You are on page 1of 166

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. ข้อมูลทั่วไป

1.1 หลักสูตร
รหัสหลักสูตร 25591371101144
ระดับคุณวุฒิ(ตรี/โท/ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
เอก)
ปี ที่ปรับปรุงครัง้ ล่าสุด -
วันที่สภามหาวิทยาลัยฯ 16 เมษายน 2559
อนุมัติ
วันที่ สกอ.รับทราบ 20 ตุลาคม 2559
สถานที่จัดการเรียนการ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
สอน
(ข้อมูลส่วนนีน
้ ำไปรายงานในองค์ประกอบที่ 1 เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ข้อที่ 11)

1.2 ประวัติความเป็ นมาของหลักสูตร

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เป็ นสถาบันอุดมศึกษาที่มีภารกิจที่สำคัญในการ


ผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศในสาขาวิชาต่างๆให้เป็ นผู้ที่
มีความรู้และทักษะในศาสตร์สาขาวิชาที่ศึกษาที่มีความสัมพันธ์กับความ
ต้องการของสังคม การใช้ชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพในบริบทของ
ชุมชนและสังคมรอบข้าง และมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาตนเอง
และสังคมอย่างต่อเนื่อง สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรม ตลอด

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 1


จนเป็ นประชาคมที่มีค่านิยมใฝ่ สันติของประชาคมอาเซียนและประชาคม
โลกการพัฒนาหลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต (ศษ.บ. 5 ปี )สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายู จึงเป็ นการตอบสนองภาระหน้าที่การผลิตบุคลากรด้าน
การสอนภาษามลายู ส่งเสริมและพัฒนาวิทยาการด้านการสอนภาษา
มลายูแก่สงั คม สนองความต้องการของสังคม และสนองตอบกับนโยบาย
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ตลอดจนสถานการณ์
เปลี่ยนแปลงของประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก

ด้วยเหตุผลดังกล่าว ปี การศึกษา 2558 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยา


ลัยฟาฏอนีได้ดำเนินการเสนอหลักสูตรการสอนภาษามลายูผ่าน
กระบวนการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร โดยสำนักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษาได้รับทราบการให้ความเห็นชอบหลักสูตรนีแ
้ ล้ว เมื่อวันที่ 20
ตุลาคม 2559 และได้รับการรับรองจากคุรุสภา ปี 2559 เป็ นปี แรกที่มี
การรับนักศึกษาและปี 2560 เป็ นปี ที่สอง ขณะนีม
้ ีนักศึกษาทัง้ หมด 45
คน

1.3. ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินคุณภาพ
การศึกษาปี ที่ผ่านมา
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การดำเนินงาน/ผลการปรับปรุงตาม
ข้อเสนอแนะ
ให้มีอาจารย์เจ้าของภาษา -มีศาสตราจารย์อาคันตุกะจาก
Universiti Pendidikan Sultan Idris

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 2


Malaysia มาบรรยาย
-มีการแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม
ร่วมกับอาจารย์และนักศึกษาจาก
Universitas Muhammadiyah
Surakarta Indonesia
มีการรักษาและใช้ภาษามลายูกลาง มีการใช้ภาษามลายูกลางในการเรียน
การสอน
อยากให้เพิ่มหนังสือภาษามลายูให้ สาขาวิชาได้รับงบประมาณจากสำนัก
เพียงพอ วิทยบริการเพื่อซื้อภาษามลายูหนังสือ
ให้กับสำนัก
ควรให้สาขาวิชาเป็ นจุดแข็งของ ประชาสัมพันธ์ให้หลักสูตรให้เป็ นที่
ภูมิภาคให้ได้ โดยกระจายนักศึกษา รู้จักนอกเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้
ให้กว้างที่สุด ปรากฏว่ามีนักศึกษาจากจังหวัดสตูล
และนครศรีธรรมราชเพิ่มขึน

การเขียนรายงานทีซ้ำซ้อน ปรับปรุงการเขียนรายงานไม่ให้ซ้ำซ้อน
และเขียนให้เป็ นรูปธรรมมากขึน

2.อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร (ชุดที่ระบุใน มคอ.2)
ลำดั ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง คุณวุฒิ-สาขาวิชา หมายเหตุ
บ วิชาการ
1. นางสาวแอสซูมานี อาจารย์ -Malay Language
มาโซ     Education
-ภาษามลายู

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 3


2. ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ ผ ู้ช ่ว ย -Malay Language
ะแว ศาสตราจาร and Linguistics
ย์ -Language
Education
-Indonesian for
Special Purpose
(ISP)
-Islamic Theology
3. นายอับดุลรามันห์ อาจารย์ - Malay Language ไ ด ้ถ ึง แ ก ่
โตะหลง Education ก ร ร ม จ ึง
- Psychology ทำให้ต ้อ งมี
ก า ร ป ร ับ
เ ป ล ี่ย น
ทดแทน
4. นางสาวนูรณี บูเกะ อาจารย์ -Malay Language
มาตี Education
- Malay Language
Education
5. นายยะหะยา นิแว อาจารย์ - Education
Management
- การสอนอิสลาม
ศึกษา
- อุศูลุดดีน

2.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร (ชุดปั จจุบัน)


มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 4
ลำดั ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง คุณวุฒิ-สาขาวิชา หมายเหตุ
บ วิชาการ
1. นางสาวแอสซูมานี อาจารย์ -Malay
มาโซ     Language
Education
-ศ ิล ป ะ ศ า ส ต ร ์
บ ัณ ฑ ิต ภ า ษ า
มลายู
2. ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ ผ ู้ช ่ว ย -Malay
ะแว ศาสตราจารย์ Language and
Linguistics
-Language
Education
-Indonesian for
Special Purpose
(ISP)
-Islamic
Theology
3. นางสาวนูร ณี บูเ กะ อาจารย์ -Malay
มาตี Language
Education
-Malay
Language
Education
4. นายยะหะยา นิแว อาจารย์ - Education
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 5
Management
- การสอนอิสลาม
ศึกษา
- อุศูลุดดีน
5. น า ง ส า ว อ ม ม ุล อ ม อาจารย์ -ภ า ษ า ม ล า ย ู ส ภ า

มะห์ โตะหลง -Malay มหาวิทยาลั


ย ไ ด ้อ น ุม ัต ิ
Language and
ก า ร
Linguistics
ป ร ับ ป ร ุง
แก้ไ ขครัง้ นี ้
แ ล ้ว ใ น
ค ร า ว
ประชุม ครัง้
ท ี่ 64
(2/2017)
เ ม ่อ
ื ว ัน ท ี่
19
พฤศจิกายน
พ.ศ. 2560

หมายเหตุ : กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนอาจารย์ประจำ
หลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตรลาออก/ ให้อธิบายไว้ในหมายเหตุเพิ่ม
เติม และให้ระบุวันที่ได้รับอนุมัติปรับปรุงรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร
ให้เป็ นปั จจุบันจากสภามหาวิทยาลัย
2.3 อาจาย์ผู้สอน
อาจารย์ผู้สอน (อาจารย์ประจำภายในสถาบัน)
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 6
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิระ 11. อาจารย์อับดุลกอนี เต๊ะ
พันธ์ เดมะ มะหมัด
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิ 12. อาจารย์ฟาตีฮะห์ จะปะ
ศักดิ ์ พิศสุวรรณ กียา
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จารุ 13. อาจารย์อดุลย์ ภัย
วัจน์ สองเมือง ชำนาญ
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ซอลี 14. อาจารย์มุมีนะห์ บูงอตา
ฮะห์ หะยีสะมะแอ หยง
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มูฮามั 15. อาจารย์อะหมัดซากี มา
สสกรี มันยูนุ หะมะ
6. ดร. อิสมาอีล ราโอบ 16. อาจารย์กูอาเรส ตวันดอ
เลาะ
7. อาจารย์ซาฟี อี บารู 17. อาจารย์ซาลีฮะ มูซอ
8. อาจารย์อิบรอเฮม หะยี 18. อาจารย์รอมลี หะมะ
สาอิ
9. อาจารย์มาหามะรอสลี 19. อาจารย์ฮาสนะ อับดุล
แมยู กอเดร์   
10. อาจารย์มะยูตี ดือ
รามะ

อาจาย์พิเศษ
ไม่มี

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 7


3.การกำกับให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
(องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ 1.1 การบริหารจัดการ
หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ.)

ผลการ
เกณฑ์การ พิจารณา หลักฐาน/
ผลการดำเนินงาน
ประเมิน ครบ ไม่ ตารางอ้างอิง
ครบ
๑ .จ ำ น ว น หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขา  1.1-01 คำสั่ง
อ า จ า ร ย ์ วิชาการสอนภาษามลายู ได้มีการแต่ง แต่งตัง้
ป ร ะ จ ำ ตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน อาจารย์
หลักสูตร ๕ ท่าน (1.1-1) เมื่อคราวร่าง ประจำ
หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๙ และเป็ น หลักสูตร
อาจารย์ประจำหลักสูตรเดียว โดยปี 1.1-02
การศึกษา ๒๕๖๐ สาขาวิชาการสอน สมอ.08
ภาษามลายูมีการเปลี่ยนแปลง
อาจารย์ประจำหลักสูตรหนึ่งท่าน คือ
เปลี่ยนจากอาจารย์อับดุลราห์มัน
โตะหลง เป็ นอาจารย์อมมุลอมมะห์
โตะหลง เนื่องจากอาจารย์อับดุลราห์
มัน โตะหลงเสียชีวิต
ชื่อ- คุณวุฒิ สาขา สถาบันที่ ปี ที่
สกุล การ วิชาที่ สำเร็จการ สำเ
ศึกษา สำเร็จ ศึกษา ร็จ
(ทุก การ การ
ระดับ) ศึกษา ศึก
ษา
เภา -Ph.D -Malay - Universiti 201

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 8


ผลการ
เกณฑ์การ พิจารณา หลักฐาน/
ผลการดำเนินงาน
ประเมิน ครบ ไม่ ตารางอ้างอิง
ครบ
ซัน Langua Brunei 3
เจ๊ะแว ge and Darussalam,
Linguisti Brunei
-M.Ed cs Darussalam.
- - State 200
Langua University 4
- ge Of Jakarta,
Diplo Educati Indonesia.
ma on - Gadjah 200
Mada 3
- University,
Indones Indonesia.
-B.A ian for
Special - Islamic 200
Purpos State 2
e (ISP) University
-Islamic Of Sunan
Theolo Kalijaga,
gy
Yogyakarta,
Indonesia.
แอสซู -M.Ed. -Malay - Universiti 200
มานี Langua Pendidikan 5
มาโซ ge Sultan Idris,
Educati Malaysia
-ศศ.บ. on
-มหาวิทยาลัย 254
-ภาษา สงขลา 0
มลายู นครินทร์
วิทยาเขต
ปั ตตานี
นูรณี -M.Ed -Malay - Universiti 201
บูเกะ Langua Pendidikan 4

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 9


ผลการ
เกณฑ์การ พิจารณา หลักฐาน/
ผลการดำเนินงาน
ประเมิน ครบ ไม่ ตารางอ้างอิง
ครบ
มาตี ge Sultan Idris, 200
-B.Ed. Educati Malaysia 8
on - Universiti
- Malay Pendidikan
Langua Sultan Idris,
ge Malaysia
Educati
on

อมมุ -ศศ.บ. ภาษา มหาวิทยาลัย 255


ลอม -M.A มลายู ฟาฏอนี 7
มะห์ -Malay - Universiti 255
โตะ Langua Brunei 9
หลง ge and Darussalam
Linguisti
cs
ยะหะ M.Ed - - Stage 201
ยา ป.บัณ Educati Yogyakarta 2
นิแว ฑิต on University, 254
ศศ.บ Manage Yogyakarta, 7
ment Indonesia. 254
- การ - วิทยาลัย 6
สอน อิสลามยะลา
อิสลาม - วิทยาลัย
ศึกษา อิสลามยะลา
- อุศูลุด
ดีน

๒. คุณสมบัติ สาขาวิชากำหนดคุณสมบัติของ  1.1-03


ของอาจารย์ อาจารย์ประจำหลักสูตรเป็ นไปตาม ตารางราย
ป ร ะ จ ำ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรกำหนดโดย ละเอียด
หลักสูตร สกอ. มีคณ
ุ วุฒิไม่ต่ำกว่าระดับ คุณวุฒิของ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 10
ผลการ
เกณฑ์การ พิจารณา หลักฐาน/
ผลการดำเนินงาน
ประเมิน ครบ ไม่ ตารางอ้างอิง
ครบ
ปริญญาโท และตรงกับสาขาวิชาของ อาจารย์
หลักสูตร (1.1-02) ประจำ
หลักสูตร
๑ ๑ .ก า ร ไม่ขอประเมินเนื่องจากเป็ นหลักสูตร
ป ร ับ ป ร ุง ใหม่ 2559 และเริ่มเปิ ดการเรียนการ
ห ล ัก ส ูต ร สอนในปี การศึกษาแรก (1/2559)
ตามรอบ
ระยะเวลาที่
กำหนด
๑๒.การ หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิตสาขา 
ดำเนินงาน วิชาการสอนภาษามลายูมีการดำเนิน
ให้เป็ นไป งานหลักสูตรเป็ นไปตามเกณฑ์การ
ตามตัวบ่งชี ้ ประกันคุณภาพและจัดการเรียนการ
ผลการ สอนตามกรอบ TQF ครบทัง้ 9 ข้อ
ดำเนินงาน
เพื่อการ
ประกัน
คุณภาพ
หลักสูตร
และการ
เรียนการ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 11
ผลการ
เกณฑ์การ พิจารณา หลักฐาน/
ผลการดำเนินงาน
ประเมิน ครบ ไม่ ตารางอ้างอิง
ครบ
สอนตาม
กรอบ
มาตรฐาน
คุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษา
แห่งชาติ

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 : การกำกับมาตรฐาน

ตัวบ่ง เป้ า ผลการ ผลการประเมิน


ชี ้ หมาย ดำเนินงาน
 ผ่าน  หลักสูตรได้มาตรฐาน
1.1 ผ่าน
 ไม่ผ่าน  หลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 1
จุดเด่น
1. จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรครบตามเกณฑ์ที่ สกอ.กำหนด
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตรและ
อาจารย์ผู้สอนมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ.และคุรุสภากำหนด
3. หลักสูตรมีการบูรณาการอิสลามและอาเซียนซึ่งตอบสนองความ
ต้องการของคนในพื้นที่
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 12
4. หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของสังคมเนื่องจากการขาดแคลนครูที่
จบตรงวุฒิด้านสาขาการสอนภาษามลายู

โอกาสในการพัฒนา
1. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีโอกาสที่จะพัฒนาคุณวุฒิด้านสาขา
วิชาในระดับที่สูงขึน

2. สาขามีโอกาสพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของคนในพื้นที่และสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงในอาเซียน
3. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีโอกาสที่จะได้รับการพัฒนาทาง
วิชาการในบริบทที่กว้างขึน
้ เพื่อการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการ
สอน การประเมินผล และการสร้างผลงานทางวิชาการในระดับอาเซียน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 13


หมวดที่ 2 อาจารย์
อธิบายผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชีต
้ ่อไปนี ้
การบริหารอาจารย์
2.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
(องค์ประกอบที่ 4 การบริหารอาจารย์ ตัวบ่งชี ้ 4.1 การบริหารและ
พัฒนาอาจารย์)
หมายเหตุ** การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ให้หมายถึง อาจารย์ประจำ
หลักสูตรเท่านัน

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงาน) หลักฐาน
1. ร ระบบการรับและแต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร
ะบบ ระบบและกลไกการรับอาจารย์ประจำ

การรับ
และ
แต่งตัง้
อาจาร
ย์
ประจำ
หลักสู
ตร
ระบบและกลไกการแต่งตัง้ อาจารย์ประจำ
ผลการดำเนินงาน
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอน
ภาษามลายู มีระบบการรับอาจารย์ประจำหลักสูตรมี
ระบบและกลไกดังนี ้
1. สำรวจ/วิเคราะห์จำนวนอาจารย์ว่าครอบคลุมภาระ
งานการสอน
2. จัดทำแผนกรอบอัตรากำลังเพื่อขอรับอาจารย์เพิ่ม
3. กำหนดคุณสมบัติและคุณวุฒิของผู้สมัครเป็ น
อาจารย์สาขาวิชาภาษามลายูและหลักเกณฑ์การสอคัด
เลือก
4. ทำบันทึกเสนอต่ออธิการบดีเพื่อขออนุมัติอัตรา
กำลังอาจารย์ใหม่
5. เมื่อได้รับอนุมัติจากอธิการบดีแล้วจะดำเนินเรื่องส่ง
ต่อไปยังฝ่ ายกองการเจ้าหน้าที่ให้ออกประกาศรับ
สมัครคัดเลือกเพื่อจ้างบุคคลเป็ นอาจารย์ประจำ
หลักสูตร สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี
6. ผู้สนใจที่มีคุณวุฒิดังกล่าวกรอกใบสมัครและแนบ
หลักฐานการศึกษาและประสบการณ์การสอน(ถ้ามี)
และคะแนนทดสอบความสามารถภาษามลายูตาม
เกณฑ์ทีกำหนดไว้ของมหาวิทยาลัยมายื่นเสนอ (ถ้ามี)
7. กองการเจ้าหน้าที่ประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อจ้าง
บุคคลเป็ นบุคลากรในมหาวิทยาลัยฟาฏอนีทางเว็บไซต์
ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนีร้ ะบุในประกาศ
 ตำแหน่งและอัตราเงินเดือนที่จัดจ้าง
 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครคัดเลือก
 การรับสมัครที่ระบุวันเวลาและสถานที่รับสมัคร
เอกสารหลักฐานที่จะต้องนำไปยื่นในการสมัคร
 ค่าธรรมเนียมการสมัคร
 เงื่อนไขในการรับสมัครคัดเลือก
 หลักเกณฑ์และวิธีคัดเลือก
 การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าคัดเลือก
 เกณฑ์การตัดสิน
 การประกาศรายชื่อและการขึน
้ บัญชีรายชื่อผู้ที่
ผ่านการคัดเลือก
 การจัดจ้าง
8. กองการเจ้าหน้าที่จะนัดหมายวันรายงานตัวกับ
อาจารย์ผู้ผ่านการสอบมาพบเพื่อเซ็นสัญญาและเริ่ม
ปฏิบัติงานในวันที่รายงานตัวซึ่งมีเวลาปฏิบัติทดลอง
งานเป็ นระยะเวลา 6 เดือนและหลังจากผ่านการ
ทดลองงานก็จะมีการเซ็นสัญญาการจ้างเพื่อเป็ น
อาจารย์ประจำโดยจะมีการต่อสัญญาเป็ นระยะตามที่
มหาวิทยาลัยกำหนด
9. ประธานหลักสูตรจะมอบหมายภาระงานการสอน
และงานอื่นๆตามที่เห็นสมควรให้

ในปี การศึกษา 2560 สาขาวิชาการสอนภาษามลายู


มีก ารบรรจุอ าจารย์ป ระจำหลัก สูต รใหม่ 1 ท่า น คือ
นางสาวอมมุล อมมะห์ โตะหลง เมื่อ เดือ นธัน วาคม
2560 ในภาคการศึกษาที่2 เพื่อเข้ามาแทนที่ อาจารย์
อับดุลรามันห์ โตะหลง ที่ได้เสียชีวิต โดยได้ดำเนินการ
ตามขัน
้ ตอนดังนี ้
-สาขาวิช าได้ป ระชุม กำหนดคุณ สมบัต ิอ าจารย์ใ หม่
โดยต้อ งมีว ุฒ ิก ารศึก ษาปริญ ญาโท หรือ ปริญ ญาเอก
ด้านภาษาศาสตร์มลายู หรือ การสอนภาษามลายู
-สาขาวิช าได้เ สนอมติค ณ
ุ สมบัต ิอ าจารย์ใ หม่เ ข้า
พิจารณาในการประชุมคณะกรรมการบริหารคณะ โดย
มีมติที่ประชุมให้รับอาจารย์ใหม่โดยใช้วิธีการสรรหา
-คณะได้เสนอมติการรับอาจารย์ใหม่เข้าที่ประชุมคณ
กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
-คณะมีก ารแต่ง ตัง้ คณะกรรมการสรรหาเพื่อ แต่ง ตัง้
อ าจ าร ย์ป ระ จ ำ ห ล ัก ส ูต ร โ ดยค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ไ ด ้
พิจ ารณาคุณ สมบัต ิ พบว่า นางสาวอมมุล อมมะห์ม ี
คุณ สมบัต ิถ ูก ต้อ ง หลัง จากนัน
้ ได้ด ำเนิน การสอบ
สัมภาษณ์ และสอบสอน
-คณะได้ส ง่ ผลการคัด เลือ กอาจารย์ใ หม่ส ่ง ไปยัง กอง
การเจ้าหน้าที่เพื่อทำการบรรจุแต่งตัง้ อาจารย์ประจำ
หลักสูตร
2. ร
ะบบ
การ
บริหา

อาจาร
ย์

ผลการดำเนินงาน
ในการบริหารหลักสูตรจะมีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร หัวหน้าสาขาวิชา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรรับผิดชอบ โดยมีคณบดีเป็ นผูก
้ ำกับดูแล และ
คอยให้คำแนะนำ ตลอดจนกำหนดนโยบายปฏิบัติให้
แก่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สาขาวิชาการสอนภาษามลายูใช้การประชุมเป็ นกลไก
ในการบริหารงาน เพื่อให้เกิดการทำงานที่มีการ
วางแผนและติดตามการดำเนินการหลักสูตรในเรื่องต่อ
ไปนี ้
-มีการกำหนดผู้สอนตามความรู้ความสามารถและ
ภาระงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรดังนี ้
1. อาจาย์แอสซูมานี มาโซ ประธานหลักสูตรมีภาระ
งานสอน ภาคการศึกษาที่ 1/2560 12 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ ภาคการศึกษาที่ 2/2560 9 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์
2.ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว อาจารย์ประจำหลักสูตรมี
ภาระงานสอน ภาคการศึกษาที่ 1/2560 6 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ ภาคการศึกษาที่ 2/2560 6 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์
3. อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี อาจารย์ประจำหลักสูตรมี
ภาระงานสอน ภาคการศึกษาที่ 1/2560 14 ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์ ภาคการศึกษาที่ 2/2560 8 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์
4.อาจารย์ ยะหะยา นิแว อาจารย์ประจำหลักสูตรมี
ภาระงานสอน ภาคการศึกษาที่ 1/2560 16 ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์ ภาคการศึกษาที่ 2/2560 6 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์
5.อาจารย์อมมุลอมมะห์ โตะหลง อาจารย์ประจำ
หลักสูตรมีภาระงานสอน ภาคการศึกษาที่ 2/2560 8
ชั่วโมงต่อสัปดาห์

-จัดทำรายละเอียดของรายวิชาตามแบบ มคอ.3 ก่อน


เปิ ดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษาตาม
กำหนดเวลา
-มีการรายงานผลการดำเนินการรายวิชาตามแบบม
คอ.5 และส่งให้แก่สาขาวิชาภายใน 30 วัน หลังสิน
้ สุด
ภาคการศึกษาทุกรายวิชา โดยมีผู้รับผิดชอบหลักสูตร
เป็ นผู้ประสานงาน และรวบรวมเสนอต่อสาขา
วิชา/คณะ
-รายงานผลการดำเนินการหลักสูตรตามแบบม
คอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิน
้ สุดปี การศึกษา
-มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การ
สอน และการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการ
ประเมินการดำเนินงานที่ผ่านมา
-มีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน
มาตรฐานคุณวุฒิ

สาขาวิชามีการประเมินกระบวนการระบบการบริหาร
อาจารย์ ด้วยการประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน
เพื่อให้มีการกำกับติดตามทบทวนและประเมินผลการ
ดำเนินงานของหลักสูตรส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ของ
อาจารย์ประจำหลักสูตรปฏิบัติหน้าที่ตามภาระงานที่
ได้วางแผนเอาไว้

3.ระบบ
การส่ง ระบบและกลไก

เสริม
และ
พัฒนา
อาจารย์
ผลการดำเนินงาน
สาขาวิชาได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาอาจารย์ และ
ได้ดำเนินการามระบบและกลไกที่วางไว้ ดังนี ้
แผนพัฒนาอาจารย์ระยะยาว 5 ปี
มีการประชุมหลักสูตรการสอนภาษามลายูโดยมี
อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
กำหนดแนวทางแผนพัฒนาอาจารย์ระยะยาว 5 ปี
(2559-2563) (2.1-04 )โดยมีนโยบายและวางแผน
การส่งเสริมอาจารย์ประจำได้มีการพัฒนาในด้าน
คุณวุฒิปริญญาเอกตำแหน่งทางวิชาการและการเผย
แพร่ผลงานทางวิชาการในปี การศึกษา 2560 อาจารย์
ดร.เภาซัน เจ๊ะแว ได้ตำแหน่งทางวิชาการเป็ น
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว เป็ นไปตามแผนที่วางไว้
การดำเนินงานตามแผนระยะยาว 5 ปี ของสาขา
วิชาการสอนภาษามลายู
พัฒนาวุฒิทางการศึกษา (ศึกษาต่อ)
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ 
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว - - - - -
(มีคุณวุฒิปริญญาเอก
แล้ว)
นูรณี บูเกะมาตี 
อมมุลอมมะห์ โตะ - - - - -
หลง (อายุการทำงาน
ยังไม่ครบเกณฑ์ลา
ศึกษาต่อ)
ยะหะยา นิแว 

พัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ 
(ผศ.)

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว 
(รศ.)

นูรณี บูเกะมาตี (ผศ.) 

อมมุลอมมะห์ โตะ - - - - -
หลง (อายุการทำงาน
ยังไม่ครบ)
ยะหะยา นิแว (ผศ.) 

พัฒนาความรู้และทักษะทางการบริหารการศึกษา
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ     

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว     

นูรณี บูเกะมาตี     

อมมุลอมมะห์ โตะ -    
หลง (อายุการทำงาน
ยังไม่ครบ)
ยะหะยา นิแว     

ด้านการวิจัย
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
นูรณี บูเกะมาตี สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
อมมุลอมมะห์ โตะ - -   
หลง
ยะหะยา นิแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ

ด้านการผลิตเอกสารตำราทางวิชาชีพ (เอกสารตำรา เกีย


่ ว
กับสื่อการสอน)
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ - -  - 

ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว สำเ สำเ  - 


ร็จ ร็จ
นูรณี บูเกะมาตี - -  - 

อมมุลอมมะห์ โตะ - -  - 
หลง

ยะหะยา นิแว - -  - 

ด้านการเขียนบทความวิจัย/วิชาการ
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
นูรณี บูเกะมาตี - สำเ   
ร็จ
อมมุลอมมะห์ โตะ - -   
หลง (อายุการทำงาน
ยังไม่ครบ)

ยะหะยา นิแว - -   

สมรรถนะด้านการให้บริการวิชาการทางวิชาชีพ
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
นูรณี บูเกะมาตี สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
อมมุลอมมะห์ โตะ - สำเ   
หลง
ร็จ
ยะหะยา นิแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ

สมรรถนะด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรม
255 256 256 256 256
9 0 1 2 3
แอสซูมานี มาโซ สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
นูรณี บูเกะมาตี สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ
อมมุลอมมะห์ โตะ - สำเ   
หลง ร็จ
ยะหะยา นิแว สำเ สำเ   
ร็จ ร็จ

แผนพัฒนาอาจารย์ประจำปี
โดยในปี การศึกษา 2560สาขาวิชาได้มีการจัดทำแผน
ปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 2560 โดยจัดสรรงบ
ประมาณเพื่อพัฒนาอาจารย์ภายใต้โครงการ“โครงการ
พัฒนาอาจารย์สาขาวิชาการสอนภาษามลายู”เพื่อ
จัดกิจกรรมดังนี(้ 2.1-05)
 กิจกรรมบริการวิชาการสาขาการสอนภาษา
มลายู
 กิจกรรมพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้
 กิจกรรมพัฒนาทักษะการวิจัยและการนำเสนอ
ผลงานทางวิชาการ

การดำเนินการตามแผนรายปี
จากการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ทำให้อาจารย์สาขา
วิชาการสอนภาษามลายูสามารถมีผลงานดังนี ้

การบริการวิชาการ
ในปี การศึกษา 2560 อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสอน
ภาษามลายู ได้ให้บริการวิชาการทางวิชาชีพแก่ชุมชน
ภายใต้โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี “โครงกา
รพัฒนาอาจารย์สาขาวิชาการสอนภาษามลายู”
กิจกรรมที่1 “Bengkel Seni Deklamasi Puisi”โดย
อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสอนภาษามลายู ร่วมกับ
นักกวีอิสระจากประเทศมาเลเซีย เป็ นการให้บริการ
วิชาการ ทักษะการสอนภาษามลายูโดยใช้บทกวีเป็ น
สื่อ แก่ครูสอนภาษามลายูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม
กิจกรรมที่2 คือ โครงการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนโดยบูรณาการวัฒนธรรมท้องถิ่นชายแดนใต้
โดยอาจารย์ประจำสาขาวิชากาสอนภาษามลายูร่วม
กับนักศึกษาในสาขา ได้จัดกิจกรรมหนูน้อยนัก
แสดง(Puisidra) ณ โรงเรียนตลาดปรีกี และโรงเรียน
บ้านต้นทุเรียน ตัง้ แต่ 19 พฤษภาคม 2560-29
กันยายน 2560 ทุกวันศุกร์ในชั่วโมงกิจกรรมลดเวลา
เรียนเพิ่มเวลารู้ โดยได้รับงบประมาณจากสำนักงาน
คณะกรรมการอุดมศึกษาร่วมกับสำนักงานคุรุสภา
(2.1-06)
อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี ร่วมกับนักศึกษาเป็ นพี่
เลีย
้ ง โครงการ “วันภาษามลายู” ร่วมกับโรงเรียน
อนุบาลมุสลิมสตูล เมื่อ 27 กรกฎาคม 2560 (2.1-07)
อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี ได้มส
ี ่วนร่วมในการจัดทำ
แบบเรียนและแบบฝึ กทักษะภาษามลายูอัขระญาวีระ
ดับประถมศึกษา ร่วมกับโรงเรียนกาลามุลลอฮฺ
อ.ยะหริ่ง จ.ปั ตตานี เมื่อ 16-18 พฤษภาคม
2560(2.1-08)

การอบรม
สำหรับกิจกรรมพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาทักษะการวิจัยและการนำเสนอผลงาน
ทางวิชาการ อาจารย์ได้รับการพัฒนาตนเองตามที่
วางแผนไว้สามารถสรุปได้ดังนี ้

กิจกรรม
ที่จัดหรือ ผู้เข้าร่วม
เข้าร่วม
โครงการ อาจารย์แอสซูมานี -กิจกรรมนีผ
้ ู้เข้าร่วม
บริหาร มาโซ     จะได้รับความรู้และ
หลักสูตร ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ตาม อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี หลักเกณฑ์และวิธีการ
กรอบ อาจารย์ยะหะยา นิแว พิจารณาแต่งตัง้ บุคคล
มาตรฐาน ให้ดำรงตำแหน่งทาง
คุณวุฒิ วิชาการ
ระดับ -อาจารย์มีการแลก
อุดมศึกษ เปลี่ยนความคิดเห็น
าสูค
่ วาม ด้าน
เข้มแข็ง การเรียนการสอนที่มี
-กิจกรรม คุณภาพ
เกณฑ์
การขอ
ตำแหน่ง
ทาง
วิชาการ
-กิจกรรม
แลก
เปลี่ยน
เพื่อเสริม
สร้างการ
บริหาร
หลักสูตร
โครงการ อาจารย์อมมุลอมมะห์ อบรมนีเ้ กี่ยวกับภาระ
ปฐมนิเท โตะหลง งานของอาจารย์
ศอาจารย์ อาจารย์ใหม่จะได้รับ
ทราบและทำความ
เข้าใจและตระหนักถึง
บทบาทหน้าที่ของ
อาจารย์ รวมถึงภาระ
งาน ความรับผิดชอบ
ของอาจารย์ จรรยา
บรรณวิชาชีพ และ
เส้น
ทางความก้าวหน้าใน
อาชีพ จนสามารถ
พัฒนามหาวิทยาลัย
ไปสู่เป้ าหมายตลอด
จน
มีทัศนคติที่ดีและผูก
พันธ์กับมหาวิทยาลัย
โครงการ อาจารย์แอสซูมานี กิจกรรมนีม
้ ีท่านรอง
พัฒนา มาโซ     คณะบดีฝ่ายวิชาการ
อาจารย์ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว เป็ นผู้บรรยาย เกี่ยว
ด้าน อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี กับการวัดและ
ภาษา อาจารย์ยะหะยา นิแว ประเมิน
การเรียน ผล และการสร้าง
การสอน ข้อสอบให้ครอบคลุม
และการ ผล
วัด การเรียนรู้ที่กำหนด
ประเมิน ใน มคอ.3
ผล อาจารย์ผู้เข้าร่วม
-การสร้าง กิจกรรมนีจ
้ ะต้องนำ
ข้อสอบ ข้อสอบและมคอ. 3
ให้ เข้ามาเพื่อ
ครอบคลุ วิเคราะห์ข้อสอบให้
มผลการ ตรงกับจุดประสงค์
เรียนรู้ที่ กับมคอ. 3
กำหนด
ใน มคอ.3
-การ อาจารย์แอสซูมานี อบรมการเรียนการ
จัดการ มาโซ     จัดการเรียนการสอน
เรียนรู้ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว ที่
แบบบูรณ อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี พัฒนาทักษะการคิด
าการด้วย อาจารย์ยะหะยา นิแว โดยใช้ Hikmah
Hikmah อาจารย์อมมุลอมมะห์ Model จากวิทยากร
Model โตะหลง ผู้มีประสบการณ์
จากมหาวิทยาลัย
อิสลามนานาชาติ
ประเทศมาเลเซีย
Hikmah
Model เป็ นโมเดลที่
สร้าง
แรงจูงใจให้นักศึกษา
ทำงานอย่างเป็ นกลุ่ม
และเป็ นโมเดลที่ใช้
ในการเรียนการสอน
ทักษะการคิดที่ได้รับ
ความนิยมของ
ประเทศมาเลเซีย
-ICT อาจารย์แอสซูมานี การอบรมเกี่ยวกับ
Based มาโซ     การวัดผลออนไลน์
Learning ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว จาก
: วัดผล อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี วิทยากร ดร.อิสมา
ออนไลน์ อาจารย์ยะหะยา นิแว แอล ราโอบ ผู้อำนวย
อาจารย์อมมุลอมมะห์ การสำนักวิจัย
โตะหลง ประโยนช์ที่ได้รับ
จากการอบรมครัง้ นี ้
อาจารย์สามารถ
สร้างแบบทดสอบการ
เรียนการสอนโดยใช้
โปรแกรม plickers,
google forms,
kahoot
โครงการ อาจารย์แอสซูมานี การอบรมเกี่ยวกับ
คลินิก มาโซ     การเขียนข้อเสนอ
วิจัย ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว โครงการวิจัยให้ถูกใจ
-การ อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี แหล่งทุน โดย
เขียนข้อ อาจารย์ยะหะยา นิแว ผศ.สะสือรี วาลี
เสนอ อาจารย์อมมุลอมมะห์ การเข้าร่วมการ
โครงการ โตะหลง อบรมครัง้ นีท
้ ำให้อา
วิจัยให้ จารย์ได้รับประโยชน์
ถูกใจ อย่างมากมาย
แหล่งทุน อาทิเช่น การตัง้ ชื่อ
-นำเสนอ หัวข้อวิจัยให้เด่น
วิจัยในชัน
้ ไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อ่ ืน
เรียน ชื่อปั ญหาที่กะทัดรัด
ต้องสัมพันธ์กับ
ตัวแปรของปั ญหา
นัน
้ ๆ
ในด้านของภาษานัน

ต้องชัดเจน
และรู้ถึงสถานการณ์
ปั จจุบัน
แหล่งทุนจาก
สกว. วช. สสส. ศจย.
สกอ. สกสค. เป็ นต้น

สาขาวิชามีการประชุมเพื่อประเมินกระบานการ
ส่งเสริมพัฒนาอาจารย์พบว่าอาจารย์มีปัญหาด้านการ
สื่อสารและเรื่องเวลา จึงมีการแก้ปัญหาโดยมีการ
ประชาสัมพันธ์ทุกครัง้ ที่มีการจัดกิจกรรมพัฒนา
อาจารย์โดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์
มีการแนะนำ ส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการ
พัฒนาตนเองให้มค
ี วามรู้ความสามารถ สำรับอาจารย์
ที่มีประสบการณ์และคุณวุฒิพร้อมสามารถพัฒนาไปสู่
การเป็ นวิทยากร ผู้หรือผู้ทรงคุณวุฒิต่อไป
บทความวิชาการ
อ.แอสซูมานี มาโซ
Syiekh Ismail Lutfi บทความวิจัยหรือ
Chapakiya Ulama บทความวิชาการฉบับ
Terkemuka Patani สมบูรณ์ที่ตพ
ี ิมพ์ใน
Berperanan รายงานสืบเนื่องจาก
Memperkukuhkan การประชุมวิชาการ
Bahasa Melayu ระดับนานาชาติ หรือ
Tulisan Jawi di ในวารสารวิชาการ
Seluruh Nusantara ระดับชาติที่มีอยู่ในฐาน
ข้อมูล ตามประกาศ
Proceedings SelPTI ก.พ.อ. หรือระบเบียบ
2017 , Fatoni คณะกรรมการการ
University 2.1-13 อุดมศึกษาว่าด้วย หลัก
เกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพร่ผล
งานทางวิชาการ
พ.ศ.2556 ; 0.4
Pendidikan บทความวิจัยหรือ
Bersepadu dalam บทความวิชาการฉบับ
Membina สมบูรณ์ที่ตพ
ี ิมพ์ใน
Mahasiswa Jabatan รายงานสืบเนื่องจาก
Pendidikan Bahasa การประชุมวิชาการ
Melayu , UFT ระดับชาติ; 0.2
2.1-14
Proceedings การ
ประชุมวิชาการระดับ
ชาติ ครัง้ ที่ 6 มหาวิ
ทยาลัยฟาฏอนี

ผศ.ดร.เภาซันเจ๊ะแว
Puisi “Perjalanan งานสร้างสรรค์ที่ได้รับ
Satera Melayu di การเผยแพร่ในระดับ
Patani, selatan ชาติ; 0.6
Thai” ผลงาน
สร้างสรรค์ Sismi
Persatuan
Sasterawan
Nusantara Melayu
(NUMERA) ,
Malaysia 2.1-15
Puisi งานสร้างสรรค์ที่ได้รับ
“ASSALAMUALAIKU การเผยแพร่ในระดับ
M PATANI (AP)” ชาติ; 0.6
ผลงานสร้างสรรค์
DEWAN SASTERA
2.1-16
Kaidah Hafalan Al ardah: Jurnal
Quran pada Dakwah dan Kema
Madrasah Tahfiz yarak
Annur Markaz tan
Yaladan Madrasah บทความวิจัยหรือ
Darussalam Rangek บทความวิชาการที่ตี
Naratiwat di พิมพ์ในวารสารวิชาการ
Thailand Selatan ระดับนานาชาติที่มีอยู่
2.1-17 ในฐานข้อมูล ตาม
ประกาศ ก.พ.อ. หรือ
ระเบียบคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาว่าด้วย
หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทาง
วิชาการสำหรับการเผย
แพร่ผลงานทางวิชาการ
พ.ศ.2556 แต่สถาบัน
นำเสนอสภาสถาบัน
อนุมัติและจัดทำเป็ น
ประกาศให้ทราบ
เป็ นการทั่วไป และแจ้ง
ให้ กพอ./กกอ. ทราบ
ภายใน 30 วันนับแต่วัน
ที่ออกประกาศ (ซึง่ ไม่
อยู่ใน Beall's list)
หรือตีพิมพ์ในวารสาร
วิชาการที่ปรากฏใน
ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่
1; 0.8
Perpindahan University
Tenaga Kerja Asing: บทความวิจัยหรือ
Peluang dan บทความวิชาการฉบับ
Tantangan bagi สมบูรณ์ที่ตพ
ี ิมพ์ใน
Brunei Darussalam รายงานสืบเนื่องจาก
di Era Komuniti การประชุมวิชาการ
Ekonomi Asean ระดับนานาชาติ หรือ
2.1-18 ในวารสารวิชาการ
Proceedings SelPTI ระดับชาติที่มีอยู่ในฐาน
2017 , Faton ข้อมูล ตามประกาศ
ก.พ.อ. หรือระบเบียบ
คณะกรรมการการ
อุดมศึกษาว่าด้วย หลัก
เกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพร่ผล
งานทางวิชาการ
พ.ศ.2556 ; 0.4
Dilema eedings SelPTI 201
Kesusasteraan , Fatoni University
(Pantun) Melau di บทความวิจัยหรือ
Patani, Selatan Thai บทความวิชาการฉบับ
2.1-19 สมบูรณ์ที่ตพ
ี ิมพ์ใน
Pro รายงานสืบเนื่องจาก
การประชุมวิชาการ
ระดับนานาชาติ หรือ
ในวารสารวิชาการ
ระดับชาติที่มีอยู่ในฐาน
ข้อมูล ตามประกาศ
ก.พ.อ. หรือระบเบียบ
คณะกรรมการการ
อุดมศึกษาว่าด้วย หลัก
เกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพร่ผล
งานทางวิชาการ
พ.ศ.2556 ; 0.4
Analisis Kesalahan บทความวิจัยหรือ
Penggunaan Frasa- บทความวิชาการฉบับ
Frasa yang Bukan สมบูรณ์ที่ตพ
ี ิมพ์ใน
Purna bentuk รายงานสืบเนื่องจาก
dalam Kalangan การประชุมวิชาการ
Pelajar-pelajar ระดับชาติ; 0.2
Sekolah Menengah
Swasta Agama
Islam (Sekolah
Pondok) di Daerah
Yarang Wilayah
Pattani Selatan Thai
2.1-20

Proceedings การ
ประชุมวิชาการระดับ
ชาติ ครัง้ ที่ 6 มหาวิ
ทยาลัยฟาฏอนี

อ.นูรณีบูเกะมาตี
Kurikulum Bahasa บทความวิจัยหรือ
Melayu Sekolah บทความวิชาการฉบับ
Menengah : สมบูรณ์ที่ตพ
ี ิมพ์ใน
Perbandingan รายงานสืบเนื่องจาก
sekolah Kerajaan การประชุมวิชาการ
(Smk) dengan ระดับนานาชาติ หรือ
Sekolah Agama ในวารสารวิชาการ
Swasta(sas) di ระดับชาติที่มีอยู่ในฐาน
Wilayah Yala ข้อมูล ตามประกาศ
Thailand(waat) 2.1- ก.พ.อ. หรือระบเบียบ
21 คณะกรรมการการ
Proceedings อุดมศึกษาว่าด้วย หลัก
ISDETAH 2017 เกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพร่ผล
งานทางวิชาการ
พ.ศ.2556 ; 0.4

งานวิจัย
ในปี การศึกษา 2560 สาขาวิชาการสอนภาษามลายูได้
รับทุนวิจัย 4 เรื่อง อาจารย์ 5 ท่าน คิดเป็ นเงินจำนวน
560,000 บาท (หกหมื่นบาท) ดังรายละเอียดต่อไปนี ้
-ผศ.ดร. เภาซันเจ๊ะแวเรื่อง การวิเคราะห์ข้อผิดพลาด
การใช้ภาษามลายูของนักเรียนโรงเรียนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลามในอำเภอยะรัง จังหวัดปั ตตานี งบ
สนับสนุนวิจัยจากภายในสถาบัน จำนวน 35,000 บาท
(ได้สรุปปิ ดโครงการแล้ว) 2.1-22
-ผศ.ดร. เภาซันเจ๊ะแวเรื่อง ปุยซีมลายูสร้างสรรค์
สังคมสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้งบสนับสนุนวิจัย
จากวช.ร่วมกับ สกว. 500,000 บาท (กำลังดำเนินการ)
2.1-23
-อาจารย์ยะหะยา นิแว, อาจารย์แอสซูมานี มาโซ
เรื่อง ความจำเป็ นและวิธีการเสริมสร้างภาษามลายู
อักษรยาวีของหมู่บ้านโสร่ง อำเภอยะรัง จังหวัด
ปั ตตานี งบสนับสนุนวิจัยจากภายในสถาบัน จำนวน
20,000 บาท (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
้ เรียนเรื่อง การใช้ชุด
-อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี วิจัยชัน
แบบฝึ กเพื่อเสริมทักษะการใช้เครื่องหมายการอ่าน
และการสะกดคำในการเขียนภาษามลายู งบ
สนับสนุนวิจัยจากภายในสถาบัน จำนวน 5,000 บาท
(ได้สรุปปิ ดโครงการแล้ว) 2.1-24

ผู้ทรงคุณวุฒิ
-ผศ.ดร. เภาซันเจ๊ะแว เป็ นผู้เชี่ยวชาญอ่านและ
ประเมินคุณภาพบทความ การประชุมวิชาการระดับ
ชาติ ครัง้ ที่6 ประจำปี 2560 เรื่อง “สร้างสรรค์งาน
วิจัยเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ในยุค Thailand 4.0” 18 ตุลาคม 2560 สำนักวิจัย
และพัฒนา มหาวทยาลัยฟาฏอนี

การส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ในปี การศึกษา 2560 อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสอน
ภาษามลายูทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมการ
อนุรักษ์วัฒนธรรมที่เป็ นกิจกรรมสาขาที่อยู่ภายใต้
โครงการ “โครงการพัฒนานักศึกษาสาขาวิชาการสอน
ภาษามลายู” ซึง่ มี2 กิจกรรม 2.1-25
กิจกรรมที่1 คือ กิจกรรมทัศนศึกษา Jejak Warisan
Melayu ณ รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และ
กิจกรรมที่2 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านบทกวีมลายูโดยมี
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “Bengkel Seni Deklamas
iPuisi”โดยนักกวีอิสระจากประเทศมาเลเซีย

นอกจากนี ้ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว อาจารย์สาขา


วิชาการสอนภาษามลายูได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม
การอนุรักษ์วัฒนธรรมและสร้างชื่อเสียงให้กับสถาบัน
ในการเผยแพร่บทกวีมลายูทงั ้ ในระดับชาติและ
นานาชาติดังนี ้

Pemben ang Kertas


Kerja (
ARA SUMBER)
Temu Penyair
Asia
Ten
gara 2018, 3-6
Mei 2018
Kota Padang
Panjang,
Indonesia
Speaker for the “Apocalyptica
Conference on l Theolog
and Being
Religiou
in Changing
W
rld” 14-15
September
2017
Conventional
Hall UIN
Speaker for the Seminar Bandung,
“International Seminar on Jawa Barat,
History Education Study Indonesia
Program History
Education, Indonesia
University of Education, 2
November 2017Sunan
Kalijaga Yogyakarta,
Indonesia

อ่านบทกวีในงาน Maal Membentuk


Hijrah Ke ara Generasi
Muhammad
S.A.W.
23.09.17
Patani Center
อ่านบทกวีในงานประชาชาติ ลานมัสยิดตลาด
เดียวกัน Save Al-Aqsa 19 เมืองใหม่ยะลา
สิงหาคม 2560
อ่านบทกวีในงาน วันพบปะมุ โครงการมาดีนา
สลีมะห์ครัง้ ที่12 6-7 ตุสลาม(ปั ตตานี
พฤษภาคม 2560 จายา)

รางวัลที่ได้รับ
-ผศ.ดร. เภาซันเจ๊ะแว ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นระดับ
สถาบัน ปี การศึกษา 2560
-รางวัลผู้ประพันธ์เนื้อร้องอนาชีดชายยอดเยี่ยม
ปี 2017 มอบโดยสถาบันราชภัฏยะลา
-ผศ.ดร. เภาซันเจ๊ะแว ได้รับรางวัลนักเขียนในงาน
Temu Sasterawan Asia Tenggara 2017 dan
Festival Penulis Sabah (Sabah Writers Festival)
ke-6, 2017
สาขาวิชามีการประชุมสรุประบบการส่งเสริมและ
พัฒนาอาจารย์ พบว่าอาจารย์สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง ปฏิบัติ
หน้าที่ตามกรอบภาระงานได้สมบูรณ์ และสามารถ
สร้างชื่อเสียงให้เป็ นที่ร้จ
ู ักทัง้ ในระดับชาติและระดับ
ภูมิภาค

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน
เป้ าหมาย การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ
2560 เป้ าหมาย
งาน ประเมิน
4.1 การบริหารและ 4 ระดับ ......4..... .......4.... [บรรลุ]
พัฒนาอาจารย์ ระดับ คะแนน

2.2 คุณภาพอาจารย์
(องค์ประกอบที่ 4 การบริหารอาจารย์ ตัวบ่งชี ้ 4.2 คุณภาพอาจารย์)

● 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
(เป็ นข้อมูลที่สอดคล้องกับข้อมูลอาจารย์ประจำหลักสูตร ในหมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป)

จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก 1 คน
จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทัง้ หมด 5 คน
คิดเป็ นร้อยละ 20 ร้อย
ละ
ค่าคะแนนของอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก 5 คะแน

เอกสารหลักฐานประกอบ
รหัส รายการเอกสารหลักฐาน
เอกสาร
4.2.1-1 คุณวุฒิของอาจารย์ประจำหลักสูตร

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
คะแนน
เป้ า การ
ผลการ การ
ตัวบ่งชี ้ หมาย บรรลุเป้ า
ดำเนินงาน ประเมิ
25.... หมาย

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ ป.โท....80. ร้อยละ ......5..... [บรรลุ]

ประจำหลักสูตรที่มี .. % ...80%..... คะแนน


ป.เอก… ร้อยละ
คุณวุฒิปริญญาเอก
20.. % ...20%.....
● 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีตำแหน่งวิชาการ (ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์) (เป็ นข้อมูลทีส่ อดคล้องกับข้อมูล
อาจารย์ประจำหลักสูตร ในหมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป)

จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีตำแหน่ง 1 คน
วิชาการ
จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทัง้ หมด 5 คน
คิดเป็ นร้อยละ 20 ร้อย
ละ
ค่าคะแนนของอาจารย์ที่มีตำแหน่งวิชาการ 1.67 คะแน

เอกสารหลักฐานประกอบ
รหัส รายการเอกสารหลักฐาน
เอกสาร
4.2.2-1 คำสัง่ แต่งตัง้ มหาวิทยาลัย

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน
เป้ าหมาย การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ
2560 เป้ าหมาย
งาน ประเมิน
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ ร้อย ร้อย 1.67 บรรลุ
ประจำหลักสูตรที่ดำรง ละ 20 ละ 20
ตำแหน่งทางวิชาการ
1.2.1 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร

ค่าน้ำ จำนวนผล คะแนนถ่วง


ระดับคุณภาพ
หนัก งาน น้ำหนัก

0.20 2 0.4

● บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์
ที่ต ีพ ิม พ์ใ นรายงานสืบ เนื่อ งจากการประชุม
วิชาการระดับชาติ

0.40 4 1.6

● บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์
ที่ต ีพ ิม พ์ใ นรายงานสืบ เนื่อ งจากการประชุม
วิช าการระดับ นานาชาติ หรือ ในวารสารทาง
วิช าการระดับ ชาติท ี่ไ ม่อ ยู่ใ นฐานข้อ มูล ตาม
ประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ
อุด มศึก ษาว่า ด้ว ย หลัก เกณฑ์ก ารพิจ ารณา
วารสารทางวิช าการสํา หรับการเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่สถาบันนําเสนอ สภา
สถาบัน อนุม ัต ิแ ละจัด ทํา เป็ นประกาศให้ท ราบ
เป็ นการทั่ว ไป และแจ้ง ให้ กพอ./กกอ. ทราบ
ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ
● ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร

0.60 1 0.6

● งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ

0.80 ● บทความวิจ ัย หรือ บทความวิช าการที่ต ีพ ิม พ์ใ น - -

วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน ฐาน
ข้อ มูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ ระเบีย บคณะ
กรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวิช าการ พ.ศ.2556 แต่ส ถาบัน นํา
เสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทํา เป็ นประกาศ
ใ ห ้ท ร า บ เ ป็ น ก า ร ท ั่ว ไ ป แ ล ะ แ จ ้ง ใ ห ้
กพอ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออก
ประกาศ (ซึ่ง ไม่อ ยู่ใ น Beall’s list) หรือ ตีพ ิม พ์
ในวารสารวิช าการที่ป รากฏในฐานข้อ มูล TCI
กลุ่มที่ 1
1.00 ● บทความวิจ ัย หรือ บทความวิช าการที่ต ีพ ิม พ์ใ น 2 2

วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏใน ฐาน
ข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ
ระเบีย บคณะกรรมการการอุด มศึก ษา ว่า ด้ว ย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําห
รับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
● ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร
● ผลงานวิช าการรับ ใช้ส ัง คมที่ไ ด้ร ับ การประเมิน
ผ่านเกณฑ์การขอตําแหน่งทางวิชาการแล้ว
● ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่า
จ้างให้ดําเนินการ
● ผลงานค้น พบพัน ธุ์พ ืช พัน ธุ์ส ัต ว์ ที่ค ้น พบใหม่
และได้รับการจดทะเบียน
● ตําราหรือหนังสือที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์
การขอตําแหน่งทางวิชาการแล้ว
● ตํา ราหรือ หนัง สือ ที่ผ ่า นการพิจ ารณาตามหลัก
เกณฑ์การประเมินตําแหน่งทางวิชาการแต่ไม่ได้
นํามาขอรับการปรเมินตําแหน่งทางวิชาการ
รวม 9 4.4

จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทัง้ หมด ………5……. คน

ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของ ร้อยละ …………92………..


อาจารย์ประจำหลักสูตร
คะแนนที่ได้ ........5........ คะแนน

เอกสารหลักฐานประกอบ
รหัสเอกสาร รายการเอกสารหลักฐาน
2.1-13 Syiekh Ismail Lutfi Chapakiya Ulama Terkemu Patani
Beroeranan Memperkukuhkan Bahasa Melayu Tulisan Jawi
di Seluruh Nusantara
Proceedings SelPTI 2017 , Fatoni University
2.1-14 Pendidikan Bersepadu dalam Membina Mahasiswa Jabatan
Pendidikan Bahasa Melayu , UFT
Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 6 มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี
2.1-15 Puisi “Perjalanan Satera Melayu di Patani, selatan Thai” ผล
งานสร้างสรรค์ Sismi Persatuan Sasterawan Nusantara Melayu
(NUMERA) , Malaysia
2.1-16 Puisi “ASSALAMUALAIKUM PATANI (AP)”
ผลงานสร้างสรรค์ DEWAN SASTERA
2.1-17 Kaidah Hafalan Al Quran pada Madrasah Tahfiz Annur
Markaz Yala dan Madrasah Darussalam Rangek Naratiwat di
Thailand Selatan
Wardah:Jurnal Dakwah dan Kemasyarakatan
2.1-18 Perpindahan Tenaga Kerja Asing:Peluang dan Tantangan
bagi Brunei Darussalam di Era Komuniti Ekonomi Asean
Proceedings SelPTI 2017 , Fatoni University
2.1-19 Dilema Kesusasteraan (Pantun) Melau di Patani, Selatan
Thai
Proceedings SelPTI 2017 , Fatoni University
2.1-20 Proceedings SelPTI 2017 , Fatoni University
Analisis kesalahan penggunaan Frasa-Frasa yang Bukan
Purnabentuk dalam Lalangan pelajar-pelajar sekolah
menengah Swasta Agama islam (Sekolah Pondok) di Daerah
Yarang Wilayah Pattani Selatan Thai
2.1-20 Kurikulum Bahasa Melayu Sekolah menengah :
Perbandingan sekolah Kerajaan (Smk) dengan Sekolah
Agama Swasta(sas) di wolayah Yala Thailand(waat)
Proceedings ISDETAH 2017
Warisan Tembikar Traditional Melayu di Pahang
วารสาร IJCFH, Malaysia
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน
เป้ าหมาย การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ
2560 เป้ าหมาย
งาน ประเมิน
4.2.3 ผลงานวิชาการของ ร้อยละ ร้อยละ .......5.... [บรรลุ]

อาจารย์ประจำหลักสูตร 100 100 คะแนน

2.3 ผลที่เกิดขึน
้ กับอาจารย์ (เฉพาะอาจารย์ประจำหลักสูตร)
(องค์ประกอบที่ 4 การบริหารอาจารย์ ตัวบ่งชี ้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกาสร/หลักฐาน


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ
ดำเนินงาน)
1. การคงอยู่ 1. ร า ย ง า น อ ัต ร า

ของ หลัก สูต รศึก ษาศ าส ตร์บ ัณ ฑิต กำลังของคณะฯ ปี

สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีอาจารย์ การศึกษา 25.....


อาจารย์
ปร ะ จ ำห ล ัก ส ูต ร จ ำ นว น 5 ท่า น ซ ึ่ง 2. ร า ย ง า น อ ัต ร า
อา จา รย ์ม ีค วา มเ พ ีย ง พ อ ต ่อ ส ัด ส ่ว น ก ำ ล ัง ข อ ง ม ห า ว ิ

จำนวนนักศึกษาที่ใช้ส ำหรับการบริหาร ท ย า ล ัย ฯ ปี ก า ร

จัดการและการจัดการเรียนการสอนตาม ศึกษา 2556

มาตรฐานหลัก สูต รรวมทัง้ มีก ารจัด ทำ 3. ร า ย ง า น อ ัต ร า


แบบสำรวจแนวโน้มอัตราการคงอยู่ของ ก ำ ล ัง ข อ ง ม ห า ว ิ

อาจารย์ป ระจำหลัก สูต รตัง้ แต่ปี การ ท ย า ล ัย ฯ ปี ก า ร

ศึกษา 2559-2560 อัตราการคงอยู่ ร้อย ศึกษา 2555


ละ [ค่าร้อยละ] ดังนี ้

ลำ ปี การศึกษา ปี การ
ดับ 2559 ศึกษา
2560

1 อาจารย์แ อส อ า จ า ร ย ์
ซูมานี มาโซ แอสซูมานี
มาโซ

2 ดร.เภาซัน เจ๊ ผศ.ดร.เภา


ะแว ซันเจ๊ะแว

3 อ า จ า ร ย ์อ ับ อาจารย์น ู
ด ุล ร า ม ัน ห ์ รณี บูเ กะ
โตะหลง มาตี

4 อ า จ า ร ย ์น ู อ า จ า ร ย ์
รณีบูเกะมาตี อ ม ม ุล อ ม
มะห์ โตะ
หลง

อาจารย์
อ า จ า ร ย ์ย ะ ย ะ ห ะ ย า
หะยา นิแว นิแว

ร้อย ร้อยละ 100 ร้อยละ 80


ละ
อัตร

การ
คง
อยู่

2. ความพึง 1. รายงานผลการสำรวจ
ความคิดเห็นและ
พอใจของ หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิตสาขา
ความพึงพอใจของ
อาจารย์ วิช าการสอนภาษามลายูม ีก ารประชุม
อาจารย์ประจำ
คณะกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อหารือ หลักสูตร ปี การศึกษา
ด้า นการบริห ารจัด การหลัก สูต ร โดย 2560

อาจารย์ป ระจำหลัก สูต รเข้า ร่ว มการ


ประชุม มากกว่า ร้อ ยละ 80 ทุก ครัง้
ทำให้การหารือการจัดการเรียนการสอน
การกำหนดผู้สอน การติดตามการจัดทำ
มคอ. มีก ารประเมิน ความพึง พอใจของ
อาจารย์ป ระจำหลัก สูต รต่อ การบริห าร
จัดการหลักสูตร ในประเด็น การดำเนิน
งานตามหน้า ที่ การจัด ทำมคอ.3 - 7
ตลอดจนการจัดการเรียนการสอน การ
กำหนดผู้ส อน มีค ่า คะแนนเฉลี่ย การ
ประเมินแต่ละปี การศึกษาดังนี ้ ดังนี ้

ด้านการบริหารหลักสูตร 255 256


9 0
1. เกณฑ์คุณสมบัติในการ 4.5 4.5
รับและแต่งตัง้ อาจารย์
ประจำสอดคล้องกับ
สภาพบริบท ปรัชญา
วิสัยทัศน์ของ
มหาวิทยาลัยและของ
หลักสูตร
2. กลไกการคัดเลือก 4.75 5
อาจารย์มีความเหมาะ
สมและโปร่งใส
3. การวางแผนระยะยาว 4.75 4.5
ด้านอัตรากำลังอาจารย์
เป็ นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรที่
กำหนดโดยสำนักงาน
คณะกรรมการการ
อุดมศึกษา
4. มีส่วนร่วมในการประชุม 4.5 4.5
เพื่อวางแผน ติดตาม
และทบทวนการดำเนิน
งานของหลักสูตร
5. การกำหนดบทบาท 4.25 4
หน้าที่และความรับผิด
ชอบของอาจารย์มีความ
ชัดเจน
และเหมาะสม
6. การจัดรายวิชามีความ 4
เหมาะสมตรงกับความรู้
ความสามารถของ 4
อาจารย์ผส ู้ อน
7. จำนวนภาระงานสอน 4 4
ของอาจารย์ที่เป็ นจริง
ในหลักสูตรมีความ
เหมาะสม
8. อาจารย์ใหม่ทุกคน ได้ 4.25 5
รับการปฐมนิเทศหรือ
คำแนะนำด้านการ
จัดการเรียนการสอน
9. การบริหารหลักสูตร ได้ 4.5 4
รับความร่วมมือและ
ความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานอื่นที่มีความ
เกี่ยวข้องกันอย่าง
เหมาะสม
10. การเสริมสร้าง 5 4
บรรยากาศทางวิชาการ
ระหว่างอาจารย์ทงั ้ ใน
และระหว่างหลักสูตร

ด ้า น ก า ร ก ำ ก ับ /ต ิด ต า ม / 255 256
ป ร ะ เ ม ิน ผ ล แ ล ะ พ ัฒ น า 9 0
กระบวนการเรีย นการสอน
ของอาจารย์
1. การกำกับและติดตาม ละ 4.5
การจัดทำรายละเอียด ภ
ของรายวิชาและ า
ประสบการณ์ภาคสนาม ค
(ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 ก
และ มคอ.4 อย่างน้อย ร
ก่อนการเปิ ดสอนในแต ศึ










ุ ก
าย
วิ


4.75
2. การกำกับและติดตาม 4.75 4.5
การจัดทำรายงานผล
การดำเนินการของ
รายวิชาและ
ประสบการณ์ภาคสนาม
(ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5
และ มคอ.6 ภายใน 30
วัน
หลังสิน้ สุดภาคการ
ศึกษาที่เปิ ดสอนให้ครบ
ทุกรายวิชา
3. การกำกับและติดตาม 4.75 4.5
การจัดทำรายงานผล
การดำเนินการของ
หลักสูตร ตามแบบ
มคอ.7 ภายใน 60 วัน
หลังสิน ้ สุดปี การศึกษา
4. การทวนสอบผลสัมฤทธิ ์ 4.5 4.5
ของนักศึกษาตาม
มาตรฐานผลการเรียนรู้
ที่กำหนดใน มคอ.3
และ มคอ.4 (ถ้ามี)
อย่างน้อยร้อยละ 25
ของรายวิชาที่เปิ ดสอน
ในแต่ละปี การศึกษา
5. การควบคุมการจัดการ 4.25 3.5
เรียนการสอนในวิชาที่มี
หลายกลุ่มเรียนให้ได้
มาตรฐานเดียวกัน
6. การกำกับ/ควบคุม 4.5 4
กระบวนการจัดการ
เรียนการสอนและการ
ประเมินนักศึกษา
7. การประเมินการสอน 4.33 4
ของอาจารย์ และนำผล
มาใช้ในการส่งเสริม
พัฒนาความสามารถ
ด้านการสอนของ
อาจารย์

ด า้ น ก า ร ส่ง เส ริม แ ล ะ พ ัฒ น า 255 256


อาจารย์
9 0
1. ได้รับการส่งเสริมให้ 4.75
ศึกษาต่อ 3.5
2. ได้รับการส่งเสริมให้เข้า 4.75 4
สู่ตำแหน่งทางวิชาการ
3. ได้รับการพัฒนาทาง 4.5
วิชาการ และ/หรือ
วิชาชีพอย่างสม่ำเสมอ 3.5
4. การส่งเสริมการทำวิจัย 4.5
เพื่อพัฒนานักศึกษาของ
อาจารย์ 4
5. ก ร 4
่ง


ริ















วิ
จั











ริ






วิ






ข้



มี
ส่


ร่







จั





รี











ส่



ต่





รี


รู้




ั ก
ศึ



4.5

รวม 4.50 4.41

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน
เป้ าหมาย การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ
2560 เป้ าหมาย
งาน ประเมิน
4.3 ผลที่เกิดกับ 4 ระดับ 4 ระดับ ...4... [บรรลุ]

อาจารย์ คะแนน
หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต

ข้อมูลนักศึกษา

ปี การศึกษาที่รับเข้า จำนวนนักศึกษาคงอยู่
(ตัง้ แต่ปีการศึกษาที่ (จำนวนจริง) ในแต่ละปี การ
เริ่มใช้หลักสูตร) ศึกษา
2559 2560
2559 31 28
2560 - 17
รวม 45

ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษา
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษามลายู
การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบและกลไก
ในปี การศึกษา 2560 สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีการแนะแนว
ประชาสัมพันธ์หลักสูตรหลากหลายรูปแบบ มีทงั ้ แนะแนวทางเวบไซต์ของ
มหาวิทยาลัย แนะแนวผ่านสื่อสังคมออนไลน์ แนะแนวตามสถาบันการศึกษา
ผลที่ตามมาจำนวนนักศึกษาไม่เป็ นไปตามเป้ าที่วางเอาไว้ และจำนวนนักศึกษา
ก็ลดลงจากปี การศึกษา 2559 จากการดำเนินการพบว่าสภาพและปั ญหามี
ดังนี ้
1. จำนวนผู้ที่มารายงานตัวไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย
สาขาการสอนภาษามลายูมีเป้ าหมายรับนักศึกษา 60 คน โดยผู้ที่มาสมัคร
กับผู้ที่มารายงานตัวมีความแตกต่างกัน เนื่องจากสาเหตุแรกรายชื่อผู้สมัคร
ส่วนใหญ่มาจากการเลือกสาขาอันดับที่สองในใบสมัคร ซึง่ ผู้สมัครส่วนใหญ่มี
ความตัง้ ใจที่จะเรียนในสาขาที่เลือกอันดับที่ 1 มากกว่า สาเหตุที่สอง บางส่วน
ของผูส
้ มัครเป็ นการรับสมัครในวันที่แนะแนวตามโรงเรียนต่างๆ ผู้ที่สมัครมี
การกรอกใบสมัครโดยที่ยังขาดความพร้อมในการตัดสินใจศึกษาต่อ บางคน
กรอกใบสมัครทุกสถาบันที่ไปแนะแนว ทัง้ นีส
้ าขาวิชามีการโทรติดตามผู้สมัคร
ทุกคน เพื่อติดตามความต้องการที่จะศึกษาในสาขาวิชาการสอนภาษามลายู
ก่อนที่จะมีการสอบสัมภาษณ์และรายงานตัว พบว่าบางส่วนของผูส
้ มัครไม่มี
ความประสงค์ที่จะศึกษา ด้วยปั จจัยด้านส่วนตัวของนักศึกษา เช่นฐานะทาง
บ้านยากไร้ ผู้ปกครองไม่สามารถส่งเล่าเรียนได้ นักศึกษาบางคนสมัครเรียนไว้
หลายมหาวิทยาลัย และเลือกไปเรียนที่อ่ น
ื นักศึกษาบางรายไม่ทราบสาเหตุ
2. มีหลักสูตรที่ใกล้เคียงเปิ ดสอนทุกมหาวิทยาลัย
หลักสูตรการสอนภาษามลายูมีความใกล้เคียงกับหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต
ภาษามลายูของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี และหลักสูตรภาษามลายูของ
มหาวิทยาลัยใกล้เคียงที่เป็ นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มีการเรียนการสอนภาษา
มลายู ทัง้ หมดสี่มหาวิทยาลัย การศึกษาที่มหาวิทยาลัยรัฐเป็ นความต้องการ
ของผูส
้ มัครมากกว่ามหาวิทยาลัยเอกชน เนื่องจากค่าเล่าเรียนน้อยกว่า
3. อัตราครูภาษามลายูในโรงเรียนรัฐบาลมีน้อย
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูยังไม่ปรากฏในบัญชีอัตราการบรรจุข้าราชการ
ครู หรือโครงการครูคืนถิ่น โอกาสในการสอบบรรจุข้าราชการมีน้อย ตำแหน่ง
ครูภาษามลายูส่วนใหญ่เปิ ดรับโดยโรงเรียนเอกชน ซึ่งมีการเรียนการสอน
ภาษามลายูอย่างจริงจังในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เท่านัน

3.1 การรับนักศึกษา
(องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ตัวบ่งชี ้ 3.1 การรับนักศึกษา)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลัก


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนิน ฐาน
งาน)
1. ก า ร ร ับ กระบวนการประชาสัมพันธ์ 3.1-1 ระเบียบ

นักศึกษา ในปี 2560 สาขาวิชาได้มีการประชาสัมพันธ์ การรับ

หลักสูตรเพื่อการรับสมัครนักศึกษาใหม่หลาก นักศึกษาใหม่
มหาวิทยาลัย
หลายวิธีการ มีทงั ้ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ
ฟาฏอนี
เช่นเวบไซต์ของมหาวิทยาลัย และเฟซบุค
3.1-2 รายงาน
และทางสาขาวิชาได้เข้าร่วมกิจกรรม
การประชุม
แนะแนวของมหาวิทยาลัยฟาฏอนีตาม การรับ
โรงเรียนต่างๆในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ นักศึกษา

เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายมากที่สุด ในปี นี ้


สาขาวิชาได้กำหนดเป้ าหมายนักศึกษา
จำนวน 30 คน

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
สาขาวิชาได้กำหนดคุณสมบัตผ
ิ ู้เข้าศึกษาในม
คอ.2 ดังนี ้
1. จบการศึกษาชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 หรือ
เทียบเท่า
2. มีคุณวุฒิด้านภาษามลายูตามข้อหนึ่งข้อใด
ดังต่อไปนี ้
1) มีคะแนนผลการสอบด้าน
สาระภาษามลายูไม่น้อยกว่า 2.50 หรือ
2) ผ่านการทดสอบวัดความรู้ด้าน
ภาษามลายู ไม่ต่ำกว่าระดับดี โดยคณะ
3) เงื่อนไขอื่นๆตามที่
มหาวิทยาลัยกำหนดหรือผ่านการเห็นชอบ
คณะกรรมการประจำคณะ
การรับนักศึกษา
ในปี การศึกษา 2560 สาขาวิชาการสอน
ภาษามลายูมีการรับนักศึกษาทัง้ หมด 4 รอบ
รอบที่1 การสมัครรอบโควตา ซึง่
มหาวิทยาลัยได้ประกาศให้รอบนีเ้ ป็ นการคัด
เลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อโดยใช้สิทธิพิเศษ
โดยมหาวิทยาลัยได้กำหนดคุณสมบัติของผู้
สมัครดังนี ้
1. สิทธิพิเศษประเภทฟรีค่าสมัคร
โดยกำหนดคุณสมบัติดังนี ้
-สุขภาพแข็งแรงและมีความประพฤติ
เรียบร้อย
-สำเร็จหรือกำลังศึกษาภาคการศึกษา
สุดท้ายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
-ต้องมีผลการเรียนเฉลี่ย ทุกรายวิชา 2.75
2. สิทธิพิเศษประเภททุนการศึกษา 20%
จำนวน 500 ทุน โดยแบ่งประเภทได้ดังนี ้ (
จำนวนทุนทัง้ มหาวิทยาลัย)
1. ทุนนักเรียนเรียนดีเกรดไม่น้อยกว่า 3.5
สาขาวิชาละ 25 ทุน
2. ทุนบุคคลในพื้นที่ซึ่งได้รับการรับรอง
โดย ศปง.สถาบันอัสสลาม ศปง.ละ 10 ทุน
3. ทุนบุคคลที่ได้รับการรับรองโดยหน่วย
งานหรือองค์กรมุสลิม
-สมาคมศิษเก่ามหาวิทยาลัยฟาฏอนี
50 ทุน
-สมาคมเครือข่ายโรงเรียนโรงเรียน
คุณภาพอัสสลาม 20 ทุน
-ช่องทีวี White Chanel 10 ทุน
-ช่องทีวี TMTV จำนวน 10 ทุน
-ช่องทีวีYateem TV จำนวน 10 ทุน
-ช่องทีวีTV MUSLIM จำนวน 10 ทุน
-สภายุวมุสลิมโลก สำนักงานประจำ
ประเทศไทย (WAMY) 10 ทุน
-สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย 10 ทุน
-สภาความร่วมมือองค์กรสตรีมุสลีมะห์เพื่อ
สันติภาพ 10 ทุน
-เครือข่ายสหกรณ์อิสลามแห่ง
ประเทศไทย 10 ทุน
-เครือข่ายบัณฑิต สอ.มท.10 ทุน
-กรรมการอิสลามจังหวัดละ 5 ทุน
-ทุนบุตรผู้นำศาสนา ไม่จำกัดจำนวน
-ทุนบุตรผู้นำชุมชน ไม่จำกัดจำนวน
-ทุนสำหรับมูอัลลัฟไม่จำกัดจำนวน
หลังจากประกาศรับสมัคร สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูมีผส
ู้ มัครทัง้ หมด 19 คน
และมาสอบทัง้ หมด 7 คน
รอบที่2 เป็ นการสมัครประเภทปกติ รอบ
ที่1 มีผส
ู้ มัคร 42 คน มาสอบ 12 คน (รอบนี ้
มีผู้สมัครจำนวนมากเนื่องจากเป็ นผู้สมัครใน
วันลงพื้นที่แนะแนวตามโรงเรียนต่างๆ)
รอบที่3 เป็ นการสมัครปกติ รอบที่2 มีผส
ู้ มัคร
12 มาสอบ 12 คน
รอบที่4 เป็ นการสมัครปกติ รอบที่3 มีผส
ู้ มัคร
8 คนมาสอบ 8 คน
*สำหรับการสมัครปกติรอบที่1-3 ผู้สมัครต้อง
มีคุณสมบัติตามที่กำหนดในมคอ.2
สรุปการรับสมัครปี 2560 มีจำนวนผู้สมัคร
ทัง้ หมด 81 คน มาสอบ 39 คน และมา
รายงานตัวเป็ นนักศึกษาจำนวน 23 คน

การสอบคัดเลือก
หลักสูตรได้มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบ
คัดเลือก โดยมีการมอบหมายให้ อาจารย์นู
รณี บูเกะมาตี และอาจารย์ ยะหะยา นิแว
ดูแลการสอบข้อเขียน และ อาจารย์แอสซู
มานี มาโซ กับ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว ดูแล
สอบสัมภาษณ์
การสอบคัดเลือกซึง่ ประกอบด้วยการสอบ
ข้อเขียนและการสอบสัมภาษณ์ ในการสอบ
ข้อเขียนข้อสอบแบ่งเป็ นสองชุด คือ ชุด
ข้อสอบประเมินความรู้ด้านภาษามลายูมี
คะแนนเต็ม 30 คะแนน และชุดข้อสอบ
ประเมินความถนัดทางวิชาชีพครู มีคะแนน
เต็ม 50 คะแนน โดยคะแนนเฉลี่ยข้อสอบข้อ
เขียนของผู้เข้าสอบอยู่ที่ร้อยละ 63.57 ใน
ส่วนของการสอบสัมภาษณ์ มีคะแนนเต็ม 20
คะแนน โดยประเมินจาก ความถนัดทาง
ภาษา (Kefasihan Berbahasa) ความคิด
สร้างสรรค์ (Peluasan Idea) และ ความมุ่ง
มั่น (Motivasi) โดยคะแนนเฉลี่ยของผูเ้ ข้า
สอบทัง้ ข้อเขียนและสัมภาษณ์อยู่ที่ร้อยละ
70.14
การดำเนินการหลังกระบวนการสอบเสร็จ
สิน

สาขาวิชามีการประชุมคณะกรรมการสอบ
คัดเลือกนักศึกษาเพื่อสรุปผลการรับนักศึกษา
ปี 2560 ซึ่งสรุปได้ดังนี ้ จำนวนผู้สมัคร
ทัง้ หมด 81 คน มาสอบ 39 คน และมา
รายงานตัวเป็ นนักศึกษาจำนวน 23 คน
ปี 2560 ผลที่ได้รับไม่เป็ นไปตามเป้ า เมื่อ
เปรียบเทียบกับปี 2559 การประชาสัมพันธ์
ปี 2560 เพิ่มขึน
้ แต่ปรากฏว่าได้จำนวน
นักศึกษาน้อยกว่า ปี 2559 ซึ่งในปี นัน

หลักสูตรมีเวลาประชาสัมพันธ์2-3 สัปดาห์
หลังจากหลักสูตรได้รับการอนุมัติ
ซึ่งตรงกับช่วงการรับสมัครรอบที่3 เท่านัน

2. ก า ร เ ต ร ี 3.1-4 รายงาน

ยมความ การประชุม
เตรียมรับ
พ ร ้อ ม
นักศึกษาใหม่
ก ่อ น เ ข ้า
3.1-5 รายงาน
ศึกษา
การประชุมสรุป
การเตรียมรับ
นักศึกษาใหม่

ผลการดำเนินงาน
การเตรียมความพร้อมในระดับหลักสูตร
1. การประชุมสาขาเพื่อเตรียมความ
พร้อม
สาขามีการประชุมเกี่ยวกับการเตรียมความ
พร้อมก่อนเข้าศึกษาของนักศึกษา (3.1-09)
ทัง้ ภาพรวมที่จัดโดยมหาวิทยาลัย โดยสำนัก
พัฒนาศักยภาพนักศึกษาร่วมกับคณะฯ และ
จัดโดยสาขาวิชาฯในการปฐมนิเทศรับ
นักศึกษาใหม่เพื่อเตรียมความพร้อมทักษะ
การใช้ชีวิตของนักศึกษาสู่รว
ั ้ มหาวิทยาลัย
การดำเนินการเตรียมความพร้อม
นักศึกษาใหม่ปี 2560 หลักสูตรการสอน
ภาษามลายู ได้มแ
ี ผนและจัดสรรงบประมาณ
ในการจัดกิจกรรมภายใต้โครงการ
“โครงการพัฒนานักศึกษาสาขาวิชาการ
สอนภาษามลายู”
การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ระดับสาขา
ดำเนินกิจกรรม 1 วันหลังจากสิน
้ สุดกิจกรรม
ปฐมนิเทศของมหาวิทยาลัย กิจกรรมนี ้
เป็ นการพบปะทำความรู้จักระหว่างนักศึกษา
กับอาจารย์ในสาขา จากนัน
้ เป็ นการแนะนำ
หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร และแนะนำ
เทคนิคการเรียนให้ประสพความสำเร็จ
กิจกรรมนีท
้ ำให้นักศึกษามีความมั่นใจใน
สาขามากขึน
้ ผลการประเมินนักศึกษามีความ
พึงพอใจระดับดีมาก
จากการทดสอบนักศึกษาใหม่พบว่า
นักศึกษายังมีทักษะทางภาษาอ่อน ทางสาขา
มีการแก้ปัญหาด้วยการจัดกิจกรรมเพิ่มทักษะ
ทางภาษามลายูในสองสัปดาห์แรกของการ
เปิ ดเทอม ในชั่วโมงที่นักศึกษาไม่มีการเรียน
การสอน กิจกรรมเน้นเสริมทักษะทางภาษา
มลายู แก่ทักษะการฟั ง การพูด การอ่าน และ
การเขียน เพื่อให้นักศึกษาคุ้นเคยกับภาษา
มลายูมาตรฐาน เนื่องจากนักศึกษาส่วนใหญ่
มีทักษะทางภาษามลายูถิ่นอยู่แล้วทำให้มีการ
พัฒนาได้ไม่ยากนัก สำหรับนักศึกษาที่ไม่มี
พื้นฐานทางภาษามลายูมีการสอนและแนะนำ
เพิ่มมากขึน

สิ่งที่พัฒนาจากปี 2559 ที่ผ่านมา คือ
การเพิ่ม ทัก ษะทางภาษามลายูแ ก่น ัก ศึก ษา
กับ เจ้า ของภาษา สาขาวิช าได้จ ัด กิจ กรรม
พัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม
ม ล า ย ูร ่ว ม ก ับ น ัก ศ ึก ษ า Universitas
Muhammadiyah Surakarta, ป ร ะ เ ท ศ
อินโดนีเซีย ของสัปดาห์ที่ 3 ของการเปิ ดภาค
การศึกษาที่ 1
สาขาวิช ามีก ารมีก ารประชุม สรุป ผล
การเตรีย มนัก ศึก ษาพบว่า การเสริม ทัก ษะ
ภาษาในสองสัป ดาห์แ รก และกิจ กรรมแลก
เปลี่ย นวัฒ นธรรมกับ นัก ศึก ษาอิน โดนีเ ซีย
สามารถแก้ปั ญ หาไ ด้ร ะดับ ห นึ่ง ส ำห รับ
น ัก ศ ึก ษ า ท ี่ม ีท ัก ษ ะ อ ่อ น อ า จ า ร ย ์ป ร ะ จ ำ
รายวิช ามีก ารสอนเสริม เพิ่ม เติม ตลอดภาค
การศึกษาที่1

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน
เป้ าหมาย การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ
2560 เป้ าหมาย
งาน ประเมิน
3.1 การรับนักศึกษา 4 ระดับ 3 ระดับ .......3.... บรรลุ
คะแนน
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
(องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ตัวบ่งชี ้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนา
นักศึกษา)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผล
การดำเนินงาน)
ระบบและกลไก
1. การควบคุมการ 3.2-01 คำสั่ง แต่ง ตัง้

ดูแ ล ก าร ให ้ค ำ อาจารย์ที่ปรึกษา
3.2-02 ค ู่ม ือ ก า ร ใ ห ้
ปรึก ษาวิช าการ
คำปรึก ษาของมหาวิ
และแนะแนวแก่
ทยาลัยฟาฏอนี
น ัก ศ ึก ษ า ใ น
3.2-03 ชั่ว โมงให้ค ำ
ร ะ ด ับ ป ร ิญ ญ า ป ร ึก ษ า (Office
ตรี Hours)
3.2-04 ก ลุ่ม ศ ึก ษ า
อัลกุรอาน
3.2-05 ร ะ บ บ
อาจารย์ที่ปรึกษา
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชาการสอน 3.2-06 รา ยงา นก า ร
ภาษามลายู มีระบบและกลไกใน
ประชุม สรุปความพึง
การควบคุมการดูแลการให้คำ
พอใจต่อ อา จา ร ย์ท ี่
ปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่
ปรึกษา
นักศึกษาในระดับปริญญาตรี
ผลการดำเนินงาน
1. สาขาได้แต่งตัง้ อาจารย์ที่
ปรึกษา (3.2-01) สำหรับให้คำ
แนะนำด้านวิชาการ ด้านการเรียน
การใช้ชีวิตในสังคม ทัง้ ในและนอก
รัว้ มหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาทุก
คนมีโอกาสประสบความสำเร็จใน
การศึกษาเล่าเรียนและเป็ นผู้ที่
พัฒนาตนเองในด้านคุณภาพชีวิต
คุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรม
และด้านวิชาการทักษะทางด้าน
ภาษาและทางด้านอาชีพจนเต็ม
ศักยภาพ โดยยึดคู่มือการให้คำ
ปรึกษาของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
เป็ นหลัก (3.2-02) โดยทางสาขา
วิชาได้ดำเนินการดังนี ้
- กำหนดชั่วโมงให้คำปรึกษา
(Office Hours) ของอาจารย์ประจำ
สาขา (3.2-03)
- ให้คำแนะนำในชั่วโมงที่
กำหนด รวมทัง้ แนะนำผ่านช่องทาง
ต่างๆ Facebook, Line,
- การพูดคุยผ่านกลุ่มศึกษา
อัลกุรอาน (3.2-04) ที่มหาลัยและ
คณะกำหนด
- การให้คำปรึกษาในรูปแบบ
ที่ไม่เป็ นทางการตามความสะดวก
ของนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา
โดยมีสัดส่วนอาจารย์ที่
ปรึกษาต่อนักศึกษา 1:13 คนในชัน

ปี เดียวกัน
2. การให้บริการโดยผ่านระบบ
การให้คำปรึกษา โดยสำนัก
บริการการศึกษามีระบบ
อาจารย์ที่ปรึกษา (3.2-05) ที่
เอื้อต่อหลักสูตรและอาจารย์ที่
ปรึกษาทุกคนในการป้ อน
ข้อมูลนักศึกษาภายใต้อาจารย์
ที่ปรึกษา กำหนดสถานะการ
เข้าระบบและดูแลควบคุมการ
ลงทะเบียนเรียน การส่ง
ข้อความถึงนักศึกษา และการ
ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เกี่ยว
กับการลงทะเบียนเรียนของ
นักศึกษา และการประเมิน
อาจารย์ที่ปรึกษา
3. การดูแลนักศึกษาที่เรียนอ่อน

ประเมินผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการประจำหลักสูตร
ได้ประชุมประเมินผลการดำเนิน
งานการควบคุมการดูแลการให้คำ
ปรึกษาทางด้านวิชาการและทักษะ
การใช้ชีวิต แนะแนวแก่นักศึกษา
(3.2-06) โดยการประเมินผ่าน
กระบวนการดังนี ้
- รายงานสรุปผลการประเมิน
ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการ
ให้บริการคำปรึกษา และประเมิน
ผลการดำเนินงาน ปั ญหา และ
แนวทางแก้ไข
- โดยการสอบถามผู้เรียนต่อ
ความพอใจในการให้คำปรึกษา และ
ข้อเสนอแนะในช่วงระยะเวลาที่
คณะกำหนด เดือนละ 1 ครัง้
- โดยประเมินจากการพูดคุย
แบบไม่เป็ นทางการถึงแนวปฏิบัติใน
การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่
ปรึกษา และข้อเสนอแนะ
- การแลกเปลี่ยนการให้คำ
ปรึกษาร่วมกันระหว่างอาจารย์ที่
ปรึกษาทุกท่านในสาขาวิชา
- ผ่านที่ประชุมสาขาวิชาเพื่อ
พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในปี
ถัดไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน

การดูแลนักศึกษาที่เรียนอ่อน
สาขาวิชาให้ความสำคัญกับ
นักศึกษาที่เรียนอ่อน ซึ่งพบว่าส่วน
มากจะอ่อนในรายวิชาเอก มีการ
พัฒนาภาษามลายูไม่เป็ นไปตามเป้ า
ที่วางเอาไว้ นักศึกษาจึงมาร้องเรียน
เพื่อย้ายสาขา ด้วยเหตุนส
ี ้ าขาวิชา
ได้จัดกิจกรรมสอนเสริมทักษะทาง
ภาษาทัง้ 4 ด้าน คือ การฟั ง การพูด
การอ่าน และการเขียน พร้อมทัง้
สอนเสริมหลักภาษามลายูด้วย หลัง
จากมีการสอนเสริม นักศึกษาที่
เรียนอ่อนรู้สึกมีความมั่นใจมากขึน

ทักษะภาษาดีขน
ึ ้ และยืนยันจะ
เรียนสาขาการสอนภาษามลายูต่อ
ไป

สาขาวิชาประชุมโดยมีอาจารย์
ประจำหลักสูตรและอาจารย์ที่
เกี่ยวข้องประเมินกระบวนการ การ
ควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษา
วิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา

จากผลการประเมินการให้คำ
ปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาพบ
ปั ญหาหรือข้อจำกัด ดังนี ้ 1) จาก
การสอบถามความพึงพอใจของ
นักศึกษาต่อการปฏิบัติงานของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ปี การศึกษา
2560 พบว่านักศึกษามีความพึง
พอใจต่อการปฏิบัติของอาจารย์ที่
ปรึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมี
คะแนนเฉลี่ย 4.18

อุปสรรค นักศึกษาชายและ
นักศึกษาหญิงบางส่วนมักจะไม่
เข้าหาอาจารย์ที่ปรึกษา ทำให้การ
ดูแลให้คำปรึกษาไม่เป็ นไปตามเป้ า
หมายที่ได้วางไว้

ที่ประชุมคณะกรรมการประจำ
หลักสูตร เพื่อการให้คำปรึกษามี
ประสิทธิภาพมากขึน
้ สาขาวิชาได้
มติให้อาจารย์ที่ปรึกษาให้การสอด
ส่องดูแลนักศึกษาให้ทั่วถึง และใช้
ยุทธศาสตร์เชิงรุกในการติดตามดู
และนักศึกษาที่ไม่เข้ามาปรึกษา
และให้ติดตามการมาเรียนของ
นักศึกษา จากอาจารย์ผู้สอนใน
รายวิชาหรือจากการสอบถามเพื่อน
นักศึกษาร่วมชัน
้ และการสร้าง
บรรยากาศให้ศึกษามีความรู้สึก
สบายใจเมื่อได้มาขอคำปรึกษาจาก
อาจารย์
สถานที่ให้คำปรึกษาไม่เป็ น
ส่วนตัวเพราะชั่วโมงให้คำปรึกษา
ของอาจารย์ที่ปรึกษาคือช่วงที่
อาจารย์ต้องประจำที่สำนักงานที่มี
อาจารย์สาขาอื่นรวมอยู่ด้วย
นักศึกษาจึงไม่กล้าพูดในประเด็น
ส่วนตัว จึงเสนอให้เสนอในที่ประชุม
คณะกรรมการบริหารระดับคณะ
เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาใน
ระดับคณะต่อไป

4. ก า ร ค ว บ ค ุม

ระบบการดูแ ล ไม่ประเมิน
ก า ร ใ ห ้ค ำ
ป ร ึก ษ า
วิท ยานิพ นธ์ใ น
ร ะ ด ับ บ ัณ ฑ ิต
ศึกษา
5. ก า ร พ ัฒ น า ระบบและกลไก 3.2-07 แ ผ น
หลักสูตรศษ.บ.มีระบบและกลไก ย ุท ธ ศ า ส ต ร ์ส า ข า ว ิ
ศ ัก ย ภ า พ
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการ
ชาฯ
น ัก ศ ึก ษ า แ ล ะ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่
3.2-08 แ ผ น ก า ร
การเสริม สร้า ง 21
ดำเนินงานประจำปี
ทัก ษะการเรีย น
3.2-09 รายงานสรุป
รู้ใ นศตวรรษที่ โ ค ร ง ก า ร พ ัฒ น า
21 น ัก ศ ึก ษ า ส า ข า
วิช ากา รสอนภา ษา
มลายู
3.2-10 ร า ย ง า น
กา ร ป ร ะ ช ุม ส รุป
ก า ร พ ัฒ น า
สาขาวิชาได้ประชุมอาจารย์ประจำ ศักยภาพนักศึกษา
หลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ และการเสริมสร้าง
แต่งตัง้ คณะกรรมการและกำหนดทักษะ
ทัก ษะการเรีย นรู้
ที่ต้องการพัฒนาและส่งเสริมแก่ผู้เรียนใน
ในศตวรรษที่ 21
ศตวรรษที่ 21 ในแต่ละชัน
้ ปี อย่างชัดเจน
และครอบคลุมทัง้ กิจกรรมในห้องเรียน
กิจกรรมเสริมหลักสูตร และโครงการ
ต่างๆโดยการกำหนดแผนยุทธศาสตร์
สาขาวิชาฯ (3.2-07) และแผนการดำเนิน
งานประจำปี (3.2-08)และชีแ
้ จงสมุด
กิจกรรมสำหรับนักศึกษาที่จัดทำโดยฝ่ าย
พัฒนาศักยภาพนักศึกษามหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี

-การพัฒนานักศึกษาที่อยู่ในแผน
ปฏิบัติการประจำปี
สาขาได้มีการวางแผนและจัดสรรงบ
ประมาณในการพัฒนานักศึกษา พัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภายใต้
โครงการ “โครงการพัฒนานักศึกษา
สาขาวิชาการสอนภาษามลายู” (3.2-
09)ประกอบด้วยทักษะดังต่อไปนี ้
1. ทักษะทางด้านเทคโนโลยี
กิจกรรมสำหรับนักศึกษาปี ที่1 ที่สาขา
วิชาร่วมกับสำนักวิทยบริการจัดอบรม
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Powerpoint สำหรับใช้ในการนำ
เสนอ โดยจัดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม
2560
2. ทักษะทางการสื่อสารและร่วมมือกัน
กิจกรรมที่สามารถเสริมทักษะนีแ
้ ก่
นักศึกษาได้แก่
 กิจกรรม Pengukuhan
Bahasa (กิจกรรมสำหรับ
นักศึกษาปี ที่2) เป็ นกิกรรมเพิ่ม
ทักษะทางภาษา ในระดับที่สูง
ขึน
้ โดยนักศึกษาฝึ กภาษากับ
เจ้าของภาษาคือ visiting Prof.
Madya Abdulhalim Ali จาก
มหาวิทยาลัย
UniversitiPendidikan
Sultan Idris
 กิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
กับนักศึกษาอินโดนีเซีย คือจาก
Universitas
Muhammadiyah Surakarta
และ Universitas
Muhammadiyah Profesor
Dr. Hamka Jakarta กิจกรรม
นีน
้ ักศึกษามีการฝึ กภาษา โดย
การมีเพื่อนเมตเป็ นคนต่างชาติ
ระหว่างการพักร่วมกับ
นักศึกษาต่างชาติที่หอพัก
นักศึกษา (กิจกรรมสำหรับ
นักศึกษาปี ที่1 และ 2)
3. การคิดวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่สามารถเสริมทักษะนีแ
้ ก่
นักศึกษาได้แก่กิจกรรม Jalinan
Muhibbah Keluarga Pendidikan
Bahasa Melayu เป็ นกิจกรรมกระชับ
ความสัมพันธ์ในครอบครัวการสอน
ภาษามลายู นักศึกษามีโอกาสวางแผน
ในการดำเนินกิจกรรมนอกสถานที่
และเพิ่มทักษะการแก้ปัญหาขณะ
ดำเนินกิจกรรม (กิจกรรมสำหรับ
นักศึกษาทุกชัน
้ ปี )
4. ความสนใจใคร่ร้แ
ู ละมีจินตนาการ
กิจกรรมที่สามารถเสริมทักษะนีแ
้ ก่
นักศึกษาได้แก่ กิจกรรม
Membentuk Insan Cemerlang
เป็ นกิจกรรมส่งเสริมด้านการอ่านบท
กวี ที่สามารถกระตุ้นนักศึกษาให้มี
จินตนาการทางภาษา การคิดอย่างมี
เหตุผล ทีสามารถแสดงออกผ่านความ
งามในภาษา (กิจกรรมสำหรับ
นักศึกษาปี ที่2)
การพัฒนานักศึกษาร่วมกับองค์กร
ภายนอก
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูส่งเสริม
พัฒนานักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมภายนอก
สาขาทัง้ กิจกรรมรัดับมหาวิทยาลัยและ
ภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะห์แก่นักศึกษาดังนี ้
-นายสาอัด สะนิ ได้เข้าร่วมโครงการ
เยาวชนคนทำดี มูลนิธิเอสสีจี ได้ผ่านเข้า
รอบ 31 ทีมสุดท้าย ที่กรุงเทพมหานคร
เมือวันที่ 13 กรกฎาคม 2560
-นายอับดุลฮากิม ดอมอลอ และ นายสา
อัด สะนิ ได้เข้าร่วมการแข่งขันกล่าว
สุนทรพจน์ภาษามลายูนานาชาติ ระดับ
มหาวิทยาลัย (มีผู้เข้าร่วมจาก
ประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และ
บรูไน) และได้ผ่านรอบ 10 คนสุดท้าย
ในมหกรรมกิจกรรมสร้างสังคมสันติสุข
ครัง้ ที่4 2-3 กุมภาพันธ์ 2561 จัดโดย
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-นายพิชิต เจ๊ะแว ได้เข้าร่วมการประกวด
นวัตกรรมการสอนอิสลามศึกษาระดับ
ชาติ ครัง้ ที่2 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560
จัดโดย วิทยาลัยอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
ปั ตตานี
-นางสาวซูไรดา ลูโบะยาเซ็ง และนางสาว
นาวีดา โตะมูดอ ได้เข้าร่วมการประกวด
เล่าเรื่องภาษามลายูระดับอุดมศึกษา เมื่อ
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 จัดโดยคณะ
ศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยา
ลัยฟาฏอนี
-นางสาวฮาฟี สา สาแม และ นางสาวนู
รุนนูฮา มะเยะ ได้เข้าร่วมกิจกรรมอบรม
และประกวดสุนทรพจน์ภาษามลายูใน
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ประจำปี
2561 เมื่อวันที่ 17-19 เมษายน 2561 ณ
โรงแรมปาร์ควิว รีสอร์ท ปั ตตานี อำเภอ
เมือง จังหวัดปั ตตานี จัดโดยศูนย์อำนวย
การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
สาขาวิชาประชุมโดยมีอาจารย์ประจำ
หลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 โดยอาจารย์ได้แนะให้มี
การจัดกิจกรรมที่เพิ่มทักษะอาชีพด้วย
(3.2-10)

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน การ
เป้ าหมาย
ตัวบ่งชี ้ ประเมิน การ บรรลุเป้ า
2560
ตนเอง ประเมิน หมาย
3.2 การส่งเสริมและ 4 ระดับ 4 ระดับ .....4...... [บรรลุ]
พัฒนานักศึกษา คะแนน
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
(องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ตัวบ่งชี ้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลัก


ฐาน
1. การคงอยู่ของ ข้อมูลจำนวนนักศึกษา นับถึงสิน
้ ปี การศึกษา

นักศึกษา 2560 เป็ นดังนี ้

ปี ก า ร จำนว จำนวนที่ส ำเร็จ จำนวน


ศ ึก ษ า นที่รับ การศึกษา ท ี่ล า
ท ี่ร ับ เข้า 2559 2560 อ อ ก
เข้า แ ล ะ
ค ัด ช ่ อ

อ อ ก
สะสม
จ น ถ ึง
ส น
ิ้ ป ี
ก า ร
ศึกษา
2559 31 - - 3
2560 23 - - 6
รวม 54 - - 9

จากข้อมูลของปี การศึกษา 2559 - 2560 ม ี


อัตราการคงอยู่เท่ากับ 83.33 %

2. การสำเร็จ ไม่ประเมิน
การศึกษา
3. ค ว า ม พ ึง 1. สาขาวิชาได้ประชุมคณะกรรมการ 3.3-01 รายงาน
พอใจและผล ประจำหลักสูตรเพื่อพูดคุและรวบรวม การประชุม

การจัดการข้อ ข้อมูลการร้องเรียนของนักศึกษาจาก 3.3-02 รายงาน

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ประจำ ความพึงพอใจและ


ร้อ งเรียนของ
หลักสูตรหัวหน้าสาขา ที่นักศึกษามีการ ผลจัดการข้อร้อง
นักศึกษา
ร้องเรียน และพูดคุยหารือแนวทางการ เรียนของนักศึกษา

จัดการข้อร้องเรียน (3.3-02)
2. สาขาวิชาได้รวบรวมผลการประเมิน
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้อง
เรียนของนักศึกษา ปี การศึกษา
2560 โดยมีการประเมินทัง้ ในเชิง
คุณภาพและเชิงปริมาณ (3.3-03)
- ประเมินในเชิงคุณภาพโดยการ
สัมภาษณ์นักศึกษา และ
- ประเมินความพึงพอใจในเชิง
ปริมาณ
ผลการประเมินในเชิงคุณภาพพบ
ว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการ
จัดการข้อร้องเรียนของสาขาวิชาโดย
ระบุถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขน
ึ้
และได้รับการแก้ปัญหาในระดับหนึ่ง
ผลการประเมินความพึงพอใจใน
การจัดการข้อร้องเรียนในเชิงปริมาณอยู่
ที่ระดับดี (xˉ = 4.18)

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี ้ เป้ าหมาย ผลการ คะแนน การ
ดำเนิน การ บรรลุเป้ า
2560
งาน ประเมิน หมาย
3.3 ผลที่เกิดกับ 4 ระดับ 4 ระดับ .......3.... บรรลุ
นักศึกษา คะแนน

3.4 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
(องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวชีบ
้ ่งชี ้ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ)
ผลการดำเนินงาน
หลัก ส ูต ร ....................................สาขาวิช า ........................................ได้
ดำเนินการสำรวจคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ 5 ด้าน คือ (1)ด้านคุณธรรมจริยธรรม(2) ด้านความรู้ (3) ด้าน
ทักษะทางปั ญญา (4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ(5)ด้าน
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจาก
ผู้ใช้บัณฑิตของหลักสูโดยได้ท ำการสำรวจผู้ใช้บัณฑิตของบัณฑิตที่ส ำเร็จการ
ศึก ษาในปี การศึก ษา 2560 จำนวน.............คน มีผ ู้ใ ช้บ ัณ ฑิต ตอบแบบ
ประเมิน คุณ ภาพกลับ มาจำนวน..............ฉบับคิด เป็ นร้อ ยละ.........โดยระดับ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตหลักสูตร .................................สาขา
วิชา........................................มีความเฉลี่ยเท่ากับ............จากคะแนนเต็ม 5
ข้อมูลประกอบการพิจารณา
ที่ รายการข้อมูลพื้นฐาน จำนวน
1 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทัง้ หมด
4 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5 ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อ
บัณฑิตตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)
*หมายเหตุ จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
วิธีการคำนวณ
ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการ 10
x = ........ คะแนน
ประเมินบัณฑิต 0
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการ
ประเมินทัง้ หมด
รายการหลักฐานอ้างอิง
รหัส รายการเอกสารหลักฐาน
เอกสาร
2.1-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
2.1-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
เป้ า ผลการ คะแนน
การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ หมาย ดำเนิน การ
เป้ าหมาย
2560 งาน ประเมิน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตาม - - ......5..... [บรรลุ]
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คะแนน
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ
ภายใน 1 ปี
(องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวชีบ
้ ่งชี ้ 2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรี
ที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี )
ผลการดำเนินงาน
ห ล ัก ส ูต ร ................................ส า ข า ว ิช า ..............................................
สำรวจการมีงานทำของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2559 โดยใช้
การสำรวจด้ว ยการให้บ ัณ ฑิต ตอบแบบสอบถามด้ว ยตนเอง ในวัน ซ้อ มรับ
ป ร ิญ ญ า บ ัต ร ข อ ง ม ห า ว ิท ย า ล ัย ฯ ซ ึ่ง ม ีบ ัณ ฑ ิต ส ำ เ ร ็จ ก า ร ศ ึก ษ า
หลักสูตร................................สาขาวิชา........................... จำนวน...............คน
พ บ ว ่า ม ีบ ัณ ฑ ิต ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ................ ค น ค ิด เ ป็ น ร ้อ ย
ละ.................... ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทัง้ หมด โดยมีบัณฑิตที่ได้งาน
ทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี จำนวน.................. คน จากจำนวน
บัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจโดยไม่นับรวมบัณฑิตที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษาหรือมี
กิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้วที่ไม่ได้เปลี่ยนงานใหม่ ผู้ที่ศึกษาต่อ
ในระดับบัณฑิตศึกษา ผู้อุปสมบทและผู้ที่เกณฑ์ทหาร จำนวน................. คน
คิดเป็ นร้อยละ.................. ซึ่งเท่ากับ........................ คะแนน

ข้อมูลพื้นฐาน จำนวน
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทงั ้ หมด
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมี
งานทำ
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหลังสำเร็จการ
ศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ)
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้า
ศึกษา
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีราย
ได้ประจำอยู่แล้ว
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท
จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทัง้ หมด ………… คน
จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพ ………… คน
อิสระภายใน 1 ปี
(ไม่นับรวมบัณฑิตที่ศึกษาต่อ เกณฑ์ทหาร อุปสมบท และ
บัณฑิตที่มีงานทำแล้วแต่ไม่ได้เปลี่ยนงานมาพิจารณา)
ค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบ ร้อยละ
อาชีพอิสระภายใน 1 ปี …………
…………
คะแนนที่ได้
คะแนน

วิธีการคำนวณ
1.คำนวณค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ
ภายใน 1 ปี

จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือ 10 ร้อย
x =
ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 0 ละ........
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทัง้ หมด
2.แปลงค่าร้อยละที่คำนวณ ได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
ค่าร้อยละของบัณฑิตป.ตรีที่ได้งานทำ 10
x = ........ คะแนน
หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 0
100

รายการหลักฐานอ้างอิง
รหัส รายการเอกสารหลักฐาน
เอกสาร
2.2-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
2.2-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
เป้ า ผลการ คะแนน การ
ตัวบ่งชี ้ หมาย ดำเนิน การ บรรลุเป้ า
2559 งาน ประเมิน หมาย
2.2 ร้อยละของบัณฑิต ร้อยละ ร้อย ........... [บรรลุ/
ปริญญาตรีที่ได้งานทำ 80 ละ.......... คะแนน ไม่บรรลุ]
หรือประกอบอาชีพอิสระ .
ภายใน 1 ปี

การวิเคราะห์ผลที่ได้
[วิเ คราะห์ผ ลการเปลี่ย นแปลงหรือ แนวโน้ม ของการได้ง านทำ โดยใช้
ข้อ มูล ภาวะตลาดแรงงาน ภาวะเศรษฐกิจ และการเปรีย บเทีย บกับ ข้อ มูล ที่
ผ่า นมาและสถาบันอื่น ที่เ ปิ ดสอนสาขา/สาขาวิชาเดียวกัน เพื่อ เป็ นข้อ มูล ใน
การพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร] ………………………………………………………………

หมวดที่ 4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพการสอนใน
หลักสูตร
ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตร

สรุปผลรายวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิ ดสอนในปี การศึกษา 2560 เปิ ดสอนทัง้ หมด ……


22……..รายวิชา ดังนี ้
ที่ รหัส ชื่อวิชา ภาค ร้อยละการกระจายของเกรด จำนวนนักศึกษา
การ
ศึกษา/
ปี การ
ศึกษา
ลง
B C D
A B C D F S U p I ทะเบีย สอบผ่าน
+ + +

1 GE2100-101 1/2560 1 6 0 0 0 0 0 3 0 0 0 0 22 19
3
อัลกุรอานเพื่อ
การพัฒนาคุร
ภาพชีวิต 1
2 GE2100-201 1/2560 1 5 3 5 4 1 0 3 0 0 0 0 22 19

อิสลามและวิถี
การดำเนิน
ชีวิต
3 GE2200-402 1/2560 2 2 6 4 3 1 2 2 0 0 0 0 22 19
ภาษาไทยใน
ชีวิตประจำวัน
4 GE2400-202 1/2560 1 5 0 0 2 0 0 2 0 0 0 0 22 20
3
ทักษะการ
เรียนและการ
ศึกษาค้นคว้า
5 ED346-001 1/2560 3 8 6 1 1 0 0 3 0 0 0 0 22 19
หลักศรัทธา
พื้นฐานสำหรับ
ครู
6 ED347-101 1/2560 1 3 1 4 0 0 0 3 0 0 0 0 22 19
ความเป็ นครู 1
7 GE2100-103 1/2560 1 7 3 1 2 1 0 1 0 0 0 0 29 28
อัลกุรอานเพื่อ 4
การพัฒนา
คุณภาพชีวิต 3
8 GE2300-303 1/2560 1 1 4 5 1 1 0 1 0 0 0 0 29 28
อิสลามกับ 5
วิทยาศาสตร์
9 ED347-103 1/2560 5 7 4 1 1 0 0 0 0 0 0 0 28 28
ภาษาและ 1
วัฒนธรรม
สำหรับครู
1 ED347-104 1/2560 1 1 4 1 1 0 0 1 0 0 0 0 29 28
0 จิตวิทยา 1 1
สำหรับครู
1 ED347-110 1/2560 3 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 29 28
1 การประกัน 0 5
คุณภาพการ
ศึกษา
1 GE2100-102 2/2560 9 4 3 1 0 1 0 0 0 0 0 2 20 18
2 อัลกุรอานเพื่อ
พัฒนาคุณภาพ
ชีวิต 2
1 GE2100-204 2/2560 1 5 8 3 1 1 0 1 0 0 0 0 20 19
3 นักคิดมุสลิม
และกลุ่มฟื้ นฟู
อิสลาม
1 GE2200-403 2/2560 1 5 6 3 2 0 1 2 0 0 0 0 20 18
4 ภาษาไทยเพื่อ
การสือสาร
1 ED346-002 2/2560 1 6 1 1 0 0 0 0 0 0 1 1 20 18
5 ศาสนบัญญัติ 0
พื้นฐานสำหรับ
ครู
1 ED346-003 2/2560 1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 20 18
6 จริยธรรมและ 4
ภาวะผู้นำใน
อิสลาม
1 ED347-102 2/2560 5 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 1 20 19
7 ปรัชญาศึกษา 2
1 GE2100-104 2/2560 8 5 5 3 4 0 0 0 0 0 0 3 28 25
8 อัลกุรอานเพื่อ
การพัฒนา
คุณภาพชีวิต 4
1 GE2100-203 2/2560 3 1 1 4 0 0 0 0 0 0 0 1 28 27
9 การสื่อสาร 0 0
และการ
เผยแผ่ใน
อิสลาม
2 ED347-105 2/2560 4 9 1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
0 หลักสูตรและ 1
การพัฒนา
หลักสูตร
2 ED347-108 2/2560 4 3 2 2 0 2 1 0 0 0 0 1 28 16
1 นวัตกรรมและ 2
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ทางการศึกษา
2 ED347-111 2/2560 1 1 3 0 0 0 0 0 0 0 0 2 28 28
2 คุณธรรม 1 4 8
จริยธรรมและ
จรรยาบรรณ
ครู

สรุปผลรายวิชาเฉพาะที่เปิ ดสอนใน ปี การศึกษา 2560 เปิ ดสอนทัง้ หมด ……10……..


รายวิชา ดังนี ้

ภาค
ร้อยละการกระจายของเกรด จำนวนนักศึกษา
การ
ที่ รหัส ชื่อวิชา ศึกษา/ ลง สอบผ่าน
B C F
ปี การ A B C D+ D F S U I ทะเบีย
+ + E
ศึกษา น
1 ML2205-111 1/256
หลักภาษา 0 6 6 8 0 0 0 0 2 0 0 0 0 22 20
มลายู 1
2 ML2205-121 1/256 9 5 5 0 1 0 0 2 0 0 0 0 22 20
สนทนาภาษา 0
มลายู
3 ML2205-001 1/256
1
ภาษาศาสตร์ 0 3 5 4 4 0 0 1 0 0 0 0 29 28
2
ทั่วไป
4 ML2205-071 1/256
8 4 4 8 4 0 0 1 0 0 0 0 29 28
ทักษะยาวี 1 0
5 ML2205-112 2/256
หลักภาษา 0 9 3 6 0 0 0 0 0 0 0 0 2 20 18
มลายู 2
6 ML2205-114 2/256
คำยืมภาษาต่าง 0 1
2 5 0 0 0 0 0 0 0 0 2 20 18
ประเทศใน 1
ภาษามลายู
7 ML2205-122 2/256
1
การฟั งจับใจ 0 2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 2 20 18
2
ความ
8 ML2205-102 2/256
1
สรศาสตร์ภาษา 0 3 6 6 0 0 0 0 0 0 0 2 20 18
1
มลายู
9 ML2205-141 2/256
1
การเขียนภาษา 0 9 5 3 0 0 0 0 0 0 0 1 28 27
0
มลายู
1 ML2205-164 2/256
1
0 วรรณกรรม 0 8 6 2 1 0 0 0 0 0 0 0 28 28
1
มลายู
หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร
5.1 สาระวิชาในหลักสูตร
(องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัว
บ่งชี ้ 5.1 สาระรายวิชาในหลักสูตร)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผล
การดำเนินงาน)
1. การออกแบบ

หลักสูตรและ ขัน
้ ตอนการร่างหลักสูตร ใ

สาระรายวิชา 1. หลักสูตรการสอนภาม
ในหลักสูตร ลายู เป็ นหลักสูตรที่พัฒนามาจาก
หลักสูตรภาษามลายู คณะศิลปะ
ศาสตร์ที่ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้
ความเชี่ยวชาญทางด้านภาษา
มลายู บัณฑิตที่จบมาส่วนใหญ่มี
อาชีพเป็ นครูภาษามลายู แต่
เนื่องจากบัณฑิตเหล่านีไ้ ม่ได้จบ
ด้านศึกษาศาสตร์ ทำให้ต้องศึกษา
ต่อเพื่อให้ได้ใบประกอบวิชาชีพครู
ซึ่งถือว่ายุ่งยากและเสียเวลา ดังนัน

ทางผู้บริหารมหาวิทยาลัยเล็งเห็น
ว่าควรมีการเปิ ดหลักสูตรให้กับผู้ที่
ต้องการเป็ นครูภาษามลายู ได้
ศึกษาในหลักสูตรศึกษาศาสตร์ 5
ปี
2. มหาวิทยาลัยแต่งตัง้ คณะ
กรรมการร่าง/ออกแบบและพัฒนา
หลักสูตร (5.1-02) และคณะ
กรรมการคณะร่วมกับสาขา
วิชาการสอนภาษามลายู จึงได้
ดำเนินการออกแบบและพัฒนา
เอกสารหลักสูตร มคอ 2 ตาม
กลไกดังกล่าวโดยกำหนดบริบท
ของหลักสูตรที่สะท้อนอัตลักษณ์
บัณฑิตกำหนดคุณสมบัติบัณฑิตอัน
พึงประสงค์ออกแบบหลักสูตรและ
สาระรายวิชาให้สอดคล้องกับ
สมรรถนะที่ต้องการและกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งผลิตบัณฑิต
วิชาชีพครูที่มีความรู้และทักษะใน
การใช้ภาษามลายู และมีการ
จัดการเรียนรู้ภาษามลายูอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีการบูรณาการ
อิสลามในหลักสูตร เพื่อผลิต
บัณฑิตที่มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม
ประพฤติตนเหมาะสมกับความเป็ น
ครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพ รู้เท่า
ทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บริบททางการศึกษา วิทยาการ
ร่วมสมัยและประชาคมอาเซียนที่
สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1. เชิญผู้วิพากษ์มาวิพากษ์หลัก
สูตรฯ
2. ส่งหลักสูตรให้สภาวิชาการ
เพื่อตรวจสอบ
3. คณะกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยพิจารณาและ
อนุมัติหลักสูตร
4. ส่งหลักสูตรเพื่อให้คณะ
กรรมการคุรุสภารับรอง
หลักสูตรและ
5. ส่งให้ สกอ..รับทราบ
หลักสูตรและประกาศใช้
การออกแบบหลักสูตรและสาระ
รายวิชาในหลักสูตร
หลักสูตรการสอนภามลายูได้
ดำเนินการตามหลักคิด
Prof.Dr.AwangSariyan
(2004)ที่ได้เสนอปรัชญาการ
สอนภาษาดังนี ้
1) Pendidikan bahasa sebagai
upaya mengembangkan
potensi berbahasa yang
dikurniakan Tuhan.
(2) Pendidikan bahasa
sebagai upaya meneliti
system alam ciptaanTuhan.
(3) Pendidikan bahasa
sebagai satu cabang
pendidikan umum, iaitu
sebagai subjek atau sebagai
saranan pemerolehan ilmu
lain.
(4) Pendidikan bahasa
sebagai wahana pewarisan
nilai-nilai kehidupan
bermasyarakat.
ซึ่งมีความหมายดังนี ้
1).การสอนภาษาเป็ นการพัฒนา
ศักยภาพทางภาษาที่ได้รับการ
ประทานจากพระเจ้า
2). การสอนภาษาเป็ นความ
สามารถในการศึกษาวิจัยสิ่งที่
พระเจ้าสร้าง
3). การสอนภาษาเป็ นศาสตร์
แขนงหนึ่งในศาสตร์ทงั ้ หลาย คือ
เป็ นสาระวิชาที่เป็ นสื่อกลางในการ
เรียนรู้ศาสตร์อ่ น
ื ๆ
4).การสอนภาษาเป็ นสื่อกลางใน
การสืบทอดค่านิยมทางสังคม
จากปรัชญาดังกล่าว หลักสูตรการ
สอนภาษามลายูเป็ นหลักสูตรที่
ออกแบบให้เพื่อพัฒนาศักยภาพ
นักศึกษาให้เป็ นบัณฑิตมีความรู้
สามารถทางด้านภาษาและ
วรรณกรรมมลายู และสามารถ
จัดการเรียนรู้ภาษามลายูที่บูรณา
การอิสลามให้กับชุมชนที่
สอดคล้องกับปรัชญามหาวิทยาลัย
ที่เป็ นหลักคำสอนอัลกุรอาน
ความหมายว่า “และเราไม่ได้ส่ง
เจ้ามาเพื่ออื่นใด นอกจากเป็ น
ความเมตตาเพื่อประชาชาติทงั ้
มวล” (อัลกุรอานอัลอัมบิยาอ.21:
107)
รายวิชาต่างๆในหลักสูตรสามารถ
แบ่งหมวดได้ดังนี ้
1. รายวิชาทักษะภาษามลายู
ML2205-102 ทักษะยาวี
ML2205-121 สนทนา
ภาษามลายู
ML2205-122 การฟั งจับใจ
ความ
ML2205-131 การอ่าน
ภาษามลายู
ML2205-142 ปริเฉทภาษา
มลายู
ML2205-141 การเขียน
ภาษามลายู
ML2205-151 การแปล 1
TM2406-731 การเขียนเชิง
สร้างสรรค์ภาษามลายู
TM2406-731 วาทศิลป์
ภาษามลายูเพื่อการสอน
จากรายวิชาดังกล่าว
สามารถทำให้บัณฑิตมี
ทักษะภาษาทัง้ 4 ด้าน คือ
การฟั ง การพูด การอ่าน
และการเขียน
2. รายวิชาภาษาศาสตร์ภาษา
มลายู
ML2205-001 ภาศาสตร์
ทั่วไป
ML2205-102 สรศาสตร์
ภาษามลายู
ML2205-103 อรรถศาสตร์
ภาษามลายู
ML2205-111 หลักภาษา
มลายู1
ML2205-112 หลักภาษา
มลายู2
ML2205-113 หลักภาษา
มลายู3
ML2205-114 คำยืมภาษา
ต่างประเทศในภาษามลายู
ML2205-181 การตีความ
ภาษามลายู
ML2205-001 ภาษามลายู
เชิงจิตวิทยา
จากรายวิชาดังกล่าว
สามารถทำให้บัณฑิตมีความ
รู้ทางด้านภาษาศาสตร์มลายู
ที่เป็ นองค์ความรู้ในการ
อธิบายความหมายของ
ภาษา หลักไวยากรณ์ ระบบ
เสียงในภาษา เป็ นต้น
เป็ นการอธิบายภาษาตาม
หลักภาษาศาสตร์สมัยใหม่
ที่มีการรับรองจากสถาบัน
Dewan Bahasa dan
Pustaka โดยนัก
ภาษาศาสตร์มลายูที่มีช่ อ

เสียง เช่น Asmah Haji
Omar, Abdullah Hassan,
Nik Safiah Karim,
Awang Sariyan,
Abdulhamid Mahmood เ
ป็ นต้น
3. รายวิชาวรรณกรรมมลายู
ML2205-164 วรรณกรรม
ลายู
ML2205-168 วรรณกรรม
มลายูร่วมสมัย
ML2205-166 เรื่องสัน
้ และ
นวนิยายมลายู
ML2205-167 บทละคร
มลายู
จากรายวิชาดังกล่าว
สามารถทำให้บัณฑิตมีความ
รู้ทางด้านวรรณกรรมมลายู
ทางสาขาวิชาได้ให้ความ
สำคัญมาก โดยใช้
เทคนิค Komponan
Sastera dalam
Pengajaran Bahasa(การ
ใช้วรรณกรรมเป็ นสื่อการ
สอนภาษามลายู)
4. รายวิชาการจัดการเรียนรู้
ภาษามลายู
TM2406-705 การจัดการ
เรียนรู้ภาษามลายู1
TM2406-706 การจัดการ
เรียนรู้ภาษามลายู2
TM2406-707 การจัดการ
เรียนรู้ภาษามลายู3
TM2406-704 สัมนา
ทางการจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู
จากรายวิชาดังกล่าวสามารถทำให้
บัณฑิตสามารถออกแบบการ
จัดการเรียนรู้ภาษามลายูที่มี
ประสิทธิภาพ มีพร้อมที่จะเป็ นครู
ภาษามลายู และเป็ นผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงการเรียนการสอน
ภาษามลายูในประเทศไทย

2. การปรับปรุง 5.1-02

หลักสูตรให้ทัน จากการใช้หลักสูตรการสอนภาษา ม ค อ .5 ร า ย ว ิช า
ML2205-102 ส ร
สมัยตามความ มลายูเป็ นระยะเวลา 2 ปี พบ
ศาสตร์ภาษามลายู
ก้าวหน้าใน ว่าการเรียนภาษาในห้องเรียน
ศาสตร์นน
ั้ ๆ อย่างเดียวนัน
้ ทักษะทางการ
สื่อสารไม่สามารถพัฒนาอย่างเต็ม
ที่ ควรมีการเพิ่มกิจกรรมการเรียน
รู้ภาษาในสถานการณ์จริง รายวิชา
ML2205-102 สรศาสตร์ภาษา
มลายู จากเดิมเรียนทฤษฎีและฝึ ก
ปฏิบัติในห้องเรียนอย่างเดียว
เป็ นการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มคือการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ทางสรศาสตร์
ภาษามลายูในการสอนภาษา ได้แก่
การสอนทักษะการอ่านภาษามลายู
ด้วยวิธิโฟนิก โดยให้นักศึกษาไป
ทดลองสอนการอ่านกับเด็กเล็ก
แล้วมานำเสนอผลงานผ่านกลุ่ม
เฟสบุค พบว่าในระยะเวลีที่สน
ั้
เด็กๆสามารถจำและออกเสียง
พยัญชนะได้

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน
เป้ าหมาย การบรรลุ
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ
2560 เป้ าหมาย
งาน ประเมิน
5.1 สาระของ 4 ระดับ 4 ระดับ ......4..... บรรลุ
รายวิชาในหลักสูตร คะแนน
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
(องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัว
บ่งชี ้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลัก


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนิน ฐาน
งาน)
1. ก า ร 5.2-01 ร า ย ง า น

ก ำ ห น ด ผ ู้ ผลการดำเนินงาน การประชุม การ

1. สาขาวิชาฯประชุมเพื่อกำหนดผู้สอน กำหนดผู้สอน
สอน
ในการจัดการเรียนการสอน (5.2-01) ตาม 5.2-02 ร า ย ง า น

แผนการเรียน ที่ปรากฏในหลักสูตรโดย ก า ร ป ร ะ ช ุม

พิจารณาอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาให้ ป ร ะ เ ม ิน

เหมาะกับความเชี่ยวชาญของอาจารย์แต่ละ กระบวนการ

ท่าน โดยพิจารณาจากความชํานาญในเนื้อหา กำหนดผู้สอน


วิชา และประสบการณ์การสอนในรายวิชาที่
รับผิดชอบที่ผ่านมา
2. เสนอผลการกำหนดผูส
้ อนโดย
อาจารย์ประจำหลักสูตรในที่ประชุมสาขา ฯ
เพื่อรับทราบและพิจารณาปรับเปลี่ยนตาม
เหตุผลและความเห็นของที่ประชุม ตลอดจน
สรุปเป็ นมติของที่ประชุม
3. ส่งรายวิชาที่จะเปิ ดสอนพร้อมรายชื่อ
ผู้สอนตามมติที่ประชุมไปยังสำนักบริการการ
ศึกษาเพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
4. แจ้งรายวิชาที่ต้องรับผิดชอบแก่
อาจารย์ผู้สอนโดยใช้ตารางภาระงานสอน
ประเมินผลการดำเนินงาน
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ
หลัก สูต รและอาจารย์ท ี่เ กี่ย วข้อ งประเมิน
กระบวนการการกำหนดผู้สอนผลการประเมิน
พบว่า อาจารย์ป ระจำหลัก สูต รได้ภ าระงาน
ส อนยัง ไ ม่เ ก ิน โห ล ดเ นื่อ ง เพ ิ่ง มีน ัก ศ ึก ษา
แค่2 ชัน
้ ปี (5.2-02)

2. การกำกับ ระบบและกลไก 5.2-03 รายงาน


การประชุมแจ้ง
ติดตาม
รายวิชาทีเ่ ปิ ดสอน
และตรวจ
สอบการ
จัดทำ
แผนการ
เรียนรู้
(มคอ.3
ผลการดำเนินงาน
และ
1.สาขาวิชาฯ ประชุมแจ้งรายวิชาที่เปิ ด
มคอ.4)
สอนในแต่ละภาคเรียนของปี การศึกษา
การจัดการ
2560(5.2-03) และกําหนดผูส
้ อนแต่ละ
เรียนการ รายวิชา ซึ่งผู้สอนแต่ละรายวิชาจะต้องจัดทํา
สอน เอกสาร มคอ.3 ก่อนเปิ ดภาคเรียนทุกครัง้
โดยภาคเรียนที่ 1/2560 จะมี มคอ.3 ตามจํา
นวนรายวิชาที่เปิ ดคือ จํานวน 15 รายวิชา
และภาคเรียนที่ 2/2560 มีจํานวนรายวิชาที่
เปิ ดสอน จํานวน 17 รายวิชา โดยการปฏิบัติ
ในขัน
้ นีเ้ ป็ นไปตามข้อกําหนดตัวบ่งชีผ
้ ลกา
รดําเนินงานในหมวดที่ 7 การประกันคุณภาพ
หลักสูตร ของ มคอ.2
2.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุม
เพื่อติดตาม และตรวจสอบการจัดทํามคอ.3
และแนวทางการทวนสอบก่อนสอน ชีแ
้ จง
แนวทางการจัดทำ มคอ.3 แก่อาจารย์ผู้รับผิด
ชอบรายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัด
ทำแผนการเรียนรู้ใน มคอ.3
3.ดำเนินการทวนสอบการจัดทำแผนการ
เรียนรู้ใน มคอ.3 โดยการทวนสอบก่อนสอน
อาจารย์ผู้สอนชีแ
้ จง มคอ.3 แก่นักศึกษา
ดำเนินการสอนตามแผนการเรียนรู้ มีการ
ทวนสอบระหว่างสอน นักศึกษาประเมิน
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์หลังจาก
เสร็จสิน
้ การจัดการเรียนการสอนของแต่ละ
ภาคการศึกษาตามระบบของมหาวิทยาลัย
4.จัดทารายงานสรุปผลการประเมิน
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์จากการ
ประเมินของนักศึกษาทุกรายวิชาที่เป็ นวิชา
เฉพาะ และผลการประเมินพบว่า
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ที่สอนวิชา
เฉพาะเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดีมาก โดยมีค่า
เฉลี่ยระหว่าง 3.78 - 4.83 คะแนน จาก
คะแนนเต็ม 5 การประเมินการจัดการเรียน
การสอนในรายวิชาที่สอนในภาคการศึกษาที่
1/2560 และ 2/2560 มีคะแนนประเมินเฉลี่ย
ทัง้ 2 ภาคการศึกษาเป็ น 4.13 ผลการ
ประเมินอยู่ในระดับดีทุกรายวิชาแสดงถึง
ความเหมาะสมของอาจารย์ผู้สอนต่อรายวิชา
ที่จัดการเรียนการสอน
5.อาจารย์ประจำหลักสูตร นำผลการ
ประเมินการจัดการเรียนการสอน ข้อร้อง
เรียนของนักศึกษาด้านคุณภาพการสอน
หารือร่วมกันในที่ประชุมเพื่อเป็ นข้อมูล
สำหรับการกำหนดผูส
้ อนในปี ต่อไป
ประเมินผลการดำเนินงาน
ประชุม สาขาโดยมีอ าจารย์ป ระจำ
หลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้องร่วมประเมิน
กระบวนการการกำกับ ติด ตาม และตรวจ
สอบการจัดทำแผนการเรียนรู้มคอ. 3 และม
คอ.4 ผลการประเมินพบปั ญหาข้อจำกัด คือ
ขัน
้ ตอนการกำกับ ติด ตาม การส่ง มคอ ยัง
ล่าช้าเนื่องจากส่วนใหญ่เป็ นรายวิชาร่วมสอน
กับสาขาวิชาภาษามลายูคณะศิลปศาสตร์ ซึง่
การจัด ทำมคอ.3 นัน
้ ต้อ งผ่า นการพิจ ารณา
เห็น ชอบทัง้ สาขาวิช าภาษามลายูแ ละสาขา
วิชาการสอนภาษามลายู 

3. การจัดการ ระบบและกลไก 5.2-04 มคอ.5

เ ร ีย น ก า ร รายวิชา
ML2205-111
สอนใน
หลักภาษามลายู
ร ะ ด ับ 1

ปริญญาตรี 5.2-05 มค
อ.5ML2205-
ท ี่ม ีก า ร บ ู
071 ทักษะยาวี
รณาการ
5.2-05 มคอ.5
ก ับ ก า ร
รายวิชา
วิจ ัย การ ML2205-122 กา
บ ร ิก า ร รฟั งจับใจความ

ว ิช า ก า ร 5.2-05 รายงาน

ทางสัง คม ผลการดำเนินงาน การประชุม


ประเมิน
แ ล ะ ก า ร ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตร
และอาจารย์ที่เกี่ยวข้องพิจารณาแนวทางการ กระบวนการการ
ทำนุบ ำรุง
จัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการ จัดการเรียนการ
ศิล ปะและ
วิจัย การบริการทางสังคม และการทำนุบำรุง สอนในระดับ
วัฒนธรรม ปริญญาตรีที่มีกา
ศิลปะและวัฒนธรรม
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีการ รบูรณาการ

จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มี
การบูรณาการกับการวิจัยการบริการวิชาการ
ทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรมดังนี ้
1. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การกับการวิจัย รายวิชา ML2205-111
หลักภาษามลายู 1 มีการจัดการเรียนการ
สอนที่บูรณาการกับการวิจัยเรื่อง “
Analisis Kesalahan Bahasa Melayu
dalam Kalangan PelajarDaerah
Yarang Wilayah Pattani” ผู้รับผิดชอบ
คือ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว (5.2.3-03)
เป็ นการบูรณาการกับการเรียนการสอน
ด้านความรู้ โดยนักศึกษามีส่วนร่วมใน
การเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อผิดพลาด
ในการใช้ภาษาของกลุ่มตัวอย่าง ใน 8
โรงเรียน ผลจากความร่วมมือของ
นักศึกษาในครัง้ นี ้ ทำให้ผลสัมฤทธิ ์
รายวิชาหลักภาษามลายู1 เพิ่มขึน

2. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การการบริการวิชาการทางสังคม
รายวิชา ML2205-071 ทักษะยาวีมีการ
จัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการ
การบริการวิชาการทางสังคมจาก
โครงการ “โครงการส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้ของผู้เรียนโดยบูรณาการ
วัฒนธรรมท้องถิ่นชายแดนภาคใต้”ผู้รับ
ผิดชอบคือ อ.แอสซูมานี มาโซ โดย
นักศึกษารายวิชาดังกล่าวมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมครัง้ นี ้ ในการจัดกิจกรรม หนู
น้อยนักแสดง Puisidra ณ โรงเรียนบ้าน
ต้นทุเรียน และ โรงเรียนตลาดปรีกีใน
ชั่วโมงกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ตัง้ แต่ 19 พฤษภาคม 2560-29 กันยายน
2560
เป็ นการบูรณาการการจัดการสอนด้าน
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ โดยนักศึกษามีโอกาส
สัมผัสโรงเรียน มีโอกาสพบผู้บริหาร
โรงเรียน บุคลากรโรงเรียน ตลอดจนฝึ ก
ทักษะความรับผิดชอบในการเป็ นผู้ช่วย
วิทยากรในการฝึ กทักษะการแสดง การ
ปฏิสัมพันธ์กับเด็กนักเรียน นับว่าเป็ น
ประสบการณ์ที่จะพัฒนาความเป็ นครูแก่
ตัวนักศึกษา

3. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
รายวิชา ML2205-122 การฟั งจับใจความ มี
การบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรมกับกิจกรรม มีการบูรณาการกับ
กิจกรรม Bengkel Seni Deklamasi Puisi
ผู้รับผิดชอบคือ อ. นูรณี บูเกะมาตี จาก
กิจกรรมนีน
้ ักศึกษาได้เข้าร่วมรับฟั งการ
บรรยายโดย Pak Ladin Nauwi วิทยากรจาก
ประเทศมาเลเซีย Pak Ladin Nauwi เป็ น
ศิลปิ นอิสระที่มีช่ อ
ื เสียงในด้านการจัดการ
แสดงละคร นักเขียนบทละคร นักแต่งหนังสือ
กวี กิจกรรมนีน
้ ักศึกษาได้ร้ว
ู ิธีการฝึ กออก
เสียงขับร้องบทกวีที่จะจะดึงดูดผู้ฟัง และวิธี
การฝึ กสร้างความมั่นในตนเองในการแสดงบน
เวที

การประเมินกระบวนการและเสนอแนวทาง
พัฒนา
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ
หลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้องเพื่อประเมิน
กระบวนการการจัดการเรียนการสอนใน
ระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย
การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุ
บำรุงศิลปะและวัฒนธรรมพบว่าการบูรณา
การยังไม่เต็มรูบแบบ ควรมีการวางแผนและ
เตรียมการตามวงจร PDCA

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน การ
เป้ าหมาย
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ บรรลุเป้ า
2560
งาน ประเมิน หมาย
5.2 การวางระบบผู้ 4 ระดับ 4 ระดับ ......4..... บรรลุ
สอนและกระบวนการ คะแนน
จัดการเรียนการสอน
5.3 การประเมินผู้เรียน
(องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัว
บ่งชี ้ 5.3 การประเมินผู้เรียน)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลัก


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ ฐาน
ดำเนินงาน)
1. ก า ร ระบบและกลไก 5.3-01 ร า ย ง า น

ประเมินผล การประชุม กา ร
ปร ะเมิน ผลกา ร
การเรีย นรู้
เรีย นรู้ต ามกรอบ
ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ
มาตรฐาน
คุณวุฒิ

ผลการดำเนินงาน
สาขาวิชามีการประชุมเพื่อวิเคราะห์การ

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 52


ประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มคอ. 5
ของแต่ละรายวิชาในปี การศึกษา 2560 แล
ะสรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินผล
การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษาแห่งชาติ มคอ. 5 (5.3-01) ผล
การประเมินพบว่า รายวิชาที่เปิ ดสอนในปี
การศึกษา 2560 ส่วนใหญ่ใช้วิธีการสอบทัง้
แบบอัตนัยและปรนัยสำหรับภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัตินอกจากนีย
้ ังใช้กระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมผู้เรียนขณะฝึ กปฏิบัติเพื่อ
ประเมินทักษะรายบุคคลและกระบวนการ
กลุ่มคณะกรรมการบริหารหลักสูตรประเมิน
กระบวนการประเมินผลการเรียนรู้ตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติพบว่ามี
ความสอดคล้องระหว่างผลการเรียนรู้ของผู้
เรียนกับแผนที่กระจายความรับผิดชอบของ
แต่ละรายวิชามีความชัดเจนยิ่งขึน

2. การตรวจ ผลการดำเนินงาน 5.3-02 รายงาน

สอบการ 1. ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ การประชุมสาขา

หลักสูตรและอาจารย์ที่ เรื่องการตรวจ
ประเมินผล
เกี่ยวข้องพิจารณาแนวทางการประเมินผล สอบการประเมิน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 53


การเรียนรู้ การเรียนรู้ของนักศึกษา และแนวทางปฏิบัติ ผลการเรียนรู้ของ
ของ สำหรับการออกแบบการวัดและประเมินผล นักศึกษา

(5.3-02)ทุกรายวิชาดำเนินการออกแบบการ 5.3-03 รายงาน


นักศึกษา
วัดและประเมินผลใน มคอ.3 การทวนสอบผล

2. คณะกรรมการ (5.3-03) มีการ สัมฤทธิ ์

ทวนสอบการวัดและประเมินผลใน 5.3-04 แบบ

มคอ.3 มีการวิพากษ์ข้อสอบและพิจารณา ประเมินข้อสอบ

ความเหมาะสมของข้อสอบโดยมีแบบ
ประเมินข้อสอบสรุปผลการประเมินและส่ง
ให้อาจารย์ประจำรายวิชาดำเนินการแก้ไข
3. อาจารย์ประจำรายวิชาแก้ไขข้อสอบตาม
ผลการวิพากษ์ และส่งข้อสอบให้ประธาน
กรรมการวิพากษ์ข้อสอบตรวจสอบความถูก
ต้องของการแก้ไข เรียบร้อยแล้ว จึงส่ง
ข้อสอบฉบับสมบูรณ์เพื่อทำชุดข้อสอบ
ดำเนินการสอบ  
4. อาจารย์ผู้ออกข้อสอบ บันทึกคะแนนตาม
ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา รวมคะแนนและ
ตัดเกรด ทวนสอบการตัดเกรด แล้วส่งเกรด
ให้ทางสาขา
5. สาขาวิชาฯมีการประชุมเพื่อ
ติดตามการ ประเมินผลการเรียนของ
นักศึกษาแต่ละรายวิชาที่จัดการ เรียนการ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 54
สอนในปี การศึกษา 2560 โดยพิจารณาตาม
มคอ.3 ที่อาจารย์แจ้งไว้ดังนัน
้ มคอ.3 และม
คอ.5 ต้องสอดคล้องกันโดยตรวจสอบผล
การเรียนของนักศึกษาว่าเป็ นไปตามหลัก
เกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน(เกรด) ตาม
ระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี
์ ามมาตรฐาน
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิต
การเรียนรู้โดยคณะกรรมการทวนสอบอย่าง
น้อยร้อยละ 25% ของรายวิชาที่เปิ ดสอนใน
ปี การศึกษา 2560 และสรุปผลการทวบสอบ
(5.3-0) ใน 3 รายวิชาเฉพาะของสาขา จาก
รายวิชาทัง้ หมดจำนวน 10 รายวิชา พบว่า
รายวิชา ML2205-114 คำยืมภาษาต่าง
ประเทศในภาษามลายูมี ข้อเสนอแนะจาก
คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิว์ ่าผลการ
ประเมินได้เกรด A มีมากเกิน 90 เปอร์เซนต์
รายวิชา ML2205-121 สนทนาภาษามลายู
พบว่าข้อสอบยังไม่ได้วัดความรู้ด้าน
วิเคราะห์ ML2205-141 การเขียนภาษา
มลายู พบว่าผลสัมฤทธิเ์ กรดกระจุกอยู่
แค่2 เกรดจากนัน
้ จากนัน
้ นำผลการทวน
สอบแจ้งที่ประชุมสาขาทราบเพื่อ ปรับปรุง
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 55
และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนต่อไป
โดย คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
พิจารณาแล้วเห็น ว่าเอกสารทวนสอบมีการ
ประเมินความรู้ของผู้เรียนตามเนื้อหาเฉพาะ
ของแต่ละรายวิชาที่ชัดเจน หลังจากนัน
้ จึง
ดำเนินการส่งผลการศึกษาไปยังงาน
ทะเบียนและวัดผลของมหาวิทยาลัย

ประเมินผลการดำเนินงาน
สาขาวิช ามีก ารประชุม สรุป การตรวจ
สอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
พบว่า ขัน
้ ตอนการวิพ ากษ์ข ้อ สอบและการ
ทวนสอบอาจมีความล่าช้าเนื่องจากอาจารย์
มีภาระงานมาก ต้องบริหารเวลาให้ทันตาม
กำหนดการที่วางเอาไว้
3. ก า ร ก ำ ก ับ ผลการดำเนินงาน 5.3-04 รายงาน

ก า ร 1. เมื่อสอนจบภาคการศึกษา นักศึกษา การประชุมการ

จะต้องประเมินการสอนของอาจารย์แต่ละ กำกับการ
ป ร ะ เ ม ิน
รายวิชาในระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ซึง่ ประเมินการ
การจัด การ
ข้อคําถาม ในการประเมินประกอบด้วยด้าน จัดการเรียนการ
เ ร ีย น ก า ร
ต่างๆคือด้านเทคนิคการจัดกิจกรรมการ สอนและประเมิน
ส อ น แ ล ะ จัดการเรียนรู้ ด้านบุคลิกภาพของผู้สอน หลักสูตร

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 56


ป ร ะ เ ม ิน ด้านการประเมินผล และ ด้านการนำสิ่ง (มคอ.5 มคอ.6

ห ล ัก ส ูต ร สนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อนําไปพัฒนา และ มคอ.7)

ปรับปรุงต่อไป
(ม ค อ .5
2. สาขาวิชาฯมีการประชุมเพื่อ
ม ค อ .6
พิจารณาร่วมกัน เกี่ยวกับผลการประเมิน
แ ล ะ
ของอาจารย์ผู้สอนรายบุคคล (5.3-08) โดย
มคอ.7) การใช้แบบติดตามผลการประเมินของ
อาจารย์ผู้สอน (5.3-09) โดยการปฏิบัติใน
ขัน
้ นีเ้ ป็ นไปตามข้อกําหนดตัวบ่งชีผ
้ ลการดํา
เนินงานในหมวดที่ 7 การประกันคุณภาพ
หลักสูตร ของ มคอ.2 (ตัวบ่งชีผ
้ ลการดําเนิน
งานข้อ 6)
3. ส าข าว ิช า ฯ โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
ประจำหลักสูตร ได้ดําเนินการเก็บข้อมูลเชิง
คุณ ภาพ ได้แ ก่ การสัม ภาษณ์เ ชิง ลึก จากผู้
เรีย นเพื่อ สะท้อ นให้เ ห็น คุณ ภาพการสอน
ของอาจารย์ที่ชัดเจนยิ่งขึน

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน การ
เป้ าหมาย
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ บรรลุเป้ า
2560
งาน ประเมิน หมาย

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 57


5.3 การประเมินผู้ 4 ระดับ 4 ระดับ ......4..... บรรลุ
เรียน คะแนน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 58


5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
(องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัว
บ่งชี ้ 5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ)

ผลการดำเนินงาน

ประเมิน เอกสาร/
ผล หลักฐาน
ผ่าน ไม่
ที่ ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เกณ ผ่า
ฑ์ น
เก
ณฑ์
1 อาจารย์ป ระ จ ำ สาขาวิชาการสอนภาษามลายู  1.1 - 03
ห ล ัก ส ูต ร อ ย ่า ง ได้จ ัด ประชุม คณะกรรมการ รายงาน
น้อ ยร้อ ยล ะ 80 บริห ารหลัก สูต รประจำปี การ การ
มีส ่วนร่ว มในการ ศึก ษา 2560 ทัง้ หมดจำนวน ประชุม
ป ร ะ ช ุม เ พ ่ อ
ื 8 ครัง้ (1.1-03) โดยมีอาจารย์ คณะ
วางแผนติด ตาม ประจำหลัก สูต รเข้า ร่ว มการ กรรมการ
และทบทวนการ ประชุม คิด เป็ นร้อ ยละ 100 ประจำ
ด ำ เ น ิน ง า น ของอาจารย์ป ระจำหลัก สูต ร หลักสูตร
หลักสูตร ทัง้ หมด (1.1-04) โดยมีร าย สาขา
ละเอียดเกี่ยวกับ การวางแผน วิชาการ

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 59


ต ิด ต า ม แ ล ะ ท บ ท ว น ก า ร สอนภาษา
ดำเนิน งานของหลัก สูต รในปี มลายู
การศึกษา 2560 (5 ปี )
2 ม ีร า ย ล ะ เ อ ีย ด สาขาวิชาการสอนภาษามลายู  1.1 - 05
ข อ ง ห ล ัก ส ูต ร จัดทำเอกสารมคอ.2 (1.1-05) มคอ.2
ตามแบบ มคอ.2 ของหลัก สูต ร ศึก ษาศาสตร์
ท ี่ส อ ด ค ล ้อ ง ก ับ บ ณ
ั ฑ ิต ส า ข า ว ิช า ก า ร ส อ น
กรอบมาตรฐาน ภ า ษ า ม ล า ย ูเ ส น อ ต ่อ ส ภ า
ค ุณ ว ุฒ ิร ะ ด ับ มหาวิท ยาลัย เสนอต่อ คณะ
อ ุด ม ศ ึก ษ า แ ห ่ง กรรมการคุรุสภาเพื่อพิจารณา
ช า ต ิ ห ร ือ เห ็น ช อ บ ห ล ัก ส ูต ร แ ล ะ ร ับ
มาตรฐานคุณ วุฒ ิ ทราบโดยคณะกรรมการการ
สาขา/สาขาวิชา ( อุดมศึกษาสกอ.
ถ้ามี)
3 ม ีร า ย ล ะ เ อ ีย ด สาขาวิชาการสอนภาษามลายู  1.1-06
ของรายวิชา และ จัดทำเอกสารมคอ.3 (1.1-06) มคอ. 3
รายละเอีย ดของ ซึง่ เป็ นรายละเอียดของ
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ รายวิชาทุกรายวิชาก่อนการ
ภาคสนาม (ถ้ามี) เปิ ดสอนในภาคเรียนที่ 1 และ
ตามแบบ มคอ.3 2 ของปี การศึกษา
แ ล ะ ม ค อ .4 2560จำนวน32รายวิชาดังนี ้
อ ย ่า ง น ้อ ย ก ่อ น ภารเรียนที่ 1 ปี การศึกษา
การเปิ ดส อนใน 2560 ได้แก่
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 60
แตล
่ ะ ภ า ค ก า ร 1. GE 2100-101 อัลกุรอาน
ศึก ษาให้ค รบทุก เพื่อพัฒนา
รายวิชา คุณภาพชีวิต 1
2. GE 2100-201 อิสลามและ
วิถีการดำเนินชีวิต
3. GE 2400-202 ทักษะการ
เรียนและการศึกษาค้นคว้า
4. GE 2200-402 ภาษาไทย
ในชีวิตประจำวัน
5. ED 346-001 หลักศรัทธา
พื้นฐานสำหรับครู
6. ML 2205-111 หลักภาษา
มลายู 1
7. ML 2205-121 สนทนา
ภาษามลายู
8. ED 347-101 ความเป็ นครู
9. GE 2100-103 อัลกุรอาน
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต๓
10. GE2300-303 อิสลามกับ
วิทยาศาสตร์
11. ML2205-001
ภาษาศาสตร์ทั่วไป
12. ML2205-071 ทักษะยา
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 61
วี๑
13. ED347-103 ภาษาและ
วัฒนธรรมสำหรับครู
14. ED347-104 จิตวิทยา
สำหรับครู
15. ED347-110 การประกัน
คุณภาพการศึกษา
ภารเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2560 ได้แก่
1. GE 2100-102 อัลกุรอาน
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2
2. GE 2200-204 นักคิด
มุสลิม และกลุ่มฟื้ นฟูอิสลาม
3. GE 2100-403 ภาษาไทย
เพื่อการสื่อสาร
4. ED 346-002 ศาสนบัญญัติ
พื้นฐานสำหรับครู
5. ED 346-003 จริยธรรม
และภาวะผู้นำในอิสลาม
6. ML 2205-112 หลักภาษา
มลายู 2
7. ML 2205-114 คำยืม
ภาษาต่างประทศในภาษา
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 62
มลายู
8. ML 2205-122 การฟั ง
จับใจความ
9. ED 347-102 ปรัชญาการ
ศึกษา
10. GE 2100-104 อัลกุรอาน
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต๔
11. GE 2100-203 การ
สื่อสารและการเผยแพร่ใน
อิสลาม
12. ML 2205-102 สรศาสตร์
ภาษามลายู
13. ML 2205-141 การเขียน
ภาษามลายู
14. ML 2205-164
วรรณกรรมมลายู
15. ED 347-105 หลักสูตร
และการพัฒนาหลักสูตร
16. ED 347-108 นวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
17. ED 347-111 ค ุณ ธ ร ร ม
จริยธรรมและจรรยาบรรณครู
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 63
4 จัด ทำรายงานผล สาขาวิชาการสอนภาษามลายู  1.1 – 07
ก า ร ด ำ เ น ิน ก า ร จัด ทำรายงานผลการดำเนิน มคอ.5 ปี
ของรายวิชา และ การของรายวิช ามคอ.5 (1.1- การศึกษา
รา ย ง า น ผ ล ก า ร 07) ภายใน 30 วัน หลัง สิน
้ สุด 2560
ดำ เน ิน ก า ร ข อ ง ภาคเรีย นที่ 1 และ 2 ของปี
ประสบการณ์ การศก
ึ ษ า 2560 ค ร บ ท ุก
ภาคสนาม (ถ้ามี) รายวิชา
ตามแบบ มคอ.5
แ ล ะ ม ค อ .6
ภ า ย ใ น 30 ว ัน
ห ล ัง ส น
ิ ้ ส ุด ภ า ค
การศึก ษาที่เ ปิ ด
สอนใหค
้ ร บ ท ุก
รายวิชา
5 จัด ทำรายงานผล สาขาวิชาการสอนภาษามลายู  1.1 - 08
ก า ร ด ำ เ น ิน ก า ร จัด ทำรายงานผลการดำเนิน มคอ.7 ปี
ข อ ง ห ล ัก ส ูต ร การของหลัก สูต รตามแบบม การศึกษา
ตามแบบ มคอ.7 ค อ .7 (1.1-08) ภ า ย ใ น 60 2560
ภ า ย ใ น 60 ว ัน วันหลังปี การศึกษา 2560
ห ล ัง จ า ก ส น
ิ ้ ส ุด
ปี การศึกษา
6 ม ีก า ร ท ว น ส อ บ ในปี การศึกษา 2560สาขา  1.1 - 09
ผ ล ส ัม ฤ ท ธ ิข์ อ ง วิชาการสอนภาษามลายูมีการ รายงาน
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 64
น ัก ศ ึก ษ า ต า ม ทวนสอบผลสัมฤทธิข์ อง การทวน
มาตรฐานผลการ นักศึกษาตามมาตรฐานผลการ สอบผล
เรีย นรู้ท ี่ก ำหนด เรียนรู้ที่กำหนดในมคอ.3 สัมฤทธิ ์
ใน ม ค อ .3 แ ล ะ จำนวน 3 รายวิชา (1.1-09) ตาม
ม ค อ .4 (ถ ้า ม ี) จากรายวิชาที่เปิ ดสอนตลอดปี มาตรฐาน
อย่างน้อยร้อยละ การศึกษา 2560 ทัง้ สิน
้ 10 ผลการ
25 ของรายวิช า รายวิชา (วิชาเอก) คิดเป็ นร้อย เรียนรู้ปี
ท ี่เ ป ิ ด ส อ น ใ น ละ 25 ของรายวิชาที่เปิ ดสอน การศึกษา
แต่ละปี การศึกษา ทัง้ หมดในปี การศึกษา 2560 2560
และรายวิชาที่ทำการทวนสอบ
คือ
- ML 2205-141 การเขียน
ภาษามลายู
-ML2205-114 คำยืมภาษา
ต่างประทศในภาษามลายู
-ML 2205-121 สนทนาภาษา
มลายู
7 ม ีก า ร พ ัฒ น า / -ในปี การศึก ษา 2560 มีก าร  1.1-10
ป ร ับ ป ร ุง ก า ร พัฒ นา ปรับ ปรุง การจัด การ มคอ.5
จัด การเรีย นการ เ ร ีย น ก า ร ส อ น ใ น ร า ย ว ิช า รายวิชา
สอน กลยุท ธ์ ML2205-122 ก า ร ฟั ง จ ับ ใ จ ML
ก า ร ส อ น ห ร ือ ความ เมื่อ เปรีย บเทีย บ 2 ป 2205-122

การประเมิน ผล การศึก ษา พบว่า ปี 2559 สื่อ การฟั ง
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 65
การเรีย นรู้ จาก การเรีย นการสอนทัก ษะการ จับใจ
ผลการประเมิน ฟั งยัง น้อ ย ผู้ส อนจะเป็ นคน ความ
การดำเนิน งานที่ อ่านบทความหรือเนื้อเรื่องเอง
ร า ย ง า น ใ น ให้น ัก ศึก ษาฟั ง ส่ว นในปี การ
มคอ.7 ปี ที่แล้ว ศึก ษา 2560 มีก ารปรับ ปรุง
การสอนโดยให้ม ีส่ อ
ื วีด ีโ อใน
กิจ กรรมเสริม ทัก ษะการฟั งที่
อาจารย์เลือกให้ และบางส่วน
นัก ศึก ษาเองต้อ งเป็ นฝ่ ายนำ
เสนอวีด ีโ อด้ว ย เป็ นกิจ กรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
8 อาจารย์ใ หม่ (ถ้า การศึกษา 2560 สาขา  1.1-11 รา
มี) ทุก คน ได้ร ับ วิชาการสอนภาษามลายูมี ยงานผล
ก า ร ป ฐ ม น ิเ ท ศ อาจารย์ใหม่ประจำหลักสูตร การ
ห ร ือ ค ำ แ น ะ น ำ จำนวน1ท่าน คือ นางสาวอม ดำเนิน
ด้า นการจัด การ มุลอมมะห์ โตะหลงโดยคณะ งาน
เรียนการสอน ศึกษาศาสตร์ได้ดำเนิน โครงการ
กิจกรรมปฐมนิเทศอาจารย์ ปฐมนิเทศ
ใหม่ (1.1-10) เพื่อแนะนำกฎ อาจารย์
ระเบียบต่างๆของคณะ และ 4 ใหม่จัด
ภาระงานของอาจารย์ที่ต้อง โดยคณะ
ดำเนินการรวมทัง้ แนวทางการ 1.1-12 รา
สอนแก่อาจารย์ใหม่ก่อนเปิ ด ยงานการ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 66
ภาคเรียนที่2ปี การศึกษา ประชุม
2560 ของสาขา
- สาขาวิชามีการประชุมเพื่อ ว่าด้วย
แนะนำอาจารย์ใหม่ประจำ การ
สาขาวิชาฯ (1.1-11) และมี แนะนำ
การชีแ
้ จงเรื่องภาระงานของ อาจารย์
อาจารย์ ใหม่
ประจำ
สาขา
วิชาการ
สอนภาษา
มลายู
9 อาจารย์ป ระ จ ำ คณาจารย์ประจำหลักสูตรทุก  1.1-13 เอ
ทุก คนได้ร ับ การ คนได้รับการพัฒนาทาง กสารสรุป
พ ัฒ น า ท า ง วิชาการ ในปี การศึกษา 2560 การเข้า
ว ิช า ก า ร โดยเฉพาะทุกวันพุธ เวลา ร่วม
และ/หรือวิชาชีพ 10.00-12.00 เป็ นชั่วโมงการ โครงการ
อ ย ่า ง น ้อ ย ปี ล ะ พัฒนาอาจารย์ สรุปได้ดังนี ้ กิจกรรม
หนึง่ ครัง้ 1. อาจารย์แอสซูมานี มาโซ การพัฒนา
จำนวน 5 ครัง้ ทาง
วิชาการ
2. อาจารย์ ดร.เภาซัน เจ๊ะแว
ของ
จำนวน 5 ครัง้
อาจารย์
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 67
3. อาจารย์ อมมุลอมมะห์ ประจำ
โตะหลง จำนวน 4 ครัง้ สาขา
ประจำปี
4. อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี
การศึกษา
จำนวน 5 ครัง้
2560
5. อาจารย์ยะหะยา นิแว
จำนวน 4 ครัง้
รวมตัวบ่งชีใ้ นปี นี ้
จำนวนตัวบ่งชีท
้ ี่ 1,2,3,4,5
ดำเนินกรผ่านเฉพาะ
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 1-5
ร้อยละของตัวบ่งชีท
้ ี่ 100
1-5
จำนวนตัวบ่งชีใ้ นปี นีท
้ ี่
ดำเนินการผ่าน
ร้อยละของตัวบ่งชี ้
ทัง้ หมดในปี นี ้

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 : การกำกับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี ้ เป้ าหมาย ผลการดำเนิน ผลการประเมิน


งาน
1.1 ผ่าน  ผ่าน  หลักสูตรได้มาตรฐาน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 68


 หลักสูตรไม่ได้
 ไม่ผ่าน
มาตรฐาน

5.5 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
(องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี ้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้)

ตัวบ่งชี ้ ผลการดำเนินงาน เอกสาร/หลัก


(อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนิน
ฐาน
งาน)

1. ระบบการดำเนิน 5.5-01 รายงานการ


ประชุม
งานของภาค
ว ิช า /ค ณ ะ /
ส ถ า บ ัน โ ด ย ม ี
ส ่ว น ร ่ว ม ข อ ง
อาจารย์ป ระจำ
หลักสูตรเพื่อให้มี
สิ่ง สนับ สนุน การ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 69
เรียนรู้

ผลการดำเนินงาน
1.สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมี
การประชุมเพื่อสำรวจความต้องการ
หนังสือที่สอดคล้องกับรายวิชาใน
หลักสูตร ที่มีการรายงานในม
คอ.5 หมวดที4 ประเด็นทรัพยากร
ประกอบการเรียนและสิ่งอำนวย
ความสะดวก
2.สาขาวิชาได้ชแ
ี ้ จงความต้องการ
หนังสื่อกับสำนักวิทยบริยบริการ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 70
3. สาขาวิชาเป็ นตัวแทนสำนักวิทย
บริการในการจัดซื้อหนังสือที่
ประเทศมาเลเซีย
2. จ ำ น ว น ส ิ่ง การประเมินความพึงพอใจของ 5.5-02 รายงาน
ความพึงพอใจ
ส น ับ ส น ุน ก า ร นักศึกษาต่อสิง่ สนับสนุนการเรียนรู้
ระดับความพึง ของนักศึกษาที่มี
ประเด็นความคิดเห็น
เรียนรู้ที่เ พียงพอ พอใจ ต่อสิ่งสนับสนุน
ด้านสื่อ/เอกสารและ
และเหมาะสมต่อ อุปกรณ์การเรียนการ Mean (X) การเรียนรู้
2559 2560 สาขาวิชาการ
การจัด การเรีย น สอน
สอนภาษามลายู
1.จำนวนหรือความเพียง 4.2 4.02
การสอน คณะศึกษา
พอของอุปกรณ์/สื่อการ
ศาสตร์
เรียนการสอน
ปี การศึกษา
2.ประสิทธิภาพของ 3.6 4.1
2560
อุปกรณ์/สื่อการเรียน
(5.5-03)รายงาน
การสอน
3.สื่อ/เอกสารและ 4.1 การประชุมการ
3.6
อุปกรณ์การเรียนการ ประชุมสรุปความ
สอนมีความชัดเจนและ พึงพอใจของ
เข้าใจง่าย อาจารย์ต่อสิ่ง
4.ความหลากหลายของ 3.8 4
สนับสนุนการ
สื่อการเรียนรู้ต่างๆ เช่น
เรียนรู้
คอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต
5.ความทันสมัยของสื่อ 3.6 4.14
อุปกรณ์ห้องเรียน/ห้อง

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 71


ปฏิบัติการ
คะแนนเฉลี่ยทัง้ หมด 3.76 4.07

ประเด็นความคิดเห็น ระดับความพึง
พอใจ
ด้านนอาคารสถานที่
Mean (X)
และสิ่งแวดล้อม
2559 2560
1.สภาพแวดล้อมภายใน 4.20 4.36
ห้องเรียน/ห้องปฏิบัติ
การโดยรวม(เช่น ความ
สะอาด แสงสวาง การ
ถ่ายเทของอากาศ
2.สภาพแวดล้อม 3.40 4.45
ภายนอกห้องเรียน/ห้อง
ปฏิบัติการโดยรวม(เช่น
ความสะอาดแสง)
3.ขนาดของห้องเรียนมี 3.60 4.32
ความเหมาะสมและมี
อุปกรณ์เช่น โต๊ะ เก้าอี ้
เพียงพอกับจำนวนผู้
เรียน
4.อาคาร ห้องเรียน/ห้อง 3.80 4.2
ปฏิบัติการ มีความ
เหมาะสมและเพียงพอ
ต่อการใช้งาน
5.อาคาร/สถานที่ในการ 4.00 4

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 72


ทำกิจกรรมและออก
กำลังกายมีความเหมาะ
สมและเพียงพอ
6.สภาพแวดล้อมภายใน 3.56
ห้องน้ำ/ห้องสุขาโดย
รวม(เช่น ความสะอาด
แสง การถ่ายเทอากาศ) 3.60
7.สถานที่จอดรถมีความ 4.40 3.7
เพียงพอและปลอดภัย
8.สภาพแวดล้อมโดย 4.40 4.2
ทั่วไปเหมาะแก่การเรียน
รู้
คะแนนเฉลี่ยทัง้ หมด 3.93 4.09

ประเด็นความคิดเห็น ระดับความพึง
พอใจ
ด้านการให้บริการ
Mean (X)
วิชาการ
2559 2560
1.ความเพียงพอของ 4.40 4.16
หนังสือ/สื่อสิ่งพิมพ์ที่ให้
บริการของห้องสมุด
2.ความทันสมัยของ 3.40 4.1
หนังสือสื่อสิ่งพิมพ์ที่ให้
บริการของห้องสมุด
3.ความหลากหลายของ 4.00 4.12
สื่อการเรียนรู้ต่าง

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 73


4.ความเพียงพอของสื่อ 4.20 4.2
การเรียนรู้ต่างๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ ระบบ
อินเตอร์เน็ต ทีวี
ดาวเทียม เป็ นต้น
5.ความทันสมัยของสื่อ 4.00 4.1
อุปกรณ์ห้องสมุด/ห้อง
คอมพิวเตอร์/ห้องการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง
6.การให้คำแนะนำดูแล 4.00 4.45
เอาใจใส่ของอาจารย์ที่
ปรึกษา
7.การให้บริการทาง 4.40 4.2
วิชาการ/การจัด
กิจกรรม/โครงการเพื่อ
ประโยชน์แก่ผู้เรียน
คะแนนเฉลี่ยทัง้ หมด 4.06 4.19

ประเด็นความคิดเห็น ระดับความพึง

ด้านการให้บริการทั่วไป พอใจ
2559 2560
1.การให้บริการของเจ้า 4.20 4.23
หน้าทีข
่ องคณะ/สาขา
วิชาโดยรวม
2.การให้บริการของเจ้า 3.40 4.55
หน้าที่ห้องสมุด/ห้อง

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 74


คอมพิวเตอร์/ห้องเรียนรู้
ด้วยตนเอง
3.การให้บริการของ 4.40 4.1
สำนักบริการการศึกษา
4.การให้บริการของเจ้า 4.20 4.1
หน้าที่การเงิน
5.การให้บริการของเจ้า 4.00 3.7
หน้าที่พัฒนานักศึกษา
คะแนนเฉลี่ยทัง้ หมด 4.04 4.14
รวมคะแนนเฉลี่ย 3.94 4.12
ทัง้ หมดทัง้ 4 ด้าน

สาขาวิชามีการประชุมสรุปความพึง
พอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ พบ
ว่านักศึกษามีความพึงพอใจในระดับ
มากทุกข้อ และด้านการให้บริการ
ทั่วไป โดยรวมนักศึกษามีความพึง
พอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.12
(5.5-03)

ผลการประเมินอาจารย์ต่อสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้
ความพึงพอใจด้านกายภาพ

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 75


Mea Sd
รายการประเมิน
n
ห้องเรียนให้มีจำนวน 4 1.27
เพียงพอกับผู้เรียน
สภาพแวดล้อมภายใน 4.2 0.90
ห้องเรียนให้สะอาด มี
แสงสว่างเพียงพอ เอื้อ
ต่อการเรียน
ระบบสาธารณูปโภค 4.33 0.69
เช่น น้ำประปา ไฟฟ้ า
เพียงพอและเหมาะสม
มีอุปกรณ์ป้องกันอัคคี 4 0.49
ภัยในบริเวณอาคาร
ต่าง ๆ เช่น ถังดับ
เพลิง หัวฉีด ดับเพลิง
วัสดุฝึก อุปกรณ์ใน 4.5 0.53
การจัดการเรียนการ
สอนมีเพียงพอกับผู้
เรียน
โดยรวม 4.3 0.8

ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความ
สะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการ
เรียน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 76


Me Sd
รายการประเมิน an
สื่อและอุปกรณ์การเรียน
การสอนในห้องเรียนมี
4.4 1.4
ความเพียงพอและมี
0 7
ประสิทธิภาพพร้อมใช้
งาน
ห้องเรียนและห้องปฏิบัติ
การมีอุปกรณ์และสื่อ
เทคโนโลยีที่ใช้ในการสอน 4.2 0.9
ที่ ทันสมัย มี 0 8
คุณภาพ และพร้อมใช้
งานอยู่เสมอ
มีสถานที่สำหรับให้
นักศึกษาและอาจารย์ได้
4.4 0.7
พบปะ แลกเปลี่ยน
0 5
สนทนา และทำงานร่วม
กัน
ห้องสมุด มีหนังสือ
ตำรา สิ่งพิมพ์ และ 3.8 0.4
วารสารวิชาการ ทันสมัย 0 1
หลากหลาย
4.2 0.9
โดยรวม
0 0
ผลการประเมินอาจารย์ต่อสิ่ง

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 77


สนับสนุนการเรียนรู้โดยรวมเฉลี่ย
4.25
หมายเหตุ: ไม่สามารถเปรียบเทียบ
ข้อมูลกับปี 2559 ได้ เนื่องจากไม่มี
ข้อมูล

3. กระบวนการ สาขาวิชามีการสรุป กระบวนการ 5.5-04 รายงาน

ปรับปรุงตามผล ปรับปรุงตามผลการประเมินความ การประชุมสรุป


กระบวนการ
การประเมิน พึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์
ปรับปรุงตามผล
ความพึงพอใจ ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ พบว่า
การประเมิน
ของนักศึกษา สภาพแวดล้อมในห้องน้ำ และสถาน
ความพึงพอใจ
และอาจารย์ต่อ ที่จอดรถมีผลการประเมินที่ต่ำ จึงมี ของนักศึกษา
สิ่งสนับสนุนการ การเสนอในที่ประชุมคณะเพื่อ และอาจารย์ต่อ

เรียนรู้ ดำเนินการปรับปรุงให้ดียิ่งขึน
้ (5.5- สิ่งสนับสนุนการ

04) เรียนรู้

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนน การ
เป้ าหมาย
ตัวบ่งชี ้ ดำเนิน การ บรรลุเป้ า
2560
งาน ประเมิน หมาย
6.1 สิ่งสนับสนุน 4 ระดับ 3 ระดับ .......3.... บรรลุ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 78
การเรียนรู้ คะแนน

5.6 คุณภาพของการสอน
การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ

รหัส ชื่อวิชา ภาค ความผิด การตรวจ เหตุที่ทำให้ มาตรการ


การ ปกติ สอบ ผิดปกติ แก้ไข
ศึกษา
ไม่มี

รายวิชาที่ไม่ได้เปิ ดสอนในปี การศึกษา


รหัส ชื่อวิชา ภาคการ เหตุผลที่ไม่เปิ ดสอน มาตรการที่ดำเนินการ
ศึกษา
ไม่มี

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 79


รายวิชาที่สอนเนื้อหาไม่ครบในปี การศึกษา

รหัส ชื่อวิชา ภาค หัวข้อที่ขาด สาเหตุที่ไม่ได้ วิธีแก้ไข


การ สอน
ศึกษา
ไม่มี

การประเมินรายวิชาที่เปิ ดสอนในปี ที่รายงาน


รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการ
ประเมิน
การประเมินรายวิชาที่เปิ ดสอนในปี ที่รายงาน
รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการ
ประเมิน

รหัส ชื่อรายวิชา ภาค ผลการประเมินโดย แผนการปรับปรุง


วิชา การ นักศึกษา
ศึกษา
ML หลัก ภาษา 1
จากการประเมิน จะพยายามพูด
2205 มลายู 1
ของนักศึกษาอาจารย์มี ช้าๆเพื่อความ
-111
ความตัง้ ใจในการสอน เข้าใจของ

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 80


แต่อาจจะพูดเร็วบ้าง นักศึกษา

ML ส น ท น า 1 สามารถอธิบาย ผู้ส อนจำเป็ นต้อ ง


2205 ภาษามลายู เนื้อหาได้ชัดเจน มีการ ป ร ับ ป ร ุง แ ล ะ
-121 เปิ ดโอกาสให้นักศึกษา พัฒ นาการสอนที่
ได้ซักถามในเนื้อหาที่ไม่ มีผ ลในระดับ ปาน
เข้าใจ ควรเพิ่มกิจกรรม กลางให้ดเี พิ่มขึน

และมีการนำเสนอหน้า
ชัน
้ บ่อยๆ
ML2 ภาษาศาสตร์ 1 สามารถอธิบาย ผู้ส อนจำเป็ นต้อ ง
205- ทั่วไป เนื้อหาได้ชัดเจน มีการ ปรับปรุงเนื้อหาให้
001 เปิ ดโอกาสให้นักศึกษา มีความชัดเจนและ
ได้ซักถามในเนื้อหาที่ไม่ นัก ศึก ษาสามารถ
เข้าใจ ควรเพิ่มกิจกรรม เข้าโดยง่าย
และมีการนำเสนอหน้า
ชัน
้ บ่อยๆ
ML2 ทักษะยาวี๑ 1 นักศึกษาต้องการให้เพิ่ม ปรับแผนการเรียน
205- เนื้อ หายาวี ให้เ จาะลึก โดยการเพิ่ม เนื้อ
071 มากยิ่งขึน
้ หาในมคอ.3
ML ห ล ัก ภ า ษ า 2 หัว ข้อ การประเมิน โดย ผู้ส อนจำเป็ นต้อ ง
2205 มลายู 2 ส่ว นใหญ่อ ยู่ใ นระดับ ดี พ ัฒ น า ช ุด แ บ บ
-112 ตรงต่อเวลา ฝึ ก หัด ให ้ม ีค วาม

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 81


ส อ ด ค ล ้อ ง ก ับ
เ น ้อ
ื ห า แ ล ะ
นัก ศึก ษาสามารถ
นำไปประยุก ต์ใ ช้
ในชีว ิต ประจำวัน
ได้มากที่สุด
ML คำยืม ภาษา 2 หัว ข้อ การประเมิน โดย ผู้ส อนจำเป็ นต้อ ง
2205 ต่า งประทศ ส่ว นใหญ่อ ยู่ใ นระดับ ดี ปรับ ปรุง กิจ กรรม
-114 ในภาษา แต่ยังมีบางประเด็นที่ยัง การเรียนการสอน
มลายู ต้อ งป รับ ป รุง ค ือ ก าร ใ ห ้ม ีค ว า ม ห ล า ก
เ ร ีย น ก า ร ส อ น ย ัง ไ ม ่ม ี ห ล าย มา ก ย ิ่ง ข น
ึ้
ความหลากหลายเท่า ที่ เ พ ่ อ
ื ใ ห ้น ัก ศ ึก ษ า
ควร เ ก ิด ค ว า ม ส น ใ จ
และใฝ่ รู้มากยิ่งขึน

ML การฟั งจับใจ 2 หัว ข้อ การประเมิน โดย ผู้ส อนจำเป็ นต้อ ง
2205 ความ ส่ว นใหญ่อ ยู่ใ นระดับ ดี ป ร ับ ป ร ุง ห ัว ข ้อ
-122 เข้า ใจง่า ย ตรงประเด็น การประเมิน ให้ไ ด้
ที่เกี่ยวกับการฟั ง เปิ ดโอ ผลดีขน
ึ ้ มากกว่านี ้
กาศึกษานักศึกษาได้ซัก
ถ า ม อ ย ่า ง เ ต ็ม ท ี่ มี
กิจ กรรมประกอบการ
สอนที่ท ำให้ก ารเรีย น
สนุก ไม่น่าเบื่อ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 82
ML สรศาสตร์ 2 ผลการป ระ เมิน อย ู่ใ น ควรมีการปรับ
2205 ภาษามลายู ร ะ ด ับ ด ีม า ก แ ต ่ม ีบ า ง เทคนิคการสอนให้
-102 ประเด็น ที่เ สนอแนะคือ มีความหลาก
นักศึกษาต้องการให้เพิ่ม หลายและไม่เบื่อ
เทคนค
ิ ก า ร ส อ น ใ ห ้ม ี เช่นกิจกรรมที่ให้
ความหลากหลายและไม่ นักศึกษาเป็ นผู้นำ
เบื่อ เสนอ หรือเพิ่ม

-ใ ห ้เ พ ิ่ม ก ิจ ก ร ร ม ใ น กิจกรรมนอก
ห้องเรียน สถานที่

ML การเขียน 2 หัวข้อ การประเมิน เรื่อ ง ผู้สอนจำเป็ นต้อง


2205 ภาษามลายู ก า ร เ ปิด โ อ ก า ส ใ ห ้ เปิ ดโอกาสให้
-141 นัก ศึก ษาซัก ถามอยู่ใ น นักศึกษาแสดง
ระดับ ดี รองลงมาคือ ดี ความคิดเห็นและ
มาก และปานกลาง มีส่วนร่วมในการ
ตามลำดับ จัดกิจกรรมใน
ห้องเรียนให้มาก
ขึน

ML วรรณกรรม 2 หัว ข้อ การประเมิน โดย ผู้ส อนจำเป็ นต้อ ง
2205 มลายู ส่ว นใหญ่อ ยู่ใ นระดับ ดี ป ร ับ ป ร ุง ห ัว ข ้อ
-164 เข้า ใจง่า ย ตรงประเด็น การประเมิน ให้ไ ด้
ที่เกี่ยวกับการฟั ง เปิ ดโอ ผลดีขน
ึ ้ มากกว่านี ้

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 83


กาศึกษานักศึกษาได้ซัก
ถ า ม อ ย ่า ง เ ต ็ม ท ี่ มี
กิจ กรรมประกอบการ
สอนที่ท ำให้ก ารเรีย น
สนุก ไม่น่าเบื่อ

ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม อยู่ในระดับดีมากที่สุด (4.45)

ประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน

มาตรฐานผลการ สรุปข้อคิดเห็นของผู้สอน แนวทางการแก้ไขหรือ


เรียนรู้ และข้อมูลป้ อนกลับจาก ปรับปรุง
แหล่งต่างๆ
คุณธรรมจริยธรรม การประเมินคุณธรรม มีการเชิญวิทยากรจาก
จริยธรรม ควรสอด แทรก ภายนอก ที่ได้มี
ในวิชาให้เห็นถึงผลกระทบ ประสบการณ์ในการได้
จากการทำผิดคุณธรรม รับผลกระทบจากการ
โดยยก กรณีศึกษาและให้ ขาดจริยธรรมในวิชาชีพ
มีการแสดงความเห็นกลุ่ม มาให้ความรู้
ย่อย
ความรู้ ควรมีการทดสอบความรู้ จัดให้มีข้อกำหนดใน
เป็ นระยะไม่ใช่เพียงการ การวัดผลความรู้นอก
สอบกลางภาคและปลาย เหนือจากการสอบที่

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 84


ภาค และเพิ่มการทดสอบ หลากหลาย ในทุกวิชา
แบบอื่น เช่น จากการฝึ ก
ทำงานเป็ นกลุ่มที่มอบ
หมาย
ทักษะทางปั ญญา ควรมีการให้นักศึกษา เตรียมแผนฝึ กให้
ศึกษาบางหัวข้อบางวิชา นักศึกษาได้ค้นคว้าด้วย
เรียน และมาสอนเพื่อนๆ ตนเองมากขึน

ในห้อง
ทักษะความสัมพันธ์ มีการสลับตำแหน่งหัวหน้า มีการวางแผนให้
ระหว่างบุคลและ กลุ่มในการนำเสนองาน นักศึกษาส่งรายชื่อ ที่มี
ความรับผิดชอบ เพื่อความเท่าเทียมใน การสลับตำแหน่งหน้าที่
ความรับผิดชอบในงาน ในกลุ่ม และรายงานผล
การประชุมทำงานกลุ่ม
อย่างสม่ำเสมอ
ทักษะการวิเคราะห์ ควรเพิ่มโจทย์ที่มีการ หาโจทย์ที่มีการ
เชิงตัวเลข การ วิเคราะห์เชิงตัวเลขมากขึน
้ วิเคราะห์เชิงตัวเลข
สื่อสารและการใช้ และใช้การส่งงานผ่าน E- เตรียมไว้สำหรับการ
เทคโนโลยี Mail สอนครัง้ ต่อไป
สารสนเทศ

การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่
การปฐมนิเทศเพื่อชีแ
้ จงหลักสูตร มี ❑ ไม่มี ❑

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 85


จำนวนอาจารย์ใหม่ …………1………คน……. จำนวนอาจารย์ที่เข้าร่วม
ปฐมนิเทศ ………1………คน…

กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

กิจกรรมที่จัด สรุปข้อคิดเห็น และประโยชน์ที่ผู้


ผู้เข้าร่วม
หรือเข้าร่วม เข้าร่วมกิจกรรมได้รับ
โครงการ อาจารย์แอส -กิจกรรมนีผ
้ ู้เข้าร่วมจะได้รับความ
บริหาร ซูมานี รู้และ
หลักสูตรตาม มาโซ     ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์
กรอบมาตรฐาน ผศ.ดร.เภา และวิธีการ
คุณวุฒิระดับ ซัน เจ๊ะแว พิจารณาแต่งตัง้ บุคคลให้ดำรง
อุดมศึกษาสู่ อาจารย์นูรณี ตำแหน่งทาง
ความเข้มแข็ง บูเกะมาตี วิชาการ
-กิจกรรม อ า จ า ร ย ์ย ะ -อาจารย์มีการแลกเปลี่ยนความ
เกณฑ์การขอ หะยา นิแว คิดเห็นด้าน
ตำแหน่งทาง การเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
วิชาการ
-กิจกรรมแลก
เปลี่ยนเพื่อ
เสริมสร้างการ
บริหาร

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 86


หลักสูตร
โครงการ อาจารย์อมมุ อบรมนีเ้ กี่ยวกับภาระงานของ
ปฐมนิเทศ ลอมมะห์ อาจารย์
อาจารย์ โตะหลง อาจารย์ใหม่จะได้รับทราบและ
ทำความ
เข้าใจและตระหนักถึงบทบาท
หน้าที่ของ
อาจารย์ รวมถึงภาระงาน ความ
รับผิดชอบ
ของอาจารย์ จรรยาบรรณวิชาชีพ
และเส้น
ทางความก้าวหน้าในอาชีพ จน
สามารถ
พัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่เป้ าหมาย
ตลอดจน
มีทัศนคติที่ดีและผูกพันธ์กับ
มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนา อาจารย์แอส กิจกรรมนีม
้ ีท่านรองคณะบดีฝ่าย
อาจารย์ด้าน ซูมานี วิชาการ
ภาษา การ มาโซ     เป็ นผู้บรรยาย เกี่ยวกับการวัดและ
เรียนการสอน ผศ.ดร.เภา ประเมิน
และการวัด ซัน เจ๊ะแว ผล และการสร้างข้อสอบให้
ประเมินผล อาจารย์นูรณี ครอบคลุมผล
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 87
-การสร้าง บูเกะมาตี การเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ.3
ข้อสอบให้ อาจารย์ยะ อาจารย์ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนีจ
้ ะ
ครอบคลุมผล หะยา นิแว ต้องนำ
การเรียนรู้ที่ ข้อสอบและมคอ. 3 เข้ามาเพื่อ
กำหนดใน วิเคราะห์ข้อสอบให้ตรงกับจุด
มคอ.3 ประสงค์
กับมคอ. 3

-การจัดการ อาจารย์แอส อบรมการเรียนการจัดการเรียน


เรียนรู้แบบ ซูมานี การสอนที่
บูรณาการด้วย มาโซ     พัฒนาทักษะการคิด โดยใช้
Hikmah ผศ.ดร.เภา Hikmah
Model ซัน เจ๊ะแว Model จากวิทยากรผู้มี
อาจารย์นูรณี ประสบการณ์
บูเกะมาตี จากมหาวิทยาลัยอิสลาม
อาจารย์ยะ นานาชาติ
หะยา นิแว ประเทศมาเลเซีย
อาจารย์อมมุ Hikmah Model เป็ น
ลอมมะห์ โมเดลที่สร้าง
โตะหลง แรงจูงใจให้นักศึกษาทำงานอย่าง
เป็ นกลุ่ม
และเป็ นโมเดลที่ใช้ในการเรียน
การสอน
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 88
ทักษะการคิดที่ได้รับความนิยม
ของ
ประเทศมาเลเซีย
-ICT Based อาจารย์แอส การอบรมเกี่ยวกับการวัดผล
Learning : ซูมานี ออนไลน์จาก
วัดผลออนไลน์ มาโซ     วิทยากร ดร.อิสมาแอล ราโอบ ผู้
ผศ.ดร.เภา อำนวย
ซัน เจ๊ะแว การสำนักวิจัย
อาจารย์นูรณี ประโยนช์ที่ได้รับจากการ
บูเกะมาตี อบรมครัง้ นี ้
อาจารย์ยะ อาจารย์สามารถสร้างแบบ
หะยา นิแว ทดสอบการ
อาจารย์อมมุ เรียนการสอนโดยใช้โปรแกรม
ลอมมะห์ plickers, google forms,
โตะหลง kahoot
โครงการคลินก
ิ อาจารย์แอส การอบรมเกี่ยวกับการเขียนข้อ
วิจัย ซูมานี เสนอ
-การเขียนข้อ มาโซ     โครงการวิจัยให้ถูกใจแหล่งทุน
เสนอโครงการ ผศ.ดร.เภา โดย
วิจัยให้ถูกใจ ซัน เจ๊ะแว ผศ.สะสือรี วาลี
แหล่งทุน อาจารย์นูรณี การเข้าร่วมการอบรมครัง้ นี ้
-นำเสนอวิจัย บูเกะมาตี ทำให้อา
ในชัน
้ เรียน อาจารย์ยะ จารย์ได้รับประโยชน์อย่างมากมาย
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 89
หะยา นิแว อาทิเช่น การตัง้ ชื่อหัวข้อวิจัยให้
อาจารย์อมมุ เด่น
ลอมมะห์ ไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อ่ น
ื ชื่อปั ญหาที่
โตะหลง กะทัดรัด
ต้องสัมพันธ์กับตัวแปรของปั ญหา
นัน
้ ๆ
ในด้านของภาษานัน
้ ต้องชัดเจน
และรู้ถึงสถานการณ์ปัจจุบัน
แหล่งทุนจาก สกว. วช. สสส.
ศจย.
สกอ. สกสค. เป็ นต้น

การบริหารหลักสูตร

ปั ญหาใน ปั ญหาในเรื่องงบประมาณที่
การบริหาร มหาวิทยาลัยจัดสรรให้นน
ั ้ ไม่เพียงพอ
หลักสูตร
ผลกระทบ สาขาวิชาไม่สามารถดำเนินกิจกรรมที่
ของปั ญหา ต้องเดินทางไปต่างประเทศ เช่น
ต่อสัมฤทธิ การพานักศึกษาไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลตาม ในประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ที่
วัตถุประสง มีการ MOU กับมหาวิทยาลัย
ค์ของ
หลักสูตร
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 90
แนวทาง หาแหล่งทุนหรือทุนการศึกษาให้กับ
การป้ องกัน นักศึกษาเรียนรู้ภาษายังต่างประเทศ
และแก้ไข เช่น ทุน Darmasiswa ของรัฐบาล
ปั ญหาใน อินโดนีเซีย
อนาคต

หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้


ประเมิน
1. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมิน
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่
ได้รับจากการเสนอ
แนะจากผู้ประเมิน
ความเห็นของ
ประธานหลักสูตรต่อ
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่
ได้รับการเสนอแนะ
การนำไปดำเนินการ
เพื่อการวางแผนหรือ
ปรับปรุงหลักสูตร

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 91


สรุปการประเมินหลักสูตร
1. สรุปการประเมินหลักสูตรจากผู้สำเร็จการศึกษา
การประเมินจากผู้ที่สำเร็จการศึกษา (รายงานตามปี ที่สำรวจ) วันที่สำรวจ
.........................................................

การประเมินจากผู้ที่
สำเร็จการศึกษา
ข้อวิพากษ์ที่สำคัญ
จากผลการประเมิน
ข้อคิดเห็นของ
คณาจารย์ต่อผลการ
ประเมิน
ข้อเสนอการ
เปลี่ยนแปลงใน
หลักสูตรจากผลการ
ประเมิน

2.สรุปการประเมินหลักสูตรจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กระบวนการประเมิน
ข้อวิพากษ์ที่สำคัญ
จากผลการประเมิน
ข้อคิดเห็นของ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 92
คณาจารย์ต่อผลการ
ประเมิน
ข้อเสนอการ
เปลี่ยนแปลงใน
หลักสูตรจากผลการ
ประเมิน

หมวดที่ 7 การเปลีย
่ นแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร

การเปลี่ยนแปลงภายใน
สถาบัน(ถ้ามี) ที่มีผลกระ
ทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปี
ที่ผ่านมา
การเปลี่ยนแปลงภายนอก
สถาบัน(ถ้ามี) ที่มีผลกระ
ทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปี
ที่ผ่านมา

หมวดที่ 8 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 93


1.ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนและข้อเสนอแนะในการพัฒนา
หลักสูตร
แผนดำเนิน กำหนดเวลาที่ ผู้รับผิด ความสำเร็จของแผน/
การ แล้วเสร็จ ชอบ เหตุผลที่ไม่สามารถ
ดำเนินการได้สำเร็จ
1) ปรับปรุง ยังไม่ดำเนินการ อาจารย์ผู้รับ เนื่องจากเป็ นหลักสูตรใหม่
หลักสูตรใหม่ให้ ผิดชอบ
ได้มาตรฐานไม่ หลักสูตร
ต่ำกว่า
มาตรฐาน
วิชาชีพที่คุรุ
สภากำหนด
และสอดคล้อง
กับเกณฑ์
มาตรฐาน
หลักสูตรระดับ
อุดมศึกษาตาม
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษาแห่ง
ชาติ และ
ประกาศ
มาตรฐาน
คุณวุฒิระดับ
ปริญญาตรี

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 94


สาขาครุศาสตร์
และศึกษา
ศาสตร์(หลักสูต
ร 5 ปี )
2) ส่งเสริม แล้วเสร็จ สาขาวิชา ทุกรายวิชาดำเนินการเรียน
ให้การจัดการ การสอนตามกรอบ
เรียนรู้ที่เน้นผู้ มาตรฐานคุณวุฒิระดับ
เรียนเป็ นสำคัญ อุดมศึกษา
3) ส่งเสริมการ แล้วเสร็จ สาขาวิชา มีงานวิจัยชัน
้ เรียนที่แล้ว
จัดการเรียนรู้ เสร็จ 1 โครงการคือ อาจาร
ทักษะการวิจัย ย์นูรนีบเู กะมาตีวิจัยชัน
้ เรียนเรื่อง

ในชัน
้ เรียนและ การใช้ชุดแบบฝึ กเพื่อเสริม
ทักษะการใช้เครื่องหมายการ
ทางวิชาชีพ
อ่าน และการสะกดคำในการ
เพื่อให้บรรลุ
เขียนภาษามลายู งบสนับสนุน
มาตรฐานผล วิจัยจากภายในสถาบัน จำนวน
การเรียนรู้ทุก 5,000 บาท (ได้สรุปปิ ด
ด้าน โครงการแล้ว)

4) การบริหาร แล้วเสร็จ สาขาวิชา มีการพัฒนา ห้อง


ทรัพยากรการ Language Conner เป็ น
เรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ของนักศึกษา
5)การบริหาร แล้วเสร็จ สาขาวิชา อาจารย์ทุกคนได้รับการ
บุคลากร พัฒนาทักษะการสอนและ
การวิจัย
6)สนับสนุน แล้วเสร็จ สาขาวิชา สามารถดำเนินการตามแผน
และพัฒนา จำนวนโครงการทัง้ หมด 5

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 95


นักศึกษา โครงการ
7) ความ ยังไม่ดำเนินการ สาขาวิชา ยังไม่มีบัณฑิต
ต้องการของ
ตลาดแรงงาน
สังคม และหรือ
ความพึงพอใจ
ของผู้ใช้บัณฑิต

2.ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสูตร
1. ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร (จำนวนหน่วยกิต รายวิชาแกน
รายวิชาเลือกฯ)มติที่ประชุม เสนอให้มีการปรับเปลี่ยนแผนการเรียน ปี ที่
1 ภาคการศึกษาที่ 1 รายวิชา GE 2300-303 อิสลามกับวิทยาศาสตร์
สับเปลี่ยนกับรายวิชา GE2100-201 อิสลามและวิถีการดำเนินชีวิต
2. ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา (การเปลี่ยนแปลง เพิ่มหรือลด
เนื้อหาในรายวิชา การเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและการประเมินสัมฤทธิ
ผลรายวิชาฯ)ไม่มีข้อเสนอแนะ
3. กิจกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ทางสาขาควร
ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้แก่บรรดาคณาจารย์ในหลักสูตรใน
การเข้าร่วมประชุม สัมมนาด้านวิชาการทัง้ เวทีระดับชาติและนานาชาติ

1. แผนปฏิบัติการประจำปี 2560
แผนการดำเนินงาน กำหนดเวลาที่ ผู้รับผิดชอบ
แล้วเสร็จ
มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 96
โครงการพัฒ นาอาจารย์ส าขาวิช าการสอน 10 ม.ค. และ 15 สาขาวิชา
ภาษามลายู ก.พ. 2562
โครงการ “Wacana Ilmiah Guru Bahasa ระหว่างเดือน สาขาวิชา
Melayu” สิงหาคม ถึง ตุลาคม
2561
โ ค ร ง ก า ร “ Program Ukhuwah Ziarah 6 มกราคม 2562 สาขาวิชา
Sekolah”
โครงการ “Jalinan Muhibbah Keluarga 20 สิงหาคม 2561 สาขาวิชา
Pendidikan Bahasa Melayu”
โครงการ “Jejak Warisan Melayu” 15 ธันวาคม 2561 สาขาวิชา

ตารางรายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบ
ที่ 2 - องค์ประกอบที่ 6

ตารางรายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 2 -
องค์ประกอบที่ 6
จุดเด่นและแนวทางเสริม
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูเน้นการใช้ภาษามลายูเป็ นสื่อกลางในการเรียนการสอน
วิชาเฉพาะเพื่อให้นักศึกษาพัฒนาศักยภาพทางภาษาได้เต็มที่ นอกจากนีน
้ ักศึกษามี
โอกาสพัฒนาภาษากับเจ้าของภาษา เนื่องจากมหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีนักศึกษาและ
อาจารย์จากประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียมาเยี่ยมอยู่เสมอ อีกทัง้ สาขาวิชาวิชามี
กิจกรรมทัศนศึกษาต่างประเทศด้วยเป็ นกิจกรรมที่จัดทุกปี
จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
สาขาวิชาควรมีการปรับปรุงการด้านการจัดการเรียนรู้ โดยการเรียนการสอนที่เน้นการ
ปฏิบัติการทางภาษา โดยให้นักศึกษาสามารถฝึ กทักษะ การฟั ง การพูด การอ่าน และ

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 97


การเขียนให้มากที่สุด

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร :
1. อาจารย์ แอสซูมานี มาโซ ลายเซ็น: ________________วันที่
รายงาน: _________________
2. ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว ลายเซ็น: ________________วันที่
รายงาน: _________________
3. อาจารย์นูรณี บูเกะมาตี ลายเซ็น: ________________วันที่รายงาน:
_________________
4. อาจารย์อมมุลอมมะห์ โตะหลง ลายเซ็น: ________________วันที่
รายงาน: _________________
5. อาจารย์ยะหะยา นิแว ลายเซ็น: ________________วันที่
รายงาน: _________________

ประธานหลักสูตร : อาจารย์ แอสซูมานี มาโซ


ลายเซ็น : ______________________________________ วันที่รายงาน :
__________________________
เห็นชอบโดย : อาจารย์มะยูตี ดือรามะ (รองคณบดีฝ่ายวิชาการ)

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 98


ลายเซ็น : ______________________________________ วันที่รายงาน :
__________________________
เห็นชอบโดย : ผศ.ดร. มูฮามัตสกรี มันยูนุ (คณบดี)
ลายเซ็น :______________________________________ วันที่รายงาน :
__________________________

เอกสารประกอบรายงาน
1. สำเนารายงานรายวิชาทุกวิชา

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 99


2. วิธีการให้คะแนนตามกำหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการประเมิน
3. ข้อสรุปผลการประเมินของบัณฑิตที่จบการศึกษาในปี ที่ประเมิน
4. ข้อสรุปผลการประเมินจากบุคคลภายนอก

สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
หลักสูตร การสอนภาษามลายู ระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชา การสอนภาษามลายู
คณะศึกษาศาสตร์ ปี การศึกษา 2560
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
-
ตาราง 1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร
จากผลการดำเนินงานของหลักสูตร การสอนภาษามลายูเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์
มาตรฐานและอิงเกณฑ์การประเมินตามที่ สกอ. กำหนด ในรอบปี การศึกษา 2560 ผล
การประเมินสรุปได้ดังนี ้
ตัวบ่งชี ้ เป้ า ผลการดำเนินงาน การ ผลการประเมิน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 100


ตัวตัง้ ผลลัพธ์ บรรลุ
หมา ตนเอง
(%หรือ เป้ า
ย ตัวหาร (คะแนน)
สัดส่วน) หมาย
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 1.1 การ ผ่าน [ผ่าน] [บรรลุ [ผ่าน]
บริหารจัดการ ]
หลักสูตรตาม
เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรที่กำหนด
โดย สกอ.
หลักสูตรได้
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐาน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

ไม่มีการประเมิน

ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 3.1 การ 3 [บรรลุ
4 คะแนน
รับนักศึกษา ]
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 3.2 การ 4
[บรรลุ
ส่งเสริมและพัฒนา 4. คะแนน
]
นักศึกษา
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 3 [บรรลุ 3 คะแนน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 101


3.3 ผลลัพธ์ที่เกิด
]
กับนักศึกษา
เฉลี่ยรวม........
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
คะแนน
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 4.1 การ 5
[บรรลุ
บริหารและพัฒนา .5... คะแนน
]
อาจารย์
ตัวบ่งชีท
้ ี่
รวม 3.89
4.2 คุณภาพ
คะแนน
อาจารย์
- ร้อยละของ ร้อย ......1.
X
อาจารย์ประจำ ละ 2 .... 1
[บรรลุ
หลักสูตรที่มี 0 0 = 20 % 5 คะแนน
.....5.. ]
คุณวุฒิปริญญา 0
....
เอก
- ร้อยละของ ร้อย 1.
อาจารย์ประจำ ละ 2 1
[บรรลุ
หลักสูตรที่ดำรง 0 X 0 = 20 % 5 คะแนน
5 ]
ตำแหน่งทาง 0
วิชาการ
- ผลงานวิชาการ 96 4.8 1
[บรรลุ
ของอาจารย์ 5 X 0 = 96 % 1.67 คะแนน
]
ประจำหลักสูตร 0
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 4.3 ผลที่ 4 4 ระดับ [บรรลุ 5 คะแนน
เกิดกับอาจารย์ ]

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 102


เฉลี่ยรวม........
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
คะแนน
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 4 4 ระดับ [บรรลุ 4 คะแนน
5.1 สาระของ ]
รายวิชาใน
หลักสูตร
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 5.2 การ 4 4 ระดับ [บรรลุ 4 คะแนน
วางระบบผู้สอน ]
และกระบวนการ
จัดการเรียนการ
สอน
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 5.3 การ 4 4 ระดับ [บรรลุ 4 คะแนน
ประเมินผู้เรียน ]
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 5.4 ผล 5 [บรรลุ 5 คะแนน
การดำเนินงาน ]
หลักสูตรตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน เฉลี่ยรวม........
การประเมินผู้เรียน คะแนน
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชีท
้ ี่ 6.1 สิ่ง 4 4 ระดับ [บรรลุ 4 คะแนน
สนับสนุนการเรียน ]

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 103


รู้
เฉลี่ยรวม.4.00
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
คะแนน

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 104


ตาราง 2 วิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
จำน
วน คะแ
คะแน ผลการ
องค์ประกอบ ตัว I P O นน
นผ่าน ประเมิน
บ่ง เฉลี่ย
ชี ้
องค์ประกอบที่ 1 การ ผ่าน ได้มาตรฐาน
กำกับมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 2 - - - - -
คะแ
บัณฑิต
นน
องค์ประกอบที่ 3 3 3.3 - - 3.33 ระดับคุณภาพ
เฉลี่ย
นักศึกษา 3 ดี
ของ
องค์ประกอบที่ 4 3 4.3 - - 4.30 ระดับคุณภาพ
ทุก
อาจารย์ 0 ดีมาก
ตัวบ่ง
องค์ประกอบที่ 5 4 3.0 4.33 - 4.00 ระดับคุณภาพ
ชีใ้ น
หลักสูตร การเรียนการ 0 ดี
องค์
สอน การประเมินผู้เรียน
ประ
องค์ประกอบที่ 6 สิ่ง 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพ
กอบ
สนับสนุนการเรียนรู้ ดี
ที่ 2-
รวม 13 3.7 4.25 . 3.90 ระดับคุณภาพ
6
0 ดี
ผลการประเมิน ดี ดี ระดับคุณภาพ
มาก ดี

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 105


ผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2-6
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย 3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

มคอ.7 หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ประจำปี การศึกษา 2560 106

You might also like