You are on page 1of 42

แผนกิจกรรมการศึกษา

ชุด 23721 การวิจัยการบริหารการศึกษา


(Research in Educational Administration)

แขนงวิชาบริหารการศึกษา
สาขาวิชาศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ภาคการศึกษาที่ 2/2565
1

คำนำ

แผนกิ จ กรรมการศึ ก ษาชุ ด วิ ช าการวิ จ ั ย การบริ ห ารการศึ ก ษานี ้ เป น เอกสารสำคั ญ สำหรั บ
นั กศึ กษาระดั บ บั ณฑิ ต ศึ กษา แขนงวิช าบริห ารการศึก ษา สาขาวิช าศึกษาศาสตร เนื่องจากในระบบ
การเรี ย นการสอนทางไกลนั ก ศึ ก ษาต อ งศึ ก ษาหาความรู  ด  ว ยตนเองเป น ส ว นใหญ ดั ง นั ้ น แผน
กิจกรรมการศึกษาฉบับนี้จึงเปนคูมือแนะแนวการประกอบกิจกรรมการเรียนของนักศึกษา ตลอดภาค
การศึ ก ษาที ่ 2/2565 นั ก ศึ ก ษาต อ งศึ ก ษาแผนกิ จ กรรมการศึ ก ษาประจำชุ ด วิ ช าฉบั บ นี ้ ก  อ นดำเนิ น
กิ จ กรรมการเรี ย น เพื ่ อจะได ทราบถึงรายละเอีย ดตาง ๆ ไดแก โครงสรางของเนื้อหาชุดวิช าการวิจัย
การบริหารการศึกษา การเตรียมตัวของนักศึกษา การดำเนินการศึกษา งานที่กำหนดใหทำ การสงงาน การ
เสนอผลงาน การประเมินผลการเรียน การสัมมนาเสริม ตารางการศึกษาชุดวิชา ตารางการเรียนประจำ
สัปดาห และแบบฟอรมรายงาน
สำหรับรายละเอียดของกิจ กรรมการดำเนินการศึ กษา คณะกรรมการกลุมผลิตและบริห ารชุ ด
วิ ช าการวิ จ ั ย การบริ ห ารการศึ ก ษา ได พ ิ จ ารณากำหนดให ส อดคล อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค ข องชุ ด วิ ช า
ดังนั้น จึงขอใหนักศึกษาไดปฏิบัติตามอยางครบถวน เพื่อจะไดประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงคของชุด
วิชานี้

คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา
21 มกราคม 2566
2
สารบัญ

หนา
คำนำ
สารบัญ
ปฏิทินการศึกษา
1. รายละเอียดชุดวิชา
1.1 วัตถุประสงค 4
1.2 คำอธิบายชุดวิชา 4
1.3 รายชื่อหนวยการสอน 5
1.4 โครงสรางเนื้อหาของชุดวิชา 6
2. วิธีการศึกษา
2.1 การเตรียมตัวของนักศึกษา 7
2.2 การดำเนินการศึกษา 8
2.3 งานที่กำหนดใหทำ 8
2.4 การสงงาน 13
2.5 การเตรียมเสนอผลงาน 13
2.6 การประเมินผลการเรียน 14
2.7 การสัมมนาเสริมและสัมมนาเขม 14
ภาคผนวก ก
- กิจกรรมเสริมความเปนผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา 17
“การเปนบุคคลแหงการเรียนรู”
ภาคผนวก ข
- ตารางการศึกษาชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา ภาค 2/2565 24
- ตารางการศึกษาแขนงวิชาการบริหารการศึกษา 27
- ตารางการสัมมนาเสริม 28
- ตารางการสัมมนาเขม 29
- แบบฟอรมปกรายงาน 30
ภาคผนวก ค
- แนวทางการพัฒนาโครงการวิจัย 32
3

ปฏิทินการศึกษา
ภาคการศึกษาที่ 2/2565
สัมมนาเสริมครั้งที่ 1 วันที่ 8-9 เมษายน 2566
สัมมนาเสริมครั้งที่ 2 วันที่ 27-28 พฤษภาคม 2566
สัมมนาเขม วันที่ 23-25 มิถุนายน 2566
สอบไลวันอาทิตยที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 9.00-12.00 น.
(ตรวจสอบลวงหนาประมาณ 2 อาทิตยกอนสอบ)

หมายเหตุ วันสัมมนาเสริม/เขม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได โปรดตรวจสอบ


กำหนดการ/กอนสัมมนาเสริม/เขม ทาง website สาขาวิชาศึกษาศาสตร
รายละเอียดแผนกิจกรรม (http://www.stou.ac.th/Schools/Sed/home/)
หรือสอบถามไดทางโทรศัพท เบอร 02-504-8505-6 , 089-4421824
4
ชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา
Research in Educational Administration

1. รายละเอียดชุดวิชา
1.1 วัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาสามารถ
1. อธิบายแนวคิด และประเภทการวิจัยทางการบริหารทางการศึกษาได
2. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัย
ผสมวิธีได
3. ประยุ กต ใช ร ะเบีย บวิธ ีว ิจ ัย เพื่อพัฒ นาองคความรูและวิช าชีพทางการบริห ารทาง
การศึกษาได
4. วิเคราะห วิพากษ และประเมินคุณภาพงานวิจัย รวมทั้งประยุกตใชงานวิจัยเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษาได
5. ประยุกตใชแนวคิดและหลักการการประเมินโครงการทางการบริหารการศึกษาและ
บริหารจัดการประเมินโครงการได
6. สามารถปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในการวิจัย

1.2 คำอธิบายชุดวิชา
23721 ชุดวิชา การวิจัยการบริหารการศึกษา (6 หนวยกิต)
(Research in Educational Administration)
แนวคิดการวิจัยการบริหารการศึกษา การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการ
วิจัยผสมวิธีทางการบริหารการศึกษา ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับ การกำหนดปญหาเพื่อการวิจัย การ
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ การเขียนโครงการวิจัย การกำหนดวัตถุประสงค การตั้งสมมติฐาน การเลือก
กลุมตัวอยาง การสรางเครื่องมือ การเก็บรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล การสรุปผลและการเขียนรายงาน
การวิจัย และการเสนอผลการวิจัย ประเภทการวิจัยทางการบริหารการศึกษาและที่เกี่ยวของ ซึ่งครอบคลุม
เนื้อหาเกี่ยวกับการวิจัยเชิงนโยบาย การวิจัยสถาบัน การวิจัยเชิงอนาคต การวิจัยและพัฒนา การวิจัย
ปฏิบัติการแบบมีสวนรวม การประเมินและบริหารจัดการประเมินโครงการ การประเมินและวิพากษคุณภาพ
งานวิจัยทางการบริหารการศึกษา และการประยุกตหลักการและระเบียบวิธีวิจัยเพื่อการพัฒนาคุ ณภาพ
การศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพ รวมทั้งการมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในการวิจัย
5
ความตองการเบื้องตนการศึกษาชุดวิชานี้ นักศึกษาจำเปนตองมีพื้นฐานดานการวิจัย
สถิติเบื้องตน และการประเมินผลการศึกษาเทียบเทาชุดวิชาสถิติ วิจัย และการประเมินผลการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมากอน

1.3 รายชื่อหนวยการสอน
หนวยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยการบริหารการศึกษา
หนวยที่ 2 วิธีวิทยาการวิจัยบริหารการศึกษา
หนวยที่ 3 การวิจัยเชิงนโยบายและการวิจัยสถาบัน
หนวยที่ 4 การวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
หนวยที่ 5 การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม
หนวยที่ 6 การวิจัยอนาคต
หนวยที่ 7 การประเมินและการบริหารจัดการประเมินโครงการ
หนวยที่ 8 การคนควาและการนําเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวของ
หนวยที่ 9 การออกแบบการวิจัย
หนวยที่ 10 การวางแผนการวิจัยและการพัฒนาโครงการวิจัย
หนวยที่ 11 เทคนิควิธีและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล
หนวยที่ 12 การวิเคราะหและแปลผลขอมูล
หนวยที่ 13 การเขียนรายงานและนำเสนอผลการวิจัย
หนวยที่ 14 การประเมินเชิงวิพากษคุณภาพงานวิจัย
หนวยที่ 15 การประยุกตใชประโยชนจากการวิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การพัฒนาวิชาชีพ
6

1.4 โครงสรางเนื้อหาของชุดวิชา

หนวยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยการ
1. แนวคิดและวิธีการวิจัย
บริหารการศึกษา
การบริหารการศึกษา หนวยที่ 2 วิธวี ิทยาการวิจัยบริหารการศึกษา

หนวยที่ 3 การวิจัยเชิงนโยบายและการวิจัยสถาบัน
หนวยที่ 4 การวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
หนวยที่ 5 การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม
2. ประเภทการวิจัยการ
หนวยที่ 6 การวิจัยอนาคต
บริหารการศึกษา หนวยที่ 7 การประเมินและการบริหารจัดการ
ประเมินโครงการ
ชุดวิชาการวิจัย
การบริหาร หนวยที่ 8 การคนควาและการนําเสนอวรรณกรรมที่
การศึกษา เกี่ยวของ
3. กระบวนการสำคัญในการ หนวยที่ 9 การออกแบบการวิจัย
หนวยที่ 10 การวางแผนการวิจัยและการพัฒนา
วิจยั การบริหารการศึกษา
โครงการวิจัย
หนวยที่ 11 เทคนิควิธีและเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมขอมูล
หนวยที่ 12 การวิเคราะหและแปลผลขอมูล
หนวยที่ 13 การเขียนรายงานและนำเสนอ
ผลการวิจัย

4. การใชประโยชนจากงาน หนวยที่ 14 การประเมินเชิงวิพากษคุณภาพงานวิจัย


หนวยที่ 15 การประยุกตใชประโยชนจากการวิจัยเพื่อ
วิจัยทางการบริหารการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการ
พัฒนาวิชาชีพ
7
2. วิธีการศึกษา
2.1 การเตรียมตัวของนักศึกษา
2.1.1 วางแผนศึกษาชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา
1) จัดทำตารางการศึกษาตลอดปการศึกษาที่ 2/2565 (ตามแบบในภาคผนวก)
2) ทำตารางเรียนประจำสัปดาห (ตามแบบในภาคผนวก)
3) ประมวลกิจกรรมที่ตองทำ
- ศึกษาสื่อหลัก คือ ประมวลสาระชุดวิชาและแนวการศึกษาของชุดวิชาการวิจัย
การบริหารการศึกษาจำนวน 15 หนวยโดยใชเวลาศึกษาประมาณ 12 ชั่วโมงตอสัปดาห
- ศึกษาคนควาเอกสารเพิ่มเติมตามที่ระบุไวในประมวลสาระหรือแนวการศึกษา
แตละหนวย
- ทำแบบประเมินผลกอนเรียน เพื่อสำรวจความรูของตนเองกอนศึกษาแตละ
หนวย และทำแบบประเมินผลหลังเรียน ภายหลังจากศึกษาเนื้อหาในหนวยนั้น ๆ จบแลว
- ทำกิจกรรมทายตอนตามที่กำหนดไวในแนวการศึกษาและตรวจสอบคำตอบจาก
แนวการศึกษา
2.1.2 จัดสภาพแวดลอมทางการเรียน
1) การเตรียมกาย
- รักษาสุขภาพใหแข็งแรง
- ทำใหรางกายสดชื่น
- แบงภารกิจประจำวัน ใหเวลาศึกษาชุดวิชาไดอยางนอยวันละ 2 ชั่วโมง และ
แบงเวลาสำหรับการศึกษาคนควาเอกสารเพิ่มเติมตามที่กำหนด
2) การเตรียมใจ
- ทำจิตใจใหสบายแจมใส ขจัดความขุนมัวใหหมดสิ้น
- มีสมาธิในการศึกษา
- ทำจิตใจใหเขมแข็งตอสูความยากของชุดวิชาใหได
- จัดหาสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการศึกษาชุดวิชา
- เตรี ย มอุ ป กรณ ป ระกอบการศึ ก ษาให พ ร อ ม เช น ประมวลสาระ
แนวการศึกษา ดินสอ ปากกา กระดาษ เครื่องคอมพิวเตอร และเครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน
8
2.2 การดำเนินการศึกษา
ในการดำเนินการศึกษาชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษานั้น ขอเสนอแนะวานักศึกษาควร
ดำเนินกิจกรรมดังตอไปนี้
2.2.1 ศึกษาและดำเนินกิจกรรมตามแผนกิจกรรมการศึกษา
2.2.2 ทำแบบประเมินผลตนเองกอนเรียนในหนวยที่ตองการศึกษาจากแนวการศึกษาและ
ตรวจแนวคำตอบจากแนวการศึกษา
2.2.3 ศึกษาประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษาโดยเริ่มดังนี้
- ศึกษาแผนหนวย
- ศึกษาแผนตอน
- ศึกษาเนื้อเรื่อง
- ทำกิจกรรมทายตอน
- ศึกษาแผนตอน ตอนตอไป
- ทำแบบประเมินผลตนเองหลังเรียนในแนวการศึกษาและตรวจสอบแนวการตอบ
2.2.4 ศึกษาคนควาเพิ่มเติม
2.2.5 ทำกิจกรรมหรืองานที่มอบหมายใหทำตามที่ระบุไวในแนวการศึกษา
2.2.6 เขารวมการสัมมนาเสริมออนไลนของชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษาตามวันเวลาที่
มหาวิทยาลัยกำหนด
2.2.7 เขาสอบออนไลน ประจำภาคการศึกษาที่ 2/2565 ตามวัน เวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด

2.3 งานที่กำหนดใหทำ
นักศึกษาตองจัดพิมพรายงานทุกชิ้น (จำนวนทั้งหมด 7 ฉบับ) ลงในกระดาษขนาด A4 และมี
ใบปะหนารายงานตามแบบที่กำหนดในภาคผนวก รายละเอียดของงานที่กำหนดใหทำมีดังนี้
2.3.1 งานที่นำเสนอในการสัมมนาเสริมครั้งที่ 1 ประกอบดวยรายงาน จำนวน 3 ฉบับ ดังนี้
รายงานฉบับที่ 1 ใหนักศึกษาอานและทำความเขาใจเนื้อหาสาระของหนวยที่ 1-5 ของ
ประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา แลวตอบคำถามตอไปนี้ (ความยาวประมาณ 5 หนา)
1) นักศึกษาเขาใจความสัมพันธระหวางทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติ อยางไร
2) การวิจัยเกี่ยวกับผูบริหารมีขอบเขตและเนื้อหาสาระที่ควรทำการวิจัยในประเด็น
ใดบ า ง ใหน ั กศึ กษานำเสนอหั วข อการวิ จ ัย (Research Topic) เกี่ยวกับผูบริหารมาสัก 2 เรื่องที่เห็นว า
เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน พรอมทั้งอธิบายแนวทางการวิจัยมาใหทราบดวย (เชน ศึกษาอะไร กับใคร
อยางไร เปนตน) โดยตอบอยางคราว ๆ
9
3) วิ เคราะห ความเหมื อนและความแตกต าง รวมทั ้ งประโยชน ทางการบริ หาร
การศึกษาของการวิจัยใน 3 ลักษณะ ตอไปนี้
-การวิจัยเชิงนโยบาย
-การวิจัยสถาบัน
-การวิจัยอนาคต

รายงานฉบับที่ 2 ใหนักศึกษาศึกษาจัดทำรายงานสรุปความคิด (Concept paper) ที่


คาดวาจะทำเปนวิทยานิพนธหรือการศึกษาคนควาอิสระตามที่นักศึกษาสนใจ โดยใหรายละเอียดตามหัวขอ
ตอไปนี้อยางคราว ๆ (ความยาวประมาณ 5 หนา)
1) ชื่อหัวขอการวิจัย
2) เหตุผลที่เลือกวิจัยในหัวขอเรื่องนี้
3) วัตถุประสงคของการวิจัย
4) กรอบแนวคิดในการวิจัย (ควรแสดงใหเห็นวา ตัวแปรสัมพันธกันอยางไร มี
แนวคิด/ทฤษฎีอะไรรองรับกรอบแนวคิดนี้)
5) วิธีการวิจัย (ควรระบุวา ศึกษากับใคร ที่ไหน อยางไร)
6) ความสำคัญหรือประโยชนของการวิจัย

ขอเสนอแนะ ในการทำรายงานฉบับบที่ 2 ใหมีคุณภาพ นอกจากนักศึกษาตองอาน


ทำความเขาใจกับหนวยที่เกี่ยวของแลว นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติมจากเอกสารตำรา
ทางการวิ จ ั ย พื ้ น ฐาน ทั ้ งในรูป แบบสิ่งพิมพ หรือคน ควาจากสื่ออิเล็ กทรอนิ ค ส
โดยเฉพาะอยางยิ่ง การศึกษาวิธีการทำวิจัยจากวิทยานิพนธทางการบริหารการศึกษา
ที่มีคุณภาพ ไมนอยกวา 3 เลม
“There is no way to get experience except through experience.”

รายงานฉบับที่ 3 ใหนักศึกษาจัดทำกิจกรรมเสริมความเปนผูบริหารสถานศึกษา/
ผูบริหารการศึกษา ดาน “การเปนบุคคลแหงการเรียนรู” โดยดำเนินการ 2 กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 ใหนักศึกษาฟง/รับชมการอภิปรายหรือบรรยายทางวิชาการ
จากรายการวิทยุ โทรทัศน สื่อสังคมออนไลน โดยมีความยาวของเนื้อหาประมาณ 1-2 ชั่วโมง หรืออาน
บทความในวารสารที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษาที่มีความยาวประมาณ 10- 15 หนา ทั้งนี้ควรเปน
10
กิจกรรมหรือบทความที่มเี นื้อหาทันสมัย (hot issue) แลวเขียนรายงานลงในสมุดบันทึกกิจกรรมเสริมความ
เปนผูบริหารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษา ใหครอบคลุมทุกขอตอไปนี้ (ดูในภาคผนวก ก)
1) ชื่อหัวขอ/หัวเรื่องการอภิปราย/การบรรยาย/บทความ
2) ชื่อผูอภิปราย/ผูบรรยาย/ผูเขียน
3) วัน เดือน ป เวลาและสถานที่ที่จ ัดอภิป ราย/บรรยาย/แหลงของ
บทความ
4) สรุปสาระสำคัญของการอภิปราย/การบรรยาย/บทความที่อาน
5) ขอคิดหรือประโยชนที่ไดรับ
6) การนำสิ่งที่ไดไปประยุกตใชในการทำงาน
7) การศึกษาคนควารายละเอียดของเนื้อหาสาระทางวิชาการที่ไดรับ
เพิ่มเติม โดยสรุปพอสังเขป
กิจกรรมที่ 2 ใหนักศึกษาเขารวมการประชุมทางวิชาการระดับชาติและ/หรื อ
ระดับนานาชาติที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษา (การประชุมเผชิญหนาหรือการประชุมแบบออนไลน)
แลวเขียนรายงานลงในสมุดบันทึกกิจกรรมเสริมความเปนผูบริหารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษา ให
ครอบคลุมทุกขอตอไปนี้ (ดูในภาคผนวก ก)
1) ชื่อการประชุมทางวิชาการระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ
เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษา
2) ชื่อผูจัด หรือหนวยงานที่จัดการประชุมทางวิชาการ
3) วันเดือนป เวลาและสถานที่ที่เขารวมการประชุมทางวิชาการ
4) หัวขอเรื่อง และวัตถุประสงคของการประชุม
5) สาระสำคัญที่ไดจากการประชุมในเชิงเนื้อหา
6) การนำสิ่งที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตและหรือการทำงาน

หมายเหตุ สำหรับรายงานฉบับที่ 3 เปนกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะความเปนผูนำ ดาน“การเปนบุคคลแหงการ


เรียนรู”ตามมาตรฐานบัณฑิตที่คุรสุ ภากำหนด ใหนักศึกษาดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนดและจัดทำเปนรายงาน
เสนอตออาจารยประจำกลุม ในการสัมมนาเขม โดยจัดพิมพเปนรายงานดวยฟอนต TH SarabunPSK เบอร 16
ตามรูปแบบที่กำหนดในภาคผนวก ก แตละกิจกรรมใหมคี วามยาวประมาณ 5 หนากระดาษ A4 และจัดสงอาจารย
ประจำกลุมที่นักศึกษาเขารวมการสัมมนาเขม จำนวน 1 ชุด
11

2.3.2 งานที่นำเสนอในการสัมมนาเสริมครั้งที่ 2 ประกอบดวยรายงาน จำนวน 2 ฉบับ ดังนี้


รายงานฉบับที่ 4 ใหนักศึกษาอานและทำความเขาใจเนื้อหาสาระของหนวยที่ 6-10 ของ
ประมวลสาระชุดวิชาการวิจั ยการบริหารการศึ กษา และใหนักศึกษาเลือกวิทยานิพนธส าขาวิช าบริ ห าร
การศึกษามาจำนวน 1 เรื่องที่มีการดำเนินการวิจัยมาแลวไมเกิน 5 ป เพื่อเปนขอมูลประกอบการตอบ
คำถามในขอ 1-4 (ความยาวรวมประมาณ 10 หนา) โดยมีประเด็นคำถามดังนี้
1) วิทยานิพนธทางการบริหารการศึกษาที่นักศึกษาเลือกมาศึกษาเปนงานวิจัยที่
มีความเหมือนและความแตกตางจากการศึกษาวิจัยใน 2 ลักษณะตอไปนี้อยางไร
(1) การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม
(2) การประเมินโครงการ
2) การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของในการวิจัย หมายถึงอะไร มีวัตถุประสงค
เพื่ออะไร มีความสำคัญสำหรับใครบาง และอยางไร (หมายถึงการใชประโยชน) นอกจากนี้ วิทยานิพนธที่
นักศึกษาไดเลือกไวจำนวน 1 เรื่อง ไดมีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของไวอยางไร เขาขายการนำเสนอ
วรรณกรรมที่เกี่ยวของที่มีคุณภาพหรือไมอยางไร (ตอบคำถามใหครบ)
3) การออกแบบการวิจัยหมายถึงอะไร และมีขอบขายครอบคลุมประเด็นสำคัญ
อะไรบาง และแตละประเด็นหมายถึงอะไร และจากวิทยานิพนธที่นักศึกษาเลือกมาเปนตัวอยางนั้น ไดมีการ
ออกแบบการวิจัยอยางไร และนักศึกษาคิดวามีความเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด (กรุณาตอบโดยศึกษา
และวิเคราะหงานวิทยานิพนธบทที่ 1-3 อยางละเอียด)
4) เครื่องมือการวิจัยมีกี่ประเภท อะไรบาง และจากวิทยานิพนธดานบริหาร
การศึกษาที่นักศึกษาเลือกมาเปนตัวอยาง ไดกำหนดเครื่องมือในการวิจัยอะไรไวบาง และมีขั้นตอนที่สำคัญใน
การสรางและพัฒนา พรอมทั้งตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัยอยางไร

รายงานฉบับที่ 5 ใหนักศึกษาจัดทำโครงรางการวิจัย (Research outline) ในหัวขอ


เรื่องหรือประเด็นที่นักศึกษาคาดวา จะจัดทำเปนวิทยานิพนธหรือการศึกษาคนควาอิสระตามที่ไดนำเสนอ
มาแลวในการสัมมนาเสริมครั้งที่ 1 (ทั้งนี้อาจมีความยืดหยุนตามความเหมาะสม) มาจัดทำเปนโครงรางการวิจัย
ที่มีความสมบูรณและครอบคลุมองคประกอบตอไปนี้ (ความยาวประมาณ 10 หนา)
1) ชื่อเรื่องหรือหัวขอที่จะวิจัย
2) เหตุผลในการเลือกทำวิจัยเรื่องนี้
3) วัตถุประสงคของการวิจัย
4) กรอบแนวคิดในการวิจัย
12
5) นิยามศัพท (ตัวแปรที่สำคัญ โดยอธิบายพอสังเขป พรอมอางอิงแนวคิด/ทฤษฎี
หรืองานวิจัยที่นักศึกษาคาดวาจะนำมาใชศึกษาตัวแปรสำคัญ)
6) วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (ใหระบุประเด็นที่นักศึกษาจะตองศึกษา ซึ่งเปนการวาง
Outline ของบทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ เพื่อใหไดกรอบแนวคิดในการวิจัย และนิยามตัวแปรที่สำคัญ
ทั้งนี้เสนอแนะใหนักศึกษาศึกษาจากวิทยานิพนธที่เกี่ยวของกับเรื่องที่นักศึกษาสนใจจะศึกษาวิจัยประมาณ
3-5 เลม)
7) วิธีการวิจัย ใหระบุอยางคราว ๆ ในประเด็นตอไปนี้
- ประชากร/กลุมตัวอยาง/ผูใหขอมูล
- เครื่องมือที่ใชวัดตัวแปร
- การวิเคราะหขอมูล
8) การนำผลการวิจัยไปใชประโยชน

2.3.3 งานที่นำเสนอในการสัมมนาเขม มีจำนวน 2 ฉบับ


รายงานฉบับบที่ 6 ใหนักศึกษาเลือกบทความวิจัยทางการบริหารการศึกษามา 1 บทความที่มี
ความยาวประมาณ 10-12 หนา จากวารสารวิชาการของสถาบันการศึกษาตาง ๆ (ใหแนบบทความวิจ ัยมา
พรอมรายงาน) แลวดำเนินการดังนี้
1) อ านวิ เคราะห และนำเสนอการประเมิ นเชิ งวิ พากษ บทความวิ จ ั ยดั งกล าว
ตามหลักการที่ไดเสนอไวใน หนวยที่ 14 การประเมินเชิงวิพากษคุณภาพงานวิจัย โดยแบงออกเปน 2 สวน
ดังนี้
ส ว นที ่ 1 สรุ ป ภาพรวมของงานวิ จ ั ย (Review of the Study) มี ความยาว
ประมาณ 1 หนา (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร ผลเปนอยางไร)
ส วนที่ 2 วิ เคราะห เชิ งวิ พากษ งานวิ จ ั ย มี ความยาวประมาณ 1 หน า ให
ขอคิดเห็นดวยวา งานวิจัยดังกลาวจะเปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางไร

รายงานฉบับที่ 7 ใหนักศึกษาเสนอโครงการวิจัย (Research proposal) โดยการพัฒนา


จากโครงรางการวิจัย (Research outline) ที่ไดนำเสนอในการสัมมนาเสริมครั้งที่ 2 (รายงานฉบับที่ 5) ให
ครอบคลุมองคประกอบของโครงการวิจัย ดังตอไปนี้ (ความยาวประเมาณ 10-12 หนา)
1) ชื่อเรื่องหรือหัวขอที่จะวิจัย
2) ความเปนมาและความสำคัญของปญหา (ตองมีการอางอิง)
3) วัตถุประสงคของการวิจัย
13
4) สมมติฐานการวิจัย (ถามี)
5) กรอบแนวคิดในการวิจัย
6) นิยามศัพท (ตัวแปรที่สำคัญ โดยอธิบายพอสังเขป)
7) วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (เนนการ Review ตาม Outline ของบทที่ 2 เพื่อให
ไดมาซึ่งกรอบความคิดในการวิจัยและตัวแปรสำคัญ ซึ่งควรมีเนื้อหาพอสังเขป)
8) วิธีดำเนินการวิจัย (ควรระบุประเภทหรือลักษณะการวิจัย ประชากร/กลุม
ตัวอยาง/ผูใหขอมูล เครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล และการวิเคราะหขอมูล)
9) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
10) บรรณานุกรม (ใชแบบฟอรมของ APA Style 6th ed. ตามที่ มสธ. กำหนด)

ขอเสนอแนะ ในการทำรายงานฉบับที่ 7 ใหนักศึกษาอานบทความ แนวทางการพัฒนาโครงการวิจัย โดย


ศาสตราจารย ดร.สุวิมล วองวานิช ในเอกสารเพิ่มเติมซึ่งอยูในภาคผนวก ค ประกอบการทำรายงาน

2.4 การสงงาน
2.4.1 รายงานฉบับที่ 1-2 สงอาจารยสัมมนาเสริมประจำกลุมกอนการสัมมนาเสริมครั้งที่ 1
โดยรายงานฉบับที่ 2 นักศึกษาจะตองเตรียมนำเสนอดวย PowerPoint
2.4.2 รายงานฉบับที่ 4-5 สงอาจารยสัมมนาเสริมประจำกลุมกอนการสัมมนาเสริมครั้งที่ 2
โดยรายงานฉบับที่ 5 นักศึกษาจะตองเตรียมนำเสนอดวย PowerPoint
2.4.3 รายงานฉบั บ ที ่ 3-6-7 สงอาจารยส ัมมนาเขมประจำกลุมก อนการสัมมนาเขม โดย
รายงานฉบับที่ 7 นักศึกษาจะตองเตรียมนำเสนอดวย PowerPoint

2.5 การเตรียมเสนอผลงาน นักศึกษาควรเตรียมเสนอผลงานที่กำหนดในการสัมมนาแตละครั้งดังนี้


2.5.1เตรียมสื่อประกอบการรายงาน เชน PowerPoint เปนตน
2.5.2 เตรียมประเด็นสำหรับเสนอที่ประชุมดวยวาจา เพื่อการอภิปราย
2.5.3 เตรี ย มตอบประเด็น คำถามของอาจารยและเพื่อนนักศึกษาที่เขารวมสัมมนาเสริม
นักศึกษามีเวลาในการเสนอรายงานคนละประมาณ 10-15 นาที พรอมทั้งอภิปราย และตอบขอซั กถาม
คนละประมาณ 10-15 นาที
14
2.6 การประเมินผลการเรียนชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา มีรายละเอียดดังนี้
2.6.1 การเขารวมและมีสวนรวมในการสัมมนาเสริมสองครั้ง แตละครั้งมีคะแนนคิดเปนรอยละ
20 รวม 2 ครั้ง คิดเปนรอยละ 40 โดยการสัมมนาแตละครั้งประกอบดวย
1) การประเมินรายงานทางวิชาการ (รอยละ 12) พิจารณาจากการนำหลักการทางระเบียบ
วิธีการวิจัย และทฤษฎีที่เกี่ยวของมาใชอยางเหมาะสม การแสดงความคิดริเริ่มสรางสรรคอยางเหมาะสม
(ความคิดริเริ่มแปลกใหม ไมลอกเลียนผูอื่น) ความสมบูรณและความถูกตองของเนื้อหาสาระของรายงาน
ความชัดเจนของการเขียนรายงาน (การเสนอเรื่อง การใชภาษา การใชแผนภูมิ/ภาพประกอบ) ตลอดจน
ความเหมาะสมของรูปแบบการเขียนรายงาน (ความเหมาะสมในการจัดเคาโครงเรื่อง การอางอิง และรูปแบบ
การจัดทำรายงาน)
2) การเขารวมปฏิสัมพันธ (รอยละ 8) พิจารณาจากความชัดเจนของการนำเสนอรายงาน
ดวยภาษาพูด และการมีสวนรวมเสนอความคิดเห็นตอกลุม
2.6.2 การเขารวมและมีสวนรวมในการสัมมนาเขม (รอยละ 30) ประกอบดวย
1) การประเมินรายงานทางวิชาการ (รอยละ 18)
2) การเขารวมปฏิสัมพันธ (รอยละ 12)
2.6.3 การสอบไลคิดเปนรอยละ 30 เปนขอสอบอัตนัยแบบตอบยาวใชเวลา 3 ชั่วโมง
สรุป ดังตารางตอไปนี้
รายงานทางวิชาการ การรวมปฏิสัมพันธ รวม
ครั้งที่ 1 12 8 20
ครั้งที่ 2 12 8 20
การสัมมนาเขม 18 12 30
สอบไล 30 100

2.7 การสัมมนาเสริม และสัมมนาเขม


2.7.1 การสัมมนาเสริม นักศึกษาตองเขาสัมมนาเสริม 2 ครั้ง ๆ ละ 12 ชั่วโมง โดยการสัมมนา
ออนไลน
2.7.2 การสัมมนาเขม นักศึกษาตองเขารวมสัมมนาเขม ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตั้งแต
เวลา 9.00 น. ถึงเวลา 21.00 น. ยกเวนวันสุดทายจะปดการอบรมประมาณ 16.30 น.
15
1) การเตรียมตัวกอนการสัมมนา
นักศึกษาที่เขารวมสัมมนาจะตองสงรายงานฉบับที่ 3 ฉบับที่ 6 และฉบับที่ 7 พรอม
ทั้งเตรียมงานที่จะเสนอตอที่ประชุมกลุมยอยตามที่คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชากำหนด คือ การ
จัดทำโครงการวิจัย (Research Proposal) โดยมีหัวขอตามที่กำหนดในรายงานฉบับที่ 7
2) กิจกรรมระหวางการสัมมนา ในระหวางการสัมมนาเขมมีกิจกรรมดังนี้
(1) การบรรยายหรืออภิปราย โดยผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับการวิจัย เชน ความสัมพันธ
ระหวางหัวเรื่อง วัตถุประสงค กรอบแนวคิด และเครื่องมือการวิจัย การสืบคนเอกสารที่เกี่ยวของกับงานวิจัย
การวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสำเร็จรูป เปนตน
(2) การเสนอผลงาน นักศึกษาจะตองนำโครงการการวิจัยที่จัดทำเรียบรอยมาเสนอ
โดย PowerPoint ที่เตรียมมา โดยใชเวลาในการเสนอประมาณ 15 นาที พรอมทั้งรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับ
อาจารยและนักศึกษาในชั้นเรียน
(3) การวิ จ ั ย ภาคปฏิ บ ั ต ิ เพื ่ อ เป น การส ง เสริ ม การดำเนิ น การวิ จ ั ย ที ่ ถ ู ก ต อ ง
คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชาฯ ไดกำหนดใหมีกิจกรรมภาคปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการใชโปรแกรม
สำเร็จรูปในการวิเคราะหขอมูลในงานวิจัย และวิธีสืบคนเอกสารที่เกี่ยวของกับงานวิจัย รวมทั้งวิทยานิพนธ
และดุษฎีนิพนธจากฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สำคัญทั้งในและตางประเทศ


16

ภาคผนวก ก
17
กิจกรรมเสริมความเปนผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา
“การเปนบุคคลแหงการเรียนรู”
วัตถุประสงค
เมื่อศึกษากิจกรรม “การเปนบุคคลแหงการเรียนรู” แลว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายความหมายและความสำคัญของการเปนบุคคลแหงการเรียนรูได
2. ปฏิบัติตนเปนบุคคลแหงการเรียนรูได
สาระสำคัญ
ผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา ถือเปนบุคคลสำคัญในการทำใหองคการเจริญกาวหนา
และบรรลุผลสำเร็จ โดยใชภาวะผูนำจูงใจใหบุคคลในองคกรทำงานตามวัตถุประสงค โดยเฉพาะภาวะผูนำ
แหงการเรียนรูมีอิทธิพลตอการสรางองคการแหงการเรียนรู โดยมีคุณลักษณะ ในการเปน “บุคคลแหงการ
เรียนรู” และมีพฤติกรรมที่เกิดจากการฝกตนเองในดานทักษะพื้นฐาน ซึ่งไดแก ทักษะการฟง ทักษะการพูด
ทักษะการอาน ทักษะการเขียน ทักษะการคิด และทักษะการปฏิบัติ
เนื้อหา
ความหมายของ “บุคคลแหงการเรียนรู”
บุคคลแหงการเรียนรู คือ ผูที่มีคุณลักษณะนิสัยใฝรู ใฝเรียน มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึง
ความกระตือรือรนสนใจเสาะแสวงหาความรูอยูเสมอ มุงมั่นที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรูและสามารถ
นำความรูไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสม
ความสำคัญของการเปนบุคคลแหงการเรียนรู
การประกอบวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษาซึ่งเปนอาชีพที่ตองอาศัย
ความคิดขั้นสูง การทำงานที่เปนระบบ และตองมีทักษะการทำงานขั้นสูงในเรื่องตาง ๆ เชน การวางแผนการ
จั ด การเรี ย นรู  การจั ดการเรี ย นรู การแกป ญ หา ฯลฯ ผูบ ริห ารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษาจึง
จำเปนตองเปนบุคคลที่ใฝหาความรูอยูเสมอและมีการวิเคราะห สังเคราะหเพื่อนำความรูไปประยุกตใชใน
การทำงานอยางเหมาะสม และพรอมนำเสนอหรือแสดงผลการทำงานที่มีประสิทธิภาพตอแวดวงวิชาชีพ
ผูบริหารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษาอยางสม่ำเสมอ
แนวปฏิบัติเพื่อเปนบุคคลแหงการเรียนรู
แนวปฏิบัติเพื่อเปนบุคคลแหงการเรียนรู สามารถทำไดโดยการฝกตนเองในดานทักษะ
พื้นฐาน ซึ่งไดแก
1) ทักษะการฟง เปนการรับกรองขอมูลขาวสารเพื่อบริโภคอยางพิจารณา ผูบริหาร
สถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษาจึงตองหมั่นรับฟงขอมูลขาวสารอยางกวางขวางแตตองใชวิจารณญาณใน
การนำขอมูลขาวสารมาใชประโยชนในทางวิชาชีพ
18

2) ทักษะการพูด เปนการแสดงออกใหเห็นถึงแนวทางที่ตนคิดผูบริหารสถานศึกษาหรือ
ผูบริหารการศึกษาตองหมั่นฝกพูดใหชัดเจนตรงประเด็นมีสาระประโยชนอยูเสมอ
3) ทักษะการอาน เปนการรวบรวมสติเพื่ออานใหเขาใจรับทราบขอมูลอยางถูกตอง
ผูบริหารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษาตองหมั่นอานขอมูลขาวสารและเอกสารตางๆที่เกี่ยวของกับ
วิชาชีพครูอยูเสมอ
4) ทักษะการเขียน เปนการถายทอดความรู ความคิด ทัศนคติ และความรูสึกออกมาเปน
ลายลักษณอักษรใหผูอื่นเขาใจผูบริหารสถานศึกษาหรือผูบริหารการศึกษาตองหมั่นฝกการเขียนสื่อสารอยาง
มีประสิทธิภาพอยูเสมอ
5) ทักษะการคิด เปนการคาดคะเนเหตุการณที่จะสามารถควบคุมการกระทำของตนและ
มีวิจารณญาณตอการเรียนรู การตัดสินใจและการแสดงพฤติกรรมผููบริหารการศึกษาบริหารสถานศึกษา
หรือผตองตระหนักถึงความสำคัญของการหมั่นคิด คิดใหถูกวิธี คิดใหถูกตามครรลองครองธรรมอยูเสมอ
6) ทักษะการปฏิบัติ เปนการลงมือปฏิบัติกระทำอยางจริงจังเพื่อคนหาความจริงและ
สามารถสรุปอยางมีเหตุผลเพื่อนำไปประยุกตใชตอไป
19

สมุดบันทึก
กิจกรรมเสริมความเปนผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา
“การเปนบุคคลแหงการเรียนรู”

กิจกรรมที่ 1 ใหนักศึกษาฟงการอภิปราย/การบรรยายทางวิชาการจากรายการวิทยุ โทรทัศน สื่อสังคม


ออนไลน โดยมีความยาวของเนื้อหาประมาณ 1-2 ชั่วโมง หรืออานบทความในวารสารที่
เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษาที่มีความยาวประมาณ 10- 15 หนา แลวเขียนรายงานสรุป
ดังนี้

1) หัวขอ/หัวเรื่องการอภิปราย/การบรรยาย/รายการ/บทความที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษา คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) ผูอ ภิปราย/ผูบรรยาย/ผูเ ขียน ไดแก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) วันเดือนป เวลาและสถานที่ที่จัดอภิปราย/บรรยาย/แหลงของบทความ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4) สรุปสาระสำคัญของการอภิปราย/การบรรยาย/บทความที่อาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
20
5) ขอคิดที่ไดจากการอภิปราย/การบรรยาย/บทความที่อาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6) การนำสิ่งที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตและหรือการทำงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7) ผลการศึกษาคนควารายละเอียดของเนื้อหาสาระทางวิชาการเพิ่มเติมหลังจากการฟงอภิปราย/บรรยาย/
อานบทความเสร็จสิ้นลงแลว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ นักศึกษาควรบันทึกเนื้อหาสาระในกิจกรรมที่ 1 โดยมีความยาวประมาณ 5 หนากระดาษ A4


21
กิจกรรมที่ 2 ใหนักศึกษาเขารวมการประชุมทางวิชาการระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติเกี่ยวของกับ
การบริหารการศึกษา แลวเขียนรายงานสรุป ดังนี้

1) ชื่อการประชุมทางวิชาการระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติเกี่ยวของกับการบริหารการศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) ผูจัด/หนวยงานที่จัดการประชุมทางวิชาการ ไดแก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) วันเดือนป เวลาและสถานที่ที่เขารวมการประชุมทางวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4) หัวขอเรื่อง และวัตถุประสงคของการประชุม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5) สาระสำคัญที่ไดจากการประชุมในเชิงเนื้อหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
22
6) การนำสิ่งที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตและหรือการทำงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ นักศึกษาควรบันทึกเนื้อหาสาระในกิจกรรมที่ 2 โดยมีความยาวประมาณ 5 หนากระดาษ A4


พร อมแนบหลั กฐานที ่ แสดงว า นั กศึกษาไดเขารว มการประชุมทางวิช าการระดับ ชาติและ/หรือ ระดั บ
นานาชาติ (เชน ภาพถาย ประกาศนียบัตร เปนตน)
23

ภาคผนวก ข
24

ตารางการศึกษาชุดวิชา การวิจัยการบริหารการศึกษา (23721)


ภาคการศึกษาที่ 2/2565

สัปดาหท/ี่ วันที่ ชื่อหนวย กิจกรรมการศึกษา


1-2 หนวยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยการบริหาร 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 1
การศึกษา 2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
3 หนวยที่ 2 วิธีวิทยาการวิจัยบริหารการศึกษา 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 2
2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
4 หนวยที่ 3 การวิจัยเชิงนโยบายและการวิจัย 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 3
สถาบัน 2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
5 หนวยที่ 4 การวิจัยและพัฒนาคุณภาพ 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 4
การศึกษา 2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
6 หนวยที่ 5 การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 5
2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
4. เขารับการสัมมนาเสริมครั้งที่ 1
7 หนวยที่ 6 การวิจัยอนาคต 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 6
2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
8 หนวยที่ 7 การประเมินและการบริหารจัดการ 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 7
ประเมินโครงการ 2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
9 หนวยที่ 8 การคนควาและการนําเสนอ 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 8
วรรณกรรมที่เกี่ยวของ 2. ทำกิจกรรม
25
สัปดาหท/ี่ วันที่ ชื่อหนวย กิจกรรมการศึกษา
3. คนควา
10 หนวยที่ 9 การออกแบบการวิจัย 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 9
2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
11 หนวยที่ 10 การวางแผนการวิจัยและการพัฒนา 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 10
โครงการวิจัย 2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
4. เขารับการสัมมนาเสริมครั้งที่ 2
12 หนวยที่ 11 เทคนิควิธีและเครื่องมือในการเก็บ 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 11
รวบรวมขอมูล 2. ทำกิจกรรม
3. คนควา
13 หนวยที่ 12 การวิเคราะหและแปลผลขอมูล 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 12-
หนวยที่ 13 การเขียนรายงานและนำเสนอ 13
ผลการวิจัย 2. เขารับการสัมมนาเขม
14 หนวยที่ 14 การประเมินเชิงวิพากษคุณภาพ 1. ศึกษาประมวลสาระหนวยที่ 14-
งานวิจัย 15
หนวยที่ 15 การประยุกตใชประโยชนจากการ 2. เขารับการสัมมนาเขม
วิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การพัฒนาวิชาชีพ
15 หนวยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยการบริหาร 1. ทบทวนประมวลสาระหน ว ยที่
การศึกษา 1-2, 8-12
หนวยที่ 2 วิธีวิทยาการวิจัยบริหารการศึกษา
หนวยที่ 8 การคนควาและการนําเสนอ
วรรณกรรมที่เกี่ยวของ
หนวยที่ 9 การออกแบบการวิจัย
หนวยที่ 10 การวางแผนการวิจัยและการพัฒนา
โครงการวิจัย
26
สัปดาหท/ี่ วันที่ ชื่อหนวย กิจกรรมการศึกษา
หนวยที่ 11 เทคนิควิธีและเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมขอมูล
หนวยที่ 12 การวิเคราะหและแปลผลขอมูล
16 หนวยที่ 3 การวิจัยเชิงนโยบายและการวิจัย 1. ทบทวนประมวลสาระหนวยที่
สถาบัน 3-7
หนวยที่ 4 การวิจัยและพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
หนวยที่ 5 การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม
หนวยที่ 6 การวิจัยอนาคต
หนวยที่ 7 การประเมินและการบริหารจัดการ
ประเมินโครงการ
17 หนวยที่ 13 การเขียนรายงานและนำเสนอ 1. ทบทวนประมวลสาระหนวยที่
ผลการวิจัย 13-15
หนวยที่ 14 การประเมินเชิงวิพากษคุณภาพ
งานวิจัย
หนวยที่ 15 การประยุกตใชประโยชนจากการ
วิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การพัฒนาวิชาชีพ
23 ก.ค. 2566 สอบไล
27
ตารางการศึกษาแขนงวิชาบริหารการศึกษา ภาคการศึกษา 2/2565
สัปดาหที่............

เวลา
วัน

จันทร
อังคาร

พุธ

พฤหัส

ศุกร

เสาร

อาทิตย
28
ตารางการสัมมนาเสริม

ครั้งที่ เวลา 9.00-10.00 10.00-12.00 13.00-14.00 14.00-


วัน 16.00
วันเสาร - ปฐมนิเทศชุดวิชา สัมมนา เนื้อหาหนวยที่ 1-5
1 - ประเมินกอนเรียน - เสนอรายงานฉบับที่ 2
วันอาทิตย แนะนำงาน
เสนอรายงานฉบับที่ 2 (ตอ) และการอภิปรายซักถาม ในการ
สัมมนาเสริม
ครั้งที่ 2
2 วันเสาร สัมมนา สัมมนา เนื้อหาหนวยที่ 6-10
- ทบทวนแนวคิด - เสนอรายงานฉบับที่ 5
เกี่ยวกับการวิจัยการ
บริหารการศึกษา
(หนวยที่ 1-5)
วันอาทิตย ชี้แจงราย
เสนอรายงานฉบับที่ 5 (ตอ) และการอภิปรายซักถาม ละเอียดการ
สัมมนาเขม

หมายเหตุ 1. เวลา 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร


2. เวลาที่กำหนดใหในตารางวิทยากรสามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม
29
ตารางการสัมมนาเขม
การวิจัยการบริหารการศึกษา

เวลา 9.00-9.30 น. 9.30 -12.00 น. 13.00-15.00 น. 15.15-16.30 น. 18.30-21.00 น.


วัน
วันที่ 1 ประชุมรวม
- เปดการสัมมนา ประชุมกลุมยอย
- ชี้แจง - สัมมนาเนื้อหาหนวยที่ 11-15
- นำเสนอรายงานฉบับที่ 7
- ทบทวนเนื้อหาสาระและกระบวนการวิจัย

วันที่ 2 การประชุมเชิงปฎิบัติการสืบคนเอกสาร การประชุมเชิงปฎิบัติการ ประชุมกลุมยอย


ที่เกี่ยวของกับงานวิจัย การวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรม
สำเร็จรูป

วันที่ 3 การบรรยายพิเศษ ประชุมกลุมยอย - การสรุป


การพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย - ปดการสัมมนา

หมายเหตุ 1. เวลา 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร


2. เวลาที่กำหนดใหในตารางวิทยากรสามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม
30

แบบฟอรมปกรายงาน

สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แขนงวิชาบริหารการศึกษา
ชุดวิชา การวิจัยการบริหารการศึกษา

รายงานฉบับที.่ ......

เรื่อง.....................................

ภาคการศึกษา 2/2565

ชื่อนักศึกษา...................................
รหัสประจำตัว.................................

การสัมมนาเสริม/เขมออนไลน
วันที่......................................
31

ภาคผนวก ค
32
แนวทางการพัฒนาโครงการวิจัย
โดย ศาสตราจารย.ดร. สุวิมล วองวาณิช

การเสนอเนื ้ อหาสาระของบทความนี้ใหความสำคัญ กับ การพัฒนาโครงการวิจ ัย โดยนำเสนอ


องค ป ระกอบของข อ เสนอโครงการวิ จ ั ย ข อ บกพร อ งที ่ พ บบ อ ยและแนวทางการแก ไ ขในการเขี ย น
โครงการวิจัย ตั้งแตการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของเพื่อกำหนดหัวขอและกรอบความคิดของการวิจัย การเขียน
ความเปนมาและความสำคัญของปญหาวิจัย การกำหนดคำถามวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของ
การวิ จ ั ย ข อจำกั ดของการวิ จ ั ย ข อตกลงเบื้องตน นิย ามศัพทเฉพาะ ประโยชนที่ไดร ับ จากการวิจั ย
วิธีดำเนินการวิจัย

1. องคประกอบของขอเสนอโครงการวิจัย
รายละเอียดของหัวขอในขอเสนอโครงการวิจัยประกอบดวยสาระหลัก 3 สวน คือ สวนหนา สวน
เนื้อหา และสวนอางอิง ดังตอไปนี้
1. สวนหนา ประกอบดวย
1.1 ชื่อเรื่อง
1.2 ชื่อนักวิจัยหรือคณะนักวิจัย
1.3 ชื่อหนวยงาน สถานที่ทำงาน
1.4 ที่ปรึกษาโครงการ
1.5 สาขาวิชา
1.6 ปที่ทำวิจัย/ปงบประมาณ
2. สวนเนื้อหา ประกอบดวย
2.1 ความเปนมาของปญหาวิจัย
2.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
2.3 สมมติฐานการวิจัย (ถามี)
2.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย
2.5 ขอบเขตการวิจัย
2.6 ขอตกลงเบื้องตน
2.7 คำจำกัดความในการวิจัย
2.8 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ
33
2.9 วิธีดำเนินการวิจัย (แบบการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ตัวแปร เครื่องมือการวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และการวิเคราะหขอมูล)
3. สวนอางอิง ประกอบดวย
3.1 บรรณานุกรม
3.2 แผนการดำเนินงาน/ปฏิทินปฏิบัติงานวิจัย
3.3 งบประมาณ
3.4 ภาคผนวก (ถามี)

2. ขอบกพรองที่พบบอยในการเขียนโครงการวิจัยและแนวทางแกไข
2.1 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของเพื่อกำหนดหัวขอวิจัยและกรอบความคิดของการวิจัย
นักวิจัยควรพยายามทำความเขาใจประเด็นตาง ๆ ของการวิจัย รวมถึงคนควาและพัฒนา
ความคิดเกี่ยวกับประเด็นวิจัยที่สนใจ ทั้งนี้อาจมีการตั้งที่ปรึกษาโครงการวิจัยเพื่อทำหนาที่เปนผูอำนวย
ความสะดวก (facilitator) ในการชวยใหนักวิจัยมองเห็นทางเลือกตาง ๆ เปนผูใหคำแนะนำที่ดีที่นำเสนอ
มุมมองที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถกำหนดหัวขอโครงการวิจัยไดชัดเจนยิ่งขึ้น
งานสำคัญในชวงแรกของการกำหนดหัวขอวิจัยจึงเกี่ยวของกับการพัฒนากรอบแนวคิดในการ
วิจัย (concept paper) ซึ่งมีรายละเอียดของเนื้อหาสาระที่ประกอบการสังเคราะหเอกสารที่เกี่ยวของ ทั้ง
แนวคิดเชิงทฤษฎี รายงานผลการวิจัย และประเด็นวิจัยที่น ักวิ จัยสรุป ไดจ ากการสังเคราะหเ อกสารที่
เกี่ยวของกับการวิจัย รวมทั้งมีการตรวจสอบผลการสังเคราะหเอกสารที่เกี่ยวของ การจัดลำดับการนำเสนอ
ความคิด การแสดงเหตุผลเชื่อมโยงเพื่อนำเขาสูการกำหนดประเด็นวิจัย และการกำหนดกรอบความคิดของ
การวิจัยที่สมเหตุสมผล
ปญหาที่พบในการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยมีมากมาย แตขอยกตัวอยางขอบกพรอง
ที่พบบอยในงานวิจัยทั่วไป ซึ่งจำแนกเปนกลุมของขอบกพรองดังตอไปนี้
1) ความทันสมัยของเอกสาร/แหลงคน
การคนเอกสารที่เกี่ยวของเปนขั้นตอนแรกของการทำวิจัย แมวาในรายงานการวิจัยจะ
มีการนำเสนอเนื้อหาสวนนี้ในบทที่ 2 อาจกลาวไดวาฝมือของนักวิจัยสามารถประเมินไดจากการจัด ทำ
เอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย จากประสบการณในการวิจัยพบวางานวิจัยของนักวิจัยสวนใหญมีจุดออนใน
สวนนี้คอนขางมาก
ปญหาของนักวิจัยอยูที่มองขามความสำคัญของเอกสารที่อาน เอกสารที่นักวิจัยคนมา
มักไมคอยทันสมัย เนื่องจากไมไดทำการสืบคนใหม แตลอกมาจากเอกสารงานวิจัยอื่น นอกจากนี้ปญหาที่
พบบอย ไดแก การใชเอกสารอางอิงที่เกามาก
34
2) ประเภทของเอกสารที่อางอิง
นั ก วิ จ ั ย จำนวนไม น  อ ยที ่ ม ั ก อ า งอิ ง เอกสารที ่ เ ป น หนั ง สื อ ตำรา บทความจาก
หนังสือพิมพ บทความที่ถอดเทปจากคำบรรยาย ในเชิงวิชาการเอกสารเหลานี้มักเปนการนำเสนอมุมมอง
หรือแนวคิดของผูเขียน ไมใชเอกสารวิจัย การอางอิงเอกสารวิจัยจากวารสารวิชาการ จะทำใหงานวิจัยของ
นักวิจัยมีความนาเชื่อถือมากกวา เนื่องจากสิ่งที่นำเสนอไดผานกระบวนการตรวจสอบดวยกระบวนการวิจัย
แลว ไมใชมุมมองจากความรูสึกหรือความคิดสวนตัวของผูเขียน อยางไรก็ตาม ปญหาดังกลาวเกิดจาก
ขอจำกัดทางภาษาของนั กวิจ ัย ที่อานบทความวิชาการที ่ตี พิ มพ ในวารสารตางประเทศไม ได ทำใหผ ล
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของของนักวิจัยมีน้ำหนักเบา และสงผลใหการกำหนดกรอบความคิดของการวิจัยไม
มีเหตุผลหรือทฤษฎีรองรับ
3) การสังเคราะหเอกสาร
การจัดทำเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยสวนใหญจะไมไดสังเคราะห ภาษาที่ใชกันใน
กลุมนักวิจัย คือ การตัดแปะ นักวิจัยมักนำเอกสารโดยเฉพาะรายงานการวิจัยกอนหนามาเรียงตอกันตามป
พ.ศ. จากนอยไปมาก ปญหาในลักษณะนี้จะพบมากในการจัดทำเอกสารในสวนของการนิยามตัวแปรในการ
วิจัย ซึ่งมักจะใหนิยามโดยลอกความหมายของนักวิชาการแตละคนมาเรียงตอกัน แลวมีสรุปยอหนาสุดทาย
วานักวิจัยใหความหมายนิยามตัวแปรนั้นอยางไร โดยไมมีการเปรียบเทียบความเหมือนตางของนิยามที่ยกมา
กลาวถึง และไมมีเหตุผลรองรับการสรุปนิยามตามที่นักวิจัยระบุ
ขั้นตอนการสังเคราะหเอกสารที่ดี ตองมีการอาน จับประเด็น แลวจดบันทึกใจความ
สำคัญ โดยการจัดหมวดหมูความคิดใหเปนระบบ นำประเด็นสำคัญที่อยูในหมวดหมูเดียวกันจากเอกสาร
ฉบับ ตาง ๆ มาอยูดวยกัน แลวสรุปความเหมือนหรือตาง

2.2 การเขียนความเปนมาและความสำคัญของปญหาวิจัย
ปญหาที่พบในการเขียนสวนนี้ คือ การอธิบายหลักการสำคัญที่ไกลจากปญหาวิจัยมาก และมี
เอกสารแหลงคนที่ไมคอยสำคัญมากนัก เชน การเขียนอธิบายความเปนมาของการจัดทำพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ สาระเนื้อหาในกฎหมายการศึกษา ความสำคัญของการศึกษาที่มีตอการพัฒนาคุณภาพ
มนุษย เอกสารอางอิงเหลานี้มีจำนวนมาก และหาไดงาย ทำใหนักวิจัยเขียนอธิบายไดยาว แตเมื่อถึงตอนที่
ตองบอกเลาสภาพปญหา (problem situation) กลับพบวาเนื้อหาที่นำเสนอมีน้ำหนักเบา ไมมีแหลงขอมูล
อางอิงที่สำคัญ เชน การระบุวาปญหาที่เกิดขึ้นกับคุณภาพการจัดการศึกษาทุกวันนี้เปนเพราะคุณภาพของ
ครู ผูเขียนมักยกคำกลาวอางของนักการศึกษาดัง ๆ ของประเทศที่ปรากฏตามหนังสือพิมพหรือเอกสารตาง
ๆ ขอความเหลานี้จริง ๆ แลว เปนเพียงความรูสึกของผูพูด ซึ่งไมมีความหนักแนน การยกขอความสนับสนุน
35
เพื่อชี้ใหเห็นสภาพปญหาที่เกิดขึ้นหากมีการอางอิงแหลงคนจากรายงานผลการวิจัย หรือสถิติการศึกษาตาง
ๆ จะนาเชื่อถือมากกวา แตในสภาพจริงพบวานักวิจัยไมคอยมีการคนขอมูลประเภทนี้
นอกจากนี้การแสดงหลักฐาน ทฤษฎี หรือเหตุผลเพื่อสนับสนุนการกำหนดประเด็นวิจัยในสวน
นี้ก็พบวาเปนขอบกพรองที่พบมาก นักวิจัยไมสามารถหาเหตุผลอธิบายไดวาทำไมจึงตองการศึกษาใน
ประเด็นวิจัยนั้น ๆ สวนใหญจะระบุวา นักวิจัยสนใจจะศึกษา ……. และลงทายดวยประโยคที่ชี้ให เห็น
ความสำคัญของการศึกษาประเด็นนี้อีกประมาณ 1 – 2 ประโยค ดังนั้นการนำเสนอเนื้อหาในสวนนี้จึงไม
สมดุล คือมีการเขียนเนื้อหาสาระสวนที่เปนหลักการหรือเหตุผลยาวมาก บางคนยาวเปน 10 หนา แตระบุ
เนื้อหาสวนที่เปนสภาพปญหาประมาณ 1 หนา และสวนที่เปนประเด็นวิจัยที่จะศึกษาประมาณ 1 ยอหนา
หรือ 1 หนา และมักเปนการระบุประเด็นวิจัยที่ประกอบดวยตัวแปรที่ไมมีทฤษฎีรองรับ
การเขียนเนื้อหาในความเปนมาและความสำคัญของปญหาวิจัย มีหลักการสำคัญ คือ (1) การ
ระบุสภาพที่พึงประสงคหรือที่ตองการจะใหเปน ซึ่งถือวาเปนหลักการที่ใชในการวิจัยนั้น ๆ (2) การระบุ
สภาพที่เกิดขึ้นจริงในขณะนั้น สวนนี้ควรมีขอมูลสถิติ ผลการวิจัยสนับสนุน จะทำใหรายงานวิจัยดูนาเชื่อถือ
มากขึ้น (3) การชี้ใหเห็นถึงความแตกตางระหวางสภาพที่พึงประสงคกับสภาพที่เกิดขึ้นจริงซึ่งทำใหเกิด
ปญหา และจำเปนตองใชกระบวนการวิจัยในการแกไขปญหา หรือคนหาคำตอบเพื่อขจัดชองวางที่เกิดขึ้นให
หมดไป และ (4) การชี้ใหเห็นถึงความสำคัญของการศึกษาประเด็นวิจัยดังกลาววาจะเกิดประโยชนอะไรกับ
ใคร อยางไร

2.3 การกำหนดคำถามวิจัย
คำถามวิจัย (research questions) คือ ขอความที่เปนประโยคคำถาม ซึ่งแสดงใหเห็นถึงสิ่งที่
นักวิจัยตองการคนหาคำตอบ คำถามวิจัยและประเด็นวิจัย (research issues) มีความคลายคลึงกัน โดย
ประเด็นวิจัยอาจกำหนดเปนขอความที่เปนประโยคบอกเลาก็ได เชน นักวิจัยสนใจศึกษาประเด็นวิจัย
เกี่ยวกับ “รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมของนักเรียน” ผูอานสามารถเขาใจไดวาสิ่งที่นักวิจัยสนใจคือ การ
พัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณธรรม แตหากปรับเปนคำถามวิจัย จะทำใหมีความชัดเจนขึ้น เชน รูปแบบ
การพัฒนาคุณธรรมแบบบูรณาการมีลักษณะเชนใด ประกอบดวยองคประกอบอะไรบาง ผลการใชรูปแบบ
ดังกลาวสงผลใหผูเรียนมีคุณลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปอยางไร เปนตน
ข อบกพร องที ่ พบในรายงานวิจัย ของนักวิจ ัย คือ การกำหนดคำถามวิจ ั ย ในลักษณะของ
ข อ ความที ่ ร ู  ค ำตอบอยู  แ ล ว มี เ พี ย งนั ก วิ จ ั ย ที ่ ย ั ง ไม ร ู  ค ำตอบ เช น การสอนแบบบู ร ณาการคื อ อะไร
ประกอบดวย ขั้นตอนอะไรบาง จะจัดทำไดอยางไร ลักษณะของคำถามเหลานี้ สามารถหาคำตอบไดจาก
ตำราทั่วไป ไมใชคนหาจากการทำวิจัย
36
2.4 การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัย
นักวิจัยมักมีมโนทัศนที่คลาดเคลื่อนในการเขียนวัตถุประสงคของการวิจัย โดยการระบุสิ่งที่
เปนประโยชนจากการวิจัย หรือระบุผลการวิจัยที่ตองการอยากรู หรือระบุปญหาที่ตองการแกไขใหหมดไป
การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัยโดยแทจริงแลว ตองระบุกิจกรรมหรือกระบวนการที่นักวิจัยตองกระทำ
เพื่อใหไดขอมูลที่ตอบคำถามวิจัย

2.5 ขอบเขตของการวิจัย
นั กวิ จ ั ย มั กเขี ย นขอบเขตของการวิ จ ัย เป น สูต รตายตัว คื อ ประกอบดว ยเนื ้อ หาเกี่ ย วกั บ
ประชากร ตัวแปร และเครื่องมือวิจัย บางคนก็เขียนเปนวิธีดำเนินการวิจัยเหมือนบทที่ 3 (วิธีดำเนินการ
วิจัย) อยูภายใตหัวขอขอบเขตของการวิจัยดวย จริง ๆ แลวเนื้อหาในสวนนี้ควรประกอบดวยการชี้ใหเห็นถึง
ขอบเขตของการวิจัยวาจะครอบคลุมตัวแปรอะไรบาง ซึ่งควรสอดคลองกับกรอบความคิดของการวิจัย
(research framework) ควรมีการระบุเหตุผลที่คัดเลือกตัวแปรบางตัวที่นำเขามาศึกษาในกรอบความคิด
และเหตุผลที่ตัดตัวแปรบางตัวออกจากกรอบความคิด ไมควรระบุแตชื่อตัวแปรที่ศึกษาวาคืออะไรเทานั้น
แตตองขยายความใหเห็นแนวคิดเบื้องหลัง เพื่อใหผูอานรายงานวิจัยเขาใจวิธีคิดของนักวิจัยไดชัดเจน
สำหรับขอบเขตที่เกี่ยวกับประชากรนั้นก็เชนเดียวกัน นักวิจัยตองอธิบายวากลุมเปาหมายที่
เกี่ยวของจริง ๆ แลวครอบคลุมคนกลุมใด และในการวิจัยครั้งนั้นทำไมจึงจำกัดขอบเขตของการศึกษาเฉพาะ
กลุมนั้นเทานั้น เชน ทำไมจึงสนใจศึกษาเฉพาะนักเรียนในกรุงเทพมหานคร หรือทำไมจึงศึกษากับครูที่สอน
ระดับประถมศึกษาเทานั้น
สำหรับเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไมจำเปนตองปรากฏในขอบเขตของการวิจัย แตหากจะระบุ
รายละเอียด นาจะแสดงรายละเอียดของการกำหนดนิยามปฏิบัติการเกี่ยวกับตัวแปร มากกวาการอธิบาย
เกี่ยวกับวิธีการวัดตัวแปร

2.6 ขอจำกัดของการวิจัย
การระบุขอจำกัดของการวิจัยแสดงใหเห็นถึงความไมสมบูรณของการวิจัยในครั้งนั้น หัวขอนี้
อาจไมปรากฏในรายงานวิจัยก็ได หากนักวิจัยไดออกแบบการวิจัยอยางรัดกุมจนไมมีขอจำกัด หัวขอนี้มัก
เกิดขึ้นหลังจากทำวิจัยเสร็จแลว และนักวิจัยพบขอจำกัดในระหวางการทำวิจัย จึงนำมาเขียนใหผูอานทราบ
วาการวิจัยมีขอจำกัดอะไรบาง เกิดจากสาเหตุอะไร สามารถแกไขไดอยางไร หากแกไขไมได ทำใหสงผล
กระทบอะไรตามมา การเขียนขอจำกัดจึงมักไมปรากฏในชวงแรกของการนำเสนอโครงการวิจัย (proposal)
เนื่องจากหากนักวิจัยรูวาการวิจัยของตนเองจะมีขอจำกัดในเรื่องอะไรบาง ก็ตองหาทางกำจัด ปองกัน หรือ
แกไขกอนที่จะเกิดปญหานั้น
37
ขอจำกัดของการวิจัยหลายประการที่ไมสามารถรับไดในการวิจัย เชน กลุมตัวอยางไมตั้งใจให
ขอมูล ทำใหขอมูลในการวิจัยไมคอยนาเชื่อถือ หากระบุขอจำกัดเชนนี้เทากับวาผลการวิจัยนั้นเชื่อถือไมได
เลยตลอดเลม และไมสามารถนำไปใชประโยชนได
ขอจำกัดที่พออนุโลมได เชน กลุมตัวอยางมีขนาดนอยกวาที่กำหนดหรือเปนตัวแทนประชากร
ไดบางลักษณะ การวัดตัวแปรทำไดไมสมบูรณครบถวนตามนิยามที่ควรจะเปน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไม
เปนไปตามที่ควรจะเปนเนื่องจากขอจำกัดเรื่องเวลา หรืองบประมาณ หรือการไดรับความรวมมือจากกลุม
ตัวอยาง ทำใหไมสามารถจัดเก็บขอมูลไดตามที่ควรจะเปน ขอจำกัดเหลานี้ทำใหการวิจัยไมสมบูรณ แตก็
พอจะมีคุณคาในการนำไปใชประโยชนได เชน ในการวิจัยเรื่องหนึ่ง จริง ๆ แลวควรวัดความรูของครูดวย
แบบทดสอบ แตในทางปฏิบัติจริงไมสามารถกระทำได เพราะไมมีงบประมาณในการสรางเครื่องมือประเภท
นี้ และไมสามารถไปบริหารการทดสอบครูตามพื้นที่ตาง ๆ ได นักวิจัยจึงออกแบบการวิจัยโดยใชการวัด
ความรูของครูตามการรับรูแทน ซึ่งทำใหคุณภาพของขอมูลจะดอยกวาการวัดดวยแบบทดสอบ จึงทำใหเกิด
ขอจำกัดในการวิจัยนี้ แตก็พอจะอนุโลมไดหากคิดวาครูที่ใหขอมูลไดใหขอมูลตามสภาพจริงของตนเอง
เนื่องจากเปนวิธีการที่สามารถทำไดดีที่สุดภายใตสภาพเงื่อนไขนั้น ๆ

2.7 ขอตกลงเบื้องตน
ขอตกลงเบื้องตนของการวิจัยเปนสิ่งที่ไมตองพิสูจน แตจำเปนตองสรางความเขาใจใหตรงกัน
มิฉะนั้นจะทำใหเกิดขอจำกัดของการวิจัยได เชน การตกลงวาโรงเรียนทุกแหงที่เปนกลุมตัวอยางของการ
ทดลองมีคุณภาพเทาเทียมกัน พรอมทั้งอธิบายโดยใหเหตุผลวาทำไมจึงคิดวาเทาเทียมกัน หากไมทำการตก
ลงตามนี ้ ก อน และพบว า ในสภาพจริง คุณภาพของโรงเรีย นไมไดเทาเทีย มกัน คุณภาพโรงเรีย นก็จ ะ
กลายเปนตัวแปรแทรกซอน ทำใหสรุปผลการวิจัยไมได การสรางขอตกลงจึงขึ้นอยูกับกรอบความคิดของ
การวิจัย หากนักวิจัยสามารถออกแบบการวิจัยไดตามกรอบความคิด ก็อาจไมจำเปนตองมีขอตกลงใด ๆ ที่
ตองกำหนด ขอตกลงของการวิจัยแตละเรื่องจึงมีลักษณะเฉพาะ ไมสามารถกำหนดไดเหมือนกัน เพราะเปน
การศึกษาคนละประเด็นวิจัย และ/หรือคนละกรอบความคิด/ทฤษฎี แตบอยครั้งที่พบวานักวิจัยทุกคน
กำหนดขอตกลงเหมือนกัน ซึ่งเปนขอตกลงที่ไมคอยจำเปน เชน การสรางขอตกลงวากลุมตัวอยางมีความ
จริงใจในการตอบ กลุมตัวอยางมีลักษณะที่แทนประชากร เครื่องมือวิจัยมีคุณภาพเชื่อถือได ขอตกลงแบบ
นี้ทำใหการวิจัยกลับมีจุดออน เนื่องจากทำใหสงสัยวาผูใหขอมูลไมมีความจริงใจ กลุมตัวอยางไมไดแทนประ
ขากร เครื่องมือไมมีคุณภาพ นักวิจัยจึงตองรีบกำหนดเปนขอตกลงเสียกอน
38
2.8 นิยามคำศัพท
นิยามคำศัพทเปนสิ่งจำเปนที่ตองอธิบายใหผูอานเขาใจตรงกัน คำศัพทที่เอามานิยามควรเปน
คำสำคัญที่นักวิจัยใชในความหมายเฉพาะสำหรับการวิจัยนั้น หากเปนคำศัพทที่มีความหมายซึ่งเปนที่เขาใจ
ตรงกัน และในการวิจัยนั้นก็ไมไดมีการใชในความหมายอื่นที่ตางออกไป ก็ไมจำเปนตองนิยาม นักวิจัย
จำนวนมากมักใหนิยามความหมายของคำสำคัญ ในลักษณะของนิยามทั่วไป หรือนิยามตามทฤษฎี เชน
กำหนดนิยามวา การสอนแบบบูรณาการคุณธรรม หมายถึงอะไร นวัตกรรมคุณลักษณศึกษา หมายถึงอะไร
โดยการลอกนิยามที่ปรากฏในสวนของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของมาใสเลย นิยามแบบนี้ไมคอยจำเปน
เพราะผูอานจะเขาใจตั้งแตการอานความเปนมาและความสำคัญของปญหาแลววาคำเหลานี้หมายถึงอะไร
ตัวแปรหรือคำศัพทที่นาจะอธิบาย เชน ระดับการมีสวนรวมของพอแมผูปกครองในการ
พัฒนาคุณลักษณที่พึงประสงคของนักเรียน จริง ๆ แลว ตัวแปรตัวนี้เปนที่เขาใจตรงกันวาหมายถึงอะไร แต
นักวิจัยตองนิยามในเชิงปฏิบัติการวาในการวิจัยนี้กำหนดกิจกรรมอะไรบางที่จะหมายถึงการมีสวนรวม และ
จะวัดระดับของการมีสวนรวมจากกิจกรรมอะไร นักวิจัยแตละคนอาจกำหนดวิธีการวัดระดับการมีสวนรวม
ไมเหมือนกัน บางคนวัดจากปริมาณการเขาประชุมของผูปกครองเมื่อโรงเรียนทำบันทึกเชิญประชุม บาง
คนวัดจากปริมาณการเขารวมเปนกรรมการในการปฏิบัติงานของโรงเรียน
ปญหาอีกประการหนึ่งที่พบในการเขียนนิยามคำศัพท คือ การตัดคำสำคัญออกเปนสวน ๆ
เช น ความคิ ดเห็ น เกี ่ ยวกั บแนวทางการพัฒ นาคุณธรรม นักวิจ ัย มักใหน ิย ามเปน 2 คำ คำที่ห นึ่ง คือ
ความหมายของความคิดเห็น คำที่สอง คือ ความหมายของแนวทางการพัฒนาคุณธรรม เมื่อแยกคำเชนนี้
สาระสำคัญของตัวแปรจะหายไป และไมเกิดประโยชนตอการวิจัย ที่ถูกตองควรใหความหมายของคำทั้งคำ
คือ ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคุณธรรม โดยอาจใหความหมายวาในการวิจัยครั้งนี้ศึกษาความ
คิดเห็นในประเด็นใดบาง เชน ความคิดเห็นดานแนวทางการจัดกิจกรรม ความคิดเห็นดานระบบโครงสราง
การบริหารกิจกรรม ความคิดเห็นดานการประกันคุณภาพ และความคิดเห็นเหลานี้จะวัดออกมาเปนขอมูล
ไดอยางไร

2.9 ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย
ประโยชนของการวิจัยเปนสวนที่มีความสำคัญไมนอยกวาสวนอื่น แตกลับพบวานักวิจัยไม
สามารถอธิบายใหเห็นชัดเจนวาการวิจัยของตนเองมีประโยชนอะไรบาง ขอบกพรองที่พบคือ นักวิจัยมักจะ
เขียนจำนวนขอของประโยชนที่ไดรับจากการวิจัยตามจำนวนขอของวัตถุประสงคของการวิจัย โดยใช
ประโยคที่วา ทำใหทราบ .. ที่จริงตองขยายตอวาขอมูลที่ทราบทำใหเกิดประโยชนอะไร การทำวิจัยแลวทำ
ใหทราบแตเพียงขอคนพบตามวัตถุประสงคของการวิจัย โดยนักวิจัยเองไมสามารถระบุไดวาจะนำไปใช
ประโยชนอยางไร ชี้ใหเห็นวางานวิจัยนั้นอาจไมมีความสำคัญหรือไมมีคุณคา
39
ปญหาอีกประการหนึ่งที่พบในการเขียนประโยชนของการวิจัย คือ การคาดหวังสูงหรือมาก
เกินไปจากผลการวิจัยนั้น ๆ เชน การพัฒนารูปแบบการสอนแบบใหม ๆ แลวนักวิจัยเขียนประโยชนของการ
วิจัยวาทำใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ถือวาเปนวิธีการเขียนที่ไมเหมาะสม เพราะผลการวิจัย
อาจจะพบวาวิธีที่พัฒนาขึ้นไมไดทำใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงผลสัมฤทธิ์ การไดขอคนพบซึ่งไม
เปนไปตามที่คาดหวัง ไมไดหมายความวางานวิจัยนั้นจะไมมีประโยชน จริง ๆ แลว งานวิจัยมีประโยชนทุก
เรื่อง ไมวาผลวิจัยจะออกมาเปนเชนใดก็ตาม ไมวาผูเรียนจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นหรือไมก็ตาม แต
องคความรูจากการวิจัยนั้นก็ทำใหไดรูวาวิธีการที่พัฒนาขึ้นประสบผลเพียงใด

2.10 ขั้นการดำเนินการวิจัย
นักวิจัยตองคาดการณลวงหนาไดวาในการวิจัย จะมีปญหาอะไรเกิดขึ้นไดบาง และควร
คำนึงถึงประเด็นปญหานั้น ๆ เพื่อกำหนดแนวทางและวิธีดำเนินการวิจัยที่เหมาะสม สามารถแกไขปญหา
กอนที่จะเกิดขึ้นจริง และตอบคำถามวิจัยไดถูกตองสมบูรณ
1) การกำหนดตัวอยางที่ใชในการวิจัย
สิ่งที่เปนปญหาในขั้นตอนของการกำหนดขนาดตัวอยางและวิธีการไดมาซึ่งตัวอยางที่ใช
ในการวิจัย และเปนขอบกพรองที่พบบอยมาก คือการไมระบุลักษณะของประชากร (สำหรับการวิจัยเชิง
ปริมาณ) มีแตคำอธิบายเกี่ยวกับกลุมตัวอยาง นักวิจัยมักจะไมระบุที่มาของการกำหนดขนาดของกลุม
ตัวอยางที่ใชในการวิจัย
จุดเนนที่ควรตรวจสอบอยางมาก คือ การระบุลักษณะกลุมประชากรและการอธิบาย
ลักษณะและวิธีการเลือกกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยทั้งการวิจัยเชิงทดลอง และการวิจัยที่ไมใชเชิงทดลอง
เชน การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงบรรยาย การวิจัยเชิงคุณภาพ เปนตน ถาเปนการวิจัยที่ใชระเบียบวิธี
วิจัยเชิงทดลอง ควรอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการวางแผนการทดลอง กระบวนการทดลอง การจัดกลุม
ทดลองเพื่อใหกลุมเทียมกันกอนการทดลอง แตหากเปนการวิจัยที่ไมใชเชิงทดลอง ควรใหความสำคัญกับ
การเลือกกลุมตัวอยางวาเปนการเลือกแบบสุมหรือแบบเจาะจงโดยใชวิธีการเลือกแบบใด รวมทั้งควร
ตรวจสอบความเปนตัวแทนประชากรของกลุมตัวอยางที่สุมมา
2) การสรางเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สิ่งที่ตองระบุในงานวิจัยคือ การนิยามตัวแปรที่ตองการวัด การสรางเครื่องมือวิจัย การ
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล เครื่องมือวิจัยตองเชื่อถือไดและใหขอมูลที่ถูกตอง หาก
มีการยืมเครื่องมือนั้นจากหนวยงานอื่นหรือจากนักวิจัยอื่น ตองมีการแสดงหลักฐานการขออนุญาตการใช
เครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือซ้ำอีกครั้งวามีความเหมาะสมที่จะนำมาใชในงานวิจัยของตน
40
มากนอยเพียงใด สำหรับนักวิจัยที่สรางเครื่องมือขึ้นเอง ก็ควรแสดงคำอธิบายกระบวนการพัฒนาเครื่องมือ
และตัวอยางของเครื่องมือที่พัฒนาขึ้น
ขอบกพรองที่พบบอยในการสรางเครื่องมือวิจัย คือ การระบุแตคำอธิบายเกี่ยวกับการ
สรางเครื่องมือ แตไมคอยไดมีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ซึ่งทำใหขาดหลักฐานเชิงประจักษ ในขั้นตอน
นี้ ที่ปรึกษาโครงการวิจัยอาจชวยตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือขั้นตน กอนนำไปทดลองใช จุดเนนที่
สำคัญ คือ การตรวจสอบภาษาที่ใชและความครบถวนของเนื้อหาสาระ ซึ่งตองสอดคลองกับนิยามของตัว
แปรที่มุงวัด สำหรับการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยอาศัยผูเชี่ยวชาญนั้น ตองทำการตรวจสอบ
เอกสารต า ง ๆ ที ่ น ั กวิ จ ั ย เตรี ยมใหผ ูเชี่ยวชาญใชประกอบการพิจ ารณาเพื่อใหงายและสะดวกตอการ
ตรวจสอบของผูเชี่ยวชาญใหมากที่สุดและมิใหเปนภาระกับผูเชี่ยวชาญมากเกินไป ผูเชี่ยวชาญที่ทำการ
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ควรไดรับคำอธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบ นักวิจัยควรเตรียมนิยาม เตรียม
ตารางโครงสรางเนื้อหา (table of specification) และตารางแสดงวาขอคำถามแตละขอมุงวัดตัวแปรใด ไม
ควรใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบแตเพียงภาษาที่ใชอยางเดียว
3) การทำการศึกษานำรอง (pilot study)
การศึกษานำรองมีความจำเปนอยางมากในขั้นของการพัฒนาขอเสนอโครงการวิจัย
การศึกษานำรองเปนการศึกษาโดยใชกลุมตัวอยางจำนวนนอย เพื่อศึกษาผลที่ไดรับ เปนการศึกษาความ
เปนไปไดของการดำเนินงานกอนนำไปศึกษาจริง นักวิจัยควรมีการวางแผนการออกแบบการศึกษานำรอง
ขอมูลที่ไดจากการศึกษานำรองจะนำมาใชในการพัฒนาขอเสนอโครงการวิจัยใหสามารถปฏิบัติไดจริง
4) การรวบรวมขอมูล
เมื่อนักวิจัยเริ่มเก็บขอมูล ตองติดตามการดำเนินงานวิจัยอยางใกลชิดทั้งการเก็บขอมูล
การจัดกระทำขอมูล หรือการทดลอง ในกรณีที่เปนการรวบรวมขอมูลโดยใชควรกำหนดตารางการทำงานใน
แตละขั้นตอนของการรวบรวมขอมูล กำหนดยุทธวิธีที่จะทำใหไดแบบสอบถามกลับคืนมามาก และไดขอมูล
ตามปริมาณที่ตองการ อาจใชความสัมพันธสวนตัว (หากสามารถทำได) ที่จะชวยติดตอกับหนวยงานหรือ
บุคคลที่เกี่ยวของ เพื่อใหนักวิจัยสามารถเก็บขอมูลไดตามเปาหมายที่กำหนด
5) การวิเคราะหขอมูล
หลังจากที่กระบวนการเก็บขอมูลเสร็จเรียบรอยแลว กอนการวิเคราะหขอมูลตองให
ความเอาใจใสกับการเตรียมขอมูลเพื่อการวิเคราะหตอไป โดยตองมีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่
ไดรับกลับมา กวดขันกับการตรวจสอบขอมูลใหสะอาดสมบูรณ (clean data) กอนการวิเคราะห ถาเปนไป
ได ควรมีการสุมตรวจสอบการลงรหัสขอมูล มีหลักฐานการเก็บขอมูลและขอมูลที่ไดกลับคืนมาพรอมแสดง
ปญหาที่พบบอยในขั้นของการวิเคราะหขอมูล คือการใชสถิติไมเหมาะสม และแปลผลการวิเคราะหไมได
นักวิจัยที่ไมมีทักษะการวิเคราะหขอมูล มักใชวิธีการจางผูอื่นชวยวิเคราะหขอมูลให และแปลผลใหแทน
41
โอกาสในการเลือกใชสถิติที่ไมเหมาะสมจะมีมาก เนื่องจากผูที่เปนเจาของงานวิจัยไมสามารถแนะนำใหผู
วิเคราะหขอมูลเขาใจได ดังนั้น ในขั้นของการวิเคราะหขอมูล เปนประเด็นที่ตองใหความสำคัญในการ
ตรวจสอบโครงการวิจัย ความเขาใจในประเด็นวิจัยของตนเอง รูจักธรรมชาติและลักษณะของตัว แปร
สามารถวิ เ คราะห เ ป า หมายของการวิจ ัย ไดว าเปน การบรรยายสภาพ การสำรวจ การอธิบ าย การหา
ความสัมพันธ การเปรียบเทียบ หรือการทำนาย นอกจากนี้ยังสามารถระบุหรือเลือกใชสถิติที่เหมาะสม โดย
รูถึงขอตกลงเบื้องตนของสถิติที่เลือกใช ตองใหความสำคัญกับการเตรียมและตรวจสอบความสมบูรณขอมูล
การเลือกใชโปรแกรมที่ชวยวิเคราะหขอมูลที่เหมาะสม และการรูจักแปลความหมายผลการวิเคราะหขอมูล
โดยควรขอดูหลักฐานของผลการวิเคราะหขอมูล (print out) และตรวจสอบการนำเสนอผล

รายการอางอิง
สุวิมล วองวาณิช และนงลักษณ วิรัชชัย. (2550). แนวทางการใหคำปรึกษาวิทยานิพนธ. กรุงเทพมหานคร:
ศูนยตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

You might also like