You are on page 1of 15

เอกสารข้อตกลงในการพัฒนางาน

(Performance Agreement : PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ

ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2567

ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ.


2567

จัดทำข้อตกลงโดย

นางสาวพนารัตน์ ปัทมขจร
ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา
ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา
ประจำปี งบประมาณ 2567
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2567

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อนางสาวพนารัตน์ นามสกุล ปัทมขจร ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
สถานศึกษา โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 3 อัตราเงินเดือน 59,630 บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง)
ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
ห้องเรียนปฐมวัย
ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
ห้องเรียนสายวิชาชีพ
ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ซึ่ง


เป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 23 ชั่วโมง 40 นาที / สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน จำนวน 12 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 จำนวน 2 ชั่วโม 30 นาที / สัปดาห์
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ม. 2 จำนวน 5 ชั่วโมง / สัปดาห์
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ม. 3 จำนวน 5 ชั่วโมง / สัปดาห์

รายวิชาคณิตศาสตร์สร้างสรรค์ ชั้น ม. 2 จำนวน 3 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์


สุจริตศึกษา ชั้นม. 1/2 50 นาที /สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน 4 ชั่วโมง 10 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ชั้น ม. 2/2 จำนวน 50 นาที /สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที /สัปดาห์
- คุณธรรม จริยธรรม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- ฐานกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/ สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- การมีส่วนร่วมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- หัวหน้างานบุคลากร
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- พัฒนานักเรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning )

2.งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการ
อย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียน ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่ 1/2567 กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูง
ขึ้น
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุม หน่วยที่ 1 เรื่องการบวก - ลบ จำนวน - ผู้เรียนมีความรู้ใน - ผู้เรียนร้อยละ 60 มี ผล
ถึงการสร้างและหรือ พัฒนา เต็ม กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ให้สูงขึ้น เรื่องการบวก - ลบ สัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา
หลักสูตร การออกแบบการ จัดการ โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก จำนวนเต็มโดยการ คณิตศาสตร์และผ่าน
เรียนรู้ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ( Active leaning ) ระดับชั้น จัดการเรียนรู้เชิงรุก เกณฑ์การประเมิน
การสร้างและหรือ พัฒนาสื่อ มัธยมศึกษาปี ที 1 ปี การศึกษา 2567 ( Active leaning )
นวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่ง มีกระบวนการ ดังนี้ - ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีผล
เรียนรู้ การวัดและ ประเมินผลการ 1.1 การสร้างและหรือพัฒนา ในเรื่องที่เรียนจาก การประเมินคุณลักษณะ
จัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ หลักสูตร กิจกรรมที่จัดขึ้น อันพึงประสงค์เป็นไปตาม
สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ - ริเริ่ม พัฒนาการจัดทำหลักสูตร - ผู้เรียนเป็นผู้ที่มี ค่าเป้ าหมายที่สถานศึกษา
พัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ รายวิชา (คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา คุณลักษณะที่ดี กำหนด
ที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนและ ปี ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องจำนวน - ผู้เรียนอ่าน คิด
การอบรมและพัฒนาคุณลักษณะ เต็ม ) ให้สอดคล้อง กับมาตรฐานการ วิเคราะห์และเขียนสื่อ - ผู้เรียนร้อยละ 80
ที่ดีของผู้เรียน เรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ความในเรื่องที่ได้ มีผลการประเมินสรรถนะ
ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา เรียนรู้ ของผู้เรียนเป็นไปตาม
สมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มตาม - สามารถ จัดการ เกณฑ์การวัดและ ประเมิน
ศักยภาพ และเป็นแบบอย่างที่ดี โดยมี ตนเองได้และ ผล
การปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ ความสุข
ท้องถิ่น

งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียน ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่ 1/2567 กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้
- ริเริ่ม คิดค้นเพื่อออกแบบและ จัดทำ
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ แบบฝึก
ทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง
จำนวนเต็ม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้
ทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ
สมรรถนะสำคัญ สามารถสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเอง
1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนา
นวัตกรรม โดยใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้
เชิงรุก ( Active Learning ) ตาม
แผนการจัดการเรียนรู้ และเป็น
แบบอย่างที่ดีในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้

งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูง
ขึ้น
- มีการอำนวยความสะดวกในการ เรียน
รู้ และส่งเสริม ผู้เรียนได้พัฒนา เต็มตาม
ศักยภาพ เรียนรู้และทำงาน ร่วมกัน โดย
มีการปรับประยุกต์ให้ สอดคล้องกับ
ความแตกต่างของผู้เรียน
1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อนวัตกรรม
เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
- มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาสื่อ และ
นวัตกรรมประกอบการเรียน รายวิชา
คณิตศาสตร์
เรื่องการบวก - ลบ จำนวนเต็ม
- โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Leaning )
1.5 การวัดและประเมินผล
- มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนา รูป
แบบการวัดและประเมินผลตาม
สภาพจริงเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนที่ยังขาด
ทักษะการคิดวิเคราะห์ พิจารณาจาก

งาน (Tasks)ที่จะดำเนินการพัฒนา ตามข้อ ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
1) วัดความรู้ (K) ด้วยแบบทดสอบ แบบฝึกหัด
ใบงาน
2) วัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ด้วย
บันทึกการเข้าเรียน และ บันทึกการส่งงานของ
ผู้เรียน
3) วัดสมรรถนะ/ทักษะ (P) ด้วย แบบทดสอบ
แบบฝึกหัด และใบงาน
1.6 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์สังเคราะห์ เพื่อแก้
ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ นำผลการจัดการ
เรียนรู้มาศึกษา วิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิด
ขึ้นจาก การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบวิจัยในชั้น
เรียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียน โดยมีการบันทึก
รายละเอียดไว้ในหลังแผนการสอน
จัดการเรียนรู้ เรื่องการบวก - ลบ จำนวนเต็ม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย ใช้การจัดการเรียนรู้
เชิงรุก (Active leaning )
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้
เรียน
- มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการ
จัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เหมาะสม
กับวัยของผู้เรียน ดังนี้

งาน (Tasks)ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
2. ด้านการส่งเสริมและ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและ
สนับสนุน รายวิชา - ผู้เรียนได้รับการ แก้ - ผู้เรียนร้อยละ 60 มีผล
การจัดการเรียนรู้ - สรุปสารสนเทศผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์โดยใช้ ปัญหาและมีความรู้ สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ลักษณะงานที่เสนอให้ ข้อมูลจากแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด ในเรื่องที่เรียนตาม คณิตศาสตร์ผ่าน
ครอบคลุมถึงการจัดทำ ชิ้นงาน และการทำกิจกรรม เรื่องการบวก - กระบวนการการเรียน เกณฑ์การประเมิน
ข้อมูลสารสนเทศของผู้ ลบ จำนวนเต็ม รู้ เชิงรุก ( Active - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีผล
เรียนและรายวิชา การ - สรุปสารสนเทศของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ Learning ) การประเมินคุณลักษณะ
ดำเนินการตามระบบ เพื่อแจ้งผู้เรียนให้ได้รับการ พัฒนาจนกว่าผู้ - ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ อันพึงประสงค์เป็นไป
ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน เรียนจะผ่านเกณฑ์ ในเรื่องที่เรียนจาก ตาม
การปฏิบัติงาน วิชาการ - บันทึกการส่งงาน กิจกรรมที่จัดขึ้น ค่าเป้ าหมายที่สถานศึกษา
และงานอื่น ๆ ของ - บันทึกการเข้าเรียนและรายงาน ผลสะท้อน - ผู้เรียนเป็นผู้ที่มี กำหนด
สถานศึกษา และการ กลับให้ผู้เรียนได้ร่วม ตรวจสอบข้อมูลอย่าง คุณลักษณะที่ดี - ผู้เรียนร้อยละ 80
ประสานความ สม่ำเสมอทำให้ ผู้เรียนสามารถทราบได้ว่าต้อง - ผู้เรียนมีการคิด มีผลการประเมินสรรถนะ
ร่วมมือกับผู้ปกครอง ปรับปรุง แก้ไขผลการเรียนในเรื่องใดบ้าง - วิเคราะห์และเชื่อมโยง ของผู้เรียนเป็นไปตาม
ภาคีเครือข่าย และหรือ จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ที่ได้รับ ความรู้ได้ เกณฑ์การวัดและ
สถานประกอบการ มอบหมายเป็นครูที่ - ผู้เรียนสามารถ ประเมินผล
จัดการตนเองได้และ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสุข
งาน (Tasks)ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูง
ขึ้น
ปรึกษาในรูปแบบการวิเคราะห์ผู้เรียน
รายบุคคลผ่านการประเมิน SDQ/EQ และ
การเยี่ยมบ้านผู้เรียน
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียน
- มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
รายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้
เรียนและริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมเชิง
สร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการ
ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี
เช่น
- ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนด้านการเรียนด้าน
ความประพฤติ
- ด้านทุนการศึกษา และด้านอื่น ๆ
- มีการจัดทำไลน์กลุ่มผู้ปกครอง เพื่อแจ้ง
ข่าวสารของทางโรงเรียนให้แก่ ผู้ปกครอง

งาน (Tasks)ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูง
ขึ้น
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่นๆ
ของสถานศึกษา
- ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการและงานอื่น ๆ
ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการ
จัดการศึกษาขอสถานศึกษา โดยมีการ
พัฒนารูปแบบ หรือแนวทางการดำเนิน
งานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และเป็นแบบ
อย่างที่ดี ได้แก่ปฏิบัติงานวิชาการ โดย
ปฏิบัติ หน้าที่หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์โดยร่วมกับครูในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้จัดกิจกรรมต่างๆที่ส่งเสริม การ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning )ใ
ห้กับนักเรียน โดยใช้สื่อที่ครูสร้างขึ้นให้
เหมาะสม กับการเรียนรู้ของนักเรียน
2.4 ประสานความร่วมมือกับ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ สถาน
ประกอบการ
- ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี
เครือข่าย และสถานประกอบการ เพื่อร่วม
กันพัฒนาผู้เรียนเป็นแบบอย่างที่ดี และจัด
กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง
งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูง
ขึ้น

3. ด้านการพัฒนาตนเองและ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อ - ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 60 มีผล


วิชาชีพ เนื่อง ในเรื่องที่เรียนจาก สัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา
ลักษณะงานที่เสนอให้ - เข้าร่วมการประชุม/อบรม/ สัมมนา กิจกรรมที่จัดขึ้น คณิตศาสตร์ผ่าน
ครอบคลุมถึง การพัฒนาตนเอง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ภาระหน้าที่และ - ผู้เรียนเป็นผู้ที่มี เกณฑ์การประเมิน
อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ความรับผิดชอบ ไม่ น้อยกว่า 20 ชั่วโมง คุณลักษณะที่ดี - ผู้เรียนร้อยละ 80 มีผล
การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน และเผยแพร่ ความรู้ที่ได้จากการ - ผู้เรียนมีการคิด การประเมินคุณลักษณะ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ ประชุม/อบรม/ สัมมนาไปยังครูที่มีส่วน วิเคราะห์และเชื่อมโยง อันพึงประสงค์เป็นไปตาม
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ เกี่ยวข้อง - อบรมหรือศึกษาการจัดการ ความรู้ได้ ค่าเป้ าหมายที่สถานศึกษา
การนำความรู้ความสามารถ เรียนรู้ เชิงรุก ( Active Learning ) - ผู้เรียนสามารถจัดการ กำหนด
ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ตนเองได้และอยู่ร่วม - ผู้เรียนร้อยละ 80
และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ กับผู้อื่นอย่างมี ความ มีผลการประเมินสรรถนะ
การจัดการเรียนรู้ การพัฒนา - เข้าร่วมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของ สุข ของผู้เรียนเป็นไปตาม
คุณภาพผู้เรียน และการพัฒนา กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ผ่าน เกณฑ์การวัดและ ประเมิน
นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมนิเทศการสอน และเข้าร่วมการ ผล
เรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) ของครูผู้สอนที่
ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลจากการ
ประชุม PLC ไปสร้างเป็นสื่อ นวัตกรรม
เพื่อนำมาใช้ใน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
พัฒนาการ จัดการเรียนรู้ และเป็นแบบ
อย่างที่ดี
งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2566 และภาคเรียนที่ 1/2567 ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ กับผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูง
ขึ้น

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะ ที่ได้


จากการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ
มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ และ พัฒนา
คุณภาพผู้เรียนและพัฒนา นวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้
- นำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วม
ประชุม/อบรม/สัมมนา มาพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้และสร้าง/พัฒนาสื่อ
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน และเป็นแบบอย่างที่ดี

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ.PA.1.ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการ เรียนรู้
ของแต่ละสถานศึกษาโดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อ
ตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็ นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผล
โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของ
รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะ
ต้อง แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อ
ตกลง สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และ
ตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็ นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง
ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของ
แต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็ นสำคัญ โดยไม่เน้น
การประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน


ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง
ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของครูวิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ คือ
การริเริ่มและพัฒนา จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในวงวิชาชีพ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้ร่วม วิชาชีพ
ประเด็นท้าทาย เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการบวก - ลบจำนวนเต็ม กลุ่ม สาระ คณิตศาสตร์
ให้สูงขึ้น โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active leaning )
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน
จากประสบการณ์การสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 พบว่ามีนักเรียนประมาณร้อยละ 40 ยังไม่มี
ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องจำนวนเต็มส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถทำแบบฝึกได้ถูกต้องทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรู้ของนักเรียนค่อนข้างต่ำและไม่เป็ นไปตามค่าเป้ าหมายที่โรงเรียนได้ตั้งไว้ ดังนั้น เพื่อให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้และมี ความเข้าใจได้มากขึ้น ครูผู้สอนจึงใช้โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active leaning ) เรื่อง
การบวก – ลบ จำนวนเต็ม เพื่อเป็ นการส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่1 ได้เกิด
กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ให้สูงขึ้น
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
2.1 วัตถุประสงค์ ในการดำเนินการ
2.1.1) เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 และได้รับ
การพัฒนาทักษะการคิด โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active leaning ) เรื่อง การบวก – ลบ จำนวนเต็ม
2.1.2) เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษกได้รับการ
สอนโดยการเรียนรู้เชิงรุก (Active leaning ) เรื่อง การบวก – ลบ จำนวนเต็ม ให้ถูกต้องมากขึ้น
2.2 เป้ าหมายในการดำเนินการ
เชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 และ
ได้รับการพัฒนาทักษะการคิด การแก้ไขปัญหา โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active leaning ) เรื่อง การบวก –
ลบจำนวนเต็ม
เชิงคุณภาพ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ได้รับการสอนโดยการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active leaning ) เรื่อง การบวก – การลบจำนวนเต็ม ให้ถูกต้องมากขึ้น
2.3 วิธีการดำเนินการ
2.3.1. ศึกษาหลักสูตรคณิตศาสตร์พุทธศักราช 2561 เพื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามมาตรฐาน
คุณลักษณะและตัวบ่งชี้
2.3.2.ศึกษาเอกสารกรอบมาตรฐานและคู่มือตามกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักสูตรคณิตศาสตร์
พุทธศักราช 2561
2.3.3. ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัช
มังคลาภิเษก
2.3.4. ศึกษา/ แนวทาง / รูปแบบ การจัดการเรียนรู้เพื่อมาเป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนาสำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
2.3.5. ครูจัดกิจกรรมการสอนเรื่องการบวก - ลบ จำนวนเต็ม โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active leaning
)โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้ที่หลากหลาย ศึกษาด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้แนะนำและ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
2.3.6. ครูนำปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการจัดการเรียนและการสอนมาแลกเปลี่ยน เรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผู้
สอนทั้งในกลุ่มสาระ ฯ เดียวกันและต่างกลุ่มสาระฯ เพื่อร่วมกันออกแบบ / หาแนวทางใน การพัฒนานักเรียนให้เป็น
ไปตามที่หลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางได้กำหนดไว้
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 60 และได้รับการพัฒนาทักษะการคิด การแก้ไขปัญหา โดยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active leaning ) เรื่อง การบวก – ลบ จำนวนเต็ม
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ได้รับการสอนโดยการ
เรียนรู้ เชิงรุก (Active leaning ) เรื่อง การบวก – ลบ จำนวนเต็ม ให้ถูกต้องมากขึ้น
3.2.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบ้านไผ่ดำพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ได้รับการพัฒนาทักษะ
การคิดเรื่อง การบวก – ลบ จำนวนเต็ม ตรงตามสมรรถนะของนักเรียนในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ( ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2561)
3.2.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์สูงขึ้น
ลงชื่อ................................................
(นางสาวพนารัตน์ ปัทมขจร)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
1 / ตุลาคม / 2566

You might also like