You are on page 1of 10

เอกสารหมายเลข มคอ.

603-24-02 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารระดับสูง

(Advanced Chinese Communication)

ภาคการศึกษาที่ 2/2560

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


1
เอกสารหมายเลข มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
คณะ / สาขาวิชา คณะ ศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษา

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
รหัส 603-24-02 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารระดับสูง
ชื่อวิชา (ภาษาอังกฤษ) Advanced Chinese Communication

2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต อัตราส่วนการเรียน (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
ปริญญาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
ประเภทรายวิชา วิชาศึกษาทั่วไป
วิชาพื้นฐานวิชาชีพ
วิชาชีพบังคับ
 วิชาชีพเลือก
วิชาเลือกเสรี

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
ผู้รับผิดชอบรายวิชา อ.วิมลวรรณ เปียยก อ.ขวัญสุดา วรวิบูล
อาจารย์ผู้สอน อ.วิมลวรรณ เปียยก อ.ขวัญสุดา วรวิบูล

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 3
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
603-14-02 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารระดับต้น
603-24-01 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารระดับกลาง
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานทีเ่ รียน
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ตามศูนย์พื้นที่ให้บริการ
9. วันทีจ่ ัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
วัน 28 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2560

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


2
เอกสารหมายเลข มคอ.3

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อฝึกทักษะการอ่านคาศัพท์ ประโยค บทความอย่างง่าย
2. เพื่อฝึกเขียนโดยใช้คาศัพท์ที่เรียนมาแล้วเขียนเรียงความและความเรียงเกี่ยวกับเรื่องเล่า
บรรยาย อธิบายและอภิปราย
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา
เนื่องจากมีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
รวมทั้งเป็นระบบและกลไกที่ให้ความมั่นใจในประสิทธิผลจากวัดการเรียนการสอนที่สามารถผลิตบัณฑิต
ให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
การสนทนาภาษาจีนที่เหมาะสมกับการสนทนาในชีวิตประจาวันและสถานการณ์ที่แตกต่างกัน ฝึก
ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนในระดับที่สูงขึ้น โดยสอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรมของชาวจีน เรียนรู้คาศัพท์เพิ่มจากรายวิชา ภาษาจีนเบื้องต้น อีก 500 ตัวอักษร
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
การฝึกปฏิบัติ /งาน การศึกษา
บรรยาย สอนเสริม
ภาคสนาม/การฝึกงาน ด้วยตนเอง
บรรยาย 45 ชั่วโมงต่อ สอนเสริมตามความ ไม่มี 90 ชั่วโมงต่อภาค
ภาคการศึกษา ต้องการของนักศึกษา การศึกษา
เฉพาะราย

3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นกั ศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ จานวน 1 ชั่วโมง
(เฉพาะรายที่ต้องการ)

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


3
เอกสารหมายเลข มคอ.3

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตอ้ งพัฒนา
1.1.1 มีวินัยและตรงต่อเวลา
1.1.2 ซื่อสัตย์
1.1.3 เคารพในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น
1.2 วิธกี ารสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้
1.2.1 สอดแทรกกรณีศึกษาระหว่างการเรียนการสอนในรายวิชาในช่วงเวลาที่เหมาะสม
1.3 วิธกี ารประเมินผล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
2. ความรู้
2.1 ความรูท้ ี่ต้องได้รบั
2.1.1 รู้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาที่สาม
2.2 วิธกี ารสอน
2.2.1 บรรยายเนื้อหาที่สอดคล้องในรายวิชาด้วยภาษาจีน การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน
และงานที่มอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนามาสรุปและพัฒนาการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ต่อไป
2.3 วิธกี ารประเมินผล
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.2 นาเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 ใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาที่สามได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์
3.1.2 ประยุกต์ความรู้ หลักการและทฤษฎีที่เรียนไปใช้ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
3.2 วิธกี ารสอน
3.2.1 การมอบหมายให้นักศึกษาทางานที่ได้รับมอบหมาย
3.2.2 การเรียนเนื้อหาที่สอดคล้องในรายวิชาเป็นภาษาจีน
3.2.3 ฝึกให้นักศึกษาใช้ภาษาจีนให้สอดคล้องในรายวิชา
3.2.4 สร้างสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกการใช้ภาษาจีน
3.3 วิธกี ารประเมินผล
3.3.1 การทดสอบย่อยตามหน่วยการเรียนรู้ สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มี
การประยุกต์ความรู้และเนื้อหาในรายวิชา

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


4
เอกสารหมายเลข มคอ.3

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามที่ดี
4.1.2 รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
4.2 วิธกี ารสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุม่
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล
4.2.3 การสร้างสถานการณ์สมมุติต่างๆ ให้นักศึกษาได้ใช้ภาษาจีนในสถานการณ์ต่างๆ ได้
4.3 วิธกี ารประเมินผล
4.3.1 ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด
4.3.2 ประเมินผลรายงานที่นาเสนอ พฤติกรรมการทางานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินผลรายงานการศึกษาจากอาจารย์ผู้สอน
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถคิดคานวณวิเคราะห์ตัวเลข เพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน และ
การศึกษา
5.2 วิธกี ารสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยใช้ทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์/
อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลและจัดการข้อมูล ความสามารถในการใช้คณิตศาสตร์ หรือ สถิติเพื่อการ
วิเคราะห์และการจัดการข้อมูล
5.2.2 นาเสนอโดยใช้รปู แบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธกี ารประเมินผล
5.3.1 การจัดทารายงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


5
เอกสารหมายเลข มคอ.3

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
กิจกรรมการ
สัปดาห์ จานวน
หัวข้อ / รายละเอียด เรียนการสอน ชื่อผู้สอน
ที่ ชั่วโมง
สื่อที่ใช้
Lesson 1 我想学太极拳 -บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก
-คาศัพท์ใหม่ -แบบฝึดหัดท้าย อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
- การใช้ 再、怎么 บทเรียน
-ภาคแสดงเวลา 从……到…… -แบบฝึกอ่าน
ท้ายบทเรียน
语法点:能愿动词;会、想、
1 3 成段表达
要、能、可以 -จับกลุ่มในชั้น
เรียนอ่านและ
สรุปใจความของ
เนื้อเรื่องใน
บทเรียน
Lesson 2 她学得很好 -ทดสอบศัพท์ อ.วิมลวรรณ เปียยก
- คาศัพท์ -บรรยาย อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
-วัฒนธรรมการใช้ “哪里”ในการตอบคาถามกับคู่ -แบ่งแบบฝึกหัด
สนทนาแสดงการถ่อมตน -แบบฝึกอ่าน
-การใช้“还+形容词”อธิบายผลการ ท้ายบทเรียน
ดาเนินงานในสิ่งๆหนึ่ง 成段表达
2-3 语法点:状态补语-The 6
complement of state
“得”
-肯定式:V+得+(很)+adj
-否定式:V+得+不+adj
-疑问式:V+得+adj+不+adj

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


6
เอกสารหมายเลข มคอ.3

Lesson 3 田芳去哪儿了? -บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก


- เรียนรู้คาศัพท์ -จับคู่สนทนาใน อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
- รูปประโยค 反问句-不是吗?、是 ชั้นเรียน
不是 -แบบฝึกหัดท้าย
บทเรียน
-语法:语气助词“了” -แบบฝึกอ่านใน
4 -การใช้ “再”和“又” 3 บทเรียน
-แบ่งกลุ่มอ่าน
และเล่าสรุป
บทความท้าย
บทเรียน 读
后说
Lesson 4 玛丽哭了 -ทดสอบศัพท์ อ.วิมลวรรณ เปียยก
-คาศัพท์ใหม่ในบทเรียน -บรรยาย อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
-การตั้งคาถามสภาพการณ์โดยใช้ “怎么了” -จับคู่สนทนาใน
-การใช้ “就+动宾词-Verb-Object Phrase” ชั้นเรียน
-แบบฝึกอ่าน
5-6 -ภาษาพูด“别……了” 6 และแบบฝึกหัด
-语法点:动作的完成“动词+了” ท้ายบท
-การใช้“因为……所以……” -บทความเสริม
ท้ายบทเรียน
读后说
ทบทวนเนื้อหาก่อนสอบ -บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก
7 3
อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
อ.วิมลวรรณ เปียยก
8 สอบกลางภาค 3 -
อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
Lesson 5 我吃了早饭就来了 -บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก
-การบอกรูปลักษณะโดยใช้โครงสร้าง “动词+ -จับคู่สนทนาใน อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
了+(一)点儿” ชั้นเรียน
-แบบฝึกหัดท้าย
9 -การใช้“还是”ในรูปประโยคบอกเล่า 3
บทเรียน
-语法点:“就、才” -แบบฝึกอ่าน
“要是……的话,就……”
“虽然……但是……”

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


7
เอกสารหมายเลข มคอ.3

Lesson 6 我都做对了 -บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก


-คาศัพท์ใหม่ -ทดสอบศัพท์ อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
语法点: -จับคู่สนทนาใน
-结果补语(1) ชั้นเรียน
-แบบฝึกหัดท้าย
-否定句;动词+动词/形容词+ บทเรียน
(了) -แบบฝึกอ่านใน
10-11 6
-肯定句;没+动词+结果补语+ บทเรียน
(了) -แบ่งกลุ่มอ่าน
-疑问句形式;……了没有? และเล่าสรุป
-结果补语(2) บทความท้าย
-การใช้“上”、“成”和“到” บทเรียน 读
-主谓词组作定语 后说
-บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก
-ทดสอบศัพท์ อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
-จับคู่สนทนาใน
Lesson 7 我来了两个多月了 ชั้นเรียน
-การใช้“对”ในการบ่งชี้สภาพการณ์ -แบบฝึกหัดท้าย
-การใช้ “好”แสดงจานวนหรือระยะเวลา บทเรียน
12-13 -สานวนและวัฒนธรรมจีน 6 -แบบฝึกอ่านใน
语法点:-时间补语 บทเรียน
-次数表达 -แบ่งกลุ่มอ่าน
และเล่าสรุป
-离合动词 บทความท้าย
บทเรียน 读
后说
ทบทวนเนื้อหา -บรรยาย อ.วิมลวรรณ เปียยก
14 3
อ.ขวัญสุดา วรวิบลู
สอบปลายภาค - อ.วิมลวรรณ เปียยก
15 3
อ.ขวัญสุดา วรวิบลู

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


8
เอกสารหมายเลข มคอ.3

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
สัดส่วนของการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ วิธกี ารประเมิน สัปดาห์ทปี่ ระเมิน
ประเมินผล
1.1ข้อ1,2,3 มอบหมายงานเขียน และ 1-15 20%
1 2.1ข้อ1 ตรวจประเมินผลงานเขียน
3.1ข้อ1
5.1ข้อ1
2.1ข้อ1 มอบหมายงานกลุม่ และ 3, 5, 7, 20%
2 4.1ข้อ1,2,3 สังเกตการทางานกลุ่ม 11, 13
และประเมินผลสัมฤทธิ์ใน
การทางาน
5.1ข้อ2,3 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การมีส่วนร่วม อภิปราย
3 เสนอความคิดเห็นใน
ชั้นเรียน สังเกตการทางาน
และประเมินผลสัมฤทธิ์ใน
การทางาน
1.1ข้อ2 ทดสอบกลางภาคเรียน 8 25%
4 2.1ข้อ1
3.1ข้อ1
1.1ข้อ2 ทดสอบปลายภาคเรียน 15 25%
5 2.1ข้อ1
3.1ข้อ1

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตาราหลัก
-《汉语教材》【第一册】(下)

2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ

3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
- Website ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลงานวิชา Wikipedid

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


9
เอกสารหมายเลข มคอ.3

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ประเมินจากแนวคิดและความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการ
เรียนการสอน โดย
- การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธการประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ดาเนินการดังนี้
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลการประเมิน
3. การปรับปรุงการสอน
นาผลที่ได้จากการประเมินในข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการ
เรียนการสอนโดยจัดกิจกรรมดังนี้
- จัดวิพากษ์แนวการสอนโดยคณาจารย์ในหลักสูตร
- การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่อพัฒนาการเรียนการสอน
- การวิจัยชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษาในรายวิชา
- มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้รายวิชา โดยการตรวจผลงาน การ
อภิปรายกลุ่ม ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา
- ตั้งกรรมการประจาสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ตามที่กาหนดในรายวิชา คะแนน
และเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
นาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการ
สอนรายวิชาดังนี้
- ปรับปรุงแผนการสอนทุกปีการศึกษา
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี
- ปรับปรุงแนวการสอนทุกปี

สำนักส่งเสริ มวิชำกำรและงำนทะเบียน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ


10

You might also like