You are on page 1of 38

แบบรายงานผลการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของ

พนักงานครูเทศบาล
เพื่อให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566

ของ
นายประจักษ์ พัฒนพงษ์ศักดิ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง
สังกัดเทศบาลเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
คำนำ

รายงานบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) จัดทำขึ้นเพื่อนำ


เสนอข้อตกลงในการพัฒนางานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ประจำปี งบประมาณ
พ.ศ.2566 ระหว่างวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน
พ.ศ.2566 ที่ได้เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษาเพื่อแสดงเจตจำนงว่า
ภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตรให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เห็น
ถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในการปฏิบัติและเรียนรู้ เพื่อจัดการเรียนรู้
โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ และเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ใน
เนื้อหาและสมรรถนะวิชาชีพครู และสอดคล้องกับเป้ าหมาย บริบทสถาน
ศึกษา นโยบายของส่วนราชการและตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. โดยผู้
อำนวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
ข้าพเจ้าได้ดำเนินการตามบันทึกข้อตกลงในการพัฒนา (PA) ตาม
ปี งบประมาณ 2566 แล้ว จึงได้รายงานผลการดำเนินการ มาพร้อม
รายงานฉบับนี้

(นายประจักษ์ พัฒนพงษ์
ศักดิ์)
ผู้ขอรับการประเมิน

สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้รับการประเมิน

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่

ด้านการจัดการเรียนรู้
1. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

2. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

ส่วนที่ 3 การปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ


จรรยาบรรณวิชาชีพ
ส่วนที่ 4 การใช้นวัตกรรมที่เกิดจากการพัฒนางานที่เป็ นประเด็น
ท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

ภาคผนวก
- ด้านการจัดการเรียนรู้

- ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
- ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

- กิจกรรมอื่นๆ
- การพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การ
เรียนรู้ของผู้เรียน

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน
(PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู
วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
ระหว่างวันที่ 3 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือน
กันยายน พ.ศ. 2566

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นายประจักษ์ พัฒนพงษ์ศักดิ์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู
ชำนาญการพิเศษ
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 3 อัตราเงินเดือน 46,240 บาท
สถานศึกษาโรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง สังกัด อบจ./เทศบาล/อบต.
เทศบาลเมืองพิจิตร อำเภอเมืองพิจิตรจังหวัดพิจิตร
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้  ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้น
ฐาน  ห้องเรียนปฐมวัย

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต.
กำหนด ภาคเรียนที่ 2/2565

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20.84

คาบ/สัปดาห์
1.2 งานพิเศษที่โรงเรียนมอบหมาย จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต.
กำหนด ภาคเรียนที่ 1/2566

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18.34

คาบ/สัปดาห์
1.2 งานพิเศษที่โรงเรียนมอบหมาย จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
นายประจักษ์ พัฒนพงษ์ศักดิ์ ภาคเรียนที่ นายประจักษ์ พัฒนพงษ์ศักดิ์ ภาคเรียนที่
2/2565 1 /2566
2. ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่ข้าพเจ้าปฏิบัติและ
นำเสนอครอบคลุมถึง
การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและหรือ
พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้การวัดและการประเมิน
ผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา การ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปั ญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัด
บรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และ
การอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
1.1 สร้างและพัฒนาหลักสูตร
ข้าพเจ้าดำเนินการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2566 หลักสูตรสถาน
ศึกษาโรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้
วัดหรือผลการเรียนรู้ เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชาออกแบบหน่วยการ
เรียนรู้โดยคลอบคลุมเนื้อหาของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา
สมรรถนะและการเรียนรู้เต็มศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียนและท้องถิ่น ตามภาระงาน
สอนที่ได้รับมอบหมาย
ผลจากการดำเนินการดังกล่าวส่งผลให้โรงเรียนมีหลักสูตร
สถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ ตาม
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นักเรียนได้เรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา และตัวชี้วัดตรงตามสมรรถนะใน
หลักสูตรแต่ละชั้นปี
เอกสารประกอบหลักสูตร QR Code E-Book link

https://anyflip.com/
umjxt/ohyf/

https://anyflip.com/
umjxt/dvhz/
1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ข้าพเจ้าดำเนินการจัดทำและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็ นสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์
(ค 31201) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ
ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญ ตาม
หลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้
เรียนและท้องถิ่น และสอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาธรรมชาติของสาระ
การเรียนรู้เหมาะสมกับผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น ตาม
ภาระงานสอนที่ได้รับมอบหมาย
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียนได้เรียนรู้ตาม
โครงสร้างรายวิชาและ หน่วยการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์
(ค 31201) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยที่เน้นผู้เรียนมีทักษะการแก้ปั ญหา โดย
การจัดการเรียนการรู้รูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK และ
ศักยภาพในช่วงวัยของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตามธรรมชาติวิชา
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และได้รับการพัฒนาในด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์และสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร
https://
anyflip.com/umjxt/
hxwu/

1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ข้าพเจ้าได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้รูปแบบ การเรียนรู้ วิธี
สอน และเทคนิคการสอนในแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดทำแผนการ
จัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 31201) เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนา
เสริมสร้างทักษะการแก้ปั ญหาของผู้เรียน โดยเน้นกระบวนการการเรียนรู้
ใช้รูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ตาม
จัดทำแผนการจัด การเรียนรู้ใช้รูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK
เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปั ญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
รายวิชาคณิตศาสตร์ เช่น ชุดการเรียน แบบฝึ กทักษะ Power Point และ
กระดานอัจฉริยะ Iq Roard มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และเป็ น
ส่วนหนึ่งในเครื่องมือการวัดและประเมินผลตรงตามกระบวนการพัฒนา
ศักยภาพในช่วงวัยของผู้เรียน

1.4 การสร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม


ข้าพเจ้าได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้รูปแบบ การเรียนรู้ วิธี
สอน และเทคนิคการสอนในแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดทำแผนการ
จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 พัฒนาเสริมสร้างทักษะ
การแก้ปั ญหาของผู้เรียน โดยเน้นกระบวนการการเรียนรู้ใช้รูปแบบการ
จัดการเรียนแบบ PRACHAK
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียนได้เรียนรู้จาก
แบบฝึ กทักษะ และได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายในห้องเรียนมาใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนและเป็ นส่วนหนึ่งในเครื่องมือการวัดและประเมินผล
สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้สามารถแก้ไขปั ญหาในการเรียนรู้
ของผู้เรียนทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้ เป็ น
แบบอย่างที่ดี

https://anyflip.com/ https://anyflip.com/
umjxt/wudx/ umjxt/iaoj/

https://anyflip.com/ https://anyflip.com/
umjxt/thoy/ umjxt/afjv/

1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ข้าพเจ้าดำเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้ในการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้อย่างหลากหลายและครอบคลุมทั้งด้านพุทธิ
พิสัยหรือด้านความรู้ (K) , ด้านทักษะพิสัยหรือด้านทักษะ (P) และด้าน
เจตพิสัยหรือด้านเจตคติ (A) โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน , แบบทดสอบ
หลังเรียน , แบบประเมินผลการปฏิบัติ
กิจกรรม และแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับสาระ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดหรือผล
การเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ดำเนินการวัดปละประเมินผลการ
เรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อปรับปรุงพัฒนา ตัดสินผลการเรียนรู้ ความ
ก้าวหน้าและพัฒนาการของผู้เรียนที่สะท้อนระดับคุณภาพของผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียนได้รับการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลายครอบคลุมทักษะการแก้ปั ญหา
ของผู้เรียน
https://anyflip.com/umjxt/afjv/ https://anyflip.com/umjxt/
mlxy/

1.6 การศึกษา วิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อแก้ปั ญหาหรือ


พัฒนาการเรียนรู้
ข้าพเจ้าได้ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ รายวิชาคณิตศาสตร์
(ค 31201) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จากการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการ
เรียนของนักเรียน และพัฒนาเสริมสร้างทักษะการแก้ปั ญหา ในการเรียนรู้
ของนักเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ (ค 31201) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 และนำไป
สู่กระบวนการแก้ปั ญหาด้วยการวิจัยและพัฒนา
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียนได้รับการ
พัฒนาตามกระบวนการวิจัยและครูผู้สอนได้นำนำมาใช้ในการแก้ไขปั ญหา
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK เพื่อเสริมสร้างทักษะ
การแก้ปั ญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4

https://anyflip.com/
umjxt/eniw/
1.7 การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
ข้าพเจ้าได้ดำเนินการจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชั้น
เรียนที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนรู้ กระตุ้นความสนใจใฝ่ รู้ ใฝ่ ศึกษา
อบรมบ่มนิสัย เพื่อให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด จากการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน ทักษะชีวิตจากการให้ผู้เรียนได้ลงมือคิด ดำเนินกิจกรรม
และแก้ปั ญหาที่เกิดขึ้น ทักษะการทำงาน จากการปฏิบัติกิจกรรมที่มอบ
หมายทั้งลักษณะงานคู่ลักษณะเพื่อนคู่คิด เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะ
การแก้ปั ญหาและกระบวนการคิด ในการเรียนรู้อย่างสูงสุด
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้จาก
การจัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการแก้ปั ญหาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK เพื่อเสริม
สร้างทักษะการแก้ปั ญหา
1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
ข้าพเจ้าปลูกฝั งค่านิยม และคุณลักษณะที่ดี เหมาะสมกับผู้
เรียนให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีค่านิยมที่ดีงาม และปลูกฝั ง
ความเป็ นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ตลอดจน
การส่งเสริมและเป็ นแบบอย่างให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเนื่องในวันสำคัญ
ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับศาสนาที่ตนนับถือ สถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งที่
โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้ผู้
เรียนเกิดความมั่นใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ เพื่อค้นหา
ความถนัดและความชอบของตน โดยคำนึงถึงความปลอดภัยและความสุข
ของผู้เรียนเป็ นสำคัญ
ผู้เรียนมีความตั้งใจ เคารพในกฎกติกาข้อตกลงของสายชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย มีวินัยในและส่งงานที่คุณครูมอบหมายมีสมาธิใน
การเรียน เคารพในสถานบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

https:// https://
anyflip.com/umjxt/ anyflip.com/umjxt/
sojk/ ioku/
ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการจัดข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน
และรายวิชา การดำเนินการตามระบบดุแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติ
งาน วิชาการ และงานอื่น ๆของสถานศึกษา และการประสานความร่วม
มือกับผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ
2.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
ข้าพเจ้ามีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
ให้เป็ นปั จจุบันเพื่อใช้ในการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนในชั้นเรียน เก็บข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน (แบบบันทึกผลการเรียน
รู้ที่คาดหวัง) รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 31201) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4

เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ในรายวิชา แก้ไขปั ญหา และ


พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียน ได้รับการ
กำกับ ติดตามจากครูผู้สอนจากข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน (แบบบันทึก
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค 31201) ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4
https://anyflip.com/
umjxt/cukz/

2.2 การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
ข้าพเจ้าดำเนินการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็ นระบบ โดย
ประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปั ญหาผู้เรียน
รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล วิเคราะห์
สังเคราะห์ ข้อมูลของผู้เรียน ตลอดจนออกเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อจัดทำ
และใช้สารสนเทศของผู้เรียนรายบุคคล
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียน ได้รับการ
กำกับ ติดตามจากครูผู้สอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ตามระบบดูแลช่วย
เหลือผู้เรียน

https://anyflip.com/
umjxt/brfh/

https://anyflip.com/
umjxt/muos/

https://anyflip.com/
umjxt/wufk/

2.3 การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา ผู้


เรียนได้รับการแก้ไขและ
พัฒนาทั้งด้านวิชาการคุณลักษณะอันพึงประสงค์รวมทั้งทักษะและ
สมรรถนะที่สำคัญ
2.4 การประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและ
หรือสถานประกอบการ
ข้าพเจ้าใช้หลักกัลยาณมิตร และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทุกกลุ่ม ทุกเพศและทุกวัย จึงได้รับการยอมรับจากผู้
บริหารโรงเรียน ผู้ร่วมงาน เด็ก ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป อีกทั้งมี
ความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ มีบุคลิกภาพที่ดี มีความสามารถประสานงาน มี
เหตุผลสามารถแก้ปั ญหาต่างๆ ได้ มี
เทคนิคการพูด ชักชวน เสนอแนะ ให้กำลังใจ ทำงานร่วมกับผู้อื่นโดย
สามารถวางตัวในการเป็ นผู้นำ ผู้ตามและเป็ นผู้ให้ ผู้รับ ที่ดีมีหลักในการ
ทำงาน มีความบริสุทธิ์ยุติธรรมและทำงานอย่างโปร่งใส ปราศจากอคติยึด
ประโยชน์ของเด็ก และส่วนรวมเป็ นที่ตั้ง จึงประสบความสำเร็จในการ
ทำงานเป็ นทีมได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง เป็ นแบบอย่างที่ดี
ต่อผู้ปกครอง และนักเรียน
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการดูแล
ให้คำแนะนำจาการประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและผู้
ปกครองผ่านเครือข่ายผู้ปกครองห้องเรียน
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้
ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ
การนำความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
มาใช้ในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การจัดการเรียนรู้
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
3.1 การพัฒนาตนเองอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง
ข้าพเจ้าได้พัฒนาตนเองอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ด้วยรูป
แบบและวิธีการที่หลากหลายเพื่อให้มีความรู้ความสามารถทักษะ โดย
เฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทย และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน เป็ น
แบบอย่างที่ดี
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้รับการ
พัฒนาจากครูผู้สอนที่ผ่านการศึกษาหาความรู้และการอบรมจากทั้งหน่วย
งานภายในและหน่วยงานภายนอก
3.2 การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้
ข้าพเจ้าได้ เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Plc SciMath เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของครูในกลุ่มมาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียน ได้รับการ
พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนผู้เรียน ได้รับการพัฒนาคุณภาพ
การเรียนการสอนจาก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนา
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนแบบ
PRACHAK เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปั ญหา สำหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4
. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่
เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK เพื่อเสริมสร้างทักษะ
การแก้ปั ญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
3.1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีความพึงพอใจต่อการ
เรียนรูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK เพื่อเสริมสร้างทักษะการ
แก้ปั ญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการ
จัดการเรียนแบบ PRACHAK เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปั ญหา สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
3.2.2 ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีความพึงพอใจต่อการ
เรียนรูปแบบการจัดการเรียนแบบ PRACHAK เพื่อเสริมสร้างทักษะการ
แก้ปั ญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
https://anyflip.com/
umjxt/eniw/

ลงชื่อ
(นายประจักษ์
พัฒนพงษ์ศักดิ์ )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู
ชำนาญการพิเศษ
ผู้จัดทำข้อตกลงในการ
พัฒนางาน (PA)

You might also like