You are on page 1of 36

1

สำหรับนักศึกษำ

คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ชุดวิชา EDUC 191


“การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1” (Practicum 1)

ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
2

คานา
คู่มือ การฝึกประสบการณ์ วิช าชีพครู เล่มนี้ เป็นคู่มือใน รายวิช า EDUC 191 การฝึ กปฏิบั ติ
วิ ช าชี พ ครู ร ะหว่ า งเรี ย น 1 (Practicum 1) ซึ่ ง เป็ น รายวิ ช าที่ 1 ตามหลั ก สู ต รครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต
มหาวิทยาลั ย ราชภัฎ พิบู ล สงคราม หลั กสู ตรปรับปรุง พุท ธศักราช 2562 คู่มือเล่ มนี้ ประกอบด้ว ย
เนื้ อ หาสาระทั้ ง หมด 4 บท ได้ แ ก่ บทที่ 1 หลั ก การและแนวคิ ด วั ต ถุ ป ระสงค์ และกระบวนการ
การฝึกปฏิบัติการสอน บทที่ 2 ขอบข่ายและแนวทาง การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 บทที่ 3
บทบาทหน้าที่ของบุคลากรทีเ่ กี่ยวข้อง บทที่ 4 การประเมินผล การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1
หวังเป็ น อย่ างยิ่ งว่าคู่มือเล่ มนี้ จะเป็ นประโยชน์ส าหรับผู้ เกี่ยวข้องทุกท่าน ได้แก่ นักศึกษา
คณาจารย์คณะครุศาสตร์ รวมไปถึงบุคลากรในสถานศึกษา ได้ใช้เป็นแนวทางในการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู ให้บรรลุสาเร็จ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาต่อไป

ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
3

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา 2
สารบัญ 3
บทที่ 1
หลักการและแนวคิด วัตถุประสงค์ กระบวนการการฝึกปฏิบัติการสอน 4
บทที่ 2
ขอบข่ายและแนวทาง การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 6
บทที่ 3
บทบาทหน้าที่ของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 11
บทที่ 4
การประเมินผล การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 16

ภาคผนวก
ใบงานการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 19
แบบประเมิน 37
4

บทที่ 1
หลักการและแนวคิด วัตถุประสงค์ และกระบวนการการฝึกปฏิบัติการสอน

หลักการและแนวคิด
การผลิตครูตามหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) สาขาวิชาการศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง พุ ท ธศั ก ราช 2562 มุ่ ง ที่ จ ะผลิ ต บั ณ ฑิ ต
ที่มีความลุ่มลึกทางวิชาการ และมีความเชี่ยวชาญในทางปฏิบัติ และมีคุณธรรมจริยธรรมที่เป็นแบบอย่าง
ในความเป็นครูที่ดี ซึ่งในการปฏิบัติ นอกจากจะฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนแล้วจาเป็นต้องอาศัยการฝึกปฏิบัติ
จากสถานการณ์จริงในสถานศึกษาด้วย

วัตถุประสงค์ของการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
การจั ด กระบวนการฝึ กประสบการณ์ วิช าชีพ ครูให้ มีป ระสิ ท ธิภ าพจะช่ว ยส่ งเสริม คุณ ภาพ
การผลิตครู ซึ่งจาเป็นต้องกาหนดวัตถุประสงค์โดยรวม ดังต่อไปนี้
1. ด้านคุณลักษณะ เพื่อให้นักศึกษามีการพัฒนาตนเองให้มีความรัก ความศรัทธา ความภูมิใจ
ในวิชาชีพครู มีค่านิยมที่พึงประสงค์ ตั้งมั่นในคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความเป็น
คนดี ที่มีวินั ย ในตนเอง มีความรับ ผิ ดชอบ มีความรักความเมตตาต่อเด็ก มีความขยัน มีความเพี ยร
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
2. ด้านความรู้ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพโดยมีความรู้
ในเนื้อหาวิชาที่จะนาไปสอน ความรู้ในวิชาชีพครูที่จะนาไปใช้ในการปฏิบัติงานและความรอบรู้ ในการ
ทางานและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
3. ด้านเทคนิควิธี เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถ มีทักษะในการปฏิบัติงานสามารถแก้ปัญหา
และพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้นประกอบด้วยการวางแผนการศึกษา ระบบการจัดการเรียนการสอน เทคนิควิธี
ในด้านการจัดการเรียนรู้ การแก้ปัญหาพัฒนาผู้เรียน การปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนการเรียนการสอน

กระบวนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
กระบวนการฝึกการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1) ของหลักสูตรครุศาสตร์
บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี ปรับปรุงพุทธศักราช 2562) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
มีการฝึกปฏิบัติการในสถานศึกษาดังนี้
5

1. เป็ น การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ครู ร ะหว่ า งเรี ย น 1 (Practicum 1) ใช้ เ วลาฝึ ก ปฏิ บั ติ
ไม่ น้ อ ยกว่ า 90 ชั่ ว โมง คิ ด เป็ น 2 หน่ ว ยกิ ต เป็ น ชุ ด วิช าที่ ให้ นั ก ศึ ก ษาครูได้ สั งเกตและฝึ ก ทั ก ษะ
ด้ า นต่ า งๆ เช่ น คุ ณ ลั ก ษณะของตนเองและครู ที่ แ สดงออกถึ ง ความรั ก และศรั ท ธาในวิ ช าชี พ ครู
ระบุจรรยาบรรณต่อตนเองและต่อวิชาชีพ รอบรู้บทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาชั้นในสถานศึกษา
เข้าใจบริบทชุมชน ร่วมมือกับผู้ปกครองในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนา ดู แล ช่วยเหลือ
ผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ
ในรูปแบบของการศึกษารายกรณี (Case Study) โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจิตวิทยา เทคโนโลยี
ดิจิทัล การพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ สรุปแนวทางและลักษณะกิจกรรมการพัฒนา
วิช าชีพของครูทั้งในและนอกสถานศึกษา ผ่านกระบวนการสังเกตและวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ครู
ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้และนาผลจากการเรียนรู้
ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชน
แ ห่ งก ารเรี ย น รู้ ( PLC) เพื่ อ น าไป ใช้ ใน ก ารพั ฒ น าต น เอ งให้ มี ค ว าม รอ บ รู้ ทั น ส มั ย แ ล ะ
ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
6

บทที่ 2
ขอบข่ายและแนวทางการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
ขอบข่ายและแนวทาง
ชุดวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู ระหว่างเรียน 1 เป็นชุดวิชาที่กาหนดไว้ในโครงสร้างของกลุ่ม
ชุด วิ ช าการฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ตามหลั ก สู ต รครุศ าสตร์บั ณ ฑิ ต (หลั ก สู ต ร 4 ปี ) สาขาวิ ช า
การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม หลั กสู ตรปรับปรุง พุทธศักราช 2562
ประกอบด้วย 2 หน่วยกิต ใช้เวลาในการฝึกไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาเกิดผลลัพธ์
การเรี ย นรู้ ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ครู มี จิตส านึ กในความเป็น ครูมี จริยธรรม คุ ณ ธรรมในวิช าชีพ ครู
มี ค วามรู้ ความเข้ าใจ ในการวางแผนการศึ ก ษา พฤติ ก รรมและทั ก ษะการสอนที่ ดี แก้ ปั ญ หาและ
พัฒนางาน การจัดการเรียนรู้ได้อย่างมืออาชีพ และนาไปใช้โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการบูรณา
การระหว่างภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นาเสนอผลการปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ
การเรียนรู้ของตนเองได้อย่างมีระบบ

การดาเนินการการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ได้มีการวางแผนเตรียมการในการจัดระบบ
การบริ ห ารจั ด การการฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ครู ระหว่ า งเรี ย น โดยมี ก ารแต่ ตั้ ง คณ ะกรรมการ
ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์ เพื่อทาหน้าที่ในการกาหนดนโยบายและแนวทาง
การบริ ห ารการฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู การคั ด เลื อ กสถานศึ ก ษาที่ จ ะเป็ น โรงเรี ย นเครื อ ข่ า ย
ร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ จากเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา สถานศึ ก ษาที่ เ ป็ น หน่ ว ย
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และคณาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยร่วม
พั ฒ นากระบวนการนิ เ ทศและก ากั บ การปฏิ บั ติ ก ารฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ร ะหว่ า งเรี ย น
เพื่ อ ให้ มี คุ ณ ภาพ ได้ ม าตรฐานเพื่ อ ให้ เกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลต่ อ นั ก ศึ ก ษา โรงเรี ย น คณะครุ ศ าสตร์ แ ละ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
คณ ะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม ได้ ก าหนดให้ นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ อ อก
ฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ร ะหว่ า งเรี ย น นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งศึ ก ษาและท าความเข้ า ใจ หลั ก สู ต ร
ครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต เกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งหลั ก สู ต รของรายวิ ช าการฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ครูร ะหว่ างเรี ย น
ซึ่งประกอบด้วย ผลลัพธ์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ และการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
7

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นั กศึกษาจะต้องปฏิบั ติห น้าที่ครูโดยแสดงพฤติกรรม และทักษะเฉพาะเกี่ยวกับการสอน
ได้อย่างดี มีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยแสดงพฤติกรรมและทักษะเฉพาะ
เกี่ยวกับการสอนได้เป็นอย่างดี
2. นักศึกษาจะต้องนาทฤษฎีหลักการการออกแบบนวัตกรรม การออกแบบเนื้อหาสาระและ
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยี บูรณาการองค์ความรู้กับชุดวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู
ระหว่างเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
3. นักศึกษาจะต้องแก้ปัญหาและพัฒนางานและการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมืออาชีพ
4. นักศึกษาจะต้องนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดการเรียนและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของตน
ได้อย่างเป็นระบบ
สาระการเรียนรู้
1. ทฤษฎีและหลักการที่บูรณาการมาใช้จากทุกรายวิชา
2. มาตรฐานการเรียนรู้
3. สาระการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
6. การสะท้อนผลการเรียนรู้และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ในรูปแบบ AAR และ PLC
การจัดการเรียนรู้
1. ปฏิ บั ติ ง านครู แ ละพั ฒ นาคุ ณ ภาพการปฏิ บั ติ ก ารสอน โดยใช้ เวลาปฏิ บั ติ ก ารสอน
ไม่เกินครึ่งหนึ่งของครูป ระจาการและใช้เวลาเพื่อเตรียมการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย 2 เท่าของเวลา
ปฏิบัติงานสอน
2. สั งเคราะห์ อ งค์ ค วามรู้ จ ากทฤษฎี แ ละประสบการณ์ จากการฝึ ก ที่ ผ่ านมา มาบู รณาการ
กับการปฏิบัติการสอน
3. วางแผน และวิเคราะห์หลักสูตร ตลอดภาคการศึกษา โดยอิงหลักสูตรสถานศึกษา
4. ฝึกปฏิบัติจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและสอดคล้องกับศาสตร์ของกลุ่มสาระ
5. รายงานผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาคุณภาพการสอนของตน โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ในกลุ่ ม และมี ก ารเผยแพร่ สู่ ป ระชาคมวิ ช าชี พ ครู ดั ง ปรากฏในตารางแสดงความสั ม พั น ธ์ แ ต่ ล ะ
องค์ประกอบดังนี้
8

รายวิชา การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน
ผลลัพธ์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้
1. นั กศึกษาจะต้องปฏิบั ติ หน้ าที่ ครู 1. ทฤษฎี แ ละหลั ก การที่ 1. ปฏิ บั ติ ง านครู แ ละพั ฒ นา
ป ระพ ฤติ ต น เป็ น แบ บ อย่ างที่ ดี มี บูรณาการมาใช้จากทุกรายวิชา คุณ ภาพการปฏิบั ติการสอน โดยใช้
คุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ เวลาปฏิบัติการสอนไม่เกินครึ่งหนึ่ ง
วิ ช าชี พ โดยแสดงพฤติ ก รรมและทั กษะ 3. สาระการเรียนรู้ตามกลุ่ม ของครูป ระจ าการและใช้ เวลาเพื่ อ
เฉพาะเกี่ยวกับการสอนได้เป็นอย่างดี สาระ เตรียมการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย 2
2 . นั ก ศึ ก ษ า จ ะ ต้ อ งน า ท ฤ ษ ฎี 4. ก ระบ วน ก ารจั ด ก าร เท่าของเวลาปฏิบัติงานสอน
ห ลั ก ก า ร อ อ ก แ บ บ น วั ต ก ร ร ม เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. สั ง เคราะห์ อ งค์ ค วามรู้ จ าก
การออกแบบเนื้ อหาสาระและกิจกรรม 5. การวั ด และประเมิ น ผล ทฤษฎีและประสบการณ์จากการฝึก
การจั ด การเรี ย นรู้ สื่ อ และเทคโนโลยี การเรียนรู้ ที่ ผ่ าน ม าม าบู รณ าก ารกั บ ก าร
มาบูรณาการองค์ความรู้ทางการบริหาร 6. การสะท้อนผลการเรียนรู้ ปฏิบัติการสอน
การศึกษา ออกแบบนวัตกรรม ในรูแบบ AAR และ PLC 3. ว า ง แ ผ น แ ล ะ วิ เค ร า ะ ห์
3. นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งแก้ ปั ญ หาและ หลักสูตรตลอดภาคการศึกษา โดย
พั ฒ น างาน แ ล ะ ก ารจั ด ก ารเรี ย น รู้ อิงหลักสูตรสถานศึกษา
ได้อย่างมืออาชีพ 4. ฝึกปฏิบัติจัดการเรียนรู้ที่เน้น
4. นั กศึกษาจะต้ องน าเสนอผลจาก ผู้เรียนเป็ นสาคัญ และสอดคล้องกับ
การเรี ย นรู้ ใ นสถานศึ ก ษาไปประเมิ น ศาสตร์ของกลุ่มสาระ
สะท้ อนกลับ (AAR) เป็ น รายบุ คคลและ 5. น าเสนอผลจากการเรี ย นรู้ใน
สถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ
ร่ว มแลกเปลี่ ยนเรีย นรู้ในรูป แบบชุม ชน
(AAR) เป็ น ราย บุ ค ค ล แ ล ะ ร่ ว ม
แห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อนาไปใช้ในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูป แบบชุม ชน
พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ทันสมัยและ แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ( PLC)
ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ให้มี
ความรอบรู้ทั น สมั ย และทั น ต่ อ การ
เปลี่ยนแปลง
9

กรอบและแนวทางในการดาเนินการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน

- คณะกรรมการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
- ข้อมูลจากบุคลากรของสถานศึกษา
- การสัมมนาการฝึกประสบการวิชาชีพครูของนักศึกษา
- การประชุมคณะกรรมการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

กาหนดแนวปฏิบตั ิ / คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ประชุมโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

นศ.ปี 1 (ภาคเรียนที่ 2) การฝึกปฏิบัติ


วิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)

สัมมนาหลังฝึกประเมินการปฏิบัตติ ามใบงาน

โรงเรียนส่งผลการประเมินให้ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

นักศึกษาส่งผลงาน / ใบงาน อาจารย์นิเทศก์

อาจารย์นิเทศก์ ประเมินและตัดสินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
10

คาอธิบายรายวิชา
หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) สาขาวิชาการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง พุ ท ธศั ก ราช 2562 ได้ ก าหนดค าอธิ บ าย ชุ ด วิ ช า
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ประกอบด้วย
คศ.ฝก. 191 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 2 (90) หน่วยกิต
EDUC 191 Practicum 1
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
สรุ ป คุ ณ ลั ก ษณะของตนเองและครู ที่ แ สดงออกถึ ง ความรั ก และศรั ท ธาในวิ ช าชี พ ครู
ระบุจรรยาบรรณต่อตนเองและต่อวิชาชีพ รอบรู้บทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาชั้นในสถานศึกษา
เข้าใจบริบทชุมชน ร่วมมือกับผู้ปกครองในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนา ดูแล ช่วยเหลือ
ผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ
ในรูปแบบของการศึกษารายกรณี (Case Study) โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจิตวิทยา เทคโนโลยี
ดิจิทัล การพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ สรุปแนวทางและลักษณะกิจกรรมการพัฒนา
วิช าชีพของครูทั้งในและนอกสถานศึกษา ผ่านกระบวนการสังเกตและวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ครู
ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้และนาผลจากการเรียนรู้
ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชน
แห่ ง การเรี ย นรู้ ( PLC) เพื่ อ น าไปใช้ ในการพั ฒ นาตนเองให้ มี ค วามรอบรู้ ทั น สมั ย และทั น ต่ อ การ
เปลี่ยนแปลง
11

บทที่ 3
บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ชุดวิชา การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1
บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา
ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มีบุคคลที่มีบทบาทสาคัญและเกี่ยวข้องที่ทาให้การดาเนินงาน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูบรรลุตามวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูที่สถานศึกษา
คณะครุศาสตร์ และนักศึกษา ต้องสร้างความเข้าใจร่วมกันในบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน จึงจะสามารถ
เชื่อมโยงภารกิจ หลักในการฝึ กปฏิบั ติงานในชุดวิช าต่าง ๆ ได้โดยมีห น่ว ยงานและบุคคลที่ เกี่ยวข้อง
ตามลาดับ ดังนี้
1. ด้านคุณสมบัติของสถานศึกษา
1.1 เป็นสถานศึกษาที่ผ่านการประเมินและได้มาตรฐานคุณภาพจากสานักงานรับรอง
มาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
1.2 เป็นสถานศึกษามีความพร้อมทางด้านครูพี่เลี้ยงตามข้อกาหนดที่คุรุสภากาหนดไว้
1.3 เส้ น ทางคมนาคมในการเดิ น ทางไปโรงเรี ย นฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู
ต้องเดินทางสะดวก และปลอดภัย
1.4 สถานศึกษาที่จะส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ต้องมีระยะทางไม่เกิน
60 กิโลเมตร จากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม หรือ ระยะทางที่อาจารย์นิเทศก์
สามารถเดินทาง ไป – กลับ ได้ภายใน 1 วัน
1.5 กรณีส ถานศึกษามีความประสงค์ที่ขอนักศึกษาเพื่อฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู
แต่ ร ะยะทางเกิ น กว่า 60 กิ โ ลเมตร จากคณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม หรื อ
ระยะทางที่อาจารย์นิเทศก์ ไม่สามารถเดินทางไป – กลับ ได้ภายใน 1 วัน ได้ สถานศึกษา/นักศึกษา
จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ทั้งหมดในการนิเทศติดตามโดยตกลงกับอาจารย์นิเทศก์ ได้แก่ ค่าที่พัก
ค่าเดินทาง ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าอื่น ๆ ที่เกิดจากการนิเทศติดตามนักศึกษาท่านนั้น
1.6 คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงครามจะคั ด เลื อ กโรงเรี ย นที่ จั ด
การศึกษา ระดับ ปฐมวัย ประถมศึก ษา และมั ธยมศึกษา เพื่ อเข้าร่ว มโครงการพั ฒ นาระบบการฝึ ก
ประสบการณ์ วิชาชีพครูร่วมกันในลักษณะความร่วมมือ ทั้งนี้ การคัดเลือกจะขึ้นอยู่กับประกาศคุรุสภา
และดุ ล ยพิ นิ จ ของคณะกรรมการฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครู ในโรงเรียน
1.7 สถานศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกนั้น ต้องเข้าร่วมประชุมวางแผนกับคณะครุศาสตร์
เพื่ อ ร่ ว มวางแผนฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู แ ละสร้ า งความเข้ า ใจในการจั ด ท าใบงานในชุ ด วิ ช า
การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ครู ร ะหว่ า งเรี ย น 1 (Practicum 1) และในชุ ด วิ ช าการปฏิ บั ติ ก ารสอน
ในสถานศึก ษา 1 และ 2 (Internship 1 & 2) หากไม่เข้าร่ว ม คณะครุศ าสตร์ มหาวิท ยาลั ยราชภั ฏ
พิบูลสงครามขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกสถานศึกษาแห่งใหม่ต่อไป
12

2. ด้านบทบาทหน้าที่ของบุคลากรในสถานศึกษา
2.1 บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นผู้ที่ มีบทบาทสาคัญยิ่ง
ในการจั ด การฝึ ก ประสบการณ์ วิช าชี พ ครู ร่ว มกั บ คณะครุ ศ าสตร์ ซึ่ งอาจจะจ าแนกบทบาทหน้ า ที่
ของผู้บริหารในส่วนที่เกี่ยวข้องด้านต่าง ๆ ดังนี้
2.1.1 ด้านการจัดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา
2.1.2 ด้านการปฐมนิเทศนักศึกษาและการดาเนิ นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2.1.3 ด้านการจัดครูนิเทศก์และครูพี่เลี้ยงของสถานศึกษา
2.2 บทบาทหน้าที่ของครูนิเทศก์
ครู นิ เทศของสถานศึก ษา เป็ น บุ ค คลที่ ผู้ บ ริห ารแต่ งตั้ งหรือ มอบหมายให้ ท าหน้ าที่
ประสานงานกับ ครูในสถานศึกษา และอาจารย์นิเทศก์ของมหาวิทยาลัย เป็นผู้ ที่มีบทบาทในการให้
ค าปรึ ก ษาค าแนะน า ตลอดจนให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ต่ าง ๆ แก่ นั ก ศึ ก ษา โดยเฉพาะในการพิ จ ารณา
เลือกสรรครูพี่เลี้ยงที่สามารถให้คาแนะนา และมีส่วนร่วมในกระบวนการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู
2.3 บทบาทหน้าที่ของครูพี่เลี้ยงและคุณสมบัติ
ครู พี่ เลี้ ย ง เป็ น บุ ค ลากรประจ าการที่ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ ครู นิ เทศก์ ข องสถานศึ ก ษา
ได้พิจารณาตามคุณสมบัติ และสอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษา โดยได้รับการมอบหมายให้ทาหน้าที่
ให้คาแนะนา ดูแล ช่วยเหลือในการให้ ข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบั ติงาน
และประเมินผล การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู ดังนั้นครูพี่เลี้ยง จึงเปรียบเสมือนบุคลากรที่มีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกับนักศึกษา และมีส่วนในการสนับสนุนที่จะทาให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
บทบาทหน้าที่ของครูพี่เลี้ยง
1. ครู พี่ เลี้ ย งสามารถดู แ ลนั ก ศึ ก ษาที่ ฝึ ก ในชุ ด วิ ช า EDUC191 การฝึ ก ปฏิ บั ติ
วิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 และชุดวิชา EDUC 291การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 จานวนไม่เกิน
3 คน ซึ่งต้องไม่ทับ ซ้อนกับ นั กศึกษาที่ฝึ กในชุดวิชา EDUC391 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 กับ
ชุดวิชา EDUC392 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
2. ให้ ค าแนะน าเกี่ ย วกั บ การท าแผนการสอนรายวิ ช า และแผนการสอน
รายสัปดาห์
3. สังเกตการสอน แนะนา และทากิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน ไม่ปล่อยให้ สอน
โดยลาพังช่วยแก้ไขข้อบกพร่องตามหลักการ เพื่อให้สอนเป็นไปด้วยดี
4. ตรวจแผนการสอนรายสั ป ดาห์ พร้ อ มเขี ย นข้ อ เสนอแนะล่ ว งหน้ า ก่ อ น
ที่นักศึกษาจะทาการสอน
5. เพื่อปรึกษาหารือ และวางแผนร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ เพื่อพัฒ นาและแก้ไข
ปัญหาด้านต่างๆ ของนักศึกษา
13

6. ให้คาปรึกษาในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
คุณสมบัติของครูพี่เลี้ยงตามที่คุรุสภากาหนดดังนี้
1. มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี
2. มีคุณวุฒิตรงในสาขาวิชาเอกที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์ และมีประสบการณ์
ในการสอนในสาระวิชาเอก หรือวิชานั้นๆ ไม่น้อยกว่า 3 ปี
3. เป็นครูประจา
2.4 บทบาทของอาจารย์นิเทศก์และคุณสมบัติ
อาจารย์นิเทศก์ของคณะครุศาสตร์ เป็นบุคลากรที่คณะครุศาสตร์แต่งตั้งจากอาจารย์
ในสาขาวิช าที่ มี นั ก ศึ ก ษาออกฝึ ก ปฏิ บั ติงานวิช าชี พ ครู หรือ เป็ น อาจารย์ อื่ น ในคณะที่ มี ค วามรู้แ ละ
ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา
บทบาทหน้าที่ของอาจารย์นิเทศก์
1. ร่วมประชุมวางแผนกับคณะกรรมการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของคณะ
ครุศาสตร์
2. การนิเทศติดตามนักศึกษาในชุดวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1
และ 2 (Practicum 1 & 2) อาจารย์นิเทศก์ต้องดาเนิน การนิเทศติดตามนักศึกษา เพื่อตรวจใบงานและ
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียนและติดตามการพัฒนาของนักศึกษา
3. เข้าร่วมปฐมนิเทศ ระหว่าง และหลั ง การจัดนาเสนอผลงาน เพื่ อรับทราบ
ปัญหาและเสนอแนะแนวทางแก้ไขแก่นักศึกษา
4. ร่ ว มวางแผน ให้ ค าแนะน า ข้ อ เสนอแนะและประเมิ น ผล การปฏิ บั ติ ก าร
วิชาชีพครู
5. พบผู้บริหารโรงเรียน เพื่อทราบนโยบายของโรงเรียน และสร้างสัมพันธภาพ
อันดีตามโอกาสอันสมควร
6. พบครูพี่เลี้ยง เพื่อปรึกษาและวางแผนร่วมกัน เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ต่าง ๆ ของนักศึกษา
7. ประเมินผลการปฏิบัติการวิชาชีพครูของนักศึกษาตามระยะเวลาที่กาหนด
โดยร่วมกับครูพี่เลี้ยง และคณะกรรมการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์

คุณสมบัติของอาจารย์นิเทศก์
1. มี คุ ณ วุ ฒิ ไม่ ต่ ากว่ า ปริ ญ ญาโท หรื อ ด ารงต าแหน่ ง ทางวิ ช าการไม่ ต่ ากว่ า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชานั้น ๆ
2. มี ทั ก ษะการนิ เทศก์ โดยมี ป ระสบการณ์ ก ารนิ เทศไม่ น้ อ ยกว่ า 2 ปี หรือ มี
ประสบการณ์ในการสอนสาขาวิชานั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 3 ปี ในกรณีที่มีประสบการณ์ไม่ได้มาตรฐาน ให้ใช้
การนิเทศร่วมกับผู้ที่มีประสบการณ์ตามมาตรฐาน
3. มีคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่างที่ดี
14

4. มี จ านวนนั ก ศึ ก ษาที่ ฝึ ก ในชุ ด วิ ช าการฝึ ก ปฏิ บั ติ วิช าชี พ ครูระหว่างเรีย น 1


(Practicum 1) และชุดวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 (Practicum 2) และนักศึกษาที่ฝึก
ในชุดวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 (Internship 1 & 2) รวมกัน ไม่เกิน 1 : 10

คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1) ในสถานศึกษา


ต้องเป็นนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) ชั้นปีที่ 1 ของคณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ระเบียบและแนวปฏิบัติบทบาทหน้าทีข่ องนักศึกษาในสถานศึกษา
บทบาทหน้าที่
1. เข้าร่วมการปฐมนิเทศทั้งที่มหาวิทยาลัยและสถานศึกษาตามปฏิทินที่กาหนดไว้
2. ท าความเข้าใจ ศึกษารายละเอียดในคู่มือการฝึ กปฏิ บัติวิช าชีพครู เอกสาร
หลักฐานที่เกี่ยวกับการฝึก รวมถึงการทบทวนความรู้ภาคทฤษฎี
3. พบอาจารย์นิเทศก์ตามสาขาวิชา เพื่อวางแผนการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู
4. วางแผนกระบวนการฝึกร่วมกับครูนิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ในสถานศึกษา
5. ปฏิ บั ติงานตามขอบข่ายที่ ก าหนดไว้ในโครงการสอนของชุด วิช าฝึ กปฏิ บั ติ
วิชาชีพครู
6. มีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการปฏิบัติงานตามโอกาส
7. เข้าร่ วมประชุมสั มมนาเพื่ อสะท้ อนผลที่เป็ นองค์ความรู้ประสบการณ์ และ
สภาพปัญหาที่พบจากการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู
8. ทบทวน รวบรวมผลงาน และจัดทาแฟ้มสะสมงาน เพื่อนาเสนอต่ออาจารย์
นิเทศก์
9. เข้าร่วมการสัมมนาหลังฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครูกับฝ่ายฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

แนวปฏิบัติสาหรับนักศึกษา
1. แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2 มีความประพฤติเรียบร้อย
3. ให้ความเคารพนับถือ และให้เกียรติต่อบุคลากรในสถานศึกษา
4. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนนักศึกษาและผู้เรียน
5. ปฏิบัติตามคาแนะนาของผู้บริหาร ครูนิเทศก์ ครูพี่เลี้ยงของสถานศึกษา และ
อาจารย์นิเทศก์
6. รับผิดชอบในการปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่กาหนดไว้
7. ให้ความร่วมมือกับบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติงาน
15

8. ขอคาแนะนาปรึกษากับบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อให้ สามารถปฏิบัติงานได้
ตามวัตถุประสงค์
9. นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งลงเวลาท างานทั้ ง ไปและกลั บ ในสมุ ด ลงเวลามาท างาน
ทีม่ หาวิทยาลัยจัดให้ นักศึกษาที่มาลงเวลาทางานสายจะต้องชี้แจงต่อผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และมาสายได้ไม่เกินระเบียบข้าราชการ (มาสาย 3 ครั้ง = ขาด 1 วัน)
10. ระหว่างเวลาราชการไม่อนุญาตให้กลับที่พัก หรือออกนอกบริ เวณสถานศึกษา
หากมีเหตุจาเป็นจริงๆ ให้ขออนุญาตผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร และต้องลงชื่อในสมุด
ออกนอกบริเวณสถานศึกษา
11. การลาประเภทต่าง ๆ กรณีนักศึกษามีความจาเป็นไม่สามารถมาปฏิบัติงานที่
โรงเรียนได้และจาเป็นต้องลาให้ปฏิบัติ ดังนี้
11.1 กรณี ล ากิ จ (กรณี ที่ มี เหตุ จ าเป็ น จริง ๆ) จะต้ อ งด าเนิ น การส่ งใบลา
ล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน โดยต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหาร และครูพี่เลี้ยงก่อนจึงจะลาได้
11.2 กรณี ล าป่ ว ย อนุ ญ าตให้ ล าได้ ต ามความจริ ง โดยส่ ง ใบลาในวั น ที่
สามารถมาปฏิ บั ติ ง านที่ โ รงเรี ย นได้ ทั น ที (ลาเกิ น 3 วั น ต้ อ งมี ใ บรั บ รองแพทย์ ) ให้ ใ ช้ ใ บลา
ของสถานศึกษา
หมายเหตุ การลาทุกชนิ ดนักศึกษาจะต้องชดเชยให้เท่ากับจานวนวันที่ลา
โดยให้ครูพี่เลี้ยงลงชื่อรับรอง
16

บทที่ 4
หลักการของการประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)

หลักการของการประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
การประเมินผลจะเป็นวิธีการที่จะตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ และความสามารถ
ในการปฏิบัติงานวิชาชีพครูของนักศึกษา โดยควรยึดหลักการ ดังนี้
1. เป็นการประเมินผล เพื่อพัฒนาคุณลักษณะและการปฏิบัติตนในการเป็นครูโดยถือว่า
เป็นการประเมินเพื่อวินิจฉัยข้อดี และข้อควรปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักศึกษามี
สมรรถภาพ ด้านความเป็นครู ด้านบุคลิกภาพและเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน
2. เป็นการประเมินสมรรถภาพของนักศึกษาในด้านการปฏิบัติงานโดยเน้นการศึกษาการ
สังเกตและการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษา โดยเน้นการศึกษางานที่เกี่ยวกับครู เช่น งานธุรการในชั้นเรียน
งานกิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เรี ย น งานปฏิ บั ติ ก ารสอนในชั้ น เรียนและการบริห ารจัด การสถานศึก ษาและ
หลักสูตรสถานศึกษา ตลอดจนการทดลองใช้หลักสูตร
3. เป็นการประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ โดยการตัดสินผลแต่ละรายการตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
แล้วตัดสินผล
จุดประสงค์ของการประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
1. เพื่อประเมินการฝึกปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานของนักศึกษา ตามขอบข่ายของภาระงาน
ที่กาหนดไว้ในแผนการบริหารการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน
2. เพื่ อ ตั ด สิ น ผลรวมของการฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ครู ร ะหว่ า งเรี ย น และเพื่ อ เป็ น แนวทาง
ในการจัดระบบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูต่อไป
คาชี้แจงในการประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
การปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 ได้กาหนดให้นักศึกษาจะต้องปฏิบัติงานทั้งสิ้น 90 ชั่วโมง
ทั้งนี้ ฝ่ายวิชาการได้กาหนดให้มีการวางแผนร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ของคณะ และสถานศึกษาตลอดจน
จั ด ให้ มี ร ะบบการนิ เทศติ ด ตามผลจากบุ ค ลากรทั้ ง 2 ฝ่ าย ดั ง นั้ น คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
ราชภัฏพิบูลสงคราม จึงกาหนดแนวทางในการประเมินผลตามบทบาทหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.ครูนิ เทศก์ / ครู พี่เลี้ ย งของสถานศึกษา มีห น้าที่ประเมิน ผลจากการวางแผนการประเมิ น
คุณลักษณะและการปฏิบัติงานของนักศึกษา ตลอดจนประเมินผลการสอนในชั้นเรียน
2. อาจารย์นิเทศก์ของคณะครุศาสตร์ มีหน้าที่ประเมินผลจากการวางแผนการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู การตรวจสอบผลการปฏิบัติงานทั้งส่วนผลจากใบงาน การสัมภาษณ์ การนาเสนอผลงาน
แฟ้มสะสมงานและการจัดนิทรรศการ
17

การประเมินผลการปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
การประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
สาหรับสถานศึกษา มีหน้าที่ประเมินผลตามลักษณะของเครื่องมือวัดผลและเกณฑ์การประเมิน
โดยแบบประเมินที่ใช้ในการประเมินมี 1 ฉบับ
ฉบับที่ 1 บป.1 ประเมินคุณลักษณะการปฏิบัติตนของนักศึกษา
ส าหรั บ อาจารย์ นิ เทศก์ มี ห น้ าที่ ป ระเมิ น ผลตามลั ก ษณะของเครื่ อ งมื อ วั ด ผลและเกณฑ์
การประเมินโดยแบบประเมินที่ใช้ในการประเมินมี 8 ฉบับ
ฉบับที่ 1 บป.2 ประเมินการวิเคราะห์ตนเอง
ฉบับที่ 2 บป.3 ประเมินการสังเกตการปฏิบัติหน้าที่ครูตามสมรรถนะวิชาชีพครู
ฉบับที่ 3 บป.4 ประเมินการสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครู
ฉบับที่ 4 บป.5 ประเมินการศึกษาสังเกตบริบทของสถานศึกษาและความสัมพันธ์
กับชุมชน
ฉบับที่ 5 บป.6 ประเมินรายงานผลการศึกษารายกรณี
ฉบับที่ 6 บป.7 สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์เรียนรู้ในสถานศึกษา
ฉบับที่ 7 บป.8 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบกิจกรรม PLC และAAR
ฉบับที่ 8 บป.9 ประเมินแฟ้มสะสมงาน Portfolio

และกาหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินนักศึกษา ปฏิบัติดังนี้
คะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่าน
คะแนนรวม ต่ากว่าร้อยละ 60 ไม่ผ่าน

1. สถานศึกษา ให้ครูพี่เลี้ยงประเมินนักศึกษา โดยใช้แบบประเมิน ฉบับที่ 1 คิดเป็นสัดส่วน


ร้อยละ 40 โดยใช้แบบประเมิน ที่กาหนดระดับคุณ ภาพ 4 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้ และปรับปรุง
สาหรับแบบประเมินฉบับที่ 1
2. คณะครุศาสตร์ ให้อาจารย์นิเทศก์ของคณะครุศาสตร์ เป็นผู้ประเมินนักศึกษาโดยใช้แบบ
ประเมินฉบับที่ 1-8 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60 โดยใช้แบบประเมินที่กาหนดระดับคุณภาพ 4 ระดับ คือ
ดีมาก ดี พอใช้ และปรับปรุง

หมายเหตุ ต้องได้ผลการประเมิน “ผ่าน”ทั้งส่วนของสถานศึกษา และคณะครุศาสตร์ จึงจะถือว่า


นักศึกษาผ่าน ในชุดวิชานี้
18

ภาคผนวก
ใบงานการปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1)
19

ใบงานที่ 1
แบบบันทึกการวิเคราะห์ตนเอง

คาชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกผลการวิเคราะห์ตนเอง ในประเด็นดังต่อไปนี้


1. ความใฝ่ฝันอยากเป็นครู
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ความสนใจเรื่องราวเกี่ยวกับครู (การติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับครู)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. การเตรียมพร้อมสู่ความเป็นครู
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. สามารถนาผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้
อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
20

ใบงานที่ 2
การสังเกต การปฏิบัติหน้าที่ครู ตามสมรรถนะวิชาชีพครู
สาระสาคัญ
ครูมีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณและวินัยครู ปฏิบัติตาม
บทบาทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาชั้นได้อย่างเหมาะสม

วัตถุประสงค์
1. แสดงพฤติกรรมที่สะท้อนถึงการมีจิตวิญญาณความเป็นครู
2. ระบุบทบาทหน้าที่ของครูผู้สอนและครูประจาชั้นในการช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียน

เนื้อหาสาระ
1. ความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
2. จรรยาบรรณและวินัยครู
3. บทบาทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาชั้น

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาชั้น จรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สนทนา อภิปราย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะที่ดีของครูตามจรรยาบรรณ
วิชาชีพครูความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
3. กาหนดหัวข้อสาหรับการศึกษาสังเกตและสรุปลงในแบบบันทึก
4. นาผลการศึกษาสังเกตมานาเสนอเพื่ออภิปรายในชั้นเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ครู
2. เอกสารประกอบการศึกษาด้วยตนเอง

การวัดประเมินผล
1. ตรวจแบบบันทึกการสังเกต
2. สังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในชั้นเรียน
21

1.วิธีการแสดงออกที่ให้เห็นถึงความรักและความศรัทธาในวิชาชีพครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณและวินัยครูผู้สอนและครูประจาชั้นต่างๆ ดังนี้
2.1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
2.4 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.5 จรรยาบรรณต่อสังคม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. บทบาทหน้าที่ตามสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนและครูประจาชั้นด้านต่างๆ ดังนี้
3.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.2 การพัฒนาผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
22

3.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.5 ภาวะผู้นาครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
23

ใบงานที่ 3
การสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครู
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษาสังเกตการควบคุมชั้นเรียนของครูผู้สอน
2. เพื่อให้นักศึกษาสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เพื่อให้นักศึกษานาสิ่งที่ได้จากการ
สังเกต การควบคุมชั้นเรียน และการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนมาเป็นแนวทางในการ
จัดการเรียนรู้ ของตนเอง
3. เพื่อให้นักศึกษาสังเกตและฝึกทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า

ขอบเขต
ให้ นั กศึกษา ศึกษา สังเกต และฝึกทักษะจากผู้ ที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา แล้ วบันทึ กข้อมูล
ในแบบบันทึกตามประเด็น ดังนี้
1. สังเกตเทคนิคการควบคุมชั้นเรียนของครูผู้สอน
2. สังเกตการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
3. นาสิ่งที่ได้จากการสังเกตการควบคุมชั้นเรียน และการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนมา
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
4. สั งเกตปั ญ หาที่พ บในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้ ส อน และเทคนิค แนวทางในการแก้ไข
ปัญหา

ผู้เกี่ยวข้อง/แหล่งข้อมูล
1. ผู้อานวยการ / รองผู้อานวยการโรงเรียน
2. ครูผู้สอน / ครูพี่เลี้ยง / นักเรียน

หมายเหตุ สังเกต 3 ครั้งต่อสัปดาห์ รวมอย่างน้อย 9 ครั้ง


24

แบบสังเกตการจัดการเรียนรู้
ครั้งที่.........
โรงเรียน..................................................................................ระดับชั้น.....................................................
รายวิชา..................................................................รหัสวิชา...........................จานวน...................หน่วยกิต
วันที่................................................................................เวลา.......................น. จานวน.... .............ชั่วโมง
ครูผู้สอน....................................................................................................................................................

ประเด็น รายละเอียด
ด้านที่ 1 การออกแบบการเรียนรู้
ด้านที่ 2 การใช้จิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ ........................................................................................................
........................................................................................................
ด้านที่ 3 สังเกตการจัดการเรียนรู้ (ตัวอย่างขั้นตอนการจัดการเรียนรูส้ ามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม
สถานการณ์จริง)
- ขั้นนา
........................................................................................................
........................................................................................................
- ขั้นสอน
........................................................................................................
........................................................................................................
- ขั้นสรุป
........................................................................................................
.......................................................................................................
ด้านที่ 4 ปัญหาที่พบ / แนวทางแก้ไข ปัญหาที่พบในการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................
........................................................................................................
การแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนของครูผู้สอน
........................................................................................................
........................................................................................................
ด้านที่ 5 ครูมีรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ........................................................................................................
ในรูปแบบการศึกษารายกรณีหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................
ด้านที่ 4 สิ่งที่ได้รับ / การประยุกต์ใช้ ........................................................................................................
........................................................................................................

หมายเหตุ สังเกต 3 ครั้งต่อสัปดาห์ รวมอย่างน้อย 9 ครั้ง


25

ใบงานที่ 4
การศึกษาสังเกตบริบทของสถานศึกษาและความสัมพันธ์กับชุมชน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาสังเกตบริบทของสถานศึกษา

ขอบเขต
ให้นักศึกษา ศึกษา สังเกต และฝึกทักษะจากผู้ที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา แล้วบันทึกข้อมูล
ในแบบบันทึกตามประเด็น ดังนี้
1. ทาเล ที่ตั้งของสถานศึกษาสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
2. อาคารเรียน และอาคารประกอบการอื่นๆ
3. ห้องเรียน และเครื่องใช้ต่างๆ ในห้องเรียน
4. มุมพยาบาล / ห้องพยาบาล / เรือนพยาบาล
5. โรงอาหาร / ที่รับประทานอาหาร
6. โรงประชุม / หอประชุม
7. ห้องพักครู
8. ห้องสมุด / หอสมุด
9. ห้องปฏิบัติการต่างๆ (วิทยาศาสตร์ฯลฯ)
10. น้าดื่ม / น้าใช้
11. ห้องน้า / ห้องส้วม / ที่ปัสสาวะ
12. สนามกีฬา / สนามเด็กเล่นต่างๆ
13. สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
14. แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า / อ้างอิงหน่วยที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา

ผู้เกี่ยวข้อง/แหล่งข้อมูล
ผู้อานวยการ / รองผู้อานวยการโรงเรียน
ครูผู้สอน / ครูพี่เลี้ยง / นักเรียน
26

ข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานศึกษา

ชื่อสถานศึกษา
...........................................................................................................
ปรัชญา ...........................................................................................................
คติธรรม ...........................................................................................................
วิสัยทัศน์ ...........................................................................................................
เป้าหมาย ...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
1. อาคารเรียน และอาคารประกอบการอื่นๆ
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ห้องเรียน และเครื่องใช้ต่างๆ ในห้องเรียน
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ห้องพักครู ห้องปฏิบัติงานและเจ้าหน้าที่
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ห้องปฏิบัติการต่างๆ (วิทยาศาสตร์ฯลฯ)
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ/สนามเด็กเล่น
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า / อ้างอิงหน่วยที่ 1 สภาพทั่วไปของ
สถานศึกษา…………………………………………………………...……………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
27

ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

1. ศึกษาบริบทของชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………...………………………………………………………………………………………………………………….
2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
……………...…………………………………………………………………………………………………………………...……………
……………………...…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………...………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
28

ใบงานที่ 5
แบบรายงานผลการศึกษารายกรณี
ชื่อนักเรียน.......................................................................ระดับชั้น................../...........................
ชื่อครูประจาชั้น.............................................................................................................................
1. สภาพปัญหาของนักเรียน
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................. ......................
2. จุดประสงค์ในการศึกษา
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
3. สภาพทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน
3.1 ประวัติส่วนตัวและครอบครัว
ชื่อสกุล..................................................................................ชื่อเล่น..................................................
วันเดือนปีเกิด.......................................................................................................................................
ที่อยู่ปัจจุบัน...........................................................................................................................................
หมายเลขโทรศัพท์.......................................................................................................................... .....
บิดาชื่อ............................................................อาชีพ..............................รายได้ต่อเดือน................บาท
มารดาชื่อ.........................................................อาชีพ...............................รายได้ต่อเดือน..............บาท
ผู้ปกครองชื่อ....................................................อาชีพ.................................รายได้ต่ อเดือน...........บาท
ที่อยู่ปัจจุบัน............................................................................................................................................
หมายเลขโทรศัพท์...............................................................................................................................
นักเรียนมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน..........................คน ( รวมทั้งตัวนักเรียนด้วย )
3.2 ประวัติการศึกษาและผลการศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
29

3.3 ประวัติสุขภาพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3.4 สภาพครอบครัวและฐานะทางเศรษฐกิจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.5 ทัศนคติของบุคคลรอบข้างที่มีต่อนักเรียน
- ครูประจาชั้น
ด้านการเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ด้านพฤติกรรมและลักษณะนิสัย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ด้านสุขภาพร่างกาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ด้านสังคมและการอยู่ร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
สิ่งที่อยากให้ปรับปรุง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
30

- ครูท่านอื่น ๆ
ด้านการเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ด้านพฤติกรรมและลักษณะนิสัย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ด้านสุขภาพร่างกาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ด้านสังคมและการอยู่ร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สิ่งที่อยากให้ปรับปรุง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
-เพื่อนนักเรียน
ด้านการเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ด้านพฤติกรรมและลักษณะนิสัย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
31

ด้านสุขภาพร่างกาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ด้านสังคมและการอยู่ร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สิ่งที่อยากให้เพื่อนปรับปรุง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.6 บุคลิกภาพทั่วไปของนักเรียน
- ลักษณะทางร่างกาย (รูปร่าง หน้าตา การแต่งกาย กิริยาวาจา)
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
- ลักษณะทางอารมณ์ (การแสดงออกทางอารมณ์ สดชื่น ร่าเริง หรือเงียบขรึม)
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ลักษณะทางสติปัญญา (ความสามารถในการเรียน ความสามารถพิเศษ ความถนัดและความ
สนใจ)
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
-ลักษณะทางสังคม (การปรับตัวเข้ากับเพื่อน ครู และ คนอื่นๆ ทักษะสังคมในห้องเรียนและ
โรงเรียน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
32

3.7 พฤติกรรมที่ควรปรับปรุงแก้ไข (เรียงลาดับจากมากไปน้อย)


1. .............................................................................
2. .............................................................................
3. .............................................................................

4. แนวทางการแก้ปัญหา/ส่งเสริม
1. .............................................................................
2. .............................................................................
3. .............................................................................

5. การศึกษารายกรณีครั้งนี้มีประโยชน์ต่อการประกอบวิชาชีพครูของนักศึกษา ดังนี้
1. .............................................................................
2. .............................................................................
3. .............................................................................

(ลงชื่อ)…………………………………………ผู้บันทึก
(…..……………………………………..)

(ลงชื่อ)………………………………………ครูพี่เลี้ยง
(…..……………………………………..)
33

ใบงานที่ 6
สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษา

ชื่อ-สกุล......................................................................................................................... ............................
รหัสนักศึกษา....................................................................สาขาวิชา.........................................................
ชื่ออาจารย์นิเทศก์......................................................................................................................................
ชื่อครูพี่เลี้ยง...............................................................................................................................................
ชื่อโรงเรียนที่ออกปฏิบัติการสอน...............................................................................................................
1. ถอดบทเรียนจากการสังเกตการเรียนรู้
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
2. สังเคราะห์องค์ความรู้ตามสมรรถนะวิชาชีพครูที่นักศึกษาได้รับ
2.1 การจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
2.2 ความสัมพันธ์กับชุมชน
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................... .............................
............................................................................................................................. .........................
34

2.3 การปฏิบัติหน้าที่ครู
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
.................................................................................................................................... ..................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
.................................................................................................................................................. ....
............................................................................................................................. .........................
2.4 จารรยาบรรณวิชาชีพครู
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
.......................................................................................................................................... ............
...................................................................................................................... ................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
3. การนาผลองค์ความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
................................................................................................................................. .....................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
35

ใบงานที่ 7
กิจกรรมศึกษาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบกิจกรรม PLC
ชื่อ-สกุล...........................................................................................................................................................................
รหัสนักศึกษา..........................................................................สาขาวิชา..........................................................................
ชื่ออาจารย์นิเทศก์...........................................................................................................................................................
ชื่อครูพี่เลี้ยง....................................................................................................................................................................
ชื่อโรงเรียนที่ออกปฏิบัติการสอน...............................................................................................................
1. กลุ่ม PLC
................................................................................................................................. ...................................
2. สมาชิกกลุ่ม PLC
1) ............................................................................................................................. ....
2) ............................................................................................................................. ....
3) ............................................................................................................................. ....
4) .................................................................................................................................
5) ............................................................................................................................. ....
6) ...................................................................................................................... ...........
7) ............................................................................................................................. ....
8) .................................................................................................................................
9) ............................................................................................................................. ....
10) .................................................................................................................................

3. สมาชิกร่วมกันกาหนดประเด็นในการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
4. สมาชิกร่วมกันออกแบบกิจกรรมในการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
5. สมาชิกร่วมอภิปรายผล และสรุปผล ที่คาดว่าจะได้รับ
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
36

* หมายเหตุ ใบงานนี้ จัดทาในวันสัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู


6. สรุป การทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review: AAR) ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) (ข้อนี้ให้ทาในวันสัมมนาหลังฝึกฯ)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

*หมายเหตุ การสรุ ป ผลทบทวนหลั งปฏิ บั ติ งาน (After Action Review: AAR) ในข้ อ ที่ 6
จะได้ จ ากการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ใ นรู ป แบบชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ (PLC) ในวั น สั ม มนาหลั ง
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

You might also like