You are on page 1of 24

มคอ.

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คณะ วิทยาลัยการดนตรี ภาควิชา ดนตรีตะวันตก

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

๑. รหัสและชื่อรายวิชา
๕๑๐๑๑ 23 ทักษะทูบา
2
Tuba Skills 2
๒. จำนวนหน่วยกิต
.......๒........ หน่วยกิต (๐-๔-๒)
๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ดนตรีตะวันตก
ศึกษา
ประเภทของรายวิชา วิชาเอก
๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
๔.๑ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
อาจารย์ศุภปรัช สันติธรรมารักษ์
๔.๒ อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ศุภปรัช สันติธรรมารักษ์
อาจารย์กฤตบุญ สวัสติสุข
๕. ภาคการศึกษา / ชัน
้ ปี ที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 2/๒๕๖๐
ชัน
้ ปี ที่ ๑
2

๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)


๕๑๐๑๑ 22 ทักษะทูบา ๑
๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
๘. สถานที่เรียน
วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
๙. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครัง้ ล่าสุด
วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
๑.๑ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติทูบา
๑.๒ เพื่อนำความรู้การปฏิบัติทูบาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการ
สอน
๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
๑.๑ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเชี่ยวชาญในเครื่องดนตรีเอก
๑.๒ เพื่อให้สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานของวิชาชีพ

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ
3

๑. คำอธิบายรายวิชา
ปฏิบัติทูบาโดยการเรียนเดี่ยว การฝึ กบันไดเสียง แบบฝึ กหัด
การตีความบทเพลง แนวการฝึ ก การบรรเลงเพลงในแต่ละยุค ตามรูป
แบบแนวเพลงของกลุ่มวิชาเอกของผู้เรียน
Tuba practicing by private learning, scales, etude,
technique, music interpretation, practicing guideline and
music performance in different era followed by student’s
major

๒. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา ๒(๐-๔-๒)
การฝึ กปฏิบัติ
การศึกษาด้วย
งานภาค
บรรยาย สอนเสริม ตนเอง
สนาม/การ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง) (ชั่วโมงต่อ
ฝึ กงาน
สัปดาห์)
(ชั่วโมง)
- - ๖๐ ๓๐

๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทาง
วิชาการแก่นิสิตนักศึกษาเป็ นรายบุคคล
๑) อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็ปไซต์
สาขาวิชา
๒) อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็ นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตาม
ความต้องการ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
๓) นิสิตนักศึกษาสามารถปรึกษาผ่านช่องทาง Social Media
4

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษา
๑. คุณธรรม จริยธรรม
๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ความรับผิดชอบของผลการเรียน
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนาใน
รู้
รายวิชา
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร
() ๑.๕) มีคุณธรรมจริยธรรม - ความซื่อสัตย์ (ประพฤติตนเป็ น
จรรยาบรรณวิชาชีพ สำหรับครู แบบอย่างที่ดีด้านการปฏิบัติ
สอนดนตรีศึกษา ซื่อตรงต่อหน้าที่และวิชาชีพ รับรู้
หน้าที่ของตนเอง)
- ความมีวินัย (มีความตรงต่อเวลา
ประพฤติตนอยู่ในกฏระเบียบ ข้อ
บังคับในชัน
้ เรียน รวมถึงของ
มหาวิทยาลัย )

๑.๒ วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้
5

- สร้างข้อตกลง/เงื่อนไขการเรียนรู้ในชัน
้ เรียน ดังนี ้ การ
ทำงานที่ได้รับมอบหมาย การแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบ
- การปลูกฝั งในด้านวิธีการฝึ กทักษะการปฏิบัติ และความ
สม่ำเสมอและความต่อเนื่องในการฝึ กซ้อม เพื่อให้เกิดการรับรู้หน้าที่
ของตนเอง
๑.๓ วิธีการประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการเข้าชัน
้ เรียนความตรงต่อเวลา การ
แต่งกาย การปฏิบัติตนตามระเบียบของมหาวิทยาลัย โดยใช้แบบสังเกต
แบบมีโครงสร้าง
- ประเมินความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย โดยการ
ประเมินผลตามสภาพจริงของผูเ้ รียน

๒. ความรู้
๒.๑ ความรู้ที่จะได้รับ
ความรับผิดชอบของผลการเรียน
รู้ ความรู้ที่จะได้รับในรายวิชา
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร
() ๒.๓) มีความรู้ในศาสตร์ทาง - สร้างความรู้ ความเข้าใจหลักการ
ดนตรีอย่างเป็ นระบบ ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทู
() ๒.๖) มีความรู้ความเข้าใจใน บา
พื้นฐานที่สำคัญในการบรรเลง - ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง คือ
เครื่องดนตรี การขับร้อง และ การแนะนำแหล่งเรียนรู้ต่างๆ (การ
การบรรเลงร่วมกันเป็ นกลุ่ม เข้าชมคอนเสิร์ตจากสถาบันต่าง
() ๒.๗) มีความรู้ความเข้าใจใน รวมถึงวงดนตรีอาชีพ และวิธีการ
ทฤษฎีดนตรีเบื้องต้นเกี่ยวกับ สืบค้นข้อมูลให้กับผู้เรียน)
การสร้างงานดนตรี และระบบ
6

ประสานเสียง

๒.๒ วิธีการสอน
- บรรยายหลักการ และหลักวิธีการสอนปฏิบัติทูบา
- สาธิตการปฏิบัติเทคนิคต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน
- ฝึ กปฏิบัติทักษะ เทคนิคต่างๆ ของทูบา
- ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากประสบการณ์ภายนอก
ห้องเรียน
- อภิปรายซักถาม และตอบคำถามภายในห้องเรียน
๒.๓ วิธีการประเมินผล
- ทดสอบย่อยระหว่างคาบเรียน จากแบบฝึ กหัด หรืองานที่
ได้รับมอบหมาย
- การทดสอบปลายภาคเรียนโดยการปฏิบัติทูบา
- ประเมินจากงานที่ศึกษาค้นคว้า

๓. ทักษะทางปั ญญา
๓.๑ ทักษะทางปั ญญาที่ต้องพัฒนา
ความรับผิดชอบของผลการเรียน
รู้ ทักษะทางปั ญญาที่ต้องพัฒนา
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร
() ๓.๗) มีความสามารถในการ - ความสามารถในการวิเคราะห์
7

คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน สถานการณ์ต่างๆ อย่างมีเหตุผล


ค่า และนำความรู้เกีย
่ วกับแนวคิด - ความสามารถในการแก้ไขปั ญหา
ทฤษฎีและหลักการในศาสตร์ทาง - ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง คือ
ดนตรีศก
ึ ษาไปใช้ในการปฏิบต
ั งิ าน การแนะนำแหล่งเรียนรู้ต่างๆ (การ
การจัดการเรียนรู้ แก้ปัญหาการ เข้าชมคอนเสิร์ตจากสถาบันต่าง
พัฒนาผูเ้ รียน และการวิจย
ั ต่อย รวมถึงวงดนตรีอาชีพ และวิธีการ
อดองค์ความรู้ สืบค้นข้อมูลให้กับผู้เรียน)

๓.๒ วิธีการสอน
- สาธิตการปฏิบัติเทคนิคต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน
- การฝึ กปฏิบัติทักษะ เทคนิคต่างๆ ของทูบา
- อภิปรายซักถาม และตอบคำถามภายในห้องเรียน จาก
ความรู้ความเข้าใจแนวคิดและหลักการ กระบวนการต่างๆในการ
ปฏิบัติทักษะ ฝึ กคิดวิเคราะห์ และการแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน
้ ใน
ระหว่างการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ
- ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากประสบการณ์ภายนอก
ห้องเรียน

๓.๓ วิธีการประเมินผล
- การตอบคำถามของนิสิตที่เกิดขึน
้ ในระหว่างเรียนจาก
สภาพจริง เป็ นการวัดว่านิสิตมีความเข้าใจหลัการและกระบวนการ
ต่างๆ ในการปฏิบัติทักษะ
- การทดสอบปลายภาคเรียนโดยการปฏิบัติทูบา
- ประเมินจากงานที่ศึกษาค้นคว้า
8

๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ที่ต้องการพัฒนา
ความรับผิดชอบของผลการเรียน ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
รู้ และ
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร ความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา
() ๔.๗) มีความเอาใจใส่ในการ - ความสามารถในการทำงานร่วม
รับฟั ง และพัฒนาความสัมพันธ์ กับผู้อ่ น

ระหว่างบุคคลอย่างมีความรับผิด (การเล่นดนตรีร่วมกับผู้เล่นดนตรี
ชอบ มีความสัมพันธ์ทด
่ี ีต่อผู้เรียน ประกอบ (Accompaniment)
และผู้ร่วมงาน และสามารถ - ความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้
ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้ อื่น

๔.๒ วิธีการสอน
- การฝึ กปฏิบัติทักษะ เทคนิคต่างๆ ของทูบา
- กำหนดกิจกรรมหรือชิน
้ งานให้มีการทำงานที่ต้องประสาน
งานกับบุคคลอื่น

๔.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากการสังเกตของผู้สอน
- การประเมินโดยนิสิตร่วมชัน
้ เรียน
- การรายงานตนเองของนิสิต

๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี


สารสนเทศ
9

๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้


เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
ความรับผิดชอบของผลการเรียน ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
รู้ สื่อสาร และ
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้อง
พัฒนา
() ๕.๗) มีความไวในการ - แนะนำแหล่งข้อมูลในการสืบค้น
วิเคราะห์สรุปความคิดรวบยอด จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทัง้
ข้อมูลข่าวสารด้านดนตรีจากผู้ ฐานข้อมูลในไทยและต่างประเทศ
เรียน
() ๕.๘) มีความสามารถในการ
สื่อสาร และสามารถเลือกใช้ รวม
ทัง้ นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ
สำหรับผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม

๕.๒ วิธีการสอน
- บรรยายหลักการ และหลักวิธีการสอนปฏิบัติทูบา
- การมอบหมายงานที่เน้นการฝึ กทักษะการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

๕.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินข้อมูลทีไ่ ด้จากการค้นคว้า ซึง่ มีความถูกต้อง ครบถ้วนตาม
วัตถุประสงค์ทไ่ ี ด้รบ
ั มอบหมาย
- การนำเสนองานประเด็นสำคัญโดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
10

๖. ทักษะการจัดการเรียนรู้
๖.๑ ทักษะการจัดการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา
ความรับผิดชอบของผลการเรียน
ทักษะการจัดการเรียนรู้ที่ต้อง
รู้
พัฒนา
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร
() ๖.๓) มีความเชี่ยวชาญใน - การทดลองสอน
การจัดการเรียนรู้ในวิชาเอกด้วย - การบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ
ปฏิบัติงานได้จริงในชัน
้ เรียนอย่า
งบูรณาการ

๖.๒ วิธีการสอน
- การฝึ กปฏิบัติการ
- การสาธิต
- การทดลองสอนโดยใช้บทบาทสมมุติเป็ นครูแล้วเพื่อนเป็ น
นักเรียน

๖.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทดลองสอนของ
นิสิต

๗. ทักษะทางดนตรี
๗.๑ ทักษะทางดนตรีที่ต้องพัฒนา
ความรับผิดชอบของผลการเรียน ทักษะทางดนตรีที่ต้องพัฒนา
11

รู้
ทีกำ
่ หนดในหลักสูตร
() ๗.๑) มีทักษะเบื้องต้น ใน - การให้แบบฝึ กหัดที่ยากขึน
้ เพื่อ
การขับร้อง และการปฏิบัติดนตรี พัฒนาทักษะทางดนตรี (การฟั ง
() ๗.๓) มีทักษะในการบันทึก การอ่าน การเล่น)
อ่าน พัฒนาโน้ต ทักษะการขับ - การสร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึ กซ้อม
ร้อง และทักษะการปฏิบัติดนตรี เดี่ยว และฝึ กซ้อมกลุ่ม
ประเภทรวมวง

๗.๒ วิธีการสอน
- จัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติอย่างต่อ
เนื่องสม่ำเสมอ
- เรียนรู้จากการสาธิต

๗.๓ วิธีการประเมินผล
- การทดสอบย่อยภาคปฏิบัติ แบบฝึ กหัด
- สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติทูบา
-การทดสอบปลายภาคเรียนโดยการปฏิบัติทูบา
มคอ.๓

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
13

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๑ - แนะนำรายวิชา ๑.๕ ๔ ๑.แนะนำรายวิชา - แนวการ - สังเกต อ. ศุภปรัช
กิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมการ สอน พฤติกรรมการเข้า สันติธรรมา
วิธีการวัดและ เรียนรู้ - แบบ ชัน
้ เรียน ความ รักษ์
ประเมินผล ๒. ทำความรู้จักผู้ ฝึ กหัด ตรงต่อเวลา การ
เรียน/เก็บข้อมูล - บทเพลง แต่งกาย และการ
พื้นฐาน/ประเมินผู้ สำหรับ ปฏิบัติตนตาม
เรียน โดย ฝึ กหัด ระเบียบของ
สอบถามพื้นฐาน มหาวิทยาลัย
ของผู้เรียน
14

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๒ - แนะนำประวัติ ๑.๕, ๔ ๑. บรรยายเนื้อหา - ตำรา - ประเมิน อ. ศุภปรัช
ของนักทูบา ๓.๗, เกี่ยวกับประวัติ - PPT รายงานจากการ สันติธรรมา
- ปรับพื้นฐานใน ๔.๗, และองค์ประกอบ - ทูบา สืบค้นข้อมูลจาก รักษ์
การปฏิบัติ ๕.๗, ของทูบา - แบบ เทคโนโลยี
ทูบา ๕.๘ ๒. ฝึ กปฏิบัติ ฝึ กหัด สารสนเทศ และ
๔. ทบทวนและซัก ทักษะการนำ
ถาม เสนองานของผู้
๕. มอบหมายงาน เรียน
เดี่ยว พร้อมทัง้ นำ
เสนอผลงานผ่าน
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
15

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๓-๔ -ปฏิบัติแบบฝึ กหัด ๑.๕, ๘ ๑. บรรยายและ - ทูบา - สังเกต อ. ศุภปรัช
บันไดเสียง เทคนิค ๒.๓, สาธิต - แบบฝึ ก พฤติกรรมการ สันติธรรมา
ต่างๆ ของการ ๒.๖, ๒. ฝึ กปฏิบัติ บันไดเสียง ปฏิบัติทูบา รักษ์
บรรเลง เพื่อพัฒนา ๒.๗, ๓. ทบทวนและซัก และ - ประเมินผลจาก
ทักษะทางด้านการ ๓.๗, ถามให้คำแนะนำ บทเพลง การปฏิบัติแบบ
ฟั ง ๔.๗, สำหรับ ฝึ ก โดยใช้แบบ
๗.๑, แบบฝึ กหัด ประเมิน
๗.๓ - ทดสอบย่อย
เก็บคะแนนทุก
สัปดาห์
16

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๕-๖ -ปฏิบัติแบบฝึ กหัด ๑.๕, ๘ ๑. บรรยายและ - ทูบา - สังเกต อ. ศุภปรัช
ฝึ กการอ่านโน้ต ๒.๓, สาธิต - แบบ พฤติกรรมการ สันติธรรมา
อย่างฉับพลัน ๒.๖, ๒. ฝึ กปฏิบัติ ฝึ กหัด ปฏิบัติทูบา รักษ์
(sight reading) ๒.๗, ๓. ทบทวนและซัก ต่างๆ - -ประเมินผล
เพื่อพัฒนาทักษะ ๓.๗, ถามให้คำแนะนำ - CD จากการปฏิบัติ
ด้านการอ่านโน้ต ๔.๗, ประกอบ แบบฝึ ก โดยใช้
๗.๑, แบบประเมิน
๗.๓ - ทดสอบย่อย
เก็บคะแนนทุก
สัปดาห์
17

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๗-๙ -ปฏิบัติทักษะที่ ๑.๕, ๑๒ ๑.บรรยายและ - ทูบา - สังเกต อ. ศุภปรัช
สำคัญทางดนตรีที่ ๒.๓, สาธิต - บทเพลง พฤติกรรมการ สันติธรรมา
เกี่ยวข้องกับการ ๒.๖, ๒. ฝึ กปฏิบัติ สำหรับ ปฏิบัติทูบา รักษ์
บรรเลงและเทคนิค ๒.๗, ๓. ทบทวนและซัก ฝึ กหัด - ประเมินผลจาก
เพื่อพัฒนาทักษะ ๓.๗, ถามให้คำแนะนำ - CD การปฏิบัติแบบ
ทางการเล่น ๔.๗, ประกอบ ฝึ กหัดจาก
๗.๑, บทเพลง โดยใช้
๗.๓ แบบประเมิน
- ทดสอบย่อย
เก็บคะแนนทุก
สัปดาห์
18

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๑๐- -ปฏิบัติบทเพลง ๑.๕, ๒๐ ๑.บรรยายและ - ทูบา - สังเกต อ. ศุภปรัช
๑๔ คลาสสิกเพื่อพัฒนา ๒.๓, สาธิต - บทเพลง พฤติกรรมการ สันติธรรมา
ทักษะทางด้านการ ๒.๖, ๒. ฝึ กปฏิบัติ คลาสสิก ปฏิบัติทูบา รักษ์
เล่น การฟั ง และ ๒.๗, ๓. ทบทวนและซัก - ประเมินผลจาก
การอ่านโน้ต ๓.๗, ถามให้คำแนะนำ การปฏิบัติ
๔.๗, ๔. ให้ตัวอย่าง บทเพลงคลาสสิก
๗.๑, แผนการจัดการ โดยใช้แบบ
๗.๓ เรียนรู้ โดยให้นิสิต ประเมิน
แบ่งกลุ่มฝึ กเขียน - ทดสอบย่อย
ในเรื่องที่สนใจจาก เก็บคะแนนทุก
การเรียนที่ผ่านมา สัปดาห์
19

จำน
สัปด ผลการ วน กิจกรรมการเรียน วิธีการประเมิน
หัวข้อ/รายละเอียด สื่อ ผู้สอน
าห์ เรียนรู้ ชั่วโ การสอน ผล
มง
๑๕ - นำเสนอรายงาน ๑.๕, ๔ ๑.บรรยายและ - ทูบา - สังเกต อ. ศุภปรัช
ผลการสืบค้นและ ๒.๓, สาธิต - บทเพลง พฤติกรรมการ สันติธรรมา
บรรเลงบทเพลงที่ใช้ ๒.๖, ๒. ทดลองสอนใน คลาสสิก ปฏิบัติทูบา รักษ์
ในการสอบปลาย ๒.๗, ชัน
้ เรียน จาก - การสังเกต
ภาค ๓.๗, แผนการเรียนรู้ พฤติกรรมการ
๖.๓, ๓. ฝึ กปฏิบัติ ทดลองสอนของ
๗.๑, ๔. ทบทวนและซัก นิสิต
๗.๓ ถามให้คำแนะนำ
๑๖ สอบปลายภาคโดยการแสดงเดี่ยว
มคอ.๓

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

สัดส่วนของ
ผลการ
วิธก
ี ารประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน การประเมิน
เรียนรู้
ผล
รายงานจากการสืบค้น
๓.๗, ๔.๗, ข้อมูลจากเทคโนโลยี
๕.๗, ๕.๘, สารสนเทศ ทักษะการนำ ๑๕ ๑๐ %
๖.๗ เสนองานของผู้เรียน และ
การทดลองสอน
๒.๓, ๒.๖, การปฏิบัติแบบฝึ กหัดต่างๆ
๒.๗ กาปฏิบัติแบบฝึ กบทเพลง
๓ - ๑๔ ๕๐ %
๓.๗, ๔.๗, การปฏิบัติบทเพลงคลาส
๗.๑, ๗.๓ สิก
๒.๓, ๒.๖, สอบปลายภาคโดยการ
๒.๗ ปฏิบัติเครื่องเอก (แสดง
๑๖ ๓๐ %
๗.๑, ๗.๓ เดี่ยว)

๑.๕ การเข้าชัน
้ เรียน ตลอดภาคการ ๑๐ %
ศึกษา

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. ตำราและเอกสารหลัก
- Arban, J., Randall, C. and Mantia, S. (1936). Arban's famous method for slide and valve trombone
and baritone [clef]. New York: Carl Fischer.

- Tyrrell, H. (1954). 40 progressive studies for Tuba in the bass clef. London: Boosey & Hawkes.
21

- Rochut, J. and Bordogni, M. (1978). Melodious etudes for Tuba. New York: Carl
Fischer.

๒. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
ไม่มี
๓. เอกสารและข้อมูลแนะนำ

www.youtube.com

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิตนักศึกษา
๑.๑ ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์

๑.๒ สอบถามความคิดเห็นจากนิสิตในสัปดาห์สุดท้าย

๑.๓ ให้นิสิตเขียนแสดงความคิดเห็นการสอนในสัปดาห์สุดท้าย
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน
22

จัดประชุมระดมความคิดเห็นจากคณาจารย์สาขาวิชาดนตรีตะวันตก
ศึกษา
๓. การปรับปรุงการสอน
๓.๑ นำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการสอน
๓.๒ ค้นคว้าข้อมูลความรู้ใหม่ๆ นำมาใช้ในการสอน
๓.๓ กลุ่มคณาจารย์ผู้รับผิดชอบจัดอภิปราย/สัมมนาเพื่อพัฒนา
รายวิชาให้มีสาระวิชาและวิธีการสอนที่เหมาะสม

์ องนิสิตนักศึกษาในรายวิชา
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข
ให้นิสิตทำแบบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิร์ ายวิชา และ/หรือ
ประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบ

๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของ
รายวิชา
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนิสิต การ
ประชุมสัมมนา นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคการ
ศึกษาหน้า
23

มาตรฐานผลการเรียนรู้ รับผิด
๑. ด้าน ๑) มีคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู *
๒) แสดงพฤติกรรมทางจริยธรรม ทัง้ ทางการพูด การแสดงความคิดเห็น และการกระทำ*
คุณธรรม ๓) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความตรงต่อเวลา**
๔) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ**
จริยธรรม ๕) มีคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ สำหรับครูสอนดนตรีศึกษา*** 
๒. ด้าน ๑) มีความรอบรู้ในหลักการ และทฤษฎีขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์การศึกษา
๒) มีความสามารถประมวลความรู้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานวิชาชีพ
ความรู้ ๓) มีความรู้ในศาสตร์ทางดนตรีอย่างเป็ นระบบ*****

๔) มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา พัฒนาศาสตร์ทางดนตรี และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
๕) มีความสามารถในการสืบค้น การแสวงหาความรู้ รวบรวมสาระ จัดการความรู้ทาง
๖) มีความรู้ความเข้าใจในพื้นฐานที่สำคัญในการบรรเลงเครื่องดนตรี การขับร้อง และการ 
๗) มีความรูค
้ วามเข้าใจในทฤษฎีดนตรีเบือ ้ งต้นเกีย
่ วกับการสร้างงานดนตรี และระบบประสาน 
๘) มีความรูค
้ วามเข้าใจในการจัดระบบการเรียนรูท ้ างประวัตศ
ิ าสตร์ดนตรี และวรรณคดีดนตรี
๙) มีความรูค้ วามเข้าใจหลักการทางสุนทรียศาสตร์***
๓. ด้าน ๑) มีความสามารถคิดค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูลสารสนเทศ เพื่อ
ใช้ในการปฏิบัติงานสอน งานครู และการวินิจฉัยผู้เรียน*
ทักษะทาง ๒) มีความสามารถคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์*
๓) มีความสามารถคิดแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ เสนอทางออกเพื่อนำไปสูก ่ ารแก้ไขได้อย่าง
ปั ญญา ๔) มีความสามารถในการคิดค้นหาข้อเท็จจริงสืบค้น รวมรวม และเลือกสรรข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางดนตรีจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย**
๕) มีความสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปั ญหาได้อย่าง
๖) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างสรรค์ และมีความสามารถในการบูรณาการ
๗) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และนำความรู้เกี่ยวกับ 
แนวคิดทฤษฎีและหลักการในศาสตร์ทางดนตรีศึกษาไปใช้ในการปฏิบัติงาน การจัดการ
๘) มีความเป็ นผู้นำในการปฏิบต ั ิงานอย่างมีวิสย ั ทัศน์ในการพัฒนาการสอนดนตรีศึกษา***
๔. ด้าน ๑) มี ค วามใส่ ใ จช่ วยเหลื
อ เกื
้ อ กู ล ผู ท
้ เ
่ ี กี ย
่ วข้ อ ง และเอื ้อต่อการทำงานกลุ่มให้สำเร็จลุล่วงตาม
๒) มีวฒุ ภ
ิ าวะทางอารมณ์ และสามารถปรับตัวเข้ากับผูอ ้ ่น
ื ได้*
ทักษะ ๓) มีความเป็ นผู้นำและผู้ตามทีด ่ ี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม มีความสัมพันธ์
๔) มีความเป็ นผู้นำและผู้ตามทีด ่ ี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและส่วนรวม และ
ความ
หมายเหตุ * หมายถึง มาตรฐานผลการเรียนรู้กลุ่มวิดชเห็าชีนพอย่
๕) มี ค วามสามารถในการแสดงความคิ ครูางมีเหตุ
** ผหมายถึ
ล และเคารพในความคิ ดเห็นทีย่ นรู้กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ง มาตรฐานผลการเรี
๖) มีความไวในการรับรู้ความรู้สึกของผู้เรียนดนตรี***
ดนตรี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ วิชา ๕๑๐๑๑ 23
ทักษะทูบา 2 24

สัมพันธ์ ๗) มีความเอาใจใส่ในการรับฟั ง และพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างมีความรับผิด 


ชอบ มีความสัมพันธ์ทดี่ ีต่อผูเ้ รียนและผู้ร่วมงาน และสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ นื ได้***
ระหว่
๕. ด้าานง ๑) มีทก
ั ษะการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร ทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเลขเชิงสถิติ หรือคณิตศาสตร์ ภาษา
๒) ความสามารถใช้เทคโนโลยีสำหรับการแสวงหา และประมวลผลข้อมูลเพื่อพัฒนาองค์
ทักษะ
ความรู้ในรายวิชาที่สอน ตลอดจนสามารถรายงานผลและนำเสนอได้อย่างเหมาะสม*
๓) มีความสามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทัง้ การพูด การเขียน และการนำเสนอด้วยรูปแบบ
การวิเคราะห์ ๔) มีความสามารถสื่อสาร และนำเสนองานด้วยรูปแบบทีเ่ หมาะสม**
เชิงตัวเลข ๕) มีความสามารถในการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์
๖) มีความสามารถในการวิเคราะห์ขอ ้ มูลข่าวสาร ความรู้ ทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเลข ภาษา หรือ
การสื่ อสาร ๗) มีความไวในการวิเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดข้อมูลข่าวสารด้านดนตรีจากผูเ้ รียน*** 
๘) มีความสามารถในการสื่อสาร และสามารถเลือกใช้ รวมทัง้ นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ 
และการใช้ ๑) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างสร้างสรรค์ ทัง้ รูปแบบ
๖. ด้าน
ทีเ่ ป็ นทางการรูปแบบกึ่งทางการ และรูปแบบไม่เป็ นทางการ****
ทักษะ ๒) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้อย่างมีนวัตกรรมสำหรับผูเ้ รียนที่หลากหลาย ทัง้ ผู้
การจัด เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ผู้เรียนที่มีความสามารถปานกลาง และผู้เรียนที่มีความ
๓) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ในวิชาเอก ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ทส ี่ ามารถ

๑) มีทก ั ษะเบื้องต้นในการขับร้อง และการปฏิบต ั ิดนตรี*****

๗. ด้าน
๒) มีทก ั ษะเชี่ยวชาญในการปฏิบัติดนตรีเครื่องมือเอก***
ทักษะทาง ๓) มีทก ั ษะในการบันทึก อ่าน พัฒนาโน้ต ทักษะการขับร้อง และทักษะการปฏิบัตด ิ นตรี 

You might also like