You are on page 1of 10

หลักสูตร

รายงานการประเมินผลการใช้
การปรับปรุง และการพัฒนา
หลักสูตรโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
พ.ศ. 2563
ตามสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566


โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
อำเภอบ้านนา จังหวัด
นครนายก
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
ปราจีนบุรี นครนายก

หลักสูตร 04

แบบประเมินผลการใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” พ.ศ.


2563
ตามสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง 2560)
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปราจีนบุรี นครนายก

ชื่อผู้ประเมิน/ นางสาววิมลพันธ์ ทรายทอง


ตำแหน่ง ครู
สอนรายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 , 4/4 , 4/5 , 5/2
และ 5/5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

คำชี้แจง
1. แบบประเมินผลฉบับนี้ เป็ นแบบประมาณค่า 3 ระดับ พร้อม
บันทึกเสนอแนะแบ่งเป็ น 3 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา
ตอนที่ 2 การนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2. ให้ผู้ที่รับผิดชอบดำเนินการประเมินแล้วกรอกข้อมูลตามที่กำหนด
3. ระดับคุณภาพ ให้เขียนเครื่องหมายถูก (√) ลงในช่องระดับคุณภาพ
ดังนี้
ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ครบถ้วน ถูกต้อง สอดคล้อง เหมาะ
สม ทุกรายการ
ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ครบทุกรายการ แต่มีบางรายการควร
ปรับปรุงแก้ไข
ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ไม่มี หรือมีไม่ครบทุกรายการ ไม่
สอดคล้องต้องปรับปรุงแก้ไขหรือเพิ่มเติม
4. การแปลผลข้อมูลดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50 หมายถึง ปรับปรุง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.40 หมายถึง ดี
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.41 – 3.00 หมายถึง ดีมาก
5. ข้อมูลที่ได้จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียน
การสอนของครู
-1-
ตอนที่ 1 องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา

ผลการ
รายการ ประเมิน ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
3 2 1
1. ส่วนนำ 

1.1 ความนำ
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตร
แกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบหลักสูตร
ระดับท้องถิ่นจุดเน้น และความต้องการของ
โรงเรียน
1.2 วิสัยทัศน์
แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของ
ผู้เรียนที่สอดคล้อง กับวิสัยทัศน์
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551 อย่างชัดเจน สอดคล้อง
กับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ครอบคลุม
สภาพความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ท้อง
ถิ่น มีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้
1.3 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกน

กลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551
1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 

มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกน
กลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับเป้ าหมาย
จุดเน้น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ของโรงเรียน
2. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 

2.1 โครงสร้างเวลาเรียน
มีการระบุเวลาเรียนตลอดหลักสูตร
จำนวน 8 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ที่เป็ นเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่ม
เติมจำแนกแต่ละชั้นปี อย่างชัดเจน ระบุเวลา
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจำแนกแต่
ละชั้นปี อย่างชัดเจน เวลาเรียนรวมของ
หลักสูตรสถานศึกษา
สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2.2 โครงสร้างหลักสูตร 

มีการระบุรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา
เพิ่มเติม ระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา
พร้อมทั้งระบุเวลาเรียน และ/หรือหน่วยกิต มี
การระบุ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมทั้งระบุเวลา
เรียนไว้อย่างถูกต้อง ชัดเจน รายวิชาเพิ่มเติม
/ กิจกรรมเพิ่มเติมที่กำหนดสอดคล้องกับวิสัย
ทัศน์ จุดเน้นของโรงเรียน

-2-

ผลการ
รายการ ประเมิน ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
3 2 1
3. คำอธิบายรายวิชา 
มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และชื่อ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นปี ที่สอน จำนวน
เวลาเรียน และ/หรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน การเขียนคำอธิบายรายวิชาได้เขียน
เป็ นความเรียงโดยระบุ
องค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และ
คุณลักษณะหรือเจตคติที่
ต้องการและครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการเรียน
รู้แกนกลาง ระบุรหัสตัวชี้วัด ในรายวิชา
พื้นฐานและจำนวนรวมของตัวชี้วัดและ
ระบุผลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิ่มเติมและ
จำนวนรวม
ของผลการเรียนรู้ถูกต้อง มีการกำหนดสาระ
การเรียนรู้ท้องถิ่น สอดแทรกอยู่ในคำอธิบาย
รายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม
4. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาและ
โครงสร้างหลักสูตร ได้ระบุกิจกรรม
และจัดเวลา สอน ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้อง

กับบริบทของโรงเรียน
มีการจัดทำโครงสร้างและแนวการจัดกิจกรรม
แนวทางการวัด
และประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทั้ง 3
กิจกรรมที่ชัดเจน
5. เกณฑ์การจบการศึกษา 

ระบุเวลาเรียน/หน่วยกิต ทั้งรายวิชาพื้น
ฐานและรายวิชา
เพิ่มเติมตามเกณฑ์การจบการศึกษาของ
โรงเรียน ชัดเจน ระบุเกณฑ์
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ไว้อย่างชัดเจน ระบุ
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ไว้อย่างชัดเจน
ระบุเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้
อย่างชัดเจน

-3-

ตอนที่ 2 การนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรระดับ


กลุ่มสาระการเรียนรู้)

ผลการ
รายการ ประเมิน ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
3 2 1
1. โครงสร้างรายวิชา 

1.1 การจัดกลุ่มมาตรฐานการเรียนรู้/ตัว
ชี้วัด
จัดกลุ่มมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่มีความ
สัมพันธ์กันและเวลา ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
เหมาะสม
1.2 การจัดทำสาระสำคัญ/ความคิดรวบ 
ยอด
ได้วิเคราะห์แก่นความรู้ของทุกตัวชี้
วัดในแต่ละหน่วย การเรียนรู้ มา
จัดทำสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ชัดเจน
เหมาะสมและครบทุกหน่วยการเรียนรู้
1.3 การตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ของ
แต่ละหน่วยการเรียนรู้
สะท้อนให้เห็นสาระสำคัญ หรือ

ประเด็นหลักในหน่วย การเรียนรู้
นั้นๆ น่าสนใจเหมาะสมกับวัย ความสนใจ
ความสามารถของผู้เรียน
1.4 การกำหนดสัดส่วนเวลาเรียน
กำหนดสัดส่วนเวลาเรียนแต่ละ

หน่วยการเรียนรู้ เหมาะสม และรวมทุกหน่วย
ต้องเท่ากับเวลาเรียนตามหลักสูตร
1.5 การกำหนดสัดส่วนน้ำหนัก
คะแนน
กำหนดสัดส่วนน้ำหนักคะแนนแต่ละ 
หน่วยการเรียนรู้
เหมาะสม/ภาคเรียนเท่ากับ 100 คะแนน
2. หน่วยการเรียนรู้
2.1 การวางแผนจัดทำหน่วยการเรียน
รู้

มีการวางแผนออกแบบหน่วยการ
เรียนรู้ครบทุกหน่วย
การเรียนรู้ และทุกกลุ่มสาระฯ
2.2 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : การ
กำหนดเป้ าหมาย
กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้
วัด สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการ 
เรียนรู้ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ถูกต้อง เหมาะสม
มีความสอดคล้องกัน
2.3 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : การ 
กำหนดหลักฐานการเรียนรู้
กำหนดชิ้นงาน /ภาระงาน การวัด
และประเมินผลสอดคล้องกับตัวชี้วัดและ
มาตรฐานการเรียนรู้

-4-

ผลการ
รายการ ประเมิน ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
3 2 1
2.4 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ :
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ได้ 
สอดคล้องกับตัวชี้วัด/
มาตรฐานและเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
3. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาอย่างยั่งยืน
3.1 มีการนิเทศการใช้หลักสูตรสถาน 
ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีการประเมินการใช้หลักสูตรสถาน

ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
3.3 ผลการประเมินการใช้หลักสูตร
สถานศึกษา

มาวางแผนในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
อย่างต่อเนื่อง

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ
....................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
........
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................

You might also like