You are on page 1of 318

บทที่ 20

ไฟฟ้าสถิต ปรั บ ปรุ ง ล่ า สุ ด 9 พ.ค. 65

Part 1 แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า 1
Part 2 พลังงานศักย์ไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้า 93
Part 3 สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าจากการกระจายตัวของประจุ 170
Part 4 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า 203
Part 5 การทำให้เกิดประจุ การทดสอบประจุ ตัวเก็บประจุ 273

หากพบจุดที่สงสัยว่าจะพิมพ์ผิด โปรดแจ้งมาที่เพจ Tonsonphysics


เพื่อให้ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

จัดทำเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้งานต่อในเชิงพาณิชย์
หากพบการซื้อขายเอกสารชุดนี้ โปรดแจ้งที่ Facebook page: Tonsonphysics
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ไฟฟ้าสถิต Part 1

ประจุไฟฟ้าและโครงสร้างของสสาร
1. (PAT2 พ.ย. 58) ในการทำให้อะตอมเป็นไอออนที่มีประจุ +1 คูลอมบ์ จะต้องทำให้อิเล็กตรอนหลุด
ออกไปประมาณกี่ตัว
ก. 1.6 10−19 ข. 6.25 1018
ค. 1.6 1019 ง. 3.2 1019
จ. 6.02 1023

2. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 45) X, Y, Z เป็นแผ่นวัตถุ 3 ชนิด ที่ทำให้มีประจุไฟฟ้าโดยการถู ซึ่งได้ผลดังนี้


X และ Y ดูดกัน แต่ Y และ Z ผลักกัน จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) X และ Z มีประจุบวก แต่ Y มีประจุลบ
(๒) X และ Y มีประจุลบ แต่ Z มีประจุบวก
(๓) Y และ Z มีประจุลบ แต่ X มีประจุบวก
คำตอบข้อใดที่ถูกต้อง
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. มีคำตอบที่ถูกต้องมากกว่า 1 ข้อ

1
3. (TEDET ม.1 2559) ทำการทดลองเกี่ยวกับแรงดึงและแรงผลัก โดยนำแท่งอีโบไนต์ที่เสียดสีกับผ้าขนสัตว์
และแท่งแก้วที่ถูกับผ้าไหมมาเข้าใกล้กัน ผลการทดลองเป็นดังต่อไปนี้

แท่งอีโบไนต์ - แท่งแก้ว : แรงดูด


แท่งอีโบไนต์ - แท่งอีโบไนต์ : แรงผลัก
แท่งแก้ว – แท่งแก้ว : แรงผลัก

ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลอง
ก. ประจุไฟฟ้ามีสองชนิด
ข. แท่งอีโบไนต์และแท่งแก้วมีประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน
ค. ระหว่างประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะเกิดการดูดกัน
ง. แท่งแก้วเกิดประจุไฟฟ้าซึ่งเกิดจากการขัดสีได้ดีกว่าแท่งอีโบไนต์
จ. ระหว่างประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะเกิดการผลักกัน

4. (O-Net 2549) A, B และ C เป็นแผ่นวัตถุ 3 ชนิดที่ทำให้เกิดประจุไฟฟ้าโดยการถู ซึ่งได้ผลดังนี้ A และ B


ผลักกัน ส่วน A และ C ดูดกัน ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. A และ C มีประจุบวก แต่ B มีประจุลบ
ข. B และ C มีประจุลบ แต่ A มีประจุบวก
ค. A และ B มีประจุบวก แต่ C มีประจุลบ
ง. A และ C มีประจุลบ แต่ B มีประจุบวก

2
แรงระหว่างประจุไฟฟ้า
แนวที่ ๑.๑ : แรงไฟฟ้าในหนึ่งมิติ

5. (TEDET ม.3 2557) ตัวนำไฟฟ้า A ที่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเป็น Q และตัวนำไฟฟ้า B ที่มีปริมาณประจุ


ไฟฟ้าเป็น 2Q อยู่ใกล้กันดังภาพ ขนาดและทิศทางของแรงที่ตัวนำไฟฟ้า A กระทำต่อตัวนำไฟฟ้า B คือ
10 N และทางขวามือ

ข้อใดคือขนาดและทิศทางของแรงที่ตัวนำไฟฟ้า B กระทำต่อตัวนำไฟฟ้า A
ก. 10 N , ทางซ้ายมือ ข. 10 N , ทางขวามือ
ค. 20 N , ทางซ้ายมือ ง. 20 N , ทางขวามือ
จ. 30 N , ทางซ้ายมือ

3
6. (มข. 2550) ประจุ +Q และประจุ +4Q วางห่างกันเป็นระยะทาง R ทำให้เกิดแรงกระทำต่อประจุ
+Q มีขนาดเท่ากับ F อยากทราบว่าจะเกิดแรงกระทำต่อประจุ +4Q ขนาดเท่าไร
F
ก. F ข. 4F ค. 16F ง.
4

7. (มข. 2552) จุดประจุ Q และ 4Q วางห่างกัน เป็นระยะทาง R จะเกิดแรงไฟฟ้า F เนื่องจากประจุ


ทั้งสอง แรงไฟฟ้าที่เกิดขึ้นกับประจุ Q และ 4Q เป็นเท่าไร ตามลำดับ
Q2 Q2 Q2 Q2
ก. k และ k ข. 4k และ k
R2 R2 R2 R2
Q2 Q2 Q2 Q2
ก. k 2 และ 4k 2 ข. 4k 2 และ 4k 2
R R R R

8. (Ent 18) แรงกระทำระหว่างวัตถุ 2 ก้อนที่มีจำนวนประจุไฟฟ้าต่างกันจะเป็นอย่างไร


ก. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้ามากจะมีแรงกระทำมากกว่า
ข. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าน้อยจะวิ่งเข้าหาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้ามาก
ค. ต่างมีแรงกระทำระหว่างกันเท่ากัน
ง. บอกไม่ได้ถ้าไม่ทราบน้ำหนักของวัตถุ

4
9. (สอวน. เม.ย. 65)

10. (กสพท. 2562) แรงไฟฟ้าที่โปรตอนมวล m ประจุ q ผลักกันมีขนาดเป็นกี่เท่าของขนาดของแรง


โน้มถ่วงระหว่างโปรตอนคู่เดียวกัน
2
k m
2 2
G q  kq
ก.   ข.   ค.  
k m G q  Gm
k q Gm
ง. จ.
Gm k q

11. (Ent 32) อัตราส่วนของแรงทางไฟฟ้าต่อแรงโน้มถ่วงระหว่างโปรตอนและอิเล็กตรอนในไฮโดรเจนอะตอม


มีค่าประมาณเท่าไร (มวลโปรตอน = 1.67 10−27 กิโลกรัม)
ก. 3 108 ข. 6 1021 ค. 4 1026 ง. 2 1039

5
12. (PAT3 ก.พ. 61) ที่ตำแหน่ง A B C และ D มีประจุ +1.0 10−7 C , +4.0 10−7 C , +2.0 10−7 C
และ +6.0 10−7 C ดังรูป โดยมีระยะ AB และ CD เท่ากับ 0.3 m และระยะ AC และ BD เท่ากับ
0.4 m แรงจากประจุไฟฟ้าในข้อใด ที่กระทำต่อจุดประจุไฟฟ้า A ด้วยขนาดแรงสูงสุด และมีขนาดเท่าใด
(กำหนดให้ค่าคงที่ตามกฎของคูลอมบ์ k = 9 10−9 N  m2  C-2 )

ก. แรงจากประจุ B ขนาด 1.110−3 N


ข. แรงจากประจุ B ขนาด 4.0 10−3 N
ค. แรงจากประจุ C ขนาด 1.110−3 N
ง. แรงจากประจุ D ขนาด 4.0 10−3 N
จ. แรงจากประจุ D ขนาด 2.2 10−3 N

6
13. (PAT3 ก.พ. 63) ที่ตำแหน่ง A B C และ D มีประจุดังรูป โดยมีระยะ AB = CD = 6.0 m และระยะ
AC = BD = 8.0 m จงหาขนาดของแรง FDB จากประจุ B และแรง FDC จากประจุ C ที่กระทำ
ต่อจุดประจุไฟฟ้า D มีขนาดเท่าใด
(กำหนดให้ค่าคงที่ทางไฟฟ้า k = 9 10−9 N  m2 /C2 )

ก. FDB = 30.0 μN , FDC = 30.0 μN


ข. FDB = 33.8 μN , FDC = 30.0 μN
ค. FDB = 33.8 μN , FDC = 60.0 μN
ง. FDB = 60.0 μN , FDC = 60.0 μN
จ. FDB = 60.0 μN , FDC = 270.0 μN

7
14. (IMAT 2019) Two charged particles P and Q are 0.10 m apart. The charge on P is
1.50 10 –7 C and the charge on Q is 1.50 10 –7 C . Particle P experiences an electrostatic
force of magnitude F because it is near to the charge on particle Q.

The distance between the two particles is increased to 0.20 m . The charge on P is
increased to 4.50 10–7 C and the charge on Q is increased to 6.00 10–7 C .
What is the magnitude of the force that particle P experiences now?
F 3F
A. B. 12F C. 6F D. E. 3F
4 4

8
15. (PAT3 ต.ค. 52) ประจุไฟฟ้า Q1 และ Q2 วางห่างกันเป็นระยะทาง R เมตร ทำให้เกิดแรงระหว่าง
ประจุทั้งสอง 8 นิวตัน ถ้าเพิ่มระยะทางเป็น 2 เท่า เพิ่มประจุไฟฟ้า Q1 เป็น 6 เท่า และลดประจุ
ไฟฟ้า Q2 ลงครึ่งหนึ่ง จะมีแรงระหว่างประจุเป็นเท่าไร
ก. 4 นิวตัน ข. 6 นิวตัน ค. 12 นิวตัน ง. 14 นิวตัน

16. (PAT3 ต.ค. 53) ประจุไฟฟ้า Q1 และ Q2 วางห่างกันเป็นระยะทาง R เมตร ทำให้เกิดแรงระหว่าง


ประจุทั้งสอง 16 นิวตัน ถ้าเพิ่มระยะทางเป็น 2 เท่า เพิ่มประจุไฟฟ้า Q1 เป็น 4 เท่า และลดประจุ
ไฟฟ้า Q2 ลงครึ่งหนึ่ง จะมีแรงระหว่างประจุเป็นเท่าไร

17. (มข. 2556) จากรูป อนุภาคมีประจุ +Q ออกแรงผลักกันมีขนาด F ถ้าเพิ่มประจุอนุภาคแรกเป็น


+4Q ดังรูปถัดไป โดยมีระยะห่างระหว่างประจุเท่าเดิม อนุภาคแรกจะผลักอนุภาคที่สองด้วยแรงขนาด
เท่าไร และอนุภาคที่สองจะผลักอนุภาคแรกด้วยขนาดเท่าไร ตามลำดับ

ก. 4F และ F ข. 4F และ 4F
ค. F และ F ง. F และ 4F

9
18. (IJSO รอบที่ 1 ก.ค. 50) วางจุดประจุ Q ไว้ที่จุดกำเนิดของแกนระดับ จากนั้นนำจุดประจุ q1 มาวางไว้
ที่ระยะ r ทางด้านซ้ายของจุดกำเนิด และนำจุดประจุ q2 มาวางไว้ที่ระยะ 2r ทางด้านขวาของจุด
กำเนิด ถ้าจุดประจุทั้งสามเป็นประจุบวก และ q1 = q2 จงหาอัตราส่วนขนาดของแรงไฟฟ้าที่ q1 ทำต่อ
Q ต่อขนาดของแรงไฟฟ้าที่ q2 ทำต่อ Q
1 1
ก. ข. ค. 2 ง. 4
4 2

10
19. (กสพท. 2565) ตัวนำทรงกลม A และ B มีมวล M เท่ากัน แต่ขนาดประจุไฟฟ้าบนตัวนำทรงกลม A
เท่ากับ Q ส่วนตัวนำทรงกลม B มีขนาดประจุไฟฟ้าเป็น n เท่าของตัวนำทรงกลม A

วางตัวนำทรงกลม A ไว้บนพื้นที่เป็นฉนวน แล้วนำตัวนำทรงกลม B ที่


ผูกด้วยเชือกเบาเข้าใกล้ตัวนำทรงกลม A ในแนวดิ่ง โดยให้ระยะห่าง
ระหว่างจุดศูนย์กลางของตัวนำทรงกลมทั้งสอง เท่ากับ d ดังภาพ

กำหนดให้ k เป็นค่าคงตัวคูลอมบ์
g เป็นขนาดของความเร่งโน้มถ่วง

ถ้าต้องการให้ตัวนำทรงกลม A เริ่มจะลอยขึ้นจากพื้นได้ ชนิดประจุไฟฟ้าบนตัวนำทรงกลมทั้งสองจะต้อง


เป็นอย่างไร และระยะห่าง d จะต้องมีค่ามากที่สุดเท่าใด

ชนิดประจุไฟฟ้า ระยะห่าง d
nkQ
ก. ชนิดเดียวกัน
Mg
k
ข. ชนิดเดียวกัน Q
Mg
nkQ
ค. ชนิดต่างกัน
Mg
k
ง. ชนิดต่างกัน Q
Mg
nk
จ. ชนิดต่างกัน Q
Mg

11
20. (EJU-2 2021) As shown in the figure below, two electrically insulated springs, each with a
small metal ball attached to one end, are placed in a straight line on smooth, horizontal
electrically insulated floor, such that two balls face each other, and each of the other
ends of the springs is attached to an electrically insulated wall. The springs have the same
spring constant. The balls are able to move along the straight line only. When the balls
are not elastically charged, the springs are at their natural length, and the distance
between the balls is r . When a charge with quantity of electricity q (  0 ) is applied to
each ball, the springs each contract length x0 from their natural length and the balls
come to rest. Next, when the charge carried by one of the balls is charged to a charge
with quantity of electricity −Q , the springs each extend length x0 from their natural
length and the balls come to rest.

Q
What is ? From (a)-(f) below choose the correct answer.
q
2 2
 r − 2 x0   r + 2 x0  r − 2 x0
(a)   (b)   (c)
 r + 2 x0   r − 2 x0  r + 2 x0
r + 2 x0 r − 2 x0 r + 2 x0
(d) (e) (f)
r − 2 x0 r + 2 x0 r − 2 x0

12
แนวที่ ๑.๒ : แรงไฟฟ้าในหนึ่งมิติ แบบคำนวณแรงลัพธ์

21. (กสพท. 2563) A, B, C ต่างก็มีประจุ +Q เท่ากัน และอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และห่างจากตัวที่อยู่


ใกล้สุดเท่ากับ d จงหาขนาดของแรงไฟฟ้าที่กระทำต่อ C

5 Q2 3 Q2
ก. 0 ข. ค.
4 4 0 d 2 4 4 0 d 2
1 Q2 Q2
ง. จ. 2
4 4 0 d 2 4 0 d 2

13
22. (มข. 2558) วางจุดประจุบวกสองประจุให้ห่างกัน 4.0 เมตร โดยประจุทั้งสองมีขนาด q1 = +16 ไมโคร
คูลอมบ์ และขนาด q2 = +4.0 ไมโครคูลอมบ์ จากนั้นนำจุดประจุ q3 = +2 ไมโครคูลอมบ์ มาวาง ณ
ตำแหน่งกึ่งกลางของเส้นตรงที่เชื่อมประจุ q1 และ q2 จงหาขนาดแรงที่กระทำต่อประจุ q3 เป็นกี่นิวตัน
(กำหนด k = 9 109 นิวตัน·เมตร2ต่อคูลอมบ์2)
ก. 5.4 10−2 ข. 9.0 10−2
ค. 0.11 ง. 0.18

14
23. (PAT2 พ.ย. 57) ประจุไฟฟ้า 3 ประจุเรียงกันอยู่ในแนวเส้นตรง ดังรูป ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับขนาดของ
แรงไฟฟ้าที่กระทำต่อประจุ A, B และ C

ก. FA  FB  FC ข. FB  FC  FA
ค. FC  FB  FA ง. FC  FA , FB = 0

24. (มข. 2551) จุดประจุ 4 ไมโครคูลอมบ์ 3 จุดประจุ วางเรียงกันเป็นแนวเส้นตรงห่างกันช่วงละ 30


เซนติเมตร โดยที่จุดประจุที่ปลายข้างหนึ่งเป็นชนิดลบ ส่วนตรงกลางกับปลายอีกข้างหนึ่งเป็นชนิดบวก
อยากทราบว่าขนาดของแรงที่กระทำต่อจุดประจุที่อยู่ตรงกลางมีค่าเท่ากับกี่นิวตัน
1 N  m2
กำหนดให้ k= = 9 109
4 0 C2
ก. 6.4 ข. 3.2 ค. 1.6 ง. ศูนย์

15
25. (Ent 28) จุดประจุ 26 10−3 คูลอมบ์ วางที่จุด B และจุดประจุชนิดตรงข้าม −Q วางที่จุด D ดังรูป ถ้า
นำเอาประจุ P ไปวางที่จุด C หรือ A จะเกิดแรงผลักประจุ P ไปทางขวามือและซ้ายมือของจุด B
ตามลำดับ แรงผลักทั้งสองมีค่าเท่ากัน จงหาค่าประจุ −Q ว่ามีขนาดกี่คูลอมบ์

ก. −7 10−3 ข. −8 10−3 ค. −9 10−3 ง. −10−2

16
26. (IJSO รอบที่ 2 ส.ค. 50) A, B, C และ D เป็นประจุซึ่งมีค่าประจุเท่ากันเชื่อมไว้ด้วยกันด้วยเส้นใยฉนวน
ยาวเท่ากันทุกช่วง  AB = BC = CD แรงระหว่างประจุแปรผกผันกับระยะทางกำลังสอง T1 กับ T2
T2
เป็นความตึง (แรงตึง) ในเส้นใยช่วง AB กับ BC ตามลำดับ จงหาค่าของอัตราส่วน
T1

17
แนวที่ ๑.๓ : แรงไฟฟ้าในหนึ่งมิติ แบบแรงลัพธ์เป็นศูนย์

27. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 59) ประจุบวกขนาด Q และ 4Q ถูกตรึงไว้บนแนวแกน x ที่ตำแหน่ง x = 0


และ x = a ตามลำดับ จะต้องวางประจุลบขนาด −q ที่ตำแหน่งใดบนแกน x จึงจะทำให้แรงสุทธิที่
กระทำกับประจุ −q เป็นศูนย์

28. (IJSO รอบที่ 1 ก.ค. 49, สอวน. ต.ค. 43) ประจุ q และประจุ 4q ชนิดเดียวกัน วางอยู่ห่างกันเป็นระยะ
L จะต้องวางประจุ q0 ห่างจากประจุ q เท่าใด เพื่อให้แรงไฟฟ้าสุทธิที่ทำต่อประจุ q0 เป็นศูนย์
ก. L / 5 ข. L / 4 ค. L / 3 ง. L / 2 จ. 2L / 5

29. (มช. 2559) จุดประจุ 3 ตัว วางอยู่บนแกน x โดยที่ q1 = +3.0 นาโนคูลอมบ์ อยู่ที่ตำแหน่ง x = 0
เมตร และจุดประจุ q2 = +27.0 นาโนคูลอมบ์ อยู่ที่ตำแหน่ง x = 2 เมตร จะต้องวางประจุ q3 ที่
ตำแหน่ง x เท่ากับกี่เมตร จึงจะทำให้แรงลัพธ์ที่กระทำต่อ q3 มีค่าเป็นศูนย์

18
30. (EJU-1 2010) As shown in the figure below, a point charge of 9.0 10−8 C is fixed at the
origin on the x − axis, and a point charge of −1.0 10−8 C is fixed to the x − axis at
x = 4.0 m .

When placing a positive point charge on the x − axis, at what position would the resultant
force acting on this charge be zero? From (a)-(d) below choose the best answer.
(a) x = 3.0 (b) x = 3.5 (c) x = 4.5 (d) x = 6.0

31. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 61) ประจุ +8Q และประจุ −2Q ถูกตรึงไว้บนแนวแกน x ที่ตำแหน่ง x = 0
และ x = 1 ตามลำดับ จะต้องวางประจุ +Q บนแกน x ที่ตำแหน่งใด แรงสุทธิที่กระทำกับประจุนี้จึง
จะเป็นศูนย์

1 4
ก. x = −1 ข. x=− ค. x= ง. x=2
3 3

19
32. (สอวน. ส.ค. 60) อนุภาคมีประจุสามอนุภาค ได้แก่ −12 μC , +27 μC และ q วางอยู่บนแกน x โดย
ที่แต่ละอนุภาคอยู่ในสมดุลภายใต้แรงไฟฟ้า ถ้าอนุภาค −12 μC อยู่ที่จุดกำเนิด และอนุภาค +27 μC
อยู่ที่ตำแหน่ง x = +10 cm จงหาตำแหน่งของประจุ q
ก. −20 cm ข. −10 cm ค. −4 cm ง. +20 cm

33. (PAT3 ก.พ. 62) ในระบบไฟฟ้าสถิตที่มีประจุอิสระ 3 กลุ่ม อยู่ในระนาบ xy โดยที่ประจุกลุ่มที่หนึ่งมีค่า


เท่ากับ Q อยู่ที่ตำแหน่ง ( 0, 0 ) ประจุกลุ่มที่สองมีค่าเท่ากับ −Q อยู่ที่ตำแหน่ง (1, 0 ) ประจุกลุ่มที่
สามมีค่าเท่ากับ 4Q จงคำนวณตำแหน่งของประจุกลุ่มที่สามที่ทำให้แรงลัพธ์ทางไฟฟ้าที่กระทำต่อประจุ
กลุ่มที่หนึ่งมีค่าเท่ากับศูนย์
ก. ( −4, 0 ) ข. ( −2, 0 ) ค. ( −1, 0 ) ง. ( 2, 0 ) จ. ( 4, 0 )

20
34. (IJSO รอบที่ 1 มี.ค. 51) วางอนุภาคสามอนุภาคต่อไปนี้ไว้กับที่แกน x อนุภาค 1 ประจุ q1 ที่ x = −a
อนุภาค 2 ประจุ q2 ที่ x = + a และอนุภาค 3 ประจุ +Q ที่ x = +1.50a จงหาอัตราส่วนประจุ
q1 / q2 ถ้าต้องการให้แรงไฟฟ้าสถิตสุทธิที่ทำต่ออนุภาค 3 เป็นศูนย์
ก. +25 ข. −25 ค. +5.0 ง. −5.0

21
35. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 65) จุดประจุ q1 = 9.0 10−6 C และ q2 = 1.0 10−6 C วางห่างกัน 1.0 เมตร
เอาอีกจุดประจุ Q วางห่างจาก q1 เป็นระยะทาง x ในแนวเส้นตรงจาก q1 ไปยัง q2 ข้อใดคือ Q
และ x ที่ทำให้แรงลัพธ์ที่ q1 และ q2 เป็นศูนย์
1 1 9 3
ก. Q=− q2 , x = m ข. Q=− q2 , x = m
16 4 16 4
1 1 9 3
ค. Q = + q2 , x = m ง. Q = + q2 , x = m
16 4 16 4

22
แนวที่ ๒.๑ : แรงไฟฟ้าในสอง-สามมิติ แบบหาแรงลัพธ์

36. (มข. 2557) จากรูป ทิศทางของแรงที่กระทำกับประจุ +q เป็นอย่างไร

ก. ← ข. ↖ ค. ↗ ง. ↙

37. (มช. 2555) ที่แต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีประจุไฟฟ้าขนาด +3q, + q และ –q อยู่ที่จุด


A, B และ C ตามลำดับ โดยระยะ AB = a และระยะ BC = a / 2 ขนาดของแรงกระทำต่อไฟฟ้าที่จุด
B มีค่าเป็นเท่าใด
kq 2 4kq 2
ก. ข.
a2 a2
5kq 2 7kq 2
ค. ง.
a2 a2

23
38. (PAT3 ก.พ. 62) ที่ตำแหน่ง A B และ C มีประจุดังรูป โดยมีระยะ AB = 2.0 m และระยะ
AC = 2.5 m ขนาดของแรงที่กระทำต่อจุดประจุไฟฟ้า B มีขนาดเท่าใด

ก. 4.12 10−3 N ข. 5.00 10−3 N


ค. 9.00 10−3 N ง. 16.00 10−3 N
จ. 18.36 10−3 N

39. (PAT3 มี.ค. 64) จงหาแรงลัพธ์บนประจุ Q3 มีค่ากี่ mN

24
10
40. (PAT3 มี.ค. 56) ประจุ 3 ตัววางตามรูป ถ้า QA = 10−3 C , QB = − 10−9 C และ
9
3
QC = 10−3 C แล้ว แรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ QB จะมีขนาดกี่นิวตัน
4

41. (มข. 2555) จากรูปแรงที่ทำระหว่างประจุ q0 , q1 และ q2 ข้อใดถูกต้อง

ก. q0 ถูก q1 ดูดขึ้นด้วยแรงขนาด 9 109 N


ข. q0 ถูก q2 ผลักไปทางซ้ายด้วยแรงขนาด 3 109 N
ค. q0 ถูก q1 และ q2 กระทำไปทางขวาด้วยแรงขนาด 9 2 109 N
ง. q0 ถูก q2 ผลักไปทางซ้ายบนด้วยแรงขนาด 9 109 N

25
42. (Ent มี.ค. 46) จากรูป จงหาขนาดของแรงลัพธ์บนประจุ +2q
2kq 2 4kq 2
ก. cos 30 ข. cos 30
r2 r2
2kq 2 4kq 2
ค. cos 60 ง. cos 60
r2 r2

43. (มช. 2556) สามเหลี่ยมด้านเท่าที่มีดา้ นยาว a ที่แต่ละมุมมีประจุ +2q วางอยู่ ขนาดของแรงลัพธ์บน


แต่ละประจุมีค่าเท่าใด
2kq 2 4kq 2 2 3kq 2 4 3kq 2
ก. ข. ค. ง.
a2 a2 a2 a2

26
44. (PAT3 เม.ย. 57) ถ้ามีประจุ Q ขนาดเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุและตำแหน่งตามที่กำหนดในภาพ
ขนาดของแรงลัพธ์สุทธิที่กระทำต่อประจุที่จุด C มีขนาดเท่าใด

kQ 2 kQ 2
ก. ข. sin 
R2 R2
2kQ 2 3kQ 2
ค. sin  ง.
R2 5R 2
−6kQ 2
จ.
5R 2

27
kQ 2
45. (PAT3 พ.ย. 57) ประจุบวก Q 4 ตัว วางไว้ที่ตำแหน่งดังรูป กำหนดให้ F=
d2
จงหาค่า Ft เป็นกี่เท่าของ F

Ft

46. (PAT2 ต.ค. 55) วางประจุ +Q ที่จุดเซนทรอยด์ของสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่ง เมื่อวางประจุที่สอง


ขนาด +Q ที่จุดยอดของสามเหลี่ยม แรงไฟฟ้าที่กระทำต่อประจุที่หนึ่งเป็น 4 นิวตัน ถ้าวางประจุที่สาม
ขนาด +Q ที่จุดยอดอีกจุดหนึ่งของสามเหลี่ยม แรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุที่หนึ่งเป็นกี่นิวตัน
ก. 0 ข. 4 ค. 4 2 ง. 8

28
47. (Ent 23) ประจุไฟฟ้าเท่ากันวางอยู่ที่จุด A, B และ C โดยระยะ AB = 2 cm , BC = 1 cm ถ้าแรง
ไฟฟ้าที่กระทำต่อ C เนื่องจาก B เท่ากับ 1104 นิวตัน แรงไฟฟ้าทั้งหมดที่กระทำต่อ B มีขนาด
เท่าใด

3 5
ก. 104 N ข. 104 N
2 2
1 5
ค. 104 N ง. 104 N
3 4

29
48. (PAT3 ต.ค. 59) ประจุทุกตัวมีขนาด Q วางระยะห่าง R เท่ากันดังรูป จงหาขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทำ
ต่อประจุ A

kQ 2 kQ 2 kQ 2
ก. 0.33 ข. 0.53 ค. 0.97
R2 R2 R2
kQ 2 kQ 2
ง. 1.30 2 จ. 1.73 2
R R

30
49. (PAT3 มี.ค. 57) ถ้าประจุ q มีขนาด +1 คูลอมบ์ แล้วแรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ q ควรมีขนาดและ
ทิศทางตามข้อใด เมื่อกำหนดให้ แรงระหว่างประจุ 1 คูลอมบ์ที่กระทำต่อกัน โดยวางห่างกันเป็นระยะ
d มีค่าเท่ากับ A นิวตัน

ก. มีขนาด 3A นิวตัน และทิศทาง ก


ข. มีขนาด 5A นิวตัน และทิศทาง ข
ค. มีขนาด 5A นิวตัน และทิศทาง ค
ง. มีขนาด 3A นิวตัน และทิศทาง ง
จ. มีขนาด 3A นิวตัน และทิศทาง จ

31
Q
50. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 41) ตัวนำทรงกลม A, B และ C มีขนาดเท่ากัน A มีประจุ + , B มีประจุ + Q
2 2
และ C มีประจุ + 2Q วางอยู่ในลักษณะสามเหลี่ยมดังรูป ถ้านำอิเล็กตรอนมาวางที่ตำแหน่ง X
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปทางทิศใด

ก. ทิศตะวันออก ข. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ง. หยุดนิ่ง

32
51. (PAT3 มี.ค. 59) หากประจุทุกตำแหน่งมีขนาดประจุเท่ากันหมด และมีชนิดของประจุดังแสดงในรูป
อยากทราบว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ g จะมีทิศทางใด

ก. ข.

ค. ง.

จ. แรงลัพธ์เป็นศูนย์

33
52. (EJU-1 2021) As shown in the figure below, point charges are fixed in place at vertices A,
B, and D of the square ABCD. The quantity of electricity of each point charge is q (  0 )
at A, and 2q at B and D. Next, a point charge with quantity of electricity Q is fixed in
place at vertex C. As a result, the magnitude of the electrostatic force acting on the point
charge at A becomes zero.

Q
What is ? From (a)-(f) below choose the correct answer.
q
(a) 2 (b) 2 2 (c) 4 2
(d) − 2 (e) −2 2 (c) −4 2

34
53. (ม.อ. 52) ประจุ +Q และ −Q วางอยู่ที่มุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังรูป จงหาประจุที่จุด A ซึ่งทำให้แรง
ลัพธ์ทางไฟฟ้าที่กระทำต่อประจุ +Q มีคา่ เป็นศูนย์

ก. −Q ข. −4 2Q ค. + 2Q ง. +2 2Q

35
54. (EJU-1 2018) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity
Q (  0 ) is fixed in place at vertex A of equilateral triangle ABC, and two point charges,
each with quantity of electricity −Q , are fixed in place at vertices B and C. When a point
charge with quantity of electricity q is fixed in place at point D, the midpoint of segment
BC, the magnitude of the electrostatic force acting on the point charge at vertex A
becomes zero.

q
What is ? From (a)-(g) below choose the correct answer.
Q
4 3
(a) 3 3 (b) 2 3 (c) (d) 3
3
3 3 3 3
(e) (f) (g)
4 2 3

36
55. (Ent 29) ABCD เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ a เมตร ที่มุม A, B และ C มีประจุ +Q, +2Q, −4 2Q
คูลอมบ์ ตามลำดับ ที่จุด E ซึ่งห่างจากมุม D ไปเป็นระยะ a ต้องมีประจุกี่คูลอมบ์ จึงจะทำให้แรงไฟฟ้า
ลัพธ์กระทำต่อประจุ +Q เป็นศูนย์

ก. −8Q ข. −2Q ค. +2Q ง. +8Q

37
56. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 43) ประจุไฟฟ้าบวกขนาด 2q และประจุไฟฟ้าลบขนาด q / 2 วางห่างกันเป็น
ระยะทาง a และถูกยึดไว้บนพื้นระนาบ ถ้านำประจุอีกตัวมาวางข้างบนประจุลบ โดยมีระยะห่างใน
แนวดิ่งเท่ากับ a โดยที่ประจุนี้สามารถเคลื่อนที่ได้ในแนวดิ่งเท่านั้น อยากทราบว่าประจุตัวนี้จะต้องใช้
ประจุชนิดใด และมีขนาดประจุเท่าใด จึงจะทำให้ประจุตัวนี้สามารถลอยตัวในตำแหน่งที่วางได้
ก. ประจุลบขนาดใดๆ ข. ประจุบวกขนาด 2q
ค. ประจุบวกหรือลบ ขนาดใดๆ ง. ประจุบวกขนาดใดๆ

38
57. (สสวท. รอบที่ 2 ส.ค. 50) ก้อนประจุบวกสองคู่คือ Q1, Q1, Q2 , Q2 เชื่อมไว้ด้วยกันด้วยเชือกฉนวนเบา ๆ
ยาวเท่ากันทั้งสี่เส้น ทั้งระบบวางอยู่บนผิวฉนวนราบลื่น จงวิเคราะห์เพื่อหา:

Q1
(๑) ค่าของมุม  ในรูปของอัตราส่วน
Q2
Q1 1
(๒) จงใช้ผลของข้อ (๑) คำนวณหาค่ามุมของ  เมื่อ =
Q2 8

39
58. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 42) ถ้ามีประจุ Q อยู่ที่ทุกมุมของลูกบาศก์ซึ่งมีด้านยาวด้านละ a แรงที่กระทำ
บนแต่ละประจุมีขนาดเท่าใด

40
59. (ทุนคิง 2555) ทรงกลมมีประจุ 7 μC ติดที่ปลายด้านหนึ่งของสปริงเบาที่แขวนอยู่ในแนวดิ่ง มีทรงกลม
ที่มีประจุ −4 μC จำนวน 2 อัน วางห่างจากตำแหน่งกึ่งกลางเป็นระยะเท่ากัน โดยอยู่ด้านล่างของทรง
กลมอันแรก แรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างประจุทำให้สปริงยืดออก 8.91 cm จากตำแหน่งสมดุล ดังรูป
จงหาค่าคงที่ของสปริง

กำหนดให้ cos 27 = 0.891

41
60. (IJSO รอบที่ 2 ส.ค. 49)

42
61. (EJU-1 2013) Small sphere QA is positively charged and, as shown in the figure below, is
fixed in place at point ( 0, a ) in an x − y plane, where a  0 . Another positively charged
small sphere, QB , is placed at point ( x, 0 ) .

Consider the force exerted on QB by QA . When x is changed, how do this force’s x −


component and y − component ( Fx and FY , respectively) change? Which of graphs (i)-
(vi) below represent the change in these force component? From (a)-(h) below choose
the best combination.

(i) (ii) (iii)

(iv) (v) (vi)

(a) (b) (c) (d) (e) (f) (g) (h)


. Fx . (ii) (iii) (v) (vi) (ii) (iii) (v) (vi)
. Fy . (i) (i) (i) (i) (iv) (iv) (iv) (iv)

43
62. (สอวน. ต.ค. 61)

44
แนวที่ ๒.๒ : แรงไฟฟ้าในสองมิติ แบบผูกเชือกห้อยไว้

63. (Ent มี.ค. 43) ลูกพิธ 2 ลูกมีมวลเท่ากัน และแต่ละลูกมีประจุไฟฟ้าเท่ากันทั้งคู่ แขวนจากจุดเดียวกันด้วย


เอ็นที่เป็นฉนวนยาว 10 เซนติเมตร ลูกพิธทั้งสองกางออกทำมุม 37 องศากับแนวดิ่ง แรงระหว่างประจุ
ไฟฟ้าที่กระทำต่อลูกพิธแต่ละลูกเป็นกี่เท่าของแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อลูกพิธนั้น
(กำหนดให้ sin 37 = 3 / 5 )

ก. 3/ 5 ข. 4/5 ค. 3/ 4 ง. 4/3

45
64. (EJU-2 2020) Small balls A and B, each having a mass of m , are each attached to the end
of one of two lightweight, electrically insulated strings of the same length . An electric
charge with quantity of electricity q (  0 ) is imparted to A, and an electric charge with
quantity of electricity Q (  q ) is imparted to B. As shown in the figure below, when the
two objects are suspended from the same point, they come to rest within a vertical plane
such that each strings forms angle  with the vertical. Let us denote as k the
proportionality constant of Coulomb’s law, and as g the magnitude of acceleration due
to gravity.

What is Q ? From (a)-(g) below choose the correct answer.


4mg 2
sin  4mg 2
cos  4mg 2
sin  cos 
(a) (b) (c)
kq kq kq
4mg 2 sin 2  4mg 2 cos 2  4mg sin 3 
2
(d) (e) (f)
kq cos  kq sin  kq cos 
4mg 2 cos3 
(g)
kq sin 

46
65. (สอวน. ม.4 ธ.ค. 54, Ent 21) ลูกกลมโลหะขนาดเล็กมาก 2 ลูกที่เหมือนกันทุกประการ (แต่ละลูกมีมวล
m และประจุ q ) ถูกแขวนด้วยเชือกที่ทำจากฉนวนยาว L ตามรูป จงหาค่า x เมื่อระบบอยู่ในสมดุล
โดยมุม  มีขนาดเล็กมากจนประมาณได้ว่า tan   sin  (ตอบในรูปของตัวแปร m, q, L และค่าคงที่
มาตรฐานต่างๆ เช่น g )

47
66. (Ent 25) ทรงกลมเล็กๆ ซึ่งมีมวลลูกละ m ผูกอยู่กับปลายแต่ละข้างของด้านเส้นเล็กๆ ซึ่งยาว L นำจุด
กึ่งกลางของด้ายไปแขวนไว้แล้วใส่ประจุแก่ทรงกลมนั้นลูกละ +Q ปรากฏว่าแรงผลักระหว่างทรงกลมทำ
ให้เส้นด้ายกางออกจากกันเป็นมุม 2 ซึ่งมีค่าน้อย มุม  จะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับข้อใด
1/3 2/3
Q2 Q2  Q2   Q2  Q2
ก. ข. ค.  2  ง.  2  จ.
L3 L2/3 L  L  L2

48
67. (มช. 2553) แขวนทรงกลมประจุ +Q เท่ากันสองลูกด้วยเชือกเบา แรงที่เกิดขึ้นทำให้ทรงกลมแยกออก
จากกันเป็นมุม 2 มีระยะห่างกัน d ให้หามวลของทรงกลม

4kQ 2 kQ 2
ก. ข.
gd 2 tan 2 gd 2 tan 2
4kQ 2 kQ 2
ค. ง.
gd 2 tan  gd 2 tan 

68. (IJSO รอบที่ 2 เม.ย. 51) ทรงกลมเล็กๆ สองลูก มีมวล m เท่ากัน ลูกหนึ่งมีประจุบวก Q อีกลูกมีประจุ
บวก 2Q ถูกแขวนจากจุดเดียวกันด้วยเชือกเบาที่เป็นฉนวน ซึ่งเชือกทั้งสองเส้นมีความยาวเท่ากัน พบว่า
ทรงกลมที่มีประจุบวก 2Q นั้นอยู่ห่างจากแนวดิ่งจากจุดแขวนเป็นระยะ x จงหาว่าเชือกที่แขวนทรง
กลมทั้งสองเส้นนั้นทำมุมกันเท่าใด (รูปแสดงเฉพาะทรงกลมที่มีประจุ 2Q )

49
69. (EJU-2 2011) Two small balls of the same mass are attached to each end of two
electrically insulated strings of length . An electrical charge of q1 (  0) is imparted to
each ball. When the balls are suspended from the same point, they assume the positions
shown in Figure 1 below, at rest within the vertical plane. When an electrical charge of
q2 (  0 ) is imparted to each ball, they assume the positions shown in Figure 2, at rest
within the vertical plane.

q2
What is ? From (a)-(e) below choose the correct answer.
q1
(a) 2 (b) 3 (c) 2 (d) 3 (e) 9

50
70. (สอวน. ส.ค. 61) ประจุจุดคู่หนึ่งมีประจุ Q1 และมวล m เท่ากัน แขวนประจุจุดทั้งสองด้วยเชือกเบาที่
ยาวเท่ากัน ในสภาวะสมดุลพบว่าเชือกทั้งสองเส้นกางออกเป็นมุม  ดังรูป ถ้าเปลี่ยนประจุจุดทั้งสองให้
มีมวลเป็น 2m และมีประจุใหม่เท่ากัน แล้วในสภาวะสมดุลเชือกยังคงกางออกเป็นมุม  เท่าเดิม ข้อใด
ต่อไปนี้คือขนาดของประจุในกรณีใหม่นี้

ก. 2Q1
ข. 2Q1
Q1
ค.
2
Q1
ง.
2

51
71. (EJU-2 2017) Two lightweight nonconducting strings of the same length are attached to a
ceiling, separated by horizontal distance 3a . Small balls A and B, of the same mass, are
attached to the other ends of the strings, so that they are suspended. As shown in Figure
1, when a charge with quantity of electricity q (  0 ) is given to A and a charge with
quantity of electricity −q is given to B, A and B come to rest at positions separated by
distance a . Next, as shown in Figure 2, when a charge with quantity of electricity Q (  0 )
is given to both A and B, they come to rest at positions separated by distance 5a .

Q
What is ? From (a)-(f) below choose the correct answer.
q
(a) 3 (b) 5 (c) 3 (d) 5 (e) 9 (f) 25

52
72. (สอวน. มจพ. ธ.ค. 63) มวลทรงกลมอันเล็ก 2 อัน m1 และ m2 ถูกแขวนด้วยเชือกเบายาว L1 และ L2
ทรงกลมทั้งสองมีประจุ Q1 และ Q2 ถูกแขวนและอยู่ในสภาวะสมดุลดังรูป ข้อใดเป็นจริงเสมอ

ก. m1  m2 แต่ Q1 = Q2 ข. m1 = m2 แต่ 1 = 2
ค. Q1 = Q2 ง. L1 = L2

53
73. (Ent 33) ลูกพิธมวล 0.72 กรัม มีประจุ 25 10−6 คูลอมบ์ วางอยู่เหนือจุดประจุ 2 จุด ที่มีขนาดประจุ
เท่ากับ Q และผูกติดกัน ห่างกัน 6 เซนติเมตร จะต้องใช้ประจุ Q เป็นปริมาณเท่าใด จึงจะทำให้
ลูกพิธลอยอยู่เหนือจุดกึ่งกลางระหว่างประจุทั้งสองเป็นระยะทาง 4 เซนติเมตร
ก. 2.5 10−11 คูลอมบ์ ข. 5.0 10−11 คูลอมบ์
ค. 2.5 10−7 คูลอมบ์ ง. 5.0 10−7 คูลอมบ์

54
แนวที่ ๓ : ประยุกต์กับคาน
L
74. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 56) คานสม่ำเสมอยาว L มวล M ถูกแขวนด้วยเชือกที่ตำแหน่ง และจุดประจุ
3
+Q อยู่ที่ปลายคาน ซึ่งคานอยู่ในสมดุลโดยมีจุดประจุ X อีกตัวหนึ่งอยู่ด้านล่างในแนวดิ่งห่างไปเป็น
ระยะ L ดังรูป จงหาขนาดและเครื่องหมายของจุดประจุนี้ ให้ k เป็นค่าคงตัวของแรงระหว่างประจุ
 q1q2 
k 2 
 r 

55
สนามไฟฟ้าอันเนื่องมาจากจุดประจุ
แนวที่ ๑ : สนามไฟฟ้าในหนึ่งมิติ

75. (มข. 2552) ที่ระยะห่างจากประจุไฟฟ้า Q เป็นระยะทาง R มีขนาดสนามไฟฟ้าเท่ากับ F ถ้า


ระยะห่างจากประจุ Q เพิ่มขึ้นเป็น 2R จะมีขนาดของสนามไฟฟ้าที่ตำแหน่งนั้นเท่ากับเท่าไร
F F
ก. ข. ค. 2F ง. 4F
4 2

76. (มข. 2550) ประจุ −Q และประจุ +Q วางห่างกันเป็นระยะทาง 2R ดังรูป จงหาขนาดของ


สนามไฟฟ้าที่จุดกึ่งกลางระหว่างประจุทั้งสอง

2kQ kQ kQ
ก. 0 ข. ค. ง.
R2 R2 4R2

56
77. (Ent ต.ค. 47) จุดประจุ +4 10−8 C และ −9 10−8 C วางห่างกัน 0.5 m ดังรูป จุด P เป็นจุดที่
สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ ระยะ x มีค่ากี่เมตร

ก. 0.2 ข. 0.4 ค. 0.8 ง. 1.0

57
78. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 57) ประจุ −q และ ประจุ +9q อยู่ห่างกัน l จงหาว่าตำแหน่งที่สนามไฟฟ้าลัพธ์
เนื่องจากประจุทั้งสองนี้เป็นศูนย์อยู่ห่างจากประจุ +9q เป็นระยะทางเท่าใด
l l 5l 3l
ก. ข. ค. ง.
4 2 4 2

79. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 59) ประจุบวก +16Q และประจุลบ −Q อยู่ห่างกัน L จงหาตำแหน่ง x ซึ่งมี
สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์

4L 16 L 4L 4L
ก. ข. ค. ง. −
3 17 5 5

80. (ทุนคิง 2557) จุดประจุขนาด 2 10−6 คูลอมบ์ และ −8 10−6 คูลอมบ์ วางห่างกัน 1 เซนติแมตร จง
แสดงวิธีทำเพื่อหาตำแหน่งที่สนามไฟฟ้ามีค่าเป็นศูนย์ พร้อมทั้งวาดรูปประกอบด้วย

58
81. (กสพท. 2561) +Q กับ +2Q เป็นจุดประจุ อยู่ห่างกันเป็นระยะทาง L จุด A เป็นจุดที่สนามไฟฟ้าเป็น
ศูนย์ จงหาระยะทางจาก +Q ไปถึงจุด A

ก. 1
3
L ข. ( )
2 −1 L

ค. (2 − 2 ) L ง. 2
3
L
1
จ. L
4

59
82. (EJU-1 2019) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity
q ( q  0 ) is fixed in place at the origin of an x − axis, and another with quantity of
electricity −4q is fixed in place on the x − axis at x = a ( a  0 ) .

Excluding infinite distance, are there any points on the x − axis where the magnitude of
the electric field is zero? If there are, how many exist in what ranges? From (a)-(h) below
choose the correct answer.
(a) One each for x  0 , 0  x  a , and a  x
(b) One each for 0  x  a , and a  x
(c) One each for x  0 and 0  x  a
(d) One each for x  0 and a  x
(e) One for a  x
(f) One for 0  x  a
(g) One for x  0
(h) There are no such points

60
83. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 60) ประจุบวก +q และ +2q ถูกตรึงไว้บนแนวแกน x ที่ตำแหน่ง x=0 ถึง
x = L ตามลำดับ จงหาตำแหน่ง x ซึ่งมีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์

ก. 1
x= L
3
ข. 1
x=− L
3
ค. (
x = − 2 −1 L) ง. x= ( )
2 −1 L

84. (มช. 2552) ให้จุดประจุ A มีประจุบวก 2q และจุดประจุ B มีประจุบวก q วางห่างกัน 1 เมตร จงหา
ตำแหน่งที่มีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์เทียบกับตำแหน่งจุดประจุ A
1
ก. ห่างจากจุดประจุ A ไปทางจุดประจุ B อยู่ เมตร
2
ข. ห่างจากจุดประจุ A ไปทางจุดประจุ B อยู่ 2 เมตร
ค. ห่างจากจุดประจุ A ไปทางจุดประจุ B อยู่ 2 + 2 เมตร
ง. ห่างจากจุดประจุ A ไปทางจุดประจุ B อยู่ 2 − 2 เมตร

85. (มข. 2560) ประจุ +Q และประจุ –2Q วางอยู่บนแถบแกน X ห่างกัน 10 เซนติเมตร ดังรูป ที่
ตำแหน่งใดบนแกน X ที่มีสนามไฟฟ้าเท่ากับศูนย์

ก. ทางด้านซ้ายของประจุ +Q ข. อยู่ระหว่างประจุ +Q และ –2Q


ค. อยู่ทางด้านขวาของประจุ –2Q ง. ข้อมูลไม่เพียงพอ

61
86. (O-Net 2559) วางประจุบวกไว้ที่ตำแหน่ง x = 0.0 cm และวางประจุลบขนาดเดียวกันที่ตำแหน่ง
x = 10.0 cm ที่ตำแหน่งใดต่อไปนี้ สนามไฟฟ้ามีขนาดแรงที่สุด
ก. x = 1.0 cm
ข. x = 5.0 cm
ค. x = 9.0 cm
ง. x = 9.5 cm
จ. ทุกค่า x ระหว่าง 0.0 ถึง 10.0 cm สนามไฟฟ้ามีความแรงเท่ากันหมด

87. (O-Net 2560) จุด A เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างประจุ +2q กับ +q ดังรูป

จุดใดเป็นจุดสะเทิน (สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์)
ก. A ข. B
ค. C ง. D
จ. E

62
88. (มช. 2556) จุด A, B และ C อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ระยะ AB ยาวเป็นสองเท่าของระยะ BC หากวาง
ประจุ QA ณ ตำแหน่ง A และ QB ที่ตำแหน่ง B ค่าของ QA และ QB ต้องมีขนาดเป็นกี่ไมโครคูลอมบ์
ตามลำดับ จึงจะทำให้สนามไฟฟ้า ณ จุด C มีค่าเป็นศูนย์
ก. −90,10 ข. 10, −90 ค. −30,10 ง. 10, −30

63
89. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 63) ประจุ Q1 = +2q และประจุ Q2 = −8q ถูกตรึงไว้บนแกน x ณ ตำแหน่ง ที่
ทำให้แรงสุทธิที่กระทำกับประจุ Q3 = +q ณ ตำแหน่งที่ห่างจากประจุ Q1 เป็นระยะ 1 m มีค่าเป็นศูนย์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) ประจุ Q2 อยู่ระหว่าง Q1 และ Q3
(๒) ประจุ Q2 อยู่ห่างจากประจุ Q1 เป็นระยะ 1 m
(๓) ณ ตำแหน่งของประจุ Q3 สนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุ Q1 และสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุ Q2
มีทิศเดียวกัน
ข้อความใดถูกต้อง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๒) เท่านั้น ค. ทั้ง (๑) และ (๒) ง. (๓) เท่านั้น

64
แนวที่ ๒ : สนามไฟฟ้าในสองมิติ

90. (ม.อ. 58) ประจุไฟฟ้า +q และ −q วางที่ตำแหน่งดังรูป ทิศของสนามไฟฟ้าที่ตำแหน่ง 1 2 และ 3


ตามลำดับ เป็นดังข้อใด

ก. ข.
ค. ง.

65
91. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 57) ประจุ +3.0 nC เหมือนกันสองประจุ วางอยู่ที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
ซึ่งอยู่ห่างกันเป็นระยะ 2.0 m ดังรูป จงหาว่าที่จุด P ซึ่งอยู่ห่างจากประจุทั้งสองเป็นระยะ 6.0 m
เท่ากัน จะมีขนาดของสนามไฟฟ้าเป็นเท่าใด

92. (Ent 38) ประจุ −1 คูลอมบ์ อยู่ที่จุด A และจุด B ซึ่งอยู่ห่างกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่งอยู่ห่างจากทั้งจุด A
และจุด B เป็นระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาดของสนามไฟฟ้าเท่าไร

kE 3 kE
ก. 3 N/C ข. N/C
25 2 25
2k E kE
ค. N/C ง. N/C
25 25

66
93. (EJU-1 2016) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity Q
is fixed in place at the origin O of an x − y plane and a point charge with quantity of
electricity −Q is fixed in place at point ( a, 0 ) on the x − y plane. Let us denote the
proportionality constant of Coulomb’s law as k .

 a 3a 
What is the magnitude of the electric field at point P  ,  produced by these point
2 2 
charges? From (a)-(e) below choose the correct answer.
kQ 3kQ kQ 3kQ 2kQ
(a) (b) (c) (d) (e)
2a 2 2a 2 a2 a2 a2

67
94. (Ent ต.ค. 46) ประจุ 4 ตัวประกอบด้วย q1 , q2 , q3 และ q4 วางอยู่ที่มุมสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีความยาว
ด้านละ ดังรูป ถ้าประจุทั้งสี่มีขนาดของประจุเท่ากันคือ q ในกรณีใดบ้างต่อไปนี้ที่ทำให้สนามไฟฟ้า
ณ จุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีค่าเป็นศูนย์
(๑) q1 = q2 = q3 = q4 = +q
(๒) q1 = q2 = q3 = q4 = −q
(๓) q1 = q4 = +q , q2 = q3 = −q
(๔) q1 = q2 = +q , q3 = q4 = −q
คำตอบที่ถูกต้องคือข้อใด
ก. (๑) ข. (๑) และ (๒)
ค. (๑), (๒) และ (๓) ง. (๑), (๒), (๓) และ (๔)

68
95. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 58) ประจุ A ขนาด +3 mC และประจุ B ขนาด +4 mC วางอยู่ดังรูป จงหา
ขนาดของสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุทั้งสองที่จุด P

kN kN kN kN
ก. 1.56 ข. 3.75 ค. 5.25 ง. 12.7
C C C C

69
96. (EJU-2 2016) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity Q
is fixed in place in an x − y plane at point A ( 0, d ) , and a point charge with quantity of
electricity 3Q is fixed in place at point B ( 0, −d ) . Here, d  0 , and Q  0 . Let us denote
the proportionality constant of Coulomb’s law as k .

What is the magnitude of the electric field at point C ( d , 0) in the figure? From (a)-(g)
below choose the correct answer.
kQ 2kQ 2kQ 10kQ
(a) (b) (c) (d)
d2 d2 d2 2d 2
2 2kQ 4kQ 10kQ
(e) (f) (g)
d2 d2 d2

70
97. (มข. 2556) อนุภาคมีประจุสามอนุภาคอยู่ที่มุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังรูป จะเกิดสนามไฟฟ้าที่จุด P มี
ขนาดเท่าไร กำหนดให้ 2 = 1.4 และค่าคงที่ของคูลอมบ์ = k

kQ kQ kQ
ก. 0 ข. ค. 0.9 ง. 3
a2 a2 a2

98. (ทุนญี่ปุ่น 2018) Three point charges q are placed at the corners of a square with a length
of a side of a as shown in the figure below. Derive the magnitude of the electric field at
corner A.

71
99. (สอวน. ส.ค. 60) ประจุ +2Q ถูกตรึงอยู่ที่จุดกำเนิดและประจุ −Q ถูกตรึงอยู่ที่จุด ( 6, 0 ) สนามไฟฟ้า
ลัพธ์เนื่องจากประจุทั้งสอง ที่จุด ( 3, 4) มีทิศทางทำมุมเท่าใดกับแกน + x
4 1 3
ก. arctan ข. arctan ค. arctan ง. arctan 2
9 2 4

72
100. (PAT3 มี.ค. 60) ที่ตำแหน่ง X มีประจุ +2.0 10−6 C และที่ตำแหน่ง Z มีประจุ −2.0 10−6 C เมื่อ
ระยะ XY เท่ากับ 4.0 m และ YZ เท่ากับ 2.0 m จงหาขนาดสนามไฟฟ้าที่จุด Y

ก. 25.000 N/C ข. 3.670 103 N/C


ค. 4.640 103 N/C ง. 5.625 103 N/C
จ. 10.060 103 N/C

101. (ทุนญี่ปุ่น 2006) Two point charges of magnitudes +q and −q are placed on the x − axis
separated by a distance d , as shown in figure below. The point P together with the
points where the two charges are placed forms an equilateral triangle. What are the
direction and the strength of the electric field at the point P? Let the constant of
proportionality in Coulomb’s law be k .
Direction (a) A (b) B (c) C (d) D
q 2q 3q q 2q 3q
Strength (a) k (b) k (c) k (d) k (e) k (f) k
d d d d2 d2 d2

73
102. (EJU-2 2014) As shown in Figure 1, a point charge with quantity of electricity Q (  0 ) is
fixed to point A ( a, 0) ( a  0 ) in an x − y plane. At this time, the magnitude of the
electric field at the origin O is E0 . Next, as shown in Figure 2, two more point charges,
each with quantity of electricity Q , are fixed to the plane, one at point B ( 0, a ) , and
the other at point C ( −2a, 0 ) . As a result, the magnitude of the electric field at O
becomes E1 .

E1
What is the value of ? From (a)-(f) below choose the correct answer.
E0
5 5 41
(a) (b) (c)
2 4 4
7 13 9
(d) (e) (f)
4 2 4

74
103. (EJU-1 2017) As shown in the figure below, a point charge is fixed in place at each vertex
of equilateral triangle ABC , whose sides have length a . The charge at A has quantity
of electricity −Q ( Q  0 ) , and those at B and C have quantity of electricity Q . Let us
denote as E0 the magnitude of the electric field produced at A by the charge at B .

What is the magnitude of the electric field at O , the geometric center (centroid) of the
triangle? From (a)-(f) below choose the correct answer.
(a) E0 (b) 2E0 (c) 3E0
(d) 4E0 (e) 5E0 (f) 6E0

75
104. (ทุนญี่ปุ่น 2013) In figure below, ABC is a rectangular equilateral triangle. An electric charge
q is placed at A and an electric charge q at B. The electric field at C is found to be
parallel to the side AB, as shown by the arrow in the figure. Choose the appropriate
formula from below which shows the relation between q and q correctly.
(a) q = q (b) q = −q (c) q = 2q
1 1
(d) q = − 2q  (e) q= q (f) q=− q
2 2
1 1 1
(g) q= q (h) q = − q (i) q= q
2 2 2 2
1 1 1
(j) q=− q (k) q = q (l) q = − q
2 2 4 4

76
105. (EJU-2 2012) Referring to the regular hexagon shown in the figure below, consider how
the magnitude of the electric field at the hexagon’s center O varies when positive
electric charges of the same quantity of electricity are placed at vertices A − F in
different patterns.

Of the figures shown in (a)-(f) below, which has the largest magnitude of electric field at
O ? From (a)-(f) below choose the correct answer, where • on the vertices indicates the
presence of a charge, and indicates the absence of a charge.

(a) (b) (c)

(d) (e) (f)

77
106. (Challenge) นาฬิกาประจุ
จากรูป มีประจุขนาด −q, −2q, −3q,..., −12q วางตัวอยู่บนนาฬิกาที่ตัวเลขเดียวกัน จงหาว่าเข็มสั้น
จะชี้ในทิศเดียวกับสนามไฟฟ้าที่กึ่งกลางนาฬิกาในเวลาเท่าไร
−12q
−11q
−q

−10q −2q

−9q −3q

−8q −4q

−7q −5q
−6q

78
แรงที่กระทำต่อประจุในสนามไฟฟ้า
แนวที่ ๑ : หาทิศที่กระทำต่อประจุ จากชนิดประจุและทิศของสนามไฟฟ้า

107. (O-Net 2558) สนามไฟฟ้ามีอิทธิพลต่อนิวตรอนหรือไม่ อย่างไร


ก. ไม่มี เพราะนิวตรอนมีประจุบวกเท่ากับประจุลบ
ข. ไม่มี เพราะนิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า
ค. มี เพราะนิวตรอนมีประจุบวกเท่ากับประจุลบ
ง. มี เพราะนิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า
จ. อาจมีหรือไม่มีก็ได้ ขึ้นกับวิธีการเหนี่ยวนำทางไฟฟ้า

108. (O-Net 2557) แผ่นพลาสติกที่มีสภาพทางไฟฟ้าเป็นลบถูกนำไปวางในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ


แรงสุทธิที่กระทำต่อแผ่นพลาสติกเป็นอย่างไร
ก. ไม่เป็นศูนย์ ทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า
ข. ไม่เป็นศูนย์ ทิศตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
ค. ไม่เป็นศูนย์ ทิศตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า
ง. ไม่เป็นศูนย์ ทิศใดก็ได้ขึ้นกับการกระจายตัวของประจุลบในแผ่นพลาสติก
จ. เป็นศูนย์

109. (O-Net 2552) อนุภาคโปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน อนุภาคในข้อใดที่เมื่อนำไปวางใน


สนามไฟฟ้า แล้วจะมีแรงไฟฟ้ากระทำ
ก. นิวตรอน
ข. โปรตอนและนิวตรอน
ค. โปรตอนและอิเล็กตรอน
ง. โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

79
110. (PAT2 มี.ค. 60) อนุภาคประจุไฟฟ้าบวก 2 อนุภาค อยู่ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ ดังรูป

ทิศของแรงไฟฟ้าที่กระทำต่ออนุภาคทางซ้ายมือน่าจะเป็นเช่นใด

ก. ข. ค. ง. จ.

80
แนวที่ ๒ : คำนวณหาแรงที่กระทำต่อประจุในสนามไฟฟ้า

111. (มข. 2559) ประจุ q1 , q2 และ q3 มีขนาดและวางตัวตามพิกัด ดังรูป จงหาขนาดของแรงลัพธ์ทาง


ไฟฟ้าที่กระทำต่อ q3 และหาขนาดของสนามไฟฟ้าที่จุด ( 0,1) เมื่อนำ q3 ออกไป (กำหนดให้ ค่าคงที่
1
ของคูลอมบ์เป็น k = 9 109 N  m 2 / C2 , cos 45 = sin 45 = )
2

ก. แรงมีขนาด 5760 นิวตัน สนามไฟฟ้ามีขนาด 72 105 โวลต์ต่อเมตร


ข. แรงมีขนาด 2880 2 นิวตัน สนามไฟฟ้ามีขนาด 36 2 105 โวลต์ต่อเมตร
ค. แรงมีขนาด 0 นิวตัน สนามไฟฟ้ามีขนาด 0 โวลต์ต่อเมตร
ง. แรงมีขนาด 5760 นิวตัน สนามไฟฟ้ามีขนาด 5.6 106 โวลต์ต่อเมตร

81
112. (Ent 32) เมื่อนำประจุ −2 10−6 คูลอมบ์ เข้าไปวางไว้ ณ จุดๆหนึ่ง ปรากฏว่ามีแรง 8 10−6 นิวตัน
มากระทำต่อประจุนี้ ไปทิศจากซ้ายไปขวา สนามไฟฟ้าตรงจุดนั้น
ก. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
ข. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
ค. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
ง. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย

113. (มข. 2553) มีลูกพิทมวล 10 กรัม ถ้าลูกพิทสูญเสียอิเล็กตรอนไป 1, 000, 000 ตัว แล้วถูกนำไปแขวน
ไว้ในสนามไฟฟ้าที่มีขนาดสม่ำเสมอ ดังรูป สนามไฟฟ้าจะต้องมีขนาดกี่นิวตัน/คูลอมบ์

ก. 6.2 1011 ข. 6.2 2 1011


ค. 6.2 1012 ง. 6.2 2 1012

82
114. (Ent มี.ค. 42) มีประจุกระจายสม่ำเสมอบนแผ่นพลาสติกขนาดใหญ่ ทำให้เม็ดโฟมมวล m มีประจุ q
ที่แขวนด้วยเส้นด้ายที่เป็นฉนวนไฟฟ้าจากแผ่นพลาสติกกางออกทำมุม  กับแผ่นพลาสติก แสดงว่า
เม็ดโฟมอยู่ในสนามไฟฟ้าในแนวระดับที่มีค่าเท่าใด

mg mg
ก. sin  ข. tan 
q q
ค. mgq sin  ง. mgq tan 

115. (PAT3 มี.ค. 52) เมื่อแขวนตัวนำทรงกลมขนาดเล็กด้วยเส้นด้ายเบาที่เป็นฉนวนในสนามไฟฟ้าขนาด


สม่ำเสมอที่มีทิศทางตามแนวนอน พบว่าเส้นด้ายทำมุม 45 องศากับแนวดิ่ง ถ้ามวลของตัวนำเท่ากับ
0.015 กรัม และมีประจุเท่ากับ 2.5 10−6 คูลอมบ์ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้า
ก. 15 นิวตันต่อคูลอมบ์ ข. 25 นิวตันต่อคูลอมบ์
ค. 40 นิวตันต่อคูลอมบ์ ง. 60 นิวตันต่อคูลอมบ์

116. (มข. 2554) ถ้านำลูกพิทมวล 4 กรัมผูกด้วยเชือกเบาแล้วนาไปแขวนในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าคงที่ใน


แนวราบ แล้วทำให้ลูกพิทถูกแรงจากสนามกระทำจนเชือกที่แขวนเอียงและนิ่งอยู่ที่มุม 45 กับแนวดิ่ง
ถ้าลูกพิทมีประจุ +2 นาโนคูลอมบ์ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้า (กำหนดให้ความเร่งโน้มถ่วงของโลก
เท่ากับ 10 เมตร/วินาที2)
ก. 2 107 นิวตัน/คูลอมบ์ ข. 4 107 นิวตัน/คูลอมบ์
ค. 2 104 นิวตัน/คูลอมบ์ ง. 4 104 นิวตัน/คูลอมบ์

83
117. (Ent ต.ค. 46) ลูกบอลพลาสติกมวล m แขวนด้วยเชือกยาว d และอยู่ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า
สม่ำเสมอขนาด E ในแนวระดับดังรูป ถ้าลูกบอลอยู่ในตำแหน่งสมดุล เส้นเชือกทำมุม  กับแนวดิ่ง
จงหาขนาดของประจุไฟฟ้าบนลูกบอลพลาสติก

mg mg mg mg
ก. ข. tan  ค. cot  ง. cos 
E E E E

84
118. (Ent ต.ค. 44) โลหะทรงกลมมวล m แขวนด้วยเส้นเชือกที่เป็นฉนวน อยู่ในบริเวณสนามไฟฟ้า ( E )
สม่ำเสมอ ขนาด 600 นิวตันต่อคูลอมบ์ มีทิศในแนวระดับดังรูป ถ้าทรงกลมประจุ 5 ไมโครคูลอมบ์
และถูกผลักจนเชือกทำมุม 37 องศากับแนวดิ่งแล้ว มวลของทรงกลมจะมีค่าเท่าใดในหน่วยกรัม
( sin 37 = 0.6 , cos 37 = 0.8 )

119 (Ent 27) ทรงกลมตัวนำลูกหนึ่งมีมวล m แขวนด้วยเชือกภายใต้สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 4 104 N/C


ดังรูป หากทรงกลมมีประจุอยู่ 2 10−6 C ทำให้เชือกแขวนทำมุม 30 องศา กับแนวดิ่ง มวลของทรง
กลมมีค่าเท่าใด ( g = 10 m/s 2 )

ก. 2.3110−3 kg ข. 4.62 10−3 kg


ค. 6.93 10−3 kg ง. 13.86 10−3 kg

85
120. (มช. 2555) ทรงกลมขนาดเล็กที่มีประจุไฟฟ้า แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเบา เมื่อแขวนในสนามไฟฟ้า
ขนาด E1 = 3 105 นิวตันต่อคูลอมบ์ ปรากฏว่าทรงกลมหยุดนิ่งทำมุม 30 องศา กับแนวดิ่ง และเมื่อ
เปลี่ยนขนาดสนามไฟฟ้าเป็น E2 พบว่าทรงกลมนี้เคลื่อนไปทำมุมหยุดนิ่งที่ 45 องศา กับแนวดิ่ง E2
มีค่าเป็นกี่นิวตันต่อคูลอมบ์

ก. 2.5 105 ข. 2.8 105


ค. 4.2 105 ง. 5.2 105

86
121. (กสพท. 2559) ทรงกลมฉนวนมวล m มีประจุ q กระจายสม่ำเสมอบนผิว แขวนด้วยเชือกเบาๆ ใน
บริเวณที่มีสนามไฟฟ้า E สม่ำเสมอในแนวระดับ ความตึงในเส้นเชือกมีขนาดเป็นเท่าไร

ก. mg ข. qE ค. mg + qE

ง. ( mg )2 + ( qE )2 จ. mgqE

87
122. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 45) ทรงกลมเล็กๆ แขวนแนวดิ่งไว้ด้วยเชือกเบาที่เป็นฉนวน จากนั้นค่อยๆ เพิ่ม
ขนาดสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอในแนวระดับ ทำให้ทรงกลมเล็กค่อยๆ เคลื่อนที่ไปในทิศทางดังรูป ถ้าทรง
กลมมีประจุ −2.5 10−6 คูลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม เชือกเบาสามารถทนแรงตึงได้สูงสุด
0.25 10−3 นิวตัน จงหาขนาดและทิศทางสนามไฟฟ้า พร้อมกับมุม  ที่ทำให้เชือกเบาขาดพอดี (
g = 10 เมตร/วินาที2)

ก. 80 N/C , ทิศจาก A ไป B และ  = sin −1 0.6


ข. 80 N/C , ทิศจาก B ไป A และ  = cos−1 0.6
ค. 80 N/C , ทิศจาก B ไป A และ  = sin −1 0.6
ง. 80 N/C , ทิศจาก A ไป B และ  = cos−1 0.6

88
เส้นสนามไฟฟ้า
123. (EJU-1 2015) As shown in the figure below, two point charges with the same quantity of
electricity and the same sign are placed at points A and B in a plane.

From (a)-(d) below choose the figure that best represents the electric field lines (the
electric lines of force) in this plane. Note that arrows have not been added to the field
lines.

(a) (b)

(c) (d)

89
124. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 65) จุดประจุในข้อใดทำให้เกิดสนามไฟฟ้าสอดคล้องกับรูป

ก. q1 = +2 μC , q2 = +4 μC ข. q1 = −2 μC , q2 = +4 μC
ค. q1 = −2 μC , q2 = +1 μC ง. q1 = +2 μC , q2 = −1 μC

90
125. (PAT2 ก.ค. 52) ภาพเส้นแรงไฟฟ้าบางเส้นระหว่างประจุบวกและประจุลบใน 2 มิติ

ถ้านำอิเล็กตรอนตัวหนึ่งวางไว้ที่จุด A แล้วปล่อย
ข้อใดถูกต้อง
ก. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นแรงไฟฟ้าที่ผ่านจุด A และเข้าหาประจุลบ
ข. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นแรงไฟฟ้าที่ผ่านจุด A และเข้าหาประจุบวก
ค. ที่จุด A อิเล็กตรอนมีความเร่งในทิศตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้า
ง. อิเล็กตรอนไม่จำเป็นต้องเคลื่อนที่ไปตามเส้นแรงไฟฟ้า

126. (PAT2 มี.ค. 59) ข้อใดถูกเกี่ยวกับเส้นสนามไฟฟ้ารอบจุดประจุหนึ่ง


ก. แสดงถึงบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าเท่ากัน
ข. แสดงถึงทิศของแรงไฟฟ้ารอบประจุนั้น
ค. คือเส้นทางการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
ง. คือเส้นสัมผัสความเร่งของประจุไฟฟ้าที่จุดนั้นๆ
จ. แสดงถึงทิศของความเร่งของประจุที่เคลื่อนที่เท่านั้น

91
127. (PAT3 ต.ค. 55) จงเขียนทิศทางของเส้นสัมผัสเส้นแรงไฟฟ้าระหว่างประจุอิสระที่จุด A และจุด B

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

92
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ไฟฟ้าสถิต Part 2

พลังงานศักย์ไฟฟ้า
q1q2
1. (กสพท. 2557) ให้ใช้กฎของคูลอมบ์ในแบบ f = เพื่อวิเคราะห์หาพลังงานศักย์ไฟฟ้ารวมของ
4 0 r 2
ระบบประจุ 3 ประจุ คือ +Q, −Q และ +Q ที่วางตัวห่างกันเท่ากันบนแนววงกลมรัศมี R

−Q 2 +Q 2 −2Q 2
ก. ข. ค.
4 0 3R 4 0 3R 4 0 3R
+2Q 2 − 3Q 2
ง. จ.
4 0 3R 4 0 R

93
2. (PAT2 มี.ค. 57) ระบบที่มีประจุ +Q, +2Q และ −Q เรียงตัวในแนวเส้นตรงโดยมีระยะระหว่างกัน
เท่ากับ R ดังรูป ระบบนี้มีพลังงานศักย์ไฟฟ้าเท่าใด

kQ 2 kQ 2 kQ 2 kQ 2
ก. ข. ค. − ง. −
2R R 2R R

3. (สอวน. ม.4 ส.ค. 56, สอวน. ม.5 ก.ย. 46)

94
4. (สอวน. ส.ค. 61, สอวน. ธ.ค. 63) อนุภาคที่มีประจุ 4 อนุภาค ถูกตรึงอยู่ที่มุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัสดังรูป จง
หาพลังงานรวมของระบบ

ก.
( 4 + 2 ) kq 2

ข.
( 4 − 2 ) kq 2

ค.
( −4 + 2 ) kq 2

ง.
( −4 − 2 ) kq 2

L L L L

5. (สอวน. ม.5 ส.ค. 52)

95
6. (สอวน. ม.4 ต.ค. 53) จงหาพลังงานที่สะสมในระบบประจุไฟฟ้าซึ่งเกิดจากการนำประจุไฟฟ้า q
เหมือนกันจากอนันต์มาไว้ที่มุมยอดทั้งสี่ของทรงสี่หน้าที่มีขอบยาวด้านละ a เท่ากัน

7. (สอวน. รอบพิเศษ ม.ค. 52)

ประจุ Q จำนวน 5 ประจุ อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และห่างจากประจุที่อยู่ประชิดกันเป็นระยะทาง


q1q2
a และกำหนดให้ใช้กฎของคูลอมบ์ในรูป f = จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ารวมของระบบประจุ
4 0 r 2

96
8. (สอวน. ม.4 ต.ค. 52) ประจุจุดสามประจุวางอยู่ที่มุมของสามเหลี่ยมด้านเท่าซึ่งมีด้านยาวด้านละ a
ประจุสองประจุมีขนาดและเครื่องหมายเหมือนกันเท่ากับ Q ประจุที่สามต้องมีค่าเท่าใดจึงจะทำให้
พลังงานศักย์ไฟฟ้าของระบบมีค่าเป็นศูนย์

97
9. (สอวน. ก.พ. 65) ระบบนี้ประจุ −e ทั้งคู่อยู่บนแนววงกลมที่ล้อมประจุ +2e ไว้ มุม  ต้องมีค่ากี่องศา
จึงจะทำให้ระบบมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าต่ำสุด

ก. 0 ข. 45 ค. 90 ง. 180

98
10. (PAT3 มี.ค. 65) จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้าของประจุ q ที่จุด o ในรูป

3kQq 3kQq
ก. ข.
x x2
3 2kQq 6kQq
ค. ง.
x x2
6kQq
จ.
x

99
ศักย์ไฟฟ้าอันเนื่องมาจากจุดประจุ
แนวที่ ๑ : ศักย์ไฟฟ้าใน 1 มิติ

11. (EJU-2 2013) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity
q ( q  0 ) is fixed to a point on the x − axis where x = −a ( a  0 ) , and a point charge with
quantity of electricity −q is fixed to a point on the x − axis where x = 2a . Let us choose
the reference position of electric potential to be at infinity, and denote the proportionality
constant of Coulomb’s law as k .

What are the x − component of the electric field ( Ex ) and the electric potential (V ) at
origin O ? From (a)-(f) below choose the correct combination.

(a) (b) (c) (d) (e) (f)


3kq 3kq 3kq 5kq 5kq 5kq
Ex
4a 2 4a 2 4a 2 4a 2 4a 2 4a 2
kq kq 3kq kq kq 3kq
V − + + − + +
2a 2a 2a 2a 2a 2a

12. (มข. 2552) ประจุ +Q สองอัน วางห่างกันเป็นระยะทาง R จะเกิดศักย์ไฟฟ้าที่จุดกึ่งกลางระหว่าง


ประจุทั้งสองเท่าไร
Q Q Q
ก. 0 ข. k ค. k ง. 2k
R 2R R

100
13. (มข. 2557, มข. 2560) จากรูป จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด P อยู่กึ่งกลางระหว่างประจุทั้งสอง

ก. −18 โวลต์ ข. −1800 โวลต์


ค. 54 โวลต์ ง. 18 โวลต์

101
14. (EJU-1 2011) As shown in the figure below, a point charge of −Q ( Q  0 ) is placed on the
x − axis where x = a ( a  0 ) and a point charge of 2Q is placed on the x − axis where
x = −a . Assume that the electric potential at an infinite distance is zero.

From (a)-(e) below choose the answer that best indicates the x − axis coordinates of the
points where the electric potential becomes zero.
1 1
(a) − a, −2a (b) − a, −3a (c) 0
2 3
1 1
(d) a,3a (e) a, 2a
3 2

102
15. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 55) ประจุ +Q และ +9Q อยู่ห่างกันเป็นระยะ L จงหาระยะห่างของจุดที่
สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์จากประจุ +Q และหาค่าศักย์ไฟฟ้าที่จุดนี้ กำหนดให้ใช้กฎของคูลอมบ์ในรูป
Q1Q2
F=
4 0 r 2

16. (Ent มี.ค. 47) มีประจุ +q วางอยู่บนแกน X ณ ตำแหน่ง x = 0 และประจุ −2q วางอยู่ ณ ตำแหน่ง
x = +d ต้องการทราบว่า ณ ตำแหน่ง x มีค่าเท่าใดที่ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
d d 2d
ก. − ข. + ค. + ง. +2d
3 3 3

17. (EJU-1 2014) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity −q
( q  0 ) is placed at the origin of an x − axis ( x = 0 ) , and a point charge with quantity of
electricity 4q is placed at x = a . Let us choose the electric potential at infinity as zero.

What is the x − coordinate of the point on the x − axis in the range 0  x  a where the
electric potential is zero? From (a)-(d) below choose the correct answer.
1 1 2 4
(a) a (b) a (c) a (d) a
5 3 3 5

18. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 60) ในบริเวณซึ่งเดิมมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ ประจุจุดสองประจุได้ถูกนำมาวางอยู่บน


แกน x โดยประจุจุด +1 nC ถูกยึดอยู่ที่ตำแหน่ง x = 0 เซนติเมตร ส่วนประจุจุด −3 nC ถูกยึดอยู่ที่
ตำแหน่ง x = 24 เซนติเมตร จงหาว่าที่ตำแหน่งใดบ้างบนแกน x ที่ค่าของศักย์ไฟฟ้าไม่เปลี่ยนแปลง
หลังจากนำประจุจุดทั้งสองมาวาง

19. (ทุนคิง 2560) จุดประจุขนาด +8 10−6 C และ −4 10−6 C ถูกวางตรึงอยู่ที่ตำแหน่ง ( −3, 0 ) และ
( 3, 0 ) ในหน่วย เซนติเมตร ตามลำดับ จงแสดงวิธีการคำนวณเพื่อหาตำแหน่งที่มีศักย์ไฟฟ้ามีค่าเป็นศูนย์
มา 1 ค่า และที่ตำแหน่งนี้มีค่าสนามไฟฟ้าเท่าใด พร้อมทั้งวาดรูปเพื่อแสดงตำแหน่งที่คำนวณได้ และทิศ
ของสนามไฟฟ้าที่ใช้ในการคำนวณ กำหนดให้ค่า k = 9 109 N  m2 /C2

103
20. (สอวน. มจพ. ธ.ค. 63) ประจุ +6 μC และ −4 μC วางห่างกัน 15 เซนติเมตรในแนวราบดังรูป ให้หา
ตำแหน่งจากจุด P ไปทางขวาที่ให้ค่าศักย์ไฟฟ้าเป็น 0

ก. 4 cm , 9 cm , 60 cm ข. 9 cm , 45 cm , ระยะอนันต์
ค. 20 cm , 45 cm , ระยะอนันต์ ง. 9 cm , 15 cm , 45 cm

104
21. (สอวน. ม.5 ส.ค. 52)

105
22. (สอวน. ม.5 ส.ค. 54)

23. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 43) มีประจุ +q วางอยู่บนแกน x ณ ตำแหน่ง a, 2a, 4a,8a,16a,... ไป
จนถึงอนันต์ จงหาศักย์ไฟฟ้า ณ จุดกำเนิดของแกน x

106
24. (EJU-2 2018) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity Q1
is fixed in place at the origin of an x − axis, and another with quantity of electricity Q2 is
fixed in place at a point on the x − axis where x = 2d (  0 ) . The direction of the electric
field at point A on the x − axis ( x = d ) is the positive direction of the x − axis. Also, the
electric potential at A is 0 V . Here, the reference position for electric potential is at
infinity.

What is the direction of the electric field at point B on the x − axis ( x = 3d ) ? Also, is the
electric potential at B positive, or negative? From (a)-(d) below choose the correct
combination.

Direction of electric field Electric potential


(a) Positive direction of x − axis Positive
(b) Positive direction of x − axis Negative
(c) Negative direction of x − axis Positive
(d) Negative direction of x − axis Negative

107
25. (มช. 2557) จุด A, B และ C เรียงอยู่ในเส้นตรงเดียวกัน ระยะ AB ยาวเท่ากับ 1 เมตร ระยะ BC ยาว
เท่ากับ 1 เมตร วางประจุ QA ที่จุด A และประจุ QB ที่จุด B พบว่าสนามไฟฟ้า ณ จุด C มีคา่ เป็นศูนย์
ถ้าประจุ QA มีค่า 100 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้า ณ จุดกึ่งกลางระหว่างจุด A และ B มีค่ากี่โวลต์
ก. 500 ข. 1350 ค. 2250 ง. 2700

108
26. (PAT3 ก.พ. 63) จุดประจุไฟฟ้า 2 จุดถูกนำไปวางในระนาบ xy ดังรูป กำหนดให้ระบบตารางในหน่วย
เป็น m ศักย์ไฟฟ้าที่ตำแหน่ง ( −1, 0 ) มีค่าเท่ากับ 30 V ศักย์ไฟฟ้าที่ตำแหน่ง (1, 0 ) มีค่าเท่ากับ
−6 V ศักย์ไฟฟ้าที่ตำแหน่ง ( 0, 0 ) มีค่ากี่โวลต์ ( V )

109
แนวที่ ๒ : ศักย์ไฟฟ้าใน 2 มิติ

27. (Ent มี.ค. 48) ประจุ Q วางที่ตำแหน่ง A, B, C และ D ของวงกลมที่มี


รัศมี R ดังรูป ศักย์ไฟฟ้าที่จุดศูนย์กลางวงกลมนี้เป็นตามข้อใด
Q
ก. 0 ข.
0R
Q Q
ค. ง.
 0 R 4 0 R

28. (ม.อ. 50) จุดประจุ +q −q และ −q วางอยู่ที่ตำแหน่งต่างๆ ห่างจากจุด P ดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวม


ที่จุด P
kq 2kq
ก. − ข. −
2a a
2kq 4kq
ค. + ง. +
a a

110
29. (EJU-2 2015) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity
q (  0 ) is fixed in place at vertex A of the rectangle ABCD , and a point charge with
quantity of electricity −8q is fixed in place at vertex B . The length of side AD is a , and
the length of side AB is 3a . Let us denote the electric potential at points C and D
as VC and VD , respectively, and denote the proportionality constant of Coulomb’s law
as k .

What is VD − VC ? From (a)-(h) below choose the correct answer.


11kq 9kq 7kq 5kq
(a) − (b) − (c) − (d) −
2a 2a 2a 2a
5kq 7kq 9kq 11kq
(e) (f) (g) (h)
2a 2a 2a 2a

111
30. (EJU-2 2020) As shown in the figure below, point charges with quantity of electricity
Q (  0 ) are fixed in place at vertices A, C, and H of a cube whose edges have length a ,
and point charges with quantity of electricity −Q are fixed in place at vertices B, D, E, F,
and G of the cube. Here, the reference position for electricity potential is at infinity. Let
us denote as k the proportionality constant of Coulomb’s law.

What is the electricity potential at the center of the cube (the midpoint of segment AG)?
From (a)-(h) below choose the correct answer.
2 3kQ 4 3kQ 2kQ 2 2kQ
(a) − (b) − (c) − (d) −
3a 3a a a
2 3kQ 4 3kQ 2kQ 2 2kQ
(e) (f) (g) (h)
3a 3a a a

112
31. (Ent 28) จุดประจุ q1 และ −q2 วางอยู่ที่จุด A และ B ตามลำดับโดยมีระยะ AB เท่ากับ 3 เซนติเมตร
จุด P อยู่ห่างจากจุด A 4 เซนติเมตร และ AB ตั้งฉากกับ PA ที่จุด P ค่าศักย์ไฟฟ้าเป็นสองเท่าของค่า
ศักย์ไฟฟ้าที่จุดนั้น เมื่อเราเลื่อนจุดประจุ −q2 มาไว้ที่จุด A จงหาอัตราส่วนของ q1 : q2

ก. 0.8 ข. 1.0 ค. 1.2 ง. 1.4

113
32. (Ent 27) จุดประจุ −6 10−6 คูลอมบ์ และ 10 10−6 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 4 เซนติเมตร ใน
ตำแหน่ง A และ B ดังรูป ให้จุด C เป็นจุดที่ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ และ AC ตั้งฉากกับ AB แล้ว AC มี
ระยะเท่าใด

ก. 3 cm ข. 6 cm ค. 9 cm ง. 25 cm

33. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 48) จุดประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ และ 9 ไมโครคูลอมบ์ อยู่ที่พิกัด ( 0,1) และ
( 3, 0 ) ตามลำดับ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าที่จุดกำเนิด ( 0, 0 )
ก. 9 2 kN/C , 9 10 kV ข. 9 2 kN/C , 36 kV
ค. 18 kN/C , 9 10 kV ง. 18 kN/C , 36 kV

114
34. (ทุนคิง 2558) จุดประจุขนาด +9 10−6 C และ −4 10−6 C ถูกวางตรึงอยู่ที่ตำแหน่ง ( 0, 4 ) และ
( 3, 0 ) ในหน่วยเซนติเมตรตามลำดับ ต้องนำประจุขนาด +2 10−6 C มาวางที่ตำแหน่งใด แรงลัพธ์ที่
กระทำต่อประจุ +2 10−6 C จึงมีค่าเป็นศูนย์ วาดรูปประกอบ และที่ตำแหน่งนี้มีศักย์ไฟฟ้าเท่าใด

115
35. (ทุนญี่ปุ่น 2008) There are 4 points. A, B, C and D on a smooth horizontal plane as shown
in figure below. AC = BC = CD = a , and AB and CD are mutually perpendicular. We
assume that a charge +q is placed at A and a charge −q is placed at B . q  0 and the
Coulomb constant is k .

(1) Find the direction of the electric field at point D.


(a) A → B (b) B → A (c) C→D (d) D →C

(2) Find the magnitude of the electric field at point D.


kq kq kq
(a) (b) (c)
a2 2a 2 2a 2
kq kq kq
(d) (e) (f)
a 2a 2a

(3) What is the relation between the electric potential VC at point C and the electric
potential VD at point D ?
(a) VC  VD (b) VC = VD (c) VC  VD

116
36. (ทุนญี่ปุ่น 2019) Four charges qA = 4.0 10−8 C , qB = 8.0 10−8 C , qC = −6.0 10−8 C and
qD = 8.0 10−8 C are placed at the position A, B, C and D as shown in the figure. The
distance between the positions A and B is 0.40 m . The distance between the positions
A and D is 0.30 m . The points P, Q, R, S are the midpoints of the sides, and the point O
is the midpoint of the rectangle ABCD. Let the proportionality constant k of Coulomb’s
law (Coulomb’s constant) be k = 9.0 109 N  m2 /C2 . Round off your answers to two
significant figures.

(1) Which is the correct direction of the resultant electric field at the position O? Choose
the correct answer from (a)-(h).
(a) OA (b) OP (c) OB (d) OQ
(e) OC (f) OR (g) OD (h) OS

(2) Calculate the magnitude of the resultant electric field at the position O.
(3) Calculate the magnitude of the resultant electric potential at the position O. Note that
the electric potential at infinity is taken to be 0 .

117
37. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 62) จุดประจุ 4 ประจุถูกตรึงอยู่ที่มุมของรูปสี่เหลี่ยม ABCD ดังรูป จุด E และ F
เป็นจุดกึ่งกลางด้าน ส่วนจุด G เป็นจุดกึ่งกลางรูป

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) สนามไฟฟ้าที่จุด E เท่ากับสนามไฟฟ้าที่จุด F
(๒) สนามไฟฟ้าที่จุด E มีขนาดเท่ากับสนามไฟฟ้าที่จุด F แต่มีทิศตรงข้ามกัน
(๓) ศักย์ไฟฟ้าที่จุด E เท่ากับศักย์ไฟฟ้าที่จุด G
ข้อความใดบ้างเป็นจริง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๒) เท่านั้น ค. ทั้ง (๑) และ (๓) ง. ทั้ง (๒) และ (๓)

118
38. (ทุนญี่ปุ่น 2010) As shown in the figure below, four electrical point charges ( +Q, −Q, +Q,
and −Q , where Q  0 ) are fixed to the corners of a square insulator plate (side length:
4a )

What is the relationship between the level of electrical potential VA ,VB and VC at points
A, B, and C in the figure? From (a)-(g) below choose the correct answer.
(a) VA = VB  VC (b) VA = VB  VC
(c) VA  VB = VC (d) VA  VB = VC
(e) VA = VC  VB (f) VA = VC  VB
(g) VA  VB  VC

119
39. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 56) วัตถุประจุบวก 2 ก้อน และวัตถุประจุลบ 2 ก้อน ซึ่งมีขนาดประจุเท่ากัน เรียง
ตัวอยู่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสดังรูป P เป็นจุดกึ่งกลางของจัตุรัส

(๑) บริเวณจุดใดมีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
ก. ไม่ใช่จุดใดๆ ที่แสดง ข. P เท่านั้น
ค. P R และ Q ง. P S และ T

(๒) บริเวณจุดใดที่ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
ก. P เท่านั้น ข. P R และ Q
ค. P S และ T ง. จุดทุกจุดที่แสดง

40. (Ent 30) ประจุไฟฟ้า +q 2 ประจุ และ −q 2 ประจุ วางที่มุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD ดังรูป x เป็น
จุดกึ่งกลางด้าน BC และ y เป็นจุดกึ่งกลางเส้นทแยงมุม BD

(๑) สนามไฟฟ้าที่จุด x และจุด y ขนานกัน


(๒) ศักย์ไฟฟ้าที่จุด x เป็นศูนย์
(๓) ศักย์ไฟฟ้าที่จุด y เป็นศูนย์

ข้อใดบ้างที่ถูกต้อง
ก. (๑) (๒) และ (๓) ข. (๑) และ (๓)
ค. (๓) เท่านั้น ง. คำตอบเป็นอย่างอื่น

120
41. (ทุนญี่ปุ่น 2008) Two positive charges of Q  C are placed at x = −4L  m and x = 4L  m
of the x − axis. Let the constant of proportionality in Coulomb’s law be k  N  m2 /C2  .

(1) Find the magnitude of the electric force acting on a positive charge of q C which
is placed at the position A at y = 3L  m on the y − axis.
(2) Find electric potential at A. Let the electric potential at infinity be zero.

42. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 56) ประจุขนาดเท่ากัน q จัดเรียงตัวอยู่ที่มุมของหกเหลี่ยมด้านเท่ายาว a ดังรูป


โดยมีประจุบวก 5 ตัวและประจุลบ 1 ตัว จงหาสนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าที่เกิดจากประจุชุดนี้ที่จุด O
ให้ k เป็นค่าคงตัวของแรงระหว่างประจุ

121
43. (ทุนญี่ปุ่น 2020) Two point charges qA = +2.5 10−9 C and qB = −2.5 10−9 C are placed at
A ( −4.0 m, 0 ) and B ( 4.0 m, 0 ) , respectively as shown in the figure. Let the
proportionality constant k of Coulomb’s law (Coulomb’s constant) be
k = 9.0 109 N  m 2 /C2 . Answer the following questions. Round off your answers to two
significant figures.

(1) Which is the correct direction of the resultant electric field at P = ( 0,3.0 m ) ? Choose
the correct answer from (a)–(h) in the following figure and write the letter of your
choice.

(2) Calculate the magnitude of the resultant electric field at P = ( 0,3.0 m )


(3) Calculate the magnitude of the electric potential at Q = ( −1.0 m, 0 ) . Note that the
electric potential at infinity is taken to be 0 .

122
44. (กสพท. 2564) จุดประจุขนาด +2q และ −q ถูกตรึงอยู่ที่มุมสองมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งยาวด้าน
ละ d ดังภาพ

ความต่างศักย์ระหว่างจุด A เทียบกับจุด B หรือค่า VA − VB เป็นเท่าใด


กำหนดให้ k คือ ค่าคงตัวคูลอมบ์
kq kq
ก. ข. −
d d2
ค. 2kq
d2
ง. (1 − 2 ) kqd
จ. (
− 1+ 2 ) kqd

123
45. (PAT3 มี.ค. 64) จุดประจุไฟฟ้า Q1 และ Q2 วางอยู่ที่ปลายเส้นโค้งครึ่งวงกลมที่มีรัศมี 50 หน่วย และมี
จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิด Q1 วางอยู่ที่จุด A ( 50, 0) และ Q2 วางที่จุด B ( −50, 0 ) ดังรูปข้างล่าง
Q1 4
กำหนดให้ =− จงหาจุดบนเส้นโค้งครึ่งวงกลมที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศูนย์
Q2 3

ก. ( −30, 40 ) ข. ( −28,96 )
ค. ( −14, 48) ง. (14, 48)
จ. (15, 20 )

124
46. (Ent 33) ประจุขนาด 3 10−8 คูลอมบ์ วางอยู่ที่จุด B ซึ่งห่างจากจุด A เป็นระยะทาง 25 เซนติเมตร
จะต้องวางประจุลบที่เหมาะสมห่างจากจุด A เป็นระยะทางกี่เซนติเมตร จึงจะทำให้ทุกๆจุด บนผิวทรง
กลมรัศมี 20 เซนติเมตรที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด A มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์

125
47. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 51) ประจุ Q1 = 3 10−6 C วางอยู่ที่พิกัด ( 0, 0 ) ประจุ Q2 = −2 10−6 C วาง
อยู่ที่พิกัด ( 5, 4 ) ถ้าศักย์ไฟฟ้าที่พิกัด ( 3, 4) มีค่าเป็น 0 โวลต์ ก็ต่อเมื่อจะต้องมีประจุ
Q3 = 4 10−6 C วางอยู่ที่พิกัดที่สอดคล้องกับสมการในข้อใด

ข. ( ) + (
x −3 y − 4)
2 2

ก. x2 + y 2 = 102 =1
22 42

ค. ( 2 ) ( y − 4)
x −3
2 2

+ 2
=1 ง. ( x − 3)2 + ( y − 4 )2 = 10
10 10

126
งานในการย้ายประจุ
แนวที่ ๑ : ย้ายประจุจากอนันต์มาสร้างระบบประจุ

48. (ม.อ. 57) จุดประจุ 3 ประจุ อยู่บนเส้นเดียวกันและวางห่างกันเป็นระยะเท่ากัน ดังรูป

(๑) (๒)

(๓) (๔)

ข้อใดเรียงลำดับงานจากน้อยไปมาก เพื่อจัดเรียงประจุดังรูป
ก. ๒ = ๓ = ๔ < ๑ ข. ๒ < ๓ = ๔ < ๑
ค. ๔ < ๓ = ๒ < ๑ ง. ๓ = ๔ < ๒ < ๑

49. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 41) อนุภาคประจุ −Q และ +Q ทั้งหมดสามอนุภาค เรียงกันบนเส้นตรงและ


ห่างกัน d ดังรูป งานที่ต้องทำทั้งหมดในการนำอนุภาคทั้งสามจากที่อยู่ห่างกันมาก มาเรียงกันดังรูป
จะเป็นเท่าใด

127
50. (Ent มี.ค. 43) จงหางานในการนำจุดประจุจำนวนสี่จุดประจุ แต่ละจุดประจุมีขนาด +Q จากระยะ
 1 
อนันต์มาไว้ที่ยอดของพีระมิดที่มีด้านยาวด้านละเท่ากับ a  k = kE = 
 4 0 
6kQ2 4kQ 2 6kQ 2 4kQ 2
ก. − ข. ค. ง. −
a a a a

128
51. (สอวน. ม.5 ก.ย. 47, สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 40) A B C เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
ด้านยาว l (แต่ละด้านยาว l ) ถ้านำประจุ +Q, −Q, +Q จากอนันต์มาไว้ที่จุด A,
q1q2
B, C ตามลำดับ จะต้องทำงานรวมเท่าไร (ให้ใช้กฎคูลอมบ์ในรูป )
4 0 r 2

52. (Ent 22) ในรูปที่แสดงประจุ Q มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ ระยะทาง a มีหน่วยเป็นเมตร ให้ k คือค่าคงที่


ของกฎของคูลอมบ์

(๑) สนามไฟฟ้าที่จุด P มีค่าเท่าใด


kQ kQ kQ
ก. 0.25 ข. 0.45 ค. 0.75
a2 a2 a2
kQ kQ
ง. 0.95 2 จ. 1.25 2
a a

(๒) ศักย์ไฟฟ้าที่จุด P มีค่าเท่าใด


kQ kQ
ก. −1.9 ข. −0.9 ค. 0
a a
kQ kQ
ง. +0.9 จ. +1.9
a a

(๓) งานที่ต้องกระทำในการนำประจุทั้งสามจากระยะทางอนันต์ มาวางไว้ที่ตำแหน่งที่แสดงมีค่าเท่าใด


kQ kQ
ก. − ข. −1.4 ค. −0.9
a a
kQ kQ
ง. +0.9 จ. +1.4
a a

129
53. (สอวน. ม.4 มี.ค. 47) จงหางานน้อยที่สุดที่ต้องทำในการนำประจุเหมือนกันทุกประการ 8 ประจุ แต่ละ
ประจุมีขนาด q จากที่อยู่ห่างกันอนันต์ ไปไว้ที่มุมของลูกบาศก์ซึ่งมีด้านยาวด้านละ a

130
54. (Ent ต.ค. 47, สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 42) จุดประจุ +Q สี่ประจุ อยู่ที่มี
มุมทั้งสี่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว a จงหาค่าของงานที่ต้องทำในการ
นำจุดประจุ +q จากอนันต์มาไว้ที่จุดศูนย์กลางรูปจัตุรัสนี้

2qQ
ก. 0 ข.
4 0 a
qQ 2qQ
ค. ง.
 0 a  0 a

55. (ม.อ. 51) ประจุ −Q และประจุ +4Q วางห่างจากจุด R ดังรูป การย้ายประจุ +Q จากระยะอนันต์
มายังจุด R ต้องใช้งานเท่าใด
kQ
ก.
r
kQ 2
ข.
r
kQ
ค.
r2
3kQ 2
ง.
r

131
56. (Ent เม.ย. 41) จุดประจุ A ขนาด 15 ไมโครคูลอมบ์ อยู่บนแกน Y ณ ตำแหน่ง y = −3.0 เมตร
ในขณะที่จุดประจุ B ขนาด −4 ไมโครคูลอมบ์ อยู่บนแกน X ณ ตำแหน่ง x = 2.0 เมตร จงหาว่าจะ
ต้องใช้พลังงานเท่าใดในการย้ายประจุ +2 ไมโครคูลอมบ์ จากระยะอนันต์มาไว้ยังจุดกำเนิดพิกัดฉากนี้
ก. −27 mJ ข. 54 mJ
ค. −63 mJ ง. 63 mJ

57. (Ent 31) จากรูป ประจุ Q1 = +0.5 คูลอมบ์ ระยะ AB = 10 เซนติเมตร ระยะ BC = 30 เซนติเมตร
มุม ABC = 90 องศา ถ้างานที่ใช้ในการนำโปรตอน 1 ตัว จากอนันต์ มายังจุด B มีค่า +28.8 10−9
จูล จงหาว่าประจุ Q2 มีกี่คูลอมบ์

132
58. (Ent 25) มีประจุ +Q และ −Q อยู่ที่ปลายแต่ละข้างของแท่งฉนวนซึ่งยาว d ต้องการนำแท่งฉนวน
อีกแท่งหนึ่งซึ่งยาวเท่ากัน และมีประจุเหมือนกับแท่งแรกมาวางขนานกับแท่งแรกโดยห่างกันเป็น
ระยะทาง d โดยให้ปลายที่มีประจุต่างชนิดอยู่ตรงกันพอดีทั้งสองปลาย งานที่กระทำโดยสนามไฟฟ้า
ในการการนำแท่งที่สองมาวางมีค่าเท่าใด
kQ 2 kQ 2
ก. −1.6 ข. −0.6
d d
kQ 2
ค. 0 ง. +0.6
d
kQ 2
จ. +1.6
d

133
แนวที่ ๒ : มีการจัดวางประจุใหม่

59. (Ent 35) ในรูปแสดงศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุที่ระยะ r จากจุดประจุ ถ้านำประจุบวก 2 ไมโครคูลอมบ์


จากระยะ 2 เมตร ไปยังระยะ 0.5 เมตร จากจุดประจุนั้น จะต้องทำงานเท่าใด

ก. 2 10−6 J ข. 6 10−6 J
ค. 8 10−4 J ง. 9 10−4 J

60. (มช. 2553) ในการเคลื่อนที่อิเล็กตรอนหนึ่งตัวจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้า 5 โวลต์ ไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้า 10


โวลต์ จะต้องใช้พลังงานกี่จูล
ก. 5 10−19 ข. 8 10−19
ค. −5 10−19 ง. −8 10−19

134
61. (ม.อ. 53) กราฟแสดงค่าศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุที่ระยะห่าง x เป็นดังรูป ถ้านำประจุบวก 2 ไมโครคู
ลอมบ์ จากระยะ 1 เซนติเมตร ไปยังระยะ 2 เซนติเมตรจากจุดประจุนั้น จะต้องทำงานกี่จูล

ก. −4 10−6 ข. +4 10−6
ค. −8 10−8 ง. +8 10−8

135
62. (Ent 32) A และ B เป็นจุดที่อยู่ห่างจากประจุ 4 10−6 คูลอมบ์ เป็นระยะทาง 2 และ 12 เมตร
ตามลำดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ 4 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานในหน่วยกิโลจูลเป็นจำนวนเท่าใด
ก. 8.74 ข. 15 ค. 35 ง. 60

136
63. (EJU-2 2016) As shown in the figure below, a point charge with quantity of electricity q is
fixed in place in an x − y plane at the origin O. A point charge with quantity of electricity
−2q is made to travel from point A ( 0, d ) to point B ( −3d , −4d ) in a straight line
connecting A and B, in the direction indicated by the arrow in the figure. Here, q  0 , and
d  0 . Let us denote the proportionality constant of Coulomb’s law as k .

What is the work done by the force exerted by the point charge with quantity of electricity
q on the point charge with quantity of electricity −2q when it travels from A to B? From
(a)-(h) below choose the correct answer.
2kq 2 4kq 2 6kq 2 8kq 2
(a) (b) (c) (d)
5d 5d 5d 5d
2kq 2 4kq 2 6kq 2 8kq 2
(e) − (f) − (g) − (h) −
5d 5d 5d 5d

137
64. (EJU-1 2012) As shown in figure below, two small balls, each carrying a charge of Q (  0 )
, are fixed in place in an xy plane at points ( 3a, 0 ) and ( −3a, 0 ) , where a  0 .

A third small ball, also carrying a charge of Q , is slowly moved from point ( 0, 4a ) to the
origin ( 0, 0 ) . From (a)-(f) below choose the answer that best indicates the work done by
the external force needed to move the third ball as described, where k denoted the
proportionality constant of Coulomb’s law.
kQ 2 2kQ 2 kQ 2
(a) (b) (c)
12a 15a 6a
kQ 2 4kQ 2 kQ 2
(d) (e) (f)
4a 15a 2a

138
65. (กสพท. 2560) ประจุขนาด +Q, −2Q และ +3Q ถูกตรึงอยู่ที่มุมทั้งสามของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมี
ความยาว 3a และ 4a ตามภาพ งานที่ต้องทำเพื่อย้ายประจุ +Q จากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่ง D
ของรูปสี่เหลี่ยมมีค่าเท่าใด กำหนดให้ ค่าคงตัวคูลอมบ์เท่ากับ k

1  kQ 2  2  kQ 2 
ก. −   ข. +  
15  a  3 a 
8  kQ 2  3  kQ 2 
ค. +   ง. +  
15  a  5 a 
16  kQ 2 
จ. +  
45  a 

139
66. (มข. 2559) ประจุ q1 และ q2 มีขนาดและวางตัวตามพิกัด ดังรูป จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด a และ
จุด b และงานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ q3 = +3 10−9 C จาก a ไป b กำหนดให้ ค่าคงที่ของคูลอมบ์เป็น
k = 9 109 N  m2 /C2 .

ก. ความต่างศักย์เท่ากับ 4 โวลต์ งานในการเลื่อนประจุเท่ากับ 1.2 10−8 จูล


ข. ความต่างศักย์เท่ากับ 8 โวลต์ งานในการเลื่อนประจุเท่ากับ 1.2 10−8 จูล
ค. ความต่างศักย์เท่ากับ 8 โวลต์ งานในการเลื่อนประจุเท่ากับ 2.4 10−8 จูล
ง. ความต่างศักย์เท่ากับ 4 โวลต์ งานในการเลื่อนประจุเท่ากับ 2.4 10−8 จูล

67. (ม.อ. 52) สามเหลี่ยมด้านเท่า ABC แต่ละด้านยาว 40 เซนติเมตร มีประจุ q1 = +4 10−6 คูลอมบ์ วาง
ที่ตำแหน่ง A และประจุ q2 = −4 10−6 คูลอมบ์ วางที่ตำแหน่ง B ดังรูป ถามว่างานที่เกิดจากการเลื่อน
ประจุ +1105 คูลอมบ์ จากจุด C ไปยังจุด D ตามแนวเส้นประเป็นกี่จูล

ก. 0 ข. −1.8
ค. 1.8 10−2 ง. 20 3 10−5

140
68. (กสพท. 2558) ผลักประจุ + q1 และ +q2 จากหยุดนิ่งที่ระยะห่างกัน 3D ให้เคลื่อนที่เข้าหากันอย่าง
ช้าๆ จนกระทั่งมาอยู่ห่างกันเป็นระยะทาง D จะต้องทำงานทั้งหมดเท่าไร
q1q2 q1q2 q1q2
ก. ข. ค.
6 0 D 9 0 D 2 4 0 D
q1q2 q1q2
ง. จ.
4 0 D 2 12 0 D

69. (ทุนคิง 2545) ประจุ +4 10−9 คูลอมบ์ และ +3 10−9 คูลอมบ์ อยู่ห่างกัน 10 เซนติเมตร จงหา
งานที่ใช้ในการย้ายประจุทั้งสองให้เข้าหากันอีก 4 เซนติเมตร

141
70. (สอวน. มจพ. ธ.ค. 63) ภายใต้สนามไฟฟ้าที่เกิดจากจุดประจุ q ถ้ามีจุดประจุอีกหนึ่งอันเคลื่อนที่จากจุด
A ไปยัง B, C, D, E ตามรูป (จุดทั้งหมดอยู่บนวงกลมที่มีประจุ q เป็นจุดศูนย์กลาง) ถามว่างานในข้อใด
ถูกต้อง

ก. น้อยที่สุดคือเส้นทาง AE ข. น้อยที่สุดคือเส้นทาง AC
ค. น้อยที่สุดคือเส้นทาง AB ง. ศูนย์ทุกเส้นทาง

142
71. (PAT2 ก.พ. 61) ประจุไฟฟ้า +Q และ −Q อยู่ที่จุด A และ C ตามลำดับ โดยมีระยะ AB = BC =
CD = BE = DF = L ดังรูป

ถ้าให้ WI = งานในการเลื่อนประจุ +q จากจุด B ไปยังจุด D ตามเส้นทางครึ่งวงกลม


และ WII = งานในการเลื่อนประจุ +q จากจุด B ไปยังจุด D ตามเส้นประ BEFD
จงหาอัตราส่วน WI : WII
ก. 1:1 ข.  : 4 ค.  : ( −4 )
ง. 0 : 4 จ. WI = WII = 0

143
72. (EJU-2 2017) As shown in the figure below, two point charges each with quantity of
electricity Q (  0 ) , are fixed in place at points symmetrically centered on origin O in an
x − y plane ( −d , 0 ) and ( d , 0 ) . Another point charge P with quantity of electricity q (  0 )
is moved along paths (1), (2), and (3) in the figure, from the start point of each path to its
end point in the direction indicated by each arrow.

(1) (3)

(2)

From (a)-(g) below choose the answer correctly indicating all movements where the work
done by the electrostatic force acting on P from start to end of movement is zero.
(a) 1 (b) 2 (c) 3
(d) 1, 2 (e) 1, 3 (f) 2, 3
(g) 1, 2, 3

144
73. (Ent 22) ประจุ +q และ −q วางห่างกันเป็นระยะ 2r ดังรูป จุด C และ D อยู่ห่างจากประจุ +q เป็น
ระยะ r เท่ากัน จุด E และ F อยู่ห่างจากประจุ −q เป็นระยะ r เช่นเดียวกัน ดังรูป โดยไม่คิดว่าไม่มี
ประจุไฟฟ้าอื่นอยู่ใกล้ในบริเวณนี้ ถ้าจะทำประจุไฟฟ้า +1 หน่วยเคลื่อนที่ระหว่าง 2 จุด ในข้อใดจะต้อง
ใช้งานเท่ากัน

ก. CE และ DF ข. EF และ CF ค. CF และ DE ง. CD และ CE

145
74. (มข. 2558) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด
ก. ศักย์ไฟฟ้าคืองานในการย้ายประจุ
ข. ประจุบวกจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ภายในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ
ค. สนามไฟฟ้า ณ ตำแหน่งหนึ่ง หาจากพลังงานศักย์ไฟฟ้า ณ ตำแหน่งนั้น ต่อประจุทดสอบที่นำไปวาง
ง. งานของแรงไฟฟ้าในการย้ายตาแหน่งของประจุภายในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า มีค่าเท่ากับ ผลต่างของ
พลังงานศักย์ไฟฟ้าระหว่างตาแหน่งทั้งสอง

146
ความสัมพันธ์ระหว่างศักย์ไฟฟ้ากับสนามไฟฟ้า (ที่คงที่)
แนวที่ ๑ : ระยะขนานสนามไฟฟ้า

75. (ม.อ. 50) A B C และ D เป็นตำแหน่งที่อยู่ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ ดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ผิด

ก. VA = VD ข. VA  VC
ข. VB  VC ง. VA = VB

147
76. (PAT3 มี.ค. 65) พิจารณารูปสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ E ด้านล่างนี้ และจงพิจารณาว่าข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

(๑) สนามไฟฟ้าที่จุด X, Y และ Z มีขนาดเท่ากัน


(๒) แรงที่กระทำต่อ ประจุ +q, +q และ −q ที่จุด X, Y และ Z ตามลำดับ มีขนาดเท่ากัน
(๓) ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด X และจุด Z มีค่ามากกว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด Y และ
จุด Z

ก. (๑) เท่านั้น ข. (๑) และ (๒)


ค. (๑) และ (๓) ง. (๒) และ (๓)
จ. (๑) (๒) และ (๓)

148
77. (IJSO รอบที่ 1 ก.ค. 50) เมื่อนำประจุบวกขนาด 5.0 ไมโครคูลอมบ์ ไปวางที่จุด X ในบริเวณที่มี
สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ พบว่ามีแรงกระทำต่อประจุขนาด 3.0 10−2 นิวตัน ถ้าจุด Y มีศักย์ไฟฟ้า 40
โวลต์ และจุด X และจุด Y ห่างกัน 1.0 เซนติเมตร ดังแสดงในรูป จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด X

ก. −20 โวลต์ ข. 20 โวลต์ ค. −100 โวลต์ ง. 100 โวลต์

78. (IJSO รอบที่ 1 มี.ค. 51) เมื่อนำประจุบวกขนาด 5.0 μC ไปวางที่จุด X ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า


สม่ำเสมอซึ่งมีทิศทางดังในรูป พบว่ามีแรงกระทำต่อประจุขนาด 3.0 10−2 N จุด X และจุด Y ซึง่
อยู่ห่างกัน 1.0 cm ดังในรูป มีศักย์ไฟฟ้าต่างกันเท่าใด และจุดใดมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่า

ก. 15 V จุด X มีศักย์สูงกว่า ข. 15 V จุด Y มีศักย์สูงกว่า


ค. 60 V จุด X มีศักย์สูงกว่า ง. 60 V จุด Y มีศกั ย์สูงกว่า

149
79. (PAT2 พ.ย. 58) ออกแรงกระทำในการเลื่อนประจุไฟฟ้าบวกจากตำแหน่ง x = −10 m ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้า
−5 V ไปยังตำแหน่ง x = −5 m ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้า −2 V โดยประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ข้อใด
กล่าวถูกเกี่ยวกับงานเนื่องจากแรงนี้ และทิศของสนามไฟฟ้าในแนวการเคลื่อนที่
ก. งานเป็นบวก สนามไฟฟ้ามีทิศไปทางซ้าย
ข. งานเป็นบวก สนามไฟฟ้ามีทิศไปทางขวา
ค. งานเป็นลบ สนามไฟฟ้ามีทิศไปทางซ้าย
ง. งานเป็นลบ สนามไฟฟ้ามีทิศไปทางขวา
จ. งานเป็นศูนย์ เพราะประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่

150
แนวที่ ๒ : ระยะทำมุมกับสนามไฟฟ้า

80. (Ent มี.ค. 44) จงหางานของแรงภายนอกในการเลื่อนประจุ +4 ไมโครคูลอมบ์ อย่างช้า ๆ จาก


ตำแหน่ง C ไป B และจาก B ไป A ภายใต้สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด 1104 โวลต์/เมตร ดังรูป

ก. 4 10−3 J ข. 6 10−3 J
ค. −4 10−3 J ง. −6 10−3 J

151
81. (PAT2 ก.ค. 53) เคลื่อนที่ประจุ −2 ไมโครคูลอมบ์ จากจุด A ไปตามเส้นทาง A→B→C→D ใน
สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด 8 โวลต์ต่อเมตร งานในการเคลื่อนที่ประจุตลอดเส้นทางและความต่างศักย์
ระหว่างจุด B กับจุด D มีค่าเท่าใด ตามลำดับ

ก. −0.96 ไมโครจูล และ 240 มิลลิโวลต์


ข. −2.92 ไมโครจูล และ 400 มิลลิโวลต์
ค. 0.96 ไมโครจูล และ 240 มิลลิโวลต์
ง. 2.92 ไมโครจูล และ 400 มิลลิโวลต์

152
82. (Ent มี.ค. 46) แผ่นตัวนำขนานมีขนาดใหญ่และมีประจุกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอดังรูป ประจุ −Q ที่
จุด A มีแรงไฟฟ้ากระทำเท่ากับ 2.5 นิวตัน ถ้าต้องการเคลื่อนที่ประจุนี้จาก A ไปไว้ที่ C ตามเส้นทาง
ABC จะต้องทำงานเท่าไร

ก. 0.75 J ข. 1.00 J ค. 1.25 J ง. 1.75 J

83. (Ent 24) ถ้า E เป็นสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ มีขนาด 12 โวลต์ต่อเมตร จงหางานที่ใช้ในการเคลื่อนที่


ประจุทดสอบ 3.0 10−6 คูลอมบ์ จากจุด A ไปตาม A → B → C ดังรูป

ก. −1.8 10−6 จูล ข. +1.8 10−6 จูล


ค. −5.4 10−6 จูล ง. +5.4 10−6 จูล

153
84. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 65) สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด E = 100 นิวตัน/คูลอมบ์ ระหว่างระนาบ y = 0
เซนติเมตร และ y = 4 เซนติเมตร จุดประจุบวก ขนาด q คูลอมบ์ เคลื่อนที่จากตำแหน่ง ( 3, 0 ) ไปยัง
ตำแหน่ง ( 0, 4 ) ดังรูป

งานจากแรงไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเท่ากับเท่าใด
ก. 3q จูล ข. 4q จูล ค. 5q จูล ง. 7q จูล

154
แนวที่ ๓ : การสร้างสนามไฟฟ้าที่คงที่ด้วยแผ่นตัวนำคู่ขนาน

85. (PAT2 มี.ค. 52) แผ่นโลหะบางขนาดใหญ่มาก 2 แผ่น (A และ B) วางขนานกัน ห่างกันเป็นระยะ d


ต่อแผ่นโลหะทั้งสองเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าขนาด V0 โวลต์ ดังรูป

ข้อใดถูกต้อง
ก. แผ่น A มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ +V0 โวลต์ แผ่น B มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศูนย์
ข. แผ่น A มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ +V0 โวลต์ แผ่น B มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ −V0 โวลต์
ค. แผ่น A มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าแผ่น B อยู่ V0 โวลต์ แต่ไม่ทราบศักย์ไฟฟ้าบนแผ่น A และ B อย่างแน่ชัด
V0
ง. แผ่น A และ B มีขนาดของศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน คือ โวลต์
2

155
86. (Ent เม.ย. 41) แผ่นตัวนำคู่ขนาน ขนาดเท่ากัน วางห่างกัน 3 มิลลิเมตร ถ้าต่อแผ่นคู่ขนานนี้เข้ากับ
แบตเตอรี่ 9 โวลต์ สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นตัวนำคู่ขนานจะมีขนาดเท่าใด
ก. 0.027 V  m ข. 27 V  m ค. 3 V  m ง. 3, 000 V  m

87. (Ent 35) แผ่นโลหะขนาน 2 แผ่น วางห่างกัน d ความต่างศักย์ V ถ้ามีอนุภาคประจุ q มวล m


ลอยอยู่ระหว่างแผ่นทั้งสอง จะมีแรงกระทำต่ออนุภาคนั้นเท่าใด (ไม่คิดแรงโน้มถ่วง)
qV qd mqd mqV
ก. ข. ค. ง.
d V V d

156
แนวที่ ๔ : พิจารณาศักย์ไฟฟ้าตามระยะทาง

88. (EJU-2 2014) As shown in the figure below, dielectric plate A, which has a thickness of 2d
, is placed within a uniform electric field with a magnitude of E0 , perpendicularly to the
electric field’s direction. The electric field within A is in the same direction as the outside,
and has a constant magnitude of E1 (  E0 ) . As shown below, an x − axis is chosen
parallel to the electric field’s direction, where the origin O is located at the center of A.
The x − coordinates of the left and right sides of A are −d and d , respectively.

From (a)-(h) below choose the graph that best expresses the change in electric potential
V along the x − axis.

(a) (b) (c) (d)

(e) (f) (g) (h)

157
158
แนวที่ ๕ : ประจุไฟฟ้าลอยกลางแผ่นคู่ขนาน

89. (Ent 39) มวล 6.4 10−12 กรัม มีประจุไฟฟ้า −3.2 10−19 คูลอมบ์ ลอยนิ่งอยู่ได้ระหว่างแผ่นขนาน
ซึ่งวางห่างกัน 1.0 เซนติเมตร แผ่นโลหะขนานอยู่ในแนวระดับ ถ้าแผ่นล่างมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ แผ่น
บนจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่าใด
ก. −1, 000 V ข. +50 V ค. +1, 000 V ง. +2, 000 V

90. (ทุนคิง 2544) แผ่นโลหะคู่ขนานสองแผ่น วางตัวอยู่ในแนวราบห่างกัน 2 เซนติเมตร แผ่นบนมีประจุ


ไฟฟ้าลบ แผ่นล่างมีประจุไฟฟ้าบวก อนุภาคหนึ่งมีมวล 4 10−13 กิโลกรัม มีประจุไฟฟ้า +2.4 10−18
คูลอมบ์ ลอยนิ่งอยู่ในระหว่างแผ่นโลหะคู่ขนานสองแผ่นนี้ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะ
คู่ขนานสองแผ่นนี้ มีค่าเท่าใด

159
91. (PAT3 ต.ค. 58) แผ่นตัวนำไฟฟ้า 2 แผ่น วางห่างกัน 5 cm ในแนวดิ่ง โดยมีความต่างศักย์ระหว่าง
แผ่น 10, 000 V ที่บริเวณช่องว่างระหว่างแผ่นมีหยดน้ำมันที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ โดยมี
มวล 110−15 kg ดังรูป จงคำนวณหาประจุบนหยดน้ำมันนี้

ก. ประจุบวก ขนาด 0.05 10−18 C


ข. ประจุลบ ขนาด 0.05 10−18 C
ค. ประจุบวก ขนาด 5 10−18 C
ง. ประจุลบ ขนาด 5 10−18 C
จ. ประจุบวก ขนาด 500 10−18 C

160
92. (PAT2 มี.ค. 54) แขวนทรงกลมมวล m ที่มีประจุไฟฟ้า +q ด้วยเชือกเบาไว้ระหว่างแผ่นตัวนำขนาน
ขนาดใหญ่ที่วางในแนวตั้งและอยู่ห่างกัน d ถ้าต้องการให้แนวเชือกที่แขวนทรงกลมเบนทำมุม 30
องศากับแนวดิ่ง จะต้องให้ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนำขนานขนาดเท่าใด
3mgd mgd 3qd qd
ก. ข. ค. ง.
q q 3 mg mg 3

161
93. (PAT2 เม.ย. 57) ละอองน้ำมันทรงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ไมโครเมตรมีประจุไฟฟ้าลบถูกทำ
ให้ลอยอยู่นิ่งในอากาศด้วยสนามไฟฟ้าในแนวดิ่งซึ่งสร้างจากแผ่นโลหะขนานสองแผ่นที่อยู่ห่างกัน 1
เซนติเมตร ความต่างศักย์ที่ต้องใช้ต่ออิเล็กตรอน 1 ตัวมีค่าประมาณกี่โวลต์ กำหนดให้น้ำมันมีความ
หนาแน่น 600 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
ก. 1.5 ข. 15 ค. 150 ง. 1500

162
94. (PAT2 มี.ค. 65) นาย ก ทำการทดลองภายใต้ระบบสุญญากาศและสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ A ที่มี
ประจุไฟฟ้า Q ระหว่างแผ่นคู่ขนานสองแผ่นโดยศักย์ไฟฟ้าของแผ่นคู่ขนานด้านบนเป็น V โวลต์ และ
ศักย์ไฟฟ้าของแผ่นคู่ขนานด้านล่างเป็น 0 โวลต์ ดังรูป

นาย ก ได้ปรับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจนกระทั่งวัตถุ A อยู่ในสมดุลต่อการเลื่อนที่ และนำค่าความต่าง


ศักย์ไฟฟ้าที่วัดได้มาหาประจุไฟฟ้า Q ที่อยู่บนวัตถุ A และนาย ก ทดลองซ้ำโดยแต่ละครั้งใช้วัตถุชนิด
เดียวกันที่มีมวลและขนาดเท่ากัน แต่มีขนาดประจุไฟฟ้าแตกต่างกัน จากนั้นเขียนกราฟแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของประจุไฟฟ้าบนวัตถุ A กับความต่างศักย์ไฟฟ้าตกคร่อมแผ่นคู่ขนาน ได้
ดังนี้

กำหนดให้ 1) การทดลองนี้ไม่มีการรบกวนของสนามไฟฟ้าจากบริเวณอื่น
2) วัตถุอยู่ในสมดุลต่อการเลื่อนที่ เมื่อวัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว

163
จากข้อมูล ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. หากประจุไฟฟ้าบนวัตถุ A มีค่าเป็นบวก ศักย์ไฟฟ้าของแผ่นคู่ขนานด้านบนจะมีค่าเป็นลบ
ข. ในขณะที่วัตถุ A อยู่ในสมดุลต่อการเลื่อนที่ การลดระยะห่างระหว่างแผ่นคู่ขนาน จะทำให้วัตถุ A มี
ความเร่งในทิศขึ้น
ค. ผลการทดลองสามารถแสดงว่าประจุไฟฟ้าที่พบในธรรมชาติมีค่าไม่ต่อเนื่องและมีค่าได้เป็นบางค่า
เท่านั้น
ง. หากวัตถุ A เคลื่อนที่ด้วยความเร่งในทิศขึ้น เพื่อให้วัตถุ A อยู่ในสมดุลต่อการเลื่อนที่ จะต้องลดความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นคู่ขนาน
จ. หากนำวัตถุที่ไม่ทราบมวลแต่ทราบค่าประจุไฟฟ้ามาทำการทดลองแบบเดียวกัน ผลคูณระหว่างประจุ
ไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าจะเท่ากับน้ำหนักของวัตถุนั้น

164
แนวที่ ๖ : การทดลองของมิลลิแกน

95. (Ent 26) ในการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน ปรากฏว่าเมื่อยังไม่ได้ใส่สนามไฟฟ้าเข้าไป หยดน้ำมัน


จะตกลงด้วยความเร่งคงที่ค่าหนึ่ง เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปเพื่อจะให้หยดน้ำมันลอยนิ่งอยู่กับที่ กลับ
ปรากฏว่าหยดน้ำมันกลับตกลงด้วยความเร็วสูงกว่าเดิม เหตุผลต่อไปนี้ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. หยดน้ำมันหยดนั้นมีประจุลบ
ข. ความเข้มข้นของสนามไฟฟ้าต่ำเกินไป
ค. ความเข้มข้นของสนามไฟฟ้าสูงเกินไป
ง. ทิศทางของสนามไฟฟ้ากลับกันกับที่ควรจะเป็น

165
96. (Ent 19) ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบว่าหยดน้ำมันหยดหนึ่งลอยนิ่งได้ระหว่างแผ่นโลหะ
ขนาน 2 แผ่นซึ่งห่างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่น ทำให้เกิดสนาม 12, 000
โวลต์/เมตร ถ้าหยดน้ำมันมีประจุไฟฟ้า 8.0 10−19 คูลอมบ์ จะมีน้ำหนักเท่าไร

97. (Ent 25) ในการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ำมันซึ่งมีมวล m และมี


อิเล็กตรอนเกาะติดอยู่ n ตัว ลอยนิ่งอยู่ระหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่งวางขนานห่างกันเป็นระยะทาง
d และมีความต่างศักย์ V ประจุของอิเล็กตรอนที่คำนวณได้จากการทดลองนี้จะมีค่าเท่าใด
mgd mgV nmgd nmgV nV
ก. ข. ค. ง. จ.
nV nd V d mgd

166
98. (มช. 2557) ในการทดลองของมิลลิแกน ถ้าใช้สนามไฟฟ้าจากแผ่นโลหะที่วางห่างกัน 4 เซนติเมตร
ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทั้งสองเป็น 1, 000 โวลต์ หยดน้ำมันที่มีสมบัติตามข้อใดจะหยุดนิ่ง
ก. มวล 3 10−16 กิโลกรัม และเสียอิเล็กตรอนไป 1 ตัว
ข. มวล 5 10−16 กิโลกรัม และเสียอิเล็กตรอนไป 1 ตัว
ค. มวล 8 10−16 กิโลกรัม และเสียอิเล็กตรอนไป 2 ตัว
ง. มวล 2 10−16 กิโลกรัม และเสียอิเล็กตรอนไป 2 ตัว

167
99. (Ent 29) ในการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ำมันซึ่งมีมวล 4.8 10−15
กิโลกรัม ลอยนิ่งอยู่ระหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่งวางขนานห่างกัน 1.0 เซนติเมตร ต้องใช้ความต่าง
ศักย์ระหว่างแผ่นโลหะ 300 โวลต์ ถ้าอิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 10−19 คูลอมบ์ และความเร่งเนื่องจาก
แรงดึงดูดของโลกเท่ากับ 10 เมตร/วินาที2 หยดน้ำมันหยดนี้จะมีอิเล็กตรอนอยู่กี่ตัว
ก. 1 ตัว ข. 10 ตัว ค. 100 ตัว ง. 1, 000 ตัว

100. (Ent 34, ทุนคิง 2550) ในการทดลองเรื่องหยดน้ำมันของมิลลิแกน ถ้าใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้า 100


โวลต์ หยดน้ำมันมีมวล 8 10−16 กิโลกรัม ระยะห่างระหว่างแผ่นขั้วโลหะเท่ากับ 0.8 เซนติเมตร ทำ
ให้หยดน้ำมันลอยอยู่นิ่ง หยดน้ำมันได้รับอิเล็กตรอนกี่ตัว
ก. 1 ตัว ข. 2 ตัว ค. 4 ตัว ง. 8 ตัว

101. (ทุนคิง 2556) จากข้อมูลการทดลองหยดน้ำมันมิลลิแกน พบว่า หยดน้ำมันหนัก 2.4 10−14 N แผ่น


โลหะทั้งสองอยู่ห่างกัน 1.2 cm หยดน้ำมันอยู่นิ่งเมื่อความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะมีค่า
450 V จงหาประจุไฟฟ้าของหยดน้ำมัน และจำนวนอิเล็กตรอนที่ปรากฏบนหยดน้ำมัน ถ้าโลหะแผ่น
บนมีประจุบวก

102. (ทุนคิง 2560) การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน ใช้แผ่นตัวนำคู่ขนานที่มีระยะระหว่างแผ่นตัวนำ


20 mm มีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนำเท่ากับ 5, 000 V และทำให้หยดน้ำมันลอยนิ่งอยู่ใน
แนวดิ่งระหว่างแผ่นตัวนำได้ ถ้าหยดน้ำมันมีมวล 2.5 10−14 kg จงแสดงวิธีคำนวณหาปริมาณประจุที่
มีบนหยดน้ำมัน พร้อมวาดรูปประกอบสำหรับกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด (กำหนดให้ g = 10 m/s2 )

168
103. (ทุนคิง 2551) ในการทดลองของมิลลิแกน เพื่อหาประจุไฟฟ้าบนหยดน้ำมัน พบว่าความต่างศักย์
16000 โวลต์ สามารถทำให้หยดน้ำมันหยุดนิ่งได้ ถ้าระยะห่างระหว่างแผ่นโลหะที่ทำให้เกิดสนามไฟฟ้า
เท่ากับ 4 เซนติเมตร อากาศมีความหนาแน่น 1.3 kg/m3 น้ำมันที่ใช้ทดลองมีความหนาแน่น
0.3 103 kg/m3 และปริมาตรของหยดน้ำมันเท่ากับ 9 10−17 m3 จงหาขนาดของประจุไฟฟ้าบน
หยดน้ำมัน

169
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ไฟฟ้าสถิต Part 3

สมบัติของตัวนำไฟฟ้า
1. (PAT3 มี.ค. 52) เมื่อใส่ประจุในตัวนำตันรูปทรงใด ๆ ก็ตามจะเกิดอะไรขึ้น
ก. ประจุจะกระจายอย่างสม่ำเสมอไปทั่วตัวนำ
ข. ประจุจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวตัวนำและกระจายอย่างสม่ำเสมอ
ค. ประจุจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวตัวนำและสนามไฟฟ้าภายในตัวนำมีค่าคงที่
ง. ประจุจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวตัวนำและสนามไฟฟ้าภายนอกจะตั้งฉากกับผิวของตัวนำ

2. (PAT3 ก.ค. 52) เมื่ออัดประจุเข้าไปในฉนวนตัน จะเกิดอะไรขึ้น


ก. ประจุทั้งหมดจะอยู่ที่ตำแหน่งอัดครั้งแรก
ข. ประจุทั้งหมดจะกระจายไปทั่วฉนวนอย่างสม่ำเสมอ
ค. ประจุทั้งหมดจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวฉนวนเพื่อให้เกิดสมดุล
ง. สนามไฟฟ้าภายในฉนวนจะเป็นศูนย์

3. (Ent 40) ตัวนำในสภาพสมดุลทางไฟฟ้าสถิต สนามไฟฟ้า ณ ตำแหน่งใกล้ผิวตัวนำจะมีลักษณะดังข้อใด


ก. ตั้งฉากกับผิวตัวนำ
ข. ขนานกับผิวตัวนำ
ค. มีทิศทำมุม  กับผิวตัวนำ โดยมุม  จะขึ้นกับรูปร่างของผิวตัวนำ
ง. มีค่าเป็นศูนย์

170
4. (PAT2 ก.พ. 62) ตัวนำทรงกลมตันมีประจุไฟฟ้าสุทธิเป็นบวกกระจายตัวอยู่ ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
ก. ประจุกระจายตัวอยู่ที่ผิวเท่านั้น
ข. สนามไฟฟ้าจะตั้งฉากกับผิวเสมอ
ค. เส้นแรงไฟฟ้าจะเริ่มต้นจากจุดศูนย์กลางทรงกลมและพุ่งออกในแนวรัศมี
ง. สนามไฟฟ้าภายในตัวนำทรงกลมตันเป็นศูนย์
จ. ศักย์ไฟฟ้าที่ทุกตำแหน่งภายในตัวนำมีค่าเท่ากันเท่ากับศักย์ไฟฟ้าที่ผิว

5. (B-PAT2 ต.ค. 51) “สนามไฟฟ้าภายในตัวนำทรงกลมที่มีประจุไฟฟ้า มีค่าเป็นศูนย์” ข้อมูลข้างต้น


สามารถนำไปใช้เพื่อพิสูจน์เรื่องใด
ก. ศักย์ไฟฟ้าภายในตัวนำทรงกลมเป็นศูนย์
ข. ศักย์ไฟฟ้าภายในตัวนำทรงกลมเท่ากับศักย์ไฟฟ้าที่ผิวตัวนำทรงกลม
ค. ประจุไฟฟ้าที่ผิวตัวนำทรงกลมเสมือนรวมกันอยู่ที่จุดศูนย์กลางของทรงกลม
ง. สนามไฟฟ้าที่ผิวตัวนำทรงกลมมีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ

6. (PAT2 มี.ค. 53) ข้อใดกล่าวถูกต้อง


(๑) งานของแรงที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้าไม่ขึ้นกับเส้นทางการเคลื่อนที่ของประจุ
ไฟฟ้า ถ้าแรงที่ใช้เคลื่อนประจุเป็นแรงอนุรักษ์
(๒) สนามไฟฟ้าบนผิวของตัวนำมีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ
(๓) สนามไฟฟ้าภายในตัวนำทรงกลมมีค่าเป็นศูนย์
ก. ๑ และ ๒ ข. ๒ และ ๓
ค. ๑ และ ๓ ง. ถูกทุกข้อ

171
7. (กสพท. 2562) ก้อนโลหะมีโพรงอยู่ภายใน ผิวนอกของก้อนอยู่ที่ศักย์ไฟฟ้า V0 ดังรูป สมมติให้ V1
เป็นศักย์ไฟฟ้าในเนื้อโลหะ และ V2 เป็นศักย์ไฟฟ้าในโพรงและที่ผิวโพรง ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ที่
ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด

ก. V1 = V0 ข. V2 = V0 ค. V1 = V2
ง. V2 = V1 = V0 จ. V0  V1  V2

172
สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าอันเนื่องมาจากทรงกลมมีขนาด
แนวที่ ๑ : สมบัติของตัวนำและฉนวนทรงกลม

8. (ม.อ. 51) สนามไฟฟ้า ( E ) ที่ตำแหน่งห่างเป็นระยะทาง r จากจุดศูนย์กลางทรงกลมตัวนำที่มีประจุ


+Q รัศมี a ควรคล้ายกราฟข้อใด

ก. ข.

ค. ง.

173
9. (กสพท. 2563, Ent มี.ค. 46)

ตัวนำทรงกลมรัศมี R มีประจุ +Q ที่ผิว ศักย์ไฟฟ้าที่จุด P ซึ่งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมเป็น


ระยะทาง x เป็นไปตามรูปใด

ก. ข.

ค. ง.

จ.

174
10. (มข. 2554) ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อสรุปที่ถูกต้องเกี่ยวกับค่าสนามและศักย์ไฟฟ้าของทรงกลมโลหะที่มีประจุ
ก. ที่ตำแหน่งภายนอกทรงกลม ขนาดของสนามไฟฟ้าแปรผันตรงกับกำลังสองของระยะห่างจากใจ
กลางทรงกลม
ข. ที่ตำแหน่งภายในทรงกลม ขนาดของสนามไฟฟ้ามีค่าคงที่
ค. ที่ตำแหน่งภายนอกทรงกลม ค่าของศักย์ไฟฟ้าแปรผันตรงกับระยะห่างจากใจกลางทรงกลม
ง. ที่ตำแหน่งภายในทรงกลม ค่าของศักย์ไฟฟ้ามีค่าคงที่

11. (Ent 38) ลูกบอลทองแดงทรงกลมกลวงมีเนื้อหนา 2 เซนติเมตร มีรัศมีภายนอก 3 เซนติเมตร รัศมี


ภายใน 1 เซนติเมตร ถ้าให้ประจุ +3 คูลอมบ์ แก่ลูกบอลนี้ อัตราส่วนของประจุที่ผิวภายในต่อประจุที่
ผิวภายนอกเป็นเท่าไร
ก. 0 : 3 ข. 1: 3 ค. 1: 9 ง. 1: 27

12. (Ent เม.ย. 41) ศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ ภายในทรงกลมตัวนำที่มีประจุกระจายอย่างสม่ำเสมอที่ผิว จะมีค่า


เป็นไปตามข้อใด
ก. เท่ากันทุกจุดและไม่เป็นศูนย์
ข. เท่ากับศูนย์
ค. เป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมถึงจุดนั้น
ง. เป็นสัดส่วนผกผันกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมถึงจุดนั้น

175
13. (Ent 31) ประจุ +Q กระจายสม่ำเสมออยู่บนผิวทรงกลมรัศมี R สมมติมีแรงภายนอกกระทำบนประจุ
+q เพื่อให้ประจุ +q เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวแกน X ด้วยความเร็วคงที่ผ่านจุดศูนย์กลางของทรง
กลม ถ้ากำหนดให้ทิศของแรงไปทาง + x เป็นบวก และทิศไปทาง − x เป็นลบ กราฟระหว่างแรง
ภายนอกกับระยะ x จะเป็นไปตามข้อใด

ก. ข.

ค. ง.

176
14. (ม.อ. 54) แรงภายนอกที่ใช้เคลื่อนประจุ +q ตามแนวเส้นรัศมี เข้าหาตัวนำทรงกลมรัศมี R ซึ่งมีประจุ
+Q เป็นดังกราฟรูปใด

ก. ข.

ค. ง.

177
15. (EJU-1 2016) As shown in Figure 1 below, a metal cylinder is placed in a uniform electric
field, at the position indicated by the broken lines. Figure 2 shows the equipotential lines
before the cylinder was put in place.

From (a)-(f) below choose the figure that best represent the equipotential lines around
and within the cylinder after it was put in place.

(a) (b) (c)

(d) (e) (f)

178
16. (PAT3 มี.ค. 56) ข้อใดกล่าวผิด
ก. สนามไฟฟ้า ณ ตำแหน่งต่างๆ ในที่ว่างภายในตัวนำรูปทรงใดๆ มีค่าเท่ากับศูนย์
ข. สนามไฟฟ้า ณ ตำแหน่งที่ติดกับผิวของตัวนำจะมีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ
ค. ประจุบนผิวตัวนำทรงกลมประพฤติตัวเสมือนว่าประจุทั้งหมดรวมกันอยู่ที่ศูนย์กลางของวงกลม
ง. งานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ +1 C จากตำแหน่งหนึ่งไปอีกตำแหน่งหนึ่งภายใต้สนามไฟฟ้า คือ ความ
ต่างศักย์ระหว่าง 2 ตำแหน่งนั้น
จ. ถ้านำประจุชนิดเดียวกันมาวางใกล้กัน เส้นแรงไฟฟ้าอาจจะตัดกันได้

179
แนวที่ ๒ : สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

17. (Ent ต.ค. 41) ศักย์ไฟฟ้าของตัวนำทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 3 105 โวลต์ ประจุ
ไฟฟ้าในข้อใดที่ตัวนำทรงกลมนี้สามารถเก็บได้
ก. 12 μC ข. 18 μC ค. 20 μC ง. 24 μC

18. (A-Net 2550) ทรงกลมโลหะรัศมี 5 มิลลิเมตร สามารถรับประจุในอากาศได้ปริมาณสูงสุดเท่าใด ถ้า


อากาศแตกตัวเป็นไอออนเมื่อสนามไฟฟ้าในอากาศมีขนาดสูงถึง 3 106 โวลต์/เมตร
ก. 8.3 10−3 C ข. 1.7 10−3 C
ค. 1.7 10−6 C ง. 8.3 10−9 C

19. (Ent 21) ถ้าศักย์ไฟฟ้าสูงสุดของตัวนำทรงกลมรัศมี 30 เซนติเมตร มีค่า 9 105 โวลต์ จงคำนวณหา


ปริมาณประจุไฟฟ้าที่มากที่สุดที่ตัวนำทรงกลมนี้จะสามารถรับได้

20. (Ent ต.ค. 44) ถ้าถือว่าโลกมีรูปร่างทรงกลมซึ่งมีรัศมีเท่ากับ 6, 400 กิโลเมตร และพบว่าบริเวณใกล้ๆ


ผิวโลกมีความเข้มสนามไฟฟ้าขนาดเท่ากับ 100 โวลต์ต่อเมตร จงหาปริมาณประจุไฟฟ้าบนผิวโลก
ก. 9 10−2 C ข. 5 103 C ค. 5 105 C ง. 9 105 C

180
21. (A-Net 2549, มช. 2553) ทรงกลมตัวนำรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้าที่
ระยะ 5 เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางภายในทรงกลมเป็นเท่าใด
ก. 0 V ข. 9 103 V
ค. 9 104 V ง. 1.8 105 V

22. (PAT2 ก.พ. 63) ตัวนำทรงกลมกลวงรัศมี R มีประจุไฟฟ้า Q บนผิวของทรงกลม จงหาสนามไฟฟ้า


ณ ตำแหน่งที่ห่างจากจุดศูนย์กลางทรงกลมเป็นระยะ R / 2
Q 2Q Q 4Q
ก. k ข. k ค. k ง. k จ. 0
R R R2 R2

23. (Ent มี.ค. 42) ทรงกลมโลหะกลวงรัศมี 20 เซนติเมตร ทำให้มีศักย์ไฟฟ้า 10, 000 โวลต์ สนามไฟฟ้า
ภายนอกทรงกลมบริเวณใกล้ผิวจะมีค่าเท่าใดในหน่วยโวลต์ต่อเซนติเมตร

181
24. (Ent 40) ตัวนำทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอย่างสม่ำเสมอบนผิวตัวนำ ถ้ากราฟ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดสนามไฟฟ้า ( E ) กับระยะจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม ( r ) มีค่า
ดังรูป

ศักย์ไฟฟ้าที่ r =5 เซนติเมตร จะมีค่าเท่าใด


ก. 0 V ข. 5.0 105 V ค. 1.0 106 V ง. 5.0 107 V

25. (Ent 34) A และ B เป็นตัวนำทรงกลม รัศมีของ B เป็น 2 เท่าของ A ถ้าให้ประจุแก่ตัวนำทั้งสองเท่าๆ


กัน ศักย์ไฟฟ้าบน A จะเป็นกี่เท่าของ B
1 1
ก. ข. ค. 2 ง. 4
4 2

182
26. (Ent 26) ตัวนำทรงกลมซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง d และมีประจุ +Q เกิดศักย์ไฟฟ้าภายในทรงกลมมีค่า
เท่ากับ V0 ที่ตำแหน่งภายนอกทรงกลมซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมนี้เป็นระยะ จะมี
ศักย์ไฟฟ้าเป็น
ก. dV0 / ข. V0 / d ค. dV0 / 2 ง. V0 / 2d

27. (Ent 36) โลหะทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 10−9 คูลอมบ์ จากรูป จงหางานในการนำโปรตอน
1 ตัว เคลื่อนที่จากจุด B มายังจุด A ดังรูป

ก. 2.9 10−18 J ข. 4.3 10−18 J


ค. 7.2 10−18 J ง. 30 10−18 J

183
28. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 47) ผิวฉนวนทรงกลมรัศมี R เมตร มีประจุ
กระจายสม่ำเสมอด้วยความหนาแน่น  คูลอมบ์ต่อตารางเมตร
ยกเว้นที่จุด A ซึ่งเป็นรูโบ๋เล็ก ๆ พื้นที่ a ตารางเมตร จงหา
q1q2
สนามไฟฟ้าที่จุด O กำหนดให้ใช้กฎของคูลอมบ์ในรูป
4 0 r 2

184
แนวที่ ๓ : การคำนวณทรงกลมซ้อนกัน

29. (สอวน. เม.ย. 65)

185
30. (กสพท. 2560) ทรงกลมโลหะกลวงมีประจุ −Q และมีจุดประจุ +Q อยู่ที่จุดศูนย์กลางของทรงกลม
จงหาค่าของสนามไฟฟ้าที่จุดห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะทาง r ดังในรูป
q1q2
(ใช้กฎของคูลอมบ์ในแบบ )
4 0 r 2

Q Q Q
ก. ข. ค.
4 0 r 8 0 r 4 0 r 2
Q Q
ง. จ.
8 0 r 2  0 r 2

186
31. (กสพท. 2562) ตัวนำทรงกลมสองอันซ้อนกันอยู่และมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน อันในมีรัศมี R1 และมี
ประจุ +Q1 อันนอกมีรัศมี R2 ประจุ +Q2 อันในมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอันนอกอยู่เท่าไร

1 1  1 1  Q Q 
ก. kQ1  −  ข. kQ2  −  ค. k 2 − 1 
 R1 R2   R1 R2   R2 R1 
Q Q  Q Q 
ง. k 1 − 2  จ. k 2 − 1 
 R1 R2   R1 R2 

187
32. (สอวน. มจพ. ธ.ค. 63) แหล่งประจุชนิดทรงกลมตัวนำกลวงบางสองอันวางซ้อนกัน ใช้จุดศูนย์กลาง
ร่วมกัน ทรงกลมอันนอกรัศมี 10 เซนติเมตร และทรงกลมอันในรัศมี 8 เซนติเมตร ถ้าจำนวนประจุที่
กระจายทั่วทั้งผิวของทรงกลมทั้งสองเป็นอิสระต่อกัน จงหาปริมาณประจุที่ผิวของทรงกลมอันใน (ใน
หน่วยไมโครคูลอมบ์) ถ้าศักย์ไฟฟ้าที่ผิวนอกมากกว่าศักย์ไฟฟ้าที่ผิวใน 90 โวลต์

188
แนวที่ ๓ : สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมประจุกระจายสม่ำเสมอ

33. (สอวน. เม.ย. 65)

189
34. (สอวน. ม.5 ก.ย. 48) กลุ่มประจุลบปริมาณ 2q กระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในบริเวณทรงกลมรัศมี R
ประจุ +q และ +q (สองประจุ) อยู่ห่างกัน 2r อย่างสมมาตร และอยู่ในสมดุลพอดีดังรูป จง
วิเคราะห์หาค่า r ในรูปของ R

190
35. (สอวน. ม.4 ต.ค. 55) ทรงกลมตันรัศมี 2a จุดศูนย์กลางอยู่ที่ตำแหน่ง ( 0, 0, 0 ) มีความหนาแน่นประจุ
เชิงปริมาตรสม่ำเสมอ  C/m3 ถูกคว้านออกเป็นรูปทรงกลมรัศมี a ดังรูปด้านล่าง จงหาสนามไฟฟ้าที่
ตำแหน่ง ( 0, y, 0 ) เมื่อ −3a  y  3a

191
36. (สอวน. ม.4 ต.ค. 57) ทรงกลมตันรัศมี 2a จุดศูนย์กลางอยู่ที่ตำแหน่ง ( 0, 0, 0 ) มีความหนาแน่นประจุ
เชิงปริมาตรสม่ำเสมอ  C/m3 ถูกคว้านออกเป็นรูปทรงกลมรัศมี a ดังรูปด้านล่าง จงหางานของแรง
ภายนอกในการนำจุดประจุ 2q จากที่ไกลมากๆ มาวางที่ตำแหน่ง ( 0, 4a, 0 )

192
37. (สอวน. ม.4 ต.ค. 50) ทรงกลมประจุสม่ำเสมอสองลูกมีประจุคนละชนิดกัน โดยมีความหนาแน่นประจุต่อ
ปริมาตร +  และ −  ทรงกลมทั้งสองเหลื่อมกัน โดยเวกเตอร์ตำแหน่งที่ชี้จากจุดศูนย์กลางทรงกลม
ประจุบวกไปยังจุดศูนย์กลางทรงกลมประจุลบคือเวกเตอร์ a จงหาว่าสนามไฟฟ้า E ในบริเวณที่เหลื่อม
กันมีค่าเท่าใด

193
สนามไฟฟ้าอันเนื่องมาจากการกระจายของประจุ
38. (กสพท. 2561) ลวดโลหะวงกลม รัศมี R มีประจุกระจายอย่างสม่ำเสมอรอบวงลวดซึ่งวางตัวใน
ระนาบดิ่งตั้งฉากกับแกน OX สนามไฟฟ้า E ที่จุด x มีค่าขึ้นกับ x ตามข้อใด

ก. ข.

ค. ง.

จ.

194
39. (สอวน. ธ.ค. 63) ลวดรูปวงกลมรัศมี R มีประจุ +q กระจายอย่างสม่ำเสมอตลอดเส้นรอบวงของวง
ลวดจุด P อยู่บนแนวตั้งฉากผ่านศูนย์กลางของวงลวดเป็นระยะทาง x
จงหาความเข้มของ สนามไฟฟ้าลัพธ์ ( E ) ที่จุด P

195
40. (สอวน. ก.พ. 65) วงลวดรัศมี R มีประจุ q ซึ่งกระจายอย่างสม่ำเสมอรอบวง จงหาขนาดของแรงที่
กระทำกับประจุ Q ซึ่งอยู่ห่างศูนย์กลางของวงลวดเป็นระยะทางตั้งฉากเท่ากับ x

qQ 1 qQ 1
ก. ข.
4 0 x 2 + R 2 4 0 x + R 2
2

qQ x qQ x
ค. ง.
4 0 ( x + R 2 )3/2
2 4 0 x + R 2
2

41. (สอวน. ส.ค. 62, สสวท. รอบที่ 2 ส.ค. 46) วงลวดอยู่ในระนาบ YZ ของระบบฉาก OXYZ และมีจุด
ศูนย์กลางอยู่ที่ O วงลวดมีประจุบวกกระจายสม่ำเสมอด้วยความหนาแน่นเชิงเส้น  C/m .

จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าบนแกน OX ที่ตำแหน่งห่างจากจุด O เป็นระยะทาง x (ตอบในเทอม


ของ , R,  0 , x )

196
ศักย์ไฟฟ้าอันเนื่องมาจากการกระจายของประจุ
42. (สอวน. ส.ค. 62, สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 44, สอวน. ม.4 ต.ค. 51) ลวดฉนวนครึ่งวงกลมรัศมี R
ศูนย์กลางอยู่ที่จุด O มีประจุกระจายสม่ำเสมอตลอดความยาวลวดด้วยความหนาแน่นเชิงเส้น  คู
ลอมบ์ต่อเมตร จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด O

   
ก. ข. ค. ง.
0 2 0 3 0 4 0

197
43. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 46) โครงฉนวนไฟฟ้ารูปส่วนโค้งวงกลมดังรูปมีประจุบวกกระจายสม่ำเสมอโดยมี
ประจุต่อหนึ่งหน่วยความยาวเป็น  ถ้าส่วนโค้งวงกลมนี้มีรัศมี R
จงหาค่าศักย์ไฟฟ้า ณ จุดศูนย์กลาง O

44. (มช. 2552) พิจารณาเส้นลวดวงกลมรัศมี a ที่วางอยู่บนพื้นฉนวน กำหนดให้เส้นลวดวงกลมมีความ


หนาแน่นประจุบวกอย่างสม่ำเสมอ โดยมีประจุรวมทั้งหมด Q ที่จุดศูนย์กลางของวงกลมข้อใดถูกต้อง
kQ
ก. ที่จุดนี้มีขนาดสนามไฟฟ้าเท่ากับ 2
, มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ kQ
a a
kQ
ข. ที่จุดนี้มีขนาดสนามไฟฟ้าเท่ากับ 0 , มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ
a
kQ
ค. ที่จุดนี้มีขนาดสนามไฟฟ้าเท่ากับ , มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 0
a2
ง. ที่จุดนี้มีขนาดสนามไฟฟ้าเท่ากับ 0 , มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 0

198
45. (สอวน. ก.พ. 65) ABC เป็นเส้นลวดครึ่งวงกลมรัศมี R มีประจุรวมเท่ากับ q จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด P

q 1 q
ก. ข.
4 0 x +R
2 2 4 0 x
q q
ค. ง.
4 0 ( x + R ) 4 0 R

199
สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าอันเนื่องมาจากแผ่นประจุ
46. (EJU-2 2011) As shown in the figure below, two metal plates are placed at a certain angle
with each other. When voltage is applied to the plates, an electric field is created between
them.

From (a)-(f) below choose the figure that best represents the electric lines of force
between the metal plates (excluding the end region of the plates).

(a) (b)

(c) (d)

(e) (f)

200
47. (EJU-2 2013) When an infinity wide plate in a vacuum carries a uniform charge of quantity
of electricity q per unit area, the electric field is perpendicular to the plate and its
magnitude is proportional to q , regardless of the distance from the plate. When q  0 ,
the electric field is in a direction moving away from the plate, as shown in Figure 1. When
q  0 , the electric field is in a direction moving toward the plate, as shown in Figure 2.
Figure 3 represents three infinitely wide plates (I, II, and III) that are parallel to one another
and carry uniform charges of, respectively, quantities of electricity −2Q, Q, and 3Q per
unit area. Let us denote the magnitude of the electric field in regions A, B, and C in figure
3 as EA , EB , and EC respectively.

What is the magnitude relationship among EA , EB , and EC ? From (a)-(f) below choose
the correct answer.
(a) EA  EB  EC (b) EA  EC  EB
(c) EB  EA  EC (d) EB  EC  EA
(e) EC  EA  EB (f) EC  EB  EA

201
48. (กสพท. 2563)

สำหรับตัวเก็บประจุแบบแผ่นขนานนี้ ประจุบวกอยู่ที่ผิวในของแผ่นล่าง และประจุลบอยู่บนผิวในของ


แผ่นบน สนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นมีต้นตอมาจากทั้งประจุบวกและประจุลบ
จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าที่ผิวด้านในของแผ่นล่าง
 2d d 2 d
ก. ข. ค. ง. จ.
2d  2 d 

202
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ไฟฟ้าสถิต Part 4

การเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้า
แนวที่ ๑ : ถามสมบัติภาคบรรยายของการเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้า
1. (O-Net 2562) ต่อแผ่นโลหะขนานเข้ากับเครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง โดยให้แผ่นโลหะแต่ละแผ่นต่อเข้า
กับขั้วไฟฟ้าบวกหรือลบ จากนั้นวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกระหว่างแผ่นโลหะขนานดังภาพ ผลคือ
อนุภาคเคลื่อนที่เข้าหาแผ่นโลหะ A

แผ่นโลหะใดต่อกับขั้วไฟฟ้าบวก ทิศทางของสนามไฟฟ้าและทิศทางของแรงไฟฟ้าที่กระทำต่ออนุภาค
เป็นอย่างไร

แผ่นโลหะที่ต่อกับ
ทิศทางของสนามไฟฟ้า ทิศทางของแรงไฟฟ้า
ขั้วไฟฟ้าบวก
ก. A ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น A
ข. A ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น B
ค. A ชี้จากแผ่น B ไปหาแผ่น A ชี้เข้าหาแผ่น B
ง. B ชี้จากแผ่น B ไปหาแผ่น A ชี้เข้าหาแผ่น A
จ. B ชี้จากแผ่น A ไปหาแผ่น B ชี้เข้าหาแผ่น A

203
2. (O-Net 2553) ยิงอนุภาคอิเล็กตรอนเข้าไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอที่มีทิศพุ่งออกจาก
กระดาษ เส้นทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร (g แทนทิศสนามไฟฟ้าพุ่งออกและตั้งฉาก
กับกระดาษ)
ก. เบนขึ้น
ข. เบนลง
ค. เบนพุ่งออกจากกระดาษ
ง. เบนพุ่งเข้าหากระดาษ

3. (O-Net 2552) วางอนุภาคอิเล็กตรอนลงในบริเวณซึ่งมีเฉพาะสนามไฟฟ้าที่มีทิศไปทางขวาดังรูป


อนุภาคอิเล็กตรอนจะมีการเคลื่อนไปเป็นไปตามข้อใด

ก. เคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง เบนขึ้นข้างบน
ข. เคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง เบนลงข้างล่าง
ค. เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงขนานกับสนามไฟฟ้า ไปทางขวา
ง. เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงขนานกับสนามไฟฟ้า ไปทางซ้าย

4. (O-Net 2551) ถ้ามีอนุภาคมีประจุไฟฟ้า +q อยู่ในสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นคู่ขนานดังรูป ถ้าเดิม


อนุภาคอยู่นิ่ง ต่อมาอนุภาคจะเคลื่อนที่อย่างไร
ก. ทิศ + X ด้วยความเร่ง
ข. ทิศ − X ด้วยความเร่ง
ค. ทิศ +Y ด้วยความเร่ง
ง. ทิศ −Y ด้วยความเร่ง

204
5. (O-Net 2549) จุด A และจุด B อยู่ภายในเส้นสนามไฟฟ้าที่มีทิศตามลูกศรดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก. วางประจุลบลงที่ A ประจุลบจะเคลื่อนไปที่ B
ข. วางประจุบวกลงที่ B ประจุบวกจะเคลื่อนไปที่ A
ค. สนามไฟฟ้าที่ A สูงกว่าสนามไฟฟ้าที่ B
ง. สนามไฟฟ้าที่ A มีค่าเท่ากับสนามไฟฟ้าที่ B

6. (O-Net 2561) เมื่อวางอนุภาค A B และ C ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ ซึ่งมีทิศทางชี้ลงเทียบ


กับระนาบกระดาษ ผลเป็นดังภาพที่ 1

จากภาพที่ 1 อนุภาคใดมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก และเมื่อยิงอนุภาค A B และ C เข้าไปในแนวตั้งฉากกับ


สนามไฟฟ้าดังภาพที่ 2 อนุภาคใดจะเคลื่อนที่โดยไม่เบน (ตอบตามลำดับ)
ก. A และ B ข. A และ C
ค. B และ B ง. C และ A
จ. C และ B

205
7. (มข. 2557) ถ้านำอิเล็กตรอนไปวางไว้ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่อย่างไร
ก. อยู่นิ่งที่เดิม ข. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
ค. เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ ง. เคลื่อนที่เป็นวงกลม

8. (O-Net 2554) โปรตอนตัวหนึ่งถูกยิงเข้าไปในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ กรณีใดต่อไปนี้ไม่มีโอกาสเป็นไปได้


(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ก. โปรตอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น
ข. โปรตอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่ลดลง
ค. โปรตอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่
ง. โปรตอนเดินทางเป็นเส้นโค้ง
จ. โปรตอนสั่นแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

206
9. (O-Net 2560) อนุภาคมีประจุบวกเคลื่อนที่ในสุญญากาศเข้าไปในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ E
ดังรูป

ถ้าอนุภาคไม่ชนแผ่นโลหะขนาน หรือไม่เคลื่อนออกจากบริเวณสนามไฟฟ้าเสียก่อน และบริเวณนั้นไม่มี


สนามโน้มถ่วง ข้อใดถูกต้อง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ก. vy ไม่เปลี่ยนแปลง
ข. vx ไม่เปลี่ยนแปลง
ค. vy เพิ่มขึ้นในทิศขึ้น
ง. vx เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
จ. อนุภาคเคลื่อนที่ตามแนววงกลม
ฉ. แนวที่อนุภาคเคลื่อนที่นั้นเป็นรูปพาราโบลาคว่ำ

207
10. (มข. 2555) อนุภาคที่มีมวล m เท่ากันมีประจุ q1 และ q2 เท่ากันถูกจับให้อยู่นิ่งกับที่ ในตำแหน่งดังรูป
เมื่อปล่อยสนามไฟฟ้าสม่าเสมอลงไปแล้วปล่อยให้เคลื่อนที่ ไม่คิดแรงโน้มถ่วง อนุภาคทั้งสองจะเคลื่อนที่
อย่างไร

ก. q2 เคลื่อนที่ขึ้นตรงตามแกน y
ข. q2 เคลื่อนที่ไปทางซ้ายตามแกน x
ค. q1 และ q2 เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
ง. q1 และ q2 เคลื่อนที่ไปทางซ้ายพร้อมทั้งขยับห่างออกจากกันขึ้นและลงตามแกน y ตามลำดับ

208
แนวที่ ๒ : เร่ง (หรือหน่วง) ประจุในสนามไฟฟ้าที่คงที่

11. (Ent ต.ค. 43) แผ่นโลหะคู่ขนาน มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ E ทิศดังรูป ถ้ามีไอออนมวล m ประจุ +Q


หลุดจากแผ่น A ด้วยอัตราเร็วต้นน้อยมาก ไอออนจะถึงแผ่น B ที่ระยะห่าง d จากแผ่น A ด้วย
อัตราเร็วเท่าใด

2m
ก.
QEd
m
ข.
2QEd
QEd
ค.
2m
2QEd
ง.
m

12. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 45) อนุภาคอัลฟาซึ่งมีมวล 4u และมีปริมาณประจุไฟฟ้า +2e เคลื่อนที่จาก


หยุดนิ่งในบริเวณสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด E จงหาอัตราเร็วของอนุภาคอัลฟาเมื่อเคลื่อนที่ได้การ
กระจัดขนาด d

209
13. (Ent 18) กำหนดให้ความเร็วแสง c = 3 108 m/s ประจุของอิเล็กตรอน e = 1.6 10−19 คูลอมบ์ และ
มวลของอิเล็กตรอน me = 9 10−31 กิโลกรัม
(๑) แอโนดของหลอดวิทยุมีศักย์เป็นบวก 320 โวลต์ เทียบกับแคโทด อิเล็กตรอนที่หลุดออกจากแคโทด
จะวิ่งถึงแอโนดนั้นเป็นเท่าใดในหน่วยจูล
(๒) ความเร็วของอิเล็กตรอนที่ถึงแอโนดนั้นเป็นเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที

210
14. (มข. 2555) อิเล็กตรอนมีมวล m กิโลกรัม มีประจุ −e คูลอมบ์ ถูกปล่อยด้วยความเร็วเริ่มต้นศูนย์ จาก
บริเวณใกล้แผ่นโลหะ A เมื่อให้ความต่างศักย์ V โวลต์ แก่แผ่นโลหะ A และตะแกรงโลหะ B ดังรูป แรง
โน้มถ่วงมีค่าน้อยมาก จนไม่ต้องนำมาคิด เมื่อหลุดออกจากตะแกรง B อิเล็กตรอนจะมีอัตราเร็วเท่ากับกี่
เมตรต่อวินาที

mV eV 2mV 2eV
ก. v= ข. v= ค. v= ง. v=
2e 2m e m

15. (มข. 2556) เครื่องเร่งอนุภาคสำหรับยิงอนุภาคมวล m = 310−30 kg ซึ่งมีประจุ q = −2 10−19 C


ใช้แผ่นประจุวางห่างกัน 10 เซนติเมตร ถ้าให้ความต่างศักย์ระหว่างแผ่น 3000 โวลต์ ทำให้อนุภาคหลุด
ออกจากแผ่นประจุลบวิ่งไปยังแผ่นประจุบวกแล้วทะลุรูกลวงออกมา จงหาอัตราเร็วที่อนุภาคหลุดออกมา
จากเครื่องเร่ง
ก. 5 10−5 เมตรต่อวินาที ข. 2 10−4 เมตรต่อวินาที
ค. 1107 เมตรต่อวินาที ง. 2 107 เมตรต่อวินาที

16. (ม.อ. 53) อนุภาคมวล 0.4 กรัม มีประจุไฟฟ้า 1 ไมโครคูลอมบ์ หลุดจากแผ่นบวกของตัวเก็บประจุแผ่น


คู่ขนานที่มีระยะห่างระหว่างแผ่น 1 มิลลิเมตร และมีความต่างศักย์ 50 โวลต์ ถามว่าอนุภาคจะชนแผ่น
ลบด้วยอัตราเร็วกี่เมตรต่อวินาที
ก. 0.5 ข. 0.25 ค. 25 ง. 50

211
17. (มข. 2558) โปรตอนถูกเร่งจากหยุดนิ่งโดยเครื่องเร่งอนุภาคชนิดเส้นตรงจนมีอัตราเร็วสุดท้ายเป็น 0.04
เท่าของอัตราเร็วแสงในสุญญากาศ ความต่างศักย์ไฟฟ้าของเครื่องเร่งมีค่ากี่กิโลโวลต์ (กำหนดอัตราเร็ว
แสงในสุญญากาศ c = 3.0 108 เมตรต่อวินาที ประจุอิเล็กตรอนมีขนาด e = 1.6 10−19 คูลอมบ์ มวล
โปรตอน mp = 1.67 10−27 กิโลกรัม)
ก. 600 ข. 700 ค. 750 ง. 800

18. (Ent ต.ค. 43) อิเล็กตรอนมีมวล me มีประจุ −e ถูกปล่อยจากจุด A (จากหยุดนิ่ง) ภายใต้สนามไฟฟ้า


สม่ำเสมอ E ในสุญญากาศ ขณะที่อิเล็กตรอนผ่านจุด B มีความเร็ว v จงหาว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ระหว่างจุด A และ B เป็นเท่าใด
ก. eE ข. 0.5mev 2
ค. 0.5mev 2e ง. ( 0.5me v 2 ) / e

19. (Ent 32) ถ้าต้องการเร่งประจุอนุภาคมวล 4 10−12 กิโลกรัม ที่มีประจุ 8 10−9 คูลอมบ์ จากสภาพ
หยุดนิ่งให้มีอัตราเร็ว 100 เมตร/วินาที จะต้องใช้ความต่างศักย์เท่าใด
ก. 8.74 ข. 15 ค. 35 ง. 60

20. (Ent 38) จะต้องให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์เพื่อจะทำให้เกิดสนามไฟฟ้าที่สามารถเร่งอิเล็กตรอนจาก


หยุดนิ่งให้มีความเร็ว 0.4 107 m/s

212
21. (Ent ต.ค. 41) อนุภาคโปรตอนเคลื่อนที่ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด 50, 000 นิวตันต่อ
คูลอมบ์ จาก A ไป B ถ้าการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ทำให้อนุภาคโปรตอนดังกล่าวที่พลังงานจลน์เปลี่ยนไป
2 10−15 จูล จงหาระยะทางจาก A ไป B
ก. 0.25 m ข. 0.5 m ค. 0.75 m ง. 1.0 m

22. (Ent ต.ค. 42) อิเล็กตรอน มวล 9 10−31 กิโลกรัม ประจุ 1.6 10−19 คูลอมบ์ ถูกเร่งผ่านความต่างศักย์
100 โวลต์ ความเร็วของอิเล็กตรอนเป็นเท่าใด
ก. 4 106 m/s ข. 6 106 m/s
ค. 4 107 m/s ง. 6 107 m/s

213
23. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 53) อนุภาคอิเล็กตรอน (ขนาดประจุ e ) ถูกเร่งจากหยุดนิ่งจาก A ไป B ผ่าน
ความต่างศักย์ขนาดหนึ่ง ทำให้มีพลังงานจลน์เปลี่ยนไป 2.0 keV
ก. A มีศักย์ต่ำกว่า B 2.0 V ข. A มีศักย์สูงกว่า B 2.0 V
ค. A มีศักย์ต่ำกว่า B 2.0 kV ง. A มีศักย์สูงกว่า B 2.0 kV

24. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 52, IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 52) อนุภาคอิเล็กตรอน (ขนาดประจุ e ) ถูกเร่งจากหยุดนิ่ง
ด้วยสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 20000 V/m เป็นระยะทาง 10 cm พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนมีขนาด
เปลี่ยนไปกี่อิเล็กตรอนโวลต์
ก. 20000 eV ข. 2000 eV ค. 200 eV ง. 20 eV

214
25. (กสพท. 2558) ประจุบวก q มวล m เคลื่อนที่จากความเร็วต้น v0 สวนทางสนามไฟฟ้า E จะ
เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไรก่อนจะเริ่มเคลื่อนที่กลับ
mv0 2 mv0 2 mv0
ก. ข. ค.
2qE qE 2qE
mv0 2qE
ง. จ.
qE mv0 2

26. (PAT3 มี.ค. 52) ถ้ายิงอนุภาคหนึ่งที่มีมวล 2 กรัม และมีประจุ 1 คูลอมบ์ ด้วยความเร็ว 1000 เมตร
ต่อวินาที ตามแนวสนามไฟฟ้าที่มีขนาดคงที่ พบว่าอนุภาคจะลดความเร็วลงจนเป็นศูนย์ที่ระยะ 5
เมตร จงหาขนาดของสนามไฟฟ้า
ก. 200 โวลต์ต่อเมตร ข. 250 โวลต์ต่อเมตร
ค. 300 โวลต์ต่อเมตร ง. 350 โวลต์ต่อเมตร

215
27. (สอวน. ต.ค. 43) ในบริเวณหนึ่งซึ่งที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ E ปล่อยอิเล็กตรอนมวล me และ
โปรตอนมวล mp เริ่มเคลื่อนที่พร้อมกันจากหยุดนิ่งเมื่ออยู่ห่างกันเป็นระยะ D ในแนวของสนามไฟฟ้า
จงหาว่าโปรตอนและอิเล็กตรอนจะพบกัน ณ ตำแหน่งห่างจากจุดตั้งต้นของแต่ละอนุภาคเป็นระยะทาง
เท่าใด (ไม่ต้องคิดแรงระหว่างอนุภาคทั้งสอง) ตอบในรูปของ D และมวลของอนุภาคทั้งสอง

216
แนวที่ ๓ : ถามหาความเร่งในการเร่งประจุไฟฟ้า

28. (Ent ต.ค. 47) อนุภาคมวล m ประจุเป็นบวก เคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วง และแรงไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้า


E ซึ่งชี้ขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าอนุภาคตกลงด้วยความเร่ง a จงหาค่าของประจุของอนุภาค
m m mg ma
ก. ( g − a) ข. ( g + a) ค. ง.
E E E E

29. (Ent 32) ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า 160 โวลต์/เมตร และมีทิศในแนวดิ่งจากบนลงล่าง ปรากฏว่า


ละอองน้ำหยดหนึ่งซึ่งมีประจุอิสระ −6.4 10−18 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งด้วยความเร่ง 2
เมตร/วินาที2 มวลของละอองน้ำนี้มีค่าเท่าใดในหน่วยของ 10−18 กิโลกรัม

217
30. (Ent 26) อนุภาคอันหนึ่งมีมวล 2.0 10−5 kg และมีประจุ +2.0 10−6 C เมื่อนำมาวางไว้ใน
สนามไฟฟ้ามีทิศตามแนวดิ่ง ปรากฏว่าอนุภาคนี้เคลื่อนที่ลงด้วยอัตราเร่ง 20 cm/s2 ขนาดและทิศของ
สนามไฟฟ้า มีค่า
ก. 100 N/C ทิศพุ่งขึ้น ข. 96 N/C ทิศพุ่งขึ้น
ค. 100 N/C ทิศพุ่งลง ง. 96 N/C ทิศพุ่งลง

218
31. (Ent 22) แผ่นโลหะขนาน 2 แผ่นวางห่างกันเป็นระยะ d และมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้าม อิเล็กตรอนที่
หลุดจากแผ่นลบจะวิ่งด้วยความเร่ง a ไปยังแผ่นบวก ถ้าให้ m และ q เป็นมวลและประจุของ
อิเล็กตรอนตามลำดับ แผ่นโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์เท่าไร
md qd ma mad
ก. ข. ค. ง.
q m q q

32. (Ent ต.ค. 42) แผ่นโลหะขนานสองแผ่น วางห่างกันสม่ำเสมอเป็นระยะ d แต่ละแผ่นมีประจุไฟฟ้า


ชนิดตรงข้ามเป็น +Q และ −Q ถ้าอนุภาคมวล m มีประจุไฟฟ้า −2q หลุดออกจากแผ่นลบและวิ่ง
ด้วยความเร่ง 3g ไปยังแผ่นบวก แผ่นโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่าใด
2q 3mg 2mgd 3mgd
ก. ข. ค. ง.
3mgd 2qd 3q 2q

219
33. (Ent 29) ลูกพิธมวล m มีประจุไฟฟ้า +q เคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ E ซึง่ ตัง้ ฉากกับผิวโลก
ปรากฏว่าลูกพิธลอยขึ้นโดยขนานกับสนามไฟฟ้าจากจุด A ไปสู่จุด B ด้วยความเร่ง a ถ้าจุด B อยู่สูง
กว่าจุด A เป็นระยะ d และความเร่งโน้มถ่วงของโลกคือ g ความต่างศักย์ระหว่างจุด B กับจุด A มีค่า
เท่าใด และสนามไฟฟ้า E นี้ มีทิศพุ่งเข้าหรือพุ่งออกจากผิวโลก
md md
ก. ( g + a) พุ่งออก ข. ( g + a) พุ่งเข้า
q q
md md
ค. ( g − a) พุ่งออก ง. ( g − a) พุ่งเข้า
q q

34. (มช. 2554) แผ่นตัวนำคู่ขนานวางห่างกัน 20 เซนติเมตร โดยแผ่นที่มีศักย์ไฟฟ้าบวกอยู่ด้านบนและแผ่น


ที่มีศักย์ไฟฟ้าลบอยู่ด้านล่าง ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอระหว่างแผ่นตัวนำทั้งสอง เมื่อนำอนุภาคมวล
m ที่มีประจุ –q วางอยู่ระหว่างแผ่นตัวนำนี้ พบว่าอนุภาคเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเป็น 2 เท่าของ
ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( g ) ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นคู่ขนานดังกล่าวเป็นเท่าใด
0.6gm 2gm 5gm 15gm
ก. ข. ค. ง.
q q q q

220
35. (กสพท. 2555) ระหว่างแผ่นโลหะคู่ขนาน มีสนามไฟฟ้าที่มีทิศชี้ลงมาตามแนวดิ่ง ปรับความต่างศักย์
ระหว่างแผ่นโลหะจนกระทั่งอิเล็กตรอนที่อยู่ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองนิ่งอยู่ได้ ต่อมากลับทิศของ
สนามไฟฟ้า อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งขนาดกี่เท่าของค่า g ของโลก
ก. 0.5g ข. 1.0g
ค. 1.5g ง. 2.0g
จ. 4.0g

221
แนวที่ ๔ : ถามเกี่ยวกับเวลา

36. (ทุนญี่ปุ่น 2018) A charged particle of mass m and charge q is in a uniform electric field
E . Initially the particle is at rest, and then accelerated by the electric field. Find the time
for the particle to travel at a distance of d from the initial location.
md md 2md
(a) (b) (c)
2qE qE qE
md md 2md
(d) (e) (f)
2qE qE qE

37. (Ent 31) แผ่นตัวนำขนานห่างกัน 2.0 เซนติเมตร มีประจุจำนวนหนึ่งอยู่บนแผ่นตัวนำ ทำให้เกิด


สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอในแนวดิ่ง เมื่อปล่อยอิเล็กตรอนจากจุดหยุดนิ่งบนแผ่นตัวนำล่าง อิเล็กตรอนจะ
เคลื่อนที่ไปยังแผ่นตัวนำบนในเวลา 4.2 10−10 วินาที ถามว่าความต่างศักย์ระหว่างตัวนำทั้งสองมีค่า
กี่โวลต์
ก. 2.6 104 ข. 11.4 10−13 ค. 2.1104 ง. 1.14 10−13

222
38. (EJU-2 2012) A particle of mass m carrying charge q (  0 ) is accelerated from rest by
electrical potential difference V so that is passes through slit S into a uniform electric
field of magnitude E , in the direction opposite to the field’s direction. The particle
returns to S after time t elapses from the initial passage through S.

What is the magnitude of m ? From (a)-(g) below choose the correct answer.
8qE 2t 2 4qE 2t 2 2qE 2t 2
(a) (b) (c)
V V V
qE 2t 2 qE 2t 2 qE 2t 2
(d) (e) (f)
V 2V 4V
qE 2t 2
(g)
8V

223
แนวที่ ๕ : ประจุวิ่งเป็นวงกลมในสนามไฟฟ้า

39. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 50) ประจุ q มวล m เคลื่อนที่ตามแนววงกลมรัศมี R ระหว่างทรงกระบอก


โลหะสองอันรัศมี a และ b เกือบเท่ากันซึ่งต่ออยู่กับแหล่งแรงเคลื่อนไฟฟ้า V ดังรูป จงหาพลังงาน
จลน์ของประจุในรูปของ q, R, a, b,V

224
40. (Ent 22) แผ่นโลหะโค้งขนานกันดังรูปมีศูนย์กลางร่วมกันที่จุด O มีสนามไฟฟ้า E ระหว่างแผ่นที่จุดห่าง
จากศูนย์กลางเท่ากับ R และมีทิศชี้เข้าหา O อยากทราบว่าอนุภาคที่มีประจุบวก q ต้องวิ่งด้วยพลังงาน
จลน์เท่าไรจึงจะผ่านรู S1 และ S2 ได้พอดีตามแนวเส้นประ

225
41. (PAT2 ก.ค. 53) แผ่นโลหะโค้งขนานกัน ดังรูป มีจุดศูนย์กลางร่วมกันที่จุด O ที่จุดห่างจากจุดศูนย์กลาง
รัศมี 2 เมตร (ตามแนวเส้นประ) มีสนามไฟฟ้าขนาด 1 นิวตันต่อคูลอมบ์ มีทิศชี้เข้าหา O อนุภาคที่มี
ประจุ +110−6 คูลอมบ์ ต้องวิ่งด้วยพลังงานจลน์เท่าไร จึงจะเคลื่อนที่ตามแนวเส้นประ (ตอบในหน่วย
ไมโครจูล)
หมายเหตุ ไม่ต้องคิดแรงโน้มถ่วงของโลก

226
แนวที่ ๖ : ประจุวิ่งเป็นโพรเจกไทล์ในสนามไฟฟ้า

42. (Ent ต.ค. 46) ณ เวลา t = 0 อนุภาคมวล m ประจุ +q เคลื่อนที่ตัด


แนวแกน X โดยทำมุม  กับแนวแกน X ด้วยความเร็ว v ดังรูป
ถ้ามีสนามไฟฟ้าในทิศ +Y ขนาด E ต้องการทราบว่า เวลาผ่านไป
นานเท่าใด อนุภาคดังกล่าวจึงเคลื่อนที่ตัดแกน X อีกครั้ง (คิดเฉพาะ
ผลเนื่องจากสนามไฟฟ้าเท่านั้น)
mv sin  mv cos  2mv cos  2mv sin 
ก. ข. ค. ง.
qE qE qE qE

43. (ทุนคิง 2548) อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 4 105 เมตร/วินาที โดยทำมุม 30


กับแกน x โดยที่อิเล็กตรอนตัวนี้เคลื่อนที่อยู่ในสนามไฟฟ้าคงที่ E = 100 นิวตัน/คูลอมบ์ (สนามไฟฟ้า
มีทิศตามแกน y ) อยากทราบว่าอีกนานเท่าไร อิเล็กตรอนตัวนี้จึงจะเคลื่อนที่กลับลงมาตัดแกน x
กำหนดให้มวลอิเล็กตรอนเท่ากับ 9.110−31 กิโลกรัม

227
44. (กสพท. 2565) เครื่องดักจับฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิตชนิดหนึ่งมีหลักการทำงาน โดยให้อากาศที่มีอนุภาคฝุ่น
เคลื่อนที่ผ่านส่วนที่สร้างประจุไฟฟ้า เพื่อให้อนุภาคฝุ่นมีประจุไฟฟ้าลบ แล้วเคลื่อนที่ไปยังแผ่นรับฝุ่นที่มี
ขั้วไฟฟ้า

พิจารณาอนุภาคฝุ่น A และ B ซึ่งอนุภาคฝุ่น A มีมวลมากกว่า B และอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของ


A มากกว่าของ B ขณะอนุภาคทั้งสองเคลื่อนที่เข้าหาแผ่นรับฝุ่น ดังภาพ
กำหนดให้ แรงโน้มถ่วงมีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับแรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นรับฝุ่น

สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นรับฝุ่นมีทิศทางใด และขณะอนุภาคฝุ่นทั้งสองเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้า ขนาดของ


ความเร่งและขนาดประจุเป็นไปตามข้อใด

ทิศทางของสนามไฟฟ้า ขนาดความเร่ง ขนาดประจุ


ก. ขึ้น A น้อยกว่า B A น้อยกว่า B
ข. ขึ้น A มากกว่า B A มากกว่า B
ค. ลง A น้อยกว่า B A น้อยกว่า B
ง. ลง A เท่ากับ B A มากกว่า B
จ. ลง A มากกว่า B A มากกว่า B

228
45. (กสพท. 2559) ประจุ q มวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น u เข้าไปในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า E ใน
แนวแกน Y เป็นระยะทาง L ในแนวแกน X มวล m นี้จะมีความเร็วในแนวแกน Y เป็นเท่าไรเมื่อ
พ้นออกไปจากสนามไฟฟ้า (ไม่ต้องคำนึงถึงแรงโน้มถ่วง)

qEu mL qEL
ก. ข. ค.
mL qEu mu
mu mEL
ง. จ.
qEL qu

229
46. (สอวน. เม.ย. 65)

230
47. (Ent 22) อนุภาคมวล m และประจุ +q ถูกปล่อยในแนวราบด้วยอัตราเร็วต้น v เข้าสู่สนามไฟฟ้า
สม่ำเสมอ E ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างแผ่นโลหะคู่ขนานยาว ดังรูป จงหาระยะที่อนุภาคเบี่ยงเบนไปจากแนว
เดิม ขณะที่เริ่มเคลื่อนที่ออกจากสนามไฟฟ้า (ไม่ต้องคิดแรงโน้มถ่วงของโลก)

qE 2 qE 2 v 2 qE qEv 2
ก. ข. ค. ง.
2mv 2 2m 2mv 2m 2

231
48. (Ent 37) แผ่นตัวนำคู่ขนานคู่หนึ่งมีขนาดยาว มีระยะห่างกัน d ก่อให้เกิดสนามไฟฟ้าที่มีความเข้ม
สม่ำเสมอ โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นเป็น V ถ้าสนามไฟฟ้าทำให้ลำอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่เข้าสู่
กลางแผ่นคู่ขนานเบนไปถึงขอบล่างพอดีดังรูป ความเร็วต้นของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร (ให้
อิเล็กตรอนมีมวล m และประจุไฟฟ้า e )

eV eV eV eV
ก. ข. ค. ง.
d m d 2m 2d m 2d 2m

232
49. (EJU-1 2013) A uniform electric field with a magnitude of E is applied to a region with
length L . As shown in the figure below, a particle (mass: m ) carrying charge q is projected
into the region, perpendicular to the electric field, with a speed of v . Due to the influence
of the electric field, the particle exits the region through a hole that is vertical distance
d from the direction of projection. Here, the effect of gravity is negligible.

What is v ? From (a)-(f) below choose the correct answer.


qE qE 2qE
(a) L (b) L (c) L
2md md md
1 md 1 md 1 2md
(d) (e) (f)
L 2qE L qE L qE

233
50. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 56) ในเครื่องวัดมวลอนุภาคแบบหนึ่ง อนุภาคมวล m ประจุ +q ถูกปล่อยจาก
L
แผ่นล่างของแผ่นตัวนำขนานซึ่งอยู่ห่างกัน และมีความต่างศักย์จ่ายให้ระหว่างแผ่นทั้งสอง V ดังรูป
2
อนุภาคมีความเร็วเริ่มต้น u มีทิศในแนวราบที่ตำแหน่ง x = 0 และไปชนแผ่นบนที่ตำแหน่ง x = L
โดยที่อนุภาคนี้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสนามโน้มถ่วง g ด้วย จงระบุเครื่องหมายของ V และหามวล
m ในรูปตัวแปรที่กำหนดให้

234
51. (PAT2 มี.ค. 53) ยิงอิเล็กตรอนมวล me ประจุ −e ในแนวระดับเข้ากึ่งกลางระหว่างแผ่นประจุไฟฟ้า
คู่ขนานความต่างศักย์ 4 โวลต์ แต่ละแผ่นยาว 60 เซนติเมตร และวางห่างกัน 30 เซนติเมตร ดังรูป
อิเล็กตรอนต้องมีพลังงานจลน์กี่อิเล็กตรอนโวลต์ ( eV ) จึงจะชนที่ปลายขอบแผ่นประจุไฟฟ้าด้านบน
พอดี (ไม่คิดผลของแรงโน้มถ่วงของโลก)

235
52. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 61) จัตุรัส ABCD ยาวด้านละ L เป็นบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าคงตัวขนาด E ทิศ
ขนานกับด้าน CD ตามภาพ อนุภาคมวล m มีประจุ +q เข้าสู่บริเวณจัตุรัส ABCD ที่จุดกึ่งกลางด้าน
AB ด้วยความเร็วขนาด u ในทิศขนานกับด้าน BC

(๑) จงหาค่าของ u ซึ่งน้อยที่สุด ( u0 ) ที่ทำให้อนุภาคนี้เคลื่อนที่ออกจากจัตุรัส ABCD ทางด้าน CD


(๒) ถ้า u  u0 อนุภาคนี้จะสามารถเคลื่อนที่ออกจากจัตุรัส ABCD ทางด้านใดได้บ้าง
(๓) ถ้า u  u0 อนุภาคนี้จะสามารถเคลื่อนที่ออกจากจัตุรัส ABCD ทางด้านใดได้บ้าง

236
53. (O-Net 2554) แนวการเคลื่อนที่ของอนุภาคโปรตอนที่ถูกยิงเข้ามาในทิศตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
สม่ำเสมอเป็นดังเส้นทางหมายเลข (1) ถ้ามีอนุภาค X ถูกยิงเข้ามาในทิศทางเดียวกันและมีเส้นทาง
เดินดังหมายเลข (2) ข้อสรุปใดที่เป็นไปไม่ได้เลย

ก. อนุภาค X ดังกล่าวมีประจุบวก
ข. อนุภาค X ดังกล่าวอาจเป็นโปรตอนที่เข้าสู่สนามไฟฟ้าด้วยอัตราเร็วที่ต่ำกว่า
ค. ถ้าอนุภาค X ดังกล่าวมีประจุเท่ากับโปรตอน ก็จะมีมวลที่น้อยกว่า
ง. อนุภาค X ดังกล่าวอาจเป็นนิวเคลียสที่มีเพียงโปรตอนสองตัว

237
แนวที่ ๗ : ประจุสั่นในสนามไฟฟ้า

54. (Ent ต.ค. 45) แขวนมวล m ที่มีประจุ −q ด้วยเชือกที่ไม่นำไฟฟ้าและยาว l ภายในสนามไฟฟ้า E


ดังรูป ถ้าไม่คำนึงถึงความโน้มถ่วงของโลก เมื่อรบกวนมวล m เล็กน้อย มวลนี้จะแกว่งด้วยคาบเท่าใด
ml
ก. 2
q
l
ข. 2
qE
l
ค. 2
E
ml
ง. 2
qE

238
55. (IJSO รอบที่ 3 พ.ค. 61) ก้อนมวล m มีประจุ +Q ติดอยู่กับสปริงเบาค่าคงตัว k วางอยู่บนพื้นระดับ
ลื่นไร้แรงเสียดทานและอยู่ภายใต้สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอขนาด E ทิศ + x ตามภาพ ถ้าปล่อยให้ก้อน
มวลเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งที่ตำแหน่ง x = 0 ซึ่งสปริงมีความยาวธรรมชาติ

(๑) จงหาตำแหน่ง xm ซึ่งแรงสุทธิที่กระทำกับก้อนมวลเป็นศูนย์


(๒) จงหาตำแหน่งสูงสุด xa ที่ก้อนมวลนี้เคลื่อนที่ไปได้
(๓) จงหาแอมพลิจูดในการสั่นแนวระดับของก้อนมวล
(๔) จงหาอัตราเร็วสูงสุดของก้อนมวล

239
56. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 60) อนุภาคหนึ่งมีประจุ q = −2.00 ไมโครคูลอมบ์ และมีมวล m = 0.0100
กิโลกรัม ถูกผูกไว้ที่ปลายเชือกซึ่งยาว L = 1.50 เมตร และปลายอีกข้างหนึ่งของเชือกถูกผูกไว้กับจุด
หมุน P โดยที่ทั้งอนุภาคเชือก และจุดหมุนนี้ถูกวางอยู่บนพื้นโต๊ะซึ่งอยู่ในแนวระดับและไม่มีแรงเสียดทาน
อนุภาคถูกปล่อยจากจุดหยุดนิ่งขณะที่เชือกทำมุม  = 60.0 กับทิศของสนามไฟฟ้าซึ่งเป็นสนามไฟฟ้า
สม่ำเสมอและมีขนาด E = 300 โวลต์ต่อเมตร จงคำนวณหาอัตราเร็วของอนุภาคขณะที่เส้นเชือกวางตัว
ขนานกับทิศทางของสนามไฟฟ้า

240
แนวที่ ๘ : บอกเส้นสมศักย์มาให้

57. (สอวน. ม.4 มี.ค. 46) ภายในกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนตัวหนึ่ง มีเลนส์อิเล็กตรอนรูปทรงกระบอกอยู่


สองอัน อันหนึ่งมีศักย์เป็น +500 V และอีกอันมีศักย์เป็น −100 V มีลำอิเล็กตรอนวิ่งมาจากด้านซ้าย
ด้วยอัตราเร็วสูงเข้าไปในเลนส์ ภาพด้านล่างแสดงภาคตัดขวางของทรงกระบอกทั้งสองแบบเต็มสเกลเส้น
ไข่ปลาแสดงจุดต่างๆ ที่มีศักย์ขนาดเท่ากัน แต่ละเส้นจะมีขนาดศักย์ต่างๆ กันไปดังที่เขียนกำกับไว้ ให้ใช้
ไม้บรรทัดในการวัดหาระยะต่างๆ ในภาพนี้เมื่อจำเป็น

(๑) จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด X และ Y


(๒) จงหาว่าอิเล็กตรอนสูญเสียพลังงานจลน์ไปเท่าไรเมื่อเคลื่อนที่ภายในสุญญากาศจาก X ไป Y
(๓) จงประมาณขนาดของสนามไฟฟ้าที่จุด Z
(๔) จงเขียนกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของศักย์บนแกนของเลนส์
(๕) จงเขียนกราฟ (ลงบนกราฟเดียวกันกับข้อ ๔) แสดงการเปลี่ยนแปลงของอัตราเร็วของอิเล็กตรอนเมื่อ
มันเคลื่อนที่จาก X ไป Y

241
การเคลื่อนที่ของระบบประจุไฟฟ้า
แนวที่ ๑ : มีประจุที่ถูกตรึงไว้ แบบหนึ่งมิติ

58. (PAT2 ธ.ค. 54) อิเล็กตรอนตัวหนึ่งกำลังถูกดูดจากสภาพหยุดนิ่ง เข้าไปหาตัวนำทรงกลมรัศมี R ซึ่งมี


ศักย์ไฟฟ้าที่ผิวเท่ากับ +V0 ถ้าอิเล็กตรอนดังกล่าวเริ่มต้นจากระยะ 9R (วัดจากศูนย์กลางของวงกลม)
เมื่อเข้าชนผิวตัวนำทรงกลม จะมีอัตราเร็วประมาณเท่าใด (ให้ประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนคือ r )
1 2 1 4
ก. rV0 ข. rV0 ค. 10rV0 ง. rV0
3 3 3 3

242
59. (ทุนญี่ปุ่น 2015) A point particle of mass m and charge q (  0 ) approaches to a point
particle of charge Q (  0 ) at a fixed position. When the distance between the two
particles is L , the speed of the moving particle is v . The permittivity of the vacuum is
denoted as  0 . Find the minimum distance between the two particles.
Q qQL qQL
(a) L (b) (c)
q qQ + 2 0 mv 2 qQ + 2 0 mv 2 L
qQ 2qQL 2qQ
(d) (e) (f)
2 0 mv 2 2qQ +  0 mv 2 L  0 mv 2

60. (ทุนคิง 2552) อิเล็กตรอนตัวหนึ่งมีความเร็วเริ่มต้น 1.0 103 เมตรต่อวินาที เคลื่อนที่ในแนวตรงเข้าหา


อิเล็กตรอนอีกตัวหนึ่งและอยู่นิ่งห่างออกไป 2 เมตร อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่เข้าใกล้อิเล็กตรอนที่หยุดนิ่ง
ได้มากที่สุดเท่าใด ก่อนที่จะหยุดและกลับทิศการเคลื่อนที่
กำหนดให้มวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ 9.110−31 กิโลกรัม และมีประจุ 1.6 10−19 คูลอมบ์

243
61. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 58) ประจุ +4q และประจุ −2q ถูกตรึงไว้และอยู่ห่างกันเป็นระยะ 3 และพบว่า
ประจุจุด +q กำลังเคลื่อนที่ผ่านจุด A ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว v0 จงหาว่าเมื่อประจุจุด +q เคลื่อนที่
ไปถึงจุด B ซึ่งห่างจากจุด A ไปทางขวาเป็นระยะ ประจุจุด +q จะมีอัตราเร็วเท่าใด

244
62. (Ent ต.ค. 46) A และ B มีประจุ +10 และ −10 นาโนคูลอมบ์ วางนิ่งๆ ห่างกัน 80 เซนติเมตร C เป็น
วัตถุเล็กๆ มีประจุ +3.2 10−19 คูลอมบ์ อยู่นิ่งๆ ระหว่าง AB โดยห่างจาก A เป็นระยะ 20 เซนติเมตร
ถ้า C เริ่มเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งเดิมไปยัง B จงหาว่าขณะที่ C ผ่านจุดกึ่งกลางระหว่าง AB นั้น C มี
พลังงานจลน์กี่อิเล็กตรอนโวลต์

63. (Ent 24) ประจุไฟฟ้าสองประจุ −q และ +q มีขนาด 1.0 10−8 คูลอมบ์ เท่ากัน วางห่างกัน 3 เมตร
ดังรูป ถ้าปล่อยประจุ −1.0 10−9 คูลอมบ์ ที่จุด A ประจุนั้นจะผ่านจุด B ด้วยพลังงานจลน์เท่าใด

ก. 3 10−6 จูล ข. 180 10−9 จูล


ค. 90 10−9 จูล ง. 45 10−9 จูล

245
64. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 46) ประจุ Q1 = +1.2 10−8 คูลอมบ์ และ Q2 = +0.6 10−8 คูลอมบ์ ถูกตรึง
อยู่นิ่งๆ และห่างกัน 8.0 เซนติเมตร มีจุด A เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างประจุทั้งสอง ถ้านำประจุ
q = +1.0 10−9 คูลอมบ์ ไปวางที่ A แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่โดยอิสระในแนวตรงจาก Q1 ไป Q2 ประจุ
q จะเข้าใกล้ Q2 ได้ใกล้ที่สุดโดยมีระยะห่างจาก Q2 เป็นเท่าใด

246
แนวที่ ๒ : ระบบประจุเคลื่อนที่เป็นวงกลม

65. (PAT2 ก.พ. 61) ตามแบบจำลองอะตอมไฮโดรเจนของโบร์ แรงไฟฟ้าระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอน ทำ


ให้อิเล็กตรอนมวล me ประจุ e โคจรรอบโปรตอนเป็นวงกลมที่มีรัศมี a0 อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วย
อัตราเร็วเท่าใด กำหนดให้ k คือค่าคงตัวคูลอมบ์
ke 2 ke2 ke 2 2ke2 2ke2
ก. ข. ค. ง. จ.
me me a0 me a0 2 me a0 me a0 2

66. (PAT2 มี.ค. 58) อิเล็กตรอนกำลังโคจรเป็นวงกลมรอบนิวเคลียสฮีเลียมที่รัศมี 0.5 อังสตรอม อัตราเร็ว


ของอิเล็กตรอนนี้เป็นกี่เมตร/วินาที (กำหนด k = 9 109 N  m2  C-2 และมวลอิเล็กตรอนเท่ากับ
9.110−31 kg )
ก. 3 104 ข. 3 105 ค. 3 106 ง. 3 107

67. (มช. 2553) วัตถุขนาดเล็กที่มีประจุ 8 10−6 คูลอมบ์ มวล 10 กรัม เคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็ว


สม่ำเสมอ 10 เมตร/วินาที รอบวัตถุอีกก้อนหนึ่งซึ่งอยู่กับที่และมีประจุ 8 10−6 คูลอมบ์ จงหารัศมีของ
การเคลื่อนที่เป็นวงกลมนี้ในหน่วยเซนติเมตร

247
68. (IJSO รอบที่ 1 ก.พ. 55) แบบจำลองอย่างง่ายของอะตอมของไฮโดรเจนจะประกอบด้วยอิเล็กตรอนซึ่งมี
ประจุลบเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบโปรตอนที่อยู่นิ่ง โดยที่อิเล็กตรอนอยู่ห่างจากโปรตอนประมาณ
0.5 10−10 m จงหาว่าความเร่งของอิเล็กตรอนในหน่วย m/s 2 มีค่าอยู่ในช่วงใด (โปรตอนมีประจุ
เท่ากับอิเล็กตรอนแต่เป็นประจุบวก)
ก. 10−31 − 10−20 ข. 10−19 − 10−1 ค. 100 − 1010 ง. 1011 − 1019

69. (Ent 35) อะตอมไฮโดรเจนตามแบบจำลองอะตอมของบอร์ อิเล็กตรอนจะโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุ


บวกด้วยรัศมี 5 10−11 เมตร จงคำนวณหาความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลางว่ามีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 6.5 1024 เมตร/วินาที2 ข. 9.0 1024 เมตร/วินาที2
ค. 1.0 1023 เมตร/วินาที2 ง. 2.5 1023 เมตร/วินาที2

248
70. (Ent มี.ค. 47) อิเล็กตรอนประจุ −e โคจรรอบนิวเคลียสประจุ +e ตามแนววงกลมรัศมี r จะมี
1
พลังงานรวมเท่าใด (ในที่นี้ให้ค่าคงตัวทางไฟฟ้า K = kE = )
4 0
−1 e 2 1 e2 −1 e 2 1 e2
ก. ข. ค. ง.
8 0 r 8 0 r 4 0 r 4 0 r

249
71. (Ent ต.ค. 43) ให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวงกลมอยู่ได้รอบโปรตอน พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนจะเป็นกี่
เท่าของขนาดของพลังงานศักย์
ก. 0.25 เท่า ข. 0.5 เท่า ค. 1 เท่า ง. 2 เท่า

q1q2
72. (กสพท. 2558) วิเคราะห์ตามหลักการของฟิสิกส์ดั้งเดิมและใช้กฎของคูลอมบ์ในรูป f =
4 0 r 2
อิเล็กตรอนมวล m ประจุ −e เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสประจุ + Ze ที่ระยะห่าง R คงที่มีพลังงานรวม
เท่าไร

Ze2 Ze2 Ze2


ก. − ข. + ค. −
4 0 R 4 0 R 8 0 R
Ze2 Z 2e2
ง. + จ. −
8 0 R 8 0 R

250
73. (สอวน. ม.4 ส.ค. 57)

251
74. (สอวน. ม.5 ส.ค. 57)

252
75. (สอวน. ม.4 ส.ค. 58)

253
แนวที่ ๓ : มีประจุที่ถูกตรึงไว้ แบบสองมิติ

76. (สอวน. ม.5 ก.ย. 47) ประจุ +Q ทั้งคู่ถูกตรึงไว้กับที่ ประจุ −q สามารถเคลื่อนที่ได้ในแนวแกน X


ประจุ −q มีอัตราเร่งสูงสุดที่ตำแหน่งใดบ้าง

x a
คำแนะนำ : ฟังก์ชัน y ( x ) = 3
มีค่าต่ำสุดสูงสุดที่ตำแหน่ง x=
(x 2
+a )
2 2 2

254
77. (ทุนญี่ปุ่น 2020, 2008) As shown in figure below, two particles, each of charge q ( q  0 ) ,
are fixed at A ( −a, 0 ) and B ( a, 0) ( a  0 ) in the x − y plane. A proportionally constant
of the Coulomb’s law is denoted as k . Then, a particle with a charge −q and a mass m
is placed at C.

(1) The particle at C starts to move from rest and passes through the origin O. Find the
speed of the particle at O.

(a) 2kq 2
(b) 2 2kq 2
(c)
( 2 − 2 ) kq 2

ma ma ma

(d)
( )
2 2 − 2 kq 2
(e)
( )
2 − 1 kq 2
(f)
2 ( )
2 − 1 kq 2
ma 2ma ma

(2) When the particle at C has an initial speed v0 in the negative y − direction, it escapes
from the influence of the Coulomb forces from the particles at A and B and moves to
infinity. Find the minimum value of v0 .

(a) 2kq 2
(b) 2 2kq 2
(c)
( 2 − 2 ) kq 2

ma ma ma

(d)
( )
2 2 − 2 kq 2
(e)
( )
2 − 1 kq 2
(f)
2 ( )
2 − 1 kq 2
ma 2ma ma

255
256
78. (ทุนญี่ปุ่น 2008) Two positive charges of Q  C are placed at x = −4L  m and x = 4L  m
of the x − axis. Let the constant of proportionality in Coulomb’s law be k  N  m2 /C2 

Let B denote the position y = 4 3  m on the y − axis. The positive charge of q C and
of mass m  kg rests at A, which is placed at y = 3L  m , initially, moves due to the
electric force and pass B. Find the speed of charge at B.

257
79. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 42) ยึดประจุบวกและลบซึ่งมีขนาดเท่ากันในแนวนอน โดยมีระยะห่าง r ตามรูป
ถ้าวางประจุบวกที่ระยะห่างจากประจุลบ r ในแนวตั้ง จะเกิดอะไรขึ้นกับประจุบวกที่วางลงไป

ก. ประจุจะเคลื่อนที่ขึ้น
ข. ประจุจะเคลื่อนที่ลงจนแตะกับประจุลบ
ค. ประจุจะเคลื่อนที่ลงแล้วหยุดก่อนแตะกับประจุลบ
ง. หยุดนิ่ง

258
80. (PAT2 ต.ค. 52) จากรูป

ข้อใดถูก
ก. สนามไฟฟ้าที่จุด A B และ C มีค่าเท่ากับศูนย์
ข. เมื่อวางประจุ −q ที่จุด B ประจุจะเคลื่อนที่เข้าหาจุด C ด้วยความเร่งเพิ่มขึ้น
ค. เมื่อวางประจุ +q ที่จุด B ประจุจะเคลื่อนที่เข้าหาจุด A ด้วยความเร่งเพิ่มขึ้น
ง. ศักย์ไฟฟ้าที่จุด C มีค่าน้อยกว่าที่จุด B

259
แนวที่ ๔ : ประจุวิ่งไล่กัน

81. (กสพท. 2556) อนุภาคโปรตอน A มวล m ประจุ e เคลื่อนที่จากระยะไกลมากด้วยความเร็วต้น u


เข้าชนโปรตอน B ซึ่งอยู่นิ่งเมื่อเริ่มต้น จงหาความเร็วของ A ขณะที่อนุภาคทั้งสองเข้าใกล้กันมากที่สุด

u u u u
ก. 0 ข. ค. ง. − จ. −
2 2 2 2

260
82. (สอวน. ม.5 ส.ค. 58, ก.ย. 50)

261
83. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 41) ยิงอนุภาคโปรตอนพลังงาน E จากระยะไกลตรงเข้าใส่อนุภาคแอลฟา ซึ่ง
อยู่นิ่ง อนุภาคทั้งสองจะเข้าใกล้กันมากที่สุดเป็นระยะทางเท่าไร กำหนดให้ โปรตอนมีมวล m ประจุ
q และ k เป็นค่าคงที่ในกฎของคูลอมบ์

262
แนวที่ ๕ : ประจุวิ่งหนีออกจากกัน (หรือเข้าหากัน) แบบหนึ่งมิติ

84. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 46) ประจุ +q และประจุ −q ถูกปล่อยจากหยุดนิ่งที่ระยะห่างกัน r1 เมื่อ


อนุภาคทั้งสองอยู่ห่างกันเป็นระยะ r2 จงหาอัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วของประจุ +q กับอัตราเร็วของ
ประจุ −q กำหนดให้ m+ , m− เป็นมวลของประจุ +q และประจุ −q ตามลำดับ

85. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 60) ประจุบวก +q และ +2q มีมวล m และ 4m ถูกตรึงไว้บนแนวแกน x ที่
ตำแหน่ง x = 0 ถึง x = L ตามลำดับ ถ้าทันที่ที่ปล่อยให้ประจุทั้งสองเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระพร้อมกัน
ประจุ +q เริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร่งขนาด a แล้ว ประจุ +2q จะเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร่งขนาด
เท่าใด

1 1 1
ก. a ข. a ค. a ง. a
8 4 2

263
86. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 50) มวล m ประจุ q กับมวล M ประจุ Q ผลักกันจากหยุดนิ่งที่ระยะห่าง a
พลังงานจลน์ของ m จะเป็นเท่าใดเมื่อทั้งคู่อยู่ห่างกัน 2a

87. (ม.อ. 56) มวล m มีประจุ +q กับมวล 2m ประจุ +q วางห่างกันเป็นระยะ a ถ้าปล่อยให้มวลทั้ง


สองเคลื่อนที่ พลังงานจลน์ของมวล m เป็นเท่าใด ขณะที่มวลทั้งสองอยู่ห่างกันเป็นระยะ 2a เมื่อ k
เป็นค่าคงตัวของคูลอมบ์

kq 2 kq 2 kq 2 kq 2
ก. ข. ค. ง.
4a 3a 2a a

264
88. (สอวน. ก.พ. 65) A กับ B มีมวล m เท่ากัน และประจุ q เท่ากัน ผลักหนีจากกันจากหยุดนิ่งที่
ระยะห่าง D ต่อมาเมื่ออยู่ห่างกันมากๆ แล้วความเร็วสัมพัทธ์ระหว่าง A กับ B มีขนาดเป็นเท่าไร (ไม่
ต้องคำนึงถึงแรงโน้มถ่วงระหว่างกัน)

265
89. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 61) อนุภาค 1 มวล m1 ประจุ q1 และอนุภาค 2 มวล m2 ประจุ q2 ถูกตรึงอยู่
ห่างกันระยะทางหนึ่ง ทันทีที่ปล่อยให้อนุภาคทั้งสองเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระพร้อมกัน อนุภาค 1 เริ่ม
เคลื่อนที่ด้วยความเร่งขนาด a ในขณะที่อนุภาค 2 เริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร่งขนาด b
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
b b
(๑) m1 = m2 (๒) q1 = q2
a a
ข้อความใดบ้างเป็นจริง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๒) เท่านั้น
ค. ทั้ง (๑) และ (๒) ง. ไม่มีข้อความใดเป็นจริง

266
90. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 51) ถ้านำโปรตอนและอิเล็กตรอนที่มีประจุ +q และ −q ตามลำดับ มาวางห่าง
กันเป็นระยะ d แล้วปล่อยให้ประจุทั้งสองเคลื่อนที่อย่างอิสระ จะเกิดอะไรขึ้นกับประจุทั้งสอง

ก. ประจุทั้งสองจะวิ่งมาชนกันที่จุดกึ่งกลางระยะ d / 2
ข. ประจุทั้งสองจะวิ่งไปชนกันที่ระยะ  จากตำแหน่งของประจุทั้งสอง
ค. ประจุทั้งสองจะวิ่งมาชนกันที่ระยะใกล้กับตำแหน่งของอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน
ง. ประจุทั้งสองจะวิ่งมาชนกันที่จุดศูนย์กลางมวลของระบบ

267
91. (PAT2 มี.ค. 55) พิจารณาโปรตอนเป็นทรงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางในระดับ 10−15 เมตร มีมวลใน
ระดับ 10−27 กิโลกรัม ถ้าต้องการเร่งโปรตอนสองตัวในทิศตรงกันข้ามจากที่ระยะไกลมากๆ ให้เข้าชน
กันในท่อสุญญากาศ ดังรูป ต้องเร่งให้โปรตอนแต่ละตัวมีพลังงานอย่างน้อยที่สุดในระดับขนาดกี่
อิเล็กตรอนโวลต์ (ไม่ต้องคิดผลเนื่องจากทฤษฎีสัมพัทธภาพ)

ก. 103 ข. 106 ค. 109 ง. 1012

268
92. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 51) ประจุจำนวนมากอยู่ในสมดุลเชิงความร้อนที่อุณหภูมิหนึ่ง ถ้าประจุสองตัวใน
กลุ่มนี้แต่ละตัวมีมวล m ประจุ q รัศมี R เคลื่อนที่เข้าชนกันตรงๆ และแตะกันพอดี จงหาค่าของ
อุณหภูมิขณะนั้นในรูปของ q, R,  0 , k

269
แนวที่ ๖ : ประจุวิ่งหนีออกจากกัน แบบสองมิติ

93. (สอวน. ม.4 ต.ค. 48) อนุภาคมวล m ประจุ +Q เหมือนกันทุกประการ 3 อนุภาคถูกจับไปวางวิ่งที่


มุมยอดของสามเหลี่ยมด้านเท่าซึ่งมีด้านยาวด้านละ L แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่ได้อย่างเสรีพร้อมกัน
(๑) จงหาอัตราเร็วของแต่ละอนุภาคในรูปของฟังก์ชันของระยะห่าง r ระหว่างแต่ละอนุภาค
(๒) อัตราเร็วสุดท้ายของแต่ละอนุภาคมีขนาดเท่าใด
(๓) จงหางานที่แรงไฟฟ้าทำต่อแต่ละอนุภาคตั้งแต่อนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากจุดยอดสามเหลี่ยมไปจนถึง
ตำแหน่งเมื่ออนุภาคอยู่ห่างกันอนันต์

270
94. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 62) อนุภาคมวล M และ m ซึ่งมีประจุ Q เท่ากัน โดยที่ M =  m ถูกตรึงไว้
ที่มุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านยาว a เมตร ดังภาพ หลังจากนั้น อนุภาคทั้ง 4 ถูกปล่อยให้เป็น
อิสระพร้อมกัน กำหนดให้ ค่าคงตัวของคูลอมบ์เท่ากับ k และไม่ต้องคิดแรงดึงดูดระหว่างมวล

(๑) จงหาอัตราส่วนความเร่งของอนุภาคมวล m ต่อความเร่งของอนุภาคมวล M ทันทีหลังจากปล่อย


ให้ประจุเป็นอิสระ
(๒) เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ห่างจากกันมากแล้ว พบว่า อนุภาคมวล M มีอัตราเร็ว u ขณะนั้นอนุภาค
มวล m มีอัตราเร็วเท่าไร

271
95. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 48) มวล m ประจุ +q เคลื่อนที่เร็ว u จากระยะไกลมาก ๆ เข้าเฉี่ยวนิวเคลียส
มวล M ประจุ +Ze จงหาระยะใกล้สุดที่ m เฉี่ยว M กำหนดว่า M m และที่จุดใกล้สุดนั้น m
q1q2
มีอัตราเร็วเท่ากับ v ให้ใช้แรงคูลอมบ์ในรูป (ตอบในรูป p,  0 , u, m, M , Z , e, q )
4 0 r 2

272
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ไฟฟ้าสถิต Part 5

การทำให้เกิดประจุไฟฟ้า
แนวที่ ๑ : ดูว่าเกิดประจุชนิดอะไร
1. (PAT2 ต.ค. 52) เมื่อนำแท่งพีวีซีถูกับผ้าสักหลาดแล้วนำไปจ่อใกล้ๆ กระดาษชิ้นเล็กๆ ข้อใดถูก

273
2. (O-Net 2563) โดยปกติแล้ว พื้นผิวโลกมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า เนื่องจากประจุไฟฟ้าบวกและลบมี
จำนวนเท่าๆ กัน แต่ในช่วงที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง บริเวณฐานเมฆจะมีประจุไฟฟ้าลบเป็นจำนวนมาก ดัง
ภาพ แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจากฐานเมฆจะทำให้พื้นผิวโลกที่อยู่ใต้ฐานเมฆไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า

จากภาพ ทิศทางของสนามไฟฟ้าระหว่างฐานเมฆกับพื้นผิวโลกใต้เมฆเป็นอย่างไร และถ้านำอนุภาคที่มี


ประจุไฟฟ้าลบตัวหนึ่งไปไว้ที่ใต้จุด X จะมีแรงไฟฟ้าจากฐานเมฆกระทำต่ออนุภาคดังกล่าวหรือไม่ อย่างไร

ทิศทางของสนามไฟฟ้า แรงไฟฟ้า
ก. เข้าหาเมฆ ไม่มี เพราะมีประจุไฟฟ้าลบเหมือนกัน
ข. เข้าหาเมฆ มี โดยมีทิศทางออกจากเมฆ
ค. ออกจากเมฆ ไม่มี เพราะมีประจุไฟฟ้าลบเหมือนกัน
ง. ออกจากเมฆ มี โดยมีทิศทางเข้าหาเมฆ
จ. ออกจากเมฆ มี โดยมีทิศทางออกจากเมฆ

274
3. (PAT2 มี.ค. 56) นำจานโลหะที่เป็นกลางทางไฟฟ้าไปไว้ใกล้ๆ แต่ไม่สัมผัสกับวัตถุที่มีประจุบวกดังรูป

จากนั้นต่อสายดินกับจานโลหะโดยสัมผัสที่ด้านบนของจานโลหะ แล้วจึงนำสายดินออก สุดท้ายจึงแยก


จานโลหะออกไปจากวัตถุที่มีประจุบวก ข้อใดถูกเกี่ยวกับจานโลหะในขณะนี้
ก. มีประจุสุทธิเป็นบวก
ข. มีประจุสุทธิเป็นลบ
ค. เป็นกลาง โดยด้านบนของจานเป็นประจุบวก ส่วนด้านล่างของจานเป็นประจุลบ
ง. เป็นกลาง โดยด้านบนของจานเป็นประจุลบ ส่วนด้านล่างของจานเป็นประจุบวก

275
4. (BMAT 2019) A large metal sphere mounted on an insulating stand is negatively charged.
A smaller, uncharged metal sphere mounted on an insulating stand is placed near to
the negatively charged sphere.

The smaller sphere is connected to the Earth by a conducting wire. Electrons flow from
the smaller sphere to Earth because they are repelled by the larger sphere. The smaller
sphere is then disconnected from the Earth.

Which row must be correct about the particles in the larger sphere and the final charge
of the smaller sphere?

particles in the larger sphere final charge of the smaller sphere


A there are fewer protons than electrons negative
B there are fewer protons than electrons neutral
C there are fewer protons than electrons positive
D there are more protons than electrons negative
E there are more protons than electrons neutral
F there are more protons than electrons positive

276
5. (PAT2 ต.ค. 55) ทรงกลมตัวนำ x, y และ z ที่มีประจุสุทธิเป็นศูนย์ วางติดกันบนขาตั้งที่เป็น
ฉนวนไฟฟ้า ดังรูป

เมื่อนำแท่งวัตถุที่มีประจุบวกมาวางใกล้ๆ กับทรงกลม x แต่ไม่แตะ ข้อใดแสดงสิ่งที่เกิดขึ้นได้ถูกต้อง


ก. ข.

ค. ง.

277
6. (TEDET ม.3 2559) จากการทดลองไฟฟ้าสถิตด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

[ขั้นตอนของการทดลอง]
(1) ทรงกลมโลหะที่มีประจุไฟฟ้า (-) จะสัมผัสกับทรงกลมโลหะ A ที่ไม่มีประจุไฟฟ้าแล้วนำทรง
กลมโลหะที่มีประจุไฟฟ้า (-) ออก
(2) นำทรงกลมโลหะ A ไปวางใกล้กับทรงกลมโลหะ B ที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
(3) ให้นิ้วมือสัมผัสกับด้านขวาของทรงกลมโลหะ B แล้วดึงออก

(เนื่องจากทรงกลมโลหะ A และ B เบามากจนสามารถเคลื่อนย้ายได้ด้วยแรงเพียงเล็กน้อย แต่ในขั้นตอน


ของการทดลอง A และ B จะไม่สัมผัสกัน)
(๑) ผลลัพธ์ของ (1) ทรงกลมโลหะ A มีประจุไฟฟ้า (+)
(๒) ผลลัพธ์ของ (2) ทรงกลมโลหะ B มีประจุไฟฟ้า (-)
(๓) ผลลัพธ์ของ (2) ระยะห่างระหว่างทรงกลมโลหะ A และ B ไกลขึ้น
(๔) ผลลัพธ์ของ (3) ทรงกลมโลหะ B มีประจุไฟฟ้า (+)
(๕) ผลลัพธ์ของ (3) ระยะห่างระหว่างทรงกลมโลหะ A และ B ใกล้ขึ้น
จากคำอธิบายที่กำหนดให้ ข้อใดที่อธิบายเกี่ยวกับการทดลองได้ถูกต้อง
ก. (๑), (๒) ข. (๒), (๓)
ค. (๔), (๕) ง. (๑), (๒), (๓)
จ. (๓), (๔), (๕)

278
7. (TEDET ม.1 2559) ชลทำการทดลองเรื่องไฟฟ้าสถิตดังนี้

วางแท่งโลหะสามแท่ง A, B, C บนบีกเกอร์และนำแท่งอีโบไนต์ไปถูกับผ้าขนสัตว์ทำให้แท่ง
อีโบไนต์มีประจุลบแล้วนำเข้าไปใกล้ส่วนปลายของ C ดังภาพ (ก) หลังจากนั้นให้นำแท่งอีโบไนต์
ไปเก็บ พร้อมกับแยก C ออกมาดังภาพ (ข) และต่อมาจึงแยก A และ B ออกจากกันดังภาพ (ค)

จากการทดลอง ข้อใดจับคู่ประเภทของประจุไฟฟ้าที่แท่งโลหะ A, B และ C ได้ถูกต้อง

A B C
ก. + + +
ข. + + -
ค. + - -
ง. - + +
จ. - - +

279
8. (TEDET ม.1 2559) จากการทดลองเกี่ยวกับการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต

(1) นำแท่งอีโบไนต์ที่มีประจุไฟฟ้าลบ (-) ไปสัมผัสกับโลหะทรงกลม A ที่ไม่มีประจุไฟฟ้าแล้ว


แยกออกจากกัน
(2) นำโลหะทรงกลม B และ C ที่ไม่มีประจุไฟฟ้ามาสัมผัสกัน แล้วนำโลหะทรงกลม A จาก
(1) ไปใกล้กับโลหะทรงกลม B
(3) แยกโลหะทรงกลม B และ C ออกห่างจากกัน

จากข้อความต่อไปนี้ จงเลือกข้อที่อธิบายเกี่ยวกับการทดลองได้ถูกต้องทั้งหมด
(๑) จาก (ก) โลหะทรงกลม A มีประจุไฟฟ้าลบ (-)
(๒) จาก (ข) อิเล็กตรอนอิสระที่อยู่ที่โหละทรงกลม C เคลื่อนที่ไปที่โลหะทรงกลม B
(๓) จาก (ค) ชนิดของประจุไฟฟ้าของโลหะทรงกลม A และโลหะทรงกลม C เหมือนกัน
ก. (๑) ข. (๓)
ค. (๑), (๒) ง. (๑), (๓)
จ. (๒), (๓)

280
9. (มข. 2553) ทรงกลมโลหะ 3 ลูก A B และ C ถูกวางเรียงติดกันไว้ในสนามไฟฟ้าดังรูป ทรงกลม C ถูก
แยกออกมาก่อน ตามด้วยทรงกลม B แล้วจึงนำทรงกลม A ตามออกมาเป็นลำดับสุดท้าย นำทรงกลมทั้ง
สามมาวางแยกกันไว้นอกสนามไฟฟ้า จากผลของการเหนี่ยวนำไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ถูกต้อง

ก. A มีประจุบวก B เป็นกลาง C มีประจุลบ


ข. A มีประจุลบ B เป็นกลาง C มีประจุบวก
ค. A และ B มีประจุลบ แต่ C มีประจุบวก
ง. A มีประจุลบ แต่ B และ C มีประจุบวก

281
10. (ต.อ.) ตัวนำทรงกลม A, B, C และ D มีขนาดเท่ากันและเป็นกลางทางไฟฟ้าวางติดกันตามลำดับอยู่บน
ฉนวนไฟฟ้า นำแท่งประจุลบเข้าใกล้ทรงกลม D แล้วแยกออกจากกันทีละลูก โดยเริ่มจาก A ก่อน
จนกระทั่งถึง C หลังจากแยกจากกันแล้ว ประจุที่อยู่บนทรงกลมแต่ละลูกเรียงตามลำดับจะเป็นดังข้อใด

ก. ลบ กลาง ลบ บวก
ข. ลบ บวก บวก บวก
ค. ลบ กลาง กลาง บวก
ง. ลบ ลบ ลบ บวก

282
11. (ต.อ.) เมื่อนำแท่ง X ซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวกเข้ามาใกล้ P4 ดังรูป หลังจากนั้นใช้นิ้วมือแตะ P1 ชั่วขณะหนึ่ง
ถ้านำแท่ง X ออกไป ประจุบนทรงกลมตัวนำแต่ละลูกจะเป็นอย่างไรบ้าง

P1 P2 P3 P4

P1 P2 P3 P4
ก. + - + -
ข. กลาง - + -
ค. - - + -
ง. - - กลาง กลาง

283
12. (Ent 34) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็นกลางทางไฟฟ้า ตั้งอยู่บนฐานที่เป็นฉนวน ถ้านำประจุบวก
ขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน โดยมีระยะห่างจากปลายเท่าๆ ตามลำดับ การกระจาย
ของประจุบนส่วน A ส่วน B และส่วน C ของทรงกระบอกเป็นอย่างไร

ก. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นกลาง


ข. A และ C เป็นกลาง แต่ B เป็นบวก
ค. A และ C เป็นบวก แต่ B เป็นลบ
ง. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นบวก

284
13. (BMAT 2014) Two rods, X and Y, are made from different electrically insulating materials.
A student rubs rod X, which is initially uncharged, with a cloth, then holds it near to rod
Y. The two rods repel each other.
Which statement explains why repulsion occurs in this experiment?
A. Rod X gains electrons from the cloth and rod Y is positively charged.
B. Rod X gains electrons from the cloth and rod Y is uncharged.
C. Rod X gains protons from the cloth and rod Y is negatively charged.
D. Rod X gains protons from the cloth and rod Y is positively charged.
E. Rod X loses electrons to the cloth and rod Y is negatively charged.
F. Rod X loses electrons to the cloth and rod Y is positively charged.
G. Rod X loses protons to the cloth and rod Y is negatively charged.
H. Rod X loses protons to the cloth and rod Y is uncharged.

14. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 51) นำแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์ ซึ่งทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตขึ้น โดยแท่งอำพันเกิด


เป็นประจุไฟฟ้าลบขึ้น ส่วนผ้าขนสัตว์เกิดประจุไฟฟ้าบวกขึ้น ถามว่ามวลของแท่งอำพันและผ้าขนสัตว์
หลังจากการถูให้เกิดไฟฟ้าสถิตจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ก. มวลของทัง้ คู่เพิ่มขึ้น
ข. มวลของทั้งคู่ลดลง
ค. มวลของแท่งอำพันเพิ่มขึ้น ส่วนมวลของผ้าขนสัตว์ลดลง
ง. มวลของแท่งอำพันลดลง ส่วนมวลของผ้าขนสัตว์เพิ่มขึ้น

285
แนวที่ ๒ : ถามเกี่ยวกับแรงไฟฟ้าหรือสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้น

15. (Ent 24) เมื่อเอาแท่งแก้วซึ่งมีประจุไฟฟ้า 4.0 10−6 C เข้าไปไว้ใกล้กับแท่งไม้คอร์กสี่เหลี่ยมหนา 0.5


ซม. ถ้าปลายแท่งแก้วห่างจากไม้คอร์ก 1.0 ซม. และเหนี่ยวนำให้เกิดประจุบนไม้คอร์กด้านที่อยู่ใกล้และ
ไกลแท่งแก้วขนาด 1.0 10−13 C จงหาแรงระหว่างแท่งแก้วและไม้คอร์ก

ก. แรงผลักขนาด 36 10−6 N ข. แรงดึงดูดขนาด 36 10−6 N


ค. แรงผลักขนาด 20 10−6 N ง. แรงดึงดูดขนาด 20 10−6 N

286
16. (Ent 20) หยดน้ำมันหยดหนึ่งที่ตำแหน่ง A มีประจุ −1 μC ลอยอยู่ที่ระยะ 1 เมตร หน้าแผ่นตัวนำเรียบ
การเหนี่ยวนำบนแผ่นตัวนำจะเสมือนมีประจุ +1 μC ที่ตำแหน่งภาพทางแสงของ A (คิดแผ่นตัวนำเป็น
กระจกเงา) สนามไฟฟ้าที่จุด B ชิดแผ่นตัวนำ และห่างจาก A 2 เมตร จะมีค่าเท่าใด

287
อิเล็กโทรสโคป
17. (PAT3 ต.ค. 59) หากนำแผ่นพลาสติกที่ขัดถูด้วยผ้าสักหลาดมาวางใกล้ลูกพิทที่แขวนด้วยเส้นด้ายใน
แนวดิ่ง แล้วพบว่าลูกพิทนี้เบนเข้าหาแผ่นพลาสติกดังรูป ข้อใดถูกต้อง

ก. ประจุบนแผ่นพลาสติกส่งแรงผลัก และแรงดึงดูดต่อประจุบนลูกพิท
ข. ประจุบนแผ่นพลาสติกเป็นชนิดเดียวกันกับประจุบนลูกพิทด้านใกล้แผ่นพลาสติก
ค. จำนวนประจุทั้งหมดของระบบลดลง
ง. เกิดสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำระหว่างลูกพิทกับแผ่นพลาสติก
จ. จำนวนประจุทั้งหมดของระบบเพิ่มขึ้น

288
18. (Ent 29) ถ้าต้องการให้อิเล็กโทรสโคปมีประจุบวก ควรมีขั้นตอนในการกระทำเป็นอย่างไร
(๑) นำวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป
(๒) นำวัตถุที่มีประจุลบเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป
(๓) ต่อสายดินกับจานโลหะของอิเล็กโทรสโคป
(๔) ดึงวัตถุที่มีประจุออก
(๕) ดึงเอาสายดินออก
ก. ๑, ๓, ๔, ๕ ข. ๑, ๓, ๕, ๔
ค. ๒, ๓, ๔, ๕ ง. ๒, ๓, ๕, ๔

289
19. (PAT2 มี.ค. 57) จงลำดับเหตุการณ์ที่ทำให้อิเล็กโทรสโคปที่เป็นกลางทางไฟฟ้า กางออกค้างไว้
(๑) ต่อสายดินเข้ากับอิเล็กโทรสโคป
(๒) เอาสายดินออกจากอิเล็กโทรสโคป
(๓) นำวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป
(๔) นำวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าออกห่างจากอิเล็กโทรสโคป
ก. (๓) → (๑) → (๔) → (๒)
ข. (๓) → (๑) → (๒) → (๔)
ค. (๑) → (๓) → (๔) → (๒)
ง. (๑) → (๓) → (๒) → (๔)

290
20. (PAT3 ธ.ค. 54) จากการทดลองเรื่องไฟฟ้าสถิตในภาพข้างล่างนี้ ข้อสันนิษฐานใด ไม่ถูกต้อง

ก. กรณี A แผ่นโลหะมีความเป็นกลาง และกรณี B วัตถุ X ไม่มีประจุ


ข. กรณี B วัตถุ X ไม่มีประจุ และกรณี C วัตถุ X มีประจุ
ค. กรณี C วัตถุ X มีประจุ และกรณี D วัตถุ X มีประจุชนิดเดียวกับลูกพิธ
ง. กรณี B วัตถุ X ไม่มีประจุ และกรณี D วัตถุ X มีประจุต่างชนิดกับลูกพิธ
จ. กรณี A แผ่นโลหะมีความเป็นกลาง และกรณี C วัตถุ X มีประจุ

291
21. (Ent 39) ข้อความใดบ้างต่อไปนี้เป็นข้อความที่ถูกต้อง
(๑) เมื่อนำวัตถุที่มีประจุลบเข้ามาใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป จะส่งผลให้บริเวณก้านโลหะ
กับแผ่นโลหะบางของอิเล็กโทรสโคปมีประจุบวกเป็นส่วนใหญ่
(๒) บริเวณภายในของตัวนำที่มีประจุ กรณีของทรงกลมกลวง สนามไฟฟ้าจะมีค่าเป็นศูนย์
(๓) สำหรับตัวนำทรงกลมกลวงที่มีประจุ ความต่างศักย์ระหว่าง 2 จุดใดๆ บนผิวทรงกลมมีค่า
เป็นศูนย์
ก. (๑), (๒) และ (๓) ข. (๑) และ (๓)
ค. (๒) และ (๓) ง. คำตอบเป็นอย่างอื่น

292
สมบัติอื่นๆ เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต
22. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 52) ฉนวนที่มีประจุไฟฟ้ากับตัวนำที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
ก. ไม่ออกแรงไฟฟ้ากระทำต่อกัน ข. ออกแรงผลักกันทางไฟฟ้า
ค. ออกแรงดูดกันทางไฟฟ้า ง. ออกแรงดูดหรือผลักกัน แล้วแต่ชนิดของประจุ

23. (มข. 2553) วัตถุมี 4 ชิ้นคือ A B C และ D เมื่อนำวัตถุสองชิ้นเข้ามาใกล้กันเพื่อทดสอบความเป็นประจุ


ไฟฟ้า พบว่า A กับ B ผลักกัน, A กับ C ดูดกัน ส่วน D ดูดกับ B และ D ก็ดูดกับ C ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ไม่
ถูกต้อง
ก. A และ B มีประจุไฟฟ้า
ข. A และ B มีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน
ค. D และ C ทั้งคู่มีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกับ A
ง. D หรือ C ตัวใดตัวหนึ่งมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกับ A

293
24. (Ent 33) ในการทำให้วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบหรือเป็นบวก มีสภาพไฟฟ้าเป็นกลางนั้น จะต้องต่อ
สายดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะข้อใด
ก. โลกมีความต้านทานต่ำ ข. โลกมีความจุไฟฟ้ามาก
ค. โลกมีสนามไฟฟ้าต่ำ ง. โลกมีศักย์ไฟฟ้าเป็นกลาง

25. (PAT3 มี.ค. 55) ในต่างประเทศที่มีอากาศแห้ง บางครั้งพบว่าไฟฟ้าสถิตสามารถทำให้เกิดการลุกไหม้ได้


อยากทราบว่าสมมติฐานข้อใดเป็นไปได้มากที่สุด
ก. ไฟฟ้าสถิตอาจเป็นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่เสริมการลุกไหม้ได้
ข. ไฟฟ้าสถิตอาจทำให้เกิดความร้อนสูงจนสามารถทำให้เชื้อเพลิงเกิดไฟลุกไหม้ได้
ค. ไฟฟ้าสถิตอาจทำให้เกิดก๊าซออกซิเจนปริมาณมาก ทำให้เกิดการลุกไหม้ได้ง่าย
ง. ไฟฟ้าสถิตอาจทำให้เชื้อเพลิงมีประจุมากเกินพอดี จนสามารถระเบิดเป็นการลุกไหม้ได้
จ. มีโอกาสเป็นไปได้ทุกข้อ

294
26. (PAT3 มี.ค. 58) ข้อใดกล่าวผิด
ก. ไฟฟ้าสถิตเกิดจากการที่ประจุบวกและลบบนผิววัตถุไม่เท่ากัน
ข. เมื่อนำวัสดุ 2 ชนิดขัดสีกัน อาจทำให้เกิดการถ่ายเทประจุได้
ค. โลหะที่นำไฟฟ้าได้ จะไม่เกิดไฟฟ้าสถิต
ง. การต่อสายดินเป็นการถ่ายเทประจุลงดิน ช่วยลดปัญหาไฟฟ้าสถิตได้
จ. ร่างกายคนเราเป็นตัวกลางทางไฟฟ้าที่ประจุระหว่างวัสดุ 2 ชนิด ถ่ายเทผ่านได้

295
การคำนวณเกี่ยวกับทรงกลมตัวนำสองลูก
แนวที่ ๑ : ทรงกลมตัวนำมาแตะกัน

27. (Ent 36) ตัวนำรูปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 2r ตามลำดับ ถ้าตัวนำ A มีประจุ
Q และตัวนำ B มีประจุ −2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัวนำ A
Q 2Q Q
ก. −Q ข. − ค. − ง. −
2 3 3

28. (Ent 24) ทรงกลมตัวนำสองลูก ลูกที่หนึ่งรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุไฟฟ้า Q ส่วนลูกที่สองรัศมี 5


เซนติเมตร มีประจุเป็นกลาง เมื่อนำทรงกลมทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออก อัตราส่วนของประจุบนลูก
ที่หนึ่งต่อประจุบนลูกที่สองจะเป็นเท่าใด
ก. 1 ข. 2 ค. 4 ง. 8

29. (มข. 2551) ตัวนำทรงกลม A และ B มีรัศมีเป็น RA และ RB ตามลำดับ (กำหนดให้ RA = 2RB ) ถ้า
โยงตัวนำทรงกลมทั้งสองเข้าด้วยกันด้วยเส้นลวดตัวนำขนาดเล็ก และยาวมากเมื่อเทียบกับรัศมีของทรง
กลมตัวนำทั้งสองนี้

(๑) จงหาอัตราส่วนของศักย์ไฟฟ้าบนตัวนำ A ต่อศักย์ไฟฟ้าบนตัวนำ B


ก. 1: 2 ข. 1:1 ค. 2 :1 ง. 4 :1

(๒) จงหาอัตราส่วนของปริมาณประจุไฟฟ้าบนตัวนำ A ต่อปริมาณประจุไฟฟ้าบนตัวนำ B ว่ามีค่าเท่าไร


ก. 1: 2 ข. 1:1 ค. 2 :1 ง. 4 :1

296
30. (TEDET ม.1 2559) ภาพ (ก) แสดงสภาพการหยุดนิ่งของการแขวนหลอดไฟขนาดใหญ่สองหลอด A และ
B ที่มีขนาดและมวลเท่ากัน โดยแต่ละหลอดมีประจุ +q และ +2q ตามลำดับ โดยแขวนไว้ด้วยด้ายที่
เป็นฉนวนไฟฟ้า เมื่อวาง A ของ (ก) ในสนามไฟฟ้าแสดงลักษณะการหยุดนิ่งในสภาพที่ด้านทำมุม  กับ
เส้นตั้งฉากดังภาพ (ข)

จากข้อความต่อไปนี้ จงเลือกข้อที่อธิบายได้ถูกต้องทั้งหมด

(๑) จากภาพ (ก) แรงที่ A ได้รับจาก B และแรงที่ B ได้รับจาก A เท่ากัน


(๒) จากภาพ (ก) มุมของด้ายที่เป็นฉนวนไฟฟ้าทั้งสองเส้นทำมุมกับเส้นตั้งฉากมีขนาดเท่ากัน
(๓) จากภาพ (ก) หลังจาก A สัมผัสกับ B แล้วแยกจากกัน ถ้านำมาวางไว้ที่สนามไฟฟ้าตามภาพ
(ข) มุมของด้ายที่เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ทำมุมกับเส้นตั้งฉากมีขนาดเล็กลง

ก. (๓) ข. (๑), (๒)


ค. (๑), (๓) ง. (๒), (๓)
จ. (๑), (๒), (๓)

297
31. (สอวน. ส.ค. 60) ทรงกลมตัวนำสองอันรัศมี a และ b แต่ละอันมีประจุ +Q หากนำลวดตัวนำยาวมา
Q b
เชื่อมระหว่างทรงกลมทั้งสอง พบว่าสุดท้ายทรงกลมรัศมี a มีประจุ + จงหาอัตราส่วน
3 a
(ประจุในแต่ละทรงกลม มีการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอทั่วผิวทรงกลม ทั้งก่อนและหลังการเชื่อมต่อ)

32. (Ent ต.ค. 45, ทุนคิง 2554) โลหะทรงกลม A รัศมี r มีประจุ Q มีศักย์ไฟฟ้าเดิมเท่ากับ 4.8 โวลต์
เมื่อนำมาแตะกับตัวนำทรงกลม B รัศมี 2r ที่ไม่มีประจุไฟฟ้า แล้วแยกให้ห่างจากกัน ศักย์ไฟฟ้าของทรง
กลม A จะเป็นกี่โวลต์

298
33. (Ent มี.ค. 48) ทรงกลมโลหะเหมือนกัน 2 ลูก มีประจุ 2.0 10−5 และ −1.0 10−5 คูลอมบ์ มี
ศูนย์กลางห่างกันเป็นระยะทางขนาดหนึ่ง ดูดกันด้วยแรง F1 ต่อมา นำทรงกลมทั้งสองมาสัมผัสกัน แล้ว
F1
แยกกลับไปไว้ยังตำแหน่งเดิม คราวนี้ทรงกลมผลักกันด้วยแรง F2 จงหาค่า
F2

34. (ทุนคิง 2547) ทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน แต่มีประจุ Q1 และ Q2 ไม่เท่ากัน เมื่ออยู่ห่างกัน 1 เมตร


จะมีแรงผลักเท่ากับ F นิวตัน เมื่อนำทรงกลมทั้งสองมาแตะกัน แล้วนำไปวางที่เดิม แรงผลักใหม่เท่ากับ
9F นิวตัน จงหาค่าของ Q1 / Q2

35. (PAT2 ต.ค. 53) ตัวนำทรงกลม A มีรัศมี 12 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟ้าขนาด 360 ไมโครคูลอมบ์
ตัวนำทรงกลม B มีรัศมี 3 เซนติเมตร แต่ยังไม่มีประจุไฟฟ้า เมื่อนำ A มาแตะ B แล้วแยกห่างจากกัน
200 เซนติเมตร แรงไฟฟ้าที่ A กระทำต่อ B มีค่ากี่นิวตัน (ไม่ต้องคิดแรงดึงดูดระหว่างมวลของตัวนำทั้ง
สอง) กำหนดให้ K = 9 109 นิวตันเมตร2ต่อคูลอมบ์

299
36. (PAT2 มี.ค. 56) ตัวนำทรงกลมที่มีประจุไฟฟ้า 3 อันมีรัศมี R1 , R2 และ R3 ตามลำดับ ต่อถึงกันด้วยเส้น
ลวดโลหะ ถ้า R1  R2  R3 เมื่อสมดุล สนามไฟฟ้า E ศักย์ไฟฟ้า V และประจุไฟฟ้าบนตัวนำ Q
สัมพันธ์กันอย่างไร
ก. V1 = V2 = V3 , E1  E2  E3 , Q1  Q2  Q3
ข. V1 = V2 = V3 , E1  E2  E3 , Q1  Q2  Q3
ค. V1  V2  V3 , E1  E2  E3 , Q1 = Q2 = Q3
ง. V1 = V2 = V3 , E1 = E2 = E3 , Q1 = Q2 = Q3

300
แนวที่ ๒ : การเหนี่ยวนำประจุในทรงกลมตัวนำซ้อนกัน

37. (สอวน. ม.4 ส.ค. 57)

301
38. (สอวน. ม.5 ส.ค. 57)

302
39. (Ent มี.ค. 47) ทรงกลมโลหะกลวงสองใบ มีผิวบางมาก มีรัศมี 2 และ 4 เซนติเมตร มีจุดศูนย์กลาง
ร่วมกัน ทรงกลมอันนอกต่อกับดินซึ่งถือว่าศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ ทรงกลมอันในมีประจุบวกอยู่ 0.2 นาโน
คูลอมบ์ ถามว่าที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์ ถ้าระบบทั้งหมดอยู่ในสุญญากาศ

303
40. (ทุนญี่ปุ่น 2009) A charge Q is placed at the center of a spherical-shell conductor as in
figure below. Both the radius of the inner shell and the thickness of the conductor are R
. Which of the following is correct?

(a) A charge of amount −Q is distributed uniformly on the inner surface of the conductor.
(b) A charge of amount −Q is distributed uniformly on the outer surface of the conductor.
(c) A charge of amount Q is distributed uniformly on the inner surface of the conductor.
(d) A charge of amount Q is distributed uniformly on the inner surface of the conductor.
(e) A charge of amount −Q / 2 is distributed uniformly both on the inner and outer surface
of the conductor.
(f) A charge of amount Q / 2 is distributed uniformly both on the inner and outer surface
of the conductor.
(g) A charge of amount −Q and Q is distributed uniformly on the inner and outer surface
of the conductor, respectively.
(h) A charge of amount Q and −Q is distributed uniformly on the inner and outer surface
of the conductor, respectively.
(i) No charge appears in the conductor.

304
41. (EJU-1 2019) As shown in the figure below, a spherical conductor with a positive electric
charge of q is concentrically placed inside the cavity of an uncharged hollow spherical
conductor (spherical conducting shell). Due to electrostatic induction, a charge of −q
develops on the inner surface of the spherical conducting shell, and a charge of q
develops on the shell’s outer surface. The figure below shows a cross-section that
includes the center.

From (a)-(f) below choose the figure that best represents the electric lines of force within
the cross-section including the center.

(a) (b) (c)

(d) (e) (f)

305
42. (EJU-1 2010) A positive point charge is placed at center point O of an uncharged hollow
metal sphere. The figure below presents a cross-sectional view of the sphere, and plots
an x − axis using O as the origin.

From (a)-(e) below choose the graph that best represents the change in electric potential
V along the x − axis.

(a) (b)

(c) (d)

(e)

306
ตัวเก็บประจุ
แนวที่ ๑ : นิยามความจุไฟฟ้า

43. (Ent ต.ค. 45) ตัวเก็บประจุ C ต่อกับเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าดังรูป ถ้าเครื่องนี้ให้กระแสคงที่ I เท่ากับ


0.2 มิลลิแอมแปร์ ในช่วงเวลา 0.5 วินาที พบว่าความต่างศักย์บนตัวเก็บประจุนี้เพิ่มขึ้นจาก 0 V เป็น
10 V ตัวเก็บประจุมีความจุเท่าไร
ก. 1000 μF
ข. 100 μF
ค. 10 μF
ง. 1 μF

307
แนวที่ ๒ : พลังงานที่สะสมในตัวเก็บประจุ

44. (PAT2 เม.ย. 57) ถ้าตัวเก็บประจุตัวที่หนึ่งมีค่าความจุน้อยกว่าตัวเก็บประจุตัวที่สอง ข้อใดกล่าวถูกต้อง


ก. ตัวเก็บประจุตัวที่หนึ่ง เก็บประจุ ได้น้อยกว่าตัวเก็บประจุตัวที่สอง
ข. ตัวเก็บประจุตัวที่หนึ่ง เก็บพลังงาน ได้น้อยกว่าตัวเก็บประจุตัวที่สอง
ค. ตัวเก็บประจุตัวที่หนึ่ง มีความต่างศักย์ ได้น้อยกว่าตัวเก็บประจุตัวที่สอง
ง. ไม่มีข้อใดถูก

1
45. (PAT2 เม.ย. 57) พลังงานในตัวเก็บประจุ คือ QV มีความหมายตามข้อใด
2
ก. งานที่ต้องทำเพื่อให้ตัวเก็บประจุมีประจุ Q และความต่างศักย์ V
Q
ข. งานที่ต้องทำเพื่อให้ตัวเก็บประจุมีประจุ และความต่างศักย์ V
2
V
ค. งานที่ต้องทำเพื่อให้ตัวเก็บประจุมีประจุ Q และความต่างศักย์
2
Q V
ง. งานที่ต้องทำเพื่อให้ตัวเก็บประจุมีประจุ และความต่างศักย์
2 2

308
46. (PAT3 มี.ค. 60) ระหว่างแผ่นของตัวเก็บประจุขนาด 40 μF มีความต่างศักย์ 250 V จงหาพลังงาน
สะสมในตัวเก็บประจุ
ก. 1.25 J ข. 2.50 J ค. 5.00 J ง. 125 J จ. 250 J

47. (PAT3 มี.ค. 57) พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุไฟฟ้าของวงจรนี้รวมทั้งหมดกี่มิลลิจูล

309
ตัวเก็บประจุรูปแบบต่างๆ
แนวที่ ๑ : ตัวเก็บประจุรูปทรงต่างๆ

48. (ทุนญี่ปุ่น 2016) A parallel-plate capacitor with a plate separation d has a capacitance C .
The capacitance is charged to Q and then disconnected from the battery as shown in
figure below. Find the electric field between the plates.

Q Q
(a) (b) (c) Cd
C Cd
C Q Q
(d) (e) (f)
d d Cd

310
49. (PAT2 พ.ย. 58) ต่อตัวเก็บประจุชนิดแผ่นตัวนำขนานกับแบตเตอรี่ ถ้าทำให้ระยะห่างระหว่างแผ่น
ตัวนำเป็น 2 เท่าของเดิม โดยยังคงต่อกับแบตเตอรี่ตลอดเวลา ความต่างศักย์ของแผ่นตัวนำและ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุจะเป็นเช่นใด
ก. ความต่างศักย์เท่าเดิม พลังงานเพิ่มเป็น 2 เท่า
ข. ความต่างศักย์เท่าเดิม พลังงานลดลงครึ่งหนึ่ง
ค. ความต่างศักย์ลดลงครึ่งหนึ่ง พลังงานเพิ่มเป็น 2 เท่า
ง. ความต่างศักย์ลดลงครึ่งหนึ่ง พลังงานลดลงครึ่งหนึ่ง
จ. ความต่างศักย์เพิ่มเป็น 2 เท่า พลังงานเพิ่มเป็น 2 เท่า

50. (PAT3 ต.ค. 53) ตัวเก็บประจุถูกสร้างจากแผ่นตัวนำ 2 ชิ้น แต่ละชิ้นมีขนาด A  A ตารางหน่วย ซึ่ง


แผ่นตัวนำทั้งสองวางห่างกันเป็นระยะ d หน่วย วัดค่าความจุได้เท่ากับ C ฟารัด ถ้าสร้างตัวเก็บประจุ
จากแผ่นตัวนำชนิดเดิมแต่ละชิ้นขนาด 2 A  2 A ตารางหน่วย ที่วางห่างกันเป็นระยะ d หน่วย ตัวเก็บ
ประจุนี้จะมีค่าความจุเท่ากับเท่าใด
ก. C / 4 ฟารัด ข. C / 2 ฟารัด
ค. 2C ฟารัด ง. 4C ฟารัด
จ. 8C ฟารัด

311
51. (ทุนญี่ปุ่น 2008) An electric charge Q is stored in a parallel-plate capacitor with capacitance
C . The distance between the plates in this capacitor is tripled, keeping the electric charge
unchanged. How much work is done from outside in this process?
1 1
(a) 3CQ (b) 2CQ (c) CQ (d) CQ (e) CQ
2 3
3Q 2 2Q 2 Q2 Q2 Q2
(f) (g) (h) (i) (j)
C C C 2C 3C

312
52. (ทุนญี่ปุ่น 2020) A parallel-plate capacitor has plates of area S and separation d and is
charged to a potential difference V . The charging battery is then disconnected, and the
plates are pulled apart until their distance becomes d + d . The vacuum permittivity is
denoted as  0 . Find the work required to separate the plates.
V 2d V 2d  0 SV
(a) d (b) d (c) d
0S 2 0 S d2
 0 SV
(e)  0 SV2 d (f)  0 SV2 d
2 2
(d) d
2d 2 d 2d

313
53. (สอวน. ม.5 ส.ค. 48) ตัวเก็บประจุแบบแผ่นขนานพื้นที่ A ห่างกัน D ซึง่ D A ดังรูป ก. มีค่า
0 A
ความจุ C= ตัวเก็บประจุรูปทรงกระบอกยาว L รัศมีกระบอกในเป็น R1 รัศมีกระบอกนอกเป็น
D
R2ซึง่ ( R2 − R1 )
R1 และ ( R2 − R1 ) L เมื่อนำไปต่อกับแหล่งกำเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า  จะมี
ประจุบนแต่ละกระบอกมีขนาดเท่าใด

314
แนวที่ ๒ : ตัวเก็บประจุแบบทรงกลม

54. (สอวน. ม.4 มี.ค. 50) จงหาความจุไฟฟ้าของเปลือกทรงกลมตัวนำซ้อนกันโดยที่จุดศูนย์กลางของทรง


กลมทั้งสองอยู่ที่เดียวกัน เปลือกทรงกลมลูกในมีรัศมีภายนอก a ส่วนเปลือกทรงกลมลูกนอกมีรัศมี
ภายใน b บริเวณระหว่างเปลือกทรงกลมเป็นสุญญากาศ

55. (Ent 31) โลหะทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร มีความจุไฟฟ้าเท่าใดในหน่วย pF (pico farad)


ก. 11 ข. 22 ค. 90 ง. 100

315
56. (PAT2 มี.ค. 52) ตัวนำทรงกลมมีรัศมีเท่ากับ R และมีประจุเท่ากับ Q พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
ตัวนำทรงกลมเท่ากับ E0 ถ้าประจุบนตัวนำเพิ่มขึ้นเป็น 2Q พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุนี้มีค่าเท่าใด
ก. 0.5E0 ข. 2E0 ค. 4E0 ง. 8E0

57. (ทุนคิง 2550) จงแสดงว่าพลังงานศักย์ที่สะสมในระบบประจุที่มี 3 ประจุ คือ Q1 , Q2 และ Q3 มีค่า


1
เป็น U= ( QV
1 1 + Q2V2 + Q3V3 )
2
เมื่อ Vi เป็นศักย์ไฟฟ้าที่ประจุ Qi เนื่องมาจากประจุอื่นอีก 2 ประจุ

316
แนวที่ ๓ : หาแรงดึงดูดระหว่างแผ่นคู่ขนาน

58. (สอวน. ม.5 ก.ย. 49, สอวน. ม.4 มี.ค. 48) ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนานรูปวงกลมรัศมี R ห่างกัน D
ต่ออยู่กับเซลล์แรงเคลื่อนไฟฟ้า V นั้นแผ่นทั้งสองดูดกันด้วยแรงเท่าใด
0 A q1q2
คำแนะนำ ความจุ C= ,  0 เป็นค่าคงที่ในกฎของคูลอมบ์ f =
D 4 0 r 2

317

You might also like