You are on page 1of 496

คู�มือครูรายวิชาเพิ่มเติม

คูมือครู

รายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร
ชั้น

มัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑

ตามผลการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คํานํา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) มีหนาที่ในการพัฒนา


หลั ก สู ต ร วิ ธี ก ารเรี ย นรู การประเมิ น ผล การจั ด ทํ า หนั ง สื อ เรี ย น คู มื อ ครู แบบฝกทั ก ษะ
กิจกรรม และสื่อการเรียนรูเพื่อใชประกอบการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตรของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู มื อ ครู ร ายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม คณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปที่ ๔ เลม ๑ นี้ จั ด ทํ า
ตามผลการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเนื้อหาสาระ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ
การสอน แนวทางการจั ด กิ จ กรรมในหนั ง สื อ เรี ย น การวั ดผลประเมิ น ผลระหวางเรี ย น
การวิเคราะหความสอดคลองของแบบฝกหัดทายบทกับจุดมุงหมายประจําบท ความรูเพิ่มเติม
สํ า หรั บครู ซึ่ ง เปนความรู ที่ ค รู ค วรทราบนอกเหนื อ จากเนื้ อ หาในหนั ง สื อ เรี ย น ตั วอยาง
แบบทดสอบประจํ าบทพรอมเฉลย รวมทั้ งเฉลยแบบฝกหั ด ซึ่ งสอดคลองกั บหนั งสื อเรี ยน
รายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑ ที่ตองใชควบคูกัน

สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนรู และ


เปนสวนสําคัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ขอขอบคุ ณ ผู ทรงคุ ณ วุ ฒิ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาและหนวยงานตาง ๆ ที่ มี ส วนเกี่ ยวของ
ในการจัดทําไว ณ โอกาสนี้

(นางพรพรรณ
ไวทยางกูร)
ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คําชี้แจง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนา
ผูเรียนใหมีความรูความสามารถที่ทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูคณิตศาสตรที่เชื่อมโยงความรู
กับกระบวนการ ใชกระบวนการสืบเสาะหาความรูและแกปญหาที่หลากหลาย มีการทํากิจกรรม
ดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และทักษะแหง
ศตวรรษที่ ๒๑ สสวท. จึงไดจัดทําคูมือครูประกอบการใชหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึ กษาปที่ ๔ เลม ๑ ที่เปนไปตามมาตรฐานหลักสู ตร เพื่อเปนแนวทางใหโรงเรียนนําไป
จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑ นี้ ประกอบดวยเนื้อหา
สาระ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน การวัดผลประเมินผล
ระหวางเรี ยน การวิ เคราะหความสอดคลองของแบบฝกหัดทายบทกับจุ ดมุ งหมายประจํ าบท
ความรู เพิ่ มเติ มสํ าหรั บ ครู ซึ่ งเปนความรู ที่ ค รู ค วรทราบนอกเหนื อจากเนื้ อหาในหนั งสื อเรี ย น
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทพรอมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝกหัด ซึ่งครูผูสอนสามารถนําไปใช
เปนแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรูใหบรรลุจุดประสงคที่ตั้งไว โดยสามารถนําไปจัด
กิจกรรมการเรียนรูไดตามความเหมาะสมและความพรอมของโรงเรียน ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้
ไดรับความรวมมือเปนอยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิ คณาจารย นักวิชาการอิสระ รวมทั้งครูผูสอน
นักวิชาการ จากสถาบัน และสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลมนี้ จะเปนประโยชน
แกผู สอน และผู ที่ เ กี่ ย วของทุ ก ฝาย ที่ จ ะชวยใหจั ด การศึ ก ษาดานคณิ ต ศาสตรไดอยางมี
ประสิทธิภาพ หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น โปรดแจง
สสวท. ทราบดวย จะขอบคุณยิ่ง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
แนะนําการใชคูมือครู
ในหนังสือเลมนี้แบงเปน 3 บทตามหนังสือเรียนหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 โดยแตละบทจะมีสวนประกอบ ดังนี้

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละ
ระดับชั้น ซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปน
รูปธรรม นําไปใชในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน
และเปนเกณฑสําคัญสําหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเรียน

จุดมุงหมาย

เปาหมายที่นักเรียนควรไปถึงหลังจากเรียนจบบทนี้

ความรูกอนหนา

ความรูที่นักเรียนจําเปนตองมีกอนที่จะเรียนบทนี้
ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ประเด็นเกี่ยวกับเนื้อหาที่ครูควรเนนย้ํากับนักเรียน ประเด็นเกี่ยวกับเนื้อหาที่ครูควร
ระมัดระวัง จุดประสงคของตัวอยางที่นําเสนอในหนังสือเรียน เนื้อหาที่ควรทบทวน
กอนสอนเนื้อหาใหม และประเด็นเกี่ยวกับการสอนที่ครูพึงระลึก

ความเขาใจคลาดเคลื่อน

ประเด็นที่นักเรียนมักเขาใจผิดเกี่ยวกับเนื้อหา

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

ประเด็ น ที่ ค รู ค วรทราบเกี่ ย วกั บ แบบฝกหัด เชน จุด มุ งหมายของแบบฝกหั ด


ประเด็นที่ครูควรใหความสําคัญในการทําแบบฝกหัดของนักเรียน เนื้อหาที่ควร
ทบทวนกอนทําแบบฝกหัด

กิจกรรมในคูมือครู

กิจกรรมที่คูมือครูเลมนี้เสนอแนะไวใหครูนําไปใชในชั้นเรียน ซึ่งมีทั้งกิจกรรมนําเขา
บทเรียน ที่ใชเพื่อตรวจสอบความรูกอนหนาที่จําเปนสําหรับเนื้อหาใหมที่ครูจะสอน
และกิจกรรมที่ใชสําหรับสรางความคิดรวบยอดในเนื้อหา โดยหลังจากทํากิจกรรม
แลว ครูควรเชื่อมโยงความคิดรวบยอดที่ตองการเนนกับผลที่ไดจากการทํากิจกรรม
กิจกรรมเหลานี้ครูควรสงเสริมใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติดวยตนเอง
กิจกรรมในหนังสือเรียน

กิจกรรมที่นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดดวยตนเอง เพื่อชวยพัฒนาทักษะการ
เรียนรูและนวัตกรรม (learning and innovation skills) ที่จําเปนสําหรับศตวรรษที่ 21
อันไดแก การคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (creative and innovation) การคิด
แบบมีวิจารณญาณและการแกปญหา (critical thinking and problem solving)
การสื่อสาร (communication) และการรวมมือ (collaboration)

เฉลยกิจกรรมในหนังสือเรียน

เฉลยคําตอบหรือตัวอยางคําตอบของกิจกรรมในหนังสือเรียน

แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน

ตั ว อยางการจั ด กิ จ กรรมในหนั ง สื อ เรี ย น ที่ มี ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น กิ จ กรรม


ซึ่งเปดโอกาสใหนักเรียนไดใชและพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
สารบัญ บทที่ 1 – 2
บทที่ เนื้อหา หนา
บทที่ 1 เซต

1
1

1.1 เนื้อหาสาระ 2

1.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน 5

1.3 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน 17

1.4 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท 18

1.5 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู 22

1.6 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 23

เซต เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1.7 เฉลยแบบฝกหัด 35
d

บทที่ 2 ตรรกศาสตร

2
47

2.1 เนื้อหาสาระ 48

2.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน 51

2.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน 68

2.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน 72

2.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท 74

2.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู 82

ตรรกศาสตร 2.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 84

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
2.8 เฉลยแบบฝกหัด 89
สารบัญ บทที่ 3
บทที่ เนื้อหา หนา

3
บทที่ 3 จํานวนจริง 106

3.1 เนื้อหาสาระ 108

3.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน 117

3.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน 128

3.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน 133

3.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท 135

3.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู 143

จํานวนจริง 3.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 166

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
3.8 เฉลยแบบฝกหัด 183
d

เฉลยแบบฝกหัดและวิธีทําโดยละเอียด 198
บทที่ 1 เซต 198
บทที่ 2 ตรรกศาสตร 235
บทที่ 3 จํานวนจริง 328
d
แหลงเรียนรู
478
เพิ่มเติม

บรรณานุกรม 479

คณะผูจัดทํา 480
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 1

บทที่ 1

เซต

การศึกษาเรื่องเซตมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปนรากฐานและเครื่องมือที่สําคัญ
ในการพัฒนาองคความรูในวิชาคณิตศาสตรสมัยใหมทุกสาขา เนื้อหาเรื่องเซตที่นําเสนอในหนังสือ
เรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนเรียนรู
เกี่ยวกับสัญลักษณและภาษาทางคณิตศาสตร ซึ่งเพียงพอที่จะใชในการสื่อสารและสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตรเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรูเนื้อหาคณิตศาสตรในหัวขอตอไป ในบทเรียนนี้
มุงใหนักเรียนบรรลุตัวชี้วัด ผลการเรียนรูและจุดมุงหมายดังตอไปนี้

ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู
ตัวชี้วัด
เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตรเบื้องตน ในการสื่อสารและสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร
ผลการเรียนรู
เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซต ในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

2 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย
1. ใชสัญลักษณเกี่ยวกับเซต
2. หาเพาเวอรเซตของเซตจํากัด
3. หาผลการดําเนินการของเซต
4. ใชแผนภาพเวนนแสดงความสัมพันธระหวางเซต
5. ใชความรูเกี่ยวกับเซตในการแกปญหา

ความรูกอนหนา
• ความรูเกี่ยวกับจํานวนและสมการในระดับมัธยมศึกษาตอนตน

1.1 เนื้อหาสาระ
1. ในวิชาคณิตศาสตร ใชคําวา “เซต” ในการกลาวถึงกลุมของสิ่งตาง ๆ และเมื่อกลาวถึงกลุมใด
แลวสามารถทราบไดแนนอนวาสิ่งใดอยูในกลุม และสิ่งใดไมอยูในกลุม เรียกสิ่งที่อยูในเซต
วา “สมาชิ ก ” คํ า วา “เปนสมาชิ ก ของ ” หรื อ “อยู ใน ” เขี ย นแทนดวยสั ญ ลั ก ษณ “∈ ”
คําวา “ไมเปนสมาชิกของ” เขียนแทนดวยสัญลักษณ “ ∉ ”
2. การเขียนแสดงเซตเบื้องตนมีสองแบบ คือ แบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของ
สมาชิก
3. เซตที่ไมมีสมาชิก เรียกวา “เซตวาง” เขียนแทนดวยสัญลั กษณ “{ }” หรือ “∅”
4. เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย เรียกวา “เซตจํากัด” เซตที่ไมใช
เซตจํากัด เรียกวา “เซตอนันต”
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 3

5. ในการเขียนเซตจะตองกําหนดเซตที่บงบอกถึงขอบเขตของสิ่งที่จะพิจารณา เรียกเซตนี้วา
“เอกภพสัมพัทธ” ซึ่งมักเขียนแทนดวย U เอกภพสัมพัทธที่พบบอย ไดแก
แทนเซตของจํานวนนับ
แทนเซตของจํานวนเต็ม
แทนเซตของจํานวนตรรกยะ
' แทนเซตของจํานวนอตรรกยะ
แทนเซตของจํานวนจริง
6. เซต A เทากับ เซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และ
สมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A เขียนแทนดวย A=B

เซต A ไมเทากับ เซต B หมายถึง มีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไมใชสมาชิกของเซต


B หรือมีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไมใชสมาชิกของเซต A เขียนแทนดวย A≠B

7. เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B

เขียนแทนดวย A⊂ B

เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ มีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไมเปน


สมาชิกของเซต B เขียนแทนดวย A⊄ B

8. เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เรียกวา เพาเวอรเซตของเซต


เขียนแทนดวย P ( A) A

9. เรียกแผนภาพแสดงเซตวา “แผนภาพเวนน” การเขียนแผนภาพมักจะแทนเอกภพสัมพัทธ U


ดวยรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหรือรูปปดใด ๆ สวนเซตอื่น ๆ ซึ่งเปนสับเซตของ U นั้น อาจเขียนแทน
ดวยวงกลม วงรี หรือรูปปดใด ๆ
10. การดําเนินการระหวางเซต
1) อินเตอรเซกชันของเซต A และ B เขียนแทนดวย A∩ B

โดยที่ A ∩ B = { x x∈A และ x ∈ B}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

4 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) ยูเนียนของเซต A และ B เขียนแทนดวย A∪ B

โดยที่ A ∪ B = { x x∈A หรือ x ∈ B}

3) คอมพลีเมนตของเซต A เมื่อเทียบกับ U หรือคอมพลีเมนตของเซต A เขียนแทน


ดวย A′ โดยที่ A′ = { x | x ∈U และ x∉ A}

4) ผลตางระหวางเซต A และ B หมายถึง เซตที่มีสมาชิกอยูในเซต A แตไมอยูในเซต B

เขียนแทนดวย A− B

โดยที่ A − B = { x x∈A และ x ∉ B}

11. สมบัติของการดําเนินการของเซต
ให A, B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U จะได
1) A∪ B = B ∪ A

A∩ B = B ∩ A
2) ( A ∪ B) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C )
( A ∩ B) ∩ C = A ∩ ( B ∩ C )
3) A ∪ ( B ∩ C ) = ( A ∪ B) ∩ ( A ∪ C )
A ∩ ( B ∪ C ) = ( A ∩ B) ∪ ( A ∩ C )

4) ( A ∪ B )′ = A′ ∩ B′
( A ∩ B )′ = A′ ∪ B′
5) A − B = A ∩ B′
6) A′ = U − A
12. ถาเซต และ C เปนเซตจํากัดใด ๆ ที่มีจํานวนสมาชิกเปน n ( A) , n ( B ) และ n ( C )
A, B

ตามลําดับ แลว
n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )
n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C )
+ n( A ∩ B ∩ C)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 5

1.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน

เซต
ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจแนวคิดเกี่ยวกับเซตและสมาชิกของเซต โดยใช
กิจกรรมการจัดกลุม ดังนี้

กิจกรรม : การจัดกลุม
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 3 – 4 คน แบบคละความสามารถ จากนั้นครูเขียนคําตอไปนี้
บนกระดาน
หญิง จันทร A พุธ
อาทิตย ชาย E อังคาร
ศุกร U I พ หัสบดี
O เสาร
2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายวาจะจัดกลุมคําที่เขียนบนกระดานอยางไร
3. ครูใหตัวแทนนักเรียนแตละกลุมนําเสนอการจัดกลุมคํา แลวรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ
กลุมคําที่จัด ในประเด็นตอไปนี้
3.1 จัดกลุมคําไดกี่กลุม พรอมใหเหตุผลประกอบ
3.2 กลุมคําที่ กลุมของตนเองจั ดไดเหมือนหรือแตกตางจากกลุมคําของเพื่อนกลุมอื่น
หรือไม อยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

6 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

หมายเหตุ
• แนวคํ า ตอบ เชน จั ด เปน 3 กลุ ม ไดแก กลุมคํ าที่ แสดงเพศ กลุ มคํ า ที่แ สดงชื่อ วั น
ในหนึ่งสัปดาห และกลุมคําที่แสดงสระในภาษาอังก ษ คําตอบของนักเรียนอาจมีได
หลากหลายขึ้นกับเหตุผลประกอบคําตอบ
• ครู อ าจเปลี่ ย นเปนคํ า อื่ น ๆ หรื อ รู ป ภาพอื่ น ๆ เพื่ อ ใหนั ก เรี ย นสามารถจั ด กลุ ม
ไดหลายแบบ
• ครูอาจจัดกิจกรรมนอกหองเรียน เชน ในสวนพ กษศาสตร แลวใหนักเรียนจัดกลุม
พันธุพืช

ครูสามารถเชื่อมโยงการจัดกลุมในกิจกรรมนี้กับเนื้อหาเรื่องเซต โดยแตละกลุมคําที่นักเรียนจัด
เปรียบไดกับเซต และคําที่อยูในแตละกลุมเปรี ยบไดกับ สมาชิกของเซต เมื่อนักเรีย นไดศึกษา
เกี่ยวกับการเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกแลว ครูอาจให
นักเรียนเขียนกลุมของคําในรูปของเซต ทั้งแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
สมาชิกของเซต
ตัวอยางที่ 1
ให A = {0, 1, 2} จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
1) 0 ∈ A
2) {0} ∈ A
3) {1, 2} ∉ A

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 7

ตั ว อยางนี้ มี ไ วเพื่ อ สรางความเขาใจเกี่ ย วกั บ การเปนสมาชิ ก ของเซต และการใช


สัญลักษณแทนการเปนสมาชิกของเซต โดยเฉพาะอยางยิ่งในขอ 1) และ 2) ครูควรให
นักเรียนรวมกันอภิปรายที ละขอเกี่ยวกับการเปนสมาชิกหรือไมเปนสมาชิกของเซต
ที่กําหนดให และอาจใหตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน

การเขียนแสดงเซต
ในการเริ่มตนยกตัวอยางการเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิกนั้น ครูควรเริ่มตนจาก
การยกตัวอยางเซตที่หาสมาชิกของเซตไดงาย เพื่อเปนการใหความสําคัญกับการเขียน
แสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิ ก มากกวาการคํ า นวณเพื่ อ หาสมาชิ ก ของเซต
เชน เซตของพยัญชนะในภาษาไทย เซตของจํานวนคู เซตของจํานวนนับที่นอยกวา 5
เซตของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสองแลวได 16

เอก พสัมพัทธ
ในการเขียนเซตจะตองกําหนดเซตที่บงบอกถึงขอบเขตของสิ่งที่จะพิจารณา เรียกเซตนี้
วา เอกภพสัมพัทธ โดยมีขอตกลงวา เมื่อกลาวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ จะไมกลาวถึง
สิ่งอื่นที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ ดังนั้นเอกภพสัมพัทธจึงมีความสําคัญ
ในการพิจารณาสมาชิกของเซต โดยเซตที่มีเงื่อนไขเดียวกันแตมีเอกภพสัมพัทธตางกัน
อาจมีสมาชิกตางกัน เชน
A = {x ∈ x 2 = 4} และ B = {x ∈ x 2 = 4}

เขียน A และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน


A ={ 2} และ B = { − 2, 2 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

8 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เซตวาง
• เซตวางเปนทั้งสับเซตและสมาชิกของเพาเวอรเซตของเซตใด ๆ
• เพาเวอรเซตของเซตวาง คือ { ∅ }

สับเซต
• เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต
• เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง
• ไมสามารถหาสับเซตที่เปนไปไดทั้งหมดของเซตอนันต

ความเขาใจคลาดเคลื่อน
เซตจํากัด
• นักเรียนคิดวาเซตวางไมใชเซตจํากัด ซึ่งครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาเซตวางเปนเซตที่
ไมมีสมาชิกหรือมีสมาชิก 0 ตัว ดังนั้น เซตวางจึงเปนเซตจํากัด
• นั ก เรี ย นเขาใจวา { x | x ∈ , 0 ≤ x ≤ 1} เปนเซตจํ า กั ด เนื่ อ งจากเขาใจวา
มีสมาชิกตัวแรกคือ 0 และสมาชิกตัวสุดทายคือ 1 ซึ่งครูควรใหนักเรียนพิจารณา
เอกภพสัมพัทธของเซตนี้ ซึ่งเปนเซตของจํานวนจริง จึงไดวาเซตนี้เปนเซตอนันต

เซตวาง
นั กเรี ย นสั บ สนเกี่ ย วกั บ การใชสั ญ ลั ก ษณแทนเซตวาง เชน ใช { ∅ } แทนเซตวาง
ซึ่งเปนการใชสัญ ลักษณที่ ไมถู กตอง ครู ควรใหนั กเรีย นพิจ ารณาจํ านวนสมาชิ กของ
{ ∅ } จะไดวาเซตนี้มีสมาชิก 1 ตัว ดังนั้น เซตนี้จึงไมใชเซตวาง นอกจากนี้ครูอาจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 9

ยกตัวอยางเปรียบเทียบเซตวางกับกลองเปลา โดยเซตวางคือเซตที่ไมมีส มาชิกและ


กลองเปลาคื อ กลองที่ ไ มมี อ ะไรบรรจุ อ ยู ภายในเลย แตถานํ า กลองเปลาใบที่ ห นึ่ ง
ใสลงไปในกลองเปลาใบที่สองแลว จะพบวากลองใบที่สองไมใชกลองเปลาอีกตอไป
เพราะมีกลองเปลาใบแรกบรรจุอยูภายใน

สับเซต
นักเรี ย นมี ความสั บ สนเกี่ ย วกั บ ความหมายและสัญลักษณที่ใชแทนการเปนสมาชิก
ของเซต (∈) และการเปนสับเซต ( ⊂ )

เมื่อนักเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพเวนนสําหรับ 2 เซต และสําหรับ 3 เซต


แลว ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนภาพเวนนสําหรับ 4 เซต ดังนี้

กิจกรรม : รับสมัครงาน
บริษัทแหงหนึ่งเปดรับสมัครงานหลายตําแหนง โดยหลังจากประกาศรับสมัครงานผานไป
หนึ่งเดือน มีผูที่สนใจสงใบสมัครทั้งหมด 15 คน แตละคนมีคุณสมบัติดังนี้
นางหนึ่ง อายุ 32 ป จบการศึกษาปริญญาตรี มีใบอนุญาตขับขี่
นายสอง อายุ 42 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสาม อายุ 22 ป จบการศึกษาปริญญาตรี ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสี่ อายุ 25 ป จบการศึกษาปริญญาโท มีใบอนุญาตขับขี่
นางหา อายุ 23 ป จบการศึกษาปริญญาตรี มีใบอนุญาตขับขี่
นายหก อายุ 34 ป จบการศึกษาปริญญาตรี ไมมีใบอนุญาตขับขี่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

10 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

น.ส.เจ็ด อายุ 20 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่


นางแปด อายุ 40 ป จบการศึกษาปริญญาตรี ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นางเกา อายุ 32 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบ อายุ 19 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่
น.ส.สิบเอ็ด อายุ 34 ป จบการศึกษาปริญญาโท ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบสอง อายุ 30 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นางสิบสาม อายุ 35 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบสี่ อายุ 30 ป จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีใบอนุญาตขับขี่
นายสิบหา อายุ 36 ป จบการศึกษาปริญญาโท มีใบอนุญาตขับขี่
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนแตละคนนํารายชื่อผูสมัครตามที่กําหนดให มาจัดลงในแผนภาพตอไปนี้
ตามคุณสมบัติของผูสมัคร

อายุ 25 – 35 ป
เพศชาย จบการศึกษาอยางต่ํา
มีใบอนุญาตขับขี่
ระดับปริญญาตรี

2. ครูใหนักเรียนหาวามีผูสมัครคนใดบางที่มีคุณสมบัติตรงกับตําแหนงตอไปนี้
2.1 พนักงานขับรถ เพศชาย จบการศึกษาระดับใดก็ได มีใบอนุญาตขับขี่
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 11

2.2 เจาหนาที่ธุรการ เพศหญิง จบการศึกษาอยางต่ําระดับปริญญาตรี


2.3 พนักงานรับ-สงสินคา เพศหญิงหรือชายก็ได อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาระดับใดก็ได
มีใบอนุญาตขับขี่
2.4 เจาหนาที่พัสดุ เพศหญิงหรือชายก็ได อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาอยางต่ําระดับ
ปริญญาตรี
2.5 พนักงานฝายขาย เพศหญิงหรือชายก็ได อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาอยางต่ําระดับ
ปริญญาตรี มีใบอนุญาตขับขี่
2.6 พนักงานทําความสะอาด เพศหญิง จบการศึกษาระดับใดก็ได
2.7 เจาหนาที่ขนยายสินคา เพศชาย อายุ 25 – 35 ป จบการศึกษาระดับใดก็ได
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําตอบที่ได

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 1.1ก
2. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
1) {1, 3, 5, 7, 9}
2) {..., − 2, − 1, 0, 1, 2, ...}
3) {1, 4, 9, 16, 25, 36, ...}
4) {10, 20, 30, ...}
แบบฝกหั ด นี้ มีคํ า ตอบไดหลายแบบ เนื่ องจากการเขีย นแสดงเซตแบบบอกเงื่ อนไขของ
สมาชิกสามารถเขียนไดหลายแบบ ควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนเงื่อนไขของสมาชิก
ของเซต ซึ่งเงื่อนไขของนักเรียนไมจําเปนตองตรงกับที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

12 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

การดําเนินการระหวางเซต
เมื่อนักเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซตแลว ครูใชกิจกรรมตอไปนี้
เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของอินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต และผลตาง
ระหวางเซต

กิจกรรม : หาเพื่อน
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวครูเขียนแผนภาพนี้ลงบนกระดาน

2. ครูใหนักเรียนแตละคูอภิปรายในประเด็นตอไปนี้
2.1 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B

2.2 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของเซต A หรือเซต B หรือทั้งสองเซต


2.3 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของเซต A

2.4 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของเซต B

2.5 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของเซต A แตไมเปนสมาชิกของเซต B

2.6 สมาชิกตัวใดบางที่เปนสมาชิกของเซต B แตไมเปนสมาชิกของเซต A

3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําตอบที่ไดในขอ 2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 13

ครูสามารถเชื่อมโยงคําตอบที่ไดในกิจกรรมนี้กับเนื้อหาเรื่องการดําเนินการระหวางเซต ไดแก
อินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต และผลตางระหวางเซต

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
ลําดับการดําเนินการระหวางเซต
การเขี ย นวงเล็ บ มี ค วามสํ า คั ญ กั บ ลํ าดั บ การดํา เนิ น การระหวางเซตในกรณี ที่มี การ
ดํ า เนิ น การตางชนิ ด กั น เชน ( A ∪ B ) ∩ C มี ลํ า ดั บ การดํ า เนิ น การแตกตางกั บ
A ∪ ( B ∩ C ) เพื่อไมใหเกิดการสับสนเกี่ยวกับลําดับในการดําเนินการ จึงจําเปนตอง

ใสวงเล็บเพื่อบอกลําดับการดําเนินการระหวางเซตเสมอ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 1.2
3.

จงแรเงาแผนภาพที่กําหนดใหเพื่อแสดงเซตตอไปนี้
1) A′ 2) B′
3) A′ ∩ B′ 4) ( A ∪ B )′
5) A′ ∪ B′ 6) ( A ∩ B )′
7) A− B 8) A ∩ B′
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

14 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4.

จงแรเงาแผนภาพที่กําหนดใหเพื่อแสดงเซตตอไปนี้
1) ( A ∪ B) ∪ C 2) A∪(B ∪C)
3) ( A ∩ B) ∩ C 4) A∩(B ∩C)
5) ( A ∪ B) ∩ C 6) ( A∩C) ∪(B ∩C)
แบบฝกหัดทั้งสองขอนี้มีไวเพื่อเปนตัวอยางของการแสดงสมบัติของการดําเนินการของเซต
จากการแรเงาแผนภาพนักเรียนจะสังเกตเห็นวา แผนภาพที่แรเงาไดในบางขอเปนแผนภาพ
เดียวกันซึ่งสอดคลองกับสมบัติของการดําเนินการของเซต

การแกปญหาโดยใชเซต
เมื่อนักเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซตและการดําเนินการแลว
ครูอาจใชกิจกรรมตอไปนี้เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของอินเตอรเซกชัน ยูเนียน
คอมพลีเมนต และผลตางระหวางเซต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 15

กิจกรรม : แรเงา
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวครูเขียนแผนภาพนี้ลงบนกระดาน

2. ครูถามนักเรียนวาจํานวนสมาชิกของเซต A เปนเทาใด เมื่อนักเรียนตอบไดแลว ใหครู


แนะนําวาจํานวนสมาชิกของเซต A เขียนแทนดวย n ( A)
3. ครูใหนักเรียนแตละคูหา
3.1 n ( B )
3.2 n ( A ∪ B )
3.3 n ( A ∩ B )
4. ครู ใหนั กเรี ย นแตละคูพิ จ ารณาวา n ( A ∪ B ) มีความสัมพัน ธกับ n ( A) , n ( B ) และ
n ( A ∩ B ) อยางไร โดยครูอาจใหนักเรียนพิจารณาจากแผนภาพ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

16 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5. จากแผนภาพตอไปนี้

ครูใหนักเรียนแรเงาเซต A จากนั้นแรเงาเซต B โดยใชอีกสีหนึ่ง และใหนักเรียนพิจารณาวา


5.1 สวนที่แรเงาทั้งหมดแทนเซตใด
5.2 สวนที่แรเงา 2 ครั้ง แทนเซตใด
5.3 จากการแรเงา n ( A ∪ B ) มีความสัมพันธกับ n ( A) , n ( B ) และ n ( A ∩ B ) อยางไร

ครูสามารถเชื่อมโยงคําตอบที่ไดในกิจกรรมนี้กับเนื้อหาเรื่องการแกปญหาโดยใชเซต ในการหา
จํานวนสมาชิ กของเซต A∪ B และครูยังสามารถทํากิจ กรรมในทํานองเดียวกันนี้ในการหา
จํานวนสมาชิกของเซต A∪ B ∪C

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน
• ในการแกปญหาโดยใชเซตนั้น ครูอาจเสนอแนะใหนักเรียนใชวิธีเขียนแผนภาพแสดง
เซตเพื่อชวยในการหาคําตอบ
• ตัวเลขที่แสดงในแผนภาพแสดงเซตอาจหมายถึง สมาชิกของเซต หรือจํานวนสมาชิก
ของเซต ดังนั้น ครูควรเนนใหนักเรียนมีความเขาใจที่ชัดเจน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 17

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด
แบบฝกหัดทายบท
2. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
1) {1, 4, 7, 10, 13}
2) {−20, − 19, − 18, , − 10}
3) {5, 9, 13, 17, 21, 25, }
4) {1, 8, 27, 64, 125, 216, }
แบบฝกหั ด นี้ มี คํา ตอบไดหลายแบบ เนื่ อ งจากการเขี ย นแสดงเซตแบบบอกเงื่อ นไขของ
สมาชิกสามารถเขียนไดหลายแบบ ควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนเงื่อนไขของสมาชิก
ของเซต ซึ่งเงื่อนไขของนักเรียนไมจําเปนตองตรงกับที่ครูคิดไว

1.3 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
การวัดผลระหวางเรียนเปนการวัดผลการเรียนรูเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน และ
ตรวจสอบนักเรียนแตละคนวามีความรูความเขาใจในเรื่องที่ครูสอนมากนอยเพียงใด การให
นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนแนวทางหนึ่งที่ครูอาจใชเพื่อประเมินผลดานความรูระหวางเรียนของ
นักเรียน ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอ
แบบฝกหั ด ที่ ครอบคลุ มเนื้ อหาที่ สํ า คั ญ ของแตละบทไว สํา หรั บ ในบทที่ 1 เซต ครู อ าจใช
แบบฝกหัดเพื่อวัดผลประเมินผลความรูในแตละเนื้อหาไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

18 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เนื้อหา แบบฝกหัด

ความหมายของเซต สมาชิกของเซต จํานวนสมาชิกของเซต 1.1ก ขอ 3, 4, 5


เซตวาง เอกภพสัมพัทธ
การเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข 1.1ก ขอ 1, 2
ของสมาชิก
เซตจํากัดและเซตอนันต 1.1ก ขอ 6
เซตที่เทากัน 1.1ก ขอ 7, 8
สับเซต 1.1ข ขอ 1 – 4
เพาเวอรเซต 1.1ข ขอ 5
การเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซต 1.1ค ขอ 1, 2, 3
การดําเนินการระหวางเซต 1.2ก ขอ 1 – 6
(อินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต ผลตางระหวางเซต)

การแกปญหาโดยใชเซต 1.3ก ขอ 1 – 9

1.4 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีจุดมุงหมายวา
เมื่อนักเรียนไดเรียนจบบทที่ 1 เซต แลวนักเรียนสามารถ
1. ใชสัญลักษณเกี่ยวกับเซต
2. หาเพาเวอรเซตของเซตจํากัด
3. หาผลการดําเนินการของเซต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 19

4. ใชแผนภาพเวนนแสดงความสัมพันธระหวางเซต
5. ใชความรูเกี่ยวกับเซตในการแกปญหา
ซึ่ ง หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ มเติ มคณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ กษาปที่ 4 เลม 1 ไดนํ า เสนอ
แบบฝกหัดทายบทที่ประกอบดวยโจทยเพื่อตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
วัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะที่มีความ
นาสนใจและโจทยทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียน
ตามจุดมุงหมายของบทเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความสามารถตามจุดมุงหมายเมื่อเรียนจบ
บทเรียนหรือไม

ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4


เลม 1 บทที่ 1 เซต สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียน ดังนี้

จุดมุงหมาย
ขอ ใชแผนภาพเวนน
ขอ ใชสัญลักษณ หาเพาเวอรเซต หาผลการดําเนินการ ใชความรูเกีย่ วกับเซต
ยอย แสดงความสัมพันธ
เกี่ยวกับเซต ของเซตจํากัด ของเซต ในการแกปญหา
ระหวางเซต
1. 1)
2)
3)
4)
5)
2. 1)
2)
3)
4)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

20 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย
ขอ
ขอ ใชแผนภาพเวนน
ยอย ใชสัญลักษณ หาเพาเวอรเซต หาผลการดําเนินการ ใชความรูเกีย่ วกับเซต
แสดงความสัมพันธ
เกี่ยวกับเซต ของเซตจํากัด ของเซต ในการแกปญหา
ระหวางเซต
3. 1)
2)
3)
4)
5)
4. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
5. 1)
2)
3)
4)
6. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7. 1)
2)
3)
8. 1)
2)
3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 21

จุดมุงหมาย
ขอ
ขอ ใชแผนภาพเวนน
ยอย ใชสัญลักษณ หาเพาเวอรเซต หาผลการดําเนินการ ใชความรูเกีย่ วกับเซต
แสดงความสัมพันธ
เกี่ยวกับเซต ของเซตจํากัด ของเซต ในการแกปญหา
ระหวางเซต
9. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
10. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
11. 1)
2)
3)
12. 1)
2)
3)
4)
5)
13.
14.
15. 1)
2)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

22 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย
ขอ
ขอ ใชแผนภาพเวนน
ยอย ใชสัญลักษณ หาเพาเวอรเซต หาผลการดําเนินการ ใชความรูเกีย่ วกับเซต
แสดงความสัมพันธ
เกี่ยวกับเซต ของเซตจํากัด ของเซต ในการแกปญหา
ระหวางเซต
16. 1)
2)
17.
18. 1)
2)
3)
4)
19. 1)
2)
3)
20.
21. แบบฝกหัดทาทาย
22. 1) แบบฝกหัดทาทาย
2) แบบฝกหัดทาทาย
3) แบบฝกหัดทาทาย
4) แบบฝกหัดทาทาย

1.5 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
• เซตอนันต จําแนกไดเปน 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 เปนเซตอนันตนับได (countable infinite) เชน เซตของจํานวนนับ เซตของ
จํานวนเต็ม เซตของจํานวนตรรกยะ { x ∈ −
| x ≤ 1} , {x∈ | x ≠ 0}

แบบที่ 2 เปนเซตอนันตนับไมได (uncountable infinite) เชน เซตของจํานวนจริง


{x∈ |1 < x < 2} ซึ่งเซตเหลานี้ไมสามารถเขียนแจกแจงสมาชิกทั้งหมดได
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 23

• สมบัติของการดําเนินการของเซต
สมบัติของการดําเนินการของเซตเทียบเคียงไดกับสมบัติบางขอในสัจพจนเชิงพีชคณิต
ของระบบจํานวนจริง ดังนี้
ให A, B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U จะได
1) สมบัติการสลับที่
A∪ B = B ∪ A

A∩ B = B ∩ A

2) สมบัติการเปลี่ยนหมู
( A ∪ B) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C )
( A ∩ B) ∩ C = A ∩ ( B ∩ C )
3) สมบัติการแจกแจง
A ∪ ( B ∩ C ) = ( A ∪ B) ∩ ( A ∪ C )
A ∩ ( B ∪ C ) = ( A ∩ B) ∪ ( A ∩ C )

1.6 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและเฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
ในสวนนี้จะนําเสนอตัวอยางแบบทดสอบประจําบทที่ 1 เซต สําหรับรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปที่ 4 เลม 1 ซึ่ ง ครู ส ามารถเลื อ กนํ า ไปใชไดตามจุ ด ประสงคการเรี ย นรู
ที่ตองการวัดผลประเมินผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

24 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1) เซตของจํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 0 และ 20
2) {x ∈ 2 x2 − x − 3 = 0 }
2. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
1 1 1
1) , , , 1, 2, 4
8 4 2
2) { 0.1, 0.2, 0.3, 0.4, }
3. ให A = { a , b, c , { d } } จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
1) a∈ A 2) {d } ∉ A
3) { {d } } ⊂ A 4) { a, b } ∈ A
5) {b, {d }} ⊂ P ( A) 6) {∅, {d }} ⊂ P ( A)
4. จงหาจํานวนสมาชิกของเซตตอไปนี้
1) {{1, 2, 3, …}}
2) {x ∈ x 2 < 150 }
5. กําหนดให A, B เปนเซตอนันต และ A≠B จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริง
หรือเท็จ ถาเปนเท็จจงยกตัวอยางคาน
1) A∩ B เปนเซตอนันต
2) A∩ B เปนเซตจํากัด
3) A− B เปนเซตอนันต
4) A− B เปนเซตจํากัด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 25

6. กําหนดให A = {a, b, c, d , e}

1) จงหาจํานวนสับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก


2) จงหาจํานวนสับเซตของ A ที่ไมมี a เปนสมาชิก
3) จงหาจํานวนสับเซตของ A ที่มี a หรือ b เปนสมาชิก
7. กําหนดให A = {1, {2, 3}} จงหา P ( A) − A
8. ให A, B และ C เปนเซตใด ๆ ที่ไมใชเซตวาง จงเขียนแผนภาพแสดงเซตตอไปนี้
1) ( A − B ) ∪ ( B − A)
2) ( ( A − B ) − ( A − C ) ) ∪ ( B − ( A ∪ C ) )

9. จงพิจารณาวา ( A − B ) ∪ ( B − A) และ ( A ∪ B ) − ( A ∩ B ) เทากันหรือไม


10. ถา A มีจํานวนสมาชิกมากกวา B อยู 1 ตัว และ n ( A ∪ B ) + n ( A ∩ B ) = 75
จงหาจํานวนสมาชิกของ A

11. กําหนดให U = {1, 2, , 100} จงหาจํานวนสมาชิกของ U ที่เปนจํานวนคูแตหารดวย 3


ไมลงตัว
12. กําหนดให U = {1, 2, , 60} จงหาจํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือ
หารดวย 4 ลงตัว หรือหารดวย 5 ลงตัว
13. ในหองเรียนหนึ่งมีนักเรียนที่เลี้ยงสุนัข 32 คน มีนักเรียนที่เลี้ยงแมว 25 คน และมีนักเรียนที่
เลี้ยงสุนัขหรือแมวเพียงชนิดเดียว 47 คน จงหาจํานวนของนักเรียนที่เลี้ยงทั้งสุนัขและแมว
14. ในการสํารวจงานอดิเรกของคน 140 คน พบวา
72 คน ชอบดูภาพยนตร
65 คน ชอบออกกําลังกาย
58 คน ชอบอานหนังสือ
23 คน ชอบดูภาพยนตรและออกกําลังกาย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

26 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

18 คน ชอบดูภาพยนตรและอานหนังสือ
40 คน ชอบออกกําลังกายและอานหนังสือ
10 คน ไมสนใจงานอดิเรกขางตน
จงหาจํานวนคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ
15. ในงานเลี้ยงแหงหนึ่งมีผูเขารวมงาน 200 คน โดยที่ทุกคนชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู
จากการสํารวจปรากฏวามีคนที่ชอบรับประทานกุง ปลา และปู 63%, 42% และ 55%

ตามลําดับ มีคนที่ชอบรับประทานกุงและปลา 24% ชอบรับประทานปลาและปู 17%

และชอบรับประทานทั้งสามอยาง 9% จงหาจํานวนของคนที่ชอบรับประทานทั้งกุงและปู
16. ในการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวชาวตางชาติจํานวน 500 คน
พบวานักทองเที่ยวทุกคนเคยไปเชียงใหม กระบี่ หรือชลบุรี โดยมีนักทองเที่ยวที่เคยไปทั้ง
เชียงใหม กระบี่ และชลบุรี จํานวน 39 คน เคยไปเชียงใหมและกระบี่เทานั้น 78 คน
เคยไปเชียงใหมและชลบุรีเทานั้น 96 คน เคยไปกระบี่และชลบุรีเทานั้น 111 คน และมี
คนที่ไมเคยไปกระบี่ 208 คน จงหาจํานวนคนที่เคยไปกระบี่เพียงจังหวัดเดียว

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. 1) {2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19}
2) จาก 2 x2 − x − 3 = 0

( 2 x − 3)( x + 1) = 0
3
นั่นคือ x= หรือ x = −1
2
3
เนื่องจาก ไมใชจํานวนเต็ม จึงได −1 เปนคําตอบของสมการ
2
ดังนั้น เขียน { x ∈ 2 x2 − x − 3 = 0 } แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน {−1}
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 27

2. 1) {x x = 2n − 4 เมื่อ n∈ และ n ≤ 6}
n
2) {x x= เมื่อ n∈ }
10
3. 1) จริง 2) เท็จ
3) จริง 4) เท็จ
5) เท็จ 6) เท็จ
4. 1) เนื่องจาก {{1, 2, 3, …}} มีสมาชิก คือ {1, 2, 3, …}
ดังนั้น {{1, 2, 3, …}} มีจํานวนสมาชิก 1 ตัว
2) เนื่องจาก { x ∈ }
x 2 < 150 = {−12, − 11, … , 0, 1, … , 12}

นั่นคือ {x ∈ x 2 < 150 } มีสมาชิก คือ −12, − 11, … , 0, 1, … , 12


ดังนั้น {−12, − 11, … , 0, 1, … , 12} มีจํานวนสมาชิก 25 ตัว
5. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ A เปนเซตของจํานวนคู และ B เปนเซตของจํานวนคี่
จะได A∩ B = ∅ ซึ่ง ∅ เปนเซตจํากัด
ดังนั้น A∩ B ไมเปนเซตอนันต
2) เปนเท็จ เชน เมื่อ A= และ B=

จะได A∩ B = ซึ่ง เปนเซตอนันต


ดังนั้น A∩ B ไมเปนเซตจํากัด
3) เปนเท็จ เชน เมื่อ A= ∪ {0} และ B=

จะได A − B = {0} ซึ่ง {0} เปนเซตจํากัด


ดังนั้น A− B ไมเปนเซตอนันต
4) เปนเท็จ เชน เมื่อ A= และ B เปนเซตของจํานวนคี่
จะได A− B คือเซตของจํานวนคู ซึ่งเซตของจํานวนคูเปนเซตอนันต
ดังนั้น A− B ไมเปนเซตจํากัด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

28 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6. จาก A = {a, b, c, d , e}

จะได สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 0 ตัว ไดแก ∅

สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {a} , {b} , {c} , {d } และ {e}


สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว ไดแก {a, b} , {a, c} , {a, d } , {a, e} , {b, c} ,
{b, d } , {b, e} , {c, d } , {c, e} และ {d , e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 3 ตัว ไดแก {a, b, c} , {a, b, d } , {a, b, e} , {a, c, d } ,
{a, c, e} ,{a, d , e} , {b, c, d } , {b, c, e} ,
{b, d , e} และ {c, d , e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 4 ตัว ไดแก {a, b, c, d } , {a, b, c, e} , {a, b, d , e} ,
{a, c, d , e} และ {b, c, d , e}
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 5 ตัว ไดแก {a, b, c, d , e}
1) สับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก มีอยู 16 สับเซต
2) สับเซตของ A ที่ไมมี a เปนสมาชิก มีอยู 25 − 16 = 16 สับเซต
3) ให S เปนเซตของสับเซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก
T เปนเซตของสับเซตของ A ที่มี b เปนสมาชิก
จะได n ( S ) = 16, n (T ) = 16 และ n ( S ∩ T ) = 8
จาก n(S ∪T ) = n ( S ) + n (T ) − n ( S ∩ T )
= 16 + 16 − 8
= 24
ดังนั้น สับเซตของ A ที่มี a หรือ b เปนสมาชิก มีอยู 24 สับเซต

7. จาก A = {1, {2, 3}}

จะได {
P ( A) = ∅, { 1 } , {{ 2, 3 }}, {1, { 2, 3 }} }
ดังนั้น {
P ( A) − A = P( A) = ∅, { 1 } , {{ 2, 3 }}, {1, { 2, 3 }} }
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 29

8. 1) เขียนแผนภาพแสดง ( A − B ) ∪ ( B − A) ไดดังนี้

2) เขียนแผนภาพแสดง ( ( A − B ) − ( A − C ) ) ∪ ( B − ( A ∪ C ) )

9. เขียนแผนภาพแสดง ( A − B ) ∪ ( B − A) และ ( A ∪ B ) − ( A ∩ B ) ไดดังนี้

( A − B ) ∪ ( B − A) ( A ∪ B) − ( A ∩ B)

จากแผนภาพ จะไดวา ( A − B ) ∪ ( B − A) = ( A ∪ B ) − ( A ∩ B )
ดังนั้น ( A − B ) ∪ ( B − A) และ ( A ∪ B ) − ( A ∩ B ) เทากัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

30 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10. จาก n( A ∪ B) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได n( A ∪ B) + n( A ∩ B) = n ( A) + n ( B )

เนื่องจาก n ( A ∪ B ) + n ( A ∩ B ) = 75 และ n ( B ) = n ( A) − 1
นั่นคือ 75 = n ( A) + n ( A) − 1

2 n ( A) = 76

จะได n ( A) = 38

ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ A คือ 38

11. ให A แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งเปนจํานวนคู จะได n ( A) = 50


B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 ลงตัว จะได n ( B ) = 33
และ A∩ B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งเปนจํานวนคูและหารดวย 3 ลงตัว
เนื่องจาก จํานวนคูที่หารดวย 3 ลงตัว คือ จํานวนที่หารดวย 6 ลงตัว
จะได n ( A ∩ B ) = 16
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ U ซึ่งเปนจํานวนคูที่หารดวย 3 ไมลงตัว มีอยู
n ( A ) − n ( A ∩ B ) = 50 − 16 = 34 ตัว
12. ให A แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 ลงตัว
B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 4 ลงตัว
และ C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 5 ลงตัว
จะได A = { 3, 6, , 60 } นั่นคือ n ( A) = 20
B = { 4, 8, , 60 } นั่นคือ n ( B ) = 15

C = { 5, 10, , 60 } นั่นคือ n ( C ) = 12

ให A∩ B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 4 ลงตัว


A∩C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 5 ลงตัว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 31

B ∩C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 4 และ 5 ลงตัว


และ A∩ B ∩C แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 4 และ 5 ลงตัว
จะได A ∩ B = { 12, 24, 36, 48, 60 } นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 5
A ∩ C = { 15, 30, 45, 60 } นั่นคือ n ( A ∩ C ) = 4
B ∩ C = { 20, 40, 60 } นั่นคือ n ( A ∩ C ) = 3
A ∩ B ∩ C = { 60 } นั่นคือ n ( A ∩ B ∩ C ) = 1
วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A, B และ C ไดดังนี้

จากแผนภาพ จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 12 + 8 + 6 + 4 + 3 + 2 + 1 = 36
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหารดวย 4 ลงตัว หรือหาร
ดวย 5 ลงตัว มีอยู 36 ตัว
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C )

−n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )

จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 20 + 15 + 12 − 5 − 4 − 3 + 1
= 36
ดังนั้น จํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหารดวย 4 ลงตัว หรือหาร
ดวย 5 ลงตัว มีอยู 36 ตัว
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

32 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

13. ให A แทนเซตของนักเรียนที่เลี้ยงสุนัข จะได n ( A) = 32


B แทนเซตของนักเรียนที่เลี้ยงแมว จะได n ( B ) = 25
และ x แทนจํานวนนักเรียนที่เลี้ยงทั้งสุนัขและแมว
เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A และ B ไดดังนี้

เนื่องจาก มีนักเรียนที่เลี้ยงสุนัขหรือแมวเพียงชนิดเดียว 47 คน
จะได ( 32 − x ) + ( 25 − x ) = 47
57 − 2x = 47
2x = 10
x = 5
ดังนั้น จํานวนของนักเรียนที่เลี้ยงทั้งสุนัขและแมว เทากับ 5 คน
14. ให A แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตร จะได n ( A) = 72
B แทนเซตของคนทีช่ อบออกกําลังกาย จะได n ( B ) = 65
C แทนเซตของคนทีช่ อบอานหนังสือจะได n ( C ) = 58
A∩ B แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตรและออกกําลังกาย จะได n ( A ∩ B ) = 23
A∩C แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตรและอานหนังสือ จะได n ( A ∩ C ) = 18
B ∩C แทนเซตของคนที่ชอบออกกําลังกายและอานหนังสือ จะได n ( B ∩ C ) = 40
และ ( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของคนที่ไมชอบงานอดิเรกขางตนเลย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 33

จะได n ( A ∪ B ∪ C )′ = 10 นั่นคือ n ( A ∪ B ∪ C ) = 140 − 10 = 130


วิธีที่ 1 ให x แทนจํานวนคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ
เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของ A, B และ C ไดดังนี้

จากแผนภาพ จะได
( 31 + x ) + ( 23 − x ) + ( 2 + x ) + (18 − x ) + x + ( 40 − x ) + x = 130
x + 114 = 130
x = 16
ดังนั้น มีคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ 16 คน
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C )

−n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )

จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 20 + 15 + 12 − 5 − 4 − 3 + 1

130 = 72 + 65 + 58 − 23 − 18 − 40 + n ( A ∩ B ∩ C )
นั่นคือ n ( A ∩ B ∩ C ) = 16
ดังนั้น มีคนที่ชอบทั้งดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอานหนังสือ 16 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

34 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

15. ให A แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกุง
B แทนเซตของคนทีช่ อบรับประทานปลา
C แทนเซตของคนทีช่ อบรับประทานปู
A∩ B แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกุงและปลา
B ∩C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานปลาและปู
A∪ B ∪C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู
และ A∩ B ∩C แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานทั้งสามอยาง
63
จะได n ( A) = × 200 = 126
100
42
n( B) = × 200 = 84
100
55
n (C ) = × 200 = 110
100
24
n( A ∩ B) = × 200 = 48
100
17
n(B ∩ C) = × 200 = 34
100
9
n( A ∩ B ∩ C) = × 200 = 18
100
เนื่องจาก มีคนมารวมงานทั้งหมด 200 คน โดยแตละคนชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู
จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 200
จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B ) − n ( A ∩ C )
−n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )

จะได 200 = 126 + 84 + 110 − 48 − n ( A ∩ C ) − 34 + 18

นั่นคือ n ( A ∩ C ) = 56

ดังนั้น มีคนที่ชอบรับประทานทั้งกุงและปู 56 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 35

16. ให A แทนเซตของนักทองเที่ยวที่เคยไปเชียงใหม
B แทนเซตของนักทองเที่ยวที่เคยไปกระบี่
และ C แทนเซตของนักทองเที่ยวที่เคยไปชลบุรี
ให a แทนจํานวนนักทองเที่ยวที่เคยไปเชียงใหมเพียงจังหวัดเดียว
b แทนจํานวนนักทองเที่ยวที่เคยไปกระบี่เพียงจังหวัดเดียว
และ c แทนจํานวนนักทองเที่ยวที่เคยไปชลบุรีเพียงจังหวัดเดียว
เขียนแผนภาพแสดงไดดังนี้

เนื่องจากมีนักทองเที่ยวที่ไมเคยไปกระบี่ 208 คน
จากแผนภาพ จะไดวา a + c + 96 = 208 นั่นคือ a + c = 112

จะได b = 500 − [112 + 78 + 96 + 111 + 39] = 64

ดังนั้น จํานวนคนที่เคยไปกระบี่เพียงจังหวัดเดียวมี 64 คน

1.7 เฉลยแบบฝกหัด
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 แบงการเฉลยแบบฝกหัด
เปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 เฉลยคําตอบ และสวนที่ 2 เฉลยคําตอบพรอมวิธีทําอยางละเอียด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

36 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ซึ่งเฉลยแบบฝกหัดที่อยูในสวนนี้เปนการเฉลยคําตอบของแบบฝกหัด โดยไมไดนําเสนอวิธีทํา
อยางไรก็ตามครูสามารถศึกษาวิธีทําโดยละเอียดของแบบฝกหัดไดในสวนทายของคูมือครูเลมนี้

แบบฝกหัด 1.1ก
1. 1) { a, e, i, o, u } 2) { 2, 4, 6, 8 }
3) { 10, 11, 12, , 99 } 4) { 101, 102, 103, }
5) { − 99, − 98, − 97, , − 1} 6) { 4, 5, 6, 7, 8, 9 }
7) ∅ 8) ∅
9) { − 14, 14 }
10) {ชลบุร,ี ชัยนาท, ชัยภูมิ, ชุมพร, เชียงราย, เชียงใหม}

2. 1) ตัวอยางคําตอบ { x x เปนจํานวนคี่บวกที่นอยกวา 10 }
หรือ { x ∈ x เปนจํานวนคี่ตั้งแต 1 ถึง 9 }
2) ตัวอยางคําตอบ { x x เปนจํานวนเต็ม }
3) ตัวอยางคําตอบ { x ∈ x มีรากที่สองเปนจํานวนเต็ม }
หรือ { x x = n2 และ n เปนจํานวนนับ }
4) ตัวอยางคําตอบ { x ∈ x หารดวยสิบลงตัว }
หรือ { x x = 10n และ n เปนจํานวนนับ }
3. 1) 1 ตัว 2) 5 ตัว

3) 7 ตัว 4) 9 ตัว
5) 0 ตัว

4. 1) เปนเท็จ 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 37

5. 1) เปนเซตวาง 2) ไมเปนเซตวาง
3) ไมเปนเซตวาง 4) เปนเซตวาง
5) ไมเปนเซตวาง
6. 1) เซตอนันต 2) เซตจํากัด
3) เซตอนันต 4) เซตจํากัด
5) เซตอนันต 6) เซตอนันต
7. 1) A≠B จ 2) A≠B

3) A=B จ 4) A=B

5) A≠B จ
8. A=D จ

แบบฝกหัด 1.1ข
1. 1) ถูก 2) ผิด
3) ผิด 4) ถูก
5) ถูก 6) ผิด
2. A ⊂ B, C ⊂ A, C ⊂ B จ

3. 1) เปนจริง 2) เปนจริง
3) เปนจริง
4. 1) ∅ และ { 1}
2) ∅ , { 1} , { 2 } และ { 1, 2 }
3) ∅ , { − 1 } , { 0 } , { 1 } , {−1, 0 } , {−1, 1 } , { 0, 1 } และ {−1, 0, 1}
4) ∅ , { x }, { y } และ { x , y }
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

38 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) ∅ , { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b, c } และ { a , b , c }
6) ∅
5. 1) {∅ , { 5 }}
2) {∅ , { 0 } , { 1} , { 0, 1}}
3) {∅ , { 2 } , { 3 } , { 4 } , { 2, 3 } , { 2, 4 } , { 3, 4 } , { 2, 3, 4 }}
4) {∅ }

แบบฝกหัด 1.1ค
1.

2. 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 39

2)

3)

3. 1) 1 ตัว (คือ a)

2) 2 ตัว (คือ d และ e)

3) 3 ตัว (คือ x, y และ z)

แบบฝกหัด 1.2
1. 1) A ∪ B = { 0, 1, 2, 4, 7, 8, 9 } ก 2) A ∩ B = { 0, 2 }

3) A − B = { 1, 8 } ก 4) B − A = { 4, 7, 9 }

5) A′ = { 3, 4, 5, 6, 7, 9 } ก 6) B′ = { 1, 3, 5, 6, 8 }

7) A ∪ B′ = { 0, 1, 2, 3, 5, 6, 8 } ก 8) A′ ∩ B = { 4, 7, 9 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

40 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2. 1) A∩ B = ∅ ก 2) B ∪ C = { 1, 3, 4, 5, 6, 7 }

3) B ∩ C = { 3, 5 } 4) A ∩ C = { 4, 6 }
5) C ′ = { 0, 1, 2, 7 , 8 } 6) C ′ ∩ A = { 0, 2, 8 }
7) C ′ ∩ B = { 1, 7 } 8) ( A ∩ B ) ∪ B = { 1, 3, 5, 7 }
3. 1) A′ 2) B′ d

3) A′ ∩ B′ 4) ( A ∪ B )′ s

5) A′ ∪ B′ 6) ( A ∩ B )′ s

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 41

7) A− B 8) A ∩ B′ d

4. 1) ( A ∪ B) ∪ C 2) A∪(B ∪C) d

3) ( A ∩ B) ∩ C 4) A∩(B ∩C) s

5) ( A∩C) ∪(B ∩C) 6) ( A ∪ B) ∩ C s

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

42 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5. 1) A∩C ก 2) C ∪ B′

3) B−A ก
6. 1) ∅ ก 2) A

3) ∅ ก 4) U

5) U ก 6) ∅

7) A′ ก 8) ∅

แบบฝกหัด 1.3
1. ก
เซต A− B B−A A∪ B A′ B′ ( A ∪ B )′

จํานวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41

2. 1) n ( A ∪ B ) = 42 2) n ( A − B ) = 12 ก
3) n ( A′ ∩ B′ ) = 8 ป
3. 1) n ( A ∪ C ) = 40 2) n ( A ∪ B ∪ C ) = 43 ก
3) n ( A ∪ B ∪ C )′ = 7 ก 4) n ( B − ( A ∪ C )) = 3 ก
5) n (( A ∩ B ) − C ) = 7 ก
4. n( A ∩ B) = 6 ก
5. n ( B ) = 60 ก

6. 10 คน

7. 152 คน คิดเปนรอยละ 48.72 ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด


8. 100 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 43

9. 2,370 คน

แบบฝกหัดทายบท
1. 1) { 48 } ด 2) ∅

3) { 5, 10, 15, } ด 4) { − 2, 0, 2 }
5) { 1, 2, 3, , 10 } ด
2. 1) ตัวอยางคําตอบ { x | x = 3n − 2 เมื่อ n∈ และ 1 ≤ n≤ 5}

2) ตัวอยางคําตอบ { x∈ | − 20 ≤ x ≤ − 10 }
3) ตัวอยางคําตอบ { x | x = 4n + 1 เมื่อ n∈ }
4) ตัวอยางคําตอบ { x | x = n เมื่อ n∈ }
3

3. 1) เซตจํากัด 2) เซตอนันต

3) เซตจํากัด 4) เซตจํากัด
5) เซตอนันต
4. 1) เปนจริง 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ 4) เปนจริง
5) เปนจริง 6) เปนเท็จ
7) เปนจริง 8) เปนจริง
9) เปนเท็จ
5. 1) P ( A) ∩ P ( B ) = { ∅ }
2) P ( A ∩ B) = { ∅ }
3) P ( A ) ∪ P ( B ) = { ∅ , { 5 } , { 6 } , { 8 } , { 9 } , { 5, 6 } , { 8, 9 } }

4) P ( A′ ) = { ∅ , { 5 } , { 6 } , { 7 } , { 5, 6 } , { 5, 7 } , { 6, 7 } , { 5, 6, 7 } }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

44 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6. 1) A จ 2) ∅

3) U จ 4) A

5) A จ 6) U

7. 1) A ∪ B = A ∪ ( B − A) จ 2) A ∩ B′ = A − ( A ∩ B )

3) A′ ∩ B′ = U − ( A ∪ B ) จ จ
8. 1) A′ ∩ B ก จ 2) ( A ∩ B′ )′

3) ( A ∪ B′ )′ ก

9. 1) A ∪ ( A − B) ก 2) ( A′ ∩ B ) ∩ C

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 45

3) ( A − B )′ ∩ C ก 4) A ∪ (C′ − B )

5) ( A ∩ B′ ) ∪ C ก 6) A′ ∩ ( C ′ ∩ B )

7) A ∪ ( C ′ ∩ B )′ ก

10. 1) { 0, 2, 4, 7, 9, 12, 14 } จ 2) { 1, 4, 6, 9, 12, 15 }


3) { 1, 4, 5, 7, 11, 12 } จ 4) { 4, 9, 12 }
5) { 1, 4, 12 } จ 6) { 4, 7, 12 }
7) { 0, 2, 7, 14 } จ 8) { 1, 5, 6, 11, 15 }
11. 1) เปนจริงจ 2) เปนจริง
3) เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต

46 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

12. 1) เปนจริง 2) เปนจริง


3) เปนจริงจ 4) เปนจริง
5) เปนจริงจ
13. n ( A ) = 167 ก

14. 45% ด
15. 1) 10% ด 2) 75% ด

16. 1) 13 คัน 2) 10 คัน


17. 405 คน

18. 1) 72% ก 2) 84% ก

3) 65% ก 4) 13%ก

19. 1) 52 คน 2) 864 คน

3) 136 คน
20. 16%ก
21. 1%
22. 1) 46จ 2) 7

3) 37จ 4) 14

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 47

บทที่ 2

ตรรกศาสตร

การศึกษาเรื่องตรรกศาสตรมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปนรากฐานและเครื่องมือที่
สํ า คั ญ ในการสื่ อสารและสื่ อความหมายในวิช าคณิตศาสตรและศาสตรอื่น ๆ เนื้อหาเรื่อ ง
ตรรกศาสตรที่นําเสนอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1
มีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับสัญลักษณและภาษาทางตรรกศาสตร ซึ่งเพียงพอที่จะ
ใชในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตรเพื่อเปนเครื่องมือในการเรีย นรูเนื้อหา
คณิตศาสตรในหัวขอตอไป ในบทเรียนนี้มุงใหนักเรียนบรรลุตัวชี้วัดและจุดมุงหมายดังตอไปนี้

ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู

ตัวชี้วัด
เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตรเบื้องตน ในการสื่อสารและสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร
ผลการเรียนรู
เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตรเบื้องตนในการสื่อสาร สื่อความหมาย และอางเหตุผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

48 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จุดมุงหมาย

1. จําแนกขอความวาเปนประพจนหรือไมเปนประพจน
2. หาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม
3. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประพจนสองประพจน
4. จําแนกประพจนวาเปนสัจนิรันดรหรือไมเปนสัจนิรันดร
5. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการอางเหตุผล
6. หาคาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
7. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประโยคสองประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
8. หานิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
9. ใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตรในการแกปญหา

ความรูกอนหนา

• ความรูเกี่ยวกับจํานวนและสมการในระดับมัธยมศึกษาตอนตน
• เซต

2.1 เนื้อหาสาระ
1. ประพจน คื อ ประโยคหรื อ ขอความที่ เ ปนจริ งหรือ เท็ จ อยางใดอยางหนึ่ง เทานั้ น ซึ่ ง
ประโยคหรือขอความดังกลาวจะอยูในรูปบอกเลาหรือปฏิเสธก็ได ในตรรกศาสตรเรียก
การเปน “จริง” หรือ “เท็จ” ของแตละประพจนวา “คาความจริงของประพจน”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 49

2. ให p และ q เปนประพจนใด ๆ เมื่อเชื่อมดวยตัวเชื่อม “และ” ( ) “หรือ” ( )


“ถา...แลว...” ( ) และ “ก็ตอเมื่อ” ( ) จะมีขอตกลงเกี่ยวกับคาความจริงของ
ประพจนที่ไดจากการเชื่อมประพจน p และ q โดยให T และ F แทนจริงและเท็จ
ตามลําดับ ดังนี้
p q p q p q p q p q

T T T T T T

T F F T F F

F T F T T F

F F F F T T

ถา p เปนประพจนใด ๆ แลว นิเสธของ p เขียนแทนดวยสัญลักษณ p และเขียน


ตารางคาความจริงของ p ไดดังนี้
p p

T F

F T

3. ให p, q และ r เปนประพจนซึ่งยังไมกําหนดคาความจริง จะเรียก p, q และ r วาเปน


ตัวแปรแทนประพจนใด ๆ และเรียกประพจนที่มีตัวเชื่อม เชน p, p q, p q, p q,

p q วา “รูปแบบของประพจน”
4. ถารูปแบบของประพจนสองรูปแบบใดมีคาความจริงตรงกันกรณีตอกรณี แลวจะสามารถ
นําไปใชแทนกันได เรียกสองรูปแบบของประพจนดังกลาววาเปน รูปแบบของประพจนที่
สมมูลกัน รูปแบบของประพจนที่สมมูลกันที่ควรทราบมีดังนี้
p ( p)
p q q p

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

50 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

p q q p
(p q) p q
(p q) p q
p q p q
p q q p
p q (p q) (q p)
p (q r) (p q) (p r)
p (q r) (p q) ( p r)

5. รูปแบบของประพจนที่มีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี เรียกวา สัจนิรันดร


6. การอางเหตุผลคือ การอางวา เมื่อมีประพจน p1 , p2 , , pn ชุดหนึ่ง แลวสามารถสรุป
ประพจน C ประพจนหนึ่งได การอางเหตุผลประกอบดวยสวนสําคัญสองสวนคือ เหตุ
หรือสิ่งที่กําหนดให ไดแก ประพจน p1 , p2 , , pn และ ผลหรือขอสรุป คือ ประพจน C

โดยใชตัวเชื่อม เชื่อมเหตุทั้งหมดเขาดวยกัน และใชตัวเชื่อม เชื่อมสวนที่เปนเหตุกับ


ผลดังนี้
( p1 p2 pn ) C

จะกลาววา การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล เมื่อรูปแบบของประพจน ( p 1 p2 pn ) C

เปนสัจนิรันดร
7. ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลาหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร และเมื่อแทนตัวแปรดวย
สมาชิกในเอกภพสัมพัทธแลวไดประพจน
8. เรียก “สําหรับ...ทุกตัว” และ “สําหรับ...บางตัว” วา ตัวบงปริมาณ แทนดวยสัญลักษณ
และ ตามลําดับ โดยใชสัญลักษณ
x แทน สําหรับ x ทุกตัว
x แทน สําหรับ x บางตัว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 51

ถา P ( x ) เปนประโยคเปดที่มี x เปนตัวแปร คาความจริงของ P ( x) ที่มีตัวบงปริมาณ


ตัวเดียว เปนดังนี้
x P ( x) มี ค าความจริ ง เปนจริ ง ก็ ต อเมื่ อ แทนตั ว แปร
ใน P ( x ) ดวย x

สมาชิกแตละตัวในเอกภพสัมพัทธ แลวไดประพจนที่มีคาความจริง
เปนจริงทั้งหมด
x P ( x) มี ค าความจริ ง เปนเท็ จ ก็ ต อเมื่ อ แทนตั ว แปรใน P ( x ) ดวย
x

สมาชิ ก อยางนอยหนึ่ ง ตั ว ในเอกภพสั ม พั ท ธ แลวไดประพจนที่ มี


คาความจริงเปนเท็จ
x P ( x) มี ค าความจริ ง เปนจริ ง ก็ ต อเมื่ อ แทนตั ว แปรใน P ( x ) ดวย
x

สมาชิ ก อยางนอยหนึ่ ง ตั ว ในเอกภพสั ม พั ท ธ แลวไดประพจนที่ มี


คาความจริงเปนจริง
x P ( x) มี ค าความจริ ง เปนเท็ จ ก็ ต อเมื่ อ แทนตั ว แปร
ใน P ( x ) ดวย x

สมาชิกแตละตัวในเอกภพสัมพัทธ แลวไดประพจนที่มีคาความจริง
เปนเท็จทั้งหมด

2.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน

ประพจน

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• การจํ า แนกขอความวาเปนประพจนหรื อ ไมเปนประพจน อาจไมจํ า เปนตองทราบ


คาความจริงที่แนนอนของประพจนนั้น เชน มีสิ่งมีชีวิตอยูบนดาวอังคาร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

52 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

• การเลื อ กตั ว อยางในชั้ น เรี ย นหรื อ แบบทดสอบระหวางเรี ย นที่ จ ะใหนั ก เรี ย นบอก
คาความจริ งของประพจนที่ไมใชขอความทางคณิตศาสตร ครูควรเลือกใหเหมาะสมกับ
ความรู และประสบการณของนั ก เรี ย น เชน ยุ ง ลายเปนพาหะของโรคไขเลื อ ดออก
โรคเลือดออกตามไร นเปนโรคที่เกิดจากการขาดวิตามินซี และหลีกเลี่ยงตัวอยางขอความ
ที่ใชความรูสึกในการตัดสินวาขอความนั้นเปนจริงหรือเท็จ เชน นารีสวย ปกรณเปนคนดี
• ในการสอนเกี่ยวกับประพจน ครูไมควรยกตัวอยางขอความที่ใชสรรพนามบุรุษที่ 2 และ 3
เชน เขาซื้อขนม ลุงกับปาไปเที่ยวตางประเทศ ซึ่งอาจทําใหนักเรียนเกิดความสับสนวา
ขอความดังกลาวเปนประพจนหรือไม เนื่องจากนักเรียนจะตองทราบบริบทของขอความ
ดังกลาวจึงจะสามารถสรุปคาความจริงของขอความดังกลาวได เชน “เขา” “ลุง” “ปา”
หมายถึงใคร

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 2.1
2. จงเขี ย นประโยคหรื อ ขอความที่ เ ปนประพจนมา 5 ประพจน พรอมทั้ ง บอก
คาความจริงของประพจนนั้น ๆ
แบบฝกหั ด นี้ มี คํ า ตอบไดหลายแบบ โดยอาจเปนไดทั้ ง ขอความทางคณิ ต ศาสตร เชน
∅ ∈{1, 2, 3} และไมใชขอความทางคณิตศาสตร เชน หนึ่งปมีสิบสองเดือน ควรใหนักเรียน
มีอิสระในการเขียนประโยคหรือขอความที่เปน ประพจน ซึ่งคําตอบของนักเรียนไมจําเปนตอง
ตรงกับที่ครูคิดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 53

การเชื่อมประพจน

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “และ”
ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจการเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “และ” โดยให
นักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้

กิจกรรม : การแตงกายของลูกปด

ให p แทนขอความ “ลูกปดใสเสื้อสีขาว”
และ q แทนขอความ “ลูกปดใสกางเกงสี า”
จะไดวา p q แทนขอความ “ลูกปดใสเสื้อสีขาวและลูกปดใสกางเกงสี า”
หรือเขียนโดยยอเปน “ลูกปดใสเสื้อสีขาวและกางเกงสี า”
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนเติมตารางคาความจริง ตอไปนี้
ลูกปดใสเสื้อสีขาวและ
ลูกปดใสเสื้อสีขาว ลูกปดใสกางเกงสี า
กางเกงสี า
( p) (q)
(p q)

2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดจากขอ 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

54 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เมื่อจบกิจกรรมนี้แลว ครูควรใหนักเรียนสรุปไดวาในการเชื่อมประพจนดวย “และ” มีขอตกลง


วาประพจนใหมจะเปนจริงในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนจริงทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปน
เท็จทุกกรณี จากนั้นครูสรุปการเขียนตารางคาความจริงของ p q

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

สําหรับภาษาที่ใชในชีวิตประจําวัน อาจแทนตัวเชื่อม “และ” ดวยคําอื่นซึ่งใหความหมาย


อยางเดียวกัน เชน “แต” “นอกจากนั้นแลว” “ถึงแมวา” “ในขณะที่” ตัวอยางประโยค
ที่พบไดในชีวิต ประจําวัน เชน วรรณชอบวิชาคณิตศาสตรแตนุชชอบวิช าภาษาอังก ษ
สมศักดิเปนหัวหนาหองนอกจากนั้นแลวเขายังเปนประธานนักเรียนดวย วิชัยทํางานหนัก
ถึงแมวาเขาปวย น้ําผึ้งอานหนังสือในขณะที่น้ําฝนดูโทรทัศน

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “หรือ”
ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจการเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “หรือ” โดยให
นักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้

กิจกรรม : สัตวเลี้ยงของตนน้ํา

ให p แทนขอความ “ตนน้ําเลี้ยงแมว”
และ q แทนขอความ “ตนน้ําเลี้ยงนก”
จะไดวา p q แทนขอความ “ตนน้ําเลี้ยงแมวหรือตนน้ําเลี้ยงนก”
หรือเขียนโดยยอเปน “ตนน้ําเลี้ยงแมวหรือนก”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 55

ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนเติมตารางคาความจริง ตอไปนี้
ตนน้ําเลี้ยงแมว ตนน้ําเลี้ยงนก ตนน้ําเลี้ยงแมวหรือนก
( p) (q) (p q)

2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดจากขอ 1

เมื่อจบกิจกรรมนี้แลว ครูควรใหนักเรียนสรุปไดวาในการเชื่อมประพจนดวย “หรือ” มีขอตกลง


วาประพจนใหมจะเปนเท็จในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันเปนเท็จทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปนจริง
ทุกกรณี จากนั้นครูสรุปการเขียนตารางคาความจริงของ p q

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

การใชตั ว เชื่ อม “ หรือ” ในทางตรรกศาสตรจะหมายถึงการเลือกอยางใดอยางหนึ่งหรือ


ทั้งสองอยาง

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “ า แลว ”

ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจการเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “ถา...แลว...”
โดยใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

56 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กิจกรรม : สัญญาระหวางพอกับจิว

ให p แทนขอความ “จิวกวาดบาน”
และ q แทนขอความ “พอใหขนม”
จะไดวา p q แทนขอความ “ถาจิวกวาดบานแลวพอจะใหขนม”
การรักษาสัญญาของพอจะเทียบกับคาความจริงของ p q

ซึ่งในกรณีที่ p q เปนจริง หมายถึง พอรักษาสัญญา


ในกรณีที่ p q เปนเท็จ หมายถึง พอไมรักษาสัญญา
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนเติมคาความจริงลงในตารางตอไปนี้
จิวกวาดบาน พอใหขนม พอรักษาสัญญา

( p) (q) (p q)

2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดจากขอ 1

เมื่อจบกิจกรรมนี้แลว ครูควรใหนักเรียนสรุปไดวาในการเชื่อมประพจนดวย “ถา...แลว... ”


มีขอตกลงวาประพจนใหมจะเปนเท็จในกรณีที่เหตุเปนจริงและผลเปนเท็จเทานั้น กรณีอื่น ๆ
เปนจริ ง ทุ ก กรณี ครู ค วรชี้ แ จงเพิ่ ม เติ ม วาประพจนซึ่ ง ตามหลั ง คํ า วา า เรี ย กวา “เหตุ ”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 57

สวนประพจนซึ่งตามหลังคําวา แลว เรียกวา “ผล” จากนั้นครูสรุปการเขียนตารางคาความจริง


ของ p q

การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ”
ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจการเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” โดยให
นักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้

กิจกรรม : เกรดวิชาคณิตศาสตรของปุยนุน

คาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” อาจพิจารณาจากสถานการณในชีวิตจริงได เชน


โรงเรียนแหงหนึ่งกําหนดวา “นักเรียนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตรก็ตอเมื่อนักเรียนไดคะแนน
ตั้ ง แต 80% ของคะแนนเต็ มวิ ชาคณิ ตศาสตร ” สมมติ ว าปุ ยนุ นเป นนั กเรี ยน
ของโรงเรียนแหงนี้
ให p แทนขอความ “ปุยนุนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตร”
และ q แทนขอความ “ปุยนุนไดคะแนนตั้งแต 80% ของคะแนนเต็มวิชาคณิตศาสตร”

จะไดวา p q แทนขอความ “ปุย นุนไดเกรด 4 วิชาคณิตศาสตรก็ตอเมื่อปุยนุน


ไดคะแนนตั้งแต 80% ของคะแนนเต็มวิชาคณิตศาสตร”
การเกิดขึ้นไดของสถานการณนี้จะเทียบไดกับคาความจริงของ p q

ในกรณีที่สถานการณนี้เกิดขึ้นไดจริง จะไดวา p q เปนจริง


ในกรณีที่สถานการณนี้ไมสามารถเกิดขึ้นได จะไดวา p q เปนเท็จ
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนเติมคาความจริงลงในตารางตอไปนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

58 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ปุยนุนไดเกรด 4 วิชา ปุยนุนไดคะแนนตั้งแต การเกิดขึ้นไดของ


คณิตศาสตร 80% ของคะแนนทั้งหมด สถานการณนี้
( p) (q) (p q)

2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดจากขอ 1

เมื่อจบกิจกรรมนี้แลว ครูควรใหนักเรียนสรุปไดวาในการเชื่อมประพจนดวย “ก็ตอเมื่อ” มีขอตกลง


วาประพจนใหมจะเปนจริงในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนจริงทั้งคูหรือเปนเท็จทั้งคู
เทานั้น กรณีอื่น ๆ เปนเท็จเสมอ จากนั้นครูสรุปการเขียนตารางคาความจริงของ p q

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” พบไดบอยในการศึกษาคณิตศาสตร เชน บทนิยามเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม


หนาจั่ว ซึ่งกลาววา “รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว คือ รูปสามเหลี่ยมที่มีดานยาวเทากันสองดาน”
หมายความวา “รูปสามเหลี่ยมใดจะเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วก็ตอเมื่อรูปสามเหลี่ยมนั้นมีดาน
ยาวเทากันสองดาน” ซึ่งมีความหมายเดียวกับ “ถารูปสามเหลี่ยมใดเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
แลวรูปสามเหลี่ยมนั้นจะมีดานยาวเทากันสองดาน และ ถารูปสามเหลี่ยมใดมีดานยาวเทากัน
สองดานแลวรูปสามเหลี่ยมนั้นจะเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว”
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 59

นิเสธของประพจน
ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับนิเสธของประพจน โดยใหนักเรียนทํากิจกรรม
ตอไปนี้

กิจกรรม : งานอดิเรกของหนูดี

ให p แทนขอความ “หนูดีอานหนังสือ”
จะไดวา p แทนขอความ “หนูดี ม ดอานหนังสือ”
จะไดตารางคาความจริง ดังนี้การ
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ครูใหนักเรียนเติมคาความจริงลงในตารางตอไปนี้

หนูดีอานหนังสือ หนูดี ม ดอานหนังสือ


( p) ( p)

2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับตารางคาความจริงที่ไดจากขอ 1

เมื่ อ จบกิ จ กรรมนี้ แ ลว ครู ค วรใหนั ก เรี ย นสรุ ป ไดวาคาความจริ ง ของนิ เ สธจะตรงขามกั บ
คาความจริงของประพจนเดิมเสมอ จากนั้นครูสรุปการเขียนตารางคาความจริงของ p

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

60 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

การหาคาความจริงของประพจน

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• ครู ค วรเขี ย นวงเล็ บ ในตั ว อยางที่ ต องการใหนั ก เรี ย นพิ จ ารณาคาความจริ ง ทุ ก ครั้ ง
ไมควรละวงเล็บไวใหนักเรียนตั ดสินใจเอง ยกเวนตัวเชื่อม “ ” ซึ่งในหนังสือเรีย น
ของ สสวท. ไมไดใสวงเล็บไวเชนกัน เนื่องจากถือวาเปนตัวเชื่อมที่ตองหาคาความจริง
กอน เชน สําหรับประพจน p p นั้น ตองหาคาความจริงของ p กอน แลวจึงหา
คาความจริงของ p p ซึ่งมีความหมายเชนเดียวกับ p ( p)

• การหาคาความจริ ง ของประพจนที่ มี ตั ว เชื่ อ มสามารถทํ า ไดหลายวิ ธี ทั้ ง นี้ ค รู ค วรให


นั ก เรี ย นฝกฝนการหาคาความจริ ง ของประพจนที่ มี ตั ว เชื่ อ มโดยใชแผนภาพ
ซึ่ ง สามารถเขี ย นแสดงไดหลายแบบ ควรใหนั ก เรี ย นมี อิ ส ระในการเขี ย นแผนภาพ
โดยไมจําเปนจะตองตรงกับที่ครูคิดไว จะเปนประโยชนในการศึกษาหัวขอตอ ๆ ไป

รูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• การพิจารณารูปแบบของประพจนที่สมมูลกันสามารถทําไดโดยพิจารณาจากตาราง
คาความจริง และเมื่อนักเรียนรูจักรูปแบบของประพจนที่สมมูลกันที่ควรทราบแลว
นักเรียนสามารถใชรูปแบบของประพจนเหลานั้นชวยในการพิจารณาการสมมูลกันของ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 61

รูปแบบของประพจนคูอื่น ๆ ได ดังนั้นครูควรชี้แนะนักเรียนและฝกฝนใหนักเรียนจํา
รู ปแบบของประพจนที่ สมมู ลกั นใหได เนื่องจากนักเรียนจะตองนํ าความรู นี้ไปใชเปน
พื้นฐานในการเรียนคณิตศาสตร
• รูปแบบของประพจนที่ส มมูลกัน สามารถเทียบไดกับสมบัติการสลับที่ การเปลี่ยนหมู
และการแจกแจงของการบวกหรือการคูณจํานวน
• p q p q เปนรูปแบบของประพจนที่สมมูลกันที่สําคัญมาก เนื่องจากจะใชเปน
พื้นฐานในการแสดงการสมมูลของรูปแบบของประพจนคูอื่น ๆ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 2.5
1. จงเขียนขอความที่สมมูลกับขอความตอไปนี้
1) 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง
2) ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทรเปนนักเรียน
แบบฝกหัดนี้มีคําตอบไดหลายแบบ โดยใชความรูเกี่ยวกับรูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน
ครูควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนประโยคหรือขอความที่เปนประพจน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

62 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

สัจนิรันดร

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• ในหัวขอนี้จะเนนการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของประพจนที่เชื่อมดวย
“ถา ... แลว ...” เนื่องจากจะเปนพื้นฐานในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลในหัวขอถัดไป

• การตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรสามารถทําไดหลายแบบ เชน วิธีการใชตารางคาความจริง


วิธีการหาขอขัดแยง
• รูปแบบของประพจนที่เชื่อมดวย “ถา ... แลว ...” จะเปนเท็จไดเพียงกรณีเดียว คือ เหตุ
เปนจริ ง แตผลเปนเท็ จ ดั งนั้ น ในการตรวจสอบการเปนสัจ นิรัน ดรของรู ป แบบของ
ประพจนที่เชื่อมดวย “ถา ... แลว ...” สามารถทําไดโดยใชวิธีการหาขอขัดแยง
• การตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของประพจนที่สมมูลกันที่เชื่อมดวยตัวเชื่อม
“ก็ตอเมื่อ” สามารถทําได เชน (p q) กับ p q เนื่องจากรูปแบบของประพจน
ทั้งสองสมมู ลกัน เมื่ อนํ ามาเชื่ อมดวยตั วเชื่ อมก็ตอเมื่อ จะได ( p q ) ( p q )
เปนสัจนิรันดร เพราะ ( p q ) กับ p q ตางก็มีคาความจริงตรงกันกรณีตอกรณี
นอกจากนี้สัจนิรันดรที่เชื่อมดวยตัวเชื่อมก็ตอเมื่อ สามารถสรุปไดวารูปแบบของประพจน
สองขางของเครื่องหมาย สมมูลกันดวย

ความเขาใจคลาดเคลื่อน

นักเรียนมักเขาใจวาเมื่อใชวิธีหาขอขัดแยงในการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบ
ของประพจนที่เชือ่ มดวย “ถา ... แลว ...” แลวพบขอขัดแยงแลวจะสรุปโดยทันทีวารูปแบบ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 63

ของประพจนนั้นเปนสัจนิรันดร ซึ่งเปนความเขาใจที่ไมถูกตอง เนื่องจากการใชวิธีการหาขอ


ขัด แยงจะตองตรวจสอบใหครบทุ กกรณี ซึ่งเมื่อพบขอขัดแยงในกรณีหนึ่งแลว อาจยังมี
กรณี อื่ น ๆ อี ก ที่ ไ มมี ข อขั ด แยง เชน ในการตรวจสอบการเปนสั จ นิ รั น ดรของ
p (q r) (p q) r จะพบกรณีที่เกิดขอขัดแยง ดังแสดงในแผนภาพตอไปนี้

T F

T T T F

F F T T

ขัดแยงกัน
อยางไรก็ตามกรณี รูปแบบของประพจนนี้มีกรณีที่ไมเกิดขอขัดแยง ดังแสดงในแผนภาพ
ตอไปนี้

T F

F T T F

F F F F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

64 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวา ขอความ p (q r) (p q) r ไมเปนสัจนิรันดร จากตัวอยางนี้


จึงสรุปไดวา ในกรณีที่ใชวิธีหาขอขัดแยงในการตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรของรูปแบบของ
ประพจนที่เชื่อมดวย “ถา ... แลว ...” แลวเกิดขอขัดแยง นักเรียนจําเปนตองพิจารณาวามี
กรณีอื่น ๆ ที่ไมเกิดขอขัดแยงหรือไม ถามีกรณีอื่นที่ไมเกิดขอขัดแยง แสดงวารูปแบบของ
ประพจนที่กําหนดใหสามารถเปนเท็จได นั่นคือรูปแบบของประพจนนี้ไมเปนสัจนิรันดร

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

ในการตรวจสอบรูปแบบของประพจนวาเปนสัจนิรันดรหรือไม ครูควรสนับสนุนใหนักเรียน
ใชแผนภาพ เนื่องจากจะเปนพื้นฐานในการศึกษาเรื่องการอางเหตุผล แตในกรณีที่นักเรียน
ไมสามารถใชแผนภาพเพื่อตรวจสอบการเปนสัจนิรันดรได ครูอาจเปดโอกาสใหนักเรียนใช
ตารางคาความจริงได ทั้งนี้เมื่อนักเรียนฝกฝนมากพอจะสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมสําหรับ
โจทยแตละขอได

ประโยคเปด

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ในการยกตัวอยางประโยคเปด ครูไมควรยกตัวอยางประโยคที่มีตัวแปรบางประโยค เชน


x + x = 2x , x 2 + 3 x + 2 = ( x + 1)( x + 2 ) เนื่องจากประโยคเหลานี้เปนประพจนที่เปนจริง
เมื่อพิจารณาวาเปนการเขียนแบบละตัวบงปริมาณ x

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 65

ตัวบงปริมาณ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 2.9
1. จงเขียนขอความตอไปนี้ในรูปสัญลักษณ เมื่อ U =
4) จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนจริง
แบบฝกหัดนี้หากไมกําหนดเอกภพสัมพัทธ สามารถเขียนในรูปสัญลักษณไดเปน
x[ x ∈ ], U = หรือ x[ x ∈ x∈ ], U =

สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 2.11
2. จงหานิเสธของขอความตอไปนี้
แบบฝกหั ด นี้ มี คํ า ตอบไดหลายแบบ โดยใชความรู เกี่ ย วกั บ นิ เ สธของประพจนที่ มี
ตัวบงปริมาณ ครูควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนนิเสธของขอความที่กําหนด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

66 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัดทายบท
3. จงเขี ย นประโยคหรื อ ขอความที่ เ ปนประพจนเชิ ง ประกอบที่ ใ ชตั ว เชื่ อ ม “ ไม ”
“และ” “หรือ” “ถา...แลว...” และ “ก็ตอเมื่อ” มาอยางละ 1 ประพจน
แบบฝกหัดนี้มีคําตอบไดหลายแบบ โดยอาจเปนไดทั้งขอความทางคณิตศาสตร และไมใช
ขอความทางคณิตศาสตร ครูควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนประโยคหรือขอความที่เปน
ประพจน ซึ่งคําตอบของนักเรียนไมจําเปนตองตรงกับที่ครูคิดไว

7. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน จงตรวจสอบวารูปแบบของประพจนในขอ


ตอไปนี้สมมูลกันหรือไม
1) p ( qกับ ( p q ) ( p r )
r)

2) ( p q ) r กับ ( p r ) ( q r )
3) ( p q ) r กับ ( p q r )
4) p q กับ ( p q) (q p)
แบบฝกหัดนี้ในการตรวจสอบวารูปแบบของประพจนที่กําหนดใหไมสมมูลกัน นอกจากจะ
แสดงไดโดยใชตารางคาความจริงแลว อาจแสดงไดโดยใชการจัดรูปประพจนที่กําหนดใหโดย
ใชรู ปแบบของประพจนที่ สมมู ลกั นพรอมใหเหตุ ผลประกอบ เชน รู ปแบบของประพจน
p ( q r) กับ ( p q) (p r) สามารถแสดงการตรวจสอบวา p ( q r)

กับ ( p q) (p r) สมมูลกันหรือไม ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 67

(p q) (p r) ( p q) ( p r)

p q p r

( p p) ( q r)

p ( q r)

p ( q r)

ซึ่งจะเห็ นวา q r ไมสมมูล กับ q r เนื่องจากในการเชื่อมประพจนดวย “ และ”


มีขอตกลงวาประพจนใหมจะเปนจริงในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันนั้นเปนจริงทั้งคู
กรณีอื่น ๆ เปนเท็จทุกกรณี แตในการเชื่อมประพจนดวย “หรือ” มีขอตกลงวาประพจน
ใหมจะเปนเท็จในกรณีที่ประพจนที่นํามาเชื่อมกันเปนเท็จทั้งคู กรณีอื่น ๆ เปนจริงทุกกรณี
ทําใหไดวา p ( q r) ไมสมมูลกับ p ( q r) ดังนั้น p ( q r) ไมสมมู ล
กับ ( p q) (p r)

8. จงเขียนขอความทีส่ มมูลกับขอความตอไปนี้
แบบฝกหัดนี้มีคําตอบไดหลายแบบ โดยใชความรูเกี่ยวกับรูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน ครู
ควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนประโยคหรือขอความที่เปนประพจน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

68 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน

กิจกรรม : ใครคือ าตกร

ถาคุณไดรับหนาที่ใหสอบสวนผูตองสงสัย 3 คน ในคดี าตกรรม ซึ่งแตละคนมีคําใหการ


ดังตอไปนี้
นาย ก : นาย ข เปน าตกร และนาย ค เปนผูบริสุทธิ
นาย ข : ถานาย ก เปน าตกร แลวนาย ค จะเปน าตกรดวย
นาย ค : ผมบริสุทธิ แตคนที่เหลืออยางนอยหนึ่งคนเปน าตกร
ถามีเพียงคนเดียวที่พูดจริง โดยผูบริสุทธิพูดจริง และ าตกรพูดเท็จ
คุณสามารถบอกไดหรือไมวา ใครคือ าตกร
ขั้นตอนการป ิบัติ
1. ถากําหนดให p แทนประพจน “นาย ก เปนผูบริสุทธิ”
q แทนประพจน “นาย ข เปนผูบริสุทธิ”
r แทนประพจน “นาย ค เปนผูบริสุทธิ”
จงเขียนคําใหการของทั้งสามคนโดยใช p, q และ r
2. สมมติให นาย ก เปนคนเดียวที่พูดจริง
2.1 หาคาความจริงของประพจน p, q และ r
2.2 หาคาความจริงของคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
2.3 คาความจริงที่ไดในขอ 2.2 สอดคลองกับที่สมมติวานาย ก เปนคนเดียวที่พูดจริง
หรือไม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 69

3. สมมติให นาย ข เปนคนเดียวที่พูดจริง


3.1 หาคาความจริงของประพจน p, q และ r
3.2 หาคาความจริงของคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
3.3 คาความจริงที่ไดในขอ 3.2 สอดคลองกับที่สมมติวานาย ข เปนคนเดียวที่พูดจริง
หรือไม
4. สมมติให นาย ค เปนคนเดียวที่พูดจริง
4.1 หาคาความจริงของประพจน p, q และ r
4.2 หาคาความจริงของคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
4.3 คาความจริงที่ไดในขอ 4.2 สอดคลองกับที่สมมติวานาย ค เปนคนเดียวที่พูดจริง
หรือไม
5. จากขอ 2, 3 และ 4 ขอใดที่คาความจริงที่ไดจากคําใหการของนาย ก นาย ข นาย ค
สอดคลองกับที่สมมติไว สรุปไดวาใครคือคนที่พูดจริง และใครคือ าตกร

เฉลยกิจกรรม : ใครคือ าตกร

1. จากสถานการณที่กําหนด จะไดวาคนเปน าตกรคือคนที่ไมเปนผูบริสุทธิ


สามารถเขียนคําใหการของทั้งสามคนไดดังนี้
นาย ก : q r

นาย ข : p r

นาย ค : r ( p q)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

70 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2. 2.1 เนื่องจากมีคนเดียวที่พูดจริง จะไดวา นาย ข และนาย ค พูดเท็จ


เนื่องจากผูบริสุทธิพูดจริง และ าตกรพูดเท็จ
ดังนั้น นาย ก เปนผูบริสุทธิ นาย ข และนาย ค เปน าตกร
นั่นคือ p เปนจริง q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ
2.2 เนื่องจาก p เปนจริง q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ
ดังนั้น คําใหการของนาย ก : q r เปนเท็จ

คําใหการของนาย ข : p r เปนจริง
คําใหการของนาย ค : r ( p q) เปนเท็จ
2.3 ไมสอดคลอง
3. 3.1 เนื่องจากมีคนเดียวที่พูดจริง จะไดวา นาย ก และนาย ค พูดเท็จ
เนื่องจากผูบริสุทธิพูดจริง และ าตกรพูดเท็จ
ดังนั้น นาย ข เปนผูบริสุทธิ นาย ก และนาย ค เปน าตกร
นั่นคือ p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ
3.2 เนื่องจาก p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ
ดังนั้น คําใหการของนาย ก : q r เปนเท็จ
คําใหการของนาย ข : p r เปนจริง
คําใหการของนาย ค : r ( p q) เปนเท็จ
3.3 สอดคลอง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 71

4. 4.1 เนื่องจากมีคนเดียวที่พูดจริง จะไดวา นาย ก และนาย ข พูดเท็จ


เนื่องจากผูบริสุทธิพูดจริง และ าตกรพูดเท็จ
ดังนั้น นาย ค เปนผูบริสุทธิ นาย ก และนาย ข เปน าตกร
นั่นคือ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง
4.2 เนื่องจาก p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง
ดังนั้น คําใหการของนาย ก : q r เปนจริง
คําใหการของนาย ข : p r เปนเท็จ
คําใหการของนาย ค : r ( p q) เปนจริง
4.3 ไมสอดคลอง
5. ขอ 3 เปนขอเดียวที่คาความจริงที่ไดจากคําใหการของนาย ก นาย ข และนาย ค
สอดคลองกับที่สมมติไว
สรุปไดวา นาย ข เปนคนเดียวที่พูดจริง นั่นคือ นาย ข เปนคนเดียวที่เปนผูบริสุทธิ
ดังนั้น าตกรคือ นาย ก และนาย ค

แนวทางการจัดกิจกรรม : ใครคือ าตกร

เวลาในการจัดกิจกรรม 50 นาที
กิจกรรมนี้เสนอไวใหนักเรียนใชความรู เรื่อง ตรรกศาสตรเบื้องตน เพื่อแกปญหาในสถานการณ
ที่กําหนดให โดยกิจกรรมนี้มีสื่อ/แหลงการเรียนรู และขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม ดังนี้
สื่อ/แหลงการเรียนรู
ใบกิจกรรม “ใครคือ าตกร”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

72 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
1. ครูแบงกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถ กลุมละ 3 – 4 คน
2. ครูแจกใบกิจกรรม “ใครคือ าตกร” จากนั้นบอกภารกิจที่จะมอบหมายใหนักเรียนแตละ
กลุมชวยกันสอบสวนผูตองสงสัยจากสถานการณที่กําหนดให
3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันตอบคําถามที่ปรากฏในขั้นตอนการปฏิบัติขอ 1 – 4 ในใบ
กิจกรรม ในระหวางที่ นั กเรียนทํ ากิ จกรรมครูควรเดินดูนักเรียนใหทั่วถึงทุกกลุม และ
สอบถามความคิดเห็นหรือแนวคิดที่ใชในการแกปญหา ทั้งนี้ ครูควรเนนย้ํากับนักเรียนวา
เงื่อนไขสําคัญของสถานการณนี้ คือ มีเพียงคนเดียวที่พูดจริง โดยผูบริสุทธิพูดจริง และ
าตกรพูดเท็จ
4. ครูสุมเลือกกลุมนักเรียน 3 กลุม นําเสนอแนวคิดและเหตุผลที่สนับสนุนคําตอบของตนเอง
และใหนักเรียนกลุมอื่น ๆ รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของคําตอบ โดย
เปดโอกาสใหกลุมที่มีคําตอบแตกตางกันไดนําเสนอแนวคิด
5. ครูสรุปคําตอบพรอมแนวทางที่ถูกตองในการแกปญหา

2.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
การวัดผลระหวางเรียนเปนการวัดผลการเรียนรูเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน และ
ตรวจสอบนั ก เรี ย นแตละคนวามี ค วามรู ความเขาใจในเรื่ อ งที่ ค รู ส อนมากนอยเพี ย งใด
การใหนั ก เรี ย นทํ า แบบฝกหั ด เปนแนวทางหนึ่ ง ที่ ค รู อ าจใชเพื่ อ ประเมิ น ผลดานความรู
ระหวางเรียนของนักเรียน ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1
ไดนํ า เสนอแบบฝกหั ด ที่ ค รอบคลุ ม เนื้ อ หาที่ สํ า คั ญ ของแตละบทไว สํ า หรั บ ในบทที่ 2

ตรรกศาสตร ครูอาจใชแบบฝกหัดเพื่อวัดผลประเมินผลความรูในแตละเนื้อหาไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 73

เนื้อหา แบบฝกหัด

ประพจนและคาความจริงของประพจน 2.1ก ขอ 1, 2
การเชื่อมประพจน 2.2ก ขอ 1 – 4
การหาคาความจริงของประพจน 2.3 ขอ 1, 2
การสรางตารางคาความจริง 2.4 ขอ 1 – 6
รูป แบบของประพจนที่ส มมู ล กั น และรู ป แบบของประพจน 2.5 ขอ 1 – 3
ที่เปนนิเสธกัน
สัจนิรันดร 2.6ก ขอ 1 – 5
การอางเหตุผล 2.7ก ขอ 1, 2
ประโยคเปด 2.8 ขอ 1 – 10
ตัวบงปริมาณ 2.9 ขอ 1, 2
คาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว 2.10 ขอ 1 – 10
สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ 2.11 ขอ 1, 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

74 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม คณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปที่ 4 เลม 1 มี จุ ด มุ งหมายวา
เมื่อนักเรียนไดเรียนจบบทที่ 2 ตรรกศาสตร แลวนักเรียนสามารถ
1. จําแนกขอความวาเปนประพจนหรือไมเปนประพจน
2. หาคาความจริงของประพจนที่มีตัวเชื่อม
3. ตรวจสอบความสมมูลของประพจนสองประพจน
4. จําแนกประพจนวาเปนสัจนิรันดรหรือไมเปนสัจนิรันดร
5. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการอางเหตุผล
6. หาคาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
7. ตรวจสอบความสมมูลระหวางประโยคสองประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
8. หานิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว
ซึ่ง หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ มเติ มคณิ ตศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ กษาปที่ 4 เลม 1 ไดนํ า เสนอ
แบบฝกหัดทายบทที่ประกอบดวยโจทยเพื่อตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
วัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะที่มีความ
นาสนใจและโจทยทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียน
ตามจุดมุงหมายของบทเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความสามารถตามจุดมุงหมายเมื่อเรียนจบ
บทเรียนหรือไม

ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4


เลม 1 บทที่ 2 ตรรกศาสตร สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียน ดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
1. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
10)
2. 1)
2)
3)
4)
3. โจทยฝกทักษะ
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
4. 1)
2)
3)
4)
5)
5. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
10)
11)
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
12)
6. 1)
2)
3)
7. 1)
2)
3)
4)
8. 1)
2)
3)
4)
9. 1)
2)
3)
4)
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
5)
6)
7)
8)
9)
10)
10. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
11. 1)
2)
3)
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
4)
5)
12. 1)
2)
3)
4)
5)
13. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
10)
11)
12)
13)
14)
15)
14. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
15. 1)
2)
จุดมุงหมาย
ตรวจสอบ
จําแนกขอความ ตรวจสอบ จําแนกประพจน หาคาความจริง ความสมมูล หานิเสธของ ใชความรู
ขอ หาคาความจริง ตรวจสอบความ
ขอ วาเปนประพจน ความสมมูล วาเปนสัจนิรันดร ของประโยคที่มี ระหวางประโยค ประโยคที่มี เกี่ยวกับ
ยอย ของประพจนที่ สมเหตุสมผลของ
หรือไมเปน ของประพจน หรือไมเปน ตัวบงปริมาณ สองประโยคที่มี ตัวบงปริมาณ ตรรกศาสตร
มีตัวเชื่อม การอางเหตุผล
ประพจน สองประพจน สัจนิรันดร ตัวเดียว ตัวบงปริมาณ ตัวเดียว ในการแกปญหา
ตัวเดียว
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
10)
16.
17.
18.
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

82 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
• เปาหมายประการหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร คือ การศึกษาทําความเขาใจธรรมชาติ หรือ
ปรากฏการณตาง ๆ โดยใช “ระบบเชิงคณิตศาสตร” (mathematical system) ซึ่งระบบ
เชิงคณิตศาสตรเปนแนวคิดเชิงนามธรรมที่ใชแทนธรรมชาติ หรือปรากฏการณอยางใด
อยางหนึ่ง เชน “ระบบจํานวนจริง” (real number system) เปนแนวคิดที่ใชแทนจํานวนหรือ
ขนาดของสิ่งตาง ๆ หรือ “เรขาคณิตแบบยุคลิด” (Euclidean geometry) เปนแนวคิดหนึ่ง
ที่ใชแทนวัตถุตาง ๆ ในปริภูมิ เปนตน
• ระบบเชิงคณิตศาสตรแตละระบบ มีองคประกอบดังตอไปนี้
1. เอก พสัมพัทธ (universe) คือ เซตของสิ่งที่จะศึกษาในระบบนั้น เชน เซตของ
จํานวนนับ เซตของจํานวนเต็ม เซตของจํานวนจริง
2. คําอนิยาม (undefined term) ไดแก คําซึ่งเปนที่เขาใจความหมายกันโดยทั่วไป
โดยไมตองอธิ บ าย เชน คํ า วา “เหมื อนกัน ” หรือ คําวา “จุ ด ” และ “เสน ” ใน
เรขาคณิตแบบยุคลิด เปนตน
3. คํานิยาม (defined term) คือ คําที่สามารถใหความหมายโดยใชคําอนิยาม หรือคํานิยาม
อื่นที่มีมากอนแลวได เชน คําวา “จํานวนคู” หรือคําวา “รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก”
เปนตน
4. สัจพจน (axiom) คือ ขอความที่กําหนดใหเปนจริงในระบบเชิงคณิตศาสตรนั้นโดย
ไมตองพิสูจน เชน สัจพจนเชิงพีชคณิตของระบบจํานวนจริง สัจพจนเชิงอันดับของ
ระบบจํานวนจริง สัจพจนความบริบูรณของระบบจํานวนจริง
5. ท ษ ีบท (theorem) คือ ขอความที่พิสูจนแลววาเปนจริงในระบบเชิงคณิตศาสตร
ที่กําหนด โดยการพิสูจน (proof) คือ กระบวนการอางเหตุผลตามหลักตรรกศาสตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 83

เพื่อนําไปสูขอสรุปที่ตองการ ซึ่งมักตองนําคําอนิยาม คํานิยาม รวมทั้งสัจพจน หรือ


ท ษ ีบทที่มีอยูกอนแลวมาใชในการพิสูจน เชน ท ษ ีบทพีทาโกรัส
ในบางกรณี ขอความที่พิสูจนแลววาเปนจริง อาจไมเรียกวาท ษ ีบทเสมอไป โดยมี
คําเฉพาะที่ใชเรียกท ษ ีบทบางประเภท เชน “บทตั้ง” (lemma) ที่ใชเรียกท ษ ีบทซึ่ง
จะนําไปใชพิสูจน ท ษ ีบทถัดไปที่เปนท ษ ีบทหลัก หรือท ษ ีบทที่มีความสําคัญ
มากกวา และ “บทแทรก” (corollary) ที่ใชเรียกท ษ ีบทซึ่งเปนผลอยางงายจาก
ท ษ ีบทที่มีมากอนหนา
นอกจากนี้ ในบางกรณี จะใชคําวา “สมบัติ” (property) แทนขอความที่เปนจริงใด ๆ ใน
ระบบเชิงคณิตศาสตรระบบหนึ่ง โดยสมบัติอาจเปนความจริงเกี่ยวกับคํานิยาม สัจพจน
หรือท ษ ีบทก็ได และอาจใชคําวา “ก ” (law) สําหรับความจริงที่เปนสัจพจนหรือ
ท ษ ีบทอีกดวย
ครูควรระลึกอยูเสมอวา ความรูทางคณิตศาสตรที่กําลังพิจารณา เปนองคประกอบใด
ของระบบเชิงคณิตศาสตร นั่นคือ ควรทราบวาสิ่งใดเปนสัจพจน สิ่งใดเปนท ษ ีบท
เชน ไมควรพยายามพิสูจนสัจพจนเกี่ยวกับจํานวนจริงในระบบจํานวนจริง เปนตน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

84 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและเฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
ในสวนนี้จะนําเสนอตัวอยางแบบทดสอบประจําบทที่ 2 ตรรกศาสตร สําหรับรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ซึ่งครูสามารถเลือกนําไปใชไดตามจุดประสงคการเรียนรู
ที่ตองการวัดผลประเมินผล

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงพิจารณาประโยคหรือขอความตอไปนี้วาเปนประพจนหรือไม ถาเปนประพจน
จงหาคาความจริงของประพจนนั้น
1) งวงนอนจัง
2) เธอตองไปเดียวนี้
22
3) =
7
4) 1∉ {2, 3}

5) 2 ไมใชจํานวนจริง
6) 1, 2, 3,
7) ทําไม a+b=b+a

2. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน ซึ่ง p และ q มีคาความจริงเปนจริงและ


เท็จตามลําดับ จงหาคาความจริงของประพจนตอไปนี้
1) (p q) r
2) (p q) r

3. กําหนดให p และ q เปนประพจนใด ๆ ถา r เปนประพจนเชิงประกอบที่เกิดจาก


การเชื่อมประพจน p กับ q ซึ่งมีคาความจริงดังตารางตอไปนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 85

p q r
T T F
T F T
F T T
F F F

จงเขียนประพจน r ในรูปประพจน p กับ q

4. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน ซึ่ง p q, q r และ r p มีคาความจริง


เปนจริง จงหาคาความจริงของประพจน p r

5. จงหานิเสธของขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ แลว x เปนจํานวนคู หรือ x เปนจํานวนคี่”


6. กําหนดให p และ q เปนประพจน จงตรวจสอบวา p q สมมูลกับ ( p q) p

หรือไม
7. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน จงตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่กําหนดให
วาเปนสัจนิรันดรหรือไม
1) (p q) (q r) (p q) r

2) (p q) (r s) (p r) (q s)

8. จงตรวจสอบวาการอางเหตุผลตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม
เหตุ 1. ถาแทนไทสอบไดที่หนึ่ง แลวแมจะใหรางวัล
2. ถาแมใหรางวัล แลวแทนไทจะนําไปซื้อของขวัญ
3. แทนไทสอบไดที่หนึ่ง หรือแมจะใหรางวัล
ผล แทนไทจะซื้อของขวัญ
9. จงหาคาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณตอไปนี้
1) x x2 = 4 2x = 4 เมื่อ U =
2) x 0 < x3 < x 2 เมื่อ U =
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

86 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. 1) ไมเปนประพจน 2) ไมเปนประพจน
3) เปนประพจน มีคาความจริงเปนเท็จ 4) เปนประพจน มีคาความจริงเปนจริง
5) เปนประพจน มีคาความจริงเปนเท็จ 6) ไมเปนประพจน
7) ไมเปนประพจน
2. 1) จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q) r มีคาความจริงเปนจริง
2) จาก q เปนเท็จ จะได q เปนจริง
จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p q เปนจริง
ดังนั้น ( p q) r มีคาความจริงเปนจริง
3. ตัวอยางคําตอบ
(p q)

(p q) (q p)
4. พิจารณาตารางคาความจริงดังนี้
p q r p q q r r p

T T T T T T
T T F T F T
T F T F T T
T F F F T T
F T T T T F
F T F T F T
F F T T T F
F F F T T T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 87

สังเกตวาถา p q, q r และ r p มีคาความจริงเปนจริง


จะได p, q และ r ตองมีคาความจริงเปนจริงทั้งหมด หรือเปนเท็จทั้งหมด
ดังนั้น p r มีคาความจริงเปนจริง
5. ให p แทนประพจน “ x เปนจํานวนนับ”
q แทนประพจน “ x เปนจํานวนคู”
r แทนประพจน “ x เปนจํานวนคี่”
จะไดวาขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ แลว x เปนจํานวนคู หรือ x เปนจํานวนคี่ ”
เขียนแทนดวยรูปแบบของประพจน p (q r)

นิเสธของ p (q r) คือ p (q r)

เนื่องจาก p (q r) p (q r)

p (q r)

p q r
โดยที่รูปแบบของประพจน p q r แทนขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ และ x ไม
เปนจํานวนคู และ x ไมเปนจํานวนคี่”
ดังนั้น นิเสธของขอความ “ถา x เปนจํานวนนับ แลว x เปนจํานวนคู หรือ x เปนจํานวนคี่”
คือ “ถา x เปนจํานวนนับ และ x ไมเปนจํานวนคู และ x ไมเปนจํานวนคี่”
6. สรางตารางคาความจริงของ p q กับ ( p q) p ไดดังนี้
p q p q p p q ( p q) p

T T T F F T
T F F F T T
F T T T T T
F F T T F F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

88 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวาคาความจริงของ p q กับ ( p q) p มีบางกรณีที่ตางกัน


ดังนั้น p q ไมสมมูลกับ ( p q) p

7. 1) สมมติให ( p q) (q r) (p q) r เปนเท็จ
(p q) (q r) (p q) r

T T T F

F F

F F T F

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q) (q r) (p q) r เปนสัจนิรันดร
2) สมมติให ( p q) (r s) (p r) (q s) เปนเท็จ
(p q) (r s) (p r) (q s)

T T T F

F F

F F F F

F T
ขัดแยงกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 89

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ


ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( r → s ) ∧ ( p ∨ r ) → (q ∨ s)

เปนสัจนิรันดร
8. ให p, q และ r แทนประพจน “แทนไทสอบไดที่หนึ่ง” “แมใหรางวัล” และ
“แทนไทซื้อของขวัญ” ตามลําดับ

จะไดรูปแบบประพจน คือ ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p ∨ q ) →r

จากขอ 7. ขอยอย 1) ( p → q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( p ∨ q ) →r เปนสัจนิรันดร


ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
9. 1) พิจารณาประโยคเปด x2 = 4 → 2x = 4

แทน x ดวย −2 จะได (−2) 2 = 4 ซึ่งเปนจริง และ 2−2 = 4 ซึ่งเปนเท็จ


ดังนั้น ( −2 ) = 4 → 2 = 4 เปนเท็จ
2 −2

จะได ∀x x = 4 → 2 = 4 เปนเท็จ
2 x

2) พิจารณาประโยคเปด 0 < x3 < x 2

แทน x ดวย 0.1 จะได 0 < (0.1)3 < (0.1) 2 ซึ่งเปนจริง


ดังนั้น ∃x 0 < x 3 < x 2 เปนจริง

2.8 เฉลยแบบฝกหัด
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิ ตศาสตร ชั้นมัธ ยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 แบงการเฉลยแบบฝกหัด
เปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 เฉลยคําตอบ และสวนที่ 2 เฉลยคําตอบพรอมวิธีทําอยางละเอียด
ซึ่งเฉลยแบบฝกหัดที่อยูในสวนนี้เปนการเฉลยคําตอบของแบบฝกหัด โดยไมไดนําเสนอวิธีทํา
อยางไรก็ตามครูสามารถศึกษาวิธีทําโดยละเอียดของแบบฝกหัดไดในสวนทายของคูมือครูเลมนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

90 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.1
1. 1) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 2) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
3) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 4) ไมเปนประพจน
5) ไมเปนประพจน 6) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
7) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 8) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
9) ไมเปนประพจน 10) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
11) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 12) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
13) ไมเปนประพจน 14) ไมเปนประพจน
15) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 16) ไมเปนประพจน
17) ไมเปนประพจน 18) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
2. ตัวอยางคําตอบ
2 >3 เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
∅ ∈ {1, 2, 3} เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
หนึ่งปมีสิบสองเดือน เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
4 เปนจํานวนอตรรกยะ เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
เดือนมกราคม มี 31 วัน เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 91

แบบฝกหัด 2.2
1. 1) เปนเท็จ 2) เปนจริง
3) เปนจริง 4) เปนเท็จ
5) เปนเท็จ 6) เปนเท็จ
7) เปนจริง 8) เปนจริง
9) เปนจริง 10) เปนเท็จ
11) เปนจริง 12) เปนเท็จ
13) เปนจริง 14) เปนจริง
2. 1) นิเสธของประพจน 4 + 9 = 10 + 3 คือ 4 + 9 ≠ 10 + 3 มีคาความจริงเปนเท็จ
2) นิเสธของประพจน −7 > 6 คือ −7 > 6 มีคาความจริงเปนจริง
3) นิเสธของประพจน เซตของจํานวนนับที่เปนคําตอบของสมการ x2 + 1 = 0

เปนเซตวาง คือ เซตของจํานวนนับที่เปนคําตอบของสมการ x2 + 1 = 0 ไมเปน


เซตวาง มีคาความจริงเปนเท็จ
4) นิเสธของประพจน { 3, 4 } ∪ { 1, 3, 5 } = { 1, 3, 4, 5 } คือ
{ 3, 4 } ∪ { 1, 3, 5 } ≠ { 1, 3, 4, 5 } มีคาความจริงเปนเท็จ
5) นิเสธของประพจน {{ 2 }} ⊄ { 2 } คือ {{ 2 }} ⊂ { 2 } มีคาความจริงเปนเท็จ
6) นิเสธของประพจน −3+ 6 ≤ −3 + 6 คือ −3+ 6 > −3 + 6

มีคาความจริงเปนเท็จ
7) นิเสธของประพจน 15 ไมใชจํานวนจริง คือ 15 เปนจํานวนจริง มีคาความจริง
เปนจริง
8) นิเสธของประพจน วาฬเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม คือ วาฬไมเปนสัตวเลี้ยงลูก
ดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนเท็จ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

92 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. 1) p แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชา”
2) p→ q แทนประพจน “ถาฉันตื่นนอนแตเชา แลวฉันมาเรียนไมทันเวลา”
3) p∧q แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชาและฉันมาเรียนทันเวลา”
4) p↔q แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชาก็ตอเมื่อฉันมาเรียนทันเวลา”
5) p∨ q แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชาหรือฉันมาเรียนไมทันเวลา”
6) p ∨ ( p → q) แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชา หรือ ถาฉันตื่นนอนแตเชาแลว
ฉันมาเรียนทันเวลา”
4. 1) p∧ q มีคาความจริงเปนเท็จ
2) p∨q มีคาความจริงเปนจริง
3) q→ p มีคาความจริงเปนจริง
4) p ↔q มีคาความจริงเปนเท็จ

แบบฝกหัด 2.3
1. 1) มีคาความจริงเปนจริง 2) มีคาความจริงเปนจริง
3) มีคาความจริงเปนจริง 4) มีคาความจริงเปนเท็จ
5) มีคาความจริงเปนจริง 6) มีคาความจริงเปนจริง
7) มีคาความจริงเปนเท็จ 8) มีคาความจริงเปนจริง
9) มีคาความจริงเปนเท็จ 10) มีคาความจริงเปนเท็จ
11) มีคาความจริงเปนจริง 12) มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 93

2. 1) p เปนจริง และ q เปนจริง


2) p เปนจริง และ q เปนเท็จ
3) ( p∧ q) → r เปนจริง
4) ( p ∨ q ) ∧ r เปนเท็จ
5) ( p ∧ r ) ↔ (q ∧ s) เปนจริง

แบบฝกหัด 2.4

1. สรางตารางคาความจริงของ p ∨ (q → p) ไดดังนี้
p q q→ p p ∨ (q → p)

T T T T
T F T T
F T F F
F F T T

2. สรางตารางคาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ ( p∨ q) ไดดังนี้
p q q p∨q p∨ q ( p ∨ q ) ∧ ( p∨ q)
T T F T T T
T F T T T T
F T F T F F
F F T F T F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

94 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. สรางตารางคาความจริงของ p→( p → q) ไดดังนี้


p q p p→ q p→( p → q)
T T F T T
T F F T T
F T T T T
F F T F T

4. สรางตารางคาความจริงของ ( q∨ q) ↔ r ไดดังนี้
q r q q∨ q ( q∨ q) ↔ r
T T F T T
T F F T F
F T T T T
F F T T F

5. สรางตารางคาความจริงของ q ↔ p ∧ (q → p) ไดดังนี้
p q p q q→ p p ∧ (q → p) q ↔ p ∧ (q → p)
T T F F F F T
T F F T T T T
F T T F T F T
F F T T T F F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 95

6. สรางตารางคาความจริงของ ( q ∧ r ) → ( r ∨ p ) ไดดังนี้
p q r q∧r r∨ p (q ∧ r ) → (r ∨ p)
T T T T T T
T T F F T T
T F T F T T
T F F F T T
F T T T T T
F T F F F T
F F T F T T
F F F F F T

แบบฝกหัด 2.5
1. 1) ตัวอยางคําตอบ
• 2 เปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนตรรกยะ
• ถา 2 เปนจํานวนตรรกยะแลว 2 เปนจํานวนจริง และถา 2 เปนจํานวนจริง
แลว 2 เปนจํานวนตรรกยะ
2) ตัวอยางคําตอบ
• ภพหรือภัทรเปนนักเรียน และ ภพหรือภูมิเปนนักเรียน
• ภพเปนนักเรียน หรือ ภูมิและภัทรเปนนักเรียน
2. 1) (ข) 2) (ก)

3) (ข) 4) (ก)

5) (ข) 6) (ข)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

96 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. 1) p∧q กับ p∧ q ไมเปนนิเสธกัน


2) p∨q กับ p∧ q เปนนิเสธกัน
3) p→q กับ p∧ q เปนนิเสธกัน
4) p→q กับ p→ q ไมเปนนิเสธกัน
5) p↔q กับ ( p ∧ q ) ∨ ( q ∧ p ) เปนนิเสธกัน
6) “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนตรรกยะ” กับ “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนอตรรกยะ”
ไมเปนนิเสธกัน
7) “ถา 2 + 1 = 3 แลว 3 เปนจํานวนนับ” กับ “3 ไมใชจํานวนนับ แต 2 + 1 = 3”
เปนนิเสธกัน
8) “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม” กับ “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใชจํานวนเต็ม”
เปนนิเสธกัน

แบบฝกหัด 2.6
1. เปนสัจนิรันดร 2. เปนสัจนิรันดร
3. เปนสัจนิรันดร 4. ไมเปนสัจนิรันดร
5. เปนสัจนิรันดร

แบบฝกหัด 2.7
1. 1) สมเหตุสมผล 2) ไมสมเหตุสมผล
3) ไมสมเหตุสมผล 4) ไมสมเหตุสมผล
5) สมเหตุสมผล
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 97

2. 1) ไมสมเหตุสมผล 2) สมเหตุสมผล
3) สมเหตุสมผล 4) ไมสมเหตุสมผล
5) สมเหตุสมผล

แบบฝกหัด 2.8
1. ไมใชทั้งประพจนและประโยคเปด 2. เปนประพจน
3. เปนประโยคเปด 4. เปนประโยคเปด
5. ไมเปนทั้งประพจนและประโยคเปด 6. ไมเปนทั้งประพจนและประโยคเปด
7. เปนประโยคเปด 8. เปนประพจน
9. เปนประพจน 10. เปนประโยคเปด

แบบฝกหัด 2.9
1. 1) ∀x [ x ∈ → x ⋅1 = x ] 2) ∃x x 2 = 2
3) ∃x [| x | +1 ≤ 1] 4) ∀x [ x ∈ → x∈ ]
2. 1) สําหรับจํานวนจริง x ทุกจํานวน ถา x<2 แลว x2 < 4

2) สําหรับจํานวนจริง y ทุกจํานวน y 2 − 4 = ( y − 2 )( y + 2 )

3) มีจํานวนจริง y ซึ่ง 2y +1 = 0

4) สําหรับจํานวนจริง x บางจํานวน ซึ่ง ถา x เปนจํานวนตรรกยะ แลว x2 = 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

98 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.10
1. เปนเท็จ 2. เปนเท็จ
3. เปนจริง 4. เปนเท็จ
5. เปนจริง 6. เปนเท็จ
7. เปนเท็จ 8. เปนจริง
9. เปนจริง 10. เปนจริง

แบบฝกหัด 2.11
1. 1) (ข) 2) (ก)

3) (ก) 4) (ข)

5) (ข) 6) (ก)

7) (ก) 8) (ข)

2. 1) นิเสธของ ∃x [ x + 2 ≤ 0] คือ ∀x [ x + 2 > 0]

2) นิเสธของ ∀x [ x ≠ 0] → ∃x [ x > 0] คือ ∀x [ x ≠ 0] ∧ ∀x [ x ≤ 0]

3) นิเสธของ ∀x x 2 < 0 → x < 0 คือ ∃x x 2 < 0 ∧ x ≥ 0

4) นิเสธของ ∃x x > 2∨ ( x + 1 ≥ 1) คือ ∀x [ x ≤ 2 ∧ x + 1 ≥ 1]

5) นิเสธของ ∃x P ( x ) ∧ Q ( x ) คือ ∀x P ( x) ∨ Q ( x)

6) นิเสธของขอความ “จํานวนตรรกยะทุกจํานวนเปนจํานวนจริง” คือ


“มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนที่ไมเปนจํานวนจริง”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 99

7) นิเสธของขอความ “จํานวนเต็มบางจํานวนเปนจํานวนจริง” คือ


“จํานวนเต็มทุกจํานวนไมเปนจํานวนจริง”

8) นิเสธของขอความ “จํานวนจริงบางจํานวนนอยกวาหรือเทากับศูนย
และมีจํานวนจริงบางจํานวน เมื่อยกกําลังสองแลวไมเทากับศูนย” คือ
“จํานวนจริงทุกจํานวนมากกวาศูนย หรือจํานวนจริงทุกจํานวนเมื่อยกกําลังสองแลว
เทากับศูนย”

แบบฝกหัดทายบท
1. 1) ไมเปนประพจน 2) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
3) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง 4) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
5) ไมเปนประพจน 6) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
7) ไมเปนประพจน 8) ไมเปนประพจน
9) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง 10) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
2. 1) นิเสธของประพจน −20 + 5 > −17 คือ −20 + 5 ≤ −17 มีคาความจริงเปนเท็จ
2) นิเสธของประพจน 37 ไมเปนจํานวนเฉพาะ คือ 37 เปนจํานวนเฉพาะ
มีคาความจริงเปนจริง
3) นิเสธของประพจน 2∈ คือ 2∉ มีคาความจริงเปนจริง
4) นิเสธของประพจน ⊂ คือ ⊄ มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

100 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. ตัวอยางคําตอบ
• π ไมเปนจํานวนตรรกยะ
• นิดาและนัดดาเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
• รูปสี่เหลี่ยมอาจเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากหรือรูปสี่เหลี่ยมดานขนานก็ได
• รู ป สามเหลี่ ย ม ABC เปนรู ป สามเหลี่ ย มดานเทาก็ ต อเมื่ อ รู ป สามเหลี่ ย ม ABC

มีดานยาวเทากันทุกดาน
4. 1) มีคาความจริงเปนจริง 2) มีคาความจริงเปนเท็จ
3) มีคาความจริงเปนจริง 4) มีคาความจริงเปนจริง
5) มีคาความจริงเปนเท็จ
5. 1) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p→q และมีคาความจริงเปนจริง
2) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∧q และมีคาความจริงเปนจริง
3) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∨q และมีคาความจริงเปนจริง
4) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∨q และมีคาความจริงเปนจริง
5) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∧q และมีคาความจริงเปนเท็จ
6) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∧q และมีคาความจริงเปนจริง
7) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∧q และมีคาความจริงเปนเท็จ
8) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p∨q และมีคาความจริงเปนจริง
9) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p→ q และมีคาความจริงเปนเท็จ
10) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป ( p ∧ q ) → r และมีคาความจริงเปนจริง
11) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p↔q และมีคาความจริงเปนเท็จ
12) ประพจนที่กําหนดใหอยูในรูป p ↔ ( q ∨ r ) และมีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 101

6. 1) ( p ∨ q) ↔ ( p ∨ q) มีคาความจริงเปนเท็จ
2) p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ
3) p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง
7. 1) p → ( q ∧ r) ไมสมมูลกับ ( p → q ) ∨ ( p → r )
2) ( p ∨ q) ∧ r ไมสมมูลกับ ( p ∨ r ) ∧ ( q ∨ r )
3) ( p → q ) → r ไมสมมูลกับ ( p ∧ q ∧ r )
4) p ↔q สมมูลกับ ( p → q) ∧ (q → p)
8. 1) แนวทางการตอบ
• “ถา 8 ไมนอยกวา 7 แลว 8 เปนจํานวนคู” สมมูลกับ “ 8 นอยกวา 7

หรือ 8 เปนจํานวนคู”
2) แนวทางการตอบ
12 12
• “ ∉ ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ” สมมูลกับ “ถา ∉ แลว
5 5
5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 และ ถา 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 แลว
12
∉ ”
5
12
• “ ∉ ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ” สมมูลกับ “5 ไมเปน
5
12
ตัวประกอบของ 12 ก็ตอเมื่อ ∉ ”
5
3) แนวทางการตอบ
• “ไกและเปดเปนสัตวปก หรือ นกและไกเปนสัตวปก” สมมูลกับ “ไกเปนสัตวปก
และ เปดหรือนกเปนสัตวปก”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

102 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) แนวทางการตอบ
• “ถาพอและแมของแหนมมีเลือดหมู O แลวแหนมมีเลือดหมู O” สมมูลกับ
“พอหรือแมของแหนมไมมีเลือดหมู O หรือแหนมมีเลือดหมู O”

9. 1) p→q กับ q→ p ไมเปนนิเสธกัน


2) p↔q กับ p↔ q ไมเปนนิเสธกัน
3) p → (q → r ) กับ p ∧ q∧ r เปนนิเสธกัน
4) p → (q → r ) กับ ( p ∧ r ) ∨ ( q ∧ r ) เปนนิเสธกัน
5) p → (q ∨ r ) กับ (q ∨ r ) → ~ p ไมเปนนิเสธกัน
6) q ∧ (r ∧ ~ s) กับ q → (r → s) เปนนิเสธกัน
7) ( p → q ) ∨ r กับ p ∧ q∧ r เปนนิเสธกัน
8) ( p ∨ q) → r กับ r ∧ ( p ∨ q) เปนนิเสธกัน
9) “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ” กับ “ 4 ไมเปน
ตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ” เปนนิเสธกัน

10) “ a และ b ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ หรือ e เปนสระในภาษาอังกฤษ” กับ


“e เปนสระในภาษาอังกฤษ แต ถา a ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ แลว b เปนสระ
ในภาษาอังกฤษ” ไมเปนนิเสธกัน
10. 1) รูปแบบของประพจน p → (q → r ) → ( p → q ) → r ไมเปนสัจนิรันดร
2) รูปแบบของประพจน (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q) ไมเปนสัจนิรันดร
3) รูปแบบของประพจน p ∧ ( p ∨ q) → q เปนสัจนิรันดร
4) รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) →r เปนสัจนิรันดร
5) รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r ) เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 103

6) รูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r เปนสัจนิรันดร
7) รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q ) เปนสัจนิรันดร
11. 1) ไมสมเหตุสมผล 2) ไมสมเหตุสมผล
3) ไมสมเหตุสมผล 4) สมเหตุสมผล
5) สมเหตุสมผล
12. 1) ไมสมเหตุสมผล 2) สมเหตุสมผล
3) สมเหตุสมผล 4) ไมสมเหตุสมผล
5) ไมสมเหตุสมผล
13. 1) เปนจริง 2) เปนจริง
3) เปนจริง 4) เปนเท็จ
5) เปนเท็จ 6) เปนจริง
7) เปนจริง 8) เปนจริง
9) เปนเท็จ 10) เปนเท็จ
11) เปนเท็จ 12) เปนจริง
13) เปนเท็จ 14) เปนจริง
15) เปนจริง
14. 1) นิเสธของ ∀x ( x ≠ 5) คือ ∀x [ x ≠ 5]
2) นิเสธของ ∃x [ x ∈ ∧ x≥5] คือ ∀x [ x ∉ ∨ x<5]

3) นิเสธของ ∀x x 2 − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0 คือ ∃x x 2 − 5 < 4 ∧ x − 2 = 0

4) นิเสธของ ∃x [ x − 7 < 5] → ∀x [ x ≥ 2] คือ ∀x [ x − 7 ≥ 5 ] ∧ ∃x [ x < 2 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร

104 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) นิเสธของ ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8] ∨ ∃x x = 5∨ ( x ≠ 6 ) คือ


∃x [ x ∉ ∨ x − 2 ≤ 8 ] ∧ ∀x [ x ≠ 5 ∧ x ≠ 6 ]

6) นิเสธของ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]

คือ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧ ∃x [ x = 2 ∨ x < 6 ]

7) นิเสธของขอความ “มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนเปนจํานวนคี่และจํานวนคี่
ทุกจํานวนไมเปนจํานวนอตรรกยะ” คือ “จํานวนตรรกยะทุกจํานวนไมเปน
จํานวนคี่หรือมีจํานวนคี่บางจํานวนเปนจํานวนอตรรกยะ”
8) นิเสธของขอความ “จํานวนนับทุกจํานวนมากกวาศูนยแตจํานวนเต็มบางจํานวน
ยกกําลังสองไมมากกวาศูนย” คือ “มีจํานวนนับบางจํานวนนอยกวาหรือเทากับ
ศูนยหรือกําลังสองของจํานวนเต็มใด ๆ มีคามากกวาศูนย”
15. 1) ∀x [ x ∈ ∧ x∉ ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x ∈ ∨ x ∉ ]
2) ∀x x > 0 → x3 > 0 ไมสมมูลกับ ∀x x > 0 ∨ x3 > 0

3) ∃x x 2 > 0 สมมูลกับ ∀x x 2 ≤ 0

4) ∀x x = 9 ∧ x ≠ 3 ไมสมมูลกับ ∃x x =3→ x =9

5) ∃x [ x ∈ ]∧ ∃x [ x + 3 < 7 ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x + 3 < 7 ] ∧ ∃x [ x ∈ ]


6) ∀x [ x > 0 ] ∧ ∃x x 2 − 1 < 0 สมมูลกับ ( ∀x [ x > 0] → ∀x x2 − 1 ≥ 0 )
7) ∃x x 2 − 7 ≠ 0 ∨ ∀x [ x > −5] ไมสมมูลกับ ∃x [ x ≤ −5 ] ∨ ∀x x 2 − 7 = 0

8) ( ∀x [ x ∈ ] ∧ ∀x [ x ≠ 7 ]) สมมูลกับ ∃x [ x ≠ 7 ] → ∀x [ x ∈ ]
9) “จํานวนคี่ทุกจํานวนมากกวาศูนย” สมมูลกับ “ไมจริงที่วาจํานวนคี่บางจํานวน
นอยกวาหรือเทากับศูนย”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 2 | ตรรกศาสตร
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 105

10) “มีจํานวนตรรกยะ x ที่ x2 = 0 หรือ x ≠ 0” ไมสมมูลกับ “ไมจริงที่วา


จํานวนตรรยะ x ทุกจํานวน ที่ x2 ≠ 0 หรือ x =0”

16. ฟาใสมีสิทธิ์ไดเลื่อนตําแหนง
17. สุริยาจะไดรับเงินรางวัล 45,000 บาท
เมฆาจะไมไดรับเงินรางวัล
กมลจะไดรับเงินรางวัล 140,000 บาท
และทิวาจะไดรับเงินรางวัล 800,000 บาท
18. มานแกวจะสามารถกูเงินกับบริษัทนี้ได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

106 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

บทที่ 3

จํานวนจริง

การศึกษาเรื่องจํานวนจริงมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตร เพราะความเขาใจเกี่ยวกับจํานวน
ไมไดหมายความเพี ย งการคิ ด คํ า นวณเทานั้ น แตหมายความรวมถึ ง ความเขาใจในระบบ
เชิงคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย เอกภพสัมพัทธ คําอนิยาม คํานิยาม สัจ พจน ทฤษฎีบ ท
บทตั้ ง และบทแทรก เนื้ อ หาเรื่ อ งจํ า นวนจริ ง ที่ นํ า เสนอในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม
คณิต ศาสตร ชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 มีจุ ดมุงหมายเพื่อใหนักเรีย นเขาใจและนําระบบ
เชิงคณิตศาสตรไปใชในการแกปญหา และเพื่อเปนรากฐานสําหรับการเรียนคณิตศาสตรในหัวขอ
ตอไป ในบทเรียนนี้มุงใหนักเรียนบรรลุตัวชี้วัดและจุดมุงหมายดังตอไปนี้

ผลการเรียนรู

• เขาใจจํานวนจริงและใชสมบัติของจํานวนจริงในการแกปญหา
• แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสี่ และนําไปใชในการแกปญหา
• แกสมการและอสมการเศษสวนของพหุนามตัวแปรเดียว และนําไปใชในการแกปญหา
• แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว และนําไปใชในการแกปญหา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 107

จุดมุงหมาย

1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงในการแกปญหา
2. หาผลหารของพหุนามและเศษเหลือ
3. หาเศษเหลือโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ
4. แยกตัวประกอบของพหุนาม
5. แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียว
6. แกสมการและอสมการเศษสวนของพหุนามตัวแปรเดียว
7. แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว
8. ใชความรูเกี่ยวกับพหุนามในการแกปญหา

ความรูกอนหนา

• ความรูเกี่ยวกับจํานวน สมการ อสมการ และพหุนามในระดับมัธยมศึกษาตอนตน


• เซต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

108 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3.1 เนื้อหาสาระ
1. แผนผังแสดงความสัมพันธของจํานวนชนิดตาง ๆ

จํานวนเชิงซอน

จํานวนจริง จํานวนเชิงซอนที่ไมใชจํานวนจริง

จํานวนอตรรกยะ จํานวนตรรกยะ

จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม

จํานวนเต็มลบ ศูนย จํานวนเต็มบวกหรือจํานวนนับ


2. ระบบจํานวนจริงประกอบดวยเซตของจํานวนจริงและการดําเนินการ ไดแก การบวกและ
การคูณ ( , +, ⋅ )

3. สัจพจนการเทากันของระบบจํานวนจริง
1) กฎการสะทอน (reflexive law)
สําหรับจํานวนจริง a จะไดวา a = a
2) กฎการสมมาตร (symmetric law)
สําหรับจํานวนจริง a และ b ถา a = b แลว b = a
3) กฎการถายทอด (transitive law)
สําหรับจํานวนจริง a, b และ c ถา a=b และ b=c แลว a = c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 109

4. สัจพจนเชิงพีชคณิต
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง จะไดวา
สมบัติ การบวก การคูณ

สมบัติปด a +b∈ ab ∈

สมบัติการสลับที่ a+b = b+a ab = ba

สมบัติการเปลี่ยนหมู ( a + b) + c = a + (b + c ) ( ab ) c = a ( bc )

สมบัติการมีเอกลักษณ a+0 = a = 0+a a ⋅1 = a = 1⋅ a


เรียก 0 วา เรียก 1 วา
“เอกลักษณการบวก” “เอกลักษณการคูณ”

a + ( −a ) = 0 = ( −a ) + a
สมบัติการมีตัวผกผัน ถา a ≠0 แลว
เรียก −a วา
a −1 ⋅ a = 1 = a ⋅ a −1
“ตัวผกผันการบวก หรือ
เรียก a −1 วา
อินเวอรสการบวกของ a”
“ตัวผกผันการคูณ หรือ
อินเวอรสการคูณของ a”

สมบัติการแจกแจง a ( b + c ) = ab + ac และ ( a + b ) c = ac + bc

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

110 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5. ทฤษฎีบท 1 กฎการตัดออกสําหรับการบวก
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา a+c = b+c แลว a =b

2) ถา a +b = a +c แลว b =c

6. ทฤษฎีบท 2 กฎการตัดออกสําหรับการคูณ
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา ac = bc และ c ≠0 แลว a =b

2) ถา ab = ac และ a ≠0 แลว b=c

7. ทฤษฎีบท 3
ให a เปนจํานวนจริง จะได a⋅0 = 0

8. ทฤษฎีบท 4
ให เปนจํานวนจริง จะได ( −1) a = − a
a

9. ทฤษฎีบท 5
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะได ab = 0 ก็ตอเมื่อ a=0 หรือ b=0

10. ทฤษฎีบท 6
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( −b ) = − ab
2) ( − a ) b = − ab
3) ( − a )( −b ) = ab

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 111

11. บทนิยาม 1
ให a และ b เปนจํานวนจริง
a ลบดวย b เขียนแทนดวยสัญลักษณ a −b

โดยที่ a − b = a + ( −b )

12. บทนิยาม 2
ให a และ b เปนจํานวนจริง โดยที่ b≠0
a
a หารดวย b เขียนแทนดวยสัญลักษณ
b
a
โดยที่ = a ⋅ b −1
b
13. ทฤษฎีบท 7
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( b − c ) = ab − ac
2) ( a − b ) c = ac − bc
14. ทฤษฎีบท 8
ให a เปนจํานวนจริง ถา a≠0 แลว a −1 ≠ 0

15. ทฤษฎีบท 9
ให a, b , c และ d เปนจํานวนจริง จะไดวา
a
b a
1) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
c bc
a ac
2) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
b bc
a c ad + bc
3) + = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
b d bd
a c ac
4) = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
b d bd
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

112 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−1
b c
5) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
c b
a
b ad
6) = เมื่อ b ≠ 0, c ≠ 0 และ d ≠0
c bc
d
16. ทฤษฎีบท 10 ขั้นตอนวิธีการหารสําหรับพหุนาม
ถา a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0 แลวจะมีพหุนาม q ( x ) และ r ( x )
เพียงชุดเดียวเทานั้น ซึ่ง
a ( x) = b( x) q ( x) + r ( x)
เมื่อ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
เรียก q ( x ) วา “ผลหาร” และเรียก r ( x ) วา “เศษเหลือจากการหารพหุนาม a ( x )
ดวยพหุนาม b ( x ) ”
17. ทฤษฎีบท 11 ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ให p ( x ) เปนพหุนาม a x + a x + a x
n
n
n −1
n −1
n−2
n−2
+ + a1 x + a0

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a , a n n −1 n−2 , , a1 , a0 เปนจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0

ถาหารพหุนาม p ( x ) ดวยพหุนาม x−c เมื่อ c เปนจํานวนจริง แลวเศษเหลือจะเทากับ


p (c)
18. ทฤษฎีบท 12 ทฤษฎีบทตัวประกอบ
ให p ( x ) เปนพหุนาม a x + a x + a x
n
n
n −1
n −1
n−2
n−2
+ + a1 x + a0

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a , a n n −1 n−2 , , a1 , a0 เปนจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0

พหุนาม p ( x ) มี x−c เปนตัวประกอบ ก็ตอเมื่อ p ( c ) = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 113

19. ทฤษฎีบท 13 ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ


ให p ( x ) เปนพหุนาม a x + a x + a x
n
n
n −1
n −1
n−2
n−2
+ + a1 x + a0

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ a , a , a n n −1 n−2 , , a1 , a0 เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง an ≠ 0


k
ถา x− เปนตั ว ประกอบของพหุ น าม p ( x ) โดยที่ m และ k เปนจํ า นวนเต็ ม
m
ซึ่ง m≠0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 แลว m หาร an ลงตัว และ k หาร
a0 ลงตัว
20. สมการพหุนามตัวแปรเดียว คือ สมการที่เขียนไดในรูป
an x n + an −1 x n −1 + an − 2 x n − 2 + + a1 x + a0 = 0
เมื่อ n เปนจํานวนเต็มที่ไมเปนจํานวนลบ และ an , an −1 , an − 2 , , a1 , a0 เปนจํานวนจริง
ที่เปนสัมประสิทธิ์ของพหุนาม
21. สมการกํ า ลั ง สอง คื อ สมการที่ เ ขี ย นไดในรู ป ax 2 + bx + c = 0 เมื่ อ a, b และ c

เปนจํานวนจริง โดยที่ a≠0

ถา b 2 − 4ac ≥ 0 แลวจะมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการกําลังสองนี้
−b b 2 − 4ac
โดยคําตอบของสมการ คือ
2a
ถา b 2 − 4ac < 0 แลว จะไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการกําลังสองนี้
22. ให p ( x ) และ q ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0 จะเรียก p ( x ) วา
q x ( )
“เศษสวนของพหุนาม” ที่มี p ( x ) เปนตัวเศษ และ q ( x ) เปนตัวสวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

114 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

23. การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม
1) เมื่ อ p ( x ) , q ( x ) , r ( x ) และ s ( x ) เปนพหุ น าม โดยที่ q ( x ) ≠ 0 และ s ( x ) ≠ 0
จะไดวา
p ( x) r ( x) p ( x) r ( x)
⋅ =
q ( x) s ( x) q ( x) s ( x)

2) เมื่อ p ( x ) , q ( x ) , r ( x ) และ s ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0, r ( x ) ≠ 0


และ s ( x ) ≠ 0 จะไดวา
p ( x) r ( x) p ( x) s ( x)
= ⋅
q ( x) s ( x) q ( x) r ( x)

24. การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม
เมื่อ p ( x ) , q ( x ) และ r ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0 จะไดวา

p ( x) r ( x) p ( x) + r ( x)
+ =
q ( x) q ( x) q ( x)
p ( x) r ( x) p ( x) − r ( x)
− =
q ( x) q ( x) q ( x)

สมการเศษสวนของพหุนาม คือ สมการที่สามารถจัดใหอยูในรูป ( ) = 0


p x
25.
q ( x)

เมื่อ p ( x ) และ q ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ q ( x ) ≠ 0


26. บทนิยาม 3
ให a และ b เปนจํานวนจริง
a > b หมายถึง a −b > 0

a < b หมายถึง a − b < 0 (หรือ b − a > 0 )

a ≥ b หมายถึง a −b > 0 หรือ a=b

a ≤ b หมายถึง a −b < 0 หรือ a=b


สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 115

27. ทฤษฎีบท 14
ให a , b และ c เปนจํานวนจริง
1) สมบัติการถายทอด
ถา a>b และ b>c แลว a>c

2) สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา a>b แลว a+c > b+c

3) สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากันที่ไมเปนศูนย
กรณีที่ 1 ถา a>b และ c>0 แลว ac > bc

กรณีที่ 2 ถา a>b และ c<0 แลว ac < bc

4) สมบัติการตัดออกสําหรับการบวก
ถา a+c > b+c แลว a>b

5) สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ
กรณีที่ 1 ถา ac > bc และ c>0 แลว a>b

กรณีที่ 2 ถา ac > bc และ c<0 แลว a<b

28. ทฤษฎีบท 15
ให a , b , c และ d เปนจํานวนจริง
ถา a>b และ c>d แลว a+c > b+d

29. บทนิยาม 4
ให a , b และ c เปนจํานวนจริง
a<b<c หมายถึง a<b และ b<c

a≤b≤c หมายถึง a≤b และ b≤c

a<b≤c หมายถึง a<b และ b≤c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

116 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

a≤b<c หมายถึง a≤b และ b<c

30. บทนิยาม 5
ให a และ b เปนจํานวนจริง ซึ่ง a<b

ชวงเปด ( a , b ) หมายถึง { x a < x < b }


ชวงปด [ a , b] หมายถึง { x a ≤ x ≤ b }
ชวงครึ่งเปดหรือชวงครึ่งปด ( a , b] หมายถึง { x a < x ≤ b}

ชวงครึ่งเปดหรือชวงครึ่งปด [ a , b ) หมายถึง { x a ≤ x < b}

ชวงเปดอนันต ( a , ) หมายถึง { x x > a }


ชวงเปดอนันต ( − , a ) หมายถึง { x x < a}

ชวงปดอนันต [ a , ) หมายถึง { x x ≥ a}

ชวงปดอนันต ( − , a ] หมายถึง { x x ≤ a}

31. บทนิยาม 6
ให a เปนจํานวนจริง คาสัมบูรณของจํานวนจริง a เขียนแทนดวย สัญลักษณ a โดยที่
เมื่อ

เมื่อ
32. ทฤษฎีบท 16
ให x และ y เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) x = − x
2) xy = x y
x x
3) = เมื่อ y≠0
y y
4) x − y = y − x

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 117

2
5) x = x2
6) x + y ≤ x + y
33. ทฤษฎีบท 17
ให a เปนจํานวนจริงบวก
เซตคําตอบของสมการ x = a คือ {−a , a}
34. ทฤษฎีบท 18
ให a เปนจํานวนจริงบวก
1) x <a ก็ตอเมื่อ −a < x < a

2) x ≤a ก็ตอเมื่อ −a ≤ x ≤ a

3) x > a ก็ตอเมื่อ x < −a หรือ x>a

4) x ≥a ก็ตอเมื่อ x ≤ −a หรือ x≥a

3.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสอน

จํานวนจริง

ครูอาจทบทวนเกี่ยวกับจํานวนประเภทตาง ๆ โดยใชกิจกรรมการจําแนกประเภทของจํานวน ดังนี้

กิจกรรม การจําแนกประเภทของจํานวน

ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ครูแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 3 – 4 คน แบบคละความสามารถ จากนั้นครูเขียนจํานวน
ตอไปนี้บนกระดาน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

118 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

7π −7 + 8 − ( −5 ) − 6 5− 5
8
8 ⋅ 18 − 225 3
2
1
( −7 )
3
49 + 144 2 2
2
27
2.3 −0.57871234 85.71
363
10 22
4.5073 − 7.321321321...
3 7
10−3 0.123456 −32

2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายวาจะจําแนกประเภทของจํานวนอยางไร
3. ครูใหตัวแทนนักเรียนแตละกลุมนําเสนอการจัดประเภทของจํานวน แลวรวมกันอภิปราย
ในประเด็นตอไปนี้
3.1 จัดประเภทของจํานวนไดกี่กลุม พรอมใหเหตุผลประกอบ
3.2 ประเภทของจํานวนที่กลุมของตนเองจัดได เหมือนหรือแตกตางจากเพื่อนกลุมอื่น
หรือไม อยางไร
4. หลังการอภิปราย ครูใหนักเรียนแตละกลุมเขียนแผนผังแสดงความสัมพันธของจํานวนประเภท
ตาง ๆ จากนั้นครูสุมกลุมนักเรียนกลุมหนึ่งมานําเสนอการจัดประเภทของจํานวน พรอมทั้งให
นักเรียนกลุมอื่น ๆ รวมกันเพิ่มเติมประเภทของจํานวนจากที่เพื่อนนําเสนอใหสมบูรณ
หมายเหตุ
• แนวคํ าตอบ เชน จํ าแนกประเภทของจํ านวนเปน 2 กลุ ม ไดแก จํ านวนตรรกยะ และ
จํานวนอตรรกยะ
• ครูอาจเปลี่ยนเปนจํานวนอื่น ๆ ซึ่งจํานวนเหลานั้นควรจําแนกประเภทไดหลายแบบ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 119

กิจ กรรมนี้ มีไวเพื่ อ ทบทวนเกี่ ย วกั บ ประเภทของจํา นวนซึ่งนั กเรี ย นไดศึก ษามาแลวในระดั บ
มัธยมศึกษาตอนตน และใชเพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับหัวขอนี้ไดดวย ซึ่งในกรณี
ที่ครูพบวานักเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของจํานวนเปนอยางดีแลว ครูสามารถสอนเนื้อหา
เกี่ยวกับระบบจํานวนจริงซึ่งอยูในหัวขอถัดไปไดโดยไมตองสอนเรื่องนี้อีก

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 3.1
2. ขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
9) มีจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดที่นอยกวา 9
แบบฝกหั ด นี้ ค รู ควรกระตุ นและเปดโอกาสใหนั กเรี ย นใหเหตุ ผ ลประกอบการหาคํ า ตอบ
โดยนั ก เรี ย นอาจใหเหตุ ผ ลวาไมสามารถหาจํ า นวนตรรกยะที่ ม ากที่ สุ ด ที่ น อยกวา 9 ได
เนื่องจากจะมีจํานวนตรรกยะที่อยูระหวางจํานวนจริง 2 จํานวนเสมอ

ระบบจํานวนจริง

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• เนื้อหาในหั วขอนี้ โดยสวนใหญเปนเรื่ องที่ นัก เรีย นไดศึ กษามาแลวในระดับ มัธยมศึ กษา
ตอนตน แตในระดั บ นี้ เ ปนการนํ า เนื้ อ หามาจั ด ตามโครงสรางของระบบคณิ ต ศาสตร
โดยจะกลาวถึ ง สั จ พจนการเทากั น ของระบบจํ า นวนจริ ง และสั จ พจนเชิ ง พี ช คณิ ต
แตจะไมไดกลาวถึงสัจพจนความบริบูรณ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

120 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

• บทเรียนนี้ไมไดเนนการพิสูจนทฤษฎีบท แตครูอาจใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพิสูจน
ทฤษฎีบทสําหรับนักเรียนที่สนใจได

ทฤษฎีบทเศษเหลือ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ตัวอยางที่ 10
1
จงหาเศษเหลือจากการหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย x−
2
1
คําถาม 1. จงหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย x− โดยวิธี ห ารยาว แลวพิ จ ารณาวาเศษเหลื อ
2
1
ที่ไดเทากับ p หรือไม
2
2. จงหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย 2x −1 โดยวิธีหารยาว แลวพิจารณาวาเศษเหลือที่ได
1
เทากับ p หรือไม
2

จากคําถามสองขอนี้นักเรียนควรสังเกตเห็นวาเศษเหลือที่ไดจากการหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย
1
x− โดยวิธีหารยาว และเศษเหลือที่ไดจากการหาร 9 x3 + 4 x − 1 ดวย 2x −1 โดยวิธีหาร
2
17 1
ยาว ตางก็เทากับ ซึ่งคือ p นั่นเอง เนื่องจาก เมื่อเขียนแสดง 2x −1 ใหอยูในรูป
8 2
1
x−c แลวจะได x−
2
ซึ่งในกรณีทั่วไป ถาให p ( x ) เปนพหุนาม และ a, b เปนจํานวนจริง โดยที่ a≠0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 121

จากขั้ น ตอนวิ ธี ก ารหาร เมื่ อ หาร p ( x ) ดวย ax + b จะมี ผ ลหาร q ( x ) และเศษเหลื อ


เปนคาคงตัว d ซึ่ง p ( x ) = ( ax + b ) q ( x ) + d
b
สามารถจัดรูปสมการใหมไดเปน p ( x ) = x+
a
( a ⋅ q ( x )) + d
b
นั่นคือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x+ จะไดผลหารเปน a ⋅ q ( x) และเศษเหลือเปนคาคงตัว d
a
ดังนั้น เศษเหลือที่ไดจากการหาร p ( x ) ดวย ax + b เทากับ เศษเหลือที่ไดจากการหาร
b b
p ( x) ดวย x+ ซึ่งเทากับ p
a a

ทฤษฎีบทตัวประกอบ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ในบทเรี ย นนี้ นํ า เสนอการแยกตั ว ประกอบโดยใชทฤษฎี บ ทตั ว ประกอบและทฤษฎี บ ท


ตัวประกอบตรรกยะ แตการแยกตัวประกอบของพหุนามทําไดหลายวิธี นักเรียนสามารถ
ใชวิ ธี อื่ น ๆ ได ดั ง นั้ น ครู ค วรใหนั ก เรี ย นมี อิ ส ระในการเลือ กวิ ธี ที่ ต นเองถนั ด ในการแยก
ตัวประกอบของพหุนามโดยไมจําเปนตองตรงกับวิธีที่ครูคิดไว แตครูควรฝกฝนใหนักเรียนแยก
ตัวประกอบของพหุนามโดยใชทฤษฎีบทตัวประกอบและทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะดวย
ซึ่งจะเปนประโยชนในการศึกษาหัวขอตอไป

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

122 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

สมการพหุนามตัวแปรเดียว

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ในบทเรียนนี้นักเรียนตองใชความรูเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามในการแกสมการ
พหุ น ามตั ว แปรเดี ย ว ซึ่ ง การแยกตั ว ประกอบของพหุ น ามทํ า ไดหลายวิ ธี ดั ง นั้ น ครู ค วร
ใหนั ก เรี ย นมี อิ ส ระในการเลื อ กวิ ธี ที่ ต นเองถนั ด ในการแยกตั ว ประกอบของพหุ น ามโดย
ไมจําเปนตองตรงกับวิธีที่ครูคิดไว

เศษสวนของพหุนาม

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• ในการเขียนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็ จนั้น นักเรีย นควรระมัดระวังวาพหุนาม


ที่เปนตัวสวนจะตองไมเทากับศูนย
• ครูอาจเปดโอกาสใหนักเรียนอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ ซึ่งจะเปนประโยชนในการแก
สมการเศษสวนของพหุนาม
a a
1) ถา = เมื่อ b ≠ 0, c ≠ 0 และ b≠c แลว a=0
b c
a a
2) ถา = เมื่อ a ≠ 0, b ≠ 0 และ c≠0 แลว b=c
b c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 123

สมการเศษสวนของพหุนาม

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ในการเขียนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จนั้น นักเรียนควรระมัดระวังวาพหุนามที่เปนตัว
สวนจะตองไมเทากับศูนย ดังนั้นนักเรียนจึงตองระวังในการสรุปเซตคําตอบของสมการเศษสวน
ของพหุนาม

การไมเทากันของจํานวนจริง

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 3.8
กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริง
1. จริงหรือไม ถา a > b แลว a 2 > b2

2. จริงหรือไม ถา a ≠ 0, b ≠ 0 และ a>b แลว 1 < 1


a b
3. จริงหรือไม ถา a>b แลว −a < −b

4. จริงหรือไม ถา a<0 และ b<0 แลว ab > 0

5. จริงหรือไม ถา a>0 และ b<0 แลว ab < 0


1
6. จริงหรือไม ถา a>0 แลว >0
a

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

124 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ครูควรสนับสนุนใหนักเรียนยกตัวอยางคานสําหรับขอที่นักเรียนคาดการณวาขอความที่กําหนดให
ไมเปนจริง

1 1
7. กรณีใดบาง ถา a>b แลว < เมื่อ a≠0 และ b≠0
a b
1 1
8. กรณีใดบาง ถา a>b แลว > เมื่อ a≠0 และ b≠0
a b
แบบฝกหัดสองขอนี้ สามารถแสดงการพิสูจนไดดังนี้
ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a>b และ a≠0 และ b≠0
1
พิจารณา กรณีที่ ab > 0 จะได >0
ab

1 1
และจาก a>b จะไดวา a >b
ab ab
1 1 1 1
นั่นคือ > หรือ <
b a a b
1
พิจารณา กรณีที่ ab < 0 จะได <0
ab
1 1 1 1
และจาก a>b จะไดวา a <b นั่นคือ <
ab ab b a
1 1
จากทั้งสองกรณีจะเห็นวา “ถา a > b แลว < เมื่อ a ≠ 0 และ b ≠ 0 ” จะเปนจริง
a b
เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ a และ b เปนจํานวนจริงลบทั้งคู และ
1 1
“ถา a > b แลว > เมื่อ a ≠ 0 และ b ≠ 0 ” จะเปนจริง เมื่อ a เปนจํานวนจริงบวก
a b
แต b เปนจํานวนจริงลบ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 125

อสมการพหุนามตัวแปรเดียว

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

• จากบทนิยาม 5 จะไดวาชวงเปนสับเซตของเซตของจํานวนจริง
• ครูควรฝกฝนนักเรียนใหใชแนวทางการแกอสมการพหุ นามตัวแปรเดี ยวโดยพิ จารณาเสน
จํานวนตามที่ นําเสนอในหนังสือเรียน เนื่องจากสามารถนําไปใชในการแกอสมการกรณีที่
แยกตัวประกอบของพหุนามแลวไดตัวประกอบซ้ํา รวมถึงการแกอสมการเศษสวนของพหุนาม

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 3.9ข
12. x 3 − x 2 − x + 1 ≥ 0

แบบฝกหัดนี้ควรกระตุนและเปดโอกาสใหนักเรียนแสดงวิธีการหาคําตอบพรอมใหเหตุผ ล
ประกอบการหาคําตอบ นักเรียนอาจแสดงโดยพิจารณาเสนจํานวนตามที่นําเสนอในหนังสือ
เรียน หรืออาจใชสมบัติของจํานวนจริง ซึ่งในที่นี้จะไดวา ( x − 1)2 ≥ 0

( x − 1)( x + 3)
15. ≤0
x−2

แบบฝกหัดขอนี้นักเรียนตองระมัดระวังวาพหุนามที่เปนตัวสวนจะตองไมเทากับศูนย
นั่นคือ x−2≠0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

126 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

คาสัมบูรณ

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและสิ่งที่ควรตระหนักเกี่ยวกับการสอน

ครู ค วรเนนย้ํ า บทนิ ย ามของคาสั ม บู ร ณ ดั ง แสดงในบทนิ ย าม 6 ซึ่ ง จะเปนพื้ น ฐานสํ า คั ญ


ในการแกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว

ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแบบฝกหัด

แบบฝกหัด 3.10
3. จงหาเงื่อนไขของจํานวนจริง x และ y ที่ทําให
1) x + y < x + y
2) x + y = x + y
แบบฝกหัดขอนี้ สามารถแสดงการพิสูจนโดยแยกเปนกรณี ดังนี้
กรณี x=0 และ y=0

จะได x+ y = 0+0 = 0 =0

และ x + y = 0 + 0 =0+0=0

ดังนั้น x+ y = x + y

กรณี x>0 และ y>0

จะได x+ y>0 และ x = x, y = y

ดังนั้น x+ y = x+ y

และ x + y = x+ y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 127

ดังนั้น x+ y = x + y

กรณี x>0 และ y<0

จะได x = x, y = − y อาจแยกไดเปน
1) x+ y=0 จะได x+ y =0

เนื่องจาก y<0 ดังนั้น −y > 0 จะได x + (− y) > 0

ดังนั้น x + y < x + (− y)

จาก x = x, y = − y ดังนั้น x + y = x + (− y)

ดังนั้น x+ y < x + y

2) x+ y>0 จะได x+ y = x+ y

เนื่องจาก y<0 ดังนั้น −y > 0 จะได y < (− y)

ดังนั้น x + y < x + (− y)

จาก x+ y = x+ y และ x + y = x + (− y)

ดังนั้น x+ y < x + y

3) x+ y<0 จะได x + y = −( x + y) = (−x) + (− y)

เนื่องจาก x>0 ดังนั้น −x < 0 นั่นคือ −x < x

จะไดวา ( − x ) + ( − y ) < x + ( − y )
จาก x + y = ( − x ) + ( − y ) และ x + y = x + (− y)

ดังนั้น x+ y < x + y

กรณี x<0 และ y>0

แสดงไดในทํานองเดียวกันกับ กรณี x>0 และ y<0

กรณี x<0 และ y<0

จะได x+ y<0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

128 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x + y = −( x + y) = (−x) + (− y)

เพราะวา x<0 และ y<0 ดังนั้น x = −x และ y = −y

ดังนั้น x + y = (−x) + (− y) จะไดวา x+ y = x + y

จากกรณีที่แสดงขางตนจะเห็นวา กรณีที่ x>0 และ y<0 และกรณีที่ x<0 และ


y>0 จะทําให x+ y < x + y

ดังนั้นจึงสรุปไดวา เมื่อ xy < 0 จะทําให x+ y < x + y

จากกรณีที่แสดงขางตนจะเห็นวา กรณีที่ x=0 และ y=0 กรณีที่ x>0 และ y>0

และกรณีที่ x<0 และ y<0 จะทําให x+ y = x + y

ดังนั้นจึงสรุปไดวา เมื่อ xy ≥ 0 จะทําให x+ y = x + y

3.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน

กิจกรรม การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra


Willebrord Snell และ Christiaan Huygens ไดพัฒนาวิธีของ Archimedes ในการหา
คาประมาณของ π กลาวคือ
เมื่อ un แทนความยาวรอบรูปของรูป n เหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลมหนึ่งหนวย
และ U แทนความยาวรอบรูปของรูป
n n เหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบนอกวงกลมหนึ่งหนวย
1 un + U n
Archimedes หาคาประมาณของ π โดยคํานวณจาก
2 2
1 2 1
สวน Snell-Huygens หาคาประมาณของ π โดยคํานวณจาก un + U n
2 3 3

หากใชรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาที่มีจํานวนดานเทากัน คาประมาณของ π

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 129

ที่คํานวณไดจากวิธีของ Snell-Huygens จะใกลเคียงกวาวิธีของ Archimedes ดังแสดง


ไดดวยโปรแกรม GeoGebra
หมายเหตุ คาประมาณของ π ทศนิยม 20 ตําแหนง คือ 3.14159 26535 89793 23846
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. เปดเว็บไซต goo.gl/6xnUw4
2. พิมพ 6 ลงในชอง “จํานวนดาน =” ที่อยูใน Graphics View แลวสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นใน
Graphics View และ Spreadsheet View

3. เปลี่ยนจํานวนดานจาก 6 เปน 12, 24, 48 และ 96 ตามลําดับ แลวเปรียบเทียบ คาประมาณ


ของ π ที่ไดจากวิธีของ Archimedes และ Snell-Huygens ใน Spreadsheet Viewก

เฉลยกิจกรรม การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra


1. -
2. จะเห็นวาในหนา Graphics View แสดงรูปหกเหลี่ยมดานเทาแนบในวงกลม (สีแดง) แ ล ะ
รู ป หกเหลี่ ย มดานเทาแนบนอกวงกลม ( สีน้ํ า เงิน ) และในหนา Spreadsheet View

แสดงคาประมาณของ π ดวยวิธีของ Archimedes และวิธีของ Snell-Huygens


3. จะเห็ น วาเมื่ อ จํ า นวนดานมากขึ้ น คาประมาณของ π โดยวิ ธี ข อง Archimedes และ
Snell-Huygens จะใกลเคียงกับคา π มากขึ้น แตวิธีของ Snell-Huygens ใหคาประมาณ
ที่ใกลเคียงมากกวาวิ ธีของ Archimedes เชน เมื่อจํานวนดานเปน 96 ดาน วิธีของ
Archimedes ใหคาประมาณของ π ถู ก ตองถึ ง ทศนิ ย มตํ า แหนงที่ 3 ในขณะที่ วิ ธี ข อง
Snell-Huygens ใหคาประมาณของ π ถูกตองถึงทศนิยมตําแหนงที่ 6

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

130 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แนวทางการจัดกิจกรรม การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra


เวลาในการจัดกิจกรรม 20 นาที
กิจกรรมนี้เสนอไวใหนักเรียนเปรียบเทียบคาประมาณของ π ที่ไดจากวิธีของ Archimedes
และ Snell-Huygens ในการทํ า กิ จ กรรมนี้ นั กเรีย นแตละกลุ มควรมี เครื่อ งคอมพิ ว เตอร
อยางนอย 1 เครื่อง โดยครูอาจเลือกจัดกิจกรรมนี้ในหองคอมพิวเตอร กิจกรรมนี้มีสื่อ/แหลง
การเรียนรู และขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม ดังนี้
สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. ใบกิจกรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra”
2. ไฟลกิจกรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra” จากเว็บไซต goo.gl/6xnUw4
ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
1. ครูแบงกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถ กลุมละ 3 – 4 คน
2. ครูแจกใบกิจกรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra” ใหกับนักเรียนทุกคนแลวให
นักเรียนศึกษาการประมาณคา π โดยวิธีของ Archimedes และ Snell-Huygens ก
3. ครู ใ หนั ก เรี ย นแตละกลุ มเปดไฟลกิ จ กรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra”
จากเว็บไซต goo.gl/6xnUw4
4. ครู ใ หนั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมและตอบคํ า ถามที่ ป รากฏในแนวทางการปฏิ บั ติ ข อ 2 ใน
ใบกิจกรรม โดยใหนักเรียนพิจารณาสิ่งที่เกิดขึ้นในหนาจอ
5. ครู ใ หนั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมและตอบคํ า ถามที่ ป รากฏในแนวทางการปฏิ บั ติ ข อ 3 ใน
ใบกิจกรรม จากนั้นครูนํานักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นของคําตอบ ดังนี้
• พิ จ ารณาวาเมื่ อเพิ่ ม จํ า นวนดานของรู ป หลายเหลี่ ย มจะทํา ใหคาประมาณของ π

ที่ไดจากแตละวิธีเปนอยางไร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 131

• พิ จ ารณาวาเมื่ อ จํ า นวนดานเทากั น คาประมาณที่ ไ ดจากแตละวิ ธี เ ปนอยางไร


เมื่อเทียบกับคาประมาณของ π ที่กําหนดใหในใบกิจกรรม

ความรูเพิ่มเติมสําหรับกิจกรรม การหาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra


π คือ จํานวนที่ไดจากการหารความยาวรอบรูปวงกลมดวยความยาวของเสนผานศูนยกลาง
ของรูปวงกลม ซึ่งเปนคาคงตัว
Archimedes ไดหาคาประมาณของ π โดยประมาณความยาวของเสนรอบรู ป วงกลม
จากคาเฉลี่ยของความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลมและความ
ยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบนอกวงกลม
1 un + U n
นั่นคือ Archimedes ประมาณคา π โดยคํานวณจาก 2 2
เมื่ อ un แทนความยาวรอบรู ป ของรู ป n เหลี่ ย มดานเทามุ ม เทาแนบในวงกลมที่ มี รั ศ มี
ยาวหนึ่งหนวย
และ Un แทนความยาวรอบรู ป ของรู ป n เหลี่ ย มดานเทามุ ม เทาแนบนอกวงกลมที่ มี
รัศมียาวหนึ่งหนวย
ตอมา Willebrord Snell และ Christiaan Huygens ไดพัฒนาวิธีการของ Archimedes

2 u + 1U un + U n
ในการหาคาประมาณของ π โดยใช 3 n 3 n
แทน 2

นั่นคือ Snell-Huygens ประมาณคา π โดยคํานวณจาก (


1 2 u + 1U
2 3 n 3 n )
จากกิ จ กรรม “หาคาประมาณของ π ดวย GeoGebra” นั ก เรี ย นจะเห็ น ไดวาเมื่ อ ใช
รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาที่มีจํานวนดานเทากัน คาประมาณของ π ที่คํานวณไดจากวิธี
ของ Snell-Huygens จะใกลเคียงมากกวาวิธีของ Archimedes ดังแสดงในตารางตอไปนี้
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

132 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีของ วิธีของ
รูปหลายเหลี่ยม
จํานวนดาน Archimedes Snell-Huygens
ดานเทามุมเทา
คาประมาณของ π ถูกตองถึง

6 หลักหนวย ทศนิยมตําแหนงที่ 1

12 ทศนิยมตําแหนงที่ 1 ทศนิยมตําแหนงที่ 2

24 ทศนิยมตําแหนงที่ 2 ทศนิยมตําแหนงที่ 3

48 ทศนิยมตําแหนงที่ 2 ทศนิยมตําแหนงที่ 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 133

วิธีของ วิธีของ
รูปหลายเหลี่ยม
จํานวนดาน Archimedes Snell-Huygens
ดานเทามุมเทา
คาประมาณของ π ถูกตองถึง

96 ทศนิยมตําแหนงที่ 3 ทศนิยมตําแหนงที่ 6

3.4 การวัดผลประเมินผลระหวางเรียน
การวัดผลระหวางเรียนเปนการวัดผลการเรียนรูเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน และ
ตรวจสอบนั ก เรี ย นแตละคนวามี ค วามรู ความเขาใจในเรื่ อ งที่ ค รู ส อนมากนอยเพี ย งใด
การใหนั ก เรี ย นทํ า แบบฝกหั ด เปนแนวทางหนึ่ ง ที่ ค รู อ าจใชเพื่ อ ประเมิ น ผลดานความรู
ระหวางเรียนของนักเรียน ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
เลม 1 ไดนําเสนอแบบฝกหัดที่ครอบคลุมเนื้อหาที่สําคัญของแตละบทไว สําหรับในบทที่ 3
จํานวนจริง ครูอาจใชแบบฝกหัดเพื่อวัดผลประเมินผลความรูในแตละเนื้อหาไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

134 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เนื้อหา แบบฝกหัด

จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ 3.1 ขอ 1, 2


สัจพจนเชิงพีชคณิต ทฤษฎีบท และสมบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 3.2 ขอ 1 ,2, 3
ขั้นตอนวิธีการหารสําหรับพหุนามและการหารยาว 3.3 ขอ 1 – 7
ทฤษฎีบทเศษเหลือ 3.4 ขอ 1 – 4
ทฤษฎีบทตัวประกอบและทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ 3.4 ขอ 5, 6
สมการพหุนามตัวแปรเดียว 3.5 ขอ 1, 2, 3
เศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จ 3.6 ขอ 1
การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม 3.6 ขอ 2
การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม 3.6 ขอ 3
สมการเศษสวนของพหุนาม 3.7 ขอ 1, 2
การไมเทากันของจํานวนจริง 3.8 ขอ 1 – 8
การเขียนเซตในรูปชวงและการเขียนกราฟของชวง 3.9ข ขอ 1 – 32
บนเสนจํานวน
คาสัมบูรณและทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับคาสัมบูรณ 3.10 ขอ 1, 2, 3
สมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว 3.11ก ขอ 1 – 8
อสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว 3.11ข ขอ 1, 2, 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 135

3.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท
หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม คณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปที่ 4 เลม 1 มี จุ ดมุ งหมายวา
เมื่อนักเรียนไดเรียนจบบทที่ 3 จํานวนจริง แลวนักเรียนสามารถ
1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงในการแกปญหา
2. หาผลหารของพหุนามและเศษเหลือ
3. หาเศษเหลือโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ
4. แยกตัวประกอบของพหุนาม
5. แกสมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียว
6. แกสมการและอสมการเศษสวนพหุนามตัวแปรเดียว
7. แกสมการและอสมการคาสัมบูรณของพหุนามตัวแปรเดียว
8. ใชความรูเกี่ยวกับพหุนามในการแกปญหา
ซึ่งหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ไดนําเสนอแบบฝกหัด
ทายบทที่ประกอบดวยโจทยเพื่อตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวัดความรู
ความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะที่มีความนาสนใจและ
โจทยทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมาย
ของบทเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความสามารถตามจุดมุงหมายเมื่อเรียนจบบทเรียนหรือไม

ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4


เลม 1 บทที่ 3 จํานวนจริง สอดคลองกับจุดมุงหมายของบทเรียน ดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
1. 1)
2)
3)
2.
3. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
4. 1)
2)
3)
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
4)
5)
6)
5.
6.
7. 1)
2)
8.
9. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
9)
10)
10. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
10)
11)
12)
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
11. 1)
2)
3)
4)
12. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
10)
13. 1)
2)
3)
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
4)
5) โจทยทาทาย
6)
7)
8)
9)
10)
11)
12)
14. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
9)
10)
11)
12)
13)
14)
15)
15.
16.
17.
18.
19.
20. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
จุดมุงหมาย
แกสมการ แกสมการ
ขอ ใชความรูเกี่ยวกับ หาผลหารของ แกสมการ ใชความรู
ขอ หาเศษเหลือโดยใช แยกตัวประกอบ และอสมการ และอสมการ
ยอย จํานวนจริง พหุนาม และอสมการ เกี่ยวกับพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ของพหุนาม เศษสวนพหุนาม คาสัมบูรณของ
ในการแกปญหา และเศษเหลือ พหุนามตัวแปรเดียว ในการแกปญหา
ตัวแปรเดียว พหุนามตัวแปรเดียว
7)
8)
9) โจทยทาทาย
10) โจทยทาทาย
21. 1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
22.
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 143

3.6 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
• ระบบจํานวนจริง คือ ระบบเชิงคณิตศาสตรที่ประกอบดวยเอกภพสัมพัทธ ซึ่งสอดคลอง
กับสัจพจน 3 กลุม 1 ดังนี้
0

1. สัจพจนเชิงพีชคณิต (algebraic axioms)


2. สัจพจนเชิงอันดับ (order axioms)
3. สัจพจนความบริบูรณ (completeness axiom)
เรียก วา “เซตของจํานวนจริง” และเรียกสมาชิกใน วา “จํานวนจริง”
• สัจพจนเชิงพีชคณิต
ให + และ ⋅ เปนสัญลักษณแทนการบวกและการคูณ ตามลําดับ สัจพจนเชิงพีชคณิต
ของระบบจํานวนจริง ไดแก
(A1) a + b ∈ สําหรับทุกจํานวนจริง a, b

(A2) a + ( b + c ) = ( a + b ) + c สําหรับทุกจํานวนจริง a , b, c

(A3) a + b = b + a สําหรับทุกจํานวนจริง a, b

(A4) มีจํานวนจริง 0 ซึ่ง a+0=0+a =a สําหรับทุกจํานวนจริง a

(A5) สําหรับแตละจํานวนจริง a มีจํานวนจริง b ซึ่ง a+b=b+a =0

(M1) a ⋅ b ∈ สําหรับทุกจํานวนจริง a, b

(M2) a ⋅ ( b ⋅ c ) = ( a ⋅ b ) ⋅ c สําหรับทุกจํานวนจริง a , b, c

(M3) a ⋅ b = b ⋅ a สําหรับทุกจํานวนจริง a, b

(M4) มีจํานวนจริง 1 ซึ่ง a ⋅1 = 1 ⋅ a = a สําหรับทุกจํานวนจริง a

1
ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 นําเสนอเพียงสัจพจนเชิงพีชคณิต
ในระบบจํานวนจริงและสัจพจนเชิงอันดับในระบบจํานวนจริง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

144 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

(M5) สําหรับแตละจํานวนจริง a ซึ่ง a≠0 มีจํานวนจริง b ซึ่ง a ⋅b = b⋅a =1

(D) a ⋅ (b + c ) = a ⋅ b + a ⋅ c และ ( b + c ) ⋅ a = b ⋅ a + c ⋅ a สําหรับทุกจํานวนจริง


a , b, c

หมายเหตุ ในที่นี้ อักษร A ใชบงถึงสัจพจนเกี่ยวกับการบวก (addition)


อักษร M ใชบงถึงสัจพจนเกี่ยวกับการคูณ (multiplication)
และอักษร D ใชบงถึงสัจพจนเกี่ยวกับการแจกแจง (distribution)
• สัจพจนเชิงอันดับ
มีสับเซต +
ของ ซึ่งสอดคลองกับเงื่อนไขทุกขอตอไปนี้
1. ถา a, b ∈ +
แลว a + b∈
+

2. ถา a, b ∈ +
แลว a ⋅b∈
+

3. สําหรับจํานวนจริง a ใด ๆ a∈ +
หรือ a=0 หรือ −a ∈ +

เพียงอยางใดอยางหนึ่ง
• สัจพจนความบริบูรณ
ถา A เปนสับเซตที่ไมใชเซตวางของ ซึ่งมีขอบเขตบนใน แลว A มีขอบเขต
บนนอยสุดใน
• ความหนาแนน (Density ของ และ ใน สามารถศึกษาไดจากหนังสือเรียนรู
เพิ่มเติมเพื่อเสริมศักยภาพคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 เรื่องระบบจํานวนจริง
หนา 61 – 63
• ทฤษฎี บ ทที่ ไ มไดแสดงการพิ สู จ นในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม คณิ ต ศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 แสดงการพิสูจนไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 145

ทฤษฎีบท 1 กฎการตัดออกสําหรับการบวก
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา a+c = b+c แลว a=b

2) ถา a+b = a+c แลว b=c

พิสูจน
1) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a+c = b+c

จะได ( a + c ) + ( − c ) = (b + c ) + ( − c )

a + (c + ( − c )) = b + (c + ( − c )) (สมบัติการเปลีย
่ นหมูของการบวก)
a+0 = b+0 (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

a = b (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)

ดังนั้น ถา a+c = b+c แลว a=b

2) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a+b = a+c

จะได ( a + b ) + ( − a ) = (a + c) + (− a)

(− a) + (a + b) = ( − a ) + ( a + c ) (สมบัติการสลับที่ของการบวก)

( ( −a ) + a ) + b = ( ( −a ) + a ) + c (สมบัติการเปลีย่ นหมูของการบวก)
0+b = 0+c (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

b = c (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)

ดังนั้น ถา a+b = a+c แลว b=c

ทฤษฎีบท 2 กฎการตัดออกสําหรับการคูณ
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) ถา ac = bc และ c≠0 แลว a=b

2) ถา ab = ac และ a≠0 แลว b=c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

146 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิสูจน
1) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a c = bc และ c≠0

จะได ( a c ) c −1 = ( bc ) c −1

a ( c c −1 ) = b ( c c −1 ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

a ⋅1 = b ⋅1 (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)

a = b (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

ดังนั้น ถา ac = bc และ c≠0 แลว a=b

2) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ ab = ac และ a≠0

จะได ( a b ) a −1 = ( a c ) a −1

a −1 ( ab ) = a −1 ( ac ) (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

(a a)b
−1
= ( a −1a ) c (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

1⋅ b = 1⋅ c (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)

b = c (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

ดังนั้น ถา ab = ac และ a≠0 แลว b=c

ทฤษฎีบท 3
ให a เปนจํานวนจริง จะได a⋅0 = 0

พิสูจน
ให a เปนจํานวนจริงใด ๆ
จาก 0+0 = 0

จะได a ( 0 + 0) = a ⋅ 0

a⋅0 + a⋅0 = a⋅0 (สมบัติการแจกแจง)

a⋅0 + a⋅0 = a⋅0 + 0 (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 147

a⋅0 = 0 (กฎการตัดออกสําหรับการบวก)

ดังนั้น ให a เปนจํานวนจริง จะได a⋅0 = 0

ทฤษฎีบท 4
ให aเปนจํานวนจริง จะได ( −1) a = − a
พิสูจน
ให a เปนจํานวนจริงใด ๆ
จาก a + ( −1) a = 1a + ( −1) a (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

a + ( −1) a = (1 + ( −1) ) a (สมบัติการแจกแจง)

a + ( −1) a = 0 ⋅ a (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

a + ( −1) a = a ⋅ 0 (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

a + ( −1) a = 0 (ทฤษฎีบท 3)

a + ( −1) a = a + ( − a ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

( −1) a = −a (กฎการตัดออกสําหรับการบวก)

ดังนั้น ให a เปนจํานวนจริง จะได ( −1) a = − a


ทฤษฎีบท 5
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะได
ab = 0 ก็ตอเมื่อ a=0 หรือ b=0

พิสูจน
ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ
1) จะแสดงวา ถา ab = 0 แลว a=0 หรือ b=0

ให ab = 0

โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา a=0 หรือ b=0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

148 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นั่นคือ ถา ab = 0 แลว a=0 หรือ b=0

2) จะแสดงวา ถา a=0 หรือ b=0 แลว ab = 0

กรณีที่ 1 ให a=0 แต b≠0

โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา ab = 0

กรณีที่ 2 ให b=0 แต a≠0

โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา ab = 0

กรณีที่ 3 ให a=0 และ b=0

โดยทฤษฎีบท 3 จะไดวา ab = 0

จากทั้งสามกรณี จะไดวา ถา a=0 หรือ b=0 แลว ab = 0

ดังนั้น ให a และ b เปนจํานวนจริง จะได ab = 0 ก็ตอเมื่อ a=0

หรือ b=0

ทฤษฎีบท 6
ให a และ b เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a ( −b ) = − ab
2) ( −a ) b = − ab
3) ( −a )( −b ) = ab
พิสูจน
1) ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ
จะได a⋅0 = 0 (ทฤษฎีบท 3)

a b + ( −b ) = 0 (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

ab + a ( −b ) = 0 (สมบัติการแจกแจง)

ab + a ( −b ) + ( − ab ) = 0 + ( − ab )

( −ab ) + ab + a ( −b ) = 0 + ( − ab ) (สมบัติการสลับที่ของการบวก)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 149

( −ab ) + ab + a ( −b ) = 0 + ( − ab ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)

0 + a ( −b ) = 0 + ( − ab ) (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

a ( −b ) = − ab (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)

ดังนั้น a ( −b ) = −ab
2) ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ
จะได (− a)b = b(− a) (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

= −b a (ทฤษฎีบท 6 ขอ 1)

= − ab (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

ดังนั้น ( − a ) b = −ab
3) ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ
จะได ( −a ) ⋅ 0 =0 (ทฤษฎีบท 3)

( −a ) b + ( −b ) = 0 (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

( −a ) b + ( −a )( −b ) =0 (สมบัติการแจกแจง)

( −ab ) + ( −a )( −b ) =0 (ทฤษฎีบท 6 ขอ 1)

( −ab ) + ( −a )( −b ) + ab = 0 + ab

ab + ( −ab ) + ( −a )( −b ) = 0 + ab (สมบัติการสลับที่ของการบวก)

ab + ( − ab ) + ( − a )( −b ) = 0 + ab (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก)

0 + ( − a )( −b ) = 0 + ab (สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก)

( − a )( − b ) = ab (สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก)

ดังนั้น ( −a )( −b ) = ab

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

150 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ทฤษฎีบท 7
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) a (b − c ) = ab − ac
2) (a − b) c = ac − bc
พิสูจน
1) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
จะได a (b − c ) = a b + ( − c ) (บทนิยาม 1)

= a b + a (− c) (สมบัติการแจกแจง)

= a b + (− a c) (ทฤษฎีบท 6 ขอ 1)

= ab − a c (บทนิยาม 1)

ดังนั้น a ( b − c ) = ab − ac
2) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
จะได (a − b) c = a + ( −b ) c (บทนิยาม 1)

= a c + (− b) c (สมบัติการแจกแจง)

= a c + (−b c) (ทฤษฎีบท 6 ขอ 1)

= a c − bc (บทนิยาม 1)

ดังนั้น ( a − b ) c = ac − bc

ทฤษฎีบท 8
ให a เปนจํานวนจริง ถา a≠0 แลว a −1 ≠ 0

พิสูจน
โดยวิธีหาขอขัดแยง สมมติให a=0

จะไดวา a ⋅ a −1 = 0 ⋅ a −1 = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 151

ซึ่งขัดแยงกับสมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ ซึ่ง a ⋅ a −1 = 1

ดังนั้น ถา a≠0 แลว a −1 ≠ 0

ทฤษฎีบท 9
ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริง จะไดวา
a
b a
1) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
c bc
a ac
2) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
b bc
a c ad + bc
3) + = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
b d bd
a c ac
4) = เมื่อ b≠0 และ d ≠0
b d bd
−1
b c
5) = เมื่อ b≠0 และ c≠0
c b
a
b ad
6)
c
= เมื่อ b ≠ 0, c ≠ 0 และ d ≠0
bc
d
พิสูจน
1) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ b≠0 และ c≠0

จะได a
bc
(
= a b −1c −1 ) (บทนิยาม 2)

(
= ab −1 c −1 ) (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

ab −1
= (บทนิยาม 2)
c
a
b
= (บทนิยาม 2)
c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

152 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

a
b a
ดังนั้น =
c bc
2) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ b≠0 และ c≠0
ac
ac b
จะได = (ทฤษฎีบท 9 ขอ 1)
bc c
ac −1
= ⋅c (บทนิยาม 2)
b
(
= ac ⋅ b −1 c −1 ) (บทนิยาม 2)

(
= c −1 ac ⋅ b −1 ) (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

( )
= c −1 ⋅ ac b −1 (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

= ( ac ⋅ c ) b
−1 −1
(สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

= a (c ⋅ c )
−1
b −1 (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

= ( a ⋅ 1) b −1 (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)

= ab −1 (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
a
= (บทนิยาม 2)
b
a ac
ดังนั้น =
b bc
3) ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ b≠0 และ d ≠0
ad + bc
ad + bc b
จะได = (ทฤษฎีบท 9 ขอ 1)
bd d
ad + bc −1
= ⋅d (บทนิยาม 2)
b
= ( ad + bc ) b −1 d −1 (บทนิยาม 2)

= b −1 ⋅ ( ad + bc ) d −1 (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 153

= b −1 ( ad ) + b −1 ( bc ) d −1 (สมบัติการแจกแจง)

= (b −1
) ( )
⋅ a d + b −1 ⋅ b c d −1 (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

= (b ⋅ a ) d + 1⋅ c d
−1 −1
(สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)

= (b ⋅ a) d + c d
−1 −1
(สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

= (b ⋅ a) d + c d
−1 −1
(สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

= (b ⋅ a) d ⋅ d + (c ⋅ d )
−1 −1 −1
(สมบัติการแจกแจง)

= (b ⋅ a )( d ⋅ d ) + ( c ⋅ d )
−1 −1 −1
(สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

= ( b ⋅ a ) ⋅1 + ( c ⋅ d )
−1 −1
(สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)

= (b ⋅ a ) + (c ⋅ d )
−1 −1
(สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)

= (a ⋅ b ) + (c ⋅ d )
−1 −1
(สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

a c
+= (บทนิยาม 2)
b d
a c ad + bc
ดังนั้น + =
b d bd
4) ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ b≠0 และ d ≠0
ac
ac b
จะได = (ทฤษฎีบท 9 ขอ 1)
bd d
ac −1
= d (บทนิยาม 2)
b

( )
= ac ⋅ b −1 d −1 (บทนิยาม 2)

= ( b ⋅ ac ) d
−1 −1
(สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

= (b ⋅ a ) c d
−1 −1
(สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

= ( b ⋅ a )( c ⋅ d )
−1 −1
(สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

154 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

(
= a ⋅ b −1 c ⋅ d −1 )( ) (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)

a c
= (บทนิยาม 2)
b d
a c ac
ดังนั้น =
b d bd
5) ให b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ b≠0 และ c≠0
−1
b
( )
−1
จะได = bc −1 (บทนิยาม 2)
c
1
= (บทนิยาม 2)
bc −1
1⋅ c
= (ทฤษฎีบท 9 ขอ 2)
bc −1 ⋅ c
1⋅ c
= (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
(
b c −1 ⋅ c )
1⋅ c
= (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
b ⋅1
c
= (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
b
−1
b c
ดังนั้น =
c b
6) ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ b≠ 0 และ d≠ 0
a

จะได b
=
( ab ) −1

(บทนิยาม 2)
c ( cd ) −1

=
( ab ) b−1

(บทนิยาม 9 ขอ 2)
( cd ) b−1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 155

a ( b −1b )
= (สมบัติการสลับที่ของการคูณและ
( cb ) d −1
สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
a ⋅1
= (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
( cb ) d −1
a
= (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
( cb ) d −1
a d
= ⋅ (บทนิยาม 9 ขอ 2)
( cb ) d d
−1

ad
= (บทนิยาม 9 ขอ 4)
( cb ) d −1 d
ad
= (สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ)
( cb ) ( d −1d )
ad
= (สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ)
cb ⋅ 1
ad
= (สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ)
cb
a
b ad
ดังนั้น c
=
bc
d
ทฤษฎีบท 10 ขั้นตอนวิธีการหารสําหรับพหุนาม
ถา a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0 แลวจะมีพหุนาม q ( x )
และ r ( x ) เพียงชุดเดียวเทานั้น ซึ่ง
a ( x) = b( x) q ( x) + r ( x)

เมื่อ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

156 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิสูจน
ให a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0
โดยขั้นตอนวิธีการหาร จะไดวามีพหุนาม q ( x ) และ r ( x )
โดยที่ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )
ซึ่งทําให a ( x ) = b ( x ) q ( x ) + r ( x ) ------- (1)

เหลือเพียงแสดงวามี q ( x ) และ r ( x ) ไดเพียงชุดเดียว


สมมติวา q ( x ) และ r ( x ) เปนพหุนามอีกชุดหนึ่ง
1 1

โดยที่ r ( x ) = 0 หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )


1 1

ซึ่งทําให a ( x ) = b ( x ) q ( x ) + r ( x )
1 1 ------- ( 2 )

จาก (1) และ ( 2 )


จะได a ( x ) − a ( x ) = b ( x ) q ( x ) + r ( x ) − b ( x ) q1 ( x ) + r1 ( x )

0 = b ( x ) q ( x ) − b ( x ) q1 ( x ) + r ( x ) − r1 ( x )
0 = b ( x ) q ( x ) − q1 ( x ) + r ( x ) − r1 ( x )
b ( x ) q ( x ) − q1 ( x ) = r ( x ) − r1 ( x )

สมมติวา q ( x ) ≠ q ( x ) 1

จะไดวา q ( x ) − q ( x ) ≠ 0 และ r ( x ) ≠ r ( x )
1 1

ซึ่งทําให deg ( r ( x ) − r ( x ) ) = deg ( b ( x ) ) + deg ( q ( x ) − q ( x ) ) ≥ deg ( b ( x ) ) ------- ( 3)


1 1

จากเงื่อนไขของ r ( x ) และ r ( x ) สามารถพิจารณาไดเปน 3 กรณี ดังนี้


1

กรณีที่ 1 r ( x ) = 0 และ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )


1

จะไดวา deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) = deg ( r1 ( x ) )

ดังนั้น deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) < deg ( b ( x ) ) ซึ่งขัดแยงกับ ( 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 157

กรณีที่ 2 deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) ) และ r ( x ) = 0


1

จะไดวา deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) = deg ( r ( x ) )

ดังนั้น deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) < deg ( b ( x ) ) ซึ่งขัดแยงกับ ( 3)


กรณีที่ 3 deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) ) และ deg ( r1 ( x ) ) < deg ( b ( x ) )

จะไดวา deg ( r1 ( x ) − r ( x ) ) < deg ( b ( x ) ) ซึ่งขัดแยงกับ ( 3)


จากทั้งสามกรณี จะไดวาขอความที่สมมติเปนเท็จ
นั่นคือ q ( x ) = q ( x ) ซึ่งทําใหไดวา r ( x ) = r ( x ) ดวย
1 1

ดังนั้น ถา a ( x ) และ b ( x ) เปนพหุนาม โดยที่ b ( x ) ≠ 0 แลวจะมีพหุนาม q ( x )


และ r ( x ) เพียงชุดเดียวเทานั้น ซึ่ง a ( x ) = b ( x ) q ( x ) + r ( x ) เมื่อ r ( x ) = 0
หรือ deg ( r ( x ) ) < deg ( b ( x ) )

ทฤษฎีบท 13
ให p ( x ) เปนพหุนาม an x n + an−1 x n−1 + + a1 x + a0 โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก
และ a , a , , a , a เปนจํานวนเต็มซึ่ง a ≠ 0
n n −1 1 0 n

k
ถา x− เปนตัวประกอบของพหุนาม p ( x ) โดยที่ m และ k เปนจํานวนเต็ม
m
ซึ่ง m≠0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 แลว m หาร an ลงตัว
และ k หาร a0 ลงตัว
พิสูจน
ให m และ k เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง m ≠ 0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1
k
ซึ่งทําให x− เปนตัวประกอบของพหุนาม p ( x ) = a x n
n
+ an −1 x n −1 + + a1 x + a0
m
โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก และ an , an −1 , , a1 , a0 เปนจํานวนเต็มซึ่ง an ≠ 0

โดยทฤษฎีบทตัวประกอบ จะไดวา ( )
p k =0
m

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

158 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( ) ( ) ( )
n n −1
นั่นคือ an k + an −1 k + + a1 k + a0 = 0
m m m
คูณทั้งสองขางของสมการดวย mn

จะได an k n + an −1k n −1m + + a1km n −1 + a0 m n = 0 ------ (1)

1) จะแสดงวา m หาร an ลงตัว


จาก (1) จะไดวา
an −1k n −1m + + a1km n −1 + a0 m n = − an k n
− ( an −1k n −1 + + a1km n − 2 + a0 m n −1 ) m = an k n

จะเห็นวา m หาร an k n ลงตัว


แตเนื่องจาก ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 จะไดวา m หาร an ลงตัว
2) จะแสดงวา k หาร a0 ลงตัว
จาก (1) จะไดวา
an k n + an −1k n −1m + + a1km n −1 = − a0 m n
− ( an k n −1 + an −1k n − 2 m + + a1m n −1 ) k = a0 m n

จะเห็นวา k หาร a0 m n ลงตัว


แตเนื่องจาก ห.ร.ม. ของ m และ k เทากับ 1 จะไดวา k หาร a0 ลงตัว
ดังนั้น m หาร an ลงตัว และ k หาร a0 ลงตัว
ทฤษฎีบท 14
ให a, b และ c เปนจํานวนจริง
1) สมบัติการถายทอด
ถา a>b และ b>c แลว a>c

2) สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา a>b แลว a+c > b+c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 159

3) สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากันที่ไมเปนศูนย
กรณีที่ 1 ถา a>b และ c>0 แลว ac > bc

กรณีที่ 2 ถา a>b และ c<0 แลว ac < bc

4) สมบัติการตัดออกสําหรับการบวก
ถา a+c > b+c แลว a>b

5) สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ
กรณีที่ 1 ถา ac > bc และ c>0 แลว a>b

กรณีที่ 2 ถา ac > bc และ c<0 แลว a<b

พิสูจน
1) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a>b และ b>c

เนื่องจาก a>b หมายถึง a −b > 0 ------- (1)

และ b>c หมายถึง b−c >0 ------- ( 2 )

จาก (1) และ ( 2 )


จะได ( a − b) + (b − c ) > 0
a−c > 0
นั่นคือ a > c

ดังนั้น ถา a>b และ b>c แลว a>c

2) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a>b

เนื่องจาก a>b หมายถึง a −b > 0

และ ( a + c ) − ( b + c ) = a − b
จะได ( a + c ) − ( b + c ) > 0
นั่นคือ a+c>b+c

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

160 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น ถา a>b แลว a+c > b+c

3) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a>b นั่นคือ a −b > 0

กรณีที่ 1 c>0

เนื่องจาก ( a − b ) c = ac − bc
จะได ac − bc > 0
นั่นคือ ac > bc

ดังนั้น ถา a>b และ c>0 แลว ac > bc

กรณีที่ 2 c<0

เนื่องจาก ( a − b ) c = ac − bc
จะได ac − bc < 0
นั่นคือ ac < bc

ดังนั้น ถา ac > bc และ c<0 แลว a<b

4) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a+c>b+c

นั่นคือ ( a + c ) − (b + c ) > 0
a +c−b−c > 0
จะได a −b > 0

นั่นคือ a > b

ดังนั้น ถา a+c > b+c แลว a>b

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 161

5) ให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ ac > bc

กรณีที่ 1 c>0

โดยวิธีหาขอขัดแยง สมมติให a>b นั่นคือ a=b หรือ a<b

- เมื่อ a=b จะได ac = bc

ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ac > bc

- เมื่อ a<b จะได ac < bc

ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ac > bc

ดังนั้น ถา ac > bc และ c>0 แลว a>b

กรณีที่ 2 c<0

โดยวิธีหาขอขัดแยง สมมติให a<b นั่นคือ a=b หรือ a>b

- เมื่อ a=b จะได ac = bc

ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให ac > bc

- เมื่อ a>b จะได a −b > 0

เนื่องจาก ac − bc = ( a − b ) c จะได ( a − b ) c > 0


เนื่องจาก a −b > 0 จะได c>0

ซึ่งขัดแยงกับที่กําหนดให c<0

ดังนั้น ถา ac > bc และ c<0 แลว a<b

ทฤษฎีบท 15
ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริง
ถา a>b และ c>d แลว a+c>b+d

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

162 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิสูจน
ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง a>b และ c>d

โดยสมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน จะได a+c>b+c และ b+c>b+d

โดยสมบัติการถายทอด จะได a+c>b+d

ทฤษฎีบท 16
ให x และ y เปนจํานวนจริง จะไดวา
1) x = −x
2) xy = x y
x x
3) = เมื่อ y≠0
y y
4) x− y = y−x
2
5) x = x2
6) x+ y ≤ x + y

พิสูจน
1) แสดงการพิสูจนดังตัวอยางที่ 36
2) ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ
กรณีที่ 1 x≥0 และ y≥0 จะได xy ≥ 0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x, y = y และ xy = xy

จะเห็นวา xy = xy = x y

กรณีที่ 2 x≥0 และ y<0 จะได xy ≤ 0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x, y = − y และ xy = − xy

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 163

จะเห็นวา xy = − xy = x y

กรณีที่ 3 x<0 และ y≥0 จะได xy ≤ 0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x, y = y และ xy = − xy

จะเห็นวา xy = − xy = x y

กรณีที่ 4 x<0 และ y<0 จะได xy > 0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x, y = − y และ xy = xy

จะเห็นวา xy = xy = x y

จากทั้งสี่กรณี จะไดวา xy = x y

3) ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ ซึ่ง y≠0


x
กรณีที่ 1 x≥0 และ y>0 จะได ≥0
y

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
x x
จะได x = x, y = y และ =
y y
x x x
จะเห็นวา = =
y y y
x
กรณีที่ 2 x≥0 และ y<0 จะได ≤0
y

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
x x
จะได x = x, y = − y และ =−
y y
x x x
จะเห็นวา =− =
y y y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

164 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x
กรณีที่ 3 x<0 และ y>0 จะได <0
y

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
x x
จะได x = − x, y = y และ =−
y y
x x x
จะเห็นวา =− =
y y y
x
กรณีที่ 4 x<0 และ y<0 จะได >0
y

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
x x
จะได x = − x, y = − y และ =
y y
x x x
จะเห็นวา = =
y y y

x x
จากทั้งสี่กรณี จะไดวา =
y y

4) แสดงการพิสูจนดังตัวอยางที่ 37
5) ให x เปนจํานวนจริงใด ๆ
กรณีที่ 1 x≥0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x =x
2
ทําใหไดวา x = x ⋅ x = x2

กรณีที่ 2 x<0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ จะได x =−x

x = ( − x )( − x ) = x 2
2
ทําใหไดวา
2
จากทั้งสองกรณี จะไดวา x = x2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 165

6) ให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ
กรณีที่ 1 x≥0 และ y≥0 นั่นคือ x+ y≥0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x, y = y และ x+ y = x+ y

จะเห็นวา x+ y = x+ y= x + y

กรณีที่ 2 x≥0 และ y<0 นั่นคือ x+ y≥0 หรือ x+ y<0

- เมื่อ x+ y≥0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x, y = − y และ x+ y = x+ y

จะเห็นวา x+ y = x+ y แต x + y = x− y

เนื่องจาก x≥0 และ y<0 จะไดวา x+ y< x− y

นั่นคือ x+ y < x + y

- เมื่อ x+ y<0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = x, y = − y และ x + y = −( x + y) = −x − y

จะเห็นวา x + y = −x − y และ x + y = x− y

เนื่องจาก x ≥ 0, y < 0 จะไดวา −x − y < x − y

นั่นคือ x+ y < x + y

กรณีที่ 3 x<0 และ y≥0 นั่นคือ x+ y≥0 หรือ x+ y<0

- เมื่อ x+ y≥0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x, y = y และ x+ y = x+ y

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

166 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวา x+ y = x+ y แต x + y = −x + y

เนื่องจาก x<0 และ y≥0 จะไดวา x + y < −x + y

นั่นคือ x+ y < x + y

- เมื่อ x+ y<0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x, y = y และ x + y = −( x + y) = −x − y

จะเห็นวา x + y = −x − y และ x + y = −x + y

เนื่องจาก x<0 และ y≥0 จะไดวา −x − y < −x + y

นั่นคือ x+ y < x + y

กรณีที่ 4 x<0 และ y<0 นั่นคือ x+ y<0

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
จะได x = − x, y = − y และ x + y = −( x + y) = −x − y

จะเห็นวา x + y = −x − y = x + y

จากทั้งสี่กรณี จะไดวา x+ y ≤ x + y

3.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและเฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
ในสวนนี้จะนําเสนอตัว อยางแบบทดสอบประจํ าบทที่ 3 จํา นวนจริง สํ าหรับรายวิ ชาเพิ่มเติม
คณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปที่ 4 เลม 1 ซึ่ ง ครู ส ามารถเลื อ กนํ า ไปใชไดตามจุ ด ประสงค
การเรียนรูที่ตองการวัดผลประเมินผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 167

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงพิจารณาวาจํานวนที่กําหนดให จํานวนใดบางเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ


หรือจํานวนอตรรกยะ a

−3 28 1
3 1.01001000100001 (−25) ⋅
4 2 (−5)
π
( 9)
2
1− 7 2.33444444444 4

5
2. จงยกตัวอยางจํานวนอตรรกยะ a และ b ที่แตกตางกัน ซึ่งทําให
1) a −b เปนจํานวนตรรกยะ
2) a −b เปนจํานวนอตรรกยะ
3) ab เปนจํานวนตรรกยะ
4) ab เปนจํานวนอตรรกยะ
a
5) เปนจํานวนตรรกยะ
b
a
6) เปนจํานวนอตรรกยะ
b
3. จงระบุสมบัติของจํานวนจริงที่ใชในแตละขั้นตอนของบทพิสูจน
a⋅0 = a⋅0 + 0 สําหรับทุกจํานวนจริง a

พิสูจน ให a เปนจํานวนจริงใด ๆ จะไดวา


a⋅0 = a⋅0 + 0
= a ⋅ 0 + ( ( a ⋅ 0 ) + ( −a ⋅ 0 ) )
= ( a ⋅ 0 + a ⋅ 0 ) + ( −a ⋅ 0 )
= a ⋅ ( 0 + 0 ) + ( −a ⋅ 0 )
= a ⋅ 0 + ( −a ⋅ 0 )
= 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

168 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4. จงหาจํานวนจริง a ที่ทําใหเมื่อหารพหุนาม x 4 − ax + 1 ดวย x−2 แลวไดเศษเหลือ


เทากับ 3

5. จงหาจํานวนจริง a และ b ที่ทําใหเมื่อหารพหุนาม x3 + ax 2 + bx − 1

ดวย x2 + x + 1 แลวเหลือเศษ x+2

6. จงแยกตัวประกอบพหุนามตอไปนี้
1) x3 − 4 x 2 − 3x + 18
2) 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3
7. จงหาจํานวนเต็ม k ทั้งหมดที่ทําใหสมการ x3 − kx + 2 = 0 มีคําตอบที่เปนจํานวนตรรกยะ
8. จงหาเซตคําตอบของสมการตอไปนี้
1) x3 − 5 x 2 + 12 = 8 x
2) x 4 + x 2 = 2 x3 + 4
9. จงหาผลลัพธในรูปผลสําเร็จ
3x − 6 x2 − 2 x
1)
x2 − 1 x3 − 2 x 2 + 2 x − 1
x 2 x
2) − ⋅
( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x − 3) x−4
x 2 + bx + c a 2x − 3
10. จงหาจํานวนจริง a, b และ c ที่ทําให = + 2
( x + 2 ) ( 2 x − 1) 2 x − 1 x + 2
2

3 1 4
11. จงหาเซตคําตอบของสมการ + 2 = 2
x − 1 x − 3x + 2 x − 1
12. จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ พรอมทั้งพิสูจนหรือยกตัวอยางคาน
1) ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a<b และ c<d

จะไดวา a−c<b−d

2) ให a , b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a<b และ c<d จะไดวา ac < bd

13. จงเขียนกราฟของ ([ −4,1) ∪ [ 2, 6]) − ( ( −3, 3] ∪ [ 4, 5) ) บนเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 169

จงหาเซตคําตอบของอสมการ ( 4 1) ( 1) ( 3) ( 8) ≤ 0
2 2 3
x− x x+ x− x−
14.
( x − 1)( x − 2 )( x − 5)
4

15. จงหาเซตคําตอบของสมการตอไปนี้
1) x+2 =5
2) x2 − 4 = 4 − x2
16. จงหาเซตคําตอบของอสมการตอไปนี้
1) x2 − 5 ≥ 4
3 1− x −1
2) ≥1
x −1 +1
17. กระดาษแข็งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแผนหนึ่ง กวาง 3 ฟุต และยาว 4 ฟุต เมื่อตัดมุมกระดาษทั้ง
สี่ เ ปนรู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ที่ ย าวดานละ x ฟุ ต ออก จะสามารถประกอบเปนกลอง
ทรงสี่ เ หลี่ ย มมุ ม ฉากซึ่ งไมมี ฝ าปดได ถากลองดั งกลาวมีป ริ มาตร 2 ลู ก บาศกฟุ ต จงหา
คาของ x

18. จงหาจํานวนจริง a ทั้งหมดที่ทําใหสมการ x 2 − ax − a + 3 = 0 มีคําตอบเปนจํานวนจริง


19. ปริศาตองการออกแบบกระเปาเดินทางทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใหมีความกวาง ความยาว และ
ความสูงรวมกันได 11 เดซิ เมตร โดยมี ความยาวเปนสองเทาของความกวาง ถาตองการให
กระเปามีปริมาตรอยางนอย 40 ลูกบาศกเดซิเมตรแลว กระเปาใบนี้ควรมีความกวางอยางนอย
เทาไร

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. พิจารณาจํ านวนที่กําหนดให วาเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ หรือจํานวน


อตรรกยะ ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

170 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จํานวนที่กําหนดให จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ

3 -

1.01001000100001 - - -
3
− - - -
4
28
2
1
( −25) ⋅ -
( −5)
π
- - -
5
1− 7 - - -

2.33444444444 - - -

( 9)
2
4
-

2. ตัวอยางคําตอบ
1) a = 1 + 2, b = 2
2) a = 2 2, b = 2
3) a = 2 2, b = 2
4) a = 2, b = 3
5) a = 2 2, b = 2
6) a = 6, b = 2
3. a⋅0 = a⋅0 + 0 สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก
= (
a ⋅ 0 + ( a ⋅ 0) + ( − ( a ⋅ 0)) ) สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก
= ( a ⋅ 0 + a ⋅ 0 ) + ( − ( a ⋅ 0 ) ) สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 171

= a ⋅ ( 0 + 0) + ( − ( a ⋅ 0)) สมบัติการแจกแจง
= a ⋅ 0 + ( − ( a ⋅ 0)) สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก
= 0 สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก
4. ให p ( x ) = x 4 − ax + 1

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 2 )


เนื่องจาก เศษเหลือที่ไดจากการหาร p ( x ) ดวย x − 2 คือ 3 นั่นคือ p ( 2 ) = 3
จะได 3 = 2 4 − 2a + 1
2a = 14
a = 7
ดังนั้น a=7

5. พิจารณาการหารยาวดังนี้
x + (a − 1)
x + x + 1 x3 +
2
ax 2 + bx − 1
x + 3
x + 2
x
(a − 1) x 2 + (b − 1) x − 1
(a − 1) x + (a − 1) x + (a − 1)
2

(b − a) x − a

จากการหารยาวจะไดวา เศษเหลือจากการหาร x 3 + ax 2 + bx − 1 ดวย x2 + x + 1

คือ ( b − a ) x − a
เนื่องจาก โจทยกําหนดวา เศษเหลือจากการหาร x 3 + ax 2 + bx − 1 ดวย x2 + x + 1

คือ x+2

จะไดวา (b − a ) x − a = x+2

นั่นคือ b − a =1 และ −a = 2

b = −1 และ a = −2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

172 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น a = −2 และ b = −1

6. 1) ให p ( x ) = x − 4 x − 3x + 18
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 18 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 6, 9, 18

พิจารณา p ( −2 )
p ( −2 ) = ( −2 ) − 4 ( −2 ) − 3 ( −2 ) + 18 = 0
3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) = 0 ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ x − 4 x 3 2


− 3 x + 18

นํา x + 2 ไปหาร x − 4 x − 3x + 18 ไดผลหารเปน x − 6 x + 9


3 2 2

นั่นคือ x 3 − 4 x 2 − 3 x + 18 = ( x + 2) ( x2 − 6x + 9)
( x + 2 )( x − 3)
2
=

ดังนั้น x3 − 4 x 2 − 3 x + 18 = ( x + 2 )( x − 3)
2

2) ให p ( x ) = 2 x + 5 x − 2 x + 4 x + 3
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 3 ลงตัว คือ 1, 3

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ 1, 2

พิจารณา p ( −3)

p ( −3) = 2 ( −3) + 5 ( −3) − 2 ( −3) + 4 ( −3) + 3 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p ( −3) = 0 ดังนั้น x+3 เปนตัวประกอบของ 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3

นํา x+3 ไปหาร 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3 ไดผลหารเปน 2 x3 − x 2 + x + 1

ดังนั้น 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3 = ( x + 3) ( 2 x 3 − x 2 + x + 1)

ให q ( x ) = 2 x − x + x + 1
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ 1

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ 1, 2


1
พิจารณา q −
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 173

3 2
1 1 1 1
q − =2 − − − + − +1 = 0
2 2 2 2
1 1
จะเห็นวา q − =0 ดังนั้น x+ เปนตัวประกอบของ 2 x3 − x 2 + x + 1
2 2
1
นํา x+ ไปหาร 2 x3 − x 2 + x + 1 ไดผลหารเปน 2 x2 − 2 x + 2
2
1
นั่นคือ 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3 = ( x + 3) x+
2
( 2x 2
− 2x + 2)

1
= ( x + 3) x+ ⋅ 2 ( x 2 − x + 1)
2
= ( x + 3)( 2 x + 1) ( x 2 − x + 1)
ดังนั้น 2 x 4 + 5 x3 − 2 x 2 + 4 x + 3 = ( x + 3)( 2 x + 1) ( x 2 − x + 1)

7. ให p ( x ) = x 3 − kx + 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ 1, 2

ถา x +1 เปนตัวประกอบของ x 3 − kx + 2 นัน่ คือ p ( −1) = 0

จะได ( −1) − k ( −1) + 2


3
= 0

ดังนั้น k = −1

ถา x −1 เปนตัวประกอบของ x 3 − kx + 2 นัน่ คือ p (1) = 0

จะได 13 − k (1) + 2 = 0

ดังนั้น k = 3

ถา x+2 เปนตัวประกอบของ x 3 − kx + 2 นัน่ คือ p ( −2 ) = 0

จะได ( −2 ) − k ( −2 ) + 2
3
= 0

ดังนั้น k = 3

ถา x−2 เปนตัวประกอบของ x 3 − kx + 2 นัน่ คือ p ( 2) = 0

จะได 23 − k ( 2 ) + 2 = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

174 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น k = 5

จะได จํานวนเต็ม k ที่เปนไปไดทั้งหมด คือ −1, 3 หรือ 5

8. 1) จาก x3 − 5 x 2 + 12 = 8 x

จัดรูปสมการใหมไดเปน x3 − 5 x 2 − 8 x + 12 = 0

เนื่องจาก x3 − 5 x 2 − 8 x + 12 = ( x − 1) ( x 2 − 4 x − 12 ) = ( x − 1)( x + 2 )( x − 6 )

จะได ( x − 1)( x + 2 )( x − 6 ) = 0
ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x + 2 = 0 หรือ x−6 = 0

จะได x =1 หรือ x = −2 หรือ x=6

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1, 6 }


2) จาก x 4 + x 2 = 2 x3 + 4

จัดรูปสมการใหมไดเปน x 4 − 2 x3 + x 2 − 4 = 0

เนื่องจาก x 4 − 2 x 3 + x 2 − 4 = ( x − 2 )( x + 1) ( x 2 − x + 2 )

จะได ( x − 2 )( x + 1) ( x − x + 2 ) = 0
2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ x + 1 = 0 หรือ x2 − x + 2 = 0

ถา x−2 = 0 จะได x=2

ถา x +1 = 0 จะได x = −1

ถา และเนื่องจาก ( −1) − 4 (1)( 2 ) = − 7


x2 − x + 2 = 0
2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {−1, 2}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 175

3x − 6 x2 − 2 x
9. 1)
x2 − 1 x3 − 2 x 2 + 2 x − 1
3( x − 2) x ( x − 2)
=
( x − 1)( x + 1) ( x − 1) ( x 2 − x + 1)
3( x − 2) ( x − 1) ( x 2 − x + 1)
=
( x − 1)( x + 1) x ( x − 2)
3 ( x 2 − x + 1)
= เมื่อ x ≠1 และ x≠2
x ( x + 1)

x 2 x
2) − ⋅
( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x − 3) x−4

x ( x − 3) − 2 ( x − 2 ) x
= ⋅
( x − 1)( x − 2 )( x − 3) x−4
x2 − 5x + 4 x
= ⋅
( x − 1)( x − 2 )( x − 3) x − 4
( x − 1)( x − 4 ) x
=
( x − 1)( x − 2 )( x − 3)( x − 4 )
x
= เมื่อ x ≠1 และ x≠4
( x − 2 )( x − 4 )
2 x − 3 a ( x + 2 ) + ( 2 x − 3)( 2 x − 1)
2
a
10. จาก + 2 =
2x −1 x + 2 ( 2 x − 1) ( x 2 + 2 )

จัดรูปสมการใหมไดเปน a 2x − 3
+ 2 =
( a + 4 ) x 2 − 8 x + ( 2a + 3)
2x −1 x + 2 ( 2 x − 1) ( x 2 + 2 )
จะไดวา x 2 + bx + c = ( a + 4 ) x 2 − 8 x + ( 2a + 3)

นั่นคือ a + 4 = 1, b = − 8 และ c = 2a + 3

ดังนั้น a = − 3, b = − 8 และ c = −3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

176 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3 1 4
11. จาก + 2 = 2
x − 1 x − 3x + 2 x − 1
3 1 4
จัดรูปสมการใหมไดเปน + 2 − 2 =0
x − 1 x − 3x + 2 x − 1
3 1 4
จะได + − = 0
x − 1 ( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x + 1)

3 ( x − 2 )( x + 1) + ( x + 1) − 4 ( x − 2 )
= 0
( x − 1)( x − 2 )( x + 1)
3x 2 − 6 x + 3
= 0
( x − 1)( x − 2 )( x + 1)
3 ( x − 1)
2

= 0
( x − 1)( x − 2 )( x + 1)
3 ( x − 1)
= 0 เมื่อ x ≠1
( x − 2 )( x + 1)
จะได x −1 = 0 และ ( x − 2 )( x + 1) ≠ 0 และ x ≠ 1
นั่นคือ x =1 โดยที่ x ≠ 2 และ x ≠ − 1 และ x ≠ 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

12. 1) ขอความที่กําหนดใหเปนเท็จ เชน ให a = 1, b = 2, c = 3 และ d =5

เนื่องจาก 1 < 2 และ 3<5 นั่นคือ a<b และ c<d

แต 1 − 3 > 2 − 5 นั่นคือ a−c >b−d

2) ขอความที่กําหนดใหเปนเท็จ เชน ให a = 1, b = 2, c = −3 และ d = −2

เนื่องจาก 1 < 2 และ −3 < −2 นั่นคือ a<b และ c<d

แต 1( −3) > ( 2 )( −2 ) นั่นคือ ac > bd

13. วิธีที่ 1 ให A = [ −4, 1) ∪ [ 2, 6] และ B = ( −3, 3] ∪ [ 4, 5 )

จะได A − B = [ −4, 1) ∪ [ 2, 6] − ( −3, 3] ∪ [ 4, 5 )

เขียนแสดง A, B และ A− B บนเสนจํานวนไดดังนี้


สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 177

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เขียนแสดง [ − 4, − 3] ∪ ( 3, 4 ) ∪ [5,6] บนเสนจํานวนไดดังนี้

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6

วิธีที่ 2 เนื่องจาก [ −4, 1) ∪ [ 2, 6] − ( −3, 3] ∪ [ 4, 5) = [ −4, − 3] ∪ ( 3, 4 ) ∪ [5, 6]


เขียนแสดง [ −4, 1) ∪ [ 2, 6] − ( −3, 3] ∪ [ 4, 5) บนเสนจํานวน โดยการเขียน
แสดง [ −4, − 3] ∪ ( 3, 4 ) ∪ [5, 6] บนเสนจํานวนไดดังนี้

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6

จาก ( 4 x − 1) x ( x + 1) ( x − 3) ( x − 8)
2 2 3

14. ≤ 0
( x − 1)( x − 2 )( x − 5)
4

เนื่องจาก ( 4 x − 1) 2
≥ 0, ( x + 1) ≥ 0, ( x − 3) ≥ 0
2 2
และ ( x − 5) 4
≥0 เสมอ
นัน่ คือ ตองหาเซตคําตอบของอสมการ ( )( ) ≤ 0 เมื่อ
x x −3 x −8
x≠5
( x − 1)( x − 2 )
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

178 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

–1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∪ 0] ∪ (1, 2 ) ∪ [3, 5 ) ∪ ( 5, 8]

15. 1) จาก x + 2 = 5

กรณีที่ 1 x+2≥0 นั่นคือ x ≥ −2

จะได x+2 = 5

x=3 ซึ่ง 3 ≥ −2

นั่นคือ 3 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 x+2<0 นั่นคือ x < −2

จะได − ( x + 2) = 5

x = −7 ซึ่ง −7 < −2

นั่นคือ −7 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {−7, 3}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 179

2) จาก x2 − 4 = 4 − x2

กรณีที่ 1 x2 − 4 ≥ 0 นั่นคือ x2 ≥ 4 ( x ≤ −2 หรือ x ≥ 2)

จะได x2 − 4 = 4 − x2

2x 2 = 8
x2 = 4
x = −2 หรือ x=2

ดังนั้น คา x ที่สอดคลองคือ x = −2 หรือ x=2

กรณีที่ 2 x2 − 4 < 0 นั่นคือ x 2 < 4 ( −2 < x < 2 )

จะได − ( x2 − 4) = 4 − x2

− x2 + 4 = 4 − x2
0=0 ซึ่งเปนจริงทุกจํานวนจริง x

ดังนั้น คา x ที่สอดคลองคือ คือ x ∈ ( −2, 2 )

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ [ −2, 2]


16. 1) จากอสมการ x − 5 ≥ 4 2

จะได x 2 − 5 ≤ −4 หรือ x2 − 5 ≥ 4

x2 ≤ 1 หรือ x2 ≥ 9

x2 − 1 ≤ 0 หรือ x2 − 9 ≥ 0

( x − 1)( x + 1) ≤ 0 หรือ ( x − 3)( x + 3) ≥ 0


−1 ≤ x ≤ 1 หรือ x ≤ − 3 หรือ x≥3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 3] ∪ [ −1,1] ∪ [3, )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

180 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3 1− x −1
2) จาก ≥1
x −1 +1

เนื่องจาก 1− x = x −1
3 x −1 −1
จะได ≥ 1
x −1 +1
3 x −1 −1
−1 ≥ 0
x −1 +1

( 3 x − 1 − 1) − ( x − 1 + 1) ≥ 0
x −1 +1
2 x −1 − 2
≥ 0
x −1 +1
2 ( x − 1 − 1)
≥ 0
x −1 +1
x −1 −1
≥ 0
x −1 +1

เนื่องจาก x −1 ≥ 0 เสมอ จะไดวา x −1 +1 ≥ 0 เสมอ


นัน่ คือ x −1 −1 ≥ 0
x −1 ≥ 1
จะได x − 1 ≤ −1 หรือ x −1 ≥ 1

x ≤ 0 หรือ x ≥ 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , 0] ∪ [ 2, )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 181

17. แสดงสิ่งที่โจทยกําหนดไดดังรูปตอไปนี้

จากรูป จะไดปริมาตรของกลอง คือ x ( 3 − 2 x )( 4 − 2 x ) ลูกบาศกฟุต


เนื่องจาก โจทยกําหนดใหกลองใบนี้มีปริมาตร 2 ลูกบาศกฟุต
จะได x ( 3 − 2 x )( 4 − 2 x ) = 2

2 x ( 3 − 2 x )( 2 − x ) = 2
x ( 3 − 2 x )( 2 − x ) = 1
2 x3 − 7 x 2 + 6 x − 1 = 0
( x − 1) ( 2 x 2 − 5 x + 1) =0

นั่นคือ x −1 = 0 หรือ 2 x2 − 5x + 1 = 0

ถา x −1 = 0 จะได x =1

− ( −5 ) ( −5) − 4 ( 2 )(1) 5
2
17
ถา 2 x2 − 5x + 1 = 0 จะได x= =
2 ( 2) 4

แตเนื่องจากความกวาง ความยาว และความสูงของกลองตองมากกวา 0


นั่นคือ x > 0 , 3 − 2x > 0 และ 4 − 2x > 0

3
จะไดวา x ∈ 0,
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

182 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5 − 17
ดังนั้น คาของ x ที่เปนไปได คือ 1 หรือ
4
18. จาก x 2 − ax − a + 3 = 0

จัดรูปสมการใหมไดเปน x 2 − ax + ( 3 − a ) = 0

− ( −a ) ( −a ) − 4 (1)( 3 − a )
2

จะได x =
2 (1)

a a 2 + 4a − 12
x =
2
จะไดวา x จะเปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ a 2 + 4a − 12 ≥ 0

นั่นคือ จะเปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ ( a − 2 )( a + 6 ) ≥ 0


x

ดังนั้น คาของ a จะอยูในชวง ( − , − 6] ∪ [ 2, )


19. ให x แทนความกวางของกระเปาใบนี้ในหนวยเดซิเมตร
จะไดวา กระเปามีความยาว 2x เดซิเมตร และความสูง 11 − 3x เดซิเมตร
เนื่องจากตองการใหกระเปามีปริมาตรอยางนอย 40 ลูกบาศกเดซิเมตร
จะได x ⋅ 2 x ⋅ (11 − 3 x ) ≥ 40

6 x3 − 22 x 2 + 40 ≤ 0
2 ( x − 2 ) ( 3 x − 5 x − 10 )
2
≤ 0

5 + 145 5 − 145
2 ( x − 2) x − x− ≤ 0
6 6

5 − 145 5 + 145
นั่นคือ x∈ − , ∪ 2,
6 6

5 + 145
แตความกวางของกระเปาตองมากกวา 0 นั่นคือ x ∈ 2,
6

ดังนั้น กระเปาใบนี้ควรมีความกวางอยางนอย 2 เดซิเมตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 183

3.8 เฉลยแบบฝกหัด
คู มื อครู ร ายวิ ช าเพิ่ มเติ ม คณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ กษาปที่ 4 เลม 1 แบงการเฉลยแบบฝกหั ด
เปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 เฉลยคําตอบ และสวนที่ 2 เฉลยคําตอบพรอมวิธีทําอยางละเอียด
ซึ่งเฉลยแบบฝกหัดที่อยูในสวนนี้เปนการเฉลยคําตอบของแบบฝกหัด โดยไมไดนําเสนอวิธีทํา
อยางไรก็ตามครูสามารถศึกษาวิธีทําโดยละเอียดของแบบฝกหัดไดในสวนทายของคูมือครูเลมนี้

แบบฝกหัด 3.1

1. พิจารณาการเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ หรือจํานวนอตรรกยะ


ของจํานวนที่กําหนดให ไดดังนี้
จํานวน
จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
ที่กําหนดให
0 - -
2
- - -
3
−22
- - -
7
3.1416 - - -
4 +1 -
1 − ( −8 ) -
6 −1 - - -

- - -
22
0.09 - - -
12
− - -
3
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

184 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จํานวน
จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
ที่กําหนดให
( 2)
2
-
–3.999 - - -
( −1)
2
-

2. 1) เปนจริง 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ 4) เปนเท็จ
5) เปนจริง 6) เปนจริง
7) เปนเท็จ 8) เปนจริง
9) เปนเท็จ

แบบฝกหัด 3.2

1. 1) สมบัติการสลับที่ของการคูณ 2) สมบัติการมีเอกลักษณของการบวก
3) สมบัติการมีเอกลักษณของการคูณ 4) สมบัติปดของการคูณ
5) สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก 6) สมบัติการแจกแจง
7) สมบัติการมีตัวผกผันของการคูณ 8) สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ
9) สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก 10) สมบัติการสลับที่ของการบวก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 185

2. ตัวผกผันการบวกและตัวผกผันการคูณของจํานวนที่กําหนดใหเปนดังนี้
จํานวนที่กําหนดให ตัวผกผันการบวก ตัวผกผันการคูณ
1
−4 4 −
4
1
5 − 5
5
2 2 7

7 7 2
5 5 11
− −
11 11 5
(
− 1− 7 ) หรือ 1
1− 7
1− 7
−1 + 7
1
3
2 −3 2 3
2
−8
− หรือ
−8 2+ 3 2+ 3

2+ 3 8 8
2+ 3

3. พิจารณาสมบัติของเซตที่กําหนดใหไดดังนี้
สมบัติปด
สมบัติปด สมบัติปด สมบัติปด
ของการหาร
เ ตที่กําหนดให ของ ของ ของ
(ตัวหารไมเปน
การบวก การลบ การคูณ
ศูนย)
1) เซตของจํานวนนับ - -
2) เซตของจํานวนเต็ม -
3) เซตของจํานวนคี่ลบ - - - -
4) เซตของจํานวนคู -
5) เซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 3 ลงตัว -

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

186 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

สมบัติปด
สมบัติปด สมบัติปด สมบัติปด
ของการหาร
เ ตที่กําหนดให ของ ของ ของ
(ตัวหารไมเปน
การบวก การลบ การคูณ
ศูนย)
6) เซตของจํานวนตรรกยะ
7) { ..., − 5, 0, 5, 10 } - - - -
8) { − 1, − 2, − 3, ... } - - -
9) { − 1, 0, 1} - -
1 1 1 1
10) , , , , , 1, 2, 4, 8, 16, - -
16 8 4 2

แบบฝกหัด 3.3

1. a = 5, b = 3 และ c=0

2. 1) p ( x ) + q ( x ) = 2 x2 − 2 x + 2
2) q ( x ) − p ( x ) = −2 x + 4
3) p ( x) q ( x) = x 4 − 2 x3 + 2 x 2 + 2 x − 3
3. p ( x ) q ( x ) = 3 x 6 + 5 x 5 − 16 x 4 − 25 x 3 + 26 x 2 + 35 x − 7

4. a + b = 12 และ ab = − 28

5. a =1 และ b=2

6. x 4 + 3x3 − x 2 − 2 x − 1
7. 1) ผลหาร คือ 4 x 2 − 3x + 2 และเศษเหลือ คือ −5

2) ผลหาร คือ x และเศษเหลือ คือ −2 x − 2

3) ผลหาร คือ x 4 − 3 x 3 + 5 x 2 − 11x + 21 และเศษเหลือ คือ −44

4) ผลหาร คือ x3 − x และเศษเหลือ คือ x +1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 187

5) ผลหาร คือ x3 + 2 และเศษเหลือ คือ 3

แบบฝกหัด 3.4
1. 1) เศษเหลือ คือ 15 2) เศษเหลือ คือ 20
3) เศษเหลือ คือ 0 4) เศษเหลือ คือ 7
5) เศษเหลือ คือ 0
16
4. 1) m = 115 2) m=
9
3) m = −2 หรือ m = −3

( x − 2 )( x + 2 )( x − 1) ( x + 2 ) ( x − 3)
2
5. 1) 2)
3) ( x + 1)( x − 3) ( x 2 + 2 ) 4) ( x − 1) ( x 2 + x + 1)
5) ( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1) 6) ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( x + 2 )
7) ( x − 1)( x − 2 ) ( x 2 + x + 2 ) 8) ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 )
6. 1) ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1) 2) ( x + 1)( 3x + 2 )( 2 x − 3)
( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1) ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3x − 2 )
2
3) 4)

แบบฝกหัด 3.5
1. 1) { − 2, 1, 3 } 2) { − 2, 3 }
1 1
3) − ,1 4) − 1, − , 2
2 3
1 3 1+ 5 1− 5
5) − 2, , 6) 2, ,
2 2 2 2
3
7) − , 1, 2 8) { 2}
2
3 1
9) − 2, 10) , 1, 2, 3
4 2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

188 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1 1 2
11) − 1, − , , 2 12) − 1, , 1, 2
2 2 3
13) { − 3, − 1, 2, 4 }
2. จํานวนที่นอยที่สุด คือ 9

3. ลูกบอลจะลอยอยูในอากาศนาน 6 วินาที กอนตกกระทบพื้นดินครั้งแรก

แบบฝกหัด 3.6
2x − 3 3
1. 1) x2 + x + 1 เมื่อ x ≠1 2) เมื่อ x≠−
x −1 2
x +1
3) เมื่อ x ≠1
x − 2x −1
2

x
2. 1) เมื่อ x ≠ − 2, x ≠ 2 และ x≠3
x +1
2) x2 − 1
3) x−2 เมื่อ x ≠ −2 และ x ≠ −5
2x + 2
4) เมื่อ x≠0 และ x≠4
x+4
3x 2 + 6 x + 2 2x2 − x + 2
3. 1) 2)
x ( x + 1)( x + 2 ) ( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)
− x 2 − 3x + 4 x2 + 4 x − 1
3) 4) เมื่อ x≠2
3 x ( x + 1)( x + 2 ) ( x + 2 )( x − 3)

แบบฝกหัด 3.7
1 1
1. 1) { 2} 2) − ,
2 2
1
3) 4) { − 1}
2
5) ∅ 6) { 2}

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 189

3 − 41 3 + 41
7) − 1, , 8) { − 1, 1}
2 2

2. 1,000 กิโลเมตรตอชั่วโมง

แบบฝกหัด 3.8
1. ไมจริง
2. ไมจริง
3. จริง
4. จริง
5. จริง
6. จริง
7. กรณีที่ a และ b เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ กรณีที่ a และ b เปน
จํานวนจริงลบทั้งคู
8. กรณีที่ a เปนจํานวนจริงบวก แต b เปนจํานวนจริงลบ

แบบฝกหัด 3.9ก

1. 1) { x | − 3 ≤ x < 1} –4 –3 –2 –1 0 1 2

2) { x | x > − 2}
–3 –2 –1 0 1 2 3

3) { x | 4 ≤ x ≤ 7}
2 3 4 5 6 7 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

190 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) { x | − 3 < x < 0} –4 –3 –2 –1 0 1 2

5) { x | x < − 3}
–5 –4 –3 –2 –1 0 1

6) { x | x ≥ 1}
–2 –1 0 1 2 3 4

7) { x | −1 < x ≤ 4 }
–2 –1 0 1 2 3 4

8) { x | x ≤ 1}
–4 –3 –2 –1 0 1 2

9) { x | − 10 < x < − 8 }
–12 –11 –10 –9 –8 –7 –6

10) { x | 2.5 ≤ x ≤ 4 } –2 –1 0 1 2 2.5 3 4

2. 1) ( − 1, 4 ] 2) [ 0, 2 )
3) ( − 1, 0 ) 4) [ 2, 4 ]
5) ∅ 6) { 2}
3. 1) { x | − 1 < x ≤ 4 } หรือ ( − 1, 4 ]
2) { x | 2 ≤ x ≤ 4} หรือ [ 2, 4 ]
3) { x | − 1 < x ≤ 5 } หรือ ( − 1, 5 ]
4) { x | 2 ≤ x < 3 } หรือ [ 2, 3 )
5) { x | − 1 < x < 2 } หรือ ( − 1, 2 )
6) { x | 3 ≤ x ≤ 4} หรือ [ 3, 4 ]
7) { x |1 < x ≤ 4} หรือ ( 1, 4 ]
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 191

8) { x |1 < x ≤ 4} หรือ ( 1, 4 ]

แบบฝกหัด 3.9ข
5
1. ( − ∞, − 2 ) 2. − ,∞
2
1
3. − ,∞ 4. ( 1, ∞ )
3
1
5. [ − 2, 3 ] 6. ( − ∞ , − 3] ∪ − ,∞
2
7. [ 1, 5 ] 8. ( − 3, 1 )
1
9. ( − 5, 3 ) 10. − ∞, ∪ [ 2, ∞ )
3
11. ( − ∞ , − 2 ] ∪ [ 0, 5 ] 12. [ − 1, ∞ )
13. ( − 1, 1 ) ∪ ( 2, ∞ ) 14. ( − ∞ , 0 ) ∪ ( 1, 4 )
3
15. ( − ∞ , − 3 ] ∪ [ 1, 2 ) 16. − 2, ∪ ( 5, ∞ )
2
17. ( 0, 3 ) ∪ ( 4, ∞ ) 18. ( − ∞ , 0 ) ∪ [ 2, 3 ]
19. ( 1, 7 ) 20. ( 1, 3 )
21. [ − 2, 4 ) ∪ [ 5, ∞ ) 22. ( − ∞ , − 4 ] ∪ ( − 2, 2 ]
3 2
23. ( − ∞ , − 1 ) ∪ ( 1, 2 ) ∪ ( 3, ∞ ) 24. − ∞, − ∪ ( − 1, 0 ) ∪ ,∞
2 3
3
25. ( − ∞ , − 4 ) ∪ ( − 1, ∞ ) 26. − 2, ∪ [ 5, ∞ )
2
3
27. ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 ) ∪ [ 2, ∞ ) 28. ( − ∞, 0 ] ∪ , 3 ∪ [ 4, ∞ )
2
29. ( − ∞ , − 5 ) ∪ ( − 5, − 3 ] ∪ { 2 } ∪ ( 3, ∞ )
30. ( 1, ∞ )
31. ( − ∞ , 1 ) − { − 2 } หรือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ ( − 2, 1 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

192 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1
32. − 1, −
2

แบบฝกหัด 3.10
1. 1) 4 2) 0
3) 50 4) −36
14
5) 6) 0.5
3
2. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1 และ b=1

2) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1

3) เปนจริง
4) เปนจริง
5) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1 และ b =1

6) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −1

3. 1) กรณีที่ x เปนจํานวนจริงบวก แต y เปนจํานวนจริงลบ หรือ กรณีที่ x เปนจํานวน


จริงลบ แต y เปนจํานวนจริงบวก
2) กรณีที่ x หรือ y ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัวเปนศูนย หรือ กรณีที่ x และ y

เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ กรณีที่ x และ y เปนจํานวนจริงลบทั้งคู

แบบฝกหัด 3.11ก
1. { − 2, 1} 2. { 1, 7 }
3. ∅ 4. { − 1}
5. { 1} 6. { − 2, − 1, 2, 3 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 193

4
7. { − 2, 0 } 8. − 8, −
3

แบบฝกหัด 3.11ข
1. 1) ( 1, 3 ) 2) ( − ∞ , − 8 ) ∪ ( 2, ∞ )
1
3) ( − ∞, − 3 ] ∪ − ,∞ 4) [ − 5, 6 ]
3
4 3
5) −∞ , ∪ ( 4, ∞ ) 6) − , −1
3 2
3
7) − ,∞ 8) ( − ∞ , 3 ) ∪ [ 3, ∞ ) หรือ
5
1 7
9) ,∞ 10) − , −1
2 3
1
11) [ 0, 6 ] 12) −∞ , − ∪ ( 5, ∞ )
7
8 8
13) − 8, − − { − 4} หรือ ( − 8, − 4 ) ∪ − 4, −
3 3
14) [ − 4, − 1 ] ∪ [ 1, 4 ]
4
15) ( − ∞, 0 ) 16) , 2 ∪ ( 2, 4 )
3
2. ตั้งแต −140 ถึง −28 องศาเซลเซียส
3. 0 ≤ x ≤ 41 หรือ 59 ≤ x ≤ 100

แบบฝกหัดทายบท
1. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −2

2) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1 และ b = −2

3) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −1 และ b = −2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

194 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2. a=2 และ b =1

3. 1) ผลหาร คือ x2 + 3 และเศษเหลือ คือ −1


1 13
2) ผลหาร คือ 2x2 − และเศษเหลือ คือ
2 2
3) ผลหาร คือ x3 + 4 x และเศษเหลือ คือ 13x + 6
1 2 3 7
4) ผลหาร คือ x − และเศษเหลือ คือ −3 x −
2 4 4
5) ผลหาร คือ 2 x6 + 2 x5 + 2 x 4 และเศษเหลือ คือ 3

6) ผลหาร คือ x5 − 2 x 2 − 3 และเศษเหลือ คือ 4 x3 + 6 x + 2

7) ผลหาร คือ x8 + x 6 + x 4 + x 2 + 1 และเศษเหลือ คือ −2 x + 2

8) ผลหาร คือ −3 x 7 + 3 x 4 − 3 x และเศษเหลือ คือ − x 2 + 3x + 3

9) ผลหาร คือ x4 − 7 x + 2 และเศษเหลือ คือ 8 x 4 − 10 x 3 − 7 x + 2


4. 1) −3 2) 5
3) 75 4) 11
5) −2 6) −1
5. 15
6. −7
7. 1) m = 2 2) m = b3
8. a = y3
9. 1) ( x + 1)( x + 2 )( x + 3) 2) ( x − 2) ( x2 + 4)
3) ( x + 3) ( x + 1 − )(
5 x +1+ 5 ) 4) ( x + 2 )( x − 3) ( x 2 + 2 )
( x − 2) ( 4 x + 1) ( x 2 + x + 1)
4
5) 6)

( 2 x − 1) ( x 2 + 3) ( x − 1) ( 2 x + 1)
2 2
7) 8)
9) ( x − 1)( x + 2 )( 2 x − 3)( x + 5)
3− 5 3+ 5
10) ( x + 2 )( 2 x − 1) x− x−
2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 195

10. 1) {1 − 5 , 1+ 5 } 2) { − 4, 1, 3 }
3) { − 4, − 3, 2 } 4) { − 2, 2 }
−1 + 5 −1 − 5
5) { − 3, 2 } 6) 1, ,
2 2
1
7) { 2} 8) − ,2
2
1 1 1
9) , ,1 10) ,2
3 2 2
1 −1 + 5 −1 − 5 1 3 + 13 3 − 13
11) − , , 12) − , 1, ,
2 2 2 2 2 2

11. 1) A=2 และ B=3


4 4
2) A=− และ B= และ C = −7
3 3
3) A = −1 และ B =1 และ C = −2

4) A = 13 และ B = − 33 และ C=6

12. 1) { − 2} 2) { − 4}
3) { −1+ 2 , −1− 2 } 4) {1 + 2 , 1− 2 }
5+ 7 5− 7
5) , 6) ∅
2 2
7) { − 1} 8) { − 3}
1− 3 1+ 3
9) ∅ 10) ,
2 2
5
13. 1) ( − ∞, 0 ) 2) − ,∞
2
3
3) ( 1, ∞ ) 4) − ∞, − ∪ [ 2, ∞ )
2
5) 6) [ − 5, 4 ]
7) ∅ 8) ( − 1, 2 ) ∪ ( 2, ∞ )
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง

196 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( − ∞ , 1 ) ∪ ( 2, 4 )
9) 10) [ 2, 4]
11) ( − ∞ , 2 ] ∪ { 3 } ∪ [ 4, ∞ ) 12) [ − 1, 4 ] ∪ { 6 }
14. 1) ( − ∞ , − 1 ) ∪ ( 0, ∞ ) 2) ( − ∞ , 1 ) ∪ [ 4, ∞ )
3) ( − ∞ , 1 ) 4) ( − 2, ∞ )
3
5) ( − ∞, − 4 ) ∪ ( − 1, ∞ ) 6) ( − ∞, − 2 ) ∪ ,5
2
7) ( − ∞, 0 ) ∪ { 2} 8) ( − ∞ , − 2 ) ∪ ( − 1, ∞ )
9) ( − 1, 3 ) 10) ( − ∞ , 2 ) ∪ { 3 } ∪ ( 5, ∞ )
11) 12) ∅
13) ( − ∞, − 2 − 17 ∪ ( − 1, 2 ) ∪ − 2 + 17 , ∞ )
14) [ 1, 2 ) ∪ ( 2, 3 ) ∪ ( 3, 4 )
15) [ − 3, 3 )
15. โรงงานจะตองผลิตกลองดินสออยางนอย 7,500 กลอง
16. บริษัทตองผลิตและจําหนายสินคาอยางนอยที่สุด 1,200 ชิ้น
17. ความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมมีคาอยูระหวาง 7 และ 8 เซนติเมตร
18. ผลคูณที่มากที่สุดที่เปนไปไดของทั้งสามจํานวนเทากับ 5 × 7 × 9 = 315

19. ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ 24 บาท


2
20. 1) 2) { − 1, 5 }
3

3) − 2,
3
2
4) { 3, 1 + 2 }
5) { − 3, 2 } 6) { − 1, 2, 6 }
3
7) ∅ 8) − 1,
5
9) { 0, 3 } 10) { − 1, 1, 3 }
21. 1) ( − ∞ , 1 ) ∪ ( 5, ∞ )
2) [ 4, ∞ ) ∩ [ 1, 4 ) หรือ [ 1, ∞ )
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 3 | จํานวนจริง
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 197

3) ( 4, ∞ )
4) ( − ∞, −1 ] ∪ { 2 }
5) [ − 1, 5 ]
6) − 17 , 3 ∪
11
3
, 17 − { 4, 5 } หรือ − 17 , 3 ∪
11
3
, 4 ∪ 4, 17(
7) [ − 5, − 2 ) ∪ ( 2, 5 ]
8) ( − 12, − 2 ) ∪ ( 3, 2 6 )
9) ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 ) ∪ ( 0, 1 ]
22. รานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 4 หรือหลักกิโลเมตรที่ 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
198 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

เฉลยแบบฝกหัดและวิธีทํา ดยละเอียด
บทที่ 1 เซต

แบบฝกหัด 1.1ก
1. 1) { a, e, i, o, u } 2) { 2, 4, 6, 8 }
3) { 10, 11, 12, , 99 } 4) { 101, 102, 103, }
5) { − 99, − 98, − 97, , − 1} 6) { 4, 5, 6, 7, 8, 9 }
7) ∅ 8) ∅
9) { − 14, 14 }
10) {ชลบุร,ี ชัยนาท, ชัยภูมิ, ชุมพร, เชียงราย, เชียงใหม}

2. 1) ตัวอยางคําตอบ {x | x เปนจํานวนคี่บวกที่นอยกวา 10 }
หรือ {x∈ | x เปนจํานวนคี่ตั้งแต 1 ถึง 9 }
2) ตัวอยางคําตอบ {x | x เปนจํานวนเต็ม }
3) ตัวอยางคําตอบ {x∈ |x มีรากที่สองเปนจํานวนเต็ม }
หรือ { x | x = n2 และ n เปนจํานวนนับ }
4) ตัวอยางคําตอบ {x∈ |x หารดวยสิบลงตัว }
หรือ { x | x = 10n และ n เปนจํานวนนับ }
3. 1) A มีสมาชิก 1 ตัว 2) B มีสมาชิก 5 ตัว
3) C มีสมาชิก 7 ตัว 4) D มีสมาชิก 9 ตัว
5) E มีสมาชิก 0 ตัว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 199

4. 1) เปนเท็จ 2) เปนจริง
3) เปนเท็จ
5. 1) เปนเซตวาง
2) ไมเปนเซตวาง (มี 5 และ 7 เปนสมาชิกของเซต)
3) ไมเปนเซตวาง (มี 1 เปนสมาชิกของเซต)
4) เปนเซตวาง
5) ไมเปนเซตวาง (มี −2 และ −1 เปนสมาชิกของเซต)
6. 1) เซตอนันต 2) เซตจํากัด
3) เซตอนันต 4) เซตจํากัด
5) เซตอนันต 6) เซตอนันต
7. 1) จากโจทย A = { 0, 1, 3, 7 }

และเขียน B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน B ={ , − 2, − 1, 0, 1, 2, , 9}

ดังนั้น A≠B เพราะมีสมาชิกของ B ที่ไมเปนสมาชิกของ A เชน −1∈ B

แต −1 A

2) จากโจทย เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A={ , − 2, 0, 2, 4, 6, 8 }

และ B = { 2, 4, 6, 8 }

ดังนั้น A≠B เพราะมีสมาชิกของ A ที่ไมเปนสมาชิกของ B เชน 0∈ A

แต 0 B

3) จากโจทย A = { 7, 14, 21, , 343 }

และเขียน B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน B = { 7, 14, 21, , 343 }

ดังนั้น A=B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B และสมาชิกทุกตัว


ของ B เปนสมาชิกของ A

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
200 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1 2 3 4
จ 4) จากโจทย เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A = 0, , , , ,
2 3 4 5
1 2 3 4
และ B = 0, , , , ,
2 3 4 5
ดังนั้น A=B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B และสมาชิกทุกตัว
ของ B เปนสมาชิกของ A

5) จากโจทย เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A = {−6, 6}

และ B = { 6}

ดังนั้น A≠B เพราะมีสมาชิกของ A ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ −6 ∈ A

แต −6 B

8. จากโจทย เขียน A, B , C และ D แบบแจกแจงสมาชิก ไดดังนี้


A = {ก, ร ม}
B = {ม, ร, ค}

C = {ม ก, ร, ค}
D = {ร, ก, ม}

ดังนั้น A≠B เพราะมีสมาชิกของ A ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ ก ∈ A แต ก B

A≠C เพราะมีสมาชิกของ C ที่ไมเปนสมาชิกของ A คือ ค ∈ C แต ค A

A=D เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ D และสมาชิกทุกตัว


ของ D เปนสมาชิกของ A

B≠C เพราะมีสมาชิกของ C ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ ก ∈ C แต ก B

B≠D เพราะมีสมาชิกของ D ที่ไมเปนสมาชิกของ B คือ ก ∈ D แต ก B

C≠D เพราะมีสมาชิกของ C ที่ไมเปนสมาชิกของ D คือ ค ∈ C แต ค D

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 201

แบบฝกหัด 1.1ข
1. 1) ถูก 2) ผิด
3) ผิด 4) ถูก
5) ถูก 6) ผิด
2. เขียน A และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน
A = { 2, 4, 6 }
B = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 }
และจากโจทย C = { 2, 4 }

ดังนั้น A B เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B

C A เพราะสมาชิกทุกตัวของ C เปนสมาชิกของ A

C B เพราะสมาชิกทุกตัวของ C เปนสมาชิกของ B

3. เขียน Y แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน Y = { 1, 3, 5, 7, 9, 11}


1) เปนจริง เพราะสมาชิกทุกตัวของ X เปนสมาชิกของ Y
2) เปนจริง เพราะสมาชิกทุกตัวของ Y เปนสมาชิกของ X

3) เปนจริง เพราะ X Y และ Y X

4. 1) ∅ และ { 1}
2) ∅ , { 1} , { 2 } และ { 1, 2 }
3) ∅ , { − 1 } , { 0 } , { 1 } , {−1, 0 } , {−1, 1 } , { 0, 1 } และ {−1, 0, 1}
4) ∅ , { x }, { y } และ { x , y }
5) ∅ , { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b, c } และ { a , b , c }
6) ∅

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
202 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5. 1) {∅ , { 5 }}
2) {∅ , { 0 } , { 1} , { 0, 1} }
3) {∅ , { 2 } , { 3 } , { 4 } , { 2, 3 } , { 2, 4 } , { 3, 4 } , { 2, 3, 4 } }
4) {∅}

แบบฝกหัด 1.1ค
1. จากสิ่งที่กําหนดให A และ B ไมมีสมาชิกรวมกัน
เขียนแผนภาพเวนนแสดง A และ B ไดดังนี้

2. กําหนดให U เปนเซตของจํานวนนับ
1) จากสิ่งที่กําหนดให จะได B A

เขียนแผนภาพเวนนแสดง A และ B ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 203

2) จากสิ่งที่กําหนดให จะได C B และ B A

เขียนแผนภาพเวนนแสดง A, B และ C ไดดังนี้

3) จากสิ่งที่กําหนดให จะได B A และ C A โดยที่ B และ C มีสมาชิกรวมกัน


คือ 5
เขียนแผนภาพเวนนแสดง A, B และ C ไดดังนี้

3. 1) สมาชิกที่อยูใน A แตไมอยูใน B มี 1 ตัว (คือ a)

2) สมาชิกที่ไมอยูใน A และไมอยูใน B มี 2 ตัว (คือ d และ e)

3) สมาชิกที่อยูทั้งใน A และ B มี 3 ตัว (คือ x, y และ z)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
204 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 1.2
1. วิธีที่ 1 1) A มีสมาชิก คือ 0, 1, 2 และ 8
B มีสมาชิก คือ 0, 2, 4, 7 และ 9
ดังนั้น A ∪ B = { 0, 1, 2, 4, 7, 8, 9 }

2) A และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 0 และ 2


ดังนั้น A ∩ B = { 0, 2 }

3) สมาชิกที่อยูใน A แตไมอยูใน B คือ 1 และ 8


ดังนั้น A − B = { 1, 8 }

4) สมาชิกที่อยูใน B แตไมอยูใน A คือ 4, 7 และ 9


ดังนั้น B − A = { 4, 7, 9 }

5) สมาชิกที่อยูใน U แตไมอยูใน A คือ 3, 4, 5, 6, 7 และ 9


ดังนั้น A′ = { 3, 4, 5, 6, 7, 9 }

6) สมาชิกที่อยูใน U แตไมอยูใน B คือ 1, 3, 5, 6 และ 8


ดังนั้น B′ = { 1, 3, 5, 6, 8 }

7) A มีสมาชิก คือ 0, 1, 2 และ 8


B′ มีสมาชิก คือ 1, 3, 5, 6 และ 8
ดังนั้น A ∪ B′ = { 0, 1, 2, 3, 5, 6, 8 }

8) A′ มีสมาชิก คือ 3, 4, 5, 6, 7 และ 9


B มีสมาชิก คือ 0, 2, 4, 7 และ 9
จะได A′ และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 4, 7 และ 9
ดังนั้น A′ ∩ B = { 4, 7, 9 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 205

วิธีที่ 2 A และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 0 และ 2


เขียนแผนภาพเวนนแสดง A และ B ไดดังนี้

จากแผนภาพ จะได
1) A ∪ B = { 0, 1, 2, 4, 7, 8, 9 } 2) A ∩ B = { 0, 2 }
3) A − B = { 1, 8 } 4) B − A = { 4, 7, 9 }
5) A′ = { 3, 4, 5, 6, 7, 9 } 6) B′ = { 1, 3, 5, 6, 8 }
7) A ∪ B′ = { 0, 1, 2, 3, 5, 6, 8 } 8) A′ ∩ B = { 4, 7, 9 }
2. ให U = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 } , A = { 0, 2, 4, 6, 8 } , B = { 1, 3, 5, 7 } และ
C = { 3, 4, 5, 6 }

วิธีที่ 1 1) A และ B ไมมีสมาชิกรวมกัน


ดังนั้น A∩ B = ∅

2) B มีสมาชิก คือ 1, 3, 5 และ 7


C มีสมาชิก คือ 3, 4, 5 และ 6
ดังนั้น B ∪ C = { 1, 3, 4, 5, 6, 7 }

3) B และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 3 และ 5


ดังนั้น B ∩ C = { 3, 5 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
206 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) A และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 4 และ 6


ดังนั้น A ∩ C = { 4, 6 }

5) สมาชิกที่อยูใน U แตไมอยูใน C คือ 0, 1, 2, 7 และ 8


ดังนั้น C ′ = { 0, 1, 2, 7, 8 }

6) C′ และ A มีสมาชิกรวมกัน คือ 0, 2 และ 8


ดังนั้น C ′ ∩ A = { 0, 2, 8 }

7) C′ และ B มีสมาชิกรวมกัน คือ 1 และ 7


ดังนั้น C ′ ∩ B = { 1, 7 }

8) A∩ B เปนเซตวาง
B มีสมาชิก คือ 1, 3, 5 และ 7
ดังนั้น ( A ∩ B ) ∪ B = { 1, 3, 5, 7 }
วิธีที่ 2 A และ B ไมมีสมาชิกรวมกัน
A และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 4 และ 6
B และ C มีสมาชิกรวมกัน คือ 3 และ 5
เขียนแผนภาพเวนนแสดง A, B และ C ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 207

จากแผนภาพ จะได
1) A∩ B = ∅ 2) B ∪ C = { 1, 3, 4, 5, 6, 7 }
3) B ∩ C = { 3, 5 } 4) A ∩ C = { 4, 6 }
5) C ′ = { 0, 1, 2, 7, 8 } 6) C ′ ∩ A = { 0, 2, 8 }
7) C ′ ∩ B = { 1, 7 } 8) ( A ∩ B ) ∪ B = { 1, 3, 5, 7 }
3. 1) A′ 2) B′ d

3) A′ ∩ B′ 4) ( A ∪ B )′ s

5) A′ ∪ B′ 6) ( A ∩ B )′ s

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
208 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

7) A− B 8) A ∩ B′ d

4. 1) ( A ∪ B) ∪ C 2) A∪(B ∪C) d

3) ( A ∩ B) ∩ C 4) A∩(B ∩C) s

5) ( A∩C) ∪(B ∩C) 6) ( A ∪ B) ∩ C s

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 209

5. 1) A∩C ก 2) C ∪ B′

3) B−A ก
6. 1) ∅ ก 2) A

3) ∅ ก 4) U

5) U ก 6) ∅

7) A′ ก 8) ∅

แบบฝกหัด 1.3
1. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดจํานวนสมาชิกของเซตตาง ๆ ดังตอไปนี้


เซต A− B B−A A∪ B A′ B′ ( A ∪ B )′

จํานวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
210 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

จากแผนภาพ จะได
1) n ( A ∪ B ) = 12 + 13 + 17 = 42 2) n ( A − B ) = 12 ก
3) n ( A′ ∩ B′ ) = 8 ป
3. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

จากแผนภาพ จะได
1) n ( A ∪ C ) = 3 + 7 + 10 + 5 + 10 + 5 = 40
2) n ( A ∪ B ∪ C ) = 3 + 7 + 10 + 5 + 10 + 5 + 3 = 43 ก
3) n ( A ∪ B ∪ C )′ = 7 ก

4) n ( B − ( A ∪ C )) = 3 ก
5) n (( A ∩ B ) − C ) = 7 ก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 211

4. ให A และ B เปนเซตจํากัด โดยที่ n ( A) = 18, n ( B ) = 25 และ n ( A ∪ B ) = 37


จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 37 = 18 + 25 − n ( A ∩ B )
n ( A ∩ B ) = 18 + 25 − 37
= 6
ดังนั้น n ( A ∩ B ) = 6
5. จาก n ( A − B ) = 20 และ n ( A ∪ B ) = 80
เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

จากแผนภาพ จะได n( B) = n( A ∪ B) − n( A − B)
= 80 − 20
= 60
ดังนั้น n ( B ) = 60
6. ให U แทนเซตของพนักงานบริษัทแหงหนึ่งที่ไดรับการสอบถาม
A แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มชา
B แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มกาแฟ
A∪ B แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มชาหรือกาแฟ
A∩ B แทนเซตของพนักงานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ
จะได n ( A ∪ B ) = 120

n ( A ) = 60

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
212 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

n ( B ) = 70
จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 120 = 60 + 70 − n ( A ∩ B )

n ( A ∩ B ) = 60 + 70 – 120
นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 10

ดังนั้น มีพนักงานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ 10 คน
7. ให U แทนเซตของผูปวยที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่
B แทนเซตของผูปวยที่เปนมะเร็งปอด
A′ ∩ B′ แทนเซตของผูปวยที่ไมสูบบุหรี่และไมเปนมะเร็งปอด
A∩ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด
จะได n (U ) = 1,000

n ( A ) = 312
n ( B ) = 180
n ( A′ ∩ B′ ) = 660

วิธีที่ 1 เนื่องจาก A′ ∩ B′ = ( A ∪ B )′
ดังนั้น n ( A′ ∩ B′ ) = n ( A ∪ B )′

จะได n ( A ∪ B ) = n (U ) − n ( A ∪ B )′

= n (U ) − n ( A′ ∩ B′ )
= 1,000 − 660
= 340
จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 340 = 312 + 180 − n ( A ∩ B )

n ( A ∩ B ) = 312 + 180 – 340

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 213

นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 152

ดังนั้น มีผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด 152 คน


152
คิดเปนรอยละ × 100 48.72 ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด
312
วิธีที่ 2 ให x แทนจํานวนผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด นั่นคือ x = n( A ∩ B)

เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

เนื่องจาก โรงพยาบาลแหงนี้ทําการสํารวจขอมูลจากผูปวยทั้งหมด 1,000 คน


จะได 1,000 = ( 312 − x ) + x + (180 − x ) + 660

1,000 = ( 492 − x ) + 660


x = 492 + 660 − 1, 000

นั่นคือ x = 152

ดังนั้น มีผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งปอด 152 คน


152
คิดเปนรอยละ × 100 48.72 ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด
312
8. ให U แทนเซตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหองหนึ่ง
A แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาคณิตศาสตร
B แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาสังคมศึกษา
C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาภาษาไทย
A∩ B แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและสังคมศึกษา
B ∩C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาสังคมศึกษาและภาษาไทย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
214 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

A∩C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย
A∩ B ∩C แทนเซตของนักเรียนที่สอบผานทั้งสามวิชา
จะได n ( A ) = 37

n ( B ) = 48
n (C ) = 45
n ( A ∩ B ) = 15
n ( B ∩ C ) = 13
n( A ∩ C) = 7
n( A ∩ B ∩ C) = 5

วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวามีนักเรียนที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา เทากับ


20 + 10 + 25 + 2 + 5 + 8 + 30 = 100 คน
วิธีที่ 2 เนื่องจากนักเรียนที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา คือ นักเรียนที่สอบผาน
วิชาคณิตศาสตร หรือสอบผานวิชาสังคมศึกษา หรือสอบผานวิชาภาษาไทย
ซึ่งคือ A∪ B ∪C

จาก n( A ∪ B ∪ C) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )

−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
= 37 + 48 + 45 − 15 − 7 − 13 + 5
= 100
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 215

ดังนั้น มีนักเรียนที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา 100 คน


9. ให U แทนเซตของผูถือหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่รวมการสํารวจ
A แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก
B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข
C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ค
A∩ B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ข
B ∩C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข และ ค
A∩C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ค
A∩ B ∩C แทนเซตของผูถือหุนทั้งสามบริษัท
จะได n (U ) = 3,000

n ( A ) = 200
n ( B ) = 250
n (C ) = 300

n ( A ∩ B ) = 50
n ( B ∩ C ) = 40
n( A ∩ C) = 30
n( A ∩ B ∩ C) = 0

วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
216 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะไดวามีผูที่ถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของสามบริษัทนี้


2,370 คน
วิธีที่ 2 ให A∪ B ∪C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก หรือ ข หรือ ค
( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของสามบริษัทนี้
จาก n( A ∪ B ∪ C) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )

−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
= 200 + 250 + 300 − 50 − 30 − 40 + 0
= 630

จะได n ( A ∪ B ∪ C )′ = n (U ) − n ( A ∪ B ∪ C )
= 3,000 – 630
นั่นคือ n ( A ∪ B ∪ C )′ = 2,370

ดังนั้น มีผูที่ถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของสามบริษัทนี้ 2,370 คน

แบบฝกหัดทายบท
1. 1) { 48 } ด 2) ∅

3) { 5, 10, 15, } ด 4) { − 2, 0, 2 }
5) { 1, 2, 3, , 10 } ด
2. 1) ตัวอยางคําตอบ { x | x = 3n − 2 เมื่อ n∈ และ 1 ≤ n≤ 5}

2) ตัวอยางคําตอบ { x∈ | − 20 ≤ x ≤ − 10 }
3) ตัวอยางคําตอบ { x | x = 4n + 1 เมื่อ n∈ }
4) ตัวอยางคําตอบ { x | x = n เมื่อ n∈ }3

3. 1) เซตจํากัด 2) เซตอนันต
3) เซตจํากัด 4) เซตจํากัด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 217

5) เซตอนันต
4. 1) จริง 2) จริง
3) เท็จ 4) จริง
5) จริง 6) เท็จ
7) จริง 8) จริง
9) เท็จ
5. จาก U = { 5, 6, 7, 8, 9 } , A ={ x| x > 7} และ B = { 5, 6 }

เขียน A แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน A = { 8, 9 }

จะได P ( A ) = { ∅ , { 8 } , { 9 } , { 8, 9 } }

P ( B ) = { ∅ , { 5 } , { 6 } , { 5, 6 } }

A∩ B = ∅
และ A′ = { 5, 6, 7 }

1) P ( A) ∩ P ( B ) = { ∅ }
2) P ( A ∩ B) = { ∅ }
3) P ( A ) ∪ P ( B ) = { ∅ , { 5 } , { 6 } , { 8 } , { 9 } , { 5, 6 } , { 8, 9 } }
4) P ( A′ ) = { ∅ , { 5 } , { 6 } , { 7 } , { 5, 6 } , { 5, 7 } , { 6, 7 } , { 5, 6, 7 } }

6. 1) A จ 2) ∅

3) U จ 4) A

5) A จ 6) U

7. 1) เนื่องจาก A ∪ ( B − A ) = A ∪ ( B ∩ A′ )

= ( A ∪ B ) ∩ ( A ∪ A′ )
= ( A ∪ B) ∩U
= A∪ B

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
218 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น A ∪ B = A ∪ ( B − A)

2) เนื่องจาก A − ( A ∩ B ) = A ∩ ( A ∩ B )′

= A ∩ ( A′ ∪ B′ )
= ( A ∩ A′ ) ∪ ( A ∩ B′ )
= ∅ ∪ ( A ∩ B′ )
= A ∩ B′
ดังนั้น A ∩ B′ = A − ( A ∩ B )

3) เนื่องจาก U − ( A ∪ B ) = U ∩ ( A ∪ B )′

= U ∩ ( A′ ∩ B′ )
= A′ ∩ B′
ดังนั้น A′ ∩ B′ = U − ( A ∪ B )

จ8. 1) A′ ∩ B ก จ 2) ( A ∩ B′ )′

3) ( A ∪ B′ )′ ก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 219

9. 1) A ∪ ( A − B) ก 2) ( A′ ∩ B ) ∩ C

3) ( A − B )′ ∩ C ก 4) A ∪ (C′ − B )

5) ( A ∩ B′ ) ∪ C ก 6) A′ ∩ ( C ′ ∩ B )

7) A ∪ ( C ′ ∩ B )′ ก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
220 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10. 1) { 0, 2, 4, 7, 9, 12, 14 } จ 2) { 1, 4, 6, 9, 12, 15 }


3) { 1, 4, 5, 7, 11, 12 } จ 4) { 4, 9, 12 }
5) { 1, 4, 12 } จ 6) { 4, 7, 12 }
7) { 0, 2, 7, 14 } จ 8) { 1, 5, 6, 11, 15 }
11. เนื่องจาก A∩ B = ∅

ดังนั้น เขียนแผนภาพแสดงเซตไดดังนี้
1)

จากแผนภาพ จะเห็นวา A B′

ดังนั้น ขอความ “ A B′ ” เปนจริง


2)

จากแผนภาพ จะเห็นวา B A′

ดังนั้น ขอความ “ B A′ ” เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 221

3)

จากแผนภาพ จะเห็นวา A′ ∪ B′ = U

ดังนั้น ขอความ “ A′ ∪ B′ = U ” เปนจริง


12. เนื่องจาก A B

ดังนั้น เขียนแผนภาพแสดงเซตไดดังนี้
1) จากแผนภาพ จะเห็นวา A∪ B = B

ดังนั้น ขอความ “ A ∪ B = B ” เปนจริง

A∪ B

2) จากแผนภาพ จะเห็นวา A∩ B = A

ดังนั้น ขอความ “ A ∩ B = A ” เปนจริง

A∩ B
3)

B′ A′
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
222 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวา B′ A′

ดังนั้น ขอความ “ B′ A′ ” เปนจริง


4) จากแผนภาพ จะเห็นวา A ∩ B′ = ∅

ดังนั้น ขอความ “ A ∩ B′ = ∅ ” เปนจริง

A ∩ B′
5) จากแผนภาพ จะเห็นวา A′ ∪ B = U

ดังนั้น ขอความ “ A′ ∪ B = U ” เปนจริง

A′ ∪ B

13. ให A และ B เปนเซตที่มจี ํานวนสมาชิกเทากัน คือ x ตัว


นั่นคือ n ( A) = n ( B ) = x
จากโจทย n ( A ∩ B ) = 101 และ n ( A ∪ B ) = 233
จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 233 = x + x − 101


2x = 233 + 101
นั่นคือ x = 167

ดังนั้น n ( A) = 167
14.ดให U แทนเซตของผูปวยที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของผูปวยที่เปนโรคตา
B แทนเซตของผูปวยที่เปนโรคฟน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 223

A∩ B แทนเซตของผูปวยที่เปนทั้งสองโรค
A′ ∩ B′ แทนเซตของผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน
จะได n (U ) = 100

n ( A ) = 40
n ( B ) = 20
n( A ∩ B) = 5
วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวามีผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน 45%


วิธีที่ 2 เนื่องจาก A′ ∩ B′ = ( A ∪ B )′

นั่นคือ เซตของผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน คือ ( A ∪ B )′

จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได n ( A ∪ B ) = 40 + 20 − 5
= 55
จาก n ( A ∪ B )′ = n (U ) − n ( A ∪ B )

จะได = 100 − 55
= 45
ดังนั้น มีผูปวยที่ไมเปนโรคตาและไมเปนโรคฟน 45%

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
224 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

15. ให U แทนเซตของลูกคาที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ
B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดแขวนเพดาน
A∩ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมทั้งสองชนิด
จะได n (U ) = 100

n ( A ) = 60
n ( B ) = 45
n ( A ∩ B ) = 15
วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวา
1) มีลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิดนี้ 10%
2) มีลูกคาที่ใชพัดลมเพียงชนิดเดียวเทากับ 45% + 30% = 75%
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได n ( A ∪ B ) = 60 + 45 − 15
= 90
1) มีลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิดนี้เทากับ 100% – 90% = 10%
2) มีลูกคาที่ใชพัดลมชนิดเดียวเทากับ 90% – 15% = 75%

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 225

16. ให U แทนเซตของรถที่เขามาซอมที่อูของแดน
A แทนเซตของรถที่ตองซอมเบรก
B แทนเซตของรถที่ตองซอมระบบทอไอเสีย
A∪ B แทนเซตของรถที่ตองซอมเบรกหรือระบบทอไอเสีย
( A ∪ B )′ แทนเซตของรถที่มีสภาพปกติ
A∩ B แทนเซตของรถที่ตองซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย
จะได n (U ) = 50

n ( A ) = 23
n ( B ) = 34
n ( A ∪ B )′ = 6

นั่นคือ n ( A ∪ B ) = 50 − 6 = 44
วิธีที่ 1 ให x แทนจํานวนรถที่ตองซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย
นั่นคือ n ( A ∩ B ) = x
นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

1) จากแผนภาพ จะไดวา
44 = ( 23 − x ) + x + ( 34 − x )
44 = 57 − x
จะได x = 13

ดังนั้น มีรถที่ตองซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย 13 คัน


สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
226 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) จากแผนภาพ จะไดวามีรถที่ตองซอมเบรกแตไมตองซอมระบบทอไอเสีย
เทากับ 23 – 13 = 10 คัน

วิธีที่ 2 1) จาก n ( A ∪ B ) = n ( A) + n ( B ) − n ( A ∩ B )

จะได 44 = 23 + 34 − n ( A ∩ B )

n ( A ∩ B ) = 23 + 34 − 44
นั่นคือ n ( A ∩ B ) = 13

ดังนั้น มีรถที่ตองซอมทั้งเบรกและระบบทอไอเสีย 13 คัน


2) มีรถที่ตองซอมเบรกแตไมตองซอมระบบทอไอเสีย เทากับ 23 – 13 = 10 คัน
17. ให U แทนเซตของผูใชบริการขนสงที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางรถไฟ
B แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางรถยนต
C แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางเรือ
A∩ B แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางรถไฟและรถยนต
B ∩C แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางรถยนตและเรือ
A∩C แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางรถไฟและเรือ
A∩ B ∩C แทนเซตของผูใชบริการขนสงทั้งทางรถไฟ รถยนต และเรือ
( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของผูใชบริการขนสงอื่น ๆ ที่ไมใชทางรถไฟ รถยนต หรือเรือ
A∪ B ∪C แทนเซตของผูใชบริการขนสงทางรถไฟ รถยนต หรือเรือ
จะได n ( A ) = 100

n ( B ) = 150
n ( C ) = 200
n ( A ∩ B ) = 50
n ( B ∩ C ) = 25

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 227

n( A ∩ C) = 0
n( A ∩ B ∩ C) = 0

n ( A ∪ B ∪ C )′ = 30

วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

0
0

จากแผนภาพ จะไดวามีผูใชบริการขนสงที่เขารวมการสํารวจทั้งหมด เทากับ


50 + 50 + 75 + 25 + 175 + 30 = 405 คน
วิธีที่ 2 จาก n ( A ∪ B ∪ C ) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )

−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
จะได n ( A ∪ B ∪ C ) = 100 + 150 + 200 − 50 − 0 − 25 + 0
= 375
จาก n ( A ∪ B ∪ C )′ = 30

จะได n (U ) = n ( A ∪ B ∪ C ) + n ( A ∪ B ∪ C )′
= 375 + 30
= 405
ดังนั้น มีผูใชบริการขนสงที่เขารวมการสํารวจทั้งหมด 405 คน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
228 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

18. ให U แทนเซตของคนทํางานที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเดินปา
B แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการไปทะเล
C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเลนสวนน้ํา
A∩ B แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเดินปาและการไปทะเล
A∩C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการเดินปาและการเลนสวนน้ํา
B ∩C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบการไปทะเลและการเลนสวนน้ํา
A∩ B ∩C แทนเซตของคนทํางานที่ชอบทั้งการเดินปา การไปทะเล
และการเลนสวนน้ํา
จะได n ( A ) = 35

n ( B ) = 57
n ( C ) = 20
n( A ∩ B) = 8
n ( A ∩ C ) = 15
n(B ∩ C) = 5
n( A ∩ B ∩ C) = 3

นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 229

1) มีคนที่ชอบการไปทะเลหรือชอบการเลนสวนน้ํา เทากับ
5% + 47% + 12% + 3% + 2% + 3% = 72%
2) มีคนที่ชอบการเดินปาหรือชอบการไปทะเล เทากับ
15% + 5% + 47% + 12% + 3% + 2% = 84%
3) มีคนที่ชอบทํากิจกรรมเพียงอยางเดียว เทากับ 15% + 47% + 3% = 65%
4) มีคนที่ไมชอบการเดินปา หรือไปทะเล หรือเลนสวนน้ํา 13%
19. ให U แทนเซตของประชาชนที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของคนที่ชอบทุเรียน
B แทนเซตของคนที่ชอบมังคุด
C แทนเซตของคนที่ชอบมะมวง
A∩ B แทนเซตของคนที่ชอบทุเรียนและมังคุด
B ∩C แทนเซตของคนที่ชอบมังคุดและมะมวง
A∩C แทนเซตของคนที่ชอบทุเรียนและมะมวง
A∩ B ∩C แทนเซตของคนที่ชอบผลไมทั้งสามชนิดนี้
จะได n ( A ) = 720

n ( B ) = 605
n ( C ) = 586
n ( A ∩ B ) = 483
n ( B ∩ C ) = 470
n ( A ∩ C ) = 494
n ( A ∩ B ∩ C ) = 400

นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
230 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะไดวา
1) มีคนที่ชอบมังคุดอยางเดียว 52 คน
2) มีคนที่ชอบผลไมอยางนอยหนึ่งชนิดในสามชนิดนี้ เทากับ
143 + 83 + 52 + 94 + 400 + 70 + 22 = 864 คน
3) มีคนที่ไมชอบผลไมชนิดใดเลยในสามชนิดนี้ 136 คน
20. ให U แทนเซตของนักเรียนที่เขารวมการสํารวจ
A แทนเซตของนักเรียนที่ชอบวิชาคณิตศาสตร
B แทนเซตของนักเรียนที่ชอบวิชาฟสิกส
C แทนเซตของนักเรียนที่ชอบวิชาภาษาไทย
( A ∪ B ∪ C )′ แทนเซตของนักเรียนที่ไมชอบวิชาใดเลยในสามวิชานี้
จะได n ( A ) = 56

n ( B ) = 47
n ( C ) = 82

n ( A ∪ B ∪ C )′ = 4

นั่นคือ n ( A ∪ B ∪ C ) = 100 − 4 = 96

ให x แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบวิชาคณิตศาสตรและฟสิกส แตไมชอบวิชาภาษาไทย
y แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย แตไมชอบวิชาฟสิกส
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 231

z แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบวิชาฟสิกสและภาษาไทย แตไมชอบวิชาคณิตศาสตร
k แทนจํานวนนักเรียนที่ชอบทั้งสามวิชา
วิธีที่ 1 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวา
96 = ( 56 − x − y − k ) + ( 47 − x − z − k )
+ ( 82 − y − z − k ) + x + y + z + k
96 = 185 − x − y − z − 2k
89 = ( x + y + z ) + 2k
เนื่องจาก มีนักเรียนที่ชอบเพียง 2 วิชาเทานั้น จํานวน 71%
นั่นคือ x + y + z = 71

จะได 89 = 71 + 2k
2k = 18
ดังนั้น k =9

จะไดวา
( 56 − x − y − k ) + ( 47 − x − z − k ) + (82 − y − z − k )
= 185 − 2 x − 2 y − 2 z − 3k
= 185 − 2 ( x + y + z ) − 3k
= 185 − 2 ( 71) − 3 ( 9 )
= 185 − 142 − 27
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
232 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

= 16
ดังนั้น มีนักเรียนที่ชอบเพียงวิชาเดียวเทานั้น จํานวน 16 %
วิธีที่ 2 นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

เนื่องจาก มีนักเรียนที่ชอบเพียง 2 วิชาเทานั้น จํานวน 71%


นั่นคือ x + y + z = 71

จาก n( A ∪ B ∪ C) = n ( A) + n ( B ) + n ( C ) − n ( A ∩ B )

−n ( A ∩ C ) − n ( B ∩ C ) + n ( A ∩ B ∩ C )
จะได 96 = 56 + 47 + 82 − ( x + k ) − ( y + k ) − ( z + k ) + k
x + y + z + 2k = 89
71 + 2k = 89
2k = 18
k = 9
ดังนั้น มีนักเรียนที่ชอบเพียงวิชาเดียวเทานั้น เทากับ 96% – 9% – 71% = 16 %
21. ให U แทนเซตของคนกลุมนี้
A แทนเซตของคนที่มีแอนติเจน A
B แทนเซตของคนที่มีแอนติเจน B
Rh แทนเซตของคนที่มีแอนติเจน Rh +

A∩ B แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด AB

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 233

A− B แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด A
B−A แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด B
( A ∩ Rh ) − B แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด A+

( B ∩ Rh ) − A แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด B+

A ∩ B ∩ Rh แทนเซตของคนที่มีหมูเลือด AB +

จะได n ( A ) = n ( A+ ) + n ( A− ) + n ( AB ) = 29

n ( B ) = n ( B + ) + n ( B − ) + n ( AB ) = 39
n ( A ∩ B ) = n ( AB ) = 9

n ( ( A ∩ Rh ) − B ) = n ( A+ ) = 18

n ( ( B ∩ Rh ) − A ) = n ( B+ ) = 29

n ( A ∩ B ∩ Rh ) = n ( AB + ) = 8

n ( Rh − ( A ∪ B ) ) = n (O+ ) = 40

จากแผนภาพที่กําหนดให นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวามีคนกลุมนี้ 1% ที่มเี ลือดหมู O−

22. เขียน A, B และ C แบบแจกแจงสมาชิกไดดังนี้


U = {0, 2, 4, ... , 100} นั่นคือ n (U ) = 51

A = {0, 6, 12, ... , 96} นั่นคือ n ( A ) = 17

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
234 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

B = {0, 4, 8, ... , 100} นั่นคือ n ( B ) = 26

C = {0, 10, 20, 30, ... , 100} นั่นคือ n ( C ) = 11

จะได A∩ B แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 3 และ 4 ลงตัว


A∩C แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 3 และ 5 ลงตัว
B ∩C แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 4 และ 5 ลงตัว
A∩ B ∩C แทนเซตของจํานวนคูตั้งแต 0 ถึง 100 ที่หารดวย 3, 4 และ 5 ลงตัว
เขียน A ∩ B, A ∩ C , B ∩ C , A ∩ B ∩ C แบบแจกแจงสมาชิกไดดังนี้
A∩ B = {0, 12, 24, 36, 48, 60, 72, 84, 96} นั่นคือ n( A ∩ B) = 9

A∩C = {0, 30, 60, 90} นั่นคือ n ( A ∩ C ) = 4

B ∩C = {0, 20, 40, 60, 80, 100} นั่นคือ n ( B ∩ C ) = 6

A∩ B ∩C = {0, 60} นั่นคือ n( A ∩ B ∩ C) = 2

นําขอมูลทั้งหมดไปเขียนแผนภาพไดดังนี้

จากแผนภาพ จะไดวา
1) n ( B ∪ C ′ ) = 7 + 13 + 2 + 4 + 6 + 14 = 46
2) n ( A ∩ B ∩ C ′) = 7
3) n ( A ∪ B ∪ C ) = 6 + 7 + 13 + 2 + 2 + 4 + 3 = 37

4) n ( A ∪ B ∪ C )′ = 14

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 235

บทที่ 2 ตรรกศาสตร

แบบฝกหัด 2.1

1. 1) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 2) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง


3) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 4) ไมเปนประพจน
5) ไมเปนประพจน 6) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
7) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 8) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
9) ไมเปนประพจน 10) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
11) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 12) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
13) ไมเปนประพจน 14) ไมเปนประพจน
15) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ 16) ไมเปนประพจน
17) ไมเปนประพจน 18) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
2. ตัวอยางคําตอบ
• 2 >3 เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
• ∅ ∈ { 1, 2, 3 } เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
• หนึ่งปมีสิบสองเดือน เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
• 4 เปนจํานวนอตรรกยะ เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
• เดือนมกราคม มี 31 วัน เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
236 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 2.2

1. 1) 0 เปนจํานวนนับ และ 6 เปนจํานวนเต็ม มีคาความจริงเปนเท็จ


เพราะ 0 เปนจํานวนนับ มีคาความจริงเปนเท็จ
2) 9 ไมเทากับ 10 หรือ 10 ไมนอยกวา 9 มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 9 ไมเทากับ 10 มีคาความจริงเปนจริง
3) 2 และ −1 เปนจํานวนจริง มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 2 เปนจํานวนจริง มีคาความจริงเปนจริง และ −1 เปนจํานวนจริง
มีคาความจริงเปนจริง
4) ถา 1 { 1, 2 } แลว 1 { 1, 2 } มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 1 { 1, 2 } มีคาความจริงเปนเท็จ
5) 3 เปนจํานวนตรรกยะ และไมใชจํานวนจริง มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ 3 เปนจํานวนตรรกยะ มีคาความจริงเปนเท็จ
6) 2 เปน ห.ร.ม. ของ 4 และ 6 ก็ตอเมื่อ 2 หาร 4 + 6 ไมลงตัว มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ 2 เปน ห.ร.ม. ของ 4 และ 6 มีคาความจริงเปนจริง แต 2 หาร 4 + 6
ไมลงตัว มีคาความจริงเปนเท็จ
7) ถา 3 เปนจํานวนคี่ แลว 32 เปนจํานวนคี่ มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 3 เปนจํานวนคี่ มีคาความจริงเปนจริง และ 32 เปนจํานวนคี่
มีคาความจริงเปนจริง
8) 2 เปนจํานวนจริงหรือจํานวนอตรรกยะ มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ 2 เปนจํานวนจริง มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 237

9) 13 เปนจํานวนเฉพาะ ก็ตอเมื่อ 13 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 13 มีคาความจริงเปนจริง


เพราะ 13 เปนจํานวนเฉพาะ มีคาความจริงเปนจริง และ 13 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 13
มีคาความจริงเปนจริง
10) ถา { 3 } { 3, 4 } แลว 3 { 3, 4 } มีคาความจริงเปนเท็จ
เพราะ { 3 } { 3, 4 } มีคาความจริงเปนจริง แต 3 { 3, 4 } มีคาความจริงเปนเท็จ
11) ( 2 + 6 ) + 4 = 12 หรือ 12 = 2 ( 5 ) + 2 มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ ( 2 + 6 ) + 4 = 12 มีคาความจริงเปนจริง
12) ถาแมงมุมเปนแมลง แลวแมงมุมตองมี 6 ขา มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ แมงมุมเปนแมลง มีคาความจริงเปนเท็จ
13) งูเหาและงูจงอางเปนสัตวมีพิษ มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ งูเหาเปนสัตวมีพิษ มีคาความจริงเปนจริง และ งูจงอางเปนสัตวมีพิษ
มีคาความจริงเปนจริง
14) โลมาหรือคนเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนจริง
เพราะ โลมาเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนจริง
2. 1) นิเสธของประพจน 4 + 9 = 10 + 3 คือ 4 + 9 ≠ 10 + 3 มีคาความจริงเปนเท็จ
2) นิเสธของประพจน − 7 >/ 6 คือ −7 > 6 มีคาความจริงเปนจริง
3) นิเสธของประพจน เซตของจํานวนนับที่เปนคําตอบของสมการ x2 + 1 = 0

เปนเซตวาง คือ เซตของจํานวนนับที่เปนคําตอบของสมการ x2 + 1 = 0 ไมเปน


เซตวาง มีคาความจริงเปนเท็จ
4) นิเสธของประพจน { 3, 4 } ∪ { 1, 3, 5 } = { 1, 3, 4, 5 } คือ
{ 3, 4 } ∪ { 1, 3, 5 } ≠ { 1, 3, 4, 5 } มีคาความจริงเปนเท็จ
5) นิเสธของประพจน {{ 2 }} { 2 } คือ {{ 2 }} { 2 } มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
238 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6) นิเสธของประพจน −3+ 6 ≤ −3 + 6 คือ −3+ 6 > −3 + 6

มีคาความจริงเปนเท็จ
7) นิเสธของประพจน 15 ไมใชจํานวนจริง คือ 15 เปนจํานวนจริง มีคาความจริง
เปนจริง
8) นิเสธของประพจน วา เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม คือ วา ไมเปนสัตวเลี้ยงลูก
ดวยน้ํานม มีคาความจริงเปนเท็จ
3. ให p แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชา”
และ q แทนประพจน “ฉันมาเรียนทันเวลา”
1) p แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชา”
2) p q แทนประพจน “ถาฉันตื่นนอนแตเชา แลวฉันมาเรียนไมทันเวลา”
3) p q แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชาและฉันมาเรียนทันเวลา”
4) p q แทนประพจน “ฉันตื่นนอนแตเชาก็ตอเมื่อฉันมาเรียนทันเวลา”
5) p q แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชาหรือฉันมาเรียนไมทันเวลา”
6) p (p q) แทนประพจน “ฉันไมตื่นนอนแตเชา หรือ ถาฉันตื่นนอนแตเชาแลว
ฉันมาเรียนทันเวลา”
4. ให p แทนประพจน “12 หารดวย 3 ลงตัว”
และ q แทนประพจน “4−3 < 2”

1) p q มีคาความจริงเปนเท็จ 2) p q มีคาความจริงเปนจริง
3) q p มีคาความจริงเปนจริง 4) p q มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 239

แบบฝกหัด 2.3

1. กําหนดให p, q, r, s และ t เปนประพจนมีคาความจริงเปน จริง เท็จ จริง เท็จ และเท็จ


ตามลําดับ
1) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p q เปนจริง
จาก p q เปนจริง และ r เปนจริง
ดังนั้น ( p q) r มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q ) r มีคาความจริงเปนจริง
2) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ r เปนจริง จะได p r เปนจริง
ดังนั้น ( p r ) ( t s ) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p r) (t s) มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
240 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p s เปนจริง


จาก r เปนจริง จะได q r เปนจริง
จาก p s เปนจริง และ q r เปนจริง
ดังนั้น ( p s) (q r) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p s ) ( q r) มีคาความจริงเปนจริง
4) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p q เปนจริง
จาก p q เปนจริง และ t เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q) t มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q) t มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 241

5) วิธีที่ 1 จาก r เปนจริง จะได r s เปนจริง


จาก r s เปนจริง และ p เปนจริง จะได ( r s) p เปนเท็จ
ดังนั้น (r s) p มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น (r s) p มีคาความจริงเปนจริง
6) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p q เปนจริง
จาก r เปนจริง จะได r t เปนจริง
จาก p q เปนจริง และ r t เปนจริง
ดังนั้น ( p q) (r t) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q) (r t) มีคาความจริงเปนจริง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
242 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

7) วิธีที่ 1 จาก q เปนเท็จ จะได r q เปนเท็จ


จาก s เปนเท็จ จะได s t เปนเท็จ
จาก r q เปนเท็จ และ s t เปนเท็จ
ดังนั้น ( r q ) ( s t ) มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( r q ) ( s t ) มีคาความจริงเปนเท็จ
8) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ
จาก r เปนจริง และ s เปนเท็จ จะได r s เปนเท็จ
จาก p q เปนเท็จ และ r s เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q) (r s) มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q) (r s) มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 243

9) วิธีที่ 1 จาก s เปนเท็จ จะได s p เปนเท็จ


จาก q เปนเท็จ จะได q r เปนจริง
จาก s p เปนเท็จ และ q r เปนจริง
ดังนั้น ( s p) (q r) มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( s p ) ( q r) มีคาความจริงเปนเท็จ
10) วิธีที่ 1 จาก r เปนจริง จะได q r เปนจริง
จาก q เปนเท็จ และ s เปนเท็จ จะได q s เปนเท็จ
จาก q r เปนจริง และ q s เปนเท็จ
ดังนั้น ( q r ) ( q s ) มีคาความจริงเปนเท็จ

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( q r) (q s) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
244 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

11) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ


จะได ( p q ) ( t r ) เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q ) ( t r ) s มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q ) ( t r ) s มีคาความจริงเปนจริง
12) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p q เปนจริง
จาก t เปนเท็จ และ s เปนเท็จ จะได t s เปนเท็จ
จาก p q เปนจริง และ t s เปนเท็จ จะได ( p q) (t s) เปนเท็จ
จาก q เปนเท็จ จะได q r เปนจริง
จาก q r เปนจริง และ s เปนเท็จ จะได ( q r) s เปนจริง
จาก ( p q ) ( t s ) เปนเท็จ และ ( q r ) s เปนจริง
ดังนั้น ( p q) (t s) (q r) s มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 245

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q ) ( t s ) (q r) s มีคาความจริงเปนจริง
2. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน
1) จาก p q เปนจริง ดังนั้น p เปนจริง และ q เปนจริง
2) จาก p q เปนเท็จ ดังนั้น p เปนจริง และ q เปนเท็จ
3) จาก p q เปนเท็จ จะได p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ
จะได p q เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q ) r มีคาความจริงเปนจริง
4) จาก p r เปนเท็จ จะได p เปนจริง และ r เปนเท็จ
จาก r เปนเท็จ ดังนั้น ( p q) r มีคาความจริงเปนเท็จ
5) จาก ( p q) ( r s) เปนเท็จ
จะได p q เปนจริง และ r s เปนเท็จ
จาก p q เปนจริง จะได p เปนจริง และ q เปนจริง
จาก r s เปนเท็จ จะได r เปนจริง และ s เปนเท็จ
จาก p เปนจริง จะได p r เปนเท็จ
จาก s เปนเท็จ จะได q s เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
246 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น ( p r) (q s) มีคาความจริงเปนจริง

แบบฝกหัด 2.4

1. ประพจน p (q p) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ p และ q


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ p (q p) ดังนี้
p q q p p (q p)

T T T T

T F T T

F T F F

F F T T

2. ประพจน ( p q ) ( p q ) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ p และ q


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( p q) (p q) ดังนี้
p q q p q p q (p q) (p q)

T T F T T T

T F T T T T

F T F T F F

F F T F T F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 247

3. ประพจน p ( p q) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ p และ q


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ p ( p q) ดังนี้
p q p p q p ( p q)

T T F T T

T F F T T

F T T T T

F F T F T

4. ประพจน ( q q ) r ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน คือ q และ r


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( q q) r ดังนี้
q r q q q (q q) r

T T F T T

T F F T F

F T T T T

F F T T F

5. ประพจน q p (q p) ประกอบดวยประพจนยอยสองประพจน
คือ p และ q จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 4 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ q p (q p) ดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
248 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

p q p q q p p (q p) q p (q p)

T T F F F F T

T F F T T T T

F T T F T F T

F F T T T F F

6. ประพจน ( q r ) ( r p ) ประกอบดวยประพจนยอยสามประพจน คือ p, q และ r


จึงมีกรณีเกี่ยวกับคาความจริงที่อาจเกิดขึ้นไดทั้งหมด 8 กรณี
จะไดตารางคาความจริงของ ( q r) (r p) ดังนี้
p q q r r p (q r) (r p)
r

T T T T T T

T T F F T T

T F T F T T

T F F F T T

F T T T T T

F T F F F T

F F T F T T

F F F F F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 249

แบบฝกหัด 2.5

1. 1) ตัวอยางคําตอบ
ให p แทน “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
q แทน “ 2 เปนจํานวนจริง”
จะได p q แทน “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง”
แนวการตอบที่ 1
เนื่องจาก p q สมมูลกับ q p

ดังนั้น “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง” สมมูลกับ


“ 2 เปนจํานวนจริง ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
แนวการตอบที่ 2
เนื่องจาก p q สมมูลกับ ( p q ) ( q p)

ดังนั้น “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ ก็ตอเมื่อ 2 เปนจํานวนจริง” สมมูลกับ


“ถา 2 เปนจํานวนตรรกยะ แลว 2 เปนจํานวนจริง และ ถา 2 เปน
จํานวนจริง แลว 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
2) ตัวอยางคําตอบ
ให p แทน “ภพเปนนักเรียน”
q แทน “ภูมิเปนนักเรียน”
r แทน “ภัทรเปนนักเรียน”
จะได ( p q ) ( p r) แทน “ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทร
เปนนักเรียน”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
250 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แนวการตอบที่ 1
เนื่องจาก ( p q ) ( p r ) สมมูลกับ ( p r ) ( p q )
ดังนั้น “ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทรเปนนักเรียน” สมมูลกับ
“ภพหรือภัทรเปนนักเรียน และ ภพหรือภูมิเปนนักเรียน”
แนวการตอบที่ 2
เนื่องจาก ( p q ) ( p r ) สมมูลกับ p ( q r )
ดังนั้น “ภพหรือภูมิเปนนักเรียน และ ภพหรือภัทรเปนนักเรียน” สมมูลกับ
“ภพเปนนักเรียน หรือ ภูมิและภัทรเปนนักเรียน”
2. 1) p q (p q) (q p)

( q p) ( q p)

ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)


2) (p q) r (p q) r

( p q) r

( p q) r
( p r) ( q r)
( p r ) (q r )
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ก)
3) (p r) (q r) ( p r) ( q r)

( p q) r

(p q) r

ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 251

4) p (q p) p ( q p)
p ( q p)
p (q p)
p ( p q)
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ก)
5) p q (r p) p q (r p)
p ( q r p)

(p p) ( q r)
p ( q r)
(p q) r
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)
6) (p q) ( q r) (p q) ( q r)

( p q) ( q r)
p ( q q) r
( p q r)
p (q r)

p (q r)
ดังนั้น ประพจนที่กําหนดใหสมมูลกับประพจนในขอ (ข)
3. 1) สรางตารางคาความจริงของ p q กับ p q ไดดังนี้
p q p q p q p q

T T F F T F

T F F T F F

F T T F F F

F F T T F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
252 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวามีคาความจริงของ p q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ p q

ดังนั้น p q กับ p q ไมเปนนิเสธกัน


2) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p q กับ p q ไดดังนี้
p q p q p q p q

T T F F T F

T F F T T F

F T T F T F

F F T T F T

จะเห็นวาคาความจริงของ p q ตรงขามกับคาความจริงของ p q

ทุกกรณี
ดังนั้น p q กับ p q เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p q ) เปนนิเสธของ p q

และ ( p q ) สมมูลกับ p q
จะได p q เปนนิเสธของ p q

ดังนั้น p q กับ p q เปนนิเสธกัน


3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p q กับ p q ไดดังนี้
p q q p q p q

T T F T F

T F T F T

F T F T F

F F T T F

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 253

จะเห็นวาคาความจริงของ p q ตรงขามกับคาความจริงของ p q

ทุกกรณี
ดังนั้น p q กับ p q เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p q ) เปนนิเสธของ p q

และ (p q) ( p q)

p q

จะได p q เปนนิเสธของ p q

ดังนั้น p q กับ p q เปนนิเสธกัน


4) สรางตารางคาความจริงของ p q กับ p q ไดดังนี้
p q p q p q p q

T T F F T T

T F F T F T

F T T F T F

F F T T T T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ p q

ดังนั้น p q กับ p q ไมเปนนิเสธกัน


5) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p q กับ ( p q) (q p) ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
254 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

p q p q p q p q q p (p q) (q p)

T T F F T F F F

T F F T F T F T

F T T F F F T T

F F T T T F F F

จะเห็นวาคาความจริงของ p q ตรงขามกับคาความจริงของ
(p q) (q p) ทุกกรณี
ดังนั้น p กับ ( p q ) ( q
q p) เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p q ) เปนนิเสธของ p q

และ (p q) (p q) (q p)

( p q) ( q p)

( p q) ( q p)
(p q) (q p)
จะได ( p q) (q p) เปนนิเสธของ p q

ดังนั้น p กับ ( p q ) ( q
q p) เปนนิเสธกัน
6) ให p แทน “ 2 เปนจํานวนตรรกยะ”
และ q แทน “ 3 เปนจํานวนตรรกยะ”
จะได p q แทน “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนตรรกยะ”
และ p q แทน “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนอตรรกยะ”
สรางตารางคาความจริงของ p q กับ p q ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 255

p q p q p q p q

T T F F T F

T F F T T T

F T T F T T

F F T T F T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ p q

ดังนั้น p q กับ p q ไมเปนนิเสธกัน


นั่นคือ “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนตรรกยะ” กับ “ 2 หรือ 3 เปนจํานวนอตรรกยะ”
ไมเปนนิเสธกัน
7) ให p แทน “ 2 + 1 = 3 ”
และ q แทน “3 เปนจํานวนนับ”
จะได p q แทน “ถา 2 +1 = 3 แลว 3 เปนจํานวนนับ”
และ q p แทน “3 ไมใชจํานวนนับ แต 2 +1 = 3 ”

วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p q กับ q p ไดดังนี้


p q q p q q p

T T F T F

T F T F T

F T F T F

F F T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ p q ตรงขามกับคาความจริงของ q p

ทุกกรณี
ดังนั้น p q กับ q p เปนนิเสธกัน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
256 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นั่นคือ “ถา 2 +1 = 3 แลว 3 เปนจํานวนนับ” กับ “3 ไมใชจํานวนนับ


แต 2 + 1 = 3 ” เปนนิเสธกัน

วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p q ) เปนนิเสธของ p q

และ (p q) ( p q)
p q
q p
จะได q p เปนนิเสธของ p q

ดังนั้น p q กับ q p เปนนิเสธกัน


นั่นคือ “ถา 2 +1 = 3 แลว 3 เปนจํานวนนับ” กับ “3 ไมใชจํานวนนับ
แต 2 + 1 = 3 ” เปนนิเสธกัน

8) ให p แทน “4 เปนจํานวนคู”
และ q แทน “4 เปนจํานวนเต็ม”
จะได p q แทน “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม”
และ p q แทน “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใชจํานวนเต็ม”
วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p q กับ p q ไดดังนี้
p q p q p q p q

T T F F T F

T F F T F T

F T T F F T

F F T T F T

จะเห็นวาคาความจริงของ p q ตรงขามกับคาความจริงของ p q

ทุกกรณี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 257

ดังนั้น p q กับ p q เปนนิเสธกัน


นั่นคือ “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม” กับ “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใช
จํานวนเต็ม” เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p q ) เปนนิเสธของ p q

และ ( p q ) สมมูลกับ p q

จะได p q เปนนิเสธของ p q

ดังนั้น p q กับ p q เปนนิเสธกัน


นั่นคือ “4 เปนจํานวนคูและเปนจํานวนเต็ม” กับ “4 เปนจํานวนคี่หรือไมใช
จํานวนเต็ม” เปนนิเสธกัน

แบบฝกหัด 2.6

1. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q) p p ไดดังนี้


p q p q (p q) p (p q) p p

T T T T T

T F F T T

F T T F T

F F T F T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p q ) p p เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q ) p p เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p q ) p p มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
258 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q ) p p เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q ) p p เปนสัจนิรันดร
2. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q ) q ไดดังนี้
p q p q (p q) q (p q) q

T T T F F T

T F F T T T

F T T F F T

F F T F T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p q ) q เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q ) q เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 259

วิธีที่ 2 สมมติให ( p q) q มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q ) q เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q ) q เปนสัจนิรันดร
3. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q ) ( p q) ไดดังนี้
p q p p q (p q) p q (p q) ( p q)

T T F T F F T

T F F F T T T

F T T T F T T

F F T T F F T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน (p q) ( p q) เปนจริงทุกกรณี
นั่นคือ รูปแบบของประพจน (p q) ( p q) เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให (p q) ( p q) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
260 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะได p เปนจริง และ q เปนเท็จ


ดังนั้น p q เปนจริง แตจากแผนภาพ p q เปนเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา (p q) ( p q) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน (p q) ( p q) เปนสัจนิรันดร
4. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q) (p q) ไดดังนี้
p q p q (p q) p q (p q) (p q) (p q)

T T T F T F T

T F F T F T T

F T F T F T T

F F F T T F F

จะเห็นวากรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ


จะไดวารูปแบบของประพจน ( p q) (p q) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q) (p q) ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p q) (p q) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 261

จากแผนภาพ การหาคาความจริงของ p และ q จะพิจารณาจาก p q

ซึ่งมีคาความจริงเปนจริง ทําใหคาความจริงของ p และ q มีได 2 กรณีคือ


เปนจริงทั้งคู หรือเปนเท็จทั้งคู แตเนื่องจาก p q เปนเท็จ
แสดงวา p และ q ตองเปนเท็จทั้งคู
จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ
ที่ทําให ( p q ) ( p q ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q ) ( p q ) ไมเปนสัจนิรันดร
5. วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q ) ( q r ) ( p r ) ไดดังนี้
p q r p q q r p r (p q) (q r) (p q) (q r) (p r)

T T T T T T T T

T T F T F F F T

T F T F T T F T

T F F F T F F T

F T T T T T T T

F T F T F T F T

F F T T T T T T

F F F T T T T T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
262 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p q) (q r) (p r) เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q) (q r) (p r) เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p q) (q r) (p r) มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q ) ( q r ) ( p r ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p q ) ( q r ) ( p r ) เปนสัจนิรันดร

แบบฝกหัด 2.7

1. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน


ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดในแตละขอวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
1) สมมติให ( p q) ( p (q r )) r เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 263

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q) ( p (q r )) r เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q) ( p (q r )) r เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
2) สมมติให ( p ( q r )) ( q r) p เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนจริง q เปนจริง และ r เปนเท็จ


ที่ทําให ( p ( q r )) ( q r) p เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
264 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ( q r )) ( q r) p ไมเปนสัจนิรันดร


ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
3) สมมติให ( p q) ( p r) r p เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ


ที่ทําให ( p q ) ( p r ) r p เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) ( p r ) r p ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
4) สมมติให ( p q) p r q เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนจริง q เปนจริง และ r เปนจริง


ที่ทําให ( p q ) p r q เปนเท็จ

นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) p r q ไมเปนสัจนิรันดร


ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 265

5) สมมติให ( p q) (r p) q (r s) s เปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q และ q เปนจริงทั้งคู
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q) (r p) q (r s) s เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q) (r p) q (r s) s

เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
2. 1) ให p แทนประพจน “พัฒนาชอบสีฟา”
q แทนประพจน “พัฒนีชอบสีชมพู”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p q
2. p
ผล p

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p q ) p q

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p q) p q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
266 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนจริง


ที่ทําให ( p q ) p q เปนเท็จ

นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) p q ไมเปนสัจนิรันดร


ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
2) ให p แทนประพจน “โชคสรางบานหลังใหมเสร็จ”
q แทนประพจน “ครอบครัวของโชคยายมาอยูดวย”
r แทนประพจน “โชคไดดูแลพอแมที่ชราแลว”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p q
2. q r
ผล p r

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ


(p q) (q r) (p r)

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 267

สมมติให ( p q) (q r) (p r) เปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q ) ( q r ) ( p r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) ( q r ) ( p r ) เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
3) ให p แทนประพจน “ชัยทํายอดขายตามเปาหมายที่ผูจัดการตั้งไว”
q แทนประพจน “ชัยไดรับโบนัส”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p q
2. p
ผล q

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p q ) p q

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p q) p q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
268 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q ) p q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) p q เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
4) ให p แทนประพจน “อิงฟาซื้อกระเปาถือสีดํา”
q แทนประพจน “อิงฟาซื้อรองเทาสีดํา”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p q
2. q
ผล p

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p q ) q p

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p q) q p เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 269

จากแผนภาพ จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนจริง


ที่ทําให ( p q ) q p เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) q p ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
5) ให p แทนประพจน “มะนาวพบคนพิการที่ขายสลากกินแบงรัฐบาล”
q แทนประพจน “มะนาวซื้อสลากกินแบงรัฐบาล”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p q
2. q
ผล p

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p q ) q p

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p q) q p เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
270 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p และ p เปนจริงทั้งคู
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p q ) q p เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p q ) q p เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

แบบฝกหัด 2.8

1. ไมใชทั้งประพจนและประโยคเปด 2. เปนประพจน
3. เปนประโยคเปด 4. เปนประโยคเปด
5. ไมเปนทั้งประพจนและประโยคเปด 6. ไมเปนทั้งประพจนและประโยคเปด
7. เปนประโยคเปด 8. เปนประพจน
9. เปนประพจน 10. เปนประโยคเปด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 271

แบบฝกหัด 2.9

1. ให U =
1) x[ x ∈ x ⋅1 = x ] 2) x x2 = 2

3) x [| x | +1 ≤ 1] 4) x[ x ∈ x∈ ]
2. 1) สําหรับจํานวนจริง x ทุกจํานวน ถา x<2 แลว x2 < 4

2) สําหรับจํานวนจริง y ทุกจํานวน y 2 − 4 = ( y − 2 )( y + 2 )

3) มีจํานวนจริง y ซึ่ง 2y +1 = 0

4) สําหรับจํานวนจริง x บางจํานวน ซึ่ง ถา x เปนจํานวนตรรกยะ แลว x2 = 2

แบบฝกหัด 2.10

1. x x2 > 8 เปนเท็จ เมื่อ U = { − 1, 0, 2 }


เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน x2 > 8 จะไดประพจนที่เปนเท็จ
2. x [ x < 0] เปนเท็จ เมื่อ U = { 0, 4, 7 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0, 4 หรือ 7 ใน x<0 จะไดประพจนที่เปนเท็จเสมอ
3. x x2 ≥ 0 เปนจริง เมื่อ U =
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน x2 ≥ 0 จะไดประพจนที่เปนจริง
4. x [ x + 1 = 4] เปนเท็จ เมื่อ U = { 1, 2, 3, 4 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน x +1 = 4 จะไดประพจนที่เปนเท็จ
5. x [ 5 + x ≠ 5] เปนจริง เมื่อ U =
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน 5+ x ≠5 จะไดประพจนที่เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
272 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6. x[x เปนจํานวนอตรรกยะ] เปนเท็จ เมื่อ U =


เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน x เปนจํานวนอตรรกยะ จะไดประพจนที่เปนเท็จ
7. x [ถา x เปนจํานวนคี่ แลว x เปนจํานวนเฉพาะ] เปนเท็จ เมื่อ U = { 0, 1, 2, 3, 4,5 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 1 ใน ถา x เปนจํานวนคี่ แลว x เปนจํานวนเฉพาะ
จะไดประพจนที่เปนเท็จ
8. x[x เปนจํานวนนับหรือเปนจํานวนเฉพาะ] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 2, 4, 6 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 2 ใน x เปนจํานวนนับหรือเปนจํานวนเฉพาะ
จะไดประพจนที่เปนจริง
9. x[x เปนจํานวนตรรกยะ] เปนตัวประกอบของ 2] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
x[x

เพราะวา x[x เปนจํานวนตรรกยะ] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }


เนื่องจาก เมื่อแทน x ดวย 0, 1 หรือ 2 ใน x เปนจํานวนตรรกยะ
จะไดประพจนที่เปนจริงเสมอ
10. x [ x2 เปนจํานวนคู] x[ x เปนจํานวนนับแลว 2x เปนจํานวนคู] เปนจริง
เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
เพราะวา x [ x2 เปนจํานวนคู] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
เนื่องจาก เมื่อแทน x ดวย 2 ใน x2 เปนจํานวนคู จะไดประพจนที่เปนจริง
และ x[x เปนจํานวนนับ แลว 2x เปนจํานวนคู] เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1, 2 }
เนื่องจาก เมื่อแทน x ดวย 0, 1 หรือ 2 ใน x เปนจํานวนนับ แลว 2x เปนจํานวนคู
จะไดประพจนที่เปนจริงเสมอ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 273

แบบฝกหัด 2.11

1. 1) ให P ( x ) แทน x > 0 และ Q ( x ) แทน x > 0 2

เนื่องจาก P ( x ) Q ( x ) สมมูลกับ P ( x ) Q ( x )
จะได x x>0 x2 > 0 สมมูลกับ x x≤0 x2 > 0

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)


2) ให P ( x ) แทน x + 2 = 5 และ Q ( x ) แทน x ∈
เนื่องจาก P ( x ) Q ( x ) สมมูลกับ Q ( x ) P ( x )
จะได x[ x + 2 = 5 x∈ ] สมมูลกับ x[ x ∈ x + 2 = 5]

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)


3) ให P ( x ) แทน x ≥ 0
เนื่องจาก x P ( x ) สมมูลกับ x P ( x )
จะได x [ x ≥ 0] สมมูลกับ x [ x < 0]
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)
4) ให P ( x ) แทน x = 4 และ Q ( x ) แทน x ≠ 16

เนื่องจาก x [ P( x) Q( x)] สมมูลกับ x ( P ( x) Q ( x ))

สมมูลกับ x P ( x) Q ( x)

สมมูลกับ x P ( x) Q ( x)

จะได x x =4 x ≠ 16 สมมูลกับ x x =4 x = 16

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
274 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) ให P ( x ) แทน x ∈ และ Q ( x ) แทน x ∈


เนื่องจาก x [ P( x)] x [Q( x)] สมมูลกับ x [Q ( x) ] x [ P( x)]

สมมูลกับ x [ Q( x)] x [ P( x)]

จะได x[ x ∈ ] x[ x ∈ ] สมมูลกับ x[ x ] x[ x ]
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)
6) ให P ( x ) แทน x + 2 > 5 และ Q ( x ) แทน x ≤ 0 2

เนื่องจาก ( x [ P( x)] x [Q( x)]) สมมูลกับ x [ P( x)] x [Q ( x) ]

สมมูลกับ x [ P( x)] x [ Q( x)]

จะได ( x [ x + 2 > 5] x x2 ≤ 0 ) สมมูลกับ x [ x + 2 ≤ 5] x x2 > 0

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)


7) ให P ( x ) แทน “x เปนจํานวนเฉพาะ”
ขอความที่กําหนดเขียนแทนดวยสัญลักษณ x P ( x) เมื่อ U เปนเซตของ
จํานวนคี่
เนื่องจาก x P ( x) เมื่อ U เปนเซตของจํานวนคี่ สมมูลกับ x P ( x)

เมื่อ U เปนเซตของจํานวนคี่
จะไดวา ขอความ “มีจํานวนคี่บางจํานวนไมใชจํานวนเฉพาะ” สมมูลกับขอความ
“ไมจริงที่วาจํานวนคี่ทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ”

ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ก)


8) ให P ( x ) แทน “x เปนเซตจํากัด”
ขอความที่กําหนดเขียนแทนดวยสัญลักษณ x P ( x) เมื่อ U เปนเซตของ
สับเซตของเซตอนันต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 275

เนื่องจาก x P ( x) เมื่อ U เปนเซตของสับเซตของเซตอนันต


สมมูลกับ x P ( x) เมื่อ U เปนเซตของสับเซตของเซตอนันต
จะไดวา ขอความ “ไมจริงที่วามีสับเซตของเซตอนันตเปนเซตจํากัด” สมมูลกับ
ขอความ “สับเซตของเซตอนันตเปนเซตอนันต”
ดังนั้น ขอความที่กําหนดใหสมมูลกับขอความในขอ (ข)
2. 1) นิเสธของ x [ x + 2 ≤ 0] เขียนแทนดวย x [ x + 2 ≤ 0] ซึ่งสมมูลกับ x [ x + 2 > 0]

ดังนั้น นิเสธของ x [ x + 2 ≤ 0] คือ x [ x + 2 > 0]

2) นิเสธของ x [ x ≠ 0] x [ x > 0] เขียนแทนดวย ( x [ x ≠ 0] x [ x > 0])


ซึ่งสมมูลกับ ( x [ x ≠ 0] x [ x > 0]) และสมมูลกับ x [ x ≠ 0] x [ x ≤ 0]

ดังนั้น นิเสธของ x [ x ≠ 0] x [ x > 0] คือ x [ x ≠ 0] x [ x ≤ 0]

3) นิเสธของ x x2 < 0 x<0 เขียนแทนดวย x x2 < 0 x<0

ซึ่งสมมูลกับ x (x 2
< 0) x<0 และสมมูลกับ x x2 < 0 x≥0

ดังนั้น นิเสธของ x x2 < 0 x<0 คือ x x2 < 0 x≥0

4) นิเสธของ x x>2 ( x + 1 ≥ 1) เขียนแทนดวย x x>2 ( x + 1 ≥ 1)


ซึ่งสมมูลกับ x[ x ≤ 2 x + 1 ≥ 1]

ดังนั้น นิเสธของ x x>2 ( x + 1 ≥ 1) คือ x[ x ≤ 2 x + 1 ≥ 1]

5) นิเสธของ x P ( x) Q ( x) เขียนแทนดวย x P ( x) Q ( x)

ซึ่งสมมูลกับ x P ( x) Q ( x)

ดังนั้น นิเสธของ x P ( x) Q ( x) คือ x P ( x) Q ( x)

6) ให P ( x ) แทน “ x เปนจํานวนจริง”
ขอความที่กําหนดแทนดวยสัญลักษณ x P ( x) , U =

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
276 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

โดยที่นิเสธของ x P ( x) , U = เขียนแทนดวย x P ( x) , U =

ซึ่งสมมูลกับ x P ( x) , U =

ดังนั้น นิเสธของขอความ “จํานวนตรรกยะทุกจํานวนเปนจํานวนจริง” คือ


“มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนที่ไมเปนจํานวนจริง”

7) ให P ( x ) แทน x เปนจํานวนจริง
ขอความที่กําหนดแทนดวยสัญลักษณ x P ( x) , U =

โดยที่นิเสธของ x P ( x) , U = เขียนแทนดวย x P ( x) , U =

ซึ่งสมมูลกับ x P ( x) , U =

ดังนั้น นิเสธของขอความ “จํานวนเต็มบางจํานวนเปนจํานวนจริง” คือ


“จํานวนเต็มทุกจํานวนไมเปนจํานวนจริง”

8) ให P ( x) แทน x≤0

Q ( x) แทน x2 ≠ 0

ขอความที่กําหนดแทนดวยสัญลักษณ x P ( x) x Q ( x)

โดยที่นิเสธของ x P ( x) x Q ( x) เขียนแทนดวย ( x P ( x) x Q ( x) )
ซึ่งสมมูลกับ x P ( x) x Q ( x)

แสะสมมูลกับ x P ( x) x Q ( x)

ดังนั้น นิเสธของขอความ “จํานวนจริงบางจํานวนนอยกวาหรือเทากับศูนย และ


มีจํานวนจริงบางจํานวน เมื่อยกกําลังสองแลวไมเทากับศูนย” คือ “จํานวนจริง
ทุกจํานวนมากกวาศูนย หรือจํานวนจริงทุกจํานวนเมื่อยกกําลังสองแลวเทากับศูนย”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 277

แบบฝกหัดทายบท

1. 1) ไมเปนประพจน 2) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง


3) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง 4) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
5) ไมเปนประพจน 6) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนเท็จ
7) ไมเปนประพจน 8) ไมเปนประพจน
9) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง 10) เปนประพจน ที่มีคาความจริงเปนจริง
2. 1) นิเสธของประพจน −20 + 5 > −17 คือ −20 + 5 ≤ −17 มีคาความจริงเปนเท็จ
2) นิเสธของประพจน 37 ไมเปนจํานวนเฉพาะ คือ 37 เปนจํานวนเฉพาะ
มีคาความจริงเปนจริง
3) นิเสธของประพจน 2∈ คือ 2 มีคาความจริงเปนจริง
4) นิเสธของประพจน คือ มีคาความจริงเปนเท็จ
3. ตัวอยางคําตอบ
• π ไมเปนจํานวนตรรกยะ
• นิดาและนัดดาเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
• รูปสี่เหลี่ยมอาจเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากหรือรูปสี่เหลี่ยมดานขนานก็ได
• ถาน้ํามันดิบในตลาดโลกมีราคาสูงขึ้น แลวรัฐบาลไทยจะตรึงราคาขายปลีกน้ํามันไว
กอนเพื่อไมใหประชาชนตองเดือดรอน
• รูปสามเหลีย่ ม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทาก็ตอเมื่อรูปสามเหลี่ยม ABC
มีดานยาวเทากันทุกดาน
4. 1) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p q เปนจริง
จาก p q เปนจริง และ r เปนเท็จ จะได ( p q) r เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
278 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น ( p q ) r มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q ) r มีคาความจริงเปนจริง
2) วิธีที่ 1 จาก q เปนจริง จะได q เปนเท็จ
จาก q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ จะได q r เปนเท็จ
จาก q r เปนเท็จ และ เปนจริง จะได (
p q r) p เปนเท็จ
ดังนั้น ( q r ) p มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( q r ) p มีคาความจริงเปนเท็จ
3) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p เปนเท็จ
และจาก r เปนเท็จ จะได r p เปนจริง
ดังนั้น r p มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 279

ดังนั้น r p มีคาความจริงเปนจริง
4) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง จะได p เปนเท็จ
จาก r เปนเท็จ จะได r เปนจริง
จะได p r เปนจริง
ดังนั้น p r มีคาความจริงเปนจริง
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น p r มีคาความจริงเปนจริง
5) วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p q เปนจริง
จาก q เปนจริง และ r เปนเท็จ จะได q r เปนเท็จ
จาก p q เปนจริง และ q r เปนเท็จ
จะได ( p q ) ( q r ) เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q ) ( q r ) มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
280 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น ( p q ) ( q r ) มีคาความจริงเปนเท็จ
5. 1) ให p แทนประพจน “4 เปนจํานวนเฉพาะ”
และ q แทนประพจน “4 เปนจํานวนคี่”
ดังนั้น ขอความ “ถา 4 เปนจํานวนเฉพาะ แลว 4 เปนจํานวนคี”่ แทนดวย p q

จาก p เปนเท็จ จะได p q เปนจริง


ดังนั้น ขอความ “ถา 4 เปนจํานวนเฉพาะ แลว 4 เปนจํานวนคี”่ มีคาความจริงเปนจริง
2) ให p แทนประพจน “ 3 ≥ 2 ”
และ q แทนประพจน “ −2 ≥ −3 ”
ดังนั้น ขอความ “ 3 ≥ 2 และ −2 ≥ −3 ” แทนดวย p q

จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p q เปนจริง


ดังนั้น ขอความ “ 3 ≥ 2 และ −2 ≥ −3 ” มีคาความจริงเปนจริง
3) ให p แทนประพจน “ 100 กิโลกรัม เทากับ 1 ตัน”
และ q แทนประพจน “ 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม”
ดังนั้น ขอความ “ 100 กิโลกรัม เทากับ 1 ตัน หรือ 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม”
แทนดวย p q

จาก q เปนจริง จะได p q เปนจริง


ดังนั้น ขอความ “ 100 กิโลกรัม เทากับ 1 ตัน หรือ 10 ขีด เทากับ 1 กิโลกรัม”
มีคาความจริงเปนจริง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 281

4) ให p แทนประพจน “ { x ∈ | 3 < x < 4} เปนเซตวาง”


และ q แทนประพจน “ { x ∈ | x 2 = 1} ไมเปนเซตวาง”
ดังนั้น ขอความ “ { x ∈ | 3 < x < 4} เปนเซตวาง หรือ { x ∈ | x 2 = 1} ไมเปน
เซตวาง” แทนดวย p q

จาก p เปนจริง จะได p q เปนจริง


ดังนั้น ขอความ “ { x ∈ | 3 < x < 4} เปนเซตวาง หรือ { x ∈ | x 2 = 1} ไมเปน
เซตวาง” มีคาความจริงเปนจริง
5) ให p แทนประพจน “ A ∪ A = A ”
และ q แทนประพจน “ A − ∅ = U ”
ดังนั้น ขอความ “ A ∪ A = A และ A−∅ =U ” แทนดวย p q

จาก q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ


ดังนั้น ขอความ “ A ∪ A = A และ A−∅ =U ” มีคาความจริงเปนเท็จ
6) ให p แทนประพจน “เตาเปนสัตวเลื้อยคลาน”
และ q แทนประพจน “จระเขเปนสัตวเลื้อยคลาน”
ดังนั้น ขอความ “เตาและจระเขเปนสัตวเลื้อยคลาน” แทนดวย p q

จาก p เปนจริง และ q เปนจริง จะได p q เปนจริง


ดังนั้น ขอความ “เตาและจระเขเปนสัตวเลื้อยคลาน” มีคาความจริงเปนจริง
7) ให p แทนประพจน “ −1 เปนจํานวนนับ”
และ q แทนประพจน “ 1 เปนจํานวนเต็ม”
3
1
ดังนั้น ขอความ “ −1 เปนจํานวนนับ และ เปนจํานวนเต็ม” แทนดวย p q
3
จาก p เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
282 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1
ดังนั้น ขอความ “ −1 เปนจํานวนนับ และ เปนจํานวนเต็ม” มีคาความจริงเปนเท็จ
3
8) ให p แทนประพจน “ผลคูณของ 4 กับ −4 นอยกวา −12 ”

และ q แทนประพจน “ −12 ไมเทากับ 4 ลบดวย 16 ”


ดังนั้น ขอความ “ผลคูณของ 4 กับ −4 นอยกวา −12 หรือ −12 ไมเทากับ
4 ลบดวย 16 ” แทนดวย p q

จาก p เปนจริง จะได p q เปนจริง


ดังนั้น ขอความ “ผลคูณของ 4 กับ −4 นอยกวา −12 หรือ −12 ไมเทากับ 4 ลบดวย
16 ” มีคาความจริงเปนจริง
9) ให p แทนประพจน “จังหวัดอุบลราชธานีอยูในภาคใตของประเทศไทย”
และ q แทนประพจน “จังหวัดอุดรธานีอยูในภาคเหนือของประเทศไทย”
ดังนั้น ขอความ “ถาจังหวัดอุบลราชธานีไมอยูในภาคใตของประเทศไทย แลว
จังหวัดอุดรธานีอยูในภาคเหนือของประเทศไทย” แทนดวย p q

จาก p เปนเท็จ จะได p เปนจริง และจาก q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ


ดังนั้น ขอความ “ถาจังหวัดอุบลราชธานีไมอยูในภาคใตของประเทศไทย แลวจังหวัด
อุดรธานีอยูในภาคเหนือของประเทศไทย” มีคาความจริงเปนเท็จ
10) ให p แทนประพจน “ 5 เปนจํานวนตรรกยะ”
q แทนประพจน “ 5 เปนจํานวนตรรกยะ”
และ r แทนประพจน “ 25 ไมเปนจํานวนอตรรกยะ”
ดังนั้น ขอความ “ถา 5 และ 5 เปนจํานวนตรรกยะ แลว 25 ไมเปนจํานวน
อตรรกยะ” แทนดวย ( p q ) r
จาก q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ
จะได ( p q) r เปนจริง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 283

ดังนั้น ขอความ “ถา 5 และ 5 เปนจํานวนตรรกยะ แลว 25 ไมเปน


จํานวนอตรรกยะ” มีคาความจริงเปนจริง
11) ให p แทนประพจน “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยม
รวมกันเทากับ 180 องศา”
และ q แทนประพจน “มุมฉากคือมุมที่มีขนาดเทากับ 180 องศา”
ดังนั้น ขอความ “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เทากับ 180 องศา ก็ตอเมื่อ มุมฉากคือมุมที่มีขนาดเทากับ 180 องศา”
แทนดวย p q

จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ จะได p q เปนเท็จ


ดังนั้น ขอความ “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เทากับ 180 องศา ก็ตอเมื่อ มุมฉากคือมุมที่มีขนาดเทากับ 180 องศา”
มีคาความจริงเปนเท็จ
12) ให p แทนประพจน “ 6 เปนจํานวนคู”
q แทนประพจน “ 3 เปนจํานวนเฉพาะ”
และ r แทนประพจน “ 9 เปนจํานวนเฉพาะ”
ดังนั้น ขอความ “ 6 เปนจํานวนคู ก็ตอเมื่อ 3 หรือ 9 เปนจํานวนเฉพาะ”
แทนดวย p (q r)

จาก q เปนจริง จะได q r เปนจริง


และจาก p เปนจริง จะได p (q r) เปนจริง
ดังนั้น ขอความ “ 6 เปนจํานวนคู ก็ตอเมื่อ 3 หรือ 9 เปนจํานวนเฉพาะ”
มีคาความจริงเปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
284 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6. 1) จาก p q มีคาความจริงเปนเท็จ จะได p เปนจริง และ q เปนเท็จ


หาคาความจริงของ ( p q ) ( p q )
วิธีที่ 1 จาก p เปนจริง และ q เปนเท็จ
จะได p q เปนเท็จ และ p q เปนจริง
จาก p q เปนเท็จ และ p q เปนจริง

จะได ( p q) (p q) เปนเท็จ
ดังนั้น ( p q) (p q) มีคาความจริงเปนเท็จ
วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น ( p q ) ( p q ) มีคาความจริงเปนเท็จ
2) วิธีที่ 1 จาก p ( q ) ( p q ) ( p q ) ( p q ) มีคาความจริง
เปนจริง จะได p ( q ) ( p q ) มีคาความจริงเปนจริง
และ (p q) ( p q) มีคาความจริงเปนจริง
จาก ( p q ) มีคาความจริงเปนเท็จ และ ( p q ) ( p q)

มีคาความจริงเปนจริง จะได ( p q ) มีคาความจริงเปนจริง


นั่นคือ ( p q ) มีคาความจริงเปนเท็จ
จะได p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ ซึ่งทําให p ( q) (p q)

มีคาความจริงเปนจริงตามที่กําหนดไว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 285

ดังนั้น p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ


วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ


3) วิธีที่ 1 จาก p ( q r) ( s r) มีคาความจริงเปนเท็จ
จะได p ( q r) มีคาความจริงเปนจริง
และ s r มีคาความจริงเปนเท็จ
จาก s r มีคาความจริงเปนเท็จ จะได s เปนจริง และ r เปนเท็จ
จาก p ( q r) มีคาความจริงเปนจริง
จะได p เปนจริง และ q r เปนจริง
จาก q r เปนจริง และ r เปนเท็จ จะได q เปนจริง
ดังนั้น p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
286 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 กําหนดให T แทนจริง และ F แทนเท็จ

ดังนั้น p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง


7. 1) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p ( q r) กับ ( p q) (p r)

ไดดังนี้
p q r q q r
p q
p r p ( q r) (p q) (p r)

T T T F F F T F T
T T F F F F F F F
T F T T T T T T T
T F F T F T F F T
F T T F F T T T T
F T F F F T T T T
F F T T T T T T T
F F F T F T T T T

จะเห็นวาคาความจริงของ p ( q r) กับ ( p q) (p r)

มีบางกรณีที่ตางกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 287

ดังนั้น p ( q r) ไมสมมูลกับ ( p q) (p r)

วิธีที่ 2 (p q) (p r) ( p q) ( p r)

( p p) ( q r)
*
p ( q r)
p ( q r)
ซึ่ง p ( q r) / p ( q r)

ดังนั้น p ( q r)
ไมสมมูลกับ ( p q ) ( p r )
2) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q ) r กับ ( p r ) ( q r ) ไดดังนี้
p q r p q p r q r (p q) r (p r) (q r)
T T T T T T T T
T T F T T T F T
T F T T T T T T
T F F T T F F F
F T T T T T T T
F T F T F T F F
F F T F T T F T
F F F F F F F F

จะเห็นวา คาความจริงของ ( p q) r กับ ( p r) (q r)

มีบางกรณีที่ตางกัน
ดังนั้น ( p q ) r ไมสมมูลกับ ( p r ) ( q r)

วิธีที่ 2 จาก ( p r ) ( q r ) ( p q ) r
ซึ่ง ( p q) r (p q) r

*
เมื่อ p เปนประพจนใด ๆ จะไดวา p p p
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
288 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น ( p q ) r ไมสมมูลกับ ( p r ) ( q r )
3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p q ) r กับ ( p q r) ไดดังนี้
p q r p q (p q) p q r (p q) r (p q r)
T T T T F T T F
T T F T F F T T
T F T F T F T T
T F F F T F F T
F T T T F F T T
F T F T F F T T
F F T T F F T T
F F F T F F T T

จะเห็นวา คาความจริงของ ( p q) r กับ ( p q r)

มีบางกรณีที่ตางกัน
ดังนั้น (p q) r ไมสมมูลกับ ( p q r)

วิธีที่ 2 จาก ( p q) r (p q) r

( p q) r

p q r

(p q r)

ซึ่ง ( p q r) / (p q r)

ดังนั้น ( p q) r ไมสมมูลกับ ( p q r)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 289

4) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p↔q และ ( p → q) ∧ (q → p)


ไดดังนี้
p q p p→q q→ p ( p → q) ∧ (q → p) p↔q ( p → q) ∧ (q → p)
T T F T T T F F
T F F F T F T T
F T T T F F T T
F F T T T T F F

จะเห็นวาคาความจริงของ p↔q กับ ( p → q) ∧ (q → p)


เหมือนกันทุกกรณี
ดังนั้น p↔q สมมูลกับ ( p → q) ∧ (q → p)
วิธีที่ 2 จาก p↔q ≡ ( p → q) ∧ (q → p)

≡ ( p ∨ q) ∧ ( q∨ p)

≡ ( p ∨ q) ∧ q ∨ ( p ∨ q)∧ p

≡ ( p∧ q ) ∨ ( q∧ q ) ∨ ( p∧ p ) ∨ ( q∧ p)
**
≡ ( p∧ q ) ∨ ( q∧ p )
≡ ( p ∨ q)∨ ( q ∨ p)
≡ ( p → q)∨ (q → p)
≡ ( p → q) ∧ (q → p)
ดังนั้น p↔q สมมูลกับ ( p → q) ∧ (q → p)
8. 1) ให p แทน “8 ไมนอยกวา 7”

q แทน “8 เปนจํานวนคู”

**
เมื่อ p เปนประพจนใด ๆ จะไดวา p∧ p≡F และ p∨F ≡ p
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
290 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได p→q แทน “ถา 8 ไมนอยกวา 7 แลว 8 เปนจํานวนคู”


แนวทางการตอบ
เนื่องจาก p→q สมมูลกับ p∨q

ดังนั้น “ถา 8 ไมนอยกวา 7 แลว 8 เปนจํานวนคู” สมมูลกับ “ 8 นอยกวา 7

หรือ 8 เปนจํานวนคู”
12
2) ให p แทน “ ∉ ”
5
q แทน “5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ”
จะได p↔q แทน “ 12 ∉ ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ”
5
แนวทางการตอบที่ 1
เนื่องจาก p↔q สมมูลกับ ( p → q ) ∧ ( q → p )
ดังนั้น “ 12 ∉ ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ” สมมูลกับ
5
12
“ถา ∉ แลว 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 และ ถา 5 ไมเปนตัวประกอบ
5
12
ของ 12 แลว ∉ ”
5
แนวทางการตอบที่ 2
เนื่องจาก p↔q สมมูลกับ q↔ p
12
ดังนั้น “ ∉ ก็ตอเมื่อ 5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ” สมมูลกับ
5
12
“5 ไมเปนตัวประกอบของ 12 ก็ตอเมื่อ ∉ ”
5
3) ให p แทน “ไกเปนสัตวปก”
q แทน “เปดเปนสัตวปก”
r แทน “นกเปนสัตวปก”
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 291

จะได ( p ∧ q ) ∨ ( r ∧ p ) แทน “ไกและเปดเปนสัตวปก หรือ นกและไกเปนสัตวปก”


แนวทางการตอบ
เนื่องจาก ( p ∧ q ) ∨ ( r ∧ p ) สมมูลกับ p ∧ ( q ∨ r )
ดังนั้น “ไกและเปดเปนสัตวปก หรือ นกและไกเปนสัตวปก” สมมูลกับ
“ไกเปนสัตวปก และ เปดหรือนกเปนสัตวปก”
4) ให p แทน “พอของแหนมมีเลือดหมู O”

q แทน “แมของแหนมมีเลือดหมู O”

r แทน “แหนมมีเลือดหมู O”

จะได ( p ∧ q ) → r แทน “ถาพอและแมของแหนมมีเลือดหมู O แลวแหนมมีเลือด


หมู O ”
แนวทางการตอบ
เนื่องจาก ( p ∧ q ) → r สมมูลกับ p ∨ q ∨ r
ดังนั้น “ถาพอและแมของแหนมมีเลือดหมู O แลวแหนมมีเลือดหมู O”

สมมูลกับ “พอหรือแมของแหนมไมมีเลือดหมู O หรือแหนมมีเลือดหมู O”

9. 1) สรางตารางคาความจริงของ p→q กับ q→ p ไดดังนี้


p q p→q q→ p

T T T T
T F F T
F T T F
F F T T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p→q บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ q→ p

ดังนั้น p→q กับ q→ p ไมเปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
292 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) สรางตารางคาความจริงของ p↔q กับ p↔ q ไดดังนี้


p q p q p↔q p↔ q
T T F F T T
T F F T F F
F T T F F F
F F T T T T

จะเห็นวาคาความจริงของ p↔q ตรงกับคาความจริงของ p↔ q ทุกกรณี


นั่นคือ p↔q สมมูลกับ p↔ q

ดังนั้น p↔q กับ p↔ q ไมเปนนิเสธกัน


3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → (q → r ) กับ p ∧ q∧ r ไดดังนี้
p q r q→r r p → (q → r ) p ∧ q∧ r

T T T T F T F
T T F F T F T
T F T T F T F
T F F T T T F
F T T T F T F
F T F F T T F
F F T T F T F
F F F T T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ p → (q → r ) ตรงขามกับคาความจริง
ของ p ∧ q∧ r ทุกกรณี
ดังนั้น p → (q → r ) กับ p ∧ q∧ r เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 293

วิธีที่ 2 เนื่องจาก p → (q → r ) เปนนิเสธของ p → (q → r )

และ p → (q → r ) ≡ p ∨ (q → r )

≡ p ∨ ( q ∨ r)
≡ p∧ ( q ∨ r)
≡ p ∧ q∧ r
จะได p → (q → r ) เปนนิเสธของ p ∧ q∧ r

ดังนั้น p → (q → r ) กับ p ∧ q∧ r เปนนิเสธกัน


4) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) → r กับ ( p∧ r ) ∨ ( q∧ r)

ไดดังนี้
p q r p r p→q p∧ r q∧ r ( p → q) → r ( p∧ r ) ∨ ( q∧ r)
T T T F F T F F T F
T T F F T T F T F T
T F T F F F F F T F
T F F F T F F F T F
F T T T F T F F T F
F T F T T T T T F T
F F T T F T F F T F
F F F T T T T F F T

จะเห็นวาคาความจริงของ ( p → q ) → r ตรงขามกับคาความจริง
ของ ( p ∧ r ) ∨ ( q ∧ r ) ทุกกรณี
ดังนั้น p → (q → r ) กับ ( p∧ r ) ∨ ( q∧ r) เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
294 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p → q ) → r เปนนิเสธของ ( p → q ) → r


และ ( p → q) → r ≡ ( p → q) ∨ r
( p → q) ∧ r

≡ ( p ∨ q) ∧ r
≡ ( p∧ r ) ∨ ( q∧ r)
จะได ( p → q ) → r เปนนิเสธของ ( p ∧ r ) ∨ ( q ∧
r)

ดังนั้น p → ( q → r ) กับ ( p ∧ r ) ∨ ( q ∧ r ) เปนนิเสธกัน


5) สรางตารางคาความจริงของ p → (q ∨ r ) กับ ( q ∨ r ) → p ไดดังนี้
p q r p q∨r p → (q ∨ r ) (q ∨ r ) → p
T T T F T T F
T T F F T T F
T F T F T T F
T F F F F F T
F T T T T T T
F T F T T T T
F F T T T T T
F F F T F T T

จะเห็นวามีคาความจริงของ p → (q ∨ r ) บางกรณีที่ตรงกับคาความจริงของ
(q ∨ r ) → p
ดังนั้น p → (q ∨ r ) กับ ( q ∨ r ) → p ไมเปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 295

6) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ q ∧ (r∧ s) กับ q → (r → s) ไดดังนี้


q r s s r∧ s r→s q ∧ (r∧ s) q → (r → s)

T T T F F T F T
T T F T T F T F
T F T F F T F T
T F F T F T F T
F T T F F T F T
F T F T T F F T
F F T F F T F T
F F F T F T F T

จะเห็นวาคาความจริงของ q ∧ (r∧ s) ตรงขามกับคาความจริง


ของ q → (r → s) ทุกกรณี
ดังนั้น q ∧ (r∧ s) กับ q → (r → s) เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก [ q ∧ (r ∧ s)] เปนนิเสธของ q ∧ ( r ∧ s )
และ [ q ∧ (r ∧ s)] ≡ q∨ ( r ∧ s )

≡ q ∨ ( r ∨ s)
≡ q → ( r ∨ s)
≡ q → (r → s)
จะได q ∧ (r ∧ ~ s) เปนนิเสธของ q → (r → s)

ดังนั้น q ∧ (r∧ s) กับ q → (r → s) เปนนิเสธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
296 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

7) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) ∨ r กับ p∧ q∧ r ไดดังนี้


p q r p→q q r ( p → q) ∨ r p∧ q∧ r

T T T T F F T F
T T F T F T T F
T F T F T F T F
T F F F T T F T
F T T T F F T F
F T F T F T T F
F F T T T F T F
F F F T T T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ ( p → q ) ∨ r ตรงขามกับคาความจริงของ
p ∧ q ∧ r ทุกกรณี

ดังนั้น ( p → q ) ∨ r กับ p ∧ q ∧ r เปนนิเสธกัน


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p → q ) ∨ r เปนนิเสธของ ( p → q ) ∨ r
และ ( p → q) ∨ r ≡ ( p ∨ q) ∨ r

≡ ( p ∨ q) ∧ r
≡ p ∧ q∧ r
จะได ( p → q ) ∨ r เปนนิเสธของ p ∧ q ∧ r
ดังนั้น ( p → q ) ∨ r กับ p ∧ q ∧ r เปนนิเสธกัน
8) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p ∨ q) → r กับ r ∧ ( p ∨ q) ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 297

p q r p∨q r ( p ∨ q) → r r ∧ ( p ∨ q)

T T T T F T F
T T F T T F T
T F T T F T F
T F F T T F T
F T T T F T F
F T F T T F T
F F T F F T F
F F F F T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ ( p ∨ q) → r ตรงขามกับคาความจริงของ
r ∧ ( p ∨ q) ทุกกรณี
ดังนั้น ( p ∨ q) → r กับ r ∧ ( p ∨ q) เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก [ ( p ∨ q) → r ] เปนนิเสธของ ( p ∨ q) → r
และ [ ( p ∨ q) → r ] ≡ [ ( p ∨ q) ∨ r ]
≡ ( p ∨ q) ∧ r
≡ r ∧ ( p ∨ q)

จะได ( p ∨ q) → r เปนนิเสธของ r ∧ ( p ∨ q)

ดังนั้น ( p ∨ q) → r กับ r ∧ ( p ∨ q) เปนนิเสธกัน


9) ให p แทน “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 ”

q แทน “ 4 เปนตัวประกอบของ 24 ”

จะได p→q แทน “ถา 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ”

และ q∧ p แทน “4 ไมเปนตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ”

วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p→q กับ q∧ p ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
298 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

p q q p→q q∧ p

T T F T F
T F T F T
F T F T F
F F T T F

จะเห็นวาคาความจริงของ p→q ตรงขามกับคาความจริงของ q∧ p

ทุกกรณี
ดังนั้น p→q กับ q∧ p เปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ”

กับ “ 4 ไมเปนตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ”

เปนนิเสธกัน
วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( p → q ) เปนนิเสธของ p → q
และ ( p → q) ≡ ( p ∨ q)
≡ p∧ q
≡ q∧ p
จะได q∧ p เปนนิเสธของ p→q

ดังนั้น p→q กับ q∧ p เปนนิเสธกัน


นั่นคือ “ 12 เปนตัวประกอบของ 24 แลว 4 เปนตัวประกอบของ 24 ”

กับ “ 4 ไมเปนตัวประกอบของ 24 แต 12 เปนตัวประกอบของ 24 ”

เปนนิเสธกัน
10) ให p แทน “ a เปนสระในภาษาอังกฤษ”
q แทน “ b เปนสระในภาษาอังกฤษ”
r แทน “ e เปนสระในภาษาอังกฤษ”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 299

จะได ( p∧ q) ∨ r แทน “a และ b ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ หรือ


e เปนสระในภาษาอังกฤษ”
และ r ∧ ( p → q) แทน “e เปนสระในภาษาอังกฤษ แต ถา a ไมเปนสระ
ในภาษาอังกฤษ แลว a เปนสระในภาษาอังกฤษ”
สรางตารางคาความจริงของ ( p∧ q) ∨ r กับ r ∧ ( p → q) ไดดังนี้
p q r p q p∧ q p→q ( p∧ q) ∨ r r ∧ ( p → q)
T T T F F F T T T
T T F F F F T F F
T F T F T F T T T
T F F F T F T F F
F T T T F F T T T
F T F T F F T F F
F F T T T T F T F
F F F T T T F T F

จะเห็นวามีคาความจริงของ ( p∧ q) ∨ r บางกรณีที่ตรงกับคาความจริง
ของ r ∧ ( p → q )
ดังนั้น ( p ∧ q ) ∨ r กับ r ∧ ( p → q ) ไมเปนนิเสธกัน
นั่นคือ “ a และ b ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ หรือ e เปนสระในภาษาอังกฤษ”
กับ “ e เปนสระในภาษาอังกฤษ แต ถา a ไมเปนสระในภาษาอังกฤษ แลว
b เปนสระในภาษาอังกฤษ” ไมเปนนิเสธกัน
10. 1) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p → (q → r ) → ( p → q) → r
ไดดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
300 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

p q r p→q q→r p → (q → r ) ( p → q) → r p → (q → r ) → ( p → q) → r
T T T T T T T T
T T F T F F F T
T F T F T T T T
T F F F T T T T
F T T T T T T T
F T F T F T F F
F F T T T T T T
F F F T T T F F

จะเห็นวามีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนจริง และ r เปนเท็จ


และกรณีที่ p, q และ r เปนเท็จ ที่ทําใหรูปแบบของประพจน
p → (q → r ) → ( p → q ) → r เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน p → (q → r ) → ( p → q) → r
ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให p → (q → r ) → ( p → q ) → r มีคาความจริงเปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ


ที่ทําให p → (q → r ) → ( p → q ) → r เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 301

ดังนั้น รูปแบบของประพจน p → (q → r ) → ( p → q) → r
ไมเปนสัจนิรันดร
2) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q) ไดดังนี้
p q p q p∧q p ∨ ( p ∧ q) p∧ q (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q)

T T F F F T F T
T F F T F T F T
F T T F T T F T
F F T T F F T F

จะเห็นวากรณีที่ p และ q เปนเท็จ รูปแบบของประพจน


( p ∨ ( p ∧ q ) ) → ( p ∧ q ) เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ∨ ( p ∧ q ) ) → ( p∧ q)

ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
302 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ


ที่ทําใหรูปแบบของประพจน (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q)

มีคาความจริงเปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q)

ไมเปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 เนื่องจาก p ∨ ( p ∧ q) ≡ ( p∨ p) ∧ ( p ∨ q)
≡ p∨q
จะได
(p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q) ≡ ( p ∨ q) → ( p∧ q )

≡ ( p ∨ q) ∨ ( p∧ q )

≡ ( p ∨ q ) ∧ ( p∧ q)
≡ ( p ∨ q) ∧ ( p ∨ q)
≡ p∨q
ซึ่งเมื่อ p และ q เปนเท็จ จะได p∨q เปนเท็จ
นั่นคือ p∨q ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น รูปแบบของประพจน (p∨( p ∧ q )) → ( p∧ q)

ไมเปนสัจนิรันดร
3) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ p ∧ ( p ∨ q) → q ไดดังนี้
p q p p∨q p ∧ ( p ∨ q) p ∧ ( p ∨ q) → q

T T F T F T
T F F T F T
F T T T T T
F F T F F T

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 303

จะเห็นวารูปแบบของประพจน p ∧ ( p ∨ q) → q เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน p ∧ ( p ∨ q) → q เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให p ∧ ( p ∨ q) → q มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา p ∧ ( p ∨ q) → q เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน p ∧ ( p ∨ q) → q เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก p ∧ ( p ∨ q) → q ≡ p ∧ ( p ∨ q) ∨ q

≡ p∨ ( p ∨ q) ∨q

≡ p ∨( p∧ q) ∨ q

≡ ( p∨ p ) ∧ ( p∨ q) ∨ q

≡ ( p∨ q) ∨ q

≡ p ∨ ( q ∨ q)

เนื่องจาก q∨q เปนจริงเสมอ


จะไดวา p ∨ ( q ∨ q) เปนจริงเสมอ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน p ∧ ( p ∨ q) → q เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
304 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) →r

ไดดังนี้
p q r ( p ∨ q) ∧ ( p → r ) ∧ (q → r ) ( p ∨ q) ∧ ( p → r ) ∧ (q → r ) →r

T T T T T
T T F F T
T F T T T
T F F F T
F T T T T
F T F F T
F F T F T
F F F F T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) →r

เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) →r

เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) →r มีคาความจริงเปนเท็จ

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 305

เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r เปนเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( q → r ) → r
เปนสัจนิรันดร
5) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r )

ไดดังนี้
p q r ( p → q) ∧ ( p → r ) p → (q ∧ r ) ( p → q) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r )

T T T T T T
T T F F F T
T F T F F T
T F F F F T
F T T T T T
F T F T T T
F F T T T T
F F F T T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r )

เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r )

เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 2 สมมติให ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r ) มีคาความจริงเปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
306 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p → q) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r ) เปนเท็จ
กรณีที่ 2

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p → q) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r ) เปนเท็จ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 307

จากทั้งสองกรณี จะไดวารูปแบบของประพจน
( p → q) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r ) เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก ( p → q ) ∧ ( p → r ) ≡ ( p ∨ q) ∧ ( p ∨ r )

≡ p ∨ (q ∧ r )

≡ p → (q ∧ r )

นั่นคือ ( p → q ) ∧ ( p → r ) สมมูลกับ p → ( q ∧ r )
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ↔ p → (q ∧ r )

เปนสัจนิรันดร
6) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q) → r
ไดดังนี้
p q r ( p → r ) ∧ (q → r ) ( p ∨ q) → r ( p → r ) ∧ (q → r ) ↔ ( p ∨ q) → r
T T T T T T
T T F F F T
T F T T T T
T F F F F T
F T T T T T
F T F F F T
F F T T T T
F F F T T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q) → r
เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q) → r
เปนสัจนิรันดร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
308 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 สมมติให ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r มีคาความจริงเปนเท็จ


กรณีที่ 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p → r ) ∧ (q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r เปนเท็จ
กรณีที่ 2

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ r เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p → r ) ∧ (q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r เปนเท็จ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 309

จากทั้งสองกรณี จะไดวารูปแบบของประพจน
( p → r ) ∧ (q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก ( p → r ) ∧ ( q → r ) ≡ ( p ∨ r) ∧ ( q ∨ r)

≡ ( p∧ q) ∨ r

≡ ( p ∨ q) ∨ r
≡ ( p ∨ q) → r
นั่นคือ ( p → r ) ∧ ( q → r ) สมมูลกับ ( p ∨ q ) → r
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p → r ) ∧ ( q → r ) ↔ ( p ∨ q ) → r
เปนสัจนิรันดร
7) วิธีที่ 1 สรางตารางคาความจริงของ ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q)

ไดดังนี้
p q p↔q p∧q p∧ q ( p ∧ q) ∨ ( p∧ q) ( p ↔ q) ↔ ( p ∧ q) ∨ ( p∧ q)

T T T T F T T
T F F F F F T
F T F F F F T
F F T F T T T

จะเห็นวารูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q)

เปนจริงทุกกรณี
ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q)

เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
310 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 สมมติให ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q) มีคาความจริงเปนเท็จ


กรณีที่ 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ q เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p ↔ q) ↔ ( p ∧ q) ∨ ( p∧ q) เปนเท็จ
กรณีที่ 2

ขัดแยงกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 311

จากแผนภาพ จะเห็นวาคาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ


เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา
( p ↔ q) ↔ ( p ∧ q) ∨ ( p∧ q) เปนเท็จ
จากทั้งสองกรณี จะไดวารูปแบบของประพจน
( p ↔ q) ↔ ( p ∧ q) ∨ ( p∧ q) เปนสัจนิรันดร
วิธีที่ 3 จาก ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q)

≡ ( p ∧ q)∨ p ∧ ( p ∧ q)∨ q

≡ ( p∨ p ) ∧ ( q∨ p) ∧ ( p∨ q ) ∧ ( q∨ q)

≡ ( q∨ p ) ∧ ( p∨ q )
≡ ( p ∨ q) ∧ ( q ∨ p)
≡ ( p → q) ∧ (q → p)
≡ p↔q

นั่นคือ p↔q สมมูลกับ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q)

ดังนั้น รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ↔ ( p ∧ q ) ∨ ( p∧ q)

เปนสัจนิรันดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
312 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

11. 1) สมมติให ( ( p ∧ q ) → ( r ∨ s ) ) ∧ ( r ∨ s ) → q เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนจริง r เปนเท็จ


และ s เปนเท็จ ที่ทําให ( ( p ∧ q ) → ( r ∨ s ) ) ∧ ( r ∨ s ) → q เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( ( p ∧ q ) → ( r ∨ s ) ) ∧ ( r ∨ s ) → q
ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
2) สมมติให ( p ∨ q) ∧ q → ( p ∨ q) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ และ q เปนเท็จ


ที่ทําให ( p ∨ q) ∧ q → ( p ∨ q) เปนเท็จ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 313

นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ q → ( p ∨ q) ไมเปนสัจนิรันดร


ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
3) สมมติให ( p ∨ r ) ∧ ( ( p → q ) ∨ ( q → r )) → ( r → p ) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง


ที่ทําให ( p ∨ r ) ∧ ( ( p → q ) ∨ ( q → r )) → ( r → p ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ r ) ∧ ( ( p → q ) ∨ ( q → r )) → ( r → p )

ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
4) สมมติให ( p → q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( p ∧ s ) →(r → s) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
314 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ s เปนไดทั้งจริงและเท็จ เกิดการขัดแยง


กับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( p ∧ s ) → ( r → s ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( p → r ) ∧ ( p ∧ s ) → ( r → s )
เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
5) สมมติให ( p → q ) ∧ p ∧ ( q → r ) ∧ ( r ↔ p) →(q ∨ r ) เปนเท็จ

ขัดแยงกัน

จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ เกิดการขัดแยง


กับที่สมมติไววา ( p → q ) ∧ p ∧ ( q → r ) ∧ ( r ↔ p ) → ( q ∨ r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ p ∧ ( q → r ) ∧ ( r ↔ p ) → ( q ∨ r )
เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
12. 1) ให p แทนประพจน “ชะอมไปเลนฟุตบอล”
q แทนประพจน “ไขเจียวไปเลนบาสเกตบอล”
r แทนประพจน “แกงสมไปเลนปงปอง”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p → q
2. q→r
ผล p∧r

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 315

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p → q ) ∧ ( q → r ) →( p ∧ r )

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p → q ) ∧ ( q → r ) →( p ∧ r ) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนเท็จ q เปนเท็จ และ r เปนจริง


ที่ทําให ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p ∧ r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p → q ) ∧ ( q → r ) → ( p ∧ r ) ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้ไมสมเหตุสมผล
2) ให p แทนประพจน “ขาวสวยทํางานหนัก”
q แทนประพจน “ขาวหอมทํางานหนัก”
r แทนประพจน “ขาวปนทํางานหนัก”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ∨ q
2. q
ผล p∨ r

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p ∨ q ) ∧ q → ( p∨ r)

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ∨ q ) ∧ q → ( p∨ r) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
316 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∨ q ) ∧ q → ( p∨ r) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ q → ( p∨ r) เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
3) ให p แทนประพจน “ชะเอมซื้อสินคาโดยใชบัตรเครดิต”
q แทนประพจน “ชะเอมซื้อสินคาโดยใชเงินสด”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ∨ q
2. p
ผล q

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ ( p ∨ q ) ∧ p → q

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ∨ q ) ∧ p → q เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 317

ขัดแยงกัน
จากแผนภาพ จะเห็นวา คาความจริงของ p เปนไดทั้งจริงและเท็จ
เกิดการขัดแยงกับที่สมมติไววา ( p ∨ q ) ∧ q → ( p∨ r) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ∨ q ) ∧ q → ( p∨ r) เปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
4) ให p แทนประพจน “หนูดูหนัง”
q แทนประพจน “แนนดูหนัง”
r แทนประพจน “หนึ่งดูหนัง”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p
2. q → p
3. p→ r
ผล q∨r

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ


p ∧ (q → p) ∧ ( p → r ) →(q ∨ r )

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให p ∧ (q → p) ∧ ( p → r ) →(q ∨ r ) เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
318 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนจริง q เปนเท็จ และ r เปนเท็จ


ที่ทําให p ∧ (q → p) ∧ ( p → r ) →(q ∨ r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน p ∧ (q → p) ∧ ( p → r ) →(q ∨ r )

ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนีไ้ มสมเหตุสมผล
5) ให p แทนประพจน “วิจิตไปกินขาวนอกบาน”
q แทนประพจน “วีรชัยอยูบาน”
r แทนประพจน “นิธิไปออกกําลังกาย”
s แทนประพจน “พชรไปเดินเลน”
เขียนแทนขอความในรูปสัญลักษณไดดังนี้
เหตุ 1. p ↔ q
2. q→r
3. s ∧ p
ผล s→r

ดังนั้น รูปแบบของประพจนในการอางเหตุผลนี้ คือ


( p ↔ q) ∧ ( q → r ) ∧ ( s ∧ p) →( s → r )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 319

ตรวจสอบรูปแบบของประพจนที่ไดวาเปนสัจนิรันดรหรือไม
สมมติให ( p ↔ q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( s ∧ p) →( s → r ) เปนเท็จ

จากแผนภาพ จะเห็นวา มีกรณีที่ p เปนจริง q เปนจริง r เปนเท็จ และ s เปนจริง


ที่ทําให ( p ↔ q ) ∧ ( q → r ) ∧ ( s ∧ p ) →( s → r ) เปนเท็จ
นั่นคือ รูปแบบของประพจน ( p ↔ q ) ∧ ( q → r ) ∧ (s ∧ p) →( s → r )

ไมเปนสัจนิรันดร
ดังนั้น การอางเหตุผลนีไ้ มสมเหตุสมผล
13. 1) ∀x [ x > 0] เปนจริง เมื่อ U =
เพราะวา เมื่อแทน x ดวยจํานวนนับ ใน “ x > 0 ” จะไดประพจนที่เปนจริง
2) ∀x [ x + x = x ⋅ x ] เปนจริง เมื่อ U = {0, 2 }
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 และ 2 ใน “ x + x = x ⋅ x ” จะไดประพจนที่เปนจริง
3) ∃x x = x 2 เปนจริง เมื่อ U = { 0, 1}
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x = x 2
” จะไดประพจนที่เปนจริง
4) ∀x x < 2 ↔ x 2 ≥ 4 เปนเท็จ เมื่อ U =
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x < 2 ↔ x 2
≥4” จะไดประพจนที่เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
320 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) ∃y [ y + 2 = y − 2] เปนเท็จ เมื่อ U =
เพราะวา ไมสามารถหาจํานวนจริง y แทนใน “ y + 2 = y − 2 ” แลวไดประพจน
ที่เปนจริง
6) ∀x [ x ∈ → x∈ ] เปนจริง เมื่อ U =
เนื่องจาก ∀x [ x ∈ → x∈ ] สมมูลกับ ∃x [ x ∈ ∧ x∉ ]
1
และเมื่อแทน x ดวย ใน “ ∃x [ x ∈ ∧ x∉ ] ” จะไดประพจนที่เปนจริง
2
7) ∃x [ x เปนจํานวนคู] เปนจริง เมื่อ U =
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x เปนจํานวนคู” จะไดประพจนที่เปนจริง
8) มีจํานวนตรรกยะ x ซึ่ง x > 0 เปนจริง

เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x > 0” จะไดประพจนที่เปนจริง


9) มีจํานวนอตรรกยะ x ซึ่ง x2 = 4 เปนเท็จ
เพราะวา ไมสามารถหาจํานวนอตรรกยะ x แทนใน “ x 2
= 4” แลวไดประพจน
ที่เปนจริง
10) สําหรับจํานวนจริง x ทุกตัว x2 + 1 > 4 เปนเท็จ
เพราะวา เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x 2
+1 > 4 ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ
11) ∃x x 2 − 1 < 0 ∧ ∃x [ x ≠ 0] เปนเท็จ เมื่อ U =
เนื่องจาก ∃x [ x ≠ 0] สมมูลกับ ∀x [ x = 0]

และเมื่อแทน x ดวย 1 ใน “ x = 0 ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ


12) ∀x [ ถา x เปนจํานวนเฉพาะแลว x เปนจํานวนคี่ ] ∨ ∃x[ x 2
≠ 1] เปนจริง
เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x 2
≠1” จะไดประพจนที่เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 321

13) ∀x [ x − 1 = 7 ] → ∀x x 2 = 2 x เปนเท็จ เมื่อ U =


เนื่องจาก ∀x [ x − 1 = 7 ] สมมูลกับ ∃x [ x − 1 ≠ 7 ]

เมื่อแทน x ดวย 0 ใน “ x − 1 ≠ 7 ” จะไดประพจนที่เปนจริง


แตเมื่อแทน x ดวย 1 ใน “ x 2
= 2x ” จะไดประพจนที่เปนเท็จ
14) ∃x[ x ∈ ′ → x 2 เปนจํานวนคู ] ↔ ∀x[ x ∈ → x − 1 ≥ 0] เปนจริง
เมื่อแทน x ดวย 2 ใน “ x ∈ ′ → x2 เปนจํานวนคู” จะไดประพจนที่เปนจริง
และเมื่อแทน x ดวยจํานวนจริง ใน “ x ∈ → x −1 ≥ 0 ” จะไดประพจนที่เปนจริง
15) มีจํานวนอตรรกยะบางจํานวนที่ยกกําลังสองแลวเทากับศูนยหรือจํานวนเต็ม
ทุกจํานวนเปนจํานวนตรรกยะ เปนจริง
โดยเขียนขอความดังกลาวใหอยูในรูปสัญลักษณไดดังนี้
( ∃x x 2 = 0 ,U = )
′ ∨ ( ∀x [ x ∈ ], U = )
เมื่อแทน x ดวยจํานวนเต็ม ใน x∈ จะไดประพจนที่เปนจริง
14. 1) นิเสธของ ∀x ( x ≠ 5) เขียนแทนดวย ( ∀x ( x ≠ 5) )
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x = 5 ]

ดังนั้น นิเสธของ ∀x ( x ≠ 5) คือ ∀x [ x ≠ 5 ]


2) นิเสธของ ∃x [ x ∈ ∧ x≥5] เขียนแทนดวย ( ∃x [ x ∈ ∧ x ≥ 5 ])

ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ∉ ∨ x<5]

ดังนั้น นิเสธของ ∃x [ x ∈ ∧ x≥5] คือ ∀x [ x ∉ ∨ x<5]

3) นิเสธของ ∀x x 2 − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0

เขียนแทนดวย ( ∀x x2 − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0 )
ซึ่งสมมูลกับ ∀x x 2
− 5 ≥ 4∨ x − 2 ≠ 0 และสมมูลกับ ∃x x 2 − 5 < 4 ∧ x − 2 = 0

ดังนั้น นิเสธของ ∀x x 2 − 5 < 4 → x − 2 ≠ 0 คือ ∃x x 2 − 5 < 4 ∧ x − 2 = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
322 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) นิเสธของ ∃x [ x − 7 < 5 ] → ∀x [ x ≥ 2 ]

เขียนแทนดวย ( ∃x [ x − 7 < 5 ] → ∀x [ x ≥ 2 ])
ซึ่งสมมูลกับ ( ∃x [ x − 7 < 5 ] ∨ ∀x [ x ≥ 2 ]) และสมมูลกับ ∀x [ x − 7 ≥ 5 ] ∧ ∃x [ x < 2 ]

ดังนั้น นิเสธของ ∃x [ x − 7 < 5 ] → ∀x [ x ≥ 2 ] คือ ∀x [ x − 7 ≥ 5 ] ∧ ∃x [ x < 2 ]

5) นิเสธของ ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∨ ∃x x = 5∨ ( x ≠ 6)
เขียนแทนดวย ( ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∨ ∃x x = 5∨ ( x ≠ 6 ) )
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∧ ∃x x = 5∨ ( x ≠ 6 )
และสมมูลกับ ∃x [ x ∉ ∨ x − 2 ≤ 8 ] ∧ ∀x [ x ≠ 5 ∧ x ≠ 6 ]

ดังนั้น นิเสธของ ∀x [ x ∈ ∧ x − 2 > 8 ] ∨ ∃x x = 5∨ ( x ≠ 6 ) คือ


∃x [ x ∉ ∨ x − 2 ≤ 8 ] ∧ ∀x [ x ≠ 5 ∧ x ≠ 6 ]

6) นิเสธของ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]

เขียนแทนดวย ( ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ])


ซึ่งสมมูลกับ ( ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∨ ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ])
และสมมูลกับ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧ ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]

และสมมูลกับ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧ ∃x [ x = 2 ∨ x < 6 ]


ดังนั้น นิเสธของ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] → ∀x [ x ≠ 2 ∧ x ≥ 6 ]

คือ ∃x [ x − 5 < 6 → x > −2 ] ∧ ∃x [ x = 2 ∨ x < 6 ]

7) นิเสธของขอความ “มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนเปนจํานวนคี่และจํานวนคี่
ทุกจํานวนไมเปนจํานวนอตรรกยะ” คือ “จํานวนตรรกยะทุกจํานวนไมเปน
จํานวนคี่หรือมีจํานวนคี่บางจํานวนเปนจํานวนอตรรกยะ”

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 323

8) นิเสธของขอความ “จํานวนนับทุกจํานวนมากกวาศูนยแตจํานวนเต็มบางจํานวน
ยกกําลังสองไมมากกวาศูนย” คือ “มีจํานวนนับบางจํานวนนอยกวาหรือเทากับ
ศูนยหรือกําลังสองของจํานวนเต็มใด ๆ มีคามากกวาศูนย”
15. 1) ∀x [ x ∈ ∧ x∉ ] สมมูลกับ ∀x (x∈ ∨ x∉ )
เนื่องจาก ( x ∈ ∨ x∉ ) ไมสมมูลกับ x∈ ∨ x∉

ดังนั้น ∀x [ x ∈ ∧ x∉ ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x ∈ ∨ x ∉ ]
2) ∀x x > 0 → x3 > 0 สมมูลกับ ∀x x ≤ 0 ∨ x3 > 0

เนื่องจาก x ≤ 0 ∨ x3 > 0 ไมสมมูลกับ x > 0 ∨ x3 > 0

ดังนั้น ∀x x > 0 → x3 > 0 ไมสมมูลกับ ∀x x > 0 ∨ x3 > 0

3) ∃x x 2 > 0 สมมูลกับ ( ∃x x 2 > 0 )


ซึ่งสมมูลกับ ( ∀x x ≤ 0 ) 2

ดังนั้น ∃x x > 0 สมมูลกับ ( ∀x


2
x2 ≤ 0 )
4) ∀x x = 9 ∧ x ≠ 3 สมมูลกับ ∃x x ≠ 9∨ x =3

ซึ่งสมมูลกับ ∃x x = 9 → x = 3

เนื่องจาก x=9→ x =3 ไมสมมูลกับ x =3→ x =9

ดังนั้น ∀x x = 9 ∧ x ≠ 3 ไมสมมูลกับ ∃x x =3→ x =9

5) ∃x [ x ∈ ]∧ ∃x [ x + 3 < 7 ] สมมูลกับ ∃x [ x + 3 < 7 ] ∧ ∃x [ x ∈ ]


ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x + 3 ≥ 7 ] ∧ ∃x [ x ∈ ]
เนื่องจาก ∀x [ x + 3 ≥ 7 ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x + 3 < 7 ]

ดังนั้น ∃x [ x ∈ ]∧ ∃x [ x + 3 < 7 ] ไมสมมูลกับ ∀x [ x + 3 < 7 ] ∧ ∃x [ x ∈ ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
324 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6) ( ∀x [ x > 0 ] → ∀x x2 − 1 ≥ 0 ) สมมูลกับ ( ∀x [ x > 0 ] ∨ ∀x x 2 − 1 ≥ 0 )


ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x > 0 ] ∧ ∃x x 2 − 1 < 0

ดังนั้น ∀x [ x > 0 ] ∧ ∃x x 2 − 1 < 0 สมมูลกับ ( ∀x [ x > 0 ] → ∀x x2 − 1 ≥ 0 )


7) ∃x x 2 − 7 ≠ 0 ∨ ∀x [ x > −5 ] สมมูลกับ ∀x [ x > −5 ] ∨ ∃x x 2
−7 ≠0

ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x > −5 ] ∨ ∀x x 2 − 7 = 0

และสมมูลกับ ∃x [ x ≤ −5 ] ∨ ∀x x 2 − 7 = 0

เนื่องจาก ∃x [ x ≤ −5 ] ไมสมมูลกับ ∃x [ x ≤ −5 ]

ดังนั้น ∃x x 2 − 7 ≠ 0 ∨ ∀x [ x > −5 ] ไมสมมูลกับ ∃x [ x ≤ −5 ] ∨ ∀x x 2 − 7 = 0

8) ( ∀x [ x ∈ ] ∧ ∀x [ x ≠ 7 ]) สมมูลกับ ∀x [ x ∈ ] ∨ ∀x [ x ≠ 7 ]
ซึ่งสมมูลกับ ∀x [ x ≠ 7 ] ∨ ∀x [ x ∈ ]
และสมมูลกับ ∃x [ x = 7 ] ∨ ∀x [ x ∈ ]
และสมมูลกับ ∃x [ x = 7 ] → ∀x [ x ∈ ]
ดังนั้น ( ∀x [ x ∈ ] ∧ ∀x [ x ≠ 7 ]) สมมูลกับ ∃x [ x = 7 ] → ∀x [ x ∈ ]
9) “จํานวนคี่ทุกจํานวนมากกวาศูนย” เขียนใหอยูในรูปสัญลักษณไดเปน
∀x[ x > 0], U เปนเซตของจํานวนคี่
“ไมจริงที่วาจํานวนคี่บางจํานวนนอยกวาหรือเทากับศูนย” เขียนใหอยูในรูป
สัญลักษณไดเปน ∃x[ x ≤ 0], U เปนเซตของจํานวนคี่
เนื่องจาก ∀x [ x > 0] สมมูลกับ ∃x[ x ≤ 0]

ดังนั้น จํานวนคี่ทุกจํานวนมากกวาศูนย สมมูลกับ ไมจริงที่วาจํานวนคี่บางจํานวน


นอยกวาหรือเทากับศูนย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 325

10) “มีจํานวนตรรกยะ x ที่ x2 = 0 หรือ x ≠ 0 ” เขียนใหอยูในรูปสัญลักษณได

เปน ∃x ∈ [ x2 = 0 ∨ x ≠ 0]

“ไมจริงที่วาจํานวนตรรกยะ x ทุกจํานวน ที่ x2 ≠ 0 หรือ x =0” เขียนใหอยู


ในรูปสัญลักษณไดเปน ∀x ∈ [ x 2 ≠ 0 ∨ x = 0]

เนื่องจาก ∀x ∈ [ x 2 ≠ 0 ∨ x = 0] สมมูลกับ ∃x ∈ [ x2 = 0 ∧ x ≠ 0]

และ x2 = 0 ∧ x≠ 0 ไมสมมูลกับ x2 = 0 ∨ x ≠0

ดังนั้น มีจํานวนตรรกยะ x ที่ x2 = 0 หรือ x ≠0 ไมสมมูลกับ ไมจริงที่วา


จํานวนตรรกยะ x ทุกจํานวน ที่ x2 ≠ 0 หรือ x =0

16. แสดงคุณสมบัติของพนักงานกับเงื่อนไขของการเลื่อนตําแหนงดังตารางตอไปนี้
ทํางานบริษัทนี้อยางนอย 3 ป
เงื่อนไข อายุไมต่ํากวา จบปริญญาโท
หรือทํางานดานคอมพิวเตอร
30 ป ขึ้นไป
ชื่อพนักงาน อยางนอย 7 ป
ฟาใส
รุงนภา
ธนา

จากตารางจะเห็นวา ฟาใส เปนพนักงานคนเดียวที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเงื่อนไขของการ


เลื่อนตําแหนงทั้ง 3 ขอ
ดังนั้น ฟาใสมีสิทธิ์ไดเลื่อนตําแหนง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
326 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

17. แสดงคุณสมบัติของพนักงานกับเงื่อนไขของการไดรับเงินรางวัลดังตารางตอไปนี้
เงื่อนไข ทํายอดขายใน 1 ป ได
ทํายอดขายใน 1 ป ได
ทํายอดขายใน 1 ป ได เกิน 10,000,000 บาท
เกิน 5,000,000 บาท
เกิน 3,000,000 บาท ไมลาพักผอน
และไมลากิจ
ชื่อพนักงาน และไมลากิจ
สุริยา
เมฆา
กมล
ทิวา
เนื่องจากพนักงานแตละคนจะสามารถรับเงินรางวัลที่ดีที่สุดไดเพียงรางวัลเดียว
ดังนั้น สุริยาจะไดรับเงินรางวัล 30,000 × 1.5 = 45,000 บาท
เมฆาจะไมไดรับเงินรางวัล
กมลจะไดรับเงินรางวัล 70,000 × 2 = 140,000 บาท
และทิวาจะไดรับเงินรางวัล 200,000 × 4 = 800,000 บาท
18. แสดงคุณสมบัติของผูกูกับเงื่อนไขของการกูเงินดังตารางตอไปนี้
เงื่อนไข ถาผูกูมีคูสมรส ผูกูตองมีเงินเหลือ
ผูกูตองมีเงินเดือน
แลวผูกูและคูสมรส หลังหักคาใชจายใน
ไมนอยกวา
ตองมีเงินเดือนรวมกัน แตละเดือน
30,000 บาท
ชื่อผูกู ไมนอยกวา 70,000 บาท มากกวา 5,000 บาท
สัญญา
กวิน
มานแกว ไมมีคูสมรส
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 327

จากตารางจะเห็นวา มานแกว เปนผูกูคนเดียวที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเงื่อนไขของ


การกูเงินทั้ง 3 ขอ
ดังนั้น มานแกว จะสามารถกูเงินกับบริษัทนี้ได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
328 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

บทที่ 3 านวน ริง

แบบฝกหัด 3.1
1. พิจารณาการเปนจํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ หรือจํานวนอตรรกยะ
ของจํานวนที่กําหนดให ไดดังนี้
จํานวนที่
จํานวนนับ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
กําหนดให
0 - -
2
- - -
3
−22
- - -
7
3.1416 - - -
4 +1 -
1 − ( −8 ) -
6 −1 - - -

- - -
22
0.09 - - -
12
− - -
3
( 2)
2
-
–3.999 - - -
( −1)
2
-

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 329

2. พิจารณาการเปนจริงหรือเท็จของขอความที่กําหนดให ไดดังนี้
1) เปนจริง
2) เปนจริง
3) เปนเท็จ
4) เปนเท็จ
5) เปนจริง
6) เปนจริง
7) เปนเท็จ
8) เปนจริง
9) เปนเท็จ

แบบฝกหัด 3.2
1. 1) สมบัติการสลับที่การคูณ
2) สมบัติการมีเอกลักษณการบวก
3) สมบัติการมีเอกลักษณการคูณ
4) สมบัติปดการคูณ
5) สมบัติการเปลี่ยนหมูการบวก
6) สมบัติการแจกแจง
7) สมบัติการมีตัวผกผันการคูณ
8) สมบัติการเปลี่ยนหมูการคูณ
9) สมบัติการมีตัวผกผันการบวก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
330 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10) สมบัติการสลับที่การบวก
2. ตัวผกผันการบวกและตัวผกผันการคูณของจํานวนที่กําหนดใหเปนดังนี้
จํานวนที่กําหนดให ตัวผกผันการบวก ตัวผกผันการคูณ
−4 4 1

4
1
5 − 5
5
2 2 7

7 7 2
5 5 11
− −
11 11 5
1− 7 (
− 1− 7 ) หรือ 1
−1 + 7 1− 7
1
3
2 −3 2 3
2
−8
− หรือ
−8 2+ 3 2+ 3

2+ 3 8 8
2+ 3

3. พิจารณาสมบัติของเซตที่กําหนดใหไดดังนี้
สมบัติปด
สมบัติปด สมบัติปด สมบัติปด
ของการหาร
เซตที่กําหนดให ของการ ของการ ของการ
(ตัวหารไม
บวก ลบ คูณ
เปนศูนย)
1) เซตของจํานวนนับ - -
2) เซตของจํานวนเต็ม -
3) เซตของจํานวนคี่ลบ - - - -
4) เซตของจํานวนคู -
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 331

สมบัติปด
สมบัติปด สมบัติปด สมบัติปด
ของการหาร
เซตที่กําหนดให ของการ ของการ ของการ
(ตัวหารไม
บวก ลบ คูณ
เปนศูนย)
5) เซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 3 ลงตัว -
6) เซตของจํานวนตรรกยะ
7) { ..., − 5, 0, 5, 10 } - - - -
8) { − 1, − 2, − 3, ... } - - -
9) { − 1, 0, 1} - -
1 1 1 1
10) , , , , , 1, 2, 4, 8, 16, - -
16 8 4 2

แบบฝกหัด 3.3
1. จากพหุนาม p ( x ) = 3 x 4 + 2 x 2 − ax + 3

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = 3 x 4 + 0 x 3 + 2 x 2 − ax + 3

จาก p ( x) = q ( x) จะได a = 5, b = 3 และ c=0

2. ให p ( x ) = x2 − 1 และ q ( x ) = x 2
− 2x + 3

1) p ( x) + q ( x) = (x 2
− 1) + ( x 2 − 2 x + 3)
= 2 x2 − 2 x + 2
2) q ( x) − p ( x) = (x 2
− 2 x + 3) − ( x 2 − 1)
= −2 x + 4
3) p ( x) q ( x) = (x 2
− 1)( x 2 − 2 x + 3)
= x 2 ( x 2 − 2 x + 3 ) − 1( x 2 − 2 x + 3 )
= (x 4
− 2 x 3 + 3 x 2 ) − ( x 2 − 2 x + 3)
= x 4 − 2 x3 + 2 x 2 + 2 x − 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
332 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3. ให p ( x ) = 3x 2 + 5 x − 1 และ q ( x ) = x 4
− 5x2 + 7

จะได p ( x) q ( x) = ( 3x + 5 x − 1)( x − 5 x + 7 )
2 4 2

= 3 x ( x − 5 x + 7 ) + 5 x ( x − 5 x + 7 ) − 1( x − 5 x + 7 )
2 4 2 4 2 4 2

= ( 3x − 15 x + 21x ) + ( 5 x − 25 x + 35 x ) − ( x − 5 x + 7 )
6 4 2 5 3 4 2

= 3 x 6 + 5 x 5 − 16 x 4 − 25 x 3 + 26 x 2 + 35 x − 7
4. ให x 2 − 12 x − 28 = ( x − a )( x − b )

นั่นคือ x 2 − 12 x − 28 = x ( x − b) − a ( x − b)

= (x 2
− bx ) − ( ax − ab )
= x 2 − ( a + b ) x + ab
จะได a + b = 12 และ ab = − 28

ให x2 − 2 x + 5 = ( x − a ) + b2 โดยที่
2
5. b>0

นั่นคือ x2 − 2 x + 5 = (x 2
− 2ax + a 2 ) + b 2
= x 2 − 2ax + (a 2 + b 2 )
จะได −2a = −2 นั่นคือ a =1

และ a 2 + b2 = 5 นั่นคือ b=2

ดังนั้น a =1 และ b=2

6. ให p( x) = x 2 + 3x , q ( x ) = x 2 − 1 และ r ( x ) = x − 1
จะได p ( x) q ( x) + r ( x) = (x 2
+ 3 x )( x 2 − 1) + ( x − 1)

= x 2 ( x 2 − 1) + 3 x ( x 2 − 1) + ( x − 1)
= (x 4
− x 2 ) + ( 3 x 3 − 3 x ) + ( x − 1)
= x 4 + 3x3 − x 2 − 2 x − 1
7. 1) วิธีที่ 1 พิจารณา 4 x 4 − 3x3 + 2 x 2 − 5 = ( 4 x − 3x + 2 x ) − 5
4 3 2

= x ( 4 x − 3x + 2 ) − 5
2 2

ดังนั้น ผลหาร คือ 4 x 2 − 3x + 2 และเศษเหลือ คือ −5


สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 333

วิธีที่ 2 จาก a ( x ) = 4 x − 3x + 2 x
4 3 2
−5

เขียนใหมไดเปน a ( x ) = 4 x 4
− 3x3 + 2 x 2 + 0 x − 5

ใชการหารยาวดังนี้
4 x 2 − 3x + 2
x 2 4 x 4 − 3x3 + 2 x 2 + 0 x − 5
4 x4
− 3x3 + 2 x 2 + 0 x − 5
−3 x 3
2 x2 + 0 x − 5
2 x2
−5

จะได 4 x 4 − 3x3 + 2 x 2 − 5 = x 2 ( 4 x 2 − 3x + 2 ) − 5

ดังนั้น ผลหาร คือ 4 x 2 − 3x + 2 และเศษเหลือ คือ −5

2) จาก a ( x ) = x 3
−2 เขียนใหมไดเปน a ( x ) = x3 + 0 x 2 + 0 x − 2

และ b ( x ) = x 2
+2

ใชการหารยาวดังนี้
x
x + 2 x3 + 0 x 2 + 0 x − 2
2

x3 + 2x
−2 x − 2

จะได x 3 − 2 = ( x 2 + 2 ) ( x ) + ( −2 x − 2 )

ดังนั้น ผลหาร คือ x และเศษเหลือ คือ −2 x − 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
334 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3) ใชการหารยาวดังนี้
x 4 − 3 x3 + 5 x 2 − 11 x + 21
x + 2 x5 − x 4 − x3 − x 2 − x − 2
x5 + 2 x 4
− 3x 4 − x3 − x2 − x− 2
− 3x − 6 x
4 3

5 x3 − x2 − x− 2
5 x + 10 x
3 2

− 11x 2 − x− 2
−11x 2 − 22 x
21x − 2
21x + 42
−44

จะได x 5 − x 4 − x 3 − x 2 − x − 2 = ( x + 2 ) ( x 4 − 3 x 3 + 5 x 2 − 11x + 21) − 44

ดังนั้น ผลหาร คือ x 4 − 3 x 3 + 5 x 2 − 11x + 21 และเศษเหลือ คือ −44

4) จาก a ( x ) = x 5
+1 เขียนใหมไดเปน a ( x ) = x5 + 0 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 1

และ b ( x ) = x 2
+1

ใชการหารยาวดังนี้
x3 − x
x 2 + 1 x5 + 0 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
x5 + x3
− x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
− x3 − x
x +1

จะได x 5 + 1 = ( x 2 + 1)( x 3 − x ) + ( x + 1)

ดังนั้น ผลหาร คือ x3 − x และเศษเหลือ คือ x +1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 335

5) จาก a ( x ) = x + x + 1
6 3

เขียนใหมไดเปน a ( x ) = x 6
+ 0 x5 + 0 x 4 + x3 + 0 x 2 + 0 x + 1 และ b ( x ) = x 3
−1

ใชการหารยาวดังนี้
x3 + 2
x3 − 1 x6 + 0 x5 + 0 x 4 + x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
x6 − x3
2 x3 + 0 x 2 + 0 x + 1
2 x3 −2
3

จะได x 6 + x 3 + 1 = ( x 3 − 1)( x 3 + 2 ) + 3

ดังนั้น ผลหาร คือ x3 + 2 และเศษเหลือ คือ 3

แบบฝกหัด 3.4
1. 1) ให p ( x ) = x 4 − 3x + 5

จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 2 )


โดยที่ p ( 2) = ( 2) − 3( 2) + 5
4

= 16 − 6 + 5
= 15

ดังนั้น เศษเหลือ คือ 15


2) ให p ( x ) = 2 x3 + 7 x 2 − 5 x − 4

จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x + 3 จะไดเศษเหลือ คือ p ( −3)


โดยที่ p ( −3) = 2 ( −3) + 7 ( −3) − 5 ( −3) − 4
3 2

= 2 ( −27 ) + 7 ( 9 ) − 5 ( −3) − 4
= −54 + 63 + 15 − 4
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
336 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

= 20
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 20

3) ให p ( x ) = 6 x 3 + 13x 2 − 4

จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x + 2 จะไดเศษเหลือ คือ p ( −2 )


โดยที่ p ( −2 ) = 6 ( −2 ) + 13 ( −2 ) − 4
3 2

= 6 ( −8 ) + 13 ( 4 ) − 4
= −48 + 52 − 4
= 0
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 0 (แสดงวา x + 2 หาร 6 x 3 + 13 x 2 − 4 ลงตัว)
4) ให p ( x ) = x 4 − 3x3 + 4 x 2 − x + 6

จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 1 จะไดเศษเหลือ คือ p (1)


โดยที่ p (1) = (1) − 3 (1) + 4 (1) − 1 + 6
4 3 2

= 1− 3 + 4 −1+ 6
= 7
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 7

5) ให p ( x ) = 2 x 4 − 5 x3 − x 2 + 3x + 1
1 1
จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x+ จะไดเศษเหลือ คือ p −
2 2
4 3 2
1 1 1 1 1
โดยที่ p − = 2 − −5 − − − +3 − +1
2 2 2 2 2
1 1 1 1
= 2 − 5 − − + 3 − +1
16 8 4 2
1 5 1 3
= + − − +1
8 8 4 2
= 0
1
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 0 (แสดงวา x + หาร 2 x 4 − 5 x3 − x 2 + 3x + 1 ลงตัว)
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 337

2. ให p ( x ) = x3 − 2 x 2 − 5 x + 6

จะได p (1) (1) − 2 (1) − 5 (1) + 6


3 2
=
= 1− 2 − 5 + 6
= 0
ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ x3 − 2 x 2 − 5 x + 6

3. ให p ( x ) = x3 + x 2 + x + 1

จะได p ( −1) ( −1) + ( −1) + ( −1) + 1


3 2
=
= −1 + 1 − 1 + 1
= 0
ดังนั้น x +1 เปนตัวประกอบของ x3 + x 2 + x + 1

4. 1) ให p ( x ) = x3 − 2 x 2 + 8 x − m

จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x − 5 จะไดเศษเหลือ คือ p ( 5)


โดยที่ p ( 5) = ( 5) − 2 ( 5) + 8 ( 5) − m
3 2

= 125 − 50 + 40 − m
= 115 − m
เนื่องจาก x−5 หาร x3 − 2 x 2 + 8 x − m ลงตัว นั่นคือ p ( 5) = 0

จะได 115 − m = 0 นั่นคือ m = 115

ดังนั้น x−5 หาร x3 − 2 x 2 + 8 x − m ลงตัว เมื่อ m = 115

2) ให p ( x ) = 3 x 4 − 2 x 3 + mx − 1
2 2
จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x+ จะไดเศษเหลือ คือ p −
3 3
4 3
2 2 2 2
โดยที่ p − = 3 − −2 − +m − −1
3 3 3 3
16 8 2
= 3 −2 − + m − −1
81 27 3
16 16 2
= + − m −1
27 27 3
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
338 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5 2
= − m
27 3
2 2
เนื่องจาก x+ หาร 3 x 4 − 2 x 3 + mx − 1 เหลือเศษ −1 นั่นคือ p − = −1
3 3
5 2 16
จะได − m = −1 นั่นคือ m=
27 3 9
2 16
ดังนั้น x+ หาร 3 x 4 − 2 x 3 + mx − 1 เหลือเศษ −1 เมื่อ m=
3 9
3) ให p ( x ) = x2 − 5x − 2

จากทฤษ ีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย x + m จะไดเศษเหลือ คือ p ( −m )


โดยที่ p ( −m ) = ( −m ) − 5 ( −m ) − 2
2

= m 2 + 5m − 2
เนื่องจาก x+m หาร x2 − 5x − 2 เหลือเศษ −8 นั่นคือ p ( −m ) = − 8

จะได m 2 + 5m − 2 = −8
m 2 + 5m + 6 = 0
( m + 2 )( m + 3) = 0
จะได m = −2 หรือ m = −3

ดังนั้น x+m หาร x2 − 5x − 2 เหลือเศษ −8 เมื่อ m = −2 หรือ m = −3

5. 1) วิธีที่ 1 ให p ( x ) = x − x − 4 x + 4
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ 1, 2, 4

พิจารณา p (1)

p (1) = (1) − (1) − 4 (1) + 4 = 0


3 2

จะเห็นวา p (1) = 0

ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ x3 − x 2 − 4 x + 4

นํา x −1 ไปหาร x3 − x 2 − 4 x + 4 ไดผลหารเปน x2 − 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 339

ดังนั้น x3 − x 2 − 4 x + 4 = ( x − 1) ( x 2 − 4 )
= ( x − 1)( x − 2 )( x + 2 )
วิธีที่ 2 x3 − x 2 − 4 x + 4 = (x 3
− x2 ) − ( 4 x − 4)

= x 2 ( x − 1) − 4 ( x − 1)
= (x 2
− 4 ) ( x − 1)

= ( x − 2 )( x + 2 )( x − 1)
2) ให p ( x ) = x 3 + x 2 − 8 x − 12

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −12 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 4, 6, 12

พิจารณา p ( −2 )

p ( −2 ) = ( −2 ) + ( −2 ) − 8 ( −2 ) − 12 = 0
3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) = 0 ดังนั้น x+2 เปนตัวประกอบของ x 3 + x 2 − 8 x − 12

นํา x+2 ไปหาร x 3 + x 2 − 8 x − 12 ไดผลหารเปน x2 − x − 6

ดังนั้น x 3 + x 2 − 8 x − 12 = ( x + 2) ( x2 − x − 6)
= ( x + 2 )( x + 2 )( x − 3)
( x + 2 ) ( x − 3) d
2
=

3) ให p ( x ) = x 4 − 2 x3 − x 2 − 4 x − 6

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −6 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 6

พิจารณา p ( −1)

p ( −1) = ( −1) − 2 ( −1) − ( −1) − 4 ( −1) − 6 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p ( −1) = 0 ดังนั้น x +1 เปนตัวประกอบของ x 4 − 2 x3 − x 2 − 4 x − 6

นํา x +1 ไปหาร x 4 − 2 x3 − x 2 − 4 x − 6 ไดผลหารเปน x3 − 3x 2 + 2 x − 6

ดังนั้น x 4 − 2 x3 − x 2 − 4 x − 6 = ( x + 1) ( x3 − 3x 2 + 2 x − 6 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
340 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

= ( x + 1) ( x3 − 3x 2 ) + ( 2 x − 6 )
= ( x + 1) x 2 ( x − 3) + 2 ( x − 3)
= ( x + 1)( x − 3) ( x 2 + 2 )
4) ให p ( x ) = x3 − 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ 1

พิจารณา p (1)

p (1) = (1) − 1 = 0
3

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ x3 − 1

นํา x −1 ไปหาร x3 − 1 ไดผลหารเปน x2 + x + 1

ดังนั้น x3 − 1 = ( x − 1) ( x 2 + x + 1) s
5) วิธีที่ 1 ให p ( x ) = x4 − 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ 1

พิจารณา p (1)

p (1) = (1) − 1 = 0
4

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ x4 − 1

นํา x −1 ไปหาร x4 − 1 ไดผลหารเปน x3 + x 2 + x + 1

ดังนั้น x4 − 1 = ( x − 1) ( x3 + x 2 + x + 1)
= ( x − 1) ( x3 + x 2 ) + ( x + 1)
= ( x − 1) x 2 ( x + 1) + ( x + 1)
= ( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1)
วิธีที่ 2 x4 − 1 = ( x ) −1
2 2

= ( x − 1)( x
2 2
+ 1)
= ( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 341

6) วิธีที่ 1 ให p ( x ) = x4 − 5x2 + 4

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ 1, 2, 4

พิจารณา p (1)

p (1) = (1) − 5 (1) + 4 = 0


4 2

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ x4 − 5x2 + 4

นํา x −1 ไปหาร x4 − 5x2 + 4 ไดผลหารเปน x3 + x 2 − 4 x − 4

ดังนั้น x4 − 5x2 + 4 = ( x − 1) ( x3 + x 2 − 4 x − 4 )
= ( x − 1) ( x3 + x 2 ) − ( 4 x + 4 )
= ( x − 1) x 2 ( x + 1) − 4 ( x + 1)
= ( x − 1)( x + 1) ( x 2 − 4 )
= ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( x + 2 )
วิธีที่ 2 x4 − 5x2 + 4 = (x 2
− 1)( x 2 − 4 )

= ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( x + 2 ) s
7) ให p ( x ) = x 4 − 2 x3 + x 2 − 4 x + 4

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ 1, 2, 4

พิจารณา p (1)

p (1) = (1) − 2 (1) + (1) − 4 (1) + 4 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ x 4 − 2 x3 + x 2 − 4 x + 4

นํา x −1 ไปหาร x 4 − 2 x3 + x 2 − 4 x + 4 ไดผลหารเปน x3 − x 2 − 4

ดังนั้น x 4 − 2 x3 + x 2 − 4 x + 4 = ( x − 1) ( x3 − x 2 − 4 )
ให q ( x ) = x3 − x 2 − 4

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −4 ลงตัว คือ 1, 2, 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
342 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิจารณา q ( 2 )
q ( 2) = ( 2) − ( 2) − 4 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( 2 ) = 0 ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x 3


− x2 − 4

นํา x − 2 ไปหาร x − x − 4 ไดผลหารเปน x + x + 2


3 2 2

ดังนั้น x3 − x 2 − 4 = ( x − 2) ( x2 + x + 2)
จะได x 4 − 2 x3 + x 2 − 4 x + 4 = ( x − 1)( x − 2 ) ( x 2 + x + 2 )
8) ให p ( x ) = x 4 − 2 x 3 − 13x 2 + 14 x + 24

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 24 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24

พิจารณา p ( −1)

p ( −1) = ( −1) − 2 ( −1) − 13 ( −1) + 14 ( −1) + 24 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p ( −1) = 0 ดังนั้น x +1 เปนตัวประกอบของ x 4 − 2 x 3 − 13 x 2 + 14 x + 24

นํา x +1 ไปหาร x 4 − 2 x 3 − 13 x 2 + 14 x + 24 ไดผลหารเปน x 3 − 3 x 2 − 10 x + 24

ดังนั้น x 4 − 2 x 3 − 13 x 2 + 14 x + 24 = ( x + 1) ( x3 − 3x 2 − 10 x + 24 )
ให q ( x ) = x 3 − 3 x 2 − 10 x + 24

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 24 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24

พิจารณา q ( 2 )
q ( 2 ) = ( 2 ) − 3 ( 2 ) − 10 ( 2 ) + 24 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( 2 ) = 0 ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x − 3x − 10 x + 24 3 2

นํา x − 2 ไปหาร x − 3x − 10 x + 24 ไดผลหารเปน x − x − 12


3 2 2

ดังนั้น x 3 − 3 x 2 − 10 x + 24 = ( x − 2 ) ( x 2 − x − 12 )
จะได x 4 − 2 x 3 − 13 x 2 + 14 x + 24 = ( x + 1)( x − 2 ) ( x 2 − x − 12 )
= ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 343

6. 1) ให p ( x ) = 6 x 3 − 11x 2 + 6 x − 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ 1

และจํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 6

พิจารณา p (1)

p (1) = 6 (1) − 11(1) + 6 (1) − 1 = 0


3 2

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ 6 x 3 − 11x 2 + 6 x − 1

นํา x −1 ไปหาร 6 x 3 − 11x 2 + 6 x − 1 ไดผลหารเปน 6 x2 − 5x + 1

ดังนั้น 6 x 3 − 11x 2 + 6 x − 1 = ( x − 1) ( 6 x 2 − 5 x + 1)
= ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1) ก
2) ให p ( x ) = 6 x 3 + x 2 − 11x − 6

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −6 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 6

และจํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ 1, 2, 3, 6

พิจารณา p ( −1)

p ( −1) = 6 ( −1) + ( −1) − 11( −1) − 6 = 0


3 2

จะเห็นวา p ( −1) = 0 ดังนั้น x +1 เปนตัวประกอบของ 6 x3 + x 2 − 11x − 6

นํา x +1 ไปหาร 6 x3 + x 2 − 11x − 6 ไดผลหารเปน 6 x2 − 5x − 6

ดังนั้น 6 x3 + x 2 − 11x − 6 = ( x + 1) ( 6 x 2 − 5 x − 6 )
= ( x + 1)( 3x + 2 )( 2 x − 3)
3) ให p ( x ) = 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ 1

และจํานวนเต็มที่หาร 8 ลงตัว คือ 1, 2, 4, 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
344 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1
พิจารณา p −
2
4 3 2
1 1 1 1 1
p − =8 − +8 − +6 − +4 − +1 = 0
2 2 2 2 2
1 1
จะเห็นวา p − =0 ดังนั้น x+ เปนตัวประกอบของ 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1
2 2
1
นํา x+ ไปหาร 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1 ไดผลหารเปน 8 x3 + 4 x 2 + 4 x + 2
2
1
ดังนั้น 8 x 4 + 8 x3 + 6 x 2 + 4 x + 1 = x+
2
(8 x 3
+ 4 x2 + 4 x + 2)

1
= x+
2
(8 x 3
+ 4x2 ) + ( 4x + 2)

1
= x+ 4 x 2 ( 2 x + 1) + 2 ( 2 x + 1)
2
1
= x+ ( 2 x + 1) ( 4 x 2 + 2 )
2
1
= 2 x+ ( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1)
2
= ( 2 x + 1)( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1)
( 2 x + 1) ( 2 x 2 + 1)
2
=

ก 4) ให p ( x ) = 3x 4 − 8 x3 + x 2 + 8 x − 4

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −4 ลงตัว คือ 1, 2, 4

และจํานวนเต็มที่หาร 3 ลงตัว คือ 1, 3

พิจารณา p (1)

p (1) = 3 (1) − 8 (1) + (1) + 8 (1) − 4 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p (1) = 0 ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ 3x 4 − 8 x3 + x 2 + 8 x − 4

นํา x −1 ไปหาร 3x 4 − 8 x3 + x 2 + 8 x − 4 ไดผลหารเปน 3x3 − 5 x 2 − 4 x + 4

ดังนั้น 3x 4 − 8 x3 + x 2 + 8 x − 4 = ( x − 1) ( 3x3 − 5 x 2 − 4 x + 4 )
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 345

ให q ( x ) = 3x3 − 5 x 2 − 4 x + 4

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ 1, 2, 4

และจํานวนเต็มที่หาร 3 ลงตัว คือ 1, 3

พิจารณา q ( −1)
q ( −1) = 3 ( −1) − 5 ( −1) − 4 ( −1) + 4 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( −1) = 0 ดังนั้น x + 1 เปนตัวประกอบของ 3x − 5 x 3 2


− 4x + 4

นํา x + 1 ไปหาร 3x − 5 x − 4 x + 4 ไดผลหารเปน 3x − 8 x + 4


3 2 2

ดังนั้น 3x3 − 5 x 2 − 4 x + 4 = ( x + 1) ( 3x 2 − 8 x + 4 )
จะได 3x 4 − 8 x3 + x 2 + 8 x − 4 = ( x − 1)( x + 1) ( 3x 2 − 8 x + 4 )
= ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3x − 2 )

แบบฝกหัด 3.5
1. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงจํานวนสมาชิกของเซตไดดังนี้
1) เนื่องจาก x 3 − 2 x 2 − 5 x + 6 = ( x − 1) ( x 2 − x − 6 ) = ( x − 1)( x + 2 )( x − 3)

จะได ( x − 1)( x + 2 )( x − 3) = 0
ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x + 2 = 0 หรือ x−3 = 0

จะได x =1 หรือ x = −2 หรือ x=3

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1, 3 }


2) เนื่องจาก x 3 + x 2 − 8 x − 12 = ( x + 2 )( x + 2 )( x − 3)

จะได ( x + 2 )( x + 2 )( x − 3) = 0
ดังนัน้ x + 2 = 0 หรือ x − 3 = 0
จะได x = −2 หรือ x=3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
346 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 3 } ก


3) เนื่องจาก 1 − 3 x 2 + 2 x 3 = ( x − 1)( x − 1)( 2 x + 1)

จะได ( x − 1)( x − 1)( 2 x + 1) = 0


ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ 2 x + 1 = 0
1
จะได x =1 หรือ x=−
2
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − ,1
2
4) จัดรูปสมการใหมไดเปน 3x3 − 2 x 2 − 7 x − 2 = 0

เนื่องจาก 3 x 3 − 2 x 2 − 7 x − 2 = ( x + 1)( x − 2 )( 3 x + 1)

จะได ( x + 1)( x − 2 )( 3x + 1) = 0
ดังนั้น x + 1 = 0 หรือ x − 2 = 0 หรือ 3x + 1 = 0
1
จะได x = −1 หรือ x=2 หรือ x=−
3
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 1, − , 2
3
5) เนื่องจาก 6 − 13 x + 4 x 3 = ( x + 2 )( 2 x − 1)( 2 x − 3)

จะได ( x + 2 )( 2 x − 1)( 2 x − 3) = 0
ดังนั้น x + 2 = 0 หรือ 2 x − 1 = 0 หรือ 2x − 3 = 0
1 3
จะได x = −2 หรือ x= หรือ x=
2 2
1 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 2, ,
2 2
6) เนื่องจาก x 3 − 3 x 2 + x + 2 = ( x − 2 ) ( x 2 − x − 1)

จะได ( x − 2 ) ( x − x − 1) = 0
2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ x − x − 1 = 02

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 347

1 5
จะได x=2 หรือ x=
2
1+ 5 1− 5
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ 2, ,
2 2

7) จัดรูปสมการใหมไดเปน 2 x3 − 3x 2 − 5 x + 6 = 0

เนื่องจาก 2 x 3 − 3 x 2 − 5 x + 6 = ( x − 1)( x − 2 )( 2 x + 3)

จะได ( x − 1)( x − 2 )( 2 x + 3) = 0
ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x − 2 = 0 หรือ 2x + 3 = 0
3
จะได x =1 หรือ x=2 หรือ x=−
2
3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − , 1, 2
2
8) เนื่องจาก x 3 − x 2 − x − 2 = ( x − 2 ) ( x 2 + x + 1)

จะได ( x − 2 ) ( x + x + 1) = 0
2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ x + x + 1 = 0
2

ถา x−2 = 0 จะได x=2

ถา และเนื่องจาก (1) − 4 (1)(1) = − 3


x2 + x + 1 = 0
2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 }
9) เนื่องจาก 4 x3 + 13 x 2 + 4 x − 12 = ( x + 2 )( x + 2 )( 4 x − 3)

จะได ( x + 2 )( x + 2 )( 4 x − 3) = 0
ดังนั้น x + 2 = 0 หรือ 4 x − 3 = 0
3
จะได x = −2 หรือ x=
4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
348 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 2,
4
10) จัดรูปสมการใหมไดเปน 2 x 4 − 13x3 + 28 x 2 − 23x + 6 = 0

เนื่องจาก 2 x 4 − 13 x 3 + 28 x 2 − 23 x + 6 = ( x − 1)( x − 2 )( x − 3)( 2 x − 1)

จะได ( x − 1)( x − 2 )( x − 3)( 2 x − 1) = 0


ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x − 2 = 0 หรือ x−3 = 0 หรือ 2x −1 = 0
1
จะได x =1 หรือ x=2 หรือ x=3 หรือ x=
2
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ , 1, 2, 3
2
11) เนื่องจาก 4 x 4 − 4 x 3 − 9 x 2 + x + 2 = ( x + 1)( x − 2 )( 2 x − 1)( 2 x + 1)

จะได ( x + 1)( x − 2 )( 2 x − 1)( 2 x + 1) = 0


ดังนั้น x + 1 = 0 หรือ x − 2 = 0 หรือ 2 x − 1 = 0 หรือ 2x + 1 = 0
1 1
จะได x = −1 หรือ x=2 หรือ x= หรือ x=−
2 2
1 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 1, − , , 2
2 2
12) จัดรูปสมการใหมไดเปน 3x 4 − 8 x3 + x 2 + 8 x − 4 = 0

เนื่องจาก 3 x 4 − 8 x 3 + x 2 + 8 x − 4 = ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3 x − 2 )

จะได ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )( 3x − 2 ) = 0


ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x + 1 = 0 หรือ x−2 = 0 หรือ 3x − 2 = 0
2
จะได x =1 หรือ x = −1 หรือ x=2 หรือ x=
3
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 1, , 1, 2
3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 349

13) เนื่องจาก x 4 − 2 x 3 − 13x 2 + 14 x + 24 = ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 )

จะได ( x + 1)( x − 2 )( x + 3)( x − 4 ) = 0


ดังนั้น x + 1 = 0 หรือ x − 2 = 0 หรือ x+3 = 0 หรือ x−4 = 0

จะได x = −1 หรือ x=2 หรือ x = −3 หรือ x=4

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3, − 1, 2, 4 }


2. ใหจํานวนคี่สามจํานวนที่เรียงติดกัน คือ x − 2, x , x + 2

ดังนั้น ( x − 2 )( x )( x + 2 ) = 1, 287
นั่นคือ x − 4 x − 1287 =
3
0

( x − 11) ( x 2 + 11x + 117 ) = 0


ดังนั้น x − 11 = 0 หรือ x 2 + 11x + 117 = 0

ถา x − 11 = 0 จะได x = 11

ถา และเนื่องจาก (11) − 4 (1)(117 ) = − 347


x 2 + 11x + 117 = 0
2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนั้น x = 11

สรุปไดวา จํานวนที่นอยที่สุด คือ 11 − 2 = 9


3. ความสัมพันธระหวางเวลากับความสูงของลูกบอลจากพื้นดินแทนดวยสมการ
s ( t ) = 12 + 28t − 5t 2

จัดรูปสมการใหมไดเปน s ( t ) = − 5t 2
+ 28t + 12

ลูกบอลจะกระทบพื้นเมื่อ s ( t ) = 0
นั่นคือ −5t 2 + 28t + 12 = 0
5t 2 − 28t − 12 = 0
( 5t + 2 )( t − 6 ) = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
350 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น 5t + 2 = 0 หรือ t −6 = 0
2
จะได t=− หรือ t=6
5
ดังนั้น ลูกบอลจะลอยอยูในอากาศนาน 6 วินาที กอนตกกระทบพื้นดินครั้งแรก

แบบฝกหัด 3.6
x3 − 1 ( x − 1) ( x 2 + x + 1)
1. 1) =
x −1 x −1
= x + x +1
2
เมื่อ x ≠ 1ด

2)
4 x2 − 9
=
( 2 x − 3)( 2 x + 3)
2 x2 + x − 3 ( 2 x + 3)( x − 1)
2x − 3 3
= เมื่อ x≠−
x −1 2

3)
x3 − x 2 − x + 1
=
(x 3
− x 2 ) − ( x − 1)
x 4 − 4 x3 + 4 x 2 − 1 (x 4
− 1) − ( 4 x 3 − 4 x 2 )
x 2 ( x − 1) − ( x − 1)
=
(x 2
− 1)( x 2 + 1) − 4 x 2 ( x − 1)
x 2 ( x − 1) − ( x − 1)
=
( x − 1)( x + 1) ( x 2 + 1) − 4 x 2 ( x − 1)
( x − 1) ( x 2 − 1)
=
( x − 1) ( x + 1) ( x 2 + 1) − 4 x 2
( x − 1)( x + 1)
= เมื่อ x ≠1
(x 3
+ x 2 + x + 1) − 4 x 2

=
( x − 1)( x + 1)
x3 − 3x 2 + x + 1
( x − 1)( x + 1)
=
( x − 1) ( x 2 − 2 x − 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 351

x +1
= เมื่อ x ≠1 ด
x − 2x −1
2

x 2 − 3x x2 − 4 x ( x − 3) ( x − 2 )( x + 2 )
2. 1) ⋅ = ⋅
x2 − x − 2 x2 − x − 6 ( x − 2 )( x + 1) ( x − 3)( x + 2 )
x
= เมื่อ x ≠ − 2, x ≠ 2 และ x≠3
x +1
x3 − 1 x3 + 1 ( x − 1) ( x 2 + x + 1) ( x + 1) ( x 2 − x + 1)
2) ⋅ = ⋅
x2 − x + 1 x2 + x + 1 x2 − x + 1 x2 + x + 1
2
1 3
= ( x − 1)( x + 1) เนื่องจาก x2 x +1 = x + >0
2 4
= x2 − 1
x 2 + 3 x − 10 x+5 x 2 + 3 x − 10 x + 2
3) = ⋅
x+2 x+2 x+2 x+5

=
( x + 5)( x − 2 ) ⋅ x + 2
x+2 x+5
= x−2 เมื่อ x ≠ −2 และ x ≠ −5

2x − 8 x 2 − 16 2 x − 8 x3 + x 2
4) = ⋅ 2
x2 x3 + x 2 x2 x − 16
2 ( x − 4) x 2 ( x + 1)
= ⋅
x2 ( x − 4 )( x + 4 )
2 ( x + 1)
= เมื่อ x≠0 และ x≠4
x+4
2x + 2
= เมื่อ x≠0 และ x≠4
x+4
1 1 1 ( x + 1)( x + 2 ) + x ( x + 2 ) + x ( x + 1)
3. 1) + + =
x x +1 x + 2 x ( x + 1)( x + 2 ) x ( x + 1)( x + 2 ) x ( x + 1)( x + 2 )

=
(x 2
+ 3x + 2 ) + ( x 2 + 2 x ) + ( x 2 + x )
x ( x + 1)( x + 2 )
3x 2 + 6 x + 2
=
x ( x + 1)( x + 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
352 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x x −1 x x −1
2) + = +
x + x − 6 x2 + 5x + 6
2
( x − 2 )( x + 3) ( x + 2 )( x + 3)
x ( x + 2) ( x − 1)( x − 2 )
= +
( x − 2 )( x + 2 )( x + 3) ( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)

=
(x 2
+ 2 x ) + ( x 2 − 3x + 2 )
( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)
2 x2 − x + 2
=
( x − 2 )( x + 2 )( x + 3)
2 2 1 2 ( x + 1)( x + 2 ) 2 ( 3 x )( x + 2 )
( 3x )( x + 1)
3) − + = − +
3x x + 1 x + 2 3 x ( x + 1)( x + 2 ) 3 x ( x + 1)( x + 2 ) 3 x ( x + 1)( x + 2 )

=
( 2x 2
+ 6 x + 4 ) − ( 6 x 2 + 12 x ) + ( 3 x 2 + 3 x )
3 x ( x + 1)( x + 2 )
− x 2 − 3x + 4
=
3 x ( x + 1)( x + 2 )
x2 − 5 4 x2 − 5 4
4) − 2 = −
x − 5x + 6 x − 4
2
( x − 2 )( x − 3) ( x − 2 )( x + 2 )

=
(x 2
− 5) ( x + 2 )

4 ( x − 3)
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3) ( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)

=
( x3 + 2 x 2 − 5 x − 10 ) − ( 4 x − 12 )
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
x3 + 2 x 2 − 9 x + 2
=
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
( x − 2 ) ( x 2 + 4 x − 1)
=
( x − 2 )( x + 2 )( x − 3)
x2 + 4 x − 1
= เมื่อ x≠2
( x + 2 )( x − 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 353

แบบฝกหัด 3.7
1. 1) จัดรูปสมการใหมไดเปน ด
x ( x − 1) 2
− = 0
( x + 1)( x + 2 ) ( x + 1)( x + 2 )
x2 − x − 2
= 0
( x + 1)( x + 2 )
( x − 2 )( x + 1) = 0
( x + 1)( x + 2 )
x−2
= 0 เมื่อ x ≠ −1
x+2
จะได x−2 = 0 และ x+2 ≠ 0

นั่นคือ x=2 โดยที่ x ≠ −2 และ x ≠ −1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 }


x x +1
2) จาก + = 0
x −1 x
x2
+
( x + 1)( x − 1) = 0
x ( x − 1) x ( x − 1)
x 2 + ( x 2 − 1)
= 0
x ( x − 1)
2 x2 − 1
= 0
x ( x − 1)

จะได 2 x2 − 1 = 0 และ x ( x − 1) ≠ 0
1 1
จะได x=− หรือ x= โดยที่ x≠0 และ x ≠1
2 2
1 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − ,
2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
354 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3) จัดรูปสมการใหมไดเปน
1 x+6
− = 0
x x2 + 3
x2 + 3

( x + 6 )( x )
= 0
x ( x + 3) x ( x 2 + 3)
2

(x 2
+ 3) − ( x 2 + 6 x )
= 0
x ( x 2 + 3)
−6 x + 3
= 0
x ( x 2 + 3)

จะได −6 x + 3 = 0 และ x ( x 2
+ 3) ≠ 0

เนื่องจาก x2 + 3 > 0 เสมอ


1
จะได x= โดยที่ x≠0
2
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ด
2
1 4
4) จาก − = 1
x x −1
x −1 4x
− = 1
x ( x − 1) x ( x − 1)
( x − 1) − 4 x = 1
x ( x − 1)
−3 x − 1
= 1
x ( x − 1)
−3 x − 1
−1 = 0
x ( x − 1)
−3 x − 1 x ( x − 1)
− = 0
x ( x − 1) x ( x − 1)
( −3x − 1) − x ( x − 1) = 0
x ( x − 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 355

( −3x − 1) − ( x 2 − x )
= 0
x ( x − 1)
− x2 − 2 x − 1
= 0
x ( x − 1)
x2 + 2 x + 1
= 0
x ( x − 1)

( x + 1)
2

= 0
x ( x − 1)

จะได ( x + 1) = 0 และ x ( x − 1) ≠ 0
2

นั่นคือ x = − 1 โดยที่ x ≠ 0 และ x ≠ 1


ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
1 1 1 1
5) จาก + 2 = + ด
x +1 x + x x x2
1 1 1 1
+ = +
x + 1 x ( x + 1) x x2
x 1 x 1
+ = + 2
x ( x + 1) x ( x + 1) x 2
x
x +1 x +1
=
x ( x + 1) x2
x +1 x +1
− 2 = 0
x ( x + 1) x
x ( x + 1) ( x + 1)( x + 1)
− = 0
x ( x + 1)
2
x 2 ( x + 1)
x ( x + 1) − ( x + 1)( x + 1)
= 0
x 2 ( x + 1)

(x 2
+ x ) − ( x 2 + 2 x + 1)
= 0
x 2 ( x + 1)
−x −1
= 0
x ( x + 1)
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
356 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x +1
= 0
x ( x + 1)
2

1
= 0 เมื่อ x ≠ −1
x2
จะเห็นวาไมมีจํานวนจริง x ที่ทําใหสมการนี้เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

6) จัดรูปสมการใหมไดเปน
1 1 6
+ − = 0
x +1 x −1 5
2

( x − 1)( 5) + ( x 2 + 1) ( 5) − 6 ( x − 1) ( x 2 + 1)
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)

( 5 x − 5) + ( 5 x 2 + 5) − ( 6 x3 − 6 x 2 + 6 x − 6 )
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)
−6 x 3 + 11x 2 − x + 6
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)
6 x 3 − 11x 2 + x − 6
= 0
5 ( x − 1) ( x 2 + 1)

( x − 2 ) ( 6 x 2 + x + 3)
= 0
( x − 1) ( x 2 + 1)
จะได ( x − 2 ) ( 6 x + x + 3) = 0 และ ( x − 1) ( x + 1) ≠ 0
2 2

เนื่องจาก 12 − 4 ( 6 )( 3) < 0 จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให 6 x2 + x + 3 = 0

และเนื่องจาก x2 + 1 > 0 เสมอ


จะได x=2 โดยที่ x ≠1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 }

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 357

1 x 1
7) จาก − 2 =
x − 2 x +1 6
x2 + 1 x ( x − 2) 1
− =
( x − 2 ) ( x + 1) ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
2
6

(x 2
+ 1) − ( x 2 − 2 x )
=
1
( x − 2) ( x 2
+ 1) 6
2x + 1 1
=
( x − 2 ) ( x 2 + 1) 6
2x + 1 1
− = 0
( x − 2 ) ( x + 1) 6
2

6 ( 2 x + 1) ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
− = 0
6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1) 6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1)

(12 x + 6 ) − ( x3 − 2 x 2 + x − 2 )
= 0
6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
− x 3 + 2 x 2 + 11x + 8
= 0
6 ( x − 2 ) ( x 2 + 1)
x 3 − 2 x 2 − 11x − 8
= 0
( x − 2 ) ( x 2 + 1)
( x + 1) ( x 2 − 3x − 8)
= 0
( x − 2 ) ( x 2 + 1)
จะได ( x + 1) ( x − 3x − 8) = 0 และ ( x − 2 ) ( x
2 2
+ 1) ≠ 0

เนื่องจาก x + 1 > 0 เสมอ


2

3 − 41 3 + 41
จะได x = −1 , x = หรือ x= โดยที่ x≠2
2 2
3 − 41 3 + 41
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 1, ,
2 2
1 1 2
8) จาก − 2 =
x − x +1 x + x +1
2
3x

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
358 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x + x + 1) − ( x − x + 1)
2 2

=
2
( x − x + 1)( x + x + 1)
2 2
3x
2x 2
=
( x − x + 1)( x 2 + x + 1)
2
3x
2x 2
− = 0
( x − x + 1)( x + x + 1) 3x
2 2

x 1
− = 0
(x 2
− x + 1)( x + x + 1) 2
3x

( x )( 3x ) − ( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1)
= 0
( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3x )
3 x 2 − ( x 4 + x 2 + 1)
= 0
(x 2
− x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3 x )
− x4 + 2 x2 − 1
= 0
( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3x )
x4 − 2 x2 + 1
= 0
( x 2 − x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3x )
( x − 1) 2 2

= 0
( x − x + 1)( x + x + 1) ( 3x )
2 2

( x − 1) ( x + 1)
2 2

= 0
(x 2
− x + 1)( x 2 + x + 1) ( 3 x )

จะได ( x − 1) ( x + 1) = 0 และ ( x − x + 1)( x + x + 1) ( 3x ) ≠ 0


2 2 2 2

เนื่องจาก ( −1)2 − 4 (1)(1) < 0 จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให x2 − x + 1 = 0

และเนื่องจาก 12 − 4 (1)(1) < 0 จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให x2 + x + 1 = 0

จะได x = −1 หรือ x =1 โดยที่ x≠0

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 1}


2. ใหอัตราเร็วของการบินปกติ คือ x กิโลเมตรตอชั่วโมง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 359

1500
ในการบินระยะทาง 1,500 กิโลเมตร ดวยอัตราเร็วปกติ จะใชเวลา ชั่วโมง
x
เนื่องจากเครื่องบินพบกับสภาพอากาศแปรปรวน จึงบินดวยอัตราเร็วลดลง
100 กิโลเมตรตอชั่วโมง
นั่นคือ เมื่อพบสภาพอากาศแปรปรวน เครื่องบินจะบินดวยอัตราเร็ว
x − 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง
1500
ดังนั้น เมื่อพบสภาพอากาศแปรปรวน เครื่องบินจะใชเวลาบิน ชั่วโมง
x − 100
เนื่องจากการบินในสภาพอากาศแปรปรวนจะถึงที่หมายชากวาปกติอยู 10 นาที
1500 1500 10
ดังนั้น − =
x − 100 x 60
1500 1500 1
− =
x − 100 x 6
1500 1500 1
− − = 0
x − 100 x 6
1500 ( 6 x ) − (1500 )( 6 )( x − 100 ) − x ( x − 100 )
= 0
6 x ( x − 100 )
9000 x − 9000 x + 900000 − x 2 + 100 x
= 0
6 x ( x − 100 )
x 2 − 100 x − 900000
= 0
6 x ( x − 100 )
( x + 900 )( x − 1000 ) = 0
6 x ( x − 100 )

จะได ( x + 900 )( x − 1000 ) = 0 และ 6 x ( x − 100 ) ≠ 0


นั่นคือ x = − 900 หรือ x = 1,000 โดยที่ x ≠ 0 และ x ≠ 100
เนื่องจาก x>0

จะได เซตคําตอบของสมการ คือ { 1000 }


ดังนั้น อัตราเร็วของการบินปกติ คือ 1,000 กิโลเมตรตอชั่วโมง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
360 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.8
1. ไมจริง (เชน a = −1 และ b = −2 จะได a2 = 1 และ b2 = 4

ซึ่งจะเห็นวา a>b แต a 2 < b2 ) ด


1 1
2. ไมจริง (เชน a =1 และ b = −1 จะได =1 และ = −1
a b
1 1
ซึ่งจะเห็นวา a>b และ > )
a b
3. จริง
4. จริง
5. จริง
6. จริง
7. กรณีที่ a และ b เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ กรณีที่ a และ b เปน
จํานวนจริงลบทั้งคู
8. กรณีที่ a เปนจํานวนจริงบวก แต b เปนจํานวนจริงลบ

แบบฝกหัด 3.9ก

1. 1) { x | − 3 ≤ x < 1} –4 –3 –2 –1 0 1 2

2) { x | x > − 2} –3 –2 –1 0 1 2 3

3) { x | 4 ≤ x ≤ 7}
2 3 4 5 6 7 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 361

4) { x | − 3 < x < 0} –4 –3 –2 –1 0 1 2

5) { x | x < − 3}
–5 –4 –3 –2 –1 0 1

6) { x | x ≥ 1} –2 –1 0 1 2 3 4

7) { x | −1 < x ≤ 4 } –2 –1 0 1 2 3 4

8) { x | x ≤ 1}
–4 –3 –2 –1 0 1 2

9) { x | − 10 < x < − 8 }
–12 –11 –10 –9 –8 –7 –6

10 ) { x | 2.5 ≤ x ≤ 4 } –2 –1 0 1 2 2.5 3 4

2. เขียนแสดง A และ B บนเสนจํานวนไดดังนี้

–2 –1 0 1 2 3 4

1) A ∪ B = ( − 1, 4 ] ด
2) A B = [ 0, 2 )
3) A − B = ( − 1, 0 ) ด
4) B − A = [ 2, 4 ]
5) A′ = ( − , − 1 ] ∪ [ 2, )ด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
362 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

6) B′ = ( − , 0 ) ∪ ( 4, )
3. เขียนแสดง A, B และ C บนเสนจํานวนไดดังนี้

–1 0 1 2 3 4 5

จากเสนจํานวนจะไดวา
1) { x | − 1 < x ≤ 4 } หรือ ( − 1, 4 ]
2) { x | 2 ≤ x ≤ 4 } หรือ [ 2, 4 ]
3) { x | − 1 < x ≤ 5 } หรือ ( − 1, 5 ]
4) { x | 2 ≤ x < 3 } หรือ [ 2, 3 )
5) { x | − 1 < x < 2 } หรือ ( − 1, 2 )
6) { x | 3 ≤ x ≤ 4 } หรือ [ 3, 4 ]
7) { x | 1 < x ≤ 4 } หรือ ( 1, 4 ]
8) { x | 1 < x ≤ 4 } หรือ ( 1, 4 ]

แบบฝกหัด 3.9
1. จาก 3x + 1 < 2x −1

จะได 3x − 2 x < −1 − 1
x < −2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 363

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 2 ) ด


2. จาก 4y + 7 > 2 ( y + 1)

จะได 4y + 7 > 2y + 2
4y − 2y > 2−7
2y > −5
5
y > −
2
5
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,
2
3. จาก 2 ( 3 y − 1) > 3 ( y − 1)

จะได 6y − 2 > 3y − 3
6 y − 3y > −3 + 2
3y > −1
1
y > −
3
1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,
3
4. จาก 4 − (3 − x ) < 3x − ( 3 − 2 x )

จะได 4−3+ x < 3x − 3 + 2 x


x − 3x − 2 x < −3 − 4 + 3
−4x < −4
x > 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, )
5. จาก x − x−6
2
< 0

จะได ( x − 3)( x + 2 ) < 0

พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
364 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–3 < 0 x–3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 2, 3 ]


6. จาก 2x + 7x + 3 2
> 0

จะได ( 2 x + 1)( x + 3) > 0

พิจารณาเสนจํานวน
2x + 1 < 0 2x + 1 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 3] ∪ − ,
2
7. จาก 6x − x 2 ≥ 5

จะได x2 − 6 x + 5 < 0

( x − 5)( x − 1) < 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 365

x–5 < 0 x–5 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 1, 5 ]


8. จาก 2x < 3 − x2

จะได x2 + 2 x − 3 < 0

( x − 1)( x + 3) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
x+3 < 0 x+3 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 3, 1 )


9. จาก x + 2x2
< 15

จะได x 2 + 2 x − 15 < 0

( x − 3)( x + 5) < 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
366 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–3 < 0 x–3 > 0

x+5 < 0 x+5 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 5, 3 )


10. จาก 3x + 2 > 2
7x

จะได 3x 2 − 7 x + 2 > 0

( 3x − 1)( x − 2 ) > 0
พิจารณาเสนจํานวน
3x – 1 < 0 3x – 1 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

–1 0 1 2 3 4

1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − , ∪ [ 2, )
3
11. จาก x3 − 3x 2 < 10x

จะได x 3 − 3 x 2 − 10 x < 0

x ( x 2 − 3 x − 10 ) < 0
x ( x + 2 )( x − 5 ) < 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 367

x< 0 x> 0

x+2 < 0 x+2 > 0

x–5 < 0 x–5 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 2 ] ∪ [ 0, 5 ]

12. จาก x − x − x +1 3 2
> 0

จะได (x 3
− x 2 ) − ( x − 1) > 0

x 2 ( x − 1) − ( x − 1) > 0
( x − 1) ( x 2 − 1) > 0
( x − 1)( x − 1)( x + 1) > 0

( x − 1) ( x + 1)
2
> 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, )


วิธีที่ 2 จาก ( x − 1) ( x + 1) > 0
2

เนื่องจาก ( x − 1)2 ≥ 0 เสมอ


จะได x +1 > 0
x > −1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
368 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, )


13. จาก x3 − x > 2 x2 − 2

จะได x3 − 2 x 2 − x + 2 > 0

(x 3
− 2x2 ) − ( x − 2) > 0
x2 ( x − 2) − ( x − 2) > 0
( x − 2 ) ( x 2 − 1) > 0
( x − 2 )( x − 1)( x + 1) > 0

พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 1 ) ∪ ( 2, )


14. จาก x ( x + 4) < 5x 2 2

จะได x ( x2 + 4) − 5x2 < 0

x3 − 5 x 2 + 4 x < 0
x ( x − 5x + 4)
2
< 0
x ( x − 1)( x − 4 ) < 0
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 369

x < 0 x > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , 0 ) ∪ ( 1, 4 )

15. จาก ( x − 1)( x + 3) < 0


x−2
พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 3 ] ∪ [ 1, 2 )


2x − 3
16. จาก > 0
( x + 2 )( x − 5)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
370 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–5 < 0 x–5 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − 2, ∪ ( 5, )
2
x 2 + 12
17. จาก > 7
x
x 2 + 12
จะได −7 > 0
x
x 2 − 7 x + 12
> 0
x
( x − 3)( x − 4 )
> 0
x

พิจารณาเสนจํานวน
x–3< 0 x–3> 0

x–4< 0 x–4> 0

x < 0 x > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 0, 3 ) ∪ ( 4, )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 371

x2 + 6
18. จาก < 5
x
x2 + 6
จะได −5 < 0
x
x2 − 5x + 6
< 0
x
( x − 2 )( x − 3)
< 0
x
พิจารณาเสนจํานวน
x –3 < 0 x –3 > 0

x –2 < 0 x –2 > 0

x < 0 x > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , 0 ) ∪ [ 2, 3 ]


6
19. จาก > 1
x −1
6
จะได −1 > 0
x −1
6 − ( x − 1)
> 0
x −1
−x + 7
> 0
x −1
x−7
< 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
372 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–7 < 0 x–7 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–1 0 1 2 3 4 5 6 7

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, 7 )


2x − 4
20. จาก < 1
x −1
2x − 4
จะได −1 < 0
x −1
( 2 x − 4 ) − ( x − 1) < 0
x −1
x−3
< 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, 3 )


6
21. จาก < x +1
x−4
6
จะได − ( x + 1) < 0
x−4
6 − ( x + 1)( x − 4 )
< 0
x−4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 373

6 − ( x 2 − 3x − 4 )
< 0
x−4
− x 2 + 3 x + 10
< 0
x−4
x − 3 x − 10
2
> 0
x−4
( x − 5)( x + 2 )
> 0
x−4
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 2, 4 ) ∪ [ 5, )


8
22. จาก > x
x+2
8
จะได −x > 0
x+2
8 − x ( x + 2)
> 0
x+2
8 − ( x2 + 2x )
> 0
x+2
−x − 2x + 8
2
> 0
x+2
x + 2x − 8
2
< 0
x+2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
374 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x + 4 )( x − 2 )
< 0
x+2
พิจารณาเสนจํานวน
x–2<0 x–2>0

x+2<0 x+2>0

x+4<0 x+4>0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 4 ] ∪ ( − 2, 2 ]


5− x
23. จาก < 1
x − 3x + 2
2

5− x
จะได −1 < 0
x − 3x + 2
2

( 5 − x ) − ( x 2 − 3x + 2 )
< 0
x 2 − 3x + 2
− x2 + 2 x + 3
< 0
x 2 − 3x + 2
x2 − 2 x − 3
> 0
x 2 − 3x + 2
( x + 1)( x − 3) > 0
( x − 1)( x − 2 )
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 375

x–3<0 x–3>0

x–2<0 x–2>0

x–1<0 x–1>0

x+1<0 x+1>0

–3 –2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 1 ) ∪ ( 1, 2 ) ∪ ( 3, )


x+6
24. จาก < 6
x ( x + 1)
x+6
จะได −6 < 0
x ( x + 1)

( x + 6 ) − 6 x ( x + 1) < 0
x ( x + 1)
( x + 6) − ( 6 x2 + 6 x )
< 0
x ( x + 1)
−6 x 2 − 5 x + 6
< 0
x ( x + 1)
6 x2 + 5x − 6
> 0
x ( x + 1)
( 3x − 2 )( 2 x + 3) > 0
x ( x + 1)

พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
376 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3x – 2 < 0 3x – 2 > 0

x< 0 x > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

2x + 3 < 0 2x + 3 > 0

4 3 –2 –1 0 1 2 3

3 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,− ∪ ( − 1, 0 ) ∪ ,
2 3
1 1
25. จาก >
x +1 x+4
1 1
จะได − > 0
x +1 x + 4
( x + 4 ) − ( x + 1) > 0
( x + 1)( x + 4 )
3
> 0
( x + 1)( x + 4 )
พิจารณาเสนจํานวน
x+1 < 0 x+1 > 0

x+4 < 0 x+4 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 4 ) ∪ ( − 1, )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 377

1 1
26. จาก >
x+2 2x − 3
1 1
จะได − > 0
x + 2 2x − 3
( 2 x − 3) − ( x + 2 ) > 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
x−5
> 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − 2, ∪ [ 5, )
2
x 1
27. จาก >
x+2 x
x 1
จะได − > 0
x+2 x
x2 − ( x + 2)
> 0
x ( x + 2)
x2 − x − 2
> 0
x ( x + 2)
( x + 1)( x − 2 ) > 0
x ( x + 2)

พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
378 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–2 < 0 x–2 > 0

x < 0 x > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 ) ∪ [ 2, )


x +1 1
28. จาก >
2x − 3 x−3
x +1 1
จะได − > 0
2x − 3 x − 3
( x + 1)( x − 3) − ( 2 x − 3) > 0
( 2 x − 3)( x − 3)
( x 2 − 2 x − 3) − ( 2 x − 3) > 0
( 2 x − 3)( x − 3)
x2 − 4 x
> 0
( 2 x − 3)( x − 3)
x ( x − 4)
> 0
( 2 x − 3)( x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 379

x–4 < 0 x–4 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x < 0 x > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , 0]∪ , 3 ∪ [ 4, )
2

29. จาก (x 2
+ 3 x − 10 )( x 2 + x − 6 )
> 0
x 2 + 2 x − 15

จะได ( x − 2 )( x + 5)( x − 2 )( x + 3) > 0


( x − 3)( x + 5)
( x − 2 )( x − 2 )( x + 3) เมื่อ
> 0 x ≠ −5
( x − 3)
( x − 2 ) ( x + 3)
2

> 0 เมื่อ x ≠ −5
( x − 3)
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 5 ) ∪ ( − 5, − 3 ] ∪ { 2 } ∪ ( 3, )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
380 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x − 2 ) ( x + 3)
2

วิธีที่ 2 จาก > 0 เมื่อ x ≠ −5


( x − 3)
เนื่องจาก ( x − 2 ) 2
≥0 เสมอ
x+3
จะได > 0 เมื่อ x ≠ −5
x−3
พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 5 ) ∪ ( − 5, − 3 ] ∪ { 2 } ∪ ( 3, )


จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
30. > 0

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, )


วิธีที่ 2 จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
> 0

เนื่องจาก ( x + 2 )4 ≥ 0 และ ( x − 1)2 ≥ 0 เสมอ


จะได x −1 > 0 เมือ่ x ≠ −2

นั่นคือ x > 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 381

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, )


จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
31. < 0

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , − 2 ) ∪ ( − 2, 1 )

วิธีที่ 2 จาก ( x − 1) ( x + 2 )
3 4
< 0

เนื่องจาก ( x + 2 )4 ≥ 0 และ ( x − 1)2 ≥ 0 เสมอ


จะได x −1 < 0 เมือ่ x ≠ −2

นั่นคือ x < 1 และ x ≠ −2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − , 1 ) −{ − 2}

หรือ ( − , − 2 ) ∪ ( − 2, 1 )
จาก ( 2 x + 1) ( x + 1)
3 5
32. < 0

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
2x + 1 < 0 2x + 1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − 1, −
2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
382 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 จาก ( 2 x + 1) ( x + 1)
3 5
< 0

เนื่องจาก ( 2 x + 1) ≥ 0 และ ( x + 1)
2 4
≥0 เสมอ
จะได ( 2 x + 1)( x + 1) < 0

พิจารณาเสนจํานวน
2x + 1 < 0 2x + 1 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − 1, −
2

แบบฝกหัด 3.10
1. 1) − 12 + 8 = −4 = 4
2) − 25 + − 25 = −25 + 25 = 0
3) − 5 (10 ) = − 50 = 50

− ( 6)
2 2
4) − 6 = = −36
28 14 14
5) − = − =
6 3 3
6) − 2.5 − 3 = 2.5 − 3 = − 0.5 = 0.5

2. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1 และ b=1

จะได a + ( −b ) = 1 − 1 = 0 = 0

แต a + − b = 1 + −1 = 1 + 1 = 2

จะเห็นวา a + ( −b ) ≠ a + − b

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 383

ดังนั้น ขอความ “ a + ( −b ) = a + − b ” เปนเท็จ


2) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1

จะได = (1) = 1
2 2 2
−a = −1

แต − ( a 2 ) = − (1) = − 1
2

จะเห็นวา ≠ − ( a2 )
2
−a

ดังนั้น ขอความ “ = − ( a2 ) ” เปนเท็จ


2
−a

3) เปนจริง
4) เปนจริง
5) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1 และ b =1

จะได − a − b = −1−1 = − 2 = 2

แต − a − b = −1 − 1 = 1−1 = 0

จะเห็นวา −a −b > −a − b

ดังนั้น ขอความ “ −a −b ≤ −a − b ” เปนเท็จ


6) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −1

จะได a = −1 = 1

จะเห็นวา a >a

ดังนั้น ขอความ “ถา a<0 แลว a < a” เปนเท็จ


3. 1) กรณีที่ x เปนจํานวนจริงบวก แต y เปนจํานวนจริงลบ หรือ กรณีที่ x เปนจํานวน
จริงลบ แต y เปนจํานวนจริงบวก
2) กรณีที่ x หรือ y ตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งสองตัวเปนศูนย หรือ กรณีที่ x และ y

เปนจํานวนจริงบวกทั้งคู หรือ กรณีที่ x และ y เปนจํานวนจริงลบทั้งคู

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
384 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แบบฝกหัด 3.11ก
1. วิธีที่ 1 จาก 2x + 1 = 3
1
กรณีที่ 1 2x + 1 ≥ 0 นั่นคือ x≥−
2
จะได 2x + 1 = 3
2x = 2
1
x = 1 ซึ่ง 1≥ −
2
นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ
1
กรณีที่ 2 2x + 1 < 0 นั่นคือ x<−
2
จะได − ( 2 x + 1) = 3
2x + 1 = −3
2x = −4
1
x = −2 ซึ่ง −2 < −
2
นั่นคือ −2 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1}
วิธีที่ 2 จาก 2x + 1 = 3

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2
2x + 1 = 32

( 2 x + 1) − 32
2
= 0
( 2 x + 1 − 3)( 2 x + 1 + 3) = 0
( 2 x − 2 )( 2 x + 4 ) = 0
จะได x =1 หรือ x = −2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 385

ตรว คาตอบ แทน x ในสมการ 2x + 1 = 3 ดวย 1 จะได


2 (1) + 1 = 3
2 +1 = 3
3 = 3 เปนจริง
แทน x ในสมการ 2x + 1 = 3 ดวย −2 จะได
2 ( −2 ) + 1 = 3
− 4 +1 = 3
−3 = 3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 1}
2. วิธีที่ 1 จาก 2x − 5 = x+2
5
กรณีที่ 1 2x − 5 ≥ 0 นั่นคือ x≥
2
จะได 2x − 5 = x+2
5
x = 7 ซึ่ง 7≥
2
นั่นคือ 7 เปนคําตอบของสมการ
5
กรณีที่ 2 2x − 5 < 0 นั่นคือ x<
2
จะได − ( 2 x − 5) = x+2
2x − 5 = − ( x + 2)
2x − 5 = −x − 2
3x = 3
5
x = 1 ซึ่ง 1<
2
นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
386 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1, 7 }


วิธีที่ 2 จาก 2x − 5 = x+2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x + 2)
2 2
2x − 5 =

( 2 x − 5) − ( x + 2 )
2 2
= 0
( 2 x − 5) − ( x + 2 ) ( 2 x − 5) + ( x + 2 ) = 0
( x − 7 )( 3x − 3) = 0
จะได x =1 หรือ x=7

ตรว คาตอบ แทน x ในสมการ 2x − 5 = x + 2 ดวย 1 จะได


2 (1) − 5 = 1+ 2
2−5 = 3
−3 = 3
3 = 3 เปนจริง

แทน x ในสมการ 2x − 5 = x + 2 ดวย 7 จะได


2(7) − 5 = 7+2
14 − 5 = 9
9 = 9
9 = 9 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1, 7 }
3. วิธีที่ 1 จาก 3x − 2 = x −1
2
กรณีที่ 1 3x − 2 ≥ 0 นั่นคือ x≥
3
จะได 3x − 2 = x −1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 387

2x = 1
1 1 2
x = ซึ่ง <
2 2 3
1
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
2
2
กรณีที่ 2 3x − 2 < 0 นั่นคือ x<
3
จะได − ( 3x − 2 ) = x −1
3x − 2 = − ( x − 1)
3x − 2 = −x +1
4x = 3
3 3 2
x = ซึ่ง >
4 4 3
3
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

วิธีที่ 2 จาก 3x − 2 = x −1

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x − 1)
2 2
3x − 2 =

( 3x − 2 ) − ( x − 1)
2 2
= 0
( 3x − 2 ) − ( x − 1) ( 3x − 2 ) + ( x − 1) = 0
( 2 x − 1)( 4 x − 3) = 0
1 3
จะได x= หรือ x=
2 4
1
ตรว คาตอบ แทน x ในสมการ 3x − 2 = x − 1 ดวย จะได
2
1 1
3 −2 = −1
2 2
1 1
− = −
2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
388 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1 1
= − เปนเท็จ
2 2
3
แทน x ในสมการ 3x − 2 = x − 1 ดวย จะได
4
3 3
3 −2 = −1
4 4
1 1
= −
4 4
1 1
= − เปนเท็จ
4 4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

4. วิธีที่ 1 จาก x = x+2

กรณีที่ 1 x≥0

จะได x = x+2

0 = 2 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมีคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 x<0

จะได −x = x+2
x = − ( x + 2)
x = −x − 2
2x = −2
x = −1 ซึ่ง −1 < 0

นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
วิธีที่ 2 จาก x = x+2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 389

( x + 2)
2 2
x =

( x ) − ( x + 2)
2 2
= 0
x − ( x + 2) x + ( x + 2) = 0
−2 ( 2 x + 2 ) = 0
จะได x = −1

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x = x+2 ดวย −1 จะได


−1 = −1 + 2

1 = 1 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}
5. วิธีที่ 1 จาก x = 3 − 2x

กรณีที่ 1 x≥0

จะได x = 3 − 2x
3x = 3
x = 1 ซึ่ง 1≥ 0

นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 x<0

จะได −x = 3 − 2x
x = − ( 3 − 2x )
x = −3 + 2x
x = 3 ซึ่ง 3>0

นั่นคือ 3 ไมเปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1}
วิธีที่ 2 จาก x = 3 − 2x

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
390 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( 3 − 2x )
2 2
x =

( x ) − (3 − 2x )
2 2
= 0
x − (3 − 2x ) x + (3 − 2x ) = 0
( 3x − 3)( − x + 3) = 0
จะได x =1 หรือ x=3

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x = 3 − 2x ดวย 1 จะได


1 = 3 − 2 (1)
1 = 3–2
1 = 1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x = 3 − 2x ดวย 3 จะได
3 = 3 − 2 ( 3)
3 = 3–6
3 = −3 เปนเท็จ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1}
6. จาก x2 − x − 4 = 2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง x2 − x − 4
2
= 22

(x − x − 4)
2 2
= 22

( x − x − 4) − 2
2 2 2
= 0

(x 2
− x − 4) − 2 ( x − x − 4) + 2
2
= 0

(x 2
− x − 6 )( x 2 − x − 2 ) = 0

( x − 3)( x + 2 )( x − 2 )( x + 1) = 0
จะได x = −1 หรือ x = −2 หรือ x=2 หรือ x =3

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x2 − x − 4 =2 ดวย −1 จะได


( −1) − ( −1) − 4 =
2
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 391

1+1− 4 = 2
−2 = 2
2 = 2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 − x − 4 =2 ดวย −2 จะได
( −2 ) − ( −2 ) − 4 =
2
2

4+2−4 = 2
2 = 2
2 = 2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 − x − 4 =2 ดวย 2 จะได
22 − 2 − 4 = 2
4−2−4 = 2
−2 = 2
2 = 2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 − x − 4 =2 ดวย 3 จะได
32 − 3 − 4 = 2
9−3− 4 = 2
2 = 2
2 = 2 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, − 1, 2, 3 }
7. จาก x −1 = 2x + 1

ยกกําลังสองทั้งสองขาง x −1
2
= 2x + 1
2

( x − 1) − ( 2 x + 1)
2 2
= 0
( x − 1) − ( 2 x + 1) ( x − 1) + ( 2 x + 1) = 0
( − x − 2 )( 3x ) = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
392 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได x=0 หรือ x = −2

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x −1 = 2x + 1 ดวย 0 จะได


0 −1 = 2 ( 0) + 1
−1 = 1
1 = 1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x −1 = 2x + 1 ดวย −2 จะได
− 2 −1 = 2 ( −2 ) + 1
−3 = −3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 0 }
8. จาก 2 x+3 = x−2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง (2 )
2 2
x+3 = x−2

4 ( x + 3) − ( x − 2 )
2 2
= 0
2 ( x + 3) − ( x − 2 ) 2 ( x + 3) + ( x − 2 ) = 0
( x + 8)( 3x + 4 ) = 0
4
จะได x = −8 หรือ x=−
3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 2 x+3 = x−2 ดวย −8 จะได
2 −8+3 = −8− 2
2 −5 = − 10
2 ( 5) = 10
10 = 10 เปนจริง
4
แทน x ในสมการ 2 x+3 = x−2 ดวย − จะได
3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 393

4 4
2 − +3 = − −2
3 3
5 10
2 = −
3 3
5 10
2 =
3 3
10 10
= เปนจริง
3 3
4
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 8, −
3

แบบฝกหัด 3.11ข
1. 1) จาก x−2 < 1

จะได −1 < x−2 < 1


−1 + 2 < x < 1+ 2
1 < x < 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, 3 ) ด


2) จาก x+3 > 5

จะได x+3 < −5 หรือ x+3 > 5

x < −5 − 3 หรือ x > 5−3

x < −8 หรือ x > 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 8 ) ∪ ( 2, ∞ )


3) จาก 3x + 5 ≥ 4

จะได 3x + 5 ≤ −4 หรือ 3x + 5 ≥ 4

3x ≤ −4 − 5 หรือ 3x ≥ 4−5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
394 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

3x ≤ −9 หรือ 3x ≥ −1
−9 −1
x ≤ หรือ x ≥
3 3
1
x ≤ −3 หรือ x ≥ −
3
1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 3 ] ∪ − ,∞ ด
3
4) จาก 2x −1 ≤ 11

จะได −11 ≤ 2x −1 ≤ 11
−11 + 1 ≤ 2x ≤ 11 + 1
−10 ≤ 2x ≤ 12
−10 12
≤ x ≤
2 2
−5 ≤ x ≤ 6
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 5, 6 ]
5) จาก 2 x−2 > x

จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x− 2 ≥ 0 นั่นคือ x≥2

จะได 2 ( x − 2) > x
2x − 4 > x
x > 4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x>4

กรณีที่ 2 x−2 < 0 นั่นคือ x<2

จะได −2 ( x − 2 ) > x

2 ( x − 2) < −x
2x − 4 < −x
3x < 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 395

4
x <
3
4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x<
3
4
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ −∞ , ∪ ( 4, ∞ ) ด
3
6) วิธีที่ 1 จากอสมการ 3x + 4 ≤ x+2

เนื่องจาก 3x + 4 ≥ 0 ดังนั้น x+2≥ 0 หรือ x ≥ −2

จะได − ( x + 2) ≤ 3x + 4 ≤ x+2

ดังนั้น −x − 2 ≤ 3x + 4 และ 3x + 4 ≤ x+2

−4x ≤ 6 และ 2x ≤ −2
3
x ≥ − และ x ≤ −1
2
3
จะได − ≤ x ≤ −1
2
3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − , −1
2
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
4
กรณีที่ 1 3x + 4 ≥ 0 นั่นคือ x≥−
3
จะได 3x + 4 ≤ x+2
2x ≤ −2

x ≤ −1
4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ − ≤ x ≤ −1
3
4
กรณีที่ 2 3x + 4 < 0 นั่นคือ x<−
3
จะได − ( 3x + 4 ) ≤ x+2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
396 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−4x ≤ 6
3
x ≥ −
2
3 4
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ − ≤x<−
2 3
3 4 4
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,− ∪ − , −1
2 3 3
3
หรือ − , −1
2
7) วิธีที่ 1 จากอสมการ 2 x + 1 < 3x + 2
2
เนื่องจาก 2x + 1 ≥ 0 ดังนั้น 3x + 2 > 0 หรือ x>−
3
จะได − ( 3x + 2 ) < 2x + 1 < 3x + 2

ดังนั้น −3x − 2 < 2x + 1 และ 2x + 1 < 3x + 2

−5x < 3 และ −x < 1


3
x > − และ x > −1
5
3
จะได x>−
5
3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,∞
5
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
1
กรณีที่ 1 2x + 1 ≥ 0 นั่นคือ x≥−
2
จะได 2x + 1 < 3x + 2
−x < 1
x > −1
1
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x≥− และ x > −1
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 397

1 1
นั่นคือ x≥− หรือ − ,∞
2 2
1
กรณีที่ 2 2x + 1 < 0 นั่นคือ x<−
2
จะได − ( 2 x + 1) < 3x + 2
−2 x − 1 < 3x + 2
−5x < 3
3
x > −
5
1 3
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x<− และ x>−
2 5
3 1 3 1
นั่นคือ − <x<− หรือ − ,−
5 2 5 2
1 3 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,∞ ∪ − ,−
2 5 2
3
หรือ − ,∞
5
8) วิธีที่ 1 จากอสมการ x +1 > x−3

เนื่องจาก x +1 ≥ 0 ทุกจํานวนจริง x

ดังนั้น x−3 ≥ 0 หรือ x−3 < 0

กรณีที่ 1 x−3 ≥ 0 นั่นคือ x≥3

จะได x +1 ≥ x − 3 หรือ − ( x + 1) ≥ x−3

นั่นคือ 1 ≥ −3 หรือ x ≤ 1

จะได คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x∈

หรือ x ≤1

แตเนื่องจาก x≥3

ดังนั้น คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x≥3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
398 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 2 x−3 < 0 นั่นคือ x<3

ดังนั้น คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x<3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 3 ) ∪ [ 3, ∞ ) หรือ


วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x +1 ≥ 0 นั่นคือ x ≥ −1

จะได x +1 > x−3


1 > −3
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x ≥ −1 และ x∈

นั่นคือ x ≥ −1 หรือ [ −1, ∞ )


กรณีที่ 2 x +1 < 0 นั่นคือ x < − 1
จะได − ( x + 1) > x−3
−x −1 > x−3
−2x > −2
x < 1
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x < −1 และ x <1

นั่นคือหรือ ( −∞, −1)


x < −1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 1 ) ∪ [ − 1, ∞ ) หรือ


9) เนื่องจาก x ≥0 และ x −1 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈

จะได x
2
≥ x −1
2

( x − 1)
2
x2 ≥

x2 ≥ x2 − 2 x + 1

2x ≥ 1
1
x ≥
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 399

1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ,∞
2
10) เนื่องจาก x+2 ≥ 0 และ x+3 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈

จะได 4 x+2
2
< x+3
2

4 ( x + 2) ( x + 3)
2 2
<
4 ( x2 + 4 x + 4) < x2 + 6 x + 9
4 x 2 + 16 x + 16 < x2 + 6 x + 9
3 x 2 + 10 x + 7 < 0
( 3x + 7 )( x + 1) < 0
7
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − , −1
3
11) เนื่องจาก x−2 ≥ 0 และ x+6 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈

จะได 9 x−2
2
≤ x+6
2

9 ( x − 2) ( x + 6)
2 2

9 ( x2 − 4 x + 4) ≤ x 2 + 12 x + 36
9 x 2 − 36 x + 36 ≤ x 2 + 12 x + 36
8 x 2 − 48 x ≤ 0
8x ( x − 6) ≤ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 0, 6 ]
12) เนื่องจาก 2 x − 1 ≥ 0 และ x + 1 ≥ 0 สําหรับทุกคา x∈

จะได 4 2x −1
2
> 9 x +1
2

4 ( 2 x − 1) 9 ( x + 1)
2 2
>
4 ( 4 x 2 − 4 x + 1) > 9 ( x 2 + 2 x + 1)
16 x 2 − 16 x + 4 > 9 x 2 + 18 x + 9
7 x 2 − 34 x − 5 > 0
( 7 x + 1)( x − 5) > 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
400 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ −∞ , − ∪ ( 5, ∞ )
7
13) จากโจทย ทราบวา x ≠ −4

x
จาก > 2
x+4
จะได x > 2 x+4 เมื่อ x ≠ −4

(2 )
2 2
x > x+4

2 ( x + 4)
2
x2 >

x2 − 2 ( x + 4)
2
> 0
x − 2 ( x + 4) x + 2 ( x + 4) > 0
( − x − 8)( 3x + 8) > 0
( x + 8)( 3x + 8) < 0
8
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − 8, − − { − 4} หรือ
3
8
( − 8, − 4 ) ∪ − 4, −
3
14) จากโจทย ทราบวา x≠0

4
จาก x− ≤ 3
x
2
4
จะได x− ≤ 9
x
2
4
x− ≤ 9
x
2
x2 − 4
≤ 9
x

(x − 4)
2 2

≤ 9
x2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 401

(x − 4) เมื่อ
2
2
≤ 9x 2 x≠0

( x − 4) ( 3x )
2 2
2

( x − 4 ) − ( 3x )
2 2
2
≤ 0

( x − 4 ) − 3x ( x − 4 ) + 3x
2 2
≤ 0

( x − 4 )( x + 1)( x + 4 )( x − 1) ≤ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 4, − 1 ] ∪ [ 1, 4 ]
15) จากโจทย ทราบวา x ≠ 1
x +1
จาก < 1
x −1
x +1 < x −1 เมื่อ x ≠1
2 2
x +1 < x −1

( x + 1) ( x − 1)
2 2
<

( x + 1) − ( x − 1)
2 2
< 0
( x + 1) − ( x − 1) ( x + 1) + ( x − 1) < 0
2 ( 2x ) < 0
x < 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 )
16) จากโจทย ทราบวา x ≠ 2
x
จาก > 2
x−2
x > 2 x−2 เมื่อ x≠2
2 2
x > 4 x−2
4 ( x − 2)
2
x2 >

2 ( x − 2)
2
x2 >

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
402 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x2 − 2 ( x − 2)
2
> 0
x − 2 ( x − 2) x + 2 ( x − 2) > 0
( − x + 4 )( 3x − 4 ) > 0
( x − 4 )( 3x − 4 ) < 0
4
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ , 2 ∪ ( 2, 4 )
3
2. จากโจทย ให C แทนอุณหภูมิบนพื้นผิวดาวอังคารในหนวยองศาเซลเซียส
ซึ่งเปนไปตามอสมการ
C + 84 ≤ 56
นั่นคือ −56 ≤ C + 84 ≤ 56

−56 − 84 ≤ C ≤ 56 − 84

−140 ≤ C ≤ −28
ดังนั้น อุณหภูมิบนพื้นผิวของดาวอังคารที่เปนไปได คือ ตั้งแต −140 ถึง −28 องศาเซลเซียส
3. จากโจทย ให x แทนจํานวนครั้งที่เกิดหัวในการโยนเหรียญ
ซึ่งเปนไปตามอสมการ
x − 50
≥ 1.645
5
x − 50
จะได ≥ 1.645
5
x − 50 ≥ 8.225
จะได x − 50 ≤ −8.225 หรือ x − 50 ≥ 8.225

x ≤ 50 − 8.225 หรือ x ≥ 8.225 + 50

x ≤ 41.775 หรือ x ≥ 58.225

ดังนั้น คา x ที่สอดคลองกับอสมการ คือ x ≤ 41.775 หรือ x ≥ 58.225

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 403

เนื่องจาก x ∈ { 0, 1, 2, 3, ... , 100 }

ดังนั้น คาของ x ที่ทําใหเหรียญไมเที่ยงตรง คือ 0 ≤ x ≤ 41 หรือ 59 ≤ x ≤ 100

แบบฝกหัดทายบท
1
1. 1) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −2 จะได a −1 = −
2
จะเห็นวา a <1 แต a −1 >/ 1

2) เปนเท็จ เชน เมื่อ a =1 และ b = −2 จะได a2 = 1 และ b2 = 4

จะเห็นวา a 2 < b2 แต a </ b

3) เปนเท็จ เชน เมื่อ a = −1 และ b = −2 จะได ab = 2

จะเห็นวา ab > 1 , a < 1 แต b >/ 1 ด

จาก ( x + a)
2
2. x2 + 4 x + 5 = + b2

จะได x2 + 4 x + 5 = (x 2
+ 2ax + a 2 ) + b 2

x2 + 4 x + 5 = x 2 + 2ax + ( a 2 + b 2 )

นั่นคือ 2a = 4 และ a 2 + b2 = 5

เนื่องจาก b>0

จะได a=2 และ b =1

3. 1) จาก p ( x ) = x3 − x 2 + 3x − 4

และ q ( x) = x −1

ใชการหารยาวดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
404 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x2 + 3
x − 1 x3 − x 2 + 3x − 4
x3 − x 2
3x − 4
3x − 3
−1

จะได x 3 − x 2 + 3 x − 4 = ( x − 1) ( x 2 + 3) − 1

ดังนั้น ผลหาร คือ x2 + 3 และเศษเหลือ คือ −1

2) จาก p ( x ) = 4 x3 + 2 x 2 − x + 6

และ q ( x) = 2x + 1

ใชการหารยาวดังนี้
1
2 x2 −
2
2x + 1 4x + 2x2 − x + 6
3

4 x3 + 2 x 2
−x+6
1
−x −
2
13
2
1 13
จะได 4 x3 + 2 x 2 − x + 6 = ( 2 x + 1) 2 x 2 − +
2 2
1 13
ดังนั้น ผลหาร คือ 2 x2 − และเศษเหลือ คือ
2 2
3) จาก p ( x ) = x5 + 2 x3 + 5 x + 6

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = x5 + 0 x 4 + 2 x3 + 0 x 2 + 5 x + 6

และ q ( x ) = x2 − 2

ใชการหารยาวดังนี้
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 405

x3 + 4 x
x 2 − 2 x5 + 0 x 4 + 2 x3 + 0 x 2 + 5 x + 6
x5 − 2 x3
4 x3 + 0 x 2 + 5 x + 6
4 x3 − 8x
13 x + 6

จะได x 5 + 2 x3 + 5 x + 6 = ( x 2 − 2 )( x3 + 4 x ) + (13 x + 6 )

ดังนั้น ผลหาร คือ x3 + 4 x และเศษเหลือ คือ 13x + 6


4) จาก p ( x ) = x 4 − 3x − 4

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = x 4 + 0 x3 + 0 x 2 − 3x − 4

และ q ( x ) = 2x2 + 3

ใชการหารยาวดังนี้
1 2 3
x −
2 4
2 x 2 + 3 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 − 3x − 4
3 2
x4 + x
2
3
− x 2 − 3x − 4
2
3 9
− x2 −
2 4
7
−3 x −
4
1 2 3 7
จะได x 4 − 3 x − 4 = ( 2 x 2 + 3) x − + −3 x −
2 4 4
1 2 3 7
ดังนั้น ผลหาร คือ x − และเศษเหลือ คือ −3 x −
2 4 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
406 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) จาก p ( x ) = 2 x7 − 2 x4 + 3

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = 2 x7 + 0 x6 + 0 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3

และ q ( x) = x −1

ใชการหารยาวดังนี้
2 x6 + 2 x5 + 2 x 4
x − 1 2 x7 + 0 x6 + 0 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
2 x7 − 2 x6
2 x6 + 0 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
2 x6 − 2 x5
2 x5 − 2 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 3
2 x5 − 2 x 4
3

จะได 2 x 7 − 2 x 4 + 3 = ( x − 1) ( 2 x 6 + 2 x 5 + 2 x 4 ) + 3

ดังนั้น ผลหาร คือ 2 x6 + 2 x5 + 2 x 4 และเศษเหลือ คือ 3

6) จาก p ( x ) = x9 − 3x 4 + 2

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 − 3 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 2

และ q ( x ) = x4 + 2 x

ใชการหารยาวดังนี้
x5 − 2 x 2 − 3
x 4 + 2 x x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 − 3 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 2
x9 + 2 x6
− 2 x6 + 0 x5 − 3x 4 + 0 x3 + 0 x 2 + 0 x + 2
−2 x 6 − 4 x3
− 3x 4 + 4 x3 + 0 x 2 + 0 x + 2
− 3x 4 − 6x
4x 3
+ 6x + 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 407

จะได x 9 − 3 x 4 + 2 = ( x 4 + 2 x )( x 5 − 2 x 2 − 3) + ( 4 x 3 + 6 x + 2 )

ดังนั้น ผลหาร คือ x5 − 2 x 2 − 3 และเศษเหลือ คือ 4 x3 + 6 x + 2

7) จาก p ( x ) = x10 − 2 x + 1

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = x10 + 0 x 9 + 0 x8 + +0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 − 2 x + 1

และ q ( x ) = x2 − 1

ใชการหารยาวดังนี้
x8 + x 6 + x 4 + x 2 + 1
x 2 − 1 x10 + 0 x9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x10 − x8
x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x8 − x6
x6 + 0 x5 + 0 x 4 + 0 x3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x6 − x4
x 4 + 0 x3 + 0 x 2 − 2 x + 1
x4 − x2
x2 − 2x + 1
x2 −1
−2 x + 2

จะได x10 − 2 x + 1 = ( x 2 − 1)( x8 + x 6 + x 4 + x 2 + 1) + ( −2 x + 2 )

ดังนั้น ผลหาร คือ x8 + x 6 + x 4 + x 2 + 1 และเศษเหลือ คือ −2 x + 2

8) จาก p ( x ) = 3 − 3 x10 − x 2

เขียนใหมไดเปน p ( x ) = − 3 x10 + 0 x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 − x 2 + 0 x + 3

และ q ( x ) = x3 + 1

ใชการหารยาวดังนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
408 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

−3 x 7 + 3 x 4 − 3 x
x 3 + 1 −3 x10 + 0 x 9 + 0 x8 + 0 x 7 + 0 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 + 0 x 3 − x 2 + 0 x + 3
−3 x10 − 3x 7
3x 7 + 0 x 6 + 0 x5 + 0 x 4 + 0 x3 − x 2 + 0 x + 3
3x 7 + 3x 4
− 3x 4 + 0 x3 − x 2 + 0 x + 3
−3 x 4 − 3x
− x + 3x + 3
2

จะได 3 − 3 x10 − x 2 = ( x 3 + 1)( −3 x 7 + 3 x 4 − 3 x ) + ( − x 2 + 3 x + 3)

ดังนั้น ผลหาร คือ −3 x 7 + 3 x 4 − 3 x และเศษเหลือ คือ − x 2 + 3x + 3

9) จาก p ( x ) = x10 − 6 x 7 + 2 x 6 − 8 x 3

เขียนใหมไดเปน
p ( x ) = x10 + 0 x 9 + 0 x8 − 6 x 7 + 2 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 − 8 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 0
และ q ( x ) = x6 + x3 − 1

ใชการหารยาวดังนี้
x4 − 7 x + 2
x 6 + x 3 − 1 x10 + 0 x 9 + 0 x8 − 6 x 7 + 2 x 6 + 0 x 5 + 0 x 4 − 8 x 3 + 0 x 2 + 0 x + 0
x10 + x7 − x4
− 7 x7 + 2 x6 + 0 x5 + x 4 − 8 x3 + 0 x 2 + 0 x + 0
−7 x 7 − 7 x4 + 7x
2 x6 + 0 x5 + 8 x 4 − 8 x3 + 0 x 2 − 7 x + 0
2 x6 + 2 x3 −2
8 x − 10 x
4 3
− 7x + 2

จะได x10 − 6 x 7 + 2 x 6 − 8 x 3 = ( x 6 + x 3 − 1)( x 4 − 7 x + 2 ) + ( 8 x 4 − 10 x 3 − 7 x + 2 )

ดังนั้น ผลหาร คือ x4 − 7 x + 2 และเศษเหลือ คือ 8 x 4 − 10 x 3 − 7 x + 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 409

4. 1) ให p ( x ) = x 3 − 3 x + 15 และ q ( x) = x + 3

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( −3)


โดยที่ p ( −3) = ( −3) − 3 ( −3) + 15
3

= −27 + 9 + 15
= −3
ดังนั้น เศษเหลือ คือ −3

2) ให p ( x ) = x15 − 3x12 + 7 และ q ( x) = x −1

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p (1)


โดยที่ p (1) (1) − 3 (1) + 7
15 12
=
= 1− 3 + 7
= 5
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 5

3) ให p ( x ) = x 6 − x 4 − 125 x 3 + 25 x 2 + 75 และ q ( x) = x − 5

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( 5)


โดยที่ p ( 5) ( 5) − ( 5) − 125 ( 5) + 25 ( 5) + 75
6 4 3 2
=

= 56 − 54 − 5353 + 5252 + 75
= 56 − 54 − 56 + 54 + 75
= 75
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 75

4) ให p ( x ) = x100 + 8 x97 + x 2 − x + 5 และ q ( x) = x + 2

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( −2 )


โดยที่ p ( −2 ) = ( −2 ) + 8 ( −2 ) + ( −2 ) − ( −2 ) + 5
100 97 2

= 2100 − 2100 + 4 + 2 + 5
= 11
ดังนั้น เศษเหลือ คือ 11

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
410 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

5) ให p ( x ) = x 6 + ax 5 − 2 และ q ( x) = x + a เมื่อ a เปนจํานวนจริง


จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p ( −a )
โดยที่ p ( −a ) = ( −a ) + a ( −a ) − 2
6 5

= a6 − a6 − 2
= −2
ดังนั้น เศษเหลือ คือ −2
1
6) ให p ( x ) = 4 x3 + x − 2 และ q ( x) = x −
2
1
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ เมื่อหาร p ( x ) ดวย q ( x ) จะไดเศษเหลือ คือ p
2
3
1 1 1
โดยที่ p = 4 + −2
2 2 2
1 1
= + −2
2 2
= −1
ดังนั้น เศษเหลือ คือ −1

5. ใหผลหารและเศษเหลือจากการหารพหุนาม p ( x) ดวย x2 − 1 คือ q ( x )


และ 2 x + 13 ตามลําดับ
นั่นคือ p ( x) = (x 2
− 1) q ( x ) + ( 2 x + 13)

จะได p (1) (1) − 1 q ( x ) + 2 (1) + 13


2
=

= 0 + ( 2 + 13)
= 15
6. ใหผลหารและเศษเหลือจากการหารพหุนาม p ( x) ดวย x2 − 5x + 6 คือ q ( x )
และ 7x − 8 ตามลําดับ
นั่นคือ p ( x) = (x 2
− 5 x + 6 ) q ( x ) + ( 7 x − 8)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 411

จะได p ( 2) ( 2) − 5( 2) + 6 q ( x ) + 7 ( 2) − 8
2
=

= ( 4 − 10 + 6 ) q ( x ) + (14 − 8)
= 6
และ p ( 3) ( 3) − 5 ( 3) + 6 q ( x ) + 7 ( 3) − 8
2
=

= ( 9 − 15 + 6 ) q ( x ) + ( 21 − 8)
= 13
ดังนั้น p ( 2 ) − p ( 3) = 6 − 13 = −7

7. 1) ให p ( x ) = x3 − 3
และ q ( x ) = x − m
เนื่องจาก q ( x ) หาร p ( x ) เหลือเศษ 5
จะได p ( m ) = 5
นั่นคือ m3 − 3 = 5

m3 = 8
ดังนั้น m = 2

2) ให p ( a ) = a 3 − 3a 2b + b3 + m
และ q ( a ) = a −b

เนื่องจาก q ( a ) หาร p ( a ) ลงตัว


จะได p ( b ) = 0
นั่นคือ b3 − 3b 2b + b3 + m = 0

b3 − 3b3 + b3 + m = 0
−b3 + m = 0
ดังนั้น m = b3

จ8. ให p ( x ) = x 3 − 3 yx 2 + y 3 + a
และ q ( x ) = x− y

เนื่องจาก q ( x ) เปนตัวประกอบของ p ( x )
จะได p ( y ) = 0
นั่นคือ y3 − 3 y ( y 2 ) + y3 + a = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
412 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

− y3 + a = 0
ดังนั้น a = y3

9. 1) ให p ( x ) = x + 6 x + 11x + 6 ก
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 6

พิจารณา p ( −1)

p ( −1) = ( −1) + 6 ( −1) + 11( −1) + 6 = 0


3 2

จะเห็นวา p ( −1) = 0

ดังนั้น x +1 เปนตัวประกอบของ x 3 + 6 x 2 + 11x + 6

นํา x +1 ไปหาร x 3 + 6 x 2 + 11x + 6 ไดผลหารเปน x2 + 5x + 6

ดังนั้น x 3 + 6 x 2 + 11x + 6 = ( x + 1) ( x 2 + 5 x + 6 )
= ( x + 1)( x + 2 )( x + 3)
2) ให p ( x ) = x3 − 2 x 2 + 4 x − 8

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −8 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8

พิจารณา p ( 2)

p ( 2) = ( 2) − 2 ( 2) + 4 ( 2) − 8 = 0
3 2

จะเห็นวา p ( 2) = 0

ดังนั้น x−2 เปนตัวประกอบของ x3 − 2 x 2 + 4 x − 8

นํา x−2 ไปหาร x3 − 2 x 2 + 4 x − 8 ไดผลหารเปน x2 + 4

ดังนั้น x3 − 2 x 2 + 4 x − 8 = ( x − 2) ( x2 + 4)
3) ให p ( x ) = x 3 + 5 x 2 + 2 x − 12 ก
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −12 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 12

พิจารณา p ( −3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 413

p ( −3) = ( −3) + 5 ( −3) + 2 ( −3) − 12 = 0


3 2

จะเห็นวา p ( −3) = 0

ดังนั้น x+3 เปนตัวประกอบของ x 3 + 5 x 2 + 2 x − 12

นํา x+3 ไปหาร x 3 + 5 x 2 + 2 x − 12 ไดผลหารเปน x2 + 2 x − 4

ดังนั้น x 3 + 5 x 2 + 2 x − 12 = ( x + 3) ( x 2 + 2 x − 4 )
= ( x + 3) (
x − −1 + 5 ) (
x − −1 − 5 )
= ( x + 3) ( x + 1 − )(
5 x +1+ 5 )
4) ให p ( x ) = x 4 − x 3 − 4 x 2 − 2 x − 12

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −12 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 4, ± 6, ± 12

พิจารณา p ( −2 )

p ( −2 ) = ( −2 ) − ( −2 ) − 4 ( −2 ) − 2 ( −2 ) − 12 = 0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) = 0

ดังนั้น x+2 เปนตัวประกอบของ x 4 − x 3 − 4 x 2 − 2 x − 12

นํา x+2 ไปหาร x 4 − x 3 − 4 x 2 − 2 x − 12 ไดผลหารเปน x3 − 3x 2 + 2 x − 6

ดังนั้น x 4 − x 3 − 4 x 2 − 2 x − 12 = ( x + 2 ) ( x3 − 3x 2 + 2 x − 6 )
= ( x + 2 ) ( x3 − 3x 2 ) + ( 2 x − 6 )
= ( x + 2) x 2 ( x − 3) + 2 ( x − 3)
= ( x + 2 )( x − 3) ( x 2 + 2 )
5) ให p ( x ) = x 4 − 8 x 3 + 24 x 2 − 32 x + 16 ก
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 16 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8, ± 16

พิจารณา p ( 2)

p ( 2 ) = ( 2 ) − 8 ( 2 ) + 24 ( 2 ) − 32 ( 2 ) + 16 = 0
4 3 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
414 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะเห็นวา p ( 2) = 0

ดังนั้น x−2 เปนตัวประกอบของ x 4 − 8 x 3 + 24 x 2 − 32 x + 16

นํา x−2 ไปหาร x 4 − 8 x 3 + 24 x 2 − 32 x + 16 ไดผลหารเปน x 3 − 6 x 2 + 12 x − 8

ดังนั้น x 4 − 8 x 3 + 24 x 2 − 32 x + 16 = ( x − 2 ) ( x3 − 6 x 2 + 12 x − 8)
ให q ( x ) = x 3 − 6 x 2 + 12 x − 8

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −8 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4, ± 8

พิจารณา q ( 2 )
q ( 2 ) = ( 2 ) − 6 ( 2 ) + 12 ( 2 ) − 8 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( 2 ) = 0
ดังนั้น x − 2 เปนตัวประกอบของ x 3 − 6 x 2 + 12 x − 8

นํา x−2 ไปหาร x 3 − 6 x 2 + 12 x − 8 ไดผลหารเปน x2 − 4 x + 4

จะได x 3 − 6 x 2 + 12 x − 8 = ( x − 2) ( x2 − 4x + 4)
= ( x − 2) ( x2 − 4x + 4)
( x − 2 )( x − 2 )
2
=

( x − 2)
3
=
ดังนั้น ( x − 2 )( x − 2 )
3
x 4 − 8 x 3 + 24 x 2 − 32 x + 16 =

( x − 2)
4
=
6) ให p ( x ) = 4 x + 5 x + 5 x + 1
3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ ±1

และจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4

1
พิจารณา p −
4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 415

3 2
1 1 1 1
p − =4 − +5 − +5 − +1 = 0
4 4 4 4
1
จะเห็นวา p − =0
4
1
ดังนั้น x+ เปนตัวประกอบของ 4 x3 + 5 x 2 + 5 x + 1
4
1
นํา x+ ไปหาร 4 x3 + 5 x 2 + 5 x + 1 ไดผลหารเปน 4 x2 + 4 x + 4
4
1
ดังนั้น 4 x3 + 5 x 2 + 5 x + 1 = x+
4
( 4x 2
+ 4x + 4)

1
= 4 x+
4
(x 2
+ x + 1)

= ( 4 x + 1) ( x 2 + x + 1)
7) วิธีที่ 1 ให p ( x ) = 2 x3 − x 2 + 6 x − 3

เนือ่ งจากจํานวนเต็มที่หาร −3 ลงตัว คือ ±1, ± 3

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

1
พิจารณา p
2
3 2
1 1 1 1
p =2 − +6 −3 = 0
2 2 2 2
1
จะเห็นวา p =0
2
1
ดังนั้น x− เปนตัวประกอบของ 2 x3 − x 2 + 6 x − 3
2
1
นํา x− ไปหาร 2 x3 − x 2 + 6 x − 3 ไดผลหารเปน 2 x2 + 6
2
1
ดังนั้น 2 x3 − x 2 + 6 x − 3 = x−
2
( 2x 2
+ 6)

1
= x− ( 2 ) ( x 2 + 3)
2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
416 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

= ( 2 x − 1) ( x 2 + 3)
วิธีที่ 2 2 x3 − x 2 + 6 x − 3 = ( 2x 3
− x 2 ) + ( 6 x − 3)

= x 2 ( 2 x − 1) + 3 ( 2 x − 1)
= ( 2 x − 1) ( x 2 + 3) ก
8) ให p ( x ) = 4 x 4 − 4 x3 − 3x 2 + 2 x + 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 1 ลงตัว คือ ±1

และจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4

พิจารณา p (1)

p (1) = 4 (1) − 4 (1) − 3 (1) + 2 (1) + 1 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p (1) = 0

ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ 4 x 4 − 4 x3 − 3x 2 + 2 x + 1

นํา x −1 ไปหาร 4 x 4 − 4 x3 − 3x 2 + 2 x + 1 ไดผลหารเปน 4 x3 − 3x − 1

ดังนั้น 4 x 4 − 4 x3 − 3x 2 + 2 x + 1 = ( x − 1) ( 4 x3 − 3x − 1)
ให q ( x ) = 4 x3 − 3x − 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1

และจํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 4

พิจารณา q (1)
q (1) = 4 (1) − 3 (1) − 1 = 0
3

จะเห็นวา q (1) = 0
ดังนั้น x − 1 เปนตัวประกอบของ 4 x3 − 3x − 1

นํา x −1 ไปหาร 4 x3 − 3x − 1 ไดผลหารเปน 4 x2 + 4 x + 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 417

จะได 4 x3 − 3x − 1 = ( x − 1) ( 4 x 2 + 4 x + 1)
( x − 1)( 2 x + 1)
2
=
ดังนั้น ( x − 1) ( 2 x + 1)
2 2
4 x 4 − 4 x3 − 3x 2 + 2 x + 1 =

9) ให p ( x ) = 2 x 4 + 9 x 3 − 12 x 2 − 29 x + 30

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 30 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 5, ± 6, ± 10, ± 15, ± 30

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

พิจารณา p (1)

p (1) = 2 (1) + 9 (1) − 12 (1) − 29 (1) + 30 = 0


4 3 2

จะเห็นวา p (1) = 0

ดังนั้น x −1 เปนตัวประกอบของ 2 x 4 + 9 x 3 − 12 x 2 − 29 x + 30

นํา x −1 ไปหาร 2 x 4 + 9 x 3 − 12 x 2 − 29 x + 30 ไดผลหารเปน 2 x 3 + 11x 2 − x − 30

ดังนัน้ 2 x 4 + 9 x 3 − 12 x 2 − 29 x + 30 = ( x − 1) ( 2 x3 + 11x 2 − x − 30 )
ให q ( x ) = 2 x 3 + 11x 2 − x − 30

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −30 ลงตัว คือ ±1, ± 2, ± 3, ± 5, ± 6, ± 10, ± 15, ± 30

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

พิจารณา q ( −2 )
q ( −2 ) = 2 ( −2 ) + 11( −2 ) − ( −2 ) − 30 = 0
3 2

จะเห็นวา q ( −2 ) = 0
ดังนั้น x + 2 เปนตัวประกอบของ 2 x 3 + 11x 2 − x − 30

นํา x+2 ไปหาร 2 x 3 + 11x 2 − x − 30 ไดผลหารเปน 2 x 2 + 7 x − 15

จะได 2 x 3 + 11x 2 − x − 30 = ( x + 2 ) ( 2 x 2 + 7 x − 15)


= ( x + 2 )( 2 x − 3)( x + 5)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
418 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น 2 x 4 + 9 x 3 − 12 x 2 − 29 x + 30 = ( x − 1)( x + 2 )( 2 x − 3)( x + 5)


10) ให p ( x ) = 2 x − 3x − 9 x + 9 x − 2 จ
4 3 2

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

พิจารณา p ( −2 )

p ( −2 ) = 2 ( −2 ) − 3 ( −2 ) − 9 ( −2 ) + 9 ( −2 ) − 2 = 0
4 3 2

จะเห็นวา p ( −2 ) = 0

ดังนั้น x+2 เปนตัวประกอบของ 2 x 4 − 3x3 − 9 x 2 + 9 x − 2

นํา x+2 ไปหาร 2 x 4 − 3x3 − 9 x 2 + 9 x − 2 ไดผลหารเปน 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1

ดังนั้น 2 x 4 − 3x3 − 9 x 2 + 9 x − 2 = ( x + 2 ) ( 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1)
ให q ( x ) = 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร −1 ลงตัว คือ ±1

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ ±1, ± 2

1
พิจารณา q
2
3 2
1 1 1 1
q =2 −7 +5 −1 = 0
2 2 2 2
1
จะเห็นวา q =0
2
1
ดังนั้น x− เปนตัวประกอบของ 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1
2
1
นํา x− ไปหาร 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1 ไดผลหารเปน 2 x2 − 6 x + 2
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 419

1
จะได 2 x3 − 7 x 2 + 5 x − 1 = x−
2
( 2x 2
− 6x + 2)

1
= 2 x−
2
(x 2
− 3 x + 1)

3− 5 3+ 5
= ( 2 x − 1) x− x−
2 2

3− 5 3+ 5
จะได 2 x 4 − 3x3 − 9 x 2 + 9 x − 2 = ( x + 2 )( 2 x − 1) x− x−
2 2

10. 1) จาก x2 − 2 x − 4 = 0

จะได x = 1± 5

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {1 − 5 , 1+ 5 }จ


2) เนื่องจาก x3 − 13x + 12 = ( x − 1) ( x 2 + x − 12 )
= ( x − 1)( x − 3)( x + 4 )
จะได ( x − 1)( x − 3)( x + 4 ) = 0
ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x − 3 = 0 หรือ x+4 = 0

จะได x =1 หรือ x=3 หรือ x = −4

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 4, 1, 3 }


3) เนื่องจาก x3 + 5 x 2 − 2 x − 24 = ( x − 2 ) ( x 2 + 7 x + 12 )
= ( x − 2 )( x + 3)( x + 4 )
จะได ( x − 2 )( x + 3)( x + 4 ) = 0
ดังนัน้ x − 2 = 0 หรือ x + 3 = 0 หรือ x+4 = 0

จะได x=2 หรือ x = −3 หรือ x = −4

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 4, − 3, 2 } จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
420 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

4) จัดรูปสมการใหมไดเปน x3 + 2 x 2 − 4 x − 8 = 0

เนื่องจาก x3 + 2 x 2 − 4 x − 8 = ( x − 2) ( x2 + 4x + 4)
( x − 2 )( x + 2 )
2
=
จะได ( x − 2 )( x + 2 ) = 0 2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ x + 2 = 0
จะได x=2 หรือ x = −2

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2, 2 }


5) เนื่องจาก x 3 − x 2 − 8 x + 12 = ( x − 2) ( x2 + x − 6)
= ( x − 2 )( x − 2 )( x + 3)
( x − 2 ) ( x + 3)
2
=
จะได ( x − 2 ) ( x + 3) = 0
2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ x + 3 = 0
จะได x=2 หรือ x = −3

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3, 2 } จ


6) เนื่องจาก x 3 − 2 x + 1 = ( x − 1) ( x 2 + x − 1)

จะได ( x − 1) ( x + x − 1) = 0
2

ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ x + x − 1 = 02

−1 + 5 −1 − 5
จะได x =1 หรือ x= หรือ x=
2 2
−1 + 5 −1 − 5
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ 1, ,
2 2

7) จัดรูปสมการใหมไดเปน x3 − x 2 − x − 2 = 0

เนื่องจาก x 3 − x 2 − x − 2 = ( x − 2 ) ( x 2 + x + 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 421

จะได ( x − 2 ) ( x + x + 1) = 0
2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ x + x + 1 = 0
2

ถา x−2 = 0 จะได x=2

ถา และเนื่องจาก (1) − 4 (1)(1) = − 3


x2 + x + 1 = 0
2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
ดังนัน้ เซตคําตอบของสมการ คือ { 2 } จ
8) เนื่องจาก 4 x3 − 4 x 2 − 7 x − 2 = ( x − 2 ) ( 4 x 2 + 4 x + 1)
( x − 2 )( 2 x + 1)
2
=
จะได ( x − 2 )( 2 x + 1) = 0
2

ดังนั้น x − 2 = 0 หรือ 2 x + 1 = 0
1
จะได x=2 หรือ x =−
2
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − ,2
2
9) จัดรูปสมการใหมไดเปน 6 x3 − 11x 2 + 6 x − 1 = 0

เนื่องจาก 6 x 3 − 11x 2 + 6 x − 1 = ( x − 1) ( 6 x 2 − 5 x + 1)
= ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1)
จะได ( x − 1)( 3x − 1)( 2 x − 1) = 0
ดังนั้น x − 1 = 0 หรือ 3x − 1 = 0 หรือ 2x −1 = 0
1 1
จะได x =1 หรือ x= หรือ x=
3 2
1 1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ , ,1
3 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
422 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

10) เนื่องจาก 2 x 4 − 7 x3 + 9 x 2 − 7 x + 2 = ( x − 2 ) ( 2 x3 − 3x 2 + 3x − 1)
1
= 2 ( x − 2) x −
2
(x 2
− x + 1)

1
จะได ( x − 2 ) x−
2
(x 2
− x + 1) = 0

1
ดังนั้น x−2 = 0 หรือ x− =0 หรือ x2 + x + 1 = 0
2
ถา x−2 = 0 จะได x=2
1 1
ถา x− =0 จะได x=
2 2
ถา และเนื่องจาก (1) − 4 (1)(1) = − 3
x2 + x + 1 = 0
2

จะไดวาไมมีจํานวนจริงที่เปนคําตอบของสมการนี้
1
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ,2
2
11) จัดรูปสมการใหมไดเปน 4 x 4 + 8 x3 + x 2 − 3x − 1 = 0
2
1
เนื่องจาก 4 x 4 + 8 x3 + x 2 − 3x − 1 = 4 x +
2
(x 2
+ x − 1)

2
1
จะได 4 x+
2
(x 2
+ x − 1) = 0

1
ดังนั้น x+ =0 หรือ x2 + x − 1 = 0
2
1 −1 + 5 −1 − 5
จะได x=− หรือ x= หรือ x=
2 2 2
1 −1 + 5 −1 − 5
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − , ,
2 2 2

12) จัดรูปสมการใหมไดเปน 2 x 4 − 7 x3 + 4 x + 1 = 0

1
เนื่องจาก 2 x 4 − 7 x 3 + 4 x + 1 = 2 ( x − 1) x +
2
(x 2
− 3x − 1)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 423

1
จะได 2 ( x − 1) x+
2
(x 2
− 3 x − 1) = 0

1
ดังนั้น x −1 = 0 หรือ x+ =0 หรือ x 2 − 3x − 1 = 0
2
1 3 ± 13
จะได x =1 หรือ x=− หรือ x=
2 2
1 3 + 13 3 − 13
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − , 1, ,
2 2 2
5x − 7 A B
11. 1) จาก = +
( x − 3)( x + 1) x − 3 x +1

5x − 7 A ( x + 1) + B ( x − 3)
=
( x − 3)( x + 1) ( x − 3)( x + 1)
5x − 7
=
( A + B ) x + ( A − 3B )
( x − 3)( x + 1) ( x − 3)( x + 1)
5x − 7 = ( A + B ) x + ( A − 3B )
จะได A+ B = 5 และ A − 3B = − 7

ดังนั้น A=2 และ B=3

3x3 + 2 x − 4 A Bx + C
2) จาก = 3+ +
x3 + 3x x x2 + 3
3x3 + 2 x − 4 A Bx + C
−3 = +
x3 + 3x x x2 + 3
( 3x 3
+ 2 x − 4 ) − 3 ( x3 + 3x )
=
A ( x 2 + 3) + ( Bx + C )( x )
x3 + 3x x ( x 2 + 3)

−7 x − 4
=
( A + B ) x 2 + Cx + 3 A
x3 + 3x x3 + 3x
−7 x − 4 = ( A + B ) x 2 + Cx + 3 A
จะได A+ B = 0 และ C = −7 และ 3A = − 4
4 4
ดังนั้น A=− และ B= และ C = −7
3 3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
424 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2x2 − x + 5 A B C
3) จาก = + −
x3 + 4 x 2 − 5 x x x −1 x + 5
2 x2 − x + 5 A ( x − 1)( x + 5 ) + Bx ( x + 5 ) − Cx ( x − 1)
=
x3 + 4 x 2 − 5 x x ( x − 1)( x + 5 )

2x2 − x + 5
=
( Ax 2
+ 4 Ax − 5 A ) + ( Bx 2 + 5 Bx ) − ( Cx 2 − Cx )
x3 + 4 x 2 − 5 x x3 + 4 x 2 − 5 x
2 x2 − x + 5 ( A + B − C ) x 2 + ( 4 A + 5B + C ) x − 5 A
=
x3 + 4 x 2 − 5 x x3 + 4 x 2 − 5 x
2 x2 − x + 5 = ( A + B − C ) x 2 + ( 4 A + 5B + C ) x − 5 A
จะได A+ B −C = 2 และ 4 A + 5B + C = − 1 และ −5 A = 5

ดังนั้น A = −1 และ B =1 และ C = −2


Ax + B 6 7
4) จาก = +
x − 5x + C
2
x−3 x−2
Ax + B 6 ( x − 2 ) + 7 ( x − 3)
=
x − 5x + C
2
( x − 3)( x − 2 )
Ax + B
=
( 6 x − 12 ) + ( 7 x − 21)
x − 5x + C
2
x2 − 5x + 6
Ax + B 13 x − 33
=
x − 5x + C
2
x2 − 5x + 6
( Ax + B ) ( x 2 − 5 x + 6 ) = (13x − 33) ( x 2 − 5 x + C )
Ax 3 − 5 Ax 2 + 6 Ax + Bx 2 − 5 Bx + 6 B = 13 x 3 − 65 x 2 + 13Cx − 33 x 2 + 165 x − 33C
Ax 3 − ( 5 A − B ) x 2 + ( 6 A − 5 B − 13C ) x + ( 6 B + 33C ) = 13 x 3 − 98 x 2 + 165 x
จะได A = 13 และ 5 A − B = 98 และ 6 A − 5B − 13C = 165 และ 6 B + 33C = 0

ดังนั้น A = 13 และ B = − 33 และ C=6

x ( x − 3)( x + 2 )
12. 1) จาก = 0
x ( x − 3)( x − 2 )

( x + 2) เมื่อ และ
= 0 x≠0 x≠3
( x − 2)
จะได x+2 = 0 และ x−2 ≠ 0
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 425

นั่นคือ x = −2 โดยที่ x≠0 , x≠2 และ x≠3

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 2 }


x ( x + 3) 4
2) จาก =
( x + 2 )( x − 1) ( x + 2 )( x − 1)
x ( x + 3) 4
− = 0
( x + 2 )( x − 1) ( x + 2 )( x − 1)
x 2 + 3x − 4
= 0
( x + 2 )( x − 1)
( x + 4 )( x − 1) = 0
( x + 2 )( x − 1)
x+4
= 0 เมื่อ x ≠1
x+2
จะได x+4 = 0 และ x+2 ≠ 0

นั่นคือ x = −4 โดยที่ x ≠ −2 และ x ≠1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 4 }


x3 + 3x 2 + x − 1
3) จาก = 0
x2 − 1
( x + 1) ( x 2 + 2 x − 1)
= 0
( x − 1)( x + 1)
x2 + 2 x − 1
= 0 เมื่อ x ≠ −1
x −1
จะได x2 + 2 x − 1 = 0 และ x −1 ≠ 0

นั่นคือ x = −1+ 2 หรือ x = −1− 2 โดยที่ x ≠1 และ x ≠ −1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1 + 2 , −1− 2 }


1 1
4) จาก + = 1
x −1 x +1
1 1
+ −1 = 0
x −1 x +1
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
426 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x + 1) + ( x − 1) − ( x − 1)( x + 1) = 0
( x − 1)( x + 1)
( x + 1) + ( x − 1) − ( x 2 − 1)
= 0
( x − 1)( x + 1)
− x2 + 2 x + 1
= 0
( x − 1)( x + 1)
x2 − 2 x − 1
= 0
( x − 1)( x + 1)
จะได x2 − 2 x − 1 = 0 และ ( x − 1)( x + 1) ≠ 0
นั่นคือ x = 1+ 2 หรือ x = 1 − 2 โดยที่ x ≠ − 1 และ x ≠1

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 1 + 2 , 1− 2 }


1 1 3
5) จาก + =
x −1 x − 2
2
x +1
1 1 3
+ − = 0
( x − 1)( x + 1) x − 2 x +1
( x − 2 ) + ( x − 1)( x + 1) − 3 ( x − 1)( x − 2 ) = 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
( x − 2 ) + ( x 2 − 1) − ( 3x 2 − 9 x + 6 )
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
−2 x 2 + 10 x − 9
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
2 x 2 − 10 x + 9
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
จะได 2 x 2 − 10 x + 9 = 0 และ ( x − 1)( x + 1)( x − 2 ) ≠ 0
5+ 7 5− 7
นั่นคือ x= หรือ x= โดยที่ x ≠ −1 , x ≠ 1 และ x≠2
2 2
5+ 7 5− 7
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ,
2 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 427

1 1 1
6) จาก + 2 + 2 = 0
x − 2 x − 8 x − 5x + 4 x + x − 2
2

1 1 1
+ + = 0
( x + 2 )( x − 4 ) ( x − 1)( x − 4 ) ( x − 1)( x + 2 )
( x − 1) + ( x + 2 ) + ( x − 4 ) = 0
( x − 1)( x + 2 )( x − 4 )
3x − 3
= 0
( x − 1)( x + 2 )( x − 4 )
3 ( x − 1)
= 0
( x − 1)( x + 2 )( x − 4 )
3
= 0 เมื่อ x ≠1
( x + 2 )( x − 4 )
3
จะเห็นวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให =0
( x + 2 )( x − 4 )
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅
x 1 2x
7) จาก + + 2 = 0
x + 4 x + 2 x + 6x + 8
x 1 2x
+ + = 0
x + 4 x + 2 ( x + 4 )( x + 2 )
x ( x + 2) + ( x + 4) + 2x
= 0
( x + 4 )( x + 2 )
( x2 + 2 x ) + ( x + 4) + 2 x = 0
( x + 4 )( x + 2 )
x2 + 5x + 4
= 0
( x + 4 )( x + 2 )
( x + 4 )( x + 1) = 0
( x + 4 )( x + 2 )
x +1
= 0 เมื่อ x ≠ −4
x+2
จะได x +1 = 0 และ x+2 ≠ 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
428 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นั่นคือ x = −1 โดยที่ x ≠ −4 และ x ≠ −2

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1}


2 x2 + 5x − 7 1
8) จาก =
2 x2 + x − 3 2x + 3
( 2 x + 7 )( x − 1) =
1
( 2 x + 3)( x − 1) 2x + 3
2x + 7 1
= เมื่อ x ≠1
2x + 3 2x + 3
2x + 7 1
− = 0
2x + 3 2x + 3
2x + 6
= 0
2x + 3
2 ( x + 3)
= 0
2x + 3
x+3
= 0
2x + 3
จะได x+3 = 0 และ 2x + 3 ≠ 0
3
นั่นคือ x = −3 โดยที่ x≠− และ x ≠1
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3 }
2x + 1 2 5
9) จาก − =
x −1 x − 2
2
x +x
2

2x + 1 2 5
− =
( x − 1)( x + 1) x − 2 x ( x + 1)
2x + 1 5 2
− =
( x − 1)( x + 1) x ( x + 1) x−2
( 2 x + 1)( x ) − 5 ( x − 1) =
2
x ( x − 1)( x + 1) x−2

( 2 x2 + x ) − ( 5x − 5) =
2
x ( x − 1)( x + 1) x−2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 429

2 x2 − 4 x + 5 2
=
x ( x − 1)( x + 1) x−2
2x2 − 4x + 5 2
− = 0
x ( x − 1)( x + 1) x − 2

( 2x 2
− 4 x + 5 ) ( x − 2 ) − 2 x ( x − 1)( x + 1)
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )

( 2x 3
− 8 x 2 + 13 x − 10 ) − ( 2 x 3 − 2 x )
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
−8 x 2 + 15 x − 10
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
8 x 2 − 15 x + 10
= 0
x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 )

จะได 8 x 2 − 15 x + 10 = 0 และ x ( x − 1)( x + 1)( x − 2 ) ≠ 0


เนื่องจาก ( −15) − 4 (8)(10 ) < 0
2

จะไดวา ไมมีจํานวนจริง x ที่ทําให 8 x 2 − 15 x + 10 = 0

ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅


1 1 2
10) จาก + 2 =
x − 3x + 2 x − 1
2
x−2
1 1 2
+ =
( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x + 1) x−2
1 1 2
+ − = 0
( x − 1)( x − 2 ) ( x − 1)( x + 1) x−2
( x + 1) + ( x − 2 ) − 2 ( x − 1)( x + 1) = 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
( x + 1) + ( x − 2 ) − ( 2 x 2 − 2 )
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
−2 x 2 + 2 x + 1
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
430 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2x2 − 2x − 1
= 0
( x − 1)( x + 1)( x − 2 )
จะได 2 x2 − 2 x − 1 = 0 และ ( x − 1)( x + 1)( x − 2 ) ≠ 0
1+ 3 1− 3
นั่นคือ x= หรือ x= โดยที่ x ≠ −1 , x ≠ 1 และ x≠2
2 2
1− 3 1+ 3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ,
2 2

13. 1) จาก 2 ( x + 1) < x+2

จะได 2x + 2 < x+2


x < 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 )
2) จาก 4x + 7 > 2 ( x + 1)

จะได 4x + 7 > 2x + 2
2x > −5
5
x > −
2
5
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ,∞
2
3) จาก 4 − (3 − x ) < 3x − ( 3 − 2 x )

จะได 4−3+ x < 3x − 3 + 2 x


4x > 4
x > 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 1, ∞ )
4) จาก 2x − x − 6 2
≥ 0

จะได ( x − 2 )( 2 x + 3) ≥ 0

พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 431

x–2 < 0 x–2 > 0

2x + 3 < 0 2x + 3 > 0

–23

–1 0 1 2 3 4
2
3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − ∞, − ∪ [ 2, ∞ )
2
5) จาก x2 ≥ 2x − 3

จะได x2 − 2 x + 3 ≥ 0

(x 2
− 2 x + 1) − 1 + 3 ≥ 0

( x − 1)
2
+2 ≥ 0

( x − 1)
2
≥ −2

เนื่องจาก ( x − 1) ≥ 0 เสมอ
2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ


6) จาก x ( x + 1) ≤ 20

จะได x2 + x ≤ 20

x 2 + x − 20 ≤ 0
( x − 4 )( x + 5) ≤ 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x+5 < 0 x+5 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
432 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 5, 4 ]


7) จาก ( x − 1)( x − 4 ) > ( x − 2 )( x − 3)
จะได ( x − 1)( x − 4 ) − ( x − 2 )( x − 3) > 0

(x 2
− 5x + 4) − ( x2 − 5x + 6) > 0
4−6 > 0
−2 > 0 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมีจํานวนจริงที่ทําให ( x − 1)( x − 4 ) > ( x − 2 )( x − 3)
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ∅
8) จาก x3 + 4 > 3x 2

จะได x3 − 3x 2 + 4 > 0

( x − 2 ) ( x + 1)
2
> 0
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 2 ) ∪ ( 2, ∞ )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 2 )2 ≥ 0 เสมอ
จะได x +1 > 0 เมื่อ x≠2

จะได x > −1 เมื่อ x≠2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 2 ) ∪ ( 2, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 433

9) จาก ( x − 1)( x − 2 )( x − 3) < ( x − 1)( x − 2 )


จะได ( x − 1)( x − 2 )( x − 3) − ( x − 1)( x − 2 ) < 0

( x − 1)( x − 2 ) ( x − 3) − 1 < 0
( x − 1)( x − 2 )( x − 4 ) < 0
พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) ∪ ( 2, 4 )


จาก ( x − 2 )( x − 3) ( x − 4 ) ≤ 0
2
10)

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 2, 4]


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 3)2 ≥ 0 เสมอ
จะได ( x − 2 )( x − 4 ) ≤ 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
434 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 2, 4]


จาก ( x − 2 )( x − 3) ( x − 4 )
2
11) ≥ 0

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–2 < 0 x–2 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ] ∪ { 3 } ∪ [ 4, ∞ )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 3)2 ≥ 0 เสมอ
จะได ( x − 2 )( x − 4 ) > 0

พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 435

x–2 < 0 x–2 > 0

x–4 < 0 x–4 > 0

–1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ] ∪ { 3 } ∪ [ 4, ∞ )


จาก ( x + 1)( 4 − x )( x − 6 )
2
12) ≥ 0

จะได ( x + 1)( x − 4 )( x − 6 )
2
≤ 0

วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–4< 0 x–4> 0

x+1 < 0 x+1 > 0

x–6 < 0 x–6 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, 4 ] ∪ { 6 }


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 6 )2 ≥ 0 เสมอ
จะได ( x + 1)( x − 4 ) ≤ 0

พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
436 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x+1 < 0 x+1 > 0

x–4< 0 x–4> 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5 6

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, 4 ] ∪ { 6 }


1 1
14.ด 1) จาก >
x x +1
1 1
จะได − > 0
x x +1
( x + 1) − x > 0
x ( x + 1)
1
> 0
x ( x + 1)

พิจารณาเสนจํานวน
x < 0 x > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 1 ) ∪ ( 0, ∞ )


3
2) จาก ≤ 1
x −1
3
จะได −1 ≤ 0
x −1
3 − ( x − 1)
≤ 0
x −1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 437

−x + 4
≤ 0
x −1
x−4
≥ 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–1 0 1 2 3 4 5 6 7

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) ∪ [ 4, ∞ )


2x − 4
3) จาก ≥ 2
x −1
2x − 4
จะได −2 ≥ 0
x −1
( 2 x − 4 ) − 2 ( x − 1)
≥ 0
x −1
−2
≥ 0
x −1
1
≤ 0
x −1
พิจารณาเสนจํานวน
x–1 < 0 x–1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 )


x +1
4) จาก < 1
x+2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
438 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x +1
จะได −1 < 0
x+2
( x + 1) − ( x + 2 ) < 0
x+2
−1
< 0
x+2
1
> 0
x+2
พิจารณาเสนจํานวน
x+2 < 0 x+2 > 0

–3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 2, ∞ )


1 1
5) จาก ≥
x +1 x+4
1 1
จะได − ≥ 0
x +1 x + 4
( x + 4 ) − ( x + 1) ≥ 0
( x + 1)( x + 4 )
3
≥ 0
( x + 1)( x + 4 )
พิจารณาเสนจํานวน
x+4 < 0 x+4 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–4 –3 –2 –1 0 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 439

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 4 ) ∪ ( − 1, ∞ )


1 1
6) จาก ≤
x+2 2x − 3
1 1
จะได − ≤ 0
x + 2 2x − 3
( 2 x − 3) − ( x + 2 ) ≤ 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
x−5
≤ 0
( x + 2 )( 2 x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

2x – 3 < 0 2x – 3 > 0

x+2 < 0 x+2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

3
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ ,5
2
4
7) จาก x+ ≤ 4
x
4
x+ −4 ≤ 0
x
x2 − 4 x + 4
≤ 0
x
( x − 2)
2

≤ 0
x
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
440 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x–2 < 0 x–2 > 0

x < 0 x > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 0 ) ∪ { 2 }


x2 − 3
8) จาก < x +1
x +1
x2 − 3
จะได − ( x + 1) < 0
x +1
(x 2
− 3) − ( x + 1)( x + 1)
< 0
x +1
(x 2
− 3) − ( x 2 + 2 x + 1)
< 0
x +1
−2 x − 4
< 0
x +1
x+2
> 0
x +1
พิจารณาเสนจํานวน
x+2 < 0 x+2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–3 –2 –1 0 1 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ ( − 1, ∞ )


2x2 − 6x + 1
9) จาก ≤ 1
x2 − 2x − 3
2 x2 − 6 x + 1
จะได −1 ≤ 0
x2 − 2 x − 3
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 441

( 2x 2
− 6 x + 1) − ( x 2 − 2 x − 3)
≤ 0
x2 − 2 x − 3
x2 − 4 x + 4
≤ 0
x2 − 2 x − 3
( x − 2)
2

≤ 0
( x + 1)( x − 3)
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 3 )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 2 )2 ≥ 0 เสมอ
1
จะได ≤ 0
( x + 1)( x − 3)
พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 1, 3 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
442 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1− x
10) จาก ≤ 1
( x − 2 )( x − 5)
1− x
จะได −1 ≤ 0
( 2 )( x − 5)
x −

(1 − x ) − ( x − 2 )( x − 5)
≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
(1 − x ) − ( x 2 − 7 x + 10 )
≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
− x2 + 6 x − 9
≤ 0
( x − 2 )( x − 5)
x2 − 6 x + 9
≥ 0
( x − 2 )( x − 5)
( x − 3)
2

≥ 0
( x − 2 )( x − 5)
วิธีที่ 1 พิจารณาเสนจํานวน
x–5 < 0 x–5 > 0

x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ) ∪ { 3 } ∪ ( 5, ∞ )


วิธีที่ 2 เนื่องจาก ( x − 3)2 ≥ 0 เสมอ
1
จะได ≥ 0
( x − 2 )( x − 5)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 443

x–5 < 0 x–5 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 2 ) ∪ { 3 } ∪ ( 5, ∞ )


x 1
11) จาก ≤
x +12
2
x 1
จะได − ≤ 0
x +1 2
2

2 x − ( x 2 + 1)
≤ 0
2 ( x 2 + 1)
x2 − 2 x + 1
≥ 0
2 ( x 2 + 1)

( x − 1)
2

≥ 0
2 ( x 2 + 1)

เนื่องจาก ( x − 1) ≥ 0 และ x + 1 > 0 เสมอ


2 2

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ


x
12) จาก ≥ 3
x +22

x
จะได −3 ≥ 0
x +2
2

x − 3( x2 + 2)
≥ 0
x2 + 2
−3 x 2 + x − 6
≥ 0
x2 + 2
1
x2 − x + 2
3 ≤ 0
x2 + 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
444 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1 1 1
x2 − x + − +2
3 36 36
≤ 0
x2 + 2
2
1 71
x− +
6 36
≤ 0
x2 + 2
2
1 71
เนื่องจาก x− + >0 และ x2 + 2 > 0
6 36
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ∅
11 − 5 x
13) จาก ≤ 1
x2 − x − 2
11 − 5 x
จะได −1 ≤ 0
x2 − x − 2
(11 − 5 x ) − ( x 2 − x − 2 )
≤ 0
x2 − x − 2
− x 2 − 4 x + 13
≤ 0
x2 − x − 2
x 2 + 4 x − 13
≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
(
x − −2 − 17 ) (
x − −2 + 17 ) ≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
พิจารณาเสนจํานวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 445

x–2 < 0 x–2 > 0

x+1 < 0 x+1 > 0

–7 –6 –5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞, − 2 − 17 ∪ ( − 1, 2 ) ∪ − 2 + 17 , ∞ )


จาก ( x − 1)( x − 2 )( x − 3)
14) ≤ 0
( x − 2 )( x − 3)( x − 4 )
x −1
จะได ≤ 0 เมื่อ x≠2 และ x≠3
x−4
พิจารณาเสนจํานวน
x–4 < 0 x–4 > 0

x–1 < 0 x–1 > 0

–2 –1 0 1 2 3 4 5

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 1, 2 ) ∪ ( 2, 3 ) ∪ ( 3, 4 )

15) จาก (x 2
+ 3 x − 10 )( x 2 + x − 6 )
≤ 0
x 2 + 2 x − 15

จะได ( x + 5)( x − 2 )( x − 2 )( x + 3) ≤ 0
( x + 5)( x − 3)
( x − 2 ) ( x + 3)
2

≤ 0 เมื่อ x ≠ −5
( x − 3)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
446 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

พิจารณาเสนจํานวน
x–3 < 0 x–3 > 0

x–2 < 0 x–2 > 0

x+3 < 0 x+3 > 0

–5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 3, 3 )


15. ใหโรงงานผลิตกลองดินสอสัปดาหละ x กลอง
เนื่องจาก โรงงานมีคาใชจายในการผลิตกลองดินสอ กลองละ 26 บาท
ดังนั้น ในการผลิตกลองดินสอ x กลอง ตองเสียคาใชจาย 26x บาท
และโรงงานผลิตกลองดินสอมีคาใชจายอื่น ๆ อีกสัปดาหละ 30,000 บาท
นั่นคือ ในหนึ่งสัปดาหโรงงานมีตนทุนในการผลิตกลองดินสอ x กลอง
เปนเงิน 30000 + 26x บาท
และเนื่องจาก โรงงานขายกลองดินสอกลองละ 30 บาท
ดังนั้น โรงงานจะขายกลองดินสอ x กลอง เปนเงิน 30x บาท
เมื่อโรงงานผลิตและจําหนายกลองดินสอโดยไมขาดทุน จะไดวา
30000 + 26x ≤ 30x
4x ≥ 30000
30000
x ≥
4
x ≥ 7500
ดังนั้น ในหนึ่งสัปดาห โรงงานจะตองผลิตกลองดินสออยางนอย 7,500 กลอง
จึงจะไมขาดทุน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 447

16. ให x แทนจํานวนสินคาที่บริษัทผลิตและจําหนาย (ชิ้น)


p ( x) แทนรายไดจากการขายสินคา x ชิ้น (บาท)
โดยรายไดของบริษัทสอดคลองกับสมการ p ( x ) = 30 x 2 − 35940 x − 72000

บริษัทผลิตและจําหนายสินคาโดยไมขาดทุน นั่นคือ p ( x) ≥ 0

จะได 30 x 2 − 35940 x − 72000 ≥ 0

x 2 − 1198 x − 2400 ≥ 0
( x + 2 )( x − 1200 ) ≥ 0
นั่นคือ x ≤ −2 หรือ x ≥ 1200

เนื่องจาก x≥0

ดังนั้น บริษัทตองผลิตและจําหนายสินคาอยางนอยที่สุด 1,200 ชิ้น จึงจะไมขาดทุน


17. ใหฐานของรูปสามเหลี่ยมยาว x เซนติเมตร
เนื่องจาก ฐานของรูปสามเหลี่ยมนี้สั้นกวาสวนสูง 5 เซนติเมตร
นั่นคือ รูปสามเหลี่ยมนี้สูง x+5 เซนติเมตร
x ( x + 5)
จะไดวา รูปสามเหลี่ยมนี้มีพื้นที่ ตารางเซนติเมตร
2
เนื่องจากพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมนี้มีคาอยูระหวาง 42 และ 52 ตารางเซนติเมตร
จะไดวา
x ( x + 5)
42 < < 52
2
x ( x + 5) x ( x + 5)
นั่นคือ > 42 และ < 52
2 2
จะได x ( x + 5) > 84 และ x ( x + 5) < 104

x 2 + 5 x − 84 > 0 และ x 2 + 5 x − 104 < 0

( x + 12 )( x − 7 ) > 0 และ ( x + 13)( x − 8) < 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
448 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ดังนั้น x < − 12 หรือ x>7 และ −13 < x < 8

เนื่องจาก x>0 จะไดวา 7< x<8

นั่นคือ ความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมมีคาอยูระหวาง 7 และ 8 เซนติเมตร


18. ใหจํานวนคี่สามจํานวนเรียงกัน คือ x−2 , x , x+2

เนื่องจากผลคูณของจํานวนคี่สามจํานวนนี้ไมมากกวา 315 จะไดวา


( x − 2) x ( x + 2) ≤ 315
x3 − 4 x ≤ 315
x − 4 x − 315
3
≤ 0
( x − 7 ) ( x 2 + 7 x + 45) ≤ 0
49 49
( x − 7) x2 + 7 x + − + 45 ≤ 0
4 4
2
7 131
( x − 7) x+ + ≤ 0
2 4
2
7 131
เนื่องจาก x+ + >0 เสมอ
2 4
จะไดวา x−7 ≤ 0 นั่นคือ x≤7

จะไดวา จํานวนคี่ที่มากที่สุด 3 จํานวนที่เรียงติดกัน ที่มีผลคูณไมมากกวา 315

คือ 5, 7 และ 9

ดังนั้น ผลคูณที่มากที่สุดที่เปนไปไดของทั้งสามจํานวนเทากับ 5 × 7 × 9 = 315

19. วิธีที่ 1 ใหชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ x บาท


เนื่องจากชางตัดเสื้อซื้อผามาทั้งสิ้น 600 บาท
600
จะไดวาชางตัดเสื้อซื้อผามา เมตร
x
600
ตัดเก็บไว 5 เมตร นั่นคือจะเหลือผา −5 เมตร
x
ขายผาที่เหลือไปในราคาสูงกวาตนทุนเมตรละ 10 บาท
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 449

นั่นคือ ขายผาที่เหลือไปราคาเมตรละ x + 10 บาท


เนื่องจากขายผาที่เหลือไปไดกําไร 80 บาท
จะไดวาขายผาที่เหลือไปไดเงินทั้งหมด 680 บาท
600
นั่นคือ −5 ( x + 10 ) = 680
x
600 680
−5 =
x x + 10
600 − 5x 680
=
x x + 10
600 − 5 x 680
− = 0
x x + 10
( 600 − 5 x )( x + 10 ) − 680 x = 0
x ( x + 10 )

( 550 x − 5 x 2
+ 6000 ) − 680 x
= 0
x ( x + 10 )
−5 x 2 − 130 x + 6000
= 0
x ( x + 10 )
x 2 + 26 x − 1200
= 0
x ( x + 10 )
( x − 24 )( x + 50 ) = 0
x ( x + 10 )

จะได ( x − 24 )( x + 50 ) = 0 และ x ( x + 10 ) ≠ 0
นั่นคือ x = 24 หรือ x = − 50 โดยที่ x ≠ 0 และ x ≠ − 10

เนื่องจาก x>0

จะได เซตคําตอบของสมการ คือ { 24 }


ดังนั้น ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ 24 บาท

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
450 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 2 ใหชางตัดเสื้อซื้อผามาทั้งหมด x เมตร เปนเงิน 600 บาท


600
ดังนั้น ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ บาท
x
ตัดผาเก็บไว 5 เมตร เหลือผา x−5 เมตร
ขายผาที่เหลือไปในราคาสูงกวาทุนเมตรละ 10 บาท
600
นั่นคือขายผาไปราคาเมตรละ + 10 บาท
x
600
ดังนั้น ขายผาที่เหลือไปไดเงินทั้งหมด ( x − 5) + 10 บาท
x
เนื่องจากขายผาที่เหลือไปไดกําไร 80 บาท
จะไดวาขายผาที่เหลือไปไดเงินทั้งหมด 680 บาท
600
นั่นคือ ( x − 5) + 10 = 680
x
600 680
+ 10 =
x x−5
600 + 10x 680
=
x x−5
60 + x 68
=
x x−5
60 + x 68
− = 0
x x−5
( 60 + x )( x − 5) − 68 x = 0
x ( x − 5)

(x 2
+ 55 x − 300 ) − 68 x
= 0
x ( x − 5)
x 2 − 13 x − 300
= 0
x ( x − 5)
( x + 12 )( x − 25) = 0
x ( x − 5)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 451

จะได ( x + 12 )( x − 25) = 0 และ x ( x − 5) ≠ 0


นั่นคือ x = − 12 หรือ x = 25 โดยที่ x ≠ 0 และ x≠5

เนื่องจาก x>0

จะได เซตคําตอบของสมการ คือ { 25 }


นั่นคือ ชางตัดเสื้อซื้อผามา 25 เมตร
600
ดังนั้น ชางตัดเสื้อซื้อผามาราคาเมตรละ = 24 บาท
25
20. 1) วิธีที่ 1 จาก x−2 = 2x

กรณีที่ 1 x−2 ≥ 0 หรือ x≥2

จะได x−2 = 2x

x = −2 ซึ่ง −2 < 2

นั่นคือ −2 ไมใชคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 x−2 < 0 หรือ x<2

จะได − ( x − 2 ) = 2x
x−2 = −2x
3x = 2
2 2
x = ซึ่ง <2
3 3
2
นั่นคือ เปนคําตอบของสมการ
3
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ
3
วิธีที่ 2 จาก x−2 = 2x

ยกกําลังสองทั้งสองขาง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
452 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( 2x )
2 2
x−2 =

( x − 2) ( 2x )
2 2
=

( x − 2) − ( 2x )
2 2
= 0
( x − 2) − 2x ( x − 2) + 2x = 0
( − x − 2 )( 3x − 2 ) = 0
( x + 2 )( 3x − 2 ) = 0
2
จะได x = −2 หรือ x=
3
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x − 2 = 2x ดวย −2 จะได
−2−2 = 2 ( −2 )
−4 = −4
4 = −4 เปนเท็จ
2
แทน x ในสมการ x − 2 = 2x ดวย จะได
3
2 2
−2 = 2
3 3
4 4
− =
3 3
4 4
= เปนจริง
3 3
2
ดังนัน้ เซตคําตอบของสมการ คือ
3
2) วิธีที่ 1 จาก 2x −1 = x+4
1
กรณีที่ 1 2x −1 ≥ 0 หรือ x≥
2
จะได 2x −1 = x+4
1
x = 5 ซึ่ง 5≥
2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 453

นั่นคือ 5 เปนคําตอบของสมการ
1
กรณีที่ 2 2x −1 < 0 หรือ x<
2
จะได − ( 2 x − 1) = x+4
2x −1 = − ( x + 4)
2x −1 = −x − 4
3x = −3
1
x = −1 ซึ่ง −1 <
2
นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 5 }
วิธีที่ 2 จาก 2x −1 = x+4

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x + 4)
2 2
2x −1 =

( 2 x − 1) ( x + 4)
2 2
=

( 2 x − 1) − ( x + 4 )
2 2
= 0
( 2 x − 1) − ( x + 4 ) ( 2 x − 1) + ( x + 4 ) = 0
( x − 5)( 3x + 3) = 0
( x − 5)( x + 1) = 0
จะได x=5 หรือ x = −1

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 2x −1 = x + 4 ดวย 5 จะได


2 ( 5) − 1 = 5+4
10 − 1 = 9
9 = 9
9 = 9 เปนจริง
แทน x ในสมการ 2x −1 = x + 4 ดวย −1 จะได
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
454 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2 ( −1) − 1 = −1 + 4
− 2 −1 = 3
−3 = 3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 5 }
3) จาก 3x − 1 = x−5

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2 2
3x − 1 = x−5

( 3x − 1) ( x − 5)
2 2
=

( 3x − 1) − ( x − 5)
2 2
= 0
( 3x − 1) − ( x − 5) ( 3x − 1) + ( x − 5) = 0
( 2 x + 4 )( 4 x − 6 ) = 0
( x + 2 )( 2 x − 3) = 0
3
จะได x = −2 หรือ x=
2
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 3x − 1 = x − 5 ดวย −2 จะได
3 ( −2 ) − 1 = −2−5
−7 = −7
7 = 7 เปนจริง
3
แทน x ในสมการ 3x − 1 = x − 5 ดวย จะได
2
3 3
3 −1 = −5
2 2
7 7
= −
2 2
7 7
= เปนจริง
2 2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 455

3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 2,
2
4) จาก x 2 − 3x + 1 = x−2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x − 2)
2 2
x 2 − 3x + 1 =

( x − 3x + 1) ( x − 2)
2 2 2
=

( x − 3x + 1) − ( x − 2 )
2 2 2
= 0

( x − 3x + 1) − ( x − 2 ) ( x − 3x + 1) + ( x − 2 )
2 2
= 0

( x − 4 x + 3)( x − 2 x − 1)
2 2
= 0

( x − 1)( x − 3) (
x − 1+ 2 ) (
x − 1− 2 ) = 0

จะได x =1 หรือ x=3 หรือ x = 1+ 2 หรือ x = 1− 2

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 1 จะได


(1) − 3 (1) + 1
2
= 1− 2

−1 = −1
1 = −1 เปนเท็จ
แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 3 จะได
( 3) − 3 ( 3) + 1
2
= 3− 2
1 = 1
1 = 1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 1 + 2 จะได
(1 + 2 ) ( ) (1 + 2 ) − 2
2
− 3 1+ 2 +1 =

(1 + 2 2 + 2 − 3+3) ( 2 ) +1 = −1 + 2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
456 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

1− 2 = 2 −1

(
− 1− 2 ) = 2 −1

2 −1 = 2 −1 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x + 1 = x − 2 ดวย 1 − 2 จะได
(1 − 2 ) ( ) (1 − 2 ) − 2
2
− 3 1− 2 +1 =

(1 − 2 ) (
2 + 2 − 3−3 2 ) +1 = −1 − 2

1+ 2 = ( )
− 1+ 2

1+ 2 = − (1 + 2 ) เปนเท็จ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 3, 1 + 2}

5) จาก x2 + 2 x − 1 = x+5

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x + 5)
2 2
x2 + 2 x − 1 =

( x + 2 x − 1) ( x + 5)
2 2 2
=

( x + 2 x − 1) − ( x + 5)
2 2 2
= 0

( x + 2 x − 1) − ( x + 5) ( x + 2 x − 1) + ( x + 5)
2 2
= 0

( x + x − 6 )( x + 3x + 4 )
2 2
= 0

( x − 2 )( x + 3) ( x + 3x + 4 ) 2
= 0

เนื่องจาก ( 3) − 4 (1)( 4 ) < 0


2

จะไดวา ไมมีจํานวนจริงที่ทําให x 2 + 3x + 4 = 0

ดังนั้น x=2 หรือ x = −3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 457

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x2 + 2 x − 1 = x + 5 ดวย 2 จะได


( 2) + 2 ( 2) − 1
2
= 2+5
7 = 7
7 = 7 เปนจริง
แทน x ในสมการ x2 + 2 x − 1 = x + 5 ดวย −3 จะได
( −3) + 2 ( −3) − 1 ( −3) + 5
2
=

2 = 2
2 = 2 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 3, 2 }
6) จาก x 2 − 3x − 4 = 2x + 2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2 2
x 2 − 3x − 4 = 2x + 2

( x − 3x − 4 ) ( 2x + 2)
2 2 2
=

( x − 3x − 4 ) − ( 2 x + 2 )
2 2 2
= 0

( x − 3x − 4 ) − ( 2 x + 2 ) ( x − 3x − 4 ) + ( 2 x + 2 )
2 2
= 0

( x − 5 x − 6 )( x − x − 2 )
2 2
= 0
( x + 1)( x − 6 )( x + 1)( x − 2 ) = 0
จะได x = −1 หรือ x=6 หรือ x=2

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x 2 − 3x − 4 = 2x + 2 ดวย −1 จะได


( −1) − 3 ( −1) − 4 2 ( −1) + 2
2
=

0 = 0
0 = 0 เปนจริง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
458 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แทน x ในสมการ x 2 − 3x − 4 = 2x + 2 ดวย 6 จะได


( 6) − 3( 6) − 4 2 ( 6) + 2
2
=

14 = 14
14 = 14 เปนจริง
แทน x ในสมการ x 2 − 3x − 4 = 2x + 2 ดวย 2 จะได
( 2) − 3( 2) − 4 2 ( 2) + 2
2
=

−6 = 6
6 = 6 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 2, 6 }
7) วิธีที่ 1 จาก x + x−3 = 2

x−3 = 2− x
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(2 − x )
2 2
x−3 =

( x − 3) (2 − x )
2 2
=
2
x2 − 6 x + 9 = 4−4 x + x
x2 − 6 x + 9 = 4 − 4 x + x2
4 x = 6x − 5
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( 6 x − 5) (4 x )
2 2
=

( 6 x − 5) ( 4x )
2 2
=
( 6 x − 5) − 4 x ( 6 x − 5) + 4 x = 0
( 2 x − 5)(10 x − 5) = 0
( 2 x − 5)( 2 x − 1) = 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 459

5 1
จะได x= หรือ x=
2 2
5
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x + x−3 = 2 ดวย จะได
2
5 5
+ −3 = 2
2 2
5 1
+ = 2
2 2
3 = 2 เปนเท็จ
1
แทน x ในสมการ x + x−3 = 2 ดวย จะได
2
1 1
+ −3 = 2
2 2
1 5
+ = 2
2 2
3 = 2 เปนเท็จ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x<0

จะได − x − ( x − 3) = 2
−2x = −1
1
x = ซึ่ง x>0
2
1
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
2
กรณีที่ 2 0≤ x<3

จะได x − ( x − 3) = 2

3 = 2 เปนเท็จ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
460 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นั่นคือ ไมมีคําตอบของสมการ
กรณีที่ 3 x≥3

จะได x + ( x − 3) = 2
2x = 5
5
x = ซึ่ง x<3
2
5
นั่นคือ ไมเปนคําตอบของสมการ
2
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ ∅

8) วิธีที่ 1 จาก 4 x = x − 2 +1

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(4 x ) ( x − 2 +1 )
2 2
=

( x − 2)
2
16x 2 = + 2 x − 2 +1
16x 2 = x2 − 4 x + 4 + 2 x − 2 + 1
15 x 2 + 4 x − 5 = 2 x−2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(15 x + 4 x − 5) (2 )
2 2
2
= x−2

(15 x + 4 x − 5) 2 ( x − 2)
2 2 2
=

(15 x + 4 x − 5) − 2 ( x − 2 )
2 2 2
= 0

(15 x 2
+ 4 x − 5 ) − 2 ( x − 2 ) (15 x + 4 x − 5 ) + 2 ( x − 2 )
2
= 0

(15 x + 2 x − 1)(15 x + 6 x − 9 )
2 2
= 0

(15 x + 2 x − 1)( 5 x + 2 x − 3)
2 2
= 0
( 5 x − 1)( 3x + 1)( 5 x − 3)( x + 1) = 0
1 1 3
จะได x= หรือ x=− หรือ x= หรือ x = −1
5 3 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 461

1
ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย จะได
5
1 1
4 = − 2 +1
5 5
1 9
4 = − +1
5 5
4 9
= +1
5 5
4 14
= เปนเท็จ
5 5
1
แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย − จะได
3
1 1
4 − = − − 2 +1
3 3
1 7
4 = − +1
3 3
4 7
= +1
3 3
4 10
= เปนเท็จ
3 3
3
แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย จะได
5
3 3
4 = − 2 +1
5 5
3 7
4 = − +1
5 5
12 7
= +1
5 5
12 12
= เปนจริง
5 5

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
462 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แทน x ในสมการ 4 x = x − 2 +1 ดวย −1 จะได


4 −1 = −1− 2 +1
4 (1) = − 3 +1
4 = 3 +1
4 = 4 เปนจริง
3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 1,
5
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x<0

จะได 4(−x) = − ( x − 2) + 1
−4x = −x + 2 +1
−3x = 3
x = −1 ซึ่ง −1 < 0

นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 0≤ x<2

จะได 4x = − ( x − 2) + 1
4x = −x + 2 +1
5x = 3
3 3
x = ซึ่ง 0≤ <2
5 5
3
นั่นคือ เปนคําตอบของสมการ
5
กรณีที่ 3 x≥2

จะได 4x = ( x − 2) + 1
4x = x − 2 +1
3x = −1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 463

1 1
x = − ซึ่ง − <2
3 3
1
นั่นคือ − ไมเปนคําตอบของสมการ
3
3
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ − 1,
5
9) วิธีที่ 1 จาก x −1 + x − 2 = 3

x −1 − 3 = − x−2
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( x −1 − 3 ) (− )
2 2
= x−2

( x −1 − 3 ) ( x − 2)
2 2
=

( x − 1) ( x − 2)
2 2
− 6 x −1 + 9 =

(x 2
− 2 x + 1) − 6 x − 1 + 9 = x2 − 4 x + 4
x+3
x −1 =
3
ยกกําลังสองทั้งสองขาง
2
2 x+3
x −1 =
3
2
x+3
( x − 1)
2
=
3
2
x+3
( x − 1) −
2
= 0
3
x+3 x+3
( x − 1) − ( x − 1) + = 0
3 3
2x − 6 4x
= 0
3 3
4 x ( x − 3) = 0
จะได x=0 หรือ x=3

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
464 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x −1 + x − 2 = 3 ดวย 0 จะได


0 −1 + 0 − 2 = 3
−1 + − 2 = 3
3 = 3 เปนจริง
แทน x ในสมการ x −1 + x − 2 = 3 ดวย 3 จะได
3 −1 + 3 − 2 = 3
2 + 1 = 3
2 +1 = 3
3 = 3 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 0, 3 }
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x <1

จะได − ( x − 1) − ( x − 2 ) = 3
−2 x + 3 = 3
−2x = 0
x = 0 ซึ่ง 0 <1

นั่นคือ 0 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 2 1≤ x < 2

จะได ( x − 1) − ( x − 2 ) = 3

1 = 3 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมีคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 465

กรณีที่ 3 x≥2

จะได ( x − 1) + ( x − 2 ) = 3
2x − 3 = 3
2x = 6
x = 3 ซึ่ง 3≥ 2

นั่นคือ 3 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { 0, 3 }
10) วิธีที่ 1 จาก x − x−2 = x −1

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
( ) ( x − 1)
2 2
x − x−2 =

( x − 1)
2 2 2
x −2 x x−2 + x−2 =

x2 − 2 x ( x − 2) + ( x − 2) ( x − 1)
2 2
=
x2 − 2 x ( x − 2) + ( x2 − 4x + 4) = x2 − 2 x + 1
x2 − 2 x + 3 = 2 x ( x − 2)
x2 − 2 x + 3 = 2 x2 − 2 x

ยกกําลังสองทั้งสองขาง
(x − 2 x + 3) (2 x )
2 2
2
= 2
− 2x

(x − 2 x + 3) 2 ( x2 − 2 x )
2 2
2
=

( x − 2 x + 3) − 2 ( x − 2 x )
2 2
2 2
= 0

( x − 2 x + 3) − 2 ( x − 2 x ) ( x − 2 x + 3) + 2 ( x − 2 x )
2 2 2 2
= 0

( − x + 2 x + 3)( 3x − 6 x + 3)
2 2
= 0

( x − 2 x − 3)( x − 2 x + 1)
2 2
= 0

( x + 1)( x − 3)( x − 1)
2
= 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
466 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

จะได x = −1 หรือ x =1 หรือ x =3

ตรวจคําตอบ แทน x ในสมการ x − x − 2 = x −1 ดวย −1 จะได


−1 − −1− 2 = −1 − 1
−1 − − 3 = −2
1− 3 = −2
−2 = −2 เปนจริง
แทน x ในสมการ x − x − 2 = x −1 ดวย 1 จะได
1 − 1− 2 = 1−1
1 − −1 = 0
1−1 = 0
0 = 0 เปนจริง
แทน x ในสมการ x − x − 2 = x −1 ดวย 3 จะได
3 − 3− 2 = 3 −1
3 − 1 = 2
3 −1 = 2
2 = 2 เปนจริง
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 1, 3 }
วิธีที่ 2 โดยบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x<0

จะได − x + ( x − 2) = x −1

x = −1 ซึ่ง −1 < 0

นั่นคือ −1 เปนคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 467

กรณีที่ 2 0≤ x<2

จะได x + ( x − 2) = x −1
x−2 = −1
x = 1 ซึ่ง 0 ≤1< 2

นั่นคือ 1 เปนคําตอบของสมการ
กรณีที่ 3 x≥2

จะได x − ( x − 2) = x −1
x −1 = 2
x = 3 ซึ่ง 3≥ 2

นั่นคือ 3 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ { − 1, 1, 3 }
21. 1) จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 2x − 4 ≥ 0 จะได x≥2

และ 2x − 4 > x +1
x > 5
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x>5

กรณีที่ 2 2x − 4 < 0 จะได x<2

และ − ( 2x − 4) > x +1
−2 x + 4 > x +1
−3x > −3
x < 1
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ x <1

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , 1 ) ∪ ( 5, ∞ )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
468 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

2) วิธีที่ 1 จาก x−4 ≤ 2x + 1


1
เนื่องจาก x−4 ≥ 0 ดังนั้น 2x + 1 ≥ 0 หรือ x≥−
2
จะได − ( 2 x + 1) ≤ x−4 ≤ 2x + 1

ดังนั้น − ( 2 x + 1) ≤ x−4 และ x−4 ≤ 2x + 1

−2 x − 1 ≤ x−4 และ x ≥ −5
−3x ≤ −3
x ≥ 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 1, ∞ )
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x−4 ≥ 0 จะได x≥4

และ x−4 ≤ 2x + 1
x ≥ −5
นั่นคือ คา x ที่สอดคลอง คือ x≥4

กรณีที่ 2 x−4 < 0 จะได x<4

และ x−4 ≥ − ( 2 x + 1)

x−4 ≥ −2 x − 1

3x ≥ 3
x ≥ 1
นั่นคือ คา x ที่สอดคลอง คือ 1 ≤ x < 4
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ 4, ∞ ) ∩ [ 1, 4 ) หรือ [ 1, ∞ )
3) วิธีที่ 1 จาก 2x − 3 < 3x − 7
7
เนื่องจาก 2x − 3 ≥ 0 ดังนั้น 3x − 7 > 0 หรือ x>
3
จะได − ( 3x − 7 ) < 2x − 3 < 3x − 7

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 469

ดังนั้น − ( 3x − 7 ) < 2x − 3 และ 2x − 3 < 3x − 7

−3x + 7 < 2x − 3 และ x > 4


−5x < −10
x > 2
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 4, ∞ )
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
3
กรณีที่ 1 2x − 3 ≥ 0 จะได x ≥
2
และ 2x − 3 < 3x − 7
x > 4
นั่นคือ คา x ที่สอดคลอง คือ x>4
3
กรณีที่ 2 2x − 3 < 0 จะได x <
2
และ 2x − 3 > − ( 3x − 7 )
2x − 3 > −3x + 7
5x > 10
x > 2
นั่นคือ ไมมี x ที่สอดคลองกับอสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( 4, ∞ ) ∪ ∅ หรือ ( 4, ∞ )
4) เนื่องจาก x − 4 ≥ 0 และ x − 2 x ≥ 0 สําหรับทุกคา x ∈
2 2

จะได x2 − 4
2
≤ x2 − 2 x
2

(x − 4) (x − 2x)
2 2
2
≤ 2

( x − 4) − ( x − 2x )
2 2
2 2
≤ 0

( x − 4) − ( x − 2x ) ( x − 4) + ( x − 2x )
2 2 2 2
≤ 0

( 2x − 4) ( 2x − 2x − 4)
2
≤ 0

( x − 2) ( x − x − 2)
2
≤ 0

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
470 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

( x − 2 )( x − 2 )( x + 1) ≤ 0

( x − 2 ) ( x + 1)
2
≤ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 1 ] ∪ { 2 }
5) เนื่องจาก 2 x − 5 x − 1 ≥ 0 และ x − x + 4 ≥ 0 สําหรับทุกคา
2 2
x∈

จะได 2 x2 − 5x − 1
2
≤ x2 − x + 4
2

( 2 x − 5 x − 1) (x − x + 4)
2 2
2
≤ 2

( 2 x − 5 x − 1) − ( x − x + 4 )
2 2
2 2
≤ 0

( 2x 2
− 5 x − 1) − ( x − x + 4 ) ( 2 x − 5 x − 1) + ( x − x + 4 )
2 2 2
≤ 0

( x − 4 x − 5)( 3x − 6 x + 3)
2 2
≤ 0

( x − 4 x − 5)( x − 2 x + 1)
2 2
≤ 0

( x + 1)( x − 5)( x − 1)
2
≤ 0
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 1, 5 ]
6) จากโจทย ทราบวา x ≠ 5 และ x ≠ 4
x −1 x−5
จาก 2 ≤
x−5 x−4
2 2
x −1 x−5
2 ≤
x−5 x−4
2 2
x −1 x−5
2 ≤
x−5 x−4
2 2
x −1 x−5
2 − ≤ 0
x−5 x−4
x −1 x−5 x −1 x−5
2 − 2 + ≤ 0
x−5 x−4 x−5 x−4

2 ( x − 1)( x − 4 ) − ( x − 5 ) 2 ( x − 1)( x − 4 ) + ( x − 5 )
2 2

≤ 0
( x − 5)( x − 4 ) ( x − 5)( x − 4 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 471

( 2x 2
− 10 x + 8 ) − ( x 2 − 10 x + 25 ) ( 2x 2
− 10 x + 8 ) + ( x 2 − 10 x + 25 )
≤ 0
( x − 5)( x − 4 ) ( x − 5)( x − 4 )
x 2 − 17 3 x 2 − 20 x + 33
≤ 0
( x − 5)( x − 4 ) ( x − 5)( x − 4 )
(x − 17 )( x + 17 ) ( x − 3)( 3x − 11) ≤ 0
( x − 5) ( x − 4 )
2 2

11
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ − 17 , 3 ∪ , 17 − { 4, 5 } หรือ
3

− 17 , 3 ∪
11
3
, 4 ∪ 4, 17 (
7) จากโจทย ทราบวา x ≠ −2 และ x≠2
1 2
จาก ≥
x −2 x +1

กรณีที่ 1 x<0
1 2
จะได ≥
−x − 2 −x +1
1 2

x+2 x −1
1 2
− ≤ 0
x + 2 x −1
( x − 1) − 2 ( x + 2 ) ≤ 0
( x + 2 )( x − 1)
−x − 5
≤ 0
( x + 2 )( x − 1)
x+5
≥ 0
( 2 )( x − 1)
x +

ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ [ − 5, − 2 )

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
472 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กรณีที่ 2 x≥0
1 2
จะได ≥
x−2 x +1
1 2
− ≥ 0
x − 2 x +1
( x + 1) − 2 ( x − 2 ) ≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
−x + 5
≥ 0
( x − 2 )( x + 1)
x−5
≤ 0
( x − 2 )( x + 1)
ที่สอดคลอง คือ ( 2, 5 ]
ดังนั้น คา x

ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ [ − 5, − 2 ) ∪ ( 2, 5 ]


8) จากโจทย ทราบวา x ≠ −2 และ x≠3

x +6 x
จาก +1 <
x+2 x−3
กรณีที่ 1 x<0
−x + 6 −x
จะได +1 <
x+2 x−3
x−6 x
−1 >
x+2 x−3
x−6 x
− −1 > 0
x+ 2 x−3
( x − 6 )( x − 3) − x ( x + 2 ) − ( x + 2 )( x − 3) > 0
( x + 2 )( x − 3)
(x 2
− 9 x + 18 ) − ( x 2 + 2 x ) − ( x 2 − x − 6 )
> 0
( x + 2 )( x − 3)
− x 2 − 10 x + 24
> 0
( x + 2 )( x − 3)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 473

x 2 + 10 x − 24
< 0
( x + 2 )( x − 3)
( x + 12 )( x − 2 ) < 0
( x + 2 )( x − 3)
ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( − 12, − 2 )
กรณีที่ 2 x≥0
x+6 x
จะได +1 <
x+2 x−3
x+6 x
− +1 < 0
x+ 2 x−3
( x + 6 )( x − 3) − x ( x + 2 ) + ( x + 2 )( x − 3) < 0
( x + 2 )( x − 3)
(x 2
+ 3 x − 18 ) − ( x 2 + 2 x ) + ( x 2 − x − 6 )
< 0
( x + 2 )( x − 3)
x 2 − 24
< 0
( x + 2 )( x − 3)
( x − 2 6 )( x + 2 6 ) < 0
( x + 2 )( x − 3)
ดังนั้น คา x ( 3, 2 6 )
ที่สอดคลอง คือ
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − 12, − 2 ) ∪ ( 3, 2 6 )
9) จากโจทย ทราบวา x≠0 และ x ≠ −2

x−3 x+5
จาก ≥
x x+2
x−3
กรณีที่ 1 x<0 จะได x−3 < 0 ดังนั้น >0
x
จะไดอสมการเปน
x−3 x+5

x x+2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
474 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

x−3 x+5
− ≥ 0
x x+2
( x − 3)( x + 2 ) − x ( x + 5)
≥ 0
x ( x + 2)

(x 2
− x − 6) − ( x2 + 5x )
≥ 0
x ( x + 2)
( −6 x − 6 ) ≥ 0
x ( x + 2)
( x + 1)
≤ 0
x ( x + 2)

ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 )


x−3
กรณีที่ 2 0<x<3 จะได x−3 < 0 ดังนั้น <0
x
จะไดอสมการเปน
x−3 x+5
− ≥
x x+2
x+5 x−3
+ ≤ 0
x+2 x
x ( x + 5 ) + ( x − 3)( x + 2 )
≤ 0
x ( x + 2)

(x 2
+ 5x ) + ( x2 − x − 6)
≤ 0
x ( x + 2)
2 x2 + 4 x − 6
≤ 0
x ( x + 2)
x2 + 2 x − 3
≤ 0
x ( x + 2)
( x − 1)( x + 3) ≤ 0
x ( x + 2)

ดังนั้น คา x ที่สอดคลอง คือ ( 0, 1 ]

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 475

x−3
กรณีที่ 3 x≥3 จะได x−3 ≥ 0 ดังนั้น >0
x
จะไดอสมการเปน
x−3 x+5
นั่นคือ ≥
x x+2
x−3 x+5
− ≥ 0
x x+2
( x − 3)( x + 2 ) − x ( x + 5)
≥ 0
x ( x + 2)

(x 2
− x − 6) − ( x2 + 5x )
≥ 0
x ( x + 2)
( −6 x − 6 )
≥ 0
x ( x + 2)
( x + 1) ≤ 0
x ( x + 2)

ดังนั้น ไมมี x ที่สอดคลองกับอสมการ


ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการ คือ ( − ∞ , − 2 ) ∪ [ − 1, 0 ) ∪ ( 0, 1 ]
10) จากโจทย ทราบวา x ≠ 0 และ x ≠ − 2
22. ใหรานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ x

เนื่องจากที่ทํางานของสมชายตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 5
จะไดวาสมชายเดินทางจากที่ทํางานเพื่อไปซื้อของที่รานคาเปนระยะทาง x−5 กิโลเมตร
และเนื่องจากบานของสมชายตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 7
จะไดวา สมชายเดินทางจากรานคากลับบานของตนเองเปนระยะทาง x−7 กิโลเมตร
เนื่องจาก สมชายเดินทางไปซื้อของที่รานคาแลวเดินกลับบานตนเองเปนระยะทาง
ทั้งสิ้น 4 กิโลเมตร
จะไดวา x−5 + x−7 = 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
476 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

วิธีที่ 1 x−5 = 4− x−7

(4 − )
2 2
x−5 = x−7

( x − 5) (4 − x−7 )
2 2
=

( x − 5) 16 − 8 x − 7 + ( x − 7 )
2 2
=

( x − 5) − ( x − 7 )
2 2
= 16 − 8 x − 7
( x − 5) − ( x − 7 ) ( x − 5) + ( x − 7 ) = 16 − 8 x − 7
2 ( 2 x − 12 ) = 16 − 8 x − 7
x−6 = 4−2 x−7
x − 10 = −2 x − 7

( x − 10 ) ( −2 )
2 2
= x−7

( x − 10 ) 2( x − 7)
2 2
=

( x − 10 ) − 2( x − 7)
2 2
= 0

( x − 10 ) − 2 ( x − 7 ) ( x − 10 ) + 2 ( x − 7 ) = 0
( − x + 4 )( 3x − 24 ) = 0
( x − 4 )( x − 8) = 0
นั่นคือ เซตคําตอบของสมการ คือ {4, 8}
ดังนั้น รานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 4 หรือหลักกิโลเมตรที่ 8
วิธีที่ 2 จากบทนิยามของคาสัมบูรณ
กรณีที่ 1 x<5

จะได − ( x − 5) − ( x − 7 ) = 4
−2 x + 12 = 4
−2x = −8
x = 4 ซึ่ง 4<5

นั่นคือ 4 เปนคําตอบของสมการ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 477

กรณีที่ 2 5≤ x<7

จะได ( x − 5) − ( x − 7 ) = 4

2 = 4 เปนเท็จ
นั่นคือ ไมมี x ที่สอดคลองกับอสมการ
กรณีที่ 3 x≥7

จะได ( x − 5) + ( x − 7 ) = 4
2 x − 12 = 4
2x = 16
x = 8 ซึ่ง 8≥7

นั่นคือ 8 เปนคําตอบของสมการ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {4, 8}
ดังนั้น รานคาตั้งอยูที่หลักกิโลเมตรที่ 4 หรือหลักกิโลเมตรที่ 8

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
478 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

แหลงเรียนรูเพิ่มเติม
forvo.com เปนเว็บไซตที่รวบรวมการออกเสียงคําในภาษาตาง ๆ กอตั้งขึ้นเมื่อ ค ศ 2008

โดยมีจุดมุงหมายเพื่อพั นาการสื่อสารทางการพูด ผานการแลกเปลี่ยนการออกเสียงคําในภาษา


ตาง ๆ ทั้งจากบุคคลที่เปนเจาของภาษาและบุคคลที่ไมใชเจาของภาษา forvo.com ไดรับคัดเลือก
จากนิตยสาร Times ใหเปน 50 เว็บไซตที่ดีที่สุดใน ค ศ 2013 (50 best websites of 2013) ปจจุบัน

เว็บไซตนี้เ ปนฐานขอมูลที่รวบรวมการออกเสียงที่ใหญที่สุด มีคลิปเสียงที่แสดงการออกเสีย ง


คําศัพทประมาณสี่ลานคําในภาษาตาง ๆ มากกวา 330 ภาษา

ครูอาจใชเว็บไซต forvo.com เพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการออกเสียงคําศัพทคณิตศาสตร


หรือชื่อนักคณิตศาสตรในภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น ๆ ที่ปราก ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ได เชน finite set และ infinite set ซึ่งเปนคําศัพท
คณิตศาสตรในภาษาอังกฤษ หรือ Georg Cantor ซึ่งเปนชื่อนักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 479

บรรณานกรม
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2524). คูมือครูวิชาคณิตศาสตร ค 012 ตาม
หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 ของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพ :

โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2558). คูมือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ : โรงพิมพ สกสค ลาดพราว
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2557). คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ : โรงพิมพ สกสค ลาดพราว
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 ตามผลการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ : โรงพิมพ สกสค ลาดพราว
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2557) หนังสือเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อเสริม
ศักยภาพคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ระบบจํานวนจริง กรุงเทพ : พั นา
คุณภาพวิชาการ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
480 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

คณ ูจัดทํา
คณ ที่ปรึกษา
ดร พรพรรณ ไวทยางกูร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
รศ ดร สัญญา มิตรเอม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร สุพัตรา ผาติวิสันติ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณ ูจัดทําคูมือครู
นางสาวปฐมาภรณ อวชัย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวอัมริสา จันทนะสิริ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายทศธรรม เมขลา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายพั นชัย รวิวรรณ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวภิญญดา กลับแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร ศศิวรรณ เมลืองนนท สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร สุธารส นิลรอด สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายสมภพ ศรีสิทธิไพบูลย มหาวิทยาลัยราชภั กาญจนบุรี
นายธีรสรรค ขันธวิทย นักวิชาการอิสระ
นายนิธิ รุงธนาภิรมย นักวิชาการอิสระ
นายอัฐวิช นริศยาพร นักวิชาการอิสระ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1 481

คณ ูพิจารณาคูมือครู
นายประสาท สอานวงศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
รศ ดร สมพร สูตินันทโอภาส สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
รศ ดร สิริพร ทิพยคง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจินตนา อารยะรังสฤษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจําเริญ เจียวหวาน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายสุเทพ กิตติพิทักษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร อลงกรณ ตั้งสงวนธรรม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวปฐมาภรณ อวชัย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวอัมริสา จันทนะศิริ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายพั นชัย รวิวรรณ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวภิญญดา กลับแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร ศศิวรรณ เมลืองนนท สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดร สุธารส นิลรอด สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณ บรรณาธิการ
รศ ดร สิริพร ทิพยคง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจินตนา อารยะรังสฤษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวจําเริญ เจียวหวาน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายสุเทพ กิตติพิทักษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
482 คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

กิตติกรรมปร กาศ
นางสาวขวัญใจ ภาสพันธุ โรงเรียนราชวินิตบางเขน กรุงเทพ
นายเชิดศักดิ ภักดีวิโรจน โรงเรียน ภ ป ร ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ จ นครปฐม
นายณรงคฤทธิ ายา โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพ
นายถนอมเกียรติ งานสกุล โรงเรียนสตรีภูเก็ต จ ภูเก็ต
นางสาวปรารถนา วิริยธรรมเจริญ โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จ นครปฐม
นายวิ ิตพงค พะวงษา โรงเรียนสภาราชินี จ ตรัง
นายศรัณย แสงนิลาวิวั น โรงเรียนจุ าภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี จ เพชรบุรี
นางสาวสราญลักษณ บุตรรัตน โรงเรียนบางละมุง จ เพชรบุรี
วาที่รอยตรีสามารถ วนาธรัตน โรงเรียนเ ลิมขวัญสตรี จ พิษณุโลก
นางสุธิดา นานชา โรงเรียนยานตาขาวรัฐชนูปถัมภ จ ตรัง
นายสุรชัย บุญเรือง โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช จ อุบลราชธานี
นางศรีสกุล สุขสวาง ขาราชการบํานาญ
นางศุภรา ทวรรณกุล ขาราชการบํานาญ
นายสุกิจ สมงาม ขาราชการบํานาญ
นางสุปราณี พวงพี ขาราชการบํานาญ

ฝายสนับสนนวิชาการ
นายชัยรัตน สุนทรประพี นักวิชาการอิสระ
นางสาวปยาภรณ ทองมาก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

You might also like