You are on page 1of 14

รายละเอียดมาตรฐานคุณวุฒอิ ุดมศึกษา (มคอ.

๓)
วิชา การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา 401 325 การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Thai Politics and Government of Southeast Asia.
2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา พุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือกสาขา
4. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสู้ อน พระครูสิริคณาภิรักษ์
5. ภาคการศึกษา / ชัน้ ปีทเี่ รียน ภาคการศึกษาที่ ๒ /255๘ ชั้นปีที่ ๔
6. รายวิชาทีต่ ้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี
7. รายวิชาทีต่ ้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี
8. สถานที่เรียน วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ
9. วันทีจ่ ัดทาหรือปรับปรุงมคอ.๓ รายวิชาครัง้ ล่าสุด ๑๕ ตุลาคม 255๘

หมวดที่ 2 จุดมุง่ หมายและวัตถุประสงค์


1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปด้านการเมืองและการปกครอง พัฒนาการการเมืองการ
ปกครองของแต่ละประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สถาบันทางการเมืองและการปกครองของของแต่ละประเทศใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระบวนการทางการเมืองของของแต่ละประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การจัดระเบียบ
การปกครองของของแต่ละประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นนักบริหารที่มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของ
คณะสงฆ์และตลาดแรงงาน
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นิสิตมีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนาความรู้ ความเข้าใจ ในการเมือง
และการปกครอง เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้
สอดคล้ อ งกั บ แนวโน้ ม ด้ านการเมื อ งการปกครองของประเทศแต่ ล ะประเทศในเอเชี ย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ที่ ได้ มี
ความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1.คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและพฤติกรรมทางการเมือง สถาบันการเมือง การจัดระเบียบการปกครอง รูปแบบของรัฐ และ
องค์กรแห่งอานาจของกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่มี ผลกระทบ
ต่อการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และปัญหาการพัฒนา การเมือง การปกครอง ของกลุ่มประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
2.จานวนชัว่ โมงทีใ่ ช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง


ภาคสนาม/การฝึกงาน
2

บรรยาย 42 ชั่วโมงต่อ สอนเสริมตามความ ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน การศึกษาด้วยตนเอง 6


ภาคการศึกษา ต้องการของนักศึกษา ภาคสนาม ชั่วโมงต่อสัปดาห์
เฉพาะราย
3.จานวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ทอี่ าจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเว็บไซด์คณะสังคมศาสตร์
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะ
รายที่ต้องการ)

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
1.๑. คุณธรรม จริยธรรม
1.๑.๑ ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
๑) มีศีลธรรม จริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต

1.๒.๑ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม


๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน

1.๒.๒ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม


๑) ประเมินโดยผู้สอนและเพื่อน สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
๒) ประเมินจากผลงาน และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
๓) ประเมินคุณธรรม จริยธรรมของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดยหน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต

1.๒ ความรู้
1.๒.๑ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
๑) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และเนื้อหา

1.๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งการบรรยาย อภิปราย สัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ค้นคว้า วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ ทากรณีศึกษา ศึกษาดูงาน เรียนรู้ชุมชน สถานที่จริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการ
เรียนรู้ หลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อม ที่เป็นจริง ทั้งนี้ เป็นไปตามลักษณะของแต่
ละรายวิชา
1.๒.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการปฏิบัติของผู้เรียนด้านต่างๆ คือ
๑) การทดสอบย่อย
๒) การสอบกลางภาค และปลายภาคเรียน
๓) ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน

1.๓ ทักษะทางปัญญา
1.๓.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3

๑) สามารถสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ทาความเข้าใจ และนาไปประยุกต์ใช้ได้


๒) สามารถคิดวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล อ้างอิงได้
๓) สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
๔) มีความมุ่งมั่น ใฝ่รู้ เพื่อการเรียนรู้ตลอด และสามารถนาความรู้ไปโยงเชื่อมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
๕) รายวิชาปฏิบัติ ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
1.๓.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
๑) เรียนรู้กรณีศึกษาและร่วมกันอภิปรายกลุ่ม
๒) รายวิชาปฏิบัติ ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
๓) มีการศึกษาค้นคว้าในรูปรายงาน โครงงาน และนาเสนอ
๔) ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากสภาพจริงเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง
1.๓.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติของผู้เรียน ที่เกิดจากการใช้กระบวนเรียนรู้ อย่างเป็นเหตุเป็นผล
ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ และนาเสนออย่างเป็นระบบ เช่น รายงานกรณีศึกษา การปฏิบัติงานและผลงาน
ของผู้เรียนทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม พฤติกรรมการเรียนรู้ ในชั้นเรียน การวัดประเมินผลจากข้อสอบที่มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนตอบโดยการคิดวิเคราะห์ ด้วยการ นาความรู้ทางหลักการ ทฤษฎีไปปรับประยุกต์ เพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสมมี
เหตุผล

1.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1.๔.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๑) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
๓) มีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักจัดการอารมณ์ และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
1.๔.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
๑) มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ความรับผิดชอบ และการเป็นสมาชิกที่ดี
ของกลุ่ม
๒) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ระหว่างผู้เรียน กับผู้เรียน และ
ผู้เรียนกับผู้สอน
๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ การจัดการอารมณ์
การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลอื่น
1.๔.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
๑) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้เรียน ระหว่างการเรียนการสอน และ
การทางานร่วมกับเพื่อน
๒) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่นาเสนอตามที่ได้รับมอบหมาย

1.๕ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


1.๕.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑) มีทักษะในการใช้ภาษาไทย เพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม

1.๕.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒ นาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้


เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4

และบุคคลอื่นในสถานการณ์ที่หลากหลาย
๒) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่
หลากหลายรูปแบบ
๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล และการสื่อสารข้อมูลได้
อย่างเหมาะสม
1.๕.๓ กลยุ ท ธ์ก ารประเมิ น ผลการเรีย นรู้ด้ า นทั ก ษะการวิเคราะห์ เชิง ตั ว เลข การสื่ อ สาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑) ประเมิ น จากความสามารถในการน าเสนอต่ อ ชั้ น เรี ย นโดยใช้ เ ท คโน โลยี ส ารสน เท ศ
หรือคณิตศาสตร์
๒) ประเมินจากความสามารถในการสื่อสาร การอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ
๓ (ประเมินจากผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนมอบหมาย

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน
ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
1 ปฐมนิเทศนิสิต/บทที่ ๑ ความรู้ 3 -ปฐมนิเทศรายวิชา พระครูสิริคณาภิรักษ์
ทั่วไปเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียง แนะนาวิธีการเรียนการ
ใต้ สอนและแจก มคอ.๓
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเอเชีย รายละเอียดเนื้อหาวิชา
ตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมวิธีการตัดเกรด
-ความสาคัญของเอเชียตะวันออก แก่นิสิต
เฉียงใต้ -บรรยายหัวข้อ ความรู้
-ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตกเป็น ทั่วไปเกี่ยวกับเอเชีย
ชาติอาณานิคมของชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
-คาถามประจาบท โดยใช้ สื่อ
PowerPoint ประกอบ
2 บทที่ ๒ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 3 -บรรยายหัวข้อ พระครูสิริคณาภิรักษ์
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอินโดนีเซีย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
-ยุคก่อนอาณานิคมของอินโดนีเซีย โดยใช้ สื่อ
-การเข้ามาของชาวมุสลิม PowerPoint
-ยุคอาณานิคม -นิสิตอภิปรายถามตอบ
-การเข้ามายึดครองอินโดนีเซียของ จากเนื้อหาสาธารณรัฐ
ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย
-หลักปัญจศีลในฐานะเป็นปรัชญา -กาหนดกลุ่มค้นคว้าใน
วัฒนธรรมและอุดมการณ์ของรัฐ รายวิชากลุ่มละ ๓ รูป/
-เนื้อหาสาระของหลักปัญจศีล คน
-อินโดนีเซียหลังจากได้เอกราช -ทาแบบทดสอบหลัง
-ระบบการเมืองของอินโดนีเซีย เรียน
5

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
-พรรคการเมือง
-สภาที่ปรึกษาประชาชนและสภา
ผู้แทน
ราษฎร
-อินโดนีเซียแบ่งเป็นสามช่วงหลัง
ได้รับ
เอกราช
-การเมืองการปกครองในสมัย
ประธานาธิบดีซูฮาร์โต
-ความไม่สงบทางการเมืองในช่วง
ปลาย
สมัยประธานาธิบดีซูฮาร์โต
-การเปรียบเทียบระบอบการ
ปกครอง
ระหว่างซูการ์โนและซูฮาร์โต
-การเมืองการปกครองในสมัย
ประธานาธิบดี บี.เจ.ฮาบิบี
-การเมืองการปกครองในสมัย
ประธานาธิบดี อับดูร์ราห์มัน วาฮิด
-การลงนามสันติภาพในอาเจะห์
-การขึ้นดารงตาแหน่งประธานาธิบดี
ของนางเมกาวดี ซูการ์โนบุตรี
-การเลือกตั้งประธานาธิบดี
อินโดนีเซีย
-การเมืองของอินโดนีเซียในปัจจุบัน
-คาถามประจาบท
3 บทที่ ๓ สหพันธรัฐมาเลเซีย 3 -บรรยายหัวข้อ พระครูสิริคณาภิรักษ์
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาเลเซีย สหพันธรัฐมาเลเซีย
-ก่อนประวัติศาสตร์ที่จะมาเป็น โดยใช้ สื่อ
ประเทศ PowerPoint
มาเลเซีย -นิสิตอภิปรายถามตอบ
-มะลักกาและวัฒนธรรมมาเลย์ใน ในเนื้อหารายวิชาจาก
ศตวรรษที่ 15 สหพันธรัฐมาเลเซีย
-การขยายอานาจของอังกฤษใน ตรวจการบันทึกเก็บ
มาลายู คะแนนในรายชั่งโมง
-การดาเนินการปกครองของอังกฤษ การเรียน
ใน มาลายู -ทาแบบทดสอบหลัง
-การเข้ามายึดครองมาเลเซียของ เรียน
6

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ญี่ปุ่น
-หลังสงครามโลกครั้งที่สอง
-รัฐบาลพรรคพันธมิตรและเอกราช
ของมาเลเซีย
-วิกฤตการณ์ในปี 1969
-ระบบรัฐบาลของสหพันธรัฐ
มาเลเซีย
-การเมืองการปกครองในสมัย
นายกรัฐมนตรี ดร.มหาเดย์ โมฮัม
มัด
-ลักษณะประชาธิปไตยในมาเลเซีย
-การปล่อยเสรีทางวัฒนธรรมและ
เป้า
หมายที่ยึดถือผลประโยชน์เป็น
สาคัญ
-นายกรัฐมนตรี ดร.มหาเดย์ ก้าวลง
จากตาแหน่ง
-นายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 5
-คาถามประจาบท

4 บทที่ ๔ ทดสอบย่อย – และบรรยาย 3 -ทดสอบย่อยในเรื่อง พระครูสิริคณาภิรักษ์


ต่อ สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐสิงคโปร์และ
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิงคโปร์ สหพันธรัฐมาเลเซียเพื่อ
-ประวัติความเป็นมาของสิงคโปร์ เก็บคะแนน หลังจาก
-การได้เอกราชของสิงคโปร์ นั้นบรรยายเนื้อหาของ
-โครงสร้างทางการเมืองและการ สาธารณรัฐสิงคโปร์
ปกครอง โดยใช้ สื่อ
-สมาชิกรัฐสภา PowerPoint
-วิสัยทัศน์ของผู้นาสิงคโปร์ -บันทึกเก็บคะแนน
-วิสัยทัศน์ด้านยุทธศาสตร์การพัฒนา ทดสอบย่อย ในราย
และการบริหาร ชั่วโมงหลังเรียน
-การพัฒนาของสิงคโปร์ทางด้าน
วัฒนธรรม
-วิธีการดาเนินการทางเศรษฐกิจหลัง
ได้รับเอกราช
-การขึ้นดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
คนใหม่ของสิงคโปร์
-การตื่นตัวทางด้านการเมืองของ
7

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ประชาชนสิงคโปร์
-กระบวนการสร้างความเป็น
ประชาธิปไตย
-ปัจจัยที่ทาให้สิงคโปร์มีความเจริญ
ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคม
-จุดอ่อนของสิงคโปร์
-คาถามประจาบท
5 บทที่ 5 บรูไน 3 -บรรยาย หัวข้อเรื่อง พระครูสิริคณาภิรักษ์
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรูไน ประเทศบรูไน
-การพัฒนารัฐธรรมนูญและ โดยใช้ สื่อ
กระบวนการ PowerPoint
สร้างประชาธิปไตยในบรูไน ประกอบการบรรยาย
-เศรษฐกิจของบรูไน - นิสิตอภิปราย
-ระบบการเมืองการปกครองของ กรณีศึกษาตัวอย่าง
บรูไน การศึกษาจากปัญหาของ
-ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ของการทานสถาบันนิติ
-คาถามประจาบท บัญญัติ
-ทาแบบทดสอบหลัง
เรียน
6 บทที่ 6 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 3 -บรรยาย หัวข้อเรื่อง พระครูสิริคณาภิรักษ์
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฟิลิปปินส์ ประเทศสาธารณรัฐ
-การปกครองของสเปนในฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
-การปกครองฟิลิปปินส์ของสหรัฐ โดยใช้ สื่อ
อเมริกา PowerPoint
-การเข้ามายึดครองของญี่ปุ่น ประกอบการบรรยาย
-การได้เอกราชและปีแห่งการ - นิสิตอภิปราย
ปกครอง กรณีศึกษาตัวอย่าง
ระบอบประชาธิปไตย การศึกษาจากปัญหา
-การเมืองและการปกครองในยุค ของของการปกครอง
ประธานาธิบดีเฟอร์ดินานมาร์คอส ประเทศสาธารณรัฐ
-ประธานาธิบดีฟิเดช เจ.รามอส ฟิลิปปินส์
-ประธานาธิบดีโจเซฟ เอสตราคา -ทาแบบทดสอบหลัง
-สภานิติบัญญัติ เรียน ๕แนน
-พรรคการเมือง
-เหตุการณ์ไม่สงบทางการเมืองใน
สมัย
ประธานาธิบดีกลอเรียอาร์โรโย่
-คาถามประจาบท
8

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
7 บทที่ 7 สาธารณรัฐสังคมนิยม 3 -บรรยาย หัวข้อเรื่อง พระครูสิริคณาภิรักษ์
สหภาพเมียนมาร์ สาธารณรัฐสังคมนิยม
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเมียนมาร์ สหภาพเมียนมาร์
-ประวัติศาสตร์ของเมียนมาร์ในยุค โดยใช้ สื่อ
ก่อน PowerPoint
-ยุคอาณานิคม ประกอบการบรรยาย
-การเข้ามายึดครองของญี่ปุ่น - นิสิตอภิปราย
-การได้เอกราชของพม่า กรณีศึกษาตัวอย่าง
-ช่วงระยะเวลาการมีประชาธิปไตย การศึกษาสาธารณรัฐ
ใน สังคมนิยม
เมียนมาร์ สหภาพเมียนมาร์
-การปกครองของทหารในเมียนมาร์ -ทาแบบทดสอบหลัง
-สภานิติบัญญัติของเมียนมาร์ในอดีต เรียน ๕แนน
-กระบวนการสร้างประชาธิปไตย
และ
แนวโน้มที่เป็นไปได้
-เสถียรภาพประชาธิปไตยและความ
ขัดแย้งทางเผ่าพันธุ์
-การเปลี่ยนแปลงผู้นาเมียนมาร์
ในปี 2003
-พลเอกขิ่น ยุ้นต์ ในบทบาทของ
นายกรัฐมนตรีคนใหม่
-ปมขัดแย้งทางการเมืองและขั้ว
อานาจ
สภา เอส พี ดี ซี
-พล.ท.โซวิน นายกรัฐมนตรีคนใหม่
-การประท้วงครั้งใหญ่ของพระสงฆ์
และประชาชนในปี 2007
-คาถามประจาบท
8 สอบกลางภาค เนื้อหาบทที่ ๑-๗ 3 -สอบกลางภาค พระครูสิริคณาภิรักษ์
- โดยข้อสรุปจากบทที่
๑-๗ เป็นแบบปรนัย ๒๐
ข้อ อัตนัย ๑ ข้อ ๒๐
คะแนน

9 บทที่ 8 สาธารณรัฐสังคมนิยม 3 -บรรยายหัวข้อ พระครูสิริคณาภิรักษ์


เวียดนาม สาธารณรัฐสังคมนิยม
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเวียดนาม เวียดนาม
9

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
-สภาพการเมืองของเวียดนามก่อน โดยใช้ สื่อ
หน้า PowerPoint
ที่ฝรั่งเศสเข้ามาปกครอง ประกอบการบรรยาย
-เวียดนามตกเป็นอาณานิคมของ -นิสิตกลุ่มที่ ๑,๒,๓และ
ฝรั่งเศส ๔ สรุปการศึกษา
-สงครามโลกครั้งที่สอง และสงคราม ค้นคว้ากรณีศึกษาบทที่
อินโดจีน 1940-1954 ๑,๒และ๓ นาเสนอ
-เวียดนามถูกแบ่งเป็น 2 ประเทศ และอภิปราย ตัวอย่าง
และ การวิเคราะห์ปัญหา
สงครามเวียดนาม 1954-1975 ทางการเมืองการ
-ความล้มเหลวของโงดิน เดียม กับ ปกครองของเอเชีย
การ ตะวันออกเฉียงใต้จาก
เข้าสู่สงครามของสหรัฐในเวียดนาม ปัญหาโครงงานที่นิสิต
-โครงสร้างการเมืองการปกครองของ แต่ละกลุ่มได้รับ
สาธารรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มอบหมาย
-เวียดนามตั้งแต่ปี 1975 -นิสิตที่เข้ารับฟังบันทึก
-ผลกระทบทางสังคม และการเมือง เนื้อหาส่งท้ายชั่วโมง
จากการปฏิรูป (Doi Moix -สรุปสาระสาคัญที่นิสิต
-สถานการณ์ทางการเมือง และสังคม นิสิตอภิปราย
ในปี 2003
-พรรค และรัฐกับความไม่
เปลี่ยนแปลง
-คาถามประจาบท
10 บทที่ 9 กัมพูชา 3 -บรรยายหัวข้อประเทศ พระครูสิริคณาภิรักษ์
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชา
-กัมพูชาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยใช้ สื่อ
และอาณาจักรพระนคร PowerPoint
-ประเทศกัมพูชาสมัยตกเป็นอาณา ประกอบการบรรยาย
นิคม
-สงครามโคกครั้งที่ 2 (1940- -นิสิตกลุ่มที่ ๕,๖,๗และ
1945) ๘ สรุปการศึกษา
-การได้เอกราชของกัมพูชา ค้นคว้ากรณีศึกษาบทที่
-กัมพูชาภายใต้การปกครองของ ๕,๖,๗และ๘ นาเสนอ
กษัตริย์ สีหนุ 1953-1970 และอภิปราย ตัวอย่าง
-รัฐบาลกัมพูชาในปี ค.ศ.1975- การวิเคราะห์ปัญหา
1979 ทางการเมืองการ
-รัฐแห่งกัมพูชา ปกครองของเอเชีย
-รัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ตะวันออกเฉียงใต้จาก
10

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
-องค์การถ่ายโอนอานาจของ ปัญหาโครงงานที่นิสิต
สหประชาชาติในกัมพูชา แต่ละกลุ่มได้รับ
-การเลือกตั้งของกัมพูชาในปี 2003 มอบหมาย
-คาถามประจาบท -นิสิตที่เข้ารับฟังบันทึก
เนื้อหาส่งท้ายชั่วโมง
-สรุปสาระสาคัญที่นิสิต
นิสิตอภิปราย
11 บทที่ 10 สาธารณรัฐประชาธิปไตย 3 -บรรยายหัวข้อประเทศ พระครูสิริคณาภิรักษ์
ประชาชนลาว สาธารณรัฐ
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ประชาชนลาว
-การสร้างประเทศลาว และลาวก่อน โดยใช้ สื่อ
ประวัติศาสตร์ PowerPoint
-ชัยชนะของฝรั่งเศสและการปกครอง ประกอบการบรรยาย
ถึง 1940 -นิสิตกลุ่มที่ ๙,๑๐
-การจัดการบริหารของฝรั่งเศสในลาว สรุปการศึกษาค้นคว้า
-สงครามโลกครั้งที่สอง และสงคราม กรณีศึกษาบทที่ ๕,๖,๗
อินโดจีนครั้งแรก 1940-1954 และ๘ นาเสนอและ
-ความล้มเหลวในด้านความเป็นกลาง อภิปราย ตัวอย่างการ
-ลาวและความขัดแย้งในเวียดนาม วิเคราะห์ปัญหาทาง
ในปี 1964-1975 การเมืองการปกครอง
-โครงสร้างการปกครองของ สปปล. ของเอเชียตะวันออก
-ลาวหลังจากคอมมิวนิสต์ยึดอานาจ เฉียงใต้จากปัญหา
ในปี 1975 โครงงานที่นิสิตแต่ละ
-ก ารพั ฒ น าท างก ารเมื อ ง แ ล ะ กลุ่มได้รับมอบหมาย
เศรษฐกิจ -นิสิตที่เข้ารับฟังบันทึก
ของลาว ในปี 2003 เนื้อหาส่งท้ายชั่วโมง
-คาถามประจาบท -สรุปสาระสาคัญที่นิสิต
นิสิตอภิปราย
12 ทดสอยย่อย/บทที่ 11 ติมอร์ 3 -บรรยายหัวข้อประเทศ พระครูสิริคณาภิรักษ์
ตะวันออก ติมอร์ตะวันออกโดยใช้
-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับติมอร์ สื่อ PowerPoint
ตะวันออก ประกอบการบรรยาย
-ประวัติความเป็นมาของติมอร์ -ทดสอบย่อยใน บทที่
ตะวันออก ๕,๖,๗ เพื่อเก็บคะแนน
-ช่วงของการเปลี่ยนแปลง หลังจากนั้นบรรยาย
-การเลือกตั้งในปี 1975 เนื้อหาของ ติมอร์
-การบุกยึดครองติมอร์ตะวันออก ตะวันออก
11

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ของอินโดนีเซีย
-การต่อต้านของชาวติมอร์ตะวันออก โดยใช้ สื่อ
กับการเริ่มเพื่อสันติภาพ PowerPoint
-สถาบันการเมือง -ตรวจแบทดสอบ
-การฉลองเอกราช บันทึกเก็บคะแนน
-ติมอร์ตะวันออกหลังได้รับเอกราช ทดสอบย่อย ในราย
-ความไม่มีเอกภาพหลังได้รับเอกราช ชั่วโมงหลังเรียน
-ประเด็นปัญหาเรื่องภาษาในติมอร์
ตะวันออก
-เศรษฐกิจและการค้า
-เศรษฐกิจ
-ความสัมพันธ์กับนานาชาติ
-คาถามประจาบท
13 บทที่ 12 ความร่วมมือของภูมิภาค 3 -บรรยายหัวข้อความ พระครูสิริคณาภิรักษ์
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมมือของภูมิภาค
กับอาเซียน เอเชียตะวันออกเฉียง
-การก่อตั้งอาเซียน ใต้กับอาเซียน
-จุดประสงค์และเป้าหมายของ สื่อ PowerPoint
อาเซียน ประกอบการบรรยาย
-ความก้าวหน้าของอาเซียน -นิสิตกลุ่มที่ ๑๑,๑๒
-ความร่วมมือทางด้านการค้าและ สรุปการศึกษาค้นคว้า
อุตสาหกรรม กรณีศึกษาบทที่
-ความร่วมมือกันทางการค้า ๑๑,๑๒ นาเสนอและ
-ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ อภิปราย ตัวอย่างการ
-ความผูกมัดต่อความร่วมมือทาง วิเคราะห์ปัญหาทาง
เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง
-วัตถุประสงค์ ของเอเชียตะวันออก
-อุปสรรคในด้านการร่วมมือทาง เฉียงใต้จากปัญหา
เศรษฐกิจ โครงงานที่นิสิตแต่ละ
-ความร่วมมือด้านการเมืองและ กลุ่มได้รับมอบหมาย
ความมั่นคง -นิสิตที่เข้ารับฟังบันทึก
-ความร่วมมือด้านความมั่นคง เนื้อหาส่งท้ายชั่วโมง
-ประชาคมความมั่นคงอาเซียน -สรุปสาระสาคัญที่นิสิต
-อนาคตอาเซียน นิสิตอภิปราย

๑๔ บทที่ 12 ความร่วมมือของภูมิภาค ๓ -บรรยายหัวข้อความ พระครูสิริคณาภิรักษ์


เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ต่อ) ร่วมมือของภูมิภาค
กับอาเซียน เอเชียตะวันออกเฉียง
12

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน การ ผู้สอน


ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
-พลวัตความสัมพันธ์ในมุมมองใหม่ ใต้กับอาเซียน(ต่อ)
ของมหาอานาจ สื่อ PowerPoint
-ปัญหาของการพัฒนาการเมือง ประกอบการบรรยาย
การปกครองของกลุ่มประเทศ -ตรวจแบทดสอบ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บันทึกเก็บคะแนน
-กฎบัตรอาเซียน ทดสอบย่อย ในราย
-คาถามประจาบท ชั่วโมงหลังเรียน
1๕ บทที่ ๑-๑๒ 3 -บรรยายสรุปเนื้อหา พระครูสิริคณาภิรักษ์
สาระสาคัญที่ได้มีการ
เรียนการสอนรายวิชา
จากบทที่ ๑-๑๒ โดยใช้
สื่อ PowerPoint
-ตรวจผลงานนิสิตแต่
ละกลุ่มที่มอบหมาย
แจ้งผลคะแนนเก็บ
ตลอดภาคการศึกษาที่
๑/๒๕๕๘ ให้นิสิต
ทราบ พร้อมกับวันสอบ
ปลายภาค
๑๖ สอบปลายภาค

2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้
สัดส่วนของการ
ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน
ประเมินผล
ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 4 10%
สอบกลางภาค 8 10%
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 12 10%
สอบปลายภาค 16 40%

วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนาเสนอรายงาน


การทางานกลุ่มและผลงาน
2 ตลอดภาคการศึกษา 20%
การอ่านและสรุปบทความ
การส่งงานตามที่มอบหมาย
การเข้าชั้นเรียน
3 การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
13

1.เอกสารและตาราหลัก
อนุภูมิ โซวเกษม, ผศ. การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพมหานคร.
จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2547.
2.เอกสารและข้อมูลสาคัญ

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1.กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิ ชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจาก
นักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา
ข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา
ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการ
ออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่
อาจารย์ประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิช า ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ
ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และ
รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก ๕ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของ
อาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆ
14

ลงชื่อ..................................................... ลงชื่อ...............................................................
( พระครูสิริคณาภิรักษ์) นายสมปอง ทิพย์สมบัติ
อาจารย์ประจาวิชา อาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาวิชารัฐสาสตร์
..................../.............. ..../............ ..................../.................../............

........................................
( พระราชธรรมสารสุธี)
ผู้อานวยการวิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ
..................../.................../............

You might also like