You are on page 1of 14

PA

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะ
ครูชำนาญการพิเศษ
(ทุกสังกัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ....2565.......
ระหว่างวันที่...1..เดือน...ตุลาคม....พ.ศ. .2564...ถึงวัน
ที่..30..เดือน....กันยายน พ.ศ. ...2565.....

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ........นายเดชมณี........นามสกุล...เนาวโรจน์...............................
ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
สถานศึกษา.....โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์....
สังกัด.....สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ
ยโสธร........รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ...3..... อัตราเงินเดือน
....49,750.......บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1
ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรียนรู้จริง)

□ ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
□ ห้องเรียนปฐมวัย
□ ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
□ ห้องเรียนสายวิชาชีพ
□ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
ตำแห่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็ นตำแหน่งและวิทยฐานะ
ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวม


จำนวน....20.........ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี..จำนวน..17.. ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา...กิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน....จำนวน...3.... ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียน
รู้/รายวิชา..........-......................จำนวน .......-......ชั่วโมง
/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
จำนวน....2........ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน.....6.......ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น
จำนวน.....1........ชั่วโมง/สัปดาห์

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุราย
ละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร
โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด


ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการ (Outcomes) (Indicators)
พัฒนา ของงานตาม ที่จะเกิดขึ้นกับ
ตามข้อตกลง ข้อตกลง ผู้เรียน
ใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็น
การประเมิน เกิดขึ้น ถึงการ
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลง
(โปรดระบุ) ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมี
การพัฒนา
มากขึ้นหรือผล
สัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรด
ระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1. การสร้าง 1.ผู้เรียน 1. ผู้เรียนร้อย
ลักษณะงานที่เสนอให้ และพัฒนา สามารถนำ ละ 75 มี
ครอบคลุมถึง หลักสูตร และ ความรู้จากการ ผลสัมฤทธิ์
การสร้างและหรือพัฒนา การออกแบบ จัดกิจกรรมการ ทางการเรียน
หลักสูตร การออกแบบ การจัดการ เรียนรู้ไปใช้ สูงกว่าที่
การจัดการเรียนรู้การจัด เรียนรู้ อธิบาย โรงเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้การสร้าง - วิเคราะห์ เหตุการณ์ที่ กำหนด
และหรือพัฒนาสื่อ หลักสูตร เกิดขึ้นในชีวิต 2. ผู้เรียนร้อย
นวัตกรรมเทคโนโลยี และ มาตรฐานการ ประจำวันได้ ละ 80
แหล่งเรียนรู้ เรียนรู้ ตัวชี้วัด 2.ผู้เรียนมี มีคุณลักษณะ
การวัดและประเมินผลการ และผลการ คุณลักษณะอัน อันพึงประสงค์
จัดการเรียนรู้ เรียนรู้เพื่อนำ พึงประสงค์ สูงกว่าที่
การศึกษา วิเคราะห์ ไปออกแบบ 3.ผู้เรียน โรงเรียน
สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา หน่วยการเรียน สามารถอ่าน กำหนด
หรือพัฒนาการเรียนรู้การ รู้รายวิชา คิด วิเคราะห์ 3. ผู้เรียนร้อย
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม วิทยาศาสตร์ เขียน สื่อความ ละ 80 สามารถ
และพัฒนาผู้เรียนและการ ให้สอดคล้อง จากเรื่องที่ อ่าน คิด
อบรมและพัฒนา กับหลักสูตร เรียนรู้ได้ วิเคราะห์ เขียน
คุณลักษณะที่ดีของผู้ สถานศึกษา 4.ผู้เรียนมี สื่อความจาก
เรียน และหลักสูตร ความพึงพอใจ เรื่องที่เรียนรู้
แกนกลางการ ต่อการจัด สูงกว่าที่
ศึกษาขั้นพื้น บรรยากาศการ โรงเรียน
ฐาน เรียนรู้ กำหนด
พุทธศักราช 4. ผู้เรียนร้อย
2551 (ฉบับ ละ 80 มี
ปรับปรุง 2562) ความพึงพอใจ
ในรูปแบบแผน ต่อการจัด
การจัดการ บรรยากาศการ
เรียนรู้โดยจัด เรียนรู้ในระดับ
ทำเป็ นแบบ มาก ขึ้นไป
อย่างให้ครูใน
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้และเผย
แพร่ ผ่านสื่อ
ออนไลน์
2. การจัด
กิจกรรมการ
เรียนรู้
-จัดกิจกรรม
การเรียนตาม
แนวทาง
active learning
อย่างหลาก
หลาย โดยเน้น
การมีส่วนร่วม
ของผู้เรียน
ตามแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่
สร้างขึ้น แบบ
อย่างให้ครูใน
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ที่มาร่วม
นิเทศการ
จัดการเรียนรู้
และเผยแพร่
ผ่านสื่อ
ออนไลน์
3. การสร้าง
และหรือ
พัฒนาสื่อ
นวัตกรรม
เทคโนโลยี
และแหล่ง
เรียนรู้
-พัฒนาสื่อ
นวัตกรรม
เทคโนโลยี
เพื่อการเรียนรู้
ในรูปแบบที่
หลากหลาย
เช่น ชุด
กิจกรรม ชุด
การทดลอง
เกมส่งเสริม
การเรียนรู้
PowerPoint
เกม ออนไลน์
เพื่อการเรียนรู้
เป็ นต้น โดยนำ
เทคโนโลยี
เพื่อการเรียนรู้
มาใช้สร้าง
แหล่งเรียนรู้ให้
แก่ผู้เรียน ใน
รูปแบบบท
เรียนออนไลน์
และห้องเรียน
ออนไลน์ เช่น
google
classroom และ
classstart.org
จัดทำเป็ นแบบ
อย่างให้ครูใน
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้จัด
อบรมวิธีการ
สร้างสื่อ
นวัตกรรม
เทคโนโลยีที่
หลากหลายให้
แก่ครูในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้
และเผยแพร่
ผ่านสื่อ
ออนไลน์
4.การวัดและ
ประเมินผลการ
จัดการเรียนรู้
-พัฒนาเครื่อง
มือวัดและ
ประเมินผลอ
ย่างหลาก
หลายรูป
เอกสารและ
แบบออนไลน์
ประกอบด้วย
แบบทดสอบ
แบบประเมิน
แบบสังเกต จัด
ทำเป็ นแบบ
อย่างให้ครูใน
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้จัด
อบรมวิธีการ
พัฒนาเครื่อง
มือวัดและ
ประเมินผล
โดยใช้
เทคโนโลยี
ด้วย Wordwall
,
kahoot ,quiziz
z และ google
form ให้แก่ครู
ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้และ
เผยแพร่ผ่าน
สื่อออนไลน์
5.การศึกษา
วิเคราะห์
สังเคราะห์ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือ
พัฒนาการ
เรียนรู้
-นำผลการ
จัดการเรียนรู้
มาศึกษา
วิเคราะห์ เพื่อ
แก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นจากการ
จัดการเรียนรู้
ในรูปแบบวิจัย
ในชั้นเรียน
แบบอย่างให้
ครูในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ที่มา
ร่วมนิเทศการ
จัดการเรียนรู้
และเผยแพร่
ผ่านสื่อ
ออนไลน์
6.การจัด
บรรยากาศที่
ส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียน
และการอบรม
และพัฒนา
คุณลักษณะที่
ดีของผู้เรียน
-จัดกิจกรรม
การเรียนรู้สอด
แทรกเทคนิค
เกมโชว์
กิจกรรมกลุ่ม
ส่งเสริมการ
ทำงานร่วมกัน
กิจกรรมเพื่อน
ช่วยเพื่อน
ความรับผิด
ชอบในการส่ง
ภาระงาน และ
มีความซื่อสัตย์
ต่อตนเอง และ
เป็ นแบบอย่าง
ให้กับคุณครูที่
เข้ามานิเทศ
การจัดการ
เรียนการสอน
เกี่ยวกับการจัด
บรรยากาศที่
ส่งเสริมการ
เรียนรู้ของผู้
เรียน
2. ด้านการส่งเสริมและ 1. จัดทำข้อมูล 1. ผู้เรียนได้รับ 1. ผู้เรียนร้อย
สนับสนุน สารสนเทศ การดูแลช่วย ละ 100 ได้รับ
การจัดการเรียนรู้ ของผู้เรียนและ เหลือตาม การดูแลช่วย
ลักษณะงานที่เสนอให้ รายวิชา มีการ ข้อมูล เหลือตาม
ครอบคลุมถึง ริเริ่ม คิดค้น สารสนเทศได้ ข้อมูล
การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และพัฒนารูป อย่างรวดเร็ว สารสนเทศที่
ของผู้เรียน แบบการจัดทำ 2. ผู้เรียนมี ครูจัดทำขึ้น
และรายวิชา การดำเนินการ ข้อมูล แหล่ง 2. ผู้เรียนร้อย
ตามระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้ สารสนเทศ สารสนเทศ ละ 100 เข้าถึง
เรียน การปฏิบัติงาน ของผู้เรียนและ รายวิชา ข้อมูล
วิชาการและงานอื่น ๆ ของ รายวิชาที่รับ 3. ผู้เรียนได้รับ สารสนเทศ
สถานศึกษา และการ ผิดชอบสอน การจัดการ รายวิชา
ประสานความร่วมมือกับผู้ ให้มีข้อมูลเป็ น เรียนการสอน 3. ผู้เรียนร้อย
ปกครอง ภาคีเครือข่าย ปัจจุบันทั้ง แบบเน้นผู้ ละ 100 ได้รับ
และหรือสถานประกอบการ แบบเป็ น เรียนเป็ น การจัดการ
เอกสารและรูป สำคัญ เรียนการสอน
แบบออนไลน์ 4. ผู้เรียนมี แบบเน้นผู้
เพื่อใช้ในการ แหล่งการเรียน เรียนเป็ น
ส่งเสริม รู้ที่เกิดจากการ สำคัญ
สนับสนุนการ ประสานความ 4. ผู้เรียนร้อย
เรียนรู้แก้ไข ร่วมมือเพิ่มขึ้น ละ 80 สามารถ
ปัญหาและ เข้าถึงแหล่ง
พัฒนาคุณภาพ เรียนรู้ที่เกิด
ผู้เรียนและเป็ น จากการ
แบบอย่างที่ดี ประสานความ
2. ดำเนินการ ร่วมมือ
ตามระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้
เรียน มีการ
ดำเนินการตาม
ระบบดูแลช่วย
เหลือนักเรียน
5 ขั้นอย่างมี
ประสิทธิภาพ
เพื่อพัฒนาและ
แก้ไขปัญหาผู้
เรียนและริเริ่ม
โครงการหรือ
จัดกิจกรรมเชิง
สร้างสรรค์ด้วย
วิธีการที่หลาก
หลายในการ
ดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนและ
เป็ นแบบอย่าง
ที่ดี
3. ปฏิบัติงาน
วิชาการและงา
นอื่นๆของ
สถานศึกษา มี
การร่วมปฏิบัติ
งานวิชาการ
และงานอื่นๆ
ของสถาน
ศึกษาเพื่อยก
ระดับคุณภาพ
การจัดการ
ศึกษาของ
สถานศึกษา
โดยมีรูปแบบ
หรือแนวทาง
การดำเนินงาน
ให้มี
ประสิทธิภาพ
สูงขึ้นและเป็ น
แบบอย่างที่ดี
4. ประสาน
ความร่วมมือ
กับผู้ปกครอง
ภาคีเครือข่าย
และหรือสถาน
ประกอบการ
มีการประสาน
ความร่วมมือ
กับผู้ปกครอง
ภาคีเครือข่าย
และสถาน
ประกอบการ
เพื่อร่วมกัน
แก้ไขปัญหา
และพัฒนาผู้
เรียนและเป็ น
แบบอย่างที่ดี
3. ด้านการพัฒนาตนเอง 1. พัฒนา 1. ผู้เรียนได้ ผู้เรียนร้อยละ
และวิชาชีพ ตนเองอย่าง เรียนรู้จากการ ๘๐
ลักษณะงานที่เสนอให้ เป็ นระบบและ จัดกิจกรรมที่ มีความพึง
ครอบคลุมถึง ต่อเนื่อง มีการ เน้นผู้เรียนเป็ น พอใจต่อการ
การพัฒนาตนเองอย่างเป็ น เข้าร่วมอบรม สำคัญ จัด จัดการเรียน
ระบบและต่อเนื่อง การมี สัมมนา กิจกรรมที่ การรู้และ
ส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน โครงการ ในรูป หลากหลาย เจตคติที่ดีต่อ
เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ แบบต่างๆ และได้เรียนรู้ ครูผู้สอน
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง การใช้
และการนำความรู้ความ เพื่อให้มีความรู้ เทคโนโลยี
สามารถ ความสามารถ สนุกสนานกับ
ทักษะที่ได้จากการพัฒนา ทักษะ โดย การเรียนมาก
ตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน เฉพาะอย่างยิ่ง ขึ้น
การพัฒนา การจัดการเรียน การใช้ภาษา 2. ผู้เรียนได้
รู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ไทยและภาษา เรียนรู้จาก
และการพัฒนานวัตกรรม อังกฤษเพื่อ กิจกรรมที่
การจัดการเรียนรู้ การสื่อสาร หลากหลาย
และการใช้ เหมาะสมกับ
เทคโนโลยีดิ ความแตกต่าง
จิตัลเพื่อการ ระหว่างบุคคล
ศึกษา และได้พัฒนา
สมรรถนะ ทักษะอย่าง
วิชาชีพครูและ เป็ นระบบ
ความรอบรู้ใน 3. ผู้เรียนมี
เนื้อหาวิชาและ ความพึงพอใจ
วิธีการสอน ต่อกิจกรรม ต่อ
และเป็ นแบบ ครูและรายวิชา
อย่างที่ดี ที่ครูจัดให้
2. มีส่วนร่วม
และเป็ นผู้นำ
ในการแลก
เปลี่ยนทาง
วิชาชีพ เพื่อ
แก้ปัญหาและ
สร้างนวัตกรรม
เพื่อพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้
และเป็ นแบบ
อย่างที่ดี
3. นำความรู้
ความสามารถ
ทักษะที่ได้
จากการพัฒนา
ตนเองและ
วิชาชีพมาใช้
ในการ
พัฒนาการ
เรียนรู้การ
พัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน รวมถึง
การพัฒนา
นวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้ที่
มีผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน
และเป็ นแบบ
อย่างที่ดี
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็ น
ไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดย
ความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครู
ผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็ นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็ นงาน
ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของ
ผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา
สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการ
ปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการ
พัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่
เป็ นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา
งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2
จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถาน
ศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตาม
ข้อตกลงเป็ นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนา


ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึง
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ คือ การ
ริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้
เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น
(ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง
ในวิทยฐานะที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ด้วยสื่อห้องเรียนออนไลน์และชุดการสอน
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้
เรียน
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์เป็ นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว แต่นักเรียนกลับ
มองไม่เห็นความสำคัญทำให้คิดว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็ นเรื่องยาก
ทำให้มีเจตคติไม่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ต่อครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ ส่งผล
ทำให้ผู้เรียนไม่สนใจที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ดังปรากฏ ผลการ
ทดสอบการวัดผลระดับชาติ(O-net)วิชาวิทยาศาสตร์ที่ผ่านมา โรงเรียน
ได้ระดับผลการเรียนต่ำกว่าระดับจังหวัดและระดับประเทศทุกปีตั้งแต่ปี
2559 – 2563 โดยมีผลการทดสอบระดับชาติทางวิทยาศาสตร์ ปีการ
ศึกษา 2562 สาระการเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าสาระอื่นคือ สาระที่ 8
บูรณาการ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร ตาม
หลักสูตร 2551 (ฉบับปรับปรุง 2562) ปี การศึกษา 2563 มีสาระการเรียนที่
มีคะแนนต่ำคือ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ดังนั้น เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีและ
วัสดุในชีวิตประจำวัน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนต่ำด้วย และจากการเกิดโรคติดต่อโควิด – 19 ระบาดที่
ผ่านมาทำให้ตลอด 3 เดือน(กรกฎาคม-กันยายน 2564) ทางโรงเรียน
ต้องจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ ทำให้ค้นพบว่าผู้เรียนไม่
สามารถเข้าเรียนได้ครบทุกคน ซึ่งมีการแบ่งผู้เรียนออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มนักเรียนที่สามารถเข้าถึงการเรียนแบบออนไลน์ คิดเป็ น ร้อยละ
75.71 และมีกลุ่มนักเรียนที่ไม่สามารถเข้าถึงการเรียนแบบออนไลน์ได้
คิดเป็ น ร้อยละ 24.29 จากปัญหาดังกล่าวหากผู้เรียนไม่ได้รับการแก้ไข
และพัฒนาจะทำให้เกิดปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียนอันจะส่งผลให้มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ต่ำ และผู้เรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อ
วิทยาศาสตร์ด้วย
ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงต้องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องดัง
กล่าวให้สูงขึ้นเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้ง ๒ กลุ่ม โดยใช้สื่อ
การเรียนรู้ที่เหมาะสมตรงตามศักยภาพของผู้เรียนเพื่อ ให้เกิดทักษะ
และมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญด้วยสื่อการสอน
ดังนี้ กลุ่มที่สามารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ ให้ใช้สื่อการเรียนห้องเรียน
ออนไลน์ Classstart.org และกลุ่มที่ไม่สามารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์
ได้ให้ใช้สื่อชุดการสอน
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
- นักเรียนร้อยละ 75 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3.2 เชิงคุณภาพ
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ความรู้/ทักษะ) สูงขึ้น
- นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์

ลงชื่อ.................................................
.......................
(นายเดชมณี เนาวโรจน์)
ตำแหน่ง ครู
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนา
งาน
1 ตุลาคม 2564
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อ
เสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ
เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
......................................................................................
.................................................
................................................................................................................
..............................................................

ลงชื่อ....................................................................
(นายเชษฐา ค้าคล่อง)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสมเด็จพระ
ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์
1 ตุลาคม 2564

You might also like