You are on page 1of 5

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

2551 และได้ก ำหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆ เพือ่ ให้สถาน
ศึกษานำไปใช้เป็ นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนจัดการเรี ยนการสอน
และออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้เพือ่ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ ความสามารถ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั ที่ก ำหนดให้ พร้อมทั้งดำเนินการวัดประเมินผล
การเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผลสำเร็ จตามเป้ าหมาย
ของการปฏิรูปการศึกษาไทย
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการสำคัญของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงเป็ นภารกิจสำคัญยิง่ ของการจัดการศึกษา
เพราะหลักสูตรสถานศึกษาจะเป็ นตัวกำหนดแนวทางปฏิบตั ิที่ผสู้ อนต้องดำเนินการจัดการเรี ยน
การสอนให้บรรลุเป้ าหมายของหลักสูตรบนพื้นฐานของการประกันคุณภาพที่ดี ขั้นตอนการนำ
หลักสูตรการศึกษาไปปฏิบตั ิจริ งในชั้นเรี ยนของครู ผสู้ อน จึงจัดเป็ นหัวใจสำคัญของการพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รี ยนให้บรรลุตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร
เพื่อช่วยให้การปฏิบตั ิภารกิจดังกล่าวของครู ผสู้ อนรายวิชาต่างๆ ตามที่จดั ทำไว้ใน
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา มีความเป็ นเอกภาพและได้มาตรฐานการปฏิบตั ิงานที่สอดคล้อง
กับหลักการสำคัญของหลักสูตรแกนกลางฯ บริ ษทั อักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จำกัด จึงจัดทำคู่มือครู
และแผนการจัดการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน รายวิชาสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 (ฉบับอนุญาต) เพือ่ แบ่งเบาภารกิจของผูส้ อน โดยจัดทำเป็ นหน่วยการ
เรี ยนรู ้อิงมาตรฐานและออกแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ
(Backward Design) ที่มุ่งเน้นวิธีการประกันคุณภาพผูเ้ รี ยน ช่วยให้ผปู้ กครองและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมัน่ ใจในผลการประเมินคุณภาพของผูเ้ รี ยนที่
ตรวจสอบได้ และมีหลักฐานยืนยันผลการเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ
คณะผูจ้ ดั ทำหน่วยการเรี ยนรู ้อิงมาตรฐาน ได้ด ำเนินการวางแผนและออกแบบการจัดการ
เรี ยนรู ้ตามรู ปแบบที่สำนักวิชาการและเทคโนโลยีการศึกษา (สวก.) กำหนดขึ้น เพื่อเป็ นแนวทาง
การจัดทำหน่วยการเรี ยนรู ้ให้เป็ นเอกภาพเดียวกันตามองค์ประกอบต่อไปนี้
องค์ ประกอบของหน่ วยการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน

หน่ วยการเรียนรู้ที่
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ชั้น เวลาเรียน ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วดั

2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด

3. สาระการเรี ยนรู้
3.1 สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรี ยนรู้ทอ้ งถิ่น (ถ้ามี)

4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

6. ชิ้นงาน / ภาระงาน

7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรี ยน
(ทำแบบทดสอบก่ อนเรี ยน ประจำหน่ วยการเรี ยนรู้ ...)
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
7.3 การประเมินหลังเรี ยน
(ทำแบบทดสอบหลังเรี ยน ประจำหน่ วยการเรี ยนรู้ ...)
7.4 การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)

8. กิจกรรมการเรี ยนรู้

9. สื่ อ / แหล่งการเรี ยนรู้


องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ชั้น
เรื่อง เวลาเรียน ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด

2. ตัวชี้วดั / จุดประสงค์การเรี ยนรู้

3. สาระการเรี ยนรู้
3.1 สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรี ยนรู้ทอ้ งถิ่น (ถ้ามี)

4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

6. กิจกรรมการเรี ยนรู้

7. การวัดและการประเมินผล

8. สื่ อ / แหล่งการเรี ยนรู้

ผูส้ อนสามารถนำคู่มือครู และแผนการจัดการเรี ยนรู ้อิงมาตรฐานเล่มนี้ ไปเป็ นคูม่ ือ


วางแผนจัดการเรี ยนรู ้ และประกอบการใช้หนังสื อเรี ยนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 (ฉบับอนุญาต) ที่ทางบริ ษทั จัดพิมพ์จ ำหน่าย เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน
ให้มีคุณภาพและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานตัวชี้ วดั ของหลักสูตรแกนกลางฯ ได้
อย่างมัน่ ใจ นอกจากนี้ ยงั ส่งเสริ มให้ระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรี ยนมีความแข็งแกร่ ง
และมีมาตรฐานสามารถตรวจสอบหลักฐานผลการเรี ยนรู ้ได้ท้ งั ระดับชั้นเรี ยนและระดับสถาน
ศึกษา อันเป็ นผลมาจากการจัดกระบวนการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิภาพของผูส้ อนนัน่ เอง
นอกจากนี้ ผูส้ อนยังสามารถนำข้อมูลจดบันทึกผลการใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละ
แผนไปศึกษา และวิเคราะห์ปัญหาผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยน เพื่อเป็ นแนวทางพัฒนานวัตกรรม
การเรี ยนรู ้ และจัดทำวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน (Classroom Action Research) พร้อมทั้งจัดทำ
รายงานผลการปฏิบตั ิงานในแต่ละปี การศึกษา เพือ่ รองรับการประเมินคงสภาพหรื อเลื่อนระดับ
คศ. ในด้านคุณภาพการปฏิบตั ิงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยนได้อย่างเป็ นระบบ ส่ งผลให้ผเู้ รี ยนมี
คุณภาพ ผูส้ อนมีคุณภาพ และสถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาอย่างแท้จริ ง

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
หน้ า

 การพัฒนาศักยภาพการคิดของผู้เรียน พิเศษ 1
 คำอธิบายรายวิชา พิเศษ 5
 โครงสร้ างรายวิชา พิเศษ 6
 ตารางโครงสร้ างแผนการจัดการเรียนรู้ พิเศษ 9
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของศาสนา 1-30
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 หลักธรรมของศาสนา 31-58
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรี ยนรู ้สิ่งที่ดี 59-78
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ศาสนิกชนที่ดี 79-103
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 104-125
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 6 สิ ทธิเด็ก 126-148
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 7 วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 149-176
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 8 การปกครองส่ วนท้องถิ่น 177-198
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 ปัจจัยการผลิตสิ นค้าและการบริ การ 199-223
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 10 เศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ์ 224-250
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 11 ธนาคารและการกูย้ มื เงิน 251-276
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 12 ภูมิศาสตร์น่ารู ้ 277-301
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 13 มนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม 302-330

You might also like