You are on page 1of 22

ระเบียบโรงเรียน…………………………

ว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒

โรงเรี ยน………………………………
สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล

ตราโรงเรี ยน
ระเบียบโรงเรี ยน………………………
ว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๑
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

โดยที่โรงเรียน…………………ได้ ประกาศใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน


พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ วก. ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม
๒๕๕๑ เรื่อง ให้ ใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงเป็ นการ
สมควรที่จะกำหนดระเบียบโรงเรียน …………….ว่ าด้ วย การวัดและประเมินผลการตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้ สามารถดำเนินการได้ อย่ าง
มีประสิทธิภาพและสอดคล้ องกับคำสั่งดังกล่ าว
ฉะนัน้ อาศัยอำนาจนามความในมาตรา ๓๙ แห่ งระเบียบพระราชบัญญัติบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ>ศ> ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่ งส่ วนราชการ คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารโรงเรี ยน จึง
วางระเบียบไว้ ดังต่ อไปนีด้ ังต่ อไปนี ้
ข้ อ ๑ ระเบียบนีเ้ รียกว่ า ระเบียบโรงเรี ยน…………………………..ว่ าด้ วยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ.
๒๕๕๒
ข้ อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ บังคับตัง้ แต่ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็ นต้ นไป
ข้ อ ๓ ให้ ยกเลิก ระเบียบโรงเรี ยน………(ถ้ ามีต้องระบุ)……………….. บรรดาข้ องบังคับ
หรื อคำสั่งอื่นใดในส่ วนที่กำหนดไว้ ในระเบียบนี ้ หรื อซึ่งขัดหรื อแย้ งกับบรรดาระเบียบ ข้ อ
บังคับหรื อคำสั่งอื่นใดในส่ วนที่กำหนดไว้ แล้ วในระเบียบนี ้ หรื อซึ่งขัดหรื อแย้ งกับระเบียบนี ้ ให้
ใช้ ระเบียบนีแ้ ทน
ข้ อ ๔ ให้ ใช้ ระเบียบนี ้ ควบคู่กับหลักสูตร โรงเรี ยน………………………..ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒
ข้ อ ๕ ให้ ผ้ ูอำนวยการโรงเรียนรั กษาการให้ เป็ นไปตามระเบียบฉบับนี ้

หมวด ๑
หลักการในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ข้ อ ๖ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ให้ เป็ นไปตามหลักการ ดังนี ้
โรงเรียนมีหน้ าที่วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย
ทัง้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็ นรายวิชาให้ สอดคล้ องกับตัวชีว้ ัดหรื อมาตรฐานการเรี ยนรู้ ของ
แต่ ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการอ่ าน คิด
วิเคราะห์ และเขียน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของโรงเรี ยน
ข้ อ ๗ โรงเรียนมีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน เพื่อปรั บปรุ งพัฒนาผู้
เรี ยน เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรี ยนรู้ และเพื่อตัดสินผลการเรี ยน
หมวด ๒
วิธีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ข้ อ ๘ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อปรั บปรุ งกระบวนการเรี ยนรู้ให้ ถือปฏิบัติ
ดังนี ้
๘.๑ แจ้ งให้ ผ้ ูเรียนทราบมาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ทงั ้ ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล เกณฑ์ การผ่ านตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ และเกณฑ์ การวัด
และประเมินผลในแต่ ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้รายปี /ภาค
๘.๒ แจ้ งให้ นักเรียนทราบผลการเรียนรู้ แต่ ละกิจกรรม เกณฑ์ การตัดสิน
พฤติกรรม การปฏิบัตกิ จิ กรรม และเวลาเรี ยน/เข้ าร่ วมกิจกรรม ในการประเมินกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรี ยน
๘.๓ แจ้ งให้ ผ้ ูเรียนทราบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของโรงเรี ยน วิธีการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ และเกณฑ์ การตัดสิน
๘.๔ แจ้ งให้ ผ้ ูเรียนทราบเกณฑ์ และแนวปฏิบัตใิ นการวัดและประเมินผลความ
สามารถในการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
๘.๕ ก่ อนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ผู้สอนจะต้ องวัดและประเมินผลก่ อน
เรี ยน เพื่อตรวจสอบความรู้พนื ้ ฐานและทักษะเบือ้ งต้ นของผู้เรี ยน
๘.๖ ระหว่ างจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ให้ ผ้ ูสอนวัดและประเมินผลการเรี ยนของผู้
เรี ยนเป็ นระยะ ๆ เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรี ยนว่ าบรรลุตามมาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด /ผลการ
เรี ยนรู้ ตามที่กำหนดไว้ ในแผนการจัดการเรี ยนรู้

หากผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถต่ำกว่ าเกณฑ์ ท่ กี ำหนดไว้ ให้ ผ้ ูสอนวินิจฉัยหาข้ อ


บกพร่ องของผู้เรียนแล้ วสอนซ่ อมเสริม โดยจัดการเรียนการสอนให้ สอดคล้ องกับศักยภาพการ
เรี ยนรู้ ของผู้เรียน
ข้ อ ๙ ให้ โรงเรียนอนุมัตกิ ารเลื่อนชัน้ การซ้ำชัน้ การจบการศึกษาภาคบังคับ และการ
จบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ข้ อ ๑๐ ให้ ใช้ ตัวเลขแสดงผลการเรี ยนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยนำคะแนนผลการ
วัดและประเมินผลระหว่ างเรียน รวมกับคะแนนการวัดและประเมินผลปลายปี /ภาค ตามสัดส่ วน
ที่โรงเรี ยนกำหนด แล้ วนำมาเทียบเพื่อปรั บเป็ นระดับผลการเรี ยน โดยใช้ ตัวเลขแสดงระดับผล
การเรียน ๘ ระดับ คือ “๔” “๓.๕” “๓” “๒.๕” “๒” “๑.๕” “๑” และ “๐”
ข้ อ ๑๑ ให้ ใช้ คำว่ า “ผ่ าน” และ “ไม่ ผ่าน” แสดงผลการวัดและประเมินผลกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรี ยน และใช้ คำว่ า “ดีเยี่ยม” “ดี” และ “ผ่ าน” ในการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
และการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ข้ อ ๑๒ ให้ แจ้ งผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนเป็ นรายบุคคล โดยรายงานผลการเรี ยนทัง้
๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผล
การประเมินความสามารถในการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ ผ้ ูปกครองทราบอย่ างน้ อย
ภาคเรี ยนละ ๑ ครัง้
หมวด ๓
การตัดสินผลการเรี ยน
ข้ อ ๑๓ การตัดสินผลการเรียน ประกอบการพิจารณาการเลื่อนชัน้ เรี ยนสูงขึน้ เมื่อสิน้ ปี
การศึกษา ยกเว้ นในกรณีท่พ ี บว่ าผู้เรียนมีผลการเรี ยนรู้ ผลการประเมินไม่ ผ่านเกณฑ์ ท่ ีโรงเรี ยน
กำหนดและมีความจำเป็นอย่ างยิ่งที่จะต้ องได้ รับการพัฒนาเพิ่มเติมในด้ านต่ าง ๆ เป็ นอย่ าง
มากก็ให้ เรียนซ้ำชัน้ ได้
แนวปฏิบัตใิ นการเลื่อนชัน้ เรียน ให้ ยดึ แนวปฏิบัตดิ ังนี ้
ระดับประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนต้ องมีเวลาเรียนไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมด
(๒) ผู้เรียนต้ องได้ รับการประเมินทุกตัวชีว้ ัด และผ่ านตัวชีว้ ัดทุกตัว
(๓) ผู้เรียนต้ องได้ รับการตัดสินผลการเรี ยนทุกรายวิชา
(๔) ผู้เรียนต้ องได้ รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่ านในระดับ “ดีเยี่ยม”


“ดี” หรื อ “ผ่ าน” ในการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และได้ “ผ่ าน”ใน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ระดับมัธยมศึกษา
(๑) ตัดสินผลการเรียนเป็ นรายวิชา ผู้เรี ยนต้ องมีเวลาเรี ยนตลอดภาคเรี ยนไม่ น้อยกว่ า
ร้ อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมดในรายวิชานัน้ ๆ
(๒) ผู้เรียนต้ องได้ รับการประเมินทุกตัวชีว้ ัด และผ่ านตัวชีว้ ัดทุกตัว
(๓) ผู้เรียนต้ องได้ รับการตัดสินผลการเรี ยนทุกรายวิชา
(๔) ผู้เรียนต้ องได้ รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่ านในระดับ “ดีเยี่ยม” “ดี” หรื อ
“ผ่ าน” ในการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และได้ “ผ่ าน”ในกิจกรรม
พัฒนาผู้เรี ยน
แนวปฏิบัตใิ นการซ้ำชัน้ เรียนให้ ยดึ แนวปฏิบัตดิ ังนี ้
ระดับประถมศึกษา
ผู้เรียนที่ไม่ มีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ การอนุมัตเิ ลื่อนชัน้ เรี ยน สถานศึกษาจะต้ องจัดให้
เรี ยนซ้ำชัน้
ในกรณีท่ผี ้ ูเรียนขาดคุณสมบัตขิ ้ อใดข้ อหนึ่ง สถานศึกษาอาจใช้ ดุล ยพินิจให้ เลื่อนชัน้ ได้
หากพิจารณาเห็นว่ า
(๑) ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ ถงึ ร้ อยละ ๘๐ อันเนื่องจากสาเหตุจำเป็ นหรื อเหตุสุดวิสัย แต่ มี
คุณสมบัตติ ามข้ ออื่น ๆ ครบถ้ วน
(๒) ผู้เรียนผ่ านมาตรฐานและตัวชี้วดั ไม่ ถึงเกณฑ์ ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
เพียงเล็กน้ อย และเห็นว่ าสามารถสอนซ่ อมเสริมได้ ในปี การศึกษาถัดไป และมีคุณสมบัตขิ ้ อ
อื่น ๆ ครบถ้ วน
(๓) ผู้เรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - ๓ มีผลการประเมินกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย
และคณิตศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ และผู้เรี ยนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ – ๖ มีผลการประเมินกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมอยู่ใน
เกณฑ์ ผ่าน
ระดับมัธยมศึกษา
สถานศึกษาจะจัดให้ ผ้ ูเรียนเรียนซ้ำใน ๒ กรณี ดังนี ้
กรณีท่ ี ๑ เรียนซ้ำรายวิชา เมื่อผู้เรี ยนซ่ อมเสริมและสอบแก้ ตัว ๒ ครั ง้ แล้ วไม่ ผ่าน
เกณฑ์ การประเมิน ให้ เรียนซ้ำรายวิชานัน้ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา โดยจัดให้ เรี ยนซ้ำ
ในช่ วงใดช่ วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นว่ าเหมาะสม เช่ น พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงว่ างหลังเลิก
เรี ยน ภาคฤดูร้อน เป็ นต้ น
กรณีท่ ี ๒ เรียนซ้ำชัน้ มี ๒ ลักษณะ คือ
- ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปี การศึกษานัน้ ต่ำกว่ า ๑.๐๐ และมี
แนวโน้ มว่ า จะเป็ นปั ญหาต่ อการเรียนในระดับชัน้ ที่สูงขึน้

- ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐ , ร , มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียน
เรี ยนในปี การศึกษานัน้
ทัง้ นี ้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรื อทัง้ 2 ลักษณะ ให้ สถานศึกษาแต่ งตัง้ คณะ
กรรมการพิจารณา หากเห็นว่ าไม่ มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ ซ ้ำชัน้ โดยยกเลิกผลการเรี ยนเดิม และ
ให้ ใช้ ผลการเรียนใหม่ แทน หากพิจารณาแล้ วไม่ ต้องเรี ยนซ้ำชัน้ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของสถาน
ศึกษาในการแก้ ไขผลการเรียน
ข้ อ ๑๔ เกณฑ์ การจบการศึกษาได้ จะต้ องมีคุณสมบัติ ดังนี ้
ระดับประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน จำนวน ๔๘๐ ชั่วโมง รายวิชาเพิ่มเติมปี ละไม่ เกิน ๔๐
ชั่วโมง และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปี ละ ๔ กิจกรรม
(๒) ผู้เรียนต้ องมีผลการประเมินรายวิชาพืน้ ฐาน ผ่ านเกณฑ์ การประเมินในระดับ “1”
เป็ นอย่ างน้ อย
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ “ ดีเยี่ยม” “ ดี”
หรื อ “ผ่ าน”
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ “ ดีเยี่ยม” “ ดี “ หรื อ
“ผ่ าน”
(๕) ผู้เรียนเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและมีผลการประเมินในระดับ “ผ่ าน” ทุก
กิจกรรม
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติมไม่ เกิน ๘๑ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพืน้
ฐาน ๖๖ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ๑๕ หน่ วยกิต
(๒) ผู้เรียนต้ องได้ หน่ วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่ น้อยกว่ า ๗๗ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พืน้ ฐาน ๖๖ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่ น้อยกว่ า ๑๑ หน่ วยกิต
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี”
หรื อ “ผ่ าน”
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี” หรื อ
“ผ่ าน”
(๕) ผู้เรียนเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและมีผลการประเมินในระดับ “ผ่ าน” ทุก
กิจกรรม


ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติม ไม่ น้อยกว่ า ๘๑ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พืน้ ฐาน ๔๑ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ๔๐ หน่ วยกิต
(๒) ผู้เรียนต้ องได้ หน่ วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่ น้อยกว่ า ๗๗ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พืน้ ฐาน ๔๑ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่ น้อยว่ า ๓๖ หน่ วยกิต
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี”
หรื อ “ผ่ าน”
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี” หรื อ
“ผ่ าน”
(๕) ผู้เรียนเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและมีผลการประเมินในระดับ “ผ่ าน” ทุก
กิจกรรม
ข้ อ ๑๕ การอนุมัตกิ ารจบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
นักเรียนที่จบชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ อนุมัตใิ ห้ จบการศึกษาภาคบังคับ และนักเรี ยนที่จบชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ อนุมัตใิ ห้ จบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ข้ อ ๑๖ นักเรียนไม่ ได้ เข้ ารับการประเมินผลปลายปี /ภาค เพราะเหตุจำเป็ นหรื อ
เหตุสุดวิสัย โรงเรียนอาจจัดให้ เข้ารับการประเมินผลปลายปี /ภาค ภายหลังได้
หมวด ๔
การเทียบโอนผลการเรี ยน
ข้ อ ๑๗ การเทียบโอนผลการเรี ยน ให้ เป็ นไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผล
การเรียน ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง การเทียบโอนผลการเรี ยนการศึกษาขัน้
พืน้ ฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่ าปริญญา ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๔๐ และแนวปฏิบัตทิ ่เี กี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรี ยนเข้ าสู่การศึกษาในระบบระดับ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
หมวด ๕
การย้ ายที่เรี ยน
ข้ อ ๑๘ นักเรียนคนใดจำเป็ นต้ องย้ ายที่เรี ยน โรงเรี ยนต้ องจัดเอกสารหลักฐานให้
นักเรียนนำไปที่โรงเรียนแห่ งใหม่ คือ ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.๑) และหลักฐานทางการ
ศึกษาอื่นเท่ าที่จำเป็ น เพื่อให้ ผ้ ูปกครองและผู้เรี ยน นำไปแสดงผลการเรี ยนรู้ท่ ผี ่ านมาให้ กับ
สถานศึกษาแห่ งใหม่ พจิ ารณารับย้ ายผู้เรี ยน

หมวด ๖
หลักฐานสำคัญทางการศึกษา
ข้ อ ๑๙ เอกสารควบคุมและบังคับแบบ ที่โรงเรี ยนต้ องจัดให้ ตามที่กระทรวง
ศึกษาธิการกำหนดมีดังนี ้
๑๙.๑ ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.๑)
๑๙.๒ หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ปพ.๒)
๑๙.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.๓)
ข้ อ ๒๐ เอกสารที่โรงเรียนต้ องจัดทำขึน้ เอง มีดังนี ้
๒๐.๑ เอกสารบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน
๒๐.๒ แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนรายบุคคล
๒๐.๓ ใบรับรองผลการศึกษา
๒๐.๔ ระเบียนสะสม
๒๐.๕ สมุดบันทึกผลการเรี ยนรู้
๒๐.๕ เอกสารหลักฐานอื่น ๆ เท่ าที่จำเป็ นที่สถานศึกษากำหนด
หมวด ๗
บทเฉพาะกิจ
ข้ อ ๒๑ ในกรณีผ้ ูเรียนที่เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
หรื อหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน พุทธศักราช ๒๕๔๘ หรื อเทียบเท่ า ในระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้ มีการเทียบโอนผลการเรี ยน
สอดคล้ องกับหลักสูตร โรงเรียน…………………………………..ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒
ประกาศ ณ วันที่ เดือน พ.ศ. ๒๕๕๒
(………………………………………)
ตำแหน่ ง ผู้อำนวยการโรงเรี ยน ……………………….

คำอธิบายระเบียบโรงเรียน……………………………….
ว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒

ฝ่ ายวิชาการโรงเรี ยน………………………………
สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล
คำอธิบายระเบียบโรงเรี ยน………………………………………..
ว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน


พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวปฏิบัตวิ ่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยให้ โรงเรี ยนจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ.
๒๕๕๑ ให้ สอดคล้ องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และให้ โรงเรี ยนเป็ นผู้รับผิด
ชอบในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรี ยน ให้ สอดคล้ องกับแนวปฏิบัตวิ ่ าด้ วยการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ของกระทรวงศึกษาธิการ โดยให้ จัดทำระเบียบสถานศึกษา ว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยเปิ ดโอกาสให้ ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องมีส่วนร่ วม และโรงเรี ยน
ได้ จัดทำระเบียบโรงเรียน………………………………… ว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรี ยน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดังกล่ าว เพื่อให้ การปฏิบัติ
ตามระเบียบการวัดและประเมินผลการเรี ยนของโรงเรี ยน เป็ นไปโดยถูกต้ องและสอดคล้ องกับ
หลักสูตรและแนวปฏิบัติ ดังกล่ าว จึงได้ จัดทำคำอธิบายการใช้ ระเบียบฯ ไว้ ดังนี ้
หลักการและเหตุผล
หลักสูตรการแกนกลางศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็ นหลักสูตรการศึกษา
ที่ม่ ุงพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ เป็ นคนดี มีปัญญา มีขีดความสามารถ ในการแข่ งขัน และเพิ่ม
ศักยภาพการเรียนให้ สูงขึน้ สามารถดำรงชีวิตอย่ างมีความสุข บนพืน้ ฐานของความเป็ นไทย
และสากล รวมทัง้ มีความสามารถในการประกอบอาชีพ ศึกษาต่ อตามความสนใจ ความ
สามารถ ความถนัดของแต่ ละบุคคล ดังนัน้ วิธีการวัดและประเมินผล จึงต้ องกำหนดให้
สอดคล้ องและครอบคลุมจุดหมายของหลักสูตร และสอดคล้ องกับแนวปฏิบัตกิ ารวัดและ
ประเมินผลของกระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อให้ เป็ นไปตามหลักสูตรและแนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษากำหนด จึงได้ จัดทำคำอธิบายการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ไว้ ดังนี ้
ข้ อ ๑ ระเบียบนีเ้ รียกว่ า ระเบียบโรงเรี ยน…………………………….. ว่ าด้ วยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
ข้ อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ บังคับตัง้ แต่ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เป็ นต้ นไป
ข้ อ ๓ ให้ ยกเลิก ระเบียบโรงเรี ยน………(ถ้ ามีต้องระบุ)……………….. บรรดาข้ องบังคับ
หรื อคำสั่งอื่นใดในส่ วนที่กำหนดไว้ ในระเบียบนี ้ หรื อซึ่งขัดหรื อแย้ งกับบรรดาระเบียบ ข้ อ
บังคับหรื อคำสั่งอื่นใดในส่ วนที่กำหนดไว้ แล้ วในระเบียบนี ้ หรื อซึ่งขัดหรื อแย้ งกับระเบียบนี ้ ให้
ใช้ ระเบียบนีแ้ ทน
ข้ อ ๔ ให้ ใช้ ระเบียบนี ้ ควบคู่กับหลักสูตร โรงเรี ยน……………………….ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒
ข้ อ ๕ ให้ ผ้ ูอำนวยการโรงเรียนรักษาการให้ เป็ นไปตามระเบียบนี ้
หมวด ๑
หลักการประเมินผลการเรี ยน

ข้ อ ๖ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ให้ เป็ นไปตามหลักการ ดังนี ้


โรงเรียนมีหน้ าที่วัดและประเมินผลด้ วยวิธีการที่หลากหลาย ทัง้ ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ เป็ นรายวิชาให้ สอดคล้ องกับ ตัวชีว้ ัด/มาตรฐานการเรี ยนรู้ ของแต่ ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ โดยคิดเป็ นชั่วโมงหรือหน่ วยกิต กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้
ฐาน ตามหลักการดังต่ อไปนี ้
๑. ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรี ยนของนักเรี ยนทัง้ การประเมินก่ อนเรี ยน
ระหว่ างเรี ยน และหลังเรียน ตาม ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ของ ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ประเมิน
ผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน การวัด
และประเมินผลปลายปี /ภาคของสถานศึกษา
๒. การตัดสินผลการเรี ยน โดยพิจารณาจากเกณฑ์ การผ่ านตัวชีว้ ัด/ผลการเรียน
รู้ ของ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่ าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน การวัดและประเมินผลปลายปี /ภาค
๓. อนุมัตผิ ลการผ่ านระดับชัน้ การจบการศึกษาภาคบังคับและการจบหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรสถานศึกษา
ข้ อ ๗ โรงเรียนมีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ เพื่อปรั บปรุ งกระบวนการเรียนรู้
และเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นกระบวนการต่ อเนื่อง ของการเรี ยนการสอน เป็ น
กลไกในการพัฒนาผู้เรียนให้ บรรลุมาตรฐานการเรี ยนรู้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เป็ น
ข้ อมูลในการปรับปรุ งแก้ ไข ส่ งเสริมการเรี ยนรู้ ให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ และนำไปใช้ ในการ
ตัดสินผลการเรียน


หมวด ๒
วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน
ข้ อ ๘ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อปรั บปรุ งกระบวนการเรี ยนรู้ ให้ ถือปฏิบัติ
ดังนี ้
๘.๑ แจ้ งให้ นักเรียนทราบมาตรฐาน/ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ทงั ้ ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล เกณฑ์ การผ่ านมาตรฐาน / ตัวชีว้ ัด/ผลการเรี ยนรู้ โดย
กำหนดเกณฑ์ การวัดและประเมินเป็ นร้ อยละ เป็ นรายกลุ่มสาระ รายปี /ภาค ดังนี ้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของแต่ ละกลุ่มสาระการเรี ยน กำหนดสัดส่ วนของการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี ้
๑. การวัดและประเมินระหว่ างเรี ยน เป็ นการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนที่
เกิดขึน้ ระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้ วยสัดส่ วนของ
๑.๑ คะแนนของตัวชีว้ ัด/ผลการเรี ยนรู้
๑.๒ คะแนนของการวัดและประเมินผลงานผู้เรี ยน
๑.๓ คะแนนของพฤติกรรมผู้เรี ยน
๑.๔ คะแนนการปฏิบัตอิ ่ นื ๆ ที่ผ้ ูสอนหรื อสถานศึกษากำหนด
๒. การวัดและประเมินผลปลายปี /ปลายภาค เป็ นการวัดและประเมินผลจากการทดสอบ
ภาคปฏิบัตหิ รือภาคความรู้ ของผู้เรียนของแต่ ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ที่กำหนดระยะเวลาไว้
ชัดเจนตามตารางการวัดและประเมินที่ฝ่ายวิชาการกำหนด
๓. การกำหนดสัดส่ วนคะแนน ระหว่ างเรี ยน กับ ปลายปี /ปลายภาค เป็ นดังนี ้
กลุ่มสาระ ระหว่ างเรี ยน ปลายปี / ปลายภาค
๑. ภาษาไทย ๗๐ ๓๐
๒. คณิตศาสตร์ ๗๐ ๓๐
๓. วิทยาศาสตร์ ๗๐ ๓๐
๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๗๐ ๓๐
๕ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๒๐
๖. ศิลปะ ๘๐ ๒๐
๗. การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๘๐ ๒๐
๘. ภาษาต่ างประเทศ ๗๐ ๓๐
รายวิชาประวัตศิ าสตร์ ๗๐ ๓๐ ๔
โดยจะต้ องได้ รับผลการประเมินตัง้ แต่ ระดับ ๑ ขึน้ ไปทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๘.๒ แจ้ งให้ นักเรียนทราบผลการเรียนรู้และเวลาร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน
เกณฑ์ การตัดสินการผ่ านกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน เป็ น
ผ่ านและไม่ ผ่าน ดังนี ้
ผ่ าน หมายถึง ผู้เรี ยนมีเวลาเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ร่ วมทำ
กิจกรรมและผ่ านผลการเรียนรู้ ของแต่ ละกิจกรรม
ไม่ ผ่าน หมายถึง ผู้เรี ยนไม่ มีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ “ผ่ าน” ตามที่ก ำหนด

๘.๓ แจ้ งให้ นักเรียนทราบคุณลักษณะพึงประสงค์ ของโรงเรี ยน วิธีการ


ประเมินผล และเกณฑ์ การตัดสิน โดยนักเรี ยนมีพฤติกรรมในแต่ ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ที่กำหนด และผ่ านการประเมินอย่ างต่ อเนื่อง ทัง้ ในและนอกห้ องเรี ยน และมีผลการประเมิน
ในระดับ “ดีเยี่ยม” “ ดี” และ “ผ่ าน” ดังนี ้
ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรี ยนมีคุณลักษณะในการปฏิบัตจิ นเป็ นนิสัย และ
นำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน เพื่อประโยชน์ สุขของตนเอง
และชุมชน
ดี หมายถึง ผู้เรี ยนมีคุณลักษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ เพื่อให้
เป็ นที่ยอมรั บของสังคม
ผ่ าน หมายถึง ผู้เรี ยนรั บรู้และปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ เงื่อนไขที่กำหนด
๘.๔ แจ้ งให้ นักเรียนทราบมาตรฐานการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน วิธีการ
ประเมินและเกณฑ์ การตัดสิน โดยนักเรี ยนมีมาตรฐานการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผ่ าน
การประเมินอย่ างต่ อเนื่อง ระหว่ างเรียน และหรื อการประเมินปลายปี /ภาค และมีผลการ
ประเมินในระดับ “ดีเยี่ยม” “ ดี” และ “ผ่ าน” ดังนี ้
ดีเยี่ยม หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญได้ ครบถ้ วน เขียนวิพากษ์
วิจารณ์ เขียนสร้ างสรรค์ และแสดงความคิดเห็นอย่ างมี
เหตุผล ใช้ ภาษาได้ อย่ างเหมาะสม ถูกต้ องตามกาลเทศะ
ดี หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญได้ เขียนวิพากษ์ วิจารณ์ และ
เขียนอย่ างสร้ างสรรค์ ได้ โดยใช้ ภาษาสุภาพ
ผ่ าน หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญและเขียนวิพากษ์ วิจารณ์ ได้
๘.๕ ก่ อนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ครู ผ้ ูสอนจะต้ องประเมินผลก่ อน
เรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้พนื ้ ฐานและทักษะเบือ้ งต้ นของผู้เรี ยน โดยก่ อนจัดกิจกรรมการเรี ยน
การสอนครู ผ้ ูสอนจะต้ องตรวจสอบความรู้ทกั ษะ และความรู้ ต่าง ๆ ของผู้เรี ยน ที่เป็ นพืน้ ฐาน
ของเรื่องใหม่ ๆ ด้ วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม

๘.๖ ระหว่ างจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ให้ ผ้ ูสอนประเมินผลการเรี ยนของ


นักเรียนเป็ นระยะ ๆ เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของนักเรี ยนว่ าบรรลุผลมาตรฐาน / ตัวชีว้ ัด / ผล
การเรียนรู้ ตามที่กำหนดไว้ ในแผนการจัดการเรี ยนรู้ เมื่อมีนักเรี ยนไม่ ผ่านการประเมิน ให้ ครู
จัดกิจกรรมสอนซ่ อมเสริมหรือพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง และประเมินจนกว่ าจะผ่ านเกณฑ์ การ
ประเมินตามที่โรงเรียนกำหนด
ข้ อ ๙ ให้ โรงเรียนอนุมัตกิ ารผ่ านระดับชัน้ การซ้ำชัน้ การจบการศึกษาภาคบังคับ และ
การจบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ให้ เป็ นไปตามที่สถานศึกษากำหนดให้
สอดคล้ องกับแนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของกระทรวงศึกษาธิการ
ข้ อ ๑๐ ให้ ใช้ ตัวเลขแสดงผลการเรี ยนรู้ ๘ กลุ่มสาระ โดยนำคะแนนผลการประเมิน
ระหว่ างเรี ยนรวมดับคะแนนประเมินปลายปี /ภาค ตามสัดส่ วนที่โรงเรี ยนกำหนด แล้ วนำมา
เปลี่ยนเป็ นระดับผลการเรียน โดยใช้ ตัวเลขแสดงระดับผลการเรี ยน ๘ ระดับ คือ “๔” “๓.๕”
“๓” “๒.๕” “๒” “๑.๕” “๑” “๐” ดังนี ้
ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่ วงคะแนน
๔ ผลการเรียนดีเยี่ยม ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ ผลการเรียนดีมาก ๗๕ - ๗๙
๓ ผลการเรียนดี ๗๐ - ๗๔
๒.๕ ผลการเรียนค่ อนข้ างดี ๖๕ - ๖๙
๒ ผลการเรี ยนน่ าพอใจ ๖๐ - ๖๔
๑.๕ ผลการเรียนพอใช้ ๕๕ - ๕๙
๑ ผลการเรี ยนผ่ านเกณฑ์ ขัน้ ต่ำ ๕๐- ๕๔
๐ ผลการเรี ยนต่ำกว่ าเกณฑ์ ๐ - ๔๙
ข้ อ ๑๑ ให้ ใช้ คำว่ า “ผ่ าน” และ “ไม่ ผ่าน” แสดงผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน
ใช้ คำว่ า “ดีเยี่ยม” “ดี” และ “ผ่ าน” ในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการประเมิน
ความสามารถในการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำหรั บการประเมินในแต่ ละระดับชัน้ และ
ประเมินการผ่ านระดับชัน้
เกณฑ์ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการอ่ าน คิด
วิเคราะห์ และเขียน กำหนดเกณฑ์ และสัดส่ วนของการประเมิน ดังนี ้


ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน กำหนดดังนี ้
ผลการประเมิน ความหมาย ช่ วงคะแนน
ผ่ าน ๑. มีเวลาเข้ าร่ วมกิจกรรม ร้ อยละ ๘๐
๒. ร่ วมทำกิจกรรม
๓. ผ่ านผลการเรียนรู้ ทุกกิจกรรม ร้ อยละ ๗๐
ไม่ ผ่าน ไม่ ผ่านเกณฑ์ ทงั ้ สองเกณฑ์ หรื อเกณฑ์ ใดเกณฑ์
หนึ่ง
ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินความสามารถในการอ่ าน คิดวิเคราะห์
และเขียน สำหรับแต่ ละชัน้ และการผ่ านระดับชัน้ กำหนดดังนี ้
ผลการเรียน ความหมาย ช่ วงคะแนน
๓ ดีเยี่ยม ๘๐ - ๑๐๐
๒ ดี ๗๐ - ๗๙
๑ ผ่ าน ๕๐ - ๖๙
๐ ควรปรับปรุ ง ๐ - ๔๙
ข้ อ ๑๒ ให้ แจ้ งผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนรายบุคคล รายงานผลการเรี ยนทัง้ ๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความ
สามารถในการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ ผ้ ูปกครองทราบเป็ นระยะ ๆ
ทัง้ นี ้ เพื่อจุดมุ่งหมายให้ ทางโรงเรี ยนและทางบ้ านได้ รับรู้ ถงึ สภาพการเรี ยนและการ
พัฒนาต่ าง ๆ ของผู้เรียนร่ วมกัน พร้ อมทัง้ ร่ วมกันแก้ ปัญหา และส่ งเสริม ผู้เรี ยนได้ พัฒนาไป
ตามความสามารถ โดยโรงเรียนจะต้ องแจ้ งผลการเรี ยนทัง้ ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ กิจกรรม
พัฒนาผู้เรี ยน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความสามารถในการอ่ าน คิด
วิเคราะห์ และเขียน ให้ ผ้ ูปกครองทราบ อย่ างน้ อยภาคเรี ยนละ ๑ ครั ง้
หมวด ๓
การตัดสินผลการเรี ยน
ข้ อ ๑๓ การพิจารณาการเลื่อนชัน้ ภายในชัน้ ปี เมื่อสิน้ ปี การศึกษา ครู ผ้ ูสอนต้ องจัดให้
นักเรียนเลื่อนชัน้ ที่สูงขึน้ ไปในชัน้ ปี นัน้ ๆ ยกเว้ นในกรณีท่ พ
ี บว่ านักเรี ยนมีผลการประเมินไม่
ผ่ านเกณฑ์ ท่สี ถานศึกษากำหนดและมีความจำเป็ นอย่ างยิ่งที่จะต้ องได้ รับการพัฒนาเพิ่มเติมใน
ด้ านต่ าง ๆ เป็ นอย่ างมาก ก็ให้ เรียนซ้ำชัน้ ได้
แนวปฏิบัตใิ นการเลื่อนชัน้ การซ้ำชัน้ เรี ยน การสอนซ่ อมเสริมและการเปลี่ยนผล
การเรียน ให้ ยดึ แนวปฏิบัตดิ ังนี ้

แนวปฏิบัตใิ นการเลื่อนชัน้ เรียน ดังนี ้


๑. ผู้เรียนต้ องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรี ยน/ปี การศึกษาไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ ๘๐ ของ
เวลาเรี ยนทัง้ หมด
๒. ผู้เรียนต้ องได้ รับการประเมินทุกตัวชีว้ ัดและผ่ านตัวชีว้ ัดทุกตัวในแต่ ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้
๓. ผู้เรียนต้ องได้ รับการตัดสินผลการเรี ยนทุกรายวิชา และมีผลการเรี ยนเฉลี่ยไม่ น้อย
กว่ า ๑.๐๐
๔. ผู้เรียนต้ องได้ รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่ านตามเกณฑ์ ท่ สี ถานศึกษา
กำหนดในการประเมินผลการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
อนึ่ง หากผลการประเมินผู้เรียนไม่ เป็ นไปตามที่กำหนด หรื อขาดคุณสมบัตขิ ้ อใดข้ อหนึ่ง
และเป็ นเหตุผลที่ได้ รับการยกเว้ นตามที่สถานศึกษากำหนด รวมทัง้ มีข้อบกพร่ องไม่ มากนัก ซึ่ง
ครู ผ้ ูสอนสามารถทำการซ่ อมเสริมได้ ให้ ผ้ ูเรี ยนมีโอกาสในการซ่ อมเสริม เพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
สำหรับผู้เรียนที่มีสติปัญญาและความสามารถเป็ นเลิศ สถานศึกษาอาจพิจารณาให้ มี
การเลื่อนชัน้ เรียนระหว่ างปี ได้ โดยสถานศึกษาแต่ งตัง้ คณะกรรมการประเมินผลการเรี ยน
ประกอบด้ วย คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการโรงเรี ยน ผู้แทนจากต้ นสังกัด เพื่อ
พิจารณาตามเงื่อนไขดังนี ้
๑. มีผลการเรียนในปี การศึกษาที่ผ่านมาและผลการเรี ยนในปี การศึกษาปั จจุบันอยู่ใน
เกณฑ์ ดีเยี่ยม
๒. มีวุฒภิ าวะที่เหมาะสมและสามารถเรี ยนในชัน้ สูงขึน้ ได้
๓. ผ่ านการประเมินตัวชีว้ ัดทัง้ หมดในปี ปั จจุบัน และภาคเรี ยนที่ ๑ ของชัน้ เรี ยนที่ส ูงขึน้
ในการเลื่อนชัน้ เรียนสูงขึน้ ระหว่ างปี ให้ เป็ นไปตามความยินยอมของผู้เรี ยนและผู้
ปกครองและต้ องดำเนินการให้ แล้ วเสร็จภายในเดือนกันยายนของปี
แนวปฏิบัตใิ นการซ้ำชัน้ เรี ยน ดังนี ้
ผู้ เรี ยนที่ไม่ มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ การอนุ มัติเลื่ อนชั น้ เรี ยนสถานศึกษาจะต้ องจัดให้
เรี ยนซ้ำชัน้
ในกรณีท่ีผ้ ู เรี ยนขาดคุณสมบัตขิ ้ อใดข้ อหนึ่ง สถานศึกษาอาจใช้ ดุลพินิจให้ เลื่อนชัน้ ได้
หากพิจารณาเห็นว่ า
๑. ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ ถงึ ร้ อยละ ๘๐ อันเนื่องจากสาเหตุจ ำเป็ น หรื อเหตุสุดวิสัย
แต่ มีคุณสมบัตติ ามข้ ออื่น ๆ ครบถ้ วน ๘
๒. ผู้เรียนผ่ านมาตรฐานและตัวชีว้ ัดไม่ ถงึ เกณฑ์ ตามที่สถานศึกษากำหนดในแต่ ละ
รายวิชา และเห็นว่ าสามารถสอนซ่ อมเสริมได้ ในปี การศึกษาถัดไป และมีคุณสมบัตขิ ้ ออื่น ๆ
ครบถ้ วน
๓. ผู้เรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - ๓ มีผลการประเมินกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย
และคณิตศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ และผู้เรี ยนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ - ๖ มีผลการประเมินกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมอยู่
ในเกณฑ์ ผ่าน
แนวปฏิบัตกิ ารสอนซ่ อมเสริม ดังนี ้
การสอนซ่ อมเสริมสามารถดำเนินการได้ ในกรณีดังต่ อไปนี ้
๑. ผู้เรียนมีความรู้ /ทักษะพืน้ ฐานไม่ เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ ละรายวิชานัน้ ควรจัดการ
สอนซ่ อมเสริม ปรับความรู้ /ทักษะพืน้ ฐาน
๒. การประเมินระหว่ างเรียนผู้เรี ยนไม่ สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรื อ
เจตคติ / คุณลักษณะ ที่กำหนดไว้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีว้ ัด
๓. ผลการเรียนไม่ ถงึ เกณฑ์ และ/หรื อต่ำกว่ าเกณฑ์ การประเมิน โดยผู้เรี ยนได้ ระดับผล
การเรียน “๐” ต้ องจัดการซ่ อมสอนเสริมก่ อนจะให้ ผ้ ูเรี ยนสอบแก้ ตัว
๔. ผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ ผ่าน สามารถจัดสอนซ่ อมเสริมในภาคฤดูร้อน ทัง้ นีใ้ ห้ อยู่ใน
ดุลยพินิจของสถานศึกษา
แนวปฏิบัตขิ องการเปลี่ยนผลการประเมินและหรื อผลการเรี ยน ดังนี ้
แนวการเปลี่ยนผลการเรียน “๐”
สามารถดำเนินการได้ ดังนี ้
ผลการประเมิน “ ๐ “ สถานศึกษาจัดให้ มีการสอนซ่ อมเสริ มในตัวชี ว้ ัดที่ผ้ ู เรี ยนสอบไม่
ผ่ านก่ อน แล้ วจึงสอบแก้ ตัวให้ และให้ สอบแก้ ตัวได้ ไม่ เกิน ๒ ครั ง้ ทัง้ นีต้ ้ องดำเนินการให้ เสร็ จ
สิน้ ภายในปี การศึกษานัน้
ถ้ าผู้เรียนไม่ มาดำเนินการสอบแก้ ตัวตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ นี ้ ให้ อยู่ใน
ดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่ เกิน ๑ ภาคเรี ยน ทัง้ นีต้ ้ อง
ดำเนินการให้ เสร็จสิน้ ภายในปี การศึกษานัน้
ถ้ าสอบแก้ ตัว ๒ ครัง้ แล้ ว ยังได้ ระดับผลการเรี ยน “๐” อีก ให้ สถานศึกษาแต่ งตัง้
คณะกรรมการดำเนินการเกี่ยวกับการแก้ ผลการเรียนของผู้เรี ยนโดยปฏิบัตดิ ังนี ้
(๑) ถ้ าเป็ นรายวิชาพืน้ ฐาน ให้ เรี ยนซ้ำรายวิชา
(๒) ถ้ าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม ให้ เรี ยนซ้ำหรื อเปลี่ยนรายวิชาเรี ยนใหม่ ให้ อยู่
ในดุลยพินิจของสถานศึกษา
ในกรณีท่เี ปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้ หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1) ว่ า
ให้ เรี ยนแทนรายวิชาใด

การเปลี่ยนผลการเรียนที่มีเงื่อนไข “ ร “ “ มส “ หรื อ “ไม่ ผ่าน” สามารถดำเนินการได้


ดังนี ้
แนวการแก้ ไข “ ร ” (สำหรับระดับมัธยมศึกษา)
“ ร ” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินไม่ ได้ โดยผู้เรียนไม่ มีข้อมูลประเมินผลการ
เรี ยนรายวิชานัน้ ครบถ้ วน เช่ น ไม่ ได้ วัดผลกลางภาคเรี ยน/ปลายภาคเรี ยน/ปลายปี ไม่ ได้ ส่งงาน
ที่มอบหมายให้ ทำ ซึ่งงานนัน้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรี ยนหรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ท ำให้
ประเมินผลการเรียนไม่ ได้ อันเนื่องมาจาก
๑. มีผลการประเมินไม่ ครบ เช่ น ไม่ ได้ วัดผลกลางภาคเรี ยน/ปลายภาคเรี ยน
๒. ไม่ ได้ ส่งงานที่มอบหมายให้ ท ำ ซึ่งงานนั น้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของผลการเรี ยน ที่ท ำให้
ตัดสินผลการเรี ยนไม่ ได้ ทัง้ นี จ้ ะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากหัวหน้ าสถานศึกษาก่ อนให้ ผล
การเรี ยน “ ร ”
๓. มีเหตุสุดวิสัย ทำให้ ประเมินผลการเรี ยนไม่ ได้ เช่ น เจ็บป่ วย เมื่อผู้เรี ยนได้ เข้ าสอบ
หรื อส่ งผลงานที่ติดค้ างอยู่เสร็จเรียบร้ อย หรื อแก้ ปัญหาเสร็จสิน้ แล้ ว ให้ ได้ ระดับผลการเรี ยน
ตามปกติ(ตัง้ แต่ ๐ - ๔)
การเปลี่ยนผลการเรียน “ ร ” ให้ ดำเนินการแก้ ไขตามสาเหตุให้ เสร็จสิน้ ภายในปี การ
ศึกษานั น้ ถ้ าผู้ เรี ยนไม่ มาดำเนินการแก้ “ ร ” ตามระยะเวลาที่ก ำหนดไว้ ให้ เรี ยนซ้ำรายวิชา
ยกเว้ นมีเหตุสุดวิสัย ให้ อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไป
อีกไม่ เกิน ๑ ภาคเรี ยน แต่ เมื่อพ้ นกำหนดนีแ้ ล้ วให้ ปฏิบัตดิ ังนี ้
(๑) ถ้ าเป็ นรายวิชาพืน้ ฐาน ให้ เรี ยนซ้ำรายวิชา
(๒) ถ้ าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม ให้ เรี ยนซ้ำหรื อเปลี่ยนรายวิชาเรี ยนใหม่ ให้ อยู่ใน
ดุลยพินิจของสถานศึกษา
ในกรณีท่เี ปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้ หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1) ว่ า
ให้ เรี ยนแทนรายวิชาใด
แนวการแก้ ไข “ มส” (สำหรับระดับมัธยมศึกษา)
“ มส ” หมายถึง ไม่ มีสิทธิเข้ ารับการประเมินผลปลายภาคเรี ยนโดยผู้เรี ยนที่มีเวลาเรี ยน
ไม่ ถงึ ร้ อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ ละรายวิชา และไม่ ได้ รับการผ่ อนผันให้ เข้ ารั บการวัดผล
ปลายปี /ปลายภาคเรียน
การเปลี่ยนผลการเรียน “ มส ” มี ๒ กรณี ดังนี ้
๑. กรณีผ้ ูเรียนได้ ผลการเรียน “ มส ” เพราะมีเวลาเรี ยนไม่ ถงึ ร้ อยละ ๘๐ แต่ มีเวลาเรี ยน
๑๐
ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมด ให้ สถานศึกษาจัดให้ เรี ยนเพิ่มเติม โดยใช้ ช่ ัวโมง
สอนซ่ อมเสริม หรือเวลาว่ าง หรือวันหยุด หรื อมอบหมายงานให้ ท ำ จนมีเวลาเรี ยนครบตามที่
กำหนดไว้ สำหรับรายวิชานั น้ แล้ วจึงสอบให้ เป็ นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “ มส ” ให้ ได้ ระดับ
ผลการเรี ยนไม่ เกิน “ ๑ ” การแก้ “มส” กรณีนีใ้ ห้ กระทำให้ เสร็จสิน้ ในปี การศึกษานัน้ ถ้ าผู้เรี ยน
ไม่ มาดำเนินการแก้ “ มส ” ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ นีใ้ ห้ เรี ยนซ้ำ ยกเว้ น มีเหตุสุดวิสัย ให้ อยู่
ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ มส ” ออกไปอีกไม่ เกิน ๑ ภาคเรี ยน แต่ เมื่อ
พ้ นกำหนดนีแ้ ล้ ว ให้ ปฏิบัตดิ ังนี ้
๑.๑ ถ้ าเป็ นรายวิชาพืน้ ฐาน ให้ เรี ยนซ้ำรายวิชา
๑.๒ ถ้ าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม ให้ เรี ยนซ้ำหรื อเปลี่ยนรายวิชาเรี ยนใหม่ ให้ อยู่ใน
ดุลยพินิจของสถานศึกษา
๒. กรณีผ้ ูเรียนได้ ผลการเรียน “ มส ” และมีเวลาเรี ยนน้ อยกว่ าร้ อยละ ๖๐ ของเวลา
เรี ยนทัง้ หมด ให้ สถานศึกษาจัดให้ เรียนซ้ำในรายวิชาพืน้ ฐานและรายวิชาเพิ่มเติม หรื อเปลี่ยน
รายวิชาใหม่ ได้ สำหรับรายวิชาเพิ่มเติมเท่ านัน้
ในกรณีท่เี ปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้ หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1) ว่ า
ให้ เรี ยนแทนรายวิชาใด
แนวการแก้ ไข “ มผ”
ในกรณีท่ผี ้ ูเรียนได้ ผลการเรียน “ มผ ” สถานศึกษาต้ องจัดซ่ อมเสริมให้ ผ้ ูเรี ยนทำ
กิจกรรมจนครบตามเวลาที่กำหนด หรื อปฏิบัตกิ จิ กรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่ต้องปรั บปรุ ง
แก้ ไข แล้ วจึงเปลี่ยนผลการเรียน จาก “ มผ ” เป็ น “ ผ ” ทัง้ นีด้ ำเนินการให้ เสร็จสิน้ ภายในปี
การศึกษานัน้ ยกเว้ นมีเหตุสุดวิสัย ให้ อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา
ข้ อ ๑๔ การอนุมัตกิ ารจบระดับประถมศึกษา
ในระดับประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) สถานศึกษาสามารถอนุมิตใิ ห้ จบการ
ศึกษาระดับประถมศึกษาได้ ดังนี ้
๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน จำนวน ๔๘๐ ชั่วโมง รายวิชาเพิ่มเติมปี ละไม่ เกิน ๔๐
ชั่วโมง และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปี ละ ๔ กิจกรรม
๒. ผู้เรียนต้ องมีผลการประเมินรายวิชาพืน้ ฐาน ผ่ านเกณฑ์ การประเมินในระดับ “1” เป็ น
อย่ างน้ อย
๓. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ “ ดีเยี่ยม” “ ดี”
หรื อ “ผ่ าน”
๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ “ ดีเยี่ยม” “ ดี “ หรื อ
“ผ่ าน”
๕. ผู้เรียนเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและมีผลการประเมินในระดับ “ผ่ าน” ทุก
กิจกรรม
ข้ อ ๑๕ การอนุมัตกิ ารจบการศึกษาภาคบังคับ (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และจบหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผู้เรี ยนมีคุณสมบัตดิ ังต่ อไปนี ้
๑๑
จบหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓) ผู้เรี ยนมีผลการเรียนตลอดหลักสูตร
ดังนี ้
๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติมไม่ เกิน ๘๑ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพืน้
ฐาน ๖๖ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม๑๕ หน่ วยกิต
๒. ผู้เรียนต้ องได้ หน่ วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่ น้อยกว่ า ๗๗ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พืน้ ฐาน ๖๖ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่ น้อยกว่ า ๑๑ หน่ วยกิต
๓. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี”
หรื อ “ผ่ าน”
๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี” หรื อ
“ผ่ าน”
๕. ผู้เรียนเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและมีผลการประเมินในระดับ “ผ่ าน” ทุก
กิจกรรม
จบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖) ผู้เรี ยนมีผลการเรียน
ตลอดหลักสูตร ดังนี ้
๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติม ไม่ น้อยกว่ า ๘๑ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พืน้ ฐาน ๔๑ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ๔๐ หน่ วยกิต
๒. ผู้เรียนต้ องได้ หน่ วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่ น้อยกว่ า ๗๗ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พืน้ ฐาน ๔๑ หน่ วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่ น้อยว่ า ๓๖ หน่ วยกิต
๓. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี”
หรื อ “ผ่ าน”
๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ“ ดีเยี่ยม” “ ดี” หรื อ
“ผ่ าน”
๕. ผู้เรียนเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนและมีผลการประเมินในระดับ “ผ่ าน” ทุก
กิจกรรม
ข้ อ ๑๖ นักเรียนไม่ ได้ เข้ ารับการวัดและประเมินผลปลายปี /ภาค เพราะเหตุจำเป็ นหรื อ
เหตุสุดวิสัย โรงเรียนอาจจัดให้ เข้ ารับการประเมินผลปลายปี /ภาค ภายหลังได้

หมวด ๔
การเทียบโอนผลการเรี ยน

ข้ อ ๑๗ การเทียบโอนผลการเรี ยน ให้ เป็ นไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผล


การเรียน ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง การเทียบโอนผลการเรี ยนการศึกษาขัน้ ๑๒
พืน้ ฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่ าปริญญา ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๔๐ และแนวปฏิบัตทิ ่เี กี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรี ยนเข้ าสู่การศึกษาในระบบระดับ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

หมวด ๕
การย้ ายที่เรี ยน
ข้ อ ๑๘ นักเรียนคนใดจำเป็ นต้ องย้ ายที่เรี ยน โรงเรี ยนต้ องจัดเอกสารหลักฐานให้
นักเรียนนำไปที่โรงเรียนแห่ งใหม่ คือ ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.๑) และหลักฐานทางการ
ศึกษาอื่นเท่ าที่จำเป็ น เพื่อให้ ผ้ ูปกครองและผู้เรี ยน นำไปแสดงผลการเรี ยนรู้ท่ ผี ่ านมาให้ กับ
สถานศึกษาแห่ งใหม่ พจิ ารณารับย้ ายผู้เรี ยน ดังนี ้
๑๘.๑ กรณีนักเรียนอยู่ในระหว่ างเรี ยน ให้ ใช้ เอกสารรายงานผลการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนรายบุคคล เอกสารระเบียนสะสม ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนไป
ให้ โรงเรี ยนใหม่ ด้วย
๑๘.๒ กรณีนักเรียนจบช่ วงชัน้ ให้ ใช้ ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.๑) เอกสาร
รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล เอกสารระเบียนสะสม และเอกสาร อื่น ๆ
ตามที่สถานศึกษากำหนดเท่ าที่จำเป็ น
หมวด ๖
หลักฐานสำคัญทางการศึกษา
ข้ อ ๑๙ โรงเรียนต้ องมีเอกสารประเมินผลการเรี ยนต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี ้
๑๙.๑ เอกสารหลักฐานการศึกษาควบคุมและบังคับ
เป็ นเอกสารสำคัญที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดไว้ ให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
เพื่อให้ เป็ นหลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา และรั บรองผลการเรี ยนของเด็กนักเรี ยน ซึ่งสามารถ
ใช้ เป็ นหลักฐานสำหรับการตรวจสอบ ยืนยัน และรั บรองคุณสมบัตทิ างการศึกษาของนักเรี ยน
ได้ ตลอดไป ดังนี ้
๑) ระเบียบแสดงผลการเรี ยน(Transcript) (ปพ.1)
เป็ นเอกสารหลักฐานแสดงผลการเรี ยนของผู้เรี ยนสำหรั บบันทึกข้ อมูลผล
การเรียนของนักเรียนตามเกณฑ์ การผ่ านระดับชัน้ ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ได้ แก่ ผลการเรียนรู้ ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่ าน คิด
วิเคราะห์ และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา และผลการ
ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนจะต้ องจัดทำและออกเอกสารนีใ้ ห้ กับผู้เรี ยนเป็ นราย
บุคคล เมื่อจบหรือไม่ จบการศึกษา เพื่อใช้ ประโยชน์ ดังนี ้
- แสดงผลการเรียนของนักเรี ยนตามโครงการสร้ างหลักสูตรของสถานศึกษา
- รับรองผลการเรียนของนักเรี ยนตามข้ อมูลที่บันทึกในเอกสาร ๑๓

- ตรวจสอบผลการเรียนและวุฒกิ ารศึกษาของนักเรี ยน
- ใช้ เป็ นหลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษาเพื่อสมัครเข้ าศึกษาต่ อ สมัครงานหรื อ
ขอรั บสิทธิประโยชน์ อ่ นื ใดที่พงึ มีพงึ ได้ ตามวุฒกิ ารศึกษานัน้
- และมอบให้ กับนักเรี ยนในทุกกรณีท่ นี ักเรี ยนออกจากโรงเรียน เช่ น จบการ
ศึกษา ลาออก ย้ ายที่เรียน เป็ นต้ น
๒) หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ.๒)
เป็ นเอกสารที่มอบให้ นักเรี ยนที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
(ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ) เพื่อประกาศและรั บรองวุฒกิ ารศึกษาของนักเรี ยน ส่ ง
ผลให้ นักเรียนได้ รับศักดิ์และสิทธิต่าง ๆ ของผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒแิ ห่ งประกาศนียบัตรนัน้
ประกาศนียบัตรสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ ได้ ดังนี ้
- แสดงวุฒทิ างการศึกษาของผู้เรี ยน
- ตรวจสอบวุฒทิ างการศึกษาของผู้เรี ยน
- ใช้ เป็ นหลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษาเพื่อสมัครเข้ าศึกษาต่ อ สมัครงานหรื อ
ขอรั บสิทธิประโยชน์ อ่ นื ใดที่พงึ มีพงึ ได้ ตามวุฒกิ ารศึกษาแห่ งประกาศนียบัตรนัน้
๓) แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.๓)
เป็ นเอกสารอนุมัตกิ ารจบหลักสูตรการเรียนของนักเรี ยนที่ผ้ ูจบการศึกษาระดับ
ประถมศึกษาปี ที่ ๖ ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และผู้จบการศึกษาขัน้ พืน้
ฐาน (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เป็ นเอกสารทางการศึกษาที่สำคัญที่สุด ใช้ เป็ นหลักฐานแสดงคุณสมบัตหิ รื อคุณวุฒทิ างการ
ศึกษาของผู้เรียน ผู้มีรายชื่อในเอกสารนีท้ ุกคน จะได้ รับการรั บรองวุฒทิ างการศึกษาจาก
กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารที่จัดทำขึน้ แล้ ว โรงเรี ยนจะต้ องเก็บรั กษาไว้ ให้ ปลอดภัยระวังมีให้
เอกการชำรุ ด เสียหาย สูญหายหรือข้ อมูลถูกเปลี่ยนแปลงแก้ ไขได้ เป็ นอันขาด แบบรายงานผู้
สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และผู้สำเร็จการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (ชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ ๖) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรี ยนจะ
ต้ องจัดทำขึน้ ๓ ชุด เก็บรักษาไว้ ท่โี รงเรี ยน ๑ ชุด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ๑ ชุด และ
กระทรวงศึกษาธิการ ๑ ชุด โดยถือว่ าชุดที่เก็บรั กษาไว้ ท่ กี ระทรวงศึกษาธิการเป็ นเอกสาร
ต้ นฉบับ ส่ วนแบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ระดับ
ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรียนจัดทำเพียงชุดเดียวแล้ วเก็บรักษาไว้ ท่ โี รงเรี ยน ซึ่งนำไปใช้
ประโยชน์ ดังนี ้
- ผู้บริหารสถานศึกษา ใช้ ตัดสินและอนุมัตผิ ลการเรี ยนของนักเรี ยน
- แสดงรายชื่อผู้จบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานแต่ ละชัน้ ที่ได้
รั บการรั บรองวุฒจิ ากกระทรวงศึกษาธิการ
๑๔

- หน่ วยงานที่เก็บรักษาเอกสารใช้ สำหรั บตรวจสอบ ค้ นหา พิสูจน์ ยืนยัน


และรั บรองวุฒหิ รื อผลการเรียนของผู้จบหลักสูตร
๑๙.๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่โรงเรียนดำเนินการเอง
โรงเรียนจัดทำขึน้ เพื่อใช้ บันทึกข้ อมูลของนักเรี ยนในด้ านต่ าง ๆ สำหรั บใช้
ประกอบการดำเนินงานจัดการศึกษา การประเมินและตัดสินผลการเรียน การออกแบบ จัดทำ
แบบพิมพ์ และควบคุมการจัดทำและการใช้ เอกสารโรงเรี ยนจัดทำเอง สำหรั บรู ปแบบและแนว
ดำเนินการจัดทำให้ สอดคล้ องกับแนวปฏิบัตใิ นการจัดการศึกษา และการวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู้ ตามที่โรงเรียนกำหนด ดังนี ้
๑) แบบสรุ ปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เป็ นเอกสารสรุ ปผลการประเมินและตัดสินผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ของผู้เรียนแต่ ละคนในแต่ ละชัน้ เรี ยน และมอบให้ นักเรี ยนทุกคนเมื่ อจบระดับชัน้ เรี ยน
หรื อจบหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ หรื อจบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน แบบ
สรุ ปผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นำไปใช้ ประโยชน์ แสดงผลการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือรับรองคุณลักษณะของผู้เรี ยน โดยใช้ ควบคู่กับระเบียบแสดงผล
การเรียน (ปพ.๑)
๒) เอกสารบันทึกการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน
เป็ นเอกสารให้ ครู ผ้ ูสอนใช้ บันทึกข้ อมูลเวลาเรี ยนของผู้เรี ยน บันทึกการวัดและ
การประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียน ตามผลการเรี ยนรู้ท่ คี าดหวัง ตัวชีว้ ัด/จุดประสงค์ การเรี ยน
รู้ เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลสำหรับการพิจารณาตัดสินผลการเรี ยนแต่ ละรายวิชา บันทึกผลการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน เอกสารบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน สามารถนำ
ไปใช้ ประโยชน์ ดังนี ้
- ใช้ เป็ นเอกสารประกอบการดำเนินงานในการวัดและประเมินผลการเรี ยนของ
ผู้เรี ยน
- ใช้ เป็ นหลักฐานสำหรั บตรวจสอบ รายงาน และรั บรองข้ อมูลเกี่ยวกับวิธีการ
และกระบวนการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
๓) แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนรายบุคคล
เป็ นเอกสารบันทึกข้ อมูลการประเมินผลการเรี ยนรู้ และพัฒนาการด้ านต่ าง ๆ
ของผู้เรี ยนแต่ ละคน ตามเกณฑ์ การผ่ านชัน้ เรี ยนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
รวมทัง้ ข้ อมูลด้ านอื่น ๆ ของผู้เรียนทัง้ ที่บ้านและโรงเรี ยน โดยจัดทำเป็ นเอกสารรายบุคคล เพื่อ
ใช้ สำหรั บสื่อสารให้ ผ้ ูปกครองของผู้เรียนแต่ ละคนได้ รับทราบผลการเรี ยนและพัฒนาการด้ าน
ต่ าง ๆ ของผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนรายบุคคลนำไปใช้
ประโยชน์ ดังนี ้
๑๕

- รายงานผลการเรียน ความประพฤติและพัฒนาการของผู้เรี ยนให้ ผ้ ูปกครองได้


รั บทราบ
- ใช้ เป็ นเอกสารสื่อสาร ประสานงานเพื่อรวมมือในการพัฒนาและปรั บปรุ ง
แก้ ไขผู้เรี ยน
- เป็ นเอกสารหลักฐานสำหรั บตรวจสอบ ยืนยัน และรั บรองผลการเรี ยนและ
พัฒนาการต่ าง ๆ ของผู้เรียน
๔) ใบรับรองผลการศึกษา
เป็ นเอกสารใช้ เป็ นเอกสารสำหรั บรองสถานภาพนักเรี ยนหรื อผลการเรี ยนของผู้
เรี ยนเป็ นการชั่วคราวตามที่ผ้ ูเรียนร้ องขอ ทัง้ กรณีท่ ีผ้ ูเรี ยนกำลังศึกษาอยู่ในโรงเรี ยนและเมื่อ
จบการศึกษาไปแล้ ว ใบรับรองผลการเรี ยน นำไปใช้ ประโยชน์ ดัง้ นี ้
- รับรองความเป็ นผู้เรียนของโรงเรี ยนที่เรี ยนหรื อเคยเรี ยน
- รับรองและแสดงความรู้ วุฒขิ องผู้เรี ยน
- ใช้ เป็ นหลักฐานแสดงคุณสมบัตขิ องผู้เรี ยนในการสมัครเข้ าศึกษาต่ อ สมัครเข้ า
ทำงาน หรือเมื่อมีกรณีอ่ นื ไดที่ผ้ ูเรียนต้ องแสดงคุณสมบัตเิ กี่ยวกับวุฒคิ วามรู้ หรื อสภาพการ
เป็ นผู้เรี ยนของตน
- เป็ นหลักฐานสำหรับการตรวจสอบ รั บรอง ยืนยันการใช้ สิทธิ์ความเป็ น
นักเรียนหรือการได้ รับการรับรองจากโรงเรี ยน
๕) ระเบียบสะสม
เป็ นเอกสารบันทึกข้ อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาการของผู้เรี ยนในด้ านต่ าง ๆ เป็ น
รายบุคคล โดยจะบันทึกข้ อมูลของผู้เรี ยนอย่ างต่ อเนื่อง ตลอดช่ วงระยะเวลาการศึกษาตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑๒ ปี ระเบียบสะสม ไปใช้ ประโยชน์ ดังนี ้
- ใช้ เป็ นข้ อมูลในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของผู้เรี ยน
- ใช้ เป็ นข้ อมูลในการพัฒนาปรั บปรุ งบุคลิกภาพ ผลการเรี ยนและการปรั บตัว
ของผู้เรี ยน
- ใช้ ตดิ ต่ อสื่อสาร รายงานพัฒนาคุณภาพของผู้เรี ยนระหว่ างโรงเรี ยนกับผู้
ปกครอง
- ใช้ เป็ นหลักฐานสำหรั บการตรวจสอบ รั บรอง และยืนยันคุณสมบัตขิ องผู้เรี ยน
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

You might also like