You are on page 1of 69

พารทวิชาความถนัดแพทย์

1
Part :
ความสามารถด้านคิดค�ำนวณ และเชาว์ปญ
ั ญา

โดย
พี่แท็ป ภาคภูมิ อร่ามวารีกุล

ลักษณะข้อสอบ
ข้อสอบฉบับที่ 1 พาร์ทความสามารถในการค�ำนวณ เชาว์ปัญญา การจับใจ
ความ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ลักษณะข้อสอบ เป็นแบบปรนัย 5 ตัวเลือก จ�ำนวนข้อ 45 ข้อ ให้เวลา 75 นาที
ข้อสอบจะมีทงั้ การค�ำนวณแนวคณิตศาสตร์, อนุกรม, การดูรปู ทีส่ มั พันธ์กนั (ค�ำนวณ
และเชาวน์ปญ ั ญา) และแนวภาษาไทย (จับใจความ) ซึง่ เป็นการอ่านบทความยาวๆ
แล้วมาวิเคราะห์ ตั้งชื่อบทความ อ่านเพื่อจับใจความส�ำคัญ หรือเจตนาของผู้แต่ง
โดยส่วนมากน้องที่สอบจะท�ำพาร์ทนี้ไม่ค่อยทัน (เฉลี่ย 1.5 นาทีต่อข้อ) ดังนั้น
การเตรียมตัวสอบส�ำหรับพาร์ทนี้ ต้องฝึกท�ำโจทย์เยอะๆ เพือ่ ให้เกิดความช�ำนาญ
และต้องมีเทคนิคในการท�ำแต่ละข้อเพือ่ ให้ทนั เวลาทีก่ ำ� หนด พาร์ทนีเ้ ป็นพาร์ทที่
***ยากที่สุด***

2
ความถนัดแพทย์ ส�ำคัญอย่างไร???

การสอบเข้าคณะแพทยศาสตร์ จะต้องใช้
1. ความถนัดแพทย์ 30 %
2. วิชาสามัญ 70 %
– คณิตศาสตร์ 1 ให้น�้ำหนัก 14%
– ภาษาอังกฤษ ให้น�้ำหนัก 14%
– ฟิสิกส์ ให้น�้ำหนัก 9.33%
– เคมี ให้น�้ำหนัก 9.33%
– ชีววิทยา ให้น�้ำหนัก 9.33%
– ภาษาไทย ให้น�้ำหนัก 7%
– สังคมศึกษา ให้น�้ำหนัก 7%
3. คะแนน O-NET 5 วิชาหลักรวมกันต้องได้ตั้งแต่ 60 % ขึ้นไป
ซึ่งคิดรวมแล้ว วิชาความถนัดแพทย์คิดเป็นเปอร์เซ็นต์สูงสุด เมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ

ความถนัดแพทย์ต้องสอบอะไรบ้าง???
มีข้อสอบทั้งหมด 3 part
Part1 ความสามารถด้านคิดค�ำนวณและเชาวน์ปัญญา การจับใจความ คิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ(10%)
Part2 การเชื่อมโยงความเป็นเหตุเป็นผล (10%)
Part3 จริยธรรมทางการแพทย์ (10%)

3
ความถนัดแพทย์ part คณิตศาสตร์และเชาวน์ปัญญา
ลักษณะข้อสอบ
จ�ำนวนข้อสอบ : 30-35 ข้อ จาก 45 ข้อ (ปรนัย 5 ตัวเลือก)
เวลา : 75 นาที (เฉลี่ยข้อละ 1 นาที 30 วินาที)

แนวข้อสอบ
อนุกรม
• อนุกรมตัวเลข
• อนุกรมผสมตัวอักษร คณิตศาสตร์พื้นฐาน
• เปอร์เซ็นต์ (ร้อยละ) อัตราส่วน
เชาวน์ปัญญา • พื้นที่และปริมาตร
• หาตัวที่หายไปหรือตัวถัดไป • อายุ เวลา
• หาอะไรต่างจากพวก • การทำ�งาน (Man-Day)
• วิเคราะห์เงื่อนไข • สถิติและกราฟ
• การวิเคราะห์ความเพียงพอของข้อมูล • ความน่าจะเป็น
มิติสัมพันธ์ • โจทย์ปัญหา(สมการเงื่อนไข)
• หารูปที่หายไปหรือรูปถัดไป • เซต
• อุปมาอุปไมยเชิงรูปภาพ
• การมองลูกเต๋าหรือภาพสามมิติ

จุดเด่นปีล่าสุด
1. ไม่มีออกอนุกรมเลย !!!
2. วิเคราะห์เงื่อนไขมีหลายข้อมากขึ้น
การเตรียมตัวสอบ
1. การฝึกบ่อยๆให้ช�ำนาญ
2. การมีเทคนิคและบริหารเวลาในการท�ำข้อสอบ
จากค�ำบอกกล่าวของรุ่นพี่หลายๆรุ่น ข้อสอบ part นี้ ยากที่สุด

4
ตัวอย่างแนวข้อสอบ

1. 1 1 3 3 7 9 13 ?

1. 15

2. 19

3. 23

4. 27

5. 31

2.

QW EW RT ?

1. QT

2. RW

3. ET

4. QR

5. QW

5
3. มีคน 7 คน คือ A B C D E F และ G แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 มี 4 คน
กลุ่มที่ 2 มี 3 คน โดยมีเงื่อนไข
1) A ไม่อยู่กับ E และ F
2) G จะอยู่กับ B
3) A อยู่กลุ่ม 1 ก็ต่อเมื่อ C อยู่กลุ่ม 2
ถ้า B อยู่กลุ่ม 1 ข้อใดถูกต้อง
1. G อยู่กลุ่ม 2
2. G และ B อยู่คนละกลุ่มกัน
3. C อยู่กลุ่ม 1 เสมอ
4. A อยู่กลุ่ม 1
5. E และ F อยู่คนละกลุ่มกัน

6
4. สมศักดิ์มีเงินน้อยกว่า 2 เท่าของสมชายอยู่ 1,000 บาท สมศักดิ์ สมชาย และ
สมลักษณ์มีเงินรวมกันเท่ากับเท่าใด
(ก) สองเท่าของเงินของสมลักษณ์รวมกับสามเท่าของเงินของสมศักดิ์เท่ากับ 600 บาท
(ข) สมลักษณ์มีเงินมากกว่า 3 เท่าของสมศักดิ์อยู่ 1,000 บาท
ข้อใดถูกต้อง
1. ใช้เงื่อนไข (ก) เพียงข้อเดียวก็เพียงพอในการหาค�ำตอบ
2. ใช้เงื่อนไข (ข) เพียงข้อเดียวก็เพียงพอในการหาค�ำตอบ
3. ใช้เงื่อนไข (ก) หรือ (ข) เพียงข้อใดข้อหนึ่งก็เพียงพอในการหาค�ำตอบ
4. ต้องใช้ทั้งเงื่อนไข (ก) และ (ข) จึงเพียงพอในการหาค�ำตอบ
5. ใช้ทั้งเงื่อนไข (ก) และ (ข) ยังไม่เพียงพอในการหาค�ำตอบ

7
5.


1. 2. 3.


4. 5.

6.

1. 2. 3.

4. 5.

8
7. เค้กเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร ต้องการตัดเค้กแบ่งให้มี
จ�ำนวนครั้งของการตัดมากที่สุด โดยการตัดแต่ละครั้งต้องท�ำให้เค้กที่แบ่งได้
มีปริมาตรเท่ากันทุกชิ้น จงหาว่าเค้กชิ้นเล็กที่สุดที่ตัดได้มีปริมาตรเท่าใด
1. 25r ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. 50r ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 100r ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. 125r ลูกบาศก์เซนติเมตร
5. 250r ลูกบาศก์เซนติเมตร

8. ระยะทาง 600 กิโลเมตร A ใช้เวลาขับรถน้อยกว่า B อยู่ 2 ชั่วโมง


ถ้า B ขับรถช้ากว่า A 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แล้ว B ขับรถด้วยความเร็วเท่าใด
1. 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
2. 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
3. 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4. 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
5. 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

9
เนื้อหาคณิตศาสตร์วิชาสามัญ
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
- แคลคูลัส - ความน่าจะเป็น - แคลคูลัส -ล�ำดับและอนุกรม - สถิติ
- ความน่าจะเป็น - ระบบจ�ำนวนจริง
- ความน่าจะเป็น - แคลคูลัส - ล�ำดับและอนุกรม - ความน่าจะเป็น - แคลคูลัส
- ล�ำดับและอนุกรม - ฟังก์ชันเอก - ฟังก์ชันเอกโพเนน - สถิติ
- ฟังก์ชันเอก โพเนนเชียล เชียลและลอการิทึม - จ�ำนวนเชิงซ้อน
โพเนนเชียลและ และลอการิทึม - สถิติ - เมทริกซ์
ลอการิทึม - ทฤษฎีจ�ำนวน - ระบบจ�ำนวนจริง
- สถิติ
- เมทริกซ์
- เวกเตอร์ - ล�ำดับและอนุกรม - จ�ำนวนเชิงซ้อน - แคลคูลัส - ล�ำดับและอนุกรม
- ทฤษฎีจ�ำนวน - จ�ำนวนเชิงซ้อน - เมทริกซ์ - ฟังก์ชันเอก - เมทริกซ์
- ระบบจ�ำนวนจริง - เวกเตอร์ โพเนนเชียลและ
- ฟังก์ชันตรีโกณมิติ - ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ลอการิทึม
- เวกเตอร์
- ทฤษฎีจ�ำนวน
- จ�ำนวนเชิงซ้อน - สถิติ - ระบบจ�ำนวนจริง - ฟังก์ชันตรีโกณมิติ - ฟังก์ชนั เอกโพเนน
- เรขาคณิตวิเคราะห์ - เวกเตอร์ - เรขาคณิตวิเคราะห์ เชียลและลอการิทึม
และภาคตัดกรวย - ฟังก์ชันตรีโกณมิติ และภาคตัดกรวย - ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
- เมทริกซ์ - จ�ำนวนเชิงซ้อน
- ระบบจ�ำนวนจริง - เวกเตอร์
- ทฤษฎีจ�ำนวน
- เรขาคณิตวิเคราะห์
และภาคตัดกรวย
- ความน่าจะเป็น
- ทฤษฎีจ�ำนวน
- เรขาคณิตวิเคราะห์
และภาคตัดกรวย

10
Part :
เชือ่ มโยงความเป็นเหตุเป็นผล

โดย
พี่เต๋อ สาธร อุพันวัน

ลักษณะข้อสอบ
ข้อสอบฉบับที่ 3 พาร์ทเชื่อมโยงความเป็นเหตุเป็นผล
ลักษณะข้อสอบ เป็นแบบอัตนัย (แต่ใช้การฝนรหัส) ข้อสอบจะมีบทความให้อ่าน
และก�ำหนดข้อความรหัสมาให้ โดยจะเป็นบทความยาว 2 - 3 หน้ากระดาษ
และมีข้อความรหัส ข้อสอบมี 1 บทความ 20 ค�ำเชื่อมโยง การคิดคะแนนจะ
เหมือนกับการสอบ GAT เชื่อมโยง โดยให้เวลา 75 นาที เป็นการทดสอบทักษะ
ในการอ่านบทความและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อความที่โจทย์ก�ำหนดได้
อย่างถูกต้อง ข้อสอบพาร์ทนีเ้ ป็นส่วนทีส่ ามารถท�ำคะแนนได้งา่ ย ถ้าท�ำได้เต็มก็จะ
ช่วยเพิ่มโอกาสมากขึ้น แต่ถ้าพลาดก็พลาดไปเลย ความต่างของคะแนนค่อนข้าง
สูง ทั้งนี้เพราะข้อสอบจะมีการหักคะแนนเมื่อตอบผิด ดังนั้นผู้ที่สอบอาจมีสิทธิได้
คะแนนตํ่าสุดคือ 0 คะแนนหรือสูงสุดอาจได้คะแนนเต็ม ดังนั้นน้องต้องมีเทคนิค
ในการท�ำ และอ่านอย่างมีสติ เพื่อไม่ให้เสียคะแนนในส่วนนี้ไป

11
Update ข้อมูลล่าสุด
คะแนนต่าํ สุด คณะแพทยศาสตร ปการศึกษา 2559
ล�าดับ คณะ/สถาบัน คะแนนต่�าสุด
1 คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 69.3922
2 คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 67.3750
3 คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 65.9556
4 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 63.8756
5 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 63.3253
6 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 62.4500
7 วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา (หญิง) 61.6360
8 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 61.3922
9 คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 61.1480
10 วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา (ชาย) 60.7462

คะแนนต่าํ สุด คณะทันตแพทยศาสตร ปการศึกษา 2559


ล�าดับ คณะ/สถาบัน คะแนนต่�าสุด
1 คณะทันตแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 65.2483
2 คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 62.5024
3 คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 61.5578
4 คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 61.2083
6 คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 60.5139
5 คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 60.2561
7 คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 59.5711

12
คะแนนต่าํ สุด คณะสัตวแพทยศาสตร ปการศึกษา 2559
ล�าดับ คณะ/สถาบัน คะแนนต่�าสุด
1 คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 54.7454
2 คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 54.4400
3 คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 53.8526
4 คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 53.6611
5 คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 53.3336
6 คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 48.7974

สถิตคิ ะแนนสอบวิชา ความถนัดแพทย Part เชื่อมโยง


คะแนนเต็ม
ปี 57 ปี 58 ปี 59
(100)
สูงสุด 100 100 100
ต่�ำสุด 0.0000 0.0000 0.0000
เฉลีย่ 70.8823 72.0785 80.1563
S.D. 22.9718 23.6503 15.9126

13
ความแตกต่าง : GAT เชื่อมโยง กับ ความถนัดแพทย์ เชื่อมโยง
GAT เชืเชื่อ่อมโยง
GAT มโยง ความถนัดแพทย
ความถนั ดแพทยพาร Part เชื่อ่อมโยง
ท เชื มโยง
 ขขออสอบมี
 สอบมี 22 บทความ บทความ (บทความละ
(10 คําเชื่อมโยง)
10 ขอ) ปขลอาสุสอบมี
ด(‘57)1 ขบทความ
อสอบมี 1(20บทความคําเชื่อมโยง)
( 20 ขอ)
 ใหใหเเวลา
 วลา 11 ชัชัววโมง
โมง30
30 นาที
นาที ใหใหเวลา
เวลา1 1ชัวชัโมง
วโมง1515นาที
นาที
 **มี
 **มีตตัวัวหนาในบทความมาให
หนาในบทความมาให**** **ไม
**ไมมีตมัวีตหนาในบทความมาให
วั หนาในบทความมาให****
 **คํ
 **คําาทีที่กก่ ําําหนดมาให
หนดมาใหเเหมื
หมืออนกั
นกับบในบทความ**
ในบทความ** **คําทีา่กทีําก่ หนดมาให
**คํ ําหนดมาใหไมไเมหมื
เหมือนกั
อนกับบในบทความ**
ในบทความ**

ตารางรหัสข้อสอบจริงปี 57 ความถนัดแพทย์ พาร์ท เชื่อมโยง


เลข มีค�านี้ใน เลข มีค�านี้ใน

ก�ากับ
ข้อความที่ก�าหนด บทความ
ก�ากับ
ข้อความที่ก�าหนด บทความ
หรือ ไม่ หรือ ไม่

01 สาระส�าคัญ โอบามาแคร์ ไม่มี 11 ชนชั้นกลาง มี


02 เด็กใช้ประกันของพ่อแม่ได้จนถึงอายุ26 ปี ไม่มี 12 รีพับลิกันเป็นฝายค้านยาวนาน ไม่มี
03 ผู้ทุพพลภาพได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ ไม่มี 13 การเสนอ Anti Obamacare ผูกกับ
มี
04 อายุมากกว่า 65 ได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ ไม่มี งบประมาณ
05 ราคาประกันสุขภาพเดียวกัน ไม่มี 14 โอบามาไม่ลงนาม ไม่มี

06 ไม่ปฎิเสธคนที่มีปัญหาสุขภาพ ไม่มี 15 ปฏิรูปประกันสุขภาพครั้งใหญ่ ไม่มี

07 ภาคธุรกิจที่สนับสนุนรีพับลิกันเสียประโยชน์ ไม่มี 16 สร้างประวัติศาสตร์ยิ่งใหญ่ให้ตนเอง มี

08 แย่งฐานเสียงของพรรครีพบั ลิกัน ไม่มี 17 กฎหมายงบประมาณไม่ผ่าน ไม่มี

09 ขัดอุดมการณ์พรรค มี 18 Government Shutdown มี

10 คนผิวขาวฐานะยากจน มี 19 พนักงานข้าราชการจ�านวนมากต้องพักงาน ไม่มี


20 สูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยว ไม่มี

ค�าในตารางกับค�าในบทความ ไม่เ หมือนกัน


ค�าในตาราง ค�าในบทความ
สาระส�าคัญ โอบามาแคร์ กฎหมำยประกันสุขภำพโอบำมำแคร์
เด็กใช้ประกันของพ่อแม่ได้จนถึงอายุ26 ปี บุตรได้รับสิทธิประโยชน์ตำมกรมธรรม์ประกันสุขภำพของบิดำมำรดำได้จนอำยุถึง 26 ปี
ผู้ทุพพลภาพได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ ชาวอเมริกันที่เปนผูทุพพลภาพและผูสูงวัยที่มีอายุตั้งแต 65 ปขึ้นไปจะตองไดรับประกัน
อายุมากกว่า 65 ได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ สุขภาพ จากรัฐบาล
ราคาประกันสุขภาพเดียวกัน บริษัทประกันขำยประกันสุขภำพในรำคำเดียวโดยไม่แบ่งแยก
ไม่ปฎิเสธคนที่มีปัญหาสุขภาพ กำรห้ำมบริษัทประกันปฏิเสธรับท�ำประกันแก่ผู้ที่มีปัญหำสุขภำพอยู่ก่อนแล้ว
ภาคธุรกิจที่สนับสนุนรีพับลิกันเสียประโยชน์ ภำคเอกชนที่สนั บสนุนพรรคต้องสู ญเสียรำยได้
แย่งฐานเสียงของพรรครีพบั ลิกัน ถูกแย่งฐำนเสียง
รีพับลิกันเป็นฝายค้านยาวนาน พรรครีพับลิกันตองเปนฝายคานอีกสมัย
พนักงานข้าราชการจ�านวนมากต้องพักงาน ลูกจางรัฐบาลกลางกวา 700,000 คน ยังคงตองถูกพักงานโดยไมไดรับ คาตอบแทน

14
ตารางรหัสข้อสอบจริงปี 58 ความถนัดแพทย์ พาร์ท เชื่อมโยง
เลข มีค�านี้ใน เลข มีค�านี้ใน

ก�ากับ
ข้อความที่ก�าหนด บทความ
ก�ากับ
ข้อความที่ก�าหนด บทความ
หรือ ไม่ หรือ ไม่

01 ประเด็นหลักเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ ไม่มี 11 การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม มี


02 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ มี 12 โรคมะเร็ง มี

03 ปัจจัยเสี่ยง มี 13 โรคปอดเรื้อรัง ไม่มี


04 ความส�าคัญของปัญหา มี 14 โรคเบาหวานและโรคอ้วน มี
05 นโยบายและแนวทางปฏิบัติ ไม่มี 15 โรคหัวใจและหลอดเลือด มี
06 เสียชีวิตก่อนวัย อันควร ไม่มี 16 จ�ากัดโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่มี
07 ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น ไม่มี 17 ห้ามโฆษณาบุหรี่ ไม่มี
08 การสูบบุหรี่ มี 18 การลดการบริโภคไขมันทรานส์ ไม่มี
09 การดื่มสุรา มี 19 การลดการบริโภคเกลือ ไม่มี
10 กิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ มี 20 รณรงค์กิจกรรมทางกาย ไม่มี

ค�าในตารางกับค�าในบทความ ไม่เ หมือนกัน


ค�าในตาราง ค�าในบทความ
ประเด็นหลักเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ ประเด็นส�ำคัญเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ
นโยบายและแนวทางปฏิบัติ นโยบำยและแนวทำงปฏิบัติกำรร่วมกัน
เสียชีวิตก่อนวัย อันควร กำรตำยก่อนวัยอันควร
ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น ค่ำใช้จ่ำยในกำรรักษำที่เพิ่มมำกขึ้น
โรคปอดเรื้อรัง โรคถุงลมโป่งพอง
จ�ากัดโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กำรควบคุมกำรโฆษณำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ห้ามโฆษณาบุหรี่ กำรห้ำมโฆษณำและส่งเสริมกำรขำยบุหรี่
การลดการบริโภคไขมันทรานส์
กำรลดกำรทำนไขมันและเกลือ
การลดการบริโภคเกลือ
รณรงค์กิจกรรมทางกาย กำรรณรงค์สำธำรณะเพื่อส่งเสริมกำรมีกิจกรรมทำงกำย

15
ตารางรหัสข้อสอบจริงปี 59 ความถนัดแพทย์ พาร์ท เชื่อมโยง
มีค�านี้ใน มีค�านี้ใน
เลข เลข
ก�ากับ
ข้อความที่ก�าหนด บทความ
ก�ากับ
ข้อความที่ก�าหนด บทความ
หรือไม่ หรือไม่

01 การด�าเนินชีวิตของคนบางประเภท ไม่มี 11 ครบ 5 หมู่ มี


02 บุหรี่ มี 12 ไม่มากเกินไป ไม่มี
03 สุรา มี 13 ไม่น้อยเกินไป ไม่มี
04 ยาเสพติด มี 14 เหมาะสมกับวัย ไม่มี
05 เสพสิ่งท�าลายสุขภาพ ไม่มี 15 ออกก�าลังกายอย่างถูกต้อง มี
06 บริโภคอาหารไม่เหมาะสม ไม่มี 16 ควบคุมน้�าหนักให้เหมาะสม มี
07 ไม่ออกก�าลังกาย ไม่มี 17 ไม่สูงกว่าเกณฑ์ ไม่มี
08 คลีนฟูด มี 18 ไม่ต่�ากว่าเกณฑ์ ไม่มี
09 ปราศจากเชื้อโรค ไม่มี 19 สุขภาพแข็งแรง ไม่มี
10 ไม่มีสารเคมี ไม่มี 20 ไม่เจ็บปวยง่าย ไม่มี

ค�าในตารางกับค�าในบทความ ไม่เหมือนกัน
ค�าในตาราง ค�าในบทความ
การด�าเนินชีวิตของคนบางประเภท กำรด�ำเนินชีวิตของคนบำงกลุ่ม
เสพสิ่งท�าลายสุขภาพ เสพสิ่งที่ไม่เหมำะสม
ปราศจากเชื้อโรค ไม่ปนเปอนเชื้อโรค
ไม่มีสารเคมี ไม่ปนเปอนสำรเคมี
ไม่มากเกินไป
ไม่มำกหรือน้อยเกินไป
ไม่น้อยเกินไป
ไม่สูงกว่าเกณฑ์
ไม่เกินและไม่ต่�ำกว่ำมำตรฐำน
ไม่ต่�ากว่าเกณฑ์
สุขภาพแข็งแรง
เป้ำหมำยของกลุ่มคนรักสุขภำพ
ไม่เจ็บปวยง่าย

สรุปสถิติ ค�าที่ไม่เหมือนกันในบทความ
ปีที่สอบ ค�าในตารางมีทั้งหมด 20 ค�า
ปี 2557 มี 14 ค�ำที่ไม่เหมือน

ปี 2558 มี 10 ค�ำที่ไม่เหมือน

ปี 2559 มี 13 ค�ำที่ไม่เหมือน

16
• สัญลักษณ์การเชื่อมโยง
1. การเชื่อมโยงแบบทางตรง
• สัญลักษณ์ที่ใช้ :
• ค�ำหลักที่พบ : 1) ท�ำให้เกิด, น�ำมาซึ่ง, เป็นผลให้
2) มาจาก, เพราะ
• หัวใจของสัญลักษณ์ทางตรง : เกิดก่อน ไปเกิดหลัง

ตัวอย่าง
1) การบ้านไม่เสร็จ(01) ท�ำให้ต้อง ไปโรงเรียนแต่เช้า(02)

2) ไม่มีสมาธิในการเรียน(01) เป็นผลมาจากนั่งเพ้อคิดถึงเธอ(02)

2. การเชื่อมโยงแบบองค์ประกอบ
• สัญลักษณ์ที่ใช้ :
• ค�ำหลักที่พบ : 1) ได้แก่, คือ, เช่น
2) ประกอบด้วย....อย่าง, ชนิด, ประเภท
• หัวใจของสัญลักษณ์องค์ประกอบ : ให้มีจุดหมายปลายทางที่ตัวลูกทุกครั้ง

ตัวอย่าง
1) เพื่อนร่วมชั้นเรียน(01) ได้แก่ เด็กเนิร์ด(02) เด็กกิจกรรม(03) เด็กซุ่ม(04)

2) อายุรแพทย์(01) เป็นหนึง่ ใน สาขาอาชีพแพทย์(02) ทีม่ คี วามส�ำคัญมากๆ

17
3. การเชื่อมโยงแบบยับยั้ง
• สัญลักษณ์ที่ใช้
• ค�ำหลักที่พบ : 1) ยับยั้ง, บั่นทอน, แก้ไข, รักษา, ป้องกัน
2) ท�ำให้.....ลดลง, น้อยลง, แย่ลง
• หัวใจของสัญลักษณ์ทางตรง : ให้ดูว่า โจทย์ขีดอะไรมา

ตัวอย่าง
1) จดบันทึกวันส�ำคัญ(01) ป้องกัน แฟนงอน(02) ได้

2) อากาศหนาว(01) ท�ำให้ ความสามารถในการอาบน�ำ้ (02)ลดลง


• สรุปหัวใจของสัญลักษณ์การเชื่อมโยง

 หัวใจของสัญลักษณ์ทางตรง : เกิดก่อน ไปเกิดหลัง


 หัวใจของสัญลักษณ์องค์ประกอบ : ให้มีจุดหมายปลายทางที่ตัวลูกทุกครั้ง
 หัวใจของสัญลักษณ์ทางตรง : ให้ดูว่า โจทย์ขีดอะไรมา

18
• เทคนิคแทนใจ
ปัญหาที่เกิดกับน้อง
: ในการท�ำโจทย์ มักจะมีบริบทที่ท�ำให้น้องเกิดการลังเลในการเชื่อมโยง ว่าจะ
เชือ่ มโยงด้วยสัญลักษณ์ไหนดี ซึง่ ถ้าเลือกผิดจะส่งผลต่อคะแนนน้องเป็นอย่างมาก
ประโยชน์
: 1) ใช้วิเคราะห์การเชื่อมโยงว่า เชื่อมโยงด้วยสัญลักษณ์ไหนที่จะสมเหตุสมผล
วิธีใช้
: 1) แทนค�ำที่โจทย์ก�ำหนดมาให้
2) ดูใจความ ว่า การเชื่อมโยงด้วย ทางตรง องค์ประกอบ หรือ ยับยั้ง
ที่จะท�ำให้บริบทนั้น สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง เทคนิค แทนใจ

1) สภาพอากาศที่แปรปรวน(01) ท�ำให้ ผลผลิต(02)ลดลง

สภาพอากาศที่แปรปรวน ................... ผลผลิต

2) สภาพอากาศที่แปรปรวน(03) ท�ำให้ ผลผลิตลดลง(04)

สภาพอากาศที่แปรปรวน ................... ผลผลิตลดลง

ตัวอย่าง

ราคาน�้ำมัน(01)ลดลง เนื่องมาจาก เศรษฐกิจโลกชะลอตัว(02)

ราคาน�้ำมันลดลง(03) เนื่องมาจาก เศรษฐกิจโลกชะลอตัว(04)

19
บทความที่ 1 เรื่อง เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอ
การอ่านหนังสือหรือนัง่ ท�ำงานจนดึก ไม่มเี วลาได้หลับพักผ่อนเป็นเรือ่ งทีห่ ลาย
คนเคยผ่านมาแล้วทัง้ นัน้ จึงต้องระวังผลกระทบทีต่ ามมาด้วย ซึง่ การนอนหลับไม่
เพียงพอ(01)ได้สง่ ผลให้สมองท�ำงานได้ไม่เต็มที(02) ่ และยังส่งผลให้รา่ งกายฟืน้ ตัวได้
ช้าลง(03) อีกทัง้ ยังท�ำให้ความหิวเพิม่ มากขึน้ (04)ด้วย ซึง่ ส่งผลให้เกิดความอ้วน(05)
ได้ง่าย นอกจากนั้นการนอนหลับไม่เพียงพอยังท�ำให้ภูมิคุ้มกันร่างกาย(06)ลดต�่ำ
ลงอีกด้วย

บทความที่ 2 เรื่อง ผลกระทบปัญหาน�้ำท่วม


ประเทศไทยเป็นหนึง่ ในประเทศทีม่ ลี มมรสุมพัดผ่านตลอด โดยเฉพาะลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ทจี่ ะน�ำพาฝนมาด้วย ในบางปีทลี่ มมรสุมพัดนีพ้ ดั ผ่านอย่างรุนแรง
สามารถวัดปริมาณน�ำ้ ฝนได้มากถึงร้อยละ 40 ของพืน้ ที่ ซึง่ การทีฝ่ นตกอย่างหนัก(01)
และพื้นที่ต้นน�้ำถูกท�ำลาย(02) รวมถึงแหล่งกักเก็บน�้ำตามธรรมชาติถูกบุกรุก(03)
ทั้งหมดนี้ท�ำให้เกิดปัญหาน�้ำท่วม(04)ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อผลผลิตการเกษตร(05)
โดยเฉพาะผลผลิตข้าว

20
• ชมวิว
ปัญหาที่เกิดกับน้อง :
ในบทความที่มีความซับซ้อนมากๆ มีการเชื่อมโยงเยอะๆ โอกาสที่น้องจะเผลอ
เชือ่ มโยงผิดไปก็มเี ยอะตามมา อีกทัง้ มักจะตรวจทาน MAP ไม่ละเอียดพอจึงท�ำให้
เสียคะแนนไปได้โดยง่าย
ประโยชน์ :
1) ใช้ดูความสมเหตุสมผลของการเชื่อมโยง(ภาพรวม) ในบริบทที่มีความ
ซับซ้อนมากๆ
2) ใช้ตรวจทานค�ำตอบใน MAP อีกครัง้ หนึง่ ก่อนทีจ่ ะฝนรหัส ซึง่ จะช่วยเอาคะแนน
ที่จะเสียไปแล้ว กลับคืนมาได้
วิธีใช้ :
1) เวลาร่าง MAP ให้ใส่ค�ำที่โจทย์ต้องการให้เชื่อมโยงลงไปด้วย
2) ตรวจดูความสมเหตุสมผลของการเชื่อมโยงและภาพรวมของโจทย์

ตัวอย่าง ร่าง MAP ทั่วไป (MAP ข้อสอบจริงปี 58)

01
05 03 04 02

18 15
10

19 11 14

16 09 12

20
08 13
07
17
06

21
ตัวอย่าง ร่าง MAP โดยใช้เทคนิคชมวิว (MAP ข้อสอบจริงปี 58)

01 ประเด็นหลัก เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ

05 นโยบายและ 03 ปัจจัย เสี่ยง 02 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ


แนวทางปฏิ บัติ 04 ความส�าคัญของปัญหา

10 กิจกรรมทาง 15 โรคหัวใจ
18 การลดการ กายที่ไม่ เพียงพอ และหลอดเลือด
บริโภคไขมันทรานส์
11 การบริโภค 14 โรคเบาหวาน
19 การลดการ อาหารไม่ เหมาะสม และโรคอ้วน
บริโภคเกลื อ
09 การดื่มสุรา 12 โรคมะเร็ง
16 จ�ากัดโฆษณา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 08 การสูบ บุหรี่ 13 โรคปอด
เรื้อรัง
07 ค่าใช้จ่ายใน
20 รณรงค์กิจกรรม การรักษาสูงขึ้น
ทางกาย
06 เสียชีวิต
17 ห้ามโฆษณาบุหรี่ ก่อนวัยอั นควร

22
Part : จริยธรรมทางการแพทย์

โดย
พี่วิเวียน นพ.วีรวัช เอนกจ�ำนงค์พร

ลักษณะข้อสอบ
ข้อสอบฉบับที่ 2 พาร์ทจริยธรรมทางการแพทย์
ลักษณะข้อสอบ เป็นแบบปรนัย 5 ตัวเลือก จ�ำนวนข้อ 80 ข้อ ให้เวลา 75 นาที
โจทย์จะเป็นกรณีและสถานการณ์ตา่ งๆในสังคมทัว่ ไป โดยสมมติให้หากเราอยูใ่ น
สถานการณ์ดังกล่าวจะคิดหรือตัดสินใจกระท�ำการเช่นไร เนื้อเรื่องค่อนข้างอิง
กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การเลือกตอบนั้น น้องๆ ควรจะพิจารณาโดย
ใช้วิจารณญาณของตนเอง ซึ่งใน 1 ข้ออาจมีได้หลายค�ำตอบที่สามารถตอบได้
แต่ระดับคะแนนจะลดหลัน่ กันไป เวลาท�ำข้อสอบต้องบริหารเวลาให้ดี เพราะโจทย์
จะอธิบายสถานการณ์ค่อนข้างยาว หากใช้เวลาคิดนานก็จะเสียเวลาไปด้วย

23
24
แนวข้อสอบความถนัดแพทย์ (กสพท)
1. สุธเี ป็นผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลกระโท่งทองมานานหลายปี ปัจจุบนั ท�ำหน้าทีบ่ ริหาร
โรงพยาบาลเป็นส่วนใหญ่ วันหนึง่ ขณะทีท่ า่ นพักอยูใ่ นโรงพยาบาล มีพยาบาลโทรศัพท์มา
รายงานว่ามีผปู้ ว่ ยฉุกเฉินอาการหนัก และติดต่อแพทย์ทอี่ ยูเ่ วรวันนีไ้ ม่ได้ หากท่านเป็นสมคิด
ท่านจะท�ำอย่างไรจึงเหมาะสม
1. สัง่ งานพยาบาลทางโทรศัพท์ เพราะท่านต้องการพักผ่อนเต็มที่
2. รีบไปทีห่ อ้ งฉุกเฉิน และปฏิบตั หิ น้าทีด่ แู ลภาวะทีว่ กิ ฤตของผูป้ ว่ ยก่อน
3. ช่วยติดต่อแพทย์เวรให้ เพราะทราบว่าแพทย์คนนีม้ กั ไม่คอ่ ยรับโทรศัพท์
4. รับทราบ แต่บอกพยาบาลว่าไม่สามารถไปได้ เพราะอยูน่ อกเหนือความรับผิด
ชอบ ถ้ารักษาไปอาจถูกฟ้อง ถ้ารักษาผิดพลาด
5. ให้แพทย์ทตี่ ดิ ต่อได้ รักษาเบือ้ งต้นไปก่อนจนกว่าแพทย์เวรจะมา เพราะท่านไม่
ค่อยได้ทำ� เวชปฏิบตั ิ อาจเกิดความผิดพลาดต่อผูป้ ว่ ยได้

2. สมศักดิป์ ว่ ยเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายทีเ่ ริม่ แพร่กระจายไปทีก่ ระดูกขา ท�ำให้มอี าการ


ปวดและไม่สามารถลุกขึน้ จากเตียงได้แล้ว มารักษาตัวทีห่ อผูป้ ว่ ยทีท่ า่ นท�ำงานอยู่ ท่าน
สังเกตว่า ไม่คอ่ ยมีญาติของสมศักดิม์ าเยีย่ ม จึงเดินไปพูดคุย พบว่าเขานอนมองรูปเด็กที่
นัง่ อยูบ่ นโต๊ะ แล้วร้องไห้ สอบถามทราบว่าเป็นหลานคนเล็กทีเ่ ขาผูกพันมาก ท่านควรท�ำ
อย่างไรจึงจะเหมาะสมทีส่ ดุ
1. พูดปลอบใจ และชวนคุยเรือ่ งทัว่ ไป
2. บอกสมศักดิว์ า่ เด็กอายุนอ้ ยไม่สามารถเข้าเยีย่ มได้
3. ชวนคุยถึงเด็กในรูป และให้สมศักดิร์ ะบายความในใจ
4. บอกญาติของสมศักดิว์ า่ เขามีอาการซึมเศร้า ให้รบี มาเยีย่ ม
5. ให้กนิ ยาต้านเศร้า เพราะสมศักดิเ์ ข้าข่ายผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้าแล้ว

3. สมคิดเป็นเจ้าหน้าทีห่ อ้ งแลป มีหน้าทีเ่ จาะเลือด และส่งเลือดไปตรวจตามทีแ่ พทย์สงั่


วันหนึง่ สมคิดทราบว่าดาราคนหนึง่ ทีเ่ ขาชืน่ ชอบและติดตามผลงาน มาตรวจเลือดที่
โรงพยาบาลทีเ่ ขาท�ำงานอยู่ เขาจึงให้เพือ่ นช่วยดูผลเลือดของดารา ผลปรากฏว่าเพือ่ นของ
เขาไม่ยอมดูผลเลือดให้ สมคิดไม่พอใจมาก พยายามทีจ่ ะค้นข้อมูลของดาราคนดังกล่าว
จนหัวหน้าของเขาทราบ จึงเรียกมาตักเตือน ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับเรือ่ งนี้
1. เพือ่ นของสมคิด ไม่มคี วามยืดหยุน่ เลยท�ำให้เรือ่ งนีบ้ านปลาย
2. เพือ่ นของสมคิดอาจจะน�ำเรือ่ งนีไ้ ปฟ้องกับหัวหน้า
3. หัวหน้าของสมคิด อาจจะเข้มงวดเป็นพิเศษ เพราะเป็นดาราคนดัง
4. สมคิดไม่ควรใช้การเป็นพนักงานห้องแลปเพือ่ ละเมิดความลับของใคร
5. สมคิดน่าจะหาทางดูผลเลือดเองเงียบๆ จะได้ไม่ตอ้ งมีคนรูม้ าก

25
4. วิวฒั น์เป็นประธานบริษทั ค้าไม้รายใหญ่ ก�ำลังถูกตรวจสอบเนือ่ งจากมีความเกีย่ วข้อง
กับคดีบกุ รุกป่าสงวน วิจารณ์เป็นเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงอยูก่ ระทรวงยุตธิ รรม ซึง่ เป็นน้องเขย
ของวิวฒ
ั น์ได้รบั ค�ำของร้องจากภรรยาให้ชว่ ยวิวฒ ั น์จากคดีดงั กล่าว หากท่านเป็นวิจารณ์
จะท�ำอย่างไร
1. นิง่ เฉยต่อค�ำของร้องของภรรยา เพราะไม่ชอบพีช่ ายของภรรยาอยูแ่ ล้ว
2. ไปขอร้องผูใ้ หญ่ในกระทรวงให้ชว่ ยวิวฒ ั น์โดยทีย่ งั อยูใ่ นกรอบของกฎหมาย
3. ให้กระบวนการของกฎหมาย สืบสวนเรือ่ งนีอ้ ย่างยุตธิ รรม
4. ไปพบวิวฒ ั น์ เพือ่ สอบถามความจริง และช่วยเท่าทีจ่ ะท�ำได้
5. พยายามติดต่อเจ้าหน้าทีส่ อบสวนคดี เพือ่ ให้เอาหลักฐานเอาผิดวิวฒ ั น์ออกจากคดี

5. สมหญิงเป็นแฟนของสมบูรณ์ ได้ทราบข่าวว่าเมือ่ วานแฟนของเธอไปก่อเหตุววิ าท


ท�ำร้ายผูพ้ กิ ารจนได้รบั บาดเจ็บ เพราะเมาไม่ได้สติ มีผคู้ นในโลกไซเบอร์แชร์เรือ่ งนีใ้ น
ลักษณะประณามแฟนของเธออย่างมาก บางคนด่าทอด้วยค�ำหยาบคาย หากท่านเป็น
สมหญิง ท่านจะท�ำอย่างไร
1. ไปพบคูก่ รณีของสมบูรณ์เพือ่ ขอความเห็นใจ เนือ่ งจากสมบูรณ์ทำ� ไปเพราะ
ขาดสติจากสุรา
2. ไปพบสมบูรณ์และให้กำ� ลังใจ บอกให้ยอมรับผิด
3. แจ้งต�ำรวจกรณีมคี นใช้สอื่ ออนไลน์อย่างไม่เหมาะสม
4. เปิด account ปลอม แล้วแชร์เรือ่ งว่าสมบูรณ์เป็นผูบ้ ริสทุ ธิ์
5. โพสข้อความในข่าวว่าแฟนป่วยเป็นโรคติดสุราเรือ้ รัง เพือ่ ขอความเห็นใจ

26
พารท ฟสิกสวิชาสามัญ
วิเคราะหข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ป 59

ลําดับ บท จํานวนขอสอบ %ที่ออก %สะสม


1 การเคลื่อนที่วงกลมและดวงดาว 6 21 21
2 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 5 17 38
3 เสียงและแสง 4 14 52
4 การเคลื่อนที่แนวตรง 3 10 62
5 สมดุลกล 2 7 69
6 ไฟฟาสถิต 2 7 76
8 แม่เหล็กไฟฟา 2 7 83
9 ของแข็ง ของเหลว และของไหล 1 3 87
10 การเคลื่อนที่วิถีโคง 1 3 90
11 การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก 1 3 93
12 ไฟฟากระแสสลับ 1 3 97
13 ฟิสิกส์อะตอม 1 3 100
14 บทน�าและการนับ 0 0 100
15 กฎของนิวตัน 0 0 100
16 งานและพลังงาน 0 0 100
17 โมเมนตัม 0 0 100
18 การเคลื่อนที่แบบหมุน 0 0 100
19 คลื่น 0 0 100
20 แกสและทฤษฎีจลน์ 0 0 100
21 ไฟฟากระแสตรง 0 0 100
22 คลื่นแม่เหล็กไฟฟาและแสงเชิงฟิสิกส์ 0 0 100
รวม 29 100
แนวข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
1. เชือกเส้นหนึ่งผูกตรึงไว้ที่จุด A และ B ดังรูป และแขวนวัตถุหนัก W ไว้ที่จุด C
จงหาแรงตึงเชือก T ที่ระนาบ AC
A B
T θ1 θ2
g
C

sin θ1
1. sin (θ1 + θ2)
W

sin θ2
2. sin (θ1 + θ2)
W

cos θ1
3. sin (θ1 + θ2)
W

cos θ1
4. cos (θ1 + θ2)
W

cos θ2
5. cos (θ1 + θ2)
W

2. จุด A และ B อยู่บนระนาบแนวดิ่งของวงกลมดังรูป โดยที่ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม และ B อยู่ระดับต�่ำสุด


จงหาองค์ประกอบความเร่งโน้มถ่วงในแนว AB เป็นเท่าใด
1. gsin θ
2. gcos θ
3. gtan θ
4. gsin  θ2
5. gsin  θ2
3. ถ้าเพิ่มค่าแอมพลิจูดของคลื่นเสียงเป็น 2 เท่าของค่าเดิม ระดับความเข้มเสียงที่ตำ�แหน่งเดิมจะเพิ่มขึ้นกี่เดซิเบล
(ความเข้มของเสียงเป็นปฏิภาคโดยตรงกับกำ�ลังสองของแอมพลิจูด)
1. 2
2. 3
3. 4
4. 6
5. 20

4. ถังน�้ำมีพื้นที่เปิดด้านบน A มีท่อปล่อยน�้ำทิ้งพื้นที่ a น�้ำพุ่งออกด้วยความเร็ว v ระดับผิวน�้ำจะลดลงด้วย


ความเร็วเท่าใด
A

a v

1. av
A
2. aA v
2
3. c aA m v
2
4. c aA m v
1
a
5. c A m2 v
5. ประจุใน C1 มีค่าเท่าใด

+q
C1
-q
ε
C2 R

1. C1ε

2. CC1CC2 ε
1+ 2
2
3. C C1 C ε
1+ 2
2
4. C C2 C ε
1+ 2

5. C2ε

6. ประจุ q มีมวล m มีพลังงานจลน์ E วิ่งอยู่ในสนามแม่เหล็ก B เป็นวงกลม จงหารัศมีความโค้งของประจุนี้


มีค่าเป็นเท่าใด
mE
1. qB
1 mE
2. 2
qB

3. 2mE
qB
qB
4.
2mE
qB
5.
1 mE
2
7. ถ้าต้องการไอออไนซ์อะตอมไฮโดรเจน ซึ่งอยู่ในสถานะโลด (Excited State) ลำ�ดับที่ 1 จะต้องใช้พลังงานกี่
อิเล็กตรอนโวลต์ (สถานะอะตอมไฮโดรเจน = - 132.6 eV)
n
1. 1.5
2. 3.4
3. 6.8
4. 10.2
5. 13.6

8. เมื่อเวลาผ่านไป 1 ของค่าครึ่งชีวิต นิวเคลียสกัมมันตรังสีเหลือเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของนิวเคลียสตั้งต้น


2
1. 13
2. 25
3. 61
4. 71
5. 75
พารท เคมีวิชาสามัญ
เทคนิคพิชิตเคมีสามัญให้ ได้เกิน 90!!!

โดย พี่เคน Ondemand

วศ.บ. จุฬาลงกรณ์ (เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง)


M.Eng. Virginia Tech, USA. GPA 4.00

พี่เคน Ondemand

E-mail : p_ken@ondemand.in.th

@kenex19

Instagram : kenatv
Did you know?
- เคมีสามัญ VS เคมี PAT2
- บทไหนออกเยอะในเคมีสามัญ
- เตรียมตัวยังไงถ้าเวลาเหลือน้อย
- อ่านเยอะๆ VS จับเวลา
สถิติการออกข้อสอบเคมีสามัญ กสพท.
ย้อนหลังถึงปีล่าสุด
ปี 2559
ปี 2558
ปี 2555-2557
ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ใน 2%
อุตสาหกรรม
ไฟฟ้าเคมี 10%

เชื้อเพลิงซากดึกด�ำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 4%

สารชีวโมเลกุล 4%

เคมีอินทรีย์ 8%

กรด-เบส 13%

สมดุลเคมี 8%

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8%

6%
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
13%
ปริมาณสารสัมพันธ์

พันธะเคมี 8%

สมบัติของธาตุและสารประกอบ 8%

อะตอมและตารางธาตุ 6%
AVATAR

คู่กรด-คู่เบส
1. (กสพท. 55) ไกลซีน (NH2CH2COOH) เป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง มีสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส เมื่อเกิดปฏิกิริยา
ตามกระบวนการเมตาบอลิซมึ ของร่างกายแล้วส่วนใหญ่จะอยูใ่ นรูป +NH3CH2COO- ข้อใดเป็นคูก่ รดและคูเ่ บส
ของไกลซีน

คู่กรด คู่เบส
1. +
NH3CH2COOH NH2CH2COO-
2. +
NH3CH2COO- NH2CH2COOH
3. -
NH2CH2COOH +
NH3CH2COO-
4. -
NH2CH2COO- +
NH3CH2COOH
5. +
NH3CH2COOH NH2CH2COOH
2. (กสพท. 56) ข้อใดที่ทุกโมเลกุลหรือไอออนเป็นสารแอมโฟเทอริก ตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบรินสเตด-ลาวรี
1. H 2 PO 4- H2O SO 42 -
2. HSO 4- HSO 3- H 3 O +
3. NH +4 CH3O- H2O
4. H2O H 2 PO 4- HCO 3-
5. HPO 42 - HSO 3- S2-

3. (กสพท. 58) ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี ข้อใดเป็นคู่กรดของเบสที่กำ�หนด



HPO 42 - SO 42 - HS- CH3NH2 HCO 3-
1. PO 34 - HSO 4- H2S CH3NH- CO 32 -
2. H 2 PO 4- H2SO4 S2- CH3NH- CO 32 -
3. H3PO4 H2SO4 H2S CH3NH +3 H2CO3
4. H 2 PO 4- HSO 4- H2S CH3NH +3 H2CO3
5. H3PO4 HSO 4- S2- CH3NH +3 H2CO3
การอ่านชื่อสารอินทรีย์

4. (กสพท. 55) การเรียกชื่อตามหลักสากลของสารต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง

H3C CH2
H3C CH CH CH2 CH3
H3C CH CH3

1. 3, 5, 5-ไตรเมทิล-4-เอทิลเฮกเซน
2. 2, 4-ไดเมทิล-3-เอทิลเฮกเซน
3. 3-เอทิล-2, 4-ไดเมทิลเฮกเซน
4. 4-เมทิล-3-โพรพิลเฮกเซน
5. 3-เมทิล-4-โพรพิลเฮกเซน

5. (กสพท. 57) ข้อใดเป็นชื่อ IUPAC ของสารที่มีสูตรโครงสร้างดังแสดง

1. 2-เมทิล-3-เอทิลเฮกเซน
2. 3-ไอโซโพรพิลเฮกเซน
3. 4-เอทิล-5-เมทิลเฮกเซน
4. 2-เอทิล-3-เมทิลเฮกเซน
5. 3-เอทิล-2-เมทิลเฮกเซน
6. (กสพท. 58) พิจารณาการอ่านชื่อสารอินทรีย์ต่อไปนี้

CH3 CH2 CH3 CH3


ก. CH3 CH CH C CH3 3, 4, 5, 5-tetramethylhexane
CH3

CH3
ข. CH3 CH C CH CH3 2, 3-dimethyl-3-pentene
CH3

ค. O
CH3 C O (CH2)7 CH3 octyl acetate

ง. CH3 CH CH2 CH2 CH3 N, N-dimethyl-2-pentanamine


CH3 N CH3

การอ่านชื่อสารในข้อใดถูกต้อง
1. ก. และ ข. เท่านั้น
2. ข. และ ค. เท่านั้น
3. ก. และ ง. เท่านั้น
4. ค. และ ง. เท่านั้น
5. ก., ค. และ ง.
ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามทำ�ช้า…!!!!!
[H+][OH-] = 1.0 × 10-14
[H+] [OH-]

pH = - log [H+] pOH = - log [OH-]

pH pOH
pH + pOH = 14
การคำ�นวณค่า pH
7. (กสพท. 55) กำ�หนดให้
สารละลาย A เป็นสารละลาย KOH 0.28 g ละลายน�้ำจนได้สารละลายปริมาตร 500 cm3
สารละลาย B เป็นสารละลาย NaOH 0.40 g ละลายน�้ำจนได้สารละลายปริมาตร 100 cm3
จากข้อมูลที่กำ�หนดให้ ได้มีการสรุปไว้ดังนี้
ก. สารละลาย A มีความเป็นเบสมากกว่าสารละลาย B
ข. สารละลาย B มีความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
ค. pH ของสารละลาย A มีค่า 12.0
ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. ก. เท่านั้น
2. ข. เท่านั้น
3. ค. เท่านั้น
4. ก. และ ข.
5. ก. และ ค.

8. (กสพท. 56) สารละลาย XOH เข้มข้น 0.01 mol/dm3 แตกตัวร้อยละ 3 สารละลาย XOH เข้มข้น
0.0025 mol/dm3 แตกตัวได้ร้อยละเท่าใด
1. 0.75
2. 3
3. 4
4. 6
5. 12
9. (กสพท. 58) กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็น C6H5O2N เมื่อน�ำกรดอินทรีย์นี้มา 0.6150 g ละลายน�้ำ
แล้วปรับปริมาตรสารละลายเป็น 250.00 cm3 พบว่าสารละลายที่ได้มีค่า pH เท่ากับ 3.00
ข้อใดเป็นค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดอินทรีย์นี้
1. 1.0 × 10-6

2. 5.3 × 10-5

3. 2.5 × 10-4

4. 1.0 × 10-3

5. 5.0 × 10-2
ข้อสอบ กสพท. ปีล่าสุด 2559

10. (กสพท. 59) ระดับพลังงานย่อยในข้อใดเป็นไปไม่ได้


1. 1s
2. 2d
3. 3d
4. 4f
5. 5f
11. (กสพท. 59) ในสารประกอบ Ti2O3 ออร์บิทัลของธาตุ Ti ในระดับพลังงาน n = 3 ที่มีอิเล็กตรอนไม่เต็ม
มีรูปร่างดังข้อใด (เลขอะตอมของ Ti = 22)

1. z 2. z

y y

x x

3. z 4. z

y y

x x

5. z

x
12. (กสพท. 59) ถ้าสารละลาย A เป็นสารละลายกรดแก่เข้มข้น 1.0 x 10-8 mol/dm3 มีค่า pH เท่ากับ X และ
สารละลาย B คือสารละลายกรดอ่อนมอนอโปรติก (Ka = 4.0 x 10-5) เข้มข้น 0.1 mol/dm3 มีค่า pH เท่ากับ Y
ค่า X และ Y ข้อใดถูกต้อง (เครื่องหมาย > แทนค�ำว่า มากกว่า และ < แทนค�ำว่า น้อยกว่า)
1. X = 8 และ Y = 1
2. 8 > X > 7 และ 5 > Y > 4
3. 7 > X > 6 และ 5 > Y > 4
4. 7 > X > 6 และ 3 > Y > 2
5. 8 > X > 7 และ 3 > Y > 2

13. (กสพท. 59) เมื่อนำ�ครึ่งเซลล์ Zn(s) | Zn2+ (aq, 1 mol/dm3) มาต่อกับครึ่งเซลล์ Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+ (aq,
1 mol/dm3) เพื่อวัดค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ของสังกะสี พบว่า ปฏิกิริยาที่เกิดคือ Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-

และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. การทดลองนี้จำ�เป็นต้องใช้สะพานเกลือเชื่อมระหว่างครึ่งเซลล์เพื่อทำ�ให้เกิดการไหลของกระแสและทำ�ให้
สารละลายผสมกันได้ดีขึ้น
ข. ตัวเลขที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์จะเท่ากับศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ของสังกะสี
ค. ทั้งปฏิกิริยา Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- และ 2H+(aq) + 2e- H2(g) เกิดขึ้นที่ขั้วสังกะสี
ข้อใดถูกต้อง
1. ก. เท่านั้น
2. ข. เท่านั้น
3. ค. เท่านั้น
4. ก. และ ข.
5. ข. และ ค.
14. (กสพท. 59) องค์ประกอบทางเคมีของ DNA และ RNA ในข้อใดที่มีลักษณะเหมือนกัน
1. ชนิดของน�้ำตาลและหมู่ฟอสเฟต
2. ชนิดของน�้ำตาลและชนิดของเบส
3. ต�ำแหน่งของคาร์บอนในน�้ำตาลที่ต่อกับเบสและชนิดของเบส
4. จ�ำนวนและต�ำแหน่งของคาร์บอนในน�้ำตาลที่ต่อกับหมู่ฟอสเฟต
5. ชนิดของน�้ำตาลและต�ำแหน่งของคาร์บอนในน�้ำตาลที่ต่อกับหมู่ฟอสเฟต
พารท ชีววิทยาวิชาสามัญ
พูดคุยกับพี่วิเวียน
ได้ที่ facebook

พี่วิเวียนออนดีมานด์

และ
pvivian_ondemand

You might also like