You are on page 1of 183

รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร ตามแบบ

ฟอร์ม มคอ.7
สำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสูตร ปี การศึกษา 2561
(สำหรับหลักสูตรตามเกณฑ์ฯ 48)
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอน
ภาษามลายู
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2559
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
วันที่รายงาน 23 พฤษภาคม 2562
มคอ.7 รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร

หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู

ประจำปี การศึกษา 2561

(1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2562)

คำนำ

รายงานผลการดำเนินการหลักสูตร (มคอ.7) เล่มนี ้ จัดทำขึน


้ เพื่อ
รายงานผลการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษารอบ 12 เดือน
ประจำปี การศึกษา 2561 (1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2562) ของ
หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู (หลักสูตรใหม่
พ.ศ. 2559) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ซึ่งในปี การศึกษา
2561 เป็ นปี ที่2 ที่หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายู ได้ถูกนำมาใช้ หลังจากที่ได้อนุมัติหลักสูตรเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.
2559 โดยสภามหาวิทยาลัยฟาฏอนี ตลอดจนได้รับการรับรองจากสกอ.เมื่อ
วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา

รายงานผลการดำเนินการหลักสูตร (มคอ.7) เล่มนี ้ ได้รับความร่วม


มือจากคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรในการรวบรวมเอกสารที่
เกี่ยวข้องและร่วมกันสังเคราะห์จัดทำเอกสารฉบับนีเ้ พื่อให้การประเมิน
ตนเองของสาขาวิชาการสอนภาษามลายู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนีมีความสมบูรณ์ครบถ้วนมากที่สุด และทางสาขาวิชาฯ ขอขอบคุณ
ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือเพื่อการดำเนินการด้านประกันคุณภาพการศึกษา
ของหลักสูตรฯเป็ นไปด้วยดี และมีคณ
ุ ภาพ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าจะได้รับการ
ชีแ
้ นะจากทุกท่านให้รายงานการประเมินตนเองมีความถูกต้องสมบูรณ์มาก
ยิ่งขึน
้ ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของหลักสูตรให้ดียิ่ง
ขึน
้ อย่างต่อเนื่องต่อไป

หลักสูตรสาขาวิชาการสอนภาษามลายู

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

23 พฤษภาคม 2562

สารบัญ

หน้า

คำนำ ก

สารบัญ ข
หมวดที่ ข้อมูลทั่วไป 1
1

หมวดที่ บัณฑิต 7
2

หมวดที่ นักศึกษา 9
3

หมวดที่ อาจารย์ 29
4

หมวดที่ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 41


5

หมวดที่ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 65
6

หมวดที่ แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร 75
7
บทสรุปผู้บริหาร

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู เป็ น


หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2559 มุ่งผลิตบัณฑิตทางวิชาชีพการศึกษาที่มีความรู้
ความสามารถในการจัดการเรียนรู้สาระภาษามลายูที่มีมาตรฐานและเกณฑ์
การรับรองปริญญาตรีทางการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมจริยธรรมและ
ประพฤติตนเหมาะสมกับความเป็ นครูและบุคลากรทางอิสลามศึกษา มี
ภาวะผู้นำ ใฝ่ สันติและสามารถดำรงตนในบริบทพหุสังคมของประชาคม
อาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างสันติสุข

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู เป็ น


หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี ในปี การศึกษา 2561 มีนักศึกษา
จำนวน 61 คน มีบค
ุ ลากรสายวิชาการ จำนวน 6 คน และมีบุคลากรสาย
สนับสนุน จำนวน 1 คน

สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

องค์ประกอบ จำนวน คะแนน ระดับ


ตัวบ่งชี ้ เฉลี่ย คุณภาพ
องค์ประกอบที่ 1 - ผ่าน ผ่าน

องค์ประกอบที่ 2 ไม่รับการประเมิน

องค์ประกอบที่ 3 3 4.00 ดี

องค์ประกอบที่ 4 3 3.96 ดี

องค์ประกอบที่ 5 4 4.25 ดีมาก

องค์ประกอบที่ 6 1 4.00 ดี

เฉลี่ยทุกตัวบ่งชี ้ 11 4.08 ดีมาก

จุดเด่นและแนวทางเสริม
1. จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรครบตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่
สกอ. กำหนด
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้
สอนมีคณ
ุ สมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. และคุรุสภากำหนด
3.หลักสูตรที่ออกแบบมีความสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานที่
สกอ.และคุรุสภากำหนด
4.หลักสูตรที่ออกแบบมีการบูรณาการอิสลามและสอดคล้องกับบริบท
อาเซียนซึ่งตอบสนองความต้องการของคนในพื้นที่
5.หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษามลายู เป็ น
หลักสูตรที่พัฒนาขึน
้ ตามความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆที่มีกลุ่มเป้ าหมายที่
ชัดเจน
6.อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณภาพตามเกณฑ์การประเมินหลักสูตร
7.หลักสูตรมีระบบและกลไกการกำหนดสาระของรายวิชาในหลักสูตร
และการปรับปรุงหลักสูตรมีระบบกลไกการกำหนดผู้สอน
8.สาระในหลักสูตรมีความทันสมัยและครอบคลุมตามเกณฑ์มาตรฐาน
วิชาชีพ
9.หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของสังคมเนื่องจากการภาวะขาดแคลนของครู
สาขาด้านการสอนภาษามลายู
10.หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
และเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้
จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ปั จจุบันยังมีโรงเรียนต่างๆที่ขาดแคลนครูที่จบตรงวุฒิด้านการสอน
ภาษามลายู ทำให้หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของครูผู้สอนในโรงเรียนต่างๆ ตาม
โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงานเอกชนยังมีต่อ
เนื่องอีกหลายปี ทำให้หลักสูตรยังคงมีกลุ่มผู้เข้าศึกษา

2. ในปี การศึกษา 2561 คณะศึกษาศาสตร์ได้รับอาจารย์ในสายวิชาการ


สอนภาษามลายูเพิ่มเติม ทำให้ในปี การศึกษา 2561 หลักสูตรมีอาจารย์ผู้
สอนที่หลากหลายและมีคุณภาพมากขึน

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
วันที่รายงาน 23 พฤษภาคม 2562

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับ
มาตรฐาน

(มคอ.7 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป)


1. รหัสและชื่อหลักสูตร(ใช้ขอ
้ มูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไปหัวข้อที่
1)
รหัสหลักสูตร 25591371101144
(สามารถตรวจสอบรหัสหลักสูตรได้ที่ http://www.data3.mua.go.th/dataS/โดยคลิกที่
เมนู "ตารางอ้างอิง" ทางซ้ายมือ และเลือกตารางที่ต้องการตรวจสอบข้อมูล เลือกคำว่า "หลักสูตร")

ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษามลายู
ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Education, Program in Teaching Malay
2.ชื่อปริญญาและสาขาวิชา(ใช้ข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว
่ ไป
หัวข้อที่ 2)
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย): หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต(การสอนภาษามลายู)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย): ศษ.บ.(การสอนภาษามลายู)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ): Bachelor of Education (Teaching Malay)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ): B.Ed.(Teaching Malay)
3. รูปแบบของหลักสูตร(ใช้ข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว
่ ไปหัวข้อที่
5)
3.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรีหลักสูตร5ปี
3.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย
 ภาษาต่างประเทศ ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ และภาษา
อาหรับ

4. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร(ใช้
ข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว
่ ไปหัวข้อที่ 6)
หลักสูตรใหม่พ.ศ. 2559
สภามหาวิทยาลัยฟาฏอนี อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครัง้ ที่
57(4/2015) เมื่อวันที่ 16 เดือนเมษายน พ.ศ. 2559 เปิ ดสอนในภาคการ
ศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559
องค์กรวิชาชีพ(ถ้ามี) คุรุสภา ให้การรับรองเมื่อวันที่ [ระบุวันที่ เดือน พ.ศ.ที่
แจ้งรับรอง]
เปิ ดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา2559
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) รับทราบหลักสูตรเมื่อวัน
ที่20 ตุลาคม 2559

5. การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร(นับตัง้ แต่เปิ ดสอนถึงปั จจุบัน) จำนวน……


ครัง้
ลำดับที่ของการ
ปี พ.ศ. ที่ทำการ หมายเหตุ/เหตุผลในการ
พัฒนา/ปรับปรุง
พัฒนา/ปรับปรุง พัฒนา/ปรับปรุง
หลักสูตร
1. พัฒนาหลักสูตร 2558 เพื่อเปิ ดรับนักศึกษา
ใหม่
2. ปรับปรุงหลักสูตร 2560 ปรับปรุงแก้ไขอาจารย์ผู้รับผิด
สมอ.08 ชอบหลักสูตร
เหตุผล อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรถึงแก่กรรม
6. จำนวนบุคลากรประจำหลักสูตรประจำปี การศึกษา 2561 จำแนกตาม
ประเภทบุคลากรวุฒิการศึกษาและตำแหน่งทางวิชาการ
วุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ
ประเภท จำนว
ป.ตรี ป.โท ป.เอ อาจา ผศ. รศ. ศ.
บุคลากร น
ก รย์
สายวิชาการ 5 - 4 1 4 1 - -
สายสนับสนุน 1 1 - - - - - -
รวม 6 1 4 1 4 1 - -

7. การดำเนินงานตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการประกันคุณภาพการ
ศึกษาภายใน ปี การศึกษา (ปี ที่ผ่านมา)
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การดำเนินงาน/ผลการปรับปรุง
ตามข้อเสนอแนะ
1.ควรมีโปรแกรมทัศนศึกษาที่ -มีการจัดโครงการทัศนศึกษา
เปิ ดโอกาสให้กบ
ั นักศึกษา Jejak Warisan ณ. รัฐเกดะห์
ประเทศมาเลเซีย
2.ปรับกลยุทธ์ในการ สาขาวิชามีการประชาสัมพันธ์เชิง

ประชาสัมพันธ์หลักสูตรและรับ รุกหลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น


1 การไปแนะแนวตามโรงเรียนต่าง
นักศึกษาให้เข้ามาเรียนใน
โดยนำนักศึกษาที่เป็ นศิษย์เก่ามี
หลักสูตรเพิ่มมากขึน
้ ส่วนร่วมในการแนะแนว
2 การประชาสัมพันธ์สาขาผ่านสื่อ
สังคมออนไลน์ โดยให้นักศึกษามี
ส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูลสาขา
3. การประชาสัมพันธ์หลักสูตรโดย
การจัดประกวดการแสดง
Puisidra ระดับโรงเรียน 5 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (ซึ่งเป็ นการ
ประชาสัมพันธ์ที่ต่างจากปี ที่ผ่าน
มา)
4. มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรใน
TV FTU
3. ควรมีอาจารย์จากต่างประเทศ - สาขาวิชามีการจัดบรรยายพิเศษ
มาเลเซีย อินโดนีเซีย หรือ บรูไน ด้านวรรณกรรมมลายูจากประเทศ
มาร่วมสอน บรูไน
-สาขาวิชาได้จัดกิจกรรมการแลก
เปลีย
่ นภาษาและวัฒนธรรมร่วมกับ
อาจารย์และนักศึกษาจากประเทศ
อินโดนีเซีย และสิงคโปร์(Wacana
Ilmiah)
- มีอาจารย์จากประเทศมาเลเซีย
มาเป็ นวืทยกร.อบรมภาษามลายู
(Kursus Bahasa Melayu)
4. อาจารย์ควรมีเทคนิคการสอน - เทคนิคการสอน Komsas
มาลายูใหม่ๆที่ทำให้นักศึกษายุค Puisidrama (Teknik Komsas
ใหม่สนใจมากขึน
้ Puisidrama)
- Akses kendiri
- Stretegik Penyelesaian
masalah
-model Inkuiri
5. เพิ่มจำนวนเอกสารอ้างอิง -ทางสาขาได้รับงบประมาณจาก
ศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับภาษา สำนักวิทยบริการเพื่อซื้อ
มลายู เช่นพจนานุกรม หนังสือ พจนานุกรม หนังสือวรรณกรรม
วรรณกรรมมลายู มลายู วารสาร (journal) ภาษา
วารสาร(journal) มลายู

8. อาจารย์ประจำหลักสูตร (จำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน และเป็ นอาจารย์ประจำ


หลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้)
มคอ 2 ปั จจุบัน หมายเหตุ
(ระบุครัง
้ ที่/วันที่ผ่านสภา
มหาวิทยาลัย)

1.อาจารย์แอสซูมานี มาโซ 1.อาจารย์แอสซูมานี มาโซ **สภามหาวิทยาลัย


2.ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว 2.ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว อนุมัติการปรับปรุง
3.อาจารย์อับดุลรามันห์ 3.อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี หลักสูตร(สมอ.08)
โตะหลง เมื่อวันที่ 19
4.อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี 4.อาจารย์อมมุลอมมะห์ พฤศจิกายน 2560
โตะหลง ***สกอ. รับทราบ

5. อาจารย์ยะหะยา นิแว 5. อาจารย์ยะหะยา นิแว วันที่ 23 พฤษภาคม


2561

ตารางที่ 1.1-1 แสดงรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร คุณวุฒิ และผลงาน


ทางวิชาการ
ลำ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิและ สถานภ ผลงานทางวิชาการและผล
ดับ สถาบันที่สำเร็จการ าพ งานวิจัย
ศึกษา

1. อาจารย์แอสซู - MA in Malay 093/25 Pesepaduan Pendidikan

มานี มาโซ Language 59 Bahasa Melayu dalam


Education Mewujudkan Sahsiah
ลำ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิและ สถานภ ผลงานทางวิชาการและผล
ดับ สถาบันที่สำเร็จการ าพ งานวิจัย
ศึกษา

- BA Malay dan Pemimpinan Islam


Language dalam kalangan Pelajar
(Seminar Antarabangsa
kali ke-4 Memartabatkan
Bahasa Melayu
/Indonesia ASEAN)
2. ผศ.ดร.เภาซันเจ๊ -Ph.D in Malay 096/25 1. History of Malay

ะแว Language and 59 Language Education in


Linguistics Pattani South Thai
- MA in Language 2. ANALISIS KESALAHAN
Education BAHASA MELAYU DALAM
- Diploma in KALANGAN PELAJAR
Indonesia For SEKOLAH PONDOK
Special Purpose DAERAH YARANG,
(ISP) WILAYAH PATANI
- BA in Islamic 3. The Role of Malay
Theology Language and Literature
as a Media for Peace in
Patani Thailand and The
Archipelago
3. อาจารย์นูรณี บู -MA in Malay 145/25 Meningkatkan Kemahiran

เกะมาตี Language 59 Penggunaan Ejaan


Education danTanda Baca dalam
-BA in Malay Penulisan bagi Pelajar
Language Jurusan Pendidikan
ลำ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิและ สถานภ ผลงานทางวิชาการและผล
ดับ สถาบันที่สำเร็จการ าพ งานวิจัย
ศึกษา

Education Bahasa Melayu dengan


Menggunakan Set
Latihan Praktis, The
National and
International Academic
Conference 2018, Yala
Rajabhat University.
4. อาจารย์อมมุลอุม -MA in Malay 149/25 Motivasi Pelajar Sekolah

มะห์ โตะหลง Language and 60 Pondok di Selatan Thai


Linguistics Terhadap Pembelajaran
-BA in Malay Tulisan Jawi, The
Language National and
International Academic
Conference 2018, Yala
Rajabhat University.
5. อาจารย์ยะหะยา -MA in Education 082/25

นิแว Management 60
- Diploma in
Islamic Teaching
-BA in
Ushuluddin
ตารางที่ 1.2 จำนวนอาจารย์ผู้สอน ที่เป็ นอาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัย
ฟาฏอนีปีการศึกษา 2561
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตำแหน่งวิชาการ คุณวุฒิ
1 จิระพันธ์ เดมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - กศ.ม.
2 ซาฟี อี บารู อาจารย์ - ศษ.ม.
3 อิบรอเฮม หะยีสาอิ อาจารย์ - ศษ.ม.
4 วุฒิศักดิ ์ พิศสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - กศ.ด.
5 จารุวัจน์ สองเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - ศษ.ด
6 มูฮามัสสกรี มันยูนุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - Ph.D.
7 ซอลีฮะห์ หะยีสะมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - M.Ed.
แอ
8 มาหามะรอสลี แมยู อาจารย์ - กศ.ม.
9 ฟาตีฮะห์ จะปะกียา อาจารย์ - M.Ed.
10 อับดุลกอนี เต๊ะมะ อาจารย์ - ศษ.ม.
หมัด
11 มะยูตี ดือรามะ อาจารย์ - Ph.D
12 อิสมาอีล ราโอบ อาจารย์ - Ph.D
13 อดุลย์ ภัยชำนาญ อาจารย์ - ศษ.ม.
14 มุมีน๊ะห์ บูงอตาหยง อาจารย์ - ศศ.ม.
15 อะหมัดซากี มาหะมะ อาจารย์ - ศศ.ม.
16 กูอาเรส ตวันดอเลาะ อาจารย์ - M.A.
17 ซาลีฮะ มูซอ อาจารย์ - M.Ed.
18 รอมลี หะมะ อาจารย์ - Ph.D
19 ฮาสนะ อับดุลกอเดร์ อาจารย์ - M.Ed.
20 สุไรยา จะปะกียา อาจารย์ -Ph.D
9. สถานที่จัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยฟาฏอนี135/8 ม. 3 ตำบล
เขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปั ตตานี
การกำกับให้เป็ นไปตามมาตรฐาน

ตัวบ่งชี ้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลัก สูตรที่


กำหนดโดยสกอ.
กรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
เกณฑ์การประเมิน ข้อ 1 จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร
หลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตรครบตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา
ตามหลักสูตร
1.อาจารย์แอสซูมานี มาโซ
2.ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว
3.อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี
4.อาจารย์อมมุลอมมะห์ โตะหลง
5. อาจารย์ยะหะยา นิแว

หลักฐาน/ตารางอ้างอิงตารางที่ 1.1-1 แสดงรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร


คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการ
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 2 คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร


อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณสมบัติเป็ นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ดังนี ้
1. แอสซูมานี มาโซ คุณวุฒิ M.Ed.( Malay Language Education) ตำแหน่ง
ทางวิชาการ อาจารย์
2. เภาซัน เจ๊ะแว คุณวุฒิPh.D (Malay Language and Linguistics)
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
3. นูรณี บูเกะมาตี คุณวุฒิM.Ed. (Malay Language Education) ตำแหน่ง
ทางวิชาการ อาจารย์
4. อมมุลอุมมะห์ โตะหลง คุณวุฒิM.A.(Malay Language and Linguistics)
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
5. ยะหะยา นิแว คุณวุฒิM.Ed (Education Management) ตำแหน่งทาง
วิชาการ อาจารย์

หลักฐาน/ตารางอ้างอิงตารางที่ 1.1-1 แสดงรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร


คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการ
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์ก ารประเมิน ข้อ 11 การปรับ ปรุงหลัก สูต รตามรอบระยะเวลาที่


กำหนด
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู หลักสูตรใหม่
พ.ศ. 2559 เปิ ดรับนักศึกษา ปี การศึกษา 2559 เปิ ดสอนโดยใช้หลักสูตรนีม
้ า
แล้ว 3 ปี ระยะเวลาการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร 5 ปี หลักสูตร
กำลังจะครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร ปี การศึกษา 2563 และขณะนี ้
หลักสูตรอยู่ในขัน
้ ตอนการเสนอขออนุมัติสภา เพื่อใช้ในปี การศึกษา 2562
สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 : การกำกับมาตรฐาน
ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน ผลการประเมิน
ชี ้ งาน
 หลักสูตรได้มาตรฐาน
 ผ่าน
1.1 ผ่าน  หลักสูตรไม่ได้
 ไม่ผ่าน
มาตรฐาน

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 1

จุดเด่น
1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรครบตามเกณฑ์ที่ สกอ.กำหนด
2.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์
ผู้สอนมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. และคุรุสภากำหนด
3. หลักสูตรมีการบูรณาการอิสลามและอาเซียนซึ่งตอบสนองความ
ต้องการของคนในพื้นที่
4. หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของสังคมเนื่องจากการขาดแคลนครูที่จบ
ตรงวุฒิด้านสาขาการสอนภาษามลายู

โอกาสในการพัฒนา
1. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีโอกาสที่จะพัฒนาคุณวุฒิด้านสาขาวิชา
ในระดับที่สูงขึน

2. สาขามีโอกาสพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของคนในพื้นที่และสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงในอาเซียน
3. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีโอกาสที่จะได้รับการพัฒนาทางวิชาการ
ในบริบทที่กว้างขึน
้ เพื่อการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การ
ประเมินผล และการสร้างผลงานทางวิชาการในระดับอาเซียน
องค์ประกอบที่ 2
บัณฑิต
(มคอ.7 หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต)
ข้อมูลนักศึกษา
ปี การศึกษาที่ จำนวนนักศึกษาคงอยู่ (จำนวนจริง) ในแต่ละปี การศึกษา
รับเข้า(ตัง้ แต่ปี
ลา
การศึกษาที่เริม
่ 2561 2560 2559 2558 2557 คงอยู่
ออก
ใช้หลักสูตร)
2561(ชัน
้ ปี ที่1) 15 - - - - 15 0
2560(ชัน
้ ปี ที่2) 18 22 - - - 18 4
2559(ชัน
้ ปี ที่3) 28 28 53 - - 28 25
รวมนักศึกษาคงอยู่ 61 -
จำนวนนักศึกษาที่ออก - 16
หมายเหตุ นัก ศึก ษาที่อ ยู่เ กิน กว่า อายุข องหลัก สูต ร ให้น ับ รวมอยู่ใ นช่อ งนัก ศึก ษา
ตกค้าง

จำนวนการสำเร็จการศึกษา(กรณีหลักสูตร 5 ปี )
ปี การศึกษา จำนวน จำนวนสำเร็จการศึกษาตาม จำนวนที่ลาออก
รับเข้า หลักสูตร (2) และคัดชื่อออก
(1) 2559 2560 2561 สะสมจนถึงสิน
้ ปี
การศึกษา 2561
(3)

สูตรการคำนวณอัตราสำเร็จการศึกษา= (2)x 100


(1)

ปี การศึกษา 2559 2560 2561


ร้อยละการสำเร็จการศึกษา 0 0 0
ของนักศึกษา

ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษามลายู

การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบและกลไก

ในปี การศึกษา 2560 สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีการแนะแนว


ประชาสัมพันธ์หลักสูตรหลากหลายรูปแบบ มีทงั ้ แนะแนวทางเว็บไซต์ของ
มหาวิทยาลัย แนะแนวผ่านสื่อสังคมออนไลน์ แนะแนวตามสถาบันการ
ศึกษาผลที่ตามมาจำนวนนักศึกษาไม่เป็ นไปตามเป้ าที่วางเอาไว้ และจำนวน
นักศึกษาก็ลดลงจากปี การศึกษา 2559 จากการดำเนินการพบว่าสภาพและ
ปั ญหามีดังนี ้
1. จำนวนผู้ที่มารายงานตัวไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย
สาขาการสอนภาษามลายูมีเป้ าหมายรับนักศึกษา 60 คน โดยผู้ที่มา
สมัคร กับผู้ที่มารายงานตัวมีความแตกต่างกัน เนื่องจากสาเหตุแรกรายชื่อผู้
สมัครส่วนใหญ่มาจากการเลือกสาขาอันดับที่สองในใบสมัคร ซึง่ ผู้สมัครส่วน
ใหญ่มีความตัง้ ใจที่จะเรียนในสาขาที่เลือกอันดับที่ 1 มากกว่าสาเหตุที่สอง
บางส่วนของผูส
้ มัครเป็ นการรับสมัครในวันที่แนะแนวตามโรงเรียนต่างๆ ผู้ที่
สมัครมีการกรอกใบสมัครโดยที่ยังขาดความพร้อมในการตัดสินใจศึกษาต่อ
บางคนกรอกใบสมัครทุกสถาบันที่ไปแนะแนว ทัง้ นีส
้ าขาวิชามีการโทร
ติดตามผู้สมัครทุกคน เพื่อติดตามความต้องการที่จะศึกษาในสาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูก่อนที่จะมีการสอบสัมภาษณ์และรายงานตัว พบว่าบาง
ส่วนของผู้สมัครไม่มีความประสงค์ที่จะศึกษาด้วยปั จจัยด้านส่วนตัวของ
นักศึกษา เช่นฐานะทางบ้านยากไร้ ผู้ปกครองไม่สามารถส่งเล่าเรียนได้
นักศึกษาบางคนสมัครเรียนไว้หลายมหาวิทยาลัย และเลือกไปเรียนที่อ่ น

นักศึกษาบางรายไม่ทราบสาเหตุ
2. มีหลักสูตรที่ใกล้เคียงเปิ ดสอนทุกมหาวิทยาลัย
หลักสูตรการสอนภาษามลายูมีความใกล้เคียงกับหลักสูตรศิลปศาสตร์
บัณฑิตภาษามลายูของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี และหลักสูตรภาษามลายูของ
มหาวิทยาลัยใกล้เคียงที่เป็ นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มีการเรียนการสอนภาษา
มลายู ทัง้ หมดสี่มหาวิทยาลัย การศึกษาที่มหาวิทยาลัยรัฐเป็ นความต้องการ
ของผูส
้ มัครมากกว่ามหาวิทยาลัยเอกชน เนื่องจากค่าเล่าเรียนน้อยกว่า
3. อัตราครูภาษามลายูในโรงเรียนรัฐบาลมีน้อย
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูยังไม่ปรากฏในบัญชีอัตราการบรรจุ
ข้าราชการครู หรือโครงการครูคืนถิ่น โอกาสในการสอบบรรจุข้าราชการมี
น้อย ตำแหน่งครูภาษามลายูส่วนใหญ่เปิ ดรับโดยโรงเรียนเอกชน ซึ่งมีการ
เรียนการสอนภาษามลายูอย่างจริงจังในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เท่านัน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
(มคอ.7 หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต)

ตัวบ่งชี ้ 3.1 การรับนักศึกษา


ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ก า ร ร ับ การรับนักศึกษา TM3.1-1 ระบบ
นักศึกษา มีระบบและกลไก(PLAN) และกลไกการรับ
หลักสูตร การสอนภาษามลายู มี นักศึกษาใหม่
ระบบการรับนักศึกษาตามข้อบังคับ TM3.1-2 ประกาศ
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ว่าด้วยการ มหาวิทยาลัยว่าด้วย
ศึกษาระดับปริญญาตรี และดำเนิน การรับนักศึกษา
การรับนักศึก่ษาร่วมกับคณะและ ใหม่ การประกาศ
สำนักบริการการศึกษา ซึ่งมีขน
ั ้ ตอน รายชื่อผู้มีสิทธิส์ อบ
ดังนี ้ TM3.1-1 และผูผ
้ ่านการสอบ
1) กำหนดเป้ าหมายจำนวนการรับ คัดเลือก
นักศึกษาและจัดทำแผนการรับ TM3.1-3 คำสัง่ แต่ง
นักศึกษา ตัง้ คณะกรรมการ
1.1 หลักสูตรวิเคราะห์ความต้องการ ดำเนินงานรับใหม่
ของตลาดแรงงาน และแนวโน้นความ เข้าศึกษาต่อ ปี การ
ต้องการทักษะวิชาชีพในอนาคต ศึกษา 2561
1.2 หลักสูตรกำหนดจำนวนเป้ า TM3.1-4 แบบ
หมายจำนวนการรับนักศึกษา โดย ทดสอบวัดระดับ
คำนึงถึงสัดส่วนของอาจารย์ต่อ ภาษา
จำนวนนักศึกษา ศักยภาพทรัพยากร TM3.1-5 แบบ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ของคณะและสิ่งสนับสนุนการเรียน ทดสอบวัดแวว
การสอน ความเป็ นครู
1.3 หลักสูตรจัดทำแผนการรับ TM3.1-6 แบบสอบ
นักศึกษาและเสนอแผนการรับ สัมภาษณ์
นักศึกษาต่อคณะกรรมการประจำ TM3.1-7 รายงาน
คณะ การประชุมว่าด้วย
2) กำหนดระบบการรับนักศึกษา เรื่องการดำเนินการ
ตามบริบทของหลักสูตร คณะ และ รับสมัครนักศึกษา
มหาวิทยาลัย ประจำปี การศึกษา
มหาวิทยาลัยมีการกำหนดระบบ 2561
การรับนักศึกษาที่สะท้อนถึงปรัชญา
วิสัยทัศน์ ของมหาวิทยาลัย
- ระดับ ปริญ ญาตรี ระบบการรับ
น ัก ศ ึก ษ า ผ ่า น ร ะ บ บ ร ับ ต ร ง ต า ม
ล ัก ษ ณ ะ ข อ ง ห ล ัก ส ูต ร โ ด ย แ บ ่ง
ประเภทการรับ นัก ศ ึก ษา เ ป็ น 2
ประเภท ดังนี ้
1.1 รับนักศึกษาประเภทโควต้า
1.2 รับนักศึกษาประเภททั่วไป
3) กำหนดเกณฑ์การรับนักศึกษา
ตาม ปรัชญา วิสัยทัศน์ของ
หลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมีการกำหนดเกณฑ์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
การรับนักศึกษาที่สะท้อนถึงปรัชญา
วิสัยทัศน์ ของมหาวิทยาลัย และ
เกณฑ์คณ
ุ สมบัติในระดับหลักสูตรที่
ปรากฏใน มคอ.2
4) การกำหนดคุณ สมบัต ิผ ู้ส มัค ร
สอบ
คุณสมบัติผู้สมัครสอบเข้าศึกษา
ต่อ ใช้คุณสมบัติตามเกณฑ์ มคอ.2
โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
4.1 ระดับปริญญาตรี
ระบบการรับนักศึกษาในประกาศ
รับนักศึกษา
1) สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษา
ตอนปลายหรือเทียบเท่า
2)มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยไม่
น้อยกว่า 2.5 หรือเป็ นไปตามดุลพินิจ
ของคณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษา
3)มีคณ
ุ สมบัติครบถ้วนตาม
ระเบียบมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
4) ผ่านการทดสอบวัดแววความ
เป็ นครูของคณะศึกษาศาสตร์ และ
ทดสอบวัดความรู้ด้านภาษามลายู
โดยสาขา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
5) ประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่เปิ ดรับ
สมัคร คุณสมบัติ ขัน
้ ตอนการ
ดำเนินการการรับนักศึกษา และ
กำหนดการต่างๆ
1. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์
ข้อมูลหลักสูตรผ่าน website และ
facebook ของมหาวิทยาลัย คณะ
และหลักสูตร และจัดแสดงผลงาน
เพื่อแนะนำหลักสูตรตลอดปี การ
ศึกษา เช่นการจัดทำป้ าย
ประชาสัมพันธ์ และสื่อต่างๆ
2. ประกาศเกณฑ์การรับ
นักศึกษาผ่านช่องทาง เว็บไซต์ และ
ประกาศมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
3. ประกาศกำหนดวันรับสมัคร
นักศึกษาใหม่ โดยระบุวันเวลาตาม
รอบการสมัคร TM3.1-2
4. ประกาศกำหนดการวัน สอบ
คัดเลือก
5.ประกาศเลขที่นั่งสอบและราย
ชื่อผู้มีสิทธ์สอบข้อเขียน
6) การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการ
สอบคัด เลือ กนัก ศึก ษาและแต่ง ตัง้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
คณะกรรมการดำเนิน การสอบคัด
เ ล ือ ก แ ต ง่ ต งั ้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อ อ ก
ข้อสอบและดำเนินการสอบคัดเลือก
TM3.1-3
1. คณะ มีหน้าที่ ออกข้อสอบและ
ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียน โดย
มีการใช้เครื่องมือในการประเมินผู้
สมัคร ผ่านกระบวนการสอบประเมิน
ความรู้พ้น
ื ฐาน TM3.1-4 สอบวัด
แววความเป็ นครู TM3.1-5 และ
สอบสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกนักศึกษา
ที่มีความพร้อมทางด้านสติปัญญา
สุขภาพกาย เจตคติที่ดีต่อความเป็ น
ครู TM3.1-6
2. หลักสูตรและคณะจัดทำ
ข้อสอบ
7) ดำเนินการจัดสอบและประกาศ
ผลการสอบคัดเลือก
1. หลักสูตร คณะ และ
มหาวิทยาลัยดำเนินการจัดสอบตาม
กระบวนการที่หลักสูตรกำหนด
ประกอบด้วยการสอบข้อเขียน และ
การสอบสัมภาษณ์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
2. ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบ
คัดเลือก
3. ประกาศวันนักศึกษารายงานตัว

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การ
ดำเนินงาน/กระบวนการรับ
นักศึกษา(DO)
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชาการสอน
ภาษามลายู ได้ประชุมว่าด้วยการ
ดำเนินการรับนักศึกษาประจำปี การ
ศึกษา 2561 จากการพิจารณาใน
หลักสูตร
ในรอบโควต้ามีนักศึกษาผ่าน
พิจารณา จำนวน 10 คน คน รอบ
ทั่วไปรอบที่ 1 จำนวน 3 คน รอบที่
2 จำนวน 4 คน และรอบที่ 3
จำนวน 4 คน รวมผู้ที่มาสมัคร
ทัง้ หมด 21 คน ทางหลักสูตรได้ส่ง
รายชื่อนักศึกษาที่ได้ทุนและรายชื่อที่
สอบผ่านไปยังคณะเพื่อส่งต่อไปยัง
มหาวิทยาลัยต่อไป
สรุปการรับสมัครปี 2561 มีจำนวน
ผู้สมัครทัง้ หมด 21 คน และมา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
รายงานตัวเป็ นนักศึกษาจำนวน 15
คน
หลักสูตร ใช้ระบบการรับ
นักศึกษาเชื่อมโยงกับระบบของคณะ
และมหาวิทยาลัย และมีการวางแผน
จำนวนการรับนักศึกษาโดยผ่านการ
ประชุมคณะกรรมการประจำ
หลักสูตร และคณะ และจัดทำ
แผนภาพรวมของคณะ แจ้งทาง
มหาวิทยาลัยทราบ วิเคราะห์ และจัด
เข้าแผนภาพรวมของมหาวิทยาลัย
ทัง้ นีม
้ ีการทบทวน วิเคราะห์แผนการ
รับยืนยันก่อนการประกาศรับใน
แต่ละประเภทของแต่ละปี การศึกษา
ทุกครัง้ ซึ่งแผนการรับนักศึกษาปี การ
ศึกษา 2561 ดังนี ้
หลักสูตร สัดส่วน เป้ า
จำนวน หมาย
ที่รับ การรับ
ตาม ตามแผน
แผน
ป ร ะ เ ภ ท 10 คน 60 คน
โควตา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ประเภท 3 คน
ทั่วไป 1
ประเภท 4 คน
ทั่วไป 2
ประเภท 4 คน
ทั่วไป 3
รวม 21 คน
หลักสูตรและคณะได้นำระบบของ
มหาวิทยาลัยมาบริหารจัดการในการ
รับนักศึกษาในทุกประเภทโดยผ่าน
กระบวนการประชาสัมพันธ์ และ
ผ่านกระบวนการรับสมัครของสำนัก
ทะเบียนและส่งเสริมวิชาการ ทัง้ นีม
้ ี
การแต่งตัง้ คณะกรรมการรับผิดชอบ
ดำเนินการจัดสอบ และมี
กระบวนการออกข้อสอบประกอบ
ด้วย รายวิชาเอกเฉพาะ วิชาวัดแวว
ความเป็ นครู และสอบสัมภาษณ์
หลักสูตรนำกระบวนการรับ
นักศึกษามาจากนโยบายและแผน ที่
ผ่านการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ต่างๆ
ตามมคอ.2 ของหลักสูตร และแผน
ยุทธศาสตร์ประจำปี การศึกษานัน
้ ทัง้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ในระดับหลักสูตร และคณะ แล้วจึง
เกิดผลเป็ นแนวปฏิบัติดำเนินการ
ดังนี ้
1) การกำหนดเป้ าหมายจำนวนรับ
นักศึกษา คำนึงถึงศักยภาพ
ทรัพยากรของคณะและหลักสูตรทาง
ด้านบุคลากรทัง้ สายสนับสนุนและ
สายวิชาการโดยเฉพาะทางด้าน
วิชาการจะต้องให้สอดคล้องกับค่า
FTES (สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็ม
เวลาต่ออาจารย์ประจำ 30:1) ของ
หลักสูตร-คณะที่ทำการเปิ ดสอน และ
สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่มีอยู่
ประกอบกับความต้องการของตลาด
แรงงานในกลุ่มสาขาวิชาชีพที่
ขาดแคลนในปั จจุบันและอนาคต
2) การกำหนดกลุ่มเป้ าหมายและ
สร้างเกณฑ์ในการรับนักศึกษาแรก
เข้า เพื่อประกาศรับและ
ประชาสัมพันธ์การรับ โดยกลุ่มเป้ า
หมายและเกณฑ์การรับต้องสะท้อน
คุณภาพของนักศึกษาที่เหมาะสมกับ
หลักสูตรที่เปิ ดสอนและสอดคล้องกับ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบันและ
หลักสูตร ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนด
ในหลักสูตร
3) หลักเกณฑ์กระบวนการที่ใช้ใน
การคัดเลือกนักศึกษา ใช้เครื่องมือ
การสอบรับตรงที่หลักสูตรและคณะ
เป็ นผู้ดำเนินการ

มีการประเมินผลกระบวนการรับ
นักศึกษา(CHECK)
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายู ได้ประชุมทบทวน
ระบบและกลไกการรับนักศึกษาและ
ผลการดำเนินงาน พบว่าผลการรับ
นักศึกษา ปี 2561 หลักสูตรได้
นักศึกษาตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้
แต่ได้จำนวนนักศึกษาที่มารายงานตัว
น้อยกว่าปี การศึกษา 2560 และไม่
เป็ นไปตามจำนวนแผนรับนักศึกษาที่
กำหนดไว้ตาม มคอ.2 สะท้อนให้เห็น
ถึง การรับรู้ข้อมูลการเปิ ดหลักสูตร
ใหม่ของคณะและของมหาลัยที่ยังไม่
ทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ อีกทัง้ ยัง
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ไม่มีบณ
ั ฑิตที่จบจากหลักสูตรนี ้ เพื่อ
ป้ อนเข้าไปในตลาดแรงงานของสังคม
ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของหลักสูตรใน
การผลิตบัณฑิตที่อาจจะส่งผลต่อการ
ตัดสินใจของนักเรียนและผู้ปกครอง
ต่อการเข้ามาศึกษาในหลักสูตรนี ้ ผล
การรับนักศึกษาและแนวโน้มจำนวน
นักศึกษาตัง้ แต่เปิ ดหลักสูตร 2559
จนถึงปั จจุบัน ดังแสดงในตาราง ดังนี ้

ตารางแสดงผลการรับและจำนวน
นักศึกษาตัง้ แต่ปีการศึกษา 2559-
2561
รายกา ปี การ ปี การ ปี การ
ร ศึกษา ศึกษา ศึกษา
2559 2560 2561
การ ไม่ทัน ได้ ได้
ประชาสั ประชาสั ประชาสั ประชาสั
มพันธ์ มพันธ์ มพันธ์ มพันธ์
หลักสูต เพราะ ทุกรอบ ทุกรอบ
ร หลักสูต
รพึงถูก
อนุมัติ
จาก
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
สกอ.แล
ะคุรุ
สภา
รอบที่ รอบที่ 3 รอบ รอบ
เปิ ดรับ รอบ โค้วต้า โค้วต้า
นักศึกษ เดียว และ และรอบ
า รอบ ปกติทงั ้
ปกติทงั ้ สามรอบ
สาม
รอบ
จำนวน
นักศึกษ
าที่มา
53 22 15
รายงาน
ตัวเข้า
เรียน
จากตารางข้างต้นพบว่าจำนวน
นักศึกษาที่มารายงานตัวเข้าเรียนมี
แนวโน้มลดลงทางหลักสูตรจึงได้
ประชุมปรึกษาหารือเพื่อทบทวน
แนวทางการดำเนินงานของหลักสูตร
ในอนาคตถึงความต้องการการศึกษา
ต่อในหลักสูตรของนักเรียนในพื้นที่
และแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงของ
ตลาดแรงงานในอนาคตเพื่อให้เป็ น
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
หลักสูตรที่ทันสมัย สอดคล้องต่อ
ความต้องการของผู้ประกอบการใน
ท้องถิ่น จนได้ข้อสรุปเป็ นมติดังนี ้
- หลักสูตรมีการปรับปรุง ในปี
การศึกษา 2562 เพื่อพัฒนาหลักสูตร
จาก 5 ปี เป็ น 4 ปี ให้สอดคล้องกับ
นโยบายของ สกอ. ที่ต้องการให้
บัณฑิตทำงานได้เร็วขึน

- พัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตร
เอกเดียวเป็ นหลักสูตรเอกคู่ คือ
หลักสูตรการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโ,ยีสารสนเทศเพื่อเปิ ดโอกาส
ได้มากขึน
้ ในการสอบบรรจุรับ
ราชการเนื่องจากบัณฑิตที่จบมาจาก
หลักสูตรใหม่นส
ี ้ ามารถสอบบรรจุรับ
ราชการเป็ นได้ทงั ้ สองสาขาวิชา กล่าว
คือเป็ นได้ทงั ้ ครูสอนภาษามลายู และ
ครูสอนเทคโนโลยี อีกทั่งสอดคล้อง
กับความต้องการของสังคมไทยและ
สังคมโลกที่ต้องการบัณฑิตที่มีทักษะ
ทางด้านเทคโนโลยี
- ทบทวนคุณสมบัติของผู้มา
สมัครใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
พัฒนาหลักสูตรเอกคู่ดังกล่าว

มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ
จากผลการประเมิน (ACTION)
1. หลักสูตรฯได้มีการปรับปรุงและ
พัฒนากระบวนการจากผลการ
ประเมิน
2. หลักสูตรฯได้มีการเปรียบเทียบ
ผลการรับนักศึกษา 3 ปี ย้อนหลัง
(2559-2561) ดังนี ้
ผลการรับนักศึกษา
ปี การ ปี การ ปี การ
รายการ
ศึกษา ศึกษา ศึกษา
2559 2560 2561
จำนวน 53 22 15
นักศึกษารับ
เข้า
จำนวนคงอยู่ 28 18 15
ร้อยละคงอยู่ 52.83 81.82 100

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
กระบวนการรับนักศึกษาปี ที่ผ่านมา
จากข้อมูลของปี การศึกษา 2559 -
2561 มีอัตราการคงอยู่ ที่ดีขน
ึ้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
เรื่อยๆ
การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
มีระบบและกลไก (PLAN) TM3.1-8 ระบบ
หลักสูตรมีการประชุมเพื่อ และกลไกการเตรี
เตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาที่ ยมความพร้อม
ได้รับคัดเลือกให้เข้าศึกษาต่อ เพื่อจัด นักศึกษา
เตรียมความพร้อม ให้สามารถเรียนรู้
ในหลักสูตร และมีความสุขในการใช้ TM3.1-9
ชีวิตการเป็ นนักศึกษา จนสำเร็จการ กำหนดการ
ศึกษา โดยมีระบบกลไกดังนี1
้ ) จัดทำ โครงการทักษะการ
แผนการเตรียมความพร้อมสำหรับ ใช้ชีวิตใน
นักศึกษาตามบริบทของหลักสูตร มหาวิทยาลัย
หลักสูตรจัดทำแผนการเตรียม
ความพร้อมสำหรับนักศึกษาตาม TM3.1-10 รายงาน
บริบทของหลักสูตร อาทิ ความพร้อม สรุปผลการดำเนิน
ด้านวิชาการ ความพร้อมด้านทักษะ กิจกรรมเตรียม
การใช้ชีวิต ความพร้อมด้านการ ความพร้อมแก่
ทำงานเป็ นทีม ความพร้อมทางด้าน นักศึกษาใหม่
จิตวิญญาณความเป็ นครู และเสนอ
ต่อคณะกรรมการประจำคณะ TM3.1-11 รายงาน
TM3.1-8 การประชุมอาจารย์
2) จัดทำโครงการการเตรียมความ ประจำหลักสูตร ว่า
พร้อมสำหรับนักศึกษา ด้วยประเมินผลการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
หลักสูตรจัดเตรียมโครงการและ ดำเนินงานกิจกรรม
งบประมาณการดำเนินโครงการให้ เตรียมความพร้อม
สอดคล้องกับการดำเนินงาน เพื่อให้ แก่นักศึกษาใหม่ ปี
บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมี การศึกษา 2561
ประสิทธิภาพ เสนอต่อคณะกรรมการ
ประจำคณะ TM3.1-9
3) ดำเนินโครงการการเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษา
หลักสูตรดำเนินโครงการ และ
เสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ
4) ประเมินผลการดำเนินโครงการ
5) ประเมินกระบวนการเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษาและจัดการ
ความรู้ (KM) ในกระบวนการดำเนิน
งานระบบการเตรียมความสำหรับ
นักศึกษา
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ระหว่างหลักสูตรและคณะในการ
ดำเนินงาน โดยการประชุมสรุปผล
การประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อ
พิจารณาจุดเด่น จุดด้อยกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
หรือ จัดการความรู้ในกระบวนการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
เสนอคณะกรรมการประจำคณะ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพมากขึน
้ เพื่อเป็ น
แนวทางปฏิบัติที่ดีในกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
6) นำไปปรับปรุงในกระบวนการ
วางแผนการเตรียมความพร้อม
สำหรับนักศึกษาครัง้ ต่อไป
นำแนวปฏิบัติที่ดีในกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
ไปปรับปรุงในการวางแผนการเตรียม
ความพร้อมสำหรับนักศึกษาครัง้ ต่อ
ไป

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การ
ดำเนินงาน/กระบวนการ (DO)
หลักสูตร มีการประชุมว่า
ด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนเข้า
ศึกษาของนักศึกษาใหม่ผ่าน
โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ของ
มหาวิทยาลัยโดยสำนักพัฒนา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ศักยภาพนักศึกษาร่วมกับคณะและ
หลักสูตรดังนี ้ TM3.1-11
โครงการการเตรียมความ
พร้อมด้านทักษะการใช้ชีวิตใน
มหาวิทยาลัยทัง้ ในระดับ
มหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตร ใน
ระดับมหาวิทยาลัย นักศึกษาใหม่มี
กิจกรรมพบปะผูบ
้ ริหารระดับสูง
ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี และ
ผู้ช่วยอธิการบดีทุกฝ่ าย เพื่อแสดง
ความยินดี ให้โอวาท และแนะนำ
แนวทางการใช้ชีวิตเป็ นนักศึกษาใน
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี และฟั งการ
ชีแ
้ จงแนวทางการศึกษา การทำ
กิจกรรม และการเป็ นนักศึกษามหาวิ
ทยาลัยฟาฏอนี จากหน่วยงานต่างๆ
อาทิ สำนักบริการการศึกษา ชีแ
้ จงว่า
ด้วยการลงทะเบียนเรียนและการ
เรียนการสอน สำนักพัฒนานักศึกษา
ชีแ
้ จงว่าด้วยเรื่องกิจกรรมนักศึกษา
สำนักงานหอพัก ว่าด้วยการอยู่อาศัย
ในหอพักมหาวิทยาลัย ในระดับคณะ
นักศึกษาใหม่มีกิจกรรมพบปะผู้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
บริหารคณะ ทัง้ คณบดี รองคณบดี
หัวหน้าสำนัก และหัวหน้าสาขาทุก
สาขาวิชาทัง้ ในระดับปริญญาตรีและ
ปริญญาโท เพื่อให้โอวาทและแนะนำ
ทักษะการเรียน กระบวนการจัดการ
เรียนการสอน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ของคณะศึกษาศาสตร์โดยภาพรวม
ทัง้ นี ้ ในระดับคณะมีกิจกรรมของ
สโมสรนักศึกษาในการเตรียมความ
พร้อมก่อนเข้าศึกษารวมอยู่ด้วย หลัง
จากนักศึกษาใหม่พบปะและมี
กิจกรรมในระดับคณะแล้ว ในระดับ
หลักสูตร นักศึกษามีการพบปะกับ
หัวหน้าสาขาวิชา คณาจารย์ในสาขา
วิชาทุกท่าน ตลอดจนชุมนุมสาขา
วิชา ซึง่ มีรูปแบบกิจกรรมที่เน้นใน
การสร้างความใกล้ชิดและความ
สัมพันธ์ระหว่างคณาจารย์ นักศึกษา
รุ่นพีแ
่ ละนักศึกษาใหม่
หลักสูตรได้ดำเนินการจัด
กิจกรรมเตรียมความพร้อมแก่
นักศึกษาใหม่ ปี การศึกษา 2561 มี
ผลการประเมินตัวชีว้ ัดโครงการดังนี ้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
1. นักศึกษาใหม่เข้าร่วมโครงการ
คิดเป็ น ร้อยละ 90.00
2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ
กิจกรรม ในระดับ มาก คิดเป็ น
คะแนน 4.31 โดยแยกแต่ละด้านดังนี ้
ปี 2561
รายการ ระดับ
คะแนน
ด้านวิทยากร 4.39
ด้านสถานที่/ระยะ 4.36
เวลา
ด้านความรู้ความ 4.31
เข้าใจ
ด้านคุณภาพ 4.25
ด้านวัตถุประสงค์ 4.06
คะแนนเฉลี่ยทุก 4.31
ด้าน
จากตารางข้างต้น ในปี การ
ศึกษา 2561 มีการประเมิน คะแนน
อยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตาม การเต
รียมความพร้อมครัง้ ต่อไปคณะ
กรรมการจะทำการทบทวนและ
ปรับปรุงวิธีการให้ดีขน
ึ ้ กว่าเดิมเพื่อ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
เตรียมการรับนักศึกษาเข้าปี การ
ศึกษา 2562 ต่อไป

มีการประเมินผลกระบวน
การ(CHECK)
หลักสูตรได้ประชุมเพื่อประเมิน
ผลการดำเนินงานการเตรียมความ
พร้อมนักศึกษาสาขาวิชาการสอน
ภามลายู และนำข้อเสนอแนะมาปรับ
แก้เพื่อประยุกต์ใช้ในการรับนักศึกษา
ใหม่ปีต่อไป จากการดำเนินงาน พบ
ว่าผลการประเมินความพึงพอใจของ
นักศึกษาต่อกิจกรรมเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษาใหม่มีค่าเฉลี่ย
ระดับความพึงพอใจอยู่ที่ 4.31 ซึ่ง
สาขาวิชาได้รวบรวมผลการประเมิน
ความพึงพอใจของนักศึกษา พบว่า
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ
กระบวนการจัดเตรียมความพร้อมแก่
นักศึกษาใหม่ โดยระบุว่าเป็ นการ
เตรียมความพร้อมในการเรียนได้ดีขน
ึ้
และสามารถแก้ปัญหาลดความกังวล
ต่อการเปลี่ยนแปลงจากโรงเรียนสู่
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
สถาบันอุดมศึกษาได้เป็ นอย่างดี
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 3.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
การส่ง เสริม - การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษา
แ ล ะ พ ัฒ น า วิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับ TM 3.2-1 คู่มือ
ปริญญาตรี
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา
ระบบและกลไก
มหาวิทยาลัยฟาฏอนีมีระบบและกลไก
TM 3.2-2 คู่มือกลุ่ม
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและ
ศึกษาอัลกุรอาน
แนะแนวแก่นักศึกษาผ่านระบบอาจารย์ที่
ปรึกษา TM 3.2-1 และกลุ่มศึกษาอัลกุรอาน
TM 3.2-2 ภายใต้การกำกับดูแลของฝ่ ายพัฒนา TM 3.2-3 ภาระงาน
นักศึกษาของมหาวิทยาลัยและคณะ มีภาระงาน อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาในระบบบริการการศึกษา (E- ระบบบริการการ
register) ของมหาวิทยาลัย ผ่านช่องทาง ศึกษา (E-register)
www.reg.ftu.ac.th TM 3.2-3 ที่เอื้อให้
หลักสูตรและอาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนป้ อนข้อมูล
TM 3.2-4 ระบบและ
นักศึกษาภายใต้อาจารย์ที่ปรึกษา กำหนด
กลไกการควบคุมการ
สถานการณ์เข้าระบบ และดูแลควบคุมการลง
ดูแลการให้คำปรึกษา
ทะเบียนเรียน การส่งข้อความถึงนักศึกษาและ
การตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการลง วิชาการและแนะแนว
ทะเบียนเรียนของนักศึกษามีระบบการประเมิน แก่นักศึกษาในระดับ
ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษามีการแบ่งกลุ่มศึกษา ปริญญาตรี
อัลกุรอานของนักศึกษาในหลักสูตร ซึ่งรับผิด
TM 3.2-5 คำสั่งแต่ง
ชอบโดยฝ่ ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษาของคณะ
กำหนดให้มีการจัดทำกลุ่มศึกษาอัลกุรอาน เป็ น ตัง้ อาจารย์ที่ปรึกษา
ประจำ ทุกๆ วันจันทร์ของสัปดาห์ เวลา 10.00 ปี การศึกษา 2561
-12.00 นาฬิกา
TM 3.2-6 ชั่วโมง
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชาการสอนภาษา
และช่องทางการให้
มลายู มีการประชุมเพื่อพิจารณาอาจารย์ที่
คำปรึกษา
ปรึกษา โดยได้ดำเนินการตามขัน
้ ตอนดังนี ้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
1) วิเคราะห์ภาระหน้าที่ของอาจารย์ใน
หลักสูตร
TM 3.2-7 รายงาน
2) เสนอแต่งตัง้ อาจารย์ที่ปรึกษา โดย
สรุปผลการให้คำ
กำหนดรายละเอียดดังนี ้ TM 3.2-5
ปรึกษาวิชาการและ
รายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
แนะแนวแก่นักศึกษา
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา
ชัน
้ ปี ที่ วิชาการ
TM 3.2-8 รายงาน
1 (รหัส 61) อาจารย์ อมมุลอมมะห์
การประชุมว่าด้วย
โตะหลง
เรื่องอาจารย์ที่
2 (รหัส 60) อาจารย์ นูรณี บูเกะมาตี
ปรึกษา
3 (รหัส 59)
นักศึกษา ผศ.ดร เภาซัน เจ๊ะแว
ชาย อาจารย์ แอสซูมานี TM3.2-9 ภาระงาน
นักศึกษา มาโซ
อาจารย์ที่ปรึกษาผ่าน
หญิง
ชั่วโมง 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ระบบบริการการ
ปรึกษา ศึกษา (E-register)
วันเวลา ตามตารางของอาจารย์
TM 3.2-6 TM 3.2.10 รายงาน

3) อาจารย์ที่ปรึกษา ดำเนินการตาม ผลการดำเนิน

แนวทางการปฏิบัติสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาใน งานการให้คำปรึกษา

การให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวการ แก่นักศึกษาปี การ

ศึกษาแก่นักศึกษา โดยในปี การศึกษา 61 ศึกษา 2561

หลักสูตรได้กำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาต้องกำหนด TM 3.2-11 รายงาน


ตารางเวลาให้คำปรึกษาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อ การประชุมสาขา
ปรึกษาหารือ อีกทัง้ ทางหลักสูตรได้ส่งเสริมให้ วิชาการสอนภาษา
อาจารย์ที่ปรึกษาดำเนินการให้คำปรึกษาแก่ มลายูว่าด้วยแนว
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
นักศึกษาในหลายๆ ช่องทางด้วยกัน เช่น ทาง
ปฏิบัติที่ดีร่วมกัน
facebook ทางไลน์ หรือทางโทรศัพท์
ระหว่างอาจารย์ที่
4) ทางหลักสูตรร่วมกับฝ่ ายพัฒนา
ปรึกษาทุกท่านในที่
ศักยภาพของคณะ กำหนดกิจกรรมพบปะ
ประชุมสาขาวิชาเพื่อ
อาจารย์ที่ปรึกษา แล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษามา
พัฒนาระบบอาจารย์
พบนักศึกษาตามปฏิทินที่กำหนด
ที่ปรึกษาในปี ถัดไป
5) ทางหลักสูตรได้ทำการประเมินผล
ความพึงพอใจในการให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่
ปรึกษาโดยให้นักศึกษาเข้าไปประเมินแบบ
ออนไลน์ผ่านระบบบริการการศึกษา (E-
register) ของมหาวิทยาลัย
6) อาจารย์ที่ปรึกษาจัดทำรายงานสรุป
ผลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่
นักศึกษา และจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการ
ดำเนินการในปี ต่อไป TM 3.2-7
ในการนีต
้ ามนโยบายของมหาวิทยาลัย
กำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องมีหัวหน้ากลุ่ม
ศึกษา โดยมหาวิทยาลัยจะส่งเรื่องให้ฝ่ายพัฒนา
ศักยภาพของคณะเป็ นผู้กำหนดหัวหน้ากลุ่ม
ศึกษา โดยมีเงื่อนไขว่าผู้ที่จะมาเป็ นหัวหน้ากลุ่ม
ศึกษาอัลกุรอานนัน
้ ต้องเป็ นบุคคลที่มีคุณสมบัติ
ที่เข้าใจอัลกุรอานและอัลฮาดีษ สามารถอ่านกรุ
อานได้อย่างคล่องแคล่ว มีจรรยามารยาทที่ดี
งาม มีบุคลิกภาพที่ดีสามารถเป็ นแบบอย่างที่ดี
ได้ เข้ากับผู้อ่ น
ื ได้ มีความรอบรู้ในเรื่องอิสลาม
ศึกษาเป็ นอย่างดีและถูกต้องและเป็ นผู้ที่ผ่าน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
การทดสอบวัดความรู้สามารถจากฝ่ ายพัฒนา
ศักยภาพของมหาวิทยาลัย ซึ่งอาจจะเป็ น
อาจารย์ เจ้าหน้าที่ หรือนักศึกษาก็ได้

ผลการดำเนินงาน

หลักสูตรศษ.บ. สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายู ได้รายงานผลการดำเนินงานผ่านที่
ประชุมโดยในปี การศึกษา 2561 อาจารย์ที่
ปรึกษาได้พบปะนักศึกษาตามกำหนดการเดือน
ละ 1 ครัง้ และเวลาอื่นๆตามที่อาจารย์แต่ละ
ท่านได้นัดกับนักศึกษาของตนเอง มีพูดคุยการ
แลกเปลี่ยนประสบการในการทำหน้าที่ของ
อาจารย์ที่ปรึกษาผ่านที่ประชุมทำให้ทราบว่า
อาจารย์ปรึกษาได้ทำหน้าที่สอดส่องดูแลตัก
เตือนให้คำปรึกษาด้านส่วนตัว การเรียน การใช้
ชีวิตในสังคมทัง้ ในรัว้ และนอกรัว้ มหาวิทยาลัย
อย่างอบอุ่น ชีแ
้ จงแผนการเรียนตลอดหลักสูตร
รวมถึงกฎระเบียบในการศึกษา สิ่งอำนวยความ
สะดวกในการศึกษาที่คณะและหลักสูตรจัดให้
ผ่านช่องทางต่างๆ ทัง้ การเข้าพบที่ห้องทำงาน
ผ่าน Facebook, Line, และการพูดคุยผ่าน
กลุ่มศึกษาอัลกุรอาน พาไปเลีย
้ งอาหาร ไปเยี่ยม
บ้านของนักศึกษาที่มีปัญหา TM 3.2-8
นอกจากนี ้ มหาวิทยาลัยโดยสำนัก
ทะเบียนและส่งเสริมวิชาการ มีระบบอาจารย์ที่
ปรึกษา ที่เอื้อให้หลักสูตรและอาจารย์ที่ปรึกษา
ทุกคนป้ อนข้อมูลนักศึกษาภายใต้อาจารย์ที่
ปรึกษา กำหนดสถานะการเข้าระบบและดูแล
ควบคุมการลงทะเบียนเรียน การส่งข้อความถึง
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
นักศึกษา และการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เกี่ยว
กับการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา TM3.2-9

จากผลการดำเนินงานเรื่องอาจารย์ที่
ปรึกษา ทำให้ทราบว่ามีนักศึกษาบางส่วนไม่มี
พื้นฐานด้านภาษามลายู ทำให้นักศึกษาขาดแรง
จูงใจและได้คะแนนอ่อนในบางรายวิชา ทาง
อาจารย์ที่ปรึกษาได้ประสานไปยังสาขาวิชาให้
จัดกิจกรรมสอนเสริมทักษะทางภาษาให้แก่
นักศึกษาดังกล่าว ทำให้นักศึกษาได้พัฒนา
ทักษะทางภาษาได้ดียิ่งขึน
้ ต่อไป

จากการดำเนินงานอาจารย์ที่ปรึกษาพบว่า
นักศึกษาหลายๆ คนในหลักสูตรมีฐานะยากจน
ซึ่งทางหลักสูตรศษ.บ. สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูได้ให้นักศึกษากรอกใบสมัครทุน ทำให้ใน
ปี การศึกษา 2561 มีนักศึกษาได้รับทุนการ
ศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน(ทุน 50%) ทุน กรอ. ทุน
กยศ. และทุน สกอ. ดังตารางด้านล่าง

ประเภททุนการ นักศึกษ ชัน


้ ปี
ศึกษา าที่ได้
รับทุน
(คน)
ทุนการศึกษา(ทุน 4 2
50%)
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ทุนการศึกษา(ทุน 5 2
30%)
ทุนเราะห์ 4 3
มะห์20%
ทุน สกอ. 1 3
(ทุนบาสามะฮ) 1 3
ทุนวามี่ 2 4
รวม 17

การประเมินผลการควบคุมการดูแลการให้คำ
ปรึกษาวิชาการ
หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินงานผ่าน
ที่ประชุม โดยการประเมินความพึงพอใจของ
นักศึกษาต่อการให้บริการคำปรึกษาของ
อาจารย์ที่ปรึกษาประจำปี การศึกษา 2561
TM3.2-10 พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจ
ต่อการให้บริการคำปรึกษาอยู่ในระดับที่มากทัง้
4 ท่านผลการประเมินดังนี ้
อาจารย์ที่ปรึกษา คะแนน/ผลการประเมินปี
การศึกษา 2561
1/2561 2/2561
อมมุลอมมะห์ โตะหลง 4.706 4.603
นูรณี บูเกะมาตี 4.337 4.378
ผศ.ดร เภาซัน เจ๊ะแว 3.604 5.000
อาจารย์ แอสซูมานี มาโซ 4.070 3.978

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการ
ควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ปั ญหาและข้อเสนอแนะที่ทางสาขาได้พบมี ดังนี ้
1) อาจารย์ที่ปรึกษา ให้ความสำคัญกับ
นักศึกษาที่เรียนอ่อน ซึ่งพบว่ามีนักศึกษา
ส่วนน้อยไม่มีพ้น
ื ฐานด้านภาษามลายู
ทำให้นักศึกษาขาดแรงจูงใจและได้
คะแนนอ่อนในรายวิชาเอก ทางอาจารย์
ที่ปรึกษาได้ประสานไปยังสาขาวิชาให้จัด
กิจกรรมสอนเสริมทักษะทางภาษาทัง้ 4
ด้าน คือ การฟั ง การพูด การอ่าน และ
การเขียนให้กับนักศึกษาที่เรียนอ่อนดัง
กล่าว พร้อมทัง้ สอนเสริมหลักภาษามลายู
ด้วย หลังจากมีการสอนเสริม นักศึกษาที่
เรียนอ่อนรู้สึกมีความมั่นใจมากขึน

ทักษะทางภาษาดีขน
ึ ้ และมีแรงจูงใจใน
การเรียนต่อไป

2) จากการสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา
ต่อการปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษา ปี การ
ศึกษา 2561 พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจต่อ
การปฏิบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับมาก
ที่สุด

ในที่ประชุมได้ประเมินผลการดำเนินงาน
ตลอดจนพูดคุยถึงแนวปฏิบัติที่ดีร่วมกันระหว่าง
อาจารย์ที่ปรึกษาทุกท่านในที่ประชุมสาขาวิชา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

เพื่อพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในปี ถัดไปให้
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน
้ TM 3.2-11 โดยในปี
การศึกษาหน้า ในที่ประชุมเสนอแนะให้
หลักสูตรดำเนินการดังนี ้
1) กำหนดให้อาจารย์แต่ละท่านจัดหาทุน
เพื่อการศึกษาแก่นักศึกษาในหลักสูตรเพื่อสร้าง
กำลังใจในการเรียน
2) ให้มีกิจกรรมสร้างสัมพันธ์อาจารย์ที่
ปรึกษาและอาจารย์ภายในหลักสูตรไปเยี่ยม
บ้านนักศึกษาและมีทัศนศึกษาร่วมกัน
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริม
สร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ระบบและกลไก TM3.2-12 TM3.2-12 ระบบ
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชาการสอนภาษา และกลไกการพัฒนา
มลายูได้ตระหนักและให้ความสำคัญต่อการ ศักยภาพนักศึกษา
พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้าง และการเสริมสร้าง
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยระบุไว้ใน ทักษะการเรียนรู้ใน
ปรัชญาของหลักสูตร “มุ่งผลิตบัณฑิตวิชาชีพ ศตวรรษที่ 21
การศึกษาที่มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพครู
สาขาการสอนภาษามลายู ที่มีมาตรฐานสากล TM3.2-13 มคอ.2
และบูรณาการอิสลามบนพื้นฐานของจริยธรรม หมวดที่ 2 ข้อมูล
และจรรยาบรรณวิชาชีพครู แสวงหาความรู้ เฉพาะของหลักสูตร
ความก้าวหน้าในศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ใฝ่ สันติ (ปรัชญา ความสำคัญ
และเป็ น พลเมืองไทยและพลเมืองโลกที่ดี” วัตถุประสงค์ และ
กำหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิต แผนพัฒนาปรับปรุง)
TM3.2-13
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
1) มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพครู TM3.2-14 รายงาน
และวิชาการทางภาษามลายูอย่างลุ่มลึกมีทักษะ การประชุมสาขา
และเทคนิควิธีการสอน สามารถบูรณาการองค์ วิชาการสอนภาษา
ความรู้อิสลาม มีทักษะการวิจัยทางการศึกษา มลายู ว่าด้วยการ
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพได้อย่าง กำหนดทักษะการ
ถูกต้องและมีมาตรฐาน เรียนรู้ในศตวรรษที่
2) มีทักษะชีวิต ทักษะการคิด ทักษะการ 21 แก่ผู้เรียน
แก้ปัญหา สามารถเผชิญกับสถานการณ์ได้อย่าง
มีสติและเหมาะสม TM3.2-15 รายงาน
3) มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสำนึกความ สรุปโครงการเพิ่ม
เป็ นครู มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ทักษะการเรียนรู้และ
ตลอดจนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์และสังคม นวัตกรรมภายใต้
4) มีความสามารถในการพัฒนาตน ใฝ่ รู้ กิจกรรม “เตรียม
ใฝ่ เรียนอย่างต่อเนื่อง มีทักษะการใช้เทคโนโลยี ความพร้อมแก่
สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้และการดำเนิน นักศึกษาใหม่ และ
ชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และมี อบรมการใช้
ทักษะสำหรับการเป็ นประชากรในยุคศตวรรษที่ เทคโนโลยี
21 และบริบททางการศึกษาอย่างมีดุลยภาพ สารสนเทศ”
5) มีภาวะผู้นำและผู้ตาม และพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่องทัง้ คุณวุฒิ ประสบการณ์ใน
การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
สม่ำเสมอ และมีความสามารถในการศึกษาต่อ
ในระดับที่สูงขึน

6) ใฝ่ สันติและสามารถดำรงตนในบริบท
สังคมพหุวัฒนธรรมของท้องถิ่น ประชาคม
อาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างสันติสุข
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ทางหลักสูตรได้ประชุมเพื่อกำหนด
แนวทางการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาผ่านการ
ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรดังนี ้
TM3.2-14
1) พิจารณาแนวทางพัฒนาศักยภาพ
ของนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
2) กำหนดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 21 แก่ผู้เรียน
3) ดำเนินการตามแนวทางพัฒนา
ศักยภาพของนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่21 สำหรับนักศึกษาทุกคน
4) จัดทำรายงานสรุปผลการพัฒนา
ศักยภาพของนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ผลการดำเนินงาน
หลักสูตรได้ดำเนินการกำหนดทักษะที่ต้องการ
พัฒนาและส่งเสริมแก่ผู้เรียนในแต่ละชัน
้ ปี ผ่าน
การหารือในที่ประชุม อย่างชัดเจนที่ครอบคลุม
ทัง้ กิจกรรมในห้องเรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตร
และโครงการต่างๆ ทัง้ นี ้ มติที่ประชุมได้กำหนด
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แก่ผู้เรียน
ดังนี ้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

โครงการ/กิจกรรมในหลักสูตร
ทักษะการ โครงการ ชัน
้ ปี
เรียนรู้ใน 1 2 3
ศตวรรษที่
21
ทักษะการ เตรียมความ 
เรียนรู้และ พร้อมแก่
นวัตกรรม นักศึกษาใหม่

ทักษะการ -ทัศนะศึกษา 
คิด Jejak
วิจารณญาณ Warisan
และการแก้ Melayu ke   
ปั ญหา Negeri
Kedah
-กิจกรรมกีฬา
สีสาขาการ
สอนภาษา
มลายู
ทักษะการ -Lawatan 
สื่อสาร Sambil
Belajar
Bahagian
Penterjemah
an Berita di
Stesen Radio
 
NBT Yala
-รับน้อง
Jalinan   
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
Muhibbah
Keluarga
Pendidikan
Bahasa
Melayu
-กิจกรรม
กระดุมเม็ดที่3
ภาวะผู้นำ -ค่ายพัฒนา 
ศักยภาพสู่การ
เป็ นผู้นำรุ่น
ใหม่
ทักษะ อบรมการใช   
สารสนเทศ เทคโนโลยี
สื่อและ สารสนเทศ
เทคโนโลยี

การประเมินผลการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
โครงการเพิ่มทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรมภายใต้กิจกรรม เตรียมความพร้อมแก่
นักศึกษาใหม่ เป็ นโครงการที่อาจารย์ประจำ
สาขาและนักศึกษาของสาขาจัดขึน
้ เพื่อปรับพื้น
ฐานในเรื่องของทักษะทางภาษา เป็ นการเตรียม
นักศึกษาให้มีความพร้อมทางภาษาและ
โครงการเพิ่มทักษะสารสนเทศ สื่อและ
เทคโนโลยี โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็ นการ
เตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาที่จะเป็ นครูภาษา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
มลายูที่มีประสิทธิภาพในอนาคต TM3.2-15

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 3.2
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
1. การคงอยู่และการสำเร็จการศึกษา(กรณีหลักสูตร 5 ปี )
ปี การ จำนวนรับ จำนวนสำเร็จการศึกษาตาม จำนวนที่ลาออก
ศึกษา เข้า (1) หลักสูตร (2) และคัดชื่อออก
2559 2560 2561 สะสมจนถึงสิน
้ ปี
การศึกษา 2561
(3)
2559 53 0 0 0 25

2560 22 0 0 0 4

2561 15 0 0 0 0

1.1 อัตราการคงอยู่= (1)-(3) x 100


(1)

ปี การศึกษา 2559 2560 2561


ร้อยละการคงอยู่ของ 52.83 81.82 100
นักศึกษา

1.2 อัตราสำเร็จการศึกษา= (2)x 100


(1)

ปี การศึกษา 2559 2560 2561


ร้อยละการสำเร็จ 0 0 0
การศึกษาของ
นักศึกษา

2. ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษา

3. ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึง พอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

หลักสูตร

1 การจัดการศึกษาสอดคล้องกับ
4.02
ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตร

2 มีการจัดแผนการเรียนแต่ละปี การ
4.04
ศึกษาเป็ นไปตามแผนการศึกษา
ตลอดหลักสูตร

3 มีปฏิทินการศึกษาและโปรแกรมการ
4.11
ศึกษาแต่ละภาคการศึกษาอย่าง
ชัดเจน
4 หลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับ
3.94
ศาสตร์ในสาขาวิชาและความต้องการ
ของตลาดแรงงาน

5 วิชาเรียนมีการเสริมทักษะในศตวรรษ
4.01
ที่ 21

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึง พอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

กระบวนการคัดเลือกนักศึกษา

1 การกำหนดคุณสมบัติผู้มีสิทธิเ์ ข้า
3.95
ศึกษา มีความเหมาะสม

2 หลักเกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษา มี
3.97
ความเหมาะสม

3 กระบวนการคัดเลือกเข้าศึกษา มี
3.98
ความเหมาะสม

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึงพอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

อาจารย์ผู้สอน

1 อาจารย์ในหลักสูตรมีคุณวุฒิและ
4.29
ประสบการณ์เหมาะสมกับรายวิชาที่
สอน

2 อาจารย์ในหลักสูตรสอน เนื้อหา ตรง


4.05
ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้วิธีการที่
หลากหลาย และเน้นผู้เรียนเป็ น
สำคัญ

3 อาจารย์ในหลักสูตรสนับสนุนส่งเสริม
4.21
ให้นักศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
อย่างสม่ำเสมอ

4 อาจารย์เป็ นผู้มีคุณธรรม และ


4.34
จิตสำนึกในความเป็ นครู

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึงพอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

อาจารย์ที่ปรึกษา

1 ได้รับความสะดวกในการติดต่อกับ
3.81
อาจารย์ที่ปรึกษา

2 ช่องทางติดต่อกับอาจารย์ที่ปรึกษามี
3.83
เพียงพอ

3 อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาเรื่อง
3.63
การลงทะเบียนเรียน การเรียน การ
ใช้ชีวิตระหว่างเรียน

4 อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความสนใจ
3.67
ติดตามผลการเรียนของนักศึกษาและ
ช่วยเหลือให้นักศึกษาเรียนเป็ นไป
ตามระยะเวลาของหลักสูตร

5 อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือ
3.74
แก่นักศึกษาในด้านอื่นๆ นอกเหนือ
จากด้านวิชาการและการใช้ชีวิต

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึงพอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

การจัดการเรียนการสอน

1 การจัดการเรียนการสอนสอดคล้อง 4.06
กับลักษณะวิชาและวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้

2 การใช้ส่ อ
ื ประกอบการสอนอย่าง
3.83
เหมาะสม

3 วิธีการสอนส่งเสริมให้นักศึกษาได้
3.91
ประยุกต์แนวคิดศาสตร์ทางวิชาชีพ
และ/หรือศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการ
พัฒนาการเรียนรู้

4 มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.94
ประกอบการเรียนการสอน

5 มีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
3.93
ทักษะศตวรรษที่ ๒๑

6 มีการจัดสอนซ่อมเสริมสำหรับ
3.64
นักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียน

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึงพอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

การวัดและประเมินผล
1 วิธีการวัดประเมินผลสอดคล้องกับ
3.94
วัตถุประสงค์ และกินกรรมการเรียน
การสอน

2 การวัดและประเมินผลเป็ นไปตาม
3.98
ระเบียบกฎเกณฑ์และข้อตกลงที่
กำหนดไว้ล่วงหน้า

3 การวัดและประเมินผลมี
3.88
ประสิทธิภาพและยุติธรรม

ที่ รายการประเมิน ระดับ ความพึงพอใจ (ค่า


เฉลี่ย)

สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

1 ห้องเรียนมีอุปกรณ์เหมาะสม เอื้อต่อ
3.52
การเรียนรู้ และเพียงพอต่อนักศึกษา

2 ห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์เหมาะสม
3.56
เอื้อต่อการเรียนรู้ และเพียงพอต่อ
นักศึกษา

3 ระบบบริการสารสนเทศเหมาะสม
3.64
เอื้อต่อการเรียนรู้และเพียงพอต่อ
นักศึกษา

4 ห้องสมุดเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้
3.77
และเพียงพอต่อนักศึกษา

5 สนามกีฬา ที่ออกกำลังกาย ที่นั่งอ่าน


3.51
หนังสือเหมาะสมเอื้อต่อการเรียนรู้
และเพียงพอต่อนักศึกษา

6 หนังสือตำรา มีความเพียงพอและมี
3.65
คุณภาพ ทันสมัยส่งเสริมการเรียนรู้

7 สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนโดย
3.66
รวม (เช่น ความสะอาด แสง อากาศ
ถ่านเท เป็ นต้น)

8 สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนโดย
3.82
รวม (เช่น ความสะอาด แสง อากาศ
ถ่านเท เป็ นต้น)

ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อกระบวนการที่ด ำเนินการ
ในตัวบ่งชี ้ 3.1 และ 3.2
ประเด็นการประเมิน ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ
ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา
2559 2560 2561
หลักสูตร 4.46
ก ร ะ บ ว น ก า ร ค ัด เ ล ือ ก 4.3
นักศึกษา
อาจารย์ผู้สอน 4.23
อาจารย์ที่ปรึกษา 4.44
การจัดการเรียนการสอน 3.90
การวัดและประเมินผล 4.02
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.33
ผลการจัดการข้อร้องเรียน
ปี การศึกษา 2559 2560 2561
จำนวนข้อ ร้อ งเรีย นของ 5 7 5
นักศึกษา
จำนวนข้อร้องเรียนที่ได้รับ 4 6 5
การแก้ไข
ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ 80.00 85.71 100
ได้รับการแก้ไข
จากตารางพบว่า ในปี การศึกษา 2561 จำนวนข้อเรียกร้องของ
นักศึกษามีมากขึน
้ สะท้อนให้เห็นว่า อาจารย์ในสาขากับนักศึกษามีความ
ใกล้ชิดสนิทสนมกันมาก เข้าถึงนักศึกษาทุกคน ทำให้นักศึกษากล้าที่จะมา
ปรึกษา กล้าบอก กล้าพูดมากขึน
้ และทุกข้อเรียกร้องของนักศึกษา ทาง
หลักสูตรได้ปรึกษาพูดคุยในที่ประชุมตลอด จนทำให้นักศึกษามีความพึง
พอใจต่อการจัดการข้อร้องเรียนดีกว่าปี ที่ผ่านมาคิดเป็ นคะแนนเท่ากับ 4.24
สูงกว่าปี การศึกษา 2560 และ 2559 โดยมีคะแนนเท่ากับ 4.18 อย่างไร
ก็ตามที่ประชุมเห็นว่าผลการการประเมินยังไม่แตกต่างกันมากนัก จึงมีข้อ
เสนแนะให้ทางหลักสูตรมีกิจกรรมพบปะนักศึกษาให้บ่อยขึน
้ เพื่อสร้าง
ความสนิทสนมระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ และมีโครงการนักศึกษาพบปะ
อาจารย์ประจำหลักสูตรบ่อยขึน
้ เพื่อรับข้อร้องเรียนและหาวิธีการแก้ไขร่วม
กันระหว่างอาจารย์ นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ในสาขาและเพื่อที่ปัญหานัน

สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างทันถ่วงที แล้วนำผลมาพูดคุยในที่ประชุม
เพื่อให้อาจารย์ในหลักสูตรรับทราบ ปรับปรุง และหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดในปี
การศึกษาถัดไป

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 3.3
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 3 : นักศึกษา


ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
3.1 4.00 4.00 4.00
3.2 4.00 4.00 4.00
3.3 4.00 4.00 4.00
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 3 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 12 /3 = 4.00 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพ ดี

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 3
1. หลักสูตรมีแผนการรับนักศึกษาที่ชัดเจน
2. หลักสูตรมีกลุ่มเป้ าหมายของการรับนักศึกษาที่ชัดเจน
3. การคงอยู่ของนักศึกษามีจำนวนสูง

โอกาสในการพัฒนา
1. ปั จจุบันยังมีโรงเรียนต่างๆอีกมากที่ต้องการครูที่จบตรงวุฒิการศึกษา
ด้านการสอนภาษามลายู ทำให้หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของครูผู้สอนในโรงเรียน
ต่างๆ
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

(มคอ.7 หมวดที่ 2 อาจารย์)


ตัวบ่งชี ้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

การบริหารและ -ระบบการรับและแต่งตัง้ อาจารย์ประจำ


พัฒนาอาจารย์ หลักสูตร
TM4.1-1 ระบบ
หลักสูตรมีระบบและกลไกในระบบการ
และกลไกการรับ
รับอาจารย์และแต่งตัง้ อาจารย์ ที่ใช้ร่วม และแต่งตั้ง
อาจารย์ประจำ
กับมหาวิทยาลัย ในการกำหนดคุณวุฒิใน
หลักสูตร
การรับสมัครอาจารย์ และการแต่งตัง้
อาจารย์ประจำหลักสูตรให้เป็ นไปตาม TM4.1-2 คำสัง้
ระเบียบทางมหาวิทยาลัยกำหนด ดังนี ้ แต่งตัง้ อาจารย์
ประจำหลักสูตร
TM4.1-1
1. การรับอาจารย์
TM4.1-3
หลักสูตรใช้เกณฑ์การรับอาจารย์ตาม
รายงานการ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ตามพระ
ประชุมว่าด้วย
ราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.
คุณสมบัติอาจารย์
2546 เพื่อแต่งตัง้ บุคคลให้ปฏิบัติงานใน
ใหม่
ตำแหน่งอาจารย์ และได้กำหนดวุฒิการ
ศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานอาจารย์
1.1 หลักสูตรกำหนดคุณสมบัติทงั ้ ด้าน
คุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์ให้สอดคล้องกับความ
ต้องการหลักสูตร และนำเสนอคุณสมบัติ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ต่อมหาวิทยาลัยเพื่อดำเนินการประกาศ
รับสมัคร
1.2 หลักสูตรนำเสนอรายชื่อกรรมการคัด
เลือกซึ่งมาจากอาจารย์ประจำหลักสูตร
ต่อมหาวิทยาลัยเพื่อทำหน้าที่ออกข้อสอบ
และตรวจข้อสอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์
และสอบปฏิบัติการสอน
1.3 อาจารย์ประจำหลักสูตรเป็ น
กรรมการในการคัดเลือกอาจารย์ใหม่
1.4 อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับแต่ง
ตัง้ ออกข้อสอบข้อเขียน แล้วนำส่ง กอง
การเจ้าหน้าที่ เพื่อรวบรวมและจัดทำ
ข้อสอบคัดเลือก
1.5 อาจารย์ประจำหลักสูตรร่วมดำเนิน
การตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัคร และ
มหาวิทยาลัยประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิส์ อบ
ข้อเขียน
1.6 มหาวิทยาลัยดำเนินการสอบข้อเขียน
และประกาศรายชื่อผู้สอบผ่าน พร้อมทัง้
ประกาศวันสอบสัมภาษณ์และสอบปฏิบัติ
การสอน
1.7 คณะกรรมการสอบคัดเลือกดำเนิน
การสอบสัมภาษณ์ และสอบปฏิบัติการ
สอนโดยกรรมการแต่ละคนให้คะแนน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

และเลขานุการรวบรวมคะแนน สรุป
คะแนนที่ได้นำส่งมหาวิทยาลัย
1.8 มหาวิทยาลัยประกาศรายชื่อผู้ผ่าน
การคัดเลือกเป็ นอาจารย์ใหม่และแต่งตัง้
เป็ นบุคลากรมหาวิทยาลัย
1.9 อาจารย์ประจำหลักสูตร ประชุม
ทบทวนผลการดำเนินงานตามตาม
กระบวนการการรับและแต่งตัง้ อาจารย์
ประจำหลักสูตร
1.10 นำผลการทบทวนการดำเนินงานมา
พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการการรับ
และแต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. การแต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร
TM4.1-2
หลักสูตรมีหลักเกณฑ์ในการแต่งตัง้
อาจารย์ประจำหลักสูตรตามระเบียบที่
มหาวิทยาลัยกำหนด ซึ่งเป็ นไปตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ. 2548 และประกาศกระทรวง
ศึกษาธิการ เรื่องแนวทางการบริหาร
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา
พ.ศ. 2548 และให้เป็ นไปตามเกณฑ์การ
ประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักงาน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

คณะกรรมการอุดมศึกษา
1.1 อาจารย์ประจำหลักสูตรร่วมเป็ นคณะ
กรรมการเพื่อพิจารณาคุณสมบัติอาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรง
ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
1.2 หลักสูตรเสนอรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิด
ชอบหลักสูตรต่อคณะและคณะนำเสนอ
ต่อมหาวิทยาลัยเพื่อแต่งตัง้ ให้เป็ นอาจารย์
ประจำหลักสูตร
1.3 หลักสูตรตรวจสอบข้อมูลและเสนอ
ต่อมหาวิทยาลัย นำเสนอข้อมูลอาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัย
อนุมัติ (กรณีเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิด
ชอบหลักสูตรให้หลักสูตรจัดทำสมอ. 08
เสนอต่อมหาวิทยาลัย เพื่อให้สภาอนุมัติ)
1.4 มหาวิทยาลัยนำส่งรายชื่ออาจารย์
ประจำหลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบจาก
สภามหาวิทยาลัย เสนอต่อ สกอ. เพื่อรับ
ทราบ
1.5 อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร ประชุม
ทบทวนผลการดำเนินงานตามตาม
กระบวนการแต่งตัง้ อาจารย์ประจำ
หลักสูตร
1.6 นำผลการทบทวนการดำเนินงานมา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการแต่งตัง้
อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนิน
งาน/กระบวนการ (DO)
หลักสูตรได้ดำเนินการตามระบบและ
กลไก ดังกล่าว ผลปรากฏว่าในปี การ
ศึกษา 2561 หลักสูตรได้ดำเนินการ ดังนี ้
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีการบรรจุ
อาจารย์ประจำสาขาฯ 1 ท่าน คือ ดร.สุไร
ยา จะปะกียา เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2561
ในภาคการศึกษาที่ 1/2561 โดยได้
ดำเนินการตามขัน
้ ตอนดังนี ้ TM4.1-3
-สาขาวิชาได้ประชุมกำหนดคุณสมบัติ
อาจารย์ใหม่ โดยต้องมีวุฒิการศึกษาระดับ
ปริญญาโท หรือปริญญาเอกด้าน
ภาษาศาสตร์มลายู หรือ การสอนภาษา
มลายู
-สาขาวิชาได้เสนอมติคุณสมบัติอาจารย์
ใหม่เข้าพิจารณาในการประชุมคณะ
กรรมการบริหารคณะ โดยมีมติที่ประชุม
ให้รับอาจารย์ใหม่โดยใช้วิธีการสรรหา
-คณะได้เสนอมติการรับอาจารย์ใหม่เข้าที่
ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

-คณะมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา
เพื่อแต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร โดย
คณะกรรมการได้พิจารณาคุณสมบัติ พบ
ว่า ดร.สุไรยา จะปะกียา มีคุณสมบัติถูก
ต้อง หลังจากนัน
้ ได้ดำเนินการสอบ
สัมภาษณ์ และสอบสอน
-คณะได้ส่งผลการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ส่ง
ไปยังกองการเจ้าหน้าที่เพื่อทำการบรรจุ
แต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร
-ระบบการบริหารอาจารย์
หลักสูตรมีระบบและกลไกในระบบการ
บริหารอาจารย์ ดังนี ้
1.หลักสูตรกำหนดบทบาทหน้าที่และ TM4.1-4 ระบบ
ความรับผิดชอบของอาจารย์ประจำ และกลไกการ
บริหารอาจารย์
หลักสูตรและอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบ และระบบการส่ง
หลักสูตร TM4.1-4 เสิรมและพัฒนา
อาจารย์
อาจารย์ประจำหลักสูตร หมายถึง
อาจารย์ประจำที่มีวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับ TM4.1-5
สาขาวิชาของหลักสูตรที่เปิ ดสอน มีหน้าที่ รายงานการ
ประชุมว่าด้วย
สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว เรื่องการมอบ
อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง หมายภาระงาน
แก่อาจารย์ประจำ
อาจารย์ประจำหลักสูตร ที่มีภาระหน้าที่ หลักสูตร
ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการ
เรียนการสอน ตัง้ แต่การวางแผน การ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล
และการพัฒนาหลักสูตร
2. หลักสูตรประชุมวางแผนอัตรากำลัง
อาจารย์ประจำหลักสูตรต่อนักศึกษา
3. หลักสูตรพิจารณาสัดส่วนจำนวน
นักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจำ
(30:1) หากสัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็ม
เวลาต่ออาจารย์ประจำไม่เหมาะสม
หลักสูตรต้องรีบดำเนินการขออัตรากำลัง
เพิ่มต่อไป
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุม
ทบทวนผลการดำเนินงานตามตาม
กระบวนการการบริหารอาจารย์
5. นำผลการทบทวนการดำเนินงานมา
พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการการ
บริหารอาจารย์

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนิน
งาน/กระบวนการ (DO)
หลักสูตรได้ดำเนินการตามระบบและ
กลไก ดังกล่าว ผลปรากฏว่าในปี การ
ศึกษา 2561 หลักสูตรได้ดำเนินการ ดังนี ้
1. หลักสูตรการสอนภาษามลายูมีอาจารย์
ประจำหลักสูตรครบทัง้ ทัง้ 5 คน โดย
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

แต่ละคนนัน
้ มีการกำหนดบทบาทหน้าที่
และภาระงานสอนตามความเชี่ยวชาญ
ของแต่ละคนดังนี ้
อ.แอสซูมานี มีหน้าที่เป็ นประธาน
มาโซ หลักสูตร กำกับดูแล
บริหารหลักสูตรให้
เป็ นไปตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษาแห่งชาติ
และรับภาระงานสอน
รายวิชาด้าน
ภาษาศาสตร์ ทักษะ
ยาวี และด้านหลักสูตร
และการสอนภาษา
มลายู
ผศ.ดร.เภาซัน รับผิดชอบด้านบริหาร
เจะแว วิชาการ และมีภาระ
งานสอนรายวิชาด้าน
ภาษาศาสตร์
วรรณกรรมมลายู และ
ด้านหลักสูตรและการ
สอนภาษามลายู
อ.นูรณี บูเกะ รับผิดชอบด้านบริการ
มาตี วิชาการ และมีภาระ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

งานสอนด้านหลัก
ภาษามลายูและ
รายวิชาด้านการ
พัฒนาทักษะภาษา
มลายู
อ.อมมุลอม รับผิดชอบด้านการ
มะห์ โตะหลง พัฒนานักศึกษา
ควบคุมดูแลกิจกรรม
พัฒนานักศึกษาให้เป็ น
ไปตามแผนที่กำหนด
ไว้ และมีภาระงาน
สอนรายวิชาด้าน
ภาษาศาสตร์
อ.ยะหะยา รับผิดชอบด้านการ
นิแว พัฒนานักศึกษา การ
พัฒนาทักษะความ
เป็ นครูแก่นักศึกษา
และมีความรับผิดชอบ
รายวิชาแกนคณะและ
รายวิชาการศึกษา

2. หลักสูตรประชุมทบทวนอัตรากำลัง
อาจารย์ประจำหลักสูตรต่อนักศึกษา ผล
ปรากฏว่า ปี การศึกษา 2561 หลักสูตรมี
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

นักศึกษาเต็มเวลา จำนวน 61 คน คิดเป็ น


สัดส่วนร้อยละต่ออาจารย์ : นักศึกษา คิด
เป็ น 1: 12 ซึ่งอยู่ในอัตราส่วนที่
ต่ำ แต่เมื่อวิเคราะห์ถึงแนวโน้มในอนาคต
ทางสาขาวิชาจะมีนักศึกษาที่เพิ่มขึน
้ และ
ต้องการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านภาษา
มลายูเพื่อต้องการพัฒนามาตรฐานผลการ
เรียนรู้ภาษามลายู ทางสาขาการสอน
ภาษามลายูได้บรรจุอาจารย์ 1 คน คือ
ดร.สุไรยา จะปะกียา ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ
ด้านภาษาศาสตร์มลายู
3. และในปี การศึกษา 2561 พบว่า
อาจารย์ประจำหลักสูตรมีจำนวน 5 คน
อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร มีจำนวน
ครบ 3 คน ตามที่เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับปริญญาตรีที่กำหนด ไม่มี
อาจารย์ท่านใดลาออก

มีการประเมินผลกระบวนการ(CHECK)
อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร ประชุม
ทบทวนผลการดำเนินงานจากแบบ
ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำ
หลักสูตรต่อการบริหารจัดการหลักสูตร
และข้อเสนอแนะจากที่ประชุมอาจารย์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ประจำหลักสูตร พบว่า อาจารย์มีความ


พึงพอใจต่อการบริหารจัดการหลักสูตร ใน
ระดับ มาก คิดเป็ นคะแนนเฉลีย
่ 4.30

มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจาก
ผลการประเมิน (ACTION)
หลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุง
กระบวนการการบริหารอาจารย์ โดย มี
การวิเคราะห์ภาระงานอาจารย์ในสาขา
วิชาในการดูแลนักศึกษายังอยู่ในระดับ
ปานกลาง เนื่องจากจำนวนนักศึกษามี
จำนวนน้อย จึงมีการส่งเสริมให้อาจารย์
เน้นการพัฒนาด้านวิชาการเพื่อให้มีผล
งานอย่างต่อเนื่อง

-ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
หลักสูตรมีระบบและกลไกระบบการส่ง TM4.1-4 ระบบ
เสริมและพัฒนาอาจารย์ ดังนี ้ TM4.1-4 และกลไกการส่ง
เสริมและพัฒนา
1.หลักสูตรมีการจัดทำวางแผนพัฒนา อาจารย์
ตนเอง การทำผลงานทางวิชาการ การเข้า
TM4.1-5 หลัก
รับการอบรม สัมมนาต่างๆ
ฐานการเข้าร่วม
2.หลักสูตรมีการประชุมวางแผนการส่ง การพัฒนาของ
เสริมและพัฒนาอาจารย์ อาจารย์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

3.คณะและมหาวิทยาลัยจัดสรรทุนและงบ TM4.1-6 การ


ประมาณการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ประเมินความพึง
พอใจของอาจารย์
4.อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการจัดหา ประจำหลักสูตรที่
การอบรม สัมมนา ที่เกี่ยวข้อง หรือจัดทำ มีต่อการบริหาร
จัดการหลักสูตร
ผลงานทางวิชาการ และดำเนินการขอทุน การส่งเสริมและ
หรือขออนุญาตไปพัฒนาตนเอง การพัฒนา
อาจารย์
5.อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรดำเนินการรายงาน
ผลการพัฒนาตนเองต่อคณะและ
มหาวิทยาลัย
6.อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร ประชุม
ทบทวนผลการดำเนินงานตามตาม
กระบวนการการส่งเสริมและพัฒนา
อาจารย์
7. นำผลการทบทวนการดำเนินงานมา
พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการส่งเสริม
และพัฒนาอาจารย์

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนิน
งาน/กระบวนการ (DO)
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูได้มีการส่ง
เสริมตามระบบและกลไกที่วางไว้ โดย
สาขาวิชาได้มีการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์
ดังนี ้ TM4.1-5
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

 โครงการพัฒนาอาจารย์สาขาการ
สอนภาษามลายู (จัดโดยสาขา
วิชาการสอนภาษามลายูตามแผน
ปฏิบัติการประจำปี
 โครงการพัฒนาอาจารย์คณะศึกษา
ศาสตร์ (รับผิดชอบโดยฝ่ ายวิชาการ
วิจัย และประกันคุณภาพการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์)
 โครงการพัฒนาอาจารย์มหาวิทยา
ลัยฟาฏอนี (รับผิดชอบโดยศูนย์
พัฒนาอาจารย์สู่ความเป็ นเลิศ มูอัล
ลิมร็อบบานีย์
จากการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ดัง
กล่าวข้างต้น ทำให้อาจารย์สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูมีผลงานเป็ นที่ประจักษ์
ตลอด 3 ปี ที่หลักสูตรได้ดำเนินการมา
อาจารย์ประจำหลักสูตรสามารถปฏิบัติ
หน้าที่ตามกรอบภาระงานได้ครบทุกด้าน
ในปี การศึกษา 2561 สรุปผลงานได้ดังนี ้
ตารางสรุปผลงานวิชาการ
ชื่อ-สกุล ผลงานทางวิชาการ
อาจารย์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ผศ.ดร. เภา วิจัย


ซัน เจ๊ะแว บทความวิชาการ
-Analisis Kesalahan
Bahasa Melayu
dalam Kalangan
Pelajar Sekolah
Pondok, Daerah
Yarang Wilayah
Pattani (โปรซีดดิงการ
ประชุมวิชาการระดับ
ชาติครัง้ ที่4 ประจำ
ปี 2561 มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี)
-History of Malay
Language Education
In Patani South Thai
(Proceeding The First
International
Seminar on History
Education Universitas
Pendidikan
Indonesia, November
2,2017)
-Sejarah Pendidikan
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

Bahasa Melayu di
Patani Thailand
(Seminar
Anatarabangsa
Memartabatkan
Bahasa Melayu/
Indonesia ASEAN Kali
ke-4 24-25
Novemver 2018
Universiti Fatoni)
-The Role of Malay
Language and
Literatur as a Media
for Peace in Patani
Thailand and the
Archipelago (Journal
of Malay Islamic
Studies Published
Nov 20, 2018)
ตำรา
-Tatabahasa Bahasa
Melayu หลักภาษา
มลายู (2018)
อ.แอสซู บทความ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

มานี มาโซ -Kesepaduan


Pendidikan Bahasa
Melayu dalam
Mewujudkan Sahsiah
dan Kepimpinan
Islam dalam
Kalangan Pelajar
(Seminar
Anatarabangsa
Memartabatkan
Bahasa Melayu/
Indonesia ASEAN Kali
ke-4 24-25
Novemver 2018
Universiti Fatoni)
เอกสารประกอบการ
สอน
-เอกสารประกอบการ
สอนรายวิชา …. สร
ศาสตร์ภาษามลายู
-เอกสารประกอบการ
สอนรายวิชา.... การ
จัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู1
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

อ.นูรณี บู บทความ
เกะมาตี Meningkatkan
Kemahiran
Penggunaan Ejaan
dan Tanda Baca
Dalam Penulisan Bagi
Pelajar Jurusan
Pendidikan Bahasa
Melayu dengan
Menggunakan Set
Latihan Praktis (การ
ประชุมวิชาการระดับ
ชาติและนานาชาติ
ปี 2561 เมื่อ 10 พ.ค.
2561 มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา
อ.อมมุลอม บทความ
ะห์ โตะหลง -Motivasi Pelajar
Sekolah Pondok di
Selatan Thai
Terhadap
Pembelajaran
Tulisan Jawi (การ
ประชุมวิชาการระดับ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ชาติและนานาชาติ
ปี 2561 เมื่อ 10 พ.ค.
2561 มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา
อ.ยะหะยา -
นิแว
ตารางแสดงการนำไปใช้
ประโยชน์(บริการวิชาการแก่สังคม/
ชุมชน)
อาจารย์
ประจำ
หลักสูตร
ว/ด/ป
/ ชื่อเรื่อง
/สถานที่
อ.ผู้รับ
ผิดชอบ
หลักสูตร
1. -กรรมการใน 10 พ.ศ.61
ผศ.ดร. การแข่งขันอ่าน
เภาซัน บทกวีภาษา
เจ๊ะแว มลายู มหกรรม 7-8 Dis.
หนังสือภาคใต้ 2018
ครัง้ ที่5
-แสดงบทกวีใน
งาน Festival
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

Muzium Novembe
Nelayan Puisi r 13, 2018
Dunia
Numera 05
-Keynote Novembe
Speaker “The r 2018
Secound
ICHE History
And
Humanity”
- Keynote
Speaker
International
Seminar
Universitas
Muslim
Nusantara
2.อาจาร -อบรมครูภาษา 5 กันยายน
ย์แอสซู มลายูหัวข้อ 2561
มานี “Kursus Puisi
มาโซ Drama untuk
Guru Bahasa
Melayu”
-ผู้ประเมิน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

วิทยานิพนธ์
มหาบัณฑิต นส.
เซาอิน ดอเลาะ
มหาวทาลัย
ราชภัฏยะลา

3.อาจาร อบรมครูภาษา 5 กันยายน


ย์นูรณี บู มลายูหัวข้อ 2561
เกะมาตี “Kursus Puisi
Drama untuk
Guru Bahasa
Melayu”
4. อบรมครูภาษา 5 กันยายน
อาจารย์ มลายูหัวข้อ 2561
อมมุลอม “Kursus Puisi
มะห์ โตะ Drama untuk
หลง Guru Bahasa
Melayu”
5. อบรมครูภาษา 5 กันยายน
อาจารย์ มลายูหัวข้อ 2561 ก
ยะหะยา “Kursus Puisi
นิแว Drama untuk
Guru Bahasa
Melayu”
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ประเมินผลการดำเนินงาน
ทางหลักสูตรมีการประเมินความพึง
พอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีต่อ
การบริหารจัดการหลักสูตร การส่งเสริม
และการพัฒนาอาจารย์ พบว่า อาจารย์มี
ความพึงพอใจในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก
ที่สุด คิดเป็ น 4.56 สูงกว่าเมื่อเทียบกับปี
ที่ผ่านมาดังตาราง TM4.1-6
รายการ ความพึงพอใจต่อการ
ประเมิน บริหารหลักสูตร
ปี ปี ปี
2559 2560 2561
ผลการ
ประเมิน
ความพึง
4.56
พอใจของ 4.50 4.41
มาก
อาจารย์ต่อ มาก มาก
ที่สุด
การบริหาร
จัดการ
หลักสูตร
ในที่ประชุมได้ข้อเสนอแนะ เพื่อการ
พัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการ
หลักสูตรในปี การศึกษาหน้า โดยเสนอ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

แนะให้ทางหลักสูตรจัดสรรงบประมาณใน
การพัฒนาอาจารย์และในการไปนำเสนอ
ผลงานทางวิชาการให้มากกว่าเดิม

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 4.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป

ตัวบ่งชี ้ 4.2 คุณภาพอาจารย์


1. ร้อยละอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก
จำนวนอาจารย์ คุณวุฒิของอาจารย์ประจำ ร้อยละ
ประจำหลักสูตร หลักสูตร อาจารย์
ทัง้ หมด ตรี โท เอก ประจำ
หลักสูตรที่มี
วุฒิปริญญา
เอก
5 0 4 1 ร้อยละ 20
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TM4.2-1 ปริญาบัตร ป. เอก ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : ร้อยละ 20 / 5.00 คะแนน เป้ าหมายปี
ต่อไป : ร้อยละ 40

2. ร้อยละอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ
จำนวนอาจารย์ อาจาร ตำแหน่งทางวิชาการของ ร้อยละอาจารย์
ประจำ ย์ อาจารย์ประจำหลักสูตร ประจำ
หลักสูตร ผศ. รศ. ศ. หลักสูตรที่มี
ทัง้ หมด ตำแหน่งทาง
วิชาการ
5 4 1 0 0 ร้อยละ 40
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TM4.2-2 หนังสือแต่งตัง้ การดำรงตำแหน่งทาง
วิชาการ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : ร้อยละ 20/ 1.67 คะแนน เป้ าหมายปี
ต่อไป : ร้อยละ 40

3. ผลงานวิชาการของอาจารย์
ตารางที่ 3.1 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับการตี
พิมพ์หรือเผยแพร่
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่/ปี ที่ตี
หลักสูตร พิมพ์เผยแพร่

บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
(ค่าน้ำหนัก 0.20)
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่/ปี ที่ตี
หลักสูตร พิมพ์เผยแพร่

Phaosan Jehwae History of Malay Language


Education in Pattani South
Thai
Phaosan Jehwae ANALISIS KESALAHAN BAHASA
MELAYU DALAM KALANGAN
PELAJAR SEKOLAH PONDOK
DAERAH YARANG, WILAYAH
PATANI
บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานา
ชาติฯ (ค่าน้ำหนัก 0.40)
ผศ.ดร. เภาซัน เจ๊ -Sejarah Pendidikan Seminar Antarabangsa

ะแว Bahasa Melayu di Patani lali ke-4

Phaosan Jehwae Memartabatkan Bahasa


Thailand
Melayu /Indonesia
ASEAN Kali ke-4 24-
25 Novemver 2018
Universiti Fatoni
อาจารย์ แอสซู Kesepaduan Pendidikan Seminar Antarabangsa

มานี มาโซ Bahasa Melayu dalam lali ke-4

Assumani Maso Memartabatkan Bahasa


Mewujudkan Sahsiah dan
Melayu /Indonesia
Kepimpinan Islam dalam
ASEAN Kali ke-4 24-
Kalangan Pelajar
25 Novemver 2018
Universiti Fatoni
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่/ปี ที่ตี
หลักสูตร พิมพ์เผยแพร่

อาจารย์อมมุลอม -Masalah Pembelajaran Seminar Antarabangsa

มะห์ โตะหลง Jawi dalam Kalangan lali ke-4


Memartabatkan Bahasa
Pelajar Sekolah Pondok di
Melayu /Indonesia
Selatan Thai
ASEAN Kali ke-4 24-
25 Novemver 2018
Universiti Fatoni
อาจารย์นูรณี บู -Menguasai Kemahiran Seminar Antarabangsa

เกะมาตี Mendengar dengan lali ke-4


Memartabatkan Bahasa
Berkesan dalam
Melayu /Indonesia
Pembelajaran Bahasa
ASEAN Kali ke-4 24-
25 Novemver 2018
Universiti Fatoni
อาจารย์นูรณี บู - Meningkatkan Kemahiran -การประชุมวิชาการ
เกะมาตี Penggunaan Ejaan dan ระดับชาติและนานาชาติ
Tanda Baca Dalam ปี 2561 เมื่อ 10 พ.ค.
Penulisan Bagi Pelajar 2561 มหาวิทยาลัย
Jurusan Pendidikan Bahasa ราชภัฏยะลา
Melayu dengan
Menggunakan Set Latihan
Praktis
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่/ปี ที่ตี
หลักสูตร พิมพ์เผยแพร่

อาจารย์อมมุลอม -Motivasi Pelajar Sekolah -การประชุมวิชาการ


มะห์ โตะหลง Pondok di Selatan Thai ระดับชาติและนานาชาติ
Terhadap Pembelajaran ปี 2561 เมื่อ 10 พ.ค.
Tulisan Jawi 2561 มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับ
นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ.ฯ (ค่าน้ำหนัก 1.00)
ผศ.ดร. เภาซัน เจ๊ The Role of Malay Journal of Malay
ะแว Language and Literatur as Islamic Studies
a Media for Peace in Published Nov 20,
Patani Thailand and the 2018
Archipelago
ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร(ค่าน้ำหนัก 1.00)

ตารางที่ 3.2 ผลงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับการตี


พิมพ์หรือเผยแพร่
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพม
ิ พ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผย
หลักสูตร แพร่/ปี ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่
งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
online (ค่าน้ำหนัก 0.20)
ผลลัพธ์การดำเนินงาน
ผลรวมถ่วงน้ำหนัก จำนวนอาจารย์ ร้อยละผลรวมถ่วงน้ำ
ผลงานวิชาการของ ประจำหลักสูตร หนักต่อจำนวน
อาจารย์ประจำ ทัง้ หมด อาจารย์ประจำ
หลักสูตร หลักสูตร
3.0 5 ร้อยละ 60
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TM4.2-3 สรุปผลงานอาจารย์ประจำหลักสูตร
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : ร้อยละ 60 / 5.00 คะแนน เป้ าหมายปี
ต่อไป : ร้อยละ 60
จำนวน
ผลการดำเนินงาน ตัว คะแนน
จำนวน อาจารย์ ร้อยละ
บ่งชี ้ 4.2 ประเมิน
ประจำ
5 5.00
4.2.1 อาจารย์ปริญญา 1 คน ร้อยละ 20
เอก
5 1.67
4.2.2 อาจารย์ที่มี 1 คน ร้อยละ 20
ตำแหน่ง
5 5.00
4.2.3 ผลงานที่นำเสนอ 9 ชิน
้ งาน ร้อยละ 60
3.89
รวมค่าเฉลี่ยตัวบ่งชี ้ 4.2

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 4.2
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 3.89 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์
1. อัตราการคงอยู่ของอาจารย์
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู มี
อาจารย์ประจำหลักสูตรจำนวน 5 ท่าน ซึ่งจำนวนอาจารย์มีความเพียงพอ
ต่อสัดส่วนจำนวนนักศึกษาที่ใช้สำหรับการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนการสอนตามมาตรฐานหลักสูตร รวมทัง้ มีการจัดทำแบบสำรวจแนว
โน้มอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ประจำหลักสูตรตัง้ แต่ปีการศึกษา 2559-
2561 อัตราการคงอยู่ ร้อยละ 100 ดังนี ้
มคอ 2 ปั จจุบัน หมายเหตุ

1.อาจารย์แอสซูมานี มาโซ 1.อาจารย์แอสซูมานี มาโซ อัตราการคงอยู่ของ


2.ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว 2.ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว อาจารย์ประจำ
3.อาจารย์นูรณีย์ บูเก๊ะ 3.อาจารย์นูรณีย์ บูเก๊ะ หลักสูตร ร้อยละ
100
มาตี มาตี
4.อาจารย์อับดุลราห์มัน 4.อาจารย์อมมุลอุมมะห์
โตะหลง โตะหลง
5. อาจารย์ยะหะยา นิแว 5. อาจารย์ยะหะยา นิแว

2. ความพึงพอใจของอาจารย์
ร้อยละความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการบริหารและ
พัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร (ในตัวบ่งชี ้ 4.1) มีค่าเท่ากับ 4.56 ระดับ
มากที่สุด รายละเอียดดังตาราง
ลำ ประเด็นการประเมิน ค่าเฉลี่ยระดับ ระดับ
ดับ ความพึงพอใจ ความพึง
(คะแนนเต็ม พอใจ
5.00)
1 ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.65 มากที่สุด
2 ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 4.30 มาก
3 ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัด 4.69 มากที่สุด
ประเมินผล
4 ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.38 มาก
ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.56 มากที่สุด
*หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TM4.3-1 รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ
ของอาจารย์

ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์(ย้อนหลัง
3 ปี )
ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์
ต่อการบริหารจัดการหลักสูตร การสอนภาษามลายู
ปี การศึกษา 2559 ปี การศึกษา 2560 ปี การศึกษา 2561
4.50 4.41 4.56
ข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการ
หลักสูตร
จากข้อเสนอแนะในการประเมินปี 2560 การประเมินความพึงพอใจ
ของอาจารย์ต่อการบริหารหลักยังไม่ครอบคลุม ฉะนัน
้ ในปี การศึกษา 2561
จึงมีการเพิ่มประเด็นด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล
และประเด็นด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ นอกจากนีย
้ ังมีข้อเสนอแนะจาก
อาจารย์ ให้มีการเพิ่มสื่อการสอนภาษามลายูให้มากขึน
้ ในประเด็นนีท
้ าง
สาขาได้มีการซื้อหนังสือด้วยงบประมาณสาขา และได้รับบริจาคหนังสือ
จำนวนหนึ่งจากนักกวีจากประเทศอินโดนีเซียและสิงคโปร์ขณะมาทำ
กิจกรรมร่วมกันกับสาขาการสอนภาษามลายู

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 4.3
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุเป้ า
หมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 4 : อาจารย์


ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
4.1 4.00 4.00 4.00
4.2 4.00 3.89
ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
4.2(1
20 ร้อยละ 0 5.00
)
4.2(2
40 ร้อยละ 20 1.67
)
4.2(3
20 ร้อยละ 20 5.00
)
4.3 4.00 4.00 4.00
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 3 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 11.89 /3 = 3.96 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพ ดี
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
(มคอ.7 หมวดที่ 4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพ
การสอนในหลักสูตร)

ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตร
สรุปผลรายวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิ ดสอนในภาค/ปี การศึกษา (นำมาจาก
มคอ 5 ของแต่ละวิชา)
ภาคการศึกษาที่1/2561
ภาค จำนวน
/ ร้อยละการกระจายของเกรด
นักศึกษา
รหัส ชื่อ ปี
ลง
วิชา การ Audi สอบ
ศึกษ A B+ B C+ C D+ D F I P S U W ทะเบี
t ผ่าน
า ยน
GE2100- 1/25 5 2 4 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
101 อัลกุ 61

รอานเพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 1
GE2400- 1/25 3 2 6 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
202 ทักษะ 61

การเรียน
และการ
ศึกษา
ค้นคว้า
GE2200- 1/25 1 5 0 3 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 12 12
402 ภาษา 61
ไทยในชีวิต
ประจำวัน
GE2100- 1/25 3 1 8 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
201 61
อิสลาม
และวิถีการ
ดำเนินชีวิต
GE2100- 1/25 1 6 4 3 3 0 0 1 0 0 0 0 0 0 18 17
103 อัลกุ 61
รอานเพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 3
GE2300- 1/25 3 6 1 3 2 3 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
303 61
อิสลามกับ
วิทยาศาสต
ร์
GE2100- 1/25 6 5 2 3 2 3 3 0 0 0 0 0 0 0 24 24
105 อัลกุ 61
รอานเพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 5
GE2100- 1/25 0 6 1 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
205 สันติ 61
9
ศึกษา
ED 346- 1/25 0 1 4 5 2 2 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
001 หลัก 61
ศรัทธาพื้น
ฐาน
สำหรับครู
ED 347- 1/25 0 2 6 2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
101 ความ 61
เป็ นครู
ED 347- 1/25 1 3 4 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
103 ภาษา 61
0
และ
วัฒนธรรม
สำหรับครู
ED 347- 1/25 9 8 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
104 61
จิตวิทยา
สำหรับครู
ED 347- 1/25 1 2 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 18 17
111 61
5
คุณธรรม
จริยธรรม
และจรรยา
บรรณครู
ED 347- 1/25 2 1 7 5 5 8 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
106 การ 61
จัดการ
เรียนรู้และ
การจัดชัน

เรียน
ED 347- 1/25 0 6 1 1 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
109 การ 61
0 0
วัดและ
ประเมินผล
การเรียนรู้

ภาคการศึกษาที่2/2561
ภาค จำนวน
/ ร้อยละการกระจายของเกรด
นักศึกษา
รหัส ชื่อ ปี
ลง
วิชา การ Audi สอบ
ศึกษ A B+ B C+ C D+ D F I P S U W ทะเบี
t ผ่าน
า ยน
GE2100- 2/25 6 3 1 1 1 1 2 0 0 0 0 0 0 0 15 15
102 อัลกุ 61
รอานเพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 2
GE2100- 2/25 0 0 1 4 8 0 0 0 2 0 0 0 0 0 15 13
204 นักคิด 61
มุสลิม และ
กลุ่มฟื้ นฟู
อิสลาม
GE2200- 2/25 4 4 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 11 11
403 ภาษา 61
ไทยเพื่อ
การสื่อสาร
GE2100- 2/25 8 4 2 3 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 18 17
104 อัลกุ 61
รอานเพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 4
GE2100- 2/25 1 3 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 18 17
203 การ 61
3
สื่อสารและ
การเผยแผ่
ในอิสลาม
GE2100- 2/25 2 3 2 1 8 5 0 3 4 0 0 0 0 0 28 21
106 อัลกุ 61
รอานเพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 6
ED347- 2/25 2 1 8 1 0 0 0 0 7 0 0 0 0 0 28 28
107 การ 61
0
วิจัยเพื่อ
การ
พัฒนาการ
เรียนรู้
ED347- 2/25 3 1 2 2 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 18 17
105 61
0
หลักสูตร
และการ
พัฒนา
หลักสูตร
ED347- 2/25 1 2 2 4 5 2 1 1 0 0 0 0 0 0 18 17
108 61
นวัตกรรม
และ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ทางการ
ศึกษา
ED347- 2/25 0 6 1 1 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
109 การ 61
0 0
วัดและ
ประเมินผล
การเรียนรู้
ED346- 2/25 5 7 2 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
002 ศาสน 61
บัญญัติพ้น

ฐาน
สำหรับครู
ED346- 2/25 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
003 61
5
จริยธรรม
และภาวะ
ผู้นำใน
อิสลาม
ED347- 2/25 3 6 5 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
102 61
ปรัชญา
การศึกษา

สรุปผลรายวิชาเฉพาะที่เปิ ดสอนในภาค/ปี การศึกษา (นำมาจาก มคอ 5


ของแต่ละวิชา)
ภาคการศึกษาที่1/2561
ภาค จำนวน
/ ร้อยละการกระจายของเกรด
นักศึกษา
รหัส ชื่อ ปี
ลง
วิชา การ Audi สอบ
ศึกษ A B+ B C+ C D+ D F I P S U W ทะเบี
t ผ่าน
า ยน
ML2205- 1/25 3 3 6 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
111 หลัก 61
ภาษา
มลายู 1
ML2205- 1/25 9 0 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
121 สนทน 61
าภาษา
มลายู
ML2205- 1/25 6 5 4 1 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
001 ภาษา 61
ศาสตร์
ทั่วไป
ML2205- 1/25 5 6 1 3 2 0 1 0 0 0 0 0 0 0 18 18
071 ทักษะ 61
ยาวี 1
ML2205- 1/25 8 5 1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
151 การ 61
0
แปล 1
ML2205- 1/25 1 6 5 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
103 อรรถ 61
4
ศาสตร์
ภาษา
มลายู
ML2205- 1/25 1 8 7 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
168 61
0
วรรณกรร
มมลายูร่วม
สมัย

ภาคการศึกษาที่2/2561
ภาค จำนวน
/ ร้อยละการกระจายของเกรด
นักศึกษา
รหัส ชื่อ ปี
ลง
วิชา การ Audi สอบ
ศึกษ A B+ B C+ C D+ D F I P S U W ทะเบี
t ผ่าน
า ยน
ML2205- 2/25 4 2 6 3 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 17 17
112 หลัก 61
ภาษา
มลายู 2
ML2205- 2/25 6 2 4 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
122 การ 61
ฟั งจับใจ
ความ
ML2205- 2/25 5 6 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
114 คำยืม 61
ภาษาต่าง
ประเทศใน
ภาษา
มลายู
ML2205- 2/25 7 5 2 2 0 0 0 0 2 0 0 0 0 0 18 16
141 การ 61
เขียนภาษา
มลายู
ML2205- 2/25 6 4 1 0 0 0 0 1 6 0 0 0 0 0 18 11
102 สร 61
ศาสตร์
ภาษา
มลายู
ML2205- 2/25 4 6 3 4 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 18 17
164 61
วรรณกรร
มมลายู
ML2205- 2/25 2 8 1 3 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
113 หลัก 61
2
ภาษา
มลายู 3
ML2205- 2/25 9 1 7 0 0 0 0 0 2 0 0 0 0 0 28 26
131 การ 61
0
อ่านภาษา
มลายู
ML2205- 2/25 1 8 5 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
142 61
3
ปริเฉท
ภาษา
มลายู
TM2406- 2/25 5 6 1 0 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
731 การ 61
5
เขียนเชิง
สร้างสรรค์
ภาษา
มลายู
TM2406- 2/25 5 1 8 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
703 61
4
วาทศิลป์
ภาษา
มลายูเพื่อ
การสอน
TM2406- 2/25 5 7 9 6 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 28 27
705 การ 61
จัดการ
เรียนรู้
ภาษา
มลายู 1
ตัวบ่งชี ้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
คุณภาพหลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผล
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
1.การ 1.1.การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาใน TM5.1-01
ออกแบบ หลักสูตร TM5.1-01 มคอ.2
หลักสูตรและ ระบบและกลไก
สาระรายวิชา 1. หลักสูตรการสอนภามลายู เป็ นหลักสูตรที่ TM5.1-02 คำ
ในหลักสูตร พัฒนามาจาก หลักสูตรภาษามลายู คณะศิลปะ สั่งแต่งตัง้ คณะ
ศาสตร์ที่ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ กรรมการ
ทางด้านภาษามลายู บัณฑิตที่จบมาส่วนใหญ่มี บริหารพัฒนา
อาชีพเป็ นครูภาษามลายู แต่เนื่องจากบัณฑิต หลักสูตร
เหล่านีไ้ ม่ได้จบด้านศึกษาศาสตร์ ทำให้ต้อง
ศึกษาต่อเพื่อให้ได้ใบประกอบวิชาชีพครู ซึ่ง
ถือว่ายุ่งยากและเสียเวลา ดังนัน
้ ทางผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยเล็งเห็นว่าควรมีการเปิ ดหลักสูตรให้
กับผู้ที่ต้องการเป็ นครูภาษามลายู ได้ศึกษาใน
หลักสูตรศึกษาศาสตร์ 5 ปี
2. มหาวิทยาลัยแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ร่าง/ออกแบบและพัฒนาหลักสูตร TM5.1-02
และคณะกรรมการคณะร่วมกับสาขาวิชาการ
สอนภาษามลายู จึงได้ดำเนินการออกแบบและ
พัฒนาเอกสารหลักสูตร มคอ. 2 ตามกลไกดัง
กล่าวโดยกำหนดบริบทของหลักสูตรที่สะท้อน
อัตลักษณ์บัณฑิตกำหนดคุณสมบัติบัณฑิตอันพึง
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
ประสงค์ออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาให้
สอดคล้องกับสมรรถนะที่ต้องการและกฎหมายที่
เกีย
่ วข้อง โดยมุ่งผลิตบัณฑิตวิชาชีพครูที่มีความรู้
และทักษะในการใช้ภาษามลายู และมีการ
จัดการเรียนรู้ภาษามลายูอย่างมีประสิทธิภาพ มี
การบูรณาการอิสลามในหลักสูตร เพื่อผลิต
บัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติตน
เหมาะสมกับความเป็ นครูตามจรรยาบรรณ
วิชาชีพ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บริบททางการศึกษา วิทยาการร่วมสมัยและ
ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1.เชิญผู้วิพากษ์มาวิพากษ์หลักสูตรฯ
2.ส่งหลักสูตรให้สภาวิชาการเพื่อตรวจ
สอบ
3.คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
พิจารณาและอนุมัติหลักสูตร
4.ส่งหลักสูตรเพื่อให้คณะกรรมการคุรุสภา
รับรองหลักสูตร
5.ส่งให้ สกอ.รับทราบหลักสูตรและ
ประกาศใช้
การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน
หลักสูตร
หลักสูตรการสอนภามลายูได้ดำเนินการ
ตามหลักคิด Prof.Dr.AwangSariyan (2004)ที่
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
ได้เสนอปรัชญาการสอนภาษาดังนี ้
1) Pendidikan bahasa sebagai
upaya mengembangkan potensi
berbahasa yang dikurniakan Tuhan.
(2) Pendidikan bahasa sebagai
upaya meneliti sistem alam
ciptaanTuhan.
(3) Pendidikan bahasa sebagai satu
cabang pendidikan umum, iaitu sebagai
subjek atau sebagai saranan
pemerolehan ilmu lain.
(4) Pendidikan bahasa sebagai
wahana pewarisan nilai-nilai kehidupan
bermasyarakat.
ซึ่งมีความหมายดังนี ้
1).การสอนภาษาเป็ นการพัฒนาศักยภาพ
ทางภาษาที่ได้รับการประทานจากพระเจ้า
2). การสอนภาษาเป็ นความสามารถใน
การศึกษาวิจัยสิ่งที่พระเจ้าสร้าง
3). การสอนภาษาเป็ นศาสตร์แขนงหนึ่งใน
ศาสตร์ทงั ้ หลาย คือเป็ นสาระวิชาที่เป็ นสื่อกลาง
ในการเรียนรู้ศาสตร์อ่ น
ื ๆ
4).การสอนภาษาเป็ นสื่อกลางในการ
สืบทอดค่านิยมทางสังคม
จากปรัชญาดังกล่าว หลักสูตรการสอน
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
ภาษามลายูเป็ นหลักสูตรที่ออกแบบให้เพื่อ
พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็ นบัณฑิตมีความรู้
สามารถทางด้านภาษาและวรรณกรรมมลายู
และสามารถจัดการเรียนรู้ภาษามลายูที่บูรณา
การอิสลามให้กับชุมชนที่สอดคล้องกับปรัชญา
มหาวิทยาลัย ทีเ่ ป็ นหลักคำสอนอัลกุรอาน ความ
หมายว่า “และเราไม่ได้ส่งเจ้ามาเพื่ออื่นใด
นอกจากเป็ นความเมตตาเพื่อประชาชาติทงั ้
มวล” (อัลกุรอานอัลอัมบิยาอ.21: 107)
รายวิชาต่างๆในหลักสูตรสามารถแบ่ง
หมวดได้ดังนี ้
1.รายวิชาทักษะภาษามลายู
ML2205-102 ทักษะยาวี
ML2205-121 สนทนาภาษามลายู
ML2205-122 การฟั งจับใจความ
ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
ML2205-142 ปริเฉทภาษามลายู
ML2205-141 การเขียนภาษามลายู
ML2205-151 การแปล 1
TM2406-731 การเขียนเชิงสร้างสรรค์
ภาษามลายู
TM2406-731 วาทศิลป์ ภาษามลายูเพื่อ
การสอน
จากรายวิชาดังกล่าวสามารถทำให้บัณฑิต
มีทักษะภาษาทัง้ 4 ด้าน คือ การฟั ง การพูด การ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
อ่าน และการเขียน
2.รายวิชาภาษาศาสตร์ภาษามลายู
ML2205-001 ภาศาสตร์ทั่วไป
ML2205-102 สรศาสตร์ภาษามลายู
ML2205-103 อรรถศาสตร์ภาษามลายู
ML2205-111 หลักภาษามลายู1
ML2205-112 หลักภาษามลายู2
ML2205-113 หลักภาษามลายู3
ML2205-114 คำยืมภาษาต่างประเทศใน
ภาษามลายู
ML2205-181 การตีความภาษามลายู
ML2205-001 ภาษามลายูเชิงจิตวิทยา
จากรายวิชาดังกล่าวสามารถทำให้บัณฑิต
มีความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์มลายู ทีเ่ ป็ นองค์
ความรู้ในการอธิบายความหมายของภาษา หลัก
ไวยากรณ์ ระบบเสียงในภาษา เป็ นต้น เป็ นการ
อธิบายภาษาตามหลักภาษาศาสตร์สมัยใหม่ ที่มี
การรับรองจากสถาบัน Dewan Bahasa dan
Pustaka โดยนักภาษาศาสตร์มลายูที่มีช่ อ
ื เสียง
เช่น Asmah Haji Omar, Abdullah Hassan,
Nik Safiah Karim, Awang Sariyan,
Abdulhamid Mahmood เป็ นต้น
3.รายวิชาวรรณกรรมมลายู
ML2205-164 วรรณกรรมลายู
ML2205-168 วรรณกรรมมลายูร่วมสมัย
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
ML2205-166 เรื่องสัน
้ และนวนิยายมลายู
ML2205-167 บทละครมลายู
จากรายวิชาดังกล่าวสามารถทำให้บัณฑิต
มีความรู้ทางด้านวรรณกรรมมลายู ทางสาขา
วิชาได้ให้ความสำคัญมาก โดยใช้
เทคนิค Komponan Sastera dalam
Pengajaran Bahasa(การใช้วรรณกรรมเป็ นสื่อ
การสอนภาษามลายู)
4.รายวิชาการจัดการเรียนรู้ภาษามลายู
TM2406-705 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู1
TM2406-706 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู2
TM2406-707 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู3
TM2406-704 สัมนาทางการจัดการเรียน
รู้ภาษามลายู
จากรายวิชาดังกล่าวสามารถทำให้บัณฑิต
สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ภาษามลายูที่
มีประสิทธิภาพ มีพร้อมที่จะเป็ นครูภาษามลายู
และเป็ นผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอน
ภาษามลายูในประเทศไทย
2.การปรับปรุง จากการใช้หลักสูตรการสอนภาษามลายูเป็ น TM5.1-03
หลักสูตรให้ทัน ระยะเวลา 3 ปี พบว่าการเรียนภาษาใน มคอ.5 รายวิชา
สมัย ตามความ ห้องเรียนอย่างเดียวนัน
้ ทักษะทางภาษาไม่ ML2205-151
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน
ตารางอ้างอิง
ก ้า ว ห น ้า ใ น สามารถพัฒนาอย่างเต็มที่ ควรมีการเพิ่ม การแปล 1
ศาสตร์นน
ั้ ๆ กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาในสถานการณ์จริง
รายวิชา ML2205-151 การแปล 1 จากการ
เรียนทฤษฎีและฝึ กปฏิบัติในห้องเรียนอย่างเดียว
เป็ นการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มคือการประยุกต์ใช้
ความรู้ทฤษฎีทางการแปลภาษามลายูใน
ห้องเรียนกับการปฏิบัติการจริงที่สถานีวิทยุ
กระจายเสียง จังหวัดยะลา TM5.1-03
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน


หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
การกำหนดผู้ ผลการดำเนินงาน TM5.2-01
สอน 1. สาขาวิชาฯประชุมเพื่อกำหนดผู้สอนใน รายงานการ
การจัดการเรียนการสอน ตามแผนการเรียน ที่ ประชุมว่า
ปรากฏในหลักสูตรโดยพิจารณาอาจารย์ผู้สอน ด้วยเรื่อง
แต่ละรายวิชาให้เหมาะกับความเชี่ยวชาญของ การกำหนด
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
อาจารย์แต่ละท่าน โดยพิจารณาจากความชํา ผู้สอนในการ
นาญในเนื้อหาวิชา และ ประสบการณ์การสอน จัดการเรียน
ในรายวิชาที่รับผิดชอบที่ผ่านมา TM5.2-01 การสอน
2. เสนอผลการกำหนดผู้สอนโดยอาจารย์ TM5.2-02
ประจำหลักสูตรในที่ประชุมสาขา ฯ เพื่อรับ รายงานสรุป
ทราบและพิจารณาปรับเปลี่ยนตามเหตุผล ผลการตรวจ
3. ส่งรายวิชาที่จะเปิ ดสอนพร้อมรายชื่อผู้ สอบการ
สอนตามมติที่ประชุมไปยังสำนักบริการการ กำหนดผู้
ศึกษาเพื่อดำเนินการในส่วนที่เกีย
่ วข้องต่อไป สอน
4. แจ้งรายวิชาที่ต้องรับผิดชอบแก่อาจารย์
ผู้สอนโดยใช้ตารางภาระงานสอน
ประเมินผลการดำเนินงาน
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ
หลักสูตรและอาจารย์ที่เกีย
่ วข้องประเมิน
กระบวนการการกำหนดผู้สอนผลการประเมิน
พบว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรได้ภาระงานสอน
ยังไม่เกินโหลดเนื่องเพิ่งมีนักศึกษาแค่2 ชัน
้ ปี
TM5.2-02
2. ก า ร ก ำ ก ับ ระบบและกลไก TM5.2-03
ต ิด ต า ม แ ล ะ รายงานการ
ตรวจสอบการ ประชุม
จัด ทำแผนการ พิจารณา
เ ร ย
ี น ร ู้ แนวทางการ
(ม ค อ .3 แ ล ะ จัดการเรียน
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ม ค อ .4) ก า ร การสอนที่มี
จ ัด ก า ร เ ร ีย น การบูรณา
การสอน การกับการ
วิจัย การ
บริการทาง
สังคม และ
การทำนุ
บำรุงศิลปะ
และ
วัฒนธรรม
ผลการดำเนินงาน
1. สาขาวิชาฯ ประชุมแจ้งรายวิชาที่เปิ ดสอน
ในแต่ละภาคเรียนของปี การศึกษา 2560
TM5.2-03 และกําหนดผู้สอนแต่ละรายวิชา ซึ่งผู้
สอนแต่ละรายวิชาจะต้องจัดทําเอกสาร มคอ.3
ก่อนเปิ ดภาคเรียนทุกครัง้ โดยภาคเรียนที่
1/2561 จะมี มคอ.3 ตามจํานวนรายวิชาที่เปิ ด
คือ จํานวน 22 รายวิชา และภาคเรียนที่
2/2561 มีจํานวนรายวิชาที่เปิ ดสอน จํานวน 25
โดยการปฏิบัติในขัน
้ นีเ้ ป็ นไปตามข้อกําหนดตัว
บ่งชีผ
้ ลการดําเนินงานในหมวดที่ 7 การประกัน
คุณภาพหลักสูตร ของ มคอ.2
2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมเพื่อ
ติดตาม และตรวจสอบการจัดทํามคอ.3 และ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
แนวทางการทวนสอบก่อนสอน ชีแ
้ จงแนวทาง
การจัดทำ มคอ.3 แก่อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบ
รายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ
แผนการเรียนรู้ใน มคอ.3
3. ดำเนินการทวนสอบการจัดทำแผนการ
เรียนรู้ใน มคอ.3 โดยการทวนสอบก่อนสอน
อาจารย์ผส
ู้ อนชีแ
้ จง มคอ.3 แก่นักศึกษา ดำเนิน
การสอนตามแผนการเรียนรู้ มีการทวนสอบ
ระหว่างสอน นักศึกษาประเมินประสิทธิภาพการ
สอนของอาจารย์หลังจากเสร็จสิน
้ การจัดการ
เรียนการสอนของแต่ละภาคการศึกษาตาม
ระบบของมหาวิทยาลัย
4. จัดทำรายงานสรุปผลการประเมิน
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์จากการ
ประเมินของนักศึกษาทุกรายวิชาที่เป็ นวิชา
เฉพาะ และผลการประเมินพบว่าประสิทธิภาพ
การสอนของอาจารย์ที่สอนวิชาเฉพาะเฉลี่ยรวม
อยูใ่ นระดับดีมาก โดยมีค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.92-
4.73 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 การประเมิน
การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอนใน
ภาคการศึกษาที่ 1/2561 และ 2/2561 มี
คะแนนประเมินเฉลี่ยทัง้ 2 ภาคการศึกษาเป็ น
4.14 ผลการประเมินอยูใ่ นระดับดีทุกรายวิชา
แสดงถึงความเหมาะสมของอาจารย์ผู้สอนต่อ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
รายวิชาที่จัดการเรียนการสอน
5. อาจารย์ประจำหลักสูตร นำผลการ
ประเมินการจัดการเรียนการสอน ข้อร้องเรียน
ของนักศึกษาด้านคุณภาพการสอน หารือร่วมกัน
ในที่ประชุมเพื่อเป็ นข้อมูลสำหรับการกำหนดผู้
สอนในปี ต่อไป

ประเมินผลการดำเนินงาน
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตร
และอาจารย์ที่เกีย
่ วข้องร่วมประเมิน
กระบวนการการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบ
การจัดทำแผนการเรียนรู้มคอ. 3 และมคอ.4 ผล
การประเมินพบปั ญหาข้อจำกัด คือ ขัน
้ ตอนการ

3. ก า ร กำกับ ติดตาม การส่ง มคอ ยังล่าช้าเนื่องจาก TM5.2-04


จ ัด ก า ร เ ร ีย น ส่วนใหญ่เป็ นรายวิชาร่วมสอนกับสาขาวิชาภาษา รายงานการ
ก า ร ส อ น ใ น มลายูคณะศิลปศาสตร์ ซึ่งการจัดทำมคอ.3 นัน ้ ประชุมว่า
ระดับ ปริญ ญา ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบทัง้ สาขาวิชาภาษา ด้วยเรื่อง
ต ร ีท ี่ม ีก า ร บ ู มลายูและสาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประเมิน
ร ณ า ก า ร ก ับ กระบวนการ
การ วิจ ย
ั การ การจัดการ
บริการวิชาการ เรียนการ
ทางสังคม และ ระบบและกลไก สอนใน
การทำนุบ ำรุง ระดับ
ศ ิล ป ะ แ ล ะ ปริญญาตรีที่
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
วัฒนธรรม มีการบูรณา
การกับการ
วิจัยการ
บริการ
วิชาการทาง
สังคม และ
การทำนุ
บำรุงศิลปะ
และ
วัฒนธรรม

ผลการดำเนินงาน TM5.2-05
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตรและ มคอ.5
อาจารย์ทเี่ กี่ยวข้องพิจารณาแนวทางการจัดการ รายวิชา
เรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การ ML2205-
บริการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและ 112 หลัก
วัฒนธรรม ภาษามลายู
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีการจัดการ 2
เรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณา TM5.2-06 ม
การกับการวิจัยการบริการวิชาการทางสังคม คอ.5ML220
และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมดังนี ้ 5-164
TM5.2-04 วรรณกรรม
1. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา ลายู
TM5.2-07
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
การกับการวิจัย รายวิชา ML2205-112 หลัก มคอ.5 รายวิ
ภาษามลายู 2 มีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณ ชา
าการกับการวิจัยเรื่อง “Analisis Kesalahan ML2205-
Bahasa Melayu dalam Kalangan Pelajar 122 การฟั ง
Sekolah Pondok Daerah Yarang, Wilayah จับใจความ
Pattani” TM5.2-05 เป็ นการบูรณาการกับการ TM5.2-08
เรียนการสอนด้านความรู้ โดยนักศึกษามีส่วน รายงานการ
ร่วมในการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อผิดพลาด ประชุม
ในการใช้ภาษาของกลุ่มตัวอย่าง ใน 8 โรงเรียน ประเมิน
ผลจากความร่วมมือของนักศึกษาในครัง้ นี ้ ทำให้ กระบวนการ
ผลสัมฤทธิร์ ายวิชาหลักภาษามลายู 2 เพิ่มขึน
้ การจัดการ
2. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา เรียนการ
การการบริการวิชาการทางสังคม รายวิชา สอนใน
ML2205-164 วรรณกรรมลายู TM5.2-06 เพื่อ ระดับ
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพด้านทักษะการใช้ ปริญญาตรีที่
ภาษาและวรรณกรรมมลายู มีการจัดการเรียน มีการบูรณา
การสอนที่มีการบูรณาการการบริการวิชาการ การ
ทางสังคมจากโครงการ “Kursus Puisi Drama
untuk Guru Bahasa Melayu” จัดขึน
้ เมื่อวันที่
5 กันยายน 2561 l สถานที่จัด คณะศึกษา
ศาสตร์ ในโครงการนีม
้ ีนักศึกษารายวิชาดังกล่าว
มีส่วนร่วมในกิจกรรมครัง้ นี ้
จากกิจกรรมในครัง้ นีน
้ ักศึกษาสามารถนำ
ความรู้จากการอบรมมาบูรณาการการจัดการ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
สอนด้านทักษะการใช้ภาษาและวรรณกรรม
มลายู ทำให้นักศึกษามีความกล้าแสดงออกมาก
ขึน
้ และร่วมแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวกับ
puisi drama โดยใช้วิจารณญาณและบำรุง
คุณค่าของมนุษยชาติและส่งเสริมความรักต่อ
ศาสนาและวัฒนธรรมมลายู
3. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมรายวิชา
ML2205-122 การฟั งจับใจความ TM5.2-07 มี
การบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรมกับกิจกรรม Jejak Warisan Melayu
เป็ นกิจกรรมทัศนศึกษาเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม
มลายู ณ รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย
ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วัฒนธรรมชาวมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาค
ใต้และชาวมลายูอ่ น
ื ๆ ในกลุ่มประเทศเพื่อน
บ้านสมาชิกอาเซียน
กิจกรรมในครัง้ นีไ้ ด้เรียนรู้ วัฒนธรรมทาง
ภาษา และวิถีชีวิตจากเจ้าชาวมลายูในประเทศ
เพื่อนบ้านในประเทศมาเลเซีย ได้สัมผัสและ
เรียนรู้เพื่อฝึ กทักษะการฟั งทางด้านภาษามลายู
จากเจ้าของภาษาโดยตรง และสามารถเปิ ดโลก
ทัศน์ทางความคิดของนักศึกษาให้กว้างขึน
้ และ
เกิดแรงบันดาลใจอันจะเป็ นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
เกิดการพัฒนาในทางที่ดีขน
ึ ้ แก่ตัวนักศึกษาเอง
นอกจากนัน
้ นักศึกษาได้ไปเยี่ยมชม
โรงเรียน Sekolah Kebangsaan Paya
Kemunting, Kedah จากการเยี่ยมชมโรงเรียน
นีน
้ ักศึกษาได้เรียนรู้กับครูเจ้าของภาษา และ
เรียนรู้เทคนิคการสอนในนักเรียนนัน
้ มีความ
กระตือรือร้น หลังจากนัน
้ นักศึกษาได้มีโอกาศไป
เยี่ยมชมมัสยิดขนาดใหญ่ในเมือง Alor Setar
และไปเยี่ยมชมพิพิธพัณฑ์ Padi ซึ่งเป็ นพิพิธ
พัณฑ์ที่เป็ นแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์เกีย
่ ว
กับข้าวและการปลูกข้าวจากอดีตจนถึงสมัย
ปั จจุบัน
นักศึกษายังได้ไปเรียนรู้วิถีการใช้ชีวิตใน
แต่ละวันของชาวมาเลเซียในรัฐเคดาห์ อาทิ การ
รับประทานอาหาร ความเป็ นอยู่ในรอบๆ ตัวเมือ
งอโล สตาร์ และสังคมรอบข้าง
ผลจากกิจกรรมนี ้ นักศึกษาสามารถเรียนรู้
ถึงทักษะการใช้ภาษามลายูอย่างถูกต้อง และยัง
สามารถสร้างความรู้สึกหลอมรวมเป็ นหนึ่งเดียว
ในการสร้างอัตลักษณ์ของอาเซียนเข้าใจความ
หลากหลายของวิถีวัฒนธรรมของกลุ่มอาเซียน
บนพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และ
สามารถนำความรู้มาถ่ายทอดกับผู้อ่ น
ื ได้
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
การประเมินกระบวนการและเสนอแนวทาง
พัฒนา TM5.2-08
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตร
และอาจารย์ที่เกีย
่ วข้องเพื่อประเมิน
กระบวนการการจัดการเรียนการสอนในระดับ
ปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัยการ
บริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุง
ศิลปะและวัฒนธรรมพบว่าการบูรณาการยังไม่
เต็มรูบแบบ ควรมีการวางแผนและเตรียมการ
ตามวงจร PDCA
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.2
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 5.3 การประเมินผู้เรียน


หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
1.การประเมิน ระบบและกลไก TM5.3-01 TM5.3-01 ร
ผู้เรียน ะบบกลไก
การประเมิน
ผู้เรียน

TM5.3-02
รายงานการ
ประชุมการ
ประเมินผล
ผลการดำเนินงาน การเรียนรู้
สาขาวิช ามีก ารประชุม เพื่อ วิเ คราะห์ก าร ตามกรอบ
ประเมิน ผลการเรีย นรู้ต ามกรอบมาตรฐาน มาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มคอ. 5 ของ คุณวุฒิ
แต่ละรายวิชาในปี การศึกษา 2561 และสรุป
ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินผลการเรียนรู้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุด มศึกษา
แห่งชาติ มคอ. 5 TM5.3-02 ผลการประเมิน
พบว่า รายวิช าที่เ ปิ ดสอนในปี การศึก ษา
2561 ส่ว นใหญ่ใช้ว ิธ ีก ารสอบทัง้ แบบอัต นัย
และปรนัย สำหรับภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
นอกจากนีย
้ ังใช้กระบวนการสังเกตพฤติกรรม
ผู้เรียนขณะฝึ กปฏิบัติเพื่อประเมินทักษะราย
บุค คลและกระบวนการกลุ่ม คณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรประเมินกระบวนการประเมิน
ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่ง
ชาติพ บว่า มีค วามสอดคล้อ งระหว่า งผลการ
เรียนรู้ของผู้เรียนกับแผนที่กระจายความรับ
ผิด ชอบของแต่ล ะรายวิช ามีค วามชัด เจนยิ่ง
ขึน

1. ก า ร ผลการดำเนินงาน TM5.3-03 ร
ตรวจสอบการ 1.ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ ายงานการ
ป ร ะ เ ม ิน ผ ล หลักสูตรและอาจารย์ที่ ประชุมสาขา
ก า ร เ ร ีย น ร ู้ เกี่ยวข้องพิจารณาแนวทางการประเมินผล เรื่องการ
ของนัก ศึก ษา การเรียนรู้ของนักศึกษา และแนวทางปฏิบัติ ตรวจสอบ
สำหรับการออกแบบการวัดและประเมินผล การประเมิน
ทุกรายวิชาดำเนินการออกแบบการวัดและ ผลการเรียน
ประเมินผลใน มคอ.3 TM5.3-03 รู้ของ
2. คณะกรรมการ (5.3-03) มีการ นักศึกษา
ทวนสอบการวัดและประเมินผลใน มคอ.3 มี TM5.3-04
การวิพากษ์ข้อสอบและพิจารณาความเหมาะ แบบประเมิน
สมของข้อสอบโดยมีแบบประเมินข้อสอบ ข้อสอบ
สรุปผลการประเมินและส่งให้อาจารย์ประจำ TM5.3-05
รายวิชาดำเนินการแก้ไขผลการดำเนินงาน รายงานการ
TM5.3-04 ทวนสอบผล
3. อาจารย์ประจำรายวิชาแก้ไขข้อสอบตาม สัมฤทธิ ์
ผลการวิพากษ์ และส่งข้อสอบให้ประธาน
กรรมการวิพากษ์ข้อสอบตรวจสอบความถูก
ต้องของการแก้ไข เรียบร้อยแล้ว จึงส่ง
ข้อสอบฉบับสมบูรณ์เพื่อทำชุดข้อสอบ
ดำเนินการสอบ
4. อาจารย์ผู้ออกข้อสอบ บันทึกคะแนนตาม
ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา รวมคะแนนและ
ตัดเกรด ทวนสอบการตัดเกรด แล้วส่งเกรด
ให้ทางสาขา
5. สาขาวิชาฯมีการประชุมเพื่อ
ติดตามการ ประเมินผลการเรียนของ
นักศึกษาแต่ละรายวิชาที่จัดการ เรียนการ
สอนในปี การศึกษา 2561 โดยพิจารณาตามม
คอ.3 ที่อาจารย์แจ้งไว้ดังนัน
้ มคอ.3 และม
คอ.5 ต้องสอดคล้องกันโดยตรวจสอบผลการ
เรียนของนักศึกษาว่าเป็ นไปตามหลักเกณฑ์
ในการให้ระดับคะแนน(เกรด) ตามระเบียบ
ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฟาฏอนีว่าด้วยการ
ศึกษาระดับปริญญาตรี
์ ามมาตรฐาน
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิต
การเรียนรู้โดยคณะกรรมการทวนสอบ
100% ของรายวิชาที่เปิ ดสอนในปี การศึกษา
2561 และสรุปผลการทวบสอบ TM5.3-05
ใน 19 รายวิชาเฉพาะของสาขา
ผลการทวนสอบพบว่า ในประเด็น
ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์รายวิชากับ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ พบว่าทุกรายวิชามี
ความสอดคล้องกันกับวัตถุประสงค์รายวิชา
กับมาตรฐานผลการเรียนรู้
ด้านเนื้อหากับแผนการสอนและ
มาตรฐานการเรียนรู้มีความสอดล้องกัน
จำนวน 15 รายวิชา ไม่สอดคล้อง 4 วิชา
ด้านการวัดประเมินผล จากการตรวจ
เอกสารหลักฐาน วิธีสอน วิธีการวัดประเมิน
ผลกับแผนการสอน มีความสอดคล้องกัน 13
รายวิชา ไม่สอดคล้อง 6 วิชา
ด้านความสอดคล้องของมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้กับแผนการวัดประเมินผล มี
ความสอดคล้อง 14 รายวิชา ไม่สอดคล้อง 5
วิชา จากนัน
้ นำผลการทวนสอบแจ้งที่ประชุม
สาขาทราบเพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนต่อไปโดย คณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็น
ว่าเอกสารทวนสอบมีการประเมินความรู้ของ
ผู้เรียนตามเนื้อหาเฉพาะของแต่ละรายวิชาที่
ชัดเจน หลังจากนัน
้ จึงดำเนินการส่งผลการ
ศึกษาไปยังงานทะเบียนและวัดผลของ
มหาวิทยาลัย

ประเมินผลการดำเนินงาน
สาขาวิชามีการประชุมสรุปการตรวจสอบการ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา พบว่าขัน

ตอนการวิพากษ์ข้อสอบและการทวนสอบ
อาจมีความล่าช้าเนื่องจากอาจารย์มีภาระงาน
มาก ต้องบริหารเวลาให้ทันตามกำหนดการที่
วางเอาไว้
1.ก า ร ก ำ ก ับ ผลการดำเนินงาน TM5.3-06
การประ เมิน 1. เมื่อสอนจบภาคการศึกษา นักศึกษา รายงานการ
ก า ร จ ัด ก า ร จะต้องประเมินการสอนของอาจารย์แต่ละ ประชุมการ
เรียนการสอน รายวิชาในระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ซึง่ ข้อ ประเมินของ
และประเมิน คําถาม ในการประเมินประกอบด้วยด้านต่าง อาจารย์ผู้
ห ล ัก ส ูต ร ๆคือด้านเทคนิคการจัดกิจกรรมการจัดการ สอนราย
(ม ค อ .5 เรียนรู้ ด้านบุคลิกภาพของผูส
้ อน ด้านการ บุคคล
ม ค อ .6 แ ล ะ ประเมินผล และ ด้านการนำสิ่งสนับสนุนการ
มคอ.7) เรียนรู้ เพื่อนําไปพัฒนาปรับปรุงต่อไป
2. สาขาวิชาฯมีการประชุมเพื่อพิจารณา
ร่วมกัน เกี่ยวกับผลการประเมินของอาจารย์ผู้
สอนรายบุคคล TM5.3-06 โดยการใช้แบบ
ติดตามผลการประเมินของอาจารย์ผู้สอน
โดยการปฏิบัติในขัน
้ นีเ้ ป็ นไปตามข้อกําหนด
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดําเนินงานในหมวดที่ 7 การ
ประกันคุณภาพหลักสูตร ของ มคอ.2 (ตัวบ่ง
ชีผ
้ ลการดําเนินงานข้อ 6)
3. สาขาวิชาฯ โดยคณะกรรมการประจำ
หลักสูตร ได้ดําเนินการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เรียนเพื่อ
สะท้อนให้เห็นคุณภาพการสอนของอาจารย์ที่
ชัดเจนยิ่งขึน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.3
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน

เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ


เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ


อุดมศึกษาแห่งชาติตามที่ระบุใน มคอ. 2 ของหลักสูตร
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
1. อาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีส่วน การ/ไม่ผ่าน
ร่วมในการประชุมเพื่อ ผลการดำเนินงาน
วางแผน ติดตาม และทบทวน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
การดำเนินการหลักสูตร วิชาการสอนภาษามลายู ได้มีการประชุม
อาจารย์ประจำหลักสูตร โดยมีอาจารย์เข้า
ร่วมการประชุม เพื่อวางแผน ติดตามและ
ทบทวนผลการดำเนินงานหลักสูตร จำนวน
5 คน คิดเป็ นร้อยละ 100 โดยมีการ
ประชุมทัง้ หมด 9 ครัง้ ดังนี ้
ครัง้ ที่ 1 วันที่ 5 มิถุนายน 2561 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 2 วันที่ 26 มิถุนายน 2561 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 3 วันที่ 28 สิงหาคม 2561 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
ครัง้ ที่ 4 วันที่ 20 กันยายน 2561 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 5 วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561 คนที่
เข้าร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 6 วันที่ 11 ธันวาคม 2661 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 7 วันที่ 8 มกราคม 2561 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 8 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 คนที่
เข้าร่วมประชุม 5 คน
ครัง้ ที่ 9 วันที่ 9 เมษายน 2561 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 5 คน
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ตามแบบ มคอ. 2 ที่ การ/ไม่ผ่าน
สอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน
คุณวุฒิแห่งชาติ หรือ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/หลักสู วิชาการสอนภาษามลายู มีการจัดทำ
ตร (ถ้ามี) หลักสูตร (มคอ.2) และ สกอ.ได้รับทราบ
หลักสูตร เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2559
3. มีรายละเอียดของรายวิชา  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
และรายละเอียดของ การ/ไม่ผ่าน
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า ผลการดำเนินงาน
มี) ตามแบบ มคอ.3 และ มหาวิทยาลัยเปิ ดภาคเรียนที่ 1/2561 วันที่
มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ด 1 กรกฎาคม 2561 และเปิ ดภาคเรียนที่
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ 2/2561 วันที่18 พฤศจิกายน 2561
ครบทุกรายวิชา หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
วิชาการสอนภาษามลายู ได้กำหนดให้
อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายละเอียดของ
รายวิชา (มคอ.3) และของประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.4) ตามแบบฟอร์มของ
สกอ. ก่อนการเปิ ดสอน ครบทุกรายวิชา
และนำส่งให้คณะและมหาวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1/2561 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน
ทัง้ หมด 22 รายวิชา
สาขาวิชาการสอนภาษามลายู จัดทำ
เอกสาร มคอ.3 (1.1-06) ซึ่งเป็ นราย
ละเอียดของรายวิชาทุกรายวิชาก่อนการ
เปิ ดสอนในภาคเรียนที่ 1 และ 2 ของปี การ
ศึกษา 2561 จำนวน 47 รายวิชา ดังนี ้
ภารเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ได้แก่
1. GE 2100-101 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 1
2. GE 2100-201 อิสลามและวิถีการ
ดำเนินชีวิต
3. GE 2400-202 ทักษะการเรียนและการ
ศึกษาค้นคว้า
4. GE 2200-402 ภาษาไทยในชีวิตประจำ
วัน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
5. ED 346-001 หลักศรัทธาพื้นฐาน
สำหรับครู
6. ML 2205-111 หลักภาษามลายู 1
7. ML 2205-121 สนทนาภาษามลายู
8. ED 347-101 ความเป็ นครู
9. GE 2100-103 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 3
10. GE2300-303 อิสลามกับวิทยาศาสตร์
11. ML2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
12. ML2205-071 ทักษะยาวี1
13. ED347-103 ภาษาและวัฒนธรรม
สำหรับครู
14. ED347-104 จิตวิทยาสำหรับครู
15. ED 347-111 คุณธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณครู
16. GE2100-105 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 5
17. GE2100-205 สันติศึกษา
18. ML2205-151 การแปล 1
19. ML2205-103 อรรถศาสตร์ภาษา
มลายู
20. ML2205-168 วรรณกรรมมลายูร่วม
สมัย
21. ED 347-106 การจัดการเรียนรู้และ
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
การจัดชัน
้ เรียน
22. ED 347-109 การวัดและประเมินผล
การเรียนรู้
ภารเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 ได้แก่
1. GE 2100-102 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 2
2. GE 2200-204 นักคิดมุสลิม และกลุ่ม
ฟื้ นฟูอิสลาม
3. GE 2100-403 ภาษาไทยเพื่อการ
สื่อสาร
4. ED 346-002 ศาสนบัญญัตพ
ิ ้น
ื ฐาน
สำหรับครู
5. ED 346-003 จริยธรรมและภาวะผู้นำ
ในอิสลาม
6. ML 2205-112 หลักภาษามลายู 2
7. ML 2205-114 คำยืมภาษาต่างประทศ
ในภาษามลายู
8. ML 2205-122 การฟั งจับใจความ
9. ED 347-102 ปรัชญาการศึกษา
10. GE 2100-104 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 4
11. GE 2100-203 การสื่อสารและการเผย
แพร่ในอิสลาม
12. ML 2205-102 สรศาสตร์ภาษามลายู
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
13. ML 2205-141 การเขียนภาษามลายู
14. ML 2205-164 วรรณกรรมมลายู
15. ED 347-105 หลักสูตรและการพัฒนา
หลักสูตร
16. ED 347-108 นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
17. GE2100-106 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 6
18. ED347-107 การวิจัยเพื่อการ
พัฒนาการเรียนรู้
19. ED347-109 การวัดและประเมินผล
การเรียนรู้
20. ML2205-113 หลักภาษามลายู 3
21. ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
22. ML2205-142 ปริเฉทภาษามลายู
23. TM2406-731 การเขียนเชิงสร้างสรรค์
ภาษามลายู
24. TM2406-703 วาทศิลป์ ภาษามลายู
เพื่อการสอน
25. TM2406-705 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 1
4. จัดทำรายงานผลการ  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ดำเนินการของรายวิชา และ การ/ไม่ผ่าน
รายงานผลการดำเนินการของ ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า มหาวิทยาลัยเปิ ดภาคเรียนที่ 1/2561 วันที่
มี) ตามแบบ มคอ.5 และ 1 กรกฎาคม 2561 และเปิ ดภาคเรียนที่
มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิน
้ 2/2561 วันที่18 พฤศจิกายน 2561
สุดภาคการศึกษาที่ เปิ ดสอน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
ให้ครบทุกรายวิชา วิชาการสอนภาษามลายู ได้กำหนดให้
อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายงานผลการดำเนิน
การของรายวิชา (มคอ.5) และของ
ประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ตามแบบ
ฟอร์มของ สกอ. ก่อนการเปิ ดสอน ครบทุก
รายวิชา และนำส่งให้คณะและ
มหาวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1/2561 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน
ทัง้ หมด 22 รายวิชา
ภาคเรียนที่ 2/2561 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน
ทัง้ หมด 25 รายวิชา
5. จัดทำรายงานผลการ  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ดำเนินการของหลักสูตรตาม การ/ไม่ผ่าน
แบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน ผลการดำเนินงาน
หลังสิน
้ สุดปี การศึกษา มหาวิทยาลัยเปิ ดภาคเรียนที่ 2/2561 วัน
ที่18 พฤศจิกายน 2561 หลักสูตรศึกษา
ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายู ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินการ
ของหลักสูตร (มคอ.7) และนำส่งให้คณะ
และมหาวิทยาลัย ภายในวันที่ 23 พฤศภา
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
คม 2562
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ ์  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ของนักศึกษาตามมาตรฐาน การ/ไม่ผ่าน
ผลการเรียนรู้ทก
่ี ำหนดใน  ไม่เลือก
มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) ผลการดำเนินงาน
อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ ในปี การศึกษา 2561 สาขาวิชาการสอน
รายวิชาที่เปิ ดสอนในแต่ละปี ภาษามลายูมีการทวนสอบผลสัมฤทธิข์ อง
การศึกษา นักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำ
หนดในมคอ. 3 ทุกรายวิชา (1.1-09) จาก
รายวิชาที่เปิ ดสอนตลอดปี การศึกษา 2561
ทัง้ สิน
้ 19 รายวิชา (วิชาเอก) คิดเป็ นร้อย
ละ 100 ของรายวิชาที่เปิ ดสอนทัง้ หมดในปี
การศึกษา 2561 และรายวิชาที่ทำการ
ทวนสอบคือ
1. ML 2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
2. ML 2205-071 ทักษะยาวี 1
3. ML2205-151 การแปล 1
4. ML2205-103 อรรถศาสตร์ภาษามลายู
5. ML 2205-112 หลักภาษามลายู 2
6. ML 2205-114 คำยืมภาษาต่างประทศ
ในภาษามลายู
7. ML 2205-122 การฟั งจับใจความ
8. ML 2205-102 สรศาสตร์ภาษามลายู
9. ML 2205-141 การเขียนภาษามลายู
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
10. ML 2205-164 วรรณกรรมมลายู
11.ML2205-113 หลักภาษามลายู 3
12. ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
13. ML2205-142 ปริเฉทภาษามลายู
14. TM2406-731 การเขียนเชิงสร้างสรรค์
ภาษามลายู
15. TM2406-703 วาทศิลป์ ภาษามลายู
เพื่อการสอน
16. TM2406-705 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 1
17. ML 2205-111 หลักภาษามลายู 1
18. ML 2205-121 สนทนาภาษามลายู
19. ML2205-168 วรรณกรรมมลายูร่วม
สมัย
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการ  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
จัดการเรียนการสอน กลยุทธ์ การ/ไม่ผ่าน
การสอนหรือการประเมินผล  ไม่เลือก
การเรียนรู้ จากผลการ ผลการดำเนินงาน
ประเมินการดำเนินงานที่ ในปี การศึกษา 2561 มีการพัฒนาปรับปรุง
รายงานใน มคอ.7 ปี ที่แล้ว การเรียนการสอนในรายวิชา ML 2205-
122 การฟั งจับใจความ เมื่อเปรียบเทียบ 3
ปี การศึกษา พบว่าปี 2559 สื่อทักษะการ
ฟั งยังน้อย ผู้สอนจะเป็ นคนอ่านบทความ
หรือเนื้อเรื่องเองให้นักศึกษาฟั ง ในปี การ
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
ศึกษา 2560 มีการปรับปรุงการสอนโดยให้
มีส่ อ
ื วีดีโอในกิจกรรมเสริมทักษะการฟั งที่
อาจารย์เลือกให้ และบางส่วนนักศึกษาเอง
ต้องเป็ นฝ่ ายนำเสนอวีดีโอด้วย เป็ น
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ส่วนในปี
การศึกษา 2561 มีการปรับปรุงการสอน
โดยใช้ส่ อ
ื จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายยิ่ง
ขึน
้ อาทิเช่น สื่อที่มีภาพเคลื่อนไหว เสียง
วิดีโอจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โทรทัศน์ วิทยุ
อินเตอร์เน็ต เป็ นต้น นอกจากนีย
้ ังมีส่ อ
ื จาก
การค้นคว้าของนักศึกษาและมาแลก
เปลี่ยนเรียนรู้กัน
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำ การ/ไม่ผ่าน
แนะนำด้านการจัดการเรียน  ไม่เลือก
การสอน ผลการดำเนินงาน
- การศึกษา 2561 สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูมีอาจารย์ใหม่ประจำหลักสูตร
จำนวน 1 ท่าน คือ ดร.สุไรยา จะปะกียา
โดยคณะศึกษาศาสตร์ได้ดำเนินกิจกรรม
ปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ (1.1-10) เพื่อ
แนะนำกฎระเบียบต่าง ๆของคณะ และ 4
ภาระงานของอาจารย์ที่ต้องดำเนินการรวม
ทัง้ แนวทางการสอนแก่อาจารย์ใหม่ก่อน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
เปิ ดภาคเรียนที่2 ปี การศึกษา 2561
- สาขาวิชามีการประชุมเพื่อแนะนำ
อาจารย์ใหม่ประจำสาขาวิชาฯ (1.1-11)
และมีการชีแ
้ จงเรื่องภาระงานของอาจารย์
9. อาจารย์ประจำหลักสูตรทุก ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
คนได้รับการพัฒนาทาง การ/ไม่ผ่าน
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ  ไม่เลือก
อย่างน้อยปี ละหนึ่งครัง้ ผลการดำเนินงาน
คณาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้รับการ
พัฒนาทางวิชาการ ในปี การศึกษา 2561
โดยเฉพาะทุกวันพุธ เวลา 10.00-12.00
เป็ นชั่วโมงการพัฒนาอาจารย์ สรุปได้ดังนี ้
1. อาจารย์แอสซูมานี มาโซ
จำนวน 7 ครัง้
2. อาจารย์ ดร.เภาซัน เจ๊ะแว จำนวน
7 ครัง้
3. อาจารย์ อมมุลอมมะห์ โตะหลง
จำนวน 7 ครัง้
4. อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี จำนวน
7 ครัง้
5. อาจารย์ยะหะยา นิแว จำนวน
7 ครัง้
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุน  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
การเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้ การ/ไม่ผ่าน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
รับการพัฒนาวิชาการ  ไม่เลือก
และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 50 ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของ  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
นักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิต การ/ไม่ผ่าน
ใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร  ไม่เลือก
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก ผลการดำเนินงาน
คะแนนเต็ม 5.0 …………ยังไม่มีนักศึกษาปี
สุดท้าย……………………………………….
12. ระดับความพึงพอใจของผู้  ดำเนินการ/ผ่าน ยังไม่ได้ดำเนิน
ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ การ/ไม่ผ่าน
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก  ไม่เลือก
คะแนนเต็ม 5.0 ผลการดำเนินงาน
………………ยังไม่มี
บัณฑิต………………………………
รวมตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนิน จำนวน 9 ตัวบ่งชี ้
งานที่ระบุไว้ในปี นี ้
จำนวนตัวบ่งชีท
้ ี่มีการดำเนิน จำนวน 9 ตัวบ่งชี ้
งานผ่าน
ร้อยละของตัวบ่งชีท
้ ี่ดำเนิน คิดเป็ นร้อยละ 100
งานผ่านในปี นี ้
มีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00 คะแนน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.4
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี:้ 5.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 5.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน  บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 5.00 คะแนน

การบริหารหลักสูตร
ปั ญหาในการ ผลกระทบของปั ญหา แนวทางการ หลัก
บริหาร ต่อสัมฤทธิผลตาม ป้ องกันและ ฐาน/
หลักสูตร วัตถุประสงค์ของ แก้ไขปั ญหาใน ตาราง
หลักสูตร อนาคต อ้างอิง
อุปกรณ์ ทำให้การเรียนการสอน ปรับปรุงอุปกรณ์
เทคโนโลยี ล่าช้าในการแก้ปัญหา ให้พร้อมก่อนเปิ ด
สารสนเทศไม่ และเป็ นอุปสรรคต่อการ การเรียนการสอน
พร้อมต่อการ เรียนการสอน ในภาคการศึกษา
ใช้งาน นัน

อาจารย์ ทำให้ไม่เข้าใจระบบการ ส่งเสริมให้
ประจำ ดำเนินงานของหลักสูตร อาจารย์เข้าร่วม
หลักสูตรขาด โดยเฉพาะเรื่องการ ประชุมหลักสูตร
ประสบการณ์ ประกันคุณภาพการ มากขึน
้ และมีส่วน
ใน การ ศึกษา ร่วมในการแก้ไข
บริหาร ปั ญหา ต่าง ๆใน
หลักสูตร การดำเนินงาน
ของหลักสูตร
งบประมาณ อาจารย์และนักศึกษา ควบคุม/ติดตาม
ในการบริหาร ขาดการพัฒนาในด้าน การจัดโครงการ
หลักสูตรไม่ ต่าง ๆ และทำให้ไม่เป็ น จาก ผู้รับผิดชอบ
เพียงพอต่อ ไปตามวัตถุประสงค์ที่
กิจกรรม
การพัฒนา กำหนด
หลักสูตร
คณะ การประชุมคณะ กำหนดปฏิทิน
กรรมการ กรรมการบริหาร การดำเนินงาน
ประจำ หลักสูตรล่าช้า ของหลักสูตรให้
หลักสูตรมีวัน แล้วเสร็จในการ
และเวลาว่าง ประชุม เพื่อให้
ในการประชุม ทุกคนรับทราบ
ไม่พร้อมกัน ข้อมูลที่ตรงกัน

การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ (นำมาจาก มคอ.5 ของแต่ละ


วิชา)
หลัก
ภาค การ เหตุที่
รหัส ความผิด มาตรกา ฐาน/
การ ตรวจ ทำให้ผิด
ชื่อวิชา ปกติ รแก้ไข ตาราง
ศึกษา สอบ ปกติ
อ้างอิง
GE2100- 2/256 มีผลการ พิจาร นักเรียน เสนอให้ GE210
106 อัลกุ 1 เรียนใน ณา ไม่มีการเต อาจารย์ 0-106
รอานเพื่อ ระดับ F จาก รียมตัวใน ประจำ อัลกุ
พัฒนา (ร้อยละ การ การท่อง วิชา รอาน
คุณภาพ 10.71) ส่ง จำอัลกุ ขยาย เพื่อ
ชีวิต 6 เกรด รอาน อีก เวลาเพิ่ม พัฒนา
หลัก
ภาค การ เหตุที่
รหัส ความผิด มาตรกา ฐาน/
การ ตรวจ ทำให้ผิด
ชื่อวิชา ปกติ รแก้ไข ตาราง
ศึกษา สอบ ปกติ
อ้างอิง
ประจ ทัง้ ทำ ให้ คุณภา
ำวิชา กิจกรรมเส นักศึกษ พชีวิต
ริมอื่นๆ ที่ าที่มี 6
มากเกิน คะแนน
ควรและ ที่ไม่ผ่าน
ในระหว่าง เกณท์
การเรียน เพื่อลด
ในห้อง จำนวน
นักศึกษา นักศึกษ
ไม่ตงั ้ ใจ าที่ได้รับ
เรียน ใช้ เกรด F
เวลากับ แต่ทงั ้ นี ้
โทรศัพท์ ขึน
้ อยู่
มือถือเป็ น กับ
ส่วนใหญ่ ดุลยพินิ
จึงทำให้ จของ
ผลการ อาจารย์
เรียนไม่ ประจำ
ผ่านเกณท์ วิชาและ
การเรียน อยู่ภาย
ใต้
หลัก
ภาค การ เหตุที่
รหัส ความผิด มาตรกา ฐาน/
การ ตรวจ ทำให้ผิด
ชื่อวิชา ปกติ รแก้ไข ตาราง
ศึกษา สอบ ปกติ
อ้างอิง
มาตรฐา

คุณภาพ
ของ
รายวิชา

การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่
การปฐมนิเทศเพื่อชีแ
้ จงหลักสูตร มี  ไม่มี 
จำนวนอาจารย์ใหม่ ……………1…………. จำนวนอาจารย์ที่เข้าร่วม
ปฐมนิเทศ …………1………

กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
จำนวน
หลัก
อาจ บุคลาก สรุปข้อคิดเห็น และ
กิจกรรมที่จัด ฐาน/
ารย์ รสาย ประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วม
หรือเข้าร่วม ตาราง
สนับสนุ กิจกรรมได้รับ
อ้างอิง

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 5 : หลักสูตร การเรียนการ
สอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
5.1 4.00 4.00 4.00
5.2 4.00 4.00 4.00
5.3 4.00 4.00 4.00
5.4 5.00 ร้อยละ 100 5.00
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 4 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 17 /4 = 4.25 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพ ดีมาก

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 5
จุดเด่น
1. อาจารย์มีคุณวุฒิทางการศึกษาตามข้อกำหนดของหลักสูตร
2. อาจารย์มีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการยอมรับในประเทศและ
ต่างประเทศ
3. อาจารย์ในสาขาได้รับโล่เกียรติ จากการตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับ
ชาติ
โอกาสในการพัฒนา
1. มีการส่งเสริมการพัฒนาผลงานวิจัยให้อาจารย์ท่านอื่น ๆ ได้ไป
ต่อยอดและตีพิมพ์ต่อไป
2. มีการส่งเสริมการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

(มคอ.7 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร)

ตัวบ่งชี ้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้


ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
สิ่งสนับสนุนการ ระบบการดำเนินงานของสาขาวิชา/ TM6.1-1
เรียนรู้ คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ ระบบและ
ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการ
กลไกการ
เรียนรู้ TM6.1-1
จัดการสิ่ง
อำนวยความ
สะดวก(ทรัพ
ยากร
สารสนเทศ)

TM 6.1-2
รายงานการ
ประชุม เพื่อ
กำหนด
วางแผนสิ่ง
สนับสนุนการ
เรียนรู้

TM 6.1-3
รายงานผล
การประเมิน
ความพึง
หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดย
มหาวิทยาลัยและคณะ จัดให้มีความพร้อม พอใจต่อการ

ด้านกายภาพ ด้านเทคโนโลยี ด้านสื่อโสต ให้บริการสิ่ง


ทัศนูปกรณ์ และการให้บริการในรูปแบบ สนับสนุนการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
จำนวนสิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอ
และเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ทางมหาวิทยาลัยและคณะได้จัดเตรียมสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ ให้กับหลักสูตร โดยมี
ทรัพยากรการเรียนรู้ ห้องเรียนที่เพียงพอกับ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ น
สำคัญมีวัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้ใน
ปริมาณที่เหมาะสมกับจำนวนผู้เรียน ดังนี ้
1. ตัวอาคารและวัสดุ ครุภัณฑ์ และ
อุปกรณ์ ที่นักศึกษาสามารถใช้ในการเรียน
รู้ในคณะต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยฟาฏอ
นี
๑. จำนวนห้องเรียนที่ใช้จัดการเรียนการ
สอนในหลักสูตร และ ขนาดความจุของ
ห้องเรียน
๑. ห้องเรียนบรรยายขนาด ๕๐ ที่
นั่ง/ห้อง จำนวน๔ห้อง
๒. ห้องเรียนบรรยายขนาด ๗๐ ที่
นั่ง/ห้อง จำนวน ๔ ห้อง
๓. ห้องเรียนกิจกรรมกระบวนการ
กลุ่มและกิจกรรมอเนกประสงค์ (อิบนูคู
ตัยบะห์) ขนาด ๒๐๐ ที่นั่ง จำนวน ๑
ห้อง
๔. ห้องประชุมใหญ่ขนาดความจุ
๒๕๐ ทีน
่ ั่ง จำนวน...๑...ห้อง
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
๕. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด ๕๐ ที่
นั่ง/ห้อง จำนวน ๑ ห้อง
๖. ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค Micro
Teaching จำนวน ๒ ห้อง
๒. ชื่อวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ในการ
เรียนการสอนในห้องเรียน พร้อมแสดง
จำนวนต่อหนึ่งห้องเรียน
(๑.) ห้องเรียนบรรยายขนาด ๕๐ ที่
นั่ง/ห้อง
๑.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน
จำนวน ๑ เครื่อง
๒.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน
จำนวน ๑ ชุด
๓.เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา
จำนวน ๔๕-๕๐ตัว
(๒.) ห้องเรียนบรรยายขนาด ๗๐ ที่นั่ง
๑. โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน
จำนวน ๑ เครื่อง

๒.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน
จำนวน ๑ ชุด

๓. เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา
จำนวน ๗๐ ตัว

(๓.) ห้องสื่อและศึกษาด้วยตนเองความจุ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง

๒๕ ที่นั่ง/ห้อง

๑.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน
จำนวน ๑ เครื่อง

๒.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน
จำนวน ๑ ชุด

๓.เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา
จำนวน ๒๕ ตัว

(๔.) ห้องเรียนกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม
และกิจกรรมอเนกประสงค์ (อิบนูคูตับะห์)
ความจุ ๒๐๐ ที่นั่ง

๑.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน
จำนวน ๑ เครื่อง

๒.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน
จำนวน ๑ ชุด
๓.เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา
จำนวน ๒๐๐ตัว

(๕.) ห้องประชุมใหญ่ ขนาดความจุ


๒๕๐ ทีน
่ ั่ง

๑.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน
จำนวน ๑ เครื่อง
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง

๒.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน
จำนวน ๑ ชุด

๓.เก้าอีส
้ ำหรับนักศึกษา
จำนวน ๒๕๐ ตัว

๔. ชุดเครื่องขยายเสียง
จำนวน ๑ ชุด

(๖.) ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด ๕๐
ที่นั่ง/ห้อง

๑. ชุดคอมพิวเตอร์ประจำห้อง
จำนวน ๕๐ เครื่อง

๒. โปรเจคเตอร์
จำนวน ๑ เครื่อง

๓. ชุดคอมพิวเตอร์อาจารย์
จำนวน ๑ เครื่อง

(๗.) ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค
Micro Teaching

(๑) โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน
จำนวน ๑ เครื่อง

(๒) โต๊ะอาจารย์
จำนวน ๑ ชุด
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง

(๓) โต๊ะนักเรียน
จำนวน ๓๐-๔๐ ชุด

2. ในรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้
และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ทางมหาวิทยาลัยและคณะได้จัดเตรียมสภาพ
แวดล้อมด้านการเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุน
การเรียนรู้ ให้กับหลักสูตร ดังนี ้
1. หน่วยงานเพื่อสนับสนุนสภาพแวดล้ อมด้ านการเรี ยนรู้ และสิ่ง
สนับสนุนการเรี ยนรู้ดงั รายละเอียดต่อไปนี ้
1.1 สำนักวิทยบริการ เป็ นหน่วยงานที่
สนับสนุนสภาพแวดล้อมให้นักศึกษาไป
ค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร ในตำราในรูปแบบ
หนังสือและรูปแบบข้อมูลสารสนเทศ ดังราย
ละเอียดดังนี ้
- สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จำนวน 6,948 เรื่อง
- ความรู้อยูใ่ นรูปแบบซีดี จำนวน 837 เรื่อง
- ความรู้อยูใ่ นรูปแบบเทป จำนวน 342
เรื่อง
- ความรู้อยูใ่ นรูปแบบวิดีโอ จำนวน 267
เรื่อง
- ความรู้อยูใ่ นรูปแบบดีวีดี จำนวน 115
เรื่อง
- สารสารวิชาการ จำนวน 7 เรื่อง
1.2 ศูนย์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
ศึกษา เป็ นศูนย์ที่ให้บริการให้นักศึกษาไปฝึ ก
ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และและความรู้
ที่อยู่ในรูปแบบเทคโนโลยี
1.3 ศูนย์อัลกุรอาน เป็ นศูนย์ทใี่ ห้บริการฝึ ก
ทักษะการอ่านและการท่องจำ ที่เป็ นหัวใจ
สำคัญสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยทุกคนที่
ต้องผ่านทักษะการอ่านและการท่องจำก่อน
จบการศึกษา
2. ระบบออนไลน์เพ่อสนับสนุนสภาพ
แวดล้อมด้านการการเรียนรู้ และสิ่ง
สนับสนุนการีเยนรู้ของผู้เรียน ดังราย
ละเอียดดังนี ้
2.1 ระบบบริการการศึกษา regisE-
REGISTER ระบบที่ให้บริการการลงทะเบียน
การติดตามผลการเรียน การยืนยันจบและ
การขอเอกสารต่างของนักศึกษาที่ผ่านระบบ
ออนไลน์
2.2 ห้องสมุดอัตโนมัติ LibraryE-
MAKTABAH นักศึกษาสามารถสืบค้น
หนังสือ และยืมคืนหนังสือผ่านระบบ
ออนไลน์
2.3 E-DAKWAH เป็ นเวบไซต์บรรยายเกีย
่ ว
กับความรู้ทางด้านศาสนาและด้านคุณธรรม
จริยธรรมที่นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติม
ได้คตลอดเวลา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
2.4 เวบไซต์มหาวิทยาลัย
http://www.ftu.ac.th/main/cd/
เป็ นการบริการข้อมูลทั่วไปที่นักศึกษาและ
บุคลากรของมหาวิทยาลัยควรทราบ และ
การติดตามการเคลื่อนไหวของกิจกรรม
มหาวิทยาลัยเพื่อให้นักศึกษาสามารถปรับตัว
เข้ากับสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัย
3. เครือข่ายเพื่อสนับสนุนสภาพแวดล้อม
ด้านการเยนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเยนรู้ของ
ผู้เรียน
3.1 คณะ ได้จัดทำความร่วมมือกับโรงเรียน
เครือข่าย เพื่อการสนับสนุนให้นักศึกษา
ลงพื้นที่สังเกตการณ์สอนและสภาพแวดล้อม
ของโรงเรียน เช่น ด้านหลักสูตร ด้านภาระ
หน้าที่ของครู สภาพการบริหารจัดการ
ห้องเรียน การเรียนร้าภาพจริงของผู้เรียน
เป็ นต้น ปั จจุบัน คณะมีโรเรียนที่อยู่ในเครือ
ข่าย 61 โรงที่ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด
ชายแดนใต้ ประกอบด้วย ปั ตตานี ยะลา
นราธิวาส สงขลาและสตูล
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน
ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์
ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ TM 6.1-3
หลักสูตรมีระบบและกลไกการปรับปรุง
ตามแผนการประเมินความพึงพอใจของ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
นักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ โดยมีกระบวนการดังนี ้
1.หลักสูตรได้ดำเนินการสำรวจประเมิน
ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อ
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และได้นำผล

การประเมินปรับปรุงและพัฒนา
ประเด็นความคิดเห็น ระดับความพึงพอใจ

ด้านสื่อ/เอกสารและ Mean (X)


อุปกรณ์การเรียนการ
255 256 256
สอน
9 0 1

1.จำนวนหรือความ
เพียงพอของ
4.02 3.94
อุปกรณ์/สื่อการเรียน
การสอน 4.2

2.ประสิทธิภาพของ
อุปกรณ์/สื่อการเรียน
4.1 3.31
การสอน 3.6
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง

3.สื่อ/เอกสารและ
อุปกรณ์การเรียนการ
4.1 3.47
สอนมีความชัดเจน
และเข้าใจง่าย 3.6

4.ความหลากหลาย
ของสื่อการเรียนรู้
ต่างๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ 4 3.47
อินเตอร์เน็ต 3.8

5.ความทันสมัยของสื่อ
อุปกรณ์ห้องเรียน/
4.14 3.56
ห้องปฏิบัติการ 3.6

คะแนนเฉลี่ยทัง้ หมด 3.76 4.07 3.61

2.นำผลการประเมินมาวิเคราะห์สรุปเพื่อ
ปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของ
นักศึกษาและอาจารย์ รวมทัง้ สอดคล้องกับ
ความทันสมัยต่อเทคโนโลยี
ผลการประเมินความพึงพอใจในด้านสิ่ง
อำนวยความสะดวกและสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ของนักศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตารางอ้างอิง
4.13
ผลการประเมินความพึงพอใจในด้านสิ่ง
อำนวยความสะดวกและสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ของอาจารย์ ในภาพรวมอยู่ในระดับ
4.38
หลักสูตรมีการนำผลการประเมินและข้อ
เสนอแนะมาปรับปรุงกระบวนการและ
แนวทางพัฒนาด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
จากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา
ที่ผ่านมา พบว่า นักศึกษาต้องการให้มีระบบ
บริการสารสนเทศทีเ่ หมาะสม เอื้อต่อการ
เรียนรู้และเพียงพอต่อนักศึกษา หลักสูตรได้
พิจารณาและหาแนวทางในการปรับปรุงและ
พัฒนาเพื่อจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู่ให้
เพียงพอต่อความต้องการ และระบบบริการ
สารสนเทศเพิ่มมากยิ่งขึน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 6.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00
คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ :4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 6 : สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้


ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
6.1 4.00 4.00 4.00
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 1 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 4.00 /1 = 4.00 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพ ดี
ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้
ประเมิน

ข้อมูลประเมิน ณ วันที่ .............................


ข้อคิดเห็นหรือสาระ ความเห็นของผู้รับผิด การนำไปดำเนินการ
จากผู้ประเมิน ชอบหลักสูตร วางแผนหรือ
ปรับปรุงหลักสูตร

สรุปการประเมินหลักสูตร
การประเมินจากผู้ที่สำเร็จการศึกษา

ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการ ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผล
ประเมิน การประเมิน

ข้อเสนอการเปลีย
่ นแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน

การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้ใช้บณ
ั ฑิต)

ข้อมูลประเมิน ณ วันที่ .............................


กระบวนการประเมิน
……………………………………………………………………..
ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการ ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผล
ประเมิน การประเมิน

ข้อเสนอการเปลีย
่ นแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน

แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร
(มคอ.7 หมวดที่ 7)

ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปี ที่ผ่าน

มา

แผนดำเนิน กำหนดเวลาที่ ผู้รับผิด ความสำเร็จของแผน/


การ แล้วเสร็จ ชอบ เหตุผลที่ไม่สามารถ
ดำเนินการได้สำเร็จ
1) ปรับปรุง ยังไม่ดำเนินการ ผู้รับผิด เนื่องจากเป็ นหลักสูตร
หลักสูตรใหม่ ชอบ ใหม่
ให้ได้ หลักสูตร
มาตรฐานไม่
ต่ำกว่า
มาตรฐาน
วิชาชีพที่คุรุ
สภากำหนด
และ
สอดคล้องกับ
เกณฑ์
มาตรฐาน
หลักสูตร
ระดับ
อุดมศึกษา
ตามกรอบ
มาตรฐาน
คุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษา
แห่งชาติ และ
ประกาศ
มาตรฐาน
คุณวุฒิระดับ
ปริญญาตรี
สาขา
ครุศาสตร์
และศึกษา
ศาสตร์(หลักสู
ตร 5 ปี )
2) ส่งเสริม แล้วเสร็จ แล้วเสร็จ ทุกรายวิชาดำเนินการ
ให้การจัดการ เรียนการสอนตามกรอบ
เรียนรู้ที่เน้นผู้ มาตรฐานคุณวุฒิระดับ
เรียนเป็ น อุดมศึกษา
สำคัญ
3) ส่งเสริม แล้วเสร็จ สาขาวิชา มีงานวิจัยชัน
้ เรียนที่แล้ว
การจัดการ เสร็จ 1 โครงการคือ อา
เรียนรู้ ทักษะ จารย์นูรนีบูเกะมาตีวิจัย
การวิจัยในชัน
้ ชัน
้ เรียนเรื่อง การใช้ชุด
เรียนและทาง แบบฝึ กเพื่อเสริมทักษะ
วิชาชีพ เพื่อ การใช้เครื่องหมายการ
ให้บรรลุ อ่าน และการสะกดคำใน
มาตรฐานผล การเขียนภาษามลายู งบ
การเรียนรู้ทุก สนับสนุนวิจัยจากภายใน
ด้าน สถาบัน จำนวน 5,000
บาท (ได้สรุปปิ ดโครงการ
แล้ว)
4) การบริหาร แล้วเสร็จ สาขาวิชา มีการพัฒนา ห้อง
ทรัพยากร Language Conner
การเรียนการ เป็ นแหล่งเรียนรู้ของ
สอน นักศึกษา
5)การบริหาร แล้วเสร็จ สาขาวิชา อาจารย์ทุกคนได้รับการ
บุคลากร พัฒนาทักษะการสอน
และการวิจัย
6)สนับสนุน แล้วเสร็จ สาขาวิชา สามารถดำเนินการตาม
และพัฒนา แผน จำนวนโครงการ
นักศึกษา ทัง้ หมด 5 โครงการ
7) ความ ยังไม่ดำเนินการ สาขาวิชา ยังไม่มีบัณฑิต
ต้องการของ
ตลาดแรงงาน
สังคม และ
หรือความพึง
พอใจของผู้ใช้
บัณฑิต

ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสูตร
1. ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร (จำนวนหน่วยกิต
รายวิชาแกน รายวิชาเลือกฯ)
ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร (จำนวนหน่วยกิต รายวิชา
แกน รายวิชาเลือกฯ)มติที่ประชุม เสนอให้มีการปรับเปลี่ยน
แผนการเรียน ปี ที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 รายวิชา GE 2300-303
อิสลามกับวิทยาศาสตร์ สับเปลี่ยนกับรายวิชา GE2100-201
อิสลามและวิถีการดำเนินชีวิต

2. ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา (การเปลี่ยนแปลง เพิ่มหรือ


ลดเนื้อหาในรายวิชา การเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและการประเมิน
สัมฤทธิผลรายวิชาฯ)
ไม่มีข้อเสนอแนะ

3. กิจกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
ทางสาขาควรส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้แก่บรรดา
คณาจารย์ในหลักสูตรในการเข้าร่วมประชุม สัมมนาด้านวิชาการ
ทัง้ เวทีระดับชาติและนานาชาติ

แผนปฏิบัติการใหม่สำหรับปี 2562

แผน โครงการ วันที่ดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ


ที่
1 โครงการ Jalinan มิ.ย - ก.ค 62 สาขาวิชาการ
Muhibbah Keluarga สอนภาษามลายู
Pendidikan Bahasa
Melayu dan Teknologi
2 โครงการอบรมการผลิตสื่อ ต.ค-พ.ย 62 สาขาวิชาการ
ภาษามลายู สอนภาษามลายู
3 โครงการ Jejak Warisan ธ.ค 62- ม.ค 63 สาขาวิชาการ
Melayu dan Industri สอนภาษามลายู
Kreatif
4 โครงการพัฒนาอาจารย์ ก.ย 62-ม.ค 63 สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายู
5 โครงการ Guruwan bahasa ต.ค 62-มี.ค 63 สาขาวิชาการ
dan Sastra di Sekolah สอนภาษามลายู
1. อาจารย์ประจำหลักสูตร : อาจารย์แอสซูมานี มาโซ

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : ……

23……พฤษภาคม 2562

2. อาจารย์ประจำหลักสูตร : ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว


ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : ……

23……พฤษภาคม 2562

3. อาจารย์ประจำหลักสูตร : อาจารย์นูรณีย์ บูเก๊ะมาตี

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : ……

23……พฤษภาคม 2562

4. อาจารย์ประจำหลักสูตร : อาจารย์อมมุลอุมมะห์ โตะหลง

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : …

23………พฤษภาคม 2562

5. อาจารย์ประจำหลักสูตร : อาจารย์ยะหะยา นิแว

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : …

23………พฤษภาคม 2562
เห็นชอบโดย : อาจารย์แอสซูมานี มาโซ (หัวหน้าสาขาวิชา)

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : ……

23………พฤษภาคม 2562

เห็นชอบโดย : ดร.มะยูตี ดือรามะ (รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกัน

คุณภาพ)

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : ……

23………พฤษภาคม 2562

-------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 1.1-1 จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร (ตามที่เสนอใน มคอ. 2)
ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ ปี ที่
ลำดั ตำแหน่ง
เลขบัตร การ สาขาวิชาเอก สถาบันที่สำเร็จการศึกษา สำเร็
บ วิชาการ
ประชาชน ศึกษา จ
แอสซูมานี อาจารย์ - M.Ed. - Malay Language - UniversitiPendidikan 2548
มาโซ Education Sultan Idris, Malaysia.
1
3-9606-00235- - ศศ.บ. - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2539
35-1 - ภาษามลายู วิทยาเขตปั ตตานี
2 เภาซัน เจ๊ะแว ผู้ช่วย - Ph.D - Malay Language and - Universiti Brunei 2556
3-9411-00083- ศาสตรา Linguistics Darussalam, Brunei
64-9 จารย์ - M.Ed Darussalam. 2547
- - Language Education - State University Of Jakarta, 2546
Diplom - Indonesian for Indonesia.
a Special Purpose - GadjahMada University, 2545
(ISP) Indonesia.
- B.A - Islamic Theology
- Islamic State University Of
SunanKalijaga, Yogyakarta,
Indonesia.
3 นูรณี บูเกะมาตี อาจารย์ - M.Ed -Malay Language - UniversitiPendidikan 2557
3-9501-00492- Education Sultan Idris, Malaysia.
67-0 - B.A - UniversitiPendidikan 2551
- Malay Language Sultan Idris, Malaysia.
Education
4. น า ย ย ะ ห ะ ย า อาจารย์ - MA - Education -UniversitasNegeri
นิแว -BA Management Jogjakarta, Indonesia
- การสอนอิสลามศึกษา - Fatoni University
5. น า ง ส า ว อ ม ม ุ อาจารย์ -MA -Malay Language and -Universiti Brunei
ล อ ม ม ะ ห ์โ ต ะ -BA Linguistics Darussalam
ห ล ง -ภาษามลายู -Fatoni University

ตารางที่ 1.1-2 จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร (ปั จจุบัน-กรณีมีการเปลี่ยนแปลงจาก มคอ. 2)


ลำดั ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ปี ที่
บ เลขบัตร วิชาการ การ สำเร็
ประชาชน ศึกษา จ
แอสซูมานี อาจารย์ - M.Ed. - Malay Language - UniversitiPendidikan 2548
มาโซ Education Sultan Idris, Malaysia.
1
3-9606-00235- - ศศ.บ. - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2539
35-1 - ภาษามลายู วิทยาเขตปั ตตานี
2 เภาซัน เจ๊ะแว ผู้ช่วย - Ph.D - Malay Language and - Universiti Brunei 2556
3-9411-00083- ศาสตรา Linguistics Darussalam, Brunei
64-9 จารย์ - M.Ed Darussalam. 2547
- - Language Education - State University Of Jakarta, 2546
Diplom - Indonesian for Indonesia.
a Special Purpose - GadjahMada University, 2545
(ISP) Indonesia.
- B.A - Islamic Theology
- Islamic State University Of
SunanKalijaga, Yogyakarta,
Indonesia.
3 นูรณี บูเกะมาตี อาจารย์ - M.Ed -Malay Language - UniversitiPendidikan 2557
3-9501-00492- Education Sultan Idris, Malaysia.
67-0 - B.A - UniversitiPendidikan 2551
- Malay Language Sultan Idris, Malaysia.
Education
4. น า ย ย ะ ห ะ ย า อาจารย์ - MA - Education -UniversitasNegeri
นิแว -BA Management Jogjakarta, Indonesia
- การสอนอิสลามศึกษา - Fatoni University
5. น า ง ส า ว อ ม ม ุ อาจารย์ -MA -Malay Language and -Universiti Brunei
ล อ ม ม ะ ห ์โ ต ะ -BA Linguistics Darussalam
หลง -ภาษามลายู -Fatoni University

ตารางที่ 1.2 จำนวนอาจารย์ผู้สอน ที่เป็ นอาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัยฟาฏอนีปีการศึกษา 2561


ที่ ชื่อ – นามสกุล ตำแหน่งวิชาการ คุณวุฒิ
1 จิระพันธ์ เดมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - กศ.ม.
2 ซาฟี อี บารู อาจารย์ - ศษ.ม.
3 อิบรอเฮม หะยีสาอิ อาจารย์ - ศษ.ม.
4 วุฒิศักดิ ์ พิศสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - กศ.ด.
5 จารุวัจน์ สองเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - ศษ.ด
6 มูฮามัสสกรี มันยูนุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - Ph.D.
7 ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - M.Ed.
8 มาหามะรอสลี แมยู อาจารย์ - กศ.ม.
9 ฟาตีฮะห์ จะปะกียา อาจารย์ - M.Ed.
10 อับดุลกอนี เต๊ะมะ อาจารย์ - ศษ.ม.
หมัด
11 มะยูตี ดือรามะ อาจารย์ - Ph.D
12 อิสมาอีล ราโอบ อาจารย์ - Ph.D
13 อดุลย์ ภัยชำนาญ อาจารย์ - ศษ.ม.
14 มุมีน๊ะห์ บูงอตาหยง อาจารย์ - ศศ.ม.
15 อะหมัดซากี มาหะมะ อาจารย์ - ศศ.ม.
16 กูอาเรส ตวันดอเลาะ อาจารย์ - M.A.
17 ซาลีฮะ มูซอ อาจารย์ - M.Ed.
18 รอมลี หะมะ อาจารย์ - Ph.D
19 ฮาสนะ อับดุลกอเดร์ อาจารย์ - M.Ed.
20 สุไรยา จะปะกียา อาจารย์ -Ph.D
สรุปผลการประเมิน และทิศทางการพัฒนา
สรุปผลการประเมิน
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน คะแนน
งาน ประเมิน
เป้ า
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ตัวตัง้ ผลลัพธ์ ของ
หมาย
ตัว (% หรือ หลักสูตร...
หาร สัดส่วน) .....

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับให้เป็ นไปตามมาตรฐาน


ตัวบ่งชี1้ .1 การบริหารจัดการ
หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน ผ่านการประเมิน
หลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ.
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ 3.1 การรับนักศึกษา 4.00

ตัวบ่งชี ้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนา


4.00
นักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.00

เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชี ้ 4.1 การบริหารและพัฒนา
4.00
อาจารย์
ตัวบ่งชี ้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ตัวบ่งชี ้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์
20
ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญา
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน คะแนน
งาน ประเมิน
เป้ า
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ตัวตัง้ ผลลัพธ์ ของ
หมาย
ตัว (% หรือ หลักสูตร...
หาร สัดส่วน) .....

เอก
ตัวบ่งชี ้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์
ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทาง 40

วิชาการ
ตัวบ่งชี ้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของ 20

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ตัวบ่งชี ้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00

เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4
องคประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชี ้ 5.1 สาระของรายวิชาใน
4.00
หลักสูตร
ตัวบ่งชี ้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและ
4.00
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี ้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00

ตัวบ่งชี ้ 5.4 ผลการดำเนินงาน


หลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 5.00

ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน คะแนน
งาน ประเมิน
เป้ า
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ตัวตัง้ ผลลัพธ์ ของ
หมาย
ตัว (% หรือ หลักสูตร...
หาร สัดส่วน) .....

องคประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชี ้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 400

เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6
เฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบ

ตารางที่ 1.5 การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร


ผลการประเมิน
จำน
องค์ คะแน คะแน 0.01–2.00 ระดับคุณภาพน้อย
วน 2.01–3.00 ระดับคุณภาพปาน
ประกอ น I P O น กลาง
ตัว 3.01–4.00 ระดับคุณภาพดี
บที่ ผ่าน เฉลี่ย
บ่งชี ้ 4.01–5.00 ระดับคุณภาพดี
มาก

1 หลักสูตรได้
ผ่านการประเมิน ไม่ผ่านการประเมิน มาตรฐาน
ไม่ได้มาตรฐาน
2 - - - - - -
คะแนนเฉลี่ยของทุกตัว

3 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี


4 3 3.96 3.96 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.0 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
รวม ระดับคุณภาพดีมาก

บ่ง
13 3.98 4.25 0.0 4.08

ใน
ชี ้
ระดับ
ระดับ
ผลการประเมิน คุณภาพดี -
คุณภาพดี
มาก

ทิศทางการพัฒนา
1. รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์
ประกอบที่ 2-6
จุดเด่น
1. หลักสูตรมีแผนการรับนักศึกษาที่ชัดเจน
2. หลักสูตรมีกลุ่มเป้ าหมายของการรับนักศึกษาที่ชัดเจน
3. การคงอยู่ของนักศึกษามีจำนวนสูง
4. อาจารย์มีคุณวุฒิทางการศึกษาตามข้อกำหนดของหลักสูตร
5. อาจารย์มีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการยอมรับในประเทศและ
ต่างประเทศ
6. อาจารย์ในสาขาได้รับโล่เกียรติ จากการตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับ
ชาติและระดับนานาชาติ

โอกาสในการพัฒนา
1. ปั จจุบันยังมีโรงเรียนต่างๆอีกมากที่ต้องการครูที่จบตรงวุฒิการ
ศึกษาด้านการสอนภาษามลายู ทำให้หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของครู
ผู้สอนในโรงเรียนต่างๆ
2. ส่งเสริมการพัฒนาผลงานวิจัยให้อาจารย์ท่านอื่น ๆ ได้ไปต่อย
อดและตีพิมพ์ต่อไป
3. ส่งเสริมการพัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ

2. เป้ าหมายการดำเนินงาน
สาขาวิชา มีประเด็นที่จะต้องดำเนินการเร่งด่วนดังนี ้
ตารางที่ 1.6 เป้ าหมายการดำเนินงานระยะสัน
้ ระยะกลาง และระยะยาว
การดำเนินงานตามแผนระยะยาว 5 ปี ของสาขาวิชาการสอนภาษา
มลายู
พัฒนาวุฒิทางการศึกษา (ศึกษาต่อ)
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี 
มาโซ
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ - - - - -
ะแว (มีคณ
ุ วุฒิ
ปริญญาเอกแล้ว)
นูรณี บูเกะมาตี 
อมมุลอมมะห์ - - - - -
โตะหลง (อายุ
การทำงานยังไม่
ครบเกณฑ์ลา
ศึกษาต่อ)
ยะหะยา นิแว 
พัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี 
มาโซ (ผศ.)
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ 
ะแว (รศ.)
นูรณี บูเกะมาตี 
(ผศ.)

อมมุลอมมะห์ - - - - -
โตะหลง (อายุ
การทำงานยังไม่
ครบ)
ยะหะยา นิแว 
(ผศ.)

พัฒนาความรู้และทักษะทางการบริหารการศึกษา
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี     
มาโซ
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊     
ะแว
นูรณี บูเกะมาตี     

อมมุลอมมะห์ -    
โตะหลง (อายุ
การทำงานยังไม่
ครบ)
ยะหะยา นิแว     

ด้านการวิจัย
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี สำเ สำเ   
มาโซ ร็จ ร็จ

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ ส ำ เ ส ำ เ สำเร็  


ะแว ร็จ ร็จ จ

นูรณี บูเกะมาตี สำเ สำเ สำเร็  


ร็จ ร็จ จ
อมมุลอมมะห์ - -   
โตะหลง
ยะหะยา นิแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ

ด้านการผลิตเอกสารตำราทางวิชาชีพ (เอกสารตำรา เกี่ยวกับสื่อการสอน)


255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี - - สำเร็ - 
มาโซ จ

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ สำเ สำเ สำเร็  


ะแว ร็จ ร็จ จ

นูรณี บูเกะมาตี - -  - 

อมมุลอมมะห์ - -  - 
โตะหลง
ยะหะยา นิแว - -  - 

ด้านการเขียนบทความวิจัย/วิชาการ
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี สำเ สำเ สำเร็  
มาโซ ร็จ ร็จ จ

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ สำเ สำเ สำเร็  


ะแว ร็จ ร็จ จ

นูรณี บูเกะมาตี - สำเ สำเร็  


ร็จ จ
อมมุลอมมะห์ - - สำเร็  
โตะหลง (อายุ จ

การทำงานยังไม่
ครบ)
ยะหะยา นิแว - - -  
สมรรถนะด้านการให้บริการวิชาการทางวิชาชีพ
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี สำเ สำเ สำเร็  
มาโซ ร็จ ร็จ จ

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ ส ำ เ ส ำ เ สำเร็  


ะแว ร็จ ร็จ จ

นูรณี บูเกะมาตี สำเ สำเ สำเร็  


ร็จ ร็จ จ
อมมุลอมมะห์ - สำเ สำเร็  
โตะหลง ร็จ จ

ยะหะยา นิแว สำเ สำเ สำเร็  


ร็จ ร็จ จ

สมรรถนะด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรม
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี สำเ สำเ สำเร็  
มาโซ ร็จ ร็จ จ

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ ส ำ เ ส ำ เ สำเร็  


ะแว ร็จ ร็จ จ

นูรณี บูเกะมาตี สำเ สำเ สำเร็  


ร็จ ร็จ จ
อมมุลอมมะห์ - สำเ สำเร็  
โตะหลง ร็จ จ
ยะหะยา นิแว สำเ สำเ สำเร็  
ร็จ ร็จ จ

You might also like