี้แจง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวชี้วัดและสาระ
การเรี ย นรู แ กนกลาง กลุ ม สาระการเรี ย นรู ค ณิ ต ศาสตร ( ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. ๒๕๖๐ )
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนา
ผูเรียนใหมีความรูความสามารถที่ทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูคณิตศาสตรที่เชื่อมโยงความรู
กับกระบวนการ ใชกระบวนการสืบเสาะหาความรูและแกปญหาที่หลากหลาย มีการทํากิจกรรม
ดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและทักษะแหง
ศตวรรษที่ ๒๑ สสวท. จึงไดจัดทําคูมือครูประกอบการใชหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑ ที่เปนไปตามมาตรฐานหลักสูตร เพื่อเปนแนวทางใหโรงเรียนนําไป
จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑ นี้ ประกอบดวยเนื้อหา
สาระ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน การวัดผลประเมินผล
ระหว างเรี ยน การวิ เคราะห ความสอดคลองของแบบฝกหั ดทายบทกั บจุ ดมุงหมายประจําบท
ความรู เพิ่ มเติ มสํ า หรั บ ครู ซึ่ ง เป นความรู ที่ ค รู ค วรทราบนอกเหนื อจากเนื้ อหาในหนั งสื อ เรี ย น
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทพรอมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝกหัด ซึ่งครูผูสอนสามารถนําไปใช
เปนแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรูใหบรรลุจุดประสงคที่ตั้งไว โดยสามารถนําไปจัด
กิจกรรมการเรียนรูไดตามความเหมาะสมและความพรอมของโรงเรียน ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้
ไดรับความรวมมือเปนอยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิ คณาจารย นักวิชาการอิสระ รวมทั้งครูผูสอน
นักวิชาการ จากสถาบัน และสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลมนี้ จะเปนประโยชน
แก ผู ส อน และผู ที่ เ กี่ ย วข อ งทุ ก ฝ า ย ที่ จ ะช ว ยให จั ด การศึ ก ษาด า นคณิ ต ศาสตร ไ ด อ ย า งมี
ประสิทธิภาพ หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น โปรดแจง
สสวท. ทราบดวย จะขอบคุณยิ่ง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
แนะนําการใชคูมือครู
ในหนังสือเลมนี้แบงเปน 4 บท ตามหนังสือเรียนหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 โดยแตละบทจะมีสวนประกอบ ดังนี้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ผลการเรียนรู และสาระการเรียนรูเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดและผลการเรียนรูระบุส่ิงที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของ
ผูเรียนในแตละระดับชั้น ซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมี
ความเปนรูปธรรม นําไปใชในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียน
การสอน และเป น เกณฑ สํ าคั ญ สํา หรับการวัดผลประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ผู เ รี ย น ทั้ ง นี้ หลั ก สู ต รกลุ ม สาระการเรี ย นรู ค ณิ ต ศาสตร ตามหลั ก สู ต รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ไดกําหนดตัวชี้วัด
และสาระการเรียนรูแกนกลางไวสําหรับรายวิชาพื้นฐาน และไดเสนอแนะผลการเรียนรู
และสาระการเรียนรูเพิ่มเติมไวสําหรับรายวิชาเพิ่มเติม

จุดมุงหมาย

เปาหมายที่นักเรียนควรไปถึงหลังจากเรียนจบบทนี้

ความรูกอนหนา

ความรูที่นักเรียนจําเปนตองมีกอนที่จะเรียนบทนี้
ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ประเด็นเกี่ยวกับเนื้อหาที่ครูควรเนนย้ํากับนักเรียน ประเด็นเกี่ยวกับเนื้อหาที่ครู ควร


ระมัดระวัง จุดประสงคของตัวอยางที่นําเสนอในหนังสือเรียน เนื้อหาที่ควรทบทวน
กอนสอนเนื้อหาใหม และประเด็นเกี่ยวกับการสอนที่ครูตระหนักในการสอน

ความเขาใจคลาดเคลื่อน

ประเด็นที่นักเรียนมักเขาใจผิดเกี่ยวกับเนื้อหา

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

ประเด็นที่ครูควรทราบเกี่ยวกับแบบฝกหัด เชน จุดมุงหมายของแบบฝกหัด เนื้อหาที่


ควรทบทวนกอนทําแบบฝกหัด และเรื่องที่ครูควรใหความสําคัญในการทําแบบฝกหัด
ของนักเรียน

กิจกรรมในคูมือครู

กิจกรรมที่คูมือครู เล มนี้ เสนอแนะไวให ครูนํ าไปใชในชั้นเรียน ซึ่งมีทั้งกิจกรรมนํ าเขา


บทเรียน กิจกรรมที่ใชเพื่อตรวจสอบความรูกอนหนาที่จําเปนสําหรับเนื้อหาใหมที่ครูจะ
สอน และกิจกรรมที่ใชสําหรับสรางความคิดรวบยอดในเนื้อหา โดยหลังจากทํากิจกรรม
แล ว ครู ควรเชื่ อมโยงความคิ ดรวบยอดที่ตองการเนนกับ ผลที่ไดจ ากการทํากิจกรรม
กิจกรรมเหลานี้ครูควรสงเสริมใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติดวยตนเอง
กิจกรรมในหนังสือเรียน

กิจกรรมที่นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดดวยตนเอง เพื่อชวยพัฒนาทักษะการเรียนรู
และนวั ต กรรม (learning and innovation skills) ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ ศตวรรษที่ 21
อั น ได แ ก การคิ ด สร า งสรรค แ ละนวั ต กรรม (creative and innovation) การคิ ด แบบ
มีวิจารณญาณและการแกปญหา (critical thinking and problem solving) การสื่อสาร
(communication) และการรวมมือ (collaboration)

เฉลยกิจกรรมในหนังสือเรียน

เฉลยคําตอบหรือตัวอยางคําตอบของกิจกรรมในหนังสือเรียน

แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน

ตั ว อย างแนวทางการจั ด กิ จ กรรมในหนั งสื อ เรี ย น ที่ มี ขั้ น ตอนการดํ าเนิ น กิ จ กรรม
ซึ่งเปดโอกาสใหนักเรียนไดใชและพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
สารบัญ บทที่ 1 – 2
บทที่ เนื้อหา หนา
บทที่ 1 เซต 1

1 1.1 เนื้อหาสาระ
1.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน
1.3 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน

1.4 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
3
6
19

20
1.5 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู 22
1.6 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 23
เซต เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
d

บทที่ 2 ตรรกศาสตร 39

2 2.1 เนื้อหาสาระ
2.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน
2.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน

2.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
41
44
64

68
2.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท 69
2.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู 71
ตรรกศาสตร 2.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 73
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
d
สารบัญ บทที่ 3 – 4
บทที่ เนื้อหา หนา
บทที่ 3 จํานวนจริง 83

3 3.1 เนื้อหาสาระ
3.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน
3.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน
85
94
108
3.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน 113
3.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท 115
3.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู 117
จํานวนจริง 3.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 138
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
d

เฉลยแบบฝกหัด 152
บทที่ 1 เซต 152
บทที่ 2 ตรรกศาสตรเบื้องตน 190
บทที่ 3 หลักการนับเบื้องตน 272

1 แหลงเรียนรูเพิ่มเติม 413

1 บรรณานุกรม 414

คณะผูจัดทํา 416
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 1

บทที่ 1

เซต

การศึกษาเรื่องเซตมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปนรากฐานและเครื่องมือที่สําคัญ
ในการพัฒนาองคความรูในวิชาคณิตศาสตรสมัยใหมทุกสาขา เนื้อหาเรื่องเซตที่นําเสนอในหนังสือ
เรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนเรียนรู
เกี่ยวกับสัญลักษณและภาษาทางคณิตศาสตร ซึ่งเพียงพอที่จะใชในการสื่อสารและสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตรเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรูเนื้อหาคณิตศาสตรในหัวขอตอไป

ในบทเรียนนี้มุงใหนักเรียนบรรลุตัวชี้วัดตามสาระการเรียนรูแกนกลาง บรรลุผลการเรียนรูตาม
สาระการเรียนรูเพิ่มเติม และบรรลุจุดมุงหมายดังตอไปนี้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ผลการเรียนรู และสาระการเรียนรูเพิ่มเติม

ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
• เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซตและ • ความรูเบื้องตนและสัญลักษณพื้นฐาน
ตรรกศาสตรเบื้องตน ในการสื่อสาร เกี่ยวกับเซต
และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร • ยูเนียน อินเตอรเซกชัน และคอมพลีเมนต
ของเซต
ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม
• เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซต • ความรูเบื้องตนและสัญลักษณพื้นฐาน
ในการสื่อสารและสื่อความหมายทาง เกี่ยวกับเซต
คณิตศาสตร • ยูเนียน อินเตอรเซกชัน และคอมพลีเมนต
ของเซต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

2 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย

1. ใชสัญลักษณเกี่ยวกับเซต
2. หาเพาเวอรเซตของเซตจํากัด
3. หาผลการดําเนินการของเซต
4. ใชแผนภาพเวนนแสดงความสัมพันธระหวางเซต
5. ใชความรูเกี่ยวกับเซตในการแกปญหา

ความรูกอนหนา

• ความรูเกี่ยวกับจํานวนและสมการในระดับมัธยมศึกษาตอนตน

goo.gl/ZHStZ6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 3

1.1 เนื้อหาสาระ
1. ในวิชาคณิตศาสตร ใชคําวา เซต ในการกลาวถึงกลุมของสิ่งตาง ๆ และเมื่อกลาวถึงกลุมใด
แลวสามารถทราบไดแนนอนวาสิ่งใดอยูในกลุม และสิ่งใดไมอยูในกลุม เรียกสิ่งที่อยูในเซต
วา สมาชิก คําวา “เปนสมาชิกของ” หรือ “อยูใน” เขียนแทนดวยสัญลักษณ “ ∈ ” คําวา
“ไมเปนสมาชิกของ” เขียนแทนดวยสัญลักษณ “ ∉ ”
2. การเขียนแสดงเซตเบื้องตนมีสองแบบ คือ แบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
3. เซตที่ไมมีสมาชิก เรียกวา เซตวาง เขียนแทนดวยสัญลั กษณ “ { } ” หรือ “∅”
4. เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย เรียกวา เซตจํากัด
เซตที่ไมใชเซตจํากัด เรียกวา เซตอนันต
5. ในการเขียนเซตจะตองกําหนดเซตที่บงบอกถึงขอบเขตของสิ่งที่จะพิจารณา เรียกเซตนี้วา
เอกภพสัมพัทธ ซึ่งมักเขียนแทนดวย U เอกภพสัมพัทธที่พบบอย ไดแก
 แทนเซตของจํานวนนับ
 แทนเซตของจํานวนเต็ม
 แทนเซตของจํานวนตรรกยะ
 ' แทนเซตของจํานวนอตรรกยะ
 แทนเซตของจํานวนจริง
6. บทนิยาม 1
เซต A เท า กั บ เซต B หมายถึ ง สมาชิกทุกตัวของเซต A เปน สมาชิกของเซต B และ
สมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A
7. เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B
8. เซต A ไมเทากับเซต B หมายความวา มีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไมใชสมาชิกของ
เซต B หรือมีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไมใชสมาชิกของเซต A
9. เซต A ไมเทากับเซต B เขียนแทนดวย A ≠ B

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

4 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10. บทนิยาม 2
เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B
11. เซต A เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊂ B
12. เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ มีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไมเปน
สมาชิกของเซต B
13. เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวยเขียนแทนดวย A ⊄ B
14. เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เรียกวา เพาเวอรเซต ของเซต A เขียนแทนดวย P ( A)
15. เรียกแผนภาพแสดงเซตวา แผนภาพเวนน การเขียนแผนภาพมักจะแทนเอกภพสัมพัทธ U
ดวยรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหรือรูปปดใด ๆ สวนเซตอื่น ๆ ซึ่งเปนสับเซตของ U นั้น อาจเขียนแทน
ดวยวงกลม วงรี หรือรูปปดใด ๆ
16. อินเตอรเซกชันของเซต A และ B เขียนแทนดวย A ∩ B
บทนิยาม 3
A ∩ B= { x x ∈ A และ x ∈ B}
17. ยูเนียนของเซต A และ B เขียนแทนดวย A ∪ B
บทนิยาม 4
A ∪ B= { x x ∈ A หรือ x ∈ B}
18. คอมพลีเมนตของเซต A เมื่อเทียบกับ U หรือคอมพลีเมนตของเซต A เขียนแทนดวย A′
บทนิยาม 5
A′ = { x | x ∈U และ x ∉ A }
19. ผลตางระหวางเซต A และ B หมายถึง เซตที่มีสมาชิกอยูในเซต A แตไมอยูในเซต B
เขียนแทนดวย A − B
บทนิยาม 6
A − B= { x x ∈ A และ x ∉ B}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 5

20. สมบัติของการดําเนินการของเซต
ให A , B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U จะได
1) A∪ B = B ∪ A
A∩ B = B ∩ A
2) ( A ∪ B) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C )
( A ∩ B) ∩ C = A ∩ ( B ∩ C )
3) A ∪ ( B ∩ C ) = ( A ∪ B) ∩ ( A ∪ C )
A ∩ ( B ∪ C ) = ( A ∩ B) ∪ ( A ∩ C )
4) ( A ∪ B )′ =A′ ∩ B′
( A ∩ B )′ =A′ ∪ B′
5) A − B = A ∩ B′
6) A=′ U − A
21. ถาเซต A , B และ C เปนเซตจํากัดใด ๆ ที่มีจํานวนสมาชิกเปน n ( A) , n ( B ) และ n ( C )
ตามลําดับ แลว
n ( A ∪ B )= n ( A ) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

6 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน
เซต

กิจกรรม : การจัดกลุม

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้ใชเพื่อนําเขาสูบทเรียน เรื่อง ความหมายของเซต
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 3 – 4 คน แบบคละความสามารถ จากนั้นครูเขียนคํา
ตอไปนี้บนกระดาน
หญิง จันทร A พุธ O

อาทิตย ชาย E อังคาร เสาร


ศุกร U I พฤหัสบดี
2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายวาจะจัดกลุมคําที่เขียนบนกระดานอยางไร
3. ครู ให ตั วแทนนั กเรี ยนแต ละกลุ มนํ าเสนอการจั ดกลุ มคํ า แล วร วมกั นอภิ ปรายเกี่ ยวกั บ
กลุมคําที่จัด ในประเด็นตอไปนี้
3.1 จัดกลุมคําไดกี่กลุม ใชเกณฑใดในการจัดกลุม และมีคําใดอยูในแตละกลุมบาง
แนวคําตอบ
คําตอบของนักเรียนมีไดหลายแบบ เชน
• จัดได 2 กลุม โดยใชภาษาเปนเกณฑในการจัดกลุม ไดแก
กลุมที่ 1 เปนกลุมคําภาษาไทย ไดแก หญิง ชาย อาทิตย จันทร อังคาร พุธ
พฤหัสบดี ศุกร และเสาร
กลุมที่ 2 เปนกลุมตัวอักษร/สระในภาษาอังกฤษ ไดแก A, E, I, O และ U

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 7

• จัดได 3 กลุม โดยใชประเภทของคําหรือตัวอักษรเปนเกณฑในการจัดกลุม ไดแก


กลุมที่ 1 เป น กลุ ม คํ า ที่ แ สดงชื่ อ วั น ในหนึ่ ง สั ป ดาห ได แ ก อาทิ ต ย จั น ทร
อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร และเสาร
กลุมที่ 2 เปนกลุมคําที่แสดงเพศ ไดแก ชาย และหญิง
กลุมที่ 3 เปนกลุมตัวอักษร/สระในภาษาอังกฤษ ไดแก A, E, I, O และ U
3.2 กลุ มคํ าที่ กลุ มของตนเองจั ดได เหมื อนหรื อแตกต างจากกลุ มคํ าของเพื่ อนกลุ มอื่ น
หรือไม อยางไร
4. จากคําตอบที่ไดในขอ 3 ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ในวิชาคณิตศาสตรใชคําวาเซต ในการ
กลาวถึงกลุมของสิ่งตาง ๆ และเมื่อกลาวถึงกลุมใดแลว สามารถทราบไดแนนอนวาสิ่งใด
อยูในกลุม
เชน จากตัวอยางคําตอบในขอ 3.1 ซึ่งจัดกลุมคําไดเปน 3 กลุม โดยใชประเภทของ
คําหรือตัวอักษรเปนเกณฑในการจัดกลุม จะไดวา เมื่อกลาวถึงกลุมคําที่แสดงชื่อวันใน
หนึ่งสัปดาห หรือเซตของคําที่แสดงชื่อวันในหนึ่งสัปดาห จะทราบไดวาคําใดอยูในกลุม
หรือเซตนี้บาง
หมายเหตุ
• ครูอาจเปลี่ยนคําที่ใหนักเรียนพิจารณาเปนคําอื่น ๆ หรือรูปภาพอื่น ๆ เพื่อใหนักเรียน
สามารถจัดกลุมไดหลายแบบ
• ครูอาจใชตัวอยางอื่นประกอบการอธิบายในขอ 4
• ครูอาจจัดกิจกรรมนอกหองเรียน เชน ในสวนพฤกษศาสตร แลวใหนักเรียนจัดกลุมพันธุพืช
• เมื่อนักเรียนไดศึกษาเกี่ยวกับการเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอก
เงื่อนไขของสมาชิกแลว ครูอาจใหนักเรียนเขียนกลุมคําในรูปของเซต ทั้งแบบแจกแจง
สมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

8 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• ตัวอยางที่ 1 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1


มีไวเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับการเปนสมาชิกของเซต และการใชสัญลักษณแทนการ
เปนสมาชิกของเซต โดยเฉพาะอยางยิ่งขอ 1) และ 2) ทั้งนี้ ในการจัดการเรียนการสอน
ครูควรใหนักเรียนรวมกันอภิปรายทีละขอเกี่ยวกับการเปนสมาชิกหรือไมเปนสมาชิก
ของเซตที่กําหนดให และอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน
• ครูควรเริ่มตนการยกตัวอยางการเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิกโดยยกตัวอยางเซต
ที่ ห าสมาชิ กของเซตได งา ย เพื่ อให ความสํ าคัญ กับ การเขีย นแสดงเซตแบบแจกแจง
สมาชิกมากกวาการคํานวณเพื่อหาสมาชิกของเซต เชน เซตของพยัญชนะภาษาไทย
เซตของจํานวนคู เซตของจํานวนนับที่นอยกวา 5
• การเขี ย นเซตต อ งกํ า หนดเซตที่ บ อกขอบเขตของสิ่ ง ที่ จ ะพิ จ ารณา เรี ย กเซตนี้ ว า
เอกภพสัมพัทธ โดยมีขอตกลงวา เมื่อกลาวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ จะไมกลาวถึงสิ่งอื่น
ที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ ดังนั้นเอกภพสัมพัทธจึงมีความสําคัญในการ
พิจารณาสมาชิกของเซต โดยเซตที่มีเงื่อนไขเดียวกันแตมีเอกภพสัมพัทธตางกันอาจมี
สมาชิกตางกัน เชน เมื่อ A =∈ {x  x2 = 4} และ B =∈ {x  x2 = 4} จะเขียน A
และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A = { 2 } และ B= { − 2, 2 }
• ประเด็นสําคัญเพิ่มเติมเกี่ยวกับสับเซตและเพาเวอรเซตมีดังนี้
o เซตวางเปนทั้งสับเซตและสมาชิกของเพาเวอรเซตของเซตใด ๆ
o เพาเวอรเซตของเซตวาง คือ { ∅ }
o เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง
o ไมสามารถหาสับเซตที่เปนไปไดทั้งหมดของเซตอนันตได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 9

ความเขาใจคลาดเคลื่อน

• นักเรียนบางคนอาจเขาใจผิดวาเซตวางไมใชเซตจํากัด ทั้งนี้ครูควรเนนย้ําวาเซตจํากัด
คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย จากนั้นครูควรชี้แนะให
นักเรียนเห็นวาเซตวางเปนเซตที่ไมมีสมาชิกหรือมีสมาชิก 0 ตัว ดังนั้น เซตวางจึงเปน
เซตจํากัด
• นักเรียนอาจละเลยการพิจารณาเอกภพสัมพัทธของเซตแบบบอกเงื่อนไขที่กําหนด ทําให
เกิ ด ความผิ ดพลาดในการระบุ ว า เซตที่กําหนดใหเปน เซตจํา กัดหรือ เซตอนัน ต เชน
นักเรียนอาจเข าใจผิ ดว า { x | x ∈  , 0 ≤ x ≤ 1} เปนเซตจํากัด เนื่องจากละเลยว า
เอกภพสัมพัทธของเซตนี้คือเซตของจํานวนจริง จึงเขาใจผิดวาเซตนี้มีสมาชิกเพียงสองตัว
เทานั้น คือ 0 และ 1 ทั้งนี้ครูควรเนนย้ํากับนักเรียนวาตองพิจารณาเอกภพสัมพัทธเสมอ
• นักเรียนบางคนอาจสับสนเกี่ยวกับการใชสัญลักษณแทนเซตวาง เชน ใชสัญลักษณ { ∅ }
แทนเซตวาง ซึ่งเปนการใชสัญลักษณที่ไมถูกตอง ครูควรใหนักเรียนพิจารณาจํานวนสมาชิก
ของ { ∅ } จะไดวาเซตนี้มีสมาชิก 1 ตัว ดังนั้น เซตนี้จึงไมใชเซตวาง นอกจากนี้ครูอาจ
ยกตัวอยางเปรียบเทียบเซตวางกับกลองเปลา โดยเซตวางคือเซตที่ไมมีสมาชิกและกลอง
เปลาคือกลองที่ไมมีอะไรบรรจุอยูภายในเลย แตถานํากลองเปลาใบที่หนึ่งใสลงไปใน
กลองเปลาใบที่สองแลว จะพบวากลองใบที่สองไมใชกลองเปลาอีกตอไป เพราะมีกลอง
เปลาใบแรกบรรจุอยูภายใน
• นักเรียนบางคนอาจสับสนเกี่ยวกับความหมายและสัญลักษณที่ใชแทนการเปนสมาชิก
ของเซต (∈) และการเปนสับเซต ( ⊂ ) ทั้งนี้ ครูควรเนนย้ําความหมายของสมาชิกของ
เซต บทนิ ย ามของสั บ เซต และสั ญ ลั ก ษณ ที่ ใ ช แล ว ยกตั ว อย า งเพิ่ ม เติ ม ในลั ก ษณะ
เดียวกับแบบฝกหัด 1.1ข ขอ 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

10 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

การเขียนแสดงเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในแบบฝกหัด 1.1ก ขอ 2 สามารถเขียนได


หลายแบบ เงื่อนไขของนักเรียนอาจไมตรงกับที่ครูคิดไว

แผนภาพเวนน

กิจกรรม : รับสมัครงาน

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจ กรรมนี้ เ ป น กิ จ กรรมเพิ่ มเติ มสํ า หรั บ นักเรีย นที่มีความเขาใจเกี่ย วกับ การเขี ย น
แผนภาพเวนนสําหรับ 2 เซตและ 3 เซตแลว
สถานการณ
บริษัทแหงหนึ่งเปดรับสมัครงานหลายตําแหนง หลังจากประกาศรับสมัครงานผานไปหนึ่งเดือน
มีผูที่สนใจสงใบสมัครทั้งหมด 15 คน แตละคนมีคุณสมบัติดังนี้
นางหนึ่ง อายุ 32 ป จบการศึกษาปริญญาตรี มีใบอนุญาตขับขี่
นายสอง อายุ 42 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสาม อายุ 22 ป จบการศึกษาปริญญาตรี ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสี่ อายุ 25 ป จบการศึกษาปริญญาโท มีใบอนุญาตขับขี่
นางหา อายุ 23 ป จบการศึกษาปริญญาตรี มีใบอนุญาตขับขี่
นายหก อายุ 34 ป จบการศึกษาปริญญาตรี ไมมีใบอนุญาตขับขี่
น.ส.เจ็ด อายุ 20 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่
นางแปด อายุ 40 ป จบการศึกษาปริญญาตรี ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นางเกา อายุ 32 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 11

นายสิบ อายุ 19 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่


น.ส.สิบเอ็ด อายุ 34 ป จบการศึกษาปริญญาโท ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบสอง อายุ 30 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นางสิบสาม อายุ 35 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบสี่ อายุ 30 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบหา อายุ 36 ป จบการศึกษาปริญญาโท มีใบอนุญาตขับขี่
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนดให แลวนํารายชื่อผูสมัครตามที่กําหนดให มาจัด
ลงในแผนภาพตอไปนี้ ตามคุณสมบัติของผูสมัคร
เพศชาย อายุ 25 – 35 ป

จบการศึกษาอยางต่ํา
มีใบอนุญาตขับขี่ ระดับปริญญาตรี

แนวคําตอบ
เพศชาย อายุ 25 – 35 ป
สอง สิบสาม

สิบ สิบสอง สิบเอ็ด


เจ็ด สิบสี่ หก แปด
จบการศึกษาอยางต่ํา
มีใบอนุญาตขับขี่ เกา สี่ สาม ระดับปริญญาตรี
หนึ่ง สิบหา
หา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

12 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2. จากแผนภาพที่ไดในขอ 1 ครูใหนักเรียนหาวามีผูสมัครคนใดบางที่มีคุณสมบัติตรงกับ
ตําแหนงตอไปนี้
2.1 พนักงานขับรถ เพศชาย จบการศึกษาระดับใดก็ได มีใบอนุญาตขับขี่
แนวคําตอบ สี่ สิบ สิบสี่ สิบหา
2.2 เจาหนาที่ธุรการ เพศหญิง จบการศึกษาอยางต่ําระดับปริญญาตรี
แนวคําตอบ หนึ่ง หา แปด สิบเอ็ด
2.3 พนักงานรับ-สงสินคา เพศหญิงหรือชายก็ได อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาระดับ
ใดก็ได มีใบอนุญาตขับขี่
แนวคําตอบ หนึ่ง สี่ เกา สิบสี่
2.4 เจาหนาที่พัสดุ เพศหญิงหรือชายก็ได อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาอยางต่ําระดับ
ปริญญาตรี
แนวคําตอบ หนึ่ง สี่ หก สิบเอ็ด
2.5 พนักงานฝายขาย เพศหญิงหรือชายก็ได อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาอยางต่ําระดับ
ปริญญาตรี มีใบอนุญาตขับขี่
แนวคําตอบ หนึ่ง สี่
2.6 พนักงานทําความสะอาด เพศหญิง จบการศึกษาระดับใดก็ได
แนวคําตอบ หนึ่ง หา เจ็ด แปด เกา สิบเอ็ด สิบสาม
2.7 เจาหนาที่ขนยายสินคา เพศชาย อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาระดับใดก็ได
แนวคําตอบ สี่ หก สิบสอง สิบสี่
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําตอบที่ไดในขอ 1 และ 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 13

การดําเนินการระหวางเซต

กิจกรรม : หาเพื่อน

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของอินเตอรเซกชัน
ยูเนียน คอมพลีเมนต และผลตางระหวางเซต โดยกอนทํากิจกรรมนี้ นักเรียนตองมีความ
เขาใจเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซต
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูจับคูใหนักเรียนแบบคละความสามารถ แลวครูเขียนแผนภาพนี้ลงบนกระดาน

A B
1 3
0
4 6
2 5
7
8 9

2. ครูใหนักเรียนแตละคูอภิปรายในประเด็นตอไปนี้
2.1 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B
แนวคําตอบ 3, 4 และ 5
2.2 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของเซต A หรือเซต B หรือทั้งสองเซต
แนวคําตอบ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6
2.3 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของเซต A
แนวคําตอบ 0, 6, 7, 8 และ 9
2.4 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของเซต B
แนวคําตอบ 0, 1, 2, 7, 8 และ 9

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

14 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.5 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของเซต A แตไมเปนสมาชิกของเซต B


แนวคําตอบ 1 และ 2
2.6 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของเซต B แตไมเปนสมาชิกของเซต A
แนวคําตอบ 6
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําตอบที่ไดในขอ 2 โดยเชื่อมโยงกับเนื้อหา
เรื่องการดําเนินการระหวางเซต ไดแก อินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต และ
ผลตางระหวางเซต ดังนี้
• คําตอบที่ไดในขอ 2.1 คือ A ∩ B
• คําตอบที่ไดในขอ 2.2 คือ A ∪ B
• คําตอบที่ไดในขอ 2.3 คือ A′
• คําตอบที่ไดในขอ 2.4 คือ B′
• คําตอบที่ไดในขอ 2.5 คือ A − B
• คําตอบที่ไดในขอ 2.6 คือ B − A

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

การเขียนวงเล็บมีความสําคัญกับลําดับการดําเนินการระหวางเซตในกรณีที่มีการดําเนินการ
ตางชนิดกัน เชน ( A ∪ B ) ∩ C มีลําดับการดําเนินการแตกตางกับ A ∪ ( B ∩ C ) เพื่อไมให
เกิดการสับสนเกี่ยวกับลําดับในการดําเนินการ จึงจําเปนตองใสวงเล็บเพื่อบอกลําดับการ
ดําเนินการระหวางเซตเสมอ ทั้งนี้ครูอาจยกตัวอยางใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการ
เขียนวงเล็บ เชน= เมื่อ A {=0, 1} , B {1} และ C = {2} จะได ( A ∪ B ) ∩ C = ∅ และ
A∪(B ∩C) = {0, 1} ซึ่งจะเห็นวา ( A ∪ B ) ∩ C ≠ A ∪ ( B ∩ C )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 15

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 1.2 ขอ 3 และ 4 มีไวเพื่อเปนตัวอยางของการแสดงสมบัติของการดําเนินการ


ของเซต จากการแรเงาแผนภาพในขอ 3 นักเรียนจะสังเกตเห็นวา
• แผนภาพในขอ 3) เปนแผนภาพเดียวกับแผนภาพในขอ 4) ซึ่งสอดคลองกับสมบัติ
ของการดําเนินการของเซต คือ A′ ∩ B′ = ( A ∪ B )′
• แผนภาพในขอ 5) เปนแผนภาพเดียวกับแผนภาพในขอ 6) ซึ่งสอดคลองกับสมบัติ
ของการดําเนินการของเซต คือ A′ ∪ B′ = ( A ∩ B )′
• แผนภาพในขอ 7) เปนแผนภาพเดียวกับแผนภาพในขอ 8) ซึ่งสอดคลองกับสมบัติ
ของการดําเนินการของเซต คือ A − B = A ∩ B′
และจากการแรเงาแผนภาพในขอ 4 นักเรียนจะสังเกตเห็นวา
• แผนภาพในขอ 1) เปนแผนภาพเดียวกับแผนภาพในขอ 2) ซึ่งสอดคลองกับสมบัติ
ของการดําเนินการของเซต คือ ( A ∪ B ) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C )
• แผนภาพในขอ 3) เปนแผนภาพเดียวกับแผนภาพในขอ 4) ซึ่งสอดคลองกับสมบัติ
ของการดําเนินการของเซต คือ ( A ∩ B ) ∩ C = A ∩ ( B ∩ C )
• แผนภาพในขอ 5) เปนแผนภาพเดียวกับแผนภาพในขอ 6) ซึ่งสอดคลองกับสมบัติ
ของการดําเนินการของเซต คือ ( A ∪ B ) ∩ C = ( A ∩ C ) ∪ ( B ∩ C )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

16 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

การแกปญหาโดยใชเซต

กิจกรรม : แรเงา

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับจํานวนสมาชิกของเซต A ∪ B
โดยกอนทํากิจกรรมนี้ นักเรียนตองมีความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซต
และการดําเนินการระหวางเซต
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูจับคูใหนักเรียนแบบคละความสามารถ จากนั้นครูเขียนแผนภาพนี้ลงบนกระดาน

A B
1 3
0
4 6
2 5
7
8 9

2. ครูใหนักเรียนหาจํานวนสมาชิกของเซต A
แนวคําตอบ จํานวนสมาชิกของเซต A คือ 5
3. จากคําตอบที่ไดในขอ 2 ครูแนะนําวาจํานวนสมาชิกของเซต A เขียนแทนดวย n ( A)
ซึ่งจะไดวา n ( A) = 5
4. ครูใหนักเรียนแตละคูหา n ( B ) , n ( A ∪ B ) และ n ( A ∩ B )
แนวคําตอบ n ( B=) 4, n ( A ∪ B=) 6 และ n ( A ∩ B ) = 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 17

5. จากคําตอบที่ไดในขอ 4 ครูใหนักเรียนคาดการณวา n ( A ∪ B ) มีความสัมพันธกับ n ( A) ,


n ( B ) และ n ( A ∩ B ) อยางไร
หมายเหตุ ขอนี้เปนเพียงการคาดการณของนักเรียน อาจยังไมไดคําตอบที่ถูกตอง
6. ครู ให นั กเรี ยนแต ละคู พิจารณาว า n ( A ∪ B ) มี ความสั มพั นธ กั บ n ( A) , n ( B ) และ
n ( A ∩ B ) อยางไร โดยพิจารณาจากแผนภาพดังนี้

A B

6.1 ครูใหนักเรียนแรเงาเซต A โดยใชสีหนึ่ง แลวแรเงาเซต B โดยใชอีกสีหนึ่ง


6.2 ครูใหนักเรียนแตละคูพิจารณาวา
(1) สวนที่แรเงาทั้งหมดแทนเซตใด
แนวคําตอบ A ∪ B
(2) สวนที่แรเงาสองครั้งแทนเซตใด
แนวคําตอบ A ∩ B
(3) จากการแรเงาที่ได n ( A ∪ B ) มีความสัมพันธกับ n ( A ) , n ( B ) และ n ( A ∩ B )
อยางไร
แนวคําตอบ n ( A ∪ B )= n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
7. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบที่ไดในขอ 6

หมายเหตุ
ครูสามารถทํากิจกรรมในทํานองเดียวกันนี้ไดในการหาจํานวนสมาชิกของเซต A∪ B ∪C

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

18 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• ครูอาจเสนอแนะใหนักเรียนใชวิธีเขียนแผนภาพแสดงเซตเพื่อชวยในการแกปญหาใน
หัวขอนี้
• ครูควรเนนย้ํากับนักเรียนวาตัวเลขที่แสดงในแผนภาพแสดงเซต อาจหมายถึงสมาชิก
ของเซตหรือจํานวนสมาชิกของเซตก็ได

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัดทายบทขอ 2 มีคําตอบไดหลายแบบ เนื่องจากการเขียนแสดงเซตแบบบอก


เงื่อนไขของสมาชิกสามารถเขียนไดหลายแบบ ควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนเงื่อนไข
ของสมาชิกของเซต โดยเงื่อนไขของนักเรียนไมจําเปนตองตรงกับที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 19

1.3 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
การวัดผลระหวางเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อปรับปรุงการเรียนรูและพัฒนาการเรียนการสอน และ
ตรวจสอบนักเรียนแตละคนวามีความรู ความเข าใจในเรื่องที่ครูส อนมากนอยเพีย งใด การให
นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนแนวทางหนึ่งที่ครูอาจใชเพื่อประเมินผลดานความรูระหวางเรียนของ
นักเรียน ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอ
แบบฝ ก หั ด ที่ ค รอบคลุ ม เนื้ อ หาที่ สํ า คั ญ ของแต ล ะบทไว สํ า หรั บ ในบทที่ 1 เซต ครู อ าจใช
แบบฝกหัดเพื่อวัดผลประเมินผลความรูในแตละเนื้อหาไดดังนี้

เนื้อหา แบบฝกหัด

ความหมายของเซต สมาชิ ก ของเซต จํ า นวนสมาชิ ก ของเซต 1.1ก ขอ 3 – 5


เซตวาง เอกภพสัมพัทธ
การเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิ กและแบบบอกเงื่ อนไข 1.1ก ขอ 1 – 2
ของสมาชิก
เซตจํากัดและเซตอนันต 1.1ก ขอ 6
เซตที่เทากัน 1.1ก ขอ 7 – 8
สับเซต 1.1ข ขอ 1 – 4
เพาเวอรเซต 1.1ข ขอ 5
การเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซต 1.1ค ขอ 1 – 3
การดําเนินการระหวางเซต 1.2ก ขอ 1 – 6
(อินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต ผลตางระหวางเซต)

การแกปญหาโดยใชเซต 1.3ก ขอ 1 – 9

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

20 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1.4 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีจุดมุงหมายวาเมื่อนักเรียน
ไดเรียนจบบทที่ 1 เซต แลวนักเรียนสามารถ
1. ใชสัญลักษณเกี่ยวกับเซต
2. หาเพาเวอรเซตของเซตจํากัด
3. หาผลการดําเนินการของเซต
4. ใชแผนภาพเวนนแสดงความสัมพันธระหวางเซต
5. ใชความรูเกี่ยวกับเซตในการแกปญหา
ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอแบบฝกหัด
ทายบทที่ประกอบดวยโจทยเพื่อตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวัดความรูความ
เขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะที่มีความนาสนใจและโจทย
ทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย
ของบทเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความสามารถตามจุดมุงหมายเมื่อเรียนจบบทเรียนหรือไม

ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4


เลม 1 บทที่ 1 เซต สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียน ดังนี้

จุดมุงหมาย แบบฝกหัดทายบทขอที่
1. ใชสัญลักษณเกี่ยวกับเซต 1 1) – 5)

2 1) – 4)

3 1) – 5)

4 1) – 6)
2. หาเพาเวอรเซตของเซตจํากัด 4 7) – 9)

5* 1) – 4)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 21

จุดมุงหมาย แบบฝกหัดทายบทขอที่
3. หาผลการดําเนินการของเซต 5* 1) – 4)

6 1) – 6)

7 1)*, 2)*
4. ใชแผนภาพเวนนแสดงความสัมพันธระหวางเซต 7 1)*, 2)*, 3)

8 1) – 3)

9 1) – 7)

10 1) – 8)

11 1) – 3)

12 1) – 5)
5. ใชความรูเกี่ยวกับเซตในการแกปญหา 13

14

15 1) – 2)

16 1) – 2)

17

18 1) – 4)

19 1) – 3)

20
โจทยทาทาย 21

22 1) – 4)

หมายเหตุ
แบบฝกหัดทายบทขอที่สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียนมากกวา 1 จุดมุงหมาย ไดแก
• ขอ 5 ขอยอย 1) – 4) สอดคลองกับจุดมุงหมายขอ 2 และ 3
• ขอ 7 ขอยอย 1) – 2) สอดคลองกับจุดมุงหมายขอ 3 และ 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

22 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1.5 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
• เซตอนันต จําแนกไดเปน 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 เปนเซตอนันตนับได (countable infinite) เชน เซตของจํานวนนับ เซตของ
จํานวนเต็ม เซตของจํานวนตรรกยะ { x ∈  | x ≤ 1} , { x ∈  | x ≠ 0 }

แบบที่ 2 เปนเซตอนันตนับไมได (uncountable infinite) เชน เซตของจํานวนจริง


{ x ∈  |1 < x < 2}
• สมบัติของการดําเนินการของเซต
สมบัติของการดําเนินการของเซตเทียบเคียงไดกับสมบัติบางขอในสัจพจนเชิงพีชคณิต
ของระบบจํานวนจริง ดังนี้
ให A , B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U จะได
1) สมบัติการสลับที่
A∪ B = B ∪ A
A∩ B = B ∩ A
2) สมบัติการเปลี่ยนหมู
( A ∪ B) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C )
( A ∩ B) ∩ C = A ∩ ( B ∩ C )
3) สมบัติการแจกแจง
A ∪ ( B ∩ C ) = ( A ∪ B) ∩ ( A ∪ C )
A ∩ ( B ∪ C ) = ( A ∩ B) ∪ ( A ∩ C )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 23

1.6 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและเฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
ในสวนนี้จะนําเสนอตัวอยางแบบทดสอบประจําบทที่ 1 เซต สําหรับรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ซึ่งครูสามารถเลือกนําไปใชไดตามจุดประสงค การเรียนรูที่ตองการ
วัดผลประเมินผล

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1) {x ∈  2 x2 − x − 3 =}
0 2) เซตของจํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 0 กับ 20
2. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
1 1 1 
1)  , , , 1, 2, 4  2) { 0.1, 0.2, 0.3, 0.4,  }
 8 4 2 
3. จงหาจํานวนสมาชิกของเซตตอไปนี้
1) {{1, 2, 3, …}} 2) { x ∈  x < 150} 2

4. จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเปนเท็จ
1) { x x เปนสับเซตของ ∅ } เปนเซตวาง
2) { x x เปนเพาเวอรเซตของ ∅ } เปนเซตที่มีสมาชิก 1 ตัว
3) {1, {1}} ≠ {{1, {1}}}
5. ให A = { a, b, c, {d } } จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
1) a∈ A 2) {d } ∉ A
3) { {d } } ⊂ A 4) { a, b } ∈ A
5) {b, {d }} ⊂ P ( A ) 6) {∅, {d }} ⊂ P ( A)
6. กําหนดให A, B เปนเซตอนันต และ A≠ B จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
ถาเปนเท็จจงยกตัวอยางคาน
1) A ∩ B เปนเซตอนันต 2) A∩ B เปนเซตจํากัด
3) A − B เปนเซตอนันต 4) A− B เปนเซตจํากัด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

24 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กําหนดให A = {a, b, c, d , e}
7.
1) จงหาจํานวนสับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก
2) จงหาจํานวนสับเซตของ A ที่ไมมี a เปนสมาชิก
8. กําหนดให A = {1, {2, 3}} จงหา P ( A ) − A
9. ให A , B และ C เปนเซตใด ๆ ที่ไมใชเซตวาง จงเขียนแผนภาพแสดงเซตตอไปนี้
1) ( A − B ) ∪ ( B − A ) 2) ( ( A − B ) − ( A − C ) ) ∪ ( B − ( A ∪ C ) )
10. จงพิจารณาวา ( A − B ) ∪ ( B − A ) และ ( A ∪ B ) − ( A ∩ B ) เทากันหรือไม
11. ให A และ B= เปนเซต ซึ่ง A ∪ B {0, 1, 2,= 3, 4, 5, 6, 8} , A − B {0, 1, 3} และ
B− A= {2, 4, 6} จงพิจารณาวา A ∩ B เปนสับเซตของ {4, 6, 8} หรือไม
12. ให A, B และ C เปนเซตซึ่งเปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U เมื่อ U = {1, 2, 3,  , 13} ,
= A {= 3, 4, 5, 8, 9} , B {5, 6, 7, 9, 10, 11} และ C = {8, 9, 10, 11, 12, 13}
จงเขียน ( A ∪ B ) − C ′ แบบแจกแจงสมาชิก
13. ถ า A มี จํ า นวนสมาชิ กมากกว า B อยู 1 ตั ว และ n ( A ∪ B ) + n ( A ∩ B ) = 75 จงหา
จํานวนสมาชิกของ A
14. กําหนดให U = {1, 2, , 100} จงหาจํานวนสมาชิกของ U ที่เปนจํานวนคูซึ่งหารดวย 3
ไมลงตัว
15. กําหนดให U = {1, 2, , 60} จงหาจํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหาร
ดวย 4 ลงตัว หรือหารดวย 5 ลงตัว
16. นักเรียน 50 คน แตละคนมีเสื้อสีขาวหรือสีเขียวอยางนอยหนึ่งตัว ถามีนักเรียน 39 คนที่มี
เสื้อสีขาว และมีนักเรียน 19 คนที่มีเสื้อสีเขียว แลวมีนักเรียนกี่คนที่มีทั้งเสื้อสีขาวและสีเขียว
17. ในหองเรียนหนึ่งมีนักเรียนที่เลี้ยงสุนัข 32 คน มีนักเรียนที่เลี้ยงแมว 25 คน และมีนักเรี ยนที่
เลี้ยงสุนัขหรือแมวเพียงชนิดเดียว 47 คน จงหาจํานวนของนักเรียนที่เลี้ยงทั้งสุนัขและแมว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 25

18. ในการสํารวจงานอดิเรกของคน 140 คน พบวา


72 คน ชอบดูภาพยนตร
65 คน ชอบออกกําลังกาย
58 คน ชอบอานหนังสือ
23 คน ชอบดูภาพยนตรและออกกําลังกาย
18 คน ชอบดูภาพยนตรและอานหนังสือ
40 คน ชอบออกกําลังกายและอานหนังสือ
10 คน ไมสนใจงานอดิเรกขางตน
จงหาจํานวนคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ
19. ในงานเลี้ยงแหงหนึ่งมีผูเขารวมงาน 200 คน โดยที่ทุกคนชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู
จากการสํ า รวจปรากฏวา มี คนที่ ช อบรับ ประทานกุง ปลา และปู 63%, 42% และ 55%
ตามลําดับ มีคนที่ชอบรับประทานกุงและปลา 24% ชอบรับประทานปลาและปู 17% และ
ชอบรับประทานทั้งสามอยาง 9% จงหาจํานวนของคนที่ชอบรับประทานทั้งกุงและปู
20. ในการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวชาวตางชาติจํานวน 500 คน
พบวานักทองเที่ยวทุกคนเคยไปเชียงใหม กระบี่ หรือชลบุรี โดยมีนักทองเที่ยวที่เคยไปทั้ง
เชียงใหม กระบี่ และชลบุรี จํานวน 39 คน เคยไปเชียงใหมและกระบี่เทานั้น 78 คน เคยไป
เชียงใหมและชลบุรีเทานั้น 96 คน เคยไปกระบี่และชลบุรีเทานั้น 111 คน และมีคนที่ไมเคย
ไปกระบี่ 208 คน จงหาจํานวนคนที่เคยไปกระบี่เพียงจังหวัดเดียว

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. 1) จาก 2x2 − x − 3 = 0

( 2 x − 3)( x + 1) = 0
3
จะได x= หรือ x = −1
2
3
เนื่องจาก x∈ แต ∉
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

26 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได คําตอบของสมการนี้ คือ −1


ดังนั้น เขียน { x ∈  2 x − x − 3 =0} แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน {−1}
2

2) เนื่องจาก จํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 0 และ 20 ไดแก 2, 3, 5, 7, 11, 13, 17 และ 19


ดังนั้น เขียนเซตของจํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 0 และ 20 แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน
{2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19}
2. 1) ตัวอยางคําตอบ
1 1
เนื่องจาก = = 2−= 3
21− 4
8 23
1 1 −2
= =2
2= 22− 4
4 2
1 1
= = 2−= 1
23 − 4
2 21
=
1 2=0
24− 4
=
2 2=1
25 − 4
และ =
4 2=2
26 − 4
1 1 1 
ดังนั้น เขียน  , , , 1, 2, 4  แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกไดเปน
8 4 2 
{x x = 2 เมื่อ
n−4
n∈ และ n ≤ 6}

2) ตัวอยางคําตอบ
1
เนื่องจาก 0.1 =
10
2
0.2 =
10
3
0.3 =
10
4
0.4 =
10

ดังนั้น เขียน { 0.1, 0.2, 0.3, 0.4,  } แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกไดเปน
n
{x | x = เมื่อ n ∈ }
10

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 27

3. 1) เนื่องจาก {{1, 2, 3, …}} มีสมาชิก คือ {1, 2, 3, …}


ดังนั้น {{1, 2, 3, …}} มีจํานวนสมาชิก 1 ตัว
2) เนื่องจาก { x ∈  x < 150} =−
2
{ 12, − 11, … , 0, 1, … , 12}
นั่นคือ { x ∈  x < 150} มีสมาชิก คือ −12, − 11, … , 0, 1, … , 12
2

ดังนั้น { x ∈  x < 150} มีจํานวนสมาชิก 25 ตัว


2

4. 1) เนื่องจาก ∅ ⊂ ∅
จะได { x x เปนสับเซตของ ∅ } ={∅}
เนื่องจาก {∅} ≠ ∅
จะได { x x เปนสับเซตของ ∅ } ≠ ∅
ดังนั้น ขอความ “ { x x เปนสับเซตของ ∅ } เปนเซตวาง” เปนเท็จ
2) เนื่องจาก ∅ ⊂ ∅
จะได เพาเวอรเซตของ ∅ คือ {∅}
ดังนั้น { x x เปนเพาเวอรเซตของ ∅ } = {{∅}}
เนื่องจาก {{∅}} เปนเซตที่มีสมาชิก 1 ตัว คือ {∅}
จะได { x x เปนเพาเวอรเซตของ ∅ } เปนเซตที่มีสมาชิก 1 ตัว
ดังนั้น ขอความ “ { x x เปนเพาเวอรเซตของ ∅ } เปนเซตที่มีสมาชิก 1 ตัว” เปนจริง
3) เนื่องจาก {1, {1}} เปนเซตซึ่งมีสมาชิก 2 ตัว คือ 1 และ {1}
และ {{1, {1}}} เปนเซตซึ่งมีสมาชิก 1 ตัว คือ {1, {1}}
จะเห็นวาจํานวนสมาชิกของ {1, {1}} ไมเทากับจํานวนสมาชิกของ {{1, {1}}}
นั่นคือ {1, {1}} ≠ {{1, {1}}}
ดังนั้น ขอความ “ {1, {1}} ≠ {{1, {1}}} ” เปนจริง
5. 1) จาก A = {a, b, c, {d }}
จะเห็นวา a ∈{a, b, c, {d }}
ดังนั้น ขอความ “ a ∈ A ” เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

28 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) จาก A = {a, b, c, {d }}
จะเห็นวา {d } ∈{a, b, c, {d }}
ดังนั้น ขอความ “ {d } ∉ A ” เปนเท็จ
3) จาก A = {a, b, c, {d }}
จะไดวา สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {a} , {b} , {c} และ {{d }}
ดังนั้น ขอความ “ {{d }} ⊂ A ” เปนจริง
4) จาก A = {a, b, c, {d }}
จะเห็นวา a ∈ A และ b ∈ A แต {a, b} ∉ A
ดังนั้น ขอความ “ {a, b} ∈ A ” เปนเท็จ
5) จาก A = {a, b, c, {d }}
จะไดวา สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว ไดแก {a, b} , {a, c} , {a, {d }}, {b, c} ,
{b, {d }} และ {c, {d }}
นั่นคือ {b, {d }} ∈ P ( A) แต {b, {d }} ⊄ P ( A)
ดังนั้น ขอความ “ {b, {d }} ⊂ P ( A) ” เปนเท็จ
6) จาก A = {a, b, c, {d }}
จะไดวา สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 0 ตัว คือ ∅
และ สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {a} , {b} , {c} และ {{d }}
นั่นคือ {∅, {{d }}} ⊂ P ( A) แต {∅, {d }} ⊄ P ( A)
ดังนั้น ขอความ “ {∅, {d }} ⊂ P ( A) ” เปนเท็จ
6. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ A เปนเซตของจํานวนคู และ B เปนเซตของจํานวนคี่
จะได A ∩ B =∅ ซึ่ง ∅ เปนเซตจํากัด
ดังนั้น A ∩ B ไมเปนเซตอนันต
2) เปนเท็จ เชน เมื่อ A =  และ B = 
จะได A ∩ B =  ซึ่ง  เปนเซตอนันต
ดังนั้น A ∩ B ไมเปนเซตจํากัด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 29

3) เปนเท็จ เชน เมื่อ A=  ∪ {0} และ B = 


จะได A − B = {0} ซึ่ง {0} เปนเซตจํากัด
ดังนั้น A − B ไมเปนเซตอนันต
4) เปนเท็จ เชน เมื่อ A =  และ B เปนเซตของจํานวนคี่
จะได A − B คือ เซตของจํานวนคู ซึ่งเซตของจํานวนคูเปนเซตอนันต
ดังนั้น A − B ไมเปนเซตจํากัด
7. จาก A = {a, b, c, d , e}
จะได สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 0 ตัว ไดแก ∅
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {a} , {b} , {c} , {d } และ {e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว ไดแก {a, b} , {a, c} , {a, d } , {a, e} , {b, c} ,
{b, d } , {b, e} , {c, d } , {c, e} และ {d , e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 3 ตัว ไดแก {a, b, c} , {a, b, d } , {a, b, e} , {a, c, d } ,
{a, c, e} ,{a, d , e} , {b, c, d } , {b, c, e} ,
{b, d , e} และ {c, d , e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 4 ตัว ไดแก {a, b, c, d } , {a, b, c, e} , {a, b, d , e} ,
{a, c, d , e} และ {b, c, d , e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 5 ตัว ไดแก {a, b, c, d , e}
1) เนื่องจาก สับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก ไดแก {a} , {a, b} , {a, c} , {a, d } ,
{a, e} , {a, b, c} , {a, b, d } , {a, b, e} , {a, c, d } , {a, c, e} , {a, d , e} , {a, b, c, d } ,
{a, b, c, e} , {a, b, d , e} , {a, c, d , e} และ {a, b, c, d , e}
ดังนั้น จํานวนสับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก คือ 16 สับเซต
2) เนื่องจาก จํานวนสับเซตทั้งหมดของ A คือ 32 สับเซต
และ จํานวนสับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก คือ 16 สับเซต
ดังนั้น จํานวนสับเซตของ A ที่ไมมี a เปนสมาชิก คือ 32 – 16 = 16 สับเซต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

30 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8. จาก A = {1, {2, 3}}


จะได สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 0 ตัว คือ ∅
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว คือ {1} , {{2, 3}}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว คือ {1, {2, 3}}
นั่นคือ P( A)= { ∅, { 1} , {{ 2, 3 }}, {1, { 2, 3 }} }
ดังนั้น P( A) − A =P( A) ={ ∅, { 1} , {{ 2, 3 }}, {1, { 2, 3 }} }
9. 1) เขียนแผนภาพแสดง ( A − B ) ∪ ( B − A ) ไดดังนี้

2) เขียนแผนภาพแสดง ( ( A − B ) − ( A − C ) ) ∪ ( B − ( A ∪ C ) )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 31

10. เขียนแผนภาพแสดง ( A − B ) ∪ ( B − A) และ ( A ∪ B ) − ( A ∩ B ) ไดดังนี้

( A − B ) ∪ ( B − A) ( A ∪ B) − ( A ∩ B)

จากแผนภาพ จะไดวา ( A − B ) ∪ ( B − A) = ( A ∪ B ) − ( A ∩ B )
ดังนั้น ( A − B ) ∪ ( B − A) และ ( A ∪ B ) − ( A ∩ B ) เทากัน
11. จาก A และ B= เปนเซต ซึ่ง A ∪ B {0, 1, 2,=
3, 4, 5, 6, 8} , A − B {0, 1, 3} และ

{2, 4, 6}
B− A=
เขียนแผนภาพแสดงสมาชิกของ A และ B ไดดังนี้

0 2
5
1 4
8
3 6

จากแผนภาพ จะได A ∩ B = {5, 8} ซึ่งมีสมาชิก 2 ตัว คือ 5 และ 8


เนื่องจาก {4, 6, 8} มีสมาชิก 3 ตัว คือ 4, 6 และ 8
จะเห็นวา มี 5 ซึ่ง 5 ∈ A ∩ B แต 5 ∉{4, 6, 8}
ดังนั้น A ∩ B ไมเปนสับเซตของ {4, 6, 8}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

32 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

12. จาก A, B และ C เปนเซตซึ่งเปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U เมื่อ


U = {1, 2, 3,  , 13} ,
=A 3, 4, 5, 8, 9} , B {5, 6, 7, 9, 10, 11} และ C = {8, 9, 10, 11, 12, 13}
{=
จะได A ∪ B = {3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11} และ C ′ = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
นั่นคือ ( A ∪ B ) − C ′ = {8, 9, 10, 11}
ดังนั้น เขียน ( A ∪ B ) − C ′ แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน {8, 9, 10, 11}
13. ให A และ B เปนเซตใด ๆ โดยที่ A มีสมาชิก a ตัว นั่นคือ n ( A ) = a
เนื่องจาก A มีสมาชิกมากกวา B อยู 1 ตัว
จะไดวา B มีสมาชิก a − 1 ตัว นั่นคือ n ( B )= a − 1
จาก n ( A ∪ B )= n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
จะได n ( A ∪ B ) + n ( A ∩ B )= n ( A) + n ( B )
จาก n ( A ∪ B ) + n ( A ∩= B ) 75, n=( A) a และ n ( B )= a − 1
จะได 75 =a + ( a − 1)
นั่นคือ a = 38
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ A คือ 38
14. จาก U = {1, 2,  , 100}
ให A แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งเปนจํานวนคู
B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 ลงตัว จะได
และ A ∩ B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งเปนจํานวนคูและหารดวย 3 ลงตัว
จะได A = {2, 4, 6, , 100} นั่นคือ n ( A) = 50
B = {3, 6, 9,  , 99} นั่นคือ n ( B ) = 33
และ A ∩ B = {6, 12, 18, , 96} นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 16
เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A และ B ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 33

34 16 17

จากแผนภาพ จะได n ( A − B ) = 34
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ U ที่เปนจํานวนคูซึ่งหารดวย 3 ไมลงตัว เทากับ 34 ตัว
15. จาก U = {1, 2,  , 60}
ให A แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 ลงตัว
B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 4 ลงตัว
และ C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 5 ลงตัว
จะได A = { 3, 6, , 60 } นั่นคือ n ( A) = 20
B = { 4, 8, , 60 } นั่นคือ n ( B ) = 15
และ C = { 5, 10, , 60 } นั่นคือ n ( C ) = 12
ให A ∩ B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 4 ลงตัว
A ∩ C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 5 ลงตัว
B ∩ C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 4 และ 5 ลงตัว
และ A ∩ B ∩ C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 4 และ 5 ลงตัว
จะได A ∩ B = { 12, 24, 36, 48, 60 } นั่นคือ n ( A ∩ B ) =
5
A∩C = { 15, 30, 45, 60 } นั่นคือ n ( A ∩ C ) =
4
B ∩C = { 20, 40, 60 } นั่นคือ n ( A ∩ C ) =
3
A∩ B ∩C = { 60 } นั่นคือ n ( A ∩ B ∩ C ) =
1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

34 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A, B และ C ไดดังนี้

12 4 8
1
3 2

จากแผนภาพ จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 12 + 8 + 6 + 4 + 3 + 2 + 1 = 36
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหารดวย 4 ลงตัว หรือหาร
ดวย 5 ลงตัว มีอยู 36 ตัว
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C )
−n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 20 + 15 + 12 − 5 − 4 − 3 + 1
= 36
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหารดวย 4 ลงตัว หรือหาร
ดวย 5 ลงตัว เทากับ 36 ตัว
16. ให A แทนเซตของนักเรียนที่มีเสื้อสีขาว
B แทนเซตของนักเรียนที่มีเสื้อสีเขียว
จะได A ∪ B แทนเซตของนักเรียนที่มีเสื้อสีขาวหรือสีเขียว
และ A ∩ B แทนเซตของนักเรียนที่มีทั้งเสื้อสีขาวและสีเขียว
เนื่องจาก มีนักเรียน 39 คนที่มีเสื้อสีขาว นั่นคือ n ( A) = 39
มีนักเรียน 19 คนที่มีเสื้อสีเขียว นั่นคือ n ( B ) = 19
และ มีนักเรียนทั้งหมด 50 คน แตละคนมีเสื้อสีขาวหรือสีเขียวอยางนอย 1 ตัว
นั่นคือ n ( A ∪ B ) =50
จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 35

จะได 50 = 39 + 19 − n ( A ∩ B )
นั่นคือ n( A ∩ B) = 8
ดังนั้น มีนักเรียน 8 คน ที่มีทั้งเสื้อสีขาวและสีเขียว
17. ให A แทนเซตของนักเรียนที่เลี้ยงสุนัข
B แทนเซตของนักเรียนที่เลี้ยงแมว
และ x แทนจํานวนนักเรียนที่เลี้ยงทั้งสุนัขและแมว
เนื่องจาก มีนักเรียนที่เลี้ยงสุนัข 32 คน และมีนักเรียนที่เลี้ยงแมว 25 คน
จะได n ( A) = 32 และ n ( B ) = 25
เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A และ B ไดดังนี้

32 – x x 25 – x

จากแผนภาพ จะไดวา มีนักเรียนที่เลี้ยงสุนัขหรือแมวเพียงชนิดเดียว


( 32 − x ) + ( 25 − x ) = 57 + 2 x คน
เนื่องจาก มีนักเรียนที่เลี้ยงสุนัขหรือแมวเพียงชนิดเดียว 47 คน
จะได 57 − 2x = 47
2x = 10
นั่นคือ x = 5
ดังนั้น จํานวนของนักเรียนที่เลี้ยงทั้งสุนัขและแมว เทากับ 5 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

36 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

18. ให A แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตร จะได n ( A) = 72


B แทนเซตของคนที่ชอบออกกําลังกาย จะได n ( B ) = 65
C แทนเซตของคนที่ชอบอานหนังสือ จะได n ( C ) = 58
A ∩ B แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตรและออกกําลังกาย จะได n ( A ∩ B ) =23
A ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตรและอานหนังสือ จะได n ( A ∩ C ) = 18
B ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบออกกําลังกายและอานหนังสือ จะได n ( B ∩ C ) =
40

และ ( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของคนที่ไมชอบงานอดิเรกขางตนเลย
จะได n ( A ∪ B ∪ C )′ =10 นั่นคือ n ( A ∪ B ∪ C )= 140 − 10= 130
วิธีที่ 1 ให x แทนจํานวนคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ
เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A , B และ C ไดดังนี้
U

A B
23 – x
31 + x 2+x
x
18 – x 40 – x
x
C

จากแผนภาพ จะได
( 31 + x ) + ( 23 − x ) + ( 2 + x ) + (18 − x ) + x + ( 40 − x ) + x = 130
x + 114 = 130
x = 16
ดังนั้น มีคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ 16 คน
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C )
−n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
จะได 130 = 72 + 65 + 58 − 23 − 18 − 40 + n ( A ∩ B ∩ C )
นั่นคือ n ( A ∩ B ∩ C ) = 16
ดังนั้น มีคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ 16 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 37

19. ให A แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกุง


B แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานปลา
C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานปู
A ∩ B แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกุงและปลา
B ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานปลาและปู
A ∪ B ∪ C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู
และ A ∩ B ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานทั้งสามอยาง
เนื่องจาก งานเลี้ยงนี้มีผูเขารวมงาน 200 คน โดยที่ทุกคนชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู
จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 200
และเนื่องจากในงานเลี้ยงนี้ มีผูรวมงานที่
ชอบรับประทานกุง 63% จะได n ( A) = 63 × 200 = 126
100
ชอบรับประทานปลา 42% จะได n ( B ) = 42 × 200 = 84
100
ชอบรับประทานปู 55% จะได n ( C ) = 55 × 200 = 110
100
24
ชอบรับประทานกุงและปลา 24% จะได n ( A ∩ B ) = × 200 = 48
100
ชอบรับประทานปลาและปู 17% จะได n ( B ∩ C ) = 17 × 200 = 34
100
ชอบรับประทานทั้งสามอยาง 9% จะได n ( A ∩ B ∩ C )= 9 × 200= 18
100
จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C )
+n ( A ∩ B ∩ C )
จะได 200 = 126 + 84 + 110 − 48 − n ( A ∩ C ) − 34 + 18
นั่นคือ n ( A ∩ C ) = 56
ดังนั้น มีคนที่ชอบรับประทานทั้งกุงและปู 56 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

38 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

20. ให แทนเซตของนักทองเที่ยวที่เคยไปเชียงใหม


A
B แทนเซตของนักทองเที่ยวที่เคยไปกระบี่
และ C แทนเซตของนักทองเที่ยวที่เคยไปชลบุรี
ให a แทนจํานวนนักทองเที่ยวที่เคยไปเชียงใหมเพียงจังหวัดเดียว
b แทนจํานวนนักทองเที่ยวที่เคยไปกระบี่เพียงจังหวัดเดียว
และ c แทนจํานวนนักทองเที่ยวที่เคยไปชลบุรีเพียงจังหวัดเดียว
เนื่องจากการสํารวจนี้ทําการสํารวจนักทองเที่ยวตางชาติจํานวน 500 คน โดยที่
นักทองเที่ยวทุกคนเคยไปเชียงใหม กระบี่ หรือชลบุรี
โดยมีนักทองเที่ยวที่ เคยไปทั้งเชียงใหม กระบี่ และชลบุรี จํานวน 39 คน
เคยไปเชียงใหมและกระบี่เทานั้น 78 คน
เคยไปเชียงใหมและชลบุรีเทานั้น 96 คน
เคยไปกระบี่และชลบุรีเทานั้น 111 คน
เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A, B และ C ไดดังนี้
U
A B
78
a b
39
96 111

c
C
เนื่องจากมีนักทองเที่ยวที่ไมเคยไปกระบี่ 208 คน
จากแผนภาพ จะไดวา a + c + 96 =208 นั่นคือ a + c = 112
จะได b = 500 − [112 + 78 + 96 + 111 + 39] = 64
ดังนั้น จํานวนคนที่เคยไปกระบี่เพียงจังหวัดเดียวมี 64 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 39

บทที่ 2

ตรรกศาสตร

การศึกษาเรื่องตรรกศาสตรมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปนรากฐานและเครื่องมือที่
สําคัญในการสื่อสารและสื่อความหมายในวิชาคณิตศาสตรและศาสตรอนื่ ๆ เนื้อหาเรื่องตรรกศาสตรที่
นําเสนอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีเปาหมาย
เพื่อใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับสัญลักษณและภาษาทางตรรกศาสตร ซึ่งเพียงพอที่จะใชในการ
สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตรเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรูเนื้อหาคณิตศาสตรใน
หัวขอตอไป

ในบทเรียนนี้มุงใหนักเรียนบรรลุตัวชี้วัดตามสาระการเรียนรูแกนกลาง บรรลุผลการเรียนรูตาม
สาระการเรียนรูเพิ่มเติม และบรรลุจุดมุงหมายดังตอไปนี้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ผลการเรียนรู และสาระการเรียนรูเพิ่มเติม

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
• เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซตและ • ประพจนและตัวเชื่อม (นิเสธ และ หรือ
ตรรกศาสตรเบื้องตน ในการสื่อสาร ถา...แลว... ก็ตอเมื่อ)
และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร
ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม
• เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตร • ประพจนและตัวเชื่อม
เบื้องตน ในการสื่อสาร สื่อความหมาย • ประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
และอางเหตุผล • การอางเหตุผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

40 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย

1. จําแนกขอความวาเปนประพจนหรือไมเปนประพจน
2. หาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม
3. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประพจนสองประพจน
4. จําแนกประพจนวาเปนสัจนิรันดรหรือไมเปนสัจนิรันดร
5. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการอางเหตุผล
6. หาคาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
7. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประโยคสองประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
8. หานิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
9. ใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตรในการแกปญหา

ความรูกอนหนา

• ความรูเกี่ยวกับจํานวนและสมการในระดับมัธยมศึกษาตอนตน
• เซต

goo.gl/VGTLAf

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 41

2.1 เนื้อหาสาระ
1. ประพจน คื อ ประโยคหรื อข อความที่ เ ป น จริ งหรื อ เท็ จ อย างใดอย า งหนึ่ งเท านั้ น ซึ่ ง
ประโยคหรือขอความดังกลาวจะอยูในรูปบอกเลาหรือปฏิเสธก็ได ในตรรกศาสตรเรียก
การเปน จริง หรือ เท็จ ของแตละประพจนวา คาความจริงของประพจน
2. ให p และ q เปนประพจนใด ๆ เมื่อเชื่อมดวยตัวเชื่อม และ ( ∧ ) หรือ ( ∨ ) ถา...แลว...
( → ) และ ก็ตอเมื่อ ( ↔ ) จะมีขอตกลงเกี่ยวกับคาความจริงของประพจนที่ไดจากการ
เชือ่ มประพจน p และ q โดยให T และ F แทนจริงและเท็จ ตามลําดับ ดังนี้
p q p∧q p∨q p→q p↔q
T T T T T T
T F F T F F
F T F T T F
F F F F T T

ถา p เปนประพจนใด ๆ แลว นิเสธของ p เขียนแทนดวยสัญลักษณ p และเขียน


ตารางคาความจริงของ  p ไดดังนี้
p p
T F
F T

3. ให p, q และ r เปนประพจนซึ่งยังไมกําหนดคาความจริง จะเรียก p, q และ r วาเปน


ตัวแปรแทนประพจนใด ๆ และเรียกประพจนที่มีตัวเชื่อม เชน  p, p ∧ q, p ∨ q, p → q,
p ↔ q วา รูปแบบของประพจน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

42 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. ถารูปแบบของประพจนสองรูปแบบใดมีคาความจริงตรงกันกรณีตอกรณี แลวจะสามารถ
นําไปใชแทนกันได เรียกสองรูปแบบของประพจนดังกลาววาเปน รูปแบบของประพจนที่
สมมูลกัน รูปแบบของประพจนที่สมมูลกันที่ควรทราบมีดังนี้
p ≡  ( p)
p∧q ≡ q∧ p
p∨q ≡ q∨ p
 ( p ∧ q) ≡  p∨  q
 ( p ∨ q) ≡  p∧  q
p→q ≡  p∨ q
p→q ≡  q → p
p↔q ≡ ( p → q) ∧ (q → p)
p ∧ (q ∨ r ) ≡ ( p ∧ q) ∨ ( p ∧ r )
p ∨ (q ∧ r ) ≡ ( p ∨ q) ∧ ( p ∨ r )
5. บทนิยาม 1
รูปแบบของประพจนที่มีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี เรียกวา สัจนิรันดร
6. การอางเหตุผลคือ การอางวา เมื่อมีประพจน p , p ,  , p ชุดหนึ่ง แลวสามารถสรุป
1 2 n

ประพจน C ประพจนหนึ่งได การอางเหตุผลประกอบดวยสวนสําคัญสองสวนคือ เหตุ


หรือสิ่งที่กําหนดให ไดแก ประพจน p , p ,, p และ ผลหรือขอสรุป คือ ประพจน C
1 2 n

โดยใชตัวเชื่อม ∧ เชื่อมเหตุทั้งหมดเขาดวยกัน และใชตัวเชื่อม → เชื่อมสวนที่เปนเหตุ


กับผลดังนี้
( p1 ∧ p2 ∧  ∧ pn ) → C
จะกลาววา การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล เมื่อรูปแบบของประพจน ( p ∧ p ∧  ∧ p ) → C 1 2 n

เปนสัจนิรันดร
7. บทนิยาม 2
ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลาหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร และเมื่อแทนตัวแปรดวย
สมาชิกในเอกภพสัมพัทธแลวไดประพจน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 43

8. เรียก สําหรับ...ทุกตัว และ สําหรับ...บางตัว วา ตัวบงปริมาณ แทนดวยสัญลักษณ ∀


และ ∃ ตามลําดับ โดยใชสัญลักษณ
∀x แทน สําหรับ x ทุกตัว
∃x แทน สําหรับ x บางตัว
9. ถ า P ( x ) เป นประโยคเป ดที่ มี x เป นตั วแปร ค าความจริงของ P ( x ) ที่มีตัวบงปริ มาณ
ตัวเดียว เปนดังนี้
บทนิยาม 3
∀x  P ( x )  มี ค า ความจริ ง เป น จริ ง ก็ ต อ เมื่ อ แทนตั ว แปร x ใน P ( x ) ด ว ย
สมาชิกแตละตัวในเอกภพสัมพัทธ แลวไดประพจนที่มีคาความจริง
เปนจริงทั้งหมด
∀x  P ( x )  มี ค า ความจริ ง เป น เท็ จ ก็ ต อ เมื่ อ แทนตั ว แปร x ใน P ( x ) ด ว ย
สมาชิ ก อย า งน อ ยหนึ่ ง ตั ว ในเอกภพสั ม พั ท ธ แล ว ได ป ระพจน ที่ มี
คาความจริงเปนเท็จ
∃x  P ( x )  มี ค า ความจริ ง เป น จริ ง ก็ ต อ เมื่ อ แทนตั ว แปร x ใน P ( x ) ด ว ย
สมาชิ ก อย า งน อ ยหนึ่ ง ตั ว ในเอกภพสั ม พั ท ธ แล ว ได ป ระพจน ที่ มี
คาความจริงเปนจริง
∃x  P ( x )  มี ค า ความจริ ง เป น เท็ จ ก็ ต อ เมื่ อ แทนตั ว แปร x ใน P ( x ) ด ว ย
สมาชิกแตละตัวในเอกภพสัมพัทธ แลวไดประพจนที่มีคาความจริง
เปนเท็จทั้งหมด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

44 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน
ประพจน

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• การจํ า แนกข อ ความว า เป น ประพจน ห รื อ ไม เ ป น ประพจน อาจไม จํ า เป น ต อ งทราบ
คาความจริงที่แนนอนของประพจนนั้น เชน ขอความ “มีสิ่งมีชีวิตอยูบนดาวอังคาร”
• การเลื อ กตั ว อย า งในชั้ น เรี ย นหรื อ แบบทดสอบระหว า งเรี ย นที่ จ ะให นั ก เรี ย นบอก
คาความจริงของประพจนที่ไมใชขอความทางคณิตศาสตร ครูควรเลือกใหเหมาะสมกับ
ความรู และประสบการณ ข องนั กเรี ย น เช น ยุ งลายเป น พาหะของโรคไข เ ลื อ ดออก
โรคเลือดออกตามไรฟนเปนโรคที่เกิดจากการขาดวิตามินซี และหลีกเลี่ยงตัวอยางขอความ
ที่ใชความรูสึกในการตัดสินวาขอความนั้นเปนจริงหรือเท็จ เชน นารีสวย ปกรณเปนคนดี
• ในการสอนเกี่ยวกับประพจน ครูไมควรยกตัวอยางขอความที่ใชสรรพนามบุรุษที่ 2 และ 3
เชน เขาซื้อขนม ลุงกับปาไปเที่ยวตางประเทศ ซึ่งอาจทําใหนักเรียนเกิดความสับสนวา
ขอความดังกลาวเปนประพจนหรือไม เนื่องจากนักเรียนจะตองทราบบริบทของขอความ
ดังกลาวจึงจะสามารถสรุปคาความจริงของขอความดังกลาวได เชน “เขา” “ลุง” “ปา”
หมายถึงใคร

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

คําตอบของแบบฝกหัด 2.1 ขอ 2 มีไดหลายคําตอบ โดยอาจเปนขอความทางคณิตศาสตร


เชน ∅ ∈{1, 2, 3} และไมเปนขอความทางคณิตศาสตร เชน หนึ่งปมีสิบสองเดือน ควรให
นักเรียนมีอิสระในการเขียนประโยคหรือขอความที่เปนประพจน ซึ่งคําตอบของนักเรียนไม
จําเปนตองตรงกับที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 45

การเชื่อมประพจน

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “และ”

กิจกรรม : การแตงกายของลูกปด
จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้ใชเพื่อสอนเกี่ยวกับคาความจริงของประพจนที่เชื่อมดวยตัวเชื่อม “และ”
สถานการณ
ให p แทนขอความ “ลูกปดใสเสือ้ สีขาว” และ q แทนขอความ “ลูกปดใสกางเกงสีฟา”
จะไดวา p ∧ q แทนขอความ “ลูกปดใสเสื้อสีขาวและลูกปดใสกางเกงสีฟา”
หรือเขียนโดยยอเปน “ลูกปดใสเสื้อสีขาวและกางเกงสีฟา”
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนพิจารณาคาความจริงของประพจน “ลูกปดใสเสื้อสีขาว” “ลูกปดใสกางเกง
สีฟา” และ “ลูกปดใสเสื้อสีขาวและกางเกงสีฟา” ใหสอดคลองกับแตละภาพสถานการณใน
ตาราง โดยเขียน T เมื่อมีคาความจริงเปนจริง และเขียน F เมื่อมีคาความจริงเปนเท็จ
การแตงกาย ลูกปดใสเสื้อสีขาว ลูกปดใสกางเกงสีฟา ลูกปดใสเสื้อสีขาวและกางเกงสีฟา
ของลูกปด ( p) (q) ( p ∧ q)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

46 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แนวคําตอบ
การแตงกาย ลูกปดใสเสื้อสีขาว ลูกปดใสกางเกงสีฟา ลูกปดใสเสื้อสีขาวและกางเกงสีฟา
ของลูกปด ( p) (q) ( p ∧ q)

T T T

T F F

F T F

F F F

2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคาความจริงของประพจนที่เติมในตารางในขอ 1 จากนั้น
รวมกันนําคาความจริงที่ไดมาเติมลงในตารางคาความจริงตอไปนี้
p q p∧q

แนวคําตอบ
p q p∧q
T T T
T F F
F T F
F F F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 47

3. ครู และนั กเรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกับ ตารางคาความจริงที่ไดในข อ 2 เพื่อใหได
ขอสรุปวาในการเชื่อมประพจนดวย “และ” มีขอตกลงวาประพจนใหมจะเปนจริงใน
กรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนจริงทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปนเท็จทุกกรณี

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
อาจพบภาษาในชีวิตประจําวันที่แทนตัวเชื่อม “และ” ดวยคําอื่นซึ่งใหความหมายเดียวกัน เชน
คํา ตัวอยางประโยค
แต วรรณชอบวิชาคณิตศาสตรแตนุชชอบวิชาภาษาอังกฤษ
นอกจากนั้นแลว สมศักดิ์เปนหัวหนาหอง
นอกจากนั้นแลวเขายังเปนประธานนักเรียนดวย
ถึงแมวา วิชัยทํางานหนักถึงแมวาเขาปวย
ในขณะที่ น้ําผึ้งอานหนังสือในขณะที่น้ําฝนดูโทรทัศน

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “หรือ”

กิจกรรม : สัตวเลี้ยงของตนน้ํา
จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้ใชเพื่อสอนเกี่ยวกับคาความจริงของประพจนที่เชื่อมดวยตัวเชื่อม “หรือ”
สถานการณ
ให p แทนขอความ “ตนน้ําเลี้ยงแมว” และ q แทนขอความ “ตนน้ําเลี้ยงนก”
จะไดวา p ∨ q แทนขอความ “ตนน้ําเลี้ยงแมวหรือตนน้ําเลี้ยงนก”
หรือเขียนโดยยอเปน “ตนน้ําเลี้ยงแมวหรือนก”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

48 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนพิจารณาคาความจริงของประพจน “ตนน้ําเลี้ยงแมว” “ตนน้ําเลี้ยงนก”
และ “ตนน้ําเลี้ยงแมวหรือนก” ใหสอดคลองกับแตละภาพสถานการณในตาราง โดย
เขียน T เมื่อมีคาความจริงเปนจริง และเขียน F เมื่อมีคาความจริงเปนเท็จ
สถานการณ ตนน้ําเลีย้ งแมว ( p ) ตนน้ําเลีย้ งนก ( q ) ตนน้ําเลีย้ งแมวหรือนก ( p ∨ q )

การ

แนวคําตอบ
สถานการณ ตนน้ําเลีย้ งแมว ( p ) ตนน้ําเลีย้ งนก ( q ) ตนน้ําเลีย้ งแมวหรือนก ( p ∨ q )

T T T

T F T

F T T

F F F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 49

2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคาความจริงของประพจนที่เติมในตารางในขอ 1 จากนั้น
รวมกันนําคาความจริงที่ไดมาเติมลงในตารางคาความจริงตอไปนี้
p q p∨q

แนวคําตอบ
p q p∨q
T T T
T F T
F T T
F F F

3. ครูและนักเรียนรวมกัน อภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดในข อ 2 เพื่อให ได


ขอสรุปวาในการเชื่อมประพจนดวย “หรือ” มีขอตกลงวาประพจนใหมจะเปนเท็จใน
กรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนเท็จทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปนจริงทุกกรณี

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

การใชตัวเชื่อม “หรือ” ในทางตรรกศาสตรจ ะหมายถึงการเลือกอยางใดอยางหนึ่งหรื อ


ทั้งสองอยาง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

50 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “ถา...แลว...”
กิจกรรม : สัญญาระหวางพอกับจิ๋ว

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนีใ้ ชเพื่อสอนเกี่ยวกับคาความจริงของประพจนที่เชื่อมดวยตัวเชื่อม “ถา...แลว...”
สถานการณ
ให p แทนขอความ “จิ๋วกวาดบานเสร็จ” และ q แทนขอความ “พอใหขนม”
จะไดวา p → q แทนขอความ “ถาจิ๋วกวาดบานเสร็จแลวพอจะใหขนม”
การรักษาสัญญาของพอจะเทียบกับคาความจริงของ p → q
ซึ่งในกรณีที่ p → q เปนจริง หมายถึง พอรักษาสัญญา
ในกรณีที่ p→q เปนเท็จ หมายถึง พอไมรักษาสัญญา
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. จงเขียนคาความจริงของประพจน “จิ๋วกวาดบานเสร็จ” และ “พอใหขนม” โดยเขียน T
เมื่อมีคาความจริงเปนจริง และเขียน F เมื่อมีคาความจริงเปนเท็จ ใหครบทุกกรณีที่
เปนไปได จากนั้น พิจารณาวา “พอรักษาสัญญาหรือไม” ในแตละกรณี โดยเขียน T
ในกรณีที่พอรักษาสัญญา และเขียน F ในกรณีที่พอไมรักษาสัญญา
จิ๋วกวาดบาน ( p ) พอใหขนม ( q ) พอรักษาสัญญา ( p → q )

แนวคําตอบ
จิ๋วกวาดบาน ( p ) พอใหขนม ( q ) พอรักษาสัญญา ( p → q )
T T T
T F F
F T T
F F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 51

2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคาความจริงของประพจนและการพิจารณาวาพอรักษาสัญญา
หรือไม ที่เติมในตารางในขอ 1 จากนั้นรวมกันนําคาความจริงและผลการพิจารณาที่ได
มาเติมลงในตารางคาความจริงตอไปนี้
p q p→q

แนวคําตอบ
p q p→q
T T T
T F F
F T T
F F T

3. ครู และนั กเรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกับ ตารางคาความจริงที่ไดในข อ 2 เพื่อใหได
ขอสรุปวาในการเชื่อมประพจนดวย “ถา...แลว...” มีขอตกลงวาประพจนใหมจะเปนเท็จ
ในกรณีที่เหตุ เป นจริ งและผลเป นเท็จเทานั้น กรณีอื่น ๆ เปนจริงทุกกรณี ครูควรชี้ แจง
เพิ่มเติมวาประพจนซึ่งตามหลังคําวา ถา เรียกวา “เหตุ” สวนประพจนซึ่งตามหลังคําวา
แลว เรียกวา “ผล”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

52 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ”

กิจกรรม : เกรดวิชาคณิตศาสตรของปุยนุน

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้ใชเพื่อสอนเกี่ยวกับคาความจริงของประพจนที่เชื่อมดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ”
สถานการณ
คาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” อาจพิจารณาจากสถานการณในชีวิตจริง
ได เชน โรงเรียนแหงหนึ่งกําหนดวา “นักเรียนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตรก็ตอเมื่อนักเรียนได
คะแนนตั้งแต 80% ของคะแนนทั้งหมด” สมมติวาปุยนุนเปนนักเรียนของโรงเรียนแหงนี้
ให p แทนขอความ “ปุยนุนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตร”
และ q แทนขอความ “ปุยนุนไดคะแนนตั้งแต 80% ของคะแนนทั้งหมด”
จะไดวา p ↔ q แทนขอความ “ปุยนุนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตรก็ตอเมื่อปุยนุน
ไดคะแนนตั้งแต 80% ของคะแนนทั้งหมด”
การเกิดขึ้นไดของสถานการณนี้จะเทียบไดกับคาความจริงของ p ↔ q
ในกรณีที่สถานการณนี้เกิดขึ้นไดจริง จะไดวา p ↔ q เปนจริง
ในกรณีที่สถานการณนี้ไมสามารถเกิดขึ้นได จะไดวา p ↔ q เปนเท็จ
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. จงเขียนคาความจริงของประพจน “ปุยนุนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตร” และ “ปุยนุนได
คะแนนตั้งแต 80% ของคะแนนทั้งหมด” โดยเขียน T เมื่อมีคาความจริงเปนจริง และ
เขียน F เมื่อมีคาความจริงเปนเท็จ ใหครบทุกกรณีที่เปนไปได จากนั้นพิจารณาวา
สถานการณ ในแต ล ะกรณี เ กิ ดขึ้ น ได ห รื อไม โดยเขีย น T ในกรณี ที่ส ถานการณนั้ น
เกิดขึ้นได และเขียน F ในกรณีที่สถานการณนั้นเกิดขึ้นไมได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 53

ปุยนุนไดเกรด 4 ปุยนุนไดคะแนนตั้งแต 80% การเกิดขึ้นไดของ


วิชาคณิตศาสตร ของคะแนนทั้งหมด สถานการณนี้
( p) (q) ( p ↔ q)

แนวคําตอบ
ปุยนุนไดเกรด 4 ปุยนุนไดคะแนนตั้งแต 80% การเกิดขึ้นไดของ
วิชาคณิตศาสตร ของคะแนนทั้งหมด สถานการณนี้
( p) (q) ( p ↔ q)
T T T
T F F
F T F
F F T

2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคาความจริงของประพจนและการพิจารณาวาสถานการณใน
แตละกรณีเกิดขึ้นไดหรือไม ที่เติมในตารางในขอ 1 จากนั้นรวมกันนําคาความจริงและผล
การพิจารณาที่ไดมาเติมลงในตารางคาความจริงตอไปนี้
p q p↔q

แนวคําตอบ
p q p↔q
T T T
T F F
F T F
F F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

54 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดจากขอ 2 เพื่อใหไดขอสรุปวา
ในการเชื่ อมประพจน ด วย “ก็ ตอเมื่ อ” มี ขอตกลงว าประพจน ใหม จะเป นจริ งในกรณี ที่
ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนจริงทั้งคูหรือเปนเท็จทั้งคูเทานั้น กรณีอื่น ๆ เปนเท็จเสมอ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ตั ว เชื่ อ ม “ ก็ ต อ เมื่ อ ” พบได บ อ ยในการศึ ก ษาคณิ ต ศาสตร เช น บทนิ ย ามเกี่ ย วกั บ
รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ซึ่งกลาววา “รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว คือ รูปสามเหลี่ยมที่มีดานยาว
เทากันสองดาน” หมายความวา “รูปสามเหลี่ยมใดจะเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วก็ตอเมื่อ
รูปสามเหลี่ยมนั้นมีดานยาวเทากันสองดาน” ซึ่งมีความหมายเดียวกับ “ถารูปสามเหลี่ยมใด
เป นรู ปสามเหลี่ ย มหน าจั่ ว แล ว รู ปสามเหลี่ ย มนั้ น จะมี ด านยาวเท ากั นสองด าน และถ า
รูปสามเหลี่ยมใดมีดานยาวเทากันสองดานแลวรูปสามเหลี่ยมนั้นจะเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว”

นิเสธของประพจน
กิจกรรม : งานอดิเรกของหนูดี

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้ใชเพื่อสอนเกี่ยวกับคาความจริงของ “นิเสธ” ของประพจน
สถานการณ
ให p แทนขอความ “หนูดีอานหนังสือ”
จะไดวา  p แทนขอความ “หนูดีไมอานหนังสือ”
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนพิจารณาคาความจริงของประพจน “หนูดีอานหนังสือ” และ “หนูดีไมอาน
หนังสือ” ใหสอดคลองกับแตละภาพสถานการณในตาราง โดยเขียน T เมื่อมีคาความจริง
เปนจริง และเขียน F เมื่อมีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 55

สถานการณ หนูดีอานหนังสือ ( p ) หนูดีไมอานหนังสือ (  p )

แนวคําตอบ
สถานการณ หนูดีอานหนังสือ ( p ) หนูดีไมอานหนังสือ (  p )

T F

F T

2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคาความจริงของประพจนที่เติมในตารางในขอ 1 จากนั้น
รวมกันนําคาความจริงที่ไดมาเติมลงในตารางคาความจริงตอไปนี้
p p

แนวคําตอบ
p p
T F
F T

3. ครู และนั กเรี ย นรวมกั น อภิป รายเกี่ ย วกับ ตารางคาความจริงที่ไดในข อ 2 เพื่อใหได


ขอสรุปวาคาความจริงของนิเสธจะตรงขามกับคาความจริงของประพจนเดิมเสมอ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

56 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

การหาคาความจริงของประพจน

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
• การหาค า ความจริ ง ของประพจน ที่ มี ตั ว เชื่ อ มสามารถทํ า ได ห ลายวิ ธี ทั้ ง นี้ ค รู ค วรให
นักเรียนฝกฝนการหาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อมโดยใชแผนภาพ ซึ่งสามารถ
เขียนแสดงไดหลายแบบ ควรใหนักเรียนมี อิสระในการเขี ยนแผนภาพโดยไมจํ าเป น
จะตองตรงกับที่ครูคิดไว จะเปนประโยชนในการศึกษาหัวขอตอ ๆ ไป
• การยกตัวอย า งประพจนเชิ งประกอบที่ มีตั วเชื่ อ มตั้ง แตส องตัว ขึ้น ไปเพื่ อใหนั ก เรี ย น
พิจารณาคาความจริงนั้น ครูควรเขียนวงเล็บกํากับไวเสมอเพื่อใหนักเรียนทราบลําดับ
การหาคาความจริง ยกเวนตัวเชื่อม “  ” ซึ่งในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไมไดใสวงเล็บไวเชนกัน เนื่องจากถือวาเปนตัวเชื่อมที่ตอง
หาคาความจริงกอน เชน สําหรับประพจนเชิงประกอบ p ∧  q นั้น ตองหาคาความจริง
ของ  q กอน แลวจึงหาคาความจริงของ p ∧  q นั่นคือประพจนเชิงประกอบ p ∧  q
มีความหมายเชนเดียวกับ p ∧ (  q )

รูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
• การพิจารณารูปแบบของประพจนที่สมมูลกันทําไดโดยพิจารณาจากตารางคาความจริง
และเมื่อนักเรียนรูจักรูปแบบของประพจนที่สมมูลกันที่ควรทราบแลว สามารถใชรูปแบบ
ของประพจนเหลานั้นชวยในการพิจารณาการสมมูลกันของรูปแบบของประพจนคูอื่น ๆ
ได ดังนั้นครูควรชี้แนะนักเรียนและฝกฝนใหนักเรียนจํารูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน
ใหได เนื่องจากนักเรียนจะตองนําความรูนี้ไปใชเปนพื้นฐานในการเรียนคณิตศาสตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 57

• รูปแบบของประพจนที่สมมูลกันสามารถเทียบไดกับสมบัติการสลับที่ การเปลี่ยนหมู
และการแจกแจงของการบวกหรือการคูณจํานวนจริง เชน เมื่อ p, q และ r เปนประพจน
สมบัติของจํานวนจริง ตัวอยางรูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน
p∧q ≡ q∧ p
การสลับที่ p∨q ≡ q∨ p
p↔q ≡ q↔ p

( p ∧ q) ∧ r ≡ p ∧ (q ∧ r )
การเปลี่ยนหมู
( p ∨ q) ∨ r ≡ p ∨ (q ∨ r )
p ∧ (q ∨ r ) ≡ ( p ∧ q) ∨ ( p ∧ r )
การแจกแจง
p ∨ (q ∧ r ) ≡ ( p ∨ q) ∧ ( p ∨ r )
• p →q ≡  p∨ q เป น รู ป แบบของประพจนที่สมมูล กันที่สําคัญ เนื่องจากจะใชเปน
พื้นฐานในการแสดงการสมมูลของรูปแบบของประพจนคูอนื่ ๆ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

การเขียนขอความที่สมมูลกับขอความที่กําหนดโดยใชความรูเกี่ยวกับรูปแบบของประพจน
ที่สมมูลกันในแบบฝกหัด 2.5 ขอ 1 มีไดหลายแบบ ครูควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียน
ประโยคหรือขอความดังกลาว ทั้งนี้คําตอบของนักเรียนอาจไมตรงกับคําตอบที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

58 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

สัจนิรันดร

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• ในหัวขอนี้จะเนนการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของประพจนที่เชื่อมดวย
“ถา...แลว...” เนื่องจากจะเปนพื้นฐานในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลในหัวขอถัดไป
• การตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรสามารถทําไดหลายแบบ เชน วิธีการใชตารางคาความจริง
วิธีการหาขอขัดแยง
• รูปแบบของประพจนที่เชื่อมดวย “ถา...แลว...” จะเปนเท็จไดเพียงกรณีเดียว คือ เหตุ
เปนจริง แตผลเปนเท็จ ดังนั้นการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของประพจน
ที่เชื่อมดวย “ถา...แลว...” สามารถทําไดโดยใชวิธีการหาขอขัดแยง
• รูปแบบของประพจนที่เชื่อมดวย “ก็ตอเมื่อ” จะเปนเท็จเมื่อประพจนยอยที่นํามาเชื่อมกัน
มีคาความจริงไมตรงกัน ดังนั้นการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของประพจนที่
เชื่อมดวย “ก็ตอเมื่อ” โดยใชวิธีการหาขอขัดแยง ตองพิจารณา 2 กรณี เชน เมื่อกําหนดให
p และ q เป นประพจน การตรวจสอบว ารู ปแบบของประพจน ( p ∧ q ) ↔ ( q ∨ p )
เปนสัจนิรันดรหรือไม ทําไดโดยสมมติวา ( p ∧ q ) ↔ ( q ∨ p ) เปนเท็จ แลวพิจารณาดังนี้
กรณีที่ 1 เมื่อ p ∧ q เปนจริง แต q ∨ p เปนเท็จ

T F

T T F F

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p และ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∧ q ) ↔ ( q ∨ p ) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 59

กรณีที่ 2 เมื่อ p∧q เปนเท็จ แต q∨ p เปนจริง

F T

T F F T

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนจริง และ q เปนเท็จ


ที่ทําใหรปู แบบของประพจน ( p ∧ q ) ↔ ( q ∨ p ) เปนเท็จ
จากทั้งสองกรณี จะไดวา มีกรณีที่ p เปนจริง และ q เปนเท็จ ที่ทําใหรูปแบบ
ของประพจน ( p ∧ q ) ↔ ( q ∨ p ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ∧ q ) ↔ ( q ∨ p ) ไมเปนสัจนิรันดร
• การตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของประพจนที่เชื่อมกันดวย “ก็ตอเมื่อ”
ทําไดโดยพิจารณาวารูปแบบของประพจนสองขางของเครื่องหมาย ↔ สมมูลกันหรือไม
ในกรณีที่รูปแบบของประพจนทั้งสองสมมูลกัน จะไดวา รูปแบบของประพจนทั้งสองมี
คาความจริงตรงกันกรณีตอกรณี จึงไดวารูปแบบของประพจนที่เชื่อมกันดวย “ก็ตอเมื่อ”
เป นสั จนิ รั นดร เช น เมื่ อ กํ า หนดให p, q และ r เป น ประพจน การตรวจสอบว า
รูปแบบของประพจน ( ( p → q ) ∧ ( p → r ) ) ↔ ( p → ( q ∧ r ) ) เปนสัจนิรันดรหรือไม
ทําไดดังนี้
จาก ( p → q ) ∧ ( p → r ) ≡ (  p ∨ q ) ∧ (  p ∨ r )
≡  p ∨ (q ∧ r )
≡ p → (q ∧ r )
นั่นคือ ( p → q ) ∧ ( p → r ) สมมูลกับ p → ( q ∧ r )
จะไดวา ( p → q ) ∧ ( p → r ) และ p → ( q ∧ r ) มีคาความจริงตรงกันกรณีตอกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( ( p → q ) ∧ ( p → r ) ) ↔ ( p → ( q ∧ r ) ) เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

60 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ในทางตรงกั น ข า ม สํ า หรั บ สั จ นิ รั น ดร ซึ่ ง เป น รู ป แบบของประพจน ที่ เ ชื่ อ มกั น ด ว ย


“ก็ตอเมื่อ” จะไดวา รูปแบบของประพจนสองขางของเครื่องหมาย ↔ สมมูลกันดวย เชน
จากสัจนิรันดร ( ( p → r ) ∧ ( q → r ) ) ↔ ( ( p ∨ q ) → r ) จะไดวา ( p → r ) ∧ ( q → r )
สมมูลกับ ( p ∨ q ) → r

ความเขาใจคลาดเคลื่อน

นักเรียนมักเข าใจผิดวาเมื่อใชวิธี หาขอขั ดแยงในการตรวจสอบการเป นสัจ นิรันดร ข อง


รูปแบบของประพจนที่เชื่ อมดว ย “ถา... แลว...” แลวพบขอขัดแยง จะสรุปไดทัน ที ว า
รูปแบบของประพจนนั้นเปนสัจนิรนั ดร ทั้งนี้ ครูควรชี้แจงใหนักเรียนทราบวาการใชวิธีการ
หาขอขัดแยงตองตรวจสอบใหครบทุกกรณี เนื่องจากเมื่อพบขอขัดแยงในกรณีหนึ่งแลว
อาจมีกรณีอื่นที่ไมมีขอขัดแยง เชน เมื่อกําหนดให p, q และ r เปนประพจน การตรวจสอบ
วารูปแบบของประพจน ( p → ( q → r ) ) → ( ( p → q ) → r ) เปนสัจนิรันดรหรือไม อาจพบ
กรณีที่เกิดขอขัดแยงดังแสดงในแผนภาพตอไปนี้

T F

T T T F

F F T T

ขัดแยงกัน

อยางไรก็ตาม รูปแบบของประพจนนี้มีกรณีที่ไมเกิดขอขัดแยง ดังแสดงในแผนภาพตอไปนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 61

T F

F T T F

F F F F

จากแผนภาพนี้ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ ที่ทําใหรูปแบบ


ของประพจน ( p → ( q → r ) ) → ( ( p → q ) → r ) เปนเท็จ ดังนั้นรูปแบบของประพจน
( p → ( q → r ) ) → ( ( p → q ) → r ) จึงไมเปนสัจนิรันดร
จากตัวอยางนี้สรุปไดวา ในกรณีที่ใชวิธีหาขอขัดแยงในการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดร
ของรูปแบบของประพจนที่เชื่อมดวย “ถา...แลว...” แลวเกิดขอขัดแยง นักเรียนจําเปนตอง
พิจารณาวามีกรณีอื่น ๆ ที่ไมเกิดขอขัดแยงหรือไม ถามีกรณีอื่นที่ไมเกิดขอขัดแยง แสดงวา
รูปแบบของประพจนที่กําหนดใหสามารถเปนเท็จได นั่นคือรูปแบบของประพจนนั้นไมเปน
สัจนิรันดร

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

ในการตรวจสอบรูปแบบของประพจนวาเปนสัจนิรันดรหรือไม ครูควรสนับสนุนใหนักเรียน
ใชแผนภาพ เนื่องจากจะเปนพื้นฐานในการศึกษาเรื่องการอางเหตุผล แตในกรณีที่นักเรียน
ไมสามารถใชแผนภาพเพื่อตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรได ครูอาจเปดโอกาสใหนักเรียนใช
ตารางคาความจริงได ทั้งนี้เมื่อนักเรียนฝกฝนมากพอจะสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมสําหรับ
โจทยแตละขอได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

62 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ประโยคเปด

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
ในการยกตัวอยางประโยคเปด ครูไมควรยกตัวอยางประโยคที่มีตัวแปรบางประโยค เชน
x+x= 2 x , x + 3 x + 2 = ( x + 1)( x + 2 ) เนื่องจากประโยคเหลานี้เปนประพจนที่เป นจริ ง
2

เมื่อพิจารณาวาเปนการเขียนแบบละตัวบงปริมาณ ∀x

ตัวบงปริมาณ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
ในกรณีที่แบบฝกหัด 2.9 ขอ 1 ไมไดกําหนดเอกภพสัมพัทธมาให จะเขียนขอความในขอ 4)
“จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนจริง”
ใหอยูในรูปสัญลักษณไดเปน ∀x [ x ∈  ] , U =
 หรือ ∀x [ x ∈  → x ∈  ] , U =

สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
การเขียนนิเสธของขอความที่กําหนดใหโดยใชความรูเกี่ยวกับนิเสธของประพจนที่มีตัว
บ งปริ มาณในแบบฝ กหั ด 2.11 มี ได ห ลายแบบ ครูควรใหนั ก เรี ย นมี อิส ระในการเขี ย น
ประโยคหรือขอความดังกลาว ทั้งนี้คําตอบของนักเรียนอาจไมตรงกับคําตอบที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 63

แบบฝกหัดทายบท

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
การตรวจสอบวารูปแบบของประพจนที่กําหนดใหสมมูลหรือไม ในแบบฝกหัดทายบท ขอ 7
ทําไดโดยการใชตารางคาความจริ ง นอกจากนี้อาจจัดรูป ประพจนที่กําหนดให แลวใช
ความรูเกี่ยวกับรูปแบบของประพจนที่สมมูลกันในการพิจารณาวาประพจนที่กําหนดให
สมมูลกันหรือไม เชน เมื่อกําหนดให p, q และ r เปนประพจน การตรวจสอบวารูปแบบ
ของประพจน p → (  q ∧ r ) กับ ( p → q ) ∨ ( p → r ) สมมูลกันหรือไม ทําไดดังนี้
จาก ( p → q ) ∨ ( p → r ) ≡ (  p∨  q ) ∨ (  p ∨ r )
≡  p∨  q∨  p ∨ r
≡ (  p∨  p ) ∨ (  q ∨ r )
≡  p ∨ ( q ∨ r )
≡ p → ( q ∨ r )
นั่นคือ ( p → q ) ∨ ( p → r ) สมมูลกับ p → (  q ∨ r )
เนื่องจาก การเชื่อมประพจนดวย “หรือ” มีขอตกลงวาประพจนใหมจะเปนเท็จ
ในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันเปนเท็จทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปนจริงทุกกรณี
แต ก ารเชื่ อ มประพจน ด ว ย “และ ” มี ข อ ตกลงว า ประพจน ใ หม จ ะเป น จริ ง
ในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนจริงทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปนเท็จทุกกรณี
จึงไดวา  q ∨ r ไมสมมูลกับ  q ∧ r
นั่นคือ p → (  q ∨ r ) ไมสมมูลกับ p → (  q ∧ r )
ดังนั้น p → (  q ∧ r ) ไมสมมูลกับ ( p → q ) ∨ ( p → r )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

64 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน
กิจกรรม : ใครคือฆาตกร
ถาคุณไดรับหนาที่ใหสอบสวนผูตองสงสัย 3 คน ในคดีฆาตกรรม ซึ่งแตละคนมีคําใหการดังตอไปนี้
นาย ก : นาย ข เปนฆาตกร และนาย ค เปนผูบริสุทธิ์
นาย ข : ถานาย ก เปนฆาตกร แลวนาย ค จะเปนฆาตกรดวย
นาย ค : ผมบริสุทธิ์ แตคนที่เหลืออยางนอยหนึ่งคนเปนฆาตกร
ถามีเพียงคนเดียวที่พูดจริง โดยผูบริสุทธิ์พูดจริง และฆาตกรพูดเท็จ
คุณสามารถบอกไดหรือไมวา  ใครคือฆาตกร
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ถากําหนดให p แทนประพจน “นาย ก เปนผูบริสุทธิ”์
q แทนประพจน “นาย ข เปนผูบริสุทธิ”์
r แทนประพจน “นาย ค เปนผูบริสุทธิ”์
จงเขียนคําใหการของทัง้ สามคนโดยใช p , q และ r
2. สมมติให นาย ก เปนคนเดียวที่พูดจริง
2.1 หาคาความจริงของประพจน p , q และ r
2.2 หาคาความจริงของคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
2.3 คาความจริงที่ไดในขอ 2.2 สอดคลองกับที่สมมติวานาย ก เปนคนเดียวที่พูดจริงหรือไม
3. สมมติให นาย ข เปนคนเดียวที่พูดจริง
3.1 หาคาความจริงของประพจน p , q และ r
3.2 หาคาความจริงของคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
3.3 คาความจริงที่ไดในขอ 3.2 สอดคลองกับที่สมมติวานาย ข เปนคนเดียวที่พูดจริงหรือไม
4. สมมติให นาย ค เปนคนเดียวที่พูดจริง
4.1 หาคาความจริงของประพจน p , q และ r
4.2 หาคาความจริงของคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
4.3 คาความจริงที่ไดในขอ 4.2 สอดคลองกับที่สมมติวานาย ค เปนคนเดียวที่พูดจริงหรือไม
5. จากขอ 2, 3 และ 4 ขอใดที่คาความจริงที่ไดจากคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
สอดคลองกับที่สมมติไว สรุปไดวาใครคือคนที่พูดจริง และใครคือฆาตกร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 65

เฉลยกิจกรรม : ใครคือฆาตกร

1. จากสถานการณที่กําหนด จะไดวาคนเปนฆาตกรคือคนที่ไมเปนผูบริสุทธิ์
สามารถเขียนคําใหการของทั้งสามคนไดดังนี้
นาย ก :  q ∧ r
นาย ข :  p → r
นาย ค : r ∧ (  p∨  q )
2. 2.1 เนื่องจากมีนาย ก คนเดียวที่พูดจริง จะไดวา นาย ข และนาย ค พูดเท็จ
เนื่องจากผูบริสุทธิ์พูดจริง และฆาตกรพูดเท็จ
ดังนั้น นาย ก เปนผูบริสุทธิ์ นาย ข และนาย ค เปนฆาตกร
นั่นคือ p เปนจริง q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ
2.2 เนื่องจาก p เปนจริง q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ
ดังนั้น คําใหการของนาย ก :  q ∧ r เปนเท็จ
คําใหการของนาย ข :  p → r เปนจริง
คําใหการของนาย ค : r ∧ (  p∨  q ) เปนเท็จ
2.3 ไมสอดคลอง
3. 3.1 เนื่องจากมีนาย ข คนเดียวที่พูดจริง จะไดวา นาย ก และนาย ค พูดเท็จ
เนื่องจากผูบริสุทธิ์พูดจริง และฆาตกรพูดเท็จ
ดังนั้น นาย ข เปนผูบริสุทธิ์ นาย ก และนาย ค เปนฆาตกร
นั่นคือ p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ
3.2 เนื่องจาก p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ
ดังนั้น คําใหการของนาย ก :  q ∧ r เปนเท็จ
คําใหการของนาย ข :  p → r เปนจริง
คําใหการของนาย ค : r ∧ (  p∨  q ) เปนเท็จ
3.3 สอดคลอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

66 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. 4.1 เนื่องจากมีนาย ค คนเดียวที่พูดจริง จะไดวา นาย ก และนาย ข พูดเท็จ


เนื่องจากผูบริสุทธิ์พูดจริง และฆาตกรพูดเท็จ
ดังนั้น นาย ค เปนผูบริสุทธิ์ นาย ก และนาย ข เปนฆาตกร
นั่นคือ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง
4.2 เนื่องจาก p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง
ดังนั้น คําใหการของนาย ก :  q ∧ r เปนจริง
คําใหการของนาย ข :  p → r เปนเท็จ
คําใหการของนาย ค : r ∧ (  p∨  q ) เปนจริง
4.3 ไมสอดคลอง
5. ขอ 3 เปนขอเดียวที่คาความจริงที่ไดจากคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
สอดคลองกับที่สมมติไว
สรุปไดวา นาย ข เปนคนเดียวที่พูดจริง นั่นคือ นาย ข เปนคนเดียวที่เปนผูบริสุทธิ์
ดังนั้น ฆาตกรคือ นาย ก และนาย ค

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 67

แนวทางการจัดกิจกรรม : ใครคือฆาตกร

เวลาในการจัดกิจกรรม 50 นาที
กิจกรรมนี้เสนอไวใหนักเรียนใชความรู เรื่อง ตรรกศาสตรเบื้องตน เพื่อแกปญหาในสถานการณ
ที่กําหนดให โดยกิจกรรมนี้มีสื่อ/แหลงการเรียนรู และขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม ดังนี้
สื่อ/แหลงการเรียนรู
ใบกิจกรรม “ใครคือฆาตกร”
ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
1. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 3 – 4 คน แบบคละความสามารถ
2. ครูแจกใบกิจกรรม “ใครคือฆาตกร” จากนั้นบอกภารกิจที่จะมอบหมายใหนักเรียนแตละ
กลุมชวยกันสอบสวนผูตองสงสัยจากสถานการณที่กําหนดให
3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันตอบคําถามที่ปรากฏในขั้นตอนการปฏิบัติขอ 1 – 4
ในใบกิจกรรม ในระหวางที่นักเรียนทํากิจกรรมครูควรเดินดูนักเรียนใหทั่วถึงทุกกลุม
และสอบถามความคิดเห็นหรือแนวคิดที่ใชในการแกปญหา ทั้งนี้ ครูควรเนนย้ํากับ
นักเรียนวาเงื่อนไขสําคัญของสถานการณนี้ คือ มีเพียงคนเดียวที่พูดจริง โดยผูบริสุทธิ์
พูดจริง และฆาตกรพูดเท็จ
4. ครู สุ มเลื อกกลุ มนั กเรี ยน 3 กลุ ม นํ าเสนอแนวคิ ดและเหตุ ผลที่ สนั บสนุ นคํ าตอบของ
ตนเอง และใหนักเรียนกลุมอื่น ๆ รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของ
คําตอบ โดยเปดโอกาสใหกลุมที่มีคําตอบแตกตางกันไดนําเสนอแนวคิด
5. ครูสรุปคําตอบพรอมแนวทางที่ถูกตองในการแกปญหา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

68 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
การวัดผลระหวางเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อปรับปรุงการเรียนรูและพัฒนาการเรียนการสอน และ
ตรวจสอบนักเรียนแตละคนวามีความรู ความเข าใจในเรื่องที่ครูส อนมากนอยเพีย งใด การให
นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนแนวทางหนึ่งที่ครูอาจใชเพื่อประเมินผลดานความรูระหวางเรียนของ
นักเรียน ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอ
แบบฝกหัดที่ครอบคลุมเนื้อหาที่สําคัญของแตละบทไว สําหรับในบทที่ 2 ตรรกศาสตร ครูอาจใช
แบบฝกหัดเพื่อวัดผลประเมินผลความรูในแตละเนื้อหาไดดังนี้

เนื้อหา แบบฝกหัด
ประพจนและคาความจริงของประพจน 2.1ก ขอ 1 – 2
การเชื่อมประพจน 2.2ก ขอ 1 – 4
การหาคาความจริงของประพจน 2.3 ขอ 1 – 2
การสรางตารางคาความจริง 2.4 ขอ 1 – 6
รูปแบบของประพจนที่สมมูลกันและรูปแบบของประพจน 2.5 ขอ 1 – 3
ที่เปนนิเสธกัน
สัจนิรันดร 2.6ก ขอ 1 – 5
การอางเหตุผล 2.7ก ขอ 1 – 2
ประโยคเปด 2.8 ขอ 1 – 10
ตัวบงปริมาณ 2.9 ขอ 1 – 2
คาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว 2.10 ขอ 1 – 10
สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ 2.11 ขอ 1 – 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 69

2.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีจุดมุงหมายวาเมื่อนักเรียน
ไดเรียนจบบทที่ 2 ตรรกศาสตร แลวนักเรียนสามารถ
1. จําแนกขอความวาเปนประพจนหรือไมเปนประพจน
2. หาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม
3. ตรวจสอบความสมมูลของประพจนสองประพจน
4. จําแนกประพจนวา เปนสัจนิรันดรหรือไมเปนสัจนิรันดร
5. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการอางเหตุผล
6. หาคาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
7. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประโยคสองประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
8. หานิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
9. ใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตรในการแกปญหา
ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอแบบฝกหัด
ทายบทที่ประกอบดวยโจทยเพื่อตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวัดความรูความ
เขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะที่มีความนาสนใจและโจทย
ทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย
ของบทเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความสามารถตามจุดมุงหมายเมื่อเรียนจบบทเรียนหรือไม

ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4


เลม 1 บทที่ 2 ตรรกศาสตร สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียน ดังนี้

จุดมุงหมาย แบบฝกหัดทายบทขอที่
1. จําแนกขอความวาเปนประพจนหรือไมเปนประพจน 1 1) – 10)
2. หาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม 2 1) – 4)

4 1) – 5)

5 1) – 12)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

70 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย แบบฝกหัดทายบทขอที่
2. หาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม (ตอ) 6 1) – 3)

9* 1) – 10)
3. ตรวจสอบความสมมูลของประพจนสองประพจน 7 1) – 4)

8 1) – 4)

9* 1) – 10)
4. จําแนกประพจนวา เปนสัจนิรันดรหรือไมเปนสัจนิรันดร 10 1) – 7)
5. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการอางเหตุผล 11 1) – 5)

12 1) – 5)
6. หาคาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว 13 1) – 15)

7. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประโยคสองประโยคที่มี 14* 1) – 8)
ตัวบงปริมาณตัวเดียว 15 1) – 10)
8. หานิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว 14* 1) – 8)
9. ใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตรในการแกปญหา 16

17

18
โจทยฝกทักษะ 3

หมายเหตุ
แบบฝกหัดทายบทขอที่สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียนมากกวา 1 จุดมุงหมาย ไดแก
• ขอ 9 ขอยอย 1) – 10) สอดคลองกับจุดมุงหมายขอ 2 และ 3
• ขอ 14 ขอยอย 1) – 8) สอดคลองกับจุดมุงหมายขอ 7 และ 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 71

2.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
• เปาหมายประการหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร คือ การศึกษาทําความเขาใจธรรมชาติ หรือ
ปรากฏการณตาง ๆ โดยใช “ระบบเชิงคณิตศาสตร” (mathematical system) ซึ่งระบบ
เชิงคณิตศาสตรเปนแนวคิดเชิงนามธรรมที่ใชแทนธรรมชาติ หรือปรากฏการณอยางใด
อยางหนึ่ง เชน “ระบบจํานวนจริง” (real number system) เปนแนวคิดที่ใชแทนจํานวนหรือ
ขนาดของสิ่งต าง ๆ หรือ “เรขาคณิ ตแบบยุ คลิ ด” (Euclidean geometry) เป นแนวคิ ดหนึ่ ง
ที่ใชแทนวัตถุตาง ๆ ในปริภูมิ เปนตน
• ระบบเชิงคณิตศาสตรแตละระบบ มีองคประกอบดังตอไปนี้
1. เอกภพสั มพั ทธ (universe) คื อ เซตของสิ่ ง ที่ จ ะศึ กษาในระบบนั้ น เช น เซตของ
จํานวนนับ เซตของจํานวนเต็ม เซตของจํานวนจริง
2. คําอนิยาม (undefined term) ไดแก คําซึ่งเปนที่เขาใจความหมายกันโดยทั่วไป โดย
ไมตองอธิบาย เชน คําวา “เหมือนกัน” หรือคําวา “จุด” และ “เสน” ในเรขาคณิต
แบบยุคลิด
3. คํ านิ ยาม (defined term) คื อ คํ าที่ สามารถให ความหมายโดยใช คําอนิ ยามหรื อคํ า
นิยามอื่นที่มีมากอนแลวได เชน คําวา “จํานวนคู” หรือคําวา “รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก”
4. สัจพจน (axiom) คือ ขอความที่กําหนดใหเปนจริงในระบบเชิงคณิตศาสตรนั้นโดย
ไมตองพิสูจน เชน สัจพจนเชิงพีชคณิตของระบบจํานวนจริง สัจพจนเชิงอันดับของ
ระบบจํานวนจริง สัจพจนความบริบูรณของระบบจํานวนจริง
5. ทฤษฎีบท (theorem) คือ ขอความที่พิสูจนแลววาเปนจริงในระบบเชิงคณิตศาสตร
ที่กําหนด โดยการพิสูจน (proof) คือ กระบวนการอางเหตุผลตามหลักตรรกศาสตร
เพื่อนําไปสูขอสรุปที่ตองการ ซึ่งมักตองนําคําอนิยาม คํานิยาม รวมทั้งสัจพจน หรือ
ทฤษฎีบทที่มีอยูกอนแลวมาใชในการพิสูจน เชน ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ในบางกรณี ขอความที่พิสูจนแลววาเปนจริง อาจไมเรียกวาทฤษฎีบทเสมอไป
โดยมีคําเฉพาะที่ใชเรียกทฤษฎีบทบางประเภท เชน “บทตั้ง” (lemma) ที่ใชเรียก
ทฤษฎีบทซึ่งจะนําไปใชพิสูจน ทฤษฎีบทถัดไปที่เปนทฤษฎีบทหลัก หรือทฤษฎีบทที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

72 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

มีความสําคัญมากกวา และ “บทแทรก” (corollary) ที่ใชเรียกทฤษฎีบทซึ่งเปนผล


อยางงายจากทฤษฎีบทที่มีมากอนหนา
นอกจากนี้ ในบางกรณี จะใชคําวา “สมบัติ” (property) แทนขอความที่เปนจริง
ใด ๆ ในระบบเชิงคณิตศาสตรระบบหนึ่ง โดยสมบัติอาจเปนความจริงเกี่ยวกับคํา
นิยาม สัจพจน หรือทฤษฎีบทก็ได และอาจใชคําวา “กฎ” (law) สําหรับความจริง
ที่เปนสัจพจนหรือทฤษฎีบทอีกดวย
ครู ค วรระลึ ก อยู เ สมอว า ความรู ท างคณิ ต ศาสตร ที่ กํ า ลั ง พิ จ ารณา เป น
องคประกอบใดของระบบเชิงคณิตศาสตร นั่นคือ ควรทราบวาสิ่งใดเปนสัจพจน สิ่ง
ใดเปนทฤษฎีบท เชน ไมควรพยายามพิสูจนสัจพจนเกี่ยวกับจํานวนจริงในระบบ
จํานวนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูม ือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 73

2.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและเฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
ในสวนนี้จะนําเสนอตัวอยางแบบทดสอบประจําบทที่ 2 ตรรกศาสตร สําหรับรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ซึ่งครูสามารถเลือกนําไปใชไดตามจุดประสงคการเรียนรูที่
ตองการวัดผลประเมินผล

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงพิจารณาประโยคหรือขอความตอไปนี้วาเปนประพจนหรือไม
ถาเปนประพจนจงหาคาความจริงของประพจนนั้น
1) งวงนอนจัง 2) 1∉ {2, 3}
3) 2 ไมใชจํานวนจริง 4) 1, 2, 3, 
5) ทําไม a + b = b + a 6) x + 5 = 5 เมื่อ x = 0
2. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน ซึ่ง p และ q มีคาความจริงเปนจริงและเท็จ
ตามลําดับ จงหาคาความจริงของประพจนตอไปนี้
1) ( p ↔ q) → r 2) ( p∧  q ) ∨ r
3. กําหนดให p และ q เปนประพจนใด ๆ ถา r เปนประพจนเชิงประกอบที่เกิดจาก
การเชื่อมประพจน p กับ q ซึ่งมีคาความจริงดังตารางตอไปนี้
p q r
T T F
T F T
F T T
F F F
จงเขียนประพจน r ในรูปประพจน p กับ q
4. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน ซึ่ง p → q, q → r และ r → p มีคาความจริง
เปนจริง จงหาคาความจริงของประพจน p ↔ r
5. จงหานิเสธของขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ แลว x เปนจํานวนคู หรือ x เปนจํานวนคี”่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

74 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6. จงสรางตารางคาความจริงของรูปแบบของประพจนตอไปนี้ พรอมทั้งบอกจํานวนประพจนยอย
และจํานวนกรณีของคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด
1) ( p ∧ p) → q 2) ( p ∧ q) → (r∧  r )
7. กําหนดให p และ q เปนประพจน จงตรวจสอบวา p→q สมมูลกับ (  p ↔ q ) ∨ p
หรือไม
8. กําหนดให p, q เปนประพจน และ ⊕, ⊗ เปนตัวเชื่อมประพจน ซึ่งมีคาความจริงดังตาราง
p q p⊕q ( p ⊕ q) ⊗ p
T T T T
T F F T
F T F T
F F F T
จงพิจารณาวารูปแบบของประพจนในแตละขอสมมูลหรือเปนนิเสธกับ ( p ⊕ q ) ⊗ p หรือไม
1) ( p ∧ q) → p 2) ( p ∨ q) ∧ p
3) ( p → q) ∨ p 4) ( p ∧ q) ∧  p
9. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน จงตรวจสอบรูปแบบของประพจนท่ีกําหนดให
ในแตละขอตอไปนี้วาเปนสัจนิรันดรหรือไม
1) ( ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p → q ) ) → r
2) ( ( p → q ) ∧ ( r → s ) ∧ ( p ∨ r ) ) → ( q ∨ s )
10. จงพิจารณาวาการอางเหตุผลในแตละขอตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม
1) เหตุ (1) r → s
(2)  t → r
(3) p → t
(4) s → q
ผล p → q
2) เหตุ ถาแทนไทสอบไดที่หนึ่ง แลวแมจะใหรางวัล
(1)
(2) ถาแมใหรางวัล แลวแทนไทจะนําไปซื้อของขวัญ
(3) แทนไทสอบไดที่หนึ่ง หรือแมจะใหรางวัล
ผล แทนไทจะซื้อของขวัญ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูม ือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 75

11. จงหาคาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณตอไปนี้
1) ∀x  x =4 → 2 =4  เมื่อ U = 
2 x

2) ∃x 0 < x < x  เมื่อ U = 


3 2

3) มีจํานวนเต็ม x ซึ่ง 5 + x =5 และ 5x = x

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. 1) ไมเปนประพจน 2) เปนประพจน มีคาความจริงเปนจริง


3) เปนประพจน มีคาความจริงเปนเท็จ 4) ไมเปนประพจน
5) ไมเปนประพจน 6) เปนประพจน มีคาความจริงเปนจริง
2. 1) จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p ↔ q เปนเท็จ
ดังนั้น ( p ↔ q ) → r มีคาความจริงเปนจริง
2) จาก q เปนเท็จ จะได  q เปนจริง
จาก p เปนจริง และ  q เปนจริง จะได p ∧  q เปนจริง
ดังนั้น ( p ∧  q ) ∨ r มีคาความจริงเปนจริง
3. ตัวอยางคําตอบ
จากตารางคาความจริงที่กําหนดให จะเห็นวา r เปนจริง เมื่อ p และ q มีคาความจริง
ตางกัน และ r เปนเท็จ เมื่อ p และ q มีคาความจริงเหมือนกัน
นั่นคือ r ≡  ( p ↔ q )
ดังนั้น เขียน r ในรูปประพจน p กับ q ไดเปน  ( p ↔ q )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

76 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. จาก p, q และ r เปนประพจน ซึ่ง p → q, q → r และ r→p มีคาความจริงเปนจริง


พิจารณาตารางคาความจริงดังนี้
p q r p→q q→r r→p
T T T T T T
T T F T F T
T F T F T T
T F F F T T
F T T T T F
F T F T F T
F F T T T F
F F F T T T

จากตารางจะเห็นวา p → q, q → r และ r → p มีคาความจริงเปนจริง เมื่อ p, q และ


r ตองมีคาความจริงเปนจริงทั้งหมด หรือเปนเท็จทั้งหมด
กรณีที่ p, q และ r มีคาความจริงเปนจริงทั้งหมด จะไดวา p ↔ r มีคาความจริงเปนจริง
กรณีที่ p, q และ r มีคาความจริงเปนเท็จทั้งหมด จะไดวา p ↔ r มีคาความจริงเปนจริง
ดังนั้น p ↔ r มีคาความจริงเปนจริง
5. ให p แทนประพจน “ x เปนจํานวนนับ”
q แทนประพจน “ x เปนจํานวนคู”
r แทนประพจน “ x เปนจํานวนคี่”
จะไดวาขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ แลว x เปนจํานวนคู หรือ x เปนจํานวนคี่”
เขียนแทนดวยรูปแบบของประพจน p → ( q ∨ r )
นิเสธของ p → ( q ∨ r ) คือ  ( p → ( q ∨ r ) )
แนวคําตอบ
เนื่องจาก  ( p → ( q ∨ r ) ) ≡  (  p ∨ ( q ∨ r ) )
≡ p∧  ( q ∨ r )
≡ p ∧ (  q∧  r )
≡ p∧  q∧  r

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูม ือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 77

โดยที่รูปแบบของประพจน p ∧  q ∧  r แทนขอความ “ x เปนจํานวนนับ และ x ไมเปน


จํานวนคู และ x ไมเปนจํานวนคี”่
ดังนั้น นิเสธของขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ แลว x เปนจํานวนคู หรือ x เปนจํานวนคี่”
คือ “ x เปนจํานวนนับ และ x ไมเปนจํานวนคู และ x ไมเปนจํานวนคี่”
6. 1) รูปแบบของประพจน (  p ∧ p ) → q ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ
p และ q จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ (  p ∧ p ) → q ดังนี้
p q p  p∧ p ( p ∧ p) → q
T T F F T
T F F F T
F T T F T
F F T F T

2) รูปแบบของประพจน ( p ∧ q ) → ( r ∧  r ) ประกอบดวยประพจนยอยสามประพจน
คือ p, q และ r จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 8 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( p ∧ q ) → ( r ∧  r ) ดังนี้
p q r r p∧q r∧  r ( p ∧ q) → (r∧  r )
T T T F T F F
T T F T T F F
T F T F F F T
T F F T F F T
F T T F F F T
F T F T F F T
F F T F F F T
F F F T F F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

78 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

7. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p→q กับ (  p ↔ q ) ∨ p ไดดังนี้


p q p→q p  p↔q ( p ↔ q) ∨ p
T T T F F T
T F F F T T
F T T T T T
F F T T F F

จะเห็นวาคาความจริงของ p → q กับ (  p ↔ q ) ∨ p มีบางกรณีที่ตางกัน


ดังนั้น p → q ไมสมมูลกับ (  p ↔ q ) ∨ p
วิธีที่ 2 จาก (  p ↔ q ) ∨ p ≡ ( (  p → q ) ∧ ( q → p ) ) ∨ p
≡ ( ( p ∨ q ) ∧ (  q∨  p ) ) ∨ p
≡ ( ( p ∨ q ) ∨ p ) ∧ ( (  q∨  p ) ∨ p )
≡ (( p ∨ p ) ∨ q ) ∧ ((  p ∨ p ) ∨  q )
≡ ( p ∨ q ) ∧ (T ∨  q )
≡ ( p ∨ q) ∧ T
≡ p∨q
เนื่องจาก p → q ไมสมมูลกับ p ∨ q
ดังนั้น p → q ไมสมมูลกับ (  p ↔ q ) ∨ p
8. 1) สรางตารางคาความจริงของ ( p ∧ q ) → p ไดดังนี้
p q p∧q ( p ∧ q) → p
T T T T
T F F T
F T F T
F F F T

จากตารางคาความจริง จะเห็นวา คาความจริงของ ( p ∧ q ) → p กับ


( p ⊕ q ) ⊗ p ตรงกันกรณีตอกรณี
ดังนั้น ( p ∧ q ) → p สมมูลกับ ( p ⊕ q ) ⊗ p

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูม ือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 79

2) สรางตารางคาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ p ไดดังนี้
p q p∨q ( p ∨ q) ∧ p
T T T T
T F T T
F T T F
F F F F

จากตาราง จะเห็นวา คาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ p กับ ( p ⊕ q ) ⊗ p มีบางกรณีที่


เหมือนกัน และมีบางกรณีที่ตางกัน
ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ p ไมสมมูลและไมเปนนิเสธกับ ( p ⊕ q ) ⊗ p
3) สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) ∨ p ไดดังนี้
p q p→q ( p → q) ∨ p
T T T T
T F F T
F T T T
F F T T

จากตารางคาความจริง จะเห็นวา คาความจริงของ ( p → q ) ∨ p กับ ( p ⊕ q ) ⊗ p


เหมือนกันกรณีตอกรณี
ดังนั้น ( p → q ) ∨ p สมมูลกับ ( p ⊕ q ) ⊗ p
4) สรางตารางคาความจริงของ ( p ∧ q ) ∧  p ไดดังนี้
p q p p∧q ( p ∧ q) ∧  p
T T F T F
T F F F F
F T T F F
F F T F F

จากตารางคาความจริง จะเห็นวา คาความจริงของ ( p ∧ q ) ∧  p กับ ( p ⊕ q ) ⊗ p


ตรงขามกันกรณีตอกรณี
ดังนั้น ( p ∧ q ) ∧  p เปนนิเสธกับ ( p ⊕ q ) ⊗ p

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

80 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

9. 1) สมมติให ( ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p → q ) ) → r เปนเท็จ

T T T F

F F F F F F

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ


ที่ทําให ( ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p → q ) ) → r เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p → q ) ) → r ไมเปนสัจนิรันดร
2) สมมติให ( ( p → q ) ∧ ( r → s ) ∧ ( p ∨ r ) ) → ( q ∨ s ) เปนเท็จ

T T T F

F F F F F T F F

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( ( p → q ) ∧ ( r → s ) ∧ ( p ∨ r ) ) → ( q ∨ s ) เปนสัจนิรันดร
10. 1) รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ
( ( r → s ) ∧ (  t → r ) ∧ ( p → t ) ∧ ( s → q ) ) → ( p → q )
ตรวจสอบวารูปแบบของประพจนที่ไดเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( ( r → s ) ∧ (  t → r ) ∧ ( p → t ) ∧ ( s → q ) ) → ( p → q ) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูม ือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 81

T T T T F

T T T T T T T T T F

F F F T
ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ


ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( ( r → s ) ∧ (  t → r ) ∧ ( p → t ) ∧ ( s → q ) ) → ( p → q )
เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
2) ให p, q และ r แทนประพจน “แทนไทสอบไดที่หนึ่ง” “แมใหรางวัล” และ
“แทนไทซื้อของขวัญ” ตามลําดับ
จะไดรูปแบบประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p ∨ q ) → r
ตรวจสอบวารูปแบบของประพจนที่ไดเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p ∨ q ) ) → r เปนเท็จ

T T T F

F F F F F T
ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p ∨ q ) ) → r เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

82 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

11. 1) พิจารณาประโยคเปด x =4 → 2 =4 2 x

แทน x ดวย −2 จะได (−2) = 4 ซึ่งเปนจริง และ 2 = 4 ซึ่งเปนเท็จ


2 −2

ดังนั้น ( −2 ) =4 → 2 =4 เปนเท็จ
2 −2

จะได ∀x  x =4 → 2 =4 เปนเท็จ


2 x

2) พิจารณาประโยคเปด 0 < x < x 3 2

แทน x ดวย 0.1 จะได 0 < (0.1) < (0.1) ซึ่งเปนจริง


3 2

ดังนั้น ∃x 0 < x < x  เปนจริง


3 2

3) เขียนขอความ “มีจํานวนเต็ม x ซึ่ง 5 + x = 5 และ 5x = x ” เปนสัญลักษณ ไดเปน


∃x [5 + x = 5 ∧ 5 x = x ] , U = 
พิจารณาประโยคเปด 5 + x = 5 ∧ 5 x = x
แทน x ดวย 0 จะได 5 + 0 =5 ซึ่งเปนจริง และ 5 ( 0 ) = 0 ซึ่งเปนจริง
ดังนั้น 5 + 0 = 5 ∧ 5 ( 0 ) = 0 เปนจริง
จะได ∃x [5 + x = 5 ∧ 5 x = x ] , U =  เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 83

บทที่ 3

จํานวนจริง

การศึกษาเรื่องจํานวนจริงมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตร เพราะความเขาใจเกี่ยวกับจํานวน
ไม ได ห มายความเพี ย งการคิ ดคํ า นวณเท า นั้น แตห มายความรวมถึงความเขาใจในระบบเชิง
คณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย เอกภพสัมพัทธ คําอนิยาม คํานิยาม สัจพจน ทฤษฎีบท บทตั้ง
และบทแทรก เนื้อหาเรื่องจํานวนจริงที่นําเสนอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีจุดมุงหมายเพื่อใหนักเรียนเขาใจและนําระบบเชิงคณิตศาสตรไปใชใน
การแกปญหา และเพื่อเปนรากฐานสําหรับการเรียนคณิตศาสตรในหัวขอตอไป
ในบทเรียนนี้มุงใหนักเรียนบรรลุผลการเรียนรูตามสาระการเรียนรูเพิ่มเติม และบรรลุจุดมุงหมาย
ดังตอไปนี้

ผลการเรียนรูและสาระการเรียนรูเพิ่มเติม

ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูเพิ่มเติม
• เขาใจจํานวนจริงและใชสมบัติของ • จํานวนจริงและสมบัติของจํานวนจริง
จํานวนจริงในการแกปญหา • คาสัมบูรณของจํานวนจริงและสมบัติ
• แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปร ของคาสัมบูรณของจํานวนจริง
เดียวดีกรีไมเกินสี่ และนําไปใชในการ • จํานวนจริงในรูปกรณฑ และจํานวนจริง
แกปญหา ในรูปเลขยกกําลัง
• แกสมการและอสมการเศษสวนของ • ตัวประกอบของพหุนาม
พหุนามตัวแปรเดียว และนําไปใชในการ • สมการและอสมการพหุนาม
แกปญหา • สมการและอสมการเศษสวนของพหุนาม
• แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของ • สมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนาม
พหุนามตัวแปรเดียว และนําไปใชในการ
แกปญหา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

84 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย

1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงในการแกปญหา
2. หาผลหารของพหุนามและเศษเหลือ
3. หาเศษเหลือโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ
4. แยกตัวประกอบของพหุนาม
5. แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียว
6. แกสมการและอสมการเศษสวนของพหุนามตัวแปรเดียว
7. แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว
8. ใชความรูเกี่ยวกับพหุนามในการแกปญหา

ความรูกอนหนา

• ความรู เ กี่ ย วกั บ จํ า นวน สมการ อสมการ และพหุ น ามในระดั บ


มัธยมศึกษาตอนตน
• เซต goo.gl/c2vQPN

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 85

3.1 เนื้อหาสาระ
1. แผนผังแสดงความสัมพันธของจํานวนชนิดตาง ๆ

จํานวนเชิงซอน

จํานวนจริง จํานวนเชิงซอนที่ไมใชจํานวนจริง

จํานวนอตรรกยะ จํานวนตรรกยะ

จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม

จํานวนเต็มลบ ศูนย จํานวนเต็มบวกหรือจํานวนนับ

2. ระบบจํานวนจริงประกอบดวยเซตของจํานวนจริงและการดําเนินการ ไดแก การบวกและ


การคูณ (  , + , ⋅ )
3. สัจพจนการเทากันของระบบจํานวนจริง
1) กฎการสะทอน (reflexive law)
สําหรับจํานวนจริง a จะไดวา a = a
2) กฎการสมมาตร (symmetric law)
สําหรับจํานวนจริง a และ b ถา a = b แลว b = a
3) กฎการถายทอด (transitive law)
สําหรับจํานวนจริง a, b และ c ถา a = b และ b = c แลว a = c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

86 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. สัจพจนเชิงพีชคณิต
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง จะไดวา
สมบัติ การบวก การคูณ
สมบัติปด a+b∈ ab ∈ 

สมบัติการสลับที่ a +b = b+a ab = ba

สมบัติการเปลี่ยนหมู ( a + b) + c = a + (b + c ) ( ab ) c = a ( bc )
สมบัติการมีเอกลักษณ a+0 = a = 0+a a ⋅1 = a = 1⋅ a
เรียก 0 วา เรียก 1 วา
“เอกลักษณการบวก” “เอกลักษณการคูณ”

สมบัติการมีตัวผกผัน a + ( −a ) = 0 = ( −a ) + a ถา a ≠0 แลว


เรียก −a วา −1 −1
a ⋅ a =1 = a ⋅ a
“ตัวผกผันการบวก หรือ
เรียก a วา −1

อินเวอรสการบวกของ a ” “ตัวผกผันการคูณ หรือ


อินเวอรสการคูณของ a ”
สมบัติการแจกแจง a ( b + c ) = ab + ac และ ( a + b ) c =ac + bc

5. ทฤษฎีบท 1 กฎการตัดออกสําหรับการบวก
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา a + c = b + c แลว a = b
2) ถา a + b = a + c แลว b = c
6. ทฤษฎีบท 2 กฎการตัดออกสําหรับการคูณ
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา ac = bc และ c ≠ 0 แลว a = b
2) ถา ab = ac และ a ≠ 0 แลว b = c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 87

7. ทฤษฎีบท 3
ให a เปนจํานวนจริง จะได a ⋅ 0 =0
8. ทฤษฎีบท 4
ให a เปนจํานวนจริง จะได ( −1) a =−a
9. ทฤษฎีบท 5
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะได ab  0
= ก็ตอเมื่อ a=0 หรือ b=0
10. ทฤษฎีบท 6
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( −b ) =− ab
2) ( −a ) b = − ab
3) ( −a )( −b ) = ab
11. บทนิยาม 1
ให a และ b เปนจํานวนจริง
a ลบดวย b เขียนแทนดวยสัญลักษณ a − b
โดยที่ a − b = a + ( −b )
12. บทนิยาม 2
ให a และ b เปนจํานวนจริง โดยที่ b ≠ 0
a
a หารดวย b เขียนแทนดวยสัญลักษณ
b
a
โดยที่
= a ⋅ b −1
b
13. ทฤษฎีบท 7
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( b − c ) = ab − ac
2) ( a − b ) c =ac − bc
14. ทฤษฎีบท 8
ให a เปนจํานวนจริง ถา a≠0 แลว a −1 ≠ 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

88 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

15. ทฤษฎีบท 9
ให a, b , c และ d เปนจํานวนจริง จะไดวา
a
 
1) b =
a
เมื่อ b≠0 และ c≠0
c bc
a ac
2) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
b bc
a c ad + bc
3) + = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
b d bd
 a  c  ac
4)    = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
 b  d  bd
−1
b c
5)   = เมื่อ b≠0 และ c≠0
c b
a
 
6) b =
ad
เมื่อ b ≠ 0, c ≠ 0 และ d ≠0
c bc
 
d 
16. ทฤษฎีบท 10 ขั้นตอนวิธีการหารสําหรับพหุนาม
ถา a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0 แลวจะมีพหุนาม q ( x ) และ r ( x )
เพียงชุดเดียวเทานั้น ซึ่ง
a ( x) b( x) q ( x) + r ( x)
=
เมื่อ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
เรียก q ( x ) วา “ผลหาร” และเรียก r ( x ) วา “เศษเหลือจากการหารพหุนาม a ( x )
ดวยพหุนาม b ( x ) ”
17. ทฤษฎีบท 11 ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ให p ( x ) เปนพหุนาม a x + a x + a x +  + a x + a
n
n
n −1
n −1
n−2
n−2
1 0

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a , a ,  , a , a เปนจํานวนจริง ซึ่ง a ≠ 0


n n −1 n−2 1 0 n

ถาหารพหุนาม p ( x ) ดวยพหุนาม x − c เมื่อ c เปนจํานวนจริง แลวเศษเหลือจะเทากับ p ( c )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 89

18. ทฤษฎีบท 12 ทฤษฎีบทตัวประกอบ


ให p ( x ) เปนพหุนาม a x + a x + a x +  + a x + a
n
n
n −1
n −1
n−2
n−2
1 0

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a , a ,  , a , a เปนจํานวนจริง ซึ่ง a


n n −1 n−2 1 0 n ≠0
พหุนาม p ( x ) มี x − c เปนตัวประกอบ ก็ตอเมื่อ p ( c ) = 0
19. ทฤษฎีบท 13 ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
ให p ( x ) เปนพหุนาม a x + a x + a x +  + a x + a
n
n
n −1
n −1
n−2
n−2
1 0

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a , a ,  , a , a เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง a


n n −1 n−2 1 0 n ≠0
k
ถา x− เปนตัวประกอบของพหุนาม p ( x ) โดยที่ m และ k เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง m ≠ 0
m
และ ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 แลว m หาร a ลงตัว และ k หาร a ลงตัว n 0

20. สมการพหุนามตัวแปรเดียว คือ สมการที่เขียนไดในรูป


an x n + an −1 x n −1 + an − 2 x n − 2 +  + a1 x + a0 =0
เมื่อ n เปนจํานวนเต็มที่ไมเปนจํานวนลบ และ a , a , a ,  , a , a เปนจํานวนจริง
n n −1 n−2 1 0

ที่เปนสัมประสิทธิ์ของพหุนาม
21. สมการกํ า ลั ง สอง คื อ สมการที่ เ ขี ย นได ใ นรู ป ax + bx + c =0 เมื่ อ a , b และ c
2

เปนจํานวนจริง โดยที่ a ≠ 0
ถา b − 4ac ≥ 0 แลวจะมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการกําลังสองนี้
2

−b ± b 2 − 4ac
โดยคําตอบของสมการ คือ
2a
ถา b 2 − 4ac < 0 แลว จะไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการกําลังสองนี้
22. ให p ( x ) และ q ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0 จะเรียก p ( x ) วา
q x ( )
“เศษสวนของพหุนาม” ที่มี p ( x ) เปนตัวเศษ และ q ( x ) เปนตัวสวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

90 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

23. การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม
1) เมื่อ p ( x ) , q ( x ) , r ( x ) และ s ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0 และ s ( x ) ≠ 0
จะไดวา
p ( x) r ( x) p ( x) r ( x)
⋅ =
q ( x) s ( x) q ( x) s ( x)
2) เมื่อ p ( x ) , q ( x ) , r ( x ) และ s ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0, r ( x ) ≠ 0
และ s ( x ) ≠ 0 จะไดวา
p ( x) r ( x) p ( x) s ( x)
÷ = ⋅
q ( x) s ( x) q ( x) r ( x)
24. การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม
เมื่อ p ( x ) , q ( x ) และ r ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0 จะไดวา
p ( x) r ( x) p ( x) + r ( x)
+ =
q ( x) q ( x) q ( x)
p ( x) r ( x) p ( x) − r ( x)
− =
q ( x) q ( x) q ( x)

สมการเศษสวนของพหุนาม คือ สมการที่สามารถจัดใหอยูในรูป ( ) = 0


p x
25.
q ( x)
เมื่อ p ( x ) และ q ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0
26. บทนิยาม 3
ให a และ b เปนจํานวนจริง
a > b หมายถึง a − b > 0
a < b หมายถึง a − b < 0 (หรือ b − a > 0)
a ≥ b หมายถึง a − b > 0 หรือ a=b
a ≤ b หมายถึง a − b < 0 หรือ a=b

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 91

27. ทฤษฎีบท 14
ให a , b และ c เปนจํานวนจริง
1) สมบัติการถายทอด
ถา a > b และ b > c แลว a > c
2) สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา a > b แลว a + c > b + c
3) สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากันที่ไมเปนศูนย
กรณีที่ 1 ถา a > b และ c > 0 แลว ac > bc
กรณีที่ 2 ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc
4) สมบัติการตัดออกสําหรับการบวก
ถา a + c > b + c แลว a > b
5) สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ
กรณีที่ 1 ถา ac > bc และ c > 0 แลว a > b
กรณีที่ 2 ถา ac > bc และ c < 0 แลว a < b
28. ทฤษฎีบท 15
ให a , b , c และ d เปนจํานวนจริง
ถา a > b และ c > d แลว a + c > b + d
29. บทนิยาม 4
ให a , b และ c เปนจํานวนจริง
a<b<c หมายถึง a < b และ b<c
a≤b≤c หมายถึง a ≤ b และ b≤c
a<b≤c หมายถึง a < b และ b≤c
a≤b<c หมายถึง a ≤ b และ b<c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

92 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

30. บทนิยาม 5
ให a และ b เปนจํานวนจริง ซึ่ง a < b
ชวงเปด ( a , b ) หมายถึง { x a < x < b }
ชวงปด [ a , b] หมายถึง { x a ≤ x ≤ b }
ชวงครึ่งเปดหรือชวงครึ่งปด ( a , b] หมายถึง { x a < x ≤ b}
ชวงครึ่งเปดหรือชวงครึ่งปด [ a , b ) หมายถึง { x a ≤ x < b}
ชวงเปดอนันต ( a , ∞ ) หมายถึง { x x > a }
ชวงเปดอนันต ( −∞ , a ) หมายถึง { x x < a }
ชวงปดอนันต [ a , ∞ ) หมายถึง { x x ≥ a }
ชวงปดอนันต ( −∞ , a ] หมายถึง { x x ≤ a }
31. บทนิยาม 6
ให a เปนจํานวนจริง คาสัมบูรณของจํานวนจริง a เขียนแทนดวย สัญลักษณ a โดยที่
เมื่อ

เมื่อ
32. ทฤษฎีบท 16
ให x และ y เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) x = −x
2) xy = x y
x x
3) = เมื่อ y≠0
y y
4) x− y = y−x
= x2
2
5) x
6) x+ y ≤ x + y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 93

33. ทฤษฎีบท 17
ให a เปนจํานวนจริงบวก
เซตคําตอบของสมการ x = a คือ {−a , a}
34. ทฤษฎีบท 18
ให a เปนจํานวนจริงบวก
1) x < a ก็ตอเมื่อ − a < x < a
2) x ≤ a ก็ตอเมื่อ − a ≤ x ≤ a
3) x > a ก็ตอเมื่อ x < − a หรือ x > a
4) x ≥ a ก็ตอเมื่อ x ≤ − a หรือ x ≥ a

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

94 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน
จํานวนจริง

กิจกรรม : การจําแนกประเภทของจํานวน

จุดมุงหมายของกิจกรรม
กิจกรรมนี้ใชเพื่อทบทวนเกี่ยวกับประเภทของจํานวนซึ่งนักเรียนไดศึกษามาแลวใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
แนวทางการดําเนินกิจกรรม
1. ครูแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 3 – 4 คน แบบคละความสามารถ จากนั้นครูเขียนจํานวน
ตอไปนี้บนกระดาน
7π −7 + 8 − ( −5 ) − 6 5− 5
8
8 ⋅ 18 − 225 3
2
( −7 ) 1
3
49 + 144 2 2
2
27
2.3 −0.57871234… 85.71
363
  10 22
4.5073 − 7.321321321...
3 7
10−3 0.123456 −32
2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณาวาจําแนกจํานวนที่กําหนดใหไดเปนกี่ประเภท และมี
จํานวนใดอยูในประเภทนั้นบาง
แนวคําตอบ
คําตอบของนักเรียนมีไดหลายแบบ เชน
• ไดเปน 2 ประเภท คือ จํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ โดยมีจํานวนที่อยูใน
แตละประเภทดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 95

1) จํานวนตรรกยะ ไดแก
−7 + 8 − ( −5 ) − 6 5− 5 8 ⋅ 18
8
( −7 ) 27
3
− 225
2 363
10
2.3 85.71  
4.5073 −
3
22
7.321321321... 10−3 0.123456
7
−32
2) จํานวนอตรรกยะ ไดแก
7π 3 49 + 144 2 2
1
−0.57871234…
2
• ไดเปน 3 ประเภท คือ จํานวนจริงลบ จํานวนจริงบวก และศูนย โดยมีจํานวนที่อยู
ในแตละประเภทดังนี้
1) จํานวนจริงลบ ไดแก
− ( −5 ) − 6 ( −7 ) −0.57871234…
3
− 225
10
− −32
3
2) จํานวนจริงบวก ไดแก
8
7π −7 + 8 8 ⋅ 18
2
1
3 49 + 144 2 2
2
27
2.3 85.71  
4.5073
363
22
7.321321321... 10−3 0.123456
7
3) ศูนย ไดแก
5− 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

96 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

• ไดเปน 2 ประเภท คือ จํานวนที่ติดอยูในรูปเครื่องหมายกรณฑ และจํานวนที่ไมติด


อยูในรูปเครื่องหมายกรณฑ โดยมีจํานวนที่อยูในแตละประเภทดังนี้
1) จํานวนที่ติดอยูในรูปเครื่องหมายกรณฑ ไดแก
1
3 49 + 144 2 2
2
2) จํานวนที่ไมติดอยูในรูปเครื่องหมายกรณฑ ไดแก
7π −7 + 8 − ( −5 ) − 6 5− 5
8
( −7 )
3
8 ⋅ 18 − 225
2
27 22
2.3 −0.57871234…
363 7
  10
85.71 4.5073 − 7.321321321...
3
10−3 0.123456 −32

3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการจัดประเภทจํานวนที่แตละกลุมได โดยครู
บันทึกประเภทของจํานวนที่นักเรียนไดบนกระดาน โดยครูอาจเพิ่มเติมประเภทของ
จํานวนที่นักเรียนยังไมไดกลาวถึงไดตามความเหมาะสม
4. ครูใหนักเรียนแตละกลุมเขียนแผนผังแสดงความสัมพั นธของจํานวนประเภทตาง ๆ
จากนั้นครูสุมกลุมนักเรียนกลุมหนึ่งมานําเสนอการจัดประเภทของจํานวน พรอมทั้งให
นักเรียนกลุมอื่น ๆ รวมกันเพิ่มเติมประเภทของจํานวนจากที่เพื่อนนําเสนอใหสมบูรณ
หมายเหตุ
• ครูอาจเปลี่ยนเปนจํานวนอื่น ๆ ซึ่งจํานวนเหลานั้นควรจําแนกประเภทไดหลายแบบ
• นอกจากการใช กิ จ กรรมนี้ เ พื่ อทบทวนเกี่ ย วกั บ ประเภทของจํ า นวนแล ว ครู อ าจใช
กิจกรรมนี้เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของจํานวนไดดวย
• ในกรณีที่ครูพบวานักเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของจํานวนเปนอยางดีแลว ครู
สามารถสอนเนื้อหาเกี่ยวกับระบบจํานวนจริงซึ่งอยูในหัวขอถัดไปไดโดยไมตองสอน
เรื่องนี้อีก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 97

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
การพิจารณาวาขอความ “มีจํานวนตรรกยะมากที่สุดที่นอยกวา 9” ซึ่งอยูในแบบฝกหัด 3.1
ขอ 2 นั้น ครูควรกระตุนและเปดโอกาสใหนักเรียนใหเหตุผลประกอบคําตอบ โดยนักเรียน
อาจใหเหตุผลวาไมสามารถหาจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดที่นอยกวา 9 ได เนื่องจากจะมี
จํานวนตรรกยะที่อยูระหวางจํานวนจริง 2 จํานวนเสมอ เชน เมื่อสมมติวาจํานวนตรรกยะ
ที่มากที่สุดที่นอยกวา 9 คือ 8.9 ก็จะไดวามี 8.99 ซึ่งเปนจํานวนตรรกยะที่อยูระหวาง 8.9
และ 9 โดยที่ 8.99 > 8.9 และ 8.99 < 9 และเมื่อสมมติวาจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดที่นอย
กวา 9 คือ 8.99 ก็จะไดวามี 8.999 ซึ่งเปนจํานวนตรรกยะที่อยูระหวาง 8.99 และ 9 โดยที่
8.999 > 8.99 และ 8.999 < 9

ระบบจํานวนจริง

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
• เนื้อหาในหัวขอนี้โดยสวนใหญเปนเรื่องที่นักเรียนไดศึกษามาแลวในระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน แตในระดับนี้เปนการนําเนื้อหามาจัดตามโครงสรางของระบบคณิตศาสตร
โดยจะกล า วถึ ง สั จ พจน ก ารเท า กั น ของระบบจํ า นวนจริ ง และสั จ พจน เ ชิ ง พี ช คณิ ต
แตจะไมไดกลาวถึงสัจพจนความบริบูรณ
• บทเรียนนี้ไมไดเนนการพิสูจนทฤษฎีบท แตครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพิสูจน
ทฤษฎีบทสําหรับนักเรียนที่สนใจได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

98 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ทฤษฎีบทเศษเหลือ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
จากตัวอยางที่ 10 และคําถามทายตัวอยางที่ 10 เกี่ยวกับการพิจารณาเศษเหลือที่ไดจากการหาร
1 1
9 x3 + 4 x − 1 ดวย x− และ 2x −1 โดยวิธีหารยาว วาเทากับ p  หรือไม นั้น นักเรียน
2 2
1
ควรสังเกตเห็นวาเศษเหลือที่ไดจากการหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย x− และเศษเหลือที่ได
2
17 1
จากการหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย 2x −1 โดยวิธีหารยาว ตางก็เทากับ ซึ่งคือ p 
8 2
1
นั่นเอง เนื่องจาก เมื่อเขียนแสดง 2x −1 ใหอยูในรูป x−c จะไดเปน x− ทั้งนี้สามารถ
2
อธิบายในกรณีทั่วไปไดดังนี้
ให p ( x ) เปนพหุนาม และ a, b เปนจํานวนจริง โดยที่ a ≠ 0
จากขั้นตอนวิธีการหาร เมื่อหาร p ( x ) ดวย ax + b
จะมีผลหาร q ( x ) และเศษเหลือเปนคาคงตัว d ซึ่ง p ( x ) =
( ax + b ) q ( x ) + d
 b
 x +  ( a ⋅ q ( x )) + d
สามารถจัดรูปสมการใหมไดเปน p ( x ) =
a  
b
นั่นคือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย จะไดผลหารเปน a ⋅ q ( x ) และเศษเหลือเปน
x+
a
คาคงตัว d
ดังนั้น เศษเหลือที่ไดจากการหาร p ( x ) ดวย ax + b เทากับ เศษเหลือที่ไดจากการหาร
b  b
p ( x) ดวย x+ ซึ่งเทากับ p− 
a  a

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 99

ทฤษฎีบทตัวประกอบ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ในบทเรี ย นนี้ นํ า เสนอการแยกตั ว ประกอบโดยใชท ฤษฎีบ ทตัว ประกอบและทฤษฎี บ ท


ตัวประกอบตรรกยะ แตการแยกตัวประกอบของพหุนามทําไดหลายวิธี นักเรียนสามารถ
ใชวิธีอื่น ๆ ได ดังนั้นครูควรใหนักเรียนมีอิสระในการเลื อกวิธี ที่ตนเองถนัด ในการแยก
ตัวประกอบของพหุนามโดยไมจําเปนตองตรงกับวิธีที่ครูคิดไว แตครูควรฝกฝนใหนักเรียน
แยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชทฤษฎีบทตัวประกอบและทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
ดวย ซึ่งจะเปนประโยชนในการศึกษาหัวขอตอไป

สมการพหุนามตัวแปรเดียว

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
ในหัวขอนี้นักเรียนตองใชความรูเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามในการแกสมการ
พหุนามตัวแปรเดียว ซึ่งการแยกตัวประกอบของพหุนามทําไดหลายวิธี ดังนั้น ครูควรให
นั ก เรี ย นมี อิ ส ระในการเลื อ กวิ ธี ที่ ต นเองถนั ด ในการแยกตั ว ประกอบของพหุ น ามโดย
ไมจําเปนตองตรงกับวิธีที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

100 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เศษสวนของพหุนาม

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ถือวาพหุนามที่


เปนตัวสวนนั้นไมเทากับ 0 ถึงแมวาจะไมไดระบุไวก็ตาม แตจะระบุไวในกรณีที่พหุนามที่
เปนตัวสวนนั้นมีการตัดทอนกับพหุนามตัวเศษไปแลว เชน ในตัวอยางที่ 22 ขอ 1) ซึ่ง
x −1 1
เขียนเศษสวนของพหุนาม ในรูปผลสําเร็จไดเปน เมื่อ x ≠1 นั้น จะเห็นวา
x2 − 1 x +1
x +1 ปรากฏเปนตัวสวนของเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ ซึ่งทราบไดชัดเจนวา
x + 1 ตองไมเทากับ 0 จึงไมไดมีการเขียน x ≠ −1 กํากับไววา แตในขั้นตอนการเขียน
x −1
เศษสวนของพหุนาม ใหอยูในรูปผลสําเร็จ มีการตัดทอน x −1 ไป ทําใหไมมี
x2 − 1
x −1ปรากฏอยูในพหุนามในรูปผลสําเร็จที่ได จึงจําเปนตองเขียน x ≠ 1 กํากับไว
• ในการเขียนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จนั้น นักเรียนควรระมัดระวังวาพหุนาม
ที่เปนตัวสวนจะตองไมเทากับศูนย
• ครูอาจเปดโอกาสใหนักเรียนอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ ซึ่งจะเปนประโยชนในการแกสมการ
เศษสวนของพหุนาม
a a
1) ถา = เมื่อ b ≠ 0, c ≠ 0 และ b≠c แลว a=0
b c
a a
2) ถา = เมื่อ a ≠ 0, b ≠ 0 และ c≠0 แลว b=c
b c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 101

สมการเศษสวนของพหุนาม

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

เนื่ อ งจากการเขี ย นเศษส ว นของพหุ น ามในรู ป ผลสํ า เร็ จ พหุ น ามที่ เ ป น ตั ว ส ว นจะต อ ง
ไมเทากับศูนย ดังนั้นนักเรียนจึงตองระวังในการสรุปเซตคําตอบของสมการเศษสวนของ
x ( x + 1) 2
พหุนาม เชน ตัวอยางที่ 25 จะเห็นวาจัดรูปสมการ = ไดเปน
( x − 1)( x − 3) ( )( x − 3)
x − 1
( x − 1)( x + 2 ) = 0 ซึ่งสมการนี้จะเปนจริงเมื่อ x −1 =0 หรือ x+2=0 นั่นคือ x = 1 หรือ
( x − 1)( x − 3)
x = −2 แตเนื่องจาก ( x − 1)( x − 3) เปนตัวสวนของเศษสวนของพหุนาม ( x − 1)( x + 2 )
x −1 x − 3 ( )( )
จึงไดวา x − 1 ≠ 0 และ x − 3 ≠ 0 นั่นคือ x ≠ 1 และ x ≠ 3 ดังนั้น x = 1 จึงไมใชคําตอบ
ของสมการ ทําใหคําตอบของสมการที่กําหนดใหมีคําตอบเดียว คือ x = −2

การไมเทากันของจํานวนจริง

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด 3.8 มีดังนี้


• สํ า หรั บ ข อ 1 และ 2 ซึ่ ง ได ว า ข อ ความที่ กํ า หนดให เ ป น เท็ จ นั้ น ครู ค วรสนั บ สนุ น ให
นักเรียนยกตัวอยางคานประกอบการอธิบาย เชน
o จากขอ 1 เมื่อ a = 0 และ b = −1 จะเห็นวา a > b
แต a=2 0=2 0 และ b2 =( −1)2 = 1 จะเห็นวา a 2 < b 2
ดังนั้น ขอความ “ถา a > b แลว a > b ” ไมจริง
2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

102 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

o จากขอ 2 เมื่อ a =1 และ b = −1 จะเห็นวา a ≠ 0, b ≠ 0 และ a>b


1 1 1 1 1 1
แต = = 1 และ = = −1 จะเห็นวา >
a 1 b −1 a b
1 1
ดังนั้น ขอความ “ถา a ≠ 0, b ≠ 0 และ a > b แลว < ” ไมจริง
a b
• สําหรับขอ 3 – 6 ซึ่งขอความที่กําหนดใหเปนจริงนั้น สามารถแสดงการพิสูจนไดดังนี้
o จากขอ 3 จะพิสูจนวา “ถา a > b แลว −a < −b ”
พิสูจน ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a > b
จะได ( −1) a < ( −1) b
นั่นคือ − a < −b
ดังนั้น ถา a > b แลว −a < −b
o จากขอ 4 จะพิสูจนวา “ถา a < 0 และ b < 0 แลว ab > 0 ”
พิสูจน ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a < 0 และ b < 0
จาก a < 0
จะได ab > 0b
นั่นคือ ab > 0
ดังนั้น ถา a < 0 และ b < 0 แลว ab > 0
o จากขอ 5 จะพิสูจนวา “ถา a > 0 และ b < 0 แลว ab < 0 ”
พิสูจน ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a > 0 และ b < 0
จาก a > 0
จะได ab < 0b
นั่นคือ ab < 0
ดังนั้น ถา a > 0 และ b < 0 แลว ab < 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 103

1
o จากขอ 6 จะพิสูจนวา “ถา a>0 แลว >0”
a
พิสูจน ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a>0
จะได a 2 > 0
a 0
และ 2
> 2
a a
1
นั่นคือ > 0
a
1
ดังนั้น ถา a > 0 แลว > 0
a
• สําหรับขอ 7 และ 8 สามารถแสดงการพิสูจนประกอบคําตอบที่ไดดังนี้
ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a>b และ a≠0 และ b≠0
1
พิจารณา กรณีที่ ab > 0 จะได
>0
ab
และจาก a > b จะไดวา a  1  > b  1 
 ab   ab 
นั่นคือ 1 > 1 หรือ 1 < 1
b a a b
พิจารณา กรณีที่ ab < 0 จะได 1 < 0
ab
และจาก a > b จะไดวา a   < b  1 
 1 
นั่นคือ 1 1
<
 ab   ab  b a
1 1
จากทั้งสองกรณี จะเห็นวาขอความ “ถา a > b แล ว < เมื่อ a≠0 และ
a b
b ≠ 0” จะเปนจริง เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ a และ b
เปนจํานวนจริงลบทั้งคู
1 1
และขอความ “ถา a>b แลว > เมื่อ a≠0 และ b ≠ 0 ” จะเปนจริง เมื่อ
a b
a เปนจํานวนจริงบวก แต b เปนจํานวนจริงลบ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

104 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

อสมการพหุนามตัวแปรเดียว

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
• จากบทนิยาม 5 จะไดวาชวงเปนสับเซตของเซตของจํานวนจริง
• ครูควรฝกฝนนักเรียนใหใชแนวทางการแกอสมการพหุนามตัวแปรเดียวโดยพิจารณา
เสนจํานวนตามที่นําเสนอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
เลม 1 เนื่องจากสามารถนําไปใชในการแกอสมการกรณีที่แยกตัวประกอบของพหุนาม
แลวไดตัวประกอบซ้ํา รวมถึงการแกอสมการเศษสวนของพหุนาม

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด 3.9ข มีดังนี้
• การหาคําตอบของอสมการ x − x − x + 1 ≥ 0 ในขอ 12 อาจใชการพิจารณาจากเสนจํานวน
3 2

หรืออาจใชสมบัติของจํานวนจริง ซึ่งจากการแยกตัวประกอบจะสามารถจัดรูปอสมการนี้
ไดเปน ( x − 1)2 ( x + 1) ≥ 0 และเนื่องจาก ( x − 1)2 ≥ 0 เสมอ จึงไดวา x + 1 ≥ 0
• การหาคําตอบของอสมการ
( x − 1)( x + 3) ≤ 0 ในขอ 15 ตองระมัดระวังวาพหุนามที่
x−2
เปนตัวสวนตองไมเทากับศูนย นั่นคือ x−2≠0 จึงไดวา x≠2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 105

คาสัมบูรณ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
ครูควรเนนย้ําบทนิยามของคาสัมบูรณ (บทนิยาม 6) ซึ่งจะเปนพื้นฐานสําคัญในการแกสมการ
และอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

การหาเงื่อนไขของจํานวนจริง  x และ  y ที่ทําให  x + y < x + y หรือ  x + y = x + y


ในแบบฝกหัด 3.10 ขอ 3 สามารถแสดงการพิสูจนโดยแยกเปนกรณี ดังนี้
กรณี x ≥ 0 และ y ≥ 0
จะได  0x + y ≥ และ= x x=
 , y y
ดังนั้น  x + y =x + y
และ   x + y =x + y
ดังนั้น  x + y = x + y
กรณี x < 0 และ y < 0
จะได  0x + y < และ  , x = −x y = −y
ดังนั้น x + y =− ( x + y ) =( − x ) + ( − y )
และ   x + y = ( − x ) + ( − y )
ดังนั้น  x + y = x + y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

106 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณี x<0และ y > 0 แยกพิจารณาเปน 2 กรณียอย ดังนี้


• กรณียอยที่ 1 เมื่อ x > y
จะได  0x + y < และ  , x = −x y = y
ดังนั้น x + y =− ( x + y ) =( − x ) + ( − y )
และ   x + y =( − x ) + y
ดังนั้น  x + y < x + y
• กรณียอยที่ 2 เมื่อ x < y
จะได  0x + y > และ  , x = −x y = y
ดังนั้น x + y =x + y
และ   x + y =( − x ) + y
ดังนั้น  x + y < x + y
กรณี x > 0 และ y < 0 แยกพิจารณาเปน 2 กรณียอย ดังนี้
• กรณียอยที่ 1 เมื่อ x > y
จะได  0x + y > และ  , x = x y = −y
ดังนั้น x + y =x + y
และ   x + y = x + ( − y )
ดังนั้น  x + y < x + y
• กรณียอยที่ 2 เมื่อ x < y
จะได  0x + y < และ  , x = x y = −y
ดังนั้น x + y =− ( x + y ) =( − x ) + ( − y )
และ   x + y = x + ( − y )
ดังนั้น  x + y < x + y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 107

จากกรณีที่แสดงขางตน จะเห็นวา
กรณีที่  0x > และ  0 y < และกรณีที่  0
x < และ  0 y > จะทําให  x + y < x + y
ดังนั้นจึงสรุปไดวา เมื่อ  0
xy < จะทําให  x + y < x + y
และกรณีที่  0x ≥ และ  0 y ≥ และกรณีที่  0
x < และ  0
y < จะทําให  x + y = x + y
ดังนั้นจึงสรุปไดวา เมื่อ  0
xy ≥ จะทําให  x + y = x + y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

108 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน
กิจกรรม : การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra

Willebrord Snell และ Christiaan Huygens ได พัฒ นาวิ ธี ข อง Archimedes ในการหาค า
ประมาณของ π กลาวคือ
เมื่อ un แทนความยาวรอบรูปของรูป n เหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลมหนึ่งหนวย
และ U แทนความยาวรอบรูปของรูป n เหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบนอกวงกลมหนึ่งหนวย
n

1  un + U n 
Archimedes หาคาประมาณของ π โดยคํานวณจาก
2  2 

12 1 
สวน Snell-Huygens หาคาประมาณของ π โดยคํานวณจาก  un + U n 
2 3 3 

หากใชรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาที่มีจํานวนดานเทากัน คาประมาณของ π ที่คํานวณ


ไดจากวิธีของ Snell-Huygens จะใกลเคียงกวาวิธีของ Archimedes ดังแสดงไดดวยโปรแกรม
GeoGebra

หมายเหตุ คาประมาณของ π ทศนิยม 20 ตําแหนง คือ 3.14159 26535 89793 23846

ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. เปดเว็บไซต goo.gl/6xnUw4
2. พิมพ 6 ลงในชอง “จํานวนดาน =” ที่อยูใน Graphics View แลวสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นใน
Graphics View และ Spreadsheet View
3. เปลี่ยนจํานวนดานจาก 6 เปน 12, 24, 48 และ 96 ตามลําดับ แลวเปรียบเทียบคาประมาณ
ของ π ที่ไดจากวิธีของ Archimedes และ Snell-Huygens ใน Spreadsheet Viewก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 109

เฉลยกิจกรรม : การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra


1. -
2. จะเห็นวาในหนา Graphics View แสดงรูปหกเหลี่ยมดานเทาแนบในวงกลม (สีแดง)
และรูปหกเหลี่ยมดานเทาแนบนอกวงกลม (สีน้ําเงิน) และในหนา Spreadsheet View
แสดงคาประมาณของ π ดวยวิธีของ Archimedes และวิธีของ Snell-Huygens
3. จะเห็นวาเมื่อจํานวนดานมากขึ้น คาประมาณของ π โดยวิธีของ Archimedes และ
Snell-Huygens จะใกล เ คี ย งกั บ ค า π มากขึ้ น แต วิ ธี ข อง Snell-Huygens ให
คาประมาณที่ใกลเคียงมากกวาวิธีของ Archimedes เชน เมื่อจํานวนดานเปน 96 ดาน
วิธีของ Archimedes ใหคาประมาณของ π ถูกตองถึงทศนิยมตําแหนงที่ 3 ในขณะที่
วิธีของ Snell-Huygens ใหคาประมาณของ π ถูกตองถึงทศนิยมตําแหนงที่ 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

110 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แนวทางการจัดกิจกรรม : การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra

เวลาในการจัดกิจกรรม 20 นาที
กิจกรรมนี้เสนอไวใหนักเรียนเปรียบเทียบคาประมาณของ π ที่ไดจากวิธีของ Archimedes
และ Snell-Huygens ในการทํ า กิ จ กรรมนี้ นั กเรีย นแตล ะกลุ มควรมีเ ครื่ องคอมพิว เตอร
อยางนอย 1 เครื่อง โดยครูอาจเลือกจัดกิจกรรมนี้ในหองคอมพิวเตอร กิจกรรมนี้มีสื่อ/
แหลงการเรียนรู และขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม ดังนี้
สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. ใบกิจกรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra”
2. ไฟลกิจกรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra” จากเว็บไซต goo.gl/6xnUw4

ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
1. ครูแบงกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถ กลุมละ 3 – 4 คน
2. ครูแจกใบกิจกรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra” ใหกับนักเรียนทุกคนแลวให
นักเรียนศึกษาการประมาณคา π โดยวิธีของ Archimedes และ Snell-Huygens ก
3. ครู ให นั กเรี ยนแต ล ะกลุ มเป ด ไฟล กิ จ กรรม “หาค าประมาณของ π ด วย GeoGebra”
จากเว็บไซต goo.gl/6xnUw4
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมและตอบคํ า ถามที่ ป รากฏในแนวทางการปฏิ บั ติ ข อ 2 ใน
ใบกิจกรรม โดยใหนักเรียนพิจารณาสิ่งที่เกิดขึ้นในหนาจอ
5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมและตอบคํ า ถามที่ ป รากฏในแนวทางการปฏิ บั ติ ข อ 3 ใน
ใบกิจกรรม จากนั้นครูนํานักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นของคําตอบ ดังนี้
• พิจารณาวาเมื่อเพิ่มจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยมจะทําใหคาประมาณของ π
ที่ไดจากแตละวิธีเปนอยางไร
• พิ จ ารณาว า เมื่ อ จํ า นวนด า นเท า กั น ค า ประมาณที่ ไ ด จ ากแต ล ะวิ ธี เ ป น อย า งไร
เมื่อเทียบกับคาประมาณของ π ที่กําหนดใหในใบกิจกรรม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 111

ความรูเพิ่มเติมสําหรับกิจกรรม : การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra

π คือ จํานวนที่ไดจากการหารความยาวรอบรูปวงกลมดวยความยาวของเสนผานศูนยกลาง
ของรูปวงกลม ซึ่งเปนคาคงตัว
Archimedes ได ห าค า ประมาณของ π โดยประมาณความยาวของเสน รอบรู ป วงกลม
จากคาเฉลี่ยของความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลมและ
ความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบนอกวงกลม
1  un + U n 
นั่นคือ Archimedes ประมาณคา π โดยคํานวณจาก 2  2 
เมื่อ un แทนความยาวรอบรูปของรูป n เหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลมที่มีรัศมียาว
หนึ่งหนวย
และ U n แทนความยาวรอบรูปของรูป n เหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบนอกวงกลมที่มีรัศมี
ยาวหนึ่งหนวย
ตอมา Willebrord Snell และ Christiaan Huygens ไดพัฒนาวิธีการของ Archimedes ในการ
2 u + 1U un + U n
หาคาประมาณของ π โดยใช 3 n 3 n
แทน 2
นั่นคือ Snell-Huygens ประมาณคา π โดยคํานวณจาก (
1 2 u + 1U
2 3 n 3 n )
จากกิ จ กรรม “หาค า ประมาณของ π ด ว ย GeoGebra” นั ก เรี ย นจะเห็ น ได ว า เมื่ อ ใช
รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาที่มีจํานวนดานเทากัน คาประมาณของ π ที่คํานวณไดจาก
วิธีของ Snell-Huygens จะใกลเคียงมากกวาวิธีของ Archimedes ดังแสดงในตารางตอไปนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

112 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีของ วิธีของ
รูปหลายเหลี่ยม
จํานวนดาน Archimedes Snell-Huygens
ดานเทามุมเทา
คาประมาณของ π ถูกตองถึง

6 หลักหนวย ทศนิยมตําแหนงที่ 1

12 ทศนิยมตําแหนงที่ 1 ทศนิยมตําแหนงที่ 2

24 ทศนิยมตําแหนงที่ 2 ทศนิยมตําแหนงที่ 3

48 ทศนิยมตําแหนงที่ 2 ทศนิยมตําแหนงที่ 5

96 ทศนิยมตําแหนงที่ 3 ทศนิยมตําแหนงที่ 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 113

3.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
การวัดผลระหวางเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อปรับปรุงการเรียนรูและพัฒนาการเรียนการสอน และ
ตรวจสอบนักเรียนแตละคนวามีความรู ความเข าใจในเรื่องที่ครูส อนมากนอยเพีย งใด การให
นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนแนวทางหนึ่งที่ครูอาจใชเพื่อประเมินผลดานความรูระหวางเรียนของ
นักเรียน ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอ
แบบฝกหัดที่ครอบคลุมเนื้อหาที่สําคัญของแตละบทไว สําหรับในบทที่ 3 จํานวนจริง ครูอาจใช
แบบฝกหัดเพื่อวัดผลประเมินผลความรูในแตละเนื้อหาไดดังนี้

เนื้อหา แบบฝกหัด
จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ 3.1 ขอ 1 – 2
สัจพจนเชิงพีชคณิต ทฤษฎีบท และสมบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 3.2 ขอ 1 – 3
พหุนามตัวแปรเดียว 3.3 ขอ 1 – 5
ขั้นตอนวิธีการหารสําหรับพหุนามและการหารยาว 3.3 ขอ 6 – 7
ทฤษฎีบทเศษเหลือ 3.4 ขอ 1 – 4
ทฤษฎีบทตัวประกอบและทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ 3.4 ขอ 5 – 6
สมการพหุนามตัวแปรเดียว 3.5 ขอ 1 – 3
เศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ 3.6 ขอ 1
การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม 3.6 ขอ 2
การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม 3.6 ขอ 3
สมการเศษสวนของพหุนาม 3.7 ขอ 1 – 2
การไมเทากันของจํานวนจริง 3.8 ขอ 1 – 8
การเขียนเซตในรูปชวงและการเขียนกราฟของชวงบนเสนจํานวน 3.9 ก ขอ 1 – 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

114 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เนื้อหา แบบฝกหัด
อสมการพหุนามตัวแปรเดียว 3.9ข ขอ 1 – 14
ขอ 30 – 32
อสมการเศษสวนของพหุนาม 3.9ข ขอ 15 – 29
คาสัมบูรณและทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับคาสัมบูรณ 3.10 ขอ 1 – 3
สมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว 3.11ก ขอ 1 – 8
อสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว 3.11ข ขอ 1 – 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 115

3.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีจุดมุงหมายวาเมื่อนักเรียน
ไดเรียนจบบทที่ 3 จํานวนจริง แลวนักเรียนสามารถ
1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงในการแกปญหา
2. หาผลหารของพหุนามและเศษเหลือ
3. หาเศษเหลือโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ
4. แยกตัวประกอบของพหุนาม
5. แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียว
6. แกสมการและอสมการเศษสวนพหุนามตัวแปรเดียว
7. แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว
8. ใชความรูเกี่ยวกับพหุนามในการแกปญหา
ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอแบบฝกหัด
ทายบทที่ประกอบดวยโจทยเพื่อตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวัดความรูความ
เขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะที่มีความนาสนใจและโจทย
ทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย
ของบทเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความสามารถตามจุดมุงหมายเมื่อเรียนจบบทเรียนหรือไม

ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4


เลม 1 บทที่ 3 จํานวนจริง สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียน ดังนี้

จุดมุงหมาย แบบฝกหัดทายบทขอที่
1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงในการแกปญหา 1 1) – 3)

2
2. หาผลหารของพหุนามและเศษเหลือ 3 1) – 9)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

116 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย แบบฝกหัดทายบทขอที่
3. หาเศษเหลือโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ 4 1) – 6)

7 1) – 2)

8
4. แยกตัวประกอบของพหุนาม 9 1) – 10)
5. แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียว 10 1) – 12)

13 1) – 4), 6) – 12
6. แกสมการและอสมการเศษสวนพหุนามตัวแปรเดียว 11 1) – 4)

12 1) – 10)

14 1) – 15)
7. แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว 20 1) – 8)

21 1) – 8)
8. ใชความรูเกี่ยวกับพหุนามในการแกปญหา 15

16

17

18

19

22
โจทยทาทาย 13 5)

20 9) – 10)

21 9)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 117

3.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
ความรูเพิ่มเติมสําหรับครูที่จะกลาวถึงในคูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
เลม 1 บทที่ 3 จํานวนจริง มี 2 หัวขอ ไดแก
1. สัจพจนในระบบจํานวนจริง
2. การพิสูจนทฤษฎีบทเกี่ยวกับจํานวนจริงที่กลาวถึงแตไมไดแสดงการพิสูจนไวใน
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1
โดยมีรายละเอียดในแตละหัวขอเปนดังนี้

สัจพจนในระบบจํานวนจริง
ระบบจํานวนจริง คือ ระบบเชิงคณิตศาสตรที่ประกอบดวยเอกภพสัมพัทธ  ซึ่งสอดคลอง
กั บ สั จ พจน 3 กลุ ม ได แก สั จ พจน เ ชิ งพี ช คณิต (algebraic axioms) สัจ พจนเชิงอัน ดับ (order
axioms) และสัจพจนความบริบูรณ (completeness axiom) เรียก  วา “เซตของจํานวนจริง”
และเรียกสมาชิกใน  วา “จํานวนจริง”
สัจพจนเชิงพีชคณิต
ให + และ ⋅ เปนสัญลักษณแทนการบวกและการคูณ ตามลําดับ สัจพจนเชิงพีชคณิตของ
ระบบจํานวนจริง ไดแก
(A1) a + b ∈  สําหรับทุกจํานวนจริง a, b
(A2) a + ( b + c ) = ( a + b ) + c สําหรับทุกจํานวนจริง a, b, c
(A3) a + b = b + a สําหรับทุกจํานวนจริง a, b
(A4) มีจํานวนจริง 0 ซึ่ง a + 0 = 0 + a = a สําหรับทุกจํานวนจริง a
(A5) สําหรับแตละจํานวนจริง a มีจํานวนจริง b ซึ่ง a + b = b + a = 0
(M1) a ⋅ b ∈  สําหรับทุกจํานวนจริง a, b
(M2) a ⋅ ( b ⋅ c ) = ( a ⋅ b ) ⋅ c สําหรับทุกจํานวนจริง a, b, c
(M3) a ⋅ b = b ⋅ a สําหรับทุกจํานวนจริง a, b
(M4) มีจํานวนจริง 1 ซึ่ง a ⋅ 1 = 1 ⋅ a = a สําหรับทุกจํานวนจริง a

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

118 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

(M5) สําหรับแตละจํานวนจริง ซึ่ง a ≠ 0 มีจํานวนจริง b ซึ่ง a ⋅ b = b ⋅ a = 1


a
(D) a ⋅ ( b + c ) = a ⋅ b + a ⋅ c และ ( b + c ) ⋅ a = b ⋅ a + c ⋅ a สําหรับทุกจํานวนจริง a, b, c
หมายเหต
ในที่นี้ อักษร A, M และ D ใชบงถึงสัจพจนเกี่ยวกับการบวก (addition) การคูณ (multiplication)
และการแจกแจง (distribution) ตามลําดับ
สัจพจนเชิงอันดับ
มีสับเซต  ของ  ซึ่งสอดคลองกับเงื่อนไขทุกขอตอไปนี้
+

1. ถา a, b ∈  แลว a + b ∈ 
+ +

2. ถา a, b ∈  แลว a ⋅ b ∈ 
+ +

3. สําหรับจํานวนจริง a ใด ๆ a ∈  หรือ a = 0 หรือ −a ∈  เพียงอยางใดอยางหนึ่ง


+ +

สัจพจนความบริบูรณ
ถา A เปนสับเซตที่ไมใชเซตวางของ  ซึ่งมีขอบเขตบนใน  แลว A มีขอบเขตบนนอยสุดใน 

การพิสูจนทฤษฎีบทเกี่ยวกับจํานวนจริงที่กลาวถึงในหนังสือเรียน
• ทฤษฎีบท 1 กฎการตัดออกสําหรับการบวก
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา a + c = b + c แลว a = b
2) ถา a + b = a + c แลว b = c
พิสูจน
ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) ให a + c = b + c
เนื่องจาก a = a+0 (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
= a + ( c + ( −c ) ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= ( a + c ) + ( −c ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)
= ( b + c ) + ( −c ) (จากที่กําหนดให)
= b + ( c + ( −c ) ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 119

= b+0 (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= b (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
ดังนั้น a = b
2) ให a + b = a + c
เนื่องจาก b = 0+b (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
= ( ( −a ) + a ) + b (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= ( −a ) + ( a + b ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)
= ( −a ) + ( a + c ) (จากที่กําหนดให)
= ( ( −a ) + a ) + c (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)
= 0+c (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= c (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
ดังนั้น b = c
• ทฤษฎีบท 2 กฎการตัดออกสําหรับการคูณ
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา ac = bc และ c ≠ 0 แลว a = b
2) ถา ab = ac และ a ≠ 0 แลว b = c
พิสูจน ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) ให a c = bc และ c ≠ 0
เนื่องจาก a = a ⋅1 (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

(
= a c ⋅ c −1 ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= ( ac ) c −1 (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= ( bc ) c −1 (จากที่กําหนดให)

(
= b c ⋅ c −1 ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= b ⋅1 (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= b (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
ดังนั้น a=b

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

120 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) ให ab = ac และ a≠0


เนื่องจาก b = 1⋅ b (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

(
= a −1 ⋅ a b ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= a −1 ( ab ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= a −1 ( ac ) (จากที่กําหนดให)

(
= a −1 ⋅ a c ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= 1⋅ c (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= c (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
ดังนั้น b = c
• ทฤษฎีบท 3
ให a เปนจํานวนจริง จะได a ⋅ 0 =0
พิสูจน
ให a เปนจํานวนจริงใด ๆ
เนื่องจาก a + a ⋅ 0 = a ⋅1 + a ⋅ 0 (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
= a (1 + 0 ) (สมบัติการแจกแจง)
= a ⋅1 (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
= a (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
จะไดวา a ⋅ 0 เปนเอกลักษณการบวก
แตเนื่องจากเอกลักษณการบวก คือ 0
ดังนั้น a ⋅ 0 =0
• ทฤษฎีบท 4
ให a เปนจํานวนจริง จะได ( −1) a = −a
พิสูจน
ให a เปนจํานวนจริงใด ๆ
เนื่องจาก a + ( −1) a = (1) a + ( −1) a (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
= (1 + ( −1) ) a (สมบัติการแจกแจง)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 121

= 0⋅a (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
=0 (ทฤษฎีบท 3)
จะไดวา ( −1) a เปนตัวผกผันการบวกของ a
แตเนื่องจากตัวผกผันการบวกของ a คือ −a
ดังนั้น ( −1) a = −a
• ทฤษฎีบท 5
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะได ab = 0 ก็ตอเมื่อ a = 0 หรือ b = 0
พิสูจน
ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) จะแสดงวา ถา ab = 0 แลว a = 0 หรือ b = 0
ให ab = 0 และ a ≠ 0
เนื่องจาก b = 1⋅ b (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
= (a a)b
−1
(สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= a ( ab )
−1
(สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
−1
= a ⋅0 (จากที่กําหนดให)
=0 (ทฤษฎีบท 3)
ดังนั้น b = 0 ----- (1)
ให ab = 0 และ b ≠ 0
เนื่องจาก a = a ⋅1 (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
= a ( bb )
−1
(สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= ( ab ) b
−1
(สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= 0 ⋅ b −1 (จากที่กําหนดให)
=0 (ทฤษฎีบท 3)
ดังนั้น a = 0 ----- (2)
จาก (1) และ (2) จะไดวา ถา ab = 0 แลว a = 0 หรือ b = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

122 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) จะแสดงวา ถา a = 0 หรือ b = 0 แลว ab = 0


กรณีที่ 1 ให a = 0 แต b ≠ 0
โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา ab = 0
กรณีที่ 2 ให b = 0 แต a ≠ 0
โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา ab = 0
กรณีที่ 3 ให a = 0 และ b = 0
โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา ab = 0
จากทั้งสามกรณี จะไดวา ถา a = 0 หรือ b = 0 แลว ab = 0
ดังนั้น ให a และ b เปนจํานวนจริง จะได ab = 0 ก็ตอเมื่อ a = 0 หรือ b=0
• ทฤษฎีบท 6
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( −b ) =− ab
2) ( −a ) b =−ab
3) ( −a )( −b ) =
ab
พิสูจน
ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) จาก ab + a ( −b ) = a ( b + ( −b ) ) (สมบัติการแจกแจง)
= a⋅0 (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
=0 (ทฤษฎีบท 3)
จะไดวา a ( −b ) เปนตัวผกผันการบวกของ ab
แตเนื่องจากตัวผกผันการบวกของ ab คือ −ab
ดังนั้น a ( −b ) =−ab
2) จาก ab + ( − a ) b = ( a + ( − a ) ) b (สมบัติการแจกแจง)
= 0⋅b (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= b⋅0 (สมบัติการสลับที่ของการบวก)
=0 (ทฤษฎีบท 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 123

จะไดวา ( −a ) b เปนตัวผกผันการบวกของ ab
แตเนื่องจากตัวผกผันการบวกของ ab คือ −ab
ดังนั้น ( −a ) b =−ab
3) จาก ( −a )( −b ) + ( −ab ) = ( −a )( −b ) + ( −a ) b (ทฤษฎีบท 6 ขอ 2)
= ( − a )( −b + b ) (สมบัติการแจกแจง)
= ( −a ) ⋅ 0 (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
=0 (ทฤษฎีบท 3)
จะไดวา ( −a )( −b ) เปนตัวผกผันการบวกของ −ab
แตเนื่องจากตัวผกผันการบวกของ −ab คือ ab
ดังนั้น ( −a )( −b ) =ab
• ทฤษฎีบท 7
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( b − c ) = ab − ac
2) ( a − b ) c =ac − bc
พิสูจน
ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) จาก a (b − c ) = a (b + ( − c )) (บทนิยาม 1)
= ab + a ( − c ) (สมบัติการแจกแจง)
= ab + ( − ac ) (ทฤษฎีบท 6 ขอ 1)
= ab − ac (บทนิยาม 1)
ดังนั้น a ( b − c ) = ab − ac
2) จาก ( a − b ) c = ( a + ( −b ) ) c (บทนิยาม 1)
= ac + ( − b ) c (สมบัติการแจกแจง)
= ac + ( − bc ) (ทฤษฎีบท 6 ขอ 2)
= ac − bc (บทนิยาม 1)
ดังนั้น ( a − b ) c = ac − bc

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

124 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

• ทฤษฎีบท 8
ให a เปนจํานวนจริง ถา a ≠ 0 แลว a ≠ 0 −1

พิสูจน โดยวิธีหาขอขัดแยง
สมมติให a ≠ 0 แต a = 0 −1

เนื่องจาก a ≠ 0 จะมี a ∈  ซึ่ง aa= a=


−1
a −1 −1
1
จะไดวา 1 = aa = a ⋅ 0 = 0 ซึ่งไมเปนจริง
−1

ดังนั้น ถา a ≠ 0 แลว a ≠ 0 −1

• ทฤษฎีบท 9
ให a, b, c และ d เปนจํานวนจริง จะไดวา
a
 
1) b =
a
เมื่อ b≠0 และ c≠0
c bc
a ac
2) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
b bc
a c ad + bc
3) + = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
b d bd
 a  c  ac
4)    = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
 b  d  bd
−1
b c
5)   = เมื่อ b≠0 และ c≠0
c b
a
 
b ad
6) = เมื่อ b ≠ 0, c ≠ 0 และ d ≠0
c bc
 
d 
พิสูจน
ให a, b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) ให b ≠ 0 และ c ≠ 0
จาก ( bc ) ( b −1c −1 ) = ( bc ) ( c −1b −1 ) (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

(
= b cc −1 b −1 ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= b ⋅ 1 ⋅ b −1 (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 125

= b ⋅ b −1 ⋅ 1 (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

(
= bb −1 ⋅ 1 ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= 1 ⋅1 (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
= 1 (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
โดยสมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ จะไดวา b−1c −1 เปนตัวผกผันของการคูณของ bc
แตเนื่องจากตัวผกผันของการคูณของ bc คือ ( bc )−1
จึงไดวา ( bc )−1 = b−1c −1 ----- (1)
a
 
จาก
c
(
 b  = ab −1 c −1
) (บทนิยาม 2)

(
= a b −1c −1 ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

= a ( bc )
−1
(จาก (1))
a
= (บทนิยาม 2)
bc
a
 
ดังนั้น  b  = a
c bc
2) ให b ≠ 0 และ c ≠ 0
 ac 
 
=  
ac c
จาก (ทฤษฎีบท 9 ขอ 1)
bc b

=
( ac ) c −1 (บทนิยาม 2)
b

=
(
a cc −1 ) (สมบัติการเปลี่ยนกลุมของการคูณ)
b
a ⋅1
= (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
b
a
= (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
b
a ac
ดังนั้น =
b bc

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

126 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3) ให b≠0 และ d ≠0


a c ad cb
จาก + = + (ทฤษฎีบท 9 ขอ 2)
b d bd db
ad bc
= + (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)
bd bd
= ( ad )( bd ) + ( bc )( bd ) (บทนิยาม 2)
−1 −1

= ( ad + bc )( bd )
−1
(สมบัติการแจกแจง)
ad + bc
= (บทนิยาม 2)
bd
ad + bc
ดังนั้น a + c =
b d bd
4) ให b ≠ 0 และ d ≠ 0
 a  c 
จาก    = ab
 b  d 
−1
cd −1( )( ) (บทนิยาม 2)

= ( ab )( d c )
−1 −1
(สมบัติการสลับที่ของการคูณ)
= a (b d ) c
−1 −1
(สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
= ac ( b d )−1 −1
(สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

= ( ac )( bd )
−1
(จาก (1) ในขอ 1)
ac
= (บทนิยาม 2)
bd
 a  c  ac
ดังนั้น    =
 b  d  bd
5) ให b≠0 และ c≠0
−1
b
( )
−1
จาก   = bc −1 (บทนิยาม 2)
c
1
= (บทนิยาม 2)
bc −1
1⋅ c
= (ทฤษฎีบท 9 ขอ 2)
( bc ) c −1

1⋅ c
= (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
(
b c −1c )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 127

1⋅ c
= (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
b ⋅1
c
= (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
b
−1
b c
ดังนั้น   =
 
c b
6) ให b ≠ 0, c ≠ 0 และ d ≠0
a
  −1
b  a  c 
จาก =    (บทนิยาม 2)
c  b  d 
 
d 
 a  d 
=    (ทฤษฎีบท 9 ขอ 5)
 b  c 
ad
= (ทฤษฎีบท 9 ขอ 4)
bc
a
  ad
b =
ดังนั้น
 c  bc
 
d 
• ทฤษฎีบท 10 ขั้นตอนวิธีการหารสําหรับพหุนาม
ถา a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0 แลวจะมีพหุนาม q ( x )
และ r ( x ) เพียงชุดเดียวเทานั้น ซึ่ง
a ( x) b( x) q ( x) + r ( x)
=
เมื่อ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
พิสูจน
ให a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0
1) จะแสดงวามีพหุนาม q ( x ) และ r ( x ) = ซึ่ง a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x ) โดยที่ r ( x ) = 0
หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
กรณีที่ 1 ถา a ( x ) = 0
ให q ( x ) = 0 และ r ( x ) = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

128 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะไดวา q ( x ) = 0 = b ( x ) ⋅ 0 + 0 = b ( x ) q ( x ) + r ( x )
้น a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x )
ดังนั=
กรณีที่ 2 ถา a ( x ) ≠ 0
กรณีที่ 2.1 ถา deg ( a ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
ให q ( x ) = 0 และ r ( x ) = a ( x )
จะได a ( x=) b ( x ) ⋅ 0 + a ( x=) b ( x ) q ( x ) + r ( x )
กรณีที่ 2.2 ถา deg ( a ( x ) ) ≥ deg ( b ( x ) )
ให a = ( x ) a x + a( ) x( ) +  + a x + a
d +s
d +s
d + s −1
d + s −1
1 0

และ b ( x )= b x + b x +  + b x + b
d
d
d −1
d −1
1 0

เมื่อ d และ s เปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย


ad + s s
ให ( x) a ( x) −
a′= x b( x) ----- (1)
bd
จะไดวา deg ( a′ ( x ) ) < deg ( a ( x ) )
โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร จะไดวา มีพหุนาม q′ ( x ) และ r ( x )
ที่ทําให
= a′ ( x ) q′ ( x ) b ( x ) + r ( x ) ----- (2)
โดยที่ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
ad + s s
( x)
ให q= q′ ( x ) + x ----- (3)
bd
จาก (1), (2) และ (3) จะได= วา a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x ) โดยที่
r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
จากกรณีที่ 1 และ 2 สรุปไดวา มีพหุนาม q ( x ) และ r ( x ) = ซึ่ง a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x )
2) จะแสดงวามีพหุนาม q ( x ) และ r ( x ) เพียงชุดเดียวเทานั้น = ซึ่ง a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x )
โดยที่ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
สมมติวา q1 ( x ) เปนพหุนาม ซึ่ง q1 ( x ) ≠ q ( x )
และ r1 ( x ) เปนพหุนาม ซึ่ง r1 ( x ) ≠ r ( x ) โดยที่ r1 ( x ) = 0 หรือ deg ( r1 ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
ให a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x )
ที่ทํา= 1 1

ดังนั้น a (= x ) b ( x ) q ( x ) + r (=
x ) b ( x ) q1 ( x ) + r1 ( x )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 129

นั่นคือ b ( x ) ( q ( x ) − q1 ( x ) ) =r1 ( x ) − r ( x )
จะไดวา deg ( b ( x ) ( q ( x ) − q1 ( x ) ) )= deg ( r1 ( x ) − r ( x ) )
จาก q1 ( x ) ≠ q ( x ) นั่นคือ q ( x ) − q1 ( x ) ≠ 0
จะไดวา deg ( b ( x ) ( q ( x ) − q1 ( x ) ) ) ≥ deg ( b ( x ) )
นั่นคือ deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) ≥ deg ( b ( x ) )
จาก deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) ) และ deg ( r1 ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
ดังนั้น deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
เกิดขอขัดแยง ทําให q1 ( x ) = q ( x ) และ r1 ( x ) = r ( x )
จากขอ 1) และ 2) สรุปไดวา ถา a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0 แลว
จะมีพหุนาม q ( x ) และ r ( x ) เพียงชุดเดียวเทานั้น = ซึ่ง a ( x ) b ( x ) q ( x ) + r ( x )
เมื่อ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
• ทฤษฎีบท 13
ให p ( x ) เปนพหุนาม an x n + an−1 x n−1 +  + a1 x + a0 โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก
และ a , a ,  , a , a เปนจํานวนเต็มซึ่ง a ≠ 0
n n −1 1 0 n

k
ถา x− เปนตัวประกอบของพหุนาม p ( x ) โดยที่ m และ k เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง m ≠ 0
m
และ ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 แลว m หาร a ลงตัว และ k หาร a ลงตัว n 0

พิสูจน
ให m และ k เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง m ≠ 0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1
k
ซึ่งทําให x−เปนตัวประกอบของพหุนาม p ( x )= a x + a x +  + a x + a n
n
n −1
n −1
1 0
m
โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a ,  , a , a เปนจํานวนเต็มซึ่ง a ≠ 0
n n −1 1 0 n

โดยทฤษฎีบทตัวประกอบ จะไดวา ( )p k =0
m

( ) ( mk ) +  + a ( mk ) + a
n n −1
นั่นคือ an k + an −1
m 1 0 =0

คูณทั้งสองขางของสมการดวย m n

จะได an k n + an −1k n −1m +  + a1km n −1 + a0 m n =0 ------ (1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

130 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1) จะแสดงวา m หาร an ลงตัว


จาก (1) จะไดวา
an −1k n −1m +  + a1km n −1 + a0 m n = −an k n
− ( an −1k n −1 +  + a1km n − 2 + a0 m n −1 ) m = an k n
จะเห็นวา m หาร an k n ลงตัว
แตเนื่องจาก ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 จะไดวา m หาร an ลงตัว
2) จะแสดงวา k หาร a ลงตัว 0

จาก (1) จะไดวา


an k n + an −1k n −1m +  + a1km n −1 = − a0 m n
− ( an k n −1 + an −1k n − 2 m +  + a1m n −1 ) k = a0 m n
จะเห็นวา k หาร a m ลงตัว 0
n

แตเนื่องจาก ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 จะไดวา k หาร a ลงตัว 0

ดังนั้น m หาร a ลงตัว และ k หาร a ลงตัว


n 0

• ทฤษฎีบท 14
ให a , b และ c เปนจํานวนจริง
1) สมบัติการถายทอด
ถา a > b และ b > c แลว a > c
2) สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา a > b แลว a + c > b + c
3) สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากันที่ไมเปนศูนย
กรณีที่ 1 ถา a > b และ c > 0 แลว ac > bc
กรณีที่ 2 ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc
4) สมบัติการตัดออกสําหรับการบวก
ถา a + c > b + c แลว a > b

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 131

5) สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ
กรณีที่ 1 ถา ac > bc และ c > 0 แลว a > b
กรณีที่ 2 ถา ac > bc และ c < 0 แลว a < b
พิสูจน
ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) ให a > b และ b > c
โดยบทนิยาม 3 จะไดวา a − b > 0 และ b − c > 0
โดยสมบัติปดของการบวก จะไดวา ( a − b ) + ( b − c ) > 0
จาก a − c = a + ( −c ) (บทนิยาม 1)
= ( a + ( −c ) ) + 0 (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
= ( a + ( −c ) ) + ( b + ( −b ) ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= a + ( ( −c ) + b ) + ( −b ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)
= a + ( −b ) + ( b + ( −c ) ) (สมบัติการสลับที่ของการบวก)
= ( a + ( −b ) ) + ( b + ( −c ) ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)
= ( a − b) + (b − c ) (บทนิยาม 1)
เนื่องจาก ( a − b ) + ( b − c ) > 0
จะไดวา a − c > 0
ดังนั้น a > c
2) ให a > b
โดยบทนิยาม 3 จะไดวา a − b > 0
จาก ( a + c ) − (b + c ) = ( a + c ) + ( − (b + c )) (บทนิยาม 1)
= ( a + c ) + ( −1( b + c ) ) (ทฤษฎีบท 4)
= ( a + c ) + ( ( −1) b + ( −1) c ) (สมบัติการแจกแจง)
= ( a + c ) + ( ( −b ) + ( −c ) ) (ทฤษฎีบท 4)
= ( a + c ) + ( ( −c ) + ( −b ) ) (สมบัติการสลับที่ของการบวก)
= a + ( c + ( − c ) ) + ( −b ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

132 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

= a + 0 + ( −b ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)
= a + ( −b ) (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)
= a −b (บทนิยาม 1)
เนื่องจาก a − b > 0
จะไดวา ( a + c ) − ( b + c ) > 0
นั่นคือ a + c > b + c
3) ให a > b
โดยบทนิยาม 3 จะไดวา a − b > 0
กรณีที่ 1 c > 0
จาก a − b > 0 และ c > 0
โดยสมบัติปดของการคูณ จะไดวา ( a − b ) c > 0
และเนื่องจาก ( a − b ) c =ac − bc (โดยสมบัติการแจกแจง)
จะได ac − bc > 0
นั่นคือ ac > bc
กรณีที่ 2 c < 0
เนื่องจาก c < 0 ดังนั้น −c > 0
จาก a − b > 0 และ −c > 0
โดยสมบัติปดของการคูณ จะไดวา ( a − b )( −c ) > 0
และเนื่องจาก ( a − b )( −c ) =a ( −c ) − b ( −c ) =−ac + bc (โดยสมบัติการแจกแจง)
จะได −ac + bc > 0
นั่นคือ ac < bc
4) ให a + c > b + c
เนื่องจาก a + c > b + c โดยบทนิยาม 3 จะไดวา ( a + c ) − ( b + c ) > 0
เนื่องจาก ( a + c ) − ( b + c ) =a − b
จะไดวา a − b > 0
นั่นคือ a > b

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 133

5) ให ac > bc
โดยบทนิยาม 3 จะไดวา ac − bc > 0
กรณีที่ 1 c > 0 จะแสดงวา a > b
โดยวิธีหาขอขัดแยง สมมติให a >/ b นั่นคือ a = b หรือ a < b
- เมื่อ a = b จะได ac = bc
ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ac > bc
- เมื่อ a < b จะได ac < bc
ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ac > bc
ดังนั้น ถา ac > bc และ c > 0 แลว a > b
กรณีที่ 2 c < 0 จะแสดงวา a < b
โดยวิธีหาขอขัดแยง สมมติให a </ b นั่นคือ a = b หรือ a > b
- เมื่อ a = b จะได ac = bc
ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ac > bc
- เมื่อ a > b จะได a − b > 0
เนื่องจาก ac − bc = ( a − b ) c และ ac > bc จะได ( a − b ) c > 0
เนื่องจาก a − b > 0 จะได c > 0
ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให c < 0
ดังนั้น ถา ac > bc และ c < 0 แลว a < b
• ทฤษฎีบท 15
ให a, b, c และ d เปนจํานวนจริง
ถา a > b และ c > d แลว a + c > b + d
พิสูจน
ให a, b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a > b และ c > d
โดยทฤษฎีบท 14 ขอ 2 (สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน)
จะได a + c > b + c และ b + c > b + d
โดยทฤษฎีบท 14 ขอ 1 (สมบัติการถายทอด) จะได a + c > b + d

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

134 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

• ทฤษฎีบท 16
ให x และ y เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) x = −x
2) xy = x y
x x
3)
y
=
y
เมื่อ y≠0

4) x− y = y−x
= x2
2
5) x
6) x+ y ≤ x + y
พิสูจน
1) แสดงการพิสูจนดังตัวอยางที่ 36
2) ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ
กรณีที่ 1 x = 0 หรือ y = 0
จะได xy = 0= x y
กรณีที่ 2 x > 0 และ y > 0 จะได xy > 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได=x x= , y y และ xy = xy
จะเห็นวา xy= xy= x y
กรณีที่ 3 x > 0 และ y < 0 จะได xy < 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = x , y = −y และ xy = − xy
จะเห็นวา xy = − xy =x y
กรณีที่ 4 x < 0 และ y > 0 จะได xy < 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = − x, y y และ xy = − xy
=
จะเห็นวา xy = − xy =x y
กรณีที่ 5 x < 0 และ y < 0 จะได xy > 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = − x, y − y และ xy = xy
=
จะเห็นวา xy= xy= x y
จากทั้ง 5 กรณี จะไดวา xy = x y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 135

3) ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง y≠0


กรณีที่ 1 x = 0 หรือ y = 0
x x
จะได = 0=
y y
x
กรณีที่ 2 x>0 และ y>0 จะได >0
y
x x
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได=x x=
, y y และ y
=
y
x x x
จะเห็นวา y
= =
y y
x
กรณีที่ 3 x>0 และ y<0 จะได <0
y
x x
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = x, y = − y และ y
= −
y
x x x
จะเห็นวา y
=− =
y y
x
กรณีที่ 4 x<0 และ y>0 จะได <0
y
x x
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = y และ
− x, y =
y
= −
y
x x x
จะเห็นวา y
=− =
y y
x
กรณีที่ 5 x<0 และ y<0 จะได >0
y
x x
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = − y และ
− x, y =
y
=
y
x x x
จะเห็นวา y
= =
y y
x x
จากทั้ง 5 กรณี จะไดวา y
=
y
4) แสดงการพิสูจนดังตัวอยางที่ 37

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

136 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) ให x เปนจํานวนจริงใด ๆ
กรณีที่ 1 x ≥ 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x =x

ทําใหไดวา x = x ⋅ x = x 2
2

กรณีที่ 2 x < 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x = −x

ทําใหไดวา x =( − x )( − x ) =x 2
2

จากทั้ง 2 กรณี จะไดวา x = x 2


2

6) ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ


กรณีที่ 1 x = 0 หรือ y = 0
จะได x + y =0 = x + y
กรณีที่ 2 x > 0 และ y > 0 จะได x + y > 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x , y = y และ x + y =x + y
จะเห็นวา x + y = x + y = x + y
กรณีที่ 3 x > 0 และ y < 0 จะได x + y < 0 หรือ x + y ≥ 0
- เมื่อ x + y < 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x , y = − y และ x + y =− ( x + y ) =− x − y
จะเห็นวา x + y =− x − y และ x + y =x − y
เนื่องจาก x ≥ 0, y < 0 จะไดวา − x − y < x − y
นั่นคือ x + y < x + y
- เมื่อ x + y ≥ 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x , y = − y และ x + y =x + y
จะเห็นวา x + y =x + y แต x + y =x − y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 137

เนื่องจาก x ≥ 0 และ y < 0 จะไดวา x + y < x − y


นั่นคือ x + y < x + y
กรณีที่ 4 x < 0 และ y > 0 จะได x + y < 0 หรือ x + y ≥ 0
- เมื่อ x + y < 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x , y = y และ x + y =− ( x + y ) =− x − y
จะเห็นวา x + y =− x − y และ x + y =− x + y
เนื่องจาก x < 0 และ y ≥ 0 จะไดวา − x − y < − x + y
นั่นคือ x + y < x + y
- เมื่อ x + y ≥ 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x , y = y และ x + y =x + y
จะเห็นวา x + y =x + y แต x + y =− x + y
เนื่องจาก x < 0 และ y ≥ 0 จะไดวา x + y < − x + y
นั่นคือ x + y < x + y
กรณีที่ 5 x < 0 และ y < 0 จะได x + y < 0
จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x , y = − y และ x + y =− ( x + y ) =− x − y
จะเห็นวา x + y =− x − y = x + y
จากทั้ง 5 กรณี จะไดวา x + y ≤ x + y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

138 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและเฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
ในสวนนี้จะนําเสนอตัวอยางแบบทดสอบประจําบทที่ 3 จํานวนจริง สําหรับรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ซึ่งครูสามารถเลือกนําไปใชไดตามจุดประสงคการเรียนรูที่
ตองการวัดผลประเมินผล

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงพิจารณาวาจํานวนที่กําหนดให จํานวนใดบางเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ


หรือจํานวนอตรรกยะ
−3 1
3 1.01001000100001…
28
( −25) ⋅
4 2 ( 5)

π
( 9)
2
1− 7 2.334444444… 4
5

2. จงยกตัวอยางจํานวนตรรกยะ a และ b ที่แตกตางกัน ซึ่งทําให


1) a − b เปนจํานวนตรรกยะ 2) a − b เปนจํานวนอตรรกยะ
3) ab เปนจํานวนตรรกยะ 4) ab เปนจํานวนอตรรกยะ
a a
5) เปนจํานวนตรรกยะ 6) เปนจํานวนอตรรกยะ
b b
xy
3. ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ และ x∗ y =
x− y
จงพิจารณาวาการดําเนินการ ∗ มีสมบัติการสลับที่หรือไม
4. จงหาเศษเหลือจากการหาร 4 x3 + 3x 2 + 2 x + 1 ดวย x − 1
5. ถาเศษเหลือที่ไดจากการหาร x 2 + 3kx ดวย x − 1 และ x − 2 เทากันแลว จงหา k
6. ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ จงหา
1) a ที่ทําใหเมื่อหารพหุนาม x 4 − ax + 1 ดวย x − 2 แลวไดเศษเหลือเทากับ 3
2) a และ b ที่ทําใหเมื่อหารพหุนาม x3 + ax 2 + bx − 1 ดวย x 2 + x + 1 แลวได
เศษเหลือเทากับ x + 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 139

7. จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้
1) x3 − 4 x 2 − 3 x + 18 2) 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3

8. จงหาจํานวนเต็ม k ทั้งหมด ที่ทาํ ใหสมการ x3 − kx + 2 =0 มีคําตอบที่เปนจํานวนตรรกยะ


9. จงหาเซตคําตอบของสมการตอไปนี้
1) x3 − 5 x 2 + 12 =
8x 2) x 4 + x 2 = 2 x3 + 4
3) 2x + 5x − 4x − 3 =
3 2
0
10. จงหาผลลัพธในรูปผลสําเร็จ
3x − 6 x2 − 2 x  x 2  x
1) ÷ 2)
 ( x − 1)( x − 2 ) − ( x − 1)( x − 3)  ⋅ x − 4
x 2 − 1 x3 − 2 x 2 + 2 x − 1  
x 2 + bx + c a 2x − 3
11. จงหาจํานวนจริง a, b และ c ที่ทําให = + 2
( )
x + 2 ( 2 x + 1) 2 x − 1 x + 2
2

3 1 4
12. จงหาเซตคําตอบของสมการ + 2 =
x − 1 x − 3x + 2 x − 1
2

x ( x + 1) ( x − 3)
2 3

13. จงหาเซตคําตอบของอสมการ ≤0
( x − 1)( x − 5)4
14. จงหาเซตคําตอบของสมการตอไปนี้
1) x+2 =
5 2) x2 − 4 =4 − x2
15. จงหาเซตคําตอบของอสมการตอไปนี้
1) x2 − 5 ≥ 4 2) 2x + 7 < 9
3 x −1 −1
3) ≤1
x −1 +1
16. กระดาษแข็งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแผนหนึ่ง กวาง 3 ฟุต และยาว 4 ฟุต เมื่อตัดมุมกระดาษทั้งสี่
ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทีย่ าวดานละ x ฟุต จะสามารถประกอบเปนกลองทรงสี่เหลีย่ ม
มุมฉากซึ่งไมมฝี าปดได ถากลองดังกลาวมีปริมาตร 2 ลูกบาศกฟุต จงหาคาของ x
17. จงหาจํานวนจริง a ทั้งหมดทีท่ ําใหสมการ x 2 − ax − a + 3 =0 มีคําตอบเปนจํานวนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

140 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. พิจารณาวาจํานวนที่กําหนดให จํานวนใดบางเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ


หรือจํานวนอตรรกยะ ไดดังนี้
จํานวนที่กําหนดให จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
3    –
1.01001000100001… – – 
−3
– –  –
4
28
   –
2
1
( −25) ⋅    –
( −5)
π
– – – 
5
1− 7 – – – 
2.334444444… – –  –

( 9)
2
4
   –

2. ตัวอยางคําตอบ
1) a= 1+ 2 และ b = 2
2) a = 2 2 และ b = 2
3) a = 2 2 และ b = 2
4) a = 2 และ b = 3
5) a = 2 2 และ b = 2
6) a = 6 และ b = 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 141

xy
3. ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ และ x∗ y =
x− y
yx xy
จะได y∗x = =−
y−x x− y

เนื่องจาก xy ≠ − xy สําหรับทุกจํานวนจริง x และ y


x− y x− y
จะไดวา x ∗ y ≠ y ∗ x สําหรับทุกจํานวนจริง x และ y
ดังนั้น การดําเนินการ ∗ ไมมสี มบัติการสลับที่
4. ให p ( x ) = 4 x3 + 3x 2 + 2 x + 1
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 1 จะไดเศษเหลือ คือ p (1) โดยที่
p (1) = 4 (1) + 3 (1) + 2 (1) + 1
3 2

= 10
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 10
5. ให p ( x=) x 2 + 3kx
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 1 จะไดเศษเหลือ คือ p (1)
และเมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 2 ) โดยที่
p (1) = (1)2 + 3k (1) = 1 + 3k
และ p ( 2 ) = ( 2 )2 + 3k ( 2 )
= 4 + 6k
เนื่องจาก เศษเหลือที่ไดจากการหาร x 2 + 3kx ดวย x −1 และ x−2 เทากัน
นั่นคือ p (1) = p ( 2 )
จะได 1 + 3k =4 + 6k
ดังนั้น k = −1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

142 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6. ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ


1) ให p ( x ) = x 4 − ax + 1
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 2 )
เนื่องจาก เมื่อหารพหุนาม x 4 − ax + 1 ดวย x − 2 แลวไดเศษเหลือเทากับ 3
นั่นคือ p ( 2 ) = 24 − a ( 2 ) + 1 = 3
ดังนั้น a = 7
2) พิจารณาการหารยาวดังนี้
x + (a − 1)
x + x + 1 x3 +
2
ax 2 + bx − 1
x + 3
x +
2
x
(a − 1) x 2 + (b − 1) x − 1
(a − 1) x + (a − 1) x + (a − 1)
2

(b − a) x − a

จากการหารยาว จะไดวาเศษเหลือจากการหารพหุนาม x3 + ax 2 + bx − 1 ดวย


x 2 + x + 1 เทากับ ( b − a ) x − a
เนื่องจากโจทยกําหนดวาเศษเหลือจากการหารพหุนาม x3 + ax 2 + bx − 1 ดวย
x 2 + x + 1 เทากับ x + 2
จะไดวา ( b − a ) x − a = x + 2
ดังนั้น a = −2 และ b = −1
7. 1) ให p ( x ) = x3 − 4 x 2 − 3x + 18
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 18 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6, ± 9, ± 18
พิจารณา p ( −2 )
p ( −2 ) =( −2 ) − 4 ( −2 ) − 3 ( −2 ) + 18 =0
3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) =
0 ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ x − 4 x 3 2
− 3 x + 18
นํา x + 2 ไปหาร x − 4 x − 3x + 18 ไดผลหารเปน x − 6 x + 9
3 2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 143

นั่นคือ x 3 − 4 x 2 − 3 x + 18 ( x + 2) ( x2 − 6x + 9)
=
( x + 2 )( x − 3)
2
=
ดังนั้น x3 − 4 x 2 − 3x + 18 = ( x + 2 )( x − 3)2
2) ให p ( x ) = 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 3 ลงตัว คือ ±1, ± 3
และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2
พิจารณา p ( −3)
p ( −3) = 2 ( −3) + 5 ( −3) − 2 ( −3) + 4 ( −3) + 3 = 0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −3) = 0 ดังนั้น x + 3 เปนตัวประกอบของ 2 x + 5 x − 2 x + 4 x + 3 4 3 2

นํา x + 3 ไปหาร 2 x + 5 x − 2 x + 4 x + 3 ไดผลหารเปน 2 x − x + x + 1


4 3 2 3 2

ดังนั้น 2 x + 5 x − 2 x + 4 x + 3 = ( x + 3) ( 2 x − x + x + 1)
4 3 2 3 2

ให q ( x )= 2 x − x + x + 1
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2
 1
พิจารณา q− 
 2
3 2
 1  1  1  1
q  −  = 2  −  −  −  +  −  + 1= 0
 2  2  2  2
 1 1
จะเห็นวา q−  = 0 ดังนั้น x + เปนตัวประกอบของ 2 x 3 − x 2 + x + 1
 2 2
1
นํา x+
2
ไปหาร 2 x3 − x 2 + x + 1 ไดผลหารเปน 2 x2 − 2 x + 2

( x + 3)  x +
1
นั่นคือ 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3  ( 2x − 2x + 2)
2
=
 2

( x + 3)  x +
1
 ⋅ 2 ( x − x + 1)
2
=
 2
= ( x + 3)( 2 x + 1) ( x 2 − x + 1)
ดังนั้น 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3 = ( x + 3)( 2 x + 1) ( x 2 − x + 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

144 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8. ให p ( x ) = x − kx + 2
3

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2


ถา x + 1 เปนตัวประกอบของ x − kx + 2 นั่นคือ p ( −1) =
3
0

จะได ( −1) − k ( −1) + 2 = 0


3

ดังนั้น k = −1
ถา x − 1 เปนตัวประกอบของ x − kx + 2 นั่นคือ p (1) = 0
3

จะได 1 − k (1) + 2
3
= 0
ดังนั้น k = 3
ถา x + 2 เปนตัวประกอบของ x − kx + 2 นั่นคือ p ( −2 ) =
3
0

จะได ( −2 ) − k ( −2 ) + 2 = 0
3

ดังนั้น k = 3
ถา x − 2 เปนตัวประกอบของ x − kx + 2 นั่นคือ p ( 2 ) = 0
3

จะได 2 − k ( 2) + 2 = 0
3

ดังนั้น k = 5
จะได จํานวนเต็ม k ที่เปนไปไดทั้งหมด คือ −1, 3 หรือ 5
9. 1) จาก x3 − 5 x 2 + 12 = 8x
จัดรูปสมการใหมไดเปน x3 − 5 x 2 − 8 x + 12 = 0
เนื่องจาก x − 5 x − 8 x + 12 = ( x − 1) ( x − 4 x − 12 ) = ( x − 1)( x + 2 )( x − 6 )
3 2 2

จะได ( x − 1)( x + 2 )( x − 6 ) =0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x + 2 =0 หรือ x − 6 =0
จะได x = 1 หรือ x = − 2 หรือ x=6
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1, 6 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 145

2) จาก x + x = 2 x + 4
4 2 3

จัดรูปสมการใหมไดเปน x − 2 x + x − 4 =0
4 3 2

เนื่องจาก x − 2 x + x − 4 = ( x − 2 )( x + 1) ( x − x + 2 )
4 3 2 2

จะได ( x − 2 )( x + 1) ( x − x + 2 ) =0
2

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x + 1 =0 หรือ x − x + 2 =0 2

ถา x − 2 =0 จะได x = 2
ถา x + 1 =0 จะได x = − 1
ถา x − x + 2 =0 และเนื่องจาก ( −1) − 4 (1)( 2 ) =
2 2
−7
จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {−1, 2}
3) จาก 2 x3 + 5 x 2 − 4 x − 3 =0
เนื่องจาก 2 x3 + 5 x 2 − 4 x − 3 = ( x − 1)( x + 3)( 2 x + 1)
จะได ( x − 1)( x + 3)( 2 x + 1) = 0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x + 3 =0 หรือ 2 x + 1 =0
1
จะได x =1 หรือ x = −3 หรือ x= −
2
 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ −3, − , 1
 2 
3x − 6 x2 − 2 x 3( x − 2) x ( x − 2)
10. 1) ÷ = ÷
x 2 − 1 x3 − 2 x 2 + 2 x − 1 ( x − 1)( x + 1) ( x − 1) ( x 2 − x + 1)
3( x − 2) ( x − 1) ( x 2 + 3x + 1)
= ⋅
( x − 1)( x + 1) x ( x − 2)

=
(
3 x 2 + 3x + 1 ) เมื่อ x ≠1 และ x≠2
x ( x + 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

146 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

 x 2  x x ( x − 3) − 2 ( x − 2 ) x
2)  −  ⋅ = ⋅
 ( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x − 3)  x − 4 ( x − 1)( x − 2 )( x − 3) x−4
x 2 − 3x − 2 x + 4 x
= ⋅
( x − 1)( x − 2 )( x − 3) x − 4
x2 − 5x + 4 x
= ⋅
( x − 1)( x − 2 )( x − 3) x − 4
=
( x − 1)( x − 4 ) ⋅ x
( x − 1)( x − 2 )( x − 3) x − 4
x
= เมื่อ x ≠1 และ x≠4
( x − 2 )( x − 3)
x 2 + bx + c a 2x − 3
11. จาก = + 2
( )
x + 2 ( 2 x + 1) 2 x − 1 x + 2
2

เนื่องจาก a 2x − 3
+ 2 =
( )
a x 2 + 2 + ( 2 x − 3)( 2 x + 1)
2x −1 x + 2 ( 2 x − 1) ( x 2 + 2 )
( a + 4 ) x 2 − 8 x + ( 2a + 3)
=
( 2 x − 1) ( x 2 + 2 )
x 2 + bx + c ( a + 4 ) x 2 − 8 x + ( 2a + 3)
จะได 2 =
( x + 2 ) ( 2 x + 1) ( 2 x − 1) ( x 2 + 2 )
นั่นคือ a+4=1, b =−8และ =c 2a + 3
ดังนั้น a= −8 และ c = −3
−3, b =
3 1 4
12. จาก + =
x − 1 x 2 − 3x + 2 x 2 − 1
จัดรูปสมการใหมไดเปน 3 + 2 1 − 24 = 0
x − 1 x − 3x + 2 x − 1
3 1 4
จะได + − = 0
x − 1 x 2 − 3x + 2 x 2 − 1
3 1 4
+ − = 0
x − 1 ( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x + 1)
3 ( x − 2 )( x + 1) + 1( x + 1) − 4 ( x − 2 )
= 0
( x − 1)( x − 2 )( x + 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 147

3x 2 − 6 x + 3
= 0
( x − 1)( x − 2 )( x + 1)
3 ( x − 1)
2

= 0
( x − 1)( x − 2 )( x + 1)
3 ( x − 1)
= 0 เมื่อ x ≠ −1
( x − 2 )( x + 1)
จะได x − 1 =0 และ ( x − 2 )( x + 1) ≠ 0 และ x ≠ −1
นั่นคือ x = 1 โดยที่ x ≠ 2 และ x ≠ −1 และ x ≠ −1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการนี้ คือ ∅
x ( x + 1) ( x − 3)
2 3

13. จาก ≤0
( x − 1)( x − 5)4
เนื่องจาก ( x + 1)2 ≥ 0, ( x − 3)2 ≥ 0 และ ( x − 5)4 ≥ 0 เสมอ
นั่นคือ ตองหาคําตอบของอสมการ x ( x − 3) ≤ 0 เมื่อ x ≠ 5
( x − 1)
พิจารณาเสนจํานวน

–3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ( −∞, 0] ∪ [1, 3]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

148 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

14. 1) วิธีที่ 1 จาก x + 2 = 5


กรณีที่ 1 x + 2 ≥ 0 นั่นคือ x ≥ −2
จะได x+2 = 5
ซึ่งx = 3 3 ≥ −2
นั่นคือ 3 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 x + 2 < 0 นั่นคือ x < −2
จะได − ( x + 2) = 5
ซึ่ง
x = −7 −7 < −2
นั่นคือ −7 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {−7, 3}
วิธีที่ 2 จาก x+2 = 5
ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได
2
x+2 = 52
( x + 2 )2 = 52
( x + 2 ) 2 − 52 = 0
( ( x + 2 ) − 5) ( ( x + 2 ) + 5) = 0
( x − 3)( x + 7 ) = 0
จะได x = −7 หรือ x = 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {−7, 3}
2) วิธีที่ 1 จาก x 2 − 4 = 4 − x 2
กรณีที่ 1 x 2 − 4 ≥ 0 นั่นคือ x 2 ≥ 4 ( x ≤ −2 หรือ x≥2)
จะได x2 − 4 = 4 − x2
2x 2 = 8
x2 = 4
x = −2 หรือ x = 2 ซึ่ง −2 ≤ −2 และ 2 ≥ 2
ดังนั้น x ที่สอดคลองกับสมการ คือ x = −2 หรือ x = 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 149

กรณีที่ 2 x2 − 4 < 0 นั่นคือ x 2 < 4 ( 2 < x < −2 )


จะได (
− x2 − 4 ) = 4 − x2
− x2 + 4 = 4 − x2
0 = 0 ซึ่งเปนจริงทุกจํานวนจริง x
ดังนั้น x ที่สอดคลองกับสมการ คือ x ∈ ( −2, 2 )
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ [ −2, 2]
วิธีที่ 2 จาก x2 − 4 = 4 − x2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได
(4 − x ) 2 2
2
x2 − 4 =

( x − 4) (4 − x )
2 2 2 2
=

( x − 4) − ( 4 − x )
2 2 2 2
= 0

(( x 2
) (
− 4 − 4 − x2 )) (( x − 4) + ( 4 − x ))
2 2
= 0

0 = 0 ซึ่งเปนจริงทุกจํานวนจริง x
แตเนื่องจาก x 2 − 4 ≥ 0 เสมอ และ x 2 − 4 = 4 − x 2
จะไดวา 4 − x 2 ≥ 0 เสมอ
นั่นคือ x 2 ≤ 4
จะไดวา 2 < x < −2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ [ −2, 2]
15. 1) จากอสมการ x 2 − 5 ≥ 4
จะได x 2 − 5 ≤ − 4 หรือ x2 − 5 ≥ 4
x2 ≤ 1 หรือ x2 ≥ 9
x2 − 1 ≤ 0 หรือ x2 − 9 ≥ 0
( x − 1)( x + 1) ≤ 0 หรือ ( x − 3)( x + 3) ≥ 0
−1 ≤ x ≤ 1 หรือ x ≤ −3 หรือ x≥3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( −∞, − 3] ∪ [ −1, 1] ∪ [3, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

150 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) จาก 2x + 7 < 9
จะได −9 < 2x + 7 < 9
−9 − 7 < 2x < 9−7
−16 2
< x <
2 2
−8 < x < 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( −8, 1)
3 x −1 −1
3) จาก ≤ 1
x −1 +1
เนื่องจาก x −1 ≥ 0 เสมอ จะได x −1 +1 > 0 เสมอ
นั่นคือ 3 x −1 −1 ≤ x −1 +1

3 x −1 − x −1 ≤ 1+1
2 x −1 ≤ 2
x −1 ≤ 1
จะได −1 ≤ x −1 ≤ 1
0 ≤ x ≤ 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [0, 2]
16. แสดงสิ่งที่โจทยกําหนดไดดังรูปตอไปนี้

จากรูป จะไดปริมาตรของกลอง คือ x ( 3 − 2 x )( 4 − 2 x ) ลูกบาศกฟุต


เนื่องจาก โจทยกําหนดใหกลองใบนี้มีปริมาตร 2 ลูกบาศกฟุต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 151

จะได x ( 3 − 2 x )( 4 − 2 x ) = 2

x ( 3 − 2 x )( 2 − x ) = 1
2 x3 − 7 x 2 + 6 x − 1 = 0
( x − 1) ( 2 x 2
− 5x + 1) = 0
นั่นคือ x − 1 =0 หรือ 2 x 2 − 5 x + 1 =0
เมื่อ x − 1 =0 จะได x = 1
− ( −5 ) ± ( −5 ) − 4 ( 2 )(1) 5 ± 17
2

เมื่อ 2x − 5x + 1 =
= 2
0 จะได x =
2 ( 2) 4
แตเนื่องจากความกวาง ความยาว และความสูงของกลองตองมากกวา 0
นั่นคือ x > 0, 3 − 2 x > 0 และ 4 − 2 x > 0
 3
จะไดวา x ∈  0, 
 2
5 − 17
ดังนั้น คาของ x ที่เปนไปได คือ 1 หรือ
4
17. จาก x 2 − ax − a + 3 =0
จัดรูปสมการใหมไดเปน x 2 − ax + ( 3 − a ) =
0

− ( − a ) ± ( − a ) − 4 (1)( 3 − a )
2

จะได x = a ± a + 4a − 12
2
=
2 (1) 2
จะไดวา x เปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ a 2 + 4a − 12 ≥ 0
นั่นคือ x เปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ ( a − 2 )( a + 6 ) ≥ 0
ดังนั้น a ∈ ( −∞, − 6] ∪ [ 2, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
152 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เฉลยแบบฝกหัดและวิธีทําโดยละเอียด
บทที่ 1 เซต

แบบฝกหัด 1.1ก
1. 1) { a, e, i, o, u } 2) { 2, 4, 6, 8 }
3) { 10, 11, 12,  , 99 } 4) { 101, 102, 103,  }
5) { − 99, − 98, − 97,  , − 1} 6) { 4, 5, 6, 7, 8, 9 }
7) ∅ 8) ∅
9) { − 14, 14 } 10) {ชลบุร,ี ชัยนาท, ชัยภูมิ, ชุมพร, เชียงราย, เชียงใหม}
2. ตัวอยางคําตอบ
1) { x | x เปนจํานวนคี่บวกที่นอยกวา 10 } หรือ { x ∈  | x เปนจํานวนคี่ตั้งแต 1 ถึง 9 }
2) { x | x เปนจํานวนเต็ม }
3) { x ∈  | x มีรากที่สองเปนจํานวนเต็ม } หรือ { x | x = n และ n เปนจํานวนนับ }
2

4) { x ∈  | x หารดวยสิบลงตัว } หรือ { x | x = 10n และ n เปนจํานวนนับ }


3. 1) A มีสมาชิก 1 ตัว 2) B มีสมาชิก 5 ตัว
3) C มีสมาชิก 7 ตัว 4) D มีสมาชิก 9 ตัว
5) E มีสมาชิก 0 ตัว
4. 1) เปนเท็จ 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ
5. 1) เปนเซตวาง
2) ไมเปนเซตวาง (มี 5 และ 7 เปนสมาชิกของเซต)
3) ไมเปนเซตวาง (มี 1 เปนสมาชิกของเซต)
4) เปนเซตวาง
5) ไมเปนเซตวาง (มี −2 และ −1 เปนสมาชิกของเซต)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 153

6. 1) เซตอนันต 2) เซตจํากัด
3) เซตอนันต 4) เซตจํากัด
5) เซตอนันต 6) เซตอนันต
7. 1) จากโจทย A = { 0, 1, 3, 7 }
และเขียน B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน B= {  , − 2, − 1, 0, 1, 2,  , 9 }
ดังนั้น A ≠ B เพราะมีสมาชิกของ B ที่ไมเปนสมาชิกของ A เชน −1∈ B
แต −1∉ A
2) จากโจทย เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเป= น A {  , − 2, 0, 2, 4, 6, 8 }
และ B = { 2, 4, 6, 8 }
ดังนั้น A ≠ B เพราะมีสมาชิกของ A ที่ไมเปนสมาชิกของ B เชน 0 ∈ A
แต 0 ∉ B
3) จากโจทย A = { 7, 14, 21,  , 343 }
และเขียน B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน B = { 7, 14, 21,  , 343 }
ดังนั้น A = B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B และสมาชิกทุกตัว
ของ B เปนสมาชิกของ A
 1 2 3 4 
4) จากโจทย เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A =  0, , , , ,  
 2 3 4 5 
 1 2 3 4 
และ B =  0, , , , ,  
 2 3 4 5 
ดังนั้น A = B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B และสมาชิกทุกตัว
ของ B เปนสมาชิกของ A
5) จากโจทย เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A = {−6, 6}
และ B = { 6 }
ดังนั้น A ≠ B เพราะมีสมาชิกของ A ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ −6 ∈ A
แต −6 ∉ B

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
154 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8. จากโจทย เขียน A , B , C และ D แบบแจกแจงสมาชิก ไดดังนี้


A = {ก, ร, ม}
B = {ม, ร, ค}
C = {ม, ก, ร, ค}
D = {ร, ก, ม}
ดังนั้น A ≠ B เพราะมีสมาชิกของ A ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ ก ∈ A แต ก ∉ B
A ≠ C เพราะมีสมาชิกของ C ที่ไมเปนสมาชิกของ A คือ ค ∈ C แต ค ∉ A
A = D เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ D และสมาชิกทุกตัวของ D
เปนสมาชิกของ A
B ≠ C เพราะมีสมาชิกของ C ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ ก ∈ C แต ก ∉ B
B ≠ D เพราะมีสมาชิกของ D ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ ก ∈ D แต ก ∉ B
C ≠ D เพราะมีสมาชิกของ C ที่ไมเปนสมาชิกของ D คือ ค ∈ C แต ค ∉ D

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 155

แบบฝกหัด 1.1ข
1. 1) ถูก ผิด
2)
3) ผิด 4) ถูก
5) ถูก 6) ผิด
2. เขียน A และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน
A = { 2, 4, 6 }
B = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 }
และจากโจทย C = { 2, 4 }
ดังนั้น A ⊂ B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B
C ⊂ A เพราะสมาชิกทุกตัวของ C เปนสมาชิกของ A
C ⊂ B เพราะสมาชิกทุกตัวของ C เปนสมาชิกของ B
3. เขียน Y แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน Y = { 1, 3, 5, 7, 9, 11}
1) เปนจริง เพราะสมาชิกทุกตัวของ X เปนสมาชิกของ Y
2) เปนจริง เพราะสมาชิกทุกตัวของ Y เปนสมาชิกของ X
3) เปนจริง เพราะ X ⊂ Y และ Y ⊂ X
4. 1) ∅ และ { 1 }
2) ∅ , { 1 } , { 2 } และ { 1, 2 }
3) ∅ , { − 1 } , { 0 } , { 1 } , {−1, 0 } , {−1, 1 } , { 0, 1 } และ {−1, 0, 1 }
4) ∅ , { x } , { y } และ { x , y }
5) ∅ , { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b, c } และ { a , b , c }
6) ∅
5. 1) เนื่องจากสับเซตทั้งหมดของ {5} ไดแก ∅ และ {5}
ดังนั้น เพาเวอรเซตของ {5} คือ {∅, {5}}
2) เนื่องจากสับเซตทั้งหมดของ {0, 1} ไดแก ∅, {0} , {1} และ {0, 1}
ดังนั้น เพาเวอรเซตของ {0, 1} คือ {∅, {0} , {1} , {0, 1}}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
156 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3) เนื่องจากสับเซตทั้งหมดของ {2, 3, 4} ไดแก ∅, {2} , {3} , {4} , {2, 3} , {2, 4} , {3, 4}


และ {2, 3, 4}
ดังนั้น เพาเวอรเซตของ {2, 3, 4} คือ {∅, {2} , {3} , {4} , {2, 3} , {2, 4} , {3, 4} , {2, 3, 4}}
4) เนื่องจากสับเซตทั้งหมดของ ∅ คือ ∅
ดังนั้น เพาเวอรเซตของ ∅ คือ {∅}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 157

แบบฝกหัด 1.1ค
1. จากสิ่งที่กําหนดให A และ B ไมมีสมาชิกรวมกัน
เขียนแผนภาพเวนนแสดง A และ B ไดดังนี้
U
A B

2 1 3
4
5 9
6

7 8 10

2. กําหนดให U เปนเซตของจํานวนนับ
1) จากสิ่งที่กําหนดให จะได B ⊂ A
เขียนแผนภาพเวนนแสดง A และ B ไดดังนี้
U
A
2 B 4
6 10
1
8 3 5
7 9

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
158 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) จากสิ่งที่กําหนดให จะได C ⊂ B และ B ⊂ A


เขียนแผนภาพเวนนแสดง A , B และ C ไดดังนี้
A U

4 6
B
2 8
C 10
7 9
1
3
5

3) จากสิ่งที่กําหนดให จะได B ⊂ A และ C ⊂ A โดยที่ B และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 5


เขียนแผนภาพเวนนแสดง A , B และ C ไดดังนี้
U
A 7 8 9
4 10
B C
1 2
5
3 6

3. 1) สมาชิกที่อยูใน A แตไมอยูใ น B มี 1 ตัว (คือ a )


2) สมาชิกที่ไมอยูใ น A และไมอยูใ น B มี 2 ตัว (คือ d และ e)
3) สมาชิกที่อยูทั้งใน A และ B มี 3 ตัว (คือ x, y และ z )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 159

แบบฝกหัด 1.2
1. วิธีที่ 1 1) A มีสมาชิก คือ 0, 1, 2 และ 8
B มีสมาชิก คือ 0, 2, 4, 7 และ 9
ดังนั้น A ∪ B = { 0, 1, 2, 4, 7, 8, 9 }
2) A และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 0 และ 2
ดังนั้น A ∩ B = { 0, 2 }
3) สมาชิกที่อยูใน A แตไมอยูใ น B คือ 1 และ 8
ดังนั้น A − B = { 1, 8 }
4) สมาชิกที่อยูใน B แตไมอยูใ น A คือ 4, 7 และ 9
ดังนั้น B − A = { 4, 7, 9 }
5) สมาชิกที่อยูใน U แตไมอยูใ น A คือ 3, 4, 5, 6, 7 และ 9
ดังนั้น A′ = { 3, 4, 5, 6, 7, 9 }
6) สมาชิกที่อยูใน U แตไมอยูใ น B คือ 1, 3, 5, 6 และ 8
ดังนั้น B′ = { 1, 3, 5, 6, 8 }
7) A มีสมาชิก คือ 0, 1, 2 และ 8
B′ มีสมาชิก คือ 1, 3, 5, 6 และ 8
ดังนั้น A ∪ B′ = { 0, 1, 2, 3, 5, 6, 8 }
8) A′ มีสมาชิก คือ 3, 4, 5, 6, 7 และ 9
B มีสมาชิก คือ 0, 2, 4, 7 และ 9
จะได A′ และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 4, 7 และ 9
ดังนั้น A′ ∩ B = { 4, 7, 9 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
160 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 A และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 0 และ 2


เขียนแผนภาพเวนนแสดง A และ B ไดดังนี้
U
A B

1 0 4
9
8 2
7

3 5 6

จากแผนภาพ จะได
1) A∪ B={ 0, 1, 2, 4, 7, 8, 9 }
2) { 0, 2 }
A∩ B =
3) { 1, 8 }
A− B =
4) { 4, 7, 9 }
B−A=
5) A′ = { 3, 4, 5, 6, 7, 9 }
6) B′ = { 1, 3, 5, 6, 8 }
7) { 0, 1, 2, 3, 5, 6, 8 }
A ∪ B′ =
8) { 4, 7, 9 }
A′ ∩ B =
2. ให U
= 0, 2, 4, 6, 8 } , B { 1, 3, 5, 7 } และ
4, 5, 6, 7, 8 } , A {=
{ 0, 1, 2, 3, =
C = { 3, 4, 5, 6 }
วิธีที่ 1 1) A และ B ไมมีสมาชิกรวมกัน
ดังนั้น A ∩ B =∅
2) B มีสมาชิก คือ 1, 3, 5 และ 7
C มีสมาชิก คือ 3, 4, 5 และ 6
ดังนั้น B ∪ C = { 1, 3, 4, 5, 6, 7 }
3) B และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 3 และ 5
ดังนั้น B ∩ C = { 3, 5 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 161

4) A และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 4 และ 6


ดังนั้น A ∩ C = { 4, 6 }
5) สมาชิกที่อยูใน U แตไมอยูใ น C คือ 0, 1, 2, 7 และ 8
ดังนั้น C ′ = { 0, 1, 2, 7, 8 }
6) C ′ และ A มีสมาชิกรวมกัน คือ 0, 2 และ 8
ดังนั้น C ′ ∩ A = { 0, 2, 8 }
7) C ′ และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 1 และ 7
ดังนั้น C ′ ∩ B = { 1, 7 }
8) A ∩ B เปนเซตวาง
B มีสมาชิก คือ 1, 3, 5 และ 7
ดังนั้น ( A ∩ B ) ∪ B = { 1, 3, 5, 7 }
วิธีที่ 2 A และ B ไมมีสมาชิกรวมกัน
A และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 4 และ 6
B และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 3 และ 5
เขียนแผนภาพเวนนแสดง A , B และ C ไดดังนี้
U
A C B

0 4 3 1
2
6 5 7
8

จากแผนภาพ จะได
1) A∩ B =∅ 2) { 1, 3, 4, 5, 6, 7 }
B ∪C =
3) { 3, 5 }
B ∩C = 4) { 4, 6 }
A∩C =
5) C ′ = { 0, 1, 2, 7, 8 } 6) { 0, 2, 8 }
C′ ∩ A =
7) { 1, 7 }
C′ ∩ B = 8) ( A ∩ B) ∪ B =
{ 1, 3, 5, 7 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
162 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. 1) A′ 2) B′ d
U U
A B A B

3) A′ ∩ B′ 4) ( A ∪ B )′ s
U U
A B A B

5) A′ ∪ B′ 6) ( A ∩ B )′ s
U U
A B A B

7) A− B 8) A ∩ B′ d
U U
A B A B

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 163

4. 1) ( A ∪ B) ∪ C 2) A∪(B ∪C) d
U U
A B A B

C C

3) ( A ∩ B) ∩ C 4) A∩(B ∩C) s
U U
A B A B

C C

5) ( A ∪ B) ∩ C 6) ( A∩C) ∪(B ∩C) s


U U
A B A B

C C

5. 1) A∩C ก 2) C ∪ B′
3) B−A ก
6. 1) ∅ ก 2) A
3) ∅ก 4) U
5) U ก 6) ∅
7) A′ ก 8) ∅

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
164 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 1.3
1. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B

34 6 19

41

จากแผนภาพ จะไดจํานวนสมาชิกของเซตตาง ๆ ดังตอไปนี้


เซต A− B B−A A∪ B A′ B′ ( A ∪ B )′
จํานวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41

2. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B

12 13 17

จากแผนภาพ จะได
1) n ( A ∪ B ) = 12 + 13 + 17 = 42
2) n( A − B) =
12 ก
3) n ( A′ ∩ B′ ) =
8ป

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 165

3. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B
7
3 3
5
10 5

10
C
7

จากแผนภาพ จะได
1) n ( A ∪ C ) =3 + 7 + 10 + 5 + 10 + 5 =40
2) n ( A ∪ B ∪ C ) = 3 + 7 + 10 + 5 + 10 + 5 + 3 = 43 ก
3) n ( A ∪ B ∪ C )′ =
7ก
4) n ( B − ( A ∪ C )) =
3ก
5) n (( A ∩ B ) − C ) =
7 ก
4. ให A และ B ่ n ( A)
เปนเซตจํากัด โดยที= =
18, n ( B ) 25 และ n ( A ∪ B ) =
37
จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
จะได 37 = 18 + 25 − n ( A ∩ B )
n ( A ∩ B ) = 18 + 25 − 37
n( A ∩ B) = 6
ดังนั้น n ( A ∩ B ) =
6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
166 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5. จาก n ( A − B ) =
20 และ n ( A ∪ B ) =
80
เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B

20

จากแผนภาพ จะได n ( B ) = n ( A ∪ B ) − n ( A − B ) = 80 − 20 = 60
6. ให U แทนเซตของพนักงานบริษัทแหงหนึ่งที่ไดรับการสอบถาม
A แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มชา
B แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มกาแฟ
A∪ B แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มชาหรือกาแฟ
A∩ B แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ
จะได n ( A ∪ B ) = 120
n ( A ) = 60
n ( B ) = 70
จาก n( A ∪ B) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 120 = 60 + 70 − n ( A ∩ B )
n( A ∩ B) = 60 + 70 – 120
นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 10
ดังนั้น มีพนักงานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ 10 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 167

7. ให U แทนเซตของผูป วยที่เขารวมการสํารวจ


A แทนเซตของผูป วยที่สูบบุหรี่
B แทนเซตของผูป วยที่เปนมะเร็งปอด
A′ ∩ B′ แทนเซตของผูป วยที่ไมสูบบุหรี่และไมเปนมะเร็งปอด
A∩ B แทนเซตของผูป วยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด
จะได n (U ) = 1,000
n ( A ) = 312
n ( B ) = 180
n ( A′ ∩ B′ ) = 660

วิธีที่ 1 เนื่องจาก A′ ∩ B′ = ( A ∪ B )′
ดังนั้น n ( A′ ∩ B′ ) = n ( A ∪ B )′

จะได n( A ∪ B) = n (U ) − n ( A ∪ B )′

= n (U ) − n ( A′ ∩ B′ )
= 1,000 – 660
= 340
จาก n( A ∪ B) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 340 = 312 + 180 − n ( A ∩ B )


n( A ∩ B) = 312 + 180 – 340
นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 152
ดังนั้น มีผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด 152 คน
152
คิดเปนรอยละ × 100 ≈ 48.72 ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด
312

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
168 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 ให x แทนจํานวนผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด นั่นคือ=x n ( A ∩ B )


เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B

312 – x x 180 – x

660

เนื่องจาก โรงพยาบาลแหงนี้ทําการสํารวจขอมูลจากผูปวยทั้งหมด 1,000 คน


จะได 1,000 = ( 312 − x ) + x + (180 − x )  + 660
1,000 = ( 492 − x ) + 660
x = 492 + 660 − 1,000
นั่นคือ x = 152
ดังนั้น มีผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด 152 คน
152
คิดเปนรอยละ × 100 ≈ 48.72 ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด
312
8. ให U แทนเซตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหองหนึ่ง
A แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาคณิตศาสตร
B แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาสังคมศึกษา
C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาภาษาไทย
A∩ B แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและสังคมศึกษา
B ∩C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาสังคมศึกษาและภาษาไทย
A∩C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย
A∩ B ∩C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานทั้งสามวิชา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 169

จะได n ( A ) = 37
n ( B ) = 48
n (C ) = 45
n ( A ∩ B ) = 15
n ( B ∩ C ) = 13
n( A ∩ C) = 7
n( A ∩ B ∩ C) = 5
วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B
10
20 25
5
2 8

30
C

จากแผนภาพ จะไดวามีนักเรียนที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา เทากับ


100 คน
20 + 10 + 25 + 2 + 5 + 8 + 30 =
วิธีที่ 2 เนื่องจากนักเรียนที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา คือ นักเรียนที่สอบผาน
วิชาคณิตศาสตร หรือสอบผานวิชาสังคมศึกษา หรือสอบผานวิชาภาษาไทย
ซึ่งคือ A ∪ B ∪ C
จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )
−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
= 37 + 48 + 45 − 15 − 7 − 13 + 5
= 100
ดังนั้น มีนักเรียนที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา 100 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
170 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

9. ให U แทนเซตของผูถ ือหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่รวมการสํารวจ


A แทนเซตของผูถ ือหุนบริษัท ก
B แทนเซตของผูถ ือหุนบริษัท ข
C แทนเซตของผูถ ือหุนบริษัท ค
A∩ B แทนเซตของผูถ ือหุนบริษัท ก และ ข
B ∩C แทนเซตของผูถ ือหุนบริษัท ข และ ค
A∩C แทนเซตของผูถ ือหุนบริษัท ก และ ค
A∩ B ∩C แทนเซตของผูถ ือหุนทั้งสามบริษัท
จะได n (U ) = 3,000
n ( A ) = 200
n ( B ) = 250
n (C ) = 300
n ( A ∩ B ) = 50
n ( B ∩ C ) = 40
n ( A ∩ C ) = 30
n( A ∩ B ∩ C) = 0
วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B
50
120 160
0
30 40

230
C
2,370

จากแผนภาพ จะไดวามีผูที่ถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของสามบริษัทนี้


2,370 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 171

วิธีที่ 2 ให A∪ B ∪C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก หรือ ข หรือ ค


( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหนุ ของสามบริษัทนี้
จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )
−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
= 200 + 250 + 300 − 50 − 30 − 40 + 0
= 630
จะได n ( A ∪ B ∪ C )′ = n (U ) − n ( A ∪ B ∪ C )
= 3,000 – 630
นั่นคือ n ( A ∪ B ∪ C )′ = 2,370
ดังนั้น มีผูที่ถอื หุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของสามบริษัทนี้ 2,370 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
172 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัดทายบท
1. 1) { 48 } ด 2) ∅
3) { 5, 10, 15,  } ด 4) { − 2, 0, 2 }
5) { 1, 2, 3,  , 10 } ด
2. ตัวอยางคําตอบ
1) { x |=x 3n − 2 เมื่อ n∈ และ 1 ≤ n≤ 5}
2) { x∈  | − 20 ≤ x ≤ − 10 }
3) { x |=x 4n + 1 เมื่อ n∈ }
4) { x | x = n3 เมื่อ n∈ }
3. 1) เซตจํากัด 2) เซตอนันต
3) เซตจํากัด 4) เซตจํากัด
5) เซตอนันต
4. 1) เปนจริง 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ 4) เปนจริง
5) เปนจริง 6) เปนเท็จ
7) เปนจริง 8) เปนจริง
9) เปนเท็จ
5. จาก U = {5, 6, 7, 8, 9}
A= {x x > 7}= {8, 9}
และ B = {5, 6}
จะได P ( A) = {∅, {8} , {9} , {8, 9}}
และ P ( B ) = {∅, {5} , {6} , {5, 6}}
1) จาก P ( A ) = {∅, {8} , {9} , {8, 9}} และ P ( B ) = {∅, {5} , {6} , {5, 6}}
จะได P ( A) ∩ P ( B ) = {∅}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 173

2) จาก A = {8, 9} และ B = {5, 6}


จะได A∩ B =∅
ดังนั้น P ( A ∩ B) =
{∅}
3) จาก P ( A) ={∅, {8} , {9} , {8, 9}} และ P ( B ) = {∅, {5} , {6} , {5, 6}}
จะได {∅, {5} , {6} , {8} , {9} , {5, 6} , {8, 9}}
P ( A) ∪ P ( B ) =
4) จาก A = {8, 9}
จะได A′ = {5, 6, 7}
ดังนั้น P ( A′ ) = {∅, {5} , {6} , {7} , {5, 6} , {5, 7} , {6, 7} , {5, 6, 7}}
6. 1) A จ 2) ∅

3) U จ 4) A

5) A จ 6) U
7. 1) เนื่องจาก A ∪ ( B − A ) = A ∪ ( B ∩ A′ )
= ( A ∪ B ) ∩ ( A ∪ A′ )
= ( A ∪ B) ∩U
= A∪ B
ดังนั้น A ∪ B = A ∪ ( B − A)
2) เนื่องจาก A − ( A ∩ B) = A ∩ ( A ∩ B )′
= A ∩ ( A′ ∪ B′ )
= ( A ∩ A′ ) ∪ ( A ∩ B′ )
= ∅ ∪ ( A ∩ B′ )
= A ∩ B′
ดังนั้น A ∩ B′ = A − ( A ∩ B )
3) เนื่องจาก U − ( A ∪ B) = U ∩ ( A ∪ B )′
= U ∩ ( A′ ∩ B′ )
= A′ ∩ B′
ดังนั้น A′ ∩ B′ = U − ( A ∪ B )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
174 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8. 1) A′ ∩ B ก จ 2) ( A ∩ B′ )′
U U
A B A B

3) ( A ∪ B′ )′ ก

A B U

9. 1) A ∪ ( A − B) ก 2) ( A′ ∩ B ) ∩ C
U U
A A
B B

C C

3) ( A − B )′ ∩ C ก 4) A ∪ (C′ − B )
U U
A A
B B

C C

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 175

5) ( A ∩ B′ ) ∪ C ก 6) A′ ∩ ( C ′ ∩ B )
U U
A
A
B
B

C C

7) A ∪ ( C ′ ∩ B )′ ก
U
A
B

10. 1) { 0, 2, 4, 7, 9, 12, 14 } จ 2) { 1, 4, 6, 9, 12, 15 }


3) { 1, 4, 5, 7, 11, 12 } จ 4) { 4, 9, 12 }
5) { 1, 4, 12 } จ 6) { 4, 7, 12 }
7) { 0, 2, 7, 14 } จ 8) { 1, 5, 6, 11, 15 }
11. จาก A∩ B =∅
1) เขียนแผนภาพแสดง A และ B′ ไดดังนี้
A B U A B U

จากแผนภาพ จะเห็นวา A ⊂ B′
ดังนั้น ขอความ “ A ⊂ B′ ” เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
176 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) เขียนแผนภาพแสดง B และ A′ ไดดังนี้


U U
A B A B

จากแผนภาพ จะเห็นวา B ⊂ A′
ดังนั้น ขอความ “ B ⊂ A′ ” เปนจริง
3) เขียนแผนภาพแสดง A′, B′ และ A′ ∪ B′ ไดดังนี้
A B U A B U A B U

จากแผนภาพ จะเห็นวา A′ ∪ B′ = U
ดังนั้น ขอความ “ A′ ∪ B′ =
U ” เปนจริง
12. จาก A⊂ B
1) เขียนแผนภาพแสดง A∪ B ไดดังนี้
B U
A

จากแผนภาพ จะเห็นวา A ∪ B = B

ดังนั้น ขอความ “ A ∪ B =
B ” เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 177

2) เขียนแผนภาพแสดง A ∩ B ไดดังนี้
B U
A

จากแผนภาพ จะเห็นวา A ∩ B = A

ดังนั้น ขอความ “ A ∩ B =A ” เปนจริง

3) เขียนแผนภาพแสดง B′ และ A′ ไดดังนี้


B U B U
A A

B′ A′

จากแผนภาพ จะเห็นวา B′ ⊂ A′
ดังนั้น ขอความ “ B′ ⊂ A′ ” เปนจริง
4) เขียนแผนภาพแสดง A ∩ B′ ไดดังนี้
B U

จากแผนภาพ จะเห็นวา A ∩ B′ = ∅
ดังนั้น ขอความ “ A ∩ B′ =
∅ ” เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
178 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) เขียนแผนภาพแสดง A′ ∪ B

B U

จากแผนภาพ จะเห็นวา A′ ∪ B = U
ดังนั้น ขอความ “ A′ ∪ B =
U ” เปนจริง
13. ให A และ B เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน คือ x ตัว
นั่นคือ n=( A) n= ( B) x
จากโจทย n ( A ∩ B ) = 101 และ n ( A ∪ B ) =233
จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
จะได 233 = x + x − 101
2x = 233 + 101
นั่นคือ x = 167
ดังนั้น n ( A) = 167
14.ดให U แทนเซตของผูป  วยที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของผูป  วยที่เปนโรคตา
B แทนเซตของผูป วยที่เปนโรคฟน
A∩ B แทนเซตของผูป วยที่เปนทั้งสองโรค
A′ ∩ B′ แทนเซตของผูป วยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน
จะได n (U ) = 100
n ( A ) = 40
n ( B ) = 20
n( A ∩ B) = 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 179

วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
U
A B

35 5 15

45

จากแผนภาพ จะไดวามีผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน 45%


วิธีที่ 2 เนื่องจาก A′ ∩ B′ = ( A ∪ B )′

นั่นคือ เซตของผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน คือ ( A ∪ B )′


จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
จะได n ( A ∪ B ) = 40 + 20 − 5
= 55
จาก n ( A ∪ B )′ = n (U ) − n ( A ∪ B )

จะได = 100 − 55
= 45
ดังนั้น มีผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน 45%
15. ให U แทนเซตของลูกคาที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ
B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดแขวนเพดาน
A∩ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมทั้งสองชนิด
จะได n (U ) = 100
n ( A ) = 60
n ( B ) = 45
n ( A ∩ B ) = 15

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
180 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
U
A B

45 15 30

10

จากแผนภาพ จะไดวา
1) มีลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิดนี้ 10%
2) มีลูกคาทีใ่ ชพัดลมเพียงชนิดเดียวเทากับ 45% + 30% = 75%
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
จะได n ( A ∪ B ) = 60 + 45 − 15
= 90
มีลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิดนี้เทากับ 100% – 90% = 10%
1)
2) มีลูกคาทีใ่ ชพัดลมชนิดเดียวเทากับ 90% – 15% = 75%
16. ให U แทนเซตของรถที่เขามาซอมที่อูของแดน
A แทนเซตของรถที่ตองซอมเบรก
B แทนเซตของรถที่ตองซอมระบบทอไอเสีย
A∪ B แทนเซตของรถที่ตองซอมเบรกหรือระบบทอไอเสีย
( A ∪ B )′ แทนเซตของรถที่มีสภาพปกติ
A∩ B แทนเซตของรถที่ตองซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย
จะได n (U ) = 50
n ( A ) = 23
n ( B ) = 34
n ( A ∪ B )′ = 6
นั่นคือ n ( A ∪ B ) = 50 − 6 = 44

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 181

วิธีที่ 1 ให x แทนจํานวนรถที่ตองซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย


นั่นคือ n ( A ∩ B ) =
x
นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
U
A B

23 – x x 34 – x

1) จากแผนภาพ จะไดวา 44 = ( 23 − x ) + x + ( 34 − x )
44 = 57 − x
จะได x = 13
ดังนั้น มีรถที่ตอ งซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย 13 คัน
2) จากแผนภาพ จะไดวามีรถที่ตองซอมเบรกแตไมตองซอมระบบทอไอเสีย
เทากับ 23 – 13 = 10 คัน
วิธีที่ 2 1) จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
จะได 44 = 23 + 34 − n ( A ∩ B )

n ( A ∩ B ) = 23 + 34 − 44
นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 13
ดังนั้น มีรถที่ตอ งซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย 13 คัน
2) มีรถที่ตองซอมเบรกแตไมตองซอมระบบทอไอเสีย เทากับ 23 – 13 = 10 คัน
17. ให U แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางรถไฟ
B แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางรถยนต
C แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางเรือ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
182 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

A∩ B แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางรถไฟและรถยนต
B ∩C แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางรถยนตและเรือ
A∩C แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางรถไฟและเรือ
A∩ B ∩C แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทั้งทางรถไฟ รถยนต และเรือ
( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงอื่น ๆ ที่ไมใชทางรถไฟ รถยนต หรือเรือ
A∪ B ∪C แทนเซตของผูใ ชบริการขนสงทางรถไฟ รถยนต หรือเรือ
จะได n ( A ) = 100
n ( B ) = 150
n ( C ) = 200
n ( A ∩ B ) = 50
n ( B ∩ C ) = 25
n( A ∩ C) = 0
n( A ∩ B ∩ C) = 0
n ( A ∪ B ∪ C )′ = 30
วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
U
A B
50
50 75
0
0 25

175
C
30

จากแผนภาพ จะไดวามีผูใชบริการขนสงทีเ่ ขารวมการสํารวจทั้งหมด เทากับ


50 + 50 + 75 + 25 + 175 + 30 = 405 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 183

วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )
−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 100 + 150 + 200 – 50 – 0 – 25 + 0
= 375
จาก n ( A ∪ B ∪ C )′ = 30

จะได n (U ) = n ( A ∪ B ∪ C ) + n ( A ∪ B ∪ C )′
= 375 + 30
= 405
ดังนั้น มีผูใชบริการขนสงที่เขารวมการสํารวจทั้งหมด 405 คน
18. ให U แทนเซตของคนทํางานที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเดินปา
B แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการไปทะเล
C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเลนสวนน้ํา
A∩ B แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเดินปาและการไปทะเล
A ∩ C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเดินปาและการเลนสวนน้ํา
B ∩ C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการไปทะเลและการเลนสวนน้ํา
A ∩ B ∩ C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบทั้งการเดินปา การไปทะเล และการเลนสวนน้ํา
จะได n ( A ) = 35
n ( B ) = 57
n ( C ) = 20
n( A ∩ B) = 8
n ( A ∩ C ) = 15
n(B ∩ C) = 5
n( A ∩ B ∩ C) = 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
184 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
U
A B
5
15 47
3
12 2

3
C
13

จากแผนภาพ จะไดวา
1) มีคนที่ชอบการไปทะเลหรือชอบการเลนสวนน้ํา เทากับ
5% + 47% + 12% + 3% + 2% + 3% =
72%
2) มีคนที่ชอบการเดินปาหรือชอบการไปทะเล เทากับ
15% + 5% + 47% + 12% + 3% + 2% =
84%
มีคนที่ชอบทํากิจกรรมเพียงอยางเดียว เทากับ 15% + 47% + 3% =
3) 65%
4) มีคนที่ไมชอบการเดินปา หรือไปทะเล หรือเลนสวนน้ํา 13%
19. ให U แทนเซตของประชาชนที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของคนที่ชอบทุเรียน
B แทนเซตของคนที่ชอบมังคุด
C แทนเซตของคนที่ชอบมะมวง
A∩ B แทนเซตของคนที่ชอบทุเรียนและมังคุด
B ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบมังคุดและมะมวง
A ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบทุเรียนและมะมวง
A ∩ B ∩ C แทนเซตของคนที่ชอบผลไมทั้งสามชนิดนี้
จะได n ( A ) = 720
n ( B ) = 605
n ( C ) = 586
n ( A ∩ B ) = 483

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 185

n ( B ∩ C ) = 470
n ( A ∩ C ) = 494
n ( A ∩ B ∩ C ) = 400
นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
U
A B
83
143 52
400
94 70

22
C
136

จากแผนภาพ จะไดวา
1) มีคนที่ชอบมังคุดอยางเดียว 52 คน
2) มีคนที่ชอบผลไมอยางนอยหนึ่งชนิดในสามชนิดนี้ เทากับ
143 + 83 + 52 + 94 + 400 + 70 + 22 = 864 คน
3) มีคนที่ไมชอบผลไมชนิดใดเลยในสามชนิดนี้ 136 คน
20. ให U แทนเซตของนักเรียนที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของนักเรียนที่ชอบวิชาคณิตศาสตร
B แทนเซตของนักเรียนที่ชอบวิชาฟสิกส
C แทนเซตของนักเรียนที่ชอบวิชาภาษาไทย

( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของนักเรียนที่ไมชอบวิชาใดเลยในสามวิชานี้
จะได n ( A ) = 56
n ( B ) = 47
n ( C ) = 82
n ( A ∪ B ∪ C )′ = 4
นั่นคือ n ( A ∪ B ∪ C ) = 100 − 4 = 96

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
186 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ให x แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบวิชาคณิตศาสตรและฟสิกส แตไมชอบวิชาภาษาไทย


y แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย แตไมชอบวิชาฟสิกส
z แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบวิชาฟสิกสและภาษาไทย แตไมชอบวิชาคณิตศาสตร
k แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบทั้งสามวิชา
วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
A B U

56 – x – y – k x 47 – x – z – k

y k z

82 – y – z – k

C 4

จากแผนภาพ จะไดวา
96 = ( 56 − x − y − k ) + ( 47 − x − z − k ) + ( 82 − y − z − k ) + x + y + z + k
96 = 185 − x − y − z − 2k
89 = ( x + y + z ) + 2k
เนื่องจาก มีนักเรียนที่ชอบเพียง 2 วิชาเทานั้น จํานวน 71%
นั่นคือ x + y + z =71
จะได 89 = 71 + 2k
2k = 18
ดังนั้น k = 9
จะไดวา ( 56 − x − y − k ) + ( 47 − x − z − k ) + (82 − y − z − k )
= 185 − 2 x − 2 y − 2 z − 3k
= 185 − 2 ( x + y + z ) − 3k
= 185 − 2 ( 71) − 3 ( 9 )
= 185 − 142 − 27
= 16
ดังนั้น มีนักเรียนที่ชอบเพียงวิชาเดียวเทานั้น จํานวน 16 %

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 187

วิธีที่ 2 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้
A B U

y k z

C 4

เนื่องจาก มีนักเรียนที่ชอบเพียง 2 วิชาเทานั้น จํานวน 71%


นั่นคือ x + y + z =71
จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )
−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
จะได 96 = 56 + 47 + 82 − ( x + k ) − ( y + k ) − ( z + k ) + k
x + y + z + 2k = 89
71 + 2k = 89
2k = 18
k = 9
ดังนั้น มีนักเรียนที่ชอบเพียงวิชาเดียวเทานั้น เทากับ 96% – 9% – 71% = 16 %
21. ให U แทนเซตของคนกลุมนี้
X แทนเซตของคนที่มีแอนติเจน A
Y แทนเซตของคนที่มีแอนติเจน B
Z แทนเซตของคนที่มีแอนติเจน Rh
X ∩Y แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด AB
X −Y แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด A
Y−X แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด B
( X ∩ Z ) − Y แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด A +

(Y ∩ Z ) − X แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด B +

X ∩Y ∩ Z แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด AB +

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
188 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได n( X ) = n ( A+ ) + n ( A− ) + n ( AB + ) + n ( AB − ) = 29
n (Y ) = n ( B + ) + n ( B − ) + n ( AB + ) + n ( AB − ) = 39
n( X ∩Y ) ( ) (
= n AB + n AB
+ −
) = 9
n (( X ∩ Z ) − Y ) = n( A ) =
+
18
n ( (Y ∩ Z ) − X ) = n(B ) =+
29
n( X ∩Y ∩ Z ) = n ( AB ) = +
8
n ( Z − ( X ∪ Y )) = n (O ) =
+
40
นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B
1
2 1
8
18 29

40
C
1

จากแผนภาพ จะไดวามีคนกลุมนี้ 1% ทีม่ ีเลือดหมู O −

22. เขียน A , B และ C แบบแจกแจงสมาชิกไดดังนี้


U = {0, 2, 4, ... , 100} นั่นคือ n (U ) = 51
A = {0, 6, 12, ... , 96} นั่นคือ n ( A) = 17
B = {0, 4, 8, ... , 100} นั่นคือ n ( B ) = 26
C = {0, 10, 20, 30, ... , 100} นั่นคือ n ( C ) = 11
จะได A ∩ B แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 3 และ 4 ลงตัว
A ∩ C แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 3 และ 5 ลงตัว
B ∩ C แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 4 และ 5 ลงตัว
A ∩ B ∩ C แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ทีห ่ ารดวย 3, 4 และ 5 ลงตัว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 189

เขียน A ∩ B, A ∩ C , B ∩ C , A ∩ B ∩ C แบบแจกแจงสมาชิกไดดังนี้
A∩ B = {0, 12, 24, 36, 48, 60, 72, 84, 96} นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 9
A ∩ C = {0, 30, 60, 90} นั่นคือ n ( A ∩ C ) = 4
B ∩ C = {0, 20, 40, 60, 80, 100} นั่นคือ n ( B ∩ C ) = 6
A ∩ B ∩ C = {0, 60} นั่นคือ n ( A ∩ B ∩ C ) = 2
นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
U
A B
7
6 13
2
2 4

3
C
14

จากแผนภาพ จะไดวา
1) n ( B ∪ C ′ ) = 7 + 13 + 2 + 4 + 6 + 14 = 46
2) n ( A ∩ B ∩ C ′) =7
3) n ( A ∪ B ∪ C ) = 6 + 7 + 13 + 2 + 2 + 4 + 3 = 37

4) n ( A ∪ B ∪ C )′ =14

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
190 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

บทที่ 2 ตรรกศาสตรเบื้องตน

แบบฝกหัด 2.1
1. 1) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 2) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
3) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 4) ไมเปนประพจน
5) ไมเปนประพจน 6) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
7) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 8) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
9) ไมเปนประพจน 10) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
11) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 12) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
13) ไมเปนประพจน 14) ไมเปนประพจน
15) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 16) ไมเปนประพจน
17) ไมเปนประพจน 18) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
2. ตัวอยางคําตอบ
2 > 3 เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
∅ ∈ {1, 2, 3} เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
หนึ่งปมีสิบสองเดือน เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
4 เปนจํานวนอตรรกยะ เปนประพจน ที่มีคา ความจริงเปนเท็จ
เดือนมกราคม มี 31 วัน เปนประพจน ที่มีคา ความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 191

แบบฝกหัด 2.2
1. 1) 0 เปนจํานวนนับ และ 6 เปนจํานวนเต็ม มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ 0 เปนจํานวนนับ มีคาความจริงเปนเท็จ
2) 9 ไมเทากับ 10 หรือ 10 ไมนอ  ยกวา 9 มีคา ความจริงเปนจริง
เพราะ 9 ไมเทากับ 10 มีคาความจริงเปนจริง
3) 2 และ −1 เปนจํานวนจริง มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 2 เปนจํานวนจริง มีคาความจริงเปนจริง และ −1 เปนจํานวนจริง
มีคาความจริงเปนจริง
4) ถา 1∉{ 1, 2 } แลว 1 ⊂ { 1, 2 } มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 1∉{ 1, 2 } มีคาความจริงเปนเท็จ
5) 3 เปนจํานวนตรรกยะ และไมใชจํานวนจริง มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ 3 เปนจํานวนตรรกยะ มีคาความจริงเปนเท็จ
6) 2 เปน ห.ร.ม. ของ 4 และ 6 ก็ตอเมื่อ 2 หาร 4 + 6 ไมลงตัว มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ 2 เปน ห.ร.ม. ของ 4 และ 6 มีคาความจริงเปนจริง แต 2 หาร 4 + 6
ไมลงตัว มีคาความจริงเปนเท็จ
7) ถา 3 เปนจํานวนคี่ แลว 3 เปนจํานวนคี่ มีคาความจริงเปนจริง
2

เพราะ 3 เปนจํานวนคี่ มีคาความจริงเปนจริง และ 3 เปนจํานวนคี่


2

มีคาความจริงเปนจริง
8) 2 เปนจํานวนจริงหรือจํานวนอตรรกยะ มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 2 เปนจํานวนจริง มีคาความจริงเปนจริง
9) 13 เปนจํานวนเฉพาะ ก็ตอเมื่อ 13 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 13 มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 13 เปนจํานวนเฉพาะ มีคาความจริงเปนจริง และ 13 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 13
มีคาความจริงเปนจริง
10) ถา { 3 } ⊂ { 3, 4 } แลว 3 ∉{ 3, 4 } มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ { 3 } ⊂ { 3, 4 } มีคาความจริงเปนจริง แต 3 ∉{ 3, 4 } มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
192 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

11) ( 2 + 6) + 4 =
12 หรือ =12 2 ( 5 ) + 2 มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ ( 2 + 6 ) + 4 =
12 มีคาความจริงเปนจริง
12) ถาแมงมุมเปนแมลง แลวแมงมุมตองมี 6 ขา มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ แมงมุมเปนแมลง มีคาความจริงเปนเท็จ
13) งูเหาและงูจงอางเปนสัตวมีพิษ มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ งูเหาเปนสัตวมีพิษ มีคา ความจริงเปนจริง และ งูจงอางเปนสัตวมีพิษ
มีคาความจริงเปนจริง
14) โลมาหรือคนเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ โลมาเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนจริง
2. 1) นิเสธของประพจน 4 + 9 = 10 + 3 คือ 4 + 9 ≠ 10 + 3 มีคาความจริงเปนเท็จ
2) นิเสธของประพจน − 7 >/ 6 คือ − 7 > 6 มีคาความจริงเปนจริง
3) นิเสธของประพจน เซตของจํานวนนับที่เปนคําตอบของสมการ x 2 + 1 =0
เปนเซตวาง คือ เซตของจํานวนนับที่เปนคําตอบของสมการ x 2 + 1 =0 ไมเปน
เซตวาง มีคาความจริงเปนเท็จ
4) นิเสธของประพจน { 3, 4 } ∪ { 1, 3, 5 } = { 1, 3, 4, 5 } คือ
{ 3, 4 } ∪ { 1, 3, 5 } ≠ { 1, 3, 4, 5 } มีคาความจริงเปนเท็จ
5) นิเสธของประพจน {{ 2 }} ⊄ { 2 } คือ {{ 2 }} ⊂ { 2 } มีคาความจริงเปนเท็จ
6) นิเสธของประพจน − 3 + 6 ≤ − 3 + 6 คือ − 3 + 6 > − 3 + 6
มีคาความจริงเปนเท็จ
7) นิเสธของประพจน 15 ไมใชจํานวนจริง คือ 15 เปนจํานวนจริง มีคาความจริง
เปนจริง
8) นิเสธของประพจน วาฬเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม คือ วาฬไมเปนสัตวเลี้ยงลูก
ดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 193

3. ให pแทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชา”


และ q แทนประพจน “ฉันมาเรียนทันเวลา”
1)  p แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชา”
2) p →  q แทนประพจน “ถาฉันตื่นนอนแตเชา แลวฉันมาเรียนไมทันเวลา”
3) p ∧ q แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชาและฉันมาเรียนทันเวลา”
4) p ↔ q แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชาก็ตอเมื่อฉันมาเรียนทันเวลา”
5)  p ∨  q แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชาหรือฉันมาเรียนไมทน ั เวลา”
6)  p ∨ ( p → q ) แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชา หรือ ถาฉันตื่นนอนแตเชาแลว
ฉันมาเรียนทันเวลา”
4. ให p แทนประพจน “12 หารดวย 3 ลงตัว”
และ q แทนประพจน “ 4 − 3 < 2 ”
1)  p ∧ q มีคาความจริงเปนเท็จ 2) p ∨ q มีคาความจริงเปนจริง
3)  q → p มีคาความจริงเปนจริง 4)  p ↔ q มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
194 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.3
1. กําหนดให p, q, r, s และ t เปนประพจนมีคาความจริงเปน จริง เท็จ จริง เท็จ และเท็จ
ตามลําดับ
1) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p ∨ q เปนจริง
จาก p ∨ q เปนจริง และ r เปนจริง
ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ r มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ r มีคาความจริงเปนจริง
2) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ r เปนจริง จะได p ∧ r เปนจริง
ดังนั้น ( p ∧ r ) ∨ ( t ∧ s ) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∧ r ) ∨ ( t ∧ s ) มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 195

3) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p ∨  s เปนจริง


จาก r เปนจริง จะได q ∨ r เปนจริง
จาก p ∨  s เปนจริง และ q ∨ r เปนจริง
ดังนั้น ( p ∨  s ) ∧ ( q ∨ r ) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∨  s ) ∧ ( q ∨ r ) มีคาความจริงเปนจริง
4) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p ∧  q เปนจริง
จาก p ∧  q เปนจริง และ t เปนเท็จ
ดังนั้น ( p ∧  q ) ∧ t มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∧  q ) ∧ t มีคาความจริงเปนเท็จ
5) วิธีที่ 1 จาก r เปนจริง จะได r ∨  s เปนจริง
จาก r ∨  s เปนจริง และ p เปนจริง จะได  ( r ∨  s ) ∧ p เปนเท็จ
ดังนั้น    ( r ∨  s ) ∧ p  มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
196 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น    ( r ∨  s ) ∧ p  มีคาความจริงเปนจริง
6) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p∨  q เปนจริง
จาก r เปนจริง จะได r ∨ t เปนจริง
จาก p∨  q เปนจริง และ r ∨ t เปนจริง
ดังนั้น ( p∨  q ) → ( r ∨ t ) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p∨  q ) → ( r ∨ t ) มีคาความจริงเปนจริง
7) วิธีที่ 1 จาก q เปนเท็จ จะได  r ∧ q เปนเท็จ
จาก s เปนเท็จ จะได s ∧  t เปนเท็จ
จาก  r ∧ q เปนเท็จ และ s ∧  t เปนเท็จ
ดังนั้น (  r ∧ q ) ↔  ( s ∧  t ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 197

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น (  r ∧ q ) ↔  ( s ∧  t ) มีคาความจริงเปนเท็จ
8) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p → q เปนเท็จ
จาก r เปนจริง และ s เปนเท็จ จะได r → s เปนเท็จ
จาก p → q เปนเท็จ และ r → s เปนเท็จ
ดังนั้น ( p → q ) ↔ ( r → s ) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p → q ) ↔ ( r → s ) มีคาความจริงเปนจริง
9) วิธีที่ 1 จาก s เปนเท็จ จะได s ∧  p เปนเท็จ
จาก q เปนเท็จ จะได q →  r เปนจริง
จาก s ∧  p เปนเท็จ และ q →  r เปนจริง
ดังนั้น ( s ∧  p ) ↔ ( q → r ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
198 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( s ∧  p ) ↔ ( q → r ) มีคาความจริงเปนเท็จ
10) วิธีที่ 1 จาก r เปนจริง จะได q ∨ r เปนจริง
จาก q เปนเท็จ และ s เปนเท็จ จะได q ↔ s เปนเท็จ
จาก q ∨ r เปนจริง และ q ↔ s เปนเท็จ
ดังนั้น ( q ∨ r ) → ( q ↔  s ) มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( q ∨ r ) → ( q ↔  s ) มีคาความจริงเปนเท็จ
11) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p → q เปนเท็จ
จะได ( p → q ) ∧ ( t → r ) เปนเท็จ
ดังนั้น ( p → q ) ∧ ( t → r ) → s มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 199

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p → q ) ∧ ( t → r ) → s มีคาความจริงเปนจริง


12) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p ∨ q เปนจริง
จาก t เปนเท็จ และ s เปนเท็จ จะได t ∨ s เปนเท็จ
จาก p ∨ q เปนจริง และ t ∨ s เปนเท็จ จะได ( p ∨ q ) ∧ ( t ∨ s ) เปนเท็จ
จาก q เปนเท็จ จะได q → r เปนจริง
จาก q → r เปนจริง และ s เปนเท็จ จะได ( q → r ) →  s เปนจริง
จาก ( p ∨ q ) ∧ ( t ∨ s ) เปนเท็จ และ ( q → r ) →  s เปนจริง
ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ ( t ∨ s ) ∨ ( q → r ) →  s  มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ ( t ∨ s ) ∨ ( q → r ) →  s  มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
200 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน


1) จาก p ∧ q เปนจริง ดังนั้น p เปนจริง และ q เปนจริง
2) จาก p → q เปนเท็จ ดังนั้น p เปนจริง และ q เปนเท็จ
3) จาก p ∨ q เปนเท็จ จะได p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ
จะได p ∧  q เปนเท็จ
ดังนั้น ( p ∧  q ) → r มีคาความจริงเปนจริง
4) จาก p → r เปนเท็จ จะได p เปนจริง และ r เปนเท็จ
จาก r เปนเท็จ ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ r มีคาความจริงเปนเท็จ
5) จาก ( p ∧ q ) → (  r ∨ s ) เปนเท็จ
จะได p ∧ q เปนจริง และ  r ∨ s เปนเท็จ
จาก p ∧ q เปนจริง จะได p เปนจริง และ q เปนจริง
จาก  r ∨ s เปนเท็จ จะได r เปนจริง และ s เปนเท็จ
จาก p เปนจริง จะได  p ∧ r เปนเท็จ
จาก s เปนเท็จ จะได q ∧ s เปนเท็จ
ดังนั้น (  p ∧ r ) ↔ ( q ∧ s ) มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 201

แบบฝกหัด 2.4
1. ประพจน p ∨ ( q → p ) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ p และ q
จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ p ∨ ( q → p ) ดังนี้
p q q→ p p ∨ (q → p)
T T T T
T F T T
F T F F
F F T T

2. ประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p∨  q ) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ p และ q


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ ( p∨  q ) ดังนี้
p q q p∨q p∨  q ( p ∨ q ) ∧ ( p∨  q )
T T F T T T
T F T T T T
F T F T F F
F F T F T F

3. ประพจน p → (  p → q ) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ p และ q


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ p → (  p → q ) ดังนี้
p q p  p→q p → ( p → q)
T T F T T
T F F T T
F T T T T
F F T F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
202 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. ประพจน ( q∨  q ) ↔ r ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ q และ r


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( q∨  q ) ↔ r ดังนี้
q r q q∨  q ( q∨  q ) ↔ r
T T F T T
T F F T F
F T T T T
F F T T F

5. ประพจน  q ↔  p ∧ ( q → p ) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน


คือ p และ q จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ  q ↔  p ∧ ( q → p ) ดังนี้
p q p q q → p p ∧ ( q → p )  q ↔  p ∧ ( q → p ) 
T T F F F F T
T F F T T T T
F T T F T F T
F F T T T F F

6. ประพจน ( q ∧ r ) → ( r ∨ p ) ประกอบดวยประพจนยอยสามประพจน คือ p, q และ r


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 8 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( q ∧ r ) → ( r ∨ p ) ดังนี้
p q r q∧r r∨ p (q ∧ r ) → (r ∨ p)
T T T T T T
T T F F T T
T F T F T T
T F F F T T
F T T T T T
F T F F F T
F F T F T T
F F F F F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 203

แบบฝกหัด 2.5
1. 1) ตัวอยางคําตอบ
ให p แทน “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
q แทน “ 2 เปนจํานวนจริง”
จะได p ↔ q แทน “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง”
แนวการตอบที่ 1
เนื่องจาก p ↔ q สมมูลกับ q ↔ p
ดังนั้น “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง” สมมูลกับ
“ 2 เปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
แนวการตอบที่ 2
เนื่องจาก p ↔ q สมมูลกับ ( p → q ) ∧ ( q → p )
ดังนั้น “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง” สมมูลกับ
“ถา 2 เปนจํานวนตรรกยะ แลว 2 เปนจํานวนจริง และ ถา 2 เปน
จํานวนจริง แลว 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
2) ตัวอยางคําตอบ
ให p แทน “ภพเปนนักเรียน”
q แทน “ภูมิเปนนักเรียน”
r แทน “ภัทรเปนนักเรียน”
จะได ( p ∨ q ) ∧ ( p ∨ r ) แทน “ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทร
เปนนักเรียน”
แนวการตอบที่ 1
เนื่องจาก ( p ∨ q ) ∧ ( p ∨ r ) สมมูลกับ ( p ∨ r ) ∧ ( p ∨ q )
ดังนั้น “ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทรเปนนักเรียน” สมมูลกับ
“ภพหรือภัทรเปนนักเรียน และ ภพหรือภูมิเปนนักเรียน”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
204 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แนวการตอบที่ 2
เนื่องจาก ( p ∨ q ) ∧ ( p ∨ r ) สมมูลกับ p ∨ ( q ∧ r )
ดังนั้น “ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทรเปนนักเรียน” สมมูลกับ
“ภพเปนนักเรียน หรือ ภูมิและภัทรเปนนักเรียน”

2. 1) p↔q ≡ ( p → q) ∧ (q → p)
≡ (  q → p ) ∧ (  q ∨ p )
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)
2) ( p → q) → r ≡  ( p → q) ∨ r
≡  ( p ∨ q) ∨ r
≡ ( p∧  q ) ∨ r
≡ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r )
≡ ( p → r ) ∧ (q → r )
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ก)
3) ( p → r ) ∧ (q → r ) ≡ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r )
≡ (  p∧  q ) ∨ r
≡  ( p ∨ q) ∨ r
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)
4) p →  (q → p) ≡ p →  ( q ∨ p)
≡  p∨  (  q ∨ p )
≡  p ∨ ( q∧  p )
≡  p ∨ ( p ∧ q)
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ก)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 205

5)  p →  q → ( r ∨ p )  ≡  p →   q ∨ ( r ∨ p ) 
≡ p ∨ ( q ∨ r ∨ p)
≡ ( p ∨ p) ∨ ( q ∨ r )
≡ p ∨ ( q ∨ r )
≡ ( p∨  q ) ∨ r
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)
6)  ( p ∧ q ) → (  q ∨ r )  ≡    ( p ∧ q ) ∨ (  q ∨ r ) 
≡  (  p ∨  q ) ∨ (  q ∨ r ) 
≡    p ∨ (  q ∨  q ) ∨ r 
≡  (  p∨  q ∨ r )
≡    p ∨ ( q → r ) 
≡ p∧  ( q → r )
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)
3. 1) สรางตารางคาความจริงของ p ∧ q กับ  p ∧  q ไดดังนี้
p q p q p∧q  p∧  q
T T F F T F
T F F T F F
F T T F F F
F F T T F T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p ∧ q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ  p∧  q
ดังนั้น p ∧ q กับ  p ∧  q ไมเปนนิเสธกัน
2) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p ∨ q กับ  p ∧  q ไดดังนี้
p q p q p∨q  p∧  q
T T F F T F
T F F T T F
F T T F T F
F F T T F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
206 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวาคาความจริงของ p ∨ q ตรงขามกับคาความจริงของ  p∧  q ทุกกรณี


ดังนั้น p ∨ q กับ  p ∧  q เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p ∨ q ) เปนนิเสธของ p ∨ q
และ  ( p ∨ q ) สมมูลกับ  p ∧  q
จะได  p ∧  q เปนนิเสธของ p ∨ q
ดังนั้น p ∨ q กับ  p ∧  q เปนนิเสธกัน
3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → q กับ p ∧  q ไดดังนี้
p q q p→q p∧  q
T T F T F
T F T F T
F T F T F
F F T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ p → q ตรงขามกับคาความจริงของ p∧  q ทุกกรณี


ดังนั้น p → q กับ p ∧  q เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p → q ) เปนนิเสธของ p → q
และ  ( p → q ) ≡  (  p ∨ q )
≡ p ∧ q
จะได p ∧  q เปนนิเสธของ p → q
ดังนั้น p → q กับ p ∧  q เปนนิเสธกัน
4) สรางตารางคาความจริงของ p → q กับ  p →  q ไดดังนี้
p q p q p→q  p→q
T T F F T T
T F F T F T
F T T F T F
F F T T T T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p → q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ  p → q
ดังนั้น p → q กับ  p →  q ไมเปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 207

5) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p↔q กับ ( p ∧  q ) ∨ ( q ∧  p ) ไดดังนี้


p q p q p↔q p∧  q q∧  p ( p∧  q ) ∨ ( q∧  p )
T T F F T F F F
T F F T F T F T
F T T F F F T T
F F T T T F F F

จะเห็นวาคาความจริงของ p ↔ q ตรงขามกับคาความจริงของ
( p ∧  q ) ∨ ( q ∧  p ) ทุกกรณี
ดังนั้น p ↔ q กับ ( p ∧  q ) ∨ ( q ∧  p ) เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p ↔ q ) เปนนิเสธของ p ↔ q
และ  ( p ↔ q ) ≡  ( p → q ) ∧ ( q → p )
≡  (  p ∨ q ) ∧ (  q ∨ p ) 
≡  ( p ∨ q)∨  ( q ∨ p)
≡ ( p∧  q ) ∨ ( q∧  p )
จะได ( p ∧  q ) ∨ ( q ∧  p ) เปนนิเสธของ p ↔ q
ดังนั้น p ↔ q กับ ( p ∧  q ) ∨ ( q ∧  p ) เปนนิเสธกัน
6) ให p แทน “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
และ q แทน “ 3 เปนจํานวนตรรกยะ”
จะได p ∨ q แทน “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนตรรกยะ”
และ  p∨  q แทน “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนอตรรกยะ”
สรางตารางคาความจริงของ p ∨ q กับ  p∨  q ไดดังนี้
p q p q p∨q  p∨  q
T T F F T F
T F F T T T
F T T F T T
F F T T F T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p∨q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ  p∨  q

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
208 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น p ∨ q กับ  p∨  q ไมเปนนิเสธกัน


นั่นคือ “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนตรรกยะ” กับ “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนอตรรกยะ”
ไมเปนนิเสธกัน
7) ให p แทน “ 2 + 1 =3 ”
และ q แทน “3 เปนจํานวนนับ”
จะได p → q แทน “ถา 2 + 1 =3 แลว 3 เปนจํานวนนับ”
และ  q ∧ p แทน “3 ไมใชจํานวนนับ แต 2 + 1 =3 ”
วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → q กับ  q ∧ p ไดดังนี้
p q q p→q q∧ p
T T F T F
T F T F T
F T F T F
F F T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ p → q ตรงขามกับคาความจริงของ  q ∧ p ทุกกรณี


ดังนั้น p → q กับ  q ∧ p เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ถา 2 + 1 =3 แลว 3 เปนจํานวนนับ” กับ “3 ไมใชจํานวนนับ
แต 2 + 1 =3 ” เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p → q ) เปนนิเสธของ p → q
และ  ( p → q ) ≡  (  p ∨ q )
≡ p∧  q
≡ q∧ p
จะได  q ∧ p เปนนิเสธของ p → q
ดังนั้น p → q กับ  q ∧ p เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ถา 2 + 1 =3 แลว 3 เปนจํานวนนับ” กับ “3 ไมใชจํานวนนับ
แต 2 + 1 =3 ” เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 209

8) ให p แทน “4 เปนจํานวนคู”


และ q แทน “4 เปนจํานวนเต็ม”
จะได p ∧ q แทน “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม”
และ  p∨  q แทน “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใชจํานวนเต็ม”
วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p ∧ q กับ  p∨  q ไดดังนี้
p q p q p∧q  p∨  q
T T F F T F
T F F T F T
F T T F F T
F F T T F T

จะเห็นวาคาความจริงของ p ∧ q ตรงขามกับคาความจริงของ  p∨  q ทุกกรณี


ดังนั้น p ∧ q กับ  p∨  q เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม” กับ “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใช
จํานวนเต็ม” เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p ∧ q ) เปนนิเสธของ p ∧ q
และ  ( p ∧ q ) สมมูลกับ  p∨  q
จะได  p∨  q เปนนิเสธของ p ∧ q
ดังนั้น p ∧ q กับ  p∨  q เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม” กับ “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใช
จํานวนเต็ม” เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
210 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.6
1. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) → p  → p ไดดังนี้
p q p→q ( p → q) → p ( p → q ) → p  → p
T T T T T
T F F T T
F T T F T
F F T F T
จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p → q ) → p  → p เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) → p  → p เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p → q ) → p  → p มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → q ) → p  → p เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) → p  → p เปนสัจนิรันดร
2. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ  ( p → q ) → q ไดดังนี้
p q p→q  ( p → q) q  ( p → q) → q
T T T F F T
T F F T T T
F T T F F T
F F T F T T
จะเห็นวารูปแบบของประพจน  ( p → q ) → q เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p → q ) → q เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 211

วิธีที่ 2 สมมติให  ( p → q ) → q มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา  ( p → q ) → q เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p → q ) → q เปนสัจนิรันดร
3. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ   ( p → q ) → (  p ↔ q ) ไดดังนี้
p q p p→q  ( p → q)  p↔q   ( p → q )  → (  p ↔ q )
T T F T F F T
T F F F T T T
F T T T F T T
F F T T F F T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน   ( p → q ) → (  p ↔ q ) เปนจริงทุกกรณี


นั่นคือ รูปแบบของประพจน   ( p → q ) → (  p ↔ q ) เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให   ( p → q ) → (  p ↔ q ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
212 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะได p เปนจริง และ q เปนเท็จ


ดังนั้น  p ↔ q เปนจริง แตจากแผนภาพ  p ↔ q เปนเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา   ( p → q ) → (  p ↔ q ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน   ( p → q ) → (  p ↔ q ) เปนสัจนิรันดร
4. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ  ( p ∧ q ) →  ( p ↔ q ) ไดดังนี้
p q p∧q  ( p ∧ q) p↔q  ( p ↔ q)   ( p ∧ q )  →   ( p ↔ q ) 
T T T F T F T
T F F T F T T
F T F T F T T
F F F T T F F

จะเห็นวากรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ


จะไดวารูปแบบของประพจน  ( p ∧ q ) →  ( p ↔ q ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p ∧ q ) →  ( p ↔ q ) ไมเปนสัจนิรนั ดร
วิธีที่ 2 สมมติให  ( p ∧ q ) →  ( p ↔ q ) มีคาความจริงเปนเท็จ

จากแผนภาพ การหาคาความจริงของ p และ q จะพิจารณาจาก p ↔ q


ซึ่งมีคาความจริงเปนจริง ทําใหคาความจริงของ p และ q มีได 2 กรณีคือ
เปนจริงทั้งคู หรือเปนเท็จทั้งคู
แตเนื่องจาก p ∧ q เปนเท็จ แสดงวา p และ q ตองเปนเท็จทั้งคู
จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ
ที่ทําให  ( p ∧ q ) →  ( p ↔ q ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p ∧ q ) →  ( p ↔ q ) ไมเปนสัจนิรนั ดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 213

5. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) ไดดังนี้


p q r p→q q→r p→r ( p → q) ∧ (q → r ) ( p → q ) ∧ ( q → r )  → ( p → r )
T T T T T T T T
T T F T F F F T
T F T F T T F T
T F F F T F F T
F T T T T T T T
F T F T F T F T
F F T T T T T T
F F F T T T T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนจริงทุกกรณี


ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
214 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.7
1. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดในแตละขอวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
1) สมมติให ( p ∧ q ) ∧ ( p → ( q → r ) )  → r เปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∧ q ) ∧ ( p → ( q → r ) ) → r เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∧ q ) ∧ ( p → ( q → r ) ) → r เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
2) สมมติให ( p → ( q ∨ r ) ) ∧ (  q∨  r ) → p เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนจริง q เปนจริง และ r เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 215

ที่ทําให ( p → ( q ∨ r ) ) ∧ (  q∨  r ) → p เปนเท็จ


นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → ( q ∨ r ) ) ∧ (  q∨  r ) → p ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
3) สมมติให ( p ∨ q ) ∧ (  p ∨ r ) ∧  r  → p เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ


ที่ทําให ( p ∨ q ) ∧ (  p ∨ r ) ∧  r  → p เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ (  p ∨ r ) ∧  r  → p ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
4) สมมติให (  p → q ) ∧ p ∧ r  →  q เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนจริง q เปนจริง และ r เปนจริง


ที่ทําให (  p → q ) ∧ p ∧ r  →  q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน (  p → q ) ∧ p ∧ r  →  q ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
216 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) สมมติให ( p →  q ) ∧ ( r ∨ p ) ∧ q ∧ ( r → s ) → s เปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q และ  q เปนจริงทั้งคู
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p →  q ) ∧ ( r ∨ p ) ∧ q ∧ ( r → s ) → s เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p →  q ) ∧ ( r ∨ p ) ∧ q ∧ ( r → s ) → s เปนสัจนิรนั ดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
2. 1) ให p แทนประพจน “พัฒนาชอบสีฟา”
q แทนประพจน “พัฒนีชอบสีชมพู”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ∨ q
2.  p
ผล  q
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p ∨ q ) ∧  p  →  q
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ∨ q ) ∧  p  →  q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 217

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนจริง


ที่ทําให ( p ∨ q ) ∧  p  →  q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧  p  →  q ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
2) ให p แทนประพจน “โชคสรางบานหลังใหมเสร็จ”
q แทนประพจน “ครอบครัวของโชคยายมาอยูดวย”
r แทนประพจน “โชคไดดูแลพอแมที่ชราแลว”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p → q
2. q → r
ผล p → r
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ
( p → q ) ∧ ( q → r )  → ( p → r )
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p → r ) เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
218 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3) ให pแทนประพจน “ชัยทํายอดขายตามเปาหมายที่ผูจัดการตั้งไว”


q แทนประพจน “ชัยไดรับโบนัส”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p → q
2. p
ผล q
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p → q ) ∧ p  → q
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p → q ) ∧ p  → q เปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ p  → q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ p  → q เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
4) ให p แทนประพจน “อิงฟาซื้อกระเปาถือสีดํา”
q แทนประพจน “อิงฟาซื้อรองเทาสีดํา”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p → q
2. q
ผล p
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p → q ) ∧ q  → p

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 219

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p → q ) ∧ q  → p เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนจริง


ที่ทําให ( p → q ) ∧ q  → p เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ q  → p ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
5) ให p แทนประพจน “มะนาวพบคนพิการที่ขายสลากกินแบงรัฐบาล”
q แทนประพจน “มะนาวซื้อสลากกินแบงรัฐบาล”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p → q
2.  q
ผล  p
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p → q ) ∧  q  →  p
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p → q ) ∧  q  →  p เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
220 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧  q  →  p เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧  q  →  p เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 221

แบบฝกหัด 2.8
1. ไมใชทั้งประพจนและประโยคเปด
2. เปนประพจน
3. เปนประโยคเปด
4. เปนประโยคเปด
5. ไมเปนทั้งประพจนและประโยคเปด
6. ไมเปนทั้งประพจนและประโยคเปด
7. เปนประโยคเปด
8. เปนประพจน
9. เปนประพจน
10. เปนประโยคเปด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
222 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.9
1. ให U = 
1) ∀x [ x ∈  → x ⋅ 1 =x ] 2) ∃x  x 2 =
2 
3) ∃x [| x | +1 ≤ 1] 4) ∀x [ x ∈  → x ∈  ]
2. 1) สําหรับจํานวนจริง x ทุกจํานวน ถา x < 2 แลว x < 4 2

2) สําหรับจํานวนจริง y ทุกจํานวน y − 4 = ( y − 2 )( y + 2 )
2

3) มีจํานวนจริง y ซึ่ง 2 y + 1 =0
4) สําหรับจํานวนจริง x บางจํานวน ถา x เปนจํานวนตรรกยะ แลว x2 = 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 223

แบบฝกหัด 2.10
1. ∀x  x 2 > 8 เปนเท็จ เมื่อ U= { − 1, 0, 2 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน x 2 > 8 จะไดประพจนที่เปนเท็จ
2. ∃x [ x < 0] เปนเท็จ เมื่อ U = { 0, 4, 7 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0, 4 หรือ 7 ใน x < 0 จะไดประพจนที่เปนเท็จเสมอ
3. ∃x  x ≥ 0  เปนจริง เมื่อ U = 
2

เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน x ≥ 0 จะไดประพจนที่เปนจริง


2

4. ∀x [ x + 1 = 4] เปนเท็จ เมื่อ U = { 1, 2, 3, 4 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน x + 1 =4 จะไดประพจนที่เปนเท็จ
5. ∃x [5 + x ≠ 5] เปนจริง เมื่อ U = 
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน 5 + x ≠ 5 จะไดประพจนที่เปนจริง
6. ∀x [ x เปนจํานวนอตรรกยะ] เปนเท็จ เมื่อ U = 
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน x เปนจํานวนอตรรกยะ จะไดประพจนที่เปนเท็จ
7. ∀x [ถา x เปนจํานวนคี่ แลว x เปนจํานวนเฉพาะ] เปนเท็จ เมื่อ U = { 0, 1, 2, 3, 4,5 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน ถา x เปนจํานวนคี่ แลว x เปนจํานวนเฉพาะ
จะไดประพจนที่เปนเท็จ
8. ∃x [ x เปนจํานวนนับหรือเปนจํานวนเฉพาะ] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 2, 4, 6 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 2 ใน x เปนจํานวนนับหรือเปนจํานวนเฉพาะ
จะไดประพจนที่เปนจริง
9. ∀x [ x เปนจํานวนตรรกยะ] ∨ ∃x [ x เปนตัวประกอบของ 2] เปนจริง เมือ ่ U = { 0, 1, 2 }
เพราะวา ∀x [ x เปนจํานวนตรรกยะ] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
เนื่องจาก เมื่อแทน x ดวย 0, 1 หรือ 2 ใน x เปนจํานวนตรรกยะ
จะไดประพจนที่เปนจริงเสมอ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
224 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10. ∃x [ x 2 เปนจํานวนคู] ∧∀x [ถา x เปนจํานวนนับแลว 2x เปนจํานวนคู] เปนจริง


เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
เพราะวา ∃x [ x เปนจํานวนคู] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
2

เนื่องจาก เมื่อแทน x ดวย 2 ใน x เปนจํานวนคู จะไดประพจนที่เปนจริง


2

และ ∀x [ถา x เปนจํานวนนับ แลว 2x เปนจํานวนคู] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }


เนื่องจาก เมื่อแทน x ดวย 0, 1 หรือ 2 ใน ถา x เปนจํานวนนับ แลว 2x เปนจํานวนคู
จะไดประพจนที่เปนจริงเสมอ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 225

แบบฝกหัด 2.11
1. 1) ให P ( x ) แทน x > 0 และ Q ( x ) แทน x > 02

เนื่องจาก P ( x ) → Q ( x ) สมมูลกับ  P ( x ) ∨ Q ( x )
จะได ∀x  x > 0 → x > 0 สมมูลกับ ∀x  x ≤ 0 ∨ x > 0
2 2

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)


2) ให P ( x ) แทน x + 2 =5 และ Q ( x ) แทน x ∈ 
เนื่องจาก P ( x ) ∧ Q ( x ) สมมูลกับ Q ( x ) ∧ P ( x )
จะได ∃x [ x + 2 = 5 ∧ x ∈ ] สมมูลกับ ∃x [ x ∈  ∧ x + 2 =5]
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)
3) ให P ( x ) แทน x ≥ 0
เนื่องจาก ∀x  P ( x ) สมมูลกับ  ∃x   P ( x )
จะได ∀x [ x ≥ 0] สมมูลกับ  ∃x [ x < 0]
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)
4) ให P ( x ) แทน x = 4 และ Q ( x ) แทน x ≠ 16
เนื่องจาก  ∃x [ P( x) ∧ Q( x)] สมมูลกับ ∀x   ( P ( x ) ∧ Q ( x ) )
สมมูลกับ ∀x   P ( x ) ∨  Q ( x )
สมมูลกับ ∀x  P ( x ) →  Q ( x )
จะได  ∃x  x = 4 ∧ x ≠ 16 สมมูลกับ ∀x  x = 4 → x = 16
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)
5) ให P ( x ) แทน x ∈  และ Q ( x ) แทน x ∈ 
เนื่องจาก ∀x [ P( x)] → ∃x [Q( x)] สมมูลกับ  ∃x [Q( x)] →  ∀x [ P( x)]
สมมูลกับ ∀x [  Q( x)] → ∃x [  P( x)]
จะได ∀x [ x ∈] → ∃x [ x ∈] สมมูลกับ ∀x [ x ∉] → ∃x [ x ∉]
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
226 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6) ให P ( x ) แทน x + 2 > 5 และ Q ( x ) แทน x ≤ 0 2

เนื่องจาก  ( ∃x [ P( x)] ∧ ∃x [Q( x)]) สมมูลกับ  ∃x [ P( x)] ∨  ∃x [Q( x)]


สมมูลกับ ∀x [  P( x)] ∨ ∀x [  Q( x)]
จะได  ( ∃x [ x + 2 > 5] ∧ ∃x  x ≤ 0 ) สมมูลกับ ∀x [ x + 2 ≤ 5] ∨ ∀x  x 2 > 0
2

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)


7) ให P ( x ) แทน “x เปนจํานวนเฉพาะ”
ขอความที่กําหนดเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∃x   P ( x ) เมื่อ U เปนเซตของจํานวนคี่
เนื่องจาก ∃x   P ( x ) เมื่อ U เปนเซตของจํานวนคี่ สมมูลกับ  ∀x  P ( x ) 
เมื่อ U เปนเซตของจํานวนคี่
จะไดวา ขอความ “มีจํานวนคี่บางจํานวนไมใชจํานวนเฉพาะ” สมมูลกับขอความ
“ไมจริงที่วาจํานวนคี่ทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ”
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)
8) ให P ( x ) แทน “x เปนเซตจํากัด”
ขอความที่กําหนดเขียนแทนดวยสัญลักษณ  ∃x  P ( x ) เมื่อ U เปนเซตของสับเซต
ของเซตอนันต
เนื่องจาก  ∃x  P ( x ) เมื่อ U เปนเซตของสับเซตของเซตอนันต
สมมูลกับ ∀x   P ( x )  เมื่อ U เปนเซตของสับเซตของเซตอนันต
จะไดวา ขอความ “ไมจริงที่วามีสับเซตของเซตอนันตเปนเซตจํากัด” สมมูลกับขอความ
“สับเซตของเซตอนันตเปนเซตอนันต”
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)
2. 1) นิเสธของ ∃x [ x + 2 ≤ 0] เขียนแทนดวย  ∃x [ x + 2 ≤ 0] ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x + 2 > 0]
ดังนั้น นิเสธของ ∃x [ x + 2 ≤ 0] คือ ∀x [ x + 2 > 0]
2) นิเสธของ ∀x [ x ≠ 0] → ∃x [ x > 0] เขียนแทนดวย  ( ∀x [ x ≠ 0] → ∃x [ x > 0])
ซึ่งสมมูลกับ  (  ∀x [ x ≠ 0] ∨ ∃x [ x > 0]) และสมมูลกับ ∀x [ x ≠ 0] ∧ ∀x [ x ≤ 0]
ดังนั้น นิเสธของ ∀x [ x ≠ 0] → ∃x [ x > 0] คือ ∀x [ x ≠ 0] ∧ ∀x [ x ≤ 0]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 227

3) นิเสธของ ∀x  x 2 < 0 → x < 0 เขียนแทนดวย  ∀x  x 2 < 0 → x < 0


ซึ่งสมมูลกับ  ∀x   ( x < 0 ) ∨ x < 0 และสมมูลกับ ∃x  x 2 < 0 ∧ x ≥ 0
2

ดังนั้น นิเสธของ ∀x  x 2 < 0 → x < 0 คือ ∃x  x 2 < 0 ∧ x ≥ 0


4) นิเสธของ ∃x  x > 2 ∨  ( x + 1 ≥ 1) เขียนแทนดวย  ∃x  x > 2 ∨  ( x + 1 ≥ 1)
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ≤ 2 ∧ x + 1 ≥ 1]
ดังนั้น นิเสธของ ∃x  x > 2 ∨  ( x + 1 ≥ 1) คือ ∀x [ x ≤ 2 ∧ x + 1 ≥ 1]
5) นิเสธของ ∃x  P ( x ) ∧  Q ( x ) เขียนแทนดวย  ∃x  P ( x ) ∧  Q ( x )
ซึ่งสมมูลกับ ∀x   P ( x ) ∨ Q ( x )
ดังนั้น นิเสธของ ∃x  P ( x ) ∧  Q ( x ) คือ ∀x   P ( x ) ∨ Q ( x )
6) ให P ( x ) แทน “ x เปนจํานวนจริง”
ขอความที่กําหนดแทนดวยสัญลักษณ ∀x  P ( x ) , U =
โดยที่นิเสธของ ∀x  P ( x ) , U = เขียนแทนดวย  ∀x  P ( x ) , U =
ซึ่งสมมูลกับ ∃x   P ( x ) , U =
ดังนั้น นิเสธของขอความ “จํานวนตรรกยะทุกจํานวนเปนจํานวนจริง” คือ
“มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนที่ไมเปนจํานวนจริง”
7) ให P ( x ) แทน x เปนจํานวนจริง
ขอความที่กําหนดแทนดวยสัญลักษณ ∃x  P ( x ) , U =
โดยที่นิเสธของ ∃x  P ( x ) , U = เขียนแทนดวย  ∃x  P ( x ) , U =
ซึ่งสมมูลกับ ∀x   P ( x ) , U =
ดังนั้น นิเสธของขอความ “จํานวนเต็มบางจํานวนเปนจํานวนจริง” คือ
“จํานวนเต็มทุกจํานวนไมเปนจํานวนจริง”
8) ให P ( x ) แทน x ≤ 0
Q ( x ) แทน x ≠ 0
2

ขอความที่กําหนดแทนดวยสัญลักษณ ∃x  P ( x ) ∧ ∃x Q ( x )


โดยที่นิเสธของ ∃x  P ( x ) ∧ ∃x Q ( x ) เขียนแทนดวย  ( ∃x  P ( x ) ∧ ∃x Q ( x ) )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
228 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ซึ่งสมมูลกับ  ∃x  P ( x ) ∨  ∃x Q ( x )


แสะสมมูลกับ ∀x   P ( x ) ∨ ∀x   Q ( x )
ดังนั้น นิเสธของขอความ “จํานวนจริงบางจํานวนนอยกวาหรือเทากับศูนย และ
มีจํานวนจริงบางจํานวน เมื่อยกกําลังสองแลวไมเทากับศูนย” คือ “จํานวนจริง
ทุกจํานวนมากกวาศูนย หรือจํานวนจริงทุกจํานวนเมื่อยกกําลังสองแลวเทากับศูนย”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 229

แบบฝกหัดทายบท
1. 1) ไมเปนประพจน
2) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
3) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
4) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
5) ไมเปนประพจน
6) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
7) ไมเปนประพจน
8) ไมเปนประพจน
9) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
10) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
2. 1) นิเสธของประพจน −20 + 5 > −17 คือ −20 + 5 ≤ −17 มีคาความจริงเปนเท็จ
2) นิเสธของประพจน 37 ไมเปนจํานวนเฉพาะ คือ 37 เปนจํานวนเฉพาะ
มีคาความจริงเปนจริง
3) นิเสธของประพจน 2 ∈  คือ 2 ∉  มีคาความจริงเปนจริง
4) นิเสธของประพจน  ⊂  คือ  ⊄  มีคาความจริงเปนเท็จ
3. ตัวอยางคําตอบ
• π ไมเปนจํานวนตรรกยะ
• นิดาและนัดดาเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
• รูปสี่เหลี่ยมอาจเปนรูปสี่เหลีย่ มมุมฉากหรือรูปสี่เหลี่ยมดานขนานก็ได
• ถาน้ํามันดิบในตลาดโลกมีราคาสูงขึ้น แลวรัฐบาลไทยจะตรึงราคาขายปลีกน้ํามันไว
กอนเพื่อไมใหประชาชนตองเดือดรอน
• รูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทาก็ตอเมื่อรูปสามเหลี่ยม ABC
มีดานยาวเทากันทุกดาน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
230 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. จากประพจนที่กําหนดให จะไดวาประพจน p, q และ r มีคาความจริงเปนจริง จริง


และเท็จ ตามลําดับ
1) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p ∧ q เปนจริง
จาก p ∧ q เปนจริง และ r เปนเท็จ จะได ( p ∧ q ) ∨ r เปนจริง
ดังนั้น ( p ∧ q ) ∨ r มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∧ q ) ∨ r มีคาความจริงเปนจริง
2) วิธีที่ 1 จาก q เปนจริง จะได  q เปนเท็จ
จาก  q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ จะได  q ∨ r เปนเท็จ
จาก  q ∨ r เปนเท็จ และ p เปนจริง จะได (  q ∨ r ) ∧ p เปนเท็จ
ดังนั้น (  q ∨ r ) ∧ p มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

F F

F T

F
ดังนั้น (  q ∨ r ) ∧ p มีคาความจริงเปนเท็จ
3) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได  p เปนเท็จ
และจาก r เปนเท็จ จะได r ↔  p เปนจริง
ดังนั้น r ↔  p มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 231

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

F F

ดังนั้น r ↔  p มีคาความจริงเปนจริง
4) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได  p เปนเท็จ
จาก r เปนเท็จ จะได  r เปนจริง
จะได  p ∨  r เปนจริง
ดังนั้น  p ∨  r มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

T F

ดังนั้น  p ∨  r มีคาความจริงเปนจริง
5) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p ∧ q เปนจริง
จาก q เปนจริง และ r เปนเท็จ จะได q ∧ r เปนเท็จ
จาก p ∧ q เปนจริง และ q ∧ r เปนเท็จ
จะได ( p ∧ q ) → ( q ∧ r ) เปนเท็จ
ดังนั้น ( p ∧ q ) → ( q ∧ r ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
232 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p ∧ q ) → ( q ∧ r ) มีคาความจริงเปนเท็จ
5. 1) ให p แทนประพจน “4 เปนจํานวนเฉพาะ”
และ q แทนประพจน “4 เปนจํานวนคี่”
ดังนั้น ขอความ “ถา 4 เปนจํานวนเฉพาะ แลว 4 เปนจํานวนคี่” แทนดวย p → q
จาก p เปนเท็จ จะได p → q เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ถา 4 เปนจํานวนเฉพาะ แลว 4 เปนจํานวนคี่” มีคาความจริงเปนจริง
2) ให p แทนประพจน “ 3 ≥ 2 ”
และ q แทนประพจน “ −2 ≥ −3 ”
ดังนั้น ขอความ “ 3 ≥ 2 และ −2 ≥ −3 ” แทนดวย p ∧ q
จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p ∧ q เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ 3 ≥ 2 และ −2 ≥ −3 ” มีคาความจริงเปนจริง
3) ให p แทนประพจน “ 100 กิโลกรัม เทากับ 1 ตัน”
และ q แทนประพจน “ 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม”
ดังนั้น ขอความ “ 100 กิโลกรัม เทากับ 1 ตัน หรือ 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม”
แทนดวย p ∨ q
จาก q เปนจริง จะได p ∨ q เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ 100 กิโลกรัม เทากับ 1 ตัน หรือ 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม”
มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 233

4) ให p แทนประพจน “ { x ∈  | 3 < x < 4} เปนเซตวาง”


และ q แทนประพจน “ { x ∈  | x 2 = 1} ไมเปนเซตวาง”
ดังนั้น ขอความ “ { x ∈  | 3 < x < 4} เปนเซตวาง หรือ { x ∈  | x 2 =
1} ไมเปน
เซตวาง” แทนดวย p ∨ q
จาก p เปนจริง จะได p ∨ q เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ { x ∈  | 3 < x < 4} เปนเซตวาง หรือ { x ∈  | x 2 =
1} ไมเปน
เซตวาง” มีคาความจริงเปนจริง
5) ให p แทนประพจน “ A ∪ A = A”
และ q แทนประพจน “ A − ∅ =U ”
ดังนั้น ขอความ “ A ∪ A = A และ A − ∅ =U ” แทนดวย p ∧ q
จาก q เปนเท็จ จะได p ∧ q เปนเท็จ
ดังนั้น ขอความ “ A ∪ A = A และ A − ∅ =U ” มีคาความจริงเปนเท็จ
6) ให p แทนประพจน “เตาเปนสัตวเลื้อยคลาน”
และ q แทนประพจน “จระเขเปนสัตวเลื้อยคลาน”
ดังนั้น ขอความ “เตาและจระเขเปนสัตวเลื้อยคลาน” แทนดวย p ∧ q
จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p ∧ q เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “เตาและจระเขเปนสัตวเลื้อยคลาน” มีคา ความจริงเปนจริง
7) ให p แทนประพจน “ −1 เปนจํานวนนับ”
และ q แทนประพจน “ 1 เปนจํานวนเต็ม”
3
1
ดังนั้น ขอความ “ −1 เปนจํานวนนับ และ เปนจํานวนเต็ม” แทนดวย p∧q
3
จาก p เปนเท็จ จะได p∧q เปนเท็จ
1
ดังนั้น ขอความ “ −1 เปนจํานวนนับ และ เปนจํานวนเต็ม” มีคาความจริงเปนเท็จ
3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
234 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8) ให p แทนประพจน “ผลคูณของ 4 กับ −4 นอยกวา −12 ”


และ q แทนประพจน “ −12 ไมเทากับ 4 ลบดวย 16 ”
ดังนั้น ขอความ “ผลคูณของ 4 กับ −4 นอยกวา −12 หรือ −12 ไมเทากับ
4 ลบดวย 16 ” แทนดวย p ∨ q
จาก p เปนจริง จะได p ∨ q เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ผลคูณของ 4 กับ −4 นอยกวา −12 หรือ −12 ไมเทากับ 4 ลบดวย 16”
มีคาความจริงเปนจริง
9) ให p แทนประพจน “จังหวัดอุบลราชธานีอยูในภาคใตของประเทศไทย”
และ q แทนประพจน “จังหวัดอุดรธานีอยูในภาคเหนือของประเทศไทย”
ดังนั้น ขอความ “ถาจังหวัดอุบลราชธานีไมอยูในภาคใตของประเทศไทย แลว
จังหวัดอุดรธานีอยูในภาคเหนือของประเทศไทย” แทนดวย  p → q
จาก p เปนเท็จ จะได  p เปนจริง และจาก q เปนเท็จ จะได  p → q เปนเท็จ
ดังนั้น ขอความ “ถาจังหวัดอุบลราชธานีไมอยูในภาคใตของประเทศไทย แลวจังหวัด
อุดรธานีอยูในภาคเหนือของประเทศไทย” มีคาความจริงเปนเท็จ
10) ให p แทนประพจน “ 5 เปนจํานวนตรรกยะ”
q แทนประพจน “ 5 เปนจํานวนตรรกยะ”

และ r แทนประพจน “ 25 ไมเปนจํานวนอตรรกยะ”


ดังนั้น ขอความ “ถา 5 และ 5 เปนจํานวนตรรกยะ แลว 25 ไมเปนจํานวน
อตรรกยะ” แทนดวย ( p ∧ q ) → r
จาก q เปนเท็จ จะได p ∧ q เปนเท็จ
จะได ( p ∧ q ) → r เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ถา 5 และ 5 เปนจํานวนตรรกยะ แลว 25 ไมเปน
จํานวนอตรรกยะ” มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 235

11) ให p แทนประพจน “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยม


รวมกันเทากับ 180 องศา”
และ q แทนประพจน “มุมฉากคือมุมที่มีขนาดเทากับ 180 องศา”
ดังนั้น ขอความ “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เทากับ 180 องศา ก็ตอเมื่อ มุมฉากคือมุมที่มีขนาดเทากับ 180 องศา”
แทนดวย p ↔ q
จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p ↔ q เปนเท็จ
ดังนั้น ขอความ “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เทากับ 180 องศา ก็ตอเมื่อ มุมฉากคือมุมที่มีขนาดเทากับ 180 องศา”
มีคาความจริงเปนเท็จ
12) ให p แทนประพจน “ 6 เปนจํานวนคู”
q แทนประพจน “ 3 เปนจํานวนเฉพาะ”
และ r แทนประพจน “ 9 เปนจํานวนเฉพาะ”
ดังนั้น ขอความ “ 6 เปนจํานวนคู ก็ตอเมื่อ 3 หรือ 9 เปนจํานวนเฉพาะ”
แทนดวย p ↔ ( q ∨ r )
จาก q เปนจริง จะได q ∨ r เปนจริง
และจาก p เปนจริง จะได p ↔ ( q ∨ r ) เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ 6 เปนจํานวนคู ก็ตอเมื่อ 3 หรือ 9 เปนจํานวนเฉพาะ”
มีคาความจริงเปนจริง
6. 1) จาก p → q มีคาความจริงเปนเท็จ จะได p เปนจริง และ q เปนเท็จ
หาคาความจริงของ (  p ∨ q ) ↔ ( p ∨ q )
วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ
จะได  p ∨ q เปนเท็จ และ p ∨ q เปนจริง
จาก  p ∨ q เปนเท็จ และ p ∨ q เปนจริง
จะได (  p ∨ q ) ↔ ( p ∨ q ) เปนเท็จ
ดังนั้น (  p ∨ q ) ↔ ( p ∨ q ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
236 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น (  p ∨ q ) ↔ ( p ∨ q ) มีคาความจริงเปนเท็จ
2) วิธีที่ 1 จาก  p ∨ (  q ) ∨ ( p ∨ q ) ∧   ( p ∨ q ) ∨ (  p ∧ q ) มีคาความจริง
เปนจริง จะได  p ∨ (  q ) ∨ ( p ∨ q ) มีคาความจริงเปนจริง
และ   ( p ∨ q ) ∨ (  p ∧ q ) มีคาความจริงเปนจริง
จาก (  p ∧ q ) มีคาความจริงเปนเท็จ และ   ( p ∨ q ) ∨ (  p ∧ q )
มีคาความจริงเปนจริง จะได  ( p ∨ q ) มีคาความจริงเปนจริง
นั่นคือ ( p ∨ q ) มีคาความจริงเปนเท็จ
จะได p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ ซึ่งทําให  p ∨ (  q ) ∨ ( p ∨ q )
มีคาความจริงเปนจริงตามที่กําหนดไว
ดังนั้น p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 237

3) วิธีที่ 1 จาก  p ∧ (  q → r ) → (  s ∨ r ) มีคาความจริงเปนเท็จ


จะได p ∧ (  q → r ) มีคาความจริงเปนจริง
และ  s ∨ r มีคาความจริงเปนเท็จ
จาก  s ∨ r มีคาความจริงเปนเท็จ จะได s เปนจริง และ r เปนเท็จ
จาก p ∧ (  q → r ) มีคาความจริงเปนจริง
จะได p เปนจริง และ  q → r เปนจริง
จาก  q → r เปนจริง และ r เปนเท็จ จะได q เปนจริง
ดังนั้น p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง


7. 1) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → (  q ∧ r ) กับ ( p →  q ) ∨ ( p → r )
ไดดังนี้
p q r q q∧r p → q p →r p → ( q ∧ r ) ( p → q) ∨ ( p → r )
T T T F F F T F T
T T F F F F F F F
T F T T T T T T T
T F F T F T F F T
F T T F F T T T T
F T F F F T T T T
F F T T T T T T T
F F F T F T T T T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
238 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวาคาความจริงของ p → (  q ∧ r ) กับ ( p →  q ) ∨ ( p → r )
มีบางกรณีที่ตางกัน
ดังนั้น p → (  q ∧ r ) ไมสมมูลกับ ( p →  q ) ∨ ( p → r )
วิธีที่ 2 ( p → q) ∨ ( p → r ) ≡ ( p ∨  q) ∨ ( p ∨ r )
≡ (  p∨  p ) ∨ ( q ∨ r )
≡  p ∨ ( q ∨ r )
≡ p → ( q ∨ r )
ซึ่ง p → ( q ∨ r ) ≡/ p → ( q ∧ r )
ดังนั้น p → (  q ∧ r ) ไมสมมูลกับ ( p →  q ) ∨ ( p → r )
2) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ r กับ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r ) ไดดังนี้
p q r p∨q p∨r q∨r ( p ∨ q) ∧ r ( p ∨ r ) ∧ (q ∨ r )
T T T T T T T T
T T F T T T F T
T F T T T T T T
T F F T T F F F
F T T T T T T T
F T F T F T F F
F F T F T T F T
F F F F F F F F

จะเห็นวา คาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ r กับ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r )


มีบางกรณีที่ตางกัน
ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ r ไมสมมูลกับ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r )
วิธีที่ 2 จาก ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r ) ≡ ( p ∧ q ) ∨ r
ซึ่ง ( p ∧ q ) ∨ r ≡ ( p ∨ q ) ∧ r
ดังนั้น ( p ∨ q ) ∧ r ไมสมมูลกับ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 239

3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ  ( p → q ) → r กับ  ( p ∧ q ∧ r ) ไดดังนี้


p q r p→q  ( p → q) p∧q∧r  ( p → q) → r  ( p ∧ q ∧ r)
T T T T F T T F
T T F T F F T T
T F T F T F T T
T F F F T F F T
F T T T F F T T
F T F T F F T T
F F T T F F T T
F F F T F F T T

จะเห็นวา คาความจริงของ  ( p → q ) → r กับ  ( p ∧ q ∧ r )


มีบางกรณีที่ตางกัน
ดังนั้น  ( p → q ) → r ไมสมมูลกับ  ( p ∧ q ∧ r )
วิธีที่ 2 จาก  ( p → q ) → r ≡ ( p → q ) ∨ r
≡ ( p ∨ q) ∨ r
≡  p∨q∨r
≡  ( p∧  q∧  r )
ซึ่ง  ( p ∧  q ∧  r ) ≡/  ( p ∧ q ∧ r )
ดังนั้น  ( p → q ) → r ไมสมมูลกับ  ( p ∧ q ∧ r )
4) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ  p ↔ q และ  ( p → q ) ∧ ( q → p )  ไดดังนี้
p q p p → q q → p ( p → q) ∧ (q → p)  p ↔ q  ( p → q ) ∧ ( q → p ) 
T T F T T T F F
T F F F T F T T
F T T T F F T T
F F T T T T F F

จะเห็นวาคาความจริงของ  p ↔ q กับ  ( p → q ) ∧ ( q → p )


เหมือนกันทุกกรณี
ดังนั้น  p ↔ q สมมูลกับ  ( p → q ) ∧ ( q → p )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
240 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 จาก  p↔q ≡ (  p → q ) ∧ ( q → p )


≡ ( p ∨ q) ∧ ( q ∨  p)
≡ ( p ∨ q ) ∧  q  ∨ ( p ∨ q ) ∧  p 
≡ ( p∧  q ) ∨ ( q∧  q ) ∨ ( p∧  p ) ∨ ( q∧  p )
≡ ( p∧  q ) ∨ ( q∧  p )
≡  ( p ∨ q)∨  ( q ∨ p)
≡  ( p → q)∨  (q → p)
≡  ( p → q ) ∧ ( q → p ) 
ดังนั้น  p ↔ q สมมูลกับ  ( p → q ) ∧ ( q → p )
8. 1) ให p แทน “ 8 ไมนอยกวา 7 ”
q แทน “ 8 เปนจํานวนคู”
จะได p → q แทน “ถา 8 ไมนอยกวา 7 แลว 8 เปนจํานวนคู”
แนวทางการตอบ
เนื่องจาก p → q สมมูลกับ  p ∨ q
ดังนั้น “ถา 8 ไมนอยกวา 7 แลว 8 เปนจํานวนคู” สมมูลกับ “ 8 นอยกวา 7
หรือ 8 เปนจํานวนคู”
12
2) ให p แทน “ ∉ ”
5
q แทน “5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ”
จะได p↔q แทน “ 12 ∉  ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ”
5
แนวทางการตอบที่ 1
เนื่องจาก p ↔ q สมมูลกับ ( p → q ) ∧ ( q → p )
ดังนั้น “ 12 ∉  ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ” สมมูลกับ
5
12
“ถา ∉ แลว 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 และ ถา 5 ไมเปนตัวประกอบ
5
12
ของ 12 แลว ∉ ”
5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 241

แนวทางการตอบที่ 2
เนื่องจาก p ↔ q สมมูลกับ q↔ p
12
ดังนั้น “ ∉ ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ” สมมูลกับ
5
12
“5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ก็ตอเมื่อ ∉ ”
5
3) ให p แทน “ไกเปนสัตวปก”
q แทน “เปดเปนสัตวปก”
r แทน “นกเปนสัตวปก”
จะได ( p ∧ q ) ∨ ( r ∧ p ) แทน “ไกและเปดเปนสัตวปก หรือ นกและไกเปนสัตวปก”
แนวทางการตอบ
เนื่องจาก ( p ∧ q ) ∨ ( r ∧ p ) สมมูลกับ p ∧ ( q ∨ r )
ดังนั้น “ไกและเปดเปนสัตวปก หรือ นกและไกเปนสัตวปก” สมมูลกับ
“ไกเปนสัตวปก และ เปดหรือนกเปนสัตวปก”
4) ให p แทน “พอของแหนมมีเลือดหมู O ”
q แทน “แมของแหนมมีเลือดหมู O ”
r แทน “แหนมมีเลือดหมู O ”
จะได ( p ∧ q ) → r แทน “ถาพอและแมของแหนมมีเลือดหมู O แลวแหนมมีเลือดหมู O”

แนวทางการตอบ
เนื่องจาก ( p ∧ q ) → r สมมูลกับ  p ∨  q ∨ r
ดังนั้น “ถาพอและแมของแหนมมีเลือดหมู O แลวแหนมมีเลือดหมู O ”
สมมูลกับ “พอหรือแมของแหนมไมมีเลือดหมู O หรือแหนมมีเลือดหมู O ”
9. 1) สรางตารางคาความจริงของ p → q กับ q → p ไดดังนี้
p q p→q q→ p
T T T T
T F F T
F T T F
F F T T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
242 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวามีคาความจริงของ p → q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ q→ p
ดังนั้น p → q กับ q → p ไมเปนนิเสธกัน
2) สรางตารางคาความจริงของ p ↔ q กับ  p ↔  q ไดดังนี้
p q p q p↔q  p↔q
T T F F T T
T F F T F F
F T T F F F
F F T T T T

จะเห็นวาคาความจริงของ p ↔ q ตรงกับคาความจริงของ  p ↔  q ทุกกรณี


นั่นคือ p ↔ q สมมูลกับ  p ↔  q
ดังนั้น p ↔ q กับ  p ↔  q ไมเปนนิเสธกัน
3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → ( q → r ) กับ p ∧ q ∧  r ไดดังนี้
p q r q→r r p → (q → r ) p ∧ q∧  r
T T T T F T F
T T F F T F T
T F T T F T F
T F F T T T F
F T T T F T F
F T F F T T F
F F T T F T F
F F F T T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ p → ( q → r ) ตรงขามกับคาความจริง
ของ p ∧ q ∧  r ทุกกรณี
ดังนั้น p → ( q → r ) กับ p ∧ q ∧  r เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 243

วิธีที่ 2 เนื่องจาก   p → ( q → r ) เปนนิเสธของ p → ( q → r )


และ   p → ( q → r ) ≡    p ∨ ( q → r )
≡    p ∨ (  q ∨ r ) 
≡ p∧  (  q ∨ r )
≡ p ∧ q∧  r
จะได p → ( q → r ) เปนนิเสธของ p ∧ q ∧  r
ดังนั้น p → ( q → r ) กับ p ∧ q ∧  r เปนนิเสธกัน
4) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) → r กับ (  p ∧  r ) ∨ ( q ∧  r )
ไดดังนี้
p q r p r p→q  p∧  r q∧  r ( p → q) → r (  p∧  r ) ∨ ( q∧  r )
T T T F F T F F T F
T T F F T T F T F T
T F T F F F F F T F
T F F F T F F F T F
F T T T F T F F T F
F T F T T T T T F T
F F T T F T F F T F
F F F T T T T F F T

จะเห็นวาคาความจริงของ ( p → q ) → r ตรงขามกับคาความจริง
ของ (  p ∧  r ) ∨ ( q ∧  r ) ทุกกรณี
ดังนั้น p → ( q → r ) กับ (  p ∧  r ) ∨ ( q ∧  r ) เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p → q ) → r  เปนนิเสธของ ( p → q ) → r
และ  ( p → q ) → r  ≡    ( p → q ) ∨ r 
≡ ( p → q) ∧  r
≡ ( p ∨ q) ∧  r
≡ (  p∧  r ) ∨ ( q∧  r )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
244 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได ( p → q ) → r เปนนิเสธของ (  p ∧  r ) ∨ ( q ∧  r )
ดังนั้น p → ( q → r ) กับ (  p ∧  r ) ∨ ( q ∧  r ) เปนนิเสธกัน
5) สรางตารางคาความจริงของ p → (q ∨ r ) กับ ( q ∨ r ) → p ไดดังนี้
p q r p q∨r p → (q ∨ r ) ( q ∨ r ) → p
T T T F T T F
T T F F T T F
T F T F T T F
T F F F F F T
F T T T T T T
F T F T T T T
F F T T T T T
F F F T F T T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p → (q ∨ r ) บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ ( q ∨ r ) → p
ดังนั้น p → (q ∨ r ) กับ ( q ∨ r ) → p ไมเปนนิเสธกัน
6) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ q ∧ ( r ∧  s ) กับ q → (r → s) ไดดังนี้
q r s s r∧  s r→s q ∧ (r∧  s) q → (r → s)
T T T F F T F T
T T F T T F T F
T F T F F T F T
T F F T F T F T
F T T F F T F T
F T F T T F F T
F F T F F T F T
F F F T F T F T

จะเห็นวาคาความจริงของ q ∧ ( r ∧  s ) ตรงขามกับคาความจริง
ของ q → (r → s) ทุกกรณี
ดังนั้น q ∧ ( r ∧  s ) กับ q → (r → s) เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 245

วิธีที่ 2 เนื่องจาก  [ q ∧ (r ∧  s)] เปนนิเสธของ q ∧ ( r ∧  s )


และ  [ q ∧ (r ∧  s)] ≡  q∨  ( r ∧  s )
≡  q ∨ ( r ∨ s)
≡ q → ( r ∨ s)
≡ q → (r → s)
จะได q ∧ (r ∧ ~ s) เปนนิเสธของ q → ( r → s )
ดังนั้น q ∧ ( r ∧  s ) กับ q → (r → s) เปนนิเสธกัน
7) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) ∨ r กับ p ∧  q ∧  r ไดดังนี้
p q r p→q q r ( p → q) ∨ r p∧  q∧  r
T T T T F F T F
T T F T F T T F
T F T F T F T F
T F F F T T F T
F T T T F F T F
F T F T F T T F
F F T T T F T F
F F F T T T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ ( p → q ) ∨ r ตรงขามกับคาความจริงของ
p ∧  q ∧  r ทุกกรณี
ดังนั้น ( p → q ) ∨ r กับ p ∧  q ∧  r เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p → q ) ∨ r  เปนนิเสธของ ( p → q ) ∨ r
และ  ( p → q ) ∨ r  ≡  (  p ∨ q ) ∨ r 
≡  ( p ∨ q) ∧  r
≡ p ∧  q∧  r
จะได ( p → q ) ∨ r เปนนิเสธของ p ∧  q ∧  r
ดังนั้น ( p → q ) ∨ r กับ p ∧  q ∧  r เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
246 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p  ∨ q ) → r กับ  r ∧ ( p ∨ q) ไดดังนี้


p q r p∨q r ( p  ∨ q ) → r  r ∧ ( p ∨ q)
T T T T F T F
T T F T T F T
T F T T F T F
T F F T T F T
F T T T F T F
F T F T T F T
F F T F F T F
F F F F T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ ( p  ∨ q) → r ตรงขามกับคาความจริงของ
 r ∧ ( p ∨ q ) ทุกกรณี
ดังนั้น ( p  ∨ q) → r กับ  r ∧ ( p ∨ q ) เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  [ ( p  ∨ q) → r ] เปนนิเสธของ ( p  ∨ q) → r
และ  [ ( p  ∨ q) → r ] ≡  [  ( p  ∨ q) ∨ r ]
( p ∨ q) ∧  r

 r ∧ ( p ∨ q)

จะได ( p  ∨ q) → r เปนนิเสธของ  r ∧ ( p ∨ q )
ดังนั้น ( p  ∨ q) → r กับ  r ∧ ( p ∨ q ) เปนนิเสธกัน
9) ให p แทน “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 ”
q แทน “ 4 เปนตัวประกอบของ 24 ”
จะได p → q แทน “ถา 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ”
และ  q ∧ p แทน “ 4 ไมเปนตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ”
วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → q กับ  q ∧ p ไดดังนี้
p q q p→q q∧ p
T T F T F
T F T F T
F T F T F
F F T T F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 247

จะเห็นวาคาความจริงของ p → q ตรงขามกับคาความจริงของ  q ∧ p ทุกกรณี


ดังนั้น p → q กับ  q ∧ p เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ” กับ
“ 4 ไมเปนตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ” เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก  ( p → q ) เปนนิเสธของ p → q
และ  ( p → q) ≡  ( p ∨ q)
≡ p ∧ q
≡ q∧ p
จะได  q ∧ p เปนนิเสธของ p → q
ดังนั้น p → q กับ  q ∧ p เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ” กับ
“ 4 ไมเปนตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ” เปนนิเสธกัน
10) ให p แทน “ a เปนสระในภาษาอังกฤษ”
q แทน “ b เปนสระในภาษาอังกฤษ”
r แทน “ e เปนสระในภาษาอังกฤษ”
จะได (  p ∧  q ) ∨ r แทน “ a และ b ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ หรือ
e เปนสระในภาษาอังกฤษ”
และ r ∧ (  p → q ) แทน “ e เปนสระในภาษาอังกฤษ แต ถา a ไมเปนสระ
ในภาษาอังกฤษ แลว a เปนสระในภาษาอังกฤษ”
สรางตารางคาความจริงของ (  p ∧  q ) ∨ r กับ r ∧ (  p → q ) ไดดังนี้
p q r p q  p∧  q  p→q (  p∧  q ) ∨ r r ∧ ( p → q)
T T T F F F T T T
T T F F F F T F F
T F T F T F T T T
T F F F T F T F F
F T T T F F T T T
F T F T F F T F F
F F T T T T F T F
F F F T T T F T F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
248 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวามีคาความจริงของ (  p ∧  q ) ∨ r บางกรณีที่ตรงกับคาความจริง
ของ r ∧ (  p → q )
ดังนั้น (  p ∧  q ) ∨ r กับ r ∧ (  p → q ) ไมเปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ a และ b ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ หรือ e เปนสระในภาษาอังกฤษ”
กับ “ e เปนสระในภาษาอังกฤษ แต ถา a ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ แลว
b เปนสระในภาษาอังกฤษ” ไมเปนนิเสธกัน
10. 1) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ  p → ( q → r ) → ( p → q ) → r  ไดดังนี้
p q r p→q q→r p → (q → r ) ( p → q) → r  p → ( q → r )  → ( p → q ) → r 
T T T T T T T T
T T F T F F F T
T F T F T T T T
T F F F T T T T
F T T T T T T T
F T F T F T F F
F F T T T T T T
F F F T T T F F

จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ


และกรณีที่ p, q และ r เปนเท็จ ที่ทําใหรูปแบบของประพจน
 p → ( q → r )  → ( p → q ) → r  เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  p → ( q → r ) → ( p → q ) → r  ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให  p → ( q → r ) → ( p → q ) → r  มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 249

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ


ที่ทําให  p → ( q → r ) → ( p → q ) → r  เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  p → ( q → r ) → ( p → q ) → r 
ไมเปนสัจนิรันดร
2) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q ) ไดดังนี้
p q p q  p∧q p ∨ (  p ∧ q )  p ∧  q  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q ) 
T T F F F T F T
T F F T F T F T
F T T F T T F T
F F T T F F T F

จะเห็นวากรณีที่ p และ q เปนเท็จ รูปแบบของประพจน


 ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q )  เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q )
ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
250 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ


ที่ทําใหรูปแบบของประพจน  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q )
มีคาความจริงเปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q )
ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 เนื่องจาก  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q )
≡  ( ( p ∨  p ) ∧ ( p ∨ q ) ) → (  p ∧  q ) 

≡  ( p ∨ q ) → (  p ∧  q ) 
≡    ( p ∨ q ) ∨ (  p ∧  q ) 
≡ ( p ∨ q ) ∧ (  (  p∧  q ))
≡ ( p ∨ q) ∧ ( p ∨ q)
≡ ( p ∨ q)
ซึ่งเมื่อ p และ q เปนเท็จ จะได p ∨ q เปนเท็จ
นั่นคือ p ∨ q ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น รูปแบบของประพจน  ( p ∨ (  p ∧ q ) ) → (  p ∧  q )
ไมเปนสัจนิรันดร
3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ   p ∧ ( p ∨ q ) → q ไดดังนี้
p q p p∨q  p ∧ ( p ∨ q)   p ∧ ( p ∨ q )  → q
T T F T F T
T F F T F T
F T T T T T
F F T F F T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน   p ∧ ( p ∨ q ) → q เปนจริงทุกกรณี


ดังนั้น รูปแบบของประพจน   p ∧ ( p ∨ q ) → q เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 251

วิธีที่ 2 สมมติให   p ∧ ( p ∨ q )  → q มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา   p ∧ ( p ∨ q ) → q เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน   p ∧ ( p ∨ q ) → q เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก   p ∧ ( p ∨ q ) → q ≡    p ∧ ( p ∨ q ) ∨ q
≡  p ∨  ( p ∨ q )  ∨ q
≡  p ∨ (  p ∧  q )  ∨ q
≡ ( p ∨  p ) ∧ ( p ∨  q )  ∨ q
≡ ( p∨  q ) ∨ q
≡ p ∨ ( q ∨ q)
เนื่องจาก  q ∨ q เปนจริงเสมอ
จะไดวา p ∨ (  q ∨ q ) เปนจริงเสมอ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน   p ∧ ( p ∨ q ) → q เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
252 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r ไดดังนี้


p q r ( p ∨ q) ∧ ( p → r ) ∧ (q → r ) ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r )  → r
T T T T T
T T F F T
T F T T T
T F F F T
F T T T T
F T F F T
F F T F T
F F F F T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r


เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r
เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r
เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 253

5) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔  p → ( q ∧ r )


ไดดังนี้
p q r ( p → q) ∧ ( p → r ) p → (q ∧ r ) ( p → q ) ∧ ( p → r )  ↔  p → ( q ∧ r ) 
T T T T T T
T T F F F T
T F T F F T
T F F F F T
F T T T T T
F T F T T T
F F T T T T
F F F T T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔  p → ( q ∧ r )


เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔  p → ( q ∧ r )
เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔  p → ( q ∧ r ) มีคาความจริงเปนเท็จ
กรณีที่ 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p → q ) ∧ ( p → r )  ↔  p → ( q ∧ r )  เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
254 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 2

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p → q ) ∧ ( p → r )  ↔  p → ( q ∧ r )  เปนเท็จ
จากทั้งสองกรณี จะไดวารูปแบบของประพจน
( p → q ) ∧ ( p → r )  ↔  p → ( q ∧ r )  เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก ( p → q ) ∧ ( p → r ) ≡ (  p ∨ q ) ∧ (  p ∨ r )
≡  p ∨ (q ∧ r )
≡ p → (q ∧ r )
นั่นคือ ( p → q ) ∧ ( p → r ) สมมูลกับ p → ( q ∧ r )
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔  p → ( q ∧ r )
เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 255

6) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r  ไดดังนี้


p q r ( p → r ) ∧ ( q → r ) ( p ∨ q ) → r ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r 
T T T T T T
T T F F F T
T F T T T T
T F F F F T
F T T T T T
F T F F F T
F F T T T T
F F F T T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r 


เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r 
เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r  มีคาความจริงเปนเท็จ
กรณีที่ 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r 
เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
256 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 2

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r 
เปนเท็จ
จากทั้งสองกรณี จะไดวารูปแบบของประพจน
( p → r ) ∧ ( q → r )  ↔ ( p ∨ q ) → r  เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก ( p → r ) ∧ ( q → r ) ≡ (  p ∨ r ) ∧ (  q ∨ r )
(  p∧  q ) ∨ r

≡  ( p ∨ q) ∨ r
≡ ( p ∨ q) → r
นั่นคือ ( p → r ) ∧ ( q → r ) สมมูลกับ ( p ∨ q ) → r
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r 
เปนสัจนิรันดร
7) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
ไดดังนี้
p q p↔q p∧q  p∧  q ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q ) ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
T T T T F T T
T F F F F F T
F T F F F F T
F F T F T T T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 257

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )


เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q ) มีคาความจริงเปนเท็จ
กรณีที่ 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
เปนเท็จ
กรณีที่ 2

ขัดแยงกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
258 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q ) เปนเท็จ
จากทั้งสองกรณี จะไดวารูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
≡ ( p ∧ q ) ∨  p  ∧ ( p ∧ q ) ∨  q 
≡ ( p ∨  p ) ∧ ( q ∨  p )  ∧ ( p ∨  q ) ∧ ( q ∨  q ) 
≡ ( q∨  p ) ∧ ( p∨  q )
≡ ( p ∨ q) ∧ ( q ∨ p)
≡ ( p → q) ∧ (q → p)
≡ p↔q
นั่นคือ p ↔ q สมมูลกับ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q )
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ (  p ∧  q ) เปนสัจนิรันดร
11. 1) สมมติให ( ( p ∧ q ) → ( r ∨ s ) ) ∧  ( r ∨ s ) →  q เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนจริง r เปนเท็จ


และ s เปนเท็จ ที่ทําให ( ( p ∧ q ) → ( r ∨ s ) ) ∧  ( r ∨ s ) →  q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( ( p ∧ q ) → ( r ∨ s ) ) ∧  ( r ∨ s ) →  q ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 259

2) สมมติให (  p ∨ q ) ∧  q  → ( p ∨ q ) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ


ที่ทําให (  p ∨ q ) ∧  q  → ( p ∨ q ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน (  p ∨ q ) ∧  q  → ( p ∨ q ) ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
3) สมมติให ( p ∨ r ) ∧ ( ( p → q ) ∨ (  q → r ) ) → ( r → p ) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง


ที่ทําให ( p ∨ r ) ∧ ( ( p → q ) ∨ (  q → r ) ) → ( r → p ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ r ) ∧ ( ( p → q ) ∨ (  q → r ) ) → ( r → p )
ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
260 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) สมมติให ( p → q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( p ∧ s ) → ( r → s ) เปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ s เปนไดทั้งจริงและเท็จ เกิดการขัดแยง
กับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( p ∧ s ) → ( r → s ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( p ∧ s ) → ( r → s )
เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
5) สมมติให ( p → q ) ∧ p ∧ ( q → r ) ∧ ( r ↔  p ) → ( q ∨ r ) เปนเท็จ

ขัดแยงกัน F F

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ เกิดการขัดแยง


กับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ p ∧ ( q → r ) ∧ ( r ↔  p ) → ( q ∨ r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ p ∧ ( q → r ) ∧ ( r ↔  p ) → ( q ∨ r )
เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 261

12. 1) ให p แทนประพจน “ชะอมไปเลนฟุตบอล”


q แทนประพจน “ไขเจียวไปเลนบาสเกตบอล”
r แทนประพจน “แกงสมไปเลนปงปอง”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p → q
2.  q → r
ผล p ∧ r
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p → q ) ∧ (  q → r ) → ( p ∧ r )
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p → q ) ∧ (  q → r ) → ( p ∧ r ) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง


ที่ทําให ( p → q ) ∧ (  q → r ) → ( p ∧ r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ (  q → r ) → ( p ∧ r ) ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
2) ให p แทนประพจน “ขาวสวยทํางานหนัก”
q แทนประพจน “ขาวหอมทํางานหนัก”
r แทนประพจน “ขาวปนทํางานหนัก”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ∨ q
2.  q
ผล p ∨  r
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p ∨ q ) ∧  q  → ( p∨  r )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
262 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ∨ q ) ∧  q  → ( p∨  r ) เปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∨ q ) ∧  q  → ( p∨  r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧  q  → ( p∨  r ) เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
3) ให p แทนประพจน “ชะเอมซื้อสินคาโดยใชบัตรเครดิต”
q แทนประพจน “ชะเอมซื้อสินคาโดยใชเงินสด”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ∨ q
2.  p
ผล q
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p ∨ q ) ∧  p  → q
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ∨ q ) ∧  p  → q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 263

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∨ q ) ∧  p  → q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧  p  → q เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
4) ให p แทนประพจน “หนูดูหนัง”
q แทนประพจน “แนนดูหนัง”
r แทนประพจน “หนึ่งดูหนัง”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p
2. q →  p
3.  p →  r
ผล q ∨ r
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ
 p ∧ ( q →  p ) ∧ (  p →  r )  → ( q ∨ r )
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให  p ∧ ( q →  p ) ∧ (  p →  r ) → ( q ∨ r ) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
264 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนจริง q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ


ที่ทําให  p ∧ ( q →  p ) ∧ (  p →  r ) → ( q ∨ r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน  p ∧ ( q →  p ) ∧ (  p →  r ) → ( q ∨ r ) ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
5) ให p แทนประพจน “วิจิตไปกินขาวนอกบาน”
q แทนประพจน “วีรชัยอยูบาน”
r แทนประพจน “นิธิไปออกกําลังกาย”
s แทนประพจน “พชรไปเดินเลน”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ↔ q
2.  q → r
3. s ∧ p
ผล s → r
ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ
( p ↔ q ) ∧ (  q → r ) ∧ ( s ∧ p )  → ( s → r )
ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ↔ q ) ∧ (  q → r ) ∧ ( s ∧ p ) → ( s → r ) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 265

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง


ที่ทําให ( p ↔ q ) ∧ (  q → r ) ∧ ( s ∧ p ) → ( s → r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ∧ (  q → r ) ∧ ( s ∧ p ) → ( s → r )
ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
13. 1) ∀x [ x > 0] เปนจริง เมื่อ U = 
เพราะวา เมื่อแทน x ดวยจํานวนนับ ใน “ x > 0 ” จะไดประพจนที่เปนจริง
2) ∀x [ x + x = x ⋅ x ] เปนจริง เมื่อ U = {0, 2 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 และ 2 ใน “ x + x = x ⋅ x ” จะไดประพจนที่เปนจริง
3) ∃x  x =
2
x  เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x = x ” จะไดประพจนที่เปนจริง
2

4) ∀x  x < 2 ↔ x ≥ 4  เปนเท็จ เมื่อ U = 


2

เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x < 2 ↔ x ≥ 4 ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ


2

5) ∃y [ y + 2 = y − 2] เปนเท็จ เมื่อ U = 
เพราะวา ไมสามารถหาจํานวนจริง y แทนใน “ y + 2 = y − 2 ” แลวไดประพจน
ที่เปนจริง
6)  ∀x [ x ∈ → x ∈] เปนจริง เมื่อ U = 
เนื่องจาก  ∀x [ x ∈ → x ∈] สมมูลกับ ∃x [ x ∈  ∧ x ∉ ]
1
และเมื่อแทน x ดวย ใน “ ∃x [ x ∈  ∧ x ∉ ] ” จะไดประพจนที่เปนจริง
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
266 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

7) ∃x [ x เปนจํานวนคู] เปนจริง เมื่อ U = 


เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x เปนจํานวนคู” จะไดประพจนที่เปนจริง
8) มีจํานวนตรรกยะ x ซึ่ง x > 0 เปนจริง
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x > 0 ” จะไดประพจนที่เปนจริง
9) มีจํานวนอตรรกยะ x ซึ่ง x = 4 เปนเท็จ 2

เพราะวา ไมสามารถหาจํานวนอตรรกยะ x แทนใน “ x = 4 ” แลวไดประพจน


2

ที่เปนจริง
10) สําหรับจํานวนจริง x ทุกตัว x + 1 > 4 เปนเท็จ 2

เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x + 1 > 4 ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ


2

11) ∃x  x − 1 < 0  ∧  ∃x [ x ≠ 0] เปนเท็จ เมื่อ U = 


2

เนื่องจาก  ∃x [ x ≠ 0] สมมูลกับ ∀x [ x = 0]
และเมื่อแทน x ดวย 1 ใน “ x = 0 ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ
∀x [ ถา x เปนจํานวนเฉพาะแลว x เปนจํานวนคี่ ] ∨ ∃x[ x ≠ 1] เปนจริง
2
12)
เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x ≠ 1 ” จะไดประพจนที่เปนจริง
2

13)  ∀x [ x − 1= 7 ] → ∀x  x = 2 x  เปนเท็จ เมื่อ U = 


2

เนื่องจาก  ∀x [ x − 1 =7] สมมูลกับ ∃x [ x − 1 ≠ 7]


เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x − 1 ≠ 7 ” จะไดประพจนที่เปนจริง
แตเมื่อแทน x ดวย 1 ใน “ x = 2 x ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ
2

14) ∃x[ x ∈ ′ → x เปนจํานวนคู ] ↔ ∀x[ x ∈  → x − 1 ≥ 0] เปนจริง


2

เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x ∈ ′ → x เปนจํานวนคู” จะไดประพจนที่เปนจริง


2

และเมื่อแทน x ดวยจํานวนจริง ใน “ x ∈  → x − 1 ≥ 0 ” จะไดประพจนที่เปนจริง


15) มีจํานวนอตรรกยะบางจํานวนที่ยกกําลังสองแลวเทากับศูนยหรือจํานวนเต็ม
ทุกจํานวนเปนจํานวนตรรกยะ เปนจริง
โดยเขียนขอความดังกลาวใหอยูในรูปสัญลักษณไดดังนี้
( ∃x  x = 0 ,U= ′) ∨ ( ∀x [ x ∈ ], U=  )
2

เมื่อแทน x ดวยจํานวนเต็ม ใน x ∈  จะไดประพจนที่เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 267

14. 1) นิเสธของ  ∀x   ( x ≠ 5)  เขียนแทนดวย  (  ∀x   ( x ≠ 5)  )


ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ≠ 5]
ดังนั้น นิเสธของ  ∀x   ( x ≠ 5)  คือ ∀x [ x ≠ 5 ]
2) นิเสธของ ∃x [ x ∈  ∧ x ≥ 5 ] เขียนแทนดวย  ( ∃x [ x ∈ ∧ x ≥ 5 ])
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ∉  ∨ x < 5 ]
ดังนั้น นิเสธของ ∃x [ x ∈  ∧ x ≥ 5 ] คือ ∀x [ x ∉  ∨ x < 5 ]
3) นิเสธของ ∀x  x − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0
2

เขียนแทนดวย  ( ∀x  x − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0 )


2

ซึ่งสมมูลกับ  ∀x  x − 5 ≥ 4 ∨ x − 2 ≠ 0 และสมมูลกับ ∃x  x − 5 < 4 ∧ x − 2 =0


2 2

ดังนั้น นิเสธของ ∀x  x − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0 คือ ∃x  x − 5 < 4 ∧ x − 2 =0


2 2

4) นิเสธของ  ∃x [ x − 7 < 5 ] → ∀x [ x ≥ 2 ]
เขียนแทนดวย  (  ∃x [ x − 7 < 5 ] → ∀x [ x ≥ 2 ])
ซึ่งสมมูลกับ  ( ∃x [ x − 7 < 5 ] ∨ ∀x [ x ≥ 2 ]) และสมมูลกับ ∀x [ x − 7 ≥ 5 ] ∧ ∃x [ x < 2 ]
ดังนั้น นิเสธของ  ∃x [ x − 7 < 5 ] → ∀x [ x ≥ 2 ] คือ ∀x [ x − 7 ≥ 5 ] ∧ ∃x [ x < 2 ]
5) นิเสธของ ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∨ ∃x  x = 5∨  ( x ≠ 6 ) 
เขียนแทนดวย  ( ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∨ ∃x  x = 5∨  ( x ≠ 6 )  )
ซึ่งสมมูลกับ  ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∧  ∃x  x = 5∨  ( x ≠ 6 ) 
และสมมูลกับ ∃x [ x ∉  ∨ x − 2 ≤ 8 ] ∧ ∀x [ x ≠ 5 ∧ x ≠ 6 ]
ดังนั้น นิเสธของ ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∨ ∃x  x = 5∨  ( x ≠ 6 )  คือ
∃x [ x ∉  ∨ x − 2 ≤ 8 ] ∧ ∀x [ x ≠ 5 ∧ x ≠ 6 ]
6) นิเสธของ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]
เขียนแทนดวย  ( ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ])
ซึ่งสมมูลกับ  (  ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∨ ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ])
และสมมูลกับ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧  ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]
และสมมูลกับ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧ ∃x [ x = 2 ∨ x < 6 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
268 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น นิเสธของ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]


คือ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧ ∃x [ x = 2 ∨ x < 6 ]
7) นิเสธของขอความ “มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนเปนจํานวนคี่และจํานวนคี่
ทุกจํานวนไมเปนจํานวนอตรรกยะ” คือ “จํานวนตรรกยะทุกจํานวนไมเปน
จํานวนคี่หรือมีจํานวนคี่บางจํานวนเปนจํานวนอตรรกยะ”
8) นิเสธของขอความ “จํานวนนับทุกจํานวนมากกวาศูนยแตจํานวนเต็มบางจํานวน
ยกกําลังสองไมมากกวาศูนย” คือ “มีจํานวนนับบางจํานวนนอยกวาหรือเทากับ
ศูนยหรือกําลังสองของจํานวนเต็มใด ๆ มีคา มากกวาศูนย”
15. 1) ∀x [ x ∈  ∧ x ∉  ] สมมูลกับ ∀x   ( x ∈ ∨ x ∉) 
เนื่องจาก  ( x ∈ ∨ x ∉) ไมสมมูลกับ x ∈  ∨ x ∉ 
ดังนั้น ∀x [ x ∈  ∧ x ∉  ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x ∈  ∨ x ∉  ]
2) ∀x  x > 0 → x > 0  สมมูลกับ ∀x  x ≤ 0 ∨ x > 0 
3 3

เนื่องจาก x ≤ 0 ∨ x > 0 ไมสมมูลกับ x > 0 ∨ x > 0


3 3

ดังนั้น ∀x  x > 0 → x > 0  ไมสมมูลกับ ∀x  x > 0 ∨ x > 0 


3 3

3) ∃x  x > 0  สมมูลกับ  (  ∃x  x > 0  )


2 2

ซึ่งสมมูลกับ  ( ∀x  x ≤ 0  )
2

ดังนั้น ∃x  x > 0  สมมูลกับ  ( ∀x  x ≤ 0  )


2 2

4)  ∀x  x =∧
9 x ≠ 3  สมมูลกับ ∃x  x ≠ 9 ∨ x = 3 

ซึ่งสมมูลกับ ∃x  x =→9 x= 3 

เนื่องจาก x =→ 9 x= 3 ไมสมมูลกับ x = 3 → x = 9
ดังนั้น  ∀x  x =∧9 x ≠ 3  ไมสมมูลกับ ∃x  x = 3 → x = 9 

5) ∃x [ x ∈ ] ∧  ∃x [ x + 3 < 7 ] สมมูลกับ  ∃x [ x + 3 < 7 ] ∧ ∃x [ x ∈ ]


ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x + 3 ≥ 7 ] ∧ ∃x [ x ∈  ]
เนื่องจาก ∀x [ x + 3 ≥ 7 ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x + 3 < 7 ]
ดังนั้น ∃x [ x ∈ ] ∧  ∃x [ x + 3 < 7 ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x + 3 < 7 ] ∧ ∃x [ x ∈  ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 269

6) (
 ∀x [ x > 0 ] → ∀x  x 2 − 1 ≥ 0  ) สมมูลกับ  (  ∀x [ x > 0 ] ∨ ∀x  x 2
− 1 ≥ 0  )
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x > 0 ] ∧ ∃x  x − 1 < 0
2

ดังนั้น ∀x [ x > 0 ] ∧ ∃x  x − 1 < 0  สมมูลกับ  ( ∀x [ x > 0 ] → ∀x  x − 1 ≥ 0 )


2 2

7)  ∃x  x − 7 ≠ 0  ∨ ∀x [ x > −5 ] สมมูลกับ ∀x [ x > −5 ] ∨  ∃x  x − 7 ≠ 0 


2 2

ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x > −5 ] ∨ ∀x  x − 7 =0 
2

และสมมูลกับ  ∃x [ x ≤ −5 ] ∨ ∀x  x − 7 =0 
2

เนื่องจาก  ∃x [ x ≤ −5 ] ไมสมมูลกับ ∃x [ x ≤ −5 ]
ดังนั้น  ∃x  x − 7 ≠ 0  ∨ ∀x [ x > −5 ] ไมสมมูลกับ ∃x [ x ≤ −5 ] ∨ ∀x  x − 7 =0
2 2

8)  ( ∀x [ x ∈ ] ∧  ∀x [ x ≠ 7 ]) สมมูลกับ  ∀x [ x ∈ ] ∨ ∀x [ x ≠ 7 ]
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ≠ 7 ] ∨  ∀x [ x ∈ ]
และสมมูลกับ  ∃x [ x = 7 ] ∨  ∀x [ x ∈ ]
และสมมูลกับ ∃x [ x = 7 ] →  ∀x [ x ∈ ]
ดังนั้น  ( ∀x [ x ∈ ] ∧  ∀x [ x ≠ 7 ]) สมมูลกับ ∃x [ x = 7 ] →  ∀x [ x ∈ ]
9) “จํานวนคี่ทุกจํานวนมากกวาศูนย” เขียนใหอยูในรูปสัญลักษณไดเปน
∀x[ x > 0], U เปนเซตของจํานวนคี่
“ไมจริงที่วาจํานวนคี่บางจํานวนนอยกวาหรือเทากับศูนย” เขียนใหอยูในรูป
สัญลักษณไดเปน  ∃x[ x ≤ 0], U เปนเซตของจํานวนคี่
เนื่องจาก ∀x [ x > 0] สมมูลกับ  ∃x[ x ≤ 0]
ดังนั้น จํานวนคี่ทุกจํานวนมากกวาศูนย สมมูลกับ ไมจริงที่วาจํานวนคี่บางจํานวน
นอยกวาหรือเทากับศูนย
10) “มีจํานวนตรรกยะ x ที่ x = 0 หรือ x ≠ 0 ” เขียนใหอยูในรูปสัญลักษณได
2

เปน ∃x ∈  [ x = 0 ∨ x ≠ 0]
2

“ไมจริงที่วาจํานวนตรรกยะ x ทุกจํานวน ที่ x ≠ 0 หรือ x = 0 ” เขียนใหอยู


2

ในรูปสัญลักษณไดเปน  ∀x ∈ [ x ≠ 0 ∨ x =0]
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
270 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เนื่องจาก  ∀x ∈ [ x ≠ 0 ∨ x =0] สมมูลกับ ∃x ∈  [ x = 0 ∧ x ≠ 0]


2 2

และ x =0 ∧ x ≠ 0 ไมสมมูลกับ x =0 ∨ x ≠ 0
2 2

ดังนั้น มีจํานวนตรรกยะ x ที่ x = 0 หรือ x ≠ 0 ไมสมมูลกับ ไมจริงที่วา


2

จํานวนตรรกยะ x ทุกจํานวน ที่ x ≠ 0 หรือ x = 0 2

16. แสดงคุณสมบัติของพนักงานกับเงื่อนไขของการเลื่อนตําแหนงดังตารางตอไปนี้
ทํางานบริษัทนี้อยางนอย 3 ป
เงื่อนไข อายุไมต่ํากวา จบปริญญาโท
หรือทํางานดานคอมพิวเตอร
30 ป ขึ้นไป
ชื่อพนักงาน อยางนอย 5 ป
ฟาใส   
รุงนภา   
ธนา   

จากตารางจะเห็นวา ฟาใส เปนพนักงานคนเดียวที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเงื่อนไขของการ


เลื่อนตําแหนงทั้ง 3 ขอ
ดังนั้น ฟาใสมีสิทธิ์ไดเลื่อนตําแหนง
17. แสดงคุณสมบัติของพนักงานกับเงื่อนไขของการไดรับเงินรางวัลดังตารางตอไปนี้
เงื่อนไข ทํายอดขายใน 1 ป ได
ทํายอดขายใน 1 ป ได
ทํายอดขายใน 1 ป ได เกิน 10,000,000 บาท
เกิน 5,000,000 บาท
เกิน 3,000,000 บาท ไมลาพักผอน
และไมลากิจ
ชื่อพนักงาน และไมลากิจ
สุริยา   
เมฆา   
กมล   
ทิวา   

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 271

เนื่องจากพนักงานแตละคนจะสามารถรับเงินรางวัลที่ดีที่สุดไดเพียงรางวัลเดียว
ดังนั้น สุริยาจะไดรับเงินรางวัล 30,000 × 1.5 = 45,000 บาท
เมฆาจะไมไดรับเงินรางวัล
กมลจะไดรับเงินรางวัล 70,000 × 2 = 140,000 บาท
และทิวาจะไดรับเงินรางวัล 200,000 × 4 = 800,000 บาท
18. แสดงคุณสมบัติของผูกูกับเงื่อนไขของการกูเงินดังตารางตอไปนี้

เงื่อนไข ถาผูกูมีคูสมรส ผูกูตองมีเงินเหลือ


ผูกูตองมีเงินเดือน
แลวผูกูและคูสมรส หลังหักคาใชจา ยใน
ไมนอยกวา
ตองมีเงินเดือนรวมกัน แตละเดือน
30,000 บาท
ชื่อผูกู ไมนอยกวา 70,000 บาท มากกวา 5,000 บาท
สัญญา   
กวิน   
มานแกว  ไมมีคูสมรส 

จากตารางจะเห็นวา มานแกว เปนผูกูคนเดียวที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเงื่อนไขของ


การกูเงินทั้ง 3 ขอ
ดังนั้น มานแกว จะสามารถกูเงินกับบริษัทนี้ได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
272 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

บทที่ 3 จํานวนจริง

แบบฝกหัด 3.1
1. พิจารณาการเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ หรือจํานวนอตรรกยะ ของจํานวน
ที่กําหนดให ไดดังนี้
จํานวนที่
จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
กําหนดให
0 -   -
2
- - - 
3
−22
- -  -
7
3.1416 - -  -
4 +1    -
1 − ( −8 )    -
6 −1 - - - 

- - - 
22
0.09 - -  -
12
− -   -
3
( 2) -
2
  

–3.999 - -  -
( −1)
2
   -

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 273

2. 1) เปนจริง 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ 4) เปนเท็จ
5) เปนจริง 6) เปนจริง
7) เปนเท็จ 8) เปนจริง
9) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
274 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.2
1. 1) สมบัติการสลับที่การคูณ
2) สมบัติการมีเอกลักษณการบวก
3) สมบัติการมีเอกลักษณการคูณ
4) สมบัติปดการคูณ
5) สมบัติการเปลี่ยนหมูการบวก
6) สมบัติการแจกแจง
7) สมบัติการมีตัวผกผันการคูณ
8) สมบัติการเปลี่ยนหมูการคูณ
9) สมบัติการมีตัวผกผันการบวก
10) สมบัติการสลับที่การบวก
2. ตัวผกผันการบวกและตัวผกผันการคูณของจํานวนที่กําหนดใหเปนดังนี้
จํานวนที่กําหนดให ตัวผกผันการบวก ตัวผกผันการคูณ
1
−4 4 −
4
1
5 − 5
5
2 2 7

7 7 2
5 5 11
− −
11 11 5
1− 7 (
− 1− 7 ) หรือ 1
−1 + 7 1− 7
1
3
2 −3 2 3
2
 −8 
−8
−  หรือ
 2+ 3 2+ 3

2+ 3 8 8
2+ 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 275

3. พิจารณาสมบัติของเซตที่กําหนดใหไดดังนี้
สมบัติปด
สมบัติปด สมบัติปด สมบัติปด
ของการหาร
เซตทีก่ ําหนดให ของการ ของการ ของการ
(ตัวหารไม
บวก ลบ คูณ
เปนศูนย)
1) เซตของจํานวนนับ  -  -
2) เซตของจํานวนเต็ม    -
3) เซตของจํานวนคี่ลบ - - - -
4) เซตของจํานวนคู    -
5) เซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 3 ลงตัว    -
6) เซตของจํานวนตรรกยะ    

7) { ..., − 5, 0, 5, 10 } - - - -

8) { − 1, − 2, − 3, ... }  - - -

9) { − 1, 0, 1} - -  
 1 1 1 1 
10)   , , , , , 1, 2, 4, 8, 16,   - -  
 16 8 4 2 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
276 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.3
1. จากพหุนาม p ( x ) = 3x + 2 x − ax + 3
4 2

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = 3x + 0 x + 2 x − ax + 3
4 3 2

จาก p ( x ) = q ( x ) จะได= a 5, = b 3 และ c = 0


2. ให p ( x=) x − 1 และ q ( x ) = x − 2 x + 3
2 2

1) p ( x) + q ( x) = (x 2
− 1) + ( x 2 − 2 x + 3)
= 2 x2 − 2 x + 2
2) q ( x) − p ( x) = ( x 2 − 2 x + 3) − ( x 2 − 1)
= −2 x + 4
3) p ( x) q ( x) = (x 2
− 1)( x 2 − 2 x + 3)
= x 2 ( x 2 − 2 x + 3) − 1( x 2 − 2 x + 3)
= (x 4
− 2 x 3 + 3 x 2 ) − ( x 2 − 2 x + 3)
= x 4 − 2 x3 + 2 x 2 + 2 x − 3
3. ให p ( x ) = 3x + 5 x − 1 และ q ( x ) =x − 5 x + 7
2 4 2

จะได p ( x ) q ( x ) = ( 3x + 5 x − 1)( x − 5 x + 7 ) 2 4 2

= 3 x 2 ( x 4 − 5 x 2 + 7 ) + 5 x ( x 4 − 5 x 2 + 7 ) − 1( x 4 − 5 x 2 + 7 )
= ( 3x 6
− 15 x 4 + 21x 2 ) + ( 5 x 5 − 25 x 3 + 35 x ) − ( x 4 − 5 x 2 + 7 )
= 3 x 6 + 5 x 5 − 16 x 4 − 25 x 3 + 26 x 2 + 35 x − 7
4. ให x 2
− 12 x − 28 = ( x − a )( x − b )
นั่นคือ x 2 − 12 x − 28 = x ( x − b) − a ( x − b)
= (x 2
− bx ) − ( ax − ab )
= x − ( a + b ) x + ab
2

จะได a+b =
12 และ ab = − 28

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 277

ให x − 2x + 5 = ( x − a) + b2 โดยที่ b>0


2 2
5.
นั่นคือ x2 − 2 x + 5 = (x 2
− 2ax + a 2 ) + b 2
= x 2 − 2ax + (a 2 + b 2 )
จะได −2a = −2 นั่นคือ a = 1
และ a +b = 5
2 2
นั่นคือ b = 2
ดังนั้น a = 1 และ b = 2
6. ให p( x) = x + 3x , q ( x ) =
2
x − 1 และ r ( x )= x − 1
2

จะได p ( x ) q ( x ) + r ( x ) = ( x + 3x )( x − 1) + ( x − 1)
2 2

= x 2 ( x 2 − 1) + 3 x ( x 2 − 1) + ( x − 1)
= (x 4
− x 2 ) + ( 3 x 3 − 3 x ) + ( x − 1)
= x 4 + 3x3 − x 2 − 2 x − 1
7. 1) วิธีที่ 1 พิจารณา 4 x 4 − 3x3 + 2 x 2 − 5 = ( 4 x − 3x + 2 x ) − 5
4 3 2

= x ( 4 x − 3x + 2 ) − 5
2 2

ดังนั้น ผลหาร คือ 4 x − 3x + 2 และเศษเหลือ คือ −5


2

วิธีที่ 2 จาก a ( x ) = 4 x − 3x + 2 x − 54 3 2

เขียนใหมไดเปน a ( x ) = 4 x − 3x + 2 x + 0 x − 5 4 3 2

ใชการหารยาวดังนี้
4 x 2 − 3x + 2
x 2 4 x 4 − 3x3 + 2 x 2 + 0 x − 5
4 x4
− 3x3 + 2 x 2 + 0 x − 5
−3 x 3
2 x2 + 0 x − 5
2 x2
−5
จะได 4 x − 3x + 2 x =
4
− 5 x ( 4 x − 3x + 2 ) − 5
3 2 2 2

ดังนั้น ผลหาร คือ 4 x − 3x + 2 และเศษเหลือ คือ


2
−5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
278 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) จาก a ( x=) x − 2 เขียนใหมไดเปน


3
a ( x ) = x3 + 0 x 2 + 0 x − 2
และ b ( x=) x + 2 2

ใชการหารยาวดังนี้
x
x + 2 x3 + 0 x 2 + 0 x − 2
2

x3 + 2x
−2 x − 2
จะได x − 2= ( x + 2 ) ( x ) + ( −2 x − 2 )
3 2

ดังนั้น ผลหาร คือ x และเศษเหลือ คือ −2 x − 2


3) ใชการหารยาวดังนี้
x 4 − 3 x3 + 5 x 2 − 11 x + 21
x + 2 x5 − x 4 − x3 − x 2 − x − 2
x5 + 2 x 4
− 3x 4 − x3 − x2 − x− 2
− 3x − 6 x
4 3

5 x3 − x2 − x− 2
5 x + 10 x
3 2

− 11x 2 − x− 2
−11x 2 − 22 x
21x − 2
21x + 42
−44
จะได x − x − x − x − x − 2 = ( x + 2 ) ( x − 3x + 5 x − 11x + 21) − 44
5 4 3 2 4 3 2

ดังนั้น ผลหาร คือ x − 3x + 5 x − 11x + 21 และเศษเหลือ คือ −44


4 3 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 279

4) จาก a ( x=) x + 1 เขียนใหมไดเปน


5
a ( x ) =x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 1
และ b ( x=) x + 1 2

ใชการหารยาวดังนี้
x3 − x
x 2 + 1 x5 + 0 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
x5 + x3
− x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
− x3 − x
x +1

จะได x + 1= ( x + 1)( x − x ) + ( x + 1)
5 2 3

ดังนั้น ผลหาร คือ x − x และเศษเหลือ คือ x + 1


3

5) จาก a ( x ) = x + x + 1
6 3

เขียนใหมไดเปน a ( x ) =x + 0 x + 0 x + x + 0 x
6 5 4 3 2
+ 0x + 1 และ b ( x=) x3 − 1
ใชการหารยาวดังนี้
x3 + 2
x3 − 1 x6 + 0 x5 + 0 x 4 + x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
x6 − x3
2 x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
2 x3 −2
3

จะได x + x + 1= ( x − 1)( x + 2 ) + 3
6 3 3 3

ดังนั้น ผลหาร คือ x + 2 และเศษเหลือ คือ


3
3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
280 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.4
1. 1) ให p ( x ) = x − 3x + 5
4

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 2 )


โดยที่ p ( 2) = ( 2) − 3( 2) + 5
4

= 16 − 6 + 5
= 15
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 15
2) ให p ( x ) = 2 x + 7 x − 5 x − 4
3 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x + 3 จะไดเศษเหลือ คือ p ( −3)


โดยที่ p ( −3) = 2 ( −3) + 7 ( −3) − 5 ( −3) − 4
3 2

= 2 ( −27 ) + 7 ( 9 ) − 5 ( −3) − 4
= −54 + 63 + 15 − 4
= 20
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 20
3) ให p ( x ) = 6 x + 13x − 4
3 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x + 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( −2 )


โดยที่ p ( −2 ) = 6 ( −2 ) + 13 ( −2 ) − 4
3 2

= 6 ( −8 ) + 13 ( 4 ) − 4
= −48 + 52 − 4
= 0
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 0 (แสดงวา x + 2 หาร 6 x3 + 13x 2 − 4
ลงตัว)
4) ให p ( x ) = x − 3x + 4 x − x + 6
4 3 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 1 จะไดเศษเหลือ คือ p (1)


โดยที่ p (1) = (1) − 3 (1) + 4 (1) − 1 + 6
4 3 2

= 1− 3 + 4 −1+ 6
= 7
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 7

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 281

5) ให p ( x) = 2 x 4 − 5 x3 − x 2 + 3x + 1
1  1
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x+ จะไดเศษเหลือ คือ p− 
2  2
4 3 2
 1  1  1  1  1
โดยที่ p−  = 2  −  − 5  −  −  −  + 3 −  + 1
 2  2  2  2  2
 1   1 1  1
= 2   − 5  −  − + 3 −  + 1
 16   8  4  2
1 5 1 3
= + − − +1
8 8 4 2
= 0
1
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 0 (แสดงวา x + หาร 2 x 4 − 5 x3 − x 2 + 3x + 1 ลงตัว)
2
2. ให p ( x ) = x 3
− 2 x2 − 5x + 6
จะได p (1) (1) − 2 (1) − 5 (1) + 6
3 2
=
= 1− 2 − 5 + 6
= 0
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ x − 2 x − 5 x + 6 3 2

3. ให p ( x ) = x + x + x + 1
3 2

จะได p ( −1) = ( −1) + ( −1) + ( −1) + 1 3 2

= −1 + 1 − 1 + 1
= 0
ดังนั้น x + 1 เปนตัวประกอบของ x + x + x + 1 3 2

4. 1) ให p ( x ) = x − 2 x + 8 x − m
3 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 5 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 5)


โดยที่ p ( 5) ( 5) − 2 ( 5) + 8 ( 5) − m
3 2
=
= 125 − 50 + 40 − m
= 115 − m
เนื่องจาก x − 5 หาร x − 2 x + 8 x − m ลงตัว นั่นคือ p ( 5) = 0
3 2

จะได 115 − m = 0 นั่นคือ m = 115


ดังนั้น x − 5 หาร x − 2 x + 8 x − m ลงตัว เมื่อ m = 115
3 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
282 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) ให p ( x ) = 3 x 4 − 2 x 3 + mx − 1
2  2
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x+ จะไดเศษเหลือ คือ p− 
3  3
4 3
 2  2  2  2
โดยที่ p− = 3 −  − 2  −  + m  −  − 1
 3  3  3  3
 16   8   2
= 3  − 2  −  + m  −  − 1
 81   27   3
16 16 2
= + − m −1
27 27 3
5 2
= − m
27 3
เนื่องจาก x + หาร 3x 4 − 2 x3 + mx − 1 เหลือเศษ −1 นั่นคือ p  − 2  =
2
−1
3  3
จะได 5 − 2 m = − 1 นั่นคือ m =
16
27 3 9
ดังนั้น x + 2 หาร 3x 4 − 2 x3 + mx − 1 เหลือเศษ −1 เมื่อ m = 16
3 9
3) ให p ( x ) = x − 5 x − 2
2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x + m จะไดเศษเหลือ คือ p ( −m )


โดยที่ p ( −m ) = ( −m ) − 5 ( −m ) − 2
2

= m 2 + 5m − 2
เนื่องจาก x+m หาร x2 − 5x − 2 เหลือเศษ −8 นั่นคือ p ( −m ) =
−8
จะได m 2 + 5m − 2 = −8
m 2 + 5m + 6 = 0
( m + 2 )( m + 3) = 0
จะได m = − 2 หรือ m = − 3
ดังนั้น x + m หาร x − 5 x − 2 เหลือเศษ −8 เมื่อ m = − 2 หรือ
2
m = −3
5. 1) วิธีที่ 1 ให p ( x ) = x − x − 4 x + 4
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4


พิจารณา p (1)
p (1)= (1) − (1) − 4 (1) + 4= 0
3 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 283

จะเห็นวา p (1) = 0
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ x − x − 4 x + 4 3 2

นํา x − 1 ไปหาร x − x − 4 x + 4 ไดผลหารเปน x − 4


3 2 2

ดังนั้น x − x − 4x + 4 =
3
( x − 1) ( x − 4 )
2 2

= ( x − 1)( x − 2 )( x + 2 )
วิธีที่ 2 x − x − 4x + 4
3 2
= ( x3 − x 2 ) − ( 4 x − 4 )
= x 2 ( x − 1) − 4 ( x − 1)
= (x 2
− 4 ) ( x − 1)
= ( x − 2 )( x + 2 )( x − 1)
2) ให p ( x ) = x + x − 8 x − 12
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −12 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 12


พิจารณา p ( −2 )
p ( −2 ) = ( −2 ) + ( −2 ) − 8 ( −2 ) − 12 = 0
3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) =
0 ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ x + x 3 2
− 8 x − 12
นํา x + 2 ไปหาร x + x − 8 x − 12 ไดผลหารเปน x − x − 6
3 2 2

ดังนั้น x + x − 8 x − 12 =
3 2
( x + 2) ( x − x − 6) 2

= ( x + 2 )( x + 2 )( x − 3)
( x + 2 ) ( x − 3) d
2
=
3) ให p ( x ) = x − 2 x − x
4 3 2
− 4x − 6
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −6 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6
พิจารณา p ( −1)
p ( −1) =( −1) − 2 ( −1) − ( −1) − 4 ( −1) − 6 =0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −1) =0 ดังนั้น x +1 เปนตัวประกอบของ x − 2 x − x − 4 x − 6 4 3 2

นํา x + 1 ไปหาร x − 2 x − x
4 3 2
− 4 x − 6 ไดผลหารเปน x − 3 x + 2 x − 6 3 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
284 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x 4 − 2 x3 − x 2 − 4 x − 6 = ( x + 1) ( x3 − 3x 2 + 2 x − 6 )
= ( x + 1) ( x3 − 3x 2 ) + ( 2 x − 6 )
= ( x + 1)  x 2 ( x − 3) + 2 ( x − 3)
= ( x + 1)( x − 3) ( x 2 + 2 )
4) ให p ( x=) x − 1 3

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1


พิจารณา p (1)
p (1)= (1) − 1= 0
3

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ x3 − 1


นํา x − 1 ไปหาร x − 1 ไดผลหารเปน x + x + 1
3 2

ดังนั้น x − 1 = ( x − 1) ( x + x + 1) s
3 2

5) วิธีที่ 1 ให p ( x=) x − 1 4

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1


พิจารณา p (1)
p (1=
) (1) − 1= 0
4

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ x − 1 4

นํา x − 1 ไปหาร x − 1 ไดผลหารเปน x + x + x + 1


4 3 2

ดังนั้น x −1 = ( x − 1) ( x + x + x + 1)
4 3 2

= ( x − 1) ( x + x ) + ( x + 1) 3 2

= ( x − 1)  x 2 ( x + 1) + ( x + 1)
= ( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1)
วิธีที่ 2 x4 − 1 = ( x ) −1
2 2

= ( x − 1)( x
2 2
+ 1)
= ( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 285

6) วิธีที่ 1 ให p ( x ) =x − 5 x + 4 4 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4


พิจารณา p (1)
p (1)= (1) − 5 (1) + 4= 0
4 2

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ x − 5 x + 4 4 2

นํา x − 1 ไปหาร x − 5 x + 4 ไดผลหารเปน x + x − 4 x − 4


4 2 3 2

ดังนั้น x − 5x + 4 = ( x − 1) ( x + x − 4 x − 4 )
4 2 3 2

= ( x − 1) ( x + x ) − ( 4 x + 4 ) 3 2

= ( x − 1)  x 2 ( x + 1) − 4 ( x + 1)
= ( x − 1)( x + 1) ( x 2 − 4 )
= ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( x + 2 )
วิธีที่ 2 x − 5x + 4 =
4 2
(x 2
− 1)( x 2 − 4 )
= ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( x + 2 ) s
7) ให p ( x ) = x − 2 x + x
4 3 2
− 4x + 4
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4
พิจารณา p (1)
p (1)= (1) − 2 (1) + (1) − 4 (1) + 4= 0
4 3 2

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ x − 2 x + x 4 3 2


− 4x + 4
นํา x − 1 ไปหาร x − 2 x + x − 4 x + 4 ไดผลหารเปน x − x − 4
4 3 2 3 2

ดังนั้น x − 2 x + x − 4 x + 4 = ( x − 1) ( x − x − 4 )
4 3 2 3 2

ให q ( x ) = x − x − 4
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4


พิจารณา q ( 2 )
q ( 2 )= ( 2) − ( 2) − 4= 0
3 2

จะเห็นวา q ( 2 ) = 0 ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x 3


− x2 − 4
นํา x − 2 ไปหาร x − x − 4 ไดผลหารเปน x + x + 2
3 2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
286 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x − x − 4 = ( x − 2) ( x + x + 2)
3 2 2

จะได x − 2 x + x − 4 x + 4 = ( x − 1)( x − 2 ) ( x + x + 2 )
4 3 2 2

8) ให p ( x ) =x − 2 x − 13x + 14 x + 24
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 24 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 8, ± 12, ± 24


พิจารณา p ( −1)
p ( −1) =−
( 1) − 2 ( −1) − 13 ( −1) + 14 ( −1) + 24 =0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −1) = 0 ดังนั้น x + 1 เปนตัวประกอบของ x − 2 x − 13 x + 14 x + 24 4 3 2

นํา x + 1 ไปหาร x − 2 x − 13x + 14 x + 24 ไดผลหารเปน x − 3x − 10 x + 24


4 3 2 3 2

ดังนั้น x − 2 x − 13x + 14 x + 24 = ( x + 1) ( x − 3x − 10 x + 24 )
4 3 2 3 2

ให q ( x ) =x − 3x − 10 x + 24
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 24 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 8, ± 12, ± 24


พิจารณา q ( 2 )
q ( 2) = ( 2) − 3 ( 2 ) − 10 ( 2 ) + 24 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( 2 ) = 0 ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x − 3x − 10 x + 24 3 2

นํา x − 2 ไปหาร x − 3x − 10 x + 24 ไดผลหารเปน x − x − 12


3 2 2

ดังนั้น x − 3 x − 10 x + 24 = ( x − 2 ) ( x − x − 12 )
3 2 2

จะได x − 2 x − 13x + 14 x + 24 = ( x + 1)( x − 2 ) ( x − x − 12 )


4 3 2 2

= ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 )
6. 1) ให p ( x ) = 6 x − 11x + 6 x − 1
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6
พิจารณา p (1)
p (=
1) 6 (1) − 11(1) + 6 (1) −=
3 2
1 0
จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1เปนตัวประกอบของ 6 x − 11x 3 2
+ 6x −1
นํา x − 1 ไปหาร 6 x − 11x 3 2
+ 6 x − 1 ไดผลหารเปน 6 x − 5 x + 1 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 287

ดังนั้น 6 x 3 − 11x 2 + 6 x − 1 = ( x − 1) ( 6 x 2 − 5 x + 1)
= ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1) ก
2) ให p ( x ) = 6 x + x − 11x − 6
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −6 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6


และจํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6
พิจารณา p ( −1)
p ( −1) = 6 ( −1) + ( −1) − 11( −1) − 6 = 0
3 2

จะเห็นวา p ( −1) =0 ดังนั้น x + 1 เปนตัวประกอบของ 6 x + x 3 2


− 11x − 6
นํา x + 1 ไปหาร 6 x + x − 11x − 6 ไดผลหารเปน 6 x − 5 x − 6
3 2 2

ดังนั้น 6 x + x − 11x − 6 = ( x + 1) ( 6 x − 5 x − 6 )
3 2 2

= ( x + 1)( 3x + 2 )( 2 x − 3)
3) ให p ( x ) = 8 x + 8 x + 6 x + 4 x + 1
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 8 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8
 1
พิจารณา p− 
 2
4 3 2
 1  1  1  1  1
p  −  =8  −  + 8  −  + 6  −  + 4  −  + 1 =0
 2   2   2   2   2
 1 1
จะเห็นวา p−  = 0 ดังนั้น x + เปนตัวประกอบของ 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1
 2  2
1
นํา x+ ไปหาร 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1 ไดผลหารเปน 8 x3 + 4 x 2 + 4 x + 2
2
 1 3
ดังนั้น 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1 =  x +  (8 x + 4 x + 4 x + 2 )
2

 2 
 1
 x +  ( 8 x + 4 x ) + ( 4 x + 2 ) 
3 2
=
 2 
 1 
 x +   4 x ( 2 x + 1) + 2 ( 2 x + 1) 
2
=
 2 
 1
 x +  ( 2 x + 1) ( 4 x + 2 )
2
=
 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
288 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

 1
= 2  x +  ( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1)
 2
= ( 2 x + 1)( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1)
( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1)
2
=
ก 4) ให p ( x ) = 3x − 8 x + x + 8 x − 4
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4


และจํานวนเต็มที่หาร 3 ลงตัว คือ ±1, ± 3
พิจารณา p (1)
) 3 (1) − 8 (1) + (1) + 8 (1) −=
p (1=
4 3 2
4 0
จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ 3x − 8 x + x + 8 x − 4 4 3 2

นํา x − 1 ไปหาร 3x − 8 x + x + 8 x − 4 ไดผลหารเปน 3x − 5 x − 4 x + 4


4 3 2 3 2

ดังนั้น 3x − 8 x + x + 8 x − 4 = ( x − 1) ( 3x − 5 x − 4 x + 4 )
4 3 2 3 2

ให q ( x ) = 3x − 5 x − 4 x + 4
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4


และจํานวนเต็มที่หาร 3 ลงตัว คือ ±1, ± 3
พิจารณา q ( −1)
q ( −1) = 3 ( −1) − 5 ( −1) − 4 ( −1) + 4 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( −1) =0 ดังนั้น x + 1 เปนตัวประกอบของ 3x − 5 x 3 2


− 4x + 4
นํา x + 1 ไปหาร 3x − 5 x − 4 x + 4 3 2
ไดผลหารเปน 3x − 8 x + 4
2

ดังนั้น 3x − 5 x − 4 x + 4 =
3 2
( x + 1) ( 3x 2 − 8 x + 4 )
จะได 3x − 8 x + x + 8 x − 4 =
4 3 2
( x − 1)( x + 1) ( 3x 2 − 8 x + 4 )
= ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3x − 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 289

แบบฝกหัด 3.5
1. 1) เนื่องจาก x − 2 x − 5 x + 6 = ( x − 1) ( x − x − 6 ) = ( x − 1)( x + 2 )( x − 3)
3 2 2

จะได ( x − 1)( x + 2 )( x − 3) =0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x + 2 =0 หรือ x − 3 =0
จะได x = 1 หรือ x = − 2 หรือ x = 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1, 3 }
2) เนื่องจาก x + x − 8 x − 12 =( x + 2 )( x + 2 )( x − 3)
3 2

จะได ( x + 2 )( x + 2 )( x − 3) =
0
ดังนั้น x + 2 =0 หรือ x − 3 =0
จะได x = − 2 หรือ x = 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 3 } ก
3) เนื่องจาก 1 − 3x + 2 x =( x − 1)( x − 1)( 2 x + 1)
2 3

จะได ( x − 1)( x − 1)( 2 x + 1) =


0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ 2 x + 1 =0
1
จะได x =1 หรือ x= −
2
 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − ,1
 2 
4) จัดรูปสมการใหมไดเปน 3x − 2 x − 7 x − 2 =0
3 2

เนื่องจาก 3x − 2 x − 7 x − 2 = ( x + 1)( x − 2 )( 3x + 1)
3 2

จะได ( x + 1)( x − 2 )( 3x + 1) =
0
ดังนั้น x + 1 =0 หรือ x − 2 =0 หรือ 3x + 1 =0
1
จะได x = −1 หรือ x=2 หรือ x= −
3
 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1, − , 2 
 3 
5) เนื่องจาก 6 − 13x + 4 x =( x + 2 )( 2 x − 1)( 2 x − 3)
3

จะได ( x + 2 )( 2 x − 1)( 2 x − 3) =
0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
290 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x+2 =0 หรือ 2x −1 =0 หรือ 2x − 3 =0


1 3
จะได x = −2 หรือ x= หรือ x=
2 2
 1 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 2, , 
 2 2
6) เนื่องจาก x − 3x + x + 2 = ( x − 2 ) ( x
3 2 2
− x − 1)
จะได ( x − 2 ) ( x − x − 1) =0
2

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x − x − 1 =0 2

1± 5
จะได x=2 หรือ x=
2
 1 + 5 1 − 5 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  2, , 
 2 2 
7) จัดรูปสมการใหมไดเปน 2 x − 3x − 5 x + 6 =0 3 2

เนื่องจาก 2 x − 3x − 5 x + 6 = ( x − 1)( x − 2 )( 2 x + 3)
3 2

จะได ( x − 1)( x − 2 )( 2 x + 3) =
0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x − 2 =0 หรือ 2 x + 3 =0
3
จะได x =1 หรือ x=2 หรือ x= −
2
 3 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − , 1, 2 
 2 
8) เนื่องจาก x − x − x − 2 = ( x − 2 ) ( x + x + 1)
3 2 2

จะได ( x − 2 ) ( x + x + 1) =0
2

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x + x + 1 =0 2

ถา x − 2 =0 จะได x = 2
ถา x + x + 1 =0 และเนื่องจาก (1) − 4 (1)(1) =− 3 < 0
2 2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 291

9) เนื่องจาก 4 x + 13x + 4 x − 12 = ( x + 2 )( x + 2 )( 4 x − 3)
3 2

จะได ( x + 2 )( x + 2 )( 4 x − 3) =
0
ดังนั้น x + 2 =0 หรือ 4 x − 3 =0
3
จะได x = −2 หรือ x=
4
 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 2, 
 4
10) จัดรูปสมการใหมไดเปน 2 x − 13 x + 28 x 2 − 23x + 6 =
4 3
0
เนื่องจาก 2 x − 13x + 28 x − 23x + 6 = ( x − 1)( x − 2 )( x − 3)( 2 x − 1)
4 3 2

จะได ( x − 1)( x − 2 )( x − 3)( 2 x − 1) =


0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x − 2 =0 หรือ x − 3 =0 หรือ 2 x − 1 =0
1
จะได x =1 หรือ x=2 หรือ x=3 หรือ x=
2
1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  , 1, 2, 3 
2 
11) เนื่องจาก 4 x − 4 x − 9 x + x + 2 = ( x + 1)( x − 2 )( 2 x − 1)( 2 x + 1)
4 3 2

จะได ( x + 1)( x − 2 )( 2 x − 1)( 2 x + 1) =


0
ดังนั้น x + 1 =0 หรือ x − 2 =0 หรือ 2 x − 1 =0 หรือ 2x + 1 =0
1
จะได x = −1 หรือ x=2 หรือ หรือ x = − 1
x=
2 2
 1 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1, − , , 2 
 2 2 
12) จัดรูปสมการใหมไดเปน 3x − 8 x + x + 8 x − 4 =0
4 3 2

เนื่องจาก 3x − 8 x + x + 8 x − 4 = ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3x − 2 )


4 3 2

จะได ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3x − 2 ) =


0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x + 1 =0 หรือ x − 2 =0 หรือ 3x − 2 =0
2
จะได x =1 หรือ x = −1 หรือ x=2 หรือ x=
3
 2 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1, , 1, 2 
 3 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
292 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

13) เนื่องจาก x − 2 x − 13x + 14 x + 24 = ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 )


4 3 2

จะได ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 ) =0


ดังนั้น x + 1 =0 หรือ x − 2 =0 หรือ x + 3 =0 หรือ x − 4 =0
จะได x = − 1 หรือ x = 2 หรือ x = − 3 หรือ x = 4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3, − 1, 2, 4 }
2. ใหจํานวนคี่สามจํานวนที่เรียงติดกัน คือ x − 2, x , x + 2
ดังนั้น ( x − 2 )( x )( x + 2 ) = 1, 287
นั่นคือ x − 4 x − 1287 =
3
0
( x − 11) ( x 2 + 11x + 117 ) = 0
ดังนั้น x − 11 = 0 หรือ x + 11x + 117 = 2
0
ถา x − 11 = 0 จะได x = 11
ถา x + 11x + 117 = 0 และเนื่องจาก (11) − 4 (1)(117 ) =
− 347
2 2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น x = 11
สรุปไดวา จํานวนที่นอยที่สุด คือ 11 − 2 =9
3. ความสัมพันธระหวางเวลากับความสูงของลูกบอลจากพื้นดินแทนดวยสมการ
s ( t ) =12 + 28t − 5t 2
จัดรูปสมการใหมไดเปน s ( t ) =− 5t + 28t + 12 2

ลูกบอลจะกระทบพื้นเมื่อ s ( t ) = 0
นั่นคือ −5t + 28t + 12 = 0
2

5t 2 − 28t − 12 = 0
( 5t + 2 )( t − 6 ) = 0
ดังนั้น 5t + 2 =0 หรือ t −6 =0
2
จะได t= − หรือ t=6
5
ดังนั้น ลูกบอลจะลอยอยูในอากาศนาน 6 วินาที กอนตกกระทบพื้นดินครั้งแรก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 293

แบบฝกหัด 3.6
x3 − 1 ( x − 1) ( x 2 + x + 1)
1. 1) =
x −1 x −1
= x + x +1
2
เมื่อ x ≠ 1ด

2)
4 x2 − 9
=
( 2 x − 3)( 2 x + 3)
2 x2 + x − 3 ( 2 x + 3)( x − 1)
2x − 3
= เมื่อ x ≠ − 3
x −1 2

3)
x3 − x 2 − x + 1
=
( x − x ) − ( x − 1)
3 2

x − 4 x3 + 4 x 2 − 1
4
(x 4
− 1) − ( 4 x 3 − 4 x 2 )
x 2 ( x − 1) − ( x − 1)
=
(x 2
− 1)( x 2 + 1) − 4 x 2 ( x − 1)
x 2 ( x − 1) − ( x − 1)
=
( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1) − 4 x 2 ( x − 1)
( x − 1) ( x 2 − 1)
=
( x − 1) ( x + 1) ( x 2 + 1) − 4 x 2 
( x − 1)( x + 1)
= เมื่อ x ≠1
(x 3
+ x 2 + x + 1) − 4 x 2
( x − 1)( x + 1)
=
x3 − 3x 2 + x + 1
( x − 1)( x + 1)
=
( x − 1) ( x 2 − 2 x − 1)
x +1
= เมื่อ x ≠1 ด
x − 2x −1
2

x 2 − 3x x2 − 4 x ( x − 3) ( x − 2 )( x + 2 )
2. 1) ⋅ = ⋅
x2 − x − 2 x2 − x − 6 ( x − 2 )( x + 1) ( x − 3)( x + 2 )
x
= เมื่อ x ≠ − 2, x ≠ 2 และ x≠3
x +1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
294 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x3 − 1 x3 + 1 ( x − 1) ( x 2 + x + 1) ( x + 1) ( x 2 − x + 1)
2) ⋅ = ⋅
x2 − x + 1 x2 + x + 1 x2 − x + 1 x2 + x + 1
2
 1 3
= ( x − 1)( x + 1) เนื่องจาก x2 ± x + 1 =  x ±  + > 0
 2 4
= x2 − 1
x 2 + 3 x − 10 x + 5 x 2 + 3 x − 10 x + 2
3) ÷ = ⋅
x+2 x+2 x+2 x+5
( x + 5)( x − 2 ) ⋅ x + 2
=
x+2 x+5
= x−2 เมื่อ x ≠ − 2 และ x ≠ −5
2 x − 8 x − 162
2x − 8 x + x 3 2
4) ÷ 3 = ⋅ 2
x2 x + x2 x2 x − 16
2 ( x − 4) x 2 ( x + 1)
= ⋅
x2 ( x − 4 )( x + 4 )
2 ( x + 1)
= เมื่อ x ≠ 0 และ x ≠ 4
x+4
2x + 2
= เมื่อ x ≠ 0 และ x ≠ 4
x+4

3. 1)
1
+
1
+
1
=
( x + 1)( x + 2 ) + x ( x + 2 ) + x ( x + 1)
x x +1 x + 2 x ( x + 1)( x + 2 ) x ( x + 1)( x + 2 ) x ( x + 1)( x + 2 )

=
(x 2
+ 3x + 2 ) + ( x 2 + 2 x ) + ( x 2 + x )
x ( x + 1)( x + 2 )
3x 2 + 6 x + 2
=
x ( x + 1)( x + 2 )
x x −1 x x −1
2) + 2 = +
x + x − 6 x + 5x + 6
2
( x − 2 )( x + 3) ( x + 2 )( x + 3)
x ( x + 2) ( x − 1)( x − 2 )
= +
( x − 2 )( x + 2 )( x + 3) ( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)
=
(x 2
+ 2 x ) + ( x 2 − 3x + 2 )
( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)
2 x2 − x + 2
=
( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 295

2 2 1 2 ( x + 1)( x + 2 ) 2 ( 3 x )( x + 2 )
( 3x )( x + 1)
3) − + = − +
3x x + 1 x + 2 3 x ( x + 1)( x + 2 ) 3 x ( x + 1)( x + 2 ) 3 x ( x + 1)( x + 2 )

=
( 2x 2
+ 6 x + 4 ) − ( 6 x 2 + 12 x ) + ( 3 x 2 + 3 x )
3 x ( x + 1)( x + 2 )
− x − 3x + 4
2
=
3 x ( x + 1)( x + 2 )
x2 − 5 4 x2 − 5 4
4) − 2 = −
x − 5x + 6 x − 4
2
( x − 2 )( x − 3) ( x − 2 )( x + 2 )
=
(x 2
− 5) ( x + 2 )

4 ( x − 3)
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3) ( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
=
( x3 + 2 x 2 − 5 x − 10 ) − ( 4 x − 12 )
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
x3 + 2 x 2 − 9 x + 2
=
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
( x − 2 ) ( x 2 + 4 x − 1)
=
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
x2 + 4 x − 1
= เมื่อ x≠2
( x + 2 )( x − 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
296 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.7
1. 1) จัดรูปสมการใหมไดเปน ด
x ( x − 1) 2
− = 0
( x + 1)( x + 2 ) ( x + 1)( x + 2 )
x2 − x − 2
= 0
( x + 1)( x + 2 )
( x − 2 )( x + 1) = 0
( x + 1)( x + 2 )
x−2
= 0 เมื่อ x ≠ −1
x+2
จะได x − 2 =0 และ x+2 ≠ 0
นั่นคือ x = 2 โดยที่ x ≠ − 2 และ x ≠ − 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 }
x x +1
2) จาก + = 0
x −1 x
x2
+
( x + 1)( x − 1) = 0
x ( x − 1) x ( x − 1)
x 2 + ( x 2 − 1)
= 0
x ( x − 1)
2x2 − 1
= 0
x ( x − 1)
จะได 2 x 2 − 1 =0 และ x ( x − 1) ≠ 0
1 1
จะได x= − หรือ x= โดยที่ x≠0 และ x ≠1
2 2
 1 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − , 
 2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 297

3) จัดรูปสมการใหมไดเปน
1 x+6
− = 0
x x2 + 3
x2 + 3

( x + 6 )( x )
= 0
x ( x 2 + 3) x ( x 2 + 3)
(x 2
+ 3) − ( x 2 + 6 x )
= 0
x ( x 2 + 3)
−6 x + 3
= 0
x ( x 2 + 3)
จะได −6 x + 3 =0 และ x ( x 2
+ 3) ≠ 0
เนื่องจาก x + 3 > 0 เสมอ
2

1
จะได x= โดยที่ x≠0
2
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ   ด
2
1 4
4) จาก − = 1
x x −1
x −1 4x
− = 1
x ( x − 1) x ( x − 1)
( x − 1) − 4 x = 1
x ( x − 1)
−3 x − 1
= 1
x ( x − 1)
−3 x − 1
−1 = 0
x ( x − 1)
−3 x − 1 x ( x − 1)
− = 0
x ( x − 1) x ( x − 1)
( −3x − 1) − x ( x − 1) = 0
x ( x − 1)
( −3x − 1) − ( x 2 − x )
= 0
x ( x − 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
298 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

− x2 − 2 x − 1
= 0
x ( x − 1)
x2 + 2 x + 1
= 0
x ( x − 1)
( x + 1)
2

= 0
x ( x − 1)
จะได ( x + 1)2 =
0 และ x ( x − 1) ≠ 0
นั่นคือ x = − 1 โดยที่ x ≠ 0 และ x ≠ 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
1 1 1 1
5) จาก + 2 = + ด
x +1 x + x x x2
1 1 1 1
+ = +
x + 1 x ( x + 1) x x2
x 1 x 1
+ = + 2
x ( x + 1) x ( x + 1) x 2
x
x +1 x +1
=
x ( x + 1) x2
x +1 x +1
− 2 = 0
x ( x + 1) x
x ( x + 1) ( x + 1)( x + 1)
− = 0
x ( x + 1)
2
x 2 ( x + 1)
x ( x + 1) − ( x + 1)( x + 1)
= 0
x 2 ( x + 1)
(x 2
+ x ) − ( x 2 + 2 x + 1)
= 0
x 2 ( x + 1)
−x −1
= 0
x ( x + 1)
2

x +1
= 0
x ( x + 1)
2

1
= 0 เมื่อ x ≠ −1
x2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 299

จะเห็นวาไมมีจํานวนจริง x ที่ทาํ ใหสมการนี้เปนจริง


ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅
6) จัดรูปสมการใหมไดเปน
1 1 6
+ − = 0
x +1 x −1 5
2

( x − 1)( 5) + ( x 2 + 1) ( 5) − 6 ( x − 1) ( x 2 + 1)
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)
( 5 x − 5) + ( 5 x 2 + 5) − ( 6 x3 − 6 x 2 + 6 x − 6 )
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)
−6 x 3 + 11x 2 − x + 6
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)
6 x 3 − 11x 2 + x − 6
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)
( x − 2 ) ( 6 x 2 + x + 3)
= 0
( x − 1) ( x 2 + 1)
จะได ( x − 2 ) ( 6 x + x + 3) =0 และ ( x − 1) ( x + 1) ≠ 0
2 2

เนื่องจาก 1 − 4 ( 6 )( 3) < 0 จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให


2
6 x2 + x + 3 =0
และเนื่องจาก x + 1 > 0 เสมอ
2

จะได x = 2 โดยที่ x ≠ 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 }
1 x 1
7) จาก − 2 =
x − 2 x +1 6
x +1
2
x ( x − 2) 1
− =
( x − 2 ) ( x + 1) ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
2
6
(x 2
+ 1) − ( x 2 − 2 x )
=
1
( x − 2) ( x 2
+ 1) 6
2x + 1 1
=
( x − 2 ) ( x 2 + 1) 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
300 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2x + 1 1
− = 0
( x − 2 ) ( x + 1) 6
2

6 ( 2 x + 1) ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
− = 0
6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1) 6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
(12 x + 6 ) − ( x3 − 2 x 2 + x − 2 )
= 0
6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
− x 3 + 2 x 2 + 11x + 8
= 0
6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
x 3 − 2 x 2 − 11x − 8
= 0
( x − 2 ) ( x 2 + 1)
( x + 1) ( x 2 − 3x − 8)
= 0
( x − 2 ) ( x 2 + 1)
0 และ ( x − 2 ) ( x
จะได ( x + 1) ( x − 3x − 8) =2 2
+ 1) ≠ 0
เนื่องจาก x + 1 > 0 เสมอ
2

3 − 41
3 + 41
จะได x = −1 , x = หรือ
โดยที่ x ≠ 2
x=
2 2
 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1, 3 − 41 , 3 + 41 
 2 2 
1 1 2
8) จาก − 2 =
x − x +1 x + x +1
2
3x
( x + x + 1) − ( x − x + 1) = 2
2 2

( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) 3x
2x 2
=
( x − x + 1)( x 2 + x + 1)
2
3x
2x 2
− = 0
( x − x + 1)( x + x + 1) 3x
2 2

x 1
− = 0
(x 2
− x + 1)( x + x + 1)
2
3x
( x )( 3x ) − ( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1)
= 0
( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3x )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 301

3 x 2 − ( x 4 + x 2 + 1)
= 0
(x 2
− x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3 x )
− x4 + 2 x2 − 1
= 0
( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3x )
x4 − 2 x2 + 1
= 0
( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3x )
( x − 1) 2 2

= 0
( x − x + 1)( x + x + 1) ( 3x )
2 2

( x − 1) ( x + 1)
2 2

= 0
(x 2
− x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3 x )
0 และ ( x − x + 1)( x + x + 1) ( 3 x ) ≠ 0
จะได ( x − 1) ( x + 1) =
2 2 2 2

เนื่องจาก ( −1) − 4 (1)(1) < 0 จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให x


2 2
− x +1 =0
และเนื่องจาก 1 − 4 (1)(1) < 0 จะไดวา ไมมจี ํานวนจริง x ทีท่ ําให x
2 2
+ x +1 =0
จะได x = − 1 หรือ x = 1 โดยที่ x ≠ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 1}
2. ใหอัตราเร็วของการบินปกติ คือ x กิโลเมตรตอชั่วโมง
1500
ในการบินระยะทาง 1,500 กิโลเมตร ดวยอัตราเร็วปกติ จะใชเวลา ชั่วโมง
x
เนื่องจากเครื่องบินพบกับสภาพอากาศแปรปรวน จึงบินดวยอัตราเร็วลดลง
100 กิโลเมตรตอชั่วโมง
นั่นคือ เมื่อพบสภาพอากาศแปรปรวน เครื่องบินจะบินดวยอัตราเร็ว
x − 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง
1500
ดังนั้น เมื่อพบสภาพอากาศแปรปรวน เครื่องบินจะใชเวลาบิน ชั่วโมง
x − 100
เนื่องจากการบินในสภาพอากาศแปรปรวนจะถึงที่หมายชากวาปกติอยู 10 นาที
1500 1500 10
ดังนั้น − =
x − 100 x 60
1500 1500 1
− =
x − 100 x 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
302 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1500 1500 1
− − = 0
x − 100 x 6
1500 ( 6 x ) − (1500 )( 6 )( x − 100 ) − x ( x − 100 )
= 0
6 x ( x − 100 )
9000 x − 9000 x + 900000 − x 2 + 100 x
= 0
6 x ( x − 100 )
x 2 − 100 x − 900000
= 0
6 x ( x − 100 )
( x + 900 )( x − 1000 ) = 0
6 x ( x − 100 )
จะได ( x + 900 )( x − 1000 ) = 0 และ 6 x ( x − 100 ) ≠ 0
นั่นคือ x = − 900 หรือ x = 1,000 โดยที่ x ≠ 0 และ x ≠ 100
เนื่องจาก x > 0
จะได เซตคําตอบของสมการ คือ { 1000 }
ดังนั้น อัตราเร็วของการบินปกติ คือ 1,000 กิโลเมตรตอชั่วโมง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 303

แบบฝกหัด 3.8
1. ไมจริง (เชน a = − 1 และ b = − 2 จะได a2 = 1 และ b2 = 4
ซึ่งจะเห็นวา a > b แต a < b ) ด
2 2

1 1
2. ไมจริง (เชน a =1 และ b = −1 จะได =1 และ = −1
a b
1 1
ซึ่งจะเห็นวา a>b และ > )
a b
3. จริง
4. จริง
5. จริง
6. จริง
7. กรณีที่ a และ b เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ กรณีที่ a และ b เปน
จํานวนจริงลบทั้งคู
8. กรณีที่ a เปนจํานวนจริงบวก แต b เปนจํานวนจริงลบ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
304 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.9ก

1. 1) { x | − 3 ≤ x < 1} –4 –3 –2 –1 0 1 2

2) { x | x > − 2} –3 –2 –1 0 1 2 3

3) { x | 4 ≤ x ≤ 7}
2 3 4 5 6 7 8

4) { x | − 3 < x < 0} –4 –3 –2 –1 0 1 2

5) { x | x < − 3}
–5 –4 –3 –2 –1 0 1

6) { x | x ≥ 1} –2 –1 0 1 2 3 4

7) { x | −1 < x ≤ 4 } –2 –1 0 1 2 3 4

8) { x | x ≤ 1}
–4 –3 –2 –1 0 1 2

9) { x | − 10 < x < − 8 }
–12 –11 –10 –9 –8 –7 –6

10 ) { x | 2.5 ≤ x ≤ 4 } –2 –1 0 1 2 2.5 3 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 305

2. เขียนแสดง A และ B บนเสนจํานวนไดดังนี้

–1 0 1 2 3 4

1) A ∪ B =( − 1, 4 ] ด 2) [ 0, 2 )
A∩ B =
3) A − B =( − 1, 0 ) ด 4) [ 2, 4 ]
B−A=
5) A′ = ( − ∞ , − 1 ] ∪ [ 2, ∞ ) ด 6) B′ = ( − ∞ , 0 ) ∪ ( 4, ∞ )
3. เขียนแสดง A, B และ C บนเสนจํานวนไดดังนี้

–1 0 1 2 3 4 5

จากเสนจํานวนจะไดวา
1) { x | − 1 < x ≤ 4 } หรือ ( − 1, 4 ]
2) { x | 2 ≤ x ≤ 4 } หรือ [ 2, 4 ]
3) { x | − 1 < x ≤ 5 } หรือ ( − 1, 5 ]
4) { x | 2 ≤ x < 3 } หรือ [ 2, 3 )
5) { x | − 1 < x < 2 } หรือ ( − 1, 2 )
6) { x | 3 ≤ x ≤ 4 } หรือ [ 3, 4 ]
7) { x | 1 < x ≤ 4 } หรือ ( 1, 4 ]
8) { x | 1 < x ≤ 4 } หรือ ( 1, 4 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
306 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.9ข
1. จาก 3x + 1 < 2x −1
จะได 3x − 2 x < −1 − 1
x < −2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ด
2. จาก 4y + 7 > 2 ( y + 1)
จะได 4y + 7 > 2y + 2
4y − 2y > 2−7
2y > −5
5
y > −
2
 5 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,∞
 2 
3. จาก 2 ( 3 y − 1) > 3 ( y − 1)
จะได 6y − 2 > 3y − 3
6 y − 3y > −3 + 2
3y > −1
1
y > −
3
 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,∞
 3 
4. จาก 4 − (3 − x ) < 3x − ( 3 − 2 x )
จะได 4−3+ x < 3x − 3 + 2 x
x − 3x − 2 x < −3 − 4 + 3
−4x < −4
x > 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, ∞ )
5. จาก x2 − x − 6 ≤ 0
จะได ( x − 3)( x + 2 ) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 307

x–3 < 0 x–3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 2, 3 ]


6. จาก 2x + 7x + 3
2
≥ 0
จะได ( 2 x + 1)( x + 3) ≥ 0
พิจารณาเสนจํานวน
2x + 1 < 0 2x + 1 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 3] ∪  − 1 , ∞ 


2  
7. จาก 6x − x 2
≥ 5
จะได x2 − 6 x + 5 ≤ 0

( x − 5)( x − 1) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 1, 5 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
308 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

8. จาก 2x < 3 − x2
จะได x2 + 2 x − 3 < 0

( x − 1)( x + 3) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
x+3 < 0 x+3 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 3, 1 )


9. จาก x + 2x < 2
15
จะได x + 2 x − 15 <2
0

( x − 3)( x + 5) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x+5 < 0 x+5 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 5, 3 )


10. จาก 3x + 2 ≥ 2
7x
จะได 3x − 7 x + 2 ≥ 2
0

( 3x − 1)( x − 2 ) ≥ 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 309

3x – 1 < 0 3x – 1 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

–1 0 1 2 3 4

 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − ∞, ∪ [ 2, ∞ )
 3 
11. จาก x − 3x 2
3
≤ 10x
จะได x 3 − 3 x 2 − 10 x ≤ 0
x ( x 2 − 3 x − 10 ) ≤ 0
x ( x + 2 )( x − 5 ) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน
x< 0 x> 0

x+2 < 0 x+2 > 0

x–5 < 0 x–5 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ] ∪ [ 0, 5 ]


12. จาก x − x − x +1
3
≥ 2
0
จะได ( x − x ) − ( x − 1) ≥ 0
3 2

x 2 ( x − 1) − ( x − 1) ≥ 0
( x − 1) ( x − 1) 2
≥ 0
( x − 1)( x − 1)( x + 1) ≥ 0
( x − 1) ( x + 1) ≥
2
0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
310 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, ∞ )


วิธีที่ 2 จาก ( x − 1) ( x + 1) ≥ 0
2

เนื่องจาก ( x − 1) ≥ 0 เสมอ 2

จะได x +1 ≥ 0
x ≥ −1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, ∞ )
13. จาก x3 − x > 2x2 − 2
จะได x3 − 2 x 2 − x + 2 > 0

(x 3
− 2 x2 ) − ( x − 2) > 0
x2 ( x − 2) − ( x − 2) > 0
( x − 2 ) ( x − 1)
2
> 0
( x − 2 )( x − 1)( x + 1) > 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 1 ) ∪ ( 2, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 311

14. จาก x ( x2 + 4) < 5x 2


จะได x ( x2 + 4) − 5x2 < 0
x3 − 5 x 2 + 4 x < 0
x ( x2 − 5x + 4) < 0
x ( x − 1)( x − 4 ) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
x < 0 x > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 ) ∪ ( 1, 4 )


( x − 1)( x + 3)
15. จาก ≤ 0
x−2
พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 3 ] ∪ [ 1, 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
312 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2x − 3
16. จาก > 0
( x + 2 )( x − 5)
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

 3 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 2,  ∪ ( 5, ∞ )
 2 
x 2 + 12
17. จาก > 7
x
x + 12
2
จะได −7 > 0
x
x 2 − 7 x + 12
> 0
x
( x − 3)( x − 4 )
> 0
x

พิจารณาเสนจํานวน
x–3< 0 x–3> 0

x–4< 0 x–4> 0

x < 0 x > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 0, 3 ) ∪ ( 4, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 313

x2 + 6
18. จาก ≤ 5
x
x +6
2
จะได −5 ≤ 0
x
x2 − 5x + 6
≤ 0
x
( x − 2 )( x − 3)
≤ 0
x
พิจารณาเสนจํานวน
x –3 < 0 x –3 > 0

x –2 < 0 x –2 > 0

x < 0 x > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 ) ∪ [ 2, 3 ]


6
19. จาก > 1
x −1
6
จะได −1 > 0
x −1
6 − ( x − 1)
> 0
x −1
−x + 7
> 0
x −1
x−7
< 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
314 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–7 < 0 x–7 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–1 0 1 2 3 4 5 6 7

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, 7 )


2x − 4
20. จาก < 1
x −1
2x − 4
จะได −1 < 0
x −1
( 2 x − 4 ) − ( x − 1)
< 0
x −1
x−3
< 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, 3 )


6
21. จาก ≤ x +1
x−4
6
จะได − ( x + 1) ≤ 0
x−4
6 − ( x + 1)( x − 4 )
≤ 0
x−4
6 − ( x 2 − 3x − 4 )
≤ 0
x−4
− x 2 + 3 x + 10
≤ 0
x−4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 315

x 2 − 3 x − 10
≥ 0
x−4
( x − 5)( x + 2 )
≥ 0
x−4
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 2, 4 ) ∪ [ 5, ∞ )


8
22. จาก ≥ x
x+2
8
จะได −x ≥ 0
x+2
8 − x ( x + 2)
≥ 0
x+2
8 − ( x2 + 2 x )
≥ 0
x+2
−x − 2x + 8
2
≥ 0
x+2
x2 + 2 x − 8
≤ 0
x+2
( x + 4 )( x − 2 )
≤ 0
x+2
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
316 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–2<0 x–2>0

x+2<0 x+2>0

x+4<0 x+4>0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 4 ] ∪ ( − 2, 2 ]


5− x
23. จาก < 1
x − 3x + 2
2

5− x
จะได −1 < 0
x 2 − 3x + 2
( 5 − x ) − ( x 2 − 3x + 2 )
< 0
x 2 − 3x + 2
− x2 + 2 x + 3
< 0
x 2 − 3x + 2
x2 − 2 x − 3
> 0
x 2 − 3x + 2
( x + 1)( x − 3) > 0
( x − 1)( x − 2 )
พิจารณาเสนจํานวน
x–3<0 x–3>0

x–2<0 x–2>0

x–1<0 x–1>0

x+1<0 x+1>0

–3 –2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 1 ) ∪ ( 1, 2 ) ∪ ( 3, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 317

x+6
24. จาก < 6
x ( x + 1)
x+6
จะได −6 < 0
x ( x + 1)
( x + 6 ) − 6 x ( x + 1) < 0
x ( x + 1)
( x + 6) − ( 6 x2 + 6 x )
< 0
x ( x + 1)
−6 x 2 − 5 x + 6
< 0
x ( x + 1)
6 x2 + 5x − 6
> 0
x ( x + 1)
( 3x − 2 )( 2 x + 3)
> 0
x ( x + 1)
พิจารณาเสนจํานวน
3x – 2 < 0 3x – 2 > 0

x< 0 x > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

2x + 3 < 0 2x + 3 > 0

4 3 –2 –1 0 1 2 3

 3 2 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − ∞ , −  ∪ ( − 1, 0 ) ∪  , ∞ 
 2 3 
1 1
25. จาก ≥
x +1 x+4
1 1
จะได − ≥ 0
x +1 x + 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
318 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x + 4 ) − ( x + 1) ≥ 0
( x + 1)( x + 4 )
3
≥ 0
( x + 1)( x + 4 )
พิจารณาเสนจํานวน
x+1 < 0 x+1 > 0

x+4 < 0 x+4 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 4 ) ∪ ( − 1, ∞ )


1 1
26. จาก ≥
x+2 2x − 3
1 1
จะได − ≥ 0
x + 2 2x − 3
( − 3) − ( x + 2 )
2 x
≥ 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
x−5
≥ 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

 3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 2,  ∪ [ 5, ∞ )
 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 319

x 1
27. จาก ≥
x+2 x
x 1
จะได − ≥ 0
x+2 x
x − ( x + 2)
2

≥ 0
x ( x + 2)
x2 − x − 2
≥ 0
x ( x + 2)
( x + 1)( x − 2 ) ≥ 0
x ( x + 2)
พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x < 0 x > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 ) ∪ [ 2, ∞ )


x +1 1
28. จาก ≥
2x − 3 x−3
x +1 1
จะได − ≥ 0
2x − 3 x − 3
( )( 3) − ( 2 x − 3)
x + 1 x −
≥ 0
( 2 x − 3)( x − 3)
( x − 2 x − 3) − ( 2 x − 3)
2

≥ 0
( 2 x − 3)( x − 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
320 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x2 − 4 x
≥ 0
( 2 x − 3)( x − 3)
x ( x − 4)
≥ 0
( 2 x − 3)( x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x < 0 x > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 ] ∪  3 , 3  ∪ [ 4, ∞ )


2  

29. จาก (x 2
+ 3 x − 10 )( x + x − 6 )
2

≥ 0
x 2 + 2 x − 15
( x − 2 )( x + 5)( x − 2 )( x + 3)
จะได ≥ 0
( x − 3)( x + 5)
( x − 2 )( x − 2 )( x + 3) ≥ 0 เมื่อ x ≠ −5
( x − 3)
( x − 2 ) ( x + 3)
2

≥ 0 เมื่อ x ≠ −5
( x − 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 321

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 5 ) ∪ ( − 5, − 3 ] ∪ { 2 } ∪ ( 3, ∞ )


( x − 2 ) ( x + 3)
2

วิธีที่ 2 จาก ≥ 0 เมื่อ x ≠ −5


( x − 3)
เนื่องจาก ( x − 2 )2 ≥ 0 เสมอ
x+3
จะได ≥ 0 เมื่อ x ≠ −5
x−3
พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 5 ) ∪ ( − 5, − 3 ] ∪ { 2 } ∪ ( 3, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
322 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
30. > 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, ∞ )


วิธีที่ 2 จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
> 0
เนื่องจาก ( x + 2 ) ≥ 0 และ ( x − 1) ≥ 0 เสมอ
4 2

จะได x −1 > 0 เมือ่ x ≠ −2


นั่นคือ x > 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, ∞ )
จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
31. < 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ ( − 2, 1 )


วิธีที่ 2 จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
< 0
เนื่องจาก ( x + 2 ) ≥ 0 และ ( x − 1) ≥ 0 เสมอ
4 2

จะได x −1 < 0 เมื่อ x ≠ − 2


นั่นคือ x < 1 และ x ≠ − 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) − { − 2 } หรือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ ( − 2, 1 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 323

จาก ( 2 x + 1) ( x + 1)
3 5
32. < 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
2x + 1 < 0 2x + 1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 1, − 
 2
วิธีที่ 2 จาก ( 2 x + 1) ( x + 1)
3 5
< 0
เนื่องจาก ( 2 x + 1) ≥ 0 และ ( x + 1)
2 4
≥0 เสมอ
จะได ( 2 x + 1)( x + 1) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
2x + 1 < 0 2x + 1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 1, − 
 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
324 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.10
1. 1) − 12 + 8 = −4 = 4
2) − 25 + − 25 = −25 + 25 = 0
3) − 5 (10 ) = − 50 = 50
− 6 − ( 6) −36
2 2
4) = =
28 14 14
5) − = − =
6 3 3
6) − 2.5 − 3 = 2.5 − 3 = − 0.5 = 0.5
2. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = 1 และ b = 1
จะได a + ( −b ) = 1 − 1 = 0 = 0
แต a + − b = 1 + −1 = 1 + 1 = 2
จะเห็นวา a + ( −b ) ≠ a + − b
ดังนั้น ขอความ “ a + ( −b )= a + − b ” เปนเท็จ
2) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = 1
จะได − a =− 1 = (1) =
2 2 2
1
แต −(a ) = − (1) = −1
2 2

จะเห็นวา − a ≠ − ( a ) 2 2

ดังนั้น ขอความ “ − a = − ( a ) ” เปนเท็จ


2 2

3) เปนจริง
4) เปนจริง
5) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = 1 และ b = 1
จะได − a − b = −1−1 = − 2 = 2
แต − a − b = −1 − 1 = 1−1 = 0
จะเห็นวา − a − b > − a − b
ดังนั้น ขอความ “ − a − b ≤ − a − b ” เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 325

6) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = − 1


จะได a = − 1 =1
จะเห็นวา a > a
ดังนั้น ขอความ “ถา a < 0 แลว a < a ” เปนเท็จ
3. 1) กรณีที่ x เปนจํานวนจริงบวก แต y เปนจํานวนจริงลบ หรือ กรณีที่ x เปนจํานวน
จริงลบ แต y เปนจํานวนจริงบวก
2) กรณีที่ x หรือ y ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัวเปนศูนย หรือ กรณีที่ x และ y
เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ กรณีที่ x และ y เปนจํานวนจริงลบทั้งคู

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
326 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.11ก
1. วิธีที่ 1 จาก 2x + 1 = 3
1
กรณีที่ 1 2x + 1 ≥ 0 นั่นคือ x≥−
2
จะได 2x + 1 = 3
2x = 2
1
x = 1 ซึ่ง 1≥ −
2
นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ
1
กรณีที่ 2 2x + 1 < 0 นั่นคือ x<−
2
จะได − ( 2 x + 1) = 3
2x + 1 = −3
2x = −4
1
x = −2 ซึ่ง −2 < −
2
นั่นคือ −2 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1}
วิธีที่ 2 จาก 2x + 1 = 3
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2x + 1
2
= 32
( 2 x + 1) − 32
2
= 0
( 2 x + 1 − 3)( 2 x + 1 + 3) = 0
( 2 x − 2 )( 2 x + 4 ) = 0
จะได x = 1 หรือ x = − 2
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 2 x + 1 = 3 ดวย 1 จะได
2 (1) + 1 = 3
2 +1 = 3
3 = 3 เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 327

แทน x ในสมการ 2x + 1 = 3 ดวย −2 จะได


2 ( −2 ) + 1 = 3
− 4 +1 = 3
−3 = 3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1}
2. วิธีที่ 1 จาก 2x − 5 = x+2
5
กรณีที่ 1 2x − 5 ≥ 0 นั่นคือ x≥
2
จะได 2x − 5 = x+2
5
x = 7 ซึ่ง 7≥
2
นั่นคือ 7 เปนคําตอบของสมการ
5
กรณีที่ 2 2x − 5 < 0 นั่นคือ x<
2
จะได − ( 2 x − 5) = x+2
2x − 5 = − ( x + 2)
2x − 5 = −x − 2
3x = 3
5
x = 1 ซึ่ง 1<
2
นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1, 7 }
วิธีที่ 2 จาก 2x − 5 = x+2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2x − 5 ( x + 2)
2 2
=
( 2 x − 5) − ( x + 2 )
2 2
= 0
( 2 x − 5 ) − ( x + 2 )  ( 2 x − 5 ) + ( x + 2 )  = 0
( x − 7 )( 3x − 3) = 0
จะได x =1 หรือ x=7

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
328 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 2x − 5 = x+2 ดวย 1 จะได


2 (1) − 5 = 1+ 2
2−5 = 3
−3 = 3
3 = 3 เปนจริง
แทน x ในสมการ 2x − 5 = x + 2 ดวย 7 จะได
2(7) − 5 = 7+2
14 − 5 = 9
9 = 9
9 = 9 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1, 7 }
3. วิธีที่ 1 จาก 3x − 2 = x −1
2
กรณีที่ 1 3x − 2 ≥ 0 นั่นคือ x≥
3
จะได 3x − 2 = x −1
2x = 1
1 1 2
x = ซึ่ง <
2 2 3
1
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
2
2
กรณีที่ 2 3x − 2 < 0 นั่นคือ x<
3
จะได − ( 3x − 2 ) = x −1
3x − 2 = − ( x − 1)
3x − 2 = −x +1
4x = 3
3
x = ซึ่ง 3 > 2
4 4 3
3
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 329

วิธีที่ 2 จาก 3x − 2 = x −1
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
3x − 2 ( x − 1)
2 2
=
( 3x − 2 ) − ( x − 1)
2 2
= 0
( 3 x − 2 ) − ( x − 1)  ( 3 x − 2 ) + ( x − 1)  = 0
( 2 x − 1)( 4 x − 3) = 0
1 3
จะได x= หรือ x=
2 4
1
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 3x − 2 = x −1 ดวย จะได
2
1 1
3  − 2 = −1
2 2
1 1
− = −
2 2
1 1
= − เปนเท็จ
2 2
3
แทน x ในสมการ 3x − 2 = x −1 ดวย จะได
4
3 3
3  − 2 = −1
4 4
1 1
= −
4 4
1 1
= − เปนเท็จ
4 4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅
4. วิธีที่ 1 จาก x = x+2
กรณีที่ 1 x ≥ 0
จะได x = x+2
0 = 2 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมีคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
330 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 2 x<0
จะได −x = x+2
x = − ( x + 2)
x = −x − 2
2x = −2
x = −1 ซึ่ง −1 < 0
นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
วิธีที่ 2 จาก x = x+2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x + 2)
2 2
x =
( x ) − ( x + 2)
2 2
= 0
 x − ( x + 2 )   x + ( x + 2 )  = 0
−2 ( 2 x + 2 ) = 0
จะได x = −1
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x = x+2 ดวย −1 จะได
−1 = −1 + 2
1 = 1 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
5. วิธีที่ 1 จาก x = 3 − 2x
กรณีที่ 1 x ≥ 0
จะได x = 3 − 2x
3x = 3
x = 1 ซึ่ง 1≥ 0
นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 331

กรณีที่ 2 x<0
จะได −x = 3 − 2x
x = − ( 3 − 2x )
x = −3 + 2x
x = 3 ซึ่ง 3 > 0
นั่นคือ 3 ไมเปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1}
วิธีที่ 2 จาก x = 3 − 2x
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( 3 − 2x )
2 2
x =
( x ) − (3 − 2x )
2 2
= 0

 x − ( 3 − 2 x )   x + ( 3 − 2 x )  = 0
( 3x − 3)( − x + 3) = 0
จะได x = 1 หรือ x=3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x = 3 − 2x ดวย 1 จะได
1 = 3 − 2 (1)
1 = 3–2
1 = 1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x = 3 − 2x ดวย 3 จะได
3 = 3 − 2 ( 3)
3 = 3–6
3 = −3 เปนเท็จ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1}
6. จาก x2 − x − 4 = 2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2
x2 − x − 4 = 22

(x − x − 4)
2 2
= 22

(x − x − 4 ) − 22
2 2
= 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
332 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x 2 − x − 4 ) − 2  ( x 2 − x − 4 ) + 2  = 0
  
(x 2
− x − 6 )( x 2 − x − 2 ) = 0
( x − 3)( x + 2 )( x − 2 )( x + 1) = 0
จะได x = − 1 หรือ x = − 2 หรือ x = 2 หรือ x =3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x − x − 4 = 2 ดวย −1 จะได 2

( −1) − ( −1) − 4 =
2
2
1+1− 4 = 2
−2 = 2
2 = 2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 − x − 4 = 2 ดวย −2 จะได

( −2 ) − ( −2 ) − 4 =
2
2
4+2−4 = 2
2 = 2
2 = 2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 − x − 4 = 2 ดวย 2 จะได
22 − 2 − 4 = 2
4−2−4 = 2
−2 = 2
2 = 2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 − x − 4 = 2 ดวย 3 จะได
32 − 3 − 4 = 2
9−3− 4 = 2
2 = 2
2 = 2 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, − 1, 2, 3 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 333

7. จาก x −1 = 2x + 1
ยกกําลังสองทั้งสองขาง x −1
2
= 2x + 1
2

( x − 1) − ( 2 x + 1)
2 2
= 0
( x − 1) − ( 2 x + 1)  ( x − 1) + ( 2 x + 1)  = 0
( − x − 2 )( 3x ) = 0
จะได x=0 หรือ x = −2
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x −1 = 2x + 1 ดวย 0 จะได
0 −1 = 2 ( 0) + 1
−1 = 1
1 = 1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x −1 = 2x + 1 ดวย −2 จะได
− 2 −1 = 2 ( −2 ) + 1
−3 = −3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 0 }
8. จาก 2 x+3 = x−2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง (2 x + 3 )
2
x−2
2
=
4 ( x + 3) − ( x − 2 )
2 2
= 0
 2 ( x + 3) − ( x − 2 )   2 ( x + 3) + ( x − 2 )  = 0
( x + 8)( 3x + 4 ) = 0
4
จะได x = −8 หรือ x= −
3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 2 x+3 = x−2 ดวย −8 จะได
2 −8+3 = −8− 2
2 −5 = − 10
2 ( 5) = 10
10 = 10 เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
334 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4
แทน x ในสมการ 2 x+3 = x−2 ดวย − จะได
3
4 4
2 − +3 = − −2
3 3
5 10
2 = −
3 3
5 10
2  =
3 3
10 10
= เปนจริง
3 3
 4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 8, − 
 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 335

แบบฝกหัด 3.11ข
1. 1) จาก x−2 < 1
จะได −1 < x−2 < 1
−1 + 2 < x < 1+ 2
1 < x < 3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, 3 ) ด
2) จาก x+3 > 5
จะได x + 3 < −5 หรือ x+3 > 5
x < −5 − 3 หรือ x > 5−3
x < −8 หรือ x > 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( −∞, − 8) ∪ ( 2, ∞ )
3) จาก 3x + 5 ≥ 4
จะได 3x + 5 ≤ −4 หรือ 3x + 5 ≥ 4
3x ≤ −4 − 5 หรือ 3x ≥ 4−5
3x ≤ −9 หรือ 3x ≥ −1
−9 −1
x ≤ หรือ x ≥
3 3
1
x ≤ −3 หรือ x ≥ −
3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( −∞, − 3] ∪  − 1 , ∞ 
3  
4) จาก 2x −1 ≤ 11
จะได −11 ≤ 2 x − 1 ≤ 11
−11 − 1 ≤ 2x ≤ 11 + 1
−10 ≤ 2x ≤ 12
−10 12
≤ x ≤
2 2
−5 ≤ x ≤ 6
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ −5, 6]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
336 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) จาก 2 x−2 > x


จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x−2≥0 นั่นคือ x≥2
จะได 2 ( x − 2) > x
2x − 4 > x
x > 4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x>4
กรณีที่ 2 x−2<0 นั่นคือ x < 2
จะได −2 ( x − 2 ) > x

2 ( x − 2) < −x
2x − 4 < −x
3x < 4
4
x <
3
4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x<
3
 4
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  −∞,  ∪ ( 4, ∞ ) ด
 3
6) วิธีที่ 1 จากอสมการ 3x + 4 ≤ x+2
เนื่องจาก 3x + 4 ≥ 0 ดังนั้น x + 2 ≥ 0 หรือ x ≥ −2
จะได − ( x + 2 ) ≤ 3x + 4 ≤ x + 2
ดังนั้น − x − 2 ≤ 3 x + 4 และ 3 x + 4 ≤ x+2
−4x ≤ 6 และ 2x ≤ −2
3
x ≥ − และ x ≤ −1
2
3
จะได − ≤ x ≤ −1
2
 3 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 2 , − 1
 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 337

วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
4
กรณีที่ 1 3x + 4 ≥ 0 นั่นคือ x≥−
3
จะได 3x + 4 ≤ x+2
2x ≤ −2
x ≤ −1
4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ − ≤ x ≤ −1
3
4
กรณีที่ 2 3x + 4 < 0 นั่นคือ x<−
3
จะได − ( 3x + 4 ) ≤ x+2
−4x ≤ 6
3
x ≥ −
2
3 4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ − ≤x<−
2 3
 3 4  4   3 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 2 , − 3  ∪  − 3 , − 1 หรือ  − 2 , − 1
     
7) วิธีที่ 1 จากอสมการ 2x + 1 < 3x + 2
2
เนื่องจาก 2x + 1 ≥ 0 ดังนั้น 3x + 2 > 0 หรือ x>−
3
จะได − ( 3x + 2 ) < 2x + 1 < 3x + 2
ดังนั้น −3 x − 2 < 2x + 1 และ 2x + 1 < 3x + 2
−5x < 3 และ −x < 1
3
x > − และ x > −1
5
3
จะได x>−
5
 3 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − , ∞
 5 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
338 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
1
กรณีที่ 1 2x + 1 ≥ 0 นั่นคือ x≥−
2
จะได 2x + 1 < 3x + 2
−x < 1
x > −1
1
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x≥− และ x > −1
2
1 1 
นั่นคือ x≥− หรือ
− 2 , ∞ 
2 
กรณีที่ 2 2x + 1 < 0 นั่นคือ x < − 1
2
จะได − ( 2 x + 1) < 3x + 2
−2 x − 1 < 3x + 2
−5x < 3
3
x > −
5
1
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ และ x > − 3
x<−
2 5
นั่นคือ − 3 < x < − 1 หรือ  − 3 , − 1 
5 2  5 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 1 , ∞  ∪  − 3 , − 1  หรือ  − 3 , ∞ 
 2   5 2  5 
8) วิธีที่ 1 จากอสมการ x + 1 > x − 3
เนื่องจาก x +1 ≥ 0 ดังนั้น x − 3 ≥ 0 หรือ x − 3 < 0
กรณีที่ 1 x − 3 ≥ 0 นั่นคือ x ≥ 3
จะได x + 1 > x − 3 หรือ − ( x + 1) > x − 3
นั่นคือ 1 > −3 หรือ x < 1
จะได คา x ทีส่ อดคลองกับอสมการ คือ x ∈  หรือ x < 1
แตเนื่องจาก x ≥ 3
ดังนั้น คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x ≥ 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 339

กรณีที่ 2 x−3< 0 นั่นคือ x<3


จะได x + 1 > x − 3 เปนจริงสําหรับทุกจํานวนจริง x ที่ x<3
ดังนั้น คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x < 3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( −∞, 3) ∪ [3, ∞ ) หรือ 
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x + 1 ≥ 0 นั่นคือ x ≥ −1
จะได x +1 > x−3
1 > −3
ดังนั้น คา x ทีส่ อดคลอง คือ x ≥ −1 และ x∈
นั่นคือ x ≥ −1 หรือ [ −1, ∞ )
กรณีที่ 2 x + 1 < 0 นั่นคือ x < −1
จะได − ( x + 1) > x − 3
−x −1 > x−3
−2x > −2
x < 1
ดังนั้น คา x ทีส่ อดคลอง คือ x < −1 และ x < 1
นั่นคือ x < −1 หรือ ( −∞, − 1)
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( −∞, − 1) ∪ [ −1, ∞ ) หรือ 
9) เนื่องจาก x ≥ 0 และ x − 1 ≥ 0 สําหรับทุกคา x ∈ 
จะได x
2
≥ x −1
2

x2 ≥ ( x − 1)2
x2 ≥ x2 − 2 x + 1
2x ≥ 1
1
x ≥
2
1 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  2, ∞ 
 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
340 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10) เนื่องจาก x+2 ≥ 0 และ x+3 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈


จะได 4 x+2
2
< x+3
2

4 ( x + 2) ( x + 3)2
2
<
(
4 x2 + 4 x + 4 ) < x2 + 6 x + 9
4 x 2 + 16 x + 16 < x2 + 6 x + 9
3 x 2 + 10 x + 7 < 0
( 3x + 7 )( x + 1) < 0
 7 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − , − 1
 3 
11) เนื่องจาก x−2 ≥ 0 และ x+6 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈
จะได 9 x−2
2
≤ x+6
2

9 ( x − 2) ≤ ( x + 6 )2
2

(
9 x2 − 4 x + 4 ) ≤ x 2 + 12 x + 36
9 x 2 − 36 x + 36 ≤ x 2 + 12 x + 36
8 x 2 − 48 x ≤ 0
8x ( x − 6) ≤ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 0, 6 ]
12) เนื่องจาก 2 x − 1 ≥ 0 และ x + 1 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈
จะได 4 2x −1
2
> 9 x +1
2

4 ( 2 x − 1) 9 ( x + 1)
2 2
>
(
4 4 x2 − 4 x + 1 ) > (
9 x2 + 2 x + 1 )
16 x − 16 x + 4
2
> 9 x + 18 x + 9
2

7 x 2 − 34 x − 5 > 0
( 7 x + 1)( x − 5) > 0
 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  −∞ , −  ∪ ( 5, ∞ )
 7
13) จากโจทย ทราบวา x ≠ −4
x
จาก > 2
x+4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 341

จะได x > 2 x+4 เมื่อ x ≠ −4

(2 )
2 2
x > x+4

 2 ( x + 4 ) 
2
x2 >
x 2 −  2 ( x + 4 ) 
2
> 0
 x − 2 ( x + 4 )   x + 2 ( x + 4 )  > 0
( − x − 8)( 3x + 8) > 0
( x + 8)( 3x + 8) < 0

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  −8, − 8  − {−4} หรือ ( −8, − 4 ) ∪  −4, − 8 


3   3  
14) จากโจทย ทราบวา x≠0
4
จาก x− ≤ 3
x
2
4
จะได x−
x
≤ 9
2
 4
x−  ≤ 9
 x
2
 x2 − 4 
  ≤ 9
 x 
(x − 4)
2 2

≤ 9
x2
( x − 4) เมื่อ
2
2
≤ 9x 2 x≠0

( x − 4) ( 3x )
2

2 2

( x − 4 ) − ( 3x )
2

2 2
0
( x − 4 ) − 3 x  ( x − 4 ) + 3 x 
2 2
≤ 0
  
( x − 4 )( x + 1)( x + 4 )( x − 1) ≤ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 4, − 1 ] ∪ [ 1, 4 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
342 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

15) จากโจทย ทราบวา x ≠1


x +1
จาก < 1
x −1
x +1 < x −1 เมื่อ x ≠1

x +1 x −1
2 2
<
( x + 1) ( x − 1)
2 2
<
( x + 1) − ( x − 1)
2 2
< 0
( x + 1) − ( x − 1)  ( x + 1) + ( x − 1)  < 0
2 ( 2x ) < 0
x < 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 )
16) จากโจทย ทราบวา x ≠ 2
x
จาก > 2
x−2
x > 2 x−2 เมื่อ x≠2

4 x−2
2 2
x >
4 ( x − 2)
2
x2 >

 2 ( x − 2 ) 
2
x2 >
x 2 −  2 ( x − 2 ) 
2
> 0

 x − 2 ( x − 2 )   x + 2 ( x − 2 )  > 0
( − x + 4 )( 3x − 4 ) > 0
( x − 4 )( 3x − 4 ) < 0
4 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  , 2  ∪ ( 2, 4 )
3 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 343

2. จากโจทย ให C แทนอุณหภูมิบนพื้นผิวดาวอังคารในหนวยองศาเซลเซียส


ซึ่งเปนไปตามอสมการ
C + 84 ≤ 56
นั่นคือ −56 ≤ C + 84 ≤ 56
−56 − 84 ≤ C ≤ 56 − 84
−140 ≤ C ≤ −28
ดังนั้น อุณหภูมิบนพื้นผิวของดาวอังคารที่เปนไปได คือ ตั้งแต −140 ถึง −28 องศาเซลเซียส
3. จากโจทย ให x แทนจํานวนครั้งที่เกิดหัวในการโยนเหรียญ
ซึ่งเปนไปตามอสมการ
x − 50
≥ 1.645
5
x − 50
จะได ≥ 1.645
5
x − 50 ≥ 8.225
จะได x − 50 ≤ −8.225 หรือ x − 50 ≥ 8.225
x ≤ 50 − 8.225 หรือ x ≥ 8.225 + 50
x ≤ 41.775 หรือ x ≥ 58.225
ดังนั้น คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x ≤ 41.775 หรือ x ≥ 58.225
เนื่องจาก x ∈ { 0, 1, 2, 3, ... , 100 }
ดังนั้น คาของ x ที่ทําใหเหรียญไมเที่ยงตรง คือ 0 ≤ x ≤ 41 หรือ 59 ≤ x ≤ 100

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
344 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัดทายบท
1
1. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −2 จะได a −1 = −
2
จะเห็นวา a < 1 แต a >/ 1 −1

2) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = 1 และ b = − 2 จะได a = 1 และ 2


b2 = 4
จะเห็นวา a < b แต a </ b
2 2

3) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = − 1 และ b = − 2 จะได ab = 2


จะเห็นวา ab > 1 , a < 1 แต b >/ 1 ด
จาก x2 + 4 x + 5 ( x + a) + b2
2
2. =
จะได x2 + 4 x + 5 = (x 2
+ 2ax + a 2 ) + b 2
x2 + 4 x + 5 = x 2 + 2ax + ( a 2 + b 2 )
นั่นคือ 2a = 4 และ a 2 + b2 =
5
เนื่องจาก b > 0
จะได a=2 และ b =1
3. 1) จาก p ( x) = x − x 3 2
+ 3x − 4
และ q ( x )= x − 1
ใชการหารยาวดังนี้
x2 + 3
x − 1 x3 − x 2 + 3x − 4
x3 − x 2
3x − 4
3x − 3
−1

จะได x − x + 3x − 4 = ( x − 1) ( x + 3) − 1
3 2 2

ดังนั้น ผลหาร คือ x + 3 และเศษเหลือ คือ −1


2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 345

2) จาก p ( x )= 4 x + 2 x 3 2
−x+6
และ q ( x=
) 2x + 1
ใชการหารยาวดังนี้
1
2 x2 −
2
2 x + 1 4 x3 + 2 x 2 − x + 6
4 x3 + 2 x 2
−x+6
1
−x −
2
13
2

( 2 x + 1)  2 x 2 −
1  13
จะได 4 x3 + 2 x 2 − x + 6= +
 2  2
1
ดังนั้น ผลหาร คือ 2 x 2 − และเศษเหลือ คือ 13
2 2
3) จาก p ( x ) = x + 2 x3 + 5 x + 6
5

เขียนใหมไดเปน p ( x ) =x 5
+ 0 x 4 + 2 x3 + 0 x 2 + 5 x + 6
และ q ( x=
) x −2 2

ใชการหารยาวดังนี้
x3 + 4 x
x 2 − 2 x5 + 0 x 4 + 2 x3 + 0 x 2 + 5 x + 6
x5 − 2 x3
4 x3 + 0 x 2 + 5 x + 6
4 x3 − 8x
13 x + 6
จะได x + 2 x + 5 x + 6= ( x − 2 )( x + 4 x ) + (13x + 6 )
5 3 2 3

ดังนั้น ผลหาร คือ x + 4 x และเศษเหลือ คือ 13x + 6


3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
346 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) จาก p ( x ) = x − 3x − 4
4

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = x + 0 x 4 3
+ 0 x 2 − 3x − 4
และ q (=x) 2x + 3 2

ใชการหารยาวดังนี้
1 2 3
x −
2 4
2 x + 3 x + 0 x3 + 0 x 2 − 3x − 4
2 4

3 2
x4 + x
2
3
− x 2 − 3x − 4
2
3 9
− x2 −
2 4
7
−3 x −
4
1 3  7
จะได x 4 − 3 x −=
4 ( 2x
+ 3)  x 2 −  +  −3 x − 
2

2 4  4

ดังนั้น ผลหาร คือ 1 x 2 − 3 และเศษเหลือ คือ −3x − 7


2 4 4
5) จาก p ( x) = 2x − 2x + 3
7 4

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = 2 x 7
+ 0 x6 + 0 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
และ q ( x )= x − 1
ใชการหารยาวดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 347

2 x6 + 2 x5 + 2 x 4
x − 1 2 x7 + 0 x6 + 0 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
2 x7 − 2 x6
2 x6 + 0 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
2 x6 − 2 x5
2 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
2 x5 − 2 x 4
3

จะได 2 x − 2 x + 3= ( x − 1) ( 2 x + 2 x + 2 x ) + 3
7 4 6 5 4

ดังนั้น ผลหาร คือ 2 x + 2 x + 2 x และเศษเหลือ คือ 3


6 5 4

6) จาก p ( x ) =x − 3 x + 2 9 4

เขียนใหมไดเปน p ( x ) =x + 0 x + 0 x + 0 x + 0 x − 3x
9 8 7 6 5 4
+ 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 2
และ q ( x=
) x + 2x 4

ใชการหารยาวดังนี้
x5 − 2 x 2 − 3
x 4 + 2 x x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 − 3 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 2
x9 + 2 x6
− 2 x6 + 0 x5 − 3x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 2
−2 x 6 − 4 x3
− 3x 4 + 4 x3 + 0 x 2 + 0 x + 2
− 3x 4 − 6x
4 x3 + 6x + 2

จะได x − 3x + 2= ( x + 2 x )( x − 2 x − 3) + ( 4 x + 6 x + 2 )
9 4 4 5 2 3

ดังนั้น ผลหาร คือ x − 2 x − 3 และเศษเหลือ คือ 4 x + 6 x + 2


5 2 3

7) จาก p ( x ) = x − 2 x + 1 10

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = x + 0 x + 0 x + +0 x + 0 x + 0 x + 0 x
10 9 8 7 6 5 4
+ 0 x3 + 0 x 2 − 2 x + 1
และ q ( x=
) x −1 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
348 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ใชการหารยาวดังนี้
x8 + x 6 + x 4 + x 2 + 1
x 2 − 1 x10 + 0 x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x10 − x8
x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x8 − x6
x6 + 0 x5 + 0 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x6 − x4
x 4 + 0 x3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x4 − x2
x2 − 2 x + 1
x2 −1
−2 x + 2

จะได x − 2 x + 1= ( x − 1)( x + x + x + x + 1) + ( −2 x + 2 )
10 2 8 6 4 2

ดังนั้น ผลหาร คือ x + x + x + x + 1 และเศษเหลือ คือ −2 x + 2


8 6 4 2

8) จาก p ( x ) =− 3 3x − x 10 2

เขียนใหมไดเปน p ( x ) =
− 3x + 0 x + 0 x + 0 x + 0 x + 0 x + 0 x
10 9 8 7 6 5 4
+ 0 x3 − x 2 + 0 x + 3
และ q ( x=
) x +1 3

ใชการหารยาวดังนี้
−3 x 7 + 3 x 4 − 3 x
x 3 + 1 −3 x10 + 0 x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 − x 2 + 0 x + 3
−3 x10 − 3x 7
3x 7 + 0 x 6 + 0 x5 + 0 x 4 + 0 x3 − x 2 + 0 x + 3
3x 7 + 3x 4
− 3x 4 + 0 x3 − x 2 + 0 x + 3
−3 x 4 − 3x
− x + 3x + 3
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 349

จะได 3 − 3x − x= ( x + 1)( −3x + 3x − 3x ) + ( − x + 3x + 3)


10 2 3 7 4 2

ดังนั้น ผลหาร คือ −3x + 3x − 3x และเศษเหลือ คือ − x + 3x + 3


7 4 2

9) จาก p ( x ) = x − 6 x + 2 x − 8x
10 7 6 3

เขียนใหมไดเปน
p ( x ) = x10 + 0 x 9 + 0 x8 − 6 x 7 + 2 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 − 8 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 0
และ q ( x) = x 6
+ x3 − 1
ใชการหารยาวดังนี้
x4 − 7 x + 2
x 6 + x 3 − 1 x10 + 0 x 9 + 0 x8 − 6 x 7 + 2 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 − 8 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 0
x10 + x7 − x4
− 7 x7 + 2 x6 + 0 x5 + x 4 − 8 x3 + 0 x 2 + 0 x + 0
−7 x 7 − 7 x4 + 7x
2 x6 + 0 x5 + 8 x 4 − 8 x3 + 0 x 2 − 7 x + 0
2 x6 + 2 x3 −2
8 x − 10 x
4 3
− 7x + 2

จะได x − 6 x + 2 x − 8 x = ( x + x − 1)( x − 7 x + 2 ) + (8 x − 10 x − 7 x + 2 )
10 7 6 3 6 3 4 4 3

ดังนั้น ผลหาร คือ x − 7 x + 2 และเศษเหลือ คือ 8 x − 10 x − 7 x + 2


4 4 3

4. 1) ให p ( x ) = x − 3x + 15 และ q ( x )= x + 3
3

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( −3)


โดยที่ p ( −3) = ( −3) − 3 ( −3) + 15
3

= −27 + 9 + 15
= −3
ดังนั้น เศษเหลือ คือ −3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
350 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) ให p ( x ) = x − 3x + 7 และ q ( x )= x − 1
15 12

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p (1)


โดยที่ p (1) (1) − 3 (1) + 7
15 12
=
= 1− 3 + 7
= 5
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 5
3) ให p ( x ) = x − x − 125 x + 25 x + 75 และ q ( x )= x − 5
6 4 3 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( 5)


โดยที่ p ( 5) ( 5) − ( 5) − 125 ( 5) + 25 ( 5) + 75
6 4 3 2
=
= 56 − 54 − 5353 + 52 52 + 75
= 56 − 54 − 56 + 54 + 75
= 75
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 75
4) ให p ( x )= x + 8 x + x − x + 5 และ q ( x )= x + 2
100 97 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( −2 )


โดยที่ p ( −2 ) = ( −2 ) + 8 ( −2 ) + ( −2 ) − ( −2 ) + 5
100 97 2

= 2100 − 2100 + 4 + 2 + 5
= 11
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 11
5) ให p ( x ) = x + ax − 2 และ q ( x )= x + a เมื่อ a เปนจํานวนจริง
6 5

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( −a )


โดยที่ p ( −a ) = ( −a ) + a ( −a ) − 2
6 5

= a6 − a6 − 2
= −2
ดังนั้น เศษเหลือ คือ −2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 351

1
6) ให p ( x )= 4 x3 + x − 2 และ q ( x )= x−
2
1
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p 
2
3
1 1 1
โดยที่ p  = 4  + − 2
2 2 2
1 1
= + −2
2 2
= −1
ดังนั้น เศษเหลือ คือ −1
5. ใหผลหารและเศษเหลือจากการหารพหุนาม p ( x ) ดวย x2 − 1 คือ q ( x )
และ 2 x + 13 ตามลําดับ
นั่นคือ p ( x ) = ( x − 1) q ( x ) + ( 2 x + 13)
2

จะได p (1) = (1)2 − 1 q (1) +  2 (1) + 13


= 0 + ( 2 + 13)
= 15
6. ใหผลหารและเศษเหลือจากการหารพหุนาม p ( x ) ดวย x − 5 x + 6 คือ q ( x ) 2

และ 7 x − 8 ตามลําดับ
นั่นคือ p ( x) = ( x − 5 x + 6 ) q ( x ) + ( 7 x − 8)
2

จะได p ( 2) ( 2 ) − 5 ( 2 ) + 6  q ( x ) +  7 ( 2 ) − 8 
2
=  
 
= ( 4 − 10 + 6 ) q ( 2 ) + (14 − 8)
= 6
p ( 3)
( )
และ =  3 2 − 5 ( 3) + 6  q ( x ) +  7 ( 3) − 8
  
= ( 9 − 15 + 6 ) q ( 3) + ( 21 − 8)
= 13
ดังนั้น p ( 2 ) − p ( 3) = 6 − 13 = − 7
7. 1) ให p ( x= ) x − 3 และ q ( x )= x − m
3

เนื่องจาก q ( x ) หาร p ( x ) เหลือเศษ 5


จะได p ( m ) = 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
352 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นั่นคือ m3 − 3 = 5
m3 = 8
ดังนั้น 2 m =
2) ให p ( a ) = a − 3a b + b + m และ q ( a )=
3 2 3
a −b
เนื่องจาก q ( a ) หาร p ( a ) ลงตัว
จะได p ( b ) = 0
นั่นคือ b − 3b b + b + m = 0
3 2 3

b3 − 3b3 + b3 + m = 0
−b3 + m = 0
ดังนั้น m = b3
8. ให p ( x ) = x − 3 yx + y + a และ q ( x )=
3 2 3
x− y
เนื่องจาก q ( x ) เปนตัวประกอบของ p ( x )
จะได p ( y ) = 0
นั่นคือ y − 3y ( y ) + y + a = 0
3 2 3

− y3 + a = 0
ดังนั้น a = y3
9. 1) ให p ( x ) =x + 6 x + 11x + 6 ก
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6


พิจารณา p ( −1)
p ( −1) =( −1) + 6 ( −1) + 11( −1) + 6 =0
3 2

จะเห็นวา p ( −1) = 0
ดังนั้น x + 1 เปนตัวประกอบของ x + 6 x + 11x + 6 3 2

นํา x + 1 ไปหาร x + 6 x + 11x + 6 ไดผลหารเปน x


3 2 2
+ 5x + 6
ดังนั้น x + 6 x + 11x + 6 = ( x + 1) ( x + 5 x + 6 )
3 2 2

= ( x + 1)( x + 2 )( x + 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 353

2) ให p ( x ) = x − 2 x + 4 x − 8
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −8 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8


พิจารณา p ( 2 )
p ( 2=
) ( 2) − 2 ( 2 ) + 4 ( 2 ) − 8= 0
3 2

จะเห็นวา p ( 2 ) = 0
ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x − 2 x + 4 x − 8 3 2

นํา x − 2 ไปหาร x − 2 x + 4 x − 8 ไดผลหารเปน x + 4


3 2 2

ดังนั้น x − 2 x + 4 x − 8 = ( x − 2 ) ( x + 4 )
3 2 2

3) ให p ( x ) = x + 5 x + 2 x − 12 ก
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −12 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 12


พิจารณา p ( −3)
p ( −3) =( −3) + 5 ( −3) + 2 ( −3) − 12 =0
3 2

จะเห็นวา p ( −3) = 0
ดังนั้น x + 3 เปนตัวประกอบของ x + 5 x + 2 x − 12 3 2

นํา x + 3 ไปหาร x + 5 x + 2 x − 12 ไดผลหารเปน x + 2 x − 4


3 2 2

ดังนั้น x + 5 x + 2 x − 12
3 2
= ( x + 3) ( x + 2 x − 4 ) 2

= ( x + 3)  x − ( −1 + ) (
5   x − −1 − 5 
  )
= ( x + 3) ( x + 1 − )(
5 x +1+ 5 )
4) ให p ( x ) = x − x − 4 x
4 3 2
− 2 x − 12
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −12 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 12
พิจารณา p ( −2 )
p ( −2 ) =( −2 ) − ( −2 ) − 4 ( −2 ) − 2 ( −2 ) − 12 =0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) =0
ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ x − x − 4 x − 2 x − 12 4 3 2

นํา x + 2 ไปหาร x − x − 4 x − 2 x − 12 ไดผลหารเปน x


4 3 2 3
− 3x 2 + 2 x − 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
354 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x 4 − x 3 − 4 x 2 − 2 x − 12 = ( x + 2 ) ( x3 − 3x 2 + 2 x − 6 )
= ( x + 2 ) ( x3 − 3x 2 ) + ( 2 x − 6 )
= ( x + 2 )  x 2 ( x − 3) + 2 ( x − 3)
= ( x + 2 )( x − 3) ( x 2 + 2 )
5) ให p ( x ) =x − 8 x + 24 x − 32 x + 16 ก
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 16 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8, ± 16


พิจารณา p ( 2 )
p ( 2)= ( 2) − 8 ( 2 ) + 24 ( 2 ) − 32 ( 2 ) + 16 = 0
4 3 2

จะเห็นวา p ( 2 ) = 0
ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x − 8 x + 24 x − 32 x + 16 4 3 2

นํา x − 2 ไปหาร x − 8 x + 24 x − 32 x + 16 ไดผลหารเปน x − 6 x + 12 x − 8


4 3 2 3 2

ดังนั้น x − 8 x + 24 x − 32 x + 16 = ( x − 2 ) ( x − 6 x + 12 x − 8)
4 3 2 3 2

ให q ( x ) =x − 6 x + 12 x − 8
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −8 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8


พิจารณา q ( 2 )
q ( 2=
) ( 2) − 6 ( 2 ) + 12 ( 2 ) − 8= 0
3 2

จะเห็นวา q ( 2 ) = 0
ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x − 6 x + 12 x − 8 3 2

นํา x − 2 ไปหาร x − 6 x + 12 x − 8 ไดผลหารเปน x − 4 x + 4


3 2 2

จะได x − 6 x + 12 x − 8
3
= 2
( x − 2) ( x − 4x + 4) 2

= ( x − 2) ( x2 − 4x + 4)
( x − 2 )( x − 2 )
2
=
( x − 2)
3
=
ดังนั้น x 4 − 8 x 3 + 24 x 2 − 32 x + 16 ( x − 2 )( x − 2 )
3
=

( x − 2)
4
=

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 355

6) ให p ( x ) = 4 x + 5 x + 5 x + 1
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4
 1
พิจารณา p− 
 4
3 2
 1  1  1  1
p  −  = 4 −  + 5 −  + 5 −  + 1 = 0
 4  4  4  4

จะเห็นวา p  − 1  = 0
 4

ดังนั้น x + 14 เปนตัวประกอบของ 4 x3 + 5 x 2 + 5 x + 1
นํา x + 14 ไปหาร 4 x3 + 5 x 2 + 5 x + 1 ไดผลหารเปน 4 x 2 + 4 x + 4
 1
ดังนั้น 4 x3 + 5 x 2 + 5 x + 1  x +  ( 4x + 4x + 4)
2
=
 4 
 1
= 4  x +  ( x 2 + x + 1)
 4
= ( 4 x + 1) ( x 2 + x + 1)
7) วิธีที่ 1 ให p ( x ) = 2 x − x + 6 x − 3
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −3 ลงตัว คือ ±1, ± 3


และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2
1
พิจารณา p 
2
3 2
1 1 1 1
p = 2   −   + 6  = −3 0
2 2 2 2

จะเห็นวา p  1  = 0
2

ดังนั้น x − 12 เปนตัวประกอบของ 2 x3 − x 2 + 6 x − 3
นํา x − 12 ไปหาร 2 x3 − x 2 + 6 x − 3 ไดผลหารเปน 2 x 2 + 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
356 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

 1
ดังนั้น 2 x3 − x 2 + 6 x − 3 =  x −  ( 2x + 6)
2

 2
 1
 x −  ( 2 ) ( x + 3)
2
=
 2
= ( 2 x − 1) ( x 2 + 3)
วิธีที่ 2 2 x3 − x 2 + 6 x − 3 = ( 2x 3
− x 2 ) + ( 6 x − 3)
= x 2 ( 2 x − 1) + 3 ( 2 x − 1)
= ( 2 x − 1) ( x 2 + 3) ก
8) ให p ( x ) = 4 x − 4 x − 3x + 2 x + 1
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4
พิจารณา p (1)
p (=
1) 4 (1) − 4 (1) − 3 (1) + 2 (1) +=
4 3 2
1 0
จะเห็นวา p (1) = 0
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ 4 x − 4 x − 3x + 2 x + 1 4 3 2

นํา x − 1 ไปหาร 4 x − 4 x − 3x + 2 x + 1 ไดผลหารเปน 4 x − 3x − 1


4 3 2 3

ดังนั้น 4 x − 4 x − 3x + 2 x + 1
4 3
= 2
( x − 1) ( 4 x − 3x − 1) 3

ให q ( x ) = 4 x − 3x − 1
3

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4
พิจารณา q (1)
q (=
1) 4 (1) − 3 (1) −=
3
1 0
จะเห็นวา q (1) = 0
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ 4 x − 3x − 1 3

นํา x − 1 ไปหาร 4 x − 3x − 1 ไดผลหารเปน 4 x


3 2
+ 4x + 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 357

จะได 4 x3 − 3x − 1 = ( x − 1) ( 4 x 2 + 4 x + 1)
( x − 1)( 2 x + 1)
2
=
ดังนั้น 4 x − 4 x − 3x + 2 x + 1 = ( x − 1) ( 2 x + 1)
4 3 2 2 2

9) ให p ( x ) = 2 x + 9 x − 12 x − 29 x + 30
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 30 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 5, ± 6, ± 10, ± 15, ± 30


และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2
พิจารณา p (1)
p (1)= 2 (1) + 9 (1) − 12 (1) − 29 (1) + 30= 0
4 3 2

จะเห็นวา p (1) = 0
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ 2 x + 9 x − 12 x − 29 x + 30 4 3 2

นํา x − 1 ไปหาร 2 x + 9 x − 12 x − 29 x + 30 ไดผลหารเปน 2 x + 11x − x − 30


4 3 2 3 2

ดังนั้น 2 x + 9 x − 12 x − 29 x + 30 = ( x − 1) ( 2 x + 11x − x − 30 )
4 3 2 3 2

ให q ( x )= 2 x + 11x − x − 30
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −30 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 5, ± 6, ± 10, ± 15, ± 30


และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2
พิจารณา q ( −2 )
q ( −2 ) = 2 ( −2 ) + 11( −2 ) − ( −2 ) − 30 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( −2 ) =0
ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ 2 x + 11x − x − 30 3 2

นํา x + 2 ไปหาร 2 x + 11x − x − 30 ไดผลหารเปน 2 x + 7 x − 15


3 2 2

จะได 2 x + 11x − x − 30 = 3
( x + 2 ) ( 2 x + 7 x − 15)
2 2

= ( x + 2 )( 2 x − 3)( x + 5)
ดังนั้น 2 x + 9 x − 12 x − 29 x + 30 =
4 3 2
( x − 1)( x + 2 )( 2 x − 3)( x + 5)
10) ให p ( x ) = 2 x − 3x − 9 x + 9 x − 2 จ
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −2 ลงตัว คือ ±1, ± 2


และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
358 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิจารณา p ( −2 )
p ( −2 ) =2 ( −2 ) − 3 ( −2 ) − 9 ( −2 ) + 9 ( −2 ) − 2 =0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) = 0
ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ 2 x − 3x − 9 x + 9 x − 2 4 3 2

นํา x + 2 ไปหาร 2 x − 3x − 9 x + 9 x − 2 ไดผลหารเปน 2 x − 7 x + 5 x − 1


4 3 2 3 2

ดังนั้น 2 x − 3x − 9 x + 9 x − 2 =
4 3 2
( x + 2 ) ( 2 x − 7 x + 5 x − 1) 3 2

ให q ( x ) = 2 x − 7 x + 5 x − 1
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1


และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2
1
พิจารณา q 
2
3 2
1 1 1 1
q =  2   − 7   + 5  = −1 0
2 2 2 2

จะเห็นวา q  1  = 0
2
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1
2
นํา x − 1 ไปหาร 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1 ไดผลหารเปน 2 x 2 − 6 x + 2
2
 1
จะได 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1 =  x −  ( 2x − 6x + 2)
2

 2
 1
= 2  x −  ( x 2 − 3 x + 1)
 2
  3 − 5    3 + 5 
= ( 2 x − 1)  x −     x −   
  2     2  
  3 − 5    3 + 5 
จะได 2 x 4 − 3x3 − 9 x 2 + 9 x − 2 = ( x + 2 )( 2 x − 1)  x −     x −   
  2     2  

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 359

10. 1) จาก x − 2x − 4 = 0
2

จะได x = 1± 5
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1 − 5 , 1 + 5 } จ
2) เนื่องจาก x − 13 x + 12 = ( x − 1) ( x + x − 12 )
3 2

= ( x − 1)( x − 3)( x + 4 )
จะได ( x − 1)( x − 3)( x + 4 ) =
0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x − 3 =0 หรือ x + 4 =0
จะได x = 1 หรือ x = 3 หรือ x = − 4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 4, 1, 3 }
3) เนื่องจาก x + 5 x − 2 x − 24 = ( x − 2 ) ( x + 7 x + 12 )
3 2 2

= ( x − 2 )( x + 3)( x + 4 )
จะได ( x − 2 )( x + 3)( x + 4 ) =
0
ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x + 3 =0 หรือ x + 4 =0
จะได x = 2 หรือ x = − 3 หรือ x = − 4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 4, − 3, 2 } จ
4) จัดรูปสมการใหมไดเปน x + 2 x − 4 x − 8 =0
3 2

เนื่องจาก x + 2 x − 4 x − 8 = ( x − 2 ) ( x + 4 x + 4 )
3 2 2

( x − 2 )( x + 2 )
2
=
จะได ( x − 2 )( x + 2 ) =
0
2

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x + 2 =0
จะได x = 2 หรือ x = − 2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 2 }
5) เนื่องจาก x − x − 8 x + 12 = ( x − 2 ) ( x
3 2 2
+ x − 6)
= ( x − 2 )( x − 2 )( x + 3)
( x − 2 ) ( x + 3)
2
=
จะได ( x − 2 ) ( x + 3) =
2
0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
360 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x + 3 =0
จะได x = 2 หรือ x = − 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3, 2 } จ
6) เนื่องจาก x − 2 x + 1 = ( x − 1) ( x + x − 1)
3 2

จะได ( x − 1) ( x + x − 1) =0
2

ดังนั้น x − 1 =0 หรือ x + x − 1 =0 2

−1 + 5 −1 − 5
จะได x =1 หรือ x= หรือ x=
2 2
 −1 + 5 −1 − 5 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  1, , 
 2 2 
7) จัดรูปสมการใหมไดเปน x − x − x − 2 =0
3 2

เนื่องจาก x − x − x − 2 = ( x − 2 ) ( x + x + 1)
3 2 2

จะได ( x − 2 ) ( x + x + 1) =0
2

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ x + x + 1 =0 2

ถา x − 2 =0 จะได x = 2
ถา x + x + 1 =0 และเนื่องจาก (1) − 4 (1)(1) =
2
−3 < 0
2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 } จ
8) เนื่องจาก 4 x − 4 x − 7 x − 2 = ( x − 2 ) ( 4 x + 4 x + 1)
3 2 2

( x − 2 )( 2 x + 1)
2
=
จะได ( x − 2 )( 2 x + 1) =
0
2

ดังนั้น x − 2 =0 หรือ 2 x + 1 =0
1
จะได x=2 หรือ x=−
2
 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − , 2
 2 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 361

9) จัดรูปสมการใหมไดเปน 6 x − 11x + 6 x − 1 =0
3 2

เนื่องจาก 6 x − 11x + 6 x − 1 = ( x − 1) ( 6 x
3 2 2
− 5 x + 1)
= ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1)
จะได ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1) =
0
ดังนั้น x − 1 =0 หรือ 3x − 1 =0 หรือ 2x −1 =0
1 1
จะได x =1 หรือ x= หรือ x=
3 2
1 1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  , ,1
3 2 
10) เนื่องจาก 2 x 4 − 7 x3 + 9 x 2 − 7 x + 2 = ( x − 2 ) ( 2 x3 − 3x 2 + 3x − 1)
 1
= 2 ( x − 2 )  x −  ( x 2 − x + 1)
 2

จะได ( x − 2 )  x − 1  ( x 2
− x + 1) =0
 2 
1
ดังนั้น x−2 =0 หรือ x− =
0 หรือ x2 + x + 1 =0
2
ถา x−2 =0 จะได x=2
1 1
ถา x− = 0 จะได x =
2 2
ถา x + x +1 =0 และเนื่องจาก (1) − 4 (1)(1) =
−3 < 0
2 2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
1 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  , 2
2 
11) จัดรูปสมการใหมไดเปน 4 x 4 + 8 x 3 + x 2 − 3x − 1 =0
2
 1
เนื่องจาก 1 4  x +  ( x 2 + x − 1)
4 x 4 + 8 x3 + x 2 − 3x −=
 2
2
 1
จะได 4  x +  ( x 2 + x − 1) =0
 2
1
ดังนั้น x+ = 0 หรือ x 2 + x − 1 =0
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
362 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−1 + 5
จะได x= −
1
หรือ x= หรือ x = −1 − 5
2 2 2
 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1 , −1 + 5 , −1 − 5 
 2 2 2 
12) จัดรูปสมการใหมไดเปน 2 x 4 − 7 x3 + 4 x + 1 =0
 1
เนื่องจาก 2 x 4 − 7 x3 + 4 x + 1= 2 ( x − 1)  x +  ( x 2 − 3 x − 1)
 2
 1
จะได 2 ( x − 1)  x +  ( x 2 − 3 x − 1) = 0
 2
1
ดังนั้น x −1 = 0 หรือ x + = 0 หรือ x 2 − 3 x − 1 = 0
2

จะได x = 1 หรือ x = −
1
หรือ x = 3 ± 13
2 2
 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1 , 1, 3 + 13 , 3 − 13 
 2 2 2 
5x − 7 A B
11. 1) จาก = +
( x − 3)( x + 1) x − 3 x +1
5x − 7 A ( x + 1) + B ( x − 3)
=
( 3)( x + 1)
x − ( x − 3)( x + 1)
5x − 7
=
( A + B ) x + ( A − 3B )
( x − 3)( x + 1) ( x − 3)( x + 1)
5x − 7 = ( A + B ) x + ( A − 3B )
จะได A+ B =
5 และ A − 3B =
−7
ดังนั้น A=2 และ B=3
3x3 + 2 x − 4 A Bx + C
2) จาก = 3+ +
x3 + 3x x x2 + 3
3x + 2 x − 4
3
A Bx + C
−3 = +
x3 + 3x x x2 + 3
( 3x3 + 2 x − 4 ) − 3 ( x3 + 3x ) =
A ( x 2 + 3) + ( Bx + C )( x )
x3 + 3x x ( x 2 + 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 363

−7 x − 4 ( A + B ) x 2 + Cx + 3 A
=
x3 + 3x x3 + 3x
−7 x − 4 = ( A + B ) x 2 + Cx + 3 A
จะได A+ B =
0 และ C = −7 และ 3A = − 4
4
ดังนั้น A= − และ B = 4 และ C = −7
3 3
2 x2 − x + 5 A B C
3) จาก = + −
x3 + 4 x 2 − 5 x x x −1 x + 5
2 x2 − x + 5 A ( x − 1)( x + 5 ) + Bx ( x + 5 ) − Cx ( x − 1)
=
x3 + 4 x 2 − 5 x x ( x − 1)( x + 5 )
2 x2 − x + 5
=
( Ax 2
+ 4 Ax − 5 A ) + ( Bx 2 + 5 Bx ) − ( Cx 2 − Cx )
x3 + 4 x 2 − 5 x x3 + 4 x 2 − 5 x
2 x2 − x + 5 ( A + B − C ) x 2 + ( 4 A + 5B + C ) x − 5 A
=
x3 + 4 x 2 − 5 x x3 + 4 x 2 − 5 x
2 x2 − x + 5 = ( A + B − C ) x 2 + ( 4 A + 5B + C ) x − 5 A
จะได A+ B −C =2 และ 4 A + 5B + C =−1 และ −5 A =
5
ดังนั้น A = −1 และ B =1 และ C = −2
Ax + B 6 7
4) จาก = +
x2 − 5x + C x−3 x−2
Ax + B 6 ( x − 2 ) + 7 ( x − 3)
=
x − 5x + C
2
( x − 3)( x − 2 )
Ax + B ( 6 x − 12 ) + ( 7 x − 21)
=
x − 5x + C
2
x2 − 5x + 6
Ax + B 13 x − 33
=
x − 5x + C
2
x2 − 5x + 6
( Ax + B ) ( x 2 − 5 x + 6 ) = (13x − 33) ( x 2 − 5 x + C )
Ax 3 − 5 Ax 2 + 6 Ax + Bx 2 − 5 Bx + 6 B = 13 x 3 − 65 x 2 + 13Cx − 33 x 2 + 165 x − 33C
Ax 3 − ( 5 A − B ) x 2 + ( 6 A − 5 B − 13C ) x + ( 6 B + 33C ) = 13 x 3 − 98 x 2 + 165 x
จะได A = 13 และ 5A − B =
98 และ 6 A − 5B − 13C =
165 และ 6 B + 33C =
0
ดังนั้น A = 13 และ B = − 33 และ C = 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
364 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x ( x − 3)( x + 2 )
12. 1) จาก = 0
x ( x − 3)( x − 2 )
( x + 2)
= 0 เมื่อ x≠0 และ x≠3
( x − 2)
จะได x + 2 =0 และ x − 2 ≠ 0
นั่นคือ x = − 2 โดยที่ x ≠ 0 , x ≠ 2 และ x≠3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2 }
x ( x + 3) 4
2) จาก =
( x + 2 )( x − 1) ( x + 2 )( x − 1)
x ( x + 3) 4
− = 0
( x + 2 )( x − 1) ( x + 2 )( x − 1)
x 2 + 3x − 4
= 0
( x + 2 )( x − 1)
( x + 4 )( x − 1) = 0
( x + 2 )( x − 1)
x+4
= 0 เมื่อ x ≠1
x+2
จะได x + 4 =0 และ x+2 ≠ 0
นั่นคือ x = − 4 โดยที่ x ≠ − 2 และ x ≠ 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 4 }
x3 + 3x 2 + x − 1
3) จาก = 0
x2 − 1
( x + 1) ( x 2 + 2 x − 1)
= 0
( x − 1)( x + 1)
x2 + 2 x − 1
= 0 เมื่อ x ≠ −1
x −1
จะได x 2 + 2 x − 1 =0 และ x − 1 ≠ 0
นั่นคือ x =− 1 + 2 หรือ x =− 1 − 2 โดยที่ x ≠ 1 และ x ≠ −1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1 + 2 , − 1 − 2 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 365

1 1
4) จาก + = 1
x −1 x +1
1 1
+ −1 = 0
x −1 x +1
( x + 1) + ( x − 1) − ( x − 1)( x + 1)
= 0
( x − 1)( x + 1)
( x + 1) + ( x − 1) − ( x 2 − 1)
= 0
( x − 1)( x + 1)
− x2 + 2 x + 1
= 0
( x − 1)( x + 1)
x2 − 2 x − 1
= 0
( x − 1)( x + 1)
จะได x − 2 x − 1 =0 และ ( x − 1)( x + 1) ≠ 0
2

นั่นคือ x = 1 + 2 หรือ x = 1 − 2 โดยที่ x ≠ − 1 และ x ≠1


ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1 + 2 , 1 − 2 }
1 1 3
5) จาก + =
x −1 x − 2
2
x +1
1 1 3
+ − = 0
( )( )
x − 1 x + 1 x − 2 x +1
( x − 2 ) + ( x − 1)( x + 1) − 3 ( x − 1)( x − 2 )
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
( x − 2 ) + ( x 2 − 1) − ( 3x 2 − 9 x + 6 )
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
−2 x 2 + 10 x − 9
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
2 x 2 − 10 x + 9
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
366 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได 2 x 2 − 10 x + 9 =0 และ ( x − 1)( x + 1)( x − 2 ) ≠ 0


5+ 7 5− 7
นั่นคือ x= หรือ x= โดยที่ x ≠ − 1 , x ≠ 1 และ x≠2
2 2
 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  5 + 7 , 5 − 7 
 2 2 
1 1 1
6) จาก + 2 + 2 = 0
x − 2 x − 8 x − 5x + 4 x + x − 2
2

1 1 1
+ + = 0
( x + 2 )( x − 4 ) ( x − 1)( x − 4 ) ( x − 1)( x + 2 )
( x − 1) + ( x + 2 ) + ( x − 4 ) = 0
( x − 1)( x + 2 )( x − 4 )
3x − 3
= 0
( x − 1)( x + 2 )( x − 4 )
3 ( x − 1)
= 0
( x − 1)( x + 2 )( x − 4 )
3
= 0 เมื่อ x ≠1
( x + 2 )( x − 4 )
3
จะเห็นวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให =0
( x + 2 )( x − 4 )
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅
x 1 2x
7) จาก + + 2 = 0
x + 4 x + 2 x + 6x + 8
x 1 2x
+ + = 0
x + 4 x + 2 ( x + 4 )( x + 2 )
x ( x + 2) + ( x + 4) + 2x
= 0
( x + 4 )( x + 2 )
( x + 2x ) + ( x + 4) + 2x
2

= 0
( x + 4 )( x + 2 )
x2 + 5x + 4
= 0
( x + 4 )( x + 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 367

( x + 4 )( x + 1) = 0
( x + 4 )( x + 2 )
x +1
= 0 เมื่อ x ≠ −4
x+2
จะได x + 1 =0 และ x+2 ≠ 0
นั่นคือ x = − 1 โดยที่ x ≠ − 4 และ x ≠ −2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
2x2 + 5x − 7 1
8) จาก =
2x2 + x − 3 2x + 3
( 2 x + 7 )( x − 1) 1
=
( 2 x + 3)( x − 1) 2x + 3
2x + 7 1
= เมื่อ x ≠1
2x + 3 2x + 3
2x + 7 1
− = 0
2x + 3 2x + 3
2x + 6
= 0
2x + 3
2 ( x + 3)
= 0
2x + 3
x+3
= 0
2x + 3
จะได x+3 =0 และ 2x + 3 ≠ 0
3
นั่นคือ x = −3 โดยที่ x≠− และ x ≠1
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3 }
2x + 1 2 5
9) จาก − =
x2 − 1 x − 2 x2 + x
2x + 1 2 5
− =
( x − 1)( x + 1) x − 2 x ( x + 1)
2x + 1 5 2
− =
( x − 1)( x + 1) x ( x + 1) x−2
( 2 x + 1)( x ) − 5 ( x − 1) =
2
x ( x − 1)( x + 1) x−2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
368 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( 2x 2
+ x ) − ( 5 x − 5)
=
2
x ( x − 1)( x + 1) x−2
2 x2 − 4 x + 5 2
=
x ( x − 1)( x + 1) x−2
2 x2 − 4 x + 5 2
− = 0
x ( x − 1)( x + 1) x − 2
( 2x 2
− 4 x + 5 ) ( x − 2 ) − 2 x ( x − 1)( x + 1)
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
( 2x 3
− 8 x 2 + 13 x − 10 ) − ( 2 x 3 − 2 x )
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
−8 x 2 + 15 x − 10
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
8 x 2 − 15 x + 10
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
จะได 8 x − 15 x + 10 =
2
0 และ x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 ) ≠ 0
เนื่องจาก ( −15) − 4 (8)(10 ) < 0
2

จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ทีท่ ําให 8 x − 15 x + 10 =


0 2

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅


1 1 2
10) จาก + 2 =
x − 3x + 2 x − 1
2
x−2
1 1 2
+ =
( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x + 1) x−2
1 1 2
+ − = 0
( )(
x − 1 x − 2 ) ( )( )
x − 1 x + 1 x − 2
( x + 1) + ( x − 2 ) − 2 ( x − 1)( x + 1) = 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
( x + 1) + ( x − 2 ) − ( 2 x 2 − 2 )
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 369

−2 x 2 + 2 x + 1
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
2 x2 − 2 x − 1
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
จะได 2 x 2 − 2 x − 1 =0 และ ( x − 1)( x + 1)( x − 2 ) ≠ 0
1+ 3 1− 3
นั่นคือ x= หรือ x= โดยที่ x ≠ − 1 , x ≠ 1 และ x≠2
2 2
 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  1 − 3 , 1 + 3 
 2 2 
13. 1) จาก 2 ( x + 1) < x+2
จะได 2x + 2 < x+2
x < 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞, 0 )
2) จาก 4x + 7 > 2 ( x + 1)
จะได 4x + 7 > 2x + 2
2x > −5
5
x > −
2
 5 
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,∞
 2 
3) จาก 4 − (3 − x ) < 3x − ( 3 − 2 x )
จะได 4−3+ x < 3x − 3 + 2 x
4x > 4
x > 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, ∞ )
4) จาก 2x − x − 62
≥ 0
จะได ( x − 2 )( 2 x + 3) ≥ 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
370 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–2 < 0 x–2 > 0

2x + 3 < 0 2x + 3 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

 3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − ∞ , −  ∪ [ 2, ∞ )
 2
5) จาก x2 ≥ 2x − 3
จะได x2 − 2 x + 3 ≥ 0
(x 2
− 2 x + 1) − 1 + 3 ≥ 0
( x − 1) + 2 ≥
2
0
( x − 1) ≥ −2
2

เนื่องจาก ( x − 1) ≥ 0 เสมอ
2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ 


6) จาก x ( x + 1) ≤ 20
จะได x +x 2
≤ 20
x + x − 20
2
≤ 0
( x − 4 )( x + 5) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x+5 < 0 x+5 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 5, 4 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 371

7) จาก ( x − 1)( x − 4 ) > ( x − 2 )( x − 3)


จะได ( x − 1)( x − 4 ) − ( x − 2 )( x − 3) > 0
(x 2
− 5x + 4) − ( x2 − 5x + 6) > 0
4−6 > 0
−2 > 0 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมจี ํานวนจริงที่ทําให ( x − 1)( x − 4 ) > ( x − 2 )( x − 3)
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ∅
8) จาก x +4 3
> 3x 2

จะได x − 3x + 4
3 2
> 0

( x − 2 ) ( x + 1)
2
> 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน

x–2 < 0 x–2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 2 ) ∪ ( 2, ∞ )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 2 ) ≥ 0 เสมอ
2

จะได x +1 > 0 เมื่อ x ≠ 2


จะได x > −1 เมื่อ x ≠ 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 2 ) ∪ ( 2, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
372 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

9) จาก ( x − 1)( x − 2 )( x − 3) < ( x − 1)( x − 2 )


จะได ( x − 1)( x − 2 )( x − 3) − ( x − 1)( x − 2 ) < 0
( x − 1)( x − 2 ) ( x − 3) − 1 < 0
( x − 1)( x − 2 )( x − 4 ) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) ∪ ( 2, 4 )


จาก ( x − 2 )( x − 3) ( x − 4 ) ≤ 0
2
10)
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 2, 4]


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 3) ≥ 0 เสมอ2

จะได ( x − 2 )( x − 4 ) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 373

x–2 < 0 x–2 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 2, 4]


จาก ( x − 2 )( x − 3) ( x − 4 ) ≥
2
11) 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ] ∪ { 3 } ∪ [ 4, ∞ )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 3) ≥ 0 เสมอ
2

จะได ( x − 2 )( x − 4 ) > 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ] ∪ { 3 } ∪ [ 4, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
374 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จาก ( x + 1)( 4 − x )( x − 6 ) ≥
2
12) 0
จะได ( x + 1)( x − 4 )( x − 6 ) ≤
2
0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–4< 0 x–4> 0

x+1 < 0 x+1 > 0

x–6 < 0 x–6 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, 4 ] ∪ { 6 }


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 6 ) ≥ 0 เสมอ
2

จะได ( x + 1)( x − 4 ) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน
x+1 < 0 x+1 > 0

x–4< 0 x–4> 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, 4 ] ∪ { 6 }


1 1
14.ด 1) จาก >
x x +1
1 1
จะได − > 0
x x +1
( x + 1) − x
> 0
x ( x + 1)
1
> 0
x ( x + 1)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 375

x < 0 x > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 1 ) ∪ ( 0, ∞ )


3
2) จาก ≤ 1
x −1
3
จะได −1 ≤ 0
x −1
3 − ( x − 1)
≤ 0
x −1
−x + 4
≤ 0
x −1
x−4
≥ 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–1 0 1 2 3 4 5 6 7

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) ∪ [ 4, ∞ )


2x − 4
3) จาก ≥ 2
x −1
2x − 4
จะได −2 ≥ 0
x −1
( 2 x − 4 ) − 2 ( x − 1) ≥ 0
x −1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
376 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−2
≥ 0
x −1
1
≤ 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 )


x +1
4) จาก < 1
x+2
x +1
จะได −1 < 0
x+2
( x + 1) − ( x + 2 )
< 0
x+2
−1
< 0
x+2
1
> 0
x+2
พิจารณาเสนจํานวน
x+2 < 0 x+2 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 2, ∞ )
1 1
5) จาก ≥
x +1 x+4
1 1
จะได − ≥ 0
x +1 x + 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 377

( x + 4 ) − ( x + 1) ≥ 0
( x + 1)( x + 4 )
3
≥ 0
( x + 1)( x + 4 )
พิจารณาเสนจํานวน
x+4 < 0 x+4 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 4 ) ∪ ( − 1, ∞ )


1 1
6) จาก ≤
x+2 2x − 3
1 1
จะได − ≤ 0
x + 2 2x − 3
( 2 x − 3) − ( x + 2 ) ≤ 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
x−5
≤ 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪  3 , 5 


2  

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
378 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4
7) จาก x+ ≤ 4
x
4
x+ −4 ≤ 0
x
x2 − 4 x + 4
≤ 0
x
( x − 2)
2

≤ 0
x
พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x < 0 x > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 ) ∪ { 2 }


x2 − 3
8) จาก < x +1
x +1
x2 − 3
จะได − ( x + 1) < 0
x +1
( x 2 − 3) − ( x + 1)( x + 1) < 0
x +1
( x − 3) − ( x 2 + 2 x + 1)
2

< 0
x +1
−2 x − 4
< 0
x +1
x+2
> 0
x +1
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 379

x+2 < 0 x+2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ ( − 1, ∞ )


2x2 − 6x + 1
9) จาก ≤ 1
x2 − 2x − 3
2x − 6x + 1
2
จะได −1 ≤ 0
x2 − 2 x − 3
( 2 x 2 − 6 x + 1) − ( x 2 − 2 x − 3) ≤ 0
x2 − 2 x − 3
x2 − 4 x + 4
≤ 0
x2 − 2 x − 3
( x − 2)
2

≤ 0
( x + 1)( x − 3)
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 3 )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 2 )2 ≥ 0 เสมอ
1
จะได ≤ 0
( x + 1)( x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
380 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–3 < 0 x–3 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 3 )


1− x
10) จาก ≤ 1
( x − 2 )( x − 5)
1− x
จะได −1 ≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
(1 − x ) − ( x − 2 )( x − 5) ≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
(1 − x ) − ( x 2 − 7 x + 10 )
≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
− x2 + 6 x − 9
≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
x2 − 6 x + 9
≥ 0
( x − 2 )( x − 5)
( x − 3)
2

≥ 0
( x − 2 )( x − 5)
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ) ∪ { 3 } ∪ ( 5, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 381

วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 3)2 ≥ 0 เสมอ


1
จะได ≥ 0
( x − 2 )( x − 5)
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ) ∪ { 3 } ∪ ( 5, ∞ )


x 1
11) จาก ≤
x +1 2
2
x 1
จะได − ≤ 0
x +1 2
2

2 x − ( x 2 + 1)
≤ 0
2 ( x 2 + 1)
x2 − 2 x + 1
≥ 0
2 ( x 2 + 1)
( x − 1)
2

≥ 0
2 ( x 2 + 1)
เนื่องจาก ( x − 1) ≥ 0 และ x + 1 > 0 เสมอ
2 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ 


x
12) จาก ≥ 3
x +2 2

x
จะได −3 ≥ 0
x2 + 2
x − 3( x2 + 2)
≥ 0
x2 + 2
−3 x 2 + x − 6
≥ 0
x2 + 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
382 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1
x2 − x + 2
3 ≤ 0
x2 + 2
 2 1 1  1
x − x+ − +2
 3 36  36
≤ 0
x2 + 2
2
 1  71
 x −  +
 6  36
≤ 0
x2 + 2
2
 1  71
เนื่องจาก x−  + >0 และ x2 + 2 > 0
 6  36
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ∅
11 − 5 x
13) จาก ≤ 1
x2 − x − 2
11 − 5 x
จะได −1 ≤ 0
x2 − x − 2
(11 − 5 x ) − ( x 2 − x − 2 )
≤ 0
x2 − x − 2
− x 2 − 4 x + 13
≤ 0
x2 − x − 2
x + 4 x − 13
2
≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
 (  )
 x − −2 − 17   x − −2 + 17 
 ( ) ≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 383

x–2 < 0 x–2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–7 –6 –5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞, − 2 − 17  ∪ ( − 1, 2 ) ∪  − 2 + 17 , ∞ )


14) จาก ( x − 1)( x − 2 )( x − 3) ≤ 0
( x − 2 )( x − 3)( x − 4 )
x −1
จะได ≤ 0 เมื่อ x ≠ 2 และ x≠3
x−4
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 1, 2 ) ∪ ( 2, 3 ) ∪ ( 3, 4 )


15) จาก (x 2
+ 3 x − 10 )( x 2 + x − 6 )
≤ 0
x 2 + 2 x − 15
( x + 5)( x − 2 )( x − 2 )( x + 3)
จะได ≤ 0
( x + 5)( x − 3)
( x − 2 ) ( x + 3)
2

≤ 0 เมื่อ x ≠ − 5
( x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
384 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 3, 3 )


15. ใหโรงงานผลิตกลองดินสอสัปดาหละ x กลอง
เนื่องจาก โรงงานมีคาใชจายในการผลิตกลองดินสอ กลองละ 26 บาท
ดังนั้น ในการผลิตกลองดินสอ x กลอง ตองเสียคาใชจาย 26x บาท
และโรงงานผลิตกลองดินสอมีคาใชจายอื่น ๆ อีกสัปดาหละ 30,000 บาท
นั่นคือ ในหนึง่ สัปดาหโรงงานมีตนทุนในการผลิตกลองดินสอ x กลอง
เปนเงิน 30000 + 26x บาท
และเนื่องจาก โรงงานขายกลองดินสอกลองละ 30 บาท
ดังนั้น โรงงานจะขายกลองดินสอ x กลอง เปนเงิน 30x บาท
เมื่อโรงงานผลิตและจําหนายกลองดินสอโดยไมขาดทุน จะไดวา
30000 + 26x ≤ 30x
4x ≥ 30000
30000
x ≥
4
x ≥ 7500
ดังนั้น ในหนึ่งสัปดาห โรงงานจะตองผลิตกลองดินสออยางนอย 7,500 กลอง
จึงจะไมขาดทุน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 385

16. ให x แทนจํานวนสินคาที่บริษัทผลิตและจําหนาย (ชิ้น)


p ( x) แทนรายไดจากการขายสินคา x ชิ้น (บาท)
โดยรายไดของบริษัทสอดคลองกับสมการ p ( x ) =30 x − 35940 x − 72000 2

บริษัทผลิตและจําหนายสินคาโดยไมขาดทุน นั่นคือ p ( x ) ≥ 0
จะได 30 x − 35940 x − 72000
2
≥ 0
x 2 − 1198 x − 2400 ≥ 0
( x + 2 )( x − 1200 ) ≥ 0
นั่นคือ x ≤ − 2 หรือ x ≥ 1200
เนื่องจาก x ≥ 0
ดังนั้น บริษัทตองผลิตและจําหนายสินคาอยางนอยที่สุด 1,200 ชิ้น จึงจะไมขาดทุน
17. ใหฐานของรูปสามเหลี่ยมยาว x เซนติเมตร
เนื่องจาก ฐานของรูปสามเหลี่ยมนี้สั้นกวาสวนสูง 5 เซนติเมตร
นั่นคือ รูปสามเหลี่ยมนี้สูง x + 5 เซนติเมตร
จะไดวา รูปสามเหลี่ยมนี้มีพื้นที่ ( ) ตารางเซนติเมตร
x x+5
2
เนื่องจากพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมนี้มีคาอยูระหวาง 42 และ 52 ตารางเซนติเมตร
x ( x + 5)
จะไดวา 42 < < 52
2
x ( x + 5) x ( x + 5)
นั่นคือ > 42 และ < 52
2 2
จะได x ( x + 5) > 84 และ x ( x + 5)
< 104
x 2 + 5 x − 84 > 0 และ x + 5 x − 104 < 0
2

( x + 12 )( x − 7 ) > 0 และ ( x + 13)( x − 8) < 0


ดังนั้น x < − 12 หรือ x > 7 และ −13 < x < 8
เนื่องจาก x > 0 จะไดวา 7 < x < 8
นั่นคือ ความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมมีคาอยูระหวาง 7 และ 8 เซนติเมตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
386 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

18. ใหจํานวนคี่สามจํานวนเรียงกัน คือ x − 2 , x , x + 2


เนื่องจากผลคูณของจํานวนคี่สามจํานวนนี้ไมมากกวา 315 จะไดวา
( x − 2) x ( x + 2) ≤ 315
x − 4x
3
≤ 315
x 3 − 4 x − 315 ≤ 0
( x − 7 ) ( x 2 + 7 x + 45) ≤ 0
 
( x − 7 )  x 2 + 7 x +
49  49
− + 45 ≤ 0
 4  4 
 7  131 
2

( x − 7 )  x +  +  ≤ 0
 2 4 
2
 7  131
เนื่องจาก x+  + >0 เสมอ
 2 4
จะไดวา x − 7 ≤ 0 นั่นคือ x ≤ 7
จะไดวา จํานวนคี่ที่มากที่สุด 3 จํานวนที่เรียงติดกัน ที่มีผลคูณไมมากกวา 315 คือ 5, 7 และ 9
ดังนั้น ผลคูณที่มากที่สุดที่เปนไปไดของทั้งสามจํานวนเทากับ 5 × 7 × 9 =315
19. วิธีที่ 1 ใหชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ x บาท
เนื่องจากชางตัดเสื้อซื้อผามาทั้งสิ้น 600 บาท
600
จะไดวาชางตัดเสื้อซื้อผามา เมตร
x
600
ตัดเก็บไว 5 เมตร นั่นคือจะเหลือผา −5 เมตร
x
ขายผาที่เหลือไปในราคาสูงกวาตนทุนเมตรละ 10 บาท
นั่นคือ ขายผาที่เหลือไปราคาเมตรละ x + 10 บาท
เนื่องจากขายผาที่เหลือไปไดกําไร 80 บาท
จะไดวาขายผาที่เหลือไปไดเงินทั้งหมด 680 บาท
 600 
นั่นคือ  − 5  ( x + 10 ) = 680
 x 
600 680
−5 =
x x + 10

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 387

600 − 5x 680
=
x x + 10
600 − 5 x 680
− = 0
x x + 10
( 600 − 5 x )( x + 10 ) − 680 x
= 0
x ( x + 10 )
( 550 x − 5 x 2
+ 6000 ) − 680 x
= 0
x ( x + 10 )
−5 x 2 − 130 x + 6000
= 0
x ( x + 10 )
x 2 + 26 x − 1200
= 0
x ( x + 10 )
( x − 24 )( x + 50 )
= 0
x ( x + 10 )
จะได ( x − 24 )( x + 50 ) = 0 และ x ( x + 10 ) ≠ 0
นั่นคือ x = 24 หรือ x = − 50 โดยที่ x ≠ 0 และ x ≠ − 10
เนื่องจาก x > 0
จะได เซตคําตอบของสมการ คือ { 24 }
ดังนั้น ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ 24 บาท
วิธีที่ 2 ใหชางตัดเสื้อซื้อผามาทั้งหมด x เมตร เปนเงิน 600 บาท
600
ดังนั้น ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ บาท
x
ตัดผาเก็บไว 5 เมตร เหลือผา x − 5 เมตร
ขายผาที่เหลือไปในราคาสูงกวาทุนเมตรละ 10 บาท
600
นั่นคือขายผาไปราคาเมตรละ + 10 บาท
x
ดังนั้น ขายผาที่เหลือไปไดเงินทั้งหมด ( x − 5)  600 + 10  บาท
x  
เนื่องจากขายผาที่เหลือไปไดกําไร 80 บาท
จะไดวาขายผาที่เหลือไปไดเงินทั้งหมด 680 บาท

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
388 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x − 5)  
600
นั่นคือ + 10  = 680
 x 
600 680
+ 10 =
x x−5
600 + 10x 680
=
x x−5
60 + x 68
=
x x−5
60 + x 68
− = 0
x x−5
( 60 + x )( x − 5) − 68 x
= 0
x ( x − 5)
(x 2
+ 55 x − 300 ) − 68 x
= 0
x ( x − 5)
x 2 − 13 x − 300
= 0
x ( x − 5)
( x + 12 )( x − 25)
= 0
x ( x − 5)
จะได ( x + 12 )( x − 25) = 0 และ x ( x − 5 ) ≠ 0
นั่นคือ x = − 12 หรือ x = 25 โดยที่ x≠0 และ x≠5
เนื่องจาก x > 0
จะได เซตคําตอบของสมการ คือ { 25 }
นั่นคือ ชางตัดเสื้อซื้อผามา 25 เมตร
600
ดังนั้น ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ = 24 บาท
25

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 389

20. 1) วิธีที่ 1 จาก x−2 = 2x


กรณีที่ 1 x−2 ≥ 0 หรือ x≥2
จะได x−2 = 2x
x = ซึ่ง −2 < 2
−2
นั่นคือ −2 ไมใชคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 x−2 < 0 หรือ x < 2
จะได − ( x − 2 ) = 2x
x−2 = −2x
3x = 2
2 2
x = ซึ่ง <2
3 3
2
นั่นคือ เปนคําตอบของสมการ
3
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  
3
วิธีที่ 2 จาก x−2 = 2x
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
x−2 ( 2x )
2 2
=
( x − 2) ( 2x )
2 2
=
( x − 2) − ( 2x )
2 2
= 0

( x − 2 ) − 2 x  ( x − 2 ) + 2 x  = 0
( − x − 2 )( 3x − 2 ) = 0
( x + 2 )( 3x − 2 ) = 0
2
จะได x = −2 หรือ x=
3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x − 2 = 2x ดวย −2 จะได
−2−2 = 2 ( −2 )
−4 = −4
4 = −4 เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
390 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2
แทน x ในสมการ x − 2 = 2x ดวย จะได
3
2 2
−2 = 2 
3 3
4 4
− =
3 3
4 4
= เปนจริง
3 3

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  


2
3
2) วิธีที่ 1 จาก 2x −1 = x+4
1
กรณีที่ 1 2x −1 ≥ 0 หรือ x≥
2
จะได 2x −1 = x+4
1
x = 5 ซึ่ง 5≥
2
นั่นคือ 5 เปนคําตอบของสมการ
1
กรณีที่ 2 2x −1 < 0 หรือ x<
2
จะได − ( 2 x − 1) = x+4
2x −1 = − ( x + 4)
2x −1 = −x − 4
3x = −3
1
x = −1 ซึ่ง −1 <
2
นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 5 }
วิธีที่ 2 จาก 2x −1 = x+4
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2x −1 ( x + 4)
2 2
=
( 2 x − 1) ( x + 4)
2 2
=
( 2 x − 1) − ( x + 4 )
2 2
= 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 391

( 2 x − 1) − ( x + 4 )  ( 2 x − 1) + ( x + 4 )  = 0
( x − 5)( 3x + 3) = 0
( x − 5)( x + 1) = 0
จะได x = 5 หรือ x = −1
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 2x −1 = x + 4 ดวย 5 จะได
2 ( 5) − 1 = 5+4
10 − 1 = 9
9 = 9
9 = 9 เปนจริง
แทน x ในสมการ 2x −1 = x + 4 ดวย −1 จะได
2 ( −1) − 1 = −1 + 4
− 2 −1 = 3
−3 = 3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 5 }
3) จาก 3x − 1 = x−5
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
3x − 1 x−5
2 2
=
( 3x − 1) ( x − 5)
2 2
=
( 3x − 1) − ( x − 5)
2 2
= 0
( 3 x − 1) − ( x − 5 )  ( 3 x − 1) + ( x − 5 )  = 0
( 2 x + 4 )( 4 x − 6 ) = 0
( x + 2 )( 2 x − 3) = 0
3
จะได x = −2 หรือ x=
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
392 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 3x − 1 = x − 5 ดวย −2 จะได


3 ( −2 ) − 1 = −2−5
−7 = −7
7 = 7 เปนจริง
3
แทน x ในสมการ 3x − 1 = x − 5 ดวย จะได
2
3 3
3  − 1 = −5
2 2
7 7
= −
2 2
7 7
= เปนจริง
2 2

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 2, 3 


 2
4) จาก x 2 − 3x + 1 = x−2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x − 2)
2
x 2 − 3x + 1
2
=

( x − 3x + 1) ( x − 2)
2 2 2
=

( x − 3x + 1) − ( x − 2 )
2 2 2
= 0
( x − 3 x + 1) − ( x − 2 )  ( x − 3 x + 1) + ( x − 2 ) 
2 2
= 0
  
( x − 4 x + 3)( x − 2 x − 1)
2 2
= 0

( x − 1)( x − 3)  x − (1 + )
2  x − 1− 2 
  ( ) = 0

จะได x = 1 หรือ x = 3 หรือ x= 1 + 2 หรือ x= 1 − 2


ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x 2
− 3x + 1 = x − 2 ดวย 1 จะได
(1) − 3 (1) + 1
2
= 1− 2
−1 = −1
1 = −1 เปนเท็จ
แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 3 จะได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 393

( 3) − 3 ( 3) + 1
2
= 3− 2
1 = 1
1 = 1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 1 + 2 จะได
(1 + 2 ) ( ) (1 + 2 ) − 2
2
− 3 1+ 2 +1 =

(1 + 2 ) (
2 + 2 − 3+3 2 ) +1 = −1 + 2

1− 2 = 2 −1

(
− 1− 2 ) = 2 −1

2 −1 = 2 −1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 1 − 2 จะได
(1 − 2 ) ( ) (1 − 2 ) − 2
2
− 3 1− 2 +1 =

(1 − 2 ) (
2 + 2 − 3−3 2 ) +1 = −1 − 2

1+ 2 = ( )
− 1+ 2

1+ 2 = − (1 + 2 ) เปนเท็จ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 3, 1 + 2}

5) จาก x + 2x −1 2
= x+5
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x + 5)
2
x2 + 2 x − 1
2
=

( x + 2 x − 1) ( x + 5)
2 2 2
=

( x + 2 x − 1) − ( x + 5)
2 2 2
= 0
( x + 2 x − 1) − ( x + 5 )  ( x + 2 x − 1) + ( x + 5 ) 
2 2
= 0
  
( x + x − 6 )( x + 3x + 4 )
2 2
= 0
( x − 2 )( x + 3) ( x + 3x + 4 ) 2
= 0
เนื่องจาก ( 3) − 4 (1)( 4 ) < 0
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
394 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะไดวา ไมมีจํานวนจริงที่ทําให x 2
+ 3x + 4 =0
ดังนั้น x=2 หรือ x = −3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x2 + 2 x − 1 = x + 5 ดวย 2 จะได
( 2) + 2 ( 2) − 1
2
= 2+5
7 = 7
7 = 7 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 + 2 x − 1 = x + 5 ดวย −3 จะได
( −3) + 2 ( −3) − 1 ( −3) + 5
2
=
2 = 2
2 = 2 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3, 2 }
6) จาก x − 3x − 4 2
= 2x + 2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2
x 2 − 3x − 4 2x + 2
2
=

( x − 3x − 4 ) ( 2x + 2)
2 2 2
=

( x − 3x − 4 ) − ( 2 x + 2 )
2 2 2
= 0
( x − 3 x − 4 ) − ( 2 x + 2 )  ( x − 3 x − 4 ) + ( 2 x + 2 ) 
2 2
= 0
  
( x − 5 x − 6 )( x − x − 2 )
2 2
= 0
( x + 1)( x − 6 )( x + 1)( x − 2 ) = 0
จะได x = − 1 หรือ x = 6 หรือ x=2
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x 2 − 3x − 4 = 2x + 2 ดวย −1 จะได
( −1) − 3 ( −1) − 4 2 ( −1) + 2
2
=
0 = 0
0 = 0 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x − 4 = 2 x + 2 ดวย 6 จะได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 395

( 6) − 3( 6) − 4 2 ( 6) + 2
2
=
14 = 14
14 = 14 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x − 4 = 2 x + 2 ดวย 2 จะได

( 2) − 3( 2) − 4 2 ( 2) + 2
2
=
−6 = 6
6 = 6 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 2, 6 }
7) วิธีที่ 1 จาก x + x−3 = 2
x−3 = 2− x
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(2 − x )
2
x−3
2
=

( x − 3) (2 − x )
2 2
=
x2 − 6 x + 9 4−4 x + x
2
=
x2 − 6 x + 9 = 4 − 4 x + x2
4 x = 6x − 5
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( 6 x − 5) (4 x )
2 2
=
( 6 x − 5) ( 4x )
2 2
=
( 6 x − 5 ) − 4 x  ( 6 x − 5 ) + 4 x  = 0
( 2 x − 5)(10 x − 5) = 0
( 2 x − 5)( 2 x − 1) = 0
5 1
จะได x= หรือ x=
2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
396 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x + x−3 = 2 ดวย จะได
2
5 5
+ −3 = 2
2 2
5 1
+ = 2
2 2
3 = 2 เปนเท็จ
1
แทน x ในสมการ x + x−3 = 2 ดวย จะได
2
1 1
+ −3 = 2
2 2
1 5
+ = 2
2 2
3 = 2 เปนเท็จ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x < 0
จะได − x − ( x − 3) = 2
−2x = −1
1
x = ซึ่ง x>0
2
1
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
2
กรณีที่ 2 0≤ x<3
จะได x − ( x − 3) = 2
3 = 2 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมีคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 397

กรณีที่ 3 x≥3
จะได x + ( x − 3) = 2
2x = 5
5
x = ซึ่ง x<3
2
5
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅
8) วิธีที่ 1 จาก 4 x = x − 2 +1
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(4 x ) ( x − 2 +1 )
2 2
=
( x − 2) + 2 x − 2 +1
2
16x 2 =
16x 2
= x − 4x + 4 + 2 x − 2 + 1
2

15 x 2 + 4 x − 5 = 2 x−2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(15 x + 4 x − 5) (2 )
2 2
2
= x−2

(15 x + 4 x − 5)  2 ( x − 2 ) 
2 2 2
=

(15 x + 4 x − 5) − 2 ( x − 2 )


2 2 2
= 0

(15 x + 4 x − 5 ) − 2 ( x − 2 )  (15 x + 4 x − 5 ) + 2 ( x − 2 ) 
 2 2
= 0

(15 x + 2 x − 1)(15 x
2 2
+ 6x − 9) = 0
(15 x + 2 x − 1)( 5 x
2 2
+ 2 x − 3) = 0
( 5 x − 1)( 3x + 1)( 5 x − 3)( x + 1) = 0
1 1 3
จะได x= หรือ x= − หรือ x= หรือ x = −1
5 3 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
398 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย จะได
5
1 1
4 = − 2 +1
5 5
1 9
4  = − +1
5 5
4 9
= +1
5 5
4 14
= เปนเท็จ
5 5
1
แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย − จะได
3
1 1
4 − = − − 2 +1
3 3
1 7
4  = − +1
3 3
4 7
= +1
3 3
4 10
= เปนเท็จ
3 3
3
แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย จะได
5
3 3
4 = − 2 +1
5 5
3 7
4  = − +1
5 5
12 7
= +1
5 5
12 12
= เปนจริง
5 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 399

แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย −1 จะได


4 −1 = −1− 2 +1
4 (1) = − 3 +1
4 = 3 +1
4 = 4 เปนจริง
 3 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1, 
 5 
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x < 0
จะได 4(−x) = − ( x − 2) + 1
−4x = −x + 2 +1
−3x = 3
x = −1 ซึ่ง −1 < 0
นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 0≤ x<2
จะได 4x = − ( x − 2) + 1
4x = −x + 2 +1
5x = 3
3 3
x = ซึ่ง 0≤ <2
5 5
3
นั่นคือ เปนคําตอบของสมการ
5
กรณีที่ 3 x≥2
จะได 4x = ( x − 2) + 1
4x = x − 2 +1
3x = −1
1 1
x = − ซึ่ง − <2
3 3
1
นั่นคือ − ไมเปนคําตอบของสมการ
3
 3 
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ  − 1, 
 5 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
400 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

9) วิธีที่ 1 จาก x −1 + x − 2 = 3
x −1 − 3 = − x−2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x −1 − 3 ) (− )
2 2
= x−2

( x −1 − 3 ) ( x − 2)
2 2
=
( x − 1) − 6 x −1 + 9 ( x − 2)
2 2
=
(x 2
− 2 x + 1) − 6 x − 1 + 9 = x2 − 4 x + 4
x+3
x −1 =
3
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
 x +3
2

x −1
2
=  
 3 
 x +3
2

( x − 1)
2
=  
 3 
x +3
2

( x − 1) − 
2
 = 0
 3 
  x + 3    x + 3 
( x − 1) −  3   ( x − 1) +  3   = 0
     
 2 x − 6  4 x 
   = 0
 3  3 
4 x ( x − 3) = 0
จะได x = 0 หรือ x=3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x −1 + x − 2 = 3 ดวย 0 จะได
0 −1 + 0 − 2 = 3
−1 + − 2 = 3
3 = 3 เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 401

แทน x ในสมการ x −1 + x − 2 = 3 ดวย 3 จะได


3 −1 + 3 − 2 = 3
2 + 1 = 3
2 +1 = 3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 0, 3 }
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x < 1
จะได − ( x − 1) − ( x − 2 ) = 3
−2 x + 3 = 3
−2x = 0
x = 0 ซึ่ง 0 <1
นั่นคือ 0 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 1≤ x < 2
จะได ( x − 1) − ( x − 2 ) = 3
1 = 3 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมีคําตอบของสมการ
กรณีที่ 3 x≥2
จะได ( x − 1) + ( x − 2 ) = 3
2x − 3 = 3
2x = 6
x = 3 ซึ่ง 3≥ 2
นั่นคือ 3 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 0, 3 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
402 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10) วิธีที่ 1 จาก x − x−2 = x −1


ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( ) ( x − 1)
2
x − x−2
2
=
x −2 x x−2 + x−2 ( x − 1)
2 2 2
=
x2 − 2 x ( x − 2) + ( x − 2) ( x − 1)
2 2
=
x2 − 2 x ( x − 2) + ( x2 − 4 x + 4) = x2 − 2 x + 1
x2 − 2 x + 3 = 2 x ( x − 2)
x2 − 2 x + 3 = 2 x2 − 2 x
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x − 2 x + 3) (2 x )
2 2
2
= 2
− 2x

( x − 2 x + 3) 2 ( x2 − 2 x )
2 2
2
=  
( x − 2 x + 3) − 2 ( x − 2 x )
2 2
2 2
= 0
( x − 2 x + 3 ) − 2 ( x − 2 x )  ( x − 2 x + 3 ) + 2 ( x − 2 x ) 
2 2 2 2
= 0
  
( − x + 2 x + 3)( 3x − 6 x + 3)
2 2
= 0
( x − 2 x − 3)( x − 2 x + 1)
2 2
= 0
( x + 1)( x − 3)( x − 1)
2
= 0
จะได x = − 1 หรือ x = 1 หรือ x = 3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x − x − 2 = x − 1 ดวย −1 จะได
−1 − −1− 2 = −1 − 1
−1 − − 3 = −2
1− 3 = −2
−2 = −2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x − x − 2 = x −1 ดวย 1 จะได
1 − 1− 2 = 1−1
1 − −1 = 0
1−1 = 0
0 = 0 เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 403

แทน x ในสมการ x − x − 2 = x −1 ดวย 3 จะได


3 − 3− 2 = 3 −1
3 − 1 = 2
3 −1 = 2
2 = 2 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 1, 3 }
วิธีที่ 2 โดยบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x < 0
จะได − x + ( x − 2) = x −1
x = −1 ซึ่ง −1 < 0
นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 0≤ x<2
จะได x + ( x − 2) = x −1
x−2 = −1
x = 1 ซึ่ง 0 ≤1< 2
นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 3 x≥2
จะได x − ( x − 2) = x −1
x −1 = 2
x = 3 ซึ่ง 3≥ 2
นั่นคือ 3 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 1, 3 }
21. 1) จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 2 x − 4 ≥ 0 จะได x ≥ 2
และ 2x − 4 > x +1
x > 5
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x>5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
404 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 2 2x − 4 < 0 จะได x<2


และ − ( 2x − 4) > x +1
−2 x + 4 > x +1
−3x > −3
x < 1
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x < 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) ∪ ( 5, ∞ )
2) วิธีที่ 1 จาก x−4 ≤ 2x + 1
1
เนื่องจาก x−4 ≥ 0 ดังนั้น 2x + 1 ≥ 0 หรือ x≥−
2
จะได − ( 2 x + 1) ≤ x−4 ≤ 2x + 1
ดังนั้น − ( 2 x + 1) ≤ x−4 และ x−4 ≤ 2x + 1
−2 x − 1 ≤ x−4 และ x ≥ −5
−3x ≤ −3
x ≥ 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 1, ∞ )
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x − 4 ≥ 0 จะได x ≥ 4
และ x − 4 ≤ 2 x + 1
x ≥ −5
นั่นคือ คา x ทีส่ อดคลอง คือ x ≥ 4
กรณีที่ 2 x − 4 < 0 จะได x < 4
และ x − 4 ≥ − ( 2 x + 1)
x−4 ≥ −2 x − 1
3x ≥ 3
x ≥ 1
นั่นคือ คา x ทีส่ อดคลอง คือ 1 ≤ x < 4
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 4, ∞ ) ∪ [1, 4 ) หรือ [ 1, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 405

3) วิธีที่ 1 จาก 2x − 3 < 3x − 7


7
เนื่องจาก 2x − 3 ≥ 0 ดังนั้น 3x − 7 > 0 หรือ x>
3
จะได − ( 3x − 7 ) < 2x − 3 < 3x − 7
ดังนั้น − ( 3x − 7 ) < 2x − 3 และ 2x − 3 < 3x − 7
−3x + 7 < 2x − 3 และ x > 4
−5x < −10
x > 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 4, ∞ )
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
3
กรณีที่ 1 2x − 3 ≥ 0 จะได x ≥
2
และ 2x − 3 < 3x − 7
x > 4
นั่นคือ คา x ทีส่ อดคลอง คือ x>4
3
กรณีที่ 2 2x − 3 < 0 จะได x <
2
และ 2x − 3 > − ( 3x − 7 )
2x − 3 > −3x + 7
5x > 10
x > 2
นั่นคือ ไมมี x ที่สอดคลองกับอสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 4, ∞ ) ∪ ∅ หรือ ( 4, ∞ )
4) เนื่องจาก x − 4 ≥ 0 และ x − 2 x ≥ 0 สําหรับทุกคา x ∈ 
2 2

จะได
2 2
x −4 ≤2
x − 2x 2

( x − 4) ≤ ( x − 2x )
2 2 2 2

( x − 4) − ( x − 2x ) ≤ 0
2 2 2 2

( x − 4 ) − ( x − 2 x )  ( x − 4 ) + ( x − 2 x ) 
2 2 2 2
≤ 0
  
( 2x − 4) ( 2x2 − 2x − 4) ≤ 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
406 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x − 2) ( x2 − x − 2) ≤ 0
( x − 2 )( x − 2 )( x + 1) ≤ 0
( x − 2 ) ( x + 1) ≤
2
0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 1 ] ∪ { 2 }
5) เนื่องจาก 2 x2 − 5x − 1 ≥ 0 และ x2 − x + 4 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈

จะได
2 2
2 x2 − 5x − 1 ≤ x2 − x + 4

( 2 x − 5 x − 1) (x − x + 4)
2 2
2
≤ 2

( 2 x − 5 x − 1) − ( x − x + 4 )
2 2
2 2
≤ 0
( 2 x 2 − 5 x − 1) − ( x − x + 4 )  ( 2 x − 5 x − 1) + ( x − x + 4 ) 
2 2 2
≤ 0

( x − 4 x − 5)( 3x − 6 x + 3)
2 2
≤ 0
( x − 4 x − 5)( x − 2 x + 1)
2 2
≤ 0
( x + 1)( x − 5)( x − 1) ≤
2
0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, 5 ]
6) จากโจทย ทราบวา x≠5 และ x≠4
x −1 x−5
จาก 2 ≤
x−5 x−4
2
 x −1  x−5
2

2  ≤
 x−5  x−4
2
  x − 1   x−5
2

2  x − 5  ≤  
    x−4
2
  x − 1   x − 5 
2

2  x − 5  −  x − 4  ≤ 0
    
  x − 1   x − 5    x − 1   x − 5 
2  x − 5  −  x − 4  2  x − 5  +  x − 4  ≤ 0
         
 2 ( x − 1)( x − 4 ) − ( x − 5 )2   2 ( x − 1)( x − 4 ) + ( x − 5 )2 
   ≤ 0
 ( x − 5)( x − 4 )   ( x − 5)( x − 4 ) 
 ( 2 x 2 − 10 x + 8 ) − ( x 2 − 10 x + 25 )   ( 2 x 2 − 10 x + 8 ) + ( x 2 − 10 x + 25 ) 
   ≤ 0
 ( x − 5)( x − 4 )   ( x − 5)( x − 4 ) 

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 407

 x 2 − 17   3 x 2 − 20 x + 33 
   ≤ 0
 ( x − 5 )( x − 4 )   ( x − 5 )( x − 4 ) 

(x − 17 )( x + 17 ) ( x − 3)( 3x − 11) ≤ 0
( x − 5) ( x − 4 )
2 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ  − 17 , 3  ∪ 11 , 17  − { 4, 5 } หรือ


   3 

 
(
 − 17 , 3  ∪  11 , 4  ∪ 4, 17 
  3 
7) จากโจทย ทราบวา x ≠ −2 และ x≠2
1 2
จาก ≥
x −2 x +1
กรณีที่ 1 x<0
1 2
จะได ≥
−x − 2 −x +1
1 2

x+2 x −1
1 2
− ≤ 0
x + 2 x −1
( x − 1) − 2 ( x + 2 ) ≤ 0
( x + 2 )( x − 1)
−x − 5
≤ 0
( x + 2 )( x − 1)
x+5
≥ 0
( 2 )( x − 1)
x +
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ [ − 5, − 2 )
กรณีที่ 2 x≥0
1 2
จะได ≥
x−2 x +1
1 2
− ≥ 0
x − 2 x +1
( x + 1) − 2 ( x − 2 ) ≥ 0
( x − 2 )( x + 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
408 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−x + 5
≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
x−5
≤ 0
( x − 2 )( x + 1)
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( 2, 5 ]
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 5, − 2 ) ∪ ( 2, 5 ]
8) จากโจทย ทราบวา x ≠ − 2 และ x ≠ 3
x +6 x
จาก +1 <
x+2 x−3
กรณีที่ 1 x<0
−x + 6 −x
จะได x+2
+1 <
x−3
x−6 x
−1 >
x+2 x−3
x−6 x
− −1 > 0
x+ 2 x−3
( x − 6 )( x − 3) − x ( x + 2 ) − ( x + 2 )( x − 3)
> 0
( x + 2 )( x − 3)
(x 2
− 9 x + 18 ) − ( x 2 + 2 x ) − ( x 2 − x − 6 )
> 0
( x + 2 )( x − 3)
− x 2 − 10 x + 24
> 0
( x + 2 )( x − 3)
x 2 + 10 x − 24
< 0
( x + 2 )( x − 3)
( x + 12 )( x − 2 )
< 0
( x + 2 )( x − 3)
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( − 12, − 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 409

กรณีที่ 2 x≥0
x+6 x
จะได x+2
+1 <
x−3
x+6 x
− +1 < 0
x+ 2 x−3
( x + 6 )( x − 3) − x ( x + 2 ) + ( x + 2 )( x − 3)
< 0
( x + 2 )( x − 3)
(x 2
+ 3 x − 18 ) − ( x 2 + 2 x ) + ( x 2 − x − 6 )
< 0
( x + 2 )( x − 3)
x 2 − 24
< 0
( x + 2 )( x − 3)
( x − 2 6 )( x + 2 6 ) < 0
( x + 2 )( x − 3)
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( 3, 2 6 )
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 12, − 2 ) ∪ ( 3, 2 6 )
9) จากโจทย ทราบวา x ≠ 0 และ x ≠ − 2
x−3 x+5
จาก ≥
x x+2
x−3
กรณีที่ 1 x<0 จะได x−3 < 0 ดังนั้น >0
x
จะไดอสมการเปน
x−3 x+5

x x+2
x−3 x+5
− ≥ 0
x x+2
( x − 3)( x + 2 ) − x ( x + 5) ≥ 0
x ( x + 2)
(x 2
− x − 6) − ( x2 + 5x )
≥ 0
x ( x + 2)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
410 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−6 x − 6
≥ 0
x ( x + 2)
x +1
≤ 0
x ( x + 2)
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 )
x−3
กรณีที่ 2 0<x<3 จะได x−3 < 0 ดังนั้น <0
x
จะไดอสมการเปน
 x −3 x+5
−  ≥
 x  x+2
x+5 x−3
+ ≤ 0
x+2 x
x ( x + 5 ) + ( x − 3)( x + 2 )
≤ 0
x ( x + 2)
(x 2
+ 5x ) + ( x2 − x − 6)
≤ 0
x ( x + 2)
2 x2 + 4 x − 6
≤ 0
x ( x + 2)
x2 + 2 x − 3
≤ 0
x ( x + 2)
( x − 1)( x + 3) ≤ 0
x ( x + 2)
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( 0, 1 ]
x−3
กรณีที่ 3 x≥3 จะได x−3 ≥ 0 ดังนั้น >0
x
จะไดอสมการเปน
x−3 x+5
นั่นคือ ≥
x x+2
x−3 x+5
− ≥ 0
x x+2
( x − 3)( x + 2 ) − x ( x + 5) ≥ 0
x ( x + 2)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 411

(x 2
− x − 6) − ( x2 + 5x )
≥ 0
x ( x + 2)
−6 x − 6
≥ 0
x ( x + 2)
x +1
≤ 0
x ( x + 2)
ดังนั้น ไมมี x ที่สอดคลองกับอสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 ) ∪ ( 0, 1 ]
22. ใหรานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ x
เนื่องจากที่ทํางานของสมชายตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 5
จะไดวาสมชายเดินทางจากที่ทํางานเพื่อไปซื้อของที่รานคาเปนระยะทาง x − 5 กิโลเมตร
และเนื่องจากบานของสมชายตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 7
จะไดวา สมชายเดินทางจากรานคากลับบานของตนเองเปนระยะทาง x − 7 กิโลเมตร
เนื่องจาก สมชายเดินทางไปซื้อของที่รานคาแลวเดินกลับบานตนเองเปนระยะทาง
ทั้งสิ้น 4 กิโลเมตร
จะไดวา x−5 + x−7 = 4
วิธีที่ 1 x−5 = 4− x−7

(4 − x − 7 )
2
x−5
2
=

( x − 5) (4 − x − 7 )
2 2
=
( x − 5) 16 − 8 x − 7 + ( x − 7 )
2 2
=
( x − 5) − ( x − 7 ) 16 − 8 x − 7
2 2
=
( x − 5 ) − ( x − 7 )  ( x − 5 ) + ( x − 7 )  = 16 − 8 x − 7
2 ( 2 x − 12 ) = 16 − 8 x − 7
x−6 = 4−2 x−7
x − 10 = −2 x − 7

( x − 10 ) ( −2 )
2
x−7
2
=

( x − 10 )  2 ( x − 7 ) 
2 2
=

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
412 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x − 10 ) −  2 ( x − 7 )
2 2
= 0
( x − 10 ) − 2 ( x − 7 )  ( x − 10 ) + 2 ( x − 7 )  = 0
( − x + 4 )( 3x − 24 ) = 0
( x − 4 )( x − 8) = 0
นั่นคือ เซตคําตอบของสมการ คือ {4, 8}
ดังนั้น รานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 4 หรือหลักกิโลเมตรที่ 8
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x < 5
จะได − ( x − 5) − ( x − 7 ) = 4
−2 x + 12 = 4
−2x = −8
x = 4 ซึ่ง 4<5
นั่นคือ 4 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 5 ≤ x < 7
จะได ( x − 5) − ( x − 7 ) = 4
2 = 4 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมี x ที่สอดคลองกับอสมการ
กรณีที่ 3 x ≥ 7
จะได ( x − 5) + ( x − 7 ) = 4
2 x − 12 = 4
2x = 16
x = 8 ซึ่ง 8≥7
นั่นคือ 8 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {4, 8}
ดังนั้น รานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 4 หรือหลักกิโลเมตรที่ 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 413

แหลงเรียนรูเพิ่มเติม
forvo.com เปนเว็บไซตที่รวบรวมการออกเสียงคําในภาษาตาง ๆ กอตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 2008 โดยมี
จุดมุงหมายเพื่อพัฒนาการสื่อสารทางการพูด ผานการแลกเปลี่ยนการออกเสียงคําในภาษาตาง ๆ
ทั้งจากบุคคลที่เปนเจาของภาษาและบุคคลที่ไมใชเจาของภาษา forvo.com ไดรับคัดเลือกจาก
นิ ตยสาร Times ให เป น 50 เว็ บไซต ที่ดีที่สุ ดใน ค.ศ. 2013 (50 best websites of 2013) ป จ จุ บั น
เว็บไซตนี้เปนฐานขอมูลที่รวบรวมการออกเสียงที่ใหญที่สุด มีคลิปเสียงที่แสดงการออกเสีย ง
คําศัพทประมาณสี่ลานคําในภาษาตาง ๆ มากกวา 330 ภาษา

ครูอาจใชเว็บไซต forvo.com เพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการออกเสียงคําศัพทคณิตศาสตรหรือ


ชื่อนักคณิตศาสตรในภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น ๆ ที่ปรากฏในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติ ม
คณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ กษาป ที่ 4 เล ม 1 ได เชน finite set และ infinite set ซึ่งเปน คําศัพท
คณิตศาสตรในภาษาอังกฤษ หรือ Georg Cantor ซึ่งเปนชื่อนักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
414 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

บรรณานุกรม
กรรณิกา กวักเพฑูรย. (2542). หลักคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.
วิชาญ ลิ่วกีรติยุตกุล. (2562). คณิตวิเคราะห. กรุงเทพฯ: วิสคอมเซ็นเตอร.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2524). คูมือครูวิชาคณิตศาสตร ค 012 ตาม
หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 ของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2558). คูมือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2553). คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ตามผลการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2557). หนังสือเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อเสริม
ศักยภาพคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ตรรกศาสตรและการพิสูจน. กรุงเทพฯ:
พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 415

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2557). หนังสือเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อเสริม


ศักยภาพคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ระบบจํานวนจริง. กรุงเทพฯ: พัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.
Judson, T. W. Abstract Algebra: Theory and Applications. Retrieved October 1, 2020,
from http://abstract.ups.edu/aata/section-poly-division-algorithm.html.

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
416 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

คณะผูจัดทํา
คณะที่ปรึกษา
ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
รศ. ดร.สัญญา มิตรเอม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะผูจัดทําคูมือครู
นางสาวปฐมาภรณ อวชัย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวอัมริสา จันทนะศิริ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายพัฒนชัย รวิวรรณ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวภิญญดา กลับแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.ศศิวรรณ เมลืองนนท สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.สุธารส นิลรอด สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.ธีรสรรค ขันธวิทย นักวิชาการอิสระ
ดร.นิธิ รุงธนาภิรมย นักวิชาการอิสระ
นายอัฐวิช นริศยาพร นักวิชาการอิสระ

คณะผูพิจารณาคูมือครู
นายประสาท สอานวงศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
รศ. ดร.สมพร สูตินันทโอภาส สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจินตนา อารยะรังสฤษฏ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจําเริญ เจียวหวาน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายสุเทพ กิตติพิทักษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.อลงกรณ ตั้งสงวนธรรม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
วาที่รอยเอก ดร.ภณัฐ กวยเจริญพานิชก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 417

นางสาวปฐมาภรณ อวชัย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี


นางสาวอัมริสา จันทนะศิริ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายทศธรรม เมขลา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายพัฒนชัย รวิวรรณ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวภิญญดา กลับแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.ศศิวรรณ เมลืองนนท สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.สุธารส นิลรอด สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายกฤษณะ ปอมดี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร.มนทกานติ เพชรอภิรักษ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ
ผศ. ดร.วันดี เกษมสุขพิพัฒน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
นายสมภพ ศรีสิทธิไพบูลย มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

บรรณาธิการ
รศ. ดร.สิริพร ทิพยคง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะทํางานฝายเสริมวิชาการ
นางสาวขวัญใจ ภาสพันธุ โรงเรียนราชวินิตบางเขน กรุงเทพฯ
นายเชิดศักดิ์ ภักดีวิโรจน โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ
จังหวัดนครปฐม
นายณรงคฤทธิ์ ฉายา โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ศูนยวิจัยและพัฒนาการศึกษา กรุงเทพฯ
นายถนอมเกียรติ งานสกุล โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
นางสาวปรารถนา วิริยธรรมเจริญ โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม
นายวิฑิตพงค พะวงษา โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
นางสาวศราญลักษณ บุตรรัตน โรงเรียนบางละมุง จังหวัดชลบุรี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
418 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นายศรัณย แสงนิลาวิวัฒน โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี


จังหวัดเพชรบุรี
วาที่รอยตรีสามารถ วนาธรัตน โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก
นางสุธิดา นานชา โรงเรียนยานตาขาวรัฐชนูปถัมภ จังหวัดตรัง
นายสุรชัย บุญเรือง โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี
นางศรีสกุล สุขสวาง ขาราชการบํานาญ
นางศุภรา ทวรรณกุล ขาราชการบํานาญ
นายสุกิจ สมงาม ขาราชการบํานาญ
นางสุปราณี พวงพี ขาราชการบํานาญ
นายชัยรัตน สุนทรประพี นักวิชาการอิสระ
นางสาวปยาภรณ ทองมาก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ฝายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 419

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คู�มือครูรายวิชาเพิ่มเติม

คู�มือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร� | ชั้นมัธยมศึกษาป�ที่ ๔ | เล�ม ๑

You might also like