You are on page 1of 255

เอกสารประกอบการสอน

วิชา 01417111
แคลคูลัส I
(Calculus I)
โดย

งล ์ วาน
อุดมศักดิ์ รักวงษ์วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ล่า รกั
FB อุด ฉบ

FACEBOOK PAGE: ติดเล่า เรื่องลงทุน


FACEBOOK PAGE: Calculus Tea Room
.
ดร

ภาควิชาคณิตศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2564
แผนการสอนวิชาแคลคูลัส I

1. คณะ วิทยาศาสตร์ ภาควิชา คณิตศาสตร์


2. รหัสวิชา 01417111 ชื่อวิชา แคลคูลสั I
(Calculus I)
จำนวนหน่วยกิต 3(3-0-6) หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตที่รับผิดชอบ 2 หน่วยกิต (30 ชั่วโมงแรกจนถึง หัวข้อ 5.5.5.)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน ไม่มี
3. คำอธิบายรายวิชา
ลิมิตและความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์ ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์ ปริพันธ์และการประยุกต์

งล ์ วาน
Limits and continuity, derivatives and applications, differentials and applications, integration and
applications.
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
4. หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์

งท
: ต มศกั ับรา่

ประเภทของรายวิชา วิชาบังคับ
ล่า รกั
FB อุด ฉบ

5. แผนการเรียน

5.1. ลิมิตและความต่อเนื่อง 6 ชั่วโมง


5.1.1. ความหมายของลิมิต
5.1.2. ลิมิตทางซ้ายและลิมติ ทางขวา
.

5.1.3. ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมติ
ดร

0
5.1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป
0
5.1.5. ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
5.1.6. ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์
5.1.7. เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
5.1.8. ความต่อเนื่อง
5.2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน 12 ชั่วโมง
5.2.1. บทนิยามของอนุพันธ์
5.2.2. อนุพันธ์ด้านเดียว
5.2.3. ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์
5.2.4. สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
5.2.5. อนุพันธ์อันดับสูง
5.2.6. กฎลูกโซ่
5.2.7. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
5.2.8. อนุพันธ์ของฟังก์ชันลอการิทึม และเอกซ์โปเนนเชียล
5.2.9. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = u ( x)v ( x )
5.2.10. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง
5.2.11. อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม
5.2.12. อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
5.2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์
5.3. การประยุกต์อนุพันธ์ 3 ชั่วโมง
5.3.1. กฎของโลปิตาล
5.3.2. อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริน
5.4. ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์ 3 ชั่วโมง
5.5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 9 ชั่วโมง

งล ์ วาน
5.5.1. ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
5.5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
5.5.3. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพนั ธ์ทีละส่วน

งท
: ต มศกั ับรา่

5.5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

5.5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย
5.5.6. การหาปริพันธ์โดยการแทนค่าด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติ
5.5.7. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันที่ตัวแปรมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
5.6. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ 9 ชั่วโมง
5.6.1. นิยามปริพันธ์จำกัดเขต
5.6.2. กฎสี่เหลี่ยมคางหมูและกฎของซิมป์สัน
.
ดร

5.6.3. การหาพื้นที่ระหว่างเส้นโค้งในระบบพิกัดฉาก
5.6.4. ปริมาตรของวัตถุทรงตันที่เกิดจากการหมุนพื้นที่รอบแกนพิกัดฉาก
5.7. ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ 3 ชั่วโมง
6. วิธีการสอน
การบรรยาย การทำแบบฝึกหัด การทำงานที่มอบหมาย ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง
7. อุปกรณ์สื่อการสอน
หนังสือประกอบคำบรรยาย คลิปวิดีโอเนื้อหาใน google classroom สอนออนไลน์ผา่ น Webex Meetings
8. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
สอบกลางภาค 40 คะแนน (บทที่ 1 – 3)
สอบปลายภาค 50 คะแนน (บทที่ 4 - 7)
คะแนนเก็บ 10 คะแนน (สอบย่อยและการเข้าชั้นเรียน)
9. การประเมินผลการเรียน
ใช้คะแนนกลุ่มและเกณฑ์ในการตัดสิน กล่าวคือ นิสิตที่สอบได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนน จะได้เกรด A หรือถ้าได้คะแนนไม่ต่า
กว่า 40 คะแนน จะไม่ได้เกรด F เป็นต้น
10. การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นสิ ิตและให้คำแนะนำในการด้านการเรียน
นิสิตสามารถสอบถามผ่านทางไลน์ openchat และ e-mail ได้
11. หนังสืออ่านประกอบ
แคลคูลสั I ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หาซื้อได้ที่ห้องธุรการ ภาควิชาคณิตศาสตร์
อาคารวิทยาศาสตร์ 45 ปี ชั้น 12
หนังสือภาษาไทย และ/หรือ ภาษาอังกฤษที่มีหัวข้อระบุไว้ในข้อ 5
12. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
วัน เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
28 มิ.ย. 64 – แนะนำวิชาและจุดมุ่งหมาย สอนโดยการลงคลิปเนื้อหาและสอนสด
13 ส.ค. 64 บทที่ 1 ลิมิตและความต่อเนื่อง สรุปเนื้อหาและทาโจทย์
บทที่ 2 อนุพันธ์ นิสิตทบทวนบทเรียน
บทที่ 3 การประยุกต์อนุพันธ์ และทำแบบฝึกหัดอย่างต่อเนื่อง

งล ์ วาน
สอบกลางภาค บทที่ 1-3 สอบผ่านระบบ KULAM และถ่ายทอดสด
วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2564 ผ่านโปรแกรม Zoom
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
เวลา 14:30 – 16:30 น.

งท
: ต มศกั ับรา่

23 ส.ค. 64 – บทที่ 4 ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์ สอนโดยการลงคลิปเนื้อหาและสอนสด


8 พ.ย. 62 บทที่ 5 ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต สรุปเนื้อหาและทาโจทย์
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

บทที่ 6 ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ นิสิตทบทวนบทเรียน


บทที่ 7 ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ และทำแบบฝึกหัดอย่างต่อเนื่อง
สอบปลายภาค บทที่ 4-7 รอประกาศจากมหาวิทยาลัย
วันพฤหัสบดีที่ 28 ตุลาคม พ.ศ.2564
เวลา 09:00 – 11:00 น.
.
ดร
กิตติกรรมประกาศ
ผู้เขียนขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านในภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทัง้ ทีย่ ังสอน
อยูแ่ ละที่ได้เกษียณอายุไปแล้ว รวมถึงขอขอบคุณภาควิชาที่เป็นเหมือนกับบ้าน ตั้งแต่ให้ผู้เขียนได้ศึกษาเล่าเรียน (รวมถึงวิชา
แคลคูลสั I ด้วย) จนกระทั่งกลับมาเป็นอาจารย์ทำงาน สอนหนังสือ และทำวิจัย ปราศจากคณาจารย์และภาควิชา คงจะไม่มี
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้เกิดขึ้น
นอกจากนี้ ผู้เขียนขอขอบคุณโดยเฉพาะกับผู้แต่งหนังสือแคลคูลัส I ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพราะนอกจากจะเป็นหนังสือแคลคูลัสเล่มแรกที่ผเู้ ขียนศึกษาแล้ว ยังเป็นหนังสือที่เป็นหลัก ที่ผเู้ ขียนใช้ในการเขียนเอกสาร
ประกอบการสอนนี้
สุดท้ายนี้ ผูเ้ ขียนขอขอบคุณ นักศึกษาปริญญาตรี โท และเอก ที่เป็นทั้งเพื่อน น้อง และลูกศิษย์ ทีม่ ีสว่ นช่วยให้เอกสาร
ประกอบการสอนเล่มนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น คำผิด เลขผิดมากมาย ในหนังสือเล่มนี้ ได้ถูกแก้ไขโดยบุคคลเหล่านี้ ซึ่งผู้เขียนรู้สึก
ซาบซึ้งเป็นอย่างมาก ข้อผิดพลาดทั้งหมดที่เหลือถือเป็นความผิดของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
คำนำ
เอกสารประกอบการสอนวิชาแคลคูลัส I นี้ จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนรายวิชา แคลคูลสั I รหัสวิชา
01417111 ตามหลักสูตรวิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาพื้นฐาน
สำคัญสำหรับหลาย ๆ สาขาวิชา ในหลากหลายคณะ นอกจากนี้เอกสารประกอบการสอนนี้ยังสามารถถูกใช้เป็นแนวทางใน
การศึกษาและสร้างพื้นฐานที่เข้มแข็งสำหรับผู้ทสี่ นใจในคณิตศาสตร์ประยุกต์ต่อไป
ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาทั้งในรายวิชา แคลคูลสั I รหัสวิชา 01417111 และ
ผู้ที่ต้องการศึกษาด้วยตนเองสำหรับสร้างพื้นฐานที่เข้มแข็งสำหรับแคลคูลสั เบื้องต้น

อุดมศักดิ์ รักวงษ์วาน
กรกฎาคม 2564

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
สารบัญ

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
สารบัญ 1
งท
: ต มศกั ับรา่

1 ลิมิตและความต่อเนื่อง 1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1.1 ความหมายของลิมิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1
1.2 ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4
1.3 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 9
1.4 ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 14
1.5 ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 26
.

1.6 ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 33
ดร

1.6.1 ลิมิตค่าอนันต์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 33
1.6.2 ลิมิต ณ อนันต์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 36
1.7 เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 43
1.7.1 เส้นกำกับแนวราบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 44
1.7.2 เส้นกำกับแนวดิ่ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 48
1.8 ความต่อเนื่อง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 53
2 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน 61
2.1 บทนิยามของอนุพันธ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 61
2.2 อนุพันธ์ด้านเดียว . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 65
2.3 ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 67
2.4 สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 69
1
2 สารบัญ

2.5 อนุพันธ์อันดับสูง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 76
2.6 กฎลูกโซ่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 78
2.7 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 83
2.8 อนุพันธ์ของฟังก์ชันลอการิทึม และเอกซ์โปเนนเชียล . . . . . . . . . . . . . . . 88
2.9 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = u(x)v(x) . . . . . . . . . . . . . . 93
2.10 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 98
2.11 อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 107
2.12 อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 112
2.13 การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 117
2.13.1 ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 117
2.13.2 จุดต่ำสุดสูงสุดสัมพัทธ์และสัมบูรณ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 124
2.13.3 การหาจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์โดยใช้อนุพันธ์อันดับหนึ่ง . . . . . . . . . 129
2.13.4 ความเว้าและจุดเปลี่ยนเว้า . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 134

งล ์ วาน
2.13.5 การหาจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์โดยใช้อนุพันธ์อันดับสอง
2.13.6 การวาดกราฟ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
140
149
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

3 การประยุกต์อนุพันธ์ 163
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3.1 กฎของโลปิตาล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 163


3.2 อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 173
4 ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์ 179
5 ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 185
5.1 ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 185
.
ดร

5.1.1 ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 186


5.1.2 สมบัติของปริพันธ์ไม่จำกัดเขต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 187
5.2 เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 195
5.3 เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพันธ์ทีละส่วน . . . . . . . . . . . . . . . . . . 209
5.4 การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . 217
R
5.4.1 รูปแบบที่ 1. sinm θ cosn θdθ โดยที่ m, n ∈ N ∪ {0} . . . . . . 217
R R
5.4.2 รูป แบบ ที่ 2. sin(mθ) cos(nθ)dθ, sin(mθ) sin(nθ)dθ,
R
cos(mθ) cos(nθ)dθ, โดยที่ m, n ∈ N และ m ̸= n . . . . . . . 221
R R
5.4.3 รูปแบบที่ 3. tanm θ dθ หรือ cotm θ dθ โดยที่ m ∈ N . . . . . . 224
R R
5.4.4 รูปแบบที่ 4. secm θ dθ หรือ cscm θ dθ โดยที่ m ∈ N . . . . . . 225
R R
5.4.5 รูป แบบที่ 5. secn θ tanm θ dθ หรือ cscn cotm θ dθ โดยที่
m, n ∈ N . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 227
0 สารบัญ

5.5 การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 231


5.5.1 การตั้งฟอร์มแยกเศษส่วนย่อย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 231
5.5.2 การหาค่าคงที่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 234
5.5.3 การหาปริพันธ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 238

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
บทที่
1
ลิมิตและความต่อเนื่อง

1.1 ความหมายของลิมิต งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

บทนิยาม 1.1.1 (อย่างไม่เป็นทางการ) ลิมิตของฟังก์ชัน f (x) เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ c เขียน


แทนด้วยสัญลักษณ์ x→c
lim f (x) มีค่าเท่ากับ L ถ้า f (x) มีค่าเข้าใกล้ L เมื่อ x ค่าเข้าใกล้ c

บทนิยาม 1.1.2 (อย่างเป็นทางการ) ให้ f เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนช่วง (a, b) ยกเว้นที่ x = c


.

ซึ่งอยู่บนช่วง (a, b) เราจะกล่าวว่า x→c


lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกๆ ϵ > 0 จะมี δ > 0
ดร

ที่ซึ่ง สำหรับทุก ๆ จำนวนจริง x


ถ้า 0 < |x − c| < δ แล้ว |f (x) − L| < ϵ

ข้อสังเกต ความหมายของ x→a lim f (x) คือ “ค่าของฟังก์ชัน f (x) เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a มาก
ๆ แต่ไม่เท่ากับ a” การที่ x เข้าใกล้ a สามารถแบ่งเป็น 2 กรณี คือ
x<a x>a
a
2 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1. x เข้าใกล้ a จากทางซ้าย 2. x เข้าใกล้ a จากทางขวา


ตัวอย่าง 1.1 พิจารณาฟังก์ชัน f (x) = xx −−11 เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 1
2

วิธีทำ. จากตารางจะเห็นว่า ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ 1 ไม่ว่าจากทางซ้าย (x < 1) หรือทางขวา (x > 1)


จะได้ว่า f (x) มีค่าเข้าใกล้ 2 (ค่าในตารางมาจากการกดเครื่องคิดเลขนะ)
x<1 f (x) x>1 f (x)
0.9 1.9 1.1 2.1
0.99 1.99 1.01 2.01
0.999 1.999 1.001 2.001
0.9999 1.9999 1.0001 2.0001
0.99999 1.99999 1.00001 2.00001

งล ์ วาน
กรณีเช่นนี้จะกล่าวว่าลิมิตของ f (x) เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 1 มีค่าเท่ากับ 2 และเขียนแทนด้วย
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
สัญลักษณ์ x→1
lim f (x) = 2
งท
: ต มศกั ับรา่

เคล็ดไม่ลับ เมื่อ เราเจอ x→1


lim f (x) ให้ ถามตัว เองว่า “f (x) เข้า ใกล้ อะไรนะ เมื่อ x เข้า ใกล้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1?”
ข้อสังเกต ถ้าเราพิจารณากราฟ f เราจะได้ว่า
x2 − 1
จาก f (x) =
x−1
(x + 1)(x − 1)
; a2 − b2 = (a + b)(a − b)
.

f (x) =
ดร

x−1
f (x) = x + 1 ; x ̸= 1
ดังนั้นจะได้ว่า f (x) เป็นเส้นตรง ที่ไม่นิยามเมื่อ x ̸= 1 ดังรูป
Y

3
f (x)
2 bc

X
−1 0 1 2
1.1. ความหมายของลิมิต 3

จะสังเกตจากกราฟของ f ได้เช่นกันว่า f (x) มีค่าเข้าใกล้ 2 เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 1


ตัวอย่าง 1.2 พิจารณาฟังก์ชัน f (x) = sinx x เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 0
วิธีทำ. จากตารางจะเห็นว่า ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ 0 ไม่ว่าจากทางซ้าย (เกือบ ๆ ศูนย์ x < 0) หรือทาง
ขวา (ศูนย์นิด ๆ x > 0) จะได้ว่า f (x) มีค่าเข้าใกล้ 1
x<0 f (x) x>0 f (x)
−0.1 0.998334167 0.1 0.998334167
−0.01 0.999983333 0.01 0.999983333
−0.001 0.999999833 0.001 0.999999833
−0.0001 0.999999998 0.0001 0.999999998
−0.00001

งล ์ วาน
0.999999999 0.00001 0.999999999

กรณีเช่นนี้จะกล่าวว่าลิมิตของ f (x) เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 0 มีค่าเท่ากับ 1 และเขียนแทนด้วย


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
sin x
สัญลักษณ์ x→0
lim f (x) = lim =1
งท
: ต มศกั ับรา่

x→0 x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
4 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1.2 ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา

บทนิยาม 1.2.1 สัญลักษณ์ lim f (x) = L แทนค่าของฟังก์ชัน f (x) ที่เข้าใกล้จำนวนจริง



x→a
L เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a จากทางซ้าย (x < a)

บทนิยาม 1.2.2 สัญลักษณ์ lim f (x) = L แทนค่าของฟังก์ชัน f (x) ที่เข้าใกล้จำนวนจริง


+
x→a
L เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a จากทางขวา (x > a)

ข้อสังเกต
งล ์ วาน
ภาษามนุษย์ lim f (x) = L คือค่าของ f (x) เมื่อ x เข้าใกล้ a จากทางด้านซ้าย

เรอื ่ วงษ
x→a
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
(x น้อยกว่า a นิด ๆ) และ lim f (x) = L คือค่าของ f (x) เมื่อ x เข้าใกล้ a จากทางด้านขวา (x
งท
: ต มศกั ับรา่

x→a +

มากกว่า a นิด ๆ)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−x 2
ตัวอย่าง 1.3 พิจารณาฟังก์ชัน f (x) = x |x| เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 0

วิธีทำ. จากตารางด้านล่างจะเห็นว่า ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ 0 ทางซ้าย (เกือบ ๆ 0) แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้


1 และ ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ 0 ทางขวา (0 หน่อย ๆ) แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้ −1
.
ดร

x<0 f (x) x>0 f (x)


−0.1 1.1 0.1 −0.9
−0.01 1.01 0.01 −0.99
−0.001 1.001 0.001 −0.999
−0.0001 1.0001 0.0001 −0.9999
−0.00001 1.00001 0.00001 −0.99999

ดังนั้น เราจะเขียนได้ว่า lim f (x) = 1 และ lim f (x) = −1 จะเห็นว่า lim


− + −
f (x) ̸=
x→0 x→0 x→0
lim f (x) ในกรณีเช่นนี้เราจะกล่าวว่า lim f (x) หาค่าไม่ได้
x→0+ x→0
1.2. ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา 5

ทฤษฎีบท 1.2.3 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชัน และ a และ L เป็นจำนวนจริง จะได้ว่า


1. lim f (x) หาค่าได้
x→a−

lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ 2. lim f (x) หาค่าได้


x→a x→a+

3. lim f (x) = lim f (x) = L


x→a− x→a+

ตัวอย่าง 1.4 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้


(ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)
Y

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ 2 b f
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
b bc
1

งท
: ต มศกั ับรา่

b
X
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−2 −1 0 1 2 3
bc b −1

−2 bc
.
ดร

1. f (−2) หาค่าไม่ได้ 3. f (1) = 0


lim f (x) หาค่าไม่ได้ lim f (x) = 0
x→−2− x→1−

lim f (x) = −1 lim f (x) = 1


x→−2+ x→1+

lim f (x)
x→−2
หาค่าไม่ได้ lim f (x)
x→1
หาค่าไม่ได้

2. f (0) = 1 4. f (3) = 2
lim f (x) = −2 lim f (x) = 2
x→0− x→3−

lim f (x) = −2 lim f (x) หาค่าไม่ได้


x→0+ x→3+

lim f (x) = −2 lim f (x)


x→3
หาค่าไม่ได้
x→0
6 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

ตัวอย่าง 1.5 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้


(ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)

3 (2, 3)

2
(2, 2) f (2) = 3
1
lim f (x) = 3
x→2+
X
0
−6 −5 −4 −3 −2 −1 1 2 3 4 5 6 lim f (x) = 2
−1 x→2−

−2 lim f (x)
x→2
หาค่าไม่ได้

งล ์ วาน
−3เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 1.6 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้


(ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)

Y
.

(2, 2)
ดร

f (2) = −2
1
lim f (x) = 2
x→2+
X
0
−3 −2 −1 1 2 3 lim f (x) = 2
x→2−
−1
lim f (x) = 2
x→2
−2
(2, −2)

ตัวอย่าง 1.7 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้


(ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)
1.2. ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา 7
Y

(−2, 2)
2

(2, 1)
1
(−4, 0)
X
0
−4 −3 −2 −1 1 2 3 4

−1

−2
(2, −2)

งล ์ วาน
1. f (−2) = 2 2. f (2) = 1
lim f (x) = 2 lim f (x) = 1
เรอื ่ วงษ
x→−2+
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→2+

lim f (x) = 2 งท lim f (x) = −2


: ต มศกั ับรา่

x→−2− x→2−

หาค่าไม่ได้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim f (x) = 2 lim f (x)


x→−2 x→2

ตัวอย่าง 1.8 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้


(ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)

Y
.
ดร

2
(−1, 1)
f (−1) = 1
1
lim f (x) = 1
x→−1+
X
0
−3 −2 −1 1 2 3 lim f (x) = −1
−1
x→−1−

(−1, −1) lim f (x)


x→−1
หาค่าไม่ได้
−2

ตัวอย่าง 1.9 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้


(ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)
8 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
Y

(−4, 1)
1 (0, 1)

X
0
−5 −4 −3 −2 −1 1 2 3 4 5

−1
(0, −1)
(−4, −1)
−2

1. f (−4) = −1 2. f (0) = 1

งล ์ วาน
lim f (x) = 1 lim f (x) = −1
x→−4+ x→0+
เรอื ่ วงษ
lim f (x) = 1 lim f (x) = 1
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→−4− x→0−
งท
: ต มศกั ับรา่

lim f (x) = 1
x→−4
lim f (x)
x→0
หาค่าไม่ได้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 1.10 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป จงพิจารณาลิมิต และค่าของฟังก์ชันต่อ


ไปนี้ (ลองปิดเฉลยดูก่อนนะ)
Y

2
.
ดร

(2, 1) f (2) = 1
1
lim f (x) = 1
x→2+
X
0
−3 −2 −1 1 2 3 lim f (x) = −1
x→2−
−1
(2, −1) lim f (x)
x→2
หาค่าไม่ได้
−2
1.3. ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต 9

1.3 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต
จะเห็นว่าการหาลิมิตโดยใช้ตาราง หรือใช้กราฟนั้นค่อนข้างยาก และเสียเวลา เนื่องจากเราไม่มี
เครื่องคิดเลขในห้องสอบ หรือกราฟสำหรับฟังก์ชันที่ซับซ้อนนั้นวาดได้ยาก ในหัวข้อนี้ เราจะศึกษา
ทฤษฎีบทต่าง ๆ ที่จะมาช่วยให้เราหาค่าของลิมิตง่ายยิ่งขึ้น

ทฤษฎีบท 1.3.1 กำหนดให้ a และ c เป็นจำนวนจริง จะได้ว่า


1. x→a
lim c = c 2. x→a
lim x = a

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ข้อสังเกต ทฤษฎีบทนี้บอกเราว่า “ลิมิตของค่าคงที่ใด ๆ ได้ค่าคงที่” และ “ลิมิตของ x เมื่อ x


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เข้าใกล้ a มีค่าเท่ากับ a”

ตัวอย่าง 1.11 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้


.
ดร

1. lim 3 = 3
x→2
2. lim 2
x→π 3
= 2
3

3. lim x = 4
x→4
4. lim x = − 21
x→− 12
10 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

ทฤษฎีบท 1.3.2 ถ้า f (x) และ g(x) เป็นฟังก์ชันที่ซึ่ง x→a


lim f (x) = L และ lim g(x) = M
x→a
และ a, k ∈ R แล้ว
1. lim kf (x) = k lim f (x) = kL
x→a x→a

2. lim [f (x) ± g(x)] = lim f (x) ± lim g(x) = L ± M


x→a x→a x→a
h ih i
3. lim [f (x) g(x)] = lim f (x) lim g(x) = LM
x→a x→a x→a
  lim f (x)
f (x) L
4. lim
x→a g(x)
= x→a
lim g(x)
=
M
เมื่อ M ̸= 0
x→a
h in
5. lim [f (x)]n = lim f (x)
x→a x→a
= Ln ; n เป็นจำนวนเต็มบวก

งล ์ วาน
p q √
6. lim
x→a
n
f (x) = n lim f (x) =
x→a
เรอื ่ วงษ n
L ; n เป็นจำนวนคี่
p q √
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
7. lim n
f (x) = n lim f (x) = n
L ; n เป็นจำนวนคู่ และ L > 0
x→a x→a
งท
: ต มศกั ับรา่

  h i lim g(x)
8. ;L>0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim f (x)g(x) = lim f (x) x→a = LM


x→a x→a

หมายเหตุ กฎเหล่านี้เป็นจริงสำหรับลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวาด้วย

ข้อสังเกต เราสามารถดึงค่าคงที่ออกจากลิมิตได้ และลิมิตสามารถกระจายบวก ลบ คูณ หาร


.

ยกกำลังได้ แต่ระวัง สำหรับรากคู่ เช่นรากที่สอง หรือรากที่สี่ ก้อนในรากต้องเป็นบวกเท่านั้น เพราะ


ดร

รากคู่ของเลขลบไม่เป็นจำนวนจริง

ตัวอย่าง 1.12 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้


 e2x + 1
1. lim 2x2 − 7x
x→1
2. lim
x→0 3x + 1

  p
3. 4.
2
2x5 − 7x − 3x 3 7 + x3 − x
3
lim lim
x→−1 x→−2

3 − 5x x2 − x − 6
5. lim √ 6. lim
x−3
x→2 x3 + 1 x→3
1.3. ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต 11

วิธีทำ.
1. lim (2x2 − 7x) = lim (2x2 ) − lim (7x)
x→1 x→1 x→1
; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
= 2 lim (x2 ) − 7 lim x
x→1 x→1
; ทบ.1.3.2 ข้อ 1
= 2( lim x)2 − 7 lim x
x→1 x→1
; ทบ.1.3.2 ข้อ 5
= 2(1)2 − 7(1) ; ทบ.1.3.1 ข้อ 2
= −5

e2x + 1 lim (e2x + 1)


2. lim
x→0 3x + 1
= x→0
lim (3x + 1)
; ทบ.1.3.2 ข้อ 4
x→0
lim e2x + lim 1

งล ์ วาน
= x→0
lim 3x + lim 1
x→0
; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
x→0 x→0
เรอื ่ วงษ
lim (ex ex ) + lim 1
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
= x→0 x→0
; ทบ.1.3.2 ข้อ 1
งท
3 lim x + lim 1
: ต มศกั ับรา่

x→0 x→0
( lim ex )( lim ex ) + lim 1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= x→0 x→0
3 lim x + lim 1
x→0
; ทบ.1.3.2 ข้อ 3
x→0 x→0
lim x lim x
(ex→0 )(ex→0 ) + lim 1
=
3 lim x + lim 1
x→0
; ทบ.1.3.2 ข้อ 8
x→0 x→0
e0 e0 + 1
= ; ทบ.1.3.1 ข้อ 1,2
.

3(0) + 1
ดร

=2

3.
2 2
lim (2x5 − 7x − 3x 3 ) = lim (2x5 − (7x + 3x 3 ))
x→−1 x→−1

; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
2
= lim 2x5 − lim (7x + 3x 3 )
x→−1 x→−1

; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
2
= lim 2x5 − ( lim 7x + lim 3x 3 )
x→−1 x→−1 x→−1

; ทบ.1.3.2 ข้อ 1
2
= 2 lim x5 − 7 lim x − 3 lim x 3
x→−1 x→−1 x→−1

; ทบ.1.3.2 ข้อ 5
2
= 2( lim x)5 − 7 lim x − 3( lim x) 3
x→−1 x→−1 x→−1

; ทบ.1.3.1 ข้อ 2
2
= 2(−1)5 − 7(−1) − 3(−1) 3
=2
12 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
p q
4. lim
x→−2
3
7 + x3 − x = 3 lim (7 + x3 − x)
x→−2
; ทบ.1.3.2 ข้อ 6
q
= 3 lim 7 + lim x3 − lim x
x→−2 x→−2 x→−2
; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
q
= 3 lim 7 + ( lim x)3 − lim x
x→−2 x→−2 x→−2
; ทบ.1.3.2 ข้อ 5
p
= 3
7 + (−2)3 − (−2) ; ทบ.1.3.1 ข้อ 1,2
=1

3 − 5x lim (3 − 5x)
5. lim √ = x→2
√ ; ทบ.1.3.2 ข้อ 4
x→2 x3 + 1 lim x3 + 1
x→2
lim (3 − 5x)
x→2
=q ; ทบ.1.3.2 ข้อ 7
lim (x3 + 1)
x→2

งล ์ วาน
lim 3 − lim 5x
x→2
=q
3
x→2
; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
lim x + lim 1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→2 x→2
lim 3 − 5 lim x
งท
: ต มศกั ับรา่

x→2
=q
3
x→2
; ทบ.1.3.2 ข้อ 1
lim x + lim 1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x→2 x→2
lim 3 − 5 lim x
= qx→2 x→2
; ทบ.1.3.2 ข้อ 5
( lim x)3 + lim 1
x→2 x→2
3 − 5(2)
=p ; ทบ.1.3.1 ข้อ 1,2
(2)3 + 1
7
.

=−
ดร

x2 − x − 6 (x − 3)(x + 2)
6. lim
x→3 x−3
= lim
x→3 (x − 3)
= lim (x + 2)
x→3
; เมื่อ x ̸= 3
= lim x + lim 2
x→3 x→3
; ทบ.1.3.2 ข้อ 2
=3+2 ; ทบ.1.3.1 ข้อ 1,2
=5

เคล็ดไม่ลับ สำหรับ x→a


lim f (x) ถ้าเราแทนค่า x = a ลงไปแล้วลิมิตหาค่าได้ (ในรูทไม่ติดลบ
ลิมิตซ้ายขวาไม่มีปัญหา) ให้แทนค่า x = a ลงไปได้เลย
1.3. ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต 13
1 1
+
ตัวอย่าง 1.13 จงหาลิมิต x→−2
lim x3 2
x +8
วิธีทำ. แทนค่า x = −2
1 1 2+x
x + 2 2x
lim = lim
x→−2 x3 + 8 x→−2 x3 + 8
2+x 1
= lim ·
x→−2 2x x3 +8
2+x 1
= lim ·
x→−2 2x (x + 2) (x2− 2x + 22 )
1
= lim
x→−2 2x (x − 2x + 22 )
2

1
=
2(−2)((−2) − 2(−2) + 4)
2

งล ์ วาน
=−
48
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน

ตัวอย่าง 1.14 จงหาลิมิต x→0 งท
: ต มศกั ับรา่

lim x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. แทนค่า x = 0

lim
x→0
x=0 ; ผิดนะครับ

เนื่องจากเมื่อ x เข้าใกล้ 0 ทางด้านซ้าย (เกือบ ๆ ศูนย์) นั่นคือ x ติดลบนิด ๆ รากที่สองของ


.


ดร

เลขลบนั่น ไม่ เป็น จำนวนจริง ดัง นั้น x→0


lim x หาค่า ไม่ ได้ ถ้า เราพิจารณา ทฤษฎีบท 1.3.2 ข้อ 7
เราไม่สามารถใช้ทฤษฎีบทข้อนี้ได้ เพราะเราสามารถนำลิมิตเข้าไปในรูทได้เมื่อตัวในรูทมากกว่าศูนย์
14 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1.4 ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00
f (x) f (a)
ในบทนี้เราจะศึกษาการหาลิมิต x→a
lim
g(x)
เมื อ
่ เราแทนค่ า x = a ลงไปในฟังก์ชัน แล้ว
g(a)
เป็นหนึ่งใน 7 รูปแบบยังไม่กำหนด (indeterminate forms) ซึ่งคือ
0 ∞
, , 0 · ∞, ∞ − ∞, 00 , 1∞ , ∞0
0 ∞
ซึ่งเราไม่สามารถสรุปได้ทันมีว่าลิมิตมีค่าเท่าไหร่ เราจะต้องทำการปรับรูปฟังก์ชันก่อน
x 2 − 3x + 2
ตัวอย่าง 1.15 จงหาลิมิต x→2
lim
x−2
วิธีทำ. แทน x = 2
x2 − 3x + 2 22 − 3(2) + 2

งล ์ วาน
=
x−2 2−2
0
; รูปแบบยังไม่กำหนด
เรอื ่ วงษ
=
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
0
x2 − 3x + 2 งท (x − 1)(x − 2)
: ต มศกั ับรา่

ปรับฟังก์ชัน lim
x→2 x−2
= lim
x→2 (x − 2)
; แยกตัวประกอบ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= lim (x − 1)
x→2

=2−1=1

x − 4x + 3
2
ตัวอย่าง 1.16 จงหาลิมิต x→3
lim 2
x − 2x − 3
.
ดร

วิธีทำ. แทน x = 3
x2 − 4x + 3 32 − 4(3) + 3
=
x2 − 2x − 3 32 − 2(3) − 3
9 − 12 + 3
=
9−6−3
0
=
0
; รูปแบบยังไม่กำหนด
x2 − 4x + 3 (x − 1)(x − 3)
ปรับฟังก์ชัน lim 2
x→3 x − 2x − 3
= lim
x→3 (x + 1)(x − 3)
; แยกตัวประกอบ
x−1
= lim
x→3 x + 1
2 1
= =
4 2
1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 15

JUM!!! ในการปรับฟังก์ชันนั้น ปกติเราจะต้องมีการแยกตัวประกอบ หรือการคูณด้วยสัง


ยุค เพื่อกำจัดเทอมที่มีปัญหาทิ้ง เราเรียนมาแล้วตอนมัธยมต้น ทั้งหมดนี้ ต้องจำได้นะ!!!
• กำลังสองสมบูรณ์แบบบวก : (A + B)2 = (A2 + 2AB + B 2 )
• กำลังสองสมบูรณ์แบบลบ : (A − B)2 = (A2 − 2AB + B 2 )
• ผลต่างกำลังสอง : A2 − B 2 = (A + B)(A − B)
• กำลังสามสมบูรณ์แบบบวก : (A + B)3 = (A3 + 3A2 B + 3AB 2 + B 3 )
• กำลังสามสมบูรณ์แบบลบ : (A − B)3 = (A3 − 3A2 B + 3AB 2 − B 3 )
• ผลต่างกำลังสาม : A3 − B 3 = (A − B)(A2 + AB + B 2 )

งล ์ วาน
• ผลบวกกำลังสาม : A3 + B 3 = (A + B)(A2 − AB + B 2 )
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
√ √ √ √
• สังยุคของ A− B คือ A + B เพราะสองตัวคูณกันได้ A − B
งท
: ต มศกั ับรา่

√ √ √ √ √ √
• สังยุคของ 3
A− 3B คือ 3
A2 + 3 A 3 B + B 2 เพราะสองตัวคูณกันได้ A − B
3
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

√ √ √ √ √ √
• สังยุคของ 3
A+ 3B คือ 3
A2 − 3 A 3 B + B 2 เพราะสองตัวคูณกันได้ A + B
3

x2 − 4
ตัวอย่าง 1.17 จงหาค่าของ x→2
lim
x−2
.
ดร

22 − 4 0
วิธีทำ. สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 2 ลงไปตรง ๆ จะได้ 2−2
=
0
ซึ่งเป็นรูปแบบยังไม่กำหนด
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า
x2 − 4 x2 − 22
lim
x→2 x−2
= lim
x→2 x − 2
; มอง A = x, B = 2
(x + 2)(x − 2)
= lim
x→2 x−2
; A2 − B 2 = (A + B)(A − B)
= lim (x + 2)
x→2

=4


x + 14 − 4
ตัวอย่าง 1.18 จงหาค่าของ lim
x→2 x−2
16 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

วิธีทำ. สังเกตว่า ถ้า เราแทน x = 2 จะได้ 00 ดัง นั้น เราจะต้องปรับ ฟังก์ชัน เราจะคูณ ด้วยสัง ยุค
√ √ √ √
โดยมอง A = x + 14, B = 16 (ตรงนี้ต้องฝึกโจทย์เยอะ ๆ นะ แล้วจะมองออก)
√ √ √
x + 14 − 4 x + 14 − 16
lim = lim
x→2 x−2 x→2 x−2
√ √ √ √
( x + 14 − 16)( x + 14 + 16) √ √
= lim √ √ ; สังยุค A− B
x→2 (x − 2)( x + 14 + 16)
(x + 14) − 16
= lim √ √
x→2 (x − 2)( x + 14 + 16)
; คูณกันได้ A − B
x−2
= lim √ √
x→2 (x − 2)( x + 14 + 16)
1
= lim √ √
x→2 x + 14 + 16
1
=√ √

งล ์ วาน
16 + 16
1
=
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง
8

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 1.19 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้


√ √
x3 − 8 x2 + 1 − 2
1. lim 4
x→2 x − 6x2 + 8
2. lim
x→−1 x2 + x

x−1 1− 1
3. lim √ √ 4. lim x3
x→1 3
2x2 − x − 3 x x→1 1 − x1
    
.

x2
ดร

2x 1 1
5. lim
x→3 x2 − 9

x−3
6. lim
x→2 x−2 x+2
−1

วิธีทำ. 1. เมื่อแทน x = 2 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


x3 − 23 (x − 2)(x2 + 2x + 4)
lim
x→2 x4 − 6x2 + 8
= lim
x→2 (x2 − 4)(x2 − 2)
; แยกตัวประกอบ
(x − 2)(x2 + 2x + 4)
= lim
x→2 (x − 2)(x + 2)(x2 − 2)
; แยก A2 − B 2
x2 + 2x + 4
= lim
x→2 (x + 2)(x2 − 2)

22 + 2(2) + 4
=
(2 + 2)(22 − 2)
3
=
2
1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 17

2. เมื่อแทน x = −1 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


√ √ √ √ √ √
x2 + 1 − 2 ( x2 + 1 − 2)( x2 + 1 + 2)
lim = lim √ √
x→−1 x2 + x x→−1 x(x + 1)( x2 + 1 + 2)
x2 − 1
= lim √ √
x→−1 x(x + 1)( x2 + 1 + 2)

(x − 1)(x + 1)
= lim √ √
x→−1 x(x + 1)( x2 + 1 + 2)
−1 − 1
= p √
(−1)( (−1)2 + 1 + 2)
1
=√
2

3. เมื่อแทน x = 1 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า

งล ์ วาน

x−1
lim √ √
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→1 3
−x− 3x
2x2
√ p p √
งท
: ต มศกั ับรา่

( x − 1)( 3 (2x2 − x)2 + 3 (2x2 − x)(x) + x2 )


3

= lim √ √ p p √ )
x→1 ( 3 2x2 − x − 3 x)( 3 (2x2 − x)2 + 3 (2x2 − x)(x) + 3 x2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

√ p √ √
( x − 1)( 3 (2x2 − x)2 + 3 2x3 − x2 + x2 )
3

= lim
x→1 2x2 − 2x
√ p √ √
( x − 1)( (2x − x)2 + 3 2x3 − x2 + x2 )
3 2 3

= lim
x→1 2x(x − 1)
√ p √ √
( x − 1)( (2x − x)2 + 3 2x3 − x2 + x2 )
3 2 3

= lim √ √
2x( x − 1)( x + 1)
.

x→1
p p p
ดร

3
(2(1) − 1) + 3 2(1)3 − (1)2 + 3 (1)2
2 2
= √
2(1)( 1 + 1)
3
=
4

4. เมื่อแทน x = 1 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


x3 −1
1− x3
1
3
lim = lim x
x→1 1 − x1 x→1 x−1
x
x3 −1
= lim
− 1)
x→1 x2 (x

(x − 1)(x2 + x + 1)
= lim
x→1 x2 (x − 1)
=3
18 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

5. เมื่อแทน x = 3 จะได้ ∞ − ∞ ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


   
2x 1 2x 1
lim − = lim −
x→3 x2 − 9 x − 3 x→3 (x − 3)(x + 3) x−3
 
2x x+3
= lim −
x→3 (x − 3)(x + 3) (x − 3)(x + 3)
x−3
= lim
x→3 (x − 3)(x + 3)
1
= lim
x→3 x + 3
1
=
6

6. เมื่อแทน x = 2 จะได้ ∞ · 0 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า

งล ์ วาน
    
1 x2 x2 1
lim −1 = lim −
x−2 x+2 x→2 (x − 2)(x + 2) x−2
เรอื ่ วงษ
x→2
 
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x 2 x+2
งท −
: ต มศกั ับรา่

= lim
x→2 (x − 2)(x + 2) (x − 1)(x + 2)
x −x−2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2
= lim
x→2 (x − 2)(x + 2)
(x − 2)(x + 1)
= lim
x→2 (x − 2)(x + 2)
3
=
4
.
ดร

ตัวอย่าง 1.20 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้



x2 − 1 x2 + 7 − 4
1. lim 2
x→1 x + 3x − 4
2. lim
x→−3 x+3

√ √ √
x+4−2 5− 5−x
3. lim
x→0 x
4. lim
x→0 2x

1
x−8 x3 −
5. lim √
x→8 3
x−2
6. lim 8
1
x→ 12
x−
2
1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 19

วิธีทำ. 1. เมื่อแทน x = 1 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า

x2 − 1 (x − 1)(x + 1)
lim = lim
x→1 x2 + 3x − 4 x→1 (x + 4)(x − 1)
(x + 1)
= lim
x→1 (x + 4)
2
=
5

2. เมื่อแทน x = −3 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า

งล ์ วาน
√ √ √
x2 + 7 − 4 ( x2 + 7 − 4)( x2 + 7 + 4)
lim = lim √
เรอื ่ วงษ
x+3 (x + 3)( x2 + 7 + 4)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→−3 x→−3

งท (x2 − 9)
: ต มศกั ับรา่

= lim √
x→−3 (x + 3)( x2 + 7 + 4)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

(x − 3)(x + 3)
= lim √
x→−3 (x + 3)( x2 + 7 + 4)
x−3
= lim √
x→−3 2
x +7+4
−6
=
8
−3
.

=
ดร

3. เมื่อแทน x = 0 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า

√ √ √
x+4−2 ( x + 4 − 2)( x + 4 + 2)
lim = lim √
x→0 x x→0 (x)( x + 4 + 2)
x
= lim √
x→0 x( x + 4 + 2)
1
= lim √
x→0 x+4+2
1
=
4
20 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

4. เมื่อแทน x = 0 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


√ √ √ √ √ √
5− 5−x ( 5 − 5 − x)( 5 + 5 − x)
lim = lim √ √
x→0 2x x→0 (2x)( 5 + 5 − x)
x
= lim √ √
x→0 2x( 5 + 5 − x)
1
= lim √ √
x→0 2( 5 + 5 − x
1
= √
4 5

5. เมื่อแทน x = 8 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


√ √
x−8 (x − 8)( x2 + 2 3 x + 4)
3

งล ์ วาน
lim √ = lim √ √ √
x→8 3 x − 2 x→8 ( 3 x − 2)( 3 x2 + 2 3 x + 4)
√ √
(x − 8)( x2 + 2 3 x + 4)
3
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
= lim
x→8 (x − 8)
งท √ √
: ต มศกั ับรา่

3
= lim ( x2 + 2 3 x + 4)
x→8
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= 12

6. เมื่อแทน x = 12 จะได้ 00 ดังนั้นต้องปรับฟังก์ชันก่อน จะได้ว่า


x3 − 81 x3 − ( 12 )3
lim = lim
x − 12 x − 12
.

x→ 12 x→ 21
ดร

(x − 12 )(x2 + x( 12 ) + 41 )
= lim
x→ 21 (x − 12 )
1 1
= lim (x2 + x( ) + )
x→ 21 2 4
3
=
4

โจทย์บางประเภทที่ลิมิตทางซ้าย อาจจะไม่เท่ากับลิมิตทางขวา เช่นฟังก์ชันที่ถูกนิยามต่างกันใน


แต่ละช่วง ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์ หรือฟังก์ชันที่มีรากที่คู่ เราจะต้องพิจารณาทั้งลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
แยกกัน
ตัวอย่าง 1.21 จงพิจารณาว่า x→a
lim f (x) ในข้อต่อไปนี้มีค่าหรือไม่ ถ้ามีจงหาค่าของลิมิต
1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 21

x3 − x − 1 เมื่อ x ≤ 2
1. f (x) =
2x + 1
สำหรับ a = 2
เมื่อ x > 2
 2


x + 3x + 2
เมื่อ x < −1
2. f (x) = √ x + 1 สำหรับ a = −1
 x+1−1

เมื่อ x ≥ −1
x

|x − 1|
3. f (x) = √
x−1
สำหรับ a = 1
2
x − x − 6
4. f (x) =
|x| − 2
สำหรับ a = −2

1

 เมื่อ x ≥ 1

งล ์ วาน
5. f (x) = 3x +√1 สำหรับ a = 1
2 − 5 − x

เมื่อ x < 1
x−1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
6. f (x) = |4 − x| สำหรับ a = 4งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

|x|
7. f (x) =
x
สำหรับ a = 0
|x| − 3
8. f (x) =
|x − 3|
สำหรับ a = 3

วิธีทำ. 1. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันถูกนิยามต่างกันเมื่อ x ≤ 2 และ x > 2 ดังนั้นถ้าเราต้องการ


.

หาลิมิตเมื่อ x เข้าใกล้ 2 เราจะต้องพิจารณาทั้งลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา


ดร

ลิมิตทางขวา lim f (x) = lim (x3 − x − 1)


x→2− x→2−

= 23 − 2 − 1
=5

ลิมิตทางซ้าย lim f (x) = lim (2x + 1)


x→2+ x→2+

= 2(2) + 1
=5

จะได้ว่า lim f (x) = lim f (x) ดังนั้น lim f (x) = 5


x→2+ x→2− x→2
22 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

2. จะสังเกตเห็น ว่า ฟังก์ชัน ถูก นิยามต่างกัน เมื่อ x < −1 และ x ≥ −1 ดัง นั้น เราจะต้อง
พิจารณาทั้งลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา
x2 + 3x + 2
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim
x+1
x→−1− x→−1−
(x + 2)(x + 1)
= lim
x→−1− x+1
= −1 + 2
=1


x+1−1
ลิมิตขวา lim f (x) = lim
+ + x
x→−1 x→−1

−1 + 1 − 1
= lim
x→−1+ −1

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ =1

จะได้ว่า ดังนั้น
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
lim f (x) = lim f (x) lim f (x) = 1
x→−1+ x→−1− x→−1
งท
: ต มศกั ับรา่

3. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันมีค่าสัมบูรณ์ |x − 1| ซึ่งมีค่าต่างกันเมื่อ x ≥ 1 และ x < 1


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−(x − 1)
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim √
x−1
; |a| = −a เมื่อ a < 0
x→1− x→1−

−(x − 1)( x + 1)
= lim √ √
x→1− ( x − 1)( x + 1)

−(x − 1)( x + 1)
= lim
x→1− x−1
.


ดร

= −( 1 + 1)
= −2

x−1
ลิมิตขวา lim f (x) = lim √
x−1
; |a| = a เมื่อ a ≥ 0
x→1+ x→1+

(x − 1)( x + 1)
= lim √ √
x→1+ ( x − 1)( x + 1)

(x − 1)( x + 1)
= lim
x→1+ x−1

= 1+1
=2

จะได้ว่า lim f (x) ̸= lim f (x) ดังนั้น lim f (x) หาค่าไม่ได้


x→1+ x→1− x→1
1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 23

4. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันมีค่าสัมบูรณ์ x2 − x − 6 ซึ่งมีค่าต่างกันเมื่อ x ≥ −2 และ x <
−2 สำหรับฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ |x| = −x เสมอไม่ว่า x ≥ −2 หรือ x < −2

x2 − x − 6
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim
x→−2− x→−2− −x − 2
(x − 3)(x + 2)
= lim
x→−2 − −(x + 2)
= −(−2 − 3)
=5

−(x2 − x − 6)
ลิมิตขวา lim f (x) = lim
−x − 2
x→−2+ x→−2−
−(x − 3)(x + 2)
= lim
x→−2 + −(x + 2)

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ = −2 − 3
= −5
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

จะได้ว่า lim f (x) ̸= lim f (x) ดังนั้น lim f (x) หาค่าไม่ได้


x→−2+ x→−2− x→−2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

5. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันถูกนิยามต่างกันเมื่อ x ≥ 1 และ x < 1 ดังนั้นเราจะต้องพิจารณาทั้ง


ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา

2− 5−x
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim
x−1
x→1− x→1−
√ p
(2 − 5 − x)(2 + 5 − x)
= lim √
.

x→1− (x − 1)(2 + 5 − x)
ดร

x−1
= lim √
x→1 (x − 1)(2 + 5 − x)

1
= √
2+ 5−1
1
=
4

1
ลิมิตขวา lim f (x) = lim
3x + 1
x→1+ x→1+
1
=
3(1) + 1
1
=
4
24 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
1
จะได้ว่า lim f (x) = lim f (x) ดังนั้น lim f (x) =
4
x→1+ x→1− x→1

6. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันถูกนิยามต่างกันเมื่อ x ≥ 4 และ x < 4 ดังนั้นเราจะต้องพิจารณาทั้ง


ลิมิตทางซ้ายและลิมิตทางขวา
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim 4 − x
x→4− x→4−

=4−4
=0

ลิมิตขวา lim f (x) = lim −(4 − x)


x→4+ x→4+

= −(4 − 4)

งล ์ วาน
=0

จะได้ว่า ดังนั้น
เรอื ่ วงษ
lim f (x) = lim f (x) lim f (x) = 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→4+ x→4− x→4

งท
: ต มศกั ับรา่

7. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันมีค่าสัมบูรณ์ |x| ซึ่งมีค่าต่างกันเมื่อ x ≥ 0 และ x < 0


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−x
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim
x
x→0− x→0−

= lim −1
x→0−

= −1
.

x
ดร

ลิมิตขวา lim f (x) = lim


x
x→0+ x→0+

= lim 1
x→0+

=1

จะได้ว่า lim f (x) ̸= lim f (x) ดังนั้น lim f (x) หาค่าไม่ได้


x→0+ x→0− x→0

8. จะสังเกตเห็นว่าฟังก์ชันมีค่าสัมบูรณ์ |x − 3| ซึ่งมีค่าต่างกันเมื่อ x ≥ 3 และ x < 3


x−3
ลิมิตซ้าย lim f (x) = lim
−(x − 3)
x→3− x→3−

= lim −1
x→3−

= −1
1.4. ลิมิตของฟังก์ชันในรูป 00 25
x−3
ลิมิตขวา lim f (x) = lim
x−3
x→3+ x→3+

= lim 1
x→3+

= −1

จะได้ว่า lim f (x) ̸= lim f (x) ดังนั้น lim f (x) หาค่าไม่ได้


x→3+ x→3− x→3

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
26 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1.5 ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ในหัวข้อนี้ เราจะพิจารณาการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ทฤษฎีบท 1.5.1 กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง แล้ว


1. lim sin x = sin a
x→a
2. lim cos x = cos a
x→a

sin x x
3. lim
x→0 x
=1 4. lim
x→0 sin x
=1

x 1
ข้อสังเกต จะสังเกตได้ว่า x→0
lim = lim
sin x
=1 (การหารด้วยเศษส่วนคือการกลับ
sin x x→0

งล ์ วาน
x
เศษเป็นส่วน แล้วเอาขึ้นไปคูณ คณิตศาสตร์ ม.1 จำได้นะ!)
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ตัวอย่าง 1.22 พิจารณาลิมิตต่อไปนี้
งท
: ต มศกั ับรา่

1. 2.
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim sin x = sin 0 = 0 lim cos x = cos 0 = 1


x→0 x→0

  π  √ π 
x2 3
3. √ sin
lim
3
= sin
3
=
2
4. limπ tan x = tan
4
=1
x→ π x→ 4

sin x 1 sin x 1 2x 2 x 2
5. lim
x→0 3x
= lim
3 x→0 x
=
3
6. lim
x→0 3 sin x
= lim
3 x→0 sin x
=
3
.
ดร

sin ก้อนx
ข้อสังเกต ค่าของ x→a
lim =1 ถ้า ก้อนx เข้าใกล้ 0 เมื่อ x เข้าใกล้ a
ก้อนx

ตัวอย่าง 1.23 พิจารณาลิมิตต่อไปนี้


sin(3x)
1. lim
x→0 (3x)
=1 (มอง 3x เป็น ก้อนx จะเห็นว่าเมื่อ x เข้าใกล้ 0 จะได้ว่า 3x
ซึ่งเป็นสามเท่าของ x ก็จะเข้าใกล้ 0 ด้วย)
sin(5x)
2. lim
x→0 (5x)
= 1 (มอง 5x เป็น ก้อนx จะเห็นว่าเมื่อ x เข้าใกล้ 0 จะได้ว่า 5x
ซึ่งเป็นห้าเท่าของ x ก็จะเข้าใกล้ 0 ด้วย)
1.5. ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 27

sin 5x
ตัวอย่าง 1.24 จงหา x→0
lim
x

วิธีทำ. ในข้อนี้เราสามารถมอง 5x เป็นก้อนก้อนหนึ่งที่อยู่ใน sin ที่ 5x → 0 เมื่อ x → 0

(อย่าลืมนะ ถ้า x → 0 แปลว่า x มันเล็กมาก ๆ 5x ซึ่งคือ 5 เท่าของ x มันก็เล็กมาก ๆ จนเข้าใกล้


0 ด้วย)

sin 5x
sin 5x
lim
x→0 x
= lim
x→0 x
; มอง 5x เป็นก้อนก้อนนึง
5 sin 5x
= lim
x→0 5x
; เอา 5 คูณบนล่าง
sin 5x
= 5 lim
x→0 5x

งล ์ วาน
=5
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 1.25 จงหา x→0


lim (x cot x)

วิธีทำ. สำหรับโจทย์ลิมิตโดยส่วนใหญ่เมื่อเราเจอ tan, cot, sec, cosec เรามักจะแปลงฟังก์ชันเหล่า


นี้เป็น sin, cos ก่อน
x cos x
; จาก cot x = cos x
.

lim (x cot x) = lim


ดร

x→0 x→0 sin x sin x


x
= lim (cos x)
x→0 sin x
x
= ( lim cos x)( lim )
x→0 x→0 sin x

= (1)(1)
=1

1 − cos x
ตัวอย่าง 1.26 จงหา x→0
lim
x

วิธีทำ. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปตรง ๆ จะได้ 00 เราต้องปรับฟังก์ชันก่อนโดยการคูณด้วย


28 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1 + cos x ทั้งเศษและส่วน   
1 − cos x 1 − cos x 1 + cos x
lim = lim
x→0 x x→0 x 1 + cos x
1 − cos x2
= lim
x→0 x(1 + cos x)

sin2 x
= lim
x→0 x(1 + cos x)
; sin2 x + cos2 x = 1
  
sin x sin x
= lim
x→0 x 1 + cos x
sin x sin x
= lim
x→0 1 + cos x
; x→0
lim
x
=1
sin 0
=
1 + cos 0
0
= =0

งล ์ วาน
1+1
=0
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ตัวอย่าง 1.27 จงพิจารณาว่า x→a


lim f (x) ในข้อต่อไปนี้มีค่าหรือไม่ ถ้ามีจงหาค่าของลิมิต
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

sin 7x sin(x − 2)
1. f (x) =
x
;a=0 2. f (x) =
x2 − 4
;a=2
cos x − sin x sin x − tan x
3. f (x) = π ; a = π4 4. f (x) =
(−x)3
;a=0
−x
4
1 − cos 2x sin x − x
5. ;a=0 6. ;a=0
.

f (x) = f (x) =
ดร

x2 (−x)3
2x tan x − x tan 2x cos 7x − 1
7. f (x) =
(1 − cos 2x)2
;a=0 8. f (x) =
cos 6x − 1
;a=0

1 − cos x + 2 sin 2x + 3x
9. f (x) =
(π − x)2
;a=π 10. f (x) =
4x + sin 5x
;a=0
sin 7x 0
วิธีทำ. 1. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0
lim
x
จะได้ 0
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันก่อนโดยการคูณด้วย 7
sin 7x sin 7x 7
lim
x→0 x
= lim
x→0 x
×
7
(1.1)
sin 7x
= 7 lim
7x→0 7x
(1.2)
=7 (1.3)
1.5. ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 29

sin(x − 2) 0
2. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 2 ไปใน x→2
lim
x −4
2
จะได้ 0
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันก่อนโดยการจัดรูป
sin(x − 2) sin(x − 2)
lim = lim
x→2 x − 4
2 x→2 (x − 2)(x + 2)
  
sin(x − 2) 1
= lim
x→2 x−2 x+2
1
=
4

cos x − sin x
3. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = π4 ไปใน limπ π
−x
จะได้ 00
x→ 4
√4
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันก่อนโดยการคูณด้วย 2

งล ์ วาน

cos x − sin x 2 cos x − sin x
เรอื ่ วงษ
limπ = limπ √ ×
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
π π
x→ 4 −x x→ 4 2 −x
4 งท 4
: ต มศกั ับรา่

√ 1 cos x − sin x
= limπ 2 × √ ×
ลา่ รกั

π
FB อุด ฉบ

x→ 4 2 −x
4
√ √1 cos x − √1 sin x
= limπ 2 × 2 π
2
x→ 4 −x
4
√ sin π4 cos x − cos π4 sin x
= 2 limπ π
x→ 4 −x
4
.
ดร

√ sin π4 − x
= 2 limπ
4 −x
π
x→ 4

√ sin π4 − x
= 2 π lim π
4
−x→0 −x
4
√ sin y
= 2 lim
y→0 y

= 2×1

= 2

sin x − tan x 0
4. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0
lim
(−x) 3
จะได้ 0
30 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันก่อนโดยการจัดรูปและคูณ 1 + cos x


sin x − tan x − sin x −1 + cos1 x
lim = lim
x→0 (−x)3 x→0 −x3
  
sin x(1 − cos x) 1 + cos x
= lim
x→0 x3 cos x 1 + cos x
3
sin x
= lim 3
x→0 x cos x(1 + cos x)
   
sin x 3 1
= lim
x→0 x cos x + cos2 x
1
=
2

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1 − cos 2x 0
5. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0
lim
x2
จะได้ 0
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันก่อนโดยการคูณ 1 + cos 2x

  
.

1 − cos 2x 1 − cos 2x 1 + cos 2x


ดร

lim = lim
x→0 x2 x→0 x2 1 + cos 2x
2
4 sin 2x
= lim
x→0 (2x)2 (1 + cos 2x)
   
sin 2x 2 4
= lim
2x→0 2x 1 + cos 2x
=2

sin x − x 0
6. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0
lim
(−x) 3
จะได้ 0
1.5. ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 31

sin x − x
โดยเราจะให้ x→0
lim
(−x)3
= L และ x = 3y จะได้ว่า y → 0

sin x − x sin 3y − 3y
L = lim = lim
x→0 (−x)3 y→0 (−3y)3
3 sin y − 4 sin3 y − 3y
= lim (sin 3θ = 3 sin θ − 4 sin3 θ)
y→0 (−3y)3
3(sin y − y) 4 sin3 y
= lim +
y→0 (−3y)3 (3y)3
 
1 sin y − y 4 sin y 3
= lim + lim
9 y→0 (−y)3 27 y→0 y
 
1 4 sin y − y
= L+ lim =L
9 27 y→0 (−y)3
8 4
จะได้ว่า 9
L=
27

งล ์ วาน
1
L=
6
sin x − x
เรอื ่ วงษ
1
ดังนั้น
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
lim =
x→0 (−x)3 6
งท
: ต มศกั ับรา่

2x tan x − x tan 2x
7. ข้อนี่สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0 จะได้ 00
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim
(1 − cos 2x)2
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันโดยการคูณ 44 ไปที่ส่วน
2x tan x − x tan 2x 2x tan x − x tan 2x
lim = lim 2
x→0 (1 − cos 2x)2 x→0 4 1−cos 2x 2
2x tan x − x tan 2x
= lim
.

4 sin2x
ดร

x→0

x 2 tan x
= lim × 2 tan x −
x→0 4 sin4 x 1 − tan2 x

x 2 tan x 1 − tan2 x − 2 tan x
= lim ×
x→0 4 sin4 x 1 − tan2 x
 
x −2 tan3 x
= lim ×
x→0 4 sin4 x 1 − tan2 x
1 x tan3 x 1
= − lim × × ×
x→0 2 sin x 3
sin x 1 − tan3 x
1 1 1 1
= − lim × sin x × ×
x→0 2 cos x 1 − tan3 x
3
 x

1 1
=− ×1×
2 1−0
1
=−
2
32 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
cos 7x − 1 0
8. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0
lim
cos 6x − 1
จะได้ 0
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันโดยการคูณ (cos 7x + 1)(cos 6x + 1)
  
cos 7x − 1 cos 7x + 1 (cos 7x + 1)(cos 6x + 1)
lim = lim
x→0 cos 6x − 1 x→0 cos 6x + 1 (cos 7x + 1)(cos 6x + 1)
2
sin 7x(cos 6x + 1) (42x)2
= lim
x→0 sin2 6x(cos 7x + 1) (42x)2
 2   
49 6x 1 sin 7x 2
= lim (cos 6x + 1) lim
36 6x→0 sin 6x 7x→0 cos 7x + 1 7x
49
=
36

1 − cos x + 2
9. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = π ไปใน x→πlim
(π − x)2
จะได้ 00

ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันโดยให้ y = π − x จะได้ y → 0 และคูณด้วย 1 + − cos y + 2

งล ์ วาน
√ p
1 − cos x + 2 1 − cos(π − y) + 2
เรอื ่ วงษ
lim = lim
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→π (π − x)2 y→0 y2
 √  √ 
งท
: ต มศกั ับรา่

1 − − cos y + 2 1 + − cos y + 2
= lim √
y→0 y2 1 + − cos y + 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−(1 − cos y)
= lim 2 √
y→0 y (1 + − cos y + 2)

−2 sin2 y2
= lim 2 √
y→0 y (1 + − cos y + 2)
 y 2
1 sin 2 1
= ylim − y lim √
→0 2 y→0 1 + − cos y + 2
.

2 2
ดร

1
=−
4
sin 2x + 3x
10. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 0 ไปใน x→0
lim
4x + sin 5x
จะได้ 00
ดังนั้นเราต้องปรับฟังก์ชันโดยดึง x

sin 2x + 3x x sinx2x + 3
lim = lim 
x→0 4x + sin 5x x→0 x 4 + sin 5x
x
2 sin 2x
lim 2x +3
2x→0
= 5 sin 5x
lim 4 + 5x
5x→0
5
=
9
1.6. ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ 33

1.6 ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์
ในหัวข้อนี้ เราจะแบ่งการพิจารณาลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ออกเป็น 2 กรณี คือลิมิตค่าอนันต์ และลิ
มิต ณ อนันต์

1.6.1 ลิมิตค่าอนันต์
ลิมิตค่าอนันต์ คือลิมิตของฟังก์ชัน เมื่อค่าของฟังก์ชันลู่เข้าใกล้อนันต์ หรือลบอนันต์
1
ตัวอย่าง 1.28 จงหาลิมิต x→0
lim
x
1
วิธีทำ. • พิจารณา lim
x
x→0+
1
จะเห็น ว่า เมื่อ x มี ค่า น้อยเข้า ใกล้ 0 ทางด้านขวามากเท่า ไหร่ (นึกถึง 0.0000000001)

งล ์ วาน
x
จะมีค่าโตมากขึ้นจนเข้าใกล้ ∞ เท่านั้น ดังนั้น lim x1 = ∞
x→0+
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
• พิจารณา lim x1
งท
: ต มศกั ับรา่

x→0 −

จะเห็น ว่า เมื่อ x มี ค่า น้อยเข้า ใกล้ 0 ทางด้านซ้ายมากเท่า ไหร่ (นึกถึง −0.0000000001)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

จะได้ว่า x1 จะมีค่าโตมากขึ้นทางลบจนเข้าใกล้ −∞ เท่านั้น ดังนั้น lim x1 = −∞


x→0−

1
• ดังนั้น x→0
lim หาค่าไม่ได้ (ลิมิตซ้าย ̸= ลิมิตขวา)
x
.
ดร

1 1
ทฤษฎีบท 1.6.1 1. lim
x
= +∞ 2. lim
x
= −∞
x→0+ x→0−

ข้อสังเกต เน้น ย้ำ! ลิ มิต หาค่า ได้ เมื่อ ลิ มิต ซ้ายและลิ มิต ขวาหาค่า ได้ และมี ค่า เท่า กัน นั่น คือ
สำหรับฟังก์ชัน f (x) ใดๆ
1. ถ้า lim f (x) = ∞ และ lim f (x) = ∞ แล้วx→a
lim f (x) = ∞
x→a− x→a+

2. ถ้า lim f (x) = −∞ และ lim f (x) = −∞ แล้ว x→a


lim f (x) = −∞
x→a− x→a+

3. ถ้า lim f (x) = ∞ และ lim f (x) = −∞ แล้ว x→a


lim f (x) = หาค่าไม่ได้
x→a− x→a+

4. ถ้า lim f (x) = −∞ และ lim f (x) = ∞ แล้ว x→a


lim f (x) = หาค่าไม่ได้
x→a− x→a+
34 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

ตัวอย่าง 1.29 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้


2x − 1 x+6
1. lim 2. lim
x→3− 3 − x x→6− x2 − 36
 
3 2 x+2
3. lim
x→0 x2
− −1
x
4. lim
x→4 x2− 2x − 8

x2 − 3x + 2 x+ x
5. lim 6. lim
x→−1+ x+1 x→1+ x2 − 3x + 2

วิธีทำ. 1. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าแทน x = 3 ไปตรง ๆ จะได้ 05


1
จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 3 ทางด้านซ้าย จะได้ว่า lim
=∞
x→3− 3 − x
  
2x − 1 1
ดังนั้น lim = lim (2x − 1) lim
x→3− 3 − x x→3− x→3− 3 − x

งล ์ วาน
=5·∞
=∞
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าแทน x = 6 ไปตรง ๆ จะได้ 12 0


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1
เนื่องจาก เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 6 ทางด้านซ้าย จะได้ว่า lim
x−6
= −∞
x→6−

x+6 x+6
ดังนั้น lim = lim
x2 − 36 x→6− (x − 6)(x + 6)
x→6−
1
= lim
x→6 − x − 6
= −∞
.
ดร

3. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าแทน x = 0 ไปตรง ๆ จะได้ 30 − 02 − 1


1 1
เนื่องจาก x→0
lim 2 = ∞ (ไม่ ว่า x จะเข้า ใกล้ ศูนย์ ทางซ้ายหรือ ทางขวา
x x2
ก็มีค่าเป็นบวก
เสมอ)
 
3 2 3 − 2x − x2
ดังนั้น lim
x→0 x 2
− −1
x
= lim
x→0 x2
  
 1
= lim 3 − 2x − x2 lim 2
x→0 x→0 x

=3·∞
=∞
 
3 2
นั่นคือ x→0
lim
x 2
− −1
x
=∞
1.6. ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ 35

4. ข้อนี่สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 4 ไปตรง ๆ จะได้ 60


1
จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 4 จะได้ว่า x→4
lim
x−4
หาค่าไม่ได้ (ลิมิตซ้ายไม่เท่ากับลิมิตขวา)
x+2 x+2
ดังนั้น lim
x→4 x2
= lim
− 2x − 8 x→4 (x − 4)(x + 2)
1
= lim
x→4 x − 4

x+2
นั่นคือ x→4
lim 2
x − 2x − 8
หาค่าไม่ได้

5. ขี้นี้ถ้าเราสังเกตว่าแทน x = −1 ไปตรง ๆ จะได้ 60


1
จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ −1 ทางด้านขวา จะได้ว่า lim
x+1
=∞
x→−1+

งล ์ วาน
x2 − 3x + 2 1
ดังนั้น lim
x+1
= lim (x2 − 3x + 2) lim
x→−1+ x→−1+ x→−1+ x + 1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
=∞
งท
: ต มศกั ับรา่

6. ข้อนี้สังเกตว่าถ้าเราแทน x = 1 ไปตรง ๆ จะได้ 20


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1
จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 1 ทางด้านขวา จะได้ว่า √ =∞
x− x
lim
x→1+
√  √  √ 
x+ x x+ x x− x
ดังนั้น lim = lim √
x→1+ x2 − 3x + 2 x→1+ x2 − 3x + 2 x− x
x(x − 1)
= lim √
.

+ (x − 2)(x − 1)(x − x)
ดร

x→1
x 1
= lim lim √
x→1 x − 2 x→1 x − x
+ +

= (−1) · ∞
= −∞
36 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1.6.2 ลิมิต ณ อนันต์

บทนิยาม 1.6.2 ลิ มิต ของฟังก์ชัน f (x) เมื่อ x มี ค่าลดลงอย่างไม่มี ขีด จำกัด เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ x→−∞
lim f (x) หรือ เมื่อ x มี ค่าเพิ่ม ขึ้นอย่างไม่มี ขีด จำกัด เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
lim f (x) เรียกว่าลิมิต ณ อนันต์
x→∞

1 1
ข้อสังเกต เมื่อเราเจอ x→∞
lim = 0 ให้เราถามตัวเองในใจว่า “ มีค่าเท่าไหร่ เมื่อ x มีค่ามาก
x x
ๆ” เมื่อ x มีค่ามาก x1 จะมีค่าน้อยมาก ๆ จนเข้าใกล้ศูนย์ ดังนั้นจะได้ว่า

งล ์ วาน
1 1
1. lim
x→∞ x
=0 เรอื ่ วงษ 2. lim
x→−∞ x
=0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ทฤษฎีบท 1.6.3 กำหนดให้ r เป็นจำนวนตรรกยะบวก แล้ว


1
1. lim
x→∞ xr
=0

1
2. lim
x→−∞ xr
=0 เมื่อ xr ∈ R
.
ดร

ตัวอย่าง 1.30 พิจารณาลิมิตต่อไปนี้


1 5
1. lim
x→∞ x2
=0 2. lim
x→−∞ x3
=0

−4 1
3. lim √
3
=0 4. lim √ = หาค่าไม่ได้
x
x→∞ x5 x→−∞

ข้อสังเกต ลิมิตในข้อ 4 หาค่าไม่ได้เนื่องจากรูทของเลขที่ติดไม่เป็นจำนวนจริง

2x + 7 2
ตัวอย่าง 1.31 จงหาค่าของ x→∞
lim 2
x − 2x − 2
1.6. ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ 37

วิธีทำ. ข้อนี้ถ้าเราแทน x → ∞ เราจะพบว่าลิมิตมีค่าเป็น ∞ ∞


ซึ่งเป็นรูปแบบยังไม่กำหนด วิธีการ
หาลิมิตโจทย์ประเภทนี้คือ “ต้องดึง x กำลังสูงที่สุดออกมาก่อน”
2x2 + 7 x2 (2 + x72 )
lim
x→∞ x2 − 2x − 2
= lim
x→∞ x2 (1 − 2 − 22 )
; ดึง x2 ซึ่งเป็นกำลังสูงสุดออก
x x
7
2+
= lim x2
; ตัด x2 ออก
x→∞1− − 2
x
2
x2
2+0 1
=
1−0−0
; x→∞
lim r
x
=0

=2

x − 3x − 11
3 2
ตัวอย่าง 1.32 จงหาค่าของ x→∞
lim 5
x − 5x2 − 5

งล ์ วาน

วิธีทำ. ข้อนี้ถ้าเราแทน x → ∞ เราจะพบว่าลิมิตมีค่าเป็น ∞
เรอื ่ วงษ ซึ่งเป็นรูปแบบยังไม่กำหนด วิธีการ
หาลิมิตโจทย์ประเภทนี้คือ “ต้องดึง x กำลังสูงที่สุดออกมาก่อน”
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

x3 − 3x2 − 11 x5 ( x12 − x33 − x115 )


lim
x→∞ x5 − 5x2 − 5
= lim
x→∞ x5 (1 − 53 − 55 )
; ดึง x5 ซึ่งเป็นกำลังสูงสุดออก
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x x
1
− 3
− x115
= lim x2 x3
; ตัด x5 ออก
x→∞1− 5
x3
− x55
0−0−0 1
=
1−0−0
; x→∞
lim r
x
=0

=0
.
ดร

x −x +7
5 3
ตัวอย่าง 1.33 จงหาค่าของ x→∞
lim 2
x +x+1

วิธีทำ. ข้อนี้ถ้าเราแทน x → ∞ เราจะพบว่าลิมิตมีค่าเป็น ∞ ซึ่งเป็นรูปแบบยังไม่กำหนด วิธีการ
หาลิมิตโจทย์ประเภทนี้คือ “ต้องดึง x กำลังสูงที่สุดออกมาก่อน”
x5 − x3 + 7 x5 (1 − x12 + x75 )
lim
x→∞ x2 + x + 1
= lim
x→∞ x5 ( 13 + 14 + 15 )
; ดึง x5 ซึ่งเป็นกำลังสูงสุดออก
x x x
1−1
+ x75
= lim x2
x→∞ 13 + 14 + 15
; ตัด x5 ออก
x x x

=∞ ; แทนค่าจะได้ 01+ =∞
38 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
x 6 − 6x3 + 13
ตัวอย่าง 1.34 จงหาค่าของ x→∞
lim
3 − x3

วิธีทำ. ข้อ นี้ ถ้า เราแทน x → ∞ เราจะพบว่า ลิ มิต มี ค่า เป็น −∞ ซึ่ง เป็น รูป แบบยัง ไม่ กำหนด
วิธีการหาลิมิตโจทย์ประเภทนี้คือ “ต้องดึง x กำลังสูงที่สุดออกมาก่อน”
x6 − 6x3 + 13 x3 (x3 − 6 + x133 )
lim
3 − x3
= lim ; ดึง x3 ซึ่งเป็นกำลังสูงสุดออก
x→∞ x→∞ x3 ( x33 − 1)
x3 − 6 + 13
= lim x3
; ตัด x3 ออก
x→∞ 3
x3
−1
= −∞

ลิมิตมีค่า −∞ ในบรรทัดสุดท้ายเนื่องจากเศษ x3 − 6 + x13 มีค่าเข้าใกล้ +∞ และส่วน


3
3
x3
−1
มีค่าเข้าใกล้ −1

งล ์ วาน
x +x +1 5 2
ตัวอย่าง 1.35 จงหาค่าของ x→−∞
lim 4
x + 3x2 − 1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. ข้อ นี้ ถ้า เราแทน x → −∞ เราจะพบว่า ลิ มิต มี ค่า เป็น −∞
งท ซึ่ง เป็น รูป แบบยัง ไม่ กำหนด
: ต มศกั ับรา่


วิธีการหาลิมิตโจทย์ประเภทนี้คือ “ต้องดึง x กำลังสูงที่สุดออกมาก่อน”
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x5 + x2 + 1 x4 (x + x12 + x14 )
lim
x→−∞ x4 + 3x2 − 1
= lim
x→−∞ x4 (1 + 32 − 14 )
; ดึง x4 ซึ่งเป็นกำลังสูงสุดออก
x x
1 1
x+ +
= lim x2 x4
; ตัด x4 ออก
x→−∞ 1+ 3
x2
− 1
x4
.

= −∞
ดร

ลิมิตมีค่า −∞ ในบรรทัดสุดท้ายเนื่องจากเศษ x+ x1 + x1 มีค่าเข้าใกล้ −∞ และส่วน 1+ x3 − x1


2 4 2 4

มีค่าเข้าใกล้ 1
an x + an−1 x + · · · + a0
n n−1
ข้อสังเกต จากตัวอย่างสามตัวอย่างด้านบน สำหรับลิมิต x→∞
lim
b xm + b xm−1 + · · · + b
m m−1 0
an xn + an−1 xn−1 + · · · + a0
และลิมิต lim
x→−∞ bm xm + bm−1 xm−1 + · · · + b0
จะมีค่า

1. เท่ากับ ban ถ้า n = m (ดีกรีเท่ากันเอาสัมประสิทธิ์มาหารกัน)


m

2. เท่ากับ 0 ถ้า n < m (ดีกรีของเศษน้อยกว่าดีกรีของส่วนตอบศูนย์)


3. เท่ากับ ∞ หรือ −∞ ถ้า n > m ขึ้น อยู่ กับ เครื่องหมายของเศษและส่วน (ดีกรี ของเศษ
มากกว่าดีกรีของส่วนตอบอนันต์หรือลบอนันต์)
1.6. ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ 39

ตัวอย่าง 1.36 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้


x3 − 5x2 + 1 2x2 + 4
1. lim
x→∞ 5x3 − 1
2. lim
x→∞ x7 − 3x5 + 2

x8 − x7 + 3x3 + 1 −2x4 + 3x2 + 5x + 1


3. lim
x→∞ 2x5 − 5x3 − x
4. lim
x→−∞ 7x3 − 2x + 1

วิธีทำ. 1. ข้อ นี้ จะเห็น ว่า ดีกรี ของเศษเท่ากับ ดีกรี ของส่วน ดัง นั้น คำตอบจะเท่ากับ 15 (นำ
สัมประสิทธิ์มาหารกัน) แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับข้อสอบแสดงวิธีทำ จะต้องทำตามวิธีด้านล่าง
 
5 1
1− + 3
x3
x3 − 5x2 + 1 x x
lim = lim  
x→∞ 5x3 − 1 x→∞ 1
x 5− 3
3

งล ์ วาน
x
 
5 1
1− + 3
เรอื ่ วงษ
x x
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
= lim  
x→∞ 1
งท
: ต มศกั ับรา่

5− 3
x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1
=
5

2. ข้อ นี้ จะเห็น ว่า ดีกรี ของเศษน้อยกว่า ดีกรี ของส่วน ดัง นั้น คำตอบจะเท่ากับ 0 (ดีกรี ของเศษ
น้อยกว่าดีกรีของส่วนตอบศูนย์) แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับข้อสอบแสดงวิธีทำ จะต้องทำตาม
วิธีด้านล่าง
.

 
ดร

x2 2− 4
2x2 + 4 x2
lim 7 = lim  
x→∞ x − 3x + 2
5 x→∞ 2
x x − 3x + 2
2 5 3
x
 
4
2− 2
x
= lim  
x→∞ 2
x − 3x + 2
5 3
x
=0

3. ข้อนี้จะเห็นว่าดีกรีของเศษมากกว่าดีกรีของส่วน ดังนั้นคำตอบจะเท่ากับ ∞ หรือ −∞ (ดีกรี


ของเศษมากกว่าดีกรีของส่วนตอบอนันต์หรือลบอนันต์) แต่เนื่องจากเครื่องหมายของตัวเศษ
เป็นบวก และเครื่องหมายของตัวส่วนก็เป็นบวกเช่นกัน ดังนั้นข้อนี้ควรจะตอบ ∞ แต่อย่างไร
40 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

ก็ตาม สำหรับข้อสอบแสดงวิธีทำ จะต้องทำตามวิธีด้านล่าง


 
3 1
x −x + 2 + 5
3x5 2
x8 − x7 + 3x3 + 1 x x
lim = lim  
x→∞ 2x − 5x − x
5 3 x→∞ 5 1
x5 2 − 2 − 4
x x
 
1 1
x −x +3 2 + 5
3 2
x x
= lim  
x→∞ 5 1
2− 2 − 4
x x
=∞

4. ข้อนี้จะเห็นว่าดีกรีของเศษมากกว่าดีกรีของส่วน ดังนั้นคำตอบจะเท่ากับ ∞ หรือ −∞ (ดีกรี


ของเศษมากกว่าดีกรีของส่วนตอบอนันต์หรือลบอนันต์) แต่เนื่องจากเครื่องหมายของตัวเศษ
เป็นลบ (เนื่องจาก −∞ ยกกำลัง 4 มีค่าเป็นบวก คูณ −2 จึงมีค่าเป็นลบ) และเครื่องหมาย

งล ์ วาน
ของตัว ส่วนมี ค่า เป็น ลบ (−∞ ยกกำลัง สาม มี ค่า เป็น ลบ) ดัง นั้น ข้อ นี้ ควรจะตอบ ∞ แต่
เรอื ่ วงษ
อย่างไรก็ตาม สำหรับข้อสอบแสดงวิธีทำ จะต้องทำตามวิธีด้านล่าง
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
 
งท
: ต มศกั ับรา่

x 3 −2x + 3 + 5 + 1
−2x4 + 3x2 + 5x + 1 x x2 x3
 
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim = lim
x→−∞ 7x3 − 2x + 1 x→−∞ 2 1
x 7− 2 + 3
3
x x
 
3 5 1
−2x + + 2 + 3
x x x
= lim  
x→−∞ 2 1
7− 2 + 3
x x
.

=∞
ดร

ลิมิตมีค่า ∞ ในบรรทัดสุดท้ายเนื่องจากเศษ −2x + x3 + x52 + x13 มีค่าเข้าใกล้ ∞ และส่วน


2 1
7 − 2 + 3 มีค่าเข้าใกล้ 7
x x

ตัวอย่าง 1.37 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้


 
1 5
x3 −
x2 − 5 x x3
1. lim
x→−∞ 2x3 + 4x + 1
2. lim
x→−∞

4 1

3
x 2+ 2 + 3
x x
√ √
3x + 2 x3x−7 x
3. lim √ 4. lim √
x→∞ −x x + 2x
x→−∞ 5x2 − 4
1.6. ลิมิตเกี่ยวกับอนันต์ 41
√  2x − 2−x
5. lim
x→∞
x2 + 8x − x 6. lim
x→∞ 2x + 2−x

 
x2 x2 + 1
7. lim
x→∞ x+1

x−2
8. lim (ex + e−x )
x→∞

วิธีทำ.

x2 − 5 x3 x1 − x53
1. lim
x→−∞ 2x3 + 4x + 1
= lim 3
x→−∞ x 2 + 42 + 13

x x
1
x − 5
x3
= lim 4 1
x→−∞ 2+ x + x3
=0

งล ์ วาน
3x3 + 3x2 x3 3 + x3
2. lim
x→−∞ 4x − 5x3
= lim 3 4 
x→−∞ x −5
เรอื ่ วงษ
x2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
3 + x3
งท
= lim
: ต มศกั ับรา่

x→−∞ 4
x2
−5
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3
=−
5


3x + 2 x 3 + x2
3. lim √ = lim q
x→−∞ 5x2 − 4 x→−∞ x 5 − 42
x
2
3+
= lim √
.

x
ดร

x→−∞ 5− 4
x2
3
=√
5

√ √ 4 1
x3x−7 x x 3 − 7x 2
4. lim √
x→∞ −x x + 2x
= lim
x→∞ −x 21 + 2x
3
 
x 2 11 − x7
= lim 3  x 6 
x→∞ 2
x −1 + 21
x2
1
1 − 7
x
x6
= lim
x→∞ −1 + 2
1
x2
=0
42 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
√ !
p  p  x2 + 8 + x
5. lim x2 + 8x − x = lim x2 + 8x − x √
x→∞ x→∞ x2 + 8 + x
8
= lim √
x→∞
+8+x x2

x x8
= lim q 
x→∞
x 1 + x8 + 1
8
= lim q x
x→∞ 8
1+ x +1

=0

2x − 2−x 2x 1 − 1
6. lim x
x→∞ 2 + 2−x
= lim
x→∞ 2x 1 +
22x 
1
22x

งล ์ วาน
1− 1
22x
= lim 1
x→∞ 1+ 22x
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
=1
งท
: ต มศกั ับรา่

 
x2 x2 + 1 x2 (x − 2) − (x2 + 1)(x + 1)
7.
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim − = lim
x→∞ x+1 x−2 x→∞ (x + 1)(x − 2)
−3x − x − 1
2
= lim
x→∞ x2 − x − 2

x2 −3 − x1 − x12
= lim 
x→∞ x2 1 − 1 − 22
x x
= −3
.
ดร

 
  ex − e−x
8. x→∞
x
lim e + e −x
= lim e + e
x→∞
x −x
ex − e−x
e2x − e−2x
= lim
x→∞ ex − e−x

e2x 1 − e4x
1
= lim 2x 1 
ex − e3x
x→∞ e 1

1−
1
e4x
= lim
x→∞ 1x − 3x1
e e
=∞
1.7. เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง 43

1.7 เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
ก่อนที่เราจะมารู้จักเส้นกำกับกราฟแนวราบและแนวดิ่ง ก่อนอื่นขอพาพวกเรากลับไปทบทวนสมการ
เส้นตรงแนวราบและแนวดิ่งก่อน

ตัวอย่าง 1.38 พิจารณากราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. −2 −1 1 2
กราฟของสมการ x = 2

งล ์ วาน
−1 เรอื ่ วงษ
−2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2. −2 −1 1 2
กราฟของสมการ x = −1
.

−1
ดร

−2

3. −2 −1 1 2
กราฟของสมการ y = 1
−1

−2
44 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

4. −2 −1 1 2
กราฟของสมการ y = −2
−1

−2

ข้อสังเกต จะสังเกตได้ว่ากราฟ x = 2 เป็นกราฟแนวดิ่ง เนื่องจากทุกจุดบนเส้นมีค่า x = 2


เปลี่ยนแค่ค่า y ทำนองเดียวกัน กราฟ y = 1 เป็นกราฟแนวราบ ทุกจุดบนเส้นมีค่า y = 1 เปลี่ยน
แค่ค่า x

1.7.1 เส้นกำกับแนวราบ
งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

บทนิยาม 1.7.1 ถ้า x→∞lim f (x) = L หรือ lim f (x) = L เมื่อ L เป็น จำนวนจริง แล้ว
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x→−∞
y = L เป็นเส้นกำกับแนวราบ

ข้อสังเกต จะเห็นว่าเมื่อ x→∞


lim f (x) = L หรือก็คือ f (x) ลู่เข้าค่า L เมื่อ x เข้าใกล้อนันต์
(ไปทางขวาไกลๆ) นั่นคือ f (x) มีเส้นกำกับในแนวราบ ซึ่งเส้นกำกับนั้นคือ y = L ดังรูปด้านล่าง
.
ดร

y = f (x)
y=L
y=L y = f (x)

ทำนองเดียวกัน เมื่อ x→−∞


lim f (x) = L นั่นคือ f (x) ลู่เข้าค่า L เมื่อ x เข้าใกล้ลบอนันต์ (ไปทาง

ซ้ายไกล ๆ) ดังนั้น f (x) มีเส้นกำกับแนวราบคือ y = L


ข้อควรระวัง จากนิยาม เงื่อนไขทั้งสองข้อคือ x→∞
lim f (x) = L หรือ lim f (x) = L ขั้น
x→−∞
ด้วยคำว่า “หรือ” นั่นคือแค่ข้อในข้อหนึ่งเป็นจริงก็ได้นะครับ หมายความว่า ถ้าแค่ x→∞
lim f (x) = L
ก็ได้แล้วว่า y = L เป็นเส้นกำกับแนวราบ x→−∞ lim f (x) จะเท่ากับอะไรก็ได้ แต่ในโจทย์หลาย ๆ ข้อ
lim f (x) กับ lim f (x) มีค่าเท่ากัน แต่ไม่จำเป็นนะครับ อย่าสับสนนะ!
x→∞ x→−∞
1.7. เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง 45

JUM!!! สรุปขั้นตอนหาเส้นกำกับแนวราบของ f (x)


1. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่ ถ้าใช่ y = ค่าคงที่นั้น เป็นเส้นกำกับแนวราบ

2. เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่ ถ้าใช่ y = ค่าคงที่นั้น เป็นเส้นกำกับแนวราบ

ตัวอย่าง 1.39 จงหาเส้นกำกับแนวราบของ x −1 1


วิธีทำ. 1. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

1
จะได้ lim
x→∞ x−1
=0 ซึ่งเป็นค่าคงที่

งล ์ วาน
ดังนั้น เรอื ่ วงษ y=0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2. เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่
งท
: ต มศกั ับรา่

1
จะได้ ซึ่งเป็นค่าคงที่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim =0
x→−∞ x−1
ดังนั้น y=0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
เนื่องจากทั้งสองกรณี เราได้ y = 0 เป็นเส้นกำกับแนวราบเหมือนกัน ดังนั้นเราได้เส้นกำกับ
แนวราบเส้นเดียวคือ y = 0
.
ดร

ข้อควรระวัง ตัวอย่างข้างบนบังเอิญว่ากรณีที่ 1 และ 2 ได้ y = 0 เป็นเส้นกำกับแนวราบทั้งคู่


จริง ๆ แล้ว ไม่ จำเป็น นะครับ เช่น กรณี 1 อาจจะได้ว่า y = 0 เป็น เส้น กำกับแนวราบ แต่ กรณี 2
อาจจะได้ว่า y = −1 เป็นเส้นกำกับแนวราบก็ได้ ถ้าได้แบบนั้นแปลว่าเรามีเส้นกำกับแนวราบสอง
เส้นครับ
ตัวอย่าง 1.40 จงหาเส้นกำกับแนวราบของฟังก์ชันต่อไปนี้
x+3 x2 + 2x − 3
1. f (x) =
x2 − 9
2. f (x) =
x2 − 1

3x − 2 1 + 1 + x2
3. f (x) =
2− | x |
4. f (x) =
−x

2 | x | −1
5. f (x) =
2x2 + x − 1
6. f (x) = 2 + 41/x
46 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

วิธีทำ. 1. เช็คว่า x→∞


lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

x+3
จะได้ lim
x→∞ x2 − 9
=0 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

x+3
จะได้ lim
x→−∞ x2 − 9
=0 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดังนั้น y = 0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
2. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

จะได้ งล ์ วาน
x2 + 2x − 3
ซึ่งเป็นค่าคงที่
เรอื ่ วงษ
lim =1
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→∞ x2 − 1
นั่นคือ งท เป็นเส้นกำกับแนวราบ
: ต มศกั ับรา่

y=1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

x2 + 2x − 3
จะได้ lim
x→−∞ x2 − 1
=1 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=1 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดังนั้น y = 1 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
.
ดร

3. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

3x − 2
จะได้ lim
x→∞ 2− | x |
= −3 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y = −3 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

3x − 2
จะได้ lim
x→−∞ 2− | x |
=3 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=3 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดังนั้น y = 3 และ y = −3 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
1.7. เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง 47

4. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

1+ 1 + x2
จะได้ lim
x→∞ −x
= −1 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y = −1 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

1+ 1 + x2
จะได้ lim
x→−∞ −x
=1 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=1 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดังนั้น y = −1 และ y = 1 เป็นเส้นกำกับแรวราบ
5. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

จะได้ งล ์ วาน
2 | x | −1
ซึ่งเป็นค่าคงที่
เรอื ่ วงษ
lim =0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→∞ 2x2 + x − 1

นั่นคือ งท เป็นเส้นกำกับแนวราบ
: ต มศกั ับรา่

y=0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่


เช็คว่า x→−∞
2 | x | −1
จะได้ lim
x→−∞ 2x2 + x − 1
=0 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดังนั้น y = 0 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
.
ดร

6. เช็คว่า x→∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

จะได้ x→∞
lim 2 + 41/x = 3 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=3 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
เช็คว่า x→−∞
lim f (x) เป็นค่าคงที่หรือไม่

จะได้ x→−∞
lim 2 + 41/x = 3 ซึ่งเป็นค่าคงที่
นั่นคือ y=3 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
ดังนั้น y = 3 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
48 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1.7.2 เส้นกำกับแนวดิ่ง

บทนิยาม 1.7.2 ถ้า 1. lim f (x) =∞


x→a−

หรือ 2. lim f (x) =∞ แล้ว x=a เป็น เส้นกำกับแนวดิ่ง


x→a+

หรือ 3. lim f (x) = −∞


x→a−

หรือ 4. lim f (x) = −∞


x→a+

ข้อสังเกต x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่งเมื่อข้อใดข้อหนึ่งในสี่ข้อในนิยามเป็นจริงก็พอ สาเหตุ


เนื่องจากถ้า f (x) ลู่ เข้า ใกล้ อนันต์ หรือ ลบอนันต์ เมื่อ x ลู่ เข้า ใกล้ a จะทำให้ เกิด เส้น x = a

งล ์ วาน
เป็นเส้นกำกับแนวดิ่งดังรูปด้านล่าง ย้ำอีกทีนะ แค่ข้อในข้อหนึ่งในสี่ข้อเป็นจริง x = a ก็เป็นเส้น
กำกับแนวดิ่งแล้ว!
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
y = f (x)
งท
: ต มศกั ับรา่

y = f (x)
y = f (x)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x=a x=a x=a

JUM!!! สรุปขั้นตอนหาเส้นกำกับแนวดิ่งของ f (x)


1. หาจุดแคนดิเดต a ที่อาจจะทำให้ลิมิตเป็นอนันต์หรือลบอนันต์ (จุดที่ทำให้ส่วนเป็นศูนย์)
.
ดร

2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง

ตัวอย่าง 1.41 จงหาเส้นกำกับแนวดิ่งของ x −1 1

วิธีทำ. 1. หาจุด แคนดิเดต a ที่ อาจจะทำให้ ลิ มิต เป็น อนันต์ จากโจทย์ จะเห็น ว่า x −1 1 จะมี
โอกาสลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อ x = 1 เพราะถ้า x = 1 จะทำให้ส่วนเป็นศูนย์ ดังนั้น
แคนดิเดต a ของเราคือ a = 1
2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
1
พิจารณา lim
x−1
= −∞ ; x เกือบ ๆ 1 ดังนั้น x − 1 ติดลบนิด ๆ
x→1−
1.7. เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง 49

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 3. ของนิยาม lim −


f (x) = −∞ เป็นจริง ดังนั้น x = 1 เป็นเส้นกำกับ
x→a
แนวดิ่ง
ตัวอย่าง 1.42 จงหาเส้นกำกับแนวดิ่งของฟังก์ชันต่อไปนี้
x+3 x2 + 2x − 3
1. f (x) =
x2 − 9
2. f (x) =
x2 − 1

3x − 2 1+ 1 + x2
3. f (x) =
2− | x |
4. f (x) =
−x

2 | x | −1
5. f (x) =
2x2 + x − 1
6. f (x) = 2 + 41/x

วิธีทำ. 1. ขั้น 1. หาจุดแคนดิเดต a ที่อาจจะทำให้ลิมิตเป็นอนันต์จากโจทย์จะเห็นว่า xx2 +−39

งล ์ วาน
จะมีโอกาสลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อ x = ±3 เพราะถ้า x = ±3 จะทำให้ส่วนเป็น
เรอื ่ วงษ
ศูนย์
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
ดังนั้น แคนดิเดต a ของเราคือ a = 3 และ a = −3
: ต มศกั ับรา่

ขั้น 2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

พิจารณา a = 3
x+3 1
lim = lim
x→3− x − 9 x→3 x − 3
2 −

= −∞ ; x เกือบ ๆ 3 ดังนั้น x − 3 ลบนิด ๆ


.

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 3. ของนิยาม lim f (x) = −∞ เป็นจริง ดังนั้น x = 3 เป็นเส้นกำกับ


ดร

x→a −

แนวดิ่ง
พิจารณา a = −3
x+3 1
lim = lim
x→−3− x − 9
2 x→−3− x − 3
1
=−
9
x+3 1
lim = lim
x→−3 x − 9
+ 2 x→−3 x − 3
+

1
=−
9

จะเห็นว่าไม่มีเงื่อนไขในสี่เงื่อนไขในนิยามที่เป็นจริง (ลิมิตไม่เป็นอนันต์ หรือลบอนันต์) ดังนั้น


x = −3 ไม่เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
50 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง
2 −3
2. 1. หาจุดแคนดิเดต a ที่อาจจะทำให้ลิมิตเป็นอนันต์ จากโจทย์จะเห็นว่า x x+2 2x −1
จะมี
โอกาสลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อ x = ±1 เพราะถ้า x = ±1 จะทำให้ส่วนเป็นศูนย์
ดังนั้น แคนดิเดต a ของเราคือ a = 1 และ a = −1
2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
พิจารณา a = 1
x2 + 2x − 3 (x + 3)(x − 1)
lim = lim
x→1− x −1
2 x→1− (x − 1)(x + 1)
x+3
= lim
x→1− x + 1

=2
x2 + 2x − 3 x+3
lim = lim
x→1+ x −1
2 x→1 x + 1
+

งล ์ วาน
=2

จะเห็นว่าไม่มีเงื่อนไขในสี่เงื่อนไขในนิยามที่เป็นจริง (ลิมิตไม่เป็นอนันต์ หรือลบอนันต์) ดังนั้น


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x = 1 ไม่เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
งท
: ต มศกั ับรา่

พิจารณา a = −1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x2 + 2x − 3 x+3
lim = lim
x→−1− x −1
2 x→−1 x + 1

= −∞

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 3. ของนิยาม lim −


f (x) = −∞ เป็นจริง ดังนั้น x = −1 เป็นเส้น
x→a
กำกับแนวดิ่ง
.
ดร

3. 1. หาจุดแคนดิเดต a ที่อาจจะทำให้ลิมิตเป็นอนันต์ จากโจทย์จะเห็นว่า 23x−−|x|2 จะมีโอกาส


ลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อ x = ±2 เพราะถ้า x = ±2 จะทำให้ส่วนเป็นศูนย์
ดังนั้น แคนดิเดต a ของเราคือ a = 2 และ a = −2
2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
พิจารณา a = 2
3x − 2 3x − 2
lim = lim
x→2− 2 − |x| x→2− 2 − x
=∞

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 1. ของนิยาม lim −


f (x) = ∞ เป็นจริง ดังนั้น x = 2 เป็นเส้นกำกับ
x→a
แนวดิ่ง
1.7. เส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง 51

พิจารณา a = −2
3x − 2 3x − 2
lim = lim
x→−2− 2 − |x| x→−2− 2 + x
=∞

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 1. ของนิยาม lim −


f (x) = ∞ เป็นจริง ดังนั้น x = −2 เป็นเส้นกำกับ
x→a
แนวดิ่ง

1+ 1+x 2
4. 1. หาจุด แคนดิเดต a ที่ อาจจะทำให้ ลิ มิต เป็น อนันต์ จากโจทย์ จะเห็น ว่า −x
จะมีโอกาสลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อ x = 0 เพราะถ้า x = 0 จะทำให้ส่วนเป็นศูนย์
ดังนั้น แคนดิเดต a ของเราคือ a = 0
2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
พิจารณา a = 0
งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน

1+ 1 + x2
งท
: ต มศกั ับรา่

lim = −∞
x→0+ −x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 4. ของนิยาม lim +


f (x) = −∞ เป็นจริง ดังนั้น x = 0 เป็นเส้นกำกับ
x→a
แนวดิ่ง
2 | x | −1
5. 1. หาจุดแคนดิเดต a ที่อาจจะทำให้ลิมิตเป็นอนันต์ จากโจทย์จะเห็นว่า 2x2 + x − 1
=
2 | x | −1 1
.

จะมีโอกาสลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อx = −1, เพราะถ้า x =


ดร

(2x − 1)(x + 1) 2
1
−1, จะทำให้ส่วนเป็นศูนย์
2
ดังนั้น แคนดิเดต a ของเราคือ a = −1 และ a = 12
2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
พิจารณา a = −1
2 | x | −1 −2x − 1
lim = lim
x→−1+ 2x2 + x − 1 x→−1+ (2x − 1)(x + 1)
= −∞

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 4. ของนิยาม lim +


f (x) = −∞ เป็นจริง ดังนั้น x = −1 เป็นเส้น
x→a
กำกับแนวดิ่ง
52 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

พิจารณา a = 12
2 |x| − 1 2x − 1
lim = lim
x→ 12
− 2x2 + x − 1 x→ 1 − (2x − 1)(x + 1)
2

1
= lim
x→ 12
− x+1
2
=
3

2 |x| − 1 2x − 1
lim = lim
x→ 12
+ 2x2 + x − 1 x→ 1 + (2x − 1)(x + 1)
2

1
= lim
x→ 12
+ x+1

งล ์ วาน
2
=
3
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
จะเห็นว่าไม่มีเงื่อนไขในสี่เงื่อนไขในนิยามที่เป็นจริง (ลิมิตไม่เป็นอนันต์ หรือลบอนันต์) ดังนั้น
งท
: ต มศกั ับรา่

1
x = ไม่เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

6. 1. หาจุดแคนดิเดต a ที่อาจจะทำให้ลิมิตเป็นอนันต์ จากโจทย์จะเห็นว่า 2 + 41/x จะมีโอกาส


ลู่เข้าอนันต์หรือลบอนันต์ได้เมื่อ x = 0 เพราะถ้า x = 0 จะทำให้ 1/x มีส่วนเป็นศูนย์
ดังนั้น แคนดิเดต a ของเราคือ a = 0
2. เช็คสี่เงื่อนไขตามนิยาม ถ้าข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริง x = a เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
พิจารณา a = 0
.
ดร

lim 2 + 41/x = ∞ ; x มีค่าเป็นบวกนิด ๆ


x→0+

เพราะว่าเงื่อนไขข้อ 2. ของนิยาม lim +


f (x) = ∞ เป็นจริง ดังนั้น x = 0 เป็นเส้นกำกับ
x→a
แนวดิ่ง
1.8. ความต่อเนื่อง 53

1.8 ความต่อเนื่อง
พิจารณากราฟทั้งสามกราฟด้านล่าง ว่ากราฟใดต่อเนื่อง หรือไม่ต่อเนื่อง เพราะเหตุใด

y = f (x)

1. bc
ไม่ต่อเนื่องที่จุด x = c เพราะ f (c) หาค่าไม่ได้

X
c

งล ์ วาน
Y เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
y = f (x)
งท
: ต มศกั ับรา่

b
2. ไม่ต่อเนื่องที่จุด x = c เพราะ x→c
lim f (x) หาค่าไม่ได้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

bc

X
c

Y
.
ดร

y = f (x)
b
3. ไม่ต่อเนื่องที่จุด x = c เพราะ x→c
lim f (x) ̸= f (c)

bc

X
c

จากตัวอย่างสามตัวอย่างด้านบน เราจะสรุปได้ว่า กราฟจะต่อเนื่องก็ต่อเมื่อต้องมีสมบัติสามข้อตาม


บทนิยามด้านล่าง
54 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

บทนิยาม 1.8.1 สำหรับฟังก์ชัน f (x) ที่นิยามบนช่วงเปิด (a, b) เรากล่าวว่า f (x) ต่อเนื่อง


ที่จุด x = c ซึ่งอยู่บนช่วงเปิด (a, b) นี้ ก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขทั้งสามข้อต่อไปนี้เป็นจริง
1. f (c) หาค่าได้
2. lim f (x)
x→c
หาค่าได้
3. lim f (x) = f (c)
x→c

หมายเหตุ ถ้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งไม่เป็นจริง เราจะกล่าวว่า f (x) ไม่ต่อเนื่อง ที่จุด x = c

JUM!!! สรุปขั้นตอนการดูว่าฟังก์ชันต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องที่จุด x = c คือ

งล ์ วาน
1. ดูว่า f (c) หาค่าได้หรือไม่ โดยการแทน c ลงไปตรง ๆ เลย ไม่ต้องปรับฟังก์ชันนะ เราไม่
ได้หาลิมิต! ถ้าแทนแล้วหาค่าไม่ได้แปลว่าไม่ต่อเนื่องเลย ถ้าหาค่าได้ ไปดูข้อ 2 ต่อ
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2. หา x→c
lim f (x) ลิ มิต ซ้ายต้องเท่า ลิ มิต ขวาด้วยนะ ถ้า หาไม่ ได้ แปลว่า ไม่ ต่อ เนื่อง ถ้า หาได้
ไปดูข้อ 3 ต่อ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3. ดูว่า f (c) = x→c


lim f (x) หรือไม่ ถ้าเท่าถึงจะสรุปได้ว่าต่อเนื่อง

 2
x − 9

; x ̸= 3
ตัวอย่าง 1.43 กำหนดให้ f (x) = 3−x จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f (x) ต่อเนื่อง
.


−6
ดร

;x = 3
ที่ x = 3 หรือไม่

วิธีทำ. ข้อ นี้ เราต้องการตรวจสอบว่า ฟังก์ชัน ต่อ เนื่องที่ จุด x = 3 (นั่น คือ c = 3 นั่นเอง) เพราะ
ฉะนั้น เราจะพิจารณาความต่อเนื่องจากสามข้อตอนด้านบน

1. f (3) = −6

x2 − 9
2. lim f (x) = lim
x→3 x→3 3 − x
= lim −(x + 3) = −6
x→3

3. lim f (x) = f (3)


x→3

เพราะฉะนั้น f ต่อเนื่องที่ x = 3
1.8. ความต่อเนื่อง 55

x2 − 1 ;x < 2
ตัวอย่าง 1.44 กำหนดให้ f (x) =
x
จงพิจารณาว่า ฟังก์ชัน f มี ความต่อ
;x ≥ 2
เนื่องที่ x = 2 หรือไม่
วิธีทำ. เนื่องจาก
1. f (2) = 2

2. lim f (x) = 3
x→2−
lim f (x) = 2
x→2+
lim f (x)
x→2
หาค่าไม่ได้ (ลิมิตซ้าย ̸= ลิมิตขวา)

เนื่องจาก x→2
lim f (x) หาค่าไม่ได้ ดังนั้น f ไม่ต่อเนื่องที่ x = 2

ตัวอย่าง 1.45
 งล ์ วาน
จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้มีความต่อเนื่องที่ x = c หรือไม่
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x2 ;x < 2
1. , เมื่อ c = 2
งท
: ต มศกั ับรา่

f (x) =
3x − 1 ;x ≥ 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ


x − 5 ;x ≤ 0
2. f (x) =
x2 + x − 5
, เมื่อ c = 0
;x > 0
 2
x − 1

; x ̸= −1
3. f (x) = x + 1

, เมื่อ c = −1
2
.

; x = −1
ดร



5x ;x < 4


4. f (x) = 21

;x = 4 , เมื่อ c = 4


x2 + 4 ;x > 4

ex ;x < 0
5. f (x) =
9x2 + x + 1
, เมื่อ c = 0
;x ≥ 0

cos x + 1 ;x ≤ 0
6. f (x) =
2 − 3x
, เมื่อ c = 0
;x > 0

วิธีทำ. 1.พิจารณาจุดท่ี่ c = 2 เนื่องจาก


56 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1. f (2) = 5

2. lim f (x) = lim 3x − 1 = 5


x→2+ x→2+
lim f (x) = lim x2 = 4
x→2− x→2−

นั่นคือ x→2
lim f (x) หาค่าไม่ได้

ดังนั้น f ไม่ต่อเนื่องที่ x = 2

2. เนื่องจาก
1. f (0) = −5

2. lim f (x) = lim x − 5 = −5


x→0+ x→0−

งล ์ วาน
lim f (x) = lim x2 + x − 5 = −5
x→0− x→0−
lim f (x) = −5
เรอื ่ วงษ
x→0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
3. lim f (x) = f (0)
งท
: ต มศกั ับรา่

x→0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ดังนั้น f ต่อเนื่องที่ x = 0

3.เนื่องจาก
1. f (−1) = 2
x2 − 1
2. lim f (x) = lim = −2
.

x→−1 x→−1 x + 1
ดร

3. lim f (x) ̸= f (−1)


x→−1

ดังนั้น f ไม่ต่อเนื่องที่ x = −1

4.เนื่องจาก
1. f (4) = 21

2. lim f (x) = lim x2 + 4 = 20


x→4+ x→4+
lim f (x) = lim 5x = 20
x→4− x→4−
lim f (x) = 20
x→4

3. lim f (x) ̸= f (4)


x→4
1.8. ความต่อเนื่อง 57

ดังนั้น f ไม่ต่อเนื่องที่ x = 4

5. เนื่องจาก
1. f (0) = 1

2. lim f (x) = lim 9x2 + x + 1 = 1


x→0+ x→0−
lim f (x) = lim ex = 1
x→0− x→0−
lim f (x) = 1
x→0

3. lim f (x) = f (0)


x→0

ดังนั้น f ต่อเนื่องที่ x = 0

งล ์ วาน
6. เนื่องจาก
1.
เรอื ่ วงษ
f (0) = 2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2. lim f (x) = lim 2 − 3x = 2


x→0+ x→0−
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim f (x) = lim cos x + 1 = 2


x→0− x→0−
lim f (x) = 2
x→0

3. lim f (x) = f (0)


x→0

ดังนั้น f ต่อเนื่องที่ x = 0
.
ดร

เคล็ดไม่ลับ บางครั้งโจทย์จะไม่ได้ถามว่าฟังก์ชัน f (x) ต่อเนื่องหรือไม่ที่จุด x = c แต่จะบอก


มาแล้วว่าฟังก์ชันนั้นต่อเนื่อง แล้วให้เราหาค่าคงที่บางค่า (ลองดูโจทย์ข้างล่างนะ) ถ้าโจทย์บอกมา
แล้วว่าฟังก์ชันนั้นต่อเนื่อง หมายความว่า
1.
2. f (c) ต้องหาค่าได้
3. lim f (x)
x→c
ต้องหาค่าได้ (ลิมิตซ้ายต้องเท่ากับลิมิตขวา)
4. f (c) ต้องเท่ากับ x→c
lim f (x)

เราต้องใช้สมบัติทั้งสามข้อนี้มาหาค่าคงที่ ที่โจทย์ต้องการ
ตัวอย่าง 1.46 จงหาค่าคงที่ k, a, c, v ต่อไปนี้ที่ทำให้ฟังก์ชันมีความต่อเนื่องที่จุดที่กำหนดให้
58 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

1 − 4x ;x < 2
1. f (x) =
k 2 − (k + 5)x
ถ้า f ต่อเนื่องที่ x = 2
;x ≥ 2



x + a ;x ≤ 0


2. f (x) = 6

;0 < x ≤ 2 ถ้า f ต่อเนื่องที่ x = 0 และ x = 2


bx2 + 2 ;x > 2



3x2 − 1 ;x ≤ 1

 √

(ax + b)( x − 1)
3. f (x) =

;1 < x < 2 ถ้า f ต่อเนื่องที่ x = 1 และ x = 2

 x−1
 √
( 2 − 1)x3 ;x ≥ 2


งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ

6 − 3bx ; x ≤ −2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน




cx2 − ax + 4 งท
: ต มศกั ับรา่

; −2 < x ≤ −1
4. f (x) =

ถ้า f ต่อเนื่องที่ x = −2, −1, 1

ลา่ รกั
FB อุด ฉบ


6 − bx ; −1 < x ≤ 1


ax2 + c ;x > 1

วิธีทำ. 1. เนื่องจาก f ต่อ เนื่องที่ x = 2 เราจะได้ ว่า สมบัติ ทั้ง สามข้อ เป็น จริง (อัน นี้ มัน จะ
กลับ กัน นะครับ ถ้า เค้า ถามว่า ต่อ เนื่องหรือ ไม่ เราต้องเช็ค สมบัติ สามข้อ ว่า เป็น จริง หรือ ไม่
.

แต่ โจทย์ ลักษณะนี้ เค้า บอกมาแล้ว ว่า ต่อ เนื่อง ดัง นั้น สมบัติ ทั้ง สามข้อ เป็น จริง เรียบร้อยแล้ว
ดร

เราแค่ต้องนำมาใช้เพื่อหาค่าคงที่ต่าง ๆ)

จากสมบัติข้อสาม f (2) = lim f (x)


x→2−

k 2 − (k + 5)(2) = lim 1 − 4x
x→2−

k 2 − 2k − 10 = −7
k 2 − 2k − 3 = 0
(k − 3)(k + 1) = 0
k = −1, 3

ดังนั้น k = 3, −1 ทำให้ f ต่อเนื่องที่ x = 2


1.8. ความต่อเนื่อง 59

2. เนื่องจาก f ต่อเนื่องที่ x = 0 และ x = 2

จากสมบัติข้อสาม f (0) = lim f (x) ต่อเนื่องที่ 0


x→0+

0 + a = lim 6
x→0+

a=6
จากสมบัติข้อสาม f (2) = lim f (x) ต่อเนื่องที่ 2
x→2+

6 = 4b + 2
b=1

ดังนั้น a = 6 และ b = 1 ทำให้ f ต่อเนื่องที่ x = 0 และ x = 2

งล ์ วาน
3. เนื่องจาก f ต่อเนื่องที่ x = 1 และ x = 2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

จะได้ว่า f (1) = lim f (x)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x→1+

(ax + b)( x − 1)
3(1) − 1 = lim
2
x→1+ x−1
√ √
(ax + b)( x − 1)( x + 1)
2 = lim √
x→1+ (x − 1)( x + 1)
ax + b
2 = lim √
x→1+ x+1
.

a+b
ดร

2=
2
a+b=4 (1)
และ f (2) = lim f (x)
x→2−

√ (ax + b)( x − 1)
( 2 − 1)(2) = lim
3
x→2− x−1
√ √
( 2 − 1)8 = (2a + b)( 2 − 1)
2a + b = 8 (2)
(2) − (1) a=4
แทน a = 4 ใน (1) b=0

ดังนั้น a = 4 และ b = 0 ทำให้ f ต่อเนื่องที่ x = 1 และ x = 2


60 บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง

4. เนื่องจาก f ต่อเนื่องที่ x = −2, −1 และ x = 1


จะได้ว่า f (−2) = lim f (x)
x→−2+

6 − 3b(−2) = lim cx2 − ax + 4


x→−2+

6 + 6b = c(−2)2 − a(−2) + 4
6 + 6b = 4c + 2a + 4
2 = 2a − 6b + 4c
a − 3b + 2c = 1 (1)
และ f (−1) = lim f (x)
x→−1+

c(−1)2 − a(−1) + 4 = lim 6 − bx


x→−1+

งล ์ วาน
c+a+4=6+b
a−b+c=2 (2)
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
และ f (1) = lim f (x)
งท
: ต มศกั ับรา่

x→1+

6 − b(1) = lim x → 1+ ax2 + c


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

6−b=a+c
a+b+c=6 (3)
(2) − (1) 2b − c = 1 (4)
(3) − (1) 4b − c = 5 (5)
(5) − (4)
.

2b = 4
ดร

b=2
แทน b = 2 ใน (4) c=3
แทน b = 2 และ c = 3 ใน (3) a=1

ดังนั้น a = 1, b = 2 และ c = 3 ทำให้ f ต่อเนื่องที่ x = −2, −1 และ x = 1


บทที่
2
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.1 บทนิยามของอนุพันธ์ งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

บทนิยาม 2.1.1 กำหนดให้ f (x) เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนช่วงเปิด (a, b) อนุพันธ์ ของฟังก์ชัน


f เขียนแทนด้วย f ′ (x) นิยามโดย

f (x + h) − f (x)
f ′ (x) = lim
h→0 h
เมื่อลิมิตหาค่าได้
.
ดร

ข้อสังเกต 1. อนุพันธ์ ของ ฟังก์ชัน y = f (x) สามารถ เขียน แทน ได้ ด้วย
dy
y ′ , f ′ (x), , Df (x), Dx f
dx
2. ค่าของอนุพันธ์ของฟังก์ชัน y = f (x) ที่จุด x = a คือ
f (a + h) − f (a)
f ′ (a) = lim
h→0 h

df
dy
เขียนแทนด้วย f ′ (a),
dx
,
dx
x=a x=a

ตัวอย่าง 2.1 กำหนดให้ f (x) = x2 + 2 จงหา (ถ้ามี)


1. f ′ (x) 2. f ′ (4)

61
62 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ. 1. จากนิยาม
f (x + h) − f (x)
f ′ (x) = lim
h→0 h
((x + h)2 + 2) − (x2 + 2)
= lim
h→0 h
x2 + 2xh + h2 + 2 − x2 − 2
= lim
h→0 h
h(2x + h)
= lim = 2x
h→0 h

2. จาก 1 ทำให้ได้ว่า f ′ (4) = 2(4) = 8

เคล็ดไม่ลับ

งล ์ วาน
ทำไว้ให้ชินนะครับ เนื่องจาก f (x) = x2 + 2 ดังนั้น f (x + h) = (x + h)2 + 2
, f (♡) = (♡)2 + 2, f (อะไร) = (อันนั้น)2 + 2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ตัวอย่าง 2.2 จงหา f ′ (x) และ f ′ (2) ของฟังก์ชันต่อไปนี้


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ


1. f (x) = x2 + 5x − 8 2. f (x) = 2x + x

x2 + 1
3. f (x) = (x − 3)(2x + 5) 4. f (x) =
x
.
ดร

วิธีทำ.
f (x + h) − f (x)
1. f ′ (x) = lim
h→0 h  
(x + h)2 + 5(x + h) − 8 − x2 + 5x − 8
= lim
h→0 h
x2 + 2xh + h2 + 5x + 5h − 8 − x2 − 5x + 8
= lim
h→0 h
h(2x + h + 5)
= lim
h→0 h
= 2x + 5
จะได้ว่า f ′ (x) = 2x + 5
f ′ (2) = 9
2.1. บทนิยามของอนุพันธ์ 63

f (x + h) − f (x)
2. f ′ (x) = lim
h→0 h
√  √
2(x + h) + x + h − (2x + x)
= lim
h→0 h
√ √
2x + 2h + x + h − 2x − x
= lim
h→0 h
√ √  √ √ 
x+h− x x+h+ x
= lim 2 + √ √ 
h→0 h x+h+ x
(x + h) − x
= lim 2 + √ √ 
h→0 h x+h+ x
1
=2+ √
2 x
1
จะได้ว่า f ′ (x) = 2 + √
2 x

งล ์ วาน
1
f ′ (2) = 2 + √
2 2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร

f (x + h) − f (x)
3. f ′ (x) = lim
h→0 h
(((x + h) − 3)(2(x + h) + 5)) − ((x − 3)(2x + 5))
= lim
h→0 h
2x2 + 4xh + 2h2 − h − x − 15 − 2x2 + x + 15
= lim
h→0 h
h(4x + 2h − 1)
= lim
h→0 h
= 4x − 1
จะได้ว่า f ′ (x) = 4x − 1
f ′ (2) = 7
64 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
f (x + h) − f (x)
4. f ′ (x) = lim
h→0 h
 
(x+h)2 +1 x2 +1
x+h − x
= lim
h→0 h
(x2 + 2xh + h2 + 1)x − (x2 + 1)(x + h)
= lim
h→0 hx(x + h)
x + 2x h + xh2 + x − x3 − x2 h − x − h
3 2
= lim
h→0 hx(x + h)
h(x + xh − 1)
2
= lim
h→0 hx(x + h)
x −1
2
=
x2
x −1
2
จะได้ว่า f ′ (x) =
x2

งล ์ วาน
3
f ′ (2) =
4
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
2.2. อนุพันธ์ด้านเดียว 65

2.2 อนุพันธ์ด้านเดียว
จากนิยาม 2.1.1 จะเห็นได้ว่าอนุพันธ์ถูกนิยามในรูปของลิมิต ดังนั้นอนุพันธ์จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่อ
ลิ มิต หาค่า ได้ นั่น คือ ลิ มิต ซ้ายเท่ากับ ลิ มิต ขวา ในหัวข้อ นี้ เราจะพิจารณาลิ มิต ทางซ้ายและลิ มิต ทาง
ขวาของอนุพันธ์ ซึ่งจะถูกเรียกว่าอนุพันธ์ทางซ้าย และอนุพันธ์ทางขวา

บทนิยาม 2.2.1 ถ้า lim f (a + h)h − f (x) หา ค่า ได้ จะ เรียก ลิ มิต นี้ ว่า อนุพันธ์ ทาง

h→0
ซ้ายของฟังก์ชัน f ที่ x = a เขียนแทนด้วย f ′ (a− ) ถ้าเราแทน h = x − a จะเขียนได้ว่า
f (x) − f (a)
f ′ (a− ) = lim

งล ์ วาน
x→a− x−a

เมื่อลิมิตหาค่าได้
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

บทนิยาม 2.2.2 ถ้า lim f (a + h)h − f (x) หา ค่า ได้ จะ เรียก ลิ มิต นี้ ว่า อนุพันธ์ ทาง
+
h→0
ขวาของฟังก์ชัน f ที่ x = a เขียนแทนด้วย f ′ (a+ ) ถ้าเราแทน h = x − a จะเขียนได้ว่า
f (x) − f (a)
f ′ (a+ ) = lim
.

x−a
ดร

x→a+

เมื่อลิมิตหาค่าได้

ข้อสังเกต อนุพันธ์ ของฟังก์ชัน f ที่ จุด x = a หาค่า ได้ ก็ ต่อ เมื่อ อนุพันธ์ ทางซ้ายที่ จุด a
เท่ากับอนุพันธ์ทางขวา นั่นคือ f ′ (a− ) = f ′ (a+ )


3x + 1 ;x ≤ 3
ตัวอย่าง 2.3 กำหนดให้ f (x) =
x2 + 1 ;x > 3
จงพิจารณาว่า f มีอนุพันธ์ที่ x = 3 หรือไม่ ถ้ามีจงหา f ′ (3)
66 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ.
f (x) − f (3)
f ′ (3− ) = lim
x→3− x−3
3x + 1 − 10 3(x − 3)
= lim = lim =3
x→3 − x−3 x→3 − x−3
f (x) − f (3)
f ′ (3+ ) = lim
x→3 + x−3
x + 1 − 10
2
= lim = lim (x + 3) = 6
x→3+ x−3 x→3+

เนื่องจาก f ′ (3− ) ̸= f ′ (3+ ) เพราะฉะนั้น f ไม่มีอนุพันธ์ที่ x = 3




−6x − 1 ; x < −1


ตัวอย่าง 2.4 กำหนดให้ f (x) = 5

; x = −1

งล ์ วาน

x2 − 4x ; x > −1
จงพิจารณาว่า f มีอนุพันธ์ที่ x = −1 หรือไม่ ถ้ามีจงหา f ′ (−1)
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

f (x) − f (−1)
f ′ (−1− ) = lim
x→−1− x+1
−6x − 1 − 5
= lim = −6
x→−1− x+1
f (x) − f (−1)
f ′ (−1+ ) = lim
x→−1+ x+1
x − 4x − 5
2
.

= lim
ดร

x→−1+ x+1
(x − 5)(x + 1)
= lim = −6
x→−1+ x+1

เนื่องจาก f ′ (−1− ) = f ′ (−1+ ) เพราะฉะนั้น f ′ (−1) = −6


2.3. ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์ 67

2.3 ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์
พิจารณากราฟของฟังก์ชัน y = f (x)

y = f (x)

f (x0 + h) Q b

f (x0 )
Pb

x0 x0 + h

งล ์ วาน
สำหรับจุด P และ Q ใด ๆ บนเส้นโค้ง y = f (x) จะสามารถหาความชันของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่าง
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
จุด P และ Q ได้เป็น
งท
: ต มศกั ับรา่

∆y f (x0 + h) − f (x0 ) f (x0 + h) − f (x0 )


ความชัน = ∆x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= =
(x + h) − x 0 0 h

เราจะเห็นว่าความชันดังกล่าวเป็นความชันของเส้นตรงจากจุด P ไปยังจุด Q ถ้าเราต้องการความ


ชันของเส้นตรงที่สัมผัสจุด P เราจะต้องเลื่อนจุด Q เข้ามาใกล้จุด P มากขึ้น ยิ่งจุด Q เข้าใกล้จุด P
มากเท่าไหร่ ความชันที่ได้ก็จะใกล้เคียงกับความชันที่จุด P มากขึ้น
ถ้าเราเลื่อนจุด Q เข้ามาใกล้จุด P นั่นคือ h → 0 เราจะได้ว่าความชันของเส้นสัมผัสที่จุด P คือ
.
ดร

f (x0 + h) − f (x0 )
ความชันที่จุด P = h→0
lim
h

ซึ่งก็คืออนุพันธ์ของฟังก์ชันที่ x = x0 หรือ f ′ (x0 ) นั่นเอง

JUM!!! ความชันของเส้นสัมผัสกราฟ y = f (x) ที่จุด x = x0 คือ f ′ (x0 )

ตัวอย่าง 2.5 จงหาความชันของฟังก์ชัน f (x) = x2 + 2 ที่ x = 3


วิธีทำ. จากตัวอย่าง 2.1 เราจะได้ ว่า f ′ (x) = 2x เนื่องจากความชัน ของฟังก์ชัน ที่ x = 3 คือ
อนุพันธ์ ของฟังก์ชัน ที่ x = 3 ดัง นั้น ความชัน ของฟังก์ชัน f (x) = x2 + 2 ที่ x = 3 เท่ากับ
f ′ (3) = 2(3) = 6
68 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ตัวอย่าง 2.6 จงหาสมการเส้นสัมผัสเส้นกราฟ f (x) = x2 − 2x + 1 ที่จุด (2, 1)


วิธีทำ. ขั้นแรกเราหาอนุพันธ์ของ f (x) โดยใช้นิยาม
f (x + h) − f (x)
f ′ (x) = lim
h→0 h
((x + h)2 − 2(x + h) + 1) − (x2 − 2x + 1)
= lim
h→0 h
x + 2xh + h − 2x − 2h + 1 − x2 + 2x − 1
2 2
= lim
h→0 h
2xh + h2 − 2h
= lim
h→0 h
h(2x + h − 2)
= lim
h→0 h
= lim (2x + h − 2)

งล ์ วาน
h→0

= 2x − 2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ดังนั้นความชันที่จุด (2, 1) นั่นคือที่ x = 2 คือ f ′ (2) = 2(2) − 2 = 2
งท
: ต มศกั ับรา่

สมการเส้นสัมผัสเส้นกราฟ f (x) ที่จุด (x0 , y0 ) อยู่ในรูป


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

y − y0 = m(x − x0 )

แทนค่าความชัน m = 2 และจุด (x0 , y0 ) = (2, 1) จะได้สมการเส้นสัมผัสกราฟคือ


y − 1 = 2(x − 2)
.
ดร
2.4. สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต 69

2.4 สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
ในหัวข้อนี้เราจะพิจารณาสูตร และสมบัติพื้นฐานของอนุพันธ์

บทนิยาม 2.4.1 ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุก ๆ จุดบนโดเมน แล้วจะเรียก f


ว่า เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้

ทฤษฎีบท 2.4.2 สำหรับจำนวนจริง c ใด ๆ


d
(c) = 0
dx

ทฤษฎีบท 2.4.3 งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
d
งท
: ต มศกั ับรา่

(x) = 1
dx
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ทฤษฎีบท 2.4.4 สำหรับจำนวนจริง n ใด ๆ


d n
(x ) = nxn−1
dx
.

ตัวอย่าง 2.7 จงพิสูจน์ทฤษฎีบท 2.4.2


ดร

วิธีทำ. ข้อนี้ f (x) = c เมื่อ c เป็นค่าคงที่ใด ๆ จากนิยามของอนุพันธ์จะได้ว่า


f (x + h) − f (x)
f ′ (x) = lim
h→0 h
c−c
= lim
h→0 h
; f (x + h) = c
0
= lim
h→0 h

=0

ตัวอย่าง 2.8 จงพิสูจน์ทฤษฎีบท 2.4.3


70 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ. ข้อนี้ f (x) = x จากนิยามของอนุพันธ์จะได้ว่า


f (x + h) − f (x)
f ′ (x) = lim
h→0 h
x+h−x
= lim
h→0 h
; f (x + h) = x + h
h
= lim
h→0 h

=1

ข้อสังเกต ทฤษฎีบท 2.4.4 สามารถถูก พิสูจน์ได้ ง่ายสำหรับ จำนวนนับ n ใด ๆ โดยใช้นิยาม


และทฤษฎีบททวินาม (ลองทำดูนะครับ)

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
JUM!!! ทฤษฎีบท 2.4.2 – 2.4.4 สามารถสรุปให้จำง่าย ๆ ได้ดังนี้
งท
: ต มศกั ับรา่

1. ดิฟค่าคงที่ได้ 0 เสมอ (ในหนังสือเล่มนี้ใช้คำว่าอนุพันธ์และคำว่าดิฟสลับกันไปมานะ)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2. ดิฟ x ได้ 1
3. ดิฟ xn ให้ตบกำลังลงมา แล้วลดกำลังลงหนึ่ง ได้ nxn−1

ตัวอย่าง 2.9 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


.
ดร

1. f (x) = 2 2. f (x) = x

3. f (x) = x3 4. f (x) = x3/2

√ 1
5. f (x) = x 6. f (x) =
x

วิธีทำ.
d
1.
dx
2=0 ; ดิฟค่าคงที่ได้ศูนย์เสมอ
d
2.
dx
x=1 ; ดิฟ x ได้ 1
d 3
3.
dx
x = 3x2 ; ตบกำลัง 3 ลงมา กำลังลดลง 1
2.4. สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต 71

d 3 3 3
4.
dx
x 2 = x( 2 −1)
2
; ตบกำลัง 3/2 ลงมา กำลังลดลง 1
3 3 2
= x( 2 − 2 )
2
3 1
= x2
2
3√ √
=
2
x ; n
am = am/n

d√ d 1 √
5.
dx
x=
dx
x2 ; n
am = am/n
1 1
= x( 2 −1)
2
; ตบกำลัง 1/2 ลงมา กำลังลดลง 1
1 1 2
= x( 2 − 2 )
2
1 −1

งล ์ วาน
= x 2
2
1
= ; a−n = a1n
1
เรอื ่ วงษ
2x 2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1
= √ งท
: ต มศกั ับรา่

2 x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d 1 d −1
6.
dx x
=
dx
x ; a−n = a1n
= −1x(−1−1) ; ตบกำลัง −1 ลงมา กำลังลดลง 1
= −x−2
1
=− 2 ; a−n = a1n
.

x
ดร

ทฤษฎีบท 2.4.5 สำหรับ u เป็นฟังก์ชันในตัวแปร x ที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ และจำนวนจริง


c ใด ๆ
d du
(cu) = c
dx dx

ทฤษฎีบท 2.4.6 สำหรับ u และ v เป็นฟังก์ชันในตัวแปร x ที่สามารถหาอนุพันธ์ได้


d du dv
(u ± v) = ±
dx dx dx
72 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

JUM!!! ทฤษฎีบท 2.4.5 – 2.4.6 สามารถสรุปให้จำง่าย ๆ ได้ดังนี้


1. เราสามารถดึงค่าคงที่ออกจากดิฟได้
2. ดิฟ สามารถกระจายการบวกและการลบได้

ตัวอย่าง 2.10 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


1. f (x) = 2x 2. f (x) = x2 + 5

3. f (x) = x3 − 2 x + 1 4. f (x) = (x − 1)2

วิธีทำ.
d d

งล ์ วาน
1.
dx
2x = 2 x
dx
; ดึงค่าคงที่ออกจากดิฟ
d
; dx
เรอื ่ วงษ
= 2(1) x=1
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

=2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d 2 d 2 d
2.
dx
(x + 5) =
dx
x +
dx
5 ; ดิฟ กระจายผลบวก
= 2x + 0 ; ดิฟ xn และ ดิฟค่าคงที่
= 2x

d 3 √ d 3 d √ d
3. (x − 2 x + 1) = x − 2 x+ 1 ; ดิฟกระจายผลบวกและผลลบ
.

dx dx dx dx
ดร

d 3 d 1 d
=
dx
x − 2 x2 +
dx dx
1 ; ดึงค่าคงที่ออกจากดิฟ
= 3x2 − x− 2 + 0 ; ดิฟ xn และ ดิฟค่าคางที่
1

1
= 3x2 − √
x

d d 2
4. (x − 1)2 = (x − 2x + 1)
dx dx
d 2 d d
=
dx
x −
dx
2x +
dx
1 ; ดิฟกระจายผลบวกและผลลบ
d 2 d d
=
dx
x −2 x+
dx dx
1 ; ดึงค่าคงที่ออกจากดิฟ
= 2x − 2 + 0 ; ดิฟ xn และดิฟค่าคงที่
= 2x − 2
2.4. สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต 73

ทฤษฎีบท 2.4.7 สำหรับ u และ v เป็นฟังก์ชันในตัวแปร x ที่สามารถหาอนุพันธ์ได้


d dv du
(uv) = u +v
dx dx dx

ทฤษฎีบท 2.4.8 สำหรับ u และ v เป็นฟังก์ชันในตัวแปร x ที่สามารถหาอนุพันธ์ได้


   
du dv

งล ์ วาน
−u
d u
v
dx dx
=
dx v v2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ข้อควรระวัง ระวังนะครับ อนุพันธ์กระจายคูณหารไม่ได้

JUM!!! ทฤษฎีบท 2.4.7 – 2.4.8 สามารถสรุปให้จำง่าย ๆ ได้ดังนี้


.

1. ดิฟผลคูณ (หน้า×หลัง) ได้ “หน้าดิฟหลัง บวกหลังดิฟหน้า”


ดร

 
2. ดิฟผลหาร บน ได้ “ล่างดิฟบน ลบบนดิฟล่าง ส่วนล่างกำลังสอง”
ล่าง

ตัวอย่าง 2.11 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


1. f (x) = (2x2 + 1)(x3 − 2) 2. f (x) = (1 − x3 )(2 + 2x + x)

1−x (2x + 1)(x3 − 1)


3. f (x) =
1+x
4. f (x) =
(x2 − 5)
74 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ. 1. ข้อนี้เราสามารถใช้ดิฟผลคูณ โดยมอง u (หน้า) = 2x2 + 1 และ v (หลัง) = x3 − 2

d
(2x2 + 1)(x3 − 2)
dx
d d
= (2x2 + 1) (x3 − 2) + (x3 − 2) (2x2 + 1)
dx dx
; ดิฟผลคูณ
= (2x2 + 1)(3x2 + 0) + (x3 − 2)(4x + 0)
= (2x2 + 1)(3x2 ) + (x3 − 2)(4x)
= (6x4 + 3x2 ) + (4x4 − 8x)
= 10x4 + 3x2 − 8x

ข้อสังเกต จริง ๆ แล้วอนุพันธ์ของ f (x) = (2x2 + 1)(x3 − 2) สามารถใช้การคูณกระจาย

งล ์ วาน
ก่อนแล้วหาอนุพันธ์ทีละพจน์ก็ได้ แต่ถ้าโจทย์มีจำนวนพจน์มากกว่านี้ การคูณกระจายจะยากมากขึ้น
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d
2. (1 − x3 )(2 + 2x + x)
dx
d √ √ d
= (1 − x3 ) (2 + 2x + x) + (2 + 2x + x) (1 − x3 )
dx dx
; ดิฟผลคูณ
d d
= (1 − x3 ) (2 + 2x + x1/2 ) + (2 + 2x + x1/2 ) (1 − x3 )
dx dx
1
= (1 − x )(2 + p ) + (2 + 2x + x )(−3x )
3 1/2 2
.

2 (x)

ดร

1 7 x5
= 2 + √ − 6x − 2
− 8x3
2 x 2

3. ข้อนี้เราสามารถใช้ดิฟผลหาร โดยมอง u (บน) = 1 − x และ v (ล่าง) = 1 + x


 
d 1−x d
(1 + x) dx (1 − x) − (1 − x) dx
d
(1 + x)
dx 1+x
=
(1 + x) 2
; ดิฟผลหาร
(1 + x)(−1) − (1 − x)(1)
=
(1 + x)2
−2
=
(1 + x)2

4.ข้อนี้เราสามารถใช้ทั้งดิฟผลหารก่อน โดยมอง “บน” = (2x+1)(x3 −1) และ “ล่าง” = (x2 −5)


2.4. สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต 75

หลังจากนั้นดิฟ (2x + 1)(x3 − 1) โดยใช้ดิฟผลคูณ


 
d (2x + 1)(x3 − 1)
dx (x2 − 5)
(x2 − 5) dx
d
(2x + 1)(x3 − 1) − (2x + 1)(x3 − 1) dx
d
(x2 − 5)
=
(x2 − 5)2
; ดิฟผลหาร
(x2 − 5)((2x + 1) dx
d
(x3 − 1) + (x3 − 1) dx
d
(2x + 1))
=
(x − 5)
2 2
; ดิฟผลคูณ
(2x + 1)(x − 1)(2x)
3

(x2 − 5)2
(x2 − 5)((2x + 1)(3x2 ) + (x3 − 1)(2)) (2x + 1)(x3 − 1)(2x)
= −
(x2 − 5)2 (x2 − 5)2
4x5 + x4 − 40x3 − 13x2 + 2x + 10
=
(x2 − 5)2

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
76 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.5 อนุพันธ์อันดับสูง
อนุพันธ์ ของ y = f (x) ที่ เราศึกษาในหัวข้อ ก่อนหน้า นี้ เรียกว่า อนุพันธ์ อันดับ หนึ่ง ของ y
เทียบกับ x

บทนิยาม 2.5.1 ถ้าอนุพันธ์ของ y′ = f ′ (x) สามารถหาอนุพันธ์ได้ จะเรียกอนุพันธ์ของ y′ =


f ′ (x) ว่า อนุพันธ์อันดับสองของ y เทียบกับ x เขียนแทนด้วย
 
′′ ′′ d dy d2 y
y = f (x) = =
dx dx dx2

ในทำนองเดียวกัน ถ้าอนุพันธ์อันดับสองสามารถหาอนุพันธ์ได้ อนุพันธ์อันดับสามของ y เทียบ


กับ x สามารถเขียนแทนได้ด้วย

งล ์ วาน
 
′′′ ′′′d d2 y d3 y
y = f (x) = =
dx dx2 dx3
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ในกรณีของ อนุพันธ์อันดับ n ของ y เทียบกับ x ถ้าอนุพันธ์อันดับ n−1 หาค่าได้ อนุพันธ์อันดับ
งท
: ต มศกั ับรา่

n คือการหาอนุพันธ์ของอนุพันธ์อันดับ n − 1 เทียบกับ x นั่นคือ


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

 
(n) (n) d dn−1 y dn y
y =f (x) = =
dx dxn−1 dxn

ข้อสังเกต การหาอนุพันธ์อันดับที่ n ของฟังก์ชัน f (x) คือการดิฟ n ครั้ง


.

ตัวอย่าง 2.12 กำหนดให้ y = x3 − 3x + x1 − x22 จงหา y′ , y′′ และ y′′′


ดร

วิธีทำ. เนื่องจาก y = x3 − 3x + x1 − x22


 
dy d 1 2
จะได้ว่า y =′
dx
=
dx
x − 3x + − 2
3
x x
1 4
= 3x2 − 3 − 2 + 3
2y
 x x
d d dy
y ′′ = 2 =
dx dx dx
 
d 1 4
= 3x2 − 3 − 2 + 3
dx x x
2 12
= 6x + 3 − 4
x x
2.5. อนุพันธ์อันดับสูง 77
 
d3 y
′′′ d d2 y
y = 3 =
dx dx dx2
 
d 2 12
= 6x + 3 − 4
dx x x
6 48
=6− 4 + 5
x x


1 1 d3 y
ตัวอย่าง 2.13 กำหนดให้ y= 3+ 5
x x
จงหา dx3

x=1

วิธีทำ. เนื่องจาก y = x13 + x15


 
dy d 1 1
จะได้ว่า = +

งล ์ วาน
dx dx x3 x5
3 5
=− 4 − 6
x x
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
d2 y d dy
=
งท
: ต มศกั ับรา่

dx2 dx dx
 
d 3 5
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= − 4− 6
dx x x
12 30
= 5+ 7
x x 
d3 y d d2 y
=
dx3 dx dx2
 
d 12 30
= +
.

dx x5 x7
ดร

60 210
=− 6 − 8
x x
3
d y 60 210
นั่นคือ
dx3
=− 6 − 8
1 1
x=1
= −270
78 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.6 กฎลูกโซ่
จากในหัวข้อที่แล้ว ถ้าเราอยากจะหาอนุพันธ์ของ (x + 1)2 เราสามารถกระจายกำลังสองก่อน
และหาอนุพันธ์ ที ละพจน์ ได้ (ดิ ฟกระจายผลบวกได้ จำได้ นะ!) แต่ ถ้า เราต้องการหาอนุพันธ์ ของ
(x + 1)10 แน่นอนว่าเราก็สามารถคูณกระจายได้ แต่ว่ามันจะยากและกินเวลามาก ๆ ในหัวข้อนี้เรา
จะศึกษากฎลูกโซ่ ที่จะช่วยให้เราหาอนุพันธ์ประเภทนี้ได้ง่ายมากขึ้น

ทฤษฎีบท 2.6.1 ถ้า u หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ y หาอนุพันธ์ได้ที่ u จะได้ว่า


dy dy du
= ·
dx du dx

ข้อสังเกต งล ์ วาน
การที่เราจะหาอนุพันธ์ของ y เทียบ x เราสามารถหาอนุพันธ์เทียบ u ซึ่งเป็นก้อน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ของ x ก่อน แล้วค่อยคูณด้วยอนุพันธ์ของ u เทียบ x ในหนังสือเล่มนี้ บางครั้งเพื่อความง่าย เราจะ
งท
: ต มศกั ับรา่

เรียก u ว่า “ไส้”


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ข้อสังเกต บางครั้งเราอาจจะต้องใช้กฎลูกโซ่มากกว่าหนึ่งครั้ง เช่น

dy dy du dv
= · ·
dx du dv dx
.

dy
ดร

จะสังเกตได้ว่าสูตรทางขวาคล้ายกับว่า du และ dv ตัดกันจากเศษและส่วน ทำให้เหลือแค่ dx (จริง


ๆ ไม่ใช่นะ แต่จำแบบนี้ก็ง่ายดี)

ตัวอย่าง 2.14 ถ้า y = u10 จะได้ว่า


dy
= 10u9
du

dy
จะเห็นว่าถ้า y เป็นฟังก์ชันของ u เมื่อเราหา du เราก็สามารถหาได้โดยใช้สูตรปกติ อย่าไปยึดติดกับ
ตัวแปรนะ

ตัวอย่าง 2.15 จงหาอนุพันธ์ของ y = (2x + 1)10


2.6. กฎลูกโซ่ 79

วิธีทำ. ข้อ นี้ จะเห็น ว่า ถ้า เรามอง u = 2x + 1 เป็น ไส้ เราจะได้ ว่า y = u10 ซึ่ง เราสามารถหา
อนุพันธ์เทียบ u โดยใช้สูตรได้ ดังนั้น จากกฎลูกโซ่เราจะได้ว่า
dy dy du
= ·
dx du dx
du10 d(2x + 1)
= ·
du dx
9
= (10u )(2)
= 20u9
= 20(2x + 1)9

เคล็ดไม่ลับ บางครั้งเราสามารถทำแบบไว ๆ ได้ โดยการมอง 2x + 1 เป็นไส้ ดิฟเทียบกับไส้

งล ์ วาน
แล้วดิฟไส้ต่อ
10
เรอื ่ วงษ
dy
= (ดิฟ เทียบไส้) · (ดิฟไส้)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
(2x + 1)
dx
งท
: ต มศกั ับรา่

= 10(2x + 1)9 · (ดิฟไส้)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= 10(2x + 1)9 (2) ; ไส้ = 2x + 1


= 20(2x + 1)9

ตัวอย่าง 2.16 จงหาอนุพันธ์ของ y = 3x − 5

วิธีทำ. ข้อนี้จะเห็นว่า ถ้าเรามอง u = 3x − 5 เป็นไส้ เราจะได้ว่า y = u = u1/2 ซึ่งเราสามารถ
.

หาอนุพันธ์เทียบ u โดยใช้สูตรได้ ดังนั้น จากกฎลูกโซ่เราจะได้ว่า


ดร

dy dy du
= ·
dx du dx
du1/2 d(3x − 5)
= ·
du dx
1 −1/2
=( u )(3 + 0)
2
3 1
= 1/2 ; a−m =
2u am
3 √
= √ ; am/n = n am
2 u
3
= √
2 3x − 5
80 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ตัวอย่าง 2.17 จงหาอนุพันธ์ของ y = ( 3x2 − 1 + 1)5


วิธีทำ. ข้อนี้จะเห็นว่า ถ้าเรามอง u = 3x2 − 1 + 1 เป็นไส้ เราจะได้ว่า y = u5 ซึ่งเราสามารถ
หาอนุพันธ์เทียบ u โดยใช้สูตรได้ หลังจากนั้นเราต้องทำการหาอนุพันธ์ของ u ต่อ

จากนั้นเราให้ v = 3x2 − 1 เป็นไส้ เราจะได้ว่า u = v + 1 = v1/2 + 1 ซึ่งเราสามารถหาอนุพันธ์
เทียบกับ v ได้ จากกฎลูกโซ่จะได้ว่า
dy dy du dv
= · ·
dx du dv dx
du5 d(v 1/2 + 1) d(3x2 − 1)
= · ·
du dv dx
1
= 5u4 ( v −1/2 + 0)(6x + 0)
2
p 1
= 5( 3x2 − 1 + 1)4 ( (3x2 − 1)−1/2 )(6x)

งล ์ วาน
√ 2
( 3x − 1 + 1)4
2
= 15x √
เรอื ่ วงษ
3x2 − 1
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 2.18 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


r
x2 − 1
1. y = (1 − 5x)6 2. y=
2x + 1

 3
.
ดร

x3 + 1
3. y = (3 + x +
3
4x2 ) 2 4. y=
3x2 + 1

√ p √
5. y = (1 − 4x + 1)5 6. y=( 3x + 2 x)2

วิธีทำ. 1. มอง u = 1 − 5x จะได้ว่า y = u6


dy dy du
นั่นคือ dx
= ·
du dx
du6 d(1 − 5x)
= ·
du dx
5
= 6u (−5)
= −30(1 − 5x)5
2.6. กฎลูกโซ่ 81

x −1
2
2. มอง u = 2x +1
จะได้ว่า y = u 1
2

dy dy du
นั่นคือ dx
=
du dx
·
1  
du 2 d x2 − 1
= ·
du dx 2x + 1
1 (2x + 1)(2x) − (x2 − 1)(2)
= 1 ·
2u 2 (2x + 1)2
1 2(x2 + x + 1)
= q ·
2 2x+1 (2x + 1)2
x2 −1
 
1 x2 + x + 1
=q
2x+1 (2x + 1)2
x2 −1

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
3. มอง u = 3 + x + 4x2 จะได้ว่า y = u 3
2
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dy dy du
นั่นคือ dx
= ·
du dx
3
du 2 d(3 + x + 4x2 )
= ·
du dx
3 1
= u 2 · (1 + 8x)
2
3p
3 + x + 4x2 (1 + 8x)
.

=
ดร

3
x +1
4. มอง u = 3x 2+1
จะได้ว่า y = u3

dy dy du
นั่นคือ dx
= ·
du dx  
du3 d x3 + 1
= ·
du dx 3x2 + 1
(3x2 + 1)(3x2 ) − (x3 + 1)(6x)
= 3u2 ·
(3x2 + 1)2
9x(x3 + 1)2 (x3 + x − 2)
=
(3x2 + 1)4
82 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
√ √
5. มอง u = 1 − 4x + 1 จะได้ y = u5 และมอง v = 4x + 1 จะได้ว่า u = 1 − v

dy dy du dv
นั่นคือ dx
= ·
du dv dx√
·
du5 d(1 − v) d(4x + 1)
= · ·
du dv dx
1
= 5u4 (− √ )(4)
2 v

10(1 − 4x + 1)4
=− √
4x + 1
p √ √ √
6. มอง u = 3x + 2 x จะได้ y = u2 และมอง v = 3x + 2 x จะได้ว่า u = v

dy dy du dv
นั่นคือ dx
= ·
du dv√ dx
·

du2 d v d(3x + 2 x)

งล ์ วาน
= · ·
du dv   dx 
1 1
√ 3+ √
เรอื ่ วงษ
= 2u
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2 v x
p √ ! 
งท
: ต มศกั ับรา่

3x + 2 x 1
= p √ 3+ √
x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3x + 2 x
1
=3+ √
x
.
ดร
2.7. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 83

2.7 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ทฤษฎีบท 2.7.1
1. d
dx (sin x) = cos x 2. d
dx (cos x) = − sin x

3. d
dx (tan x) = sec2 x 4. d
dx (sec x) = sec x tan x

5. d
dx (csc x) = − csc x cot x 6. d
dx (cot x) = − csc2 x

ข้อสังเกต สูตรในทฤษฎีบท 2.7.1 มี ให้ ในห้องสอบนะครับ แต่ แนะนำให้ จำได้ เพราะจะได้

งล ์ วาน
เปรียบเยอะเลย แถมช่วยให้เราทำบทปริพันธ์ได้ง่ายขึ้นด้วย
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ตัวอย่าง 2.19 จงแสดงว่า dxd (sin x) = cos x งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ.
dy d sin x
=
dx dx
sin(x + h) − sin x
= lim
.

h→0 h
ดร

sin x cos h + sin h cos x − sin x


= lim ; sin(x + h) = sin x cos h + sin h cos x
h→0
 h 
sin(h) cos h − 1
= lim cos x + sin x
h→0 h h
= (1) cos x + (0) sin x
= cos x

ตัวอย่าง 2.20 จงหาอนุพันธ์ dxd (sin3 x)

วิธีทำ. อย่าลืม นะว่า y = sin3 x = (sin x)3 ดังนั้น ถ้า เรามอง u = sin x เป็นไส้ เราก็ จะได้ ว่า
84 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

y = u3 ซึ่งมีสูตรพื้นฐานในการหาอนุพันธ์ จากกฎลูกโซ่จะได้ว่า
dy dy du
= ·
dx du dx
du3 d(sin x)
= ·
du dx
d
= (3u2 )(cos x) ; (sin x) = cos x
dx
= (3(sin x)2 )(cos x)
= 3 sin2 x cos x


ตัวอย่าง 2.21 จงหาอนุพันธ์ dxd (tan2 ( 2x2 + 1))

งล ์ วาน
วิธีทำ. ข้อ นี้ เรา ต้อง ใช้ กฎ ลูกโซ่ ถึง สาม ครั้ง ขั้น แรก เรา มอง y = tan2 ( 2x2 + 1) =
√ √
(tan( 2x2 + 1))2 ดัง นั้น ถ้า เรามอง u = tan( 2x2 + 1) เป็น ไส้ เราก็ จะได้ ว่า y = u2
เรอื ่ วงษ
ซึ่งมีสูตรพื้นฐานในการหาอนุพันธ์
ดิ เ ดิ์ ง

ุน

จากนั้นเรามอง v = 2x2 + 1 เป็นไส้ต่อ เราก็จะได้ว่า u = tan(v) ซึ่งมีสูตรพื้นฐานในการหา
งท
: ต มศกั ับรา่

อนุพันธ์
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ


หลังจากนั้นเรามอง w = 2x2 + 1 เราจะได้ว่า v = w = w1/2 ซึ่งมีสูตรพื้นฐานในการหาอนุพันธ์
จากกฎลูกโซ่จะได้ว่า
dy dy du dv dw
= · · ·
dx du dv dw dx
du2 d(tan v) d(w1/2 ) d(2x2 + 1)
= · · ·
.

du dv dw dx
ดร

2 1 −1/2
= (2u)(sec v)( w )(4x)
2
4xu sec2 v
= √
w
√ √
4x tan( 2x2 + 1) sec2 ( w)
= √
w
; แทนตัวแปรกลับ ตอบเป็น x นะ
√ √
4x tan( 2x2 + 1) sec2 ( 2x2 + 1)
= √
2x2 + 1

ตัวอย่าง 2.22 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


sin 2x √ √
1. y=
1 + tan 2x
2. y = cos( x + 1) csc( x + 1)
2.7. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 85

sin 5x cos 5x
3. y=
1 + tan 5x
4. y = tan(cos2 x2 )

√ √
5. y = sec2 ( 3 x2 + 1) 6. y = cot4 ( 3x2 + 1)

วิธีทำ. 1. มอง u = 2x จะได้ว่า y = 1 +sintan


u
u

dy dy du
นั่นคือ dx
= ·
du dx

งล ์ วาน

d sin u d(2x)
= ·
du 1 + tan u dx
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
(1 + tan u) cos u − sin u sec2 u
= ·2
งท
: ต มศกั ับรา่

(1 + tan u)2
2(cos 2x + tan 2x cos 2x − sin 2x sec2 2x)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

=
(1 + tan 2x)2

√ √
2. มอง u = x+1 จะได้ว่า y = cos u csc u และมอง v = x + 1 จะได้ u = v
.
ดร

dy dy du dv
นั่นคือ dx
= ·
du dv dx
·

d cos u csc u d( v) d(x + 1)
= · ·
du dv dx  
1
= (cos u(− csc u cot u) + csc u(− sin u)) √ ·1
2 v
 
1
= (− cos u csc u cot u − csc u sin u) √
2 v
 
1
= (− cot u − 1)
2

2 x+1

− cot2 ( x + 1) − 1
= √
2 x+1

csc2 ( x + 1)
=− √
2 x+1
86 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

3. มอง u = 5x จะได้ว่า y = sin u cos u


1 + tan u

dy dy du
นั่นคือ dx
= ·
du dx 
d sin u cos u d(5x)
= ·
du 1 + tan u dx
(1 + tan u)(sin u(− sin u) + cos u cos u) − (sin u cos u)(sec2 u)
= ·5
(1 + tan u)2

5 (1 + tan u)(cos2 u − sin2 u) − tan u
=
(1 + tan u)2

5 (1 + tan 5x)(cos2 5x − sin2 5x) − tan 5x
=
(1 + tan 5x)2
5 tan(5x) 5 sin2 (5x) 5 cos2 (5x)
=− − +
(1 + tan 5x)2 1 + tan(5x) 1 + tan(5x)

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
4. มอง u = cos2 x2 จะได้ว่า y = tan u , มอง v = cos x2 จะได้ว่า u = v2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
และมอง w = x2 จะได้ว่า v = cos w งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dy dy du dv dw
นั่นคือ dx
= · ·
du dv dw dx
·
d tan u dv 2 d cos w dx2
= · · ·
du dv dw dx
= sec u · 2v · (− sin w) · 2x
2

= −4x sec2 (cos2 x2 ) cos x2 sin x2


.
ดร

√ √
5. มอง u = sec( x2 + 1) จะได้ ว่า y =
3
u2 , มอง v = 3
x2 + 1 จะได้ ว่า u = sec v
และมอง w = x2 + 1 จะได้ว่า v = w 1
3

dy dy du dv dw
นั่นคือ dx
= · ·
du dv dw dx
·
1
du2 d sec v dw 3 d(x2 + 1)
= · · ·
du dv dw dx
1
= 2u · sec v tan v · 2 · 2x

√ 3w 3
√ √
4x sec( 3 x2 + 1) sec( 3 x2 + 1) tan( 3 x2 + 1)
= 2
3(x2 + 1) 3
√ √
4x sec2 ( 3 x2 + 1) tan( 3 x2 + 1)
=
3(x2 + 1)2/3
2.7. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 87
√ √
6. มอง u = cot( 3x2 + 1) จะได้ว่า y = u4 , มอง v = 3x2 + 1 จะได้ว่า u = cot v

และมอง w = 3x2 + 1 จะได้ว่า v = w
dy dy du dv dw
นั่นคือ dx
= · ·
du dv dw dx
·

du4 d cot v d w d(3x2 + 1)
= · · ·
du dv dw dx
1
= 4u3 · (− csc2 v) · √ · 6x
2 w
√ √
12x cot ( 3x + 1) csc2 ( 3x2 + 1)
3 2
=− √
3x2 + 1

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
88 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.8 อนุพันธ์ของฟังก์ชันลอการิทึม และเอกซ์โปเนนเชียล


นอกจากอนุพันธ์ ของฟังก์ชัน ตรีโกณมิติ ในหัวข้อ ที่ แล้ว ในหัวข้อ นี้ เราจะพิจารณาอนุพันธ์ ของ
ฟังก์ชันลอการิทึมและเอกโปแนนเชียล (ในห้องสอบมีให้ครับ)

ทฤษฎีบท 2.8.1 สำหรับจำนวนจริง a > 0 และ a ̸= 1 จะได้


1. d
dx ln x = 1
x 2. d
dx loga x = 1
x ln a

3. d x
dx e = ex 4. d x
dx a = ax ln a

ข้อสังเกต ln x = loge x โดยที่ x > 0 และ e เป็นค่าคงที่มีค่าประมาณ e ≈ 2.718281828

งล ์ วาน
คือลอกาลิทึมธรรมชาติ (Natural logarithm) ซึ่งเจอบ่อยในการประยุกต์คณิตศาสตร์กับสาขาวิชา
อื่น ๆ
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ตัวอย่าง 2.23 จงแสดงว่า dxd ln x = x1 งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. ให้ f (x) = ln x จากนิยามของอนุพันธ์


df (x) f (x + h) − f (x)
= lim
dx h→0 h
ln (x + h) − ln x
= lim
 h 
h→0
1 x+h
= lim ln
.

h→0 h x
ดร

 
1 x x+h
= lim · ln
h→0 x h x
 x·x
1 h h x
= lim ln 1 +
x h→0 x
  1
1 h h/x
= lim ln 1 +
x h→0 x
1  1

= ln e ; lim 1 + t t = e
x t→0
1
= ; ln e = loge e = 1
x

ตัวอย่าง 2.24 จงแสดงว่า dxd ex = ex


2.8. อนุพันธ์ของฟังก์ชันลอการิทึม และเอกซ์โปเนนเชียล 89

วิธีทำ. พิจารณา y = ex , x ∈ R, y ∈ R+ ดังนั้น


x = ln y

หาอนุพันธ์เทียบกับ x ทั้งสองข้างจะได้
1 dy
1=
y dx
dy
=y
dx
d x
(e ) = ex
dx

ตัวอย่าง 2.25 จงแสดงว่า dxd ax = ax ln a


วิธีทำ. ให้ y = ax = eln a
งล ์ วาน
หาอนุพันธ์เทียบกับ x ทั้งสองข้าง จะได้
x
= ex ln a
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dy d  x ln a 
งท
: ต มศกั ับรา่

= e
dx dx
d
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= ex ln a
dx
(x ln a) ; มอง u = x ln a
x
= eln a (ln a)
= ax ln a
.

ตัวอย่าง 2.26 จงแสดงว่า dxd loga x = x ln1 a


ดร

วิธีทำ. ให้ y = loga x ดังนั้น x = ay หาอนุพันธ์เทียบ x ทั้งสองข้างจะได้


dx d y
dx
=
dx
a ; y เป็นฟังก์ชันของ x ต้องใช้กฎลูกโซ่
dy
1 = ay ln a
dx
dy
1 = x ln a
dx
dy 1
=
dx x ln a

dy
ตัวอย่าง 2.27 กำหนดให้ y = 2ex + 2x log10 x จงหา dx
90 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ.
dy d x d x
= 2e + 2 log10 x
dx dx  dx 
x x d d x
= 2e + 2 log10 x + log10 x 2
dx dx
1
= 2ex + 2x + log10 x (2x ln 2)
x ln 10

จากกฎลูกโซ่ เราสามารถเขียนทฤษฎีบท 2.8.1 เพื่อหาอนุพันธ์ที่อยู่ในรูป u ซึ่งเป็นฟังก์ชันในรูป


ของ x ได้เป็น

ทฤษฎีบท 2.8.2 สำหรับจำนวนจริง a > 0 และ a ̸= 1 และ u เป็นฟังก์ชันของ x จะได้


1. d
ln u = 1 du
งล ์ วาน 2. d
loga u = 1 du
เรอื ่ วงษ
dx u dx dx u ln a dx
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
3. งท 4.
: ต มศกั ับรา่

d u
dx e = eu du
dx
d u
dx a = au ln a du
dx
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dy
ตัวอย่าง 2.28 กำหนดให้ y = e2x ln(x2 + 1) + 3sin x จงหา dx
วิธีทำ. ให้ u = x2 + 1 และ v = sin x
dy d 2x
= e ln u + 3v
dx dx
.

d 2x d d
ดร

= e ln u + 3v sin x
dx dv dx
d d d d d
= e2x ln u u + ln u e2x + 3v sin x
du dx dx dv dx
1
= e2x 2x + ln u2e2x + 3v ln 3 cos x
u
1
= 2xe2x 2 + 2 ln (x2 + 1)e2x + 3sin x ln 3 cos x
(x + 1)

ตัวอย่าง 2.29 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


1. f (x) = πex + e ln x 2. f (x) = x2 ln (3x + 5)

3. f (x) = ln (sec 5x) 4. f (x) = ln (5 sin x)


2.8. อนุพันธ์ของฟังก์ชันลอการิทึม และเอกซ์โปเนนเชียล 91
1+x
5. f (x) = e2 cos x+ln x 6. f (x) = ln
x2 − 1

วิธีทำ. 1.
d d d
(πex + e ln x) = (πex ) + (e ln x)
dx dx dx
dx 1
= πex + e( )
dx x
x e
= πe +
x

2.

งล ์ วาน
d 2 d d
(x ln (3x + 5)) = x2 ln (3x + 5) + ln (3x + 5) x2
dx dx
  dx
1 d
เรอื ่ วงษ
2
=x (3x + 5) + ln (3x + 5) (2x)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
3x + 5 dx
 
งท
: ต มศกั ับรา่

2 1
=x (3) + ln (3x + 5) (2x)
3x + 5
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

 
3x
=x + 2 ln (3x + 5)
3x + 5

3.
d 1 d
.

(ln (sec 5x)) = (sec 5x)


ดร

dx sec 5x dx
1 d
= (sec 5x tan 5x) 5x
sec 5x dx
= 5 tan 5x

4.
d 1 d
(ln(5 sin x)) = (5 sin x)
dx 5 sin x dx
1
= (5 cos x)
5 sin x
cos x
=
sin x
= cot x
92 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5.
d 2 cos x+ln x d
(e ) = e2 cos x+ln x (2 cos x + ln x)
dx dx
2 cos x+ln x 1
=e (2(− sin x) + )
x
1
= e2 cos x eln x (−2 sin x + )
x
1
=e 2 cos x
(x)( − 2 sin x)
x
=e 2 cos x
(1 − 2x sin x)

6.
    
d 1+x 1 d 1+x
ln =
dx x2 − 1 1 + x dx x2 − 1

งล ์ วาน
x2 − 1  
1 d 1+x
=
เรอื ่ วงษ
1+x dx (x − 1)(x + 1)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
(x − 1)(x + 1)
งท  
: ต มศกั ับรา่

d 1
= (x − 1)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dx x − 1
 
−1
= (x − 1)
(x − 1)2
1
=−
x−1
1
=
1−x
.
ดร
2.9. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = u(x)v(x) 93

2.9 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = u(x)v(x)


บางครั้งโจทย์ที่เราเจอไม่ได้อยู่ในรูปเอกซ์โปเนนเชียล ซึ่งเป็นเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนจริง
แต่อยู่ในรูป u(x)v(x) หรือก็คือ (ก้อนของ x)ก้อนของ x วิธีการทำโจทย์ประเภทนี้คือ เทคลอการิทึม
เข้าไปทั้งสองข้าง จัดรูป แล้วดิฟทั้งสองข้าง

ข้อสังเกต ในการจัดรูปเราต้องใช้สมบัติต่าง ๆ ของฟังก์ชันลอการิทึม ซึ่งคือ

1. ln AB = B ln A เราสามารถตบกำลังของตัวในล็อกลงมาข้างหน้าได้
2. ln(AB) = ln A + ln B ล็อกข้างในคูณกัน แยกเป็นล็อกบวกกัน
 

งล ์ วาน
A
3. ln
B
= ln A − ln B
เรอื ่ วงษ ล็อกข้างในหารกัน แยกเป็นล็อกลบกัน
ln(A + B) ̸= ln A + ln B ระวัง** ล็อกข้างในบวกกัน แยกไม่ได้นะ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
4.
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ก่อนจะไปดูโจทย์อนุพันธ์ u(x)v(x) ขอให้ทุกคนดูตัวอย่างตัวอย่างนี้ก่อนนะครับ จะได้ไม่สับสน

d
ตัวอย่าง 2.30 จงหาอนุพันธ์ dx (ln y)
.
ดร

วิธีทำ. ทุกคน อย่าสับสนนะครับ y เป็นฟังก์ชันของ x นะ (มอง y เป็นก้อนของ x) เช่น y = 3x2 +1


d
ดังนั้นเมื่อเราหา dx (ln y) เราจะต้องมีการใช้กฎลูกโซ่ ดิฟไส้ด้วย ดังนั้นจะได้ว่า

d d(ln y) dy 1 dy
(ln y) = · =
dx dy dx y dx

dy
สังเกตว่าเราต้องมีก้อน dx มาคูณด้วยเสมอ อย่าลืมนะครับ!

ตัวอย่าง 2.31 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน y = (x2 + 1)sin x


94 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ. ข้อนี้เห็นชัดว่าเป็น (ก้อนของ x)ก้อนของ x ดังนั้นขั้นแรก เทคล็อกเข้าไปทั้งสองข้าง จะได้ว่า

ln y = ln(x2 + 1)sin x
ln y = (sin x)(ln(x2 + 1)) ; ln AB = B ln A
d d
dx
(ln y) =
dx
[(sin x)(ln(x2 + 1))] ; ดิฟทั้งสองข้าง
1 dy d d
y dx
= (sin x) ln(x2 + 1) + [ln(x2 + 1)] (sin x)
dx dx
; ดิฟผลคูณ
 
1 d 2
= (sin x) 2
x + 1 dx
(x + 1) + [ln(x2 + 1)](cos x) ; มอง u = x2 + 1
 
1
= (sin x) 2 (2x) + [ln(x2 + 1)](cos x)
x +1
2x(sin x)

งล ์ วาน
= 2+1
+ [ln(x2 + 1)](cos x)
x
 
dy 2x(sin x) 2
เรอื ่ วงษ
=y + [ln(x + 1)](cos x)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dx x2 + 1
 
งท
: ต มศกั ับรา่

sin x 2x(sin x)
2
= (x + 1)
x2 + 1
2
+ [ln(x + 1)](cos x) ; มอง y จากโจทย์
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 2.32 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


.
ดร

√ √
1. y = (x2 + x + 5) x2 +2 2. 3
y = ( x2 + 1)(x +2x+1)

s
(x + 1)(2 − x2 ) √
3. y= √
x(3x − 1)2
4. 2
y = (cos( x2 + 1))(x +1)

s
x(x − 1)(x + 3)
5. y = (tan(2x +
2
1))ln(1+x ) 6. y= 3
(x + 1)(x − 5)
2.9. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = u(x)v(x) 95

วิธีทำ.


1. ln y = ln(x2 + x + 5) x +2
2

p
ln y = ( x2 + 2) ln(x2 + x + 5)
d d p 2 
(ln y) = ( x + 2) ln(x2 + x + 5)
dx dx    
1 dy p 2x + 1 x
= x +22 + ln(x + x + 5) √
2
y dx x2 + x + 5 x2 + 2
" √ #
dy (2x + 1) x2 + 2 x ln(x2 + x + 5)

งล ์ วาน
=y +
dx x2 + x + 5 x2 + 2
" √ #
dy √ (2x + 1) x 2+2 x ln(x 2 + x + 5)
เรอื ่ วงษ
2
= (x2 + x + 5) x +2 √
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
+
dx x2 + x + 5 x2 + 2
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร

p
2. ln y = ln( x2 + 1)(x
3 +2x+1)

1
ln y = (x3 + 2x + 1) ln(x2 + 1) 2
 
d d 3 1 2
(ln y) = (x + 2x + 1) ln(x + 1)
dx dx 2
   
1 dy 1 3 2x 2 2
= (x + 2x + 1) + ln(x + 1)(3x + 2)
y dx 2 x2 + 1
 
dy y 2x(x3 + 2x + 1) 2 2
= + ln(x + 1)(3x + 2)
dx 2 x2 + 1
√ 3  
dy ( x2 + 1)(x +2x+1) 2x(x3 + 2x + 1) 2 2
= + ln(x + 1)(3x + 2)
dx 2 x2 + 1
96 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
 1
(x + 1)(2 − x2 ) 2
3. ln y = ln √
x(3x − 1)2
 
1 (x + 1)(2 − x2 )
ln y = ln √
2 x(3x − 1)2
  
d d 1 (x + 1)(2 − x2 )
(ln y) = ln √
dx dx 2 x(3x − 1)2
1 dy 1 d  √ 
= ln (x + 1)(2 − x2 ) − ln x(3x − 1)2
y dx 2 dx
1 dy 1 d √ 
= ln(x + 1) + ln(2 − x2 ) − ln( x) − 2 ln(3x − 1)
y dx 2 dx
 
1 dy 1 1 2x 1 6
= − − −
y dx 2 x + 1 2 − x2 2x 3x − 1
 
dy y 1 2x 1 6
= − − −
dx 2 x + 1 2 − x2 2x 3x − 1
s

งล ์ วาน
 
dy 1 (x + 1)(2 − x2 ) 1 2x 1 6
= √ − − −
dx 2 x(3x − 1)2 x + 1 2 − x2 2x 3x − 1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร

p
4. ln y = ln(cos(
2
x2 + 1))(x +1)
p
ln y = (x2 + 1) ln(cos( x2 + 1))
d d  2 p 
(ln y) = (x + 1) ln(cos( x2 + 1))
dx dx √
1 dy − sin( x2 + 1)x p
2
= (x + 1) √ √ + ln(cos( x2 + 1))(2x)
y dx cos( x2 + 1) x2 + 1

1 dy x(x2 + 1) sin( x2 + 1) p
=−√ √ + 2x ln(cos( x2 + 1))
y dx x2 + 1 cos( x2 + 1)
" √ #
dy x(x2 + 1) sin( x2 + 1) p
= −y √ √ + 2x ln(cos( x2 + 1))
dx x2 + 1 cos( x2 + 1)
" √ #
dy p 2 +1) x(x 2 + 1) sin( x2 + 1) p
= −(cos( x2 + 1) (x
√ √ + 2x ln(cos( x2 + 1))
dx x2 + 1 cos( x2 + 1)
2.9. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = u(x)v(x) 97

5. ln y = ln(tan(2x + 1))ln(1+x
2)

ln y = ln(1 + x2 ) ln(tan(2x + 1))


d d 
(ln y) = ln(1 + x2 ) ln(tan(2x + 1))
dx dx
1 dy 2 sec2 (2x + 1) 2x
= ln(1 + x2 ) + ln(tan(2x + 1))
y dx tan(2x + 1) 1 + x2
 
dy 2 ln(1 + x2 ) sec2 (2x + 1) 2x ln(tan(2x + 1))
=y +
dx tan(2x + 1) 1 + x2
 
dy 2 2 ln(1 + x2 ) sec2 (2x + 1) 2x ln(tan(2x + 1))
= (tan(2x + 1))ln(1+x ) +
dx tan(2x + 1) 1 + x2

 1
x(x − 1)(x + 3) 3
6. ln y = ln
(x + 1)(x − 5)
 

งล ์ วาน
1 x(x − 1)(x + 3)
ln y = ln
3 (x + 1)(x − 5)
  
เรอื ่ วงษ
x(x − 1)(x + 3)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1 dy d 1
= ln
(x + 1)(x − 5)
y dx dx 3
งท
: ต มศกั ับรา่

1 dy 1 d
= (ln(x(x − 1)(x + 3)) − ln((x + 1)(x − 5)))
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

y dx 3 dx
1 dy 1 d
= (ln x + ln(x − 1) + ln(x + 3) − ln(x + 1) − ln(x − 5))
y dx 3 dx
 
1 dy 1 1 1 1 1 1
= + + − −
y dx 3 x x−1 x+3 x+1 x−5
 
dy y 1 1 1 1 1
= + + − −
dx 3 x x−1 x+3 x+1 x−5
.

s
ดร

 
dy 1 3 x(x − 1)(x + 3) 1 1 1 1 1
= + + − −
dx 3 (x + 1)(x − 5) x x − 1 x + 3 x + 1 x − 5
98 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.10 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง
ในหัวข้อ นี้ เราจะพิจารณาอนุพันธ์ ของฟังก์ชัน แฝงซึ่ง เป็น ฟังก์ชัน ที่ มี ทั้ง y และ x ในทางด้าน
ซ้ายของสมการที่กำหนดฟังก์ชัน

บทนิยาม 2.10.1 เราจะเรียกฟังก์ชัน ตัวแปรเดียวในรูป y = f (x) ว่าฟังก์ชัน ชัด แจ้ง (Ex­


plicit function) และเรียกฟังก์ชันตัวแปรเดียวในรูป f (x, y) = c โดยที่ y เป็นฟังก์ชันของ x
ว่าฟังก์ชันแฝง หรือฟังก์ชันโดยปริยาย (Implicit function)

ตัวอย่าง 2.33 ลองดูตัวอย่างฟังก์ชันชัดแจ้งและฟังก์ชันแฝงต่อไปนี้นะครับ

งล ์ วาน
1. y = 3x + 5 เรอื ่ วงษ เป็นฟังก์ชันชัดแจ้ง
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2. 2xy + exy = 2 cos y เป็นฟังก์ชันแฝง
งท
: ต มศกั ับรา่

3. y = xx2 −
2 1 เป็นฟังก์ชันชัดแจ้ง
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

+1

4. 4y + tan x = ex + 3y เป็นฟังก์ชันแฝง

5. y = ex − tan x เป็นฟังก์ชันชัดแจ้ง
.

dy
ดร

การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง (หา dx ) สามารถทำได้โดยการจัดรูปของสมการ แปลงฟังก์ชัน


แฝงให้กลายเป็นฟังก์ชันชัดแจ้งที่เราคุ้นเคย แล้วหาอนุพันธ์แบบปกติ เช่นตัวอย่างด้านบน ฟังก์ชัน
แฝงในข้อ 4. สามารถแปลงเป็นฟังก์ชันชัดแจ้งในข้อ 5. ได้
อย่างไรก็ตาม บางครั้งมันยากที่เราจะแปลงฟังก์ชันแฝงเป็นฟังก์ชัดแจ้ง อย่างเช่นข้อ 2. ถ้าเรา
จะแปลงเป็นฟังก์ชันชัดแจ้งรับรองว่าเหนื่อยแน่นอน ดังนั้น

JUM!!! เทคนิค ในการหาอนุพันธ์ dy


dx ของฟังก์ชัน แฝง คือ ให้หาอนุพันธ์ ทั้ง สองข้างของ
สมการเทียบกับ x แล้วจัดรูปหา dx
dy

dy
ตัวอย่าง 2.34 จงหา dx เมื่อ x2 + 2xy + y2 = 5
2.10. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง 99

dy
วิธีทำ. ข้อนี้เห็นชัดว่าเป็นฟังก์ชันแฝง เราหา dx โดยหาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการ จะได้

d 2 d
dx
(x + 2xy + y 2 ) =
dx
(5) ; ดิฟทั้งสองข้าง
d 2 d d 2
x + 2 (xy) + y =0
dx dx dx
dy dx d 2
2x + 2(x
dx
+y )+
dx dx
y =0 ; ดิฟผลคูณ หน้า = x, หลัง = y
dy dy dy
2x + 2(x
dx
+ y) + 2y
dx
=0 ; กฎลูกโซ่ ต้องคูณไส้ dx ด้วย
dy dy
2x + 2x + 2y + 2y =0
dx dx
dy dy
2x + 2y = −2x − 2y
dx dx
dy

งล ์ วาน
(2x + 2y) = −2x − 2y
dx
dy −2(x + y)
เรอื ่ วงษ
=
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dx (2x + 2y)
งท
−2(x + y)
: ต มศกั ับรา่

=
2(x + y)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= −1

dy
ตัวอย่าง 2.35 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้ (หา dx )
.
ดร

1. xy 2 + y 2 − 4 = x2 y 2 2. x2 + 2x2 y 2 + 2xy = y 2

3. y 5 + x3 y 4 = 1 + yex
2
4. cos xy = ex

5. ln x2 + sin (x − y) = xey 6. 4y + tan x = ex + 3y

dy
วิธีทำ. เห็นชัดว่าทุกข้อเป็นฟังก์ชันแฝง เราหา dx โดยหาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการ จะได้
100 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

1.

d d 2 2
(xy 2 + y 2 − 4) = (x y )
dx dx
d 2 d 2 d d d
xy + (y ) − (4) = x2 (y 2 ) + y 2 (x2 )
dx
 dx  dx dx dx
dy 2 dy dy
x(2y) + y + 2y = x2 (2y) + y 2 (2x)
dx dx dx
 dy
2xy + 2y − 2x2 y = 2xy 2 − y 2
dx
dy 2xy 2 − y 2
=
dx 2xy + 2y − 2x2 y

งล ์ วาน
2xy − y
เรอื ่ วงษ =
2 + 2x − 2x2
; y ̸= 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2.
.
ดร

d 2 d 2
(x + 2x2 y 2 + 2xy) = (y )
 dx
   dx
d d dy dx dy
2x + 2 x2 (y 2 ) + y 2 (x2 ) + 2 x +y = 2y
dx dx dx dx dx
 
2 dy 2 dy dy
2x + 2 x (2y) + y (2x) + 2x + 2y = 2y
dx dx dx
dy dy dy
2x + 4x2 y + 4xy 2 + 2x + 2y = 2y
dx dx dx
 dy
4x2 y + 2x − 2y = −2x − 4xy 2 − 2y
dx
dy −2x − 4xy 2 − 2y
=
dx 4x2 y + 2x − 2y
−x − y − 2xy 2
=
x − y + 2x2 y
2.10. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง 101

3.

d 5 d 2
(y + x3 y 4 ) = (1 + yex )
 dx  dx  
4 dy 3 d 4 4 d d 2 2 dy
5y + x (y ) + y (x ) = 0 + y (ex ) + ex
3
dx dx dx dx dx
dy dy 2 d 2 dy
5y 4 + x3 (4y 3 ) + y 4 (3x2 ) = y(ex (x2 )) + ex
dx dx dx dx
4 dy 3 3 dy 2 4 x2 x2 dy
5y + 4x y + 3x y = 2xye + e
dx dx dx
 2
 dy 2
5y 4 + 4x3 y 3 − ex = 2xyex − 3x2 y 4
dx
2
2xyex − 3x2 y 4

งล ์ วาน
dy
= 4
dx 5y + 4x3 y 3 − ex2
2
xy(2ex − 3xy 3 )
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
=
−ex2 + y 3 (4x3 + 5y)
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

4.
.
ดร

d d x
(cos xy) = (e )
dx dx
d
− sin xy (xy) = ex
 dx 
dy dx
− sin xy x +y = ex
dx dx
dy ex
x +y =
dx − sin xy
ex
−y
dy − sin xy
=
dx  xx 
e csc xy + y
=−
x
102 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5.
d d
(ln x2 + sin(x − y)) = (xey )
dx dx
1 d 2 d d dx
2
(x ) + cos(x − y) (x − y) = x (ey ) + ey
x dx dx dx dx
2 dy y dy
+ cos(x − y)(1 − ) = xe +e y
x dx dx
2 dy dy
+ cos(x − y) − cos(x − y) = xey + ey
x dx dx
dy 2
(xey + cos(x − y)) = + cos(x − y) − ey
dx x
2
dy + cos(x − y) − ey
= x
dx xey + cos(x − y)
2 + x cos(x − y) − xey

งล ์ วาน
=
เรอื ่ วงษ x (xey + cos(x − y))
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
6.
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d d x
(4y + tan x) = (e + 3y)
dx dx
dy dy
4 + sec2 x = ex + 3
dx dx
dy
= e − sec2 x
x
dx
.
ดร

dy dx
สำหรับฟังก์ชันบางฟังก์ชัน การหา dx
นั้นทำได้ยุ่งยาก บางครั้งเราอาจจะหา dy
แทนและใช้
dy
ทฤษฎีบทด้านล่างเพื่อหา dx

ทฤษฎีบท 2.10.2 สำหรับฟังก์ชัน f ที่มีฟังก์ชันผกผัน และต่อเนื่องบนช่วงเปิด I ถ้า f ′ (a)


หาค่าได้และไม่เท่ากับศูนย์สำหรับ a ∈ I และ f (a) = c แล้ว (f −1 )′ (c) หาค่าได้ และ
1
(f −1 )′ (c) =
f ′ (a)
2.10. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง 103

JUM!!! จะเห็นว่าทฤษฎีบท 2.10.2 นั้นค่อนข้างจะเข้าใจยาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เราต้องการ


จากทฤษฎีบท 2.10.2 คือสมบัติว่า
dx 1
=
dy dy
dx

นั่นคือ dx
dy
เป็ น ส่ ว นกลั บ ของ dy
dx

dy
ตัวอย่าง 2.36 ให้ y = 2x3 − 5 จงหา dx และ dx

งล ์ วาน
dy
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

dy
วิธีทำ. ขั้นแรกหา dx จะได้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dy
= 6x2
dx
dx 1
ดังนั้น dy
=
dy
.

dx
ดร

1
= 2
6x

p dy
ตัวอย่าง 2.37 ให้ x = y2 − 1 จงหา dx

วิธีทำ. ข้อนี้จริง ๆ จะหาอนุพันธ์ตลอดสมการเทียบกับ x ก็ได้ แต่จะสังเกตว่าทางขวาของสมการหา


104 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

อนุพันธ์ค่อนข้างยุ่ง ดังนั้นเราจะหา dx
dy
ก่อนแทน

ยกกำลังสอง x2 = y 2 − 1 ;x≥0
d 2 d 2
ดิฟตลอดสมการเทียบ y dy
(x ) =
dy
(y − 1)
dx d 2
2x
dy
=
dy
(y − 1) ; กฎลูกโซ่, x เป็นไส้เพราะดิฟเทียบ y
= 2y
dx 2y
=
dy 2x
y
=
x
dy 1
ดังนั้น =

งล ์ วาน
dx dx
dy
1
เรอื ่ วงษ
=
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
y/x
งท
: ต มศกั ับรา่

x 1 b
=
y
; a/b = นะ
a
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 2.38 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


p
1. 2.
.

x= 3y 2 − 2y ln x = yey + x
ดร

3. x2 = 3 tan(2y − 1) 4. x = ln cos(xy)

วิธีทำ. 1.

x2 = 3y 2 − 2y
dx
2x = 6y − 2
dy
dx 6y − 2
=
dy 2x
dy 2x
ดังนั้น dx
=
6y − 2
2.10. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันแฝง 105

2.

d d
(ln x) = (yey + x)
dy dy
1 dx d d dx
= y (ey ) + ey (y) +
x dy dy dy dy
 
1 dx
−1 = yey + ey
x dy
dx ey (y + 1)
=
dy 1
−1
x
dx xey (y + 1)

งล ์ วาน
=
dy 1−x
dy 1−x
ดังนั้น
เรอื ่ วงษ
= y
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dx xe (y + 1)
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3.
.
ดร

d 2 d
(x ) = (3 tan(2y − 1))
dy dy
dx d
2x = 3 sec2 (2y − 1) (2y − 1)
dy dy
dx
2x = 6 sec2 (2y − 1)
dy
dx 3 sec2 (2y − 1)
=
dy x
dy x
ดังนั้น dx
=
3 sec (2y − 1)
2

1
= x cos2 (2y − 1)
3
106 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

4.
dx d
= (ln cos(xy))
dy dy
dx 1 d
= (cos(xy))
dy cos(xy) dy
dx 1 d
= (− sin(xy) (xy))
dy cos(xy) dy
dx dx
= − tan(xy)(x + y )
dy dy
dx
(1 + y tan(xy)) = −x tan(xy)
dy
dx −x tan(xy)
=
dy 1 + y tan(xy)
dy 1 + y tan(xy)
ดังนั้น =−

งล ์ วาน
dx x tan(xy)
y + cot(xy)
=−
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง
x

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
2.11. อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม 107

2.11 อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม
นอกจากฟังก์ชันชัดแจ้ง และฟังก์ชันแฝง ซึ่งเราหาอนุพันธ์เป็นแล้วจากบทก่อนหน้านี้ ในหัวข้อ
นี้เราจะมาดูฟังก์ชันอีกรูปแบบที่เรียกว่า สมการอิงตัวแปรเสริม (Parametric equation)

บทนิยาม 2.11.1 สมการอิง ตัวแปรเสริม คือ สมการที่ อยู่ ในรูป x = f (t) และ y = g(t)
โดยตัวแปร t จะถูกเรียกว่าตัวแปรเสริม

ตัวอย่าง 2.39 พิจารณาฟังก์ชันอิงตัวแปรเสริมต่อไปนี้


1. x = cos(t) และ y = sin(t) เมื่อ t ∈ R
2. และ y = 1 − cos(t) เมื่อ t ∈ R

งล ์ วาน
x = et + 3t − 5

ข้อสังเกต สมการอิงตัวแปรเสริมสามารถแปลงเป็นฟังก์ชันแฝงได้ เช่นตัวอย่างข้อที่ 1. ด้านบน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
เราจะเห็นว่า x2 + y2 = cos2 (t) + sin2 (t) = 1 (เอกลักษณ์ตรีโกณ จำได้นะ!) ดังนั้นเราจะได้ว่า
งท
: ต มศกั ับรา่

ฟังก์ชันอิงตัวแปรเสริม x = cos(t) และ y = sin(t) เมื่อ t ∈ R คือฟังก์ชันเดียวกับฟังก์ชันแฝง


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x2 + y 2 = 1

เนื่องจากสมการอิง ตัวแปรเสริม สามารถแปลงเป็น ฟังก์ชัน แฝงได้ ดัง นั้น การหาอนุพันธ์ ของ


สมการอิงตัวแปรเสริม สามารถทำได้โดยการแปลงเป็นฟังก์ชันแฝงก่อน แล้วจึงไปหาอนุพันธ์โดยใช้
ความรู้ ในหัวข้อ 2.10 อย่างไรก็ตามบางครั้ง มัน ไม่ ง่ายที่ จะแปลงสมการอิง ตัวแปรเสริม เป็น ฟังก์ชัน
แฝง เราสามารถใช้ทฤษฎีบทด้านล่างมาช่วย
.
ดร

ทฤษฎีบท 2.11.2 สำหรับสมการอิงตัวแปรเสริม x = f (t) และ y = g(t) จะได้ว่า


dy dy/dt
=
dx dx/dt

ข้อสังเกต สูตรในทฤษฎีบท 2.11.2 มาจากกฎลูกโซ่ (มอง u = t)


dy dy dt
= ·
dx dt dx
จากสูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันผกผัน
dt 1
=
dx dx
dt
108 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ดังนั้น
dy dy dt dy 1 dy/dt
= · = · =
dx dt dx dt dx dx/dt
dt

JUM!!! สำหรับโจทย์ สมการอิงตัวแปรเสริม


1. หา dy
dt
และ dx
dt
dy dy dy/dt
2. หา dx จากสูตร dx =
dx/dt

สำหรับสูตรนี้ เราอาจจะจำง่าย ๆ ว่า dt จากเศษและส่วนตัดกันไปก็ได้ (แต่จริง ๆ แล้วมันไม่ใช่นะ)

ตัวอย่าง 2.40 กำหนดสมการอิงตัวแปรเสริม x = cos(t) และ y = sin(t) เมื่อ t ∈ R จงหา

งล ์ วาน
dy
dx
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. 1. หา dy และ dx
จะได้ งท
: ต มศกั ับรา่

dt dt
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dy dx
= cos(t) = − sin(t)
dt dt
dy
2. หา dx จะได้
dy dy/dt cos(t)
= = = − cot(t)
dx dx/dt − sin(t)
.
ดร

ข้อสังเกต ในการหาอนุพันธ์อันดับสอง (ดิฟ 2 ครั้ง) ของสมการอิงตัวแปรเสริมสามารถทำได้


dy dy/dt
ในทำนองเดียวกัน นั่นคือเราต้องหา dx =
dx/dt
ก่อน แล้วเราจึงหา
 
d dy
 
d2 y d dy dt dx
2
= =
dx dx dx dx
dt
สำหรับอนุพันธ์อันดับสูงกว่าสอง ก็สามารถทำได้ในลักษณะเดียวกัน
ตัวอย่าง 2.41 กำหนดสมการอิงตัวแปรเสริม x = 2 − cos(t) และ y = et เมื่อ t ∈ R จงหา
dy d2 y d3 y
, ,
dx dx2 dx3
dy
วิธีทำ. 1. เริ่มจากหา dx จากการหา dy
dt
และ dx
dt
2.11. อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม 109

dy dx
= et = sin t
dt dt

ดังนั้นจะได้ว่า
dy dy/dt et
= =
dx dx/dt sin t
 
d2 y
2. หา dx2 จากการหา dt dx และ dx
d dy
dt
  
d dy et sin t − et cos t dx
= = sin t
dt dx sin2 t dt

ดังนั้นจะได้ว่า
 

งล ์ วาน
d dy
d2 y dt dx et sin t − et cos t
= =
dx2 dx sin3 t
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dt
งท
: ต มศกั ับรา่

 
d3 y d d2 y
3. หา จากการหา และ dx
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dx3 dt dx2 dt

  d t   d
d d2 y sin3 t e sin t − et cos t − et sin t − et cos t sin3 t
dt dt
= 2
dt dx2 sin3 t
= et (2 − 3 cot(t) + 3 cot2 (t)) csc2 (t)
.
ดร

dx
= sin t
dt
ดังนั้นจะได้ว่า
 
d d2 y
d3 y dt dx2
= = et (2 − 3 cot(t) + 3 cot2 (t)) csc3 (t)
dx3 dx
dt

ตัวอย่าง 2.42 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


1 1
1. x = t2 , y = et + t3 − 3t 2. x = t2 + 1, y = t3 − t
2 3
110 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

3. x = t − 2 sin t, y = 3 − 2 cos t 4. x = et + 3t − 5, y = 1 − cos t

5. x = sec2 t, y = ln tan t 6. x = e−t cos t, y = et sin t

วิธีทำ. 1. เริ่มจากการหา dy
dt
และ dx
dt
dy dx
= et + 3t2 − 3 = 2t
dt dt

ดังนั้นจะได้ว่า
dy dy/dt et + 3t2 − 3
= =
dx dx/dt 2t

2. เริ่มจากการหา dy
dt
และ dx
dt

งล ์ วาน
dy dx
= t2 − 1 =t
dt dt
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ดังนั้นจะได้ว่า
งท
: ต มศกั ับรา่

dy dy/dt t2 − 1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= =
dx dx/dt t

3. เริ่มจากการหา dy
dt
และ dx
dt
dy dx
= 2 sin t = 1 − 2 cos t
dt dt
.

ดังนั้นจะได้ว่า
ดร

dy dy/dt 2 sin t
= =
dx dx/dt 1 − 2 cos t

4. เริ่มจากการหา dy
dt
และ dx
dt
dy dx
= sin t = et + 3
dt dt

ดังนั้นจะได้ว่า
dy dy/dt sin t
= = t
dx dx/dt e +3

5. เริ่มจากการหา dy
dt
และ dx
dt
2.11. อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม 111

dy dx
= cot t sec2 t = csc t sec t = 2 sec2 t tan t
dt dt

ดังนั้นจะได้ว่า
dy dy/dt csc t sec t 1
= = 2
= cot2 t
dx dx/dt 2 sec t tan t 2

6. เริ่มจากการหา dy
dt
และ dx
dt

dy
= et cos t + et sin t = et (sin t + cos t)
dt
dx
= −e−t sin t − e−t cos t = −e−t (sin t + cos t)

งล ์ วาน
dt
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ดังนั้นจะได้ว่า งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dy dy/dt et (sin t + cos t)


= = = −e2t
dx dx/dt −e−t (sin t + cos t)
.
ดร
112 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.12 อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน

บทนิยาม 2.12.1 ฟังก์ชันผกผันของ sin x เขียนแทนด้วย arcsin x หรือ sin−1 x นิยามโดย


π π
y = arcsin x ก็ต่อเมื่อ x = sin y โดยที่ −1 ≤ x ≤ 1 และ − ≤ y ≤
2 2

บทนิยาม 2.12.2 ฟังก์ชันผกผันของ cos x เขียนแทนด้วย arccos x หรือ cos−1 x นิยามโดย


y = arccos x ก็ต่อเมื่อ x = cos y โดยที่ −1 ≤ x ≤ 1 และ 0 ≤ y ≤ π

Y
งล ์ วาน Y
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
π b π
b

งท
: ต มศกั ับรา่

y = arcsin x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

π y = arccos x
X 2
−1 0 1

− π2
b
X
−1
b
0 1
.
ดร

บทนิยาม 2.12.3 ฟังก์ชันผกผันของ tan x เขียนแทนด้วย arctan x หรือ tan−1 x นิยามโดย


π π
y = arctan x ก็ต่อเมื่อ x = tan y โดยที่ −∞ < x < ∞ และ − < y <
2 2

บทนิยาม 2.12.4 ฟังก์ชันผกผันของ cot x เขียนแทนด้วย arccot x หรือ cot−1 x นิยามโดย


y = arccot x ก็ต่อเมื่อ x = cot y โดยที่ −∞ < x < ∞ และ 0 < y < π
2.12. อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 113
Y Y

π
π
2

y = arctan x
π
X 2
0
y = arccot x

X
0
− π2

งล ์ วาน
บทนิยาม 2.12.5 ฟังก์ชันผกผันของ sec x เขียนแทนด้วย arcsec x หรือ sec−1 x นิยามโดย
  
y = arcsec x ก็ต่อเมื่อ x = sec y โดยที่ |x| ≥ 1 และ y ∈ 0, π2 ∪ π2 , π
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

บทนิยาม 2.12.6 ฟังก์ชัน ผกผัน ของ cosec x เขียนแทนด้วย arccosec x หรือ cosec−1 x
  
นิยามโดย y = arccosec x ก็ต่อเมื่อ x = cosec y โดยที่ |x| ≥ 1 และ y ∈ − π2 , 0 ∪ 0, π2

Y Y
b
π
.

π b
ดร

y = arccosec x
π
2
X
−1 0 1
y = arcsec x

b
X b
− π2
−1 0 1

ในหัวข้อนี้ เราจะพิจารณาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน (ดูนิยามที่ท้ายบทนี้นะครับ)


114 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ทฤษฎีบท 2.12.7 ให้ u เป็นฟังก์ชันของ x จะได้


d 1 du
1. (arcsin u) = √ , −1 < u < 1.
dx 1 − u2 dx
d −1 du
2. (arccos u) = √ , −1 < u < 1.
dx 1 − u2 dx
d 1 du
3. dx
(arctan u) =
1 + u2 dx
, u ∈ R.

d −1 du
4. dx
(arccot u) =
1 + u2 dx
, u ∈ R.

d 1 du
5. (arcsec u) = √ , |u| > 1.
dx |u| u − 1 dx
2

−1

งล ์ วาน
d du
6. (arccosec u) = √ , |u| > 1.
dx |u| u − 1 dx
2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
√  dy
ตัวอย่าง 2.43 กำหนดให้ y = arcsin งท x2 − 5 จงหา dx
: ต มศกั ับรา่


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. ถ้า เรามอง u = x2 − 5 จะได้ ว่า y = arcsin (u) ซึ่ง เราสามารถใช้ สูตรพื้น ฐานใน
ทฤษฎีบท 2.12.7
dy d
= (arcsin u)
dx dx
1 du
=√
1 − u2 dx
.

d p 2 
ดร

1
= r √ 2 dx x −5
1− x −5
2

 
1 1 d 
=p √ x2 − 5
1 − (x − 5) 2 x − 5 dx
2 2

1 1
=√ √ (2x)
1 − x + 5 2 x2 − 5
2
x
=√ √
6 − x x2 − 5
2

ตัวอย่าง 2.44 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


1. y = arccos(3x2 ) 2. y = arcsin3 (2x2 + 1)
2.12. อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 115

3. y = arccot(3 sin x) 4. y = arctan2 (2 tan x)

5. y = arccos2 (x2 ) + x5 + 5 csc(−x) 6. arcsec(xy) + x5 y = 23 เมื่อ x, y > 0


วิธีทำ. 1. จาก y = arccos(3x2 ) มอง u = 3x2 จะได้
dy −1 d
=p (3x2 )
dx 1 − (3x )
2 2 dx
−1
=p (6x)
1 − (3x2 )2
−6x
=√
1 − 9x4

2. จาก y = arcsin3 (2x2 + 1) มอง u = 2x2 + 1 จะได้

งล ์ วาน
dy d
= 3 arcsin2 (2x2 + 1) (arcsin(2x2 + 1))
dx dx
1 d
เรอื ่ วงษ
= 3 arcsin2 (2x2 + 1) p (2x2 + 1)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1 − (2x + 1) dx
2 2
งท
: ต มศกั ับรา่

3 arcsin2 (2x2 + 1)
= p (4x)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1 − (2x2 + 1)2
12x arcsin2 (2x2 + 1)
= p
1 − (2x2 + 1)2

3. จาก y = arccot(3 sin x) มอง u = 3 sin x จะได้


dy −1 d
= (3 sin x)
.

dx 2
1 + (3 sin x) dx
ดร

−1
= (3 cos x)
1 + (3 sin x)2
−3 cos x
=
1 + 9 sin2 x

4. จาก y = arctan2 (2 tan x) มอง u = arctan(2 tan x) จะได้


dy d
= 2 arctan(2 tan x) (arctan(2 tan x))
dx dx
1 d
= 2 arctan(2 tan x) 2
(2 tan x)
1 + (2 tan x) dx
1
= 2 arctan(2 tan x) (2 sec2 x)
1 + (2 tan x)2
4 arctan(2 tan x) sec2 x
=
1 + 4 tan2 x
116 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5. จาก y = arccos2 (x2 ) + x5 + 5 csc(−x) ดิฟ แยก ที ละ พจน์ พจน์ แรก มอง
u1 = arccos(x2 ) พจน์สุดท้ายมอง u2 = −x
dy d d
= 2 arccos(x2 ) (arccos(x2 )) + 5x4 + 5(− csc(−x) cot(−x)) (−x)
dx dx ! dx
−1 d
= 2 arccos(x2 ) p (x2 ) + 5x4 + 5(csc(−x) cot(−x))
1 − (x )
2 2 dx
−4x arccos(x2 )
= p + 5x4 + 5(csc(−x) cot(−x))
1 − (x2 )2
−4x arccos(x2 )
= p + 5x4 + 5(csc(x) cot(x))
1 − (x4 )

6. ข้อนี้ต้องหาอนุพันธ์โดยปริยาย นั่นคือเราดิฟเทียบ x ทั้งสองข้าง

งล ์ วาน
arcsec(xy) + x5 y = 23
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
d 
งท
: ต มศกั ับรา่

arcsec(xy) + x5 y = 0
dx
ลา่ รกั

1 d dy d
FB อุด ฉบ

p (xy) + x5 + y (x5 ) = 0
xy (xy)2 − 1 dx dx dx
 
1 dy dy
p x + y + x5 + 5x4 y = 0
xy (xy) − 1
2 dx dx
!
x dy y
p + x5 = −5x4 y − p
xy (xy)2 − 1 dx xy (xy)2 − 1
p ! p
.

1 + x5 y (xy)2 − 1 dy −5x4 xy (xy)2 − 1 − 1


ดร

p = p
y (xy)2 − 1 dx x (xy)2 − 1
p
dy −5x4 xy (xy)2 − 1 − 1  y 
= p
dx 1 + x5 y (xy)2 − 1 x
p
5x4 y 2 (xy)2 − 1 − 1
=− p
1 + x5 y (xy)2 − 1
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 117

2.13 การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์
ในหัวข้อนี้จะใช้ความรู้ของการหาอนุพันธ์มาประยุกต์เพื่อพิจารณาฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด จุด
สูงสุดและจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ ความเว้าและจุดเปลี่ยนเว้า เพื่อนำไปใช้ในการเขียนกราฟ

2.13.1 ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด

บทนิยาม 2.13.1 สำหรับฟังก์ชัน f ที่นิยามบนช่วง I และ x1 , x2 ∈ I


1. f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ถ้า f (x1 ) < f (x2 ) สำหรับทุก x1 < x2
2. f เป็นฟังก์ชันลด ถ้า f (x1 ) > f (x2 ) สำหรับทุก x1 < x2

งล ์ วาน
3. f เป็นฟังก์ชันคงที่ ถ้า f (x1 ) = f (x2 ) สำหรับทุก x1 , x2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ข้อสังเกต จะเห็น ว่า บทนิยาม 2.13.1 นั้น สมเหตุ สมผล เนื่องจากถ้า ฟังก์ชัน เป็น ฟังก์ชัน เพิ่ม
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ถ้า x2 มากกว่า x1 เราจะต้องได้ว่า f (x2 ) จะต้องมากกว่า f (x1 ) ในทางกลับกัน ถ้าฟังก์ชันเป็น


ฟังก์ชันลด ถ้า x2 มากกว่า x1 เราจะต้องได้ว่า f (x2 ) จะต้องน้อยกว่า f (x1 ) (ดูภาพประกอบนะ
ครับ) ถ้าฟังก์ชันเป็นฟังก์ชันคงที่ จะได้ว่า f (x) ไม่เปลี่ยนค่าสำหรับทุก ๆ ค่า x
.

Y Y Y
ดร

f (x2 ) f (x2 ) f (x2 )


f (x1 )
f (x1 ) f (x1 )

X X X
x1 x2 x1 x2 x1 x2

จากที่เรารู้แล้วว่าอนุพันธ์ของฟังก์ชัน ณ จุดใด ๆ จริง ๆ แล้วก็คือความชัน ณ จุดนั้น ดังนั้นเรา


จะได้ว่า
118 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ทฤษฎีบท 2.13.2 สำหรับฟังก์ชัน f ซึ่งต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และหาอนุพันธ์ได้บน (a, b)


1. ถ้า f ′ (x) > 0 ตลอดช่วง (a, b) แล้ว f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบน [a, b]
2. ถ้า f ′ (x) < 0 ตลอดช่วง (a, b) แล้ว f เป็นฟังก์ชันลดบน [a, b]
3. ถ้า f ′ (x) = 0 ตลอดช่วง (a, b) แล้ว f เป็นฟังก์ชันคงที่บน [a, b]

ข้อสังเกต ทบทวนความรู้ ม.ต้น วิธีดูความชันให้เราคิดว่ามีคนเดินจากทางด้านซ้ายของกราฟ


ไปทางด้านขวาของกราฟ จากกราฟด้านล่างจะเห็นว่า f1 , f2 , f3 มีความชัน (m) เป็นบวกเนื่องจาก
คนจะต้องเดินขึ้นเนินชัน และจะได้ว่า mf > mf > mf
1 2 3

สำหรับ f4 , f5 , f6 จะเห็น ว่า เหมือนเดิน ลงเนิน ดัง นั้น ความชัน จะติดลบ ยิ่ง เนิน ชัน มาก ก็ จะ
ยิ่ง ลบมาก ดัง นั้น mf < mf < mf สำหรับ f7 เสมือนกับ เดิน บนทางราบ ดัง นั้น mf = 0
6 5 4 7

งล ์ วาน
ทำนองเดียวกัน ความชันของ f8 หาค่าไม่ได้เพราะเหมือนเดินชนเจอกำแพง
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Y Y Y
งท
: ต มศกั ับรา่

f1 f8
f2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

f3 f7
X X X
f4
f5
f6

ความชันเป็นบวก ความชันเป็นลบ ความชันเป็น 0 และหาค่าไม่ได้


.
ดร

ตัวอย่าง 2.45 รูปด้านล่างแสดงกราฟของฟังก์ชัน f (x) = x2 , f (x) = x3 และ f (x) = ex


จากกราฟดังกล่าวจงบอกว่าแต่ละฟังก์ชันเป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลดบนช่วงใดบ้าง

Y Y Y

X X X

f (x) = x2 f (x) = x3 f (x) = ex


2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 119

วิธีทำ. 1. พิจารณากราฟของฟังก์ชัน f (x) = x2 จะได้ f ′ (x) = 2x


จะได้ว่า f ′ (x) > 0 บนช่วง (0, ∞) และ f ′ (x) < 0 บนช่วง (−∞, 0)
ดังนั้นจะได้ว่า f (x) เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง [0, ∞) และเป็นฟังก์ชันลดบนช่วง (−∞, 0]
2. พิจารณากราฟของฟังก์ชัน f (x) = x3 จะได้ f ′ (x) = 3x2
เนื่องจาก 3x2 > 0 เสมอ ดัง นั้น f ′ (x) > 0 บน ช่วง (−∞, ∞) นั่น คือ f (x)
เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (−∞, ∞)

3. พิจารณากราฟของฟังก์ชัน f (x) = ex จะได้ f ′ (x) = ex


เนื่องจาก ex > 0 เสมอ ดัง นั้น f ′ (x) > 0 บน ช่วง (−∞, ∞) นั่น คือ f (x)
เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (−∞, ∞)

ตัวอย่าง 2.46
งล ์ วาน
จงพิจารณาว่า y = x2 − 4x + 5 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม หรือฟังก์ชันลด บนช่วงใดบ้าง
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. หา y′ งท
: ต มศกั ับรา่


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d
นั่นคือ y′ =
dx
x2 − 4x + 5

= 2x − 4

1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา y′ = 2x − 4


จะได้ว่า 2x − 4 > 0
.
ดร

x>2
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง [2, ∞)
2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา y′ = 2x − 4
จะได้ว่า 2x − 4 < 0
x<2
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง (−∞, 2]

ตัวอย่าง 2.47 จงพิจารณาว่า y = 31 x3 + 12 x2 − 2x + 5 เป็นฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลดบนช่วง


ใดบ้าง
120 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

วิธีทำ. หา y′
 
d 1 3 1 2
นั่นคือ ′
y =
dx 3
x + x − 2x + 5
2
= x2 + x − 2

1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา x2 + x − 2


จะได้ว่า x2 + x − 2 > 0
(x + 2)(x − 1) > 0

นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (−∞, −2] และ [1, ∞)


2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา x2 + x − 2
นั่นคือ x2 + x − 2 < 0
(x + 2)(x − 1) < 0

นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง [−2, 1]


งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ตัวอย่าง 2.48 จงหาช่วงที่เป็นฟังก์ชันเพิ่มและช่วงที่เป็นฟังก์ชันลดของฟังก์ชันต่อไปนี้
งท
: ต มศกั ับรา่

1. y = x3 + 4x2 − 3x + 5 2. y = 3x4 − 6x3 − 6x2 + 12


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

√ 1
3. y = (x + 2)3 − 27x 4. y= x−4− x
2
√ 2
5. y = (2x + 1) 3
2
6. y =x x+
x
วิธีทำ. 1. หา y′
.


ดร

d
นั่นคือ y′ =
dx
x3 + 4x2 − 3x + 5

= 3x2 + 8x − 3

1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา 3x2 + 8x − 3


จะได้ว่า 3x2 + 8x − 3 > 0
(3x − 1)(x + 3) > 0
 
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (−∞, −3] และ 31 , ∞
2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา 3x2 + 8x − 3
จะได้ว่า 3x2 + 8x − 3 < 0
(3x − 1)(x + 3) < 0
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 121
 
1
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง −3,
3
2. หา y′
d 
นั่นคือ y′ =
dx
3x4 − 6x3 − 6x2 + 12

= 12x3 − 18x2 − 12x

1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา 12x3 − 18x2 − 12x


จะได้ว่า 12x3 − 18x2 − 12x > 0
6x(2x + 1)(x − 2) > 0
 
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง − 21 , 0 และ [2, ∞)
2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา 12x3 − 18x2 − 12x
จะได้ว่า
งล ์ วาน
12x3 − 18x2 − 12x < 0
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
6x(2x + 1)(x − 2) < 0
งท
: ต มศกั ับรา่

 
1
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง −∞, − และ [0, 2]
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2
3. หา y′
d 
นั่นคือ y′ =
dx
(x + 2)3 − 27x

= 3(x + 2)2 − 27
.

1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา 3(x + 2)2 − 27


ดร

จะได้ว่า 3(x + 2)2 − 27 > 0


3x2 + 12x − 15 > 0
3(x − 1)(x + 5) > 0

นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (−∞, −5] และ [1, ∞)


2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา 3(x + 2)2 − 27
จะได้ว่า 3(x + 2)2 − 27 < 0
3x2 + 12x − 15 < 0
3(x − 1)(x + 5) < 0

นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง [−5, 1]


122 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

4. หา y′
 
d √ 1
นั่นคือ y′ =
dx
x−4−
2
1 1
= √ −
2 x−4 2
1 1
1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา √ −
2 x−4 2
1 1
จะได้ว่า √ − >0
2 x−4 2

1> x−4
1>x−4
5>x

งล ์ วาน
เนื่องจาก x − 4 > 0 จะได้ว่า 4 < x
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง [4, 5]
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1 1
2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา √ −
งท 2 x−4 2
: ต มศกั ับรา่

1 1
จะได้ว่า
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

√ − <0
2 x−4 2

1< x−4
1<x−4
5<x

นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง [5, ∞)


.
ดร

5. หา y′
d  
นั่นคือ y′ =
2
(2x + 1) 3
dx
4
= 1
3(2x + 1) 3
4
1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา 1
3(2x + 1) 3
4
จะได้ว่า 1 >0
3(2x + 1) 3
นั่นคือ
1
(2x + 1) 3 > 0
1
x>−
2
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 123
 
1
ดังนั้น y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง − ,∞
2
4
2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y′ < 0 พิจารณา 1
3(2x + 1) 3
4
จะได้ว่า 1 <0
3(2x + 1) 3
นั่นคือ
1
(2x + 1) 3 < 0
1
x<−
2
 
1
ดังนั้น y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง −∞, −
2
6. หา y′
 
d √ 2
นั่นคือ y′ =

งล ์ วาน
x x+
dx x

3 x 2
− 2
เรอื ่ วงษ
=
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2 x

งท
: ต มศกั ับรา่

1. y เป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อ y′ > 0 พิจารณา 3 2 x − x22


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ


3 x 2
จะได้ว่า 2
− 2 >0
x
√ 4
x2 x >
3
 2
4 5
x>
3
.

"  2 !
ดร

4 5
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง 3 , ∞

2. y เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ y < 0 พิจารณา 2 − x22
′ 3 x


3 x 2
จะได้ว่า 2
− 2 <0
x
√ 4
x2 x <
3
 2
4 5
x<
3
 2 #
นั่นคือ y เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง −∞, 43
5
124 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

2.13.2 จุดต่ำสุดสูงสุดสัมพัทธ์และสัมบูรณ์

บทนิยาม 2.13.3 สำหรับฟังก์ชัน f นิยามบน I และ c ∈ I


1. จุด (c, f (c)) จะถูก เรียกว่า จุด สูงสุด สัมบูรณ์ ถ้า f (c) ≥ f (x) ทุก ค่า ของ x ∈ I
และเรียก f (c) ว่า ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ ของ f บนโดเมน I
2. จุด (c, f (c)) จะถูก เรียกว่า จุด ต่ำ สุด สัมบูรณ์ ถ้า f (c) ≤ f (x) ทุก ค่า ของ x ∈ I
และเรียก f (c) ว่า ค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ ของ f บนโดเมน I

บทนิยาม 2.13.4 สำหรับฟังก์ชัน f นิยามบน I , c ∈ I และ ช่วง (a, b) ซึ่งเป็นสับเซตของ I

งล ์ วาน
1. จุด (c, f (c)) จะถูกเรียกว่า จุดสูงสุดสัมพัทธ์ ถ้า f (c) ≥ f (x) ทุกค่าของ x ∈ (a, b)
และเรียก f (c) ว่า ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ของ f บนช่วง (a, b)
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2. จุด (c, f (c)) จะถูกเรียกว่า จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ ถ้า f (c) ≤ f (x) ทุกค่าของ x ∈ (a, b)
งท
: ต มศกั ับรา่

และเรียก f (c) ว่า ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ ของ f บนช่วง (a, b)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ข้อสังเกต สำหรับ เส้น โค้ง f (x) จุด สูงสุด หรือ ต่ำ สุด สมบูรณ์ คือ จุด ที่ อยู่ สูง ที่สุด หรือ ต่ำ ที่สุด
สำหรับ ทั้ง โดเมน แต่ จุด ที่ สูงสุด หรือ ต่ำ สุด สัมพัทธ์ จะเป็น จุด ที่ สูงสุด หรือ ต่ำ สุด ในระแวกนั้น (นึกถึง
ยอดเขา หรือหุบเขา)
.

ตัวอย่าง 2.49 จงหาจุดสูงสุดต่ำสุดสัมบูรณ์ และจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์จากกราฟของฟังก์ชันด้าน


ดร

ล่าง
Y
b
5
b
4
b b
3
b
2
b b
1
X
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

วิธีทำ. พิจารณากราฟของฟังก์ชัน y = f (x) โดยที่โดเมนของฟังก์ชันคือ Df = {x | 1 ≤ x ≤


10}
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 125

1. จากกราฟ ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ คือ f (8) = 5 และจุดสูงสุดสัมบูรณ์ คือ (8, f (8)) = (8, 5)


และ ค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ คือ f (1) = f (3) = 1 และจุดต่ำสุดสัมบูรณ์ คือ (1, f (1)) = (1, 1)
และ (3, f (3)) = (3, 1)
2. จากกราฟ ที่จุด (1, 1), (3, 1), (6, 2), (10, 3) ฟังก์ชันจะมีค่าต่ำสุด เมื่อเปรียบเทียบกับค่า
ของฟังก์ชันของจุดที่อยู่บริเวณใกล้เคียง เรียกจุดเหล่านั้นว่า “จุดต่ำสุดสัมพัทธ์”
และที่จุด (2, 3), (5, 4), (8, 5) ฟังก์ชันจะมีค่าสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับค่าของฟังก์ชันของ
จุดที่อยู่ใกล้เคียง เรียกจุดเหล่านี้ว่า “จุดสูงสุดสัมพัทธ์”

บทนิยาม 2.13.5 สำหรับฟังก์ชัน f นิยามบน I และ c ∈ I จะกล่าวว่า f มีจุดวิกฤตที่ x = c


เมื่อ ถ้า f ′ (c) = 0 หรือ f ′ (c) หาค่าไม่ได้ และเรียกจุด (c, f (c)) ว่าจุดวิกฤต

ตัวอย่าง 2.50 งล ์ วาน


จงหาจุดวิกฤตของ f (x) = x3 + 3x2 − 9x + 5
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. ขั้นแรกเราต้องหา f ′ (x) จะได้ งท
: ต มศกั ับรา่

f ′ (x) = 3x2 + 6x − 9
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

จากจุดวิกฤตคือจุด c ที่ทำให้ f ′ (c) = 0 หรือ f ′ (c) หาค่าไม่ได้ แต่ถ้าสังเกตจาก f ′ (x) จะเห็นว่า


f ′ (x) หาค่าได้ทุกค่า x ดังนั้นพิจารณาแค่กรณี f ′ (c) = 0 ดังนั้น

f ′ (c) = 0
3c2 + 6c − 9 = 0
.
ดร

c2 + 2c − 3 = 0
(c + 3)(c − 1) = 0
c = −3, 1

f (−3) = (−3)3 + 3(−3)2 − 9(−3) + 5


= −27 + 27 + 27 + 5
= 32
f (1) = (1)3 + 3(1)2 − 9(1) + 5
=1+3−9+5
=0

ดังนั้นจุดวิกฤตคือจุด (−3, 32) และ (1, 0)


126 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ตัวอย่าง 2.51 จงหาจุดวิกฤตของฟังก์ชันต่อไปนี้


1
1. f (x) = x4 − 2x3 − 9x2 + 12 2. f (x) = x +
x

x
3. f (x) =
x2 −4
4. f (x) = (x2 − 1)2/3

วิธีทำ. 1. ขั้นแรกเราต้องหา f ′ (x) จะได้

f ′ (x) = 4x3 − 6x2 − 18x

จากจุดวิกฤตคือจุด c ที่ทำให้ f ′ (c) = 0 หรือ f ′ (c) หาค่าไม่ได้ แต่ถ้าสังเกตจาก f ′ (x)


จะเห็นว่า f ′ (x) หาค่าได้ทุกค่า x ดังนั้นพิจารณาแค่กรณี f ′ (c) = 0 ดังนั้น

งล ์ วาน f ′ (c) = 0
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
4c3 − 6c2 − 18c = 0
งท
: ต มศกั ับรา่

2c(2c2 − 3c − 9) = 0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2c(c − 3)(2c + 3) = 0
c = −3, 0, 3

f (−3) = 4(−3)3 − 6(−3)2 − 18(−3)


.

= −108 − 54 + 54
ดร

= −108
และ f (0) = 4(0)3 − 6(0)2 − 18(0)
=0
และ f (3) = 4(3)3 − 6(3)2 − 18(3)
=0

ดังนั้นจุดวิกฤตคือจุด (−3, −108),(0, 0) และ (3, 0)

2. ขั้นแรกเราต้องหา f ′ (x) จะได้


1 x2 − 1
f ′ (x) = 1 − =
x2 x2
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 127

จากจุดวิกฤตคือจุด c ที่ทำให้ f ′ (c) = 0 หรือ f ′ (c) หาค่าไม่ได้


2.1 พิจารณากรณี f ′ (c) = 0 ดังนั้น
f ′ (c) = 0
c2 − 1 = 0
(c − 1)(c + 1) = 0
c = −1, 1

2.2 พิจารณากรณี f ′ (c) หาค่าไม่ได้ นั่นคือ c2 = 0


c2 = 0
c=0

เนื่องจาก x = 0 ไม่อยู่ในโดเมนของ f (x) ดังนั้นที่จุด x = 0 ไม่ใช่จุดวิกฤต

งล ์ วาน
1
f (−1) = −1 +
−1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

= −2

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

1
และ f (1) = 1 +
1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

=2

ดังนั้นจุดวิกฤตคือจุด (−1, −2) และ (1, 2)


3. ขั้นแรกเราต้องหา f ′ (x) จะได้
(x2 − 4) − x(2x) −x2 − 4
f ′ (x) = =
(x2 − 4)2 (x2 − 4)2
.
ดร

จากจุดวิกฤตคือจุด c ที่ทำให้ f ′ (c) = 0 หรือ f ′ (c) หาค่าไม่ได้


3.1 พิจารณากรณี f ′ (c) = 0 ดังนั้น
f ′ (c) = 0
−c2 − 4 = 0
−c2 = 4

นั่นคือไม่มีจุดวิกฤต
3.2 พิจารณากรณี f ′ (c) หาค่าไม่ได้ นั่นคือ c2 − 4 = 0
(c2 − 4) = 0
(c − 2)(c + 2) = 0
c = −2, 2
128 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

เนื่องจาก x = −2 และ x = 2 ไม่ อยู่ ในโดเมนของ f (x) ดัง นั้น x = −2 และ x = 2


จึงไม่ใช่จุดวิกฤต

ดังนั้นข้อนี้ไม่มีจุดวิกฤต

4. ขั้นแรกเราต้องหา f ′ (x) จะได้


2 2 −1/3 4x
f ′ (x) = x −1 (2x) =
3 3 (x − 1)1/3
2

จากจุดวิกฤตคือจุด c ที่ทำให้ f ′ (c) = 0 หรือ f ′ (c) หาค่าไม่ได้


4.1 พิจารณากรณี f ′ (c) = 0 ดังนั้น

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ f ′ (c) = 0
4c = 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

c=0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1/3
4.2 พิจารณากรณี f ′ (c) หาค่าไม่ได้ นั่นคือ 3 c2 − 1 =0

1/3
3 c2 − 1 =0
c −1=0
2

(c − 1)(c + 1) = 0
.

c = 1, −1
ดร

f (0) = (02 − 1)2/3


=1
และ f (1) = (12 − 1)2/3
=0
และ f (−1) = ((−1)2 − 1)2/3
=0

ดังนั้นจุดวิกฤตคือจุด (0, 1), (1, 0) และ (−1, 0)


2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 129

2.13.3 การหาจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์โดยใช้อนุพันธ์อันดับหนึ่ง

ทฤษฎีบท 2.13.6 ถ้า f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = c แล้ว f ′ (c) = 0 หรือ


f ′ (c) หาค่าไม่ได้

ทฤษฎีบท 2.13.7 ถ้า f เป็น ฟังก์ชัน ที่ มี อนุพันธ์ บนช่วง [a, b] และ f มี ค่า สูงสุด หรือ ต่ำ สุด
สัมพัทธ์ที่ x = c ซึ่งอยู่บนช่วง (a, b) แล้ว f ′ (c) = 0

งล ์ วาน
ข้อสังเกต จากรูป จะเห็น ว่า เมื่อ จุด x = c ให้ ค่า สูงสุด หรือ ต่ำ สุด ความชัน ของเส้น สัมผัส
(อนุพันธ์) ที่ จุด นั้น จะเป็น 0 หรือ ไม่ ก็ หาค่า ไม่ ได้ (อย่า ลืม นะ อนุพันธ์ หาค่า ไม่ ได้ ถ้า กราฟตรงนั้น
เรอื ่ วงษ
หัก เป็น มุม) จะเห็น ได้ อีก ว่า ถ้า ที่ x = c เป็น จุด สูงสุด ความชัน (อนุพันธ์) ทางซ้ายของ x = c
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
จะต้องเป็นบวก และความชันทางขวาจะต้องติดลบ (นึกถึงเดินขึ้นภูเขา เราต้องเดินขึ้นเนินก่อน ซึ่งมี
: ต มศกั ับรา่

ความชันเป็นบวก และเมื่อผ่านจุดสูงสุด เราต้องเดินลงเนินซึ่งมีความชันเป็นลบ) ในทำนองเดียวกัน


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

สำหรับจุดต่ำสุด ทางซ้ายของ x = c จะมีความชันเป็นลบ ขณะที่ทางขวาจะต้องมีความชันเป็นบวก

Y Y

f ′ (c) = 0
.
ดร

f ′ (x) > 0 f ′ (x) < 0


f ′ (x) < 0 f ′ (x) > 0

f ′ (c) = 0
X X
a c b a c b

Y Y

f ′ (c) หาค่าไม่ได้
f ′ (x) > 0 f ′ (x) < 0 f ′ (x) < 0 f ′ (x) > 0

f ′ (c) หาค่าไม่ได้
X X
a c b a c b
130 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

JUM!!! การหาจุด สูงสุด ต่ำ สุด สัมพัทธ์ สำหรับ ฟังก์ชัน ที่ หาอนุพันธ์ ได้ บนช่วง [a, b] โดยใช้
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง
1. หาจุด c ที่ทำให้ f ′ (c) = 0
2. พิจารณาจุดทางซ้ายและทางขวาใกล้ๆ x = c
• ถ้า ทางซ้าย (x เกือบ ๆ c) มี f ′ (x) > 0 และ ทางขวา (x มากกว่า c นิด ๆ) มี
f ′ (x) < 0 จะได้ว่า x = c ให้จุดสูงสุด
• ถ้าทางซ้ายมี f ′ (x) < 0 และ ทางขวามี f ′ (x) > 0 จะได้ว่า x = c ให้จุดต่ำสุด
• ถ้าทางซ้ายและขวามี f ′ (x) เครื่องหมายเดียวกัน จะได้ว่า x = c ไม่ให้ทั้งจุดสูงสุด
และต่ำสุด

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ตัวอย่าง 2.52 ให้ f (x) = 3x2 + 6 จงหาจุดวิกฤต และจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = 6x

พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0


.

6c = 0
ดร

เพราะฉะนั้น c=0
นั่นคือ f (0) = 6

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (0, 6)


ให้ x = c นั่นคือ x = 0
พิจารณา f ′ (x) = 6x เมื่อ x น้อยกว่า 0 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) < 0
พิจารณา f ′ (x) = 6x เมื่อ x มากกว่า 0 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) > 0
ดังนั้น จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (0, 6)

ตัวอย่าง 2.53 ให้ f (x) = 2x3 + 3x2 − 36x + 12 จงหาจุดวิกฤต และจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์


2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 131

วิธีทำ. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = 6x2 + 6x − 36 = 6(x2 + x − 6) = 6(x + 3)(x − 2)


พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0
6(c + 3)(c − 2) = 0

เพราะฉะนั้น c = −3, 2
นั่นคือ f (−3) = 93
f (2) = −32

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (−3, 93), (2, −32)


ให้ x = c นั่นคือ x = −3 และ x = 2
ที่จุด x = −3
พิจารณา f ′ (x) = 6(x+3)(x−2) เมื่อ x น้อยกว่า −3 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) > 0
พิจารณา f ′ (x) = 6(x+3)(x−2) เมื่อ x มากกว่า −3 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) < 0

งล ์ วาน
ดังนั้น จุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (−3, 93)
ที่จุด x = 2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
พิจารณา f ′ (x) = 6(x + 3)(x − 2) งท เมื่อ x น้อยกว่า 2 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) < 0
: ต มศกั ับรา่

พิจารณา f ′ (x) = 6(x + 3)(x − 2) เมื่อ x มากกว่า 2 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) > 0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ดังนั้น จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (2, −32)


ข้อสังเกต สำหรับ f ′ (x) = 6(x + 3)(x − 2) เมื่อ x น้อยกว่า −3 นิด ๆ หมายความว่า
x ≈ −3.000001 จะได้ว่า (x + 3) เป็นลบ และ (x − 2) เป็นลบ ดังนั้น f ′ (x) = 6(x + 3)(x − 2)
เมื่อ x น้อยกว่า −3 นิด ๆ มีค่าเป็นบวก
ทำนองเดียวกัน เมื่อ x มากกว่า −3 นิด ๆ หมายความว่า x ≈ −2.999999 จะได้ว่า (x + 3)
.

เป็น บวก และ (x − 2) เป็น ลบ ดัง นั้น f ′ (x) = 6(x + 3)(x − 2) เมื่อ x มากกว่า −3 นิด ๆ
ดร

มีค่าเป็นลบ
ตัวอย่าง 2.54 ให้ f (x) = x3 จงหาจุดวิกฤต และจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์
วิธีทำ. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = 3x2
พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0
3c2 = 0

เพราะฉะนั้น c=0
นั่นคือ f (0) = 0

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (0, 0)


ให้ x = c นั่นคือ x = 0
132 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

พิจารณา f ′ (x) = 3x2 เมื่อ x น้อยกว่า 0 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) > 0


พิจารณา f ′ (x) = 3x2 เมื่อ x มากกว่า 0 นิด ๆ จะได้ว่า f ′ (x) > 0
ดังนั้น จุด (0, 6) ไม่ให้จุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ตัวอย่าง 2.55 จงหาจุดวิกฤต และจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
1. f (x) = x4 − 6x3 + 9x2 2. f (x) = x3 − 6x2 + 9x − 8

x2
3. f (x) = (3 − x)3 4. f (x) =
x+2

วิธีทำ. 1. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = 4x3 − 18x2 + 18x


พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0
4c3 − 18c2 + 18c = 0

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ c(4c2 − 18c + 18) = 0
c(4c − 6)(c − 3) = 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
เพราะฉะนั้น งท 3
: ต มศกั ับรา่

c = 0, , 3
2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

นั่นคือ f (0) = 0
3 81
f( ) =
2 16
f (3) = 0

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (0, 0), ( 32 , 16


81
), (3, 0)
.

3
ให้ x = c นั่นคือ x = 0, x = 2 และ x = 3
ดร

ที่ x = 0
พิจารณาทางซ้ายของ x = 0 จะได้ว่า f ′ (x) < 0
พิจารณาทางขวาของ x = 0 จะได้ว่า f ′ (x) > 0
ดังนั้น จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (0, 0)
ที่ x = 32
พิจารณาทางซ้ายของ x = 32 จะได้ว่า f ′ (x) > 0

พิจารณาทางขวาของ x = 32 จะได้ว่า f ′ (x) < 0

ดังนั้น จุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด ( 32 , 81


16
)
ที่ x = 3
พิจารณาทางซ้ายของ x = 3 จะได้ว่า f ′ (x) < 0
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 133

พิจารณาทางขวาของ x = 3 จะได้ว่า f ′ (x) > 0


ดังนั้น จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (3, 0)

2. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = 3x2 − 12x + 9


พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0
3c2 − 12c + 9 = 0
(3c − 9)(c − 1) = 0

เพราะฉะนั้น c = 3, 1
นั่นคือ f (3) = −8
f (1) = −4

งล ์ วาน
ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (3, −8), (1, −4)
ให้ x = c นั่นคือ x = 3 และ x = 1
เรอื ่ วงษ
ที่ x = 3
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
พิจารณาทางซ้ายของ x = 3 จะได้ว่า งท f ′ (x) < 0
: ต มศกั ับรา่

พิจารณาทางขวาของ x = 3 จะได้ว่า f ′ (x) > 0


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ดังนั้น จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (3, −8)


ที่ x = 1
พิจารณาทางซ้ายของ x = 1 จะได้ว่า f ′ (x) > 0
พิจารณาทางขวาของ x = 1 จะได้ว่า f ′ (x) < 0
ดังนั้น จุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (1, −4)
.
ดร

3. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = −3(3 − x)2


พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0
−3(3 − c)2 = 0

เพราะฉะนั้น c=3
นั่นคือ f (3) = 0

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (3, 0)


ให้ x = c นั่นคือ x = 3
พิจารณาทางซ้ายของ x = 3 จะได้ว่า f ′ (x) > 0
พิจารณาทางขวาของ x = 3 จะได้ว่า f ′ (x) > 0
ดังนั้น จุด (3, 0) ไม่ให้จุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
134 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
2
x + 4x
4. หา f ′ (x) จะได้ f ′ (x) = (x + 2)2

พิจารณา f ′ (c) = 0 จะได้ว่า f ′ (c) = 0


c2 + 4c
=0
(c + 2)2
c(c + 4)
=0
(c + 2)2
เพราะฉะนั้น c = 0, −4
นั่นคือ f (0) = 0
f (−4) = −8

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุด (0, 0), (−4, −8)


ให้ x = c นั่นคือ x = 0 และ x = −4
ที่ x = 0
งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
พิจารณาทางซ้ายของ x = 0 จะได้ว่า f ′ (x) < 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
พิจารณาทางขวาของ x = 0 จะได้ว่า งท f ′ (x) > 0
: ต มศกั ับรา่

ดังนั้น จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (0, 0)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ที่ x = −4
พิจารณาทางซ้ายของ x = −4 จะได้ว่า f ′ (x) > 0
พิจารณาทางขวาของ x = −4 จะได้ว่า f ′ (x) < 0
ดังนั้น จุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ f คือจุด (−4, −8)
.
ดร

2.13.4 ความเว้าและจุดเปลี่ยนเว้า

บทนิยาม 2.13.8 สำหรับฟังก์ชัน f ซึ่งนิยามบนช่วง I


1. ฟังก์ชัน f มีลักษณะเว้าบน บนช่วง I ถ้ากราฟของฟังก์ชันบนช่วงนั้นอยู่เหนือเส้นสัมผัส
2. ฟังก์ชัน f มีลักษณะเว้าล่าง บนช่วง I ถ้ากราฟของฟังก์ชันบนช่วงนั้นอยู่ใต้เส้นสัมผัส

เคล็ดไม่ลับ จากกราฟจะเห็นว่าฟังก์ชันที่มีลักษณะเว้าบน (เว้าขึ้นข้างบน) จะเป็นกราฟหงาย


ในขณะที่ฟังก์ชันที่มีลักษณะเว้าล่าง (เว้าลงด้านล่าง) เป็นกราฟคว่ำ วิธีการจำง่าย ๆ สำหรับฟังก์ชัน
ที่เว้าบนคือถ้าเราเอามือจับปลายทั้งสองข้าง เราต้องยกปลายทั้งสองข้างขึ้นข้างบน
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 135
Y Y

X X

เว้าบน เว้าล่าง

ทฤษฎีบท 2.13.9 สำหรับฟังก์ชัน f ซึ่งต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และหาอนุพันธ์อันดับสองได้


บนช่วง (a, b)
1. ถ้า f ′′ (x) > 0 ตลอดช่วง (a, b) แล้ว f จะเว้าบนบนช่วง (a, b)

งล ์ วาน
2. ถ้า f ′′ (x) < 0 ตลอดช่วง (a, b) แล้ว f จะเว้าล่างบนช่วง (a, b)
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ข้อสังเกต สำหรับฟังก์ชันที่มีลักษณะเว้าบน ถ้าเราสังเกตความชัน (อนุพันธ์) จะเห็นว่าความ


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ชัน นั้น เพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ เริ่มต้นจากติดลบ เป็นศูนย์ และเป็น บวก ดังนั้น เราจึง ได้ว่าการเปลี่ยนแปลง
ของอนุพันธ์ เทียบกับ x เป็น บวก ซึ่ง เหมือนกับ การพูด ว่า อนุพันธ์ อันดับ สองของฟังก์ชัน (อนุพันธ์
อันดับ สองคือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของอนุพันธ์) มี ค่า เป็น บวก สำหรับ เว้า ล่างก็ สามารถมองได้ ใน
ทำนองเดียวกัน
.
ดร

บทนิยาม 2.13.10 จุดที่เชื่อมระหว่างเส้นโค้งเว้าบนกับเส้นโค้งเว้าล่างเรียกว่า จุดเปลี่ยนเว้า

Y Y

f ′ (x) < 0 f ′ (x) > 0 b


b

f ′ (x) = 0 f ′ (x) = 0
b b

X X
b
f ′ (x) > 0
b
f ′ (x) < 0
136 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ทฤษฎีบท 2.13.11 ถ้ากราฟของ y = f (x) มีจุดเปลี่ยนเว้าที่ x = c และอนุพันธ์อันดับสอง


หาค่าได้แล้ว f ′′ (x) = 0 หรือ f ′′ (x) หาค่าไม่ได้

ตัวอย่าง 2.56 กำหนดฟังก์ชัน f (x) = 2x2 − 2x + 1 จงหาช่วงที่ ฟังก์ชัน มี ลักษณะเว้า บน


เว้าล่าง และจุดเปลี่ยนเว้า
วิธีทำ. หา f ′′ (x)
d
จาก f ′ (x) =
dx
(2x2 − 2x + 1)

= 4x − 2
d
จะได้ f ′′ (x) =
dx
(4x − 2)

งล ์ วาน
=4

พิจารณาค่า x ที่ฟังก์ชันลักษณะเว้าบน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

นั่นคือค่า x ที่ทำให้ f ′′ (x) > 0


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

แต่ เนื่องจาก f ′′ (x) = 4 > 0 สำหรับ ทุก ๆ ค่า x ดัง นั้น f (x) จะมี ลักษณะเว้า บนสำหรับ ทุก
x∈R
เนื่องจาก f (x) มีลักษณะเว้าบนสำหรับทุก x ∈ R ดังนั้น f (x) ไม่มีจุดเปลี่ยนเว้า
ตัวอย่าง 2.57 กำหนดฟังก์ชัน f (x) = x3 − 3x2 − 9x + 4 จงหาช่วงที่ฟังก์ชันมีลักษณะเว้าบน
เว้าล่าง และจุดเปลี่ยนเว้า
.
ดร

วิธีทำ. หา f ′′ (x)
d 3
จาก f ′ (x) =
dx
(x − 3x2 − 9x + 4)

= 3x2 − 6x − 9
d
จะได้ f ′′ (x) =
dx
(3x2 − 6x − 9)

= 6x − 6

พิจารณาค่า x ที่ฟังก์ชันลักษณะเว้าบน
นั่นคือ f ′′ (x) > 0
จะได้ว่า 6x − 6 > 0
x>1
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 137

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 1


พิจารณาค่า x ที่ฟังก์ชันลักษณะเว้าล่าง

นั่นคือ f ′′ (x) < 0


จะได้ว่า 6x − 6 < 0
x<1

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < 1


เนื่องจากฟังก์ชันเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = 1 และ
f (1) = (1)3 − 3(1)2 − 9(1) + 4 = −7

ดังนั้น (1, −7) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

งล ์ วาน
ตัวอย่าง 2.58 จงหาช่วงที่ฟังก์ชันเว้าบน เว้าล่าง และจุดเปลี่ยนเว้า ของฟังก์ชันต่อไปนี้
1 1
1. 2. f (x) = x−1/3 − x5/3
เรอื ่ วงษ
f (x) =
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x 5
งท
: ต มศกั ับรา่

3. f (x) = 4x3 − 18x2 + 24x + 5 4. f (x) = (x − 1)1/3 − 5


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. 1. สังเกตว่าโดเมนของ f (x) คือ Df = (−∞, 0) ∪ (0, ∞)


หา f ′′ (x)
d
จาก f ′ (x) =
dx
(−x−2 )
d
จะได้ f (x)′′ =
dx
(−x−2 )
.

2
ดร

= 3
x

นั่นคือ f ′′ (x) > 0


2
จะได้ว่า x3
>0

x>0

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าบน เมื่อ x > 0

นั่นคือ f ′′ (x) < 0


2
จะได้ว่า x3
<0

x<0
138 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าล่าง เมื่อ x < 0


จะพบว่าไม่มีค่าที่ f ′′ (x) = 0
f ′′ (x) หาค่าไม่ได้ ⇐⇒ x = 0 ซึ่งไม่อยู่ในโดเมนของ f (x)
เนื่องจาก x = 0 ไม่อยู่ในโดเมนของ f (x) ดังนั้น f จะไม่มีจุดเปลี่ยนเว้า
2. หา f ′′ (x)
d 2/3 1 5/3
จาก f ′ (x) =
dx
(x − x )
5 
2 1 5 2/3
= x−1/3 − x
3 5 3
2 1
= x−1/3 − x2/3
3 3
d 2 1
จะได้ f ′′ (x) = ( x−1/3 − x2/3 )
dx 3 3

งล ์ วาน
2 −4/3 2 −1/3
=− x − x
9 9
−2(1 + x)
เรอื ่ วงษ
=
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
9x4/3
งท
: ต มศกั ับรา่

พบว่า f ′′ (x) = 0 ⇐⇒ x = −1
และ f ′′ (x) หาค่าไม่ได้ ⇐⇒ x = 0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

นั่นคือ f ′′ (x) > 0


2 2
จะได้ว่า − x−4/3 − x−1/3 > 0
9 9
x < −1
.
ดร

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x < −1

นั่นคือ f ′′ (x) < 0


2 2
จะได้ว่า − x−4/3 − x−1/3 < 0
9 9
x > −1

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x > −1


เนื่องจากฟังก์ชันเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = −1 และ
1 1 6
f (−1) = (−1)2/3 − (−1)5/3 = 1 + =
5 5 5

ดังนั้น (−1, 56 ) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า


2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 139

3. หา f ′′ (x)

d
จาก f ′ (x) =
dx
(4x3 − 18x2 + 24x + 5)

= 12x2 − 36x + 24
d
จะได้ f ′′ (x) =
dx
(12x2 − 36x + 24)

= 24x − 36

พบว่า f ′′ (x) = 0 ⇐⇒ x = 32
และไม่มีค่าที่ f ′′ (x) หาค่าไม่ได้

งล ์ วาน
นั่นคือ f ′′ (x) > 0
จะได้ว่า
เรอื ่ วงษ
24x − 36 > 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
3
งท
: ต มศกั ับรา่

x>
2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 32

นั่นคือ f ′′ (x) < 0


.

จะได้ว่า
ดร

24x − 36 < 0
3
x<
2

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < 32


เนื่องจากฟังก์ชันเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = 32 และ

   3  2  
3 3 3 3
f =4 − 18 + 24 + 5 = 14
2 2 2 2

 
3
ดังนั้น 2
, 14 เป็นจุดเปลี่ยนเว้า
140 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

4. หา f ′′ (x)
d
จาก f ′ (x) =
dx
((x − 1)1/3 − 5)
1
= (x − 1)−2/3
3
d 1
จะได้ f ′′ (x) = ( (x − 1)−2/3 )
dx 3
−2
=
9(x − 1)5/3

พบว่าไม่มี x ที่ทำให้ f ′′ (x) = 0


และ f ′′ (x) หาค่าไม่ได้ ⇐⇒ x = 1

งล ์ วาน
นั่นคือ f ′′ (x) > 0
−2
เรอื ่ วงษ
จะได้ว่า
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
>0
9(x − 1)5/3
งท
: ต มศกั ับรา่

9(x − 1)5/3 > 0


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x>1

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 1

นั่นคือ f ′′ (x) < 0


จะได้ว่า
.

9(x − 1)5/3 < 0


ดร

x<1

นั่นคือ f (x) จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < 1


เนื่องจากฟังก์ชันเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = 1 และ
f (1) = ((1 − 1)1/3 − 5) = 0 − 5 = −5

ดังนั้น (1, −5) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

2.13.5 การหาจุดสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์โดยใช้อนุพันธ์อันดับสอง
เราสามารถใช้ สมบัติ ของอนุพันธ์ อันดับ สองเข้า มาช่วยในการหาจุด ต่ำ สุด สูงสุด สัมพัทธ์ ของ
ฟังก์ชันดังทฤษฎีข้างล่าง
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 141

ทฤษฎีบท 2.13.12 สำหรับฟังก์ชัน f ซึ่งต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และมี x = c เป็นจุดวิกฤต


โดยที่ c ∈ (a, b) ซึ่ง f ′ (c) = 0 และ f ′′ (c) หาค่าได้
1. ถ้า f ′′ (c) < 0 แล้ว x = c ให้จุดสูงสุดสัมพัทธ์
2. ถ้า f ′′ (c) > 0 แล้ว x = c เป็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์
3. ถ้า f ′′ (c) = 0 ไม่สามารถสรุปได้ ต้องตรวจสอบโดยใช้อนุพันธ์อันดับหนึ่ง

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ตัวอย่าง 2.59 กำหนด f (x) = x3 − 2x2 − 4x + 3 จงหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์ จุดต่ำสุดสัมพัทธ์
งท
: ต มศกั ับรา่

และจุดเปลี่ยนเว้า
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร

วิธีทำ. ขั้นแรก หาจุดวิกฤต x ที่ทำให้ f ′ (x) = 0

d 3
จาก f ′ (x) =
dx
(x − 2x2 − 4x + 3)

= 3x2 − 4x − 4
หา x ที่ทำให้ 3x2 − 4x − 4 = 0
(3x + 2)(x − 2) = 0
2
ดังนั้นจุดวิกฤตคือ x = 2, −
3
142 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
d
หาอนุพันธ์อันดับสอง f ′′ (x) =
dx
(3x2 − 4x − 4)
d
ดังนั้น f ′′ (x) =
dx
(3x2 − 4x − 4)

f ′′ (x) = 6x − 4
ที่ x = 2 f ′′ (2) = 6(2) − 4 = 8 > 0 ; ให้จุดต่ำสุด
ที่ x = − 23 2 2
f ′′ (− ) = 6(− ) − 4 = −8 < 0
3 3
; ให้จุดสูงสุด
จาก f (2) = 2 − 2(2)2 − 4(2) + 3
3

=8−8−8+3
= −5
2 2 2 2
จาก f (− ) = (− )3 − 2(− )2 − 4(− ) + 3
3 3 3 3

งล ์ วาน
8 4 8
= − − 2( ) + + 3
27 9 3
8 8 8
=− − + +3
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
27 9 3
งท 8 24 72 81
: ต มศกั ับรา่

=− − + +
27 27 27 27
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

121
=
27

ดังนั้น (2, −5) เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และ (− 32 , 121


27
) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์

เนื่องจาก f ′′ (x) = 6x − 4
.

พิจารณา x ที่ทำให้ฟังก์ชันเว้าบน นั่นคือ f ′′ (x) > 0


ดร

จะได้ว่า 6x − 4 > 0
2
x>
3
ทำให้ f มีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 32
พิจารณา x ที่ทำให้ฟังก์ชันเว้าล่าง นั่นคือ f ′′ (x) < 0
จะได้ว่า 6x − 4 < 0
2
x<
3
ทำให้ f มีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < 32

นั่นคือ ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างเมื่อ x = 23
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 143

2 2 2 2
จาก f ( ) = ( )3 − 2( )2 − 4( ) + 3
3 3 3 3
8 4 8
= − 2( ) − + 3
27 9 3
8 8 8
= − − +3
27 9 3
8 24 72 81
= − − +
27 27 27 27
−7
=
27

 
2 7
ดังนั้น ,− เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

งล ์ วาน
3 27 เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ตัวอย่าง 2.60 จงหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์ จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า ของฟังก์ชันต่อไปนี้


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1. f (x) = 2x3 + 3x2 − 12x − 7 2. f (x) = x3 + 3x2 − 24x − 20


.
ดร

3. f (x) = x4 − 8x3 + 22x2 − 24x + 12 4. f (x) = −3x5 + 5x3

วิธีทำ. 1. ขั้นแรก หาจุดวิกฤต x ที่ทำให้ f ′ (x) = 0

d
จาก f ′ (x) =
dx
(2x3 + 3x2 − 12x − 7)

ดังนั้น 0 = 6x2 + 6x − 12
0 = 6(x + 2)(x − 1)

ดังนั้นจุดวิกฤตคือ x = −2, 1
144 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
d
หาอนุพันธ์อันดับสอง f ′′ (x) =
dx
(6x2 + 6x − 12)
d
ดังนั้น f ′′ (x) =
dx
(6x2 + 6x − 12)

f ′′ (x) = 12x + 6
ที่ x = −2 f ′′ (−2) = 12(−2) + 6 = −18 < 0 ; ให้จุดสูงสุด
ที่ x = 1 f ′′ (1) = 12(1) + 6 = 18 > 0 ; ให้จุดต่ำสุด
จาก f (−2) = 2(−2)3 + 3(−2)2 − 12(−2) − 7
= −16 + 12 + 24 − 7
= 13
จาก f (1) = 2(1)3 + 3(1)2 − 12(1) − 7
= 2 + 3 − 12 − 7

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ = −14
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ดังนั้น (−2, 13) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์ และ (1, −14) เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เนื่องจาก f ′′ (x) = 12x + 6


พิจารณา x ที่ทำให้ฟังก์ชันเว้นบน นั่นคือ f ′′ (x) > 0
จะได้ว่า 12x + 6 > 0
1
.

x>−
ดร

2
ทำให้ f มีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > − 12
พิจารณา x ที่ทำให้ฟังก์ชันเว้นล่าง นั่นคือ f ′′ (x) < 0
จะได้ว่า 12x + 6 < 0
1
x<−
2
ทำให้ f มีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < − 12

นั่นคือ ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างเมื่อ x = − 12
 
1
ดังนั้น − , −12
2
เป็นจุดเปลี่ยนเว้า (f (− 12 ) = −12 ลองแทนค่าดูเองนะครับ)
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 145

2. ขั้นแรก หาจุดวิกฤต x ที่ทำให้ f ′ (x) = 0

d 3
จาก f ′ (x) =
dx
(x + 3x2 − 24x − 20)

ดังนั้น 0 = 3x2 + 6x − 24
0 = 3(x2 + 2x − 8)
0 = x2 + 2x − 8
0 = (x + 4)(x − 2)

ดังนั้นจุดวิกฤตคือ x = −4, 2

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d
หาอนุพันธ์อันดับสอง f ′′ (x) =
dx
(3x2 + 6x − 24)
.
ดร

d
ดังนั้น f ′′ (x) =
dx
(3x2 + 6x − 24)

f ′′ (x) = 6x + 6
ที่ x = −4 f ′′ (−4) = 6(−4) + 6 = −18 < 0 ; ให้จุดสูงสุด
ที่ x = 2 f ′′ (2) = 6(2) + 6 = 18 > 0 ; ให้จุดต่ำสุด
จาก f (−4) = (−4)3 + 3(−4)2 − 24(−4) − 20
= −64 + 48 + 96 − 20
= 60
จาก f (2) = (2)3 + 3(2)2 − 24(2) − 20
= 8 + 12 − 48 − 20
= −48
146 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ดังนั้น (−4, 60) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์ และ (2, −48) เป็นจุดต่ำสุดสัมพันธ์

เนื่องจาก f ′′ (x) = 6x + 6
พิจารณา f ′′ (x) > 0
จะได้ว่า 6x + 6 > 0
x > −1
ทำให้ f มีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > −1
พิจารณา f ′′ (x) < 0
จะได้ว่า 6x + 6 < 0

งล ์ วาน
x < −1
ทำให้ f มีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < −1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

นั่นคือ ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างเมื่อ x = −1
ดังนั้น (−1, 6) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า
.
ดร

3. ขั้นแรก หาจุดวิกฤต x ที่ทำให้ f ′ (x) = 0

d 4
จาก f ′ (x) =
dx
(x − 8x3 + 22x2 − 24x + 12)

ดังนั้น 0 = 4x3 − 24x2 + 44x − 24


0 = x3 − 6x2 + 11x − 6
= (x − 1)(x − 2)(x − 3)

ดังนั้นจุดวิกฤตคือ x = 1, 2, 3
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 147

d
หาอนุพันธ์อันดับสอง f ′′ (x) =
dx
(4x3 − 24x2 + 44x − 24)
d
ดังนั้น f ′′ (x) =
dx
(4x3 − 24x2 + 44x − 24)

f ′′ (x) = 12x2 − 48x + 44


ที่ x = 1 f ′′ (1) = 12(1)2 − 48(1) + 44 = 8 > 0 ; ให้จุดต่ำสุด
ที่ x = 2 f ′′ (2) = 12(2)2 − 48(2) + 44 = −4 < 0 ; ให้จุดสูงสุด
ที่ x = 3 f ′′ (3) = 12(3)2 − 48(3) + 44 = 8 > 0 ; ให้จุดต่ำสุด
จาก f (1) = (1)4 − 8(1)3 + 22(1)2 − 24(1) + 12
= 1 − 8 + 22 − 24 + 12
=3
จาก f (2) = (2)4 − 8(2)3 + 22(2)2 − 24(2) + 12

งล ์ วาน
= 16 − 64 + 88 − 48 + 12
เรอื ่ วงษ
=4
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
จาก f (3) = (3)4 − 8(3)3 + 22(3)2 − 24(3) + 12
งท
: ต มศกั ับรา่

= 81 − 216 + 198 − 72 + 12
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

=3

ดังนั้น (1, 3) และ (3, 3) เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และ (2, 4) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์


เนื่องจาก f ′′ (x) = 12x2 − 48x + 44
พิจารณา f ′′ (x) > 0
.
ดร

จะได้ว่า 12x2 − 48x + 44 > 0


4(3x2 − 12x + 11) > 0

6± 3
x>
√ 3
6± 3
ทำให้ f มีลักษณะเว้าบนเมื่อ x>
3
พิจารณา f ′′ (x) < 0
จะได้ว่า 12x2 − 48x + 44 < 0
4(3x2 − 12x + 11) < 0

6± 3
x<
√ 3
6± 3
ทำให้ f มีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x<
3
148 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
√ √
6+ 3 6− 3
นั่นคือ ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างเมื่อ x= และ x=
√ ! √ ! 3 3
6 + 3 31 6 − 3 31
ดังนั้น 3
,
9
,
3
,
9
เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

4. ขั้นแรก หาจุดวิกฤต x ที่ทำให้ f ′ (x) = 0

d
จาก f ′ (x) =
dx
(−3x5 + 5x3 )

ดังนั้น 0 = −15x4 + 15x2


0 = −15x2 (x2 − 1)

งล ์ วาน
0 = −15x2 (x + 1)(x − 1)

ดังนั้นจุดวิกฤตคือ x = −1, 0, 1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d
หาอนุพันธ์อันดับสอง f ′′ (x) =
dx
(−15x4 + 15x2 )
d
ดังนั้น f ′′ (x) =
dx
(−15x4 + 15x2 )

f ′′ (x) = −60x3 + 30x


ที่ x = −1 f ′′ (−1) = −60(−1)3 + 30(−1) = 30 > 0 ; ให้จุดต่ำสุด
.
ดร

ที่ x = 0 f ′′ (0) = −60(0)3 + 30(0) = 0 ; สรุปไม่ได้


ที่ x = 1 f ′′ (1) = −60(1)3 + 30(1) = −30 < 0 ; ให้จุดสูงสุด
จาก f (−1) = −3(−1)5 + 5(−1)3
=3−5
= −2
จาก f (0) = −3(0)5 + 5(0)3
=0
จาก f (1) = −3(1)5 + 5(1)3
= −3 + 5
=2
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 149

ดังนั้น (−1, −2) เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และ (1, 2) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์

เนื่องจาก f ′′ (x) = −60x3 + 30x


พิจารณา f ′′ (x) > 0
จะได้ว่า −60x3 + 30x > 0
−30x(2x2 − 1) > 0
√ √
−30x( 2x − 1)( 2x + 1) > 0
1 1
x > − √ , 0, √
2 2
ทำให้ f มีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 0, ± √1
2
พิจารณา f ′′ (x) < 0

งล ์ วาน
จะได้ว่า
เรอื ่ วงษ −60x3 + 30x < 0
−30x(2x2 − 1) < 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
√ √
งท
: ต มศกั ับรา่

−30x( 2x − 1)( 2x + 1) < 0


1 1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x < − √ , 0, √
2 2
ทำให้ f มีลักษณะเว้าบนเมื่อ x < 0, ± √1
2

นั่นคือ ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างเมื่อ x = 0, ± √1
    2
.
ดร

1 7 1 7
ดังนั้น −√ , − √ , (0, 0) , √ , √ เป็นจุดเปลี่ยนเว้า
2 4 2 2 4 2

2.13.6 การวาดกราฟ
ถึงตอนนี้ เราควรที่จะสามารถใช้ความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนไปก่อนมาหน้าประยุกต์เพื่อใช้ในการวาด
กราฟของฟังก์ชันต่าง ๆ
150 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

JUM!!! วิธีการวาดกราฟของฟังก์ชันใด ๆ มีขั้นตอนดังนี้


1. หาเส้นกำกับกราฟแนวราบและแนวดิ่ง (ถ้าจำไม่ได้ เปิดกลับไปดูบทที่ 1 นะ)
2. หาจุดวิกฤต ซึ่งคือจุดที่ f ′ (x) = 0 หรือ f ′ (x) หาค่าไม่ได้
3. พิจารณาว่าจุดวิกฤตเป็นจุดสูงสุด ต่ำสุด หรือจุดเปลี่ยนเว้า
4. หาช่วงที่เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และช่วงที่เป็นฟังก์ชันลด
5. หาช่วงที่มีลักษณะเว้าบน และช่วงที่มีลักษณะเว้าล่าง
6. วาดกราฟจากข้อมูลด้านบน

งล ์ วาน
ตัวอย่าง 2.61 จงเขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ โดยถ้ามีเส้นกำกับให้แสดงด้วย
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1. f (x) = 1 − 3x + 5x2 − x3 2. f (x) = x4 − 6x2
งท
: ต มศกั ับรา่

1 + x2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3. 1
f (x) = 2x 3 + x 3
4
4. f (x) =
1 − x2

1 x
5. f (x) =
(x − 1) (x + 2)
6. f (x) =
x2 − 1
.

วิธีทำ. 1. • หาเส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
ดร

พิจารณา lim 1 − 3x + 5x2 − x3 = ∞


x→∞

และ lim 1 − 3x + 5x2 − x3 = ∞


x→−∞

ดังนั้น ไม่มีเส้นกำกับแนวราบ
เนื่องจากไม่มีจุดแคนดิเดต a ที่ทำให้ f ลู่เข้าสู่อนันต์
ดังนั้น ไม่มีเส้นกำกับแนวดิ่ง
• หาจุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า

เนื่องจาก f ′ (x) = −3 + 10x − 3x2


และ f ′′ (x) = 10 − 6x
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 151

พิจารณา f ′ (x) = 0
จะได้ว่า −3 + 10x − 3x2 = 0
(−3 + x)(1 − 3x) = 0
1
x = ,3
3

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุดที่ x = 13 , 3

พิจารณา f ′′ (x) > 0


จะได้ว่า 10 − 6x > 0
5
>x
3

งล ์ วาน
นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 53
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

พิจารณา f ′′ (x) < 0


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

จะได้ว่า 10 − 6x < 0
5
<x
3

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < 53


.

ดังนั้น ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = 53
ดร

• สร้างตารางเพื่อช่วงในการเขียนกราฟ
ช่วงในการพิจารณา f (x) f ′ (x) f ′′ (x) สรุป
x< 1
3 − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน

3 , 27 เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
1 14 1 14
x= 3 27
1
3 <x< 5
3 + + f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน

3 , 27 เป็นจุดเปลี่ยนเว้า
5 142 5 142
x= 3 27
5
3 <x<3 + − f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าล่าง
x=3 10 (3, 10) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
3<x − − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าล่าง
152 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
Y

15

(3, 10)
b
10

5 b
5 142

3 , 27
b
X
−2 0 2 4 6

−5 1 14

3 , 27

2. • หาเส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง

งล ์ วาน
พิจารณา lim x4 − 6x2 = ∞
x→∞
เรอื ่ วงษ
และ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
lim x4 − 6x2 = ∞
x→−∞
งท
: ต มศกั ับรา่

ดังนั้น ไม่มีเส้นกำกับแนวราบ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เนื่องจากไม่มีจุดแคนดิเดต a ที่ทำให้ f ลู่เข้าสู่อนันต์


ดังนั้น ไม่มีเส้นกำกับแนวดิ่ง
• หาจุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า
เนื่องจาก f ′ (x) = 4x3 − 12x
และ f ′′ (x) = 12x2 − 12
.
ดร

พิจารณา f ′ (x) = 0
จะได้ว่า 4x3 − 12x = 0
4x(x2 − 3) = 0
√ √
4x(x − 3)(x + 3) = 0
√ √
x = − 3, 0, 3
√ √
ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุดที่ x = − 3, 0, 3

พิจารณา f ′′ (x) > 0


จะได้ว่า 12x2 − 12 > 0
x2 > 1
x > −1, 1
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 153

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > −1 และ x > 1


พิจารณา f ′′ (x) < 0
จะได้ว่า 12x2 − 12 < 0
x2 < 1
x < −1, 1

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < −1 และ x < 1


ดังนั้น ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนแปลงจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = −1 และ x = 1
• สร้างตารางเพื่อช่วยในการเขียนกราฟ
ช่วงในการพิจารณา f (x) f ′ (x) f ′′ (x) สรุป

x<− 3 − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน
√ √ 
x=− 3 −9 − 3, −9 เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์

งล ์ วาน

− 3 < x < −1 + + f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

(−1, −5) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

ุน
x = −1 −5
งท
: ต มศกั ับรา่

−1 < x < 0 + − f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าล่าง


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x=0 0 (0, 0) เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์


0<x<1 − − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าล่าง
x=1 −5 (1, −5) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

1<x< 3 − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน
√ √ 
x= 3 −9 3, −9 เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์

.

f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน
ดร

3<x + +

(0, 0)
b
X
−4 −2 0 2 4

−3
(−1, −5) (1, −5)
b b

−6

√ −9
b b

(− 3, −9) ( 3, −9)
154 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

3. • หาเส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
พิจารณา
1 4
lim 2x 3 + x 3 = ∞
x→∞

และ
1 4
lim 2x 3 + x 3 = ∞
x→−∞

ดังนั้น ไม่มีเส้นกำกับแนวราบ
เนื่องจากไม่มีจุดแคนดิเดต a ที่ทำให้ f ลู่เข้าสู่อนันต์
ดังนั้น ไม่มีเส้นกำกับแนวดิ่ง
• หาจุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า
2 2 4 1
เนื่องจาก f ′ (x) = x− 3 + x 3
3 3
2 + 4x
= 2
3x 3
4 5 4 2

งล ์ วาน
และ เรอื ่ วงษ f ′′ (x) = − x− 3 + x− 3
9 9

พิจารณา f ′ (x) = 0
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2 + 4x
จะได้ว่า 2 =0
3x 3
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2 + 4x = 0
1
x=−
2
พิจารณา f ′ (x) หาค่าไม่ได้
2
x =0
3
.

x=0
ดร

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุดที่ x = − 12 , 0
พิจารณา f ′′ (x) > 0
4 5 4 2
จะได้ว่า − x− 3
9
+ x− 3 > 0
9
x>1

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 1


พิจารณา f ′′ (x) < 0
4 5 4 2
จะได้ว่า − x− 3
9
+ x− 3 < 0
9
x<1
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 155

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าบล่างเมื่อ x < 1


ดังนั้น ฟังก์ชันมีการเปลี่ยนแปลงจากเว้าบนเป็นเว้าล่างที่ x = 1
• สร้างตารางเพื่อช่วยในการเขียนกราฟ

ช่วงในการพิจารณา f (x) f ′ (x) f ′′ (x) สรุป


x < − 12 − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน
q  q 
x = − 12 − 27 16 เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
− 12 , − 27
3 3
16

− 12 < x < 0 + + f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน


x=0 0 (0, 0) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า
0<x<1 + − f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าล่าง
x=1 3 (1, 3) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า

งล ์ วาน
1<x เรอื ่ วงษ + + f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท Y
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

4
b
(1, 3)
2

(0, 0)
.

b
X
ดร

−4 −2 b
0 2 4

−2
 q 
− 12 , 3
− 16
27

4. • หาเส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
1 + x2
พิจารณา lim
x→∞ 1 − x2
= −1
1 + x2
และ lim
x→−∞ 1 − x2
= −1

ดังนั้น เส้นกำกับแนวราบคือ y = −1
156 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

เนื่องจากที่ x = −1, 1 ทำให้ f ลู่เข้าสู่อนันต์ นั่นคือจุดแคนดิเดต a = −1, 1


1 + x2
พิจารณา a = −1 lim = −∞
x→−1− 1 − x2
1 + x2
พิจารณา a = 1 lim =∞
x→1− 1 − x2

ดังนั้น เส้นกำกับแนวดิ่งคือ x = −1 และ x = 1


• หาจุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า
(1 − x2 )(2x) − (1 + x2 )(−2x)
เนื่องจาก f ′ (x) =
(1 − x2 )2
4x
=
(1 − x2 )2
(1 − x2 )2 (4) − (4x)(2)(1 − x2 )(−2x)
และ f ′′ (x) =
(1 − x2 )4

งล ์ วาน
4 + 12x2
=
(1 − x2 )3
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

พิจารณา f ′ (x) = 0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

4x
=0
(1 − x2 )2
4x = 0
x=0
พิจารณา f ′ (x) หาค่าไม่ได้
จะได้ว่า 1 − x2 = 0
.
ดร

x = −1, 1

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุดที่ x = −1, 0, 1


พิจารณา f ′′ (x) > 0
4 + 12x2
จะได้ว่า (1 − x2 )3
>0

4 + 12x2 > 0
r
1
x>± −
3
r
เนื่องจาก x = ± − 13 ไม่อยู่ในโดเมน ดังนั้น ไม่มีจุดเปลี่ยนเว้า
• สร้างตารางเพื่อช่วยในการเขียนกราฟ
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 157

ช่วงในการพิจารณา f (x) f ′ (x) f ′′ (x) สรุป


x < −1 − − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าล่าง
x = −1 ไม่มี x = −1 เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
−1 < x < 0 − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน
x=0 1 (0, 1) เป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
0<x<1 + + f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน
x=1 ไม่มี x = 1 เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
1<x + − f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน

งล ์ วาน
4
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2
งท
: ต มศกั ับรา่

b
(0, 1)
X
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−4 −2 0 2 4

−2

−4
.
ดร

5. • หาเส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
1
พิจารณา lim
x→∞ (x − 1)(x + 2)
=0
1
และ lim
x→−∞ (x − 1)(x + 2)
=0

ดังนั้น เส้นกำกับแนวราบคือ y = 0
เนื่องจากที่ x = −2, 1 ทำให้ f ลู่เข้าสู่อนันต์ นั่นคือจุดแคนดิเดต a = −2, 1
1
พิจารณา a = −2 lim
(x − 1)(x + 2)
= −∞
x→−2+
1
พิจารณา a = 1 lim =∞
x→1 (x − 1)(x + 2)
+
158 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ดังนั้น เส้นกำกับแนวดิ่งคือ x = −2 และ x = 1


• หาจุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า

(x2 + x − 2)(0) − (1)(2x + 1)


เนื่องจาก f ′ (x) =
(x2 + x − 1)2
−2x − 1
= 2
(x + x − 2)2
(x2 + x − 2)2 (−2) − (−2x − 1)(2)(x2 + x − 2)(2x + 1)
และ f ′′ (x) =
(x2 + x − 2)4
6(x2 + x + 1)
= 2
(x + x − 2)3

งล ์ วาน
พิจารณา f ′ (x) = 0
−2x − 1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
=0
(x + x − 2)2
2
งท
: ต มศกั ับรา่

−2x − 1 = 0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1
x=−
2
พิจารณา f ′ (x) หาค่าไม่ได้
จะได้ว่า (x − 1)2 (x + 2)2 = 0
x = −2, 1
.
ดร

ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุดที่ x = −2, 1

พิจารณา f ′′ (x) > 0


6(x2 + x + 1)
จะได้ว่า (x2 + x − 2)3
>0

6(x2 + x + 1) > 0

−1 ± −3
x>
2


−1 ± −3
เนื่องจาก x=
2
ไม่อยู่ในโดเมน ดังนั้น ไม่มีจุดเปลี่ยนเว้า
• สร้างตารางเพื่อช่วยในการเขียนกราฟ
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 159

ช่วงในการพิจารณา f (x) f ′ (x) f ′′ (x) สรุป


x < −2 + + f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าบน
x = −2 ไม่มี x = −2 เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
−2 < x < − 12 + − f เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเว้าล่าง

x = − 12 − 49 − 12 , − 49 เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
− 21 < x < 1 − − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าล่าง
x=1 ไม่มี x = 1 เป็นเส้นกำกับแนวราบ
1<x − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน

งล ์ วาน
4
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

b
X
−4 −2 0 2 4

−2 
− 12 , − 49

−4
.
ดร

6. • หาเส้นกำกับแนวราบและเส้นกำกับแนวดิ่ง
x
พิจารณา lim
x2 − 1
x→∞
=0
x
และ lim
x→−∞ x2 − 1
=0

ดัง นั้น เส้น กำกับ แนวราบคือ y = 0 เนื่องจากที่ x = −1, 1 ทำให้ f ลู่ เข้า สู่ อนันต์
นั่นคือจุดแคนดิเดต a = −1, 1
x
พิจารณา lim
x2
= −∞
x→−1−
x
และ lim 2 = ∞
x→1− x
160 บทที่ 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ดังนั้น เส้นกำกับแนวดิ่งคือ x = −1 และ x = 1


• หาจุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า
(x2 − 1) − (x)(2x)
เนื่องจาก f ′ (x) =
(x2 − 1)2
−x2 − 1
= 2
(x − 1)2
(x2 − 1)2 (−2x) − (−x2 − 1)(2)(x2 − 1)(2x)
และ f ′′ (x) =
(x2 − 1)4
2x(x2 + 3)
=
(x2 − 1)3

พิจารณา f ′ (x) = 0

งล ์ วาน
−x2 − 1
จะได้ว่า (x2 − 1)2
=0
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
−x2 − 1 = 0
งท
: ต มศกั ับรา่

x2 = −1
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ


x = ± −1
พิจารณา f ′ (x) หาค่าไม่ได้
จะได้ว่า (x2 − 1)2 = 0
x2 − 1 = 0
x2 = 1
.
ดร

x = −1, 1

√ √
เนื่องจาก x = ± −1 ไม่อยู่ในโดนเมน นั่นคือ x = ± −1 ไม่ใช่จุดวิกฤต
ดังนั้น จุดวิกฤตคือจุดที่ x = −1, 1

พิจารณา f ′′ (x) > 0


2x(x2 + 3)
จะได้ว่า (x2 − 1)3
>0

2x(x2 + 3) > 0

x > 0, ± −3

√ √
เนื่องจาก x = ± −3 ไม่อยู่ในโดเมน ดังนั้น x = ± −3 ไม่ใช่จุดเปลี่ยนเว้า
2.13. การเขียนกราฟโดยการประยุกต์ของอนุพันธ์ 161

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าบนเมื่อ x > 0


พิจารณา f ′′ (x) < 0
2x(x2 + 3)
จะได้ว่า (x2 − 1)3
<0

2x(x2 + 3) < 0

x < 0, ± −3

นั่นคือ f จะมีลักษณะเว้าล่างเมื่อ x < 0


• สร้างตารางเพื่อช่วยในการเขียนกราฟ
ช่วงในการพิจารณา f (x) f ′ (x) f ′′ (x) สรุป
x < −1 − − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าล่าง

งล ์ วาน
x = −1 ไม่มี x = −1 เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง
−1 < x < 0 − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน
เรอื ่ วงษ
+
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x=0 0 งท (0, 0) เป็นจุดเปลี่ยนเว้า
: ต มศกั ับรา่

0<x<1 − − f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าล่าง
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x=1 ไม่มี x = 1 เป็นเส้นกำกับแนวดิ่ง


1<x − + f เป็นฟังก์ชันลดและเว้าบน

Y
.
ดร

(0, 0)
b
X
−4 −2 0 2 4

−2

−4
ดร
.
FB อุด ฉบ
: ต มศกั ับรา่
ดิ เ ดิ์ ง
ลา่ รกั
เรอื ่ วงษ
งล ์ วาน
งท
ุน
บทที่
3
การประยุกต์อนุพันธ์

3.1 กฎของโลปิตาล งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

บทนิยาม 3.1.1 ในการหาลิมิตของฟังก์ชัน x→a


lim f (x) ถ้า f (a) อยู่ในรูปใดรูปหนึ่งต่อไปนี้คือ

0 ∞
, , 0 · ∞ , ∞ − ∞ , ∞0 , 00 , 1∞
0 ∞

ซึ่งเราจะยังไม่สามารถบอกค่าลิมิตได้ทันที ในกรณีนี้เราจะกล่าวว่า x→a


lim f (x) อยู่ใน รูปแบบที่
.

ยังไม่กำหนด
ดร

ตัวอย่าง 3.1 สังเกตลิมิตดังต่อไปนี้


 
x2 − 16 0
1. lim
x→4 x−4
อยู ใ
่ นรู ป แบบ 0
 
tan x ∞
2. lim
π − 1 + tan x
อยู่ในรูปแบบ ∞
x→( ) 2

3. lim x cot x อยู่ในรูปแบบ 0 · ∞


x→0+
 
1 1
4. lim
x→0

sin x x
อยู่ในรูปแบบ ∞ − ∞

5. lim xsin x
x→0
อยู่ในรูปแบบ 00
163
164 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์
 x2
6. อยู่ในรูปแบบ ∞0
1
lim 1 + e x2
x→0

7. อยู่ในรูปแบบ 1∞
1
lim (1 + x) x
x→0

ทฤษฎีบท 3.1.2 ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่มี a อยู่ โดยที่ g′ (x)


ไม่เป็นศูนย์ทุกค่าของ x ในช่วงเปิดนี้ยกเว้นที่ x = a ถ้า x→a
lim f (x) = 0 และ lim g (x) = 0
x→a
แล้ว ′
f (x) f (x)
lim = lim ′
x→a g (x) x→a g (x)

งล ์ วาน
ทฤษฎีบท 3.1.3 ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่มี a อยู่ โดยที่ g′ (x)
ไม่เป็นศูนย์ทุกค่าของ x ในช่วงเปิดนี้ยกเว้นที่ x = a ถ้า x→a
lim f (x) = ∞ และ lim g (x) = ∞
เรอื ่ วงษ
x→a
ดิ เ ดิ์ ง

แล้ว

ุน

งท f (x) f (x)
: ต มศกั ับรา่

lim = lim
x→a g (x) x→a g ′ (x)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ทฤษฎีนี้ยังคงจริงเมื่อ x→a
lim f (x) = −∞ และ lim g (x) = −∞
x→a

JUM!!! ทฤษฎีบทนี้ เรียกว่า กฎของโลปิตาล ซึ่ง บอกว่า ถ้า เราแทนลิ มิต แล้ว ได้ 00 หรือ

เราสามารถแยกดิฟเศษ และดิฟส่วนแล้วค่อยหาลิมิตได้ และถ้าหลังจากใช้ กฎของโลปิตาล
.


ดร


แล้วเรายังได้ 00 หรือ ∞ อีก เรายังสามารถใช้กฎของโลปิตาลซ้ำ ๆ ได้

ข้อสังเกต จากรูปแบบยังไม่กำหนด เราสามารถแบ่งออกเป็นได้ 3 กลุ่ม เพื่อความสะดวกคือ

1. รูปแบบ 00 หรือ ∞

(รวมทั ง
้ รู ป แบบ ∞ −∞ −∞
, , )
−∞ ∞ −∞

2. รูปแบบ 0 · ∞ หรือ ∞ − ∞ (รวมทั้งรูป ∞ − ∞, −∞ − (−∞))


3. รูปแบบ ∞0 , 00 , 1∞ (รวมทั้งรูปแบบ (−∞)0 , 1−∞ )
x −9 2
ตัวอย่าง 3.2 จงหาค่าของ x→−3
lim
x+3
3.1. กฎของโลปิตาล 165

x2 − 9
วิธีทำ. lim
x→−3 x + 3
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล

d 2
x2 − 9 (x − 9)
lim = lim dx
x→−3 x + 3 x→−3 d
(x + 3)
dx
2x
= lim
x→−3 1

= 2(−3)
= −6

งล ์ วาน

x+4−3
ตัวอย่าง 3.3 จงหาค่าของ x→5
เรอื ่ วงษ
lim
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x2 − 25
งท
: ต มศกั ับรา่


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x+4−3
วิธีทำ. เนื่องจาก x→5
lim
x2 − 25
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล

√ d √
x+4−3 ( x + 4 − 3)
lim = lim dx
x→5 x2 − 25 x→5 d 2
(x − 25)
.

dx
ดร

1

2 x+4
= lim
x→5 2x
1
= lim √
x→5 4x x + 4
1
= √
20 5 + 4
1
=
60

e x − e−x − 2x
ตัวอย่าง 3.4 จงหาค่าของ x→0
lim
x − sin x
166 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์
ex − e−x − 2x
วิธีทำ. lim
x→0 x − sin x
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล

d x
ex − e−x − 2x (e − e−x − 2x)
lim = lim dx
x→0 x − sin x x→0 d
(x − sin x)
dx
ex + e−x − 2
= lim
x→0 1 − cos x
e − e−x
x
= lim
x→0 sin x
e + e−x
x
= lim
x→0 cos x
=2

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ตัวอย่าง 3.5 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้
งท
: ต มศกั ับรา่

3x + 5 ln x 1 − e−x
1. 2.
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

lim lim
x→∞ 6x + 2 ln x x→0 sin x

 
1 2 1
3. lim
x→1
− 2
ln x x − 1
4. lim x2 tan
x→∞ x

วิธีทำ. 1. 3x + 5 ln x
อยู่ในรูป ∞ จากกฎของโลปิตาล
.

lim

ดร

x→∞ 6x + 2 ln x

5
3x + 5 ln x 3+
lim = lim x
x→∞ 6x + 2 ln x x→∞ 2
6+
x
3 1
= =
6 2

1 − e−x
2. lim
x→0 sin x
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล

1 − e−x e−x
lim = lim
x→0 sin x x→0 cos x

=1
3.1. กฎของโลปิตาล 167
 
1 2
3. lim
x→1 ln x
− 2
x −1
อยู่ในรูป ∞ − ∞ ขั้นแรกเราจะต้องจัดรูปก่อน
 
1 2 x2 − 1 − 2 ln x
lim
x→1 ln x
− 2
x −1
= lim
x→1 (ln x)(x2 − 1)
; บวกลบเศษส่วน
2
2x −
= lim x ; เข้ารูป 00 ดิฟบนดิฟล่าง
x→1 x2 − 1
(ln x)(2x) +
x
2x2 − 2
= lim 2
x→1 2x ln x + x2 − 1
; จัดรูป
4x 0
= lim
x→1 2x + 4x ln x + 2x
; เข้ า รู ป 0
ดิฟบนดิฟล่างอีกครั้ง
4
=
4

งล ์ วาน
=1
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1
4. lim x2 tan อยู่ในรูป ∞ · 0 ขั้นแรกเราจะต้องจัดรูปก่อน
งท
: ต มศกั ับรา่

x→∞ x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1 tan x1 1
lim x2 tan
x→∞
= lim
x x→∞ 1
; จาก x2 = 1
ดิฟบนดิฟล่างอีกครั้ง
x2 x2
sec2 x1
− 2
= lim x
x→∞ 2
− 3
x
.

1
ดร

sec 2
= lim
x→∞ 2
x ; ตัด x2 ออกจากบนและล่าง
x
2 sec2 x1 tan x1

= lim
x→∞
x2
2
; เข้ารูป 00 ดิฟบนดิฟล่าง
− 2
x
2 1 1
= lim sec tan
x→∞ x x
=0

ข้อสังเกต จะเห็นว่ากฎของโลปิตาลด้านบนใช้ได้เฉพาะโจทย์ในกลุ่มที่ 1 สำหรับโจทย์ในกลุ่มที่


2 และ 3 เราจะต้องปรับโจทย์ให้อยู่ในรูปแบบที่ 1 ก่อน แล้วจึงใช้ทฤษฎีบทได้
168 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์

ตัวอย่าง 3.6 จงหาค่าของ lim xx


x→0+

วิธีทำ. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป 00 ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

lim xx = lim eln x


x
; a = eln a
x→0+ x→0+

= lim ex ln x
x→0+
lim x ln x
= ex→0+
ln x
lim
=e x→0+ 1/x

ln x
พิจารณา อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล

งล ์ วาน
lim
x→0+ 1/x เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ln x d(ln x)/dx
lim = lim
งท 1/x x→0 d(1/x)/dx
: ต มศกั ับรา่

x→0+ +

1/x
= lim
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x→0+ −1/x2

= lim −x
x→0+
ln x
lim lim −x
ดังนั้น ex→0+ 1/x = ex→0 +

= e0
.
ดร

=1

ตัวอย่าง 3.7 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้


  2
3 x
1. lim cos
x→∞ x
2. lim (x2 + x)x
x→0

  2
1 x
3. lim
x→∞
(ex + x)
1
x 4. lim 1 + 3
x→∞ x

5. 6.
1
lim (cos x − x sin x) x2 lim (sin x)tan x
x→0− x→0+
3.1. กฎของโลปิตาล 169

วิธีทำ. 1. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป 1∞ ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

 x2 2
3 3 x
lim cos = lim eln(cos x )
x→∞ x x→∞
2 3
ln(cos )
= lim ex x
x→∞
3
lim x2 ln(cos x )
= ex→∞
3

ln cos x
lim
=e
x→∞ 1/x2

ln cos x3
พิจารณา lim
x→∞ 1/x2
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล
−3 sin 3/x

งล ์ วาน

ln cos x3 x2 cos 3/x
lim = lim
x→∞ 1/x 2 x→∞ −2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x3
งท
: ต มศกั ับรา่

3 tan 3/x
= lim
x→∞ 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x
−9 sec2 3/x
= lim x2
x→∞ −2
x2
9 3
= lim sec2
x→∞ 2 x

.

ln cos x3
ดร

lim
lim 9 sec2 x3
ดังนั้น e
x→∞ 1/x2 = ex→∞ 2
9
= e2

2. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป 00 ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

2 +x)x
lim (x2 + x)x = lim eln(x
x→0 x→0
2 +x)
= lim ex ln(x
x→0
lim x ln(x2 +x)
= ex→0
ln(x2 + x)
lim
=e
x→0 1/x
170 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์
2
ln(x + x) ∞
พิจารณา x→0
lim
1/x
อยู ใ
่ นรู ป ∞
จากกฎของโลปิตาล
2x + 1
ln(x2 + x) x 2+x
lim = lim
x→0 1/x x→0 −1
x2
2x2 + x
= lim
x→0 −(x + 1)
2
ln(x + x) 2x2 + x
lim lim
x→0 −(x + 1)
ดังนั้น e
x→0 1/x =e
= e0
=1

3. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป ∞0 ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ 1
1 x +x) x
lim (ex + x) x = lim eln(e
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→∞ x→∞
งท
: ต มศกั ับรา่

1 x +x)
= lim e x ln(e
x→∞
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ln(ex + x)
lim
= ex→∞ x

อยู่ในรูป ∞
x
ln(e + x)
พิจารณา x→∞
lim
x ∞
จากกฎของโลปิตาล

ex + 1
ln(ex
.

+ x) x
= lim e + x
ดร

lim
x→∞ x x→∞ 1
ex + 1
= lim x
x→∞ e + x
ex
= lim x
x→∞ e + 1
ex
= lim x 1
x→∞ e (1 +
ex )
1
= lim
x→∞ 1 + 1x
e
x
ln(e + x) 1
lim
ดังนั้น e
lim
x→∞ x =e
x→∞
1 + e1x

= e1
=e
3.1. กฎของโลปิตาล 171

4. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป 1∞ ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

 x2 ( )x2
1 ln 1+ 1
x3
lim 1+ 3 = lim e
x→∞ x x→∞
( )
1
x2 ln 1+
= lim e x3
x→∞
( )
1
lim x2 ln 1+
= ex→∞ x3


ln 1 + x13
lim
=e
x→∞ 1/x2

 

งล ์ วาน
1
ln 1 + 3
พิจารณา lim
x
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล
เรอื ่ วงษ
x→∞ 1/x 2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

 
1 −3/x4
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ln 1 + 3
x 1 + 1/x3
lim = lim
x→∞ 1/x2 x→∞ −2/x3
3/2x
= lim
x→∞ 1 + 1/x3

ln 1 + x13 3/2x
lim lim
ดังนั้น e
x→∞ 1/x 2
=e
x→∞ 1 + 1/x3
.
ดร

= e0
=1

5. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป 1∞ ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

1
1 2
lim (cos x − x sin x) x2 = lim eln(cos x−x sin x) x
x→0− x→0−
1
= lim e x2 ln(cos x−x sin x)
x→0−
ln(cos x−x sin x)
lim
x2
= ex→0−
172 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์
ln(cos x − x sin x)
พิจารณา lim
x2
อยู่ในรูป 00 จากกฎของโลปิตาล
x→0−

−2 sin x−x cos x


ln(cos x − x sin x) cos x−x sin x
lim = lim
x→0− x2 x→0− 2x
−2 sin x − x cos x
= lim
x→0− 2x cos x − 2x2 sin x
−2 cos x + x sin x − cos x
= lim
x→0 −2x sin x + 2 cos x − 2x2 cos x − 4x sin x

ln(cos x − x sin x) −2 cos x + x sin x − cos x


lim lim
ดังนั้น ex→0 − x2
=e x→0 − −2x sin x + 2 cos x − 2x2 cos x − 4x sin x

= e− 2
3

6. จะเห็นว่าโจทย์ในข้อนี้อยู่ในรูป 00 ดังนั้นเราต้องทำการปรับฟังก์ชันก่อน

งล ์ วาน
lim (sin x)tan x = lim eln(sin x)
tan x
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
x→0+ x→0+

งท = lim etan x ln(sin x)


: ต มศกั ับรา่

x→0+
lim tan x ln(sin x)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= ex→0+
ln(sin x)
lim
=e x→0+ 1/ tan x

พิจารณา lim
ln(sin x)
1/ tan x
อยู่ในรูป ∞

จากกฎของโลปิตาล
x→0+
.

cos x
ดร

ln(sin x) sin x
lim = lim
x→0 1/ tan x
+ x→0+ sec2 x

tan2 x
− tan x
= lim
x→0 + sec2 x
lim
ln(sin x) − tan x
lim
ดังนั้น e x→0 + 1/ tan x =e x→0 + sec2 x

= e0
=1
3.2. อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริน 173

3.2 อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริน

บทนิยาม 3.2.1 สำหรับฟังก์ชัน f (x) ซึ่งมีอนุพันธ์ทุกอันดับที่ x = a แล้ว อนุกรมเทย์เลอร์


สำหรับ f รอบ x = a คือ อนุกรมกำลังในรูป

X f (n) (a)
f (x) = (x − a)n
n!
n=0
f ′ (a) f ′′ (a) f (n) (a)
= f (a) + (x − a) + (x − a)2 + · · · + (x − a)n + · · ·
1! 2! n!

ถ้า a = 0 แล้วอนุกรมเทย์เลอร์

X f (n) (0)
(x)n

งล ์ วาน
f (x) =
n!
n=0
f ′ (0) f ′′ (0) f (n) (0)
เรอื ่ วงษ
(x)2 + · · · + (x)n + · · ·
ดิ เ ดิ์ ง
= f (0) + (x) +

ุน
1! 2! n!
งท
: ต มศกั ับรา่

เรียกว่า อนุกรมแมคลอริน สำหรับ f


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 3.8 จงกระจาย f (x) = ex เป็นอนุกรมแมคลอริน

วิธีทำ. เนื่องจาก เราทราบว่า f (n) (x) = ex (ดิฟ ex ได้ ex เสมอ) และ f (n) (0) = e0 = 1
สำหรับทุกจำนวนนับ n จึงได้ว่า
.
ดร


X X xn ∞
f (n) (0) x2 x3
f (x) = xn = 1 + x + + ··· =
n! 2! 3! n!
n=0 n=0

ตัวอย่าง 3.9 จงกระจายฟังก์ชันต่อไปนี้ในรูปอนุกรมแมคลอริน

1. f (x) = sin x 2. f (x) = e−x

1
3. f (x) =
1−x
4. f (x) = x4 e−3x
2
174 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์

วิธีทำ. 1. หาอนุพันธ์ของ f (x) รอบจุด 0 จะได้

f (x) = sin x f (0) = 0


f ′ (x) = cos x f ′ (0) = 1
f ′′ (x) = − sin x f ′′ (0) = 0
f ′′′ (x) = − cos x f ′′′ (0) = −1
f (4) (x) = sin x f (4) (0) = 0
f (5) (x) = cos x f (5) (0) = 1

เนื่องจากรูปแบบจะวนซ้ำตั้งแต่อนุพันธ์ลำดับที่ 4 เป็นต้นไป ดังนั้น จะได้อนุกรมแมคลอรินของ


f (x) คือ

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน

X f (n) (0)
xn
f (x) =
งท
: ต มศกั ับรา่

n!
n=0
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

f ′ (0) f (n) (0)


= f (0) + (x) + · · · + (x)n + · · ·
1! n!
1x 0 1 0 1 0 1
=0+ + x2 − x3 + x4 + x5 + x6 − x7 + · · ·
1! 2! 3! 4! 5! 6! 7!
x3 x5 x7
=x− + − + ···
3! 5! 7!

X (−1)n x2n+1
=
.

(2n + 1)!
ดร

n=0

2. หาอนุพันธ์ของ f (x) รอบจุด 0 จะได้

f (x) = e−x f (0) = 1


f ′ (x) = −e−x f ′ (0) = −1
f ′′ (x) = e−x f ′′ (0) = 1
f ′′′ (x) = −e−x f ′′′ (0) = −1
.. ..
. .
f (n) (x) = (−1)n e−x f (n) (0) = (−1)n ; n = 0, 1, 2, · · ·
3.2. อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริน 175

ดังนั้น อนุกรมแมคลอรินของ f (x) = e−x คือ


X ∞
X (−1)n xn
f (n) (0) x2 x3
f (x) = xn = 1 − x + − + ··· =
n! 2! 3! n!
n=0 n=0

3. หาอนุพันธ์ของ f (x) รอบจุด 0 จะได้


1
f (x) = f (0) = 1
1−x
1
f ′ (x) = f ′ (0) = 1!
(1 − x)2
(1)(2)
f ′′ (x) = f ′′ (0) = (1)(2) = 2!
(1 − x)3

งล ์ วาน
(1)(2)(3)
f ′′′ (x) = f ′′′ (0) = (1)(2)(3) = 3!
(1 − x)4
.. ..
เรอื ่ วงษ
. .
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

n!
f (n) (x) = f (n) (0) = n!
(1 − x)n
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ดังนั้น อนุกรมแมคลอรินของ f (x) = 1 −1 x คือ


X ∞
X ∞
X
f (n) (0) n!
f (x) = n
x = x = 1 + x + x + x + ··· =
n 2 3
xn
.

n! n!
ดร

n=0 n=0 n=0

4. หาอนุพันธ์ของ g(x) = e−3x รอบจุด 0


2

เนื่องจากข้อ 2 เราทราบว่า อนุกรมแมคลอรินของ f (x) = e−x คือ


X X (−1)n xn ∞
f (n) (0) x2 x3
f (x) = x =1−x+
n
− + ··· =
n! 2! 3! n!
n=0 n=0

ดังนั้น อนุกรมแมคลอรินของ g (x) = e−3x คือ 2


X (−1)n (3x2 )n
g (x) =
n!
n=0
176 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์

ดังนั้น อนุกรมแมคลอรินของ f (x) = x4 e−3x คือ 2


X ∞
X ∞
X
4 (−1)n (3x2 )n 4 (−3)n (x2 )n (−3)n (x2n+4 )
f (x) = x =x =
n! n! n!
n=0 n=0 n=0

ตัวอย่าง 3.10 จงกระจายฟังก์ชันต่อไปนี้ในรูปอนุกรมเทย์เลอร์


1. f (x) = cos x รอบจุด x = π2 2. f (x) = x3 − 10x2 + 6 รอบจุด x = 3
3. f (x) = ln x รอบจุด x = 4 4. f (x) = 7
x4
รอบจุด x = −3
วิธีทำ. 1. หาอนุพันธ์อันดับ n ของ f (x) = cos(x) ที่ x = π2 จะได้
π 
f (x) = cos(x) f =0
2

งล ์ วาน
f ′ (x) = − sin (x) f′ = −1
2

เรอื ่ วงษ
f ′′ (x) = − cos (x) f ′′
ดิ เ ดิ์ ง
=0

ุน
2

งท
: ต มศกั ับรา่

f ′′′ (x) = sin (x) f ′′′ =1


2
.. ..
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

. .

ดังนั้น อนุกรมเทย์เลอร์ของ f (x) = cos(x) รอบจุด x = π2 คือ


f (n) ( π )  π n

X
f (x) = 2
x−
n! 2
.
ดร

n=0
π 1  π 3
=0− x− +0+ x− + ...
2 3! 2
 π  1  
π 3
=− x− + x− + ...
2 3! 2

2. หาอนุพันธ์อันดับ n ของ f (x) = x3 − 10x2 + 6 ที่ x = 3 จะได้

f (x) = x3 − 10x2 + 6 f (3) = −57


f ′ (x) = 3x2 − 20x f ′ (3) = −33
f ′′ (x) = 6x − 20 f ′′ (3) = −2
f ′′′ (x) = 6 f ′′′ (3) = 6
f (n) (x) = 0 f (n) (3) = 0, n ≥ 4
3.2. อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริน 177

ดังนั้น อนุกรมเทย์เลอร์ของ f (x) = x3 − 10x2 + 6 รอบจุด x = 3 คือ



X f (n) (3)
f (x) = (x − 3)n
n!
n=0
f ′′ (3) f ′′′ (3)
= f (3) + f ′ (3)(x − 3) + (x − 3)2 + (x − 3)3 + 0
2! 3!
= −57 − 33(x − 3) − (x − 3)2 + (x − 3)3

3. หาอนุพันธ์อันดับ n ของ f (x) = ln x ที่ x = 4 จะได้

f (x) = ln x f (4) = ln 4
1 1
f ′ (x) = f ′ (4) =

งล ์ วาน
x 4
1 1
f ′′ (x) = − 2 f ′′ (4) = − 2
เรอื ่ วงษ
x 4
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
′′′ 2 ′′′ 2
งท
: ต มศกั ับรา่

f (x) = 3 f (4) = 3
x 4
(2)(3) (2)(3)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

f (4) (x) = − 4 f (4) (4) = − 4


x 4
.. ..
. .
(−1)n+1 (n − 1)! (−1)n+1 (n − 1)!
f (n) (x) = f (n) (4) = , n = 1, 2, 3, . . .
xn 4n

ดังนั้น อนุกรมเทย์เลอร์ของ ln(x) รอบจุด x = 4 คือ


.
ดร


X f (n) (4)
f (x) = (x − 4)n
n!
n=0

X f (n) (4)
= f (4) + (x − 4)n
n!
n=1

X (−1)n+1 (n − 1)!
= ln 4 + (x − 4)n
n!4n
n=1
X∞
(−1)n+1
= ln 4 + (x − 4)n
n4n
n=1

4. หาอนุพันธ์อันดับ n ของ f (x) = x74 ที่ x = −3 จะได้


178 บทที่ 3. การประยุกต์อนุพันธ์

7 7
f (x) = f (−3) =
x4 (−3)4
7(4) 7(4)
f ′ (x) = − 5 f ′ (−3) = −
x (−3)5
(7)(4)(5) (7)(4)(5)
f ′′ (x) = f ′′ (−3) =
x6 (−3)6
(7)(4)(5)(6) (7)(4)(5)(6)
f ′′′ (x) = − f ′′′ (−3) = −
x7 (−3)7
(7)(4)(5)(6)(7) (7)(4)(5)(6)(7)
f (4) (x) = f (4) (−3) =
x8 (−3)8
.. ..
. .
7 (−1)n (n + 3)! 7 (−1)n (n + 3)!
f (n) (x) = f (n) (−3) = , n = 0, 1, 2, 3, . . .

งล ์ วาน
6 xn+4 6 (−3)n+4

ดังนั้น อนุกรมเทย์เลอร์ของ x74 รอบจุด x = −3 คือ


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่


X f (n) (−3)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

f (x) = (x + 3)n
n!
n=0
X∞
7(n + 3)!
= (x + 3)n
6(−3)n+4 n!
n=0
X∞
7(n + 3)!
= (x + 3)n
6(−1)n+4 (3)n+4 n!
n=0
.

X∞
ดร

7(n + 3)!
= (x + 3)n
6(−1)4 (3)n+4 n!
n=0
X∞
7(n + 3)(n + 2)(n + 1)
= (x + 3)n
6(3)n+4
n=0
บทที่
4
ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

บทนิยาม 4.0.1 สำหรับฟังก์ชัน y = f (x) ซึ่ง f ′ (x) หาค่าได้ จะนิยาม


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1. ค่าเชิงอนุพันธ์ของ x เขียนแทนด้วย dx โดย dx = ∆x

2. ค่าเชิงอนุพันธ์ของ y เขียนแทนด้วย dy โดย dy = df (x) = f ′ (x) dx


.
ดร

ข้อสังเกต อย่าลืมนะ dx = ∆x แต่ dy ̸= ∆y

ตัวอย่าง 4.1 จาก y = x2 − x + 1 จงหาค่าของ dx, ∆y, และ dy เมื่อ ∆x = 1 และ x = 2

วิธีทำ. เนื่องจาก dx = ∆x ดังนั้น dx = 1


179
180 บทที่ 4. ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์

จาก ∆y = f (x + ∆x) − f (x)

ดังนั้น ∆y = (x + ∆x)2 − (x + ∆x) + 1 − (x2 − x + 1)


= (2 + 1)2 − (2 + 1) + 1 − (4 − 2 + 1)
=9−3+1−3
=4
จาก dy = f ′ (x)dx
ดัง dy = (2x − 1)dx
= (2(2) − 1)(1)
=3

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

JUM!!! เมื่อ ∆x มีค่าใกล้เคียงศูนย์ จะได้ว่า


f (x + dx) ≈ f (x) + f ′ (x) dx
≈ y + dy
.
ดร

ตัวอย่าง 4.2 จงใช้ค่าเชิงอนุพันธ์ประมาณค่าของฟังก์ชันต่อไปนี้



1. 24 2. cos (40)


3. 3
68 4. sin (31)

5. ln(1.05) 6. ln(e + 2)


วิธีทำ. 1. ให้ y = x จะได้ว่า dy = f ′ (x)dx = 2√1 x dx
√ √
เนื่องจากเราต้องการประมาณค่า 24 แต่เราทราบว่า 25 = 5
181

ดังนั้น เลือก x = 25 และ dx = −1

จาก f (x + ∆x) ≈ y + dy
1
ดังนั้น f (25 − 1) = f (25) + √ dx
2 x
√ 1
24 = f (25) + √ (−1)
2 25
1
=5−
2(5)
1
=5−
10
= 5 − 0.1
= 4.9

ดังนั้น ค่าประมาณเชิงอนุพันธ์ของ งล ์ วาน



24 เท่ากับ 4.9
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2. ให้ y = cos(x) จะได้ว่า dy = f ′ (x)dx = − sin(x)dx


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เนื่องจากเราต้องการประมาณค่า cos(40) แต่เราทราบว่า cos(45)


ดังนั้น เลือก x = 45 และ dx = −5 หรือ x = π4 เรเดียน และ dx = −π
36

จาก f (x + ∆x) ≈ y + dy
π π π 
ดังนั้น − − sin xdx
.

f =f
ดร

4  36 4
2π π   π   −π 
cos =f − sin
9 4 4 36
√ √
2 2π
cos(40) = +
2 72
= 0.7071 + 0.0617
= 0.7688

ดังนั้น ค่าประมาณเชิงอนุพันธ์ของ cos (40) เท่ากับ 0.7688


3. ให้ y = x จะได้ว่า dy = f ′ (x)dx = 13 x− dx
3
2
3

√ √
เนื่องจากเราต้องการประมาณค่า 68 แต่เราทราบว่า 64 = 4
3 3
182 บทที่ 4. ค่าเชิงอนุพันธ์และการประยุกต์

ดังนั้น เลือก x = 64 และ dx = 4

จาก f (x + ∆x) ≈ y + dy
1 −2
ดังนั้น f (64 + 4) = f (64) +
3
x 3 dx
√ 1
(64)− 3 (4)
3 2
68 = f (64) +
3
4(2−4 )
=4+
3
4
=4+
3(24 )
1
=4+
12
= 4 + 0.0833

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ = 4.0833


ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ดังนั้น ค่าประมาณเชิงอนุพันธ์ของ 3
68 เท่ากับ 4.083
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

4. ให้ y = sin(x) จะได้ว่า dy = f ′ (x)dx = cos(x)dx


เนื่องจากเราต้องการประมาณค่า sin(31) แต่เราทราบว่า sin(30) = 12
ดังนั้น เลือก x = 30 และ dx = 1 หรือ x = π6 เรเดียน และ dx = 180
π

จาก f (x + ∆x) ≈ y + dy
π π  π 
.

ดังนั้น
ดร

f + =f + cos(x)dx
6  180 6
31π π  π   π 
sin =f + cos
180 6 6 180

1 3π
sin(31) = +
2 360
= 0.5 + 0.0151
= 0.5151

ดังนั้น ค่าประมาณเชิงอนุพันธ์ของ sin(31) เท่ากับ 0.5151

5. ให้ y = ln(x) จะได้ว่า dy = f ′ (x)dx = x1 dx


เนื่องจากเราต้องการประมาณค่า ln(1.05) แต่เราทราบว่า ln(1) = 0
183

ดังนั้น เลือก x = 1 และ dx = 0.05


จาก f (x + ∆x) ≈ y + dy
1
ดังนั้น f (1 + 0.05) = f (1) +
x
dx
1
ln(1.05) = f (1) + (0.05)
1
= 0 + 0.05
= 0.05

ดังนั้น ค่าประมาณเชิงอนุพันธ์ของ ln(1.05) เท่ากับ 0.05


6. ให้ y = ln(x) จะได้ dy = f ′ (x)dx = x1 dx
เนื่องจากเราต้องการประมาณค่า ln(e + 2) แต่เราทราบว่า ln(e) = 1

งล ์ วาน
ดังนั้น เลือก x = e และ dx = 2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
จาก f (x + ∆x) ≈ y + dy
งท
: ต มศกั ับรา่

1
ดังนั้น f (e + 2) = f (e) +
x
dx
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1
ln(e + 2) = f (e) + (2)
e
2
=1+
e
= 1 + 0.7358
= 1.7358
.
ดร

ดังนั้น ค่าประมาณเชิงอนุพันธ์ของ ln(e + 2) เท่ากับ 1.7358


ดร
.
FB อุด ฉบ
: ต มศกั ับรา่
ดิ เ ดิ์ ง
ลา่ รกั
เรอื ่ วงษ
งล ์ วาน
งท
ุน
บทที่
5
ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
5.1 ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ในบทที่ แล้ว เราได้ เรียนรู้ เกี่ยวกับ การหาอนุพันธ์ สำหรับ ฟังก์ชัน ต่างๆกัน ไปแล้ว ในบทนี้ เรา
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

จะพิจารณากระบวนการย้อนกลับ ของการหาอนุพันธ์ จากคำถามในบทที่ 2 ว่า “อนุพันธ์ ของ x2


คือ อะไร?” ซึ่ง คำตอบคือ 2x (หวัง ว่า จะยัง จำกัน ได้ นะครับ) ในบทนี้ เราจะถามคำถามย้อนกลับ
นั่นคือ “ถ้าเราทราบว่าอนุพันธ์ของ f คือ 2x แล้ว f มีหน้าตาเป็นอย่างไร?” จะเห็นว่าคำถามนี้มัน
ไม่ค่อยยากเลย แต่ว่าถ้าเปลี่ยนคำถามใหม่เป็น “ถ้าอนุพันธ์ของ f คือ x sin x แล้ว f จะมีหน้าตา
เป็นอย่างไร?”
จะเห็นว่าคำตอบไม่ได้หาได้ง่าย ๆ อีกแล้ว ดังนั้นในบทนี้เราจะศึกษากระบวนการย้อนกลับของ
.
ดร

การหาอนุพันธ์ (ซึ่งเราจะเรียกว่าการหาปริพันธ์) อย่างเป็นระบบ รวมถึงศึกษาเทคนิคต่างๆที่จะมา


ช่วยให้เราหาปริพันธ์ได้อย่างง่ายดายมากยิ่งขึ้น

บทนิยาม 5.1.1 ฟังก์ชัน F จะถูกเรียกว่า ปฏิยานุพันธ์ (antiderivative) ของฟังก์ชัน f บน


ช่วงเปิด I ก็ต่อเมื่อ F ′ (x) = f (x) สำหรับทุก ๆ x ในช่วงเปิดนั้น

จากนิยามข้างต้น เราจะได้ ว่า F (x) = x2 เป็น ปฏิ ยานุ พันธ์ ของ f (x) = 2x บนช่วงเปิด
(−∞, ∞) เนื่องจาก สำหรับทุกๆ x ที่อยู่บนช่วงนี้

d 2
F ′ (x) = x = 2x = f (x)
dx
186 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

มากกว่านั้น เราน่าจะสังเกตเห็นได้ว่าไม่ได้มีเพียงแค่ x2 ที่เป็นปฏิยานุพันธ์ของ 2x แต่ยังมีตัวอื่นๆ


อีก เช่น x2 + 1, x2 + 5, หรือ x2 + 10 เพราะฟังก์ชัน เหล่า นี้ ล้วนมี อนุพันธ์ เป็น 2x เหมือนกัน
จากตรงนี้จะได้ข้อสรุปว่า ถ้า F (x) เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f (x) บนช่วงเปิดช่วงหนึ่ง แล้ว F (x) + C
จะเป็นปฏิยานุพันธ์ของ f (x) ด้วยสำหรับทุก ๆ จำนวนจริง C

5.1.1 ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
กระบวนการในการหาปฏิ ยานุ พันธ์ นี่ แหละ ที่ เราเรียกว่า การหาปริ พันธ์ (integration) นั่น
R
หมายความว่า ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตของ f (x) ซึ่งเขียนแทนด้วย f (x) dx ก็คือปฏิยานุพันธ์ของ
f (x) ที่อยู่ในรูป F (x) + C เมื่อ C เป็นค่าคงที่ใด ๆ นั่นคือ
Z
f (x) dx = F (x) + C
R
• สัญลักษณ์ f (x) dx เรียกว่า ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต (indefinite integral) ของ f (x) เทียบ

งล ์ วาน
กับ x เรอื ่ วงษ
• ฟังก์ชัน f (x) เรียกว่า ตัวถูกหาปริพันธ์ (integrand)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

• ค่าคงที่ C เรียกว่า ค่าคงที่ของการหาปริพันธ์ (constant of integration)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

• ในหนังสือเล่มนี้ บางครั้งจะใช้คำว่า อินทิเกรต ทับศัพท์สลับไปสลับมากับคำว่าหาปริพันธ์นะ


ครับ
ข้อควรระวัง อย่า สับสนระหว่างปฏิ ยานุ พันธ์ และปริ พันธ์ นะครับ สำหรับ 2x ฟังก์ชัน x2 ,
x2 + 1, x2 + 5, และ x2 + C ถือว่าเป็นปฏิยานุพันธ์ทั้งหมด เนื่องจากอนุพันธ์ของทุกตัวมีค่าเป็น
2x แต่ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตของ 2x คือ x2 + C
.
ดร

ตัวอย่าง 5.1 ด้านล่างเป็นตัวอย่างของปริพันธ์ของฟังก์ชันง่ายๆ ลองปิดคำตอบทางด้านขวาแล้ว


คิดเองก่อนนะครับ ว่าอนุพันธ์ของอะไรถึงจะได้ฟังก์ชันในโจทย์
R R
1. 1 dx = x + C 2. x4 dx = x5
5 +C
R R
3. eu du = eu + C 4. cos θdθ = sin θ + C
R R
5. 4(x + 1)3 dx = (x + 1)4 + C 6. x sin x dx =
sin x − x cos x + C

ข้อสังเกต ในตัวอย่างข้างบน เช่น ข้อ (1) จะง่ายกว่า มากถ้า เราถามตัว เองว่า ดิฟ อะไรได้ 1?
ซึ่งจะได้ว่าคำตอบก็คือ x นั่นเอง หรืออย่างเช่นข้อ (6) เราก็ควรถามตัวเองว่า ดิฟอะไรได้ x sin x?
ซึ่งคำตอบก็คือ sin x − x cos x แต่จะเห็นว่าในข้อ (5) และ (6) โจทย์เริ่มซับซ้อนมากขึ้น แต่ไม่ต้อง
กังวลไปครับ เราจะเรียนเทคนิคการหาปริพันธ์เหล่านี้ในหัวข้อถัด ๆ ไป
5.1. ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 187

ข้อควรระวัง ระวังนะครับ อย่ายึดติดกับตัวแปร x ตัวแปร x เป็นเพียงแค่ตัวแปรที่เรามักนิยม


นำมาใช้เท่านั้นเอง ตัวแปรนั้นอาจจะเป็น u หรือเป็นตัวอื่น ๆ ก็ได้ ตราบใดที่เราสามารถหาปริพันธ์
เทียบกับตัวแปรนั้น ๆ ได้

5.1.2 สมบัติของปริพันธ์ไม่จำกัดเขต งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ทฤษฎีบทดังต่อไปนี้เป็นสูตรปริพันธ์ของฟังก์ชันพื้นฐานที่เรามักจะเจออยู่บ่อย ๆ (สูตรนี้มีให้ใน
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ห้องสอบนะครับ แต่จริง ๆ แล้วสูตรเหล่านี้ก็ไม่ได้จำยาก เนื่องจากเป็นสูตรที่มาจากสูตรของอนุพันธ์


ถ้าจำได้ก็จะดีมาก ๆ เลยครับ แต่ถ้าจำไม่ได้ อย่างน้อยต้องจำทางด้านซ้ายของสูตรได้นะครับ เมื่อ
เจอโจทย์เราจะได้นึกออกครับ ว่าเรามีสูตรอะไรบ้าง)
.
ดร
188 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

ทฤษฎีบท 5.1.2 ให้ u เป็นฟังก์ชัน และ a เป็นค่าคงที่ใด ๆ โดยที่ a > 0


R R R R
1. du = u + C 2. (u + v) dx = u dx + v dx
Z
R un+1 1
3. un du =
n+1
+C เมื่อ n ̸= −1 4. u
du = ln | u | + C

R au R
5. au du =
ln a
+C 6. eu du = eu + C
R R
7. sin u du = − cos u + C 8. cos u du = sin u + C
R R
9. tan u du = ln | sec u | + C 10. cot u du = ln | sin u | + C
R R
11. sec u du = ln | sec u+tan u | + C 12. csc u du = ln | csc u − cot u | + C

งล ์ วาน
R R
13. sec2 u du = tan u + C 14. csc2 u du = − cot u + C
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
R R
15. sec u tan u du = sec u + C 16. csc u cot u du = − csc u + C
งท
: ต มศกั ับรา่

Z
du u
17.
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

√ = arcsin + C
−u
a2 2 a
Z
du √
18. √
2 2
= ln u + a2 + u2 + C
a +u
Z
du √
19. √ = ln u + u2 − a2 + C
u2 − a2
Z
.
ดร

du 1 u
20. √ = arcsec + C
u u −a2 2 a a
Z
du 1 u
21. 2
a +u 2
= arctan + C
a a
Z
du 1 a + u
22. = ln +C
a2 − u2 2a a − u
Z
du 1 u − a
23. = ln +C
u2 − a2 2a u + a
Z p
1 p 1 u
24. a2 − u2 du = u a2 − u2 + a2 arcsin + C
2 2 a
Z p
1 p 1 √
25. a2 + u2 du = u a2 + u2 + a2 ln u + a2 + u2 + C
2 2
Z p
1 p 2 1 2 √

26. u − a du = u u − a − a ln u + u − a + C
2 2
2
2
2
2 2
5.1. ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 189

ชวนคิด ทุก คนลองคิด ดู สิ ครับ ว่า ทำไมสูตรเหล่า นี้ ถึง เป็น จริง? นั่น หมายความว่า ถ้า เราหา
อนุพันธ์ ของผลลัพธ์ ทางด้านขวา เราจะต้องได้ ตัว ที่ เราต้องการหาปริ พันธ์ ทางด้านซ้าย ใช่ หรือ ไม่?
ลองหยิบบางอันมาคิดดูซิครับ
ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตยังมีสมบัติที่มีประโยชน์มาก ๆ อีกสองข้อ ซึ่งเขียนได้ดังทฤษฎีบทด้านล่าง
เราอาจจะท่องง่าย ๆ ว่า (a) ค่าคงที่ดึงออกจากปริพันธ์ได้ และ (b) ปริพันธ์กระจายการบวกลบได้

ทฤษฎีบท 5.1.3 ให้ f (x) และ g(x) เป็นฟังก์ชันที่มีปฏิยานุพันธ์ และ c เป็นค่าคงที่ใด ๆ


(a) ค่าคงที่สามารถถูกดึงออกจากปริพันธ์ได้
Z Z
cf (x) dx = c f (x) dx

งล ์ วาน
(b) การหาปริ พันธ์ ของสองฟังก์ชัน บวกหรือ ลบกัน สามารถแยกหาปริ พันธ์ ของแต่ละฟังก์ชัน
เรอื ่ วงษ
แล้วค่อยนำมาบวกหรือลบกันทีหลังได้
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Z Z Z
งท
: ต มศกั ับรา่

(f (x) ± g(x)) dx = f (x) dx ± g(x) dx


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ข้อควรระวัง ระวังนะครับปริพันธ์ไม่สามารถกระจายการคูณ และการหารได้ ต้องคูณกระจาย


เสียก่อนสำหรับการคูณ หรือไม่ก็ต้องไปใช้เทคนิคอื่น ๆ ในหัวข้อถัด ๆ ไปครับ
.

JUM!!! สมบัติที่สำคัญมาก ๆ ของการหาปริพันธ์คือ (เหมือนกับการหาอนุพันธ์เลย)


ดร

1. ค่าคงที่ดึงออกจากปริพันธ์ได้
2. ปริพันธ์กระจายการบวกลบได้

ตัวอย่าง 5.2 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. (cos x + 2x) dx 2. (2x + 1)2 dx

Z Z
2x2 + 11x + 12 xex + 2
3. 2x2 + 3x
dx 4. x
dx
Z Z
5. (12x + 2 cot x) dx 6. (csc2 x + sec x tan x) dx
190 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
Z Z p
1
7. 2
2x + 8
dx 8. 8 − 4x2 dx

วิธีทำ.
1.
R R R
(cos x + 2x) dx = cos x dx + 2x dx (สมบัติ b)
R R
= cos x dx + 2 x dx (สมบัติ a)

2
= sin x + C1 + 2 x2 dx

= sin x + C1 + x2 + C2

งล ์ วาน
= sin x + x2 + C

ข้อสังเกต เนื่องจาก C1 และ C2 เป็น ค่า คงที่ ใด ๆ ทั้ง คู่ ดัง นั้น เพื่อ ความสะดวก เรา
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
สามารถรวมค่าคงที่ทั้งสองตัวเป็นค่าคงที่ C แค่ตัวเดียว โจทย์หลังจากนี้จะไม่แยกค่าคงที่ของ
งท
: ต มศกั ับรา่

แต่ละปริพันธ์ และจะใช้เพียงแค่ค่าคงที่ C เพียงแค่ตัวเดียว


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2.
R R
(2x + 1)2 dx = 4x2 + 4x + 1 dx
R R R
= 4x2 dx + 4x dx + 1 dx (สมบัติ b)
.

R R R
ดร

= 4 x2 dx + 4 x dx + 1 dx (สมบัติ a)

4 3
= 3x + C1 + 24 x2 + C2 + x + C3

4 3
= 3x + 2x2 + x + C

3.
Z Z
2x2 + 11x + 12 (2x + 3)(x + 4)
dx = dx
2x2 + 3x x(2x + 3)
Z
x+4
= dx
x
Z Z
4
= 1 dx + dx
x
= x + 4 ln | x | + C
5.1. ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 191

4.
Z Z Z
xex + 2 x 1
dx = e dx + 2 dx
x x
= ex + 2 ln | x | +C

5.
Z Z Z
x x
(12 + 2 cot x) dx = 12 dx + 2 cot x dx
12x
= + 2 ln | sin x | +C
ln 12
6.
Z Z Z
2 2
(csc x + sec x tan x) dx = csc x dx + sec x tan x dx

งล ์ วาน
= − cot x + sec x + C

7.
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Z Z
1
งท 1 1
: ต มศกั ับรา่

dx = dx
2x2 + 8 2 x2 + 4
 
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1 1 x
= arctan + C
2 2 2
1 x
= arctan + C
4 2
8.
Z p Z p
8− 4x2 dx = 4(2 − x2 ) dx
.
ดร

Z p
=2 2 − x2 dx
 p 
1 1 x
= 2 x 2 − x2 + 2 arcsin √ + C
2 2 2
p x
= x 2 − x2 + 2 arcsin √ + C
2

สำหรับการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติในบางครั้งเราไม่สามารถที่จะใช้สูตรการหาปริพันธ์
ได้โดยตรง เราจำเป็นจะต้องใช้สมบัติพื้นฐานของตรีโกณมิติแปลงฟังก์ชันตรีโกณเหล่านั้นให้อยู่ในรูป
แบบที่เรามีสูตรเสียก่อน สำหรับใครที่ลืมตรีโกณมิติไปหมดแล้ว ด้านล่างนี้เป็นตัวอย่างสมบัติพื้นฐาน
ที่เรามักจะนำมาใช้ในการแปลงฟังก์ชันเพื่อการหาปริพันธ์บ่อยๆ (สมบัติเหล่านี้ถึงจะมีให้ในห้องสอบ
แต่ก็ควรจะต้องจำได้นะครับ เพราะไม่อย่างนั้นเราจะมองไม่ออกว่าต้องใช้สูตรไหน)
192 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
1 1 1
• sec x =
cos x
, csc x =
sin x
, cot x =
tan x
• cos2 x + sin2 x = 1

• sin 2x = 2 sin x cos x


1 − tan2 x
• cos 2x = cos2 x − sin2 x = 2 cos2 x − 1 = 1 − 2 sin2 x =
1 + tan2 x

ตัวอย่าง 5.3 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
cot x
1. csc x
dx 2. tan2 csc2 x dx
Z Z
1 + sin x cos x x x
3. dx 4. (sec x)(sin + cos )2 dx
sin2 x 2 2
Z Z

งล ์ วาน
2 sin x + cot x
5. (sin 2x)(cot x tan x) dx 6. cos x
dx
Z Z
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
sin 2x + cos 2x x
7. dx 8. (2 − 4 sin2 )(csc x) dx
cos x งท 2
: ต มศกั ับรา่

วิธีทำ. 1.
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z Z
cot x cos x cos x
dx = · sin x dx ; cot x =
csc x sin x sin x
Z
= cos x dx

= sin x + C
.
ดร

2.
Z Z
sin2 x 1
tan2 x csc2 x dx = · dx
cos x sin2 x
2
Z
= sec2 x dx

= tan x + C

3.
Z Z Z
1 + sin x cos x 1 sin x cos x
2 dx = 2 dx + dx
sin x Z sin x Z sin2 x
= csc2 x dx + cot x dx

= − cot x + ln | sin x | + C
5.1. ปฏิยานุพันธ์ และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 193

4.
Z Z
x x x x x x
(sec x)(sin + cos )2 dx = (sec x)(sin2 + 2 sin cos + cos2 ) dx
2 2 2 2 2 2
Z h x x x xi
= (sec x) (sin2 + cos2 ) + 2 sin cos dx
2 2 2 2
Z
= (sec x)(1 + sin x) dx
Z
sin x
= (sec x + ) dx
cos x
Z Z
= sec x dx + tan x dx

= ln | sec x + tan x | + ln | sec x | + C

5.

งล ์ วาน
Z Z
cos x sin x
(sin 2x)(cot x + tan x) dx = (2 sin x cos x)( + ) dx
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
sin x cos x
Z
งท
: ต มศกั ับรา่

= 2 cos2 x + sin2 x dx
Z
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= 2 1 dx

= 2x + C

6.
Z Z Z
2 sin x + cot x 2 sin x cos x 1
.

dx = dx + dx
ดร

cos x cos x sin x cos x


Z Z
=2 tan x dx + csc x dx

= 2 ln | sec x | + ln | csc x − cot x | + C

7.
Z Z
sin 2x + cos 2x (2 sin x cos x) + (2 cos2 x − 1)
dx = dx
cos x cos x
Z Z Z
sin x cos x cos2 x 1
=2 dx + 2 dx − dx
cos x cos x cos x
Z Z Z
= 2 sin x dx + 2 cos x dx − sec x dx

= −2 cos x + 2 sin x − ln | sec x + tan x | + C


194 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

8.
Z Z
x x
(2 − 4 sin )(csc x) dx = 2
2
(1 − 2 sin2 )(csc x) dx
2 2
Z
=2 (cos x)(csc x) dx
Z
cos x
=2 dx
sin x
Z
=2 cot x dx

= 2 ln | sin x | + C

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 195

5.2 เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร
ในตอน ม.ปลาย เราอาจจะเจอครู โหดๆ (ถ้า ใครไม่ เคยเจอครู โหดๆเลย ไม่ ต้องห่วงนะครับ
R
จะได้เจอในวิชานี้ #หยอก) ที่ให้เราหา (x + 1)3 dx ซึ่งเราก็จะต้องใช้สูตรในการกระจายผลบวก
กำลังสามก่อนและทำการอินทิเกรตทีละพจน์ ซึ่งจะได้เป็น
Z Z
1 3
(x + 1)3 dx = (x3 + 3x2 + 3x + 1)dx = x4 + x3 + x2 + x + C
4 2

R
แต่เราคงสงสัยว่าถ้าเราเจอ (x + 1)100 dx เราจะทำอย่างไรดี ในหัวข้อนี้เราจะมาเรียนวิธีการหา
ปริพันธ์ที่หน้าตาเป็นแบบนี้กันครับ
แต่ก่อนเราจะไปดูเทคนิคกัน ขอให้ทุกคนตั้งใจดูตัวอย่างต่อไปนี้ก่อนนะครับ จะได้ไม่สับสนเมื่อ
มีการเปลี่ยนตัวแปรในการอินทิเกรต

ตัวอย่าง 5.4 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้ งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

R
1. xdx = x2
+C
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

R
2. udu = u2
2 +C

R
3. (2x + 1)d(2x + 1) = (2x+1)2
2 +C
.
ดร

จะเห็น ว่า ข้อ (2) เป็น แค่ การเปลี่ยนตัวแปรจาก x ไปเป็น u ซึ่ง จริงๆแล้ว ข้อ (1) และ (2) เห
มือ นกันเป๊ะ ๆ ตัวแปรเป็น แค่ ตัว ที่ เรานำมาใช้ อย่า ไปยึด ติด ว่า มัน จะต้องเป็น อะไร อย่างในข้อ (3)
R
เราก็สามารถมองก้อน (2x + 1) ทั้งก้อนเป็น u ได้ ดังนั้นข้อ (3) ก็จะกลายเป็น udu ซึ่งก็จะกลับ
ไปเหมือนกับข้อที่ (2) ซึ่งคำตอบคือ u2 + C หรือก็คือ (2x+1) + C นั่นเอง (อย่าลืมว่าเรามองก้อน
2 2
2
(2x + 1) ทั้งก้อนเป็น u)

ข้อสังเกต บางครั้งเราต้องมองกลุ่มของตัวแปร x เช่น (2x + 1), (x2 + 5x + 3), (sin x + ex )


เป็นตัวแปร u อย่ายึดติดนะครับ สูตรของเราในหัวข้อที่แล้วยังสามารถใช้ได้ทั้งหมด ตราบใดที่เราอิน
ทิเกรตเทียบกับตัวแปร u
196 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

JUM!!! ขั้นตอนของเทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร
1. สังเกตว่าก้อนไหนที่เราควรจะให้เป็น u แล้วเราจะสามารถใช้สูตรที่เรามีในข้อที่แล้วได้
2. หา du และแทนค่าตัวแปร u และ dx เข้าไปในโจทย์ กำจัด x ออกให้หมด (ให้เหลือแต่ยู
♡)

3. ลองอินทิเกรตดูโดยใช้สูตร ถ้าไม่ออกให้กลับไปสังเกตตัวแปร u ในข้อ 1 ใหม่อีกครั้ง


4. แทนค่าตัวแปรกลับไปเป็น x เหมือนเดิม

ประเภทโจทย์พื้นฐาน
R
ตัวอย่าง 5.5 จงหาปริพันธ์

งล ์ วาน
4(2x + 1)5 dx

R
เรอื ่ วงษ
วิธีทำ. 1. ข้อนี้สังเกตว่าเราควรจะต้องให้ u = (2x + 1) เพราะเรามีสูตรหาปริพันธ์ un du
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ถ้าเราแทน u = (2x + 1) น่าจะสามารถหาปริพันธ์โดยใช้สูตรได้
งท
: ต มศกั ับรา่

 
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

d
2. เนื่องจาก u = (2x + 1) จะได้ว่า du = dx
(2x + 1) dx = 2dx (มาจากเรื่องค่าเชิง
อนุพันธ์ จำได้นะ!) หรือจะได้ว่า dx = 12 du จะได้ว่า
Z Z
1
4(2x + 1)5 dx = 4u5 ( du)
2
.
ดร

3. ลองอินทิเกรตดู จะเห็นว่าอินทิเกรตออกพอดี
Z Z
1 2 1
4u5 ( du) = 2u5 du = u6 + C = u6 + C
2 6 3

4. แทนค่าตัวแปรกลับไปเป็น x
1 6 1
u + C = (2x + 1)6 + C
3 3

Z
arcsin x
ตัวอย่าง 5.6 จงหาปริพันธ์ √ dx
1 − x2
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 197
1 √
วิธีทำ. ให้ u = arcsin x จะได้ว่า du = √ dx หรือ dx = 1 − x2 du
1 − x2
Z Z p
arcsin x u
ดังนั้น √ dx = √ 1 − x2 du
1 − x2 Z 1 − x 2

= udu

u2
= +C
2
(arcsin x)2
= +C
2

ข้อสังเกต ข้อนี้แวปแรกเราอาจจะอยากให้ u = 1 − x2 ซึ่งเราจะได้ว่า du = −2x dx หรือ

งล ์ วาน
R arcsin x −1
dx = −1 2x du ซึ่งถ้า เราแทนค่าตัว แปร u เข้าไปในโจทย์จะเป็น du ซึ่งยากในการปรับ

u 2x
รูปให้เหลือแค่ u และไม่สามารถหาปริพันธ์โดยใช้สูตรปกติได้
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ตัวอย่าง 5.7 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z Z
1 1
1. 3x + 2
dx 2. √ √
x (1 + x)2
dx

Z Z
3. 2xe x2
dx 4. 3x
2 +2
2x dx

Z Z
.

x3 p
ดร

5. x4 + 1
dx 6. 2x x2 + 1 dx

Z Z
x2 ln x2
7. √ dx 8. x
dx
x3 + 1

วิธีทำ. 1. ให้ u = 3x + 2 จะได้ว่า du = 3dx หรือ dx = du


3
Z Z
1 1 du
ดังนั้น 3x + 2
dx =
u 3
1
= ln | u | +C
3
ln | 3x + 2 |
= +C
3
198 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
√ 1 √
2. ให้ u = 1 + x จะได้ว่า du = √ dx
2 x
หรือ dx = 2 x du

Z Z
1 1 √
ดังนั้น √ √
x(1 + x)2
dx =
xu 2
√2 x du
Z
1
=2 du
u2
2
=− +C
u
2
=− √ +C
1+ x

du
3. ให้ u = x2 จะได้ว่า du = 2x dx หรือ dx =
2x
Z Z

งล ์ วาน
du
ดังนั้น 2xe x2
dx = 2xeu
2x
Z
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
= eu du
งท
: ต มศกั ับรา่

= eu + C
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2
= ex + C

du
4. ให้ u = x2 + 2 จะได้ว่า du = 2x dx หรือ dx =
2x
Z Z
du
ดังนั้น x2 +2
3 2x dx = 3u 2x
.

2x
ดร

3u
= +C
ln 3
2
3x +2
= +C
ln 3

du
5. ให้ u = x4 + 1 จะได้ว่า du = 4x3 dx หรือ dx =
4x3
Z Z
x3 x3 du
ดังนั้น 4
x +1
dx =
u 4x3
ln | u |
= +C
4
ln | x4 + 1 |
= +C
4
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 199

du
6. ให้ u = x2 + 1 จะได้ว่า du = 2x dx หรือ dx =
2x
Z p Z
√ du
ดังนั้น 2x x2 + 1 dx = 2x u
2x
2
= u3/2 + C
3
2
= (x2 + 1)3/2 + C
3

du
7. ให้ u = x3 + 1 จะได้ว่า du = 3x2 dx หรือ dx =
3x2
Z Z
x2 x2 du
ดังนั้น √ dx = √
u 3x2
x3 + 1

2 u
= +C

งล ์ วาน
3

2 x3 + 1
= +C
เรอื ่ วงษ
3
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2 dx x du
8. ให้ u = ln x2 จะได้ว่า du =
x
หรื อ dx =
2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z Z
2 ln x2 2u x du
ดังนั้น x
dx =
x 2
u 2
= +C
2
(ln x2 )2
= +C
2
.
ดร

ตัวอย่าง 5.8 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. 3x2 sin(1 − x3 ) dx 2. 2x cot(x2 ) dx

Z Z x
x cos(x2 + 5)
3. dx 4. 1 − cos dx
sin2 (x2 + 5) 4
Z Z
arccot x sin 2x
5. 1 + x2
dx 6. 1 − cos2 2x
dx

Z Z
7. etan x sec2 x dx 8. csc2 (tan x) sec2 x dx
200 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
du
วิธีทำ. 1. ให้ u = 1 − x3 จะได้ว่า du = −3x2 dx หรือ dx = −
3x2
Z Z
du
ดังนั้น 3x2 sin(1 − x3 ) dx = 3x2 sin u
−3x2
Z
= − sin u du

= cos u + C
= cos(1 − x3 ) + C

du
2. ให้ u = x2 จะได้ว่า du = 2x dx หรือ dx =
2x
Z Z

งล ์ วาน
du
ดังนั้น เรอื ่ วงษ 2
2x cot x dx = 2x cot u
2x
= ln | sin u | +C
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท = ln | sin x2 | +C
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

du
3. ให้ u = x2 + 5 จะได้ว่า du = 2x dx หรือ dx =
2x
Z Z
x cos(x2 + 5) x cos u du
ดังนั้น dx =
sin2 (x2 + 5) sin2 u 2x
Z
1
.

= cot u csc u du
ดร

2
1
= − csc u + C
2
1
= − csc(x2 + 5) + C
2

4. ให้ u = x4 จะได้ว่า du =
1
4
dx หรือ dx = 4 du

Z Z
x
ดังนั้น 1 − cos dx =
4
(1 − cos u)(4 du)

= 4(u − sin u) + C
x
= x − 4 sin + C
4
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 201

dx
5. ให้ u = arccot x จะได้ว่า du = −
1 + x2
หรือ dx = −(1 + x2 ) du
Z Z
arccot x u
ดังนั้น 1+x 2
dx =
1 + x2
(−(1 + x2 )) du

u2
=− +C
2
(arccot x)2
=− +C
2

du
6. ให้ u = 2x จะได้ว่า du = 2 dx หรือ dx =
2
Z Z
sin 2x sin u du
ดังนั้น 1 − cos2 2x
dx =
1 − cos u 2
2
Z
sin u du
=

งล ์ วาน
2 2
Z sin u
du
= csc u
เรอื ่ วงษ
2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ln | csc u − cot u |
งท
: ต มศกั ับรา่

= +C
2
ln | csc 2x − cot 2x |
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= +C
2

du
7. ให้ u = tan x จะได้ว่า du = sec2 x dx หรือ dx =
sec2 x
Z Z
du
ดังนั้น etan x sec2 x dx = eu sec2 x
sec2 x
.
ดร

= eu + C
= etan x + C

du
8. ให้ u = tan x จะได้ว่า du = sec2 x dx หรือ dx =
sec2 x
Z Z
du
ดังนั้น 2 2
csc (tan x) sec x dx = csc2 u sec2 x
sec2 x
= − cot u + C
= − cot(tan x) + C

ตัวอย่าง 5.9 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


202 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
Z Z
2x 1
1. √ dx 2. √ dx
1 − 2x4 x + 4x2
Z Z
x2 6x
3. √ dx 4. dx
x6 − 4 9x4 +4
Z Z √
x 4 − 9x
5. x4
dx 6. √ dx
1− 4
x

Z p Z p
7. 2
12x 4x6 + 1 dx 8. x 3x4 − 1 dx

√ 2 √ du
วิธีทำ. 1. ให้ u = 2x จะได้ว่า du = 2 2x dx หรือ dx = √
2 2x
Z Z

งล ์ วาน
2x 2x du
ดังนั้น √ dx = √ √
1 − 2x4 1 − u2 2 2x
เรอื ่ วงษ
arcsin u
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
= √ +C
งท 2
: ต มศกั ับรา่


arcsin 2x2
= √ +C
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

√ dx √
2. ให้ u = 2 x จะได้ว่า du = √
x
หรือ dx = x du

Z Z
1 1
ดังนั้น √ dx = p dx
x + 4x2 x(1 + 4x)
.

Z √
ดร

x
= √ √ du
x 1 + u2
p
= ln | u + 1 + u2 | +C
√ √
= ln | 2 x + 1 + 4x | +C

du
3. ให้ u = x3 จะได้ว่า du = 3x2 dx หรือ dx =
3x2
Z Z
x2 x2 du
ดังนั้น √ dx = √
x6 − 4 u − 4 3x2
2

ln | u + u2 − 4 |
= +C
3√
ln | x3 + x6 − 4 |
= +C
3
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 203

du
4. ให้ u = 3x2 จะได้ว่า du = 6x dx หรือ dx =
6x
Z Z
6x 6x du
ดังนั้น 9x4 + 4
dx =
u2 + 4 6x
1 u
= arctan + C
2 2
1 3x2
= arctan +C
2 2

2
5. ให้ u = x2 จะได้ว่า du = x dx หรือ dx =
du
x
Z Z
x x du
ดังนั้น dx =
1−u x
x4 2
1−

งล ์ วาน
4
1 1 + u
= ln +C
1 − u
เรอื ่ วงษ
2

ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2
1 + x
งท
: ต มศกั ับรา่

1 2 + C
= ln
2 x2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1 −
2


√ 3 dx 2 x du
6. ให้ u = 3 x จะได้ว่า du = √
2 x
หรือ dx =
3
Z √ Z √ √
4 − 9x 4 − u2 2 x du
ดังนั้น
.

√ dx = √
ดร

x x 3
 p 
2 1 u
= u 4 − u + 2 arcsin + C
2
3 2 2

√ √ 4 3 x
= x 4 − 9x + arcsin +C
3 2

du
7. ให้ u = 2x3 จะได้ว่า du = 6x2 dx หรือ dx =
6x2
Z p Z p du
ดังนั้น 12x2 4x6 + 1 dx = 12x2 u2 + 1 2
6x
 p p 
1 1
= 2 u u + 1 + ln | u + u + 1 | +C
2 2
2 2
p p
= 2x 4x + 1 + ln | 2x3 + 4x6 + 1 | +C
3 6
204 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
√ √ du
8. ให้ u = 3x2 จะได้ว่า du = 2 3x dx หรือ dx = √
2 3x
Z p Z pdu
ดังนั้น x 3x4 − 1 dx = u2 − 1 √
x
2 3x
 p p 
1 1 1
= √ u u − 1 − ln | u + u − 1 | +C
2 2
2 3 2 2
1 2p 4 1 √ p
= x 3x − 1 − √ ln | 3x2 + 3x4 − 1 | +C
4 4 3

โจทย์ประเภทที่ตัวแปร x ยังเหลืออยู่และต้องกำจัด
โจทย์บางข้อ เมื่อเราแทนค่าตัวแปร u และ dx เข้าไปแล้ว ยังมีตัวแปร x หลงเหลืออยู่ เราจะ
ต้องกำจัดตัวแปร x ออกไปก่อนด้วยการแทนค่าตัวแปร x ที่เหลืออยู่ด้วยตัวแปร u

งล ์ วาน
Z
20x7
ตัวอย่าง 5.10 จงหาปริพันธ์ √ dx
เรอื ่ วงษ
5x4 − 1
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท และ x4 = u +5 1
: ต มศกั ับรา่

วิธีทำ. ให้ u = 5x4 − 1 จะได้ว่า du = 20x3 dx


Z Z
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

20x7 20x7 du
ดังนั้น √ dx = √
5x4 − 1 u 20x3
Z 4
x
= √ du
u
Z u+1
( 5 )
= √ du
u
Z
.

1 (u + 1)
ดร

= √ du
5 u
Z
1 u 1
= √ + √ du
5 u u
Z
1 1 −1
= u 2 + u 2 du
5
3 1
1 u2 u2
= ( 3 + 1 )+C
5 2 2
1 2√ 3 √
= ( u + 2 u) + C
5 3q
1 2 p
= ( (5x4 − 1)3 + 2 5x4 − 1) + C
5 3
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 205

ตัวอย่าง 5.11 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z √
x5 (x + 1)( x + 2 + 1)
1. dx 2. √ dx
(4x3 + 1)3 x+2−1
Z Z
√ sec2 x tan x
3. x 2
2 − x dx 4. 2 tan x + 1
dx

วิธีทำ. 1. ให้ u = 4x3 + 1 จะได้ว่า du = 12x2 dx และ x3 = u −4 1


Z Z
x5 x5 du
ดังนั้น (4x3 + 1)3
dx =
u3 12x2
Z 3
1 x
= du
12 u3
Z
1 u−1
= du

งล ์ วาน
12 4u3
Z
1 1 1
= − 3 du
เรอื ่ วงษ 2
48 u u
 
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1 1 1
งท − + 2 +C
: ต มศกั ับรา่

=
48 u 2u
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1
= (1 − 2u) + C
96u2
−8x3 − 1
= +C
96(4x3 + 1)2

2. ให้ u2 = x + 2 จะได้ว่า 2u du = dx และ x = u2 − 2


Z √ Z
(x + 1)( x + 2 + 1) (x + 1)(u + 1)
.

ดังนั้น √ dx = 2u du
ดร

x+2−1 u−1
Z
(u2 − 1)(u + 1)u
=2 du
u−1
Z
(u − 1)(u + 1)2 u
=2 du
u−1
Z
= 2 u3 + 2u2 + u du
 
u4 2u3 u2
=2 + + +C
4 3 2
u4 4u3
= + + u2 + C
2 3
3
(x + 2)2 4(x + 2) 2
= + + (x + 2) + C
2 3
206 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

3. ให้ u = 2 − x จะได้ว่า du = − dx และ x = 2 − u


Z Z
√ √
ดังนั้น x 2 − x dx = x2 u(− du)
2

Z

=− (2 − u)2 u du
Z
√ √ √
=− 4 u − 4u u + u2 u) du
8 3 8 5 2 7
= − u2 + u2 − u2 + C
3 5 7
8 3 8 5 2 7
= − (2 − x) 2 + (2 − x) 2 − (2 − x) 2 + C
3 5 7
u−1
4. ให้ u = 2 tan x + 1 จะได้ว่า du = 2 sec2 x dx และ tan x =
2
Z 2 Z 2
sec x tan x sec x tan x du
ดังนั้น dx =
2 sec2 x

งล ์ วาน
2 tan x + 1 u
Z
1 u−1
= du
2 2u
เรอื ่ วงษ
Z
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1 1
= 1 − du
งท
: ต มศกั ับรา่

4 u
1h i
ลา่ รกั

u − ln | u | + C
FB อุด ฉบ

=
4
1 1
= (2 tan x + 1) − ln | 2 tan x + 1 | + C
4 4

การใช้เทคนิคโดยการไม่แทนตัวแปร u ลงไปตรงๆ
.
ดร

สำหรับใครที่ชำนาญแล้ว บางครั้งเราไม่จำเป็นจะต้องเขียนแทนค่าตัวแปร u ลงไปตรง ๆ ก็ได้


ซึ่งการที่เราสามารถทำแบบนี้ได้มีความสำคัญมาก ๆ เพราะในหัวข้อต่อไปที่โจทย์ซับซ้อนขึ้น มีหลาย
ๆ ปริพันธ์ ต้องทำการแทนค่าตัวแปรหลาย ๆ รอบ ถ้าเราต้องมานั่งเขียน u ทุก ๆ ครั้ง จะเสียเวลา
และวุ่นวายมาก ๆ (ควรลองฝึกการทำแบบนี้ไว้ให้ชินมือนะครับ)
Z
1
ตัวอย่าง 5.12 จงหาปริพันธ์ x ln x
dx

วิธีทำ. ให้ u = ln x จะได้ว่า du = d(ln x) = x1 dx (ส่วนนี้ทดในใจนะ ไม่ต้องเขียนลงมา)


Z Z
1 1
เริ่มทำ x ln x
dx =
x ln x
(xd(ln x))
Z Z
1 1
=
ln x
d(ln x) ; มองเป็น u
du

= ln |ln x| + C
5.2. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร 207

ข้อสังเกต วิธีการใช้เทคนิคแทนค่าตัวแปร u โดยไม่เขียนตัวแปร u เหมาะกับโจทย์ที่เมื่อแทน


ค่าจับกลุ่มแล้วทุกตัวดูเป็นก้อนในรูป u ได้ทั้งหมด แต่ไม่เหมาะกับโจทย์ที่เหลือเศษ x และจะต้องมา
แทนค่า x อีกรอบเหมือนในหัวข้อที่แล้ว ไม่อย่างนั้นมันจะซับซ้อนมากๆ ให้กลับไปแทน u ลงไปตรง
ๆ แบบปกติดีกว่า
ตัวอย่าง 5.13 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้
Z Z
2x + 1 1
1. 2
x +x+9
dx 2. x ln x ln(ln x)
dx

Z √ Z 3 3
3x2 ex cot(ex )
3. 2
sec x tan x dx 4. dx
sin(ex3 )
Z Z p
x2
5. √ 6. x2

งล ์ วาน
dx 5 + 3x4 dx
4 − 5x6

วิธีทำ. 1. ทดในใจ u = x2 + x + 9 จะได้ว่าdu = d(x2 + x + 9) = (2x + 1) dx


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Z Z
งท 2x + 1 d(x2 + x + 9)
: ต มศกั ับรา่

2x + 1
เริ่มทำ x2 + x + 9
dx =
x2 + x + 9 2x + 1
2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= ln x + x + 9 + C

dx
2. ทดในใจ u = ln(ln x) จะได้ว่า du = d(ln(ln x)) =
x ln x
Z Z
1 1
เริ่มทำ x ln x ln(ln x)
dx =
x ln x ln(ln x)
x ln xd(ln(ln x))
.

= ln |ln(ln x)| + C
ดร

3. ทดในใจ u = tan x จะได้ว่า du = d(tan x) = sec2 x dx


Z √ Z √ d(tan x)
เริ่มทำ sec2 x tan x dx = sec2 x tan x
sec2 x
2 3
= tan 2 x + C
3

4. ทดในใจ u = ex จะได้ว่า
3 3
du = d(ex ) = 3x2 ex dx
3

Z 3 3 Z 3 3 3
3x2 ex cot(ex ) 3x2 ex cot(ex ) d(ex )
เริ่มทำ dx =
sin(ex3 ) sin(ex3 ) 3x2 ex3
Z
3 3 3
= csc(ex ) cot(ex )d(ex )
3
= − csc(ex ) + C
208 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
√ √ √
5. ทดในใจ u = 5x3 จะได้ว่า
du = d( 5x3 ) = 3 5x2 dx
Z Z √
x2 x2 d( 5x3 )
เริ่มทำ √ dx = √ √
4 − 5x6 4Z − 5x6 3 5x2
1 1 √
= √ √ d( 5x3 )
3 5 4 − 5x 6
√ 3
1 5x
= √ arcsin +C
3 5 2
√ √ √
6. ทดในใจ u = 3x2 จะได้ว่า
du = d( 3x2 ) = 2 3x dx
Z Z p √
p d( 3x2 )
เริ่มทำ 2 4
x 5 + 3x dx = x 5 + 3x 4 √
Z p 2 3x
1 √
= √ 5 + 3x4 d( 3x2 )
2 3
√ 

งล ์ วาน
1 2p √ p
= √ 3x 5 2
5 + 3x4 + ln 3x + 5 + 3x4 + C
2 3 2 2

เรอื ่ วงษ
1 2p p
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
5
= x 5 + 3x4 + √ ln 3x2 + 5 + 3x4 + C
4 งท
: ต มศกั ับรา่

4 3
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ
.
ดร
5.3. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพันธ์ทีละส่วน 209

5.3 เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพันธ์ทีละส่วน
ในหัวข้อ นี้ เราจะเรียนอีก หนึ่ง เทคนิคชื่อ ว่า การหาปริพันธ์ ที ละส่วน (integration by parts)
แต่ก่อนที่เราจะไปดูโจทย์กัน ลองพิจารณาสูตรผลคูณของค่าเชิงอนุพันธ์ของฟังก์ชัน u, v (หวังว่ายัง
จำกันได้นะครับ ถ้าจำไม่ได้ย้อนกลับไปดูหัวข้อค่าเชิงอนุพันธ์ครับ)
d(uv) = udv + vdu

ถ้าเราทำการอินทิเกรตทั้งสองข้าง เราจะได้ว่า
Z Z Z
d(uv) = udv + vdu
Z Z
uv = udv + vdu

ย้ายข้างเราจะได้สูตรการหาปริพันธ์ทีละส่วนคือ
Z
งล ์ วาน Z
เรอื ่ วงษ
udv = uv −
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
vdu
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เคล็ดไม่ลับ ท่องสูตรข้างบนให้ติดปากเลยนะครับ “อินทิเกรตยู ดีวี เท่ากับ ยูวี ลบอินทิเกรตวี


ดียู” ลองท่องดูซัก 20 ครั้ง เริ่มได้!!!

JUM!!! ขั้นตอนการหาปริพันธ์ทีละส่วน
.

1. เลือก u และ dv โดยที่ u ต้องดิฟง่าย ส่วน dv ต้องอินทิเกรตง่าย


ดร

2. หา du (โดยการดิฟ u) และหา v (โดยการอินทิเกรต dv)


3. แทนสูตร และอินทิเกรตตัวที่เหลือ

เคล็ดไม่ลับ ถ้าเราเจอ พหุนาม× เอกซ์โปเนนเชียล หรือ พหุนาม× ตรีโกณ ให้เราเลือก u เป็น


พหุนาม
เคล็ดไม่ลับ ถ้าเราเจอ ลอการิทึม×ฟังก์ชันอื่นๆ หรือ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน×ฟังก์ชันอื่นๆ
ให้เราเลือก u เป็นฟังก์ชัน ลอการิทึม หรือ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน (เนื่องจาก dv ต้องอินทิเกรตง่าย
แต่เราไม่มีสูตรอินทิเกรตฟังก์ชันเหล่านี้เลย)
R
ตัวอย่าง 5.14 จงหาปริพันธ์ xex dx
210 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

วิธีทำ. 1. ข้อนี้ควรเลือก u = x เพราะเป็น พหุนาม × เอกซ์โปเนนเชียล และ dv = ex dx


2. หา du และ v
R R
จะได้ว่า du = dx และ v = dv = ex dx = ex (ยังไม่ต้องบวก C นะครับ)
3. แทนสูตร จะได้
Z Z
จาก udv = uv − vdu (สูตรปริพันธ์ทีละส่วน)
Z Z
จะได้ว่า xex dx = xex − ex dx (แทนค่า u, du, v, dv)
= xex − ex
= ex (x − 1)

งล ์ วาน
R
ตัวอย่าง 5.15 จงหาปริพันธ์ x ln xdx
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. ให้ u = ln x และ dv =xdx
งท
: ต มศกั ับรา่

ดังนั้น 1
du = dx และ v=
x2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x 2
Z Z
จาก udv = uv − vdu
Z Z 2
x2  x 1 
จะได้ว่า x ln xdx = (ln x)
2

2 x
dx
Z
x2 ln x 1
= − xdx
.

2 2
ดร

x2 ln x 1 x2 
= − +C
2 2 2
x2 ln x x2
= − +C
2 4
x2
= (2 ln x − 1) + C
4

ตัวอย่าง 5.16 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. x2 ln x dx 2. x2x dx
Z Z
3. xe2x dx 4. arcsin x dx
5.3. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพันธ์ทีละส่วน 211
Z Z
5. (x + x cos x) dx 6. x sec2 x dx

วิธีทำ. 1. ให้ u = ln x และ dv =x2 dx

ดังนั้น 1
du = dx และ v=
x3
x 3
Z Z 3
x3 x 1
จะได้ว่า 2
x ln x dx =
3
ln x −
3 x
dx

x3 x3
= ln x − +C
3 9
x3
= (3 ln x − 1) + C
9

2. ให้ u=x และ dv =2x dx

ดังนั้น du = dx และ 2x

งล ์ วาน
v=
ln 2
Z Z x
x2x 2
จะได้ว่า x
x2 dx = − dx
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ln 2 ln 2
 
x2x 2x
งท 1
: ต มศกั ับรา่

= − +C
ln 2 ln 2 ln 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

2x
= (x ln 2 − 1) + C
(ln 2)2

3. ให้ u=x และ dv =e2x dx

ดังนั้น du = dx และ v=
e2x
2
Z Z 2x
xe2x e
.

จะได้ว่า xe 2x
dx = − dx
ดร

2 2
Z
xe2x 1 d(2x)
= − e2x
2 2 2
e 2x
= (2x − 1) + C
4

4. ให้ u = arcsin x และ dv = dx


dx และ
1
ดังนั้น du = √ v =x
1−x 2
Z Z
1
จะได้ว่า arcsin x dx = x arcsin x − x √ dx
1 − x2
Z
x d(1 − x2 )
= x arcsin x − √
1 − x2 −2x
p
= x arcsin x + 1 − x2 + C
212 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

5. ให้ u=x และ dv =(1 + cos x) dx

ดังนั้น du = dx และ v =x + sin x


Z Z
จะได้ว่า (x + x cos x) dx = x(1 + cos x) dx
Z
= x(x + sin x) − (x + sin x) dx

x2
= x2 + x sin x − + cos x + C
2
x2
= + x sin x + cos x + C
2

6. ให้ u=x และ dv = sec2 x dx

ดังนั้น du = dx และ v = tan x


Z Z

งล ์ วาน
จะได้ว่า x sec x dx = x tan x −
เรอื ่ วงษ 2
tan x dx

= x tan x − ln |sec x| + C
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

= x tan x + ln |cos x| + C
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ปริพันธ์ทีละส่วนที่ซับซ้อนมากขึ้น
โจทย์บางข้อเราอาจจะต้องใช้เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยการแทนค่าตัวแปรก่อนแล้วจึงทำการ
ใช้เทคนิคปริพันธ์ทีละส่วน หรือโจทย์บางประเภทเราอาจจะต้องทำการหาปริพันธ์ทีละส่วนมากกว่า
หนึ่งครั้ง
.
ดร

ตัวอย่าง 5.17 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. 2
4x sec 2x dx 2. x ln(1 + x) dx
Z Z

3. cos x dx 4. x3 arctan x2 dx

วิธีทำ. 1. ให้ u = 2x จะได้ว่า du = 2 dx และ x = u2


Z Z
du
ดังนั้น 2
4x sec 2x dx = 4x sec2 u
2
Z
u
= 2· sec2 u du
2
Z
= u sec2 u du
5.3. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพันธ์ทีละส่วน 213

ให้ ū = u และ dv = sec2 u du

ดังนั้น dū = du และ v = tan u

Z Z
จะได้ว่า u sec u du = u tan u −
2
tan u du

= u tan u − ln |sec u| + C
= 2x tan 2x − ln |sec 2x| + C
= 2x tan 2x + ln |cos 2x| + C

2. ให้ u = 1 + x จะได้ว่า du = dx และ x = u − 1


Z Z

งล ์ วาน
ดังนั้น x ln(1 + x) dx = x ln u du
Z
เรอื ่ วงษ
(u − 1) ln u du
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
=
งท
: ต มศกั ับรา่

ให้ และ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ū = ln u dv =(u − 1) du

ดังนั้น 1
dū = du และ v=
u2
−u
u 2
Z   Z  
u2 u2 1
จะได้ว่า (u − 1) ln u du = (ln u) −u − −u
u
du
2 2
  Z
.

u2 u
−u − − 1 du
ดร

= (ln u)
2 2
 
u2 u2
= (ln u) −u − +u+C
2 4
 
(x + 1)2 (x + 1)2
=− + − (x + 1) ln (x + 1) + (x + 1) + C
4 2

√ 1
3. ให้ u = x จะได้ว่า du = √ dx
2 x

Z Z
√ √
ดังนั้น cos x dx = (cos u)(2 x du)
Z
= 2 u cos u du
214 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

ให้ ū = u และ dv = cos u du

ดังนั้น dū = du และ v = sin u

Z  Z 
จะได้ว่า 2 u cos u du = 2 u sin u − sin u du

= 2u sin u + 2 cos u + C
√ √ √
= 2 x sin x + 2 cos x + C

4. ให้ u = x2 จะได้ว่า du = 2x dx
Z Z
du
ดังนั้น 3 2
x arctan x dx = x3 arctan x2
2x
Z
1

งล ์ วาน
= u arctan u du
เรอื ่ วงษ 2

ให้ และ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ū = arctan u dv =u du
งท และ
: ต มศกั ับรา่

1 u2
ดังนั้น dū = du v=
1 + u2 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z  Z 2 
1 1 u2 u 1
จะได้ว่า u arctan u du = arctan u − du
2 2 2 2 1 + u2
Z
u2 1 −1 + 1 + u2
= arctan u − du
4 4 1 + u2
Z
u2 1 −1 1 + u2
= arctan u − + du
1 + u2 1 + u2
.

4 4
ดร

u2 1 u
= arctan u + arctan u − + C
4 4 4
1 
= (x + 1) arctan(x ) − x + C
4 2 2
4

ตัวอย่าง 5.18 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. 2
x sin x dx 2. x2 e−3x dx

Z Z
(ln(x))2
3. 2
(x + 3x) sin 2x dx 4. x3
dx
5.3. เทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีปริพันธ์ทีละส่วน 215

วิธีทำ. 1. ให้ u = x2 และ dv = sin x dx

ดังนั้น du = 2x dx และ v = − cos x

Z Z
จะได้ว่า x sin x dx = −x cos x +
2 2
cos x(2x dx)
Z
= −x2 cos x + 2 x cos x dx

ให้ ū = x และ dv̄ = cos x dx

ดังนั้น dū = dx และ v̄ = sin x

Z  Z 
จะได้ว่า 2 x cos x dx = 2 x sin x − sin x dx

งล ์ วาน
= 2x sin x + 2 cos x + C
Z
ดังนั้น x2 sin x dx = −x2 cos x + 2x sin x + 2 cos x + C
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

2. ให้ และ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

u = x2 dv =e−3x dx

ดังนั้น du = 2x dx และ e−3x


v=
−3
Z Z −3x
x2 e−3x e
จะได้ว่า x2 e−3x dx = −
3

−3
2x dx
Z
x2 e−3x 2
.

=− + e−3x x dx
ดร

3 3

ให้ ū = x และ dv̄ =e−3x dx

ดังนั้น dū = dx และ e−3x


v̄ = −
3
Z  Z −3x 
2 2 xe−3x e
จะได้ว่า xe −3x
dx = − dx
3 3 −3 −3
Z
2xe−3x 2 d(−3x)
=− + e−3x
9 9 −3
2xe−3x 2 −3x
=− − e +C
9 27
Z
e−3x
ดังนั้น x2 e−3x dx = −
27
(9x2 + 6x + 2) + C
216 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

3. ให้ u = x2 + 3x และ dv = sin 2x dx

ดังนั้น du = 2x + 3 dx และ v =−
cos 2x
2
Z Z
(x2 + 3x) cos 2x cos 2x
จะได้ว่า (x + 3x) sin 2x dx = −
2
2

−2
((2x + 3) dx)
Z
(x2 + 3x) cos 2x 1
=− + (2x + 3) cos 2x dx
2 2

ให้ ū = 2x + 3 และ dv̄ = cos 2x dx

ดังนั้น dū = 2 dx และ v̄ =


sin 2x
2
Z Z
1 (2x + 3) sin 2x 1
จะได้ว่า 2
(2x + 3) cos 2x dx =
4

2
sin 2x dx

งล ์ วาน
(2x + 3) sin 2x 1
= + cos 2x + C
4 4
Z 2
(x + 3x) cos 2x (2x + 3) sin 2x 1
ดังนั้น
เรอื ่ วงษ
(x2 + 3x) sin 2x dx = − + + cos 2x + C
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2 4 4
งท
: ต มศกั ับรา่

1
4. ให้ u = (ln x)2 และ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dv = dx
x3
ดังนั้น du =
2 ln x
dx และ v =− 2
1
x 2x
Z Z
(ln x)2 (ln x)2 −1 2 ln x
จะได้ว่า x 3
dx = −
2x 2

2x2
·
x
dx
Z
(ln x)2 ln x
=− + dx
.

2x2 x3
ดร

1
ให้ ū = ln x และ dv̄ =
x3
dx

ดังนั้น 1
dū = dx และ v̄ = − 2
1
x 2x
Z Z
ln x ln x 1 1
จะได้ว่า x3
dx = − 2 +
2x 2 x3
dx
ln x 1
=− 2 − 2 +C
2x 4x
Z
(ln x)2 (ln x)2 ln x 1
ดังนั้น x3
dx = −
2x2
− 2 − 2 +C
2x 4x
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 217

5.4 การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ
ในหัวข้อนี้เราจะเรียนการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 5 รูปแบบคือ
R
1. sinm θ cosn θdθ โดยที่ m, n ∈ N ∪ {0}
R R R
2. sin(mθ) cos(nθ)dθ, sin(mθ) sin(nθ)dθ, cos(mθ) cos(nθ)dθ, โดยที่ m, n ∈
N และ m ̸= n
R
3. tann θdθ หรือ cotn θdθ โดยที่ n ∈ N
R
4. secn θdθ หรือ cscn θdθ โดยที่ n ∈ N
R
5. tanm θ secn θdθ หรือ cotm θcscn θdθ โดยที่ m, n ∈ N

งล ์ วาน
เอาจริง ๆ แล้วในหัวข้อนี้ไม่มีอะไรใหม่เลย ไม่มีสูตรใหม่ ใช้เพียงแค่สมบัติของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เรอื ่ วงษ
และเทคนิคการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร อยากให้ทุกคนดูไปทีละกรณี ทำโจทย์จนเชี่ยวชาญ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
แต่ไม่ต้องจำว่ามันมีแบบไหนบ้าง เมื่อเราทำโจทย์เยอะพอ เราจะรู้เองว่ามันทำอย่างไรโดยธรรมชาติ
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

R
5.4.1 รูปแบบที่ 1. sinm θ cosn θdθ โดยที่ m, n ∈ N ∪ {0}
สำหรับโจทย์ในรูปแบบที่ 1 เราจะแบ่งออกเป็น 3 กรณีย่อย ๆ

JUM!!! กรณี 1. เมื่อ n เป็นจำนวนคี่บวก


.
ดร

1. แยก cosn θ = cos θ cosn−1 θ


2. แปลง cos θ dθ = d sin θ
3. เนื่องจาก n เป็นจำนวนคี่ ดังนั้น n − 1 เป็นจำนวนคู่ ดังนั้นเราสามารถใช้สูตร cos2 θ =
1 − sin2 θ แปลง cosn−1 θ ให้อยู่ในรูป sin θ

4. ทำการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร

ข้อสังเกต หลักการคือเมื่อเลขชี้กำลังของ cos θ เป็นเลขคี่ เราจะพยายามแปลง cos ทั้งหมด


ให้กลายเป็น sin
R
ตัวอย่าง 5.19 จงหาปริพันธ์ sin2 θ cos3 θ dθ
218 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

วิธีทำ.
Z Z
2 3
sin θ cos θ dθ = sin2 θ cos2 θ cos θ dθ ; แยก cos3 θ
Z
= sin2 θ cos2 θ d sin θ ; cos θdθ = d sin θ
Z
= sin2 θ(1 − sin2 θ) d sin θ ; cos2 θ = 1 − sin2 θ
Z Z
= sin θd sin θ − sin4 θd sin θ
2

sin3 θ sin5 θ
=
3

5
+C ; มอง u = sin θ

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
JUM!!! งท
: ต มศกั ับรา่

กรณี 2. เมื่อ m เป็นจำนวนคี่บวก


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1. แยก sinm θ = sin θ sinm−1 θ


2. แปลง sin θ dθ = −d cos θ
3. เนื่องจาก m เป็นจำนวนคี่ ดังนั้น m − 1 เป็นจำนวนคู่ ดังนั้นเราสามารถใช้สูตร sin2 θ =
1 − cos2 θ แปลง sinm−1 θ ให้อยู่ในรูป cos θ
.

4. ทำการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร
ดร

ข้อสังเกต กรณีที่ 2 เหมือนกับกรณีที่ 1 เลย ต่างกันแค่กำลังของ sin θ เป็นเลขคี่ ดังนั้นเราจึง


พยายามแปลง sin ทั้งหมดให้กลายเป็น cos

ข้อสังเกต ถ้า ทั้ง m, n เป็น จำนวนคี่ ทั้ง สองตัว สามารถใช้ กรณี 1 หรือ 2 ก็ได้ แต่ ใช้ กรณี 1
จะง่ายกว่า เนื่องจาก cos θ dθ = d sin θ ไม่มีเครื่องหมายลบ แต่ sin θ dθ = −d cos θ ต้องมีลบ
อาจจะพลาดได้ง่ายกว่า
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 219

JUM!!! กรณี 3. เมื่อ m, n เป็นจำนวนคู่ทั้งคู่ หลักการคือพยายามลดทอนกำลังไปเรื่อยๆ


จนเหลือกำลังหนึ่ง โดยดูกรณีย่อยต่อไปนี้
1. ถ้ากำลังของ sin มากกว่ากำลังของ cos หรือมีแต่ sin ไม่มี cos เลย ลดทอนกำลังของ sin
ก่อนโดยใช้สูตร
1 − cos 2θ
sin2 θ =
2

2. ถ้ากำลังของ cos มากกว่ากำลังของ sin หรือมีแต่ cos ไม่มี sin เลย ลดทอนกำลังของ cos
ก่อนโดยใช้สูตร
1 + cos 2θ
cos2 θ =
2

3. ถ้ากำลังของทั้งคู่เท่ากัน ใช้สูตร

งล ์ วาน
sin 2θ
sin θ cos θ =
2
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
R
ตัวอย่าง 5.20 จงหาปริพันธ์ งท
: ต มศกั ับรา่

sin2 x cos2 x dx
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. จะสังเกตเห็นว่ากำลังของ sin และ cos เป็นเลขคู่ และเท่ากัน ซึ่งจะเข้ากรณีย่อยที่สาม


Z Z
2 2
sin x cos x dx = (sin x cos x)2 dx ; จัดรูปรอใช้สูตร 3
Z
sin 2x 2
=
2
dx ; ใช้สูตร 3
Z
1
sin2 (2x) dx ; กรณีย่อย 1
.

=
ดร

4
Z
1 1 − cos(4x) 
=
4 2
dx ; สูตร 1
Z Z
1
= ( dx − cos(4x) dx)
8
Z Z
1 d4x
=
8
( dx − cos(4x)
4
) ; มอง u = 4x
Z
1 1
=
8
(x − sin(4x)) + C
4
; cos udu = sin u

ตัวอย่าง 5.21 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. cos2 x dx 2. sin4 3x cos3 3x dx
220 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
Z Z
3. 3 3
sin x cos x dx 4. sin2 x cos4 x dx

วิธีทำ. 1.
Z Z
1 + cos 2x
cos2 x dx = dx
2
Z Z
1 cos 2x d(2x)
= dx + ·
2 2 2
x sin 2x
= + +C
2 4

2.
งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

Z Z
d(sin 3x)
sin4 3x cos3 3x dx = sin4 3x cos3 3x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

3 cos 3x
Z
1
= sin4 3x(1 − sin2 3x)d(sin 3x)
3
Z
1
= sin4 3x − sin6 3x d(sin 3x)
3
 
1 sin5 3x sin7 3x
= − +C
3 5 7
.
ดร

sin5 3x sin7 3x
= − +C
15 21

3.
Z Z
d(cos x)
sin3 x cos3 x dx = sin3 x cos3 x
− sin x
Z
= − (1 − cos2 x) cos3 xd(cos x)
Z
= − cos3 x − cos5 xd(cos x)

cos4 x cos6 x
=− + +C
4 6
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 221

4.
  2
1 − cos 2x 1 + cos 2x
เนื่องจาก 2 4
sin x cos x =
2 2
1
= (1 − cos 2x)(1 + 2 cos 2x + cos2 2x)
8  
1 1 + cos 4x
= (1 − cos 2x) 1 + 2 cos 2x +
8 2
1
= (1 − cos 2x)(3 + 4 cos 2x + cos 4x)
16
1
= (3 + cos 2x + cos 4x − 4 cos2 2x − cos 2x cos 4x)
16    
1 1 − cos 4x cos 6x + cos 2x
= 3 + cos 2x + cos 4x − 4 −
16 2 2
1
= (2 + cos 2x − 2 cos 4x − cos 6x)
32

งล ์ วาน
Z Z
1
ดังนั้น sin2 x cos4 x dx = (2 + cos 2x − 2 cos 4x − cos 6x) dx
เรอื ่ วงษ
32
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Z Z
1 1 d(2x)
งท
: ต มศกั ับรา่

= 2 dx + cos 2x
32 32 2
Z Z
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1 d(4x) 1 d(6x)
− 2 cos 4x − cos 6x
32 4 32 6
 
1 sin 2x sin 4x sin 6x
= 2x + − − +C
32 2 2 6
1
= (12x + 3 sin 2x − 3 sin 4x − sin 6x) + C
192
.
ดร

R R
5.4.2 รูปแบบที่ 2. sin(mθ) cos(nθ)dθ, sin(mθ) sin(nθ)dθ,
R
cos(mθ) cos(nθ)dθ, โดยที่ m, n ∈ N และ m ̸= n
เนื่องจากตัวที่เราจะหาปริพันธ์อยู่ในรูปผลคูณของฟังก์ชันตรีโกณที่มีมุมคนละมุมกัน แต่เราไม่มี
สูตรในการหาปริพันธ์ของผลคูณ เราต้องทำการเปลี่ยนผลคูณเป็นผลบวก โดยใช้สูตร (สูตรเหล่านี้ให้
ในห้องสอบนะ)
sin(A − B) + sin(A + B)
sin A cos B =
2
cos(A − B) − cos(A + B)
sin A sin B =
2
cos(A − B) + cos(A + B)
cos A cos B =
2
222 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

ข้อควรระวัง บางครั้ง A − B อาจจะติดลบ เราต้องใช้สูตร


sin(−A) = − sin(A)
cos(−A) = cos(A)

ข้อสังเกต ถ้า m = n โจทย์นี้จะกลับไปเป็นรูปแบบที่ 1 กรณีที่ 3


R
ตัวอย่าง 5.22 จงหาปริพันธ์ sin(2x) cos(4x) dx

วิธีทำ. ข้อนี้คือกรณี sin(mθ) cos(nθ) โดยที่ m = 2, n = 4


sin(2x − 4x) + sin(2x + 4x)
sin(2x) cos(4x) =
2
; สูตร sin A cos B
sin(−2x) + sin(6x)
=
2

งล ์ วาน
− sin(2x) + sin(6x)
=
2
; sin(−A) = − sin(A)
Z Z
− sin(2x) + sin(6x)
เรอื ่ วงษ
; อินทิเกรตสองข้าง
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
sin(2x) cos(4x) dx = dx
2
Z Z
งท
: ต มศกั ับรา่

1 
= − sin(2x) dx + sin(6x) dx
2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z Z
1 d(2x) d(6x) 
=
2
− sin(2x)
2
+ sin(6x)
6
; u = 2x และ u = 6x
Z
1 1 1 
=
2 2
cos(2x) − cos(6x)
6
; sin u du = − cos u
1 1 
= cos(2x) − cos(6x)
4 3
.
ดร

ตัวอย่าง 5.23 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. sin 3x cos x dx 2. sin 3x sin 2x dx
Z Z
3. cos x cos 2x dx 4. cos2 3x cos2 2x dx

วิธีทำ. 1.
Z Z
sin 2x + sin 4x
sin 3x cos x dx = dx
2
Z Z
1 d(2x) 1 d(4x)
= sin 2x + sin 4x
2 2 2 4
cos 2x cos 4x
=− − +C
4 8
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 223

2.
Z Z
cos x − cos 5x
sin 3x sin 2x dx = dx
2
Z Z
1 1 d(5x)
= cos x dx − cos 5x
2 2 5
sin x sin 5x
= − +C
2 10

3.
Z Z
cos(−x) + cos 3x
cos x cos 2x dx = dx
2
Z Z
1 1 d(3x)
= cos x dx + cos 3x
2 2 3

งล ์ วาน
sin x sin 3x
= + +C
2 6
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
4. งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

เนื่องจาก cos2 3x cos2 2x = (cos 3x cos 2x)2


 2
cos x + cos 5x
=
2
cos x + 2 cos x cos 5x + cos2 5x
2
=
  4   
1 + cos 2x cos(−4x) + cos 6x 1 + cos 10x
.

= + +
ดร

8 4 8
1 cos 2x cos 4x cos 6x cos 10x
= + + + +
4 8 4 4 8

Z Z
1 cos 2x cos 4x cos 6x cos 10x
ดังนั้น 2 2
cos 3x cos 2x dx =
4
+
8
+
4
+
4
+
8
dx
Z Z Z
1 cos 2x d(2x) cos 4x d(4x)
= dx + +
4 8 2 4 4
Z Z
cos 6x d(6x) cos 10x d(10x)
+ +
4 6 8 10
x sin 2x sin 4x sin 6x sin 10x
= + + + + +C
4 16 16 24 80
224 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
R R
5.4.3 รูปแบบที่ 3. tanm θ dθ หรือ cotm θ dθ โดยที่ m ∈ N

JUM!!! สำหรับโจทย์ประเภทนี้มีขั้นตอนการแก้คือ
1. แยก tanm θ = tanm−2 θ tan2 θ หรือ cotm θ = cotm−2 θ cot2 θ
2. แปลง tan2 θ = sec2 θ − 1 หรือ cot2 θ = csc2 θ − 1
3. แปลง sec2 θdθ = d(tan θ) หรือ csc2 θdθ = −d(cot θ)

ข้อสังเกต หลักการของข้อนี้คือสำหรับ tanm θ ดึงกำลังสองออกมาก่อน แล้วแปลงเป็น sec2 θ


แล้วแปลงเป็น d tan θ เราจะเหลือแค่เฉพาะ tan θ อย่างเดียว
R
งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ตัวอย่าง 5.24 จงหาปริพันธ์ tan3 θ dθ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

R
วิธีทำ. ข้อนี้คือกรณี tanm θdθ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z Z
3
tan θdθ = tan θ tan2 θdθ ; แยก tan2 θ
Z
= tan θ(sec2 θ − 1)dθ ; แปลง tan2 θ = sec2 θ − 1
Z
= tan θ sec2 θ − tan θdθ
.
ดร

Z Z
= tan θ sec θ dθ − tan θ dθ
2

Z Z
= tan θ d(tan θ) − tan θ dθ ; sec2 θ dθ = d(tan θ)
tan2 θ
=
2
− ln |sec θ| + C ; u = tan θ

ตัวอย่าง 5.25 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. 4
tan 2x dx 2. cot3 x dx
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 225

วิธีทำ. 1. Z Z
tan4 2x dx = tan2 2x tan2 2x dx
Z
= tan2 2x(sec2 x − 1) dx
Z
= tan2 2x sec2 2x − tan2 2x dx
Z Z
d(tan 2x)
2
= tan 2x sec 2x 2
− sec2 2x − 1 dx
2 sec2 2x
Z Z
1 d(2x)
= tan 2xd(tan 2x) − sec2 2x − 1
2
2 2
3
tan 2x tan 2x
= − +x+C
6 2
2. Z Z

งล ์ วาน
cot3 x dx = cot x cot2 x dx
Z
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

cot x(csc2 x − 1) dx

ุน
=
งท Z
: ต มศกั ับรา่

= cot x csc2 x − cot x dx


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z Z
d(cot x)
= cot x csc x 2
− cot x dx
− csc2 x
cot2 x
=− − ln |sin x| + C
2

R R
.

5.4.4 รูปแบบที่ 4. หรือ โดยที่ m ∈ N


ดร

secm θ dθ cscm θ dθ

JUM!!! สำหรับโจทย์ประเภทนี้มีขั้นตอนการแก้คือ
1. แยก secm θ = secm−2 θ sec2 θ หรือ cscm θ = cscm−2 θ csc2 θ
2. แปลง sec2 θdθ = d(tan θ) หรือ csc2 θdθ = −d(cot θ)
3. แปลง secm−2 θ เป็น tan θ โดยใช้ sec2 θ = tan2 θ + 1
หรือ แปลง cscm−2 θ เป็น cot θ โดยใช้ csc2 θ = cot2 θ + 1

ข้อสังเกต หลักการของข้อนี้คือสำหรับ tanm θ ดึงกำลังสองออกมาก่อน แล้วแปลงเป็น sec2 θ


แล้วแปลงเป็น d tan θ เราจะเหลือแค่เฉพาะ tan θ อย่างเดียว
226 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
R
ตัวอย่าง 5.26 จงหาปริพันธ์ sec4 (2x) dθ
R
วิธีทำ. ข้อนี้คือกรณี secm θdθ
Z Z
sec (2x)dx = sec2 (2x) sec2 (2x) dx
4
; แยก sec2 (2x)
Z
1
=
2
sec2 (2x) d tan(2x) ; sec2 (2x)dx = 21 d(tan(2x))
Z
1
=
2
(tan2 (2x) + 1) d tan(2x) ; sec2 (2x) = tan2 (2x) + 1
Z
1
= ( tan2 (2x) d tan(2x)
2
Z
+ d tan(2x))
1 1
= ( tan3 (2x) + tan(2x)) + C
2 3
; u = tan(2x)

ตัวอย่าง 5.27 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้ งล ์ วาน


เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Z Z
1. sec6 x dx งท 2. csc4 2x dx
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

วิธีทำ. 1. Z Z
6
sec x dx = sec4 x sec2 x dx
Z
d(tan x)
= sec4 x sec2 x
sec2 x
Z
= (1 + tan2 x)2 d(tan x)
.

Z
ดร

= (1 + 2 tan2 x + tan4 x) d(tan x)

2 tan3 x tan5 x
= tan x + + +C
3 5
2. Z Z
4
csc 2x dx = csc2 2x csc2 2x dx
Z
d(cot 2x)
= csc2 2x csc2 2x
−2 csc2 2x
Z
1
=− (cot2 2x + 1)d(cot 2x)
2
cot3 2x cot 2x
=− − +C
6 2
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 227
R R
5.4.5 รูปแบบที่ 5. secn θ tanm θ dθ หรือ cscn cotm θ dθ โดยที่ m, n ∈ N
สำหรับโจทย์ในรูปแบบที่ 5 เราจะแบ่งออกเป็น 2 กรณีย่อย ๆ

JUM!!! กรณี 1. เมื่อ n เป็นจำนวนคู่บวก


1. แยก secn θ = secn−2 θ sec2 θ หรือ cscn θ = cscn−2 θ csc2 θ
2. แปลง sec2 θdθ = d(tan θ) หรือ csc2 θdθ = −d(cot θ)
3. เนื่องจาก n เป็นจำนวนคู่ ดังนั้น n − 2 เป็นจำนวนคู่ ดังนั้นเราสามารถแปลง secn−2 θ
เป็น tan θ โดยใช้ sec2 θ = tan2 θ + 1

งล ์ วาน
หรือ แปลง cscn−2 θ เป็น cot θ โดยใช้ csc2 θ = cot2 θ + 1
เรอื ่ วงษ
4. ทำการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

R
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตัวอย่าง 5.28 จงหาปริพันธ์ sec4 x tan3 x dx

วิธีทำ. ข้อนี้ sec4 x มี m = 4 เป็นเลขคู่


Z Z
sec4 x tan3 x dx = sec2 x tan3 x sec2 x dx ; แยก sec2 x
.
ดร

Z
= sec2 x tan3 x d(tan x) ; sec2 xdx = d(tan x)
Z
= (tan2 x + 1) tan3 x d(tan x) ; sec2 x = tan2 x + 1
Z
= (tan5 x + tan3 x) d(tan x)
1 1
=
6
tan6 x + tan4 x + C
4
; มอง u = tan x
228 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

JUM!!! กรณี 2. เมื่อ m เป็นจำนวนคี่บวก


1. แยก secn θ tanm θ = secn−1 θ tanm−1 θ sec θ tan θ
หรือ cscn θ cotm θ = cscn−1 cotm−1 θ csc θ cot θ
2. แปลง sec θ tan θdθ = d(sec θ) หรือ csc θ cot θdθ = −d(csc θ)
3. เนื่องจาก m เป็นจำนวนคี่ ดังนั้น m − 1 เป็นจำนวนคู่ ดังนั้นเราสามารถแปลง tanm−1 θ
เป็น sec θ โดยใช้ tan2 θ = sec2 θ−1 หรือ แปลง cotm−1 θ เป็น csc θ โดยใช้ cot2 θ =
csc2 θ − 1

4. ทำการหาปริพันธ์ด้วยวิธีแทนค่าตัวแปร
R
ตัวอย่าง 5.29 จงหาปริพันธ์ sec3 x tan3 x dx

งล ์ วาน
วิธีทำ. ข้อนี้ tan3 x มี m = 3 เป็นเลขคี่
Z Z
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
sec3 x tan3 x dx = sec2 x tan2 x sec x tan x dx ; แยก sec x tan x
งท
: ต มศกั ับรา่

Z
= sec2 x tan2 x d(sec x) ; d(sec x) = sec x tan x
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z
= sec2 x(sec2 x − 1) d(sec x) ; tan2 x = sec2 x − 1
Z
= sec4 x − sec2 x d(sec x)
1 1
=
5
sec5 x − sec3 x + C
3
; u = sec x
.
ดร

R R
ข้อสังเกต สำหรับโจทย์รูปแบบที่ 5 secn θ tanm θ dθ หรือ cscn θ cotm θ dθ ที่ไม่ตรง
กับสองกรณีข้างบน คือ n เป็นจำนวนคี่ และ m เป็นจำนวนคู่ ให้ลองพยายามประยุกต์ใช้วิธีของสอง
กรณีแรก
R
ตัวอย่าง 5.30 จงหาปริพันธ์ sec x tan2 x dx

วิธีทำ. ข้อนี้มี n = 1 เป็นจำนวนคี่ และ m = 2 เป็นจำนวนคู่ ซึ่งไม่เข้าทั้งสองกรณี


Z Z
2
sec x tan x dx = (sec2 x − 1) sec x dx
Z Z
= sec x dx − sec x dx
3

1
= (sec x tan x + ln | sec x + tan x |) − ln | sec x + tan x | +C
2
5.4. การหาปริพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติบางรูปแบบ 229

ตัวอย่าง 5.31 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
1. 5
sec x tan x dx3
2. cot3 x csc3 x dx
Z Z
3. cot4 x csc2 x dx 4. cot2 x csc x dx

วิธีทำ. 1.
Z Z
5 3
sec x tan x dx = sec4 x tan2 x sec x tan x dx
Z
d(sec x)
= sec4 x tan2 x sec x tan x
sec x tan x
Z
= sec4 x(sec2 x − 1) d(sec x)

งล ์ วาน
sec7 x sec5 x
= + +C
7 5
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2.
Z งท Z
: ต มศกั ับรา่

3 3
cot x csc x dx = cot2 x csc2 x cot x csc x dx
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Z
d(csc x)
= cot2 x csc2 x cot x csc x
− cot x csc x
Z
= − (csc2 x − 1) csc2 x d(csc x)

csc5 x csc3 x
=− + +C
5 3
.
ดร

3.
Z Z
d(cot x)
cot4 x csc2 x dx = cot4 x csc2 x
− csc2 x
cot5 x
=− +C
5
4.
Z Z
cot2 x csc x dx = cot x cot x csc x dx
Z
d(csc x)
= cot x cot x csc x
− cot x csc x
Z p
=− csc2 x − 1 d(csc x)
1 p 1 p

= csc x csc x − 1 − ln csc x + csc x − 1 + C
2 2
2 2
230

ดร
.
FB อุด ฉบ
: ต มศกั ับรา่
ดิ เ ดิ์ ง
ลา่ รกั
เรอื ่ วงษ
งล ์ วาน
งท
ุน
บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 231

5.5 การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย
P (x)
ในหัวข้อนี้ เราจะศึกษาการหาปริพันธ์ของเศษส่วนพหุนาม Q(x)
เมื่อดีกรี (เลขชี้กำลังสูงสุด)
ของ P (x) มีค่าน้อยกว่าดีกรีของ Q(x) ยกตัวอย่างเช่น

x2 + 1
1.
x3 − 8
; P (x) มีดีกรี 2 และ Q(x) มีดีกรี 3
x+1
2.
x + x2 − 6x
3
; P (x) มีดีกรี 1 และ Q(x) มีดีกรี 3
x−1
3.
x(x + 1)(x2 + 2)
2
; P (x) มีดีกรี 1 และ Q(x) มีดีกรี 5

ข้อควรระวัง จะแยกเศษส่วนย่อยได้ ดีกรีของ P (x) ต้องน้อยกว่าดีกรีของ Q(x) เท่านั้นนะ

งล ์ วาน
ครับ เท่ากันก็ไม่ได้นะ!!! (ใส่ดอกจันไว้เลยห้าร้อยดอก) ถ้าดีกรีของ P (x) มากกว่า หรือเท่ากับดีกรี
ของ Q(x) เราต้องทำให้ดีกรีของ P (x) ต้องน้อยกว่าดีกรีของ Q(x) ก่อนนะ (อาจจะใช้วิธีตั้งหาร
เรอื ่ วงษ
ยาวก่อน)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

ไอเดีย ของการหาปริ พันธ์ เหล่า นี้ คือ การแยกเศษส่วนดัง กล่าวออกเป็น เศษส่วนย่อย ๆ เพื่อ ให้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ทำการหาปริพันธ์ได้ง่ายมากขึ้น ดังนั้นก่อนที่เราจะไปหาปริพันธ์เราจะเรียนรู้การแยกเศษส่วนย่อย
กันก่อน
ขั้นตอนของการหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อยซึ่งเราจะดูในหัวข้อย่อยถัด ๆ ไป ประกอบ
ด้วย 3 ขั้นตอนคือ
1. ตั้งฟอร์มแยกเศษส่วนย่อย
.
ดร

2. หาค่าคงที่
3. หาปริพันธ์ (มักใช้เทคนิคการแทนค่าตัวแปร)

5.5.1 การตั้งฟอร์มแยกเศษส่วนย่อย
ในการแยกเศษส่วนออกเป็นเศษส่วนย่อย ๆ ขั้นแรกเราต้องรู้ก่อนว่าเศษส่วนดังกล่าว เมื่อแยก
ออกเป็นเศษส่วนย่อย ๆ นั้นจะมีฟอร์มเป็นอย่างไร ซึ่งศึกษาได้จาก 4 กรณีด้านล่าง

กรณีที่ 1. ตัวส่วน Q(x) สามารถแยกตัวประกอบออกเป็นกำลัง 1 ไม่ซ้ำกัน


ถ้าเราสามารถแยกตัวประกอบตัวส่วนซึ่งก็คือ Q(x) ออกเป็นกำลังหนึ่งที่ไม่ซ้ำกันเราจะสามารถแยก
เศษส่วนย่อยได้ดังนี้
232 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

P (x) A1 A2 An
= + + ··· +
(a1 x + b1 )(a2 x + b2 ) · · · (an x + bn ) a1 x + b1 a2 x + b2 an x + bn

เมื่อ A1 , A2 , . . . , An เป็นค่าคงที่
ข้อสังเกต ขั้นตอนแรกสุดเลยคือเราต้องแยกตัวประกอบตัวส่วนก่อน เพื่อให้ทราบว่าเมื่อแยก
ออกมาแล้วหน้าตาของมันจะออกมาเป็นแบบไหน
ตัวอย่าง 5.32 จงแยกเศษส่วนย่อยต่อไปนี้โดยไม่ต้องคำนวณค่าคงที่ A, B, C, . . .
วิธีทำ.
x2 + x + 1 A B C
1. = + +
(2x + 1)(2x + 3)(x − 1) 2x + 1 2x + 3 x − 1
x−3 x−3 x−3 A B C
2. 3 = = = + +

งล ์ วาน
x + 3x2 + 2x x(x2 + 3x + 2) x(x + 1)(x + 2) x x+1 x+2
x3 − 3x − 1 A B C D
3. = + + +
(x − 1)(x − 2)(x − 3)(x − 4) x−1 x−2 x−3 x−4
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

กรณีที่ 2. ตัวส่วน Q(x) สามารถแยกตัวประกอบออกเป็นกำลัง 1 แต่ซ้ำกัน


ถ้า เราสามารถแยกตัวประกอบตัว ส่วนซึ่ง ก็ คือ Q(x) ออกเป็น กำลัง หนึ่ง แต่ มี พจน์ ที่ ซ้ำ กัน เราจะ
สามารถแยกเศษส่วนย่อยได้ดังนี้
.

P (x) A1 A2 An
ดร

n
= + 2
+ ··· +
(a1 x + b1 ) (a1 x + b1 ) (a1 x + b1 ) (a1 x + b1 )n
เมื่อ A1 , A2 , . . . , An เป็นค่าคงที่
ตัวอย่าง 5.33 จงแยกเศษส่วนย่อยต่อไปนี้โดยไม่ต้องคำนวณค่าคงที่ A, B, C, . . .
วิธีทำ.
x−2 A B C
1. = + +
(x − 1)3 (x − 1) (x − 1) 2 (x − 1)3
x2 − x − 1 A B C
2. = + +
(x + 2)2 (x − 3) (x + 2) (x + 2)2 x − 3
2 2 2
3. 5 = 3 2 = 3
(x − x )(x + 2)
3 2 x (x − 1)(x + 2) 2 x (x + 1)(x − 1)(x + 2)2
A B C D E F G
= + 2+ 3+ + + +
x x x x + 1 x − 1 (x + 2) (x + 2)2
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 233

กรณี 3. ตัวส่วน Q(x) สามารถแยกตัวประกอบออกเป็นกำลัง 2 ไม่ซ้ำกัน


ถ้าเราสามารถแยกตัวประกอบตัวส่วนซึ่งก็คือ Q(x) ออกเป็นกำลังสองที่ไม่ซ้ำกันเราจะสามารถแยก
เศษส่วนย่อยได้ดังนี้
P (x)
(a1 x2 + b1 x + c1 )(a2 x2 + b2 x + c2 ) · · · (an x2 + bn x + cn )

A1 x + B1 A2 x + B2 An x + B n
= 2
+ 2
+ ··· +
a1 x + b1 x + c1 a2 x + b2 x + c2 an x2 + bn x + cn

เมื่อ A1 , A2 , . . . , An และ B1 , B2 , . . . , Bn เป็นค่าคงที่

งล ์ วาน
กรณี 4. ตัวส่วน Q(x) สามารถแยกตัวประกอบออกเป็นกำลัง 2 แต่ซ้ำกัน
ถ้า เราสามารถแยกตัวประกอบตัว ส่วนซึ่ง ก็ คือ Q(x) ออกเป็น กำลัง สองแต่ มี พจน์ ที่ ซ้ำ กัน เราจะ
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
สามารถแยกเศษส่วนย่อยได้ดังนี้
งท
: ต มศกั ับรา่

P (x) A1 x + B1 A2 x + B 2 An x + Bn
+ ··· + 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

= 2 + 2
(a21 + b1 x + c1 ) n (a1 + b1 x + c1 ) (a1 + b1 x + c1 ) 2 (a1 + b1 x + c1 )n

เมื่อ A1 , A2 , . . . , An และ B1 , B2 , . . . , Bn เป็นค่าคงที่


ตัวอย่าง 5.34 จงแยกเศษส่วนย่อยต่อไปนี้โดยไม่ต้องคำนวณค่าคงที่ A, B, C, . . .
วิธีทำ.
.
ดร

3x + 2 A Bx + C
1. = + 2
(x + 1)(x − x − 7)
2 (x + 1) (x − x − 7)
−5 −5 A B C Dx + E
2. 5 = 3 2 = + 2+ 3+ 2
(x + 2x − 4x )
4 3 x (x + 2x − 4) x x x (x + 2x − 4)
3x − x − 1
2 Ax + B Cx + D
3. = +
(3x − 5x − 1) (2x + x + 11)
2 2 2 3 (3x − 5x − 1) (3x − 5x − 1)2
2 2

Ex + F Gx + H Ix + J
+ 2
+ 2 2
+
(2x + x + 11) (2x + x + 11) 2
(2x + x + 11)3
x2 − x − 13 A B C Dx + E
4. = + + + 2
(x − 1)(x − 2) (x − x − 7)
2 2 2 x − 1 (x − 2) (x − 2) 2 (x − x − 7)
Fx + G
+ 2
(x − x − 7)2
234 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

5.5.2 การหาค่าคงที่
ถึงตอนนี้เราควรที่จะตั้งฟอร์มในการแยกเศษส่วนย่อยเป็นแล้ว ที่เหลือตอนนี้คือเราต้องหาค่า
คงที่ A, B, C, . . . ต่าง ๆ ในฟอร์มที่เราตั้ง การหาค่าคงที่มีอยู่สองวิธี
1. วิธีแทนค่าตัวแปร 2.วิธีเทียบสัมประสิทธิ์

1. วิธีแทนค่าตัวแปร
ขั้นตอนของวิธีแทนค่าตัวแปรคือ
1. คูณตลอดสมการด้วย Q(x) ทำให้ทั้งสมการตัวส่วนหายไป
2. แทนค่า x ให้พจน์อื่น ๆ ที่ไม่สนใจกลายเป็นศูนย์ (ลองดูตัวอย่างนะ)

งล ์ วาน
− 2x + 1
2
ตัวอย่าง 5.35 จงแยกเศษส่วนย่อยของ (x − x1)(x
เรอื ่ วงษ − 2)(x − 3)
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
วิธีทำ. ข้อนี้ดีกรีของ P (x) = x2 − 2x + 1 คือสอง ดีกรีของ Q(x) = (x − 1)(x − 2)(x − 3)
งท
: ต มศกั ับรา่

คือสาม ดังนั้นดีกรีของ P (x) น้อยกว่า Q(x)


ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ตั้งฟอร์มแยกเศษส่วนย่อย
x2 − 2x + 1 A B C
= + +
(x − 1)(x − 2)(x − 3) x−1 x−2 x−3

คูณตลอดสมการด้วย Q(x) ทำให้ตัวส่วนหายไป


.

x2 − 2x + 1 = A(x − 2)(x − 3) + B(x − 1)(x − 3) + C(x − 1)(x − 2)


ดร

แทน x = 1 เพื่อหา A
1 − 2 + 1 = A(−1)(−2) + B(0)(−2) + C(0)(−1)
0 = 2A
A=0

แทน x = 2 เพื่อหา B
4 − 2(2) + 1 = A(0)(−1) + B(1)(−1) + C(1)(0)
1 = −B
B = −1
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 235

แทน x = 3 เพื่อหา C
9 − 2(3) + 1 = A(1)(0) + B(2)(0) + C(2)(1)
4 = 2C
C=2

แทนค่า A, B, C จะได้
x2 − 2x + 1 0 −1 2
= + +
(x − 1)(x − 2)(x − 3) x−1 x−2 x−3
−1 2
= +
x−2 x−3

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
2. วิธีเทียบสัมประสิทธิ์ งท
: ต มศกั ับรา่

ขั้นตอนของวิธีเทียบสัมประสิทธิ์คือ
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1. คูณตลอดสมการด้วย Q(x) ทำให้ทั้งสมการไม่มีตัวส่วน


2. คูณกระจาย และจัดรูป
3. เทียบสัมประสิทธิ์ แก้ระบบสมการหา A, B, C, . . .
.

x−1
ดร

ตัวอย่าง 5.36 จงแยกเศษส่วนย่อยของ x(x4 + 3x2 + 2)

วิธีทำ. ข้อนี้จะเห็นว่า Q(x) = x(x4 +3x2 +2) ซึ่งสามารถแยกตัวประกอบเป็น x(x2 +1)(x2 +2)
ซึ่ง x2 + 1 และ x2 + 2 ไม่สามารถแยกตัวประกอบได้อีก ดังนั้นเราจะมอง x2 + 1 และ x2 + 2
ในรูป ax2 + bx + c
ตั้งฟอร์มแยกเศษส่วนย่อย
x−1 A Bx + C Dx + E
x(x2 + 1)(x2 + 2)
= + 2
x x +1
+ 2
x +2
(*)

คูณตลอดสมการด้วย Q(x) ทำให้ตัวส่วนหายไป


x − 1 = A(x2 + 1)(x2 + 2) + (Bx + C)(x)(x2 + 2) + (Dx + E)(x)(x2 + 1) (**)
236 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

คูณกระจาย และจัดรูป
x − 1 = A(x4 + 3x2 + 2) + (Bx + C)(x3 + 2x) + (Dx + E)(x3 + x)
= (Ax4 + 3Ax2 + 2A) + (Bx4 + Cx3 + 2Bx2 + 2Cx)
+ (Dx4 + Ex3 + Dx2 + Ex)
= (A + B + D)x4 + (C + E)x3 + (3A + 2B + D)x2
+ (2C + E)x + 2A

เทียบสัมประสิทธิ์
0x4 + 0x3 + 0x2 + x − 1 = (A + B + D)x4 + (C + E)x3 + (3A + 2B + D)x2

งล ์ วาน
+ (2C + E)x + 2A
เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
ดังนั้น จะได้ว่า งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

A+B+D =0 (1)
C +E =0 (2)
3A + 2B + D = 0 (3)
2C + E = 1 (4)
2A = −1 (5)
.
ดร

จาก (5)
−1
A=
2

จาก (4)−(2) จะได้


C=1

แทน C = 1 ใน (2) จะได้


E = −1
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 237

แทน A = −12 ใน (1) และ (3) จะได้


1
B+D =
2
(6)
3
2B + D =
2
(7)

จาก (7)−(6) จะได้


B=1

แทน B = 1 ใน (6) จะได้


−1
D=
2
แทนค่าคงที่ A, B, C, D, E ลงใน (*) จะได้

งล ์ วาน
x−1 −1/2 x+1 (−1/2)x − 1
= + 2 +
x(x2 2
+ 1)(x + 2) x x +1 x2 + 2
เรอื ่ วงษ
−1 x+1 −x − 2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
= + 2 +
2x x + 1 2x2 + 4
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

ข้อสังเกต ถ้ามองไม่ออกว่า x(x4 + 3x2 + 2) = x(x2 + 1)(x2 + 2) ลองมอง A = x2


ดังนั้น x4 + 3x2 + 2 = A2 + 3A + 2 = (A + 1)(A + 2) = (x2 + 1)(x2 + 2)
เคล็ดไม่ลับ บางครั้งเราสามารถใช้ทั้ง วิธีแทนค่าตัวแปร และวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ ร่วมกันได้
เพื่อให้ง่ายต่อการทำโจทย์
จาก (**) ถ้าเราแทน x = 0 ก่อน เราจะได้ว่า
.
ดร

0 − 1 = A(0 + 1)(0 + 2) + (Bx + C)(0)(2) + (Dx + E)(0)(1)


−1 = 2A

นั่นคือ
−1
A=
2
ดังนั้น (**) จะกลายเป็น
−1 2
x−1= (x + 1)(x2 + 2) + (Bx + C)(x)(x2 + 2) + (Dx + E)(x)
2
2x − 2 = −(x2 + 1)(x2 + 2) + 2(Bx + C)(x)(x2 + 2) + 2(Dx + E)(x)
2x − 2 = −(x4 + 3x2 + 2) + 2(Bx + C)(x)(x2 + 2) + 2(Dx + E)(x)
x4 + 3x2 + 2x = 2(Bx + C)(x)(x2 + 2) + 2(Dx + E)(x)
238 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

หลังจากนั้นเราค่อยคูณกระจายและทำการเทียบสัมประสิทธิ์

5.5.3 การหาปริพันธ์

หลังจากที่เราได้เรียนรู้การแยกเศษส่วนออกเป็นผลรวมของเศษส่วนย่อย ๆ แล้ว ในหัวข้อนี้ เราจะดู


โจทย์ที่ใช้เทคนิคนี้ในการหาปริพันธ์กันครับ

งล ์ วาน
Z
x−1
เรอื ่ วงษ
ตัวอย่าง 5.37 จงแยกเศษส่วนย่อยของ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dx
x(x4 + 3x2 + 2)
งท
: ต มศกั ับรา่
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x−1
วิธีทำ. จากตัวอย่าง 5.36 จะได้ว่า x(x4 + 3x2 + 2)
สามารถแยกเศษส่วนย่อยได้เป็น
.
ดร

x−1 −1 x+1 −x − 2
= + 2 + 2
x(x2 2
+ 1)(x + 2) 2x x + 1 2x + 4

ดังนั้น

Z Z
x−1 −1 x+1 −x − 2 
dx = + 2 + 2 dx
x(x + 1)(x2 + 2)
2 2x x + 1 2x + 4
Z Z Z
−1 x+1 −x − 2
= dx + 2
dx + dx
2x x +1 2x2 + 4
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 239

พิจารณาทีละปริพันธ์
Z Z
−1 −1 1
dx = dx
2x 2 x
−1
= ln x + C
Z Z2 Z
x+1 x 1
dx = dx + dx
x2 + 1 x2 + 1 x2 + 1
Z Z
x d(x2 + 1) 1
= 2
x +1 2x
+ 2
x +1
dx ; มอง u = x2 + 1
Z Z
1 1 1
= 2
d(x2 + 1) + 2
dx
2 x +1 x +1
1
= ln(x2 + 1) + arctan x + C
2 Z
; ใช้สูตร
Z
−x − 2 −1 x+1
2
dx = dx
x2 + 2

งล ์ วาน
2x + 4 2
Z Z
−1 x 1 
= dx + dx
2 x2 + 2 x2 + 2
เรอื ่ วงษ
Z Z
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
−1 2
x d(x + 2) 1 
= + √ 2 dx
งท
: ต มศกั ับรา่

2 2
x +2 2x x2 + 2
Z Z
−1 2 
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x d(x + 2) 1
= 2
+ √ 2 dx
2 x +2 2x 2
Z Zx + 2
−1 1 −1 1
= 2
d(x2 + 2) + √ 2 dx
4 x +2 2 x2 + 2
−1 −1 1  x
= ln(x2 + 2) + √ arctan √ + C
4 2 2 2
−1 −1 x
ln(x2 + 2) + √ arctan √ + C
.

=
ดร

4 2 2 2

ตัวอย่าง 5.38 จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


Z Z
x2 + 3x − 4 2x2 − 9x + 9
1. x2 − 2x − 8
dx 2. x3 − 9x
dx

Z Z
x2 − 1 x3 + 2x2 + x + 4
3. (3x − 1)(x2 + 1)
dx 4. (x2 + 1)(x2 + 2)
dx

Z Z
x5 + x4 + x3 + 2x2 + x + 2 x5 + 4
5. x3 + x2 + x
dx 6. x2 + x
dx
240 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
Z Z
(2 + tan2 θ) sec2 θ 6 + 3 ln x
7. 1 + tan3 θ
dθ 8. x(1 + ln x)2
dx

x2 + 3x − 4 5x + 4
วิธีทำ. 1. เนื่องจากx − 2x − 8
2
=1+ 2
x − 2x − 8
x2 + 3x − 4
ทำให้ได้ว่า 1 + (x − 4)(x + 2) = 1 + x A +
−4 x+2
B

จะได้ 5x + 4 = A(x + 2) + B(x − 4)


แทน x= 4 ; 20 + 4 = A(6) + B(0)
24 = 6A
A=4
แทน x = −2 ; −10 + 4 = A(0) + B(−6)
−6 = −6B

งล ์ วาน
เรอื ่ วงษ B=1

x2 + 3x − 4
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
4 1
นั่นคือ x − 2x − 8
=1+ +
x−4 x+2
2
งท
: ต มศกั ับรา่

Z 2 Z
x + 3x − 4 4 1
ดังนั้น
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

dx = 1+ + dx
x2 − 2x − 8 x−4 x+2
Z Z Z
4 1
= dx + d(x − 4) + d(x + 2)
x−4 x+2
= x + 4 ln |x − 4| + ln |x + 2| + C

2. เนื่องจาก 2xx3−−9x9x− 9 = x(x


2x − 9x − 9
2 2 A B C
= + +
.

− 3)(x + 3) x x−3 x+3


ดร

จะได้ 2x2 − 9x − 9 = A(x − 3)(x + 3) + Bx(x + 3) + Cx(x − 3)


แทน x= 0 ; −9 = A(−3)(3) + B(0) + C(0)
−9 = −9A
A=1
แทน x= 3 ; 18 − 27 − 9 = A(0) + B(3)(6) + C(0)
−18 = 18B
B = −1
แทน x = −3 ; 18 + 27 − 9 = A(0) + B(0) + C(−3)(−6)
36 = 18C
C=2
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 241

2x2 − 9x − 9 1 1 2
นั่นคือ x − 9x
3
= −
x x−3 x+3
+

Z Z
2x2 − 9x − 9 1 1 2
ดังนั้น x3 − 9x
= −
x x−3 x+3
+ dx
Z Z Z
1 1 2
= dx − d(x − 3) + d(x + 3)
x x−3 x+3
= ln |x| − ln |x − 3| + 2 ln |x + 3| + C

x2 − 1 A Bx + C
3. เนื่องจาก (3x − 1)(x + 1)
2
=
3x − 1
+ 2
x +1

จะได้ x2 − 1 = A(x2 + 1) + (Bx + C)(3x − 1)


= Ax2 + A + 3Bx2 − Bx + 3Cx − C

งล ์ วาน
= (A + 3B)x2 − (B − 3C)x + A − C
เรอื ่ วงษ
เทียบสัมประสิทธิ์ x2 + 0x − 1 = (A + 3B)x2 − (B − 3C)x + A − C
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
งท
: ต มศกั ับรา่

จะได้ว่า A + 3B = 1 (1)
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

−B + 3C = 0 (2)
A − C = −1 (3)
(1) − (3); 3B + C = 2 (4)
(4) + (3 × (2)); 10C = 2
C=5
.
ดร

1 4
แทน C=
5
ใน (3) จะได้ A=−
5
1 3
แทน C=
5
ใน (2) จะได้ B=
5
−1
2
นั่นคือ (3x −x1)(x 2 + 1)
=−
4
+
3x + 1
5(3x − 1) 5(x2 + 1)
Z Z
x2 − 1 4 3x + 1
ดังนั้น (3x − 1)(x2 + 1)
dx = − +
5(3x − 1) 5(x2 + 1)
dx
Z Z
4 1 d(3x − 1) 3 x d(x2 + 1)
=− +
5 3x − 1 3 5 x2 + 1 2x
Z
1 1
+ dx
5 x2 + 1
4 3 1
= ln |3x − 1| + ln x2 + 1 + arctan x + C
15 10 5
242 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
x3 + 2x2 + x + 4 Ax + B Cx + D
4. เนื่องจาก 2 2
(x + 1)(x + 2)
= 2
x +1
+ 2
x +2

จะได้ x3 + 2x2 + x + 4 = (Ax + B)(x2 + 2) + (Cx + D)(x2 + 1)


= Ax3 + Bx2 + 2Ax + 2B + Cx3 + Dx2 + Cx + D
= (A + C)x3 + (B + D)x2 + (2A + C)x + 2B + D

เทียบสัมประสิทธิ์ x3 +2x2 +x+4 = (A+C)x3 +(B+D)x2 +(2A+C)x+2B+D

จะได้ว่า A+C =1 (1)


B+D =2 (2)
2A + C = 1 (3)
2B + D = 4 (4)

งล ์ วาน
(3) − (1); A=0
เรอื ่ วงษ
(4) − (2);
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
B=2
งท
: ต มศกั ับรา่

แทน A=0 ใน (1) จะได้ C=1


แทน ใน (2) จะได้
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

B=2 D=0

x3 + 2x2 + x + 4 2 x
นั่นคือ 2 2
(x + 1)(x + 2)
= 2 + 2
x +1 x +2
Z Z
x3 + 2x2 + x + 4 2 x
ดังนั้น (x2 + 1)(x2 + 2)
dx =
x2
+ 2
+1 x +2
dx
Z Z
.

x d(x2 + 2)
ดร

1
=2 dx +
x2 + 1 x2 + 2 2x
1 2
= 2 arctan x + ln x + 2 + C
2

5. เนื่องจาก x5 + x4 + x3 + 2x2 + x + 2 = (x3 + x2 + x)(x2 ) + (2x2 + x + 2)


x5 + x4 + x3 + 2x2 + x + 2 2x2 + x + 2
จะได้ว่า x3 + x2 + x
= x 2
+
x3 + x2 + x
2x2 + x + 2 2x2 + x + 2 A Bx + C
พิจารณา 3 2
x +x +x
= 2
x(x + x + 1)
= + 2
x x +x+1

จะได้ 2x2 + x + 2 = A(x2 + x + 1) + (Bx + C)x


= Ax2 + Ax + A + Bx2 + Cx
= (A + B)x2 + (A + C)x + A
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 243

เทียบสัมประสิทธิ์ 2x2 + x + 2 = (A + B)x2 + (A + C)x + A

จะได้ว่า A+B =2 (1)


A+C =1 (2)
A=2 (3)
แทน (3) ใน (1); B=0
แทน (3) ใน (2); C = −1

2x2 + x + 2 2 1
นั่นคือ x(x2 + x + 1)
= − 2
x x +x+1
x5 + x4 + x3 + 2x2 + x + 2 2 1
จะได้ว่า x3 + x2 + x
= x2 + − 2
x x +x+1
Z Z

งล ์ วาน
x5 + x4 + x3 + 2x2 + x + 2 2 1
ดังนั้น x3 + x2 + x
dx = − 2
x2 +
x x +x+1
dx
Z Z
1
เรอื ่ วงษ
= x2 dx + 2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
dx
x
Z
งท
: ต มศกั ับรา่

1 1
− 1 2 3 d(x + 2 )
(x + 2 ) + 4
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

x3 2 2x + 1
= + 2 ln |x| − √ arctan √ +C
3 3 3

6. เนื่องจาก x5 + 4 = (x2 + x)(x3 − x2 + x − 1) + x + 4


x5 + 4 x+4
จะได้ว่า 2
x +x
= x3 − x2 + x − 1 + 2
x +x
.
ดร

x+4 x+4 A B
พิจารณา 2
x +x
=
x(x + 1)
= +
x x+1

จะได้ x + 4 = A(x + 1) + B(x)


แทน x = 0; 4 = A(1) + B(0)
A=4
แทน x = −1; −1 + 4 = A(0) + B(−1)
3 = −B
B = −3

x+4 4 3
นั่นคือ x(x + 1)
= −
x x+1
244 บทที่ 5. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
x5 + 4 4 3
จะได้ว่า 2
x +x
= x3 − x2 + x − 1 + −
x x+1
Z Z
x5 + 4 4 3
ดังนั้น x2 + x
dx = x3 − x2 + x − 1 + −
x x+1
dx
Z Z Z Z
= x3 dx − x2 dx + x dx − 1 dx
Z Z
1 1
+4 dx − 3 d(x + 1)
x x+1
x4 x3 x2
= − + − x + 4 ln |x| − 3 ln |x + 1| + C
4 3 2

7. ให้ u = tan θ จะได้ว่า du = sec2 θdθ


Z Z
(2 + tan2 θ) sec2 θ (2 + u2 ) sec2 θ du
จะได้ว่า

งล ์ วาน
dθ =
1 + tan3 θ 1 + u3 sec2 θ
Z
2 + u2
เรอื ่ วงษ
= du
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
1 + u3
งท
: ต มศกั ับรา่

2 + u2 2 + u2 A Bu + C
เนื่องจาก = = + 2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

1+u 3 (1 + u)(u − u + 1)
2 1+u u −u+1

จะได้ 2 + u2 = A(u2 − u + 1) + (Bu + C)(1 + u)


= Au2 − Au + A + Bu2 + Bu + Cu + C
= (A + B)u2 + (−A + B + C)u + A + C
.
ดร

เทียบสัมประสิทธิ์ u2 + 0u + 2 = (A + B)u2 + (−A + B + C)u + A + C

จะได้ว่า A+B =1 (1)


−A + B + C = 0 (2)
A+C =2 (3)
(1) + (2); 2B + C = 1 (4)
(2) + (3); B + 2C = 2 (5)
(4) − (2 × (5)); −3C = −3
C=1
แทน C=1 ใน (3); A=1
แทน A=1 ใน (1); B=0
5.5. การหาปริพันธ์โดยการแยกเศษส่วนย่อย 245

2 + u2 2 + u2 1 1
นั่นคือ 1+u 3
=
(1 + u)(u − u + 1)
2
= + 2
1+u u −u+1
Z Z
(2 + tan2 θ) sec2 θ 1 1
ดังนั้น 3
1 + tan θ
dθ = + 2
1+u u −u+1
du
Z Z
1 1 1
= d(1 + u) + d(u − )
1+u (u − 12 )2 + 34 2
2 2 1
= ln |1 + u| + √ arctan √ (u − ) + C
3 3 2
2 2 tan θ − 1
= ln |1 + tan θ| + √ arctan √ +C
3 3

1
8. ให้ u = ln x จะได้ว่า du =
x
dx
Z Z
6 + 3 ln x 5 + 3u
จะได้ว่า dx = x du

งล ์ วาน
x(1 + ln x)2 x(1 + u)2
Z
6 + 3u
= du
เรอื ่ วงษ
(1 + u)2
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
6 + 3u A B
เนื่องจาก งท
: ต มศกั ับรา่

= +
(1 + u)2 1 + u (1 + u)2
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

จะได้ 6 + 3u = A(1 + u) + B
= Au + A + B

เทียบสัมประสิทธิ์ 3u + 6 = Au + A + B

จะได้ว่า A=3 (1)


.

A+B =6 (2)
ดร

แทน (1) ใน (2); B=3

3u + 6 3 3
นั่นคือ (1 + u)2
= +
1 + u (1 + u)2
Z Z
6 + 3 ln x 3 3
ดังนั้น x(1 + ln x) 2
dx = +
1 + u (1 + u)2
du
Z Z
1 1
=3 d(u + 1) + 3 d(u + 1)
1+u (1 + u)2
3
= 3 ln |1 + u| − +C
1+u
3
= 3 ln |1 + ln x| − +C
1 + ln x
บรรณานุกรม
มาริสา มัยยะ, กันตภณ คูหาพัฒนกุล, อังคณา ศรีพยัพ, และมนต์ฤดี สิริวรวิทย์. (2554). แคลคูลสั I (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แสงสว่างเวิลด์เพรส จำกัด.
ศรีบุตร แววเจริญ, และชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง. (2545). คณิตศาสตร์วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ Series 1 อนุพันธ์และการประยุกต์
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บริษัท วงตะวัน จำกัด.
ศรีบุตร แววเจริญ, และชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง. (2549). คณิตศาสตร์วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ Series 2 อินทริกรัลและการประยุกต์
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บริษัท วงตะวัน จำกัด.
Anton, H. (1999). Calculus Brief Edition (6th ed.). New York: John Wiley & Son, Inc.
Gerald, L. B., & Smith, K. J. (1995). Calculus (1st ed.). New Jersey: Prentice Hall College Div.
Hoffmann, L. D., & Bradley, G. L. (2003). Calculus for Business, Economics, and the Social and Life Science (8th

งล ์ วาน
ed.). New York: McGraw-Hill.

เรอื ่ วงษ
ดิ เ ดิ์ ง

ุน
Lial, M. L., Greenwell, R. N., & Ritchey, N. P. (2004). Calculus with Applications (8th ed.). Boston: Addison

งท
: ต มศกั ับรา่

Wesley.
ลา่ รกั
FB อุด ฉบ

Thomas, G. B., Hass, J., Heil, C., & Weir, M. D. (2020). Thomas' Calculus (14th ed.). New York: Pearson.
.
ดร

You might also like