You are on page 1of 103

“การประชุมชี้แจงศูนย์สอบ O-NET”
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2566

โดย
ผศ.ดร.ศิริดา บุรชาติ
ผู้อานวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
กาหนดการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2566
กาหนดการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2566 (ต่อ)
กาหนดการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2566 (ต่อ)
มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
01
มาตรฐาน เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าระบบการบริหารการทดสอบ
การบริหาร มีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้จริง มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ใน
การทดสอบ ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

02
มาตรฐาน
เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าบุคลากรเกี่ยวข้องกับการทดสอบมีคุณภาพ
บุคลากรด้าน
คุณสมบัติ และหน้าที่เทียบตามมาตรฐานสากล
การทดสอบ

03
มาตรฐาน เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่า แบบทดสอบที่ใช้ในการวัดและ ประเมิน
การพัฒนา มีการพัฒนาอย่างมีระบบ มีขั้นตอนการดาเนินการที่เป็นมาตรฐานเชื่อถือได้ มีสารสนเทศเชิง
แบบทดสอบ ประจักษ์และเป็นแบบทดสอบที่มคี ุณภาพด้านความตรง ความเที่ยง และมีความยุติธรรม

เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่า ระบบการพิมพ์แบบทดสอบและ

04
มาตรฐานการพิมพ์
การรับ/ส่ง การตรวจ กระดาษคาตอบ มีการควบคุมและกากับการดาเนินงานอย่างมีขั้นตอน
การประมวลผลและ ที่ชัดเจน มีมาตรการด้านความปลอดภัยและมีการเก็บรักษาความลับ
การแปลผล อย่างรัดกุม มีกระบวนการตรวจ ให้คะแนนที่มีความหมาย และมีการแปล
คะแนนอย่างเหมาะสม เทียบเคียงกับผลการทดสอบแต่ละครั้ง/ปี

05
มาตรฐาน
เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าการรายงานผลและการนาผลไปใช้
การรายงานผล และ
มีความถูกต้อง เหมาะสม และเป็นธรรม
การนาผลไปใช้
ประเด็นที่พบในการสอบที่ผ่านมา
Problem
Analysis 1. การแจ้งลดข้อมูลเป็นจานวนมาก
Solution หลังจากประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ

2. การส่งข้อมูลนักเรียนผิดประเภท
(เด็กปกติ/เด็กพิเศษ)

3. การนั่งสอบสลับที่ / การนั่งสอบแทน

4. คณะกรรมการระดับสนามสอบไม่ปฏิบัตติ าม
คู่มือ / ปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้อง

5. กระดาษคาตอบไม่ครบถ้วน / สูญหาย
เอกการคู่มือการจัดการทดสอบ

ขอให้สนามสอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบดาเนินการตามแนวปฏิบัติที่กาหนดไว้ในคู่มือ หรือ


ตามระเบียบที่ สทศ. กาหนด เพื่อให้การดาเนินการสอบในทุกสนามสอบเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ
การเตรียมความพร้อมการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2566

สทศ. ได้นาข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับการ
สอบ O-NET ขึ้นประชาสัมพันธ์ที่หน้าเว็บไซต์
ของ สทศ.
❑ หัวข้อ “การจัดสอบ”
❑ เลือกรายการ “ข้อมูลสาหรับครู/
นักเรียน”
❑ ประเภทการสอบ O-NET
สทศ. ส่งเสริมและสนับสนุนการนาผลสอบ O-NET ไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ตัวอย่าง เกียรติบัตรผู้ผ่านการอบรมการส่งเสริมการนาผล O-NET ไปใช้
ในการยกระดับการจัดการเรียนการสอน

.......... ....................

ในการเข้ารับการอบรม
สทศ. จะมีการทดสอบความรู้
ความเข้าใจก่อนรับการอบรม
เกี่ยวกับการนาผลการทดสอบ
ไปใช้และมีการมอบเกียรติบัตร
กรณีผู้ผ่านการทดสอบ
เอกสารประกอบการวางแผนการจัดการเรียนการสอน
วิสัยทัศน์
จุดมุ่งหมาย
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง


2. ความสามารถในการคิด 2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทางาน
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

- ภาษาไทย - การงานอาชีพและเทคโนโลยี - กิจกรรมแนะแนว


- คณิตศาสตร์ - สุขศึกษาและพลศึกษา - กิจกรรมนักเรียน
- วิทยาศาสตร์ - ศิลปะ - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
- สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - ภาษาต่างประเทศ

คุณภาพผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เอกสารตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวอย่าง สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด และคุณภาพผู้เรียน

รายละเอียดเพิ่มเติม
ตัวอย่าง สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด และคุณภาพผู้เรียน

รายละเอียดเพิ่มเติม
กระบวนการจัดการเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการจัดการศึกษา (Educational Process)
ให้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 3 องค์ประกอบ ดังนี้
จุดมุ่งหมายการศึกษา (Objective; O)
(มาตรฐานหลักสูตร)

การวัดและประเมินผล (Evaluation; E)
กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning; L)
• Formative Assessment
• เน้นให้ คิด/ทา/แก้ปัญหาเป็น
• Summative Assessment
• Active Learning
การประเมินผลการเรียนรู้
• Coaching Interdisciplinary
1. ระดับชั้นเรียน
• Project Based Learning
2. ระดับสถานศึกษา
• Collaborative Learning
3. ระดับเขตพื้นที่
• Team Work
4. ระดับชาติ
กิจกรรมการเรียนรู้

หลักการจัดการเรียนรู้

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่ก าหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 25


กิจกรรมการเรียนรู้

กระบวนการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย


(กระบวนการเรี ย นรู้ แ บบบู ร ณาการ กระบวนการสร้ า งความรู้ กระบวนการคิ ด
กระบวนการทางสั ง คม กระบวนการเผชิ ญ สถานการณ์ แ ละแก้ ปั ญ หา กระบวน
การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ
กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย)

ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 25


กิจกรรมการเรียนรู้

การออกแบบการจัดการเรียนรู้

ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดสมรรถนะ
สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
พิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ /แหล่ง
เรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตาม
เป้าหมายที่กาหนด

ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 25


กิจกรรมการเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการจัดการศึกษา (Educational Process)
ให้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 3 องค์ประกอบ ดังนี้
จุดมุ่งหมายการศึกษา (Objective; O)
(มาตรฐานหลักสูตร)

การวัดและประเมินผล (Evaluation; E)
กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning; L)
• Formative Assessment
• เน้นให้ คิด/ทา/แก้ปัญหาเป็น
• Summative Assessment
• Active Learning
การประเมินผลการเรียนรู้
• Coaching Interdisciplinary
1. ระดับชั้นเรียน
• Project Based Learning
2. ระดับสถานศึกษา
• Collaborative Learning
3. ระดับเขตพื้นที่
• Team Work
4. ระดับชาติ
การวัดและประเมินผล

(1) การประเมินระดับชั้นเรียน
เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการ
เป็นปกติและสม่าเสมอในการจัดการเรียนการสอนใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย
โดยผู้สอนเป็นผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่ อนประเมิน
เพื ่ อ น ผู ้ ป กครองร่ ว มประเมิ น การประเมิ น ระดั บ ชั ้ น เรี ย นเป็ น การตรวจสอบว่ า ผู ้ เ รี ย น
มีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด
นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โ ดยสอดคล้อง
กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 28
การวัดและประเมินผล

(2) การประเมินระดับสถานศึกษา
เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมิน
การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็น
การประเมินเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติและระดับเขตพื้นที่การศึกษา

ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 28


การวัดและประเมินผล

(3) การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
เป็ น การประเมิ น คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย นตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่ อใช้
เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้ นที่
การศึ ก ษาตามภาระความรั บ ผิ ด ชอบ นอกจากนี ้ ย ั ง ได้ จ าก
การตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาใน
เขตพื้นที่การศึกษา

ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 29


การวัดและประเมินผล

(4) การประเมินระดับชาติ
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา
ต้ อ งจั ด ให้ ผ ู ้ เ รี ย นทุ ก คนที ่ เ รี ย นในชั ้ น ประถมศึ ก ษาปี ท ี ่ 3 ชั ้ น
ประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับ
การประเมิ น ผลจากการประเมิ น ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการเทีย บเคี ย ง
คุ ณ ภาพการศึ ก ษาในระดั บ ต่ า ง ๆ เพื ่ อ น าไปใช้ ใ นการวางแผน
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การ
ตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หน้า 29
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET)

การทดสอบทางการศึ กษาระดับ ชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) เป็น การวัด มาตรฐานทางการศึ กษา


ระดั บ ชาติ ต ามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ซึ่ ง เป็ น การวั ด ความรู้ ความคิ ด รวบยอด
ทักษะการคิดวิเคราะห์ ปลายช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เป็ น การประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นทุ ก คน และเป็ น การวั ด มาตรฐานการจั ด การเรี ย นการสอนของ
สถานศึกษาแต่ละที่ ว่าสามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามมาตรฐานและตามกรอบการจัดการศึกษา
ที่กาหนดหรือไม่ ซึ่งผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติจะเป็นข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาในภาพรวมของประเทศ ที่สามารถจาแนกรายภูมิภาค รายสถานศึกษา และผู้เรียน
รายบุ คคล เพื่อ ใช้ ใ นการพัฒนาและปรั บปรุง การจั ดการศึ ก ษา และพัฒนาให้ก ารจั ดการศึ กษาของ
ประเทศอยู่ ใ นมาตรฐานเดี ย วกั น เพื่ อ ลดความเหลื่ อ มล้ าทางการศึ ก ษาในแต่ ล ะพื้ น ที่ และเพิ่ ม
การเชื่อมโยงการศึกษาของประเทศไปสู่ระดับสากล
ความสาคัญของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

ข้อ 2
การวัดมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษาว่าเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
ตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตร
ข้อ 1 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดไว้หรือไม่ ข้อ 3
การประเมินคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพผู้เรียน
ระดับชาติขั้นพื้นฐานของผู้เรียนตาม
มาตรฐานการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

วัตถุประสงค์ของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
1. เพื่อทดสอบความรู้และความคิดรวบยอดทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6

2. เพื่อนาผลการทดสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน

3. เพื่อนาผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ

4. เพื่อนาผลการทดสอบไปใช้ในวัตถุประสงค์อื่น
การพัฒนาผังการสร้างข้อสอบ (Test Blueprint)
02
TEST BLUEPRINT
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 03
แสดงความเห็นเกี่ยวกับ TEST BLUEPRINT
ผังการสร้างข้อสอบ จัดทาผังการสร้างข้อสอบ

01
TEST BLUEPRINT 04
TEST BLUEPRINT
เชิญตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานจัดทาหลักสูตร หน่วยงานจัดการเรียน เผยแพร่ให้สถานศึกษา
การสอน ร่วมกันพิจารณาตัวชี้วัดต้องรู้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปใช้
การรายงานผลการทดสอบ O-NET
การรายงานผลการทดสอบ O-NET
การรายงานผลการทดสอบ O-NET
สนง. ศึกษาธิการจังหวัด

สนง. ศึกษาธิการภาค
การรายงานผลการทดสอบ O-NET ระดับประเทศ
ภายหลังจากการทดสอบ สทศ. ได้นาเสนอข้อมูลผลการทดสอบทาง
การศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ในแต่ ล ะชั้ น ของกลุ่ ม สาระ
การเรี ย นรู้ ด้ ว ยรู ป แบบของแผนที่ ป ระเทศไทย โดยผู้ ที่ ส นใจสามารถเลื อ ก
ปี ก ารศึ ก ษา 2559-2564 ระดั บ ชั้ น (ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 มั ธ ยมศึ ก ษา
ปี ที่ 3 และมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6) ประเภทการรายงาน ได้ แ ก่ 1) รายงาน
ค่าคะแนนเฉลี่ยรายวิชาจาแนกตามจังหวัด 2) รายงานค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 5
วิชาจาแนกตามจังหวัด 3) รายงานค่าเฉลี่ยรายวิชาจาแนกตามศึกษาธิการภาค
4) รายงานค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 5 วิชาจาแนกตามศึกษาธิการภาค 5) รายงานค่า
คะแนนเฉลี่ยรายวิชาจาแนกตามภูมิภาค 6) รายงานค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 5 วิชา
จาแนกตามภูมิภาค วิชา (ภาษาไทย สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์)
(ที่มา : https://www.niets.or.th/th/catalog/view/3121)

สรุปผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O-NET) ประจาปี
การรายงานผลการทดสอบ O-NET

1. การรายงานผลการทดสอบ
O-NET รายบุคคล

2. การรายงานผลการทดสอบ
O-NET รายโรงเรียน
ที่มา : https://www.niets.or.th/th/catalog/view/2989

33
การรายงานผลการทดสอบ O-NET รายบุคคล

ด.ญ. อารมณ์ดี เพราะมีความสุข

การรายงานผลสอบ
O-NET รายบุคคล

1 2
4 4
2 1
3 3
การรายงานผลการทดสอบ O-NET รายบุคคล
การรายงานผลการทดสอบ O-NET รายบุคคล
การรายงานผลการทดสอบ O-NET รายบุคคล
การรายงานผลการทดสอบ O-NET ระดับโรงเรียน ชั้น ป.6/ม.3
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 1 ผลการทดสอบรายบุคคลสาหรับโรงเรียน

1 7 7 8
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 2 ค่าสถิติแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้สาหรับโรงเรียน

หากท่านจะพัฒนาหรือสอนเสริมให้กับนักเรียน
ท่านจะเน้นมาตรฐานใดเป็นอันดับแรก? รองลงมาคือมาตรฐานใด?
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 2 ค่าสถิติแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้สาหรับโรงเรียน
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 2 ค่าสถิติแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้สาหรับโรงเรียน
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 2 ค่าสถิติแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้สาหรับโรงเรียน
““ การวิเคราะห์ใบรายงานผลฉบับที่ 3


โดยครูผู้สอนพิจารณาร้อยละของนักเรียน
ที่ตอบถูกในแต่ละข้อในวิชานั้น ๆ ร่วมกับแบบทดสอบ
และผังการสร้างข้อสอบที่ สทศ. เผยแพร่บนเว็บไซต์


เพื่อนาผลไปพัฒนาการจัดการเรียนรู้
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 3 ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ละข้อสาหรับโรงเรียน

1
1
2

4
1
3
ตัวอย่าง ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาภาษาไทย

สาระการอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 , ตัวชี้วัด ป.6/2
(อธิบายความหมายของคา ประโยค
และข้อความที่เป็นโวหาร)

คาตอบที่ถูก คือ ข้อ 4


ตัวอย่าง ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาภาษาไทย

สาระหลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 , ตัวชี้วัด ป.6/2
(ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล)

คาตอบที่ถูก คือ ข้อ 2


ตัวอย่าง ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาภาษาไทย
สาระหลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1, ตัวชี้วัด ป. 6/4
(ระบุลักษณะของประโยค)

คาตอบที่ถูก คือ ข้อ 3


ตัวอย่าง ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาภาษาไทย

สาระหลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1, ตัวชี้วัด ป. 6/6
(วิเคราะห์และเปรียบเทียบสานวน
ที่เป็นคาพังเพยและสุภาษิต)

คาตอบที่ถูก คือ ข้อ 1


ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับสูง วิชาภาษาไทย
สาระการอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1, ตัวชี้วัด ป. 6/2
(อธิบายความหมายของคา ประโยค และ
ข้อความที่เป็นโวหาร)

คาตอบที่ถูก คือ ข้อ 2


ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับสูง วิชาภาษาไทย

สาระการอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1, ตัวชี้วัด ป. 6/7
(อธิบายความหมายขอข้อมูลจากการอ่าน
แผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ)

คาตอบที่ถูก คือ ข้อ 2


รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 3 ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ละข้อสาหรับโรงเรียน
ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาคณิตศาสตร์

สาระจานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1,
ตัวชี้วัด ป. 6/11, ป.6/12
(แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
อัตราส่วน) , (แสดงวิธีหาคาตอบของ
โจทย์ ปัญหาร้อยละ 2 - 3 ขั้นตอน)

คาตอบที่ถูก คือ 240


ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาคณิตศาสตร์

สาระการวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1, ตัวชี้วัด ป. 6/1
(แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสาม
มิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก)

คาตอบที่ถูก คือ 002


ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาคณิตศาสตร์

สาระสถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 , ตัวชี้วัด ป. 6/1
(ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลม
ในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา)

คาตอบที่ถูก คือ 010


ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาคณิตศาสตร์

สาระการวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1, ตัวชี้วัด ป. 6/2
(แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับ
ความยาวรอบรูป และพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม)

คาตอบที่ถูก คือ 2
ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับต่า วิชาคณิตศาสตร์

สาระสถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1, ตัวชี้วัด ป. 5/1
(ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้น
ในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา)

คาตอบที่ถูก คือ 4
ข้อสอบที่ได้คะแนนในระดับสูง วิชาคณิตศาสตร์

สาระจานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.2, ตัวชี้วัด ป. 6/1
(แสดงวิธีคิดและหาคาตอบ
ของปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป)

คาตอบที่ถูก คือ 3
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
ฉบับที่ 5 ค่าสถิติแยกตามสาระการเรียนรู้สาหรับโรงเรียน
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาภาษาไทย
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

ตชด.
กทม.
สพล.
สศศ.
สพฐ.

สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สาระที่ 1 ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และ ป.6/2 อธิบายความหมายของคาประโยค และข้อความที่เป็นโวหาร - - - - - √ - - - - - - √ -
การอ่าน ความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนินัยรักการอ่าน ป.6/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน - - √ - - - - √ √ - - - - -
สาระที่ 3 ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ ป.6/2 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรือ่ งที่ฟังและดู - - - - - - - √ - - - - √ -
การฟัง การดู และ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาส
ป.6/3 วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล
การพูด ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ - - - - - √ - √ - - - - √ -

สาระที่ 4 ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย ป.6/2 ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล √ √ √ √ √ - √ √ √ √ √ √ - √


หลักการใช้ภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ
ป.6/3 รวบรวมและบอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย √ √ √ √ √ √ √ √ √ - √ - √ √
ปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ
ของชาติ ป.6/4 ระบุลักษณะของประโยค √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √
ป.6/5 แต่งบทร้อยกรอง - - - - - √ - - - - - - - -
ป.6/6 วิเคราะห์และเปรียบเทียบสานวณที่เป็นคาพังเพย และสุภาษิต √ √ - √ - √ - √ √ √ - - √ √
สาระที่ 5 ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ ป.5/2 ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
วรรณคดีและ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นาไปใช้ในชีวิตจริง
- - √ - - - - √ - - - - - -
วรรณกรรม นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ป.6/1 แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อา่ น - - - - - - - √ - √ - - √ √
ป.6/3 อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น และนาไปประยุกต์ใช้
ในชีวอตจริง
- - - - - √ - - - - - - - -

รวม (ตัวชี้วัด) 4 4 5 4 3 7 3 9 5 4 3 2 7 5
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาคณิตศาสตร์ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สศศ.

ตชด.
สพฐ.

สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สาระที่ 1 ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ป.4/10 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับ และ 0 - - - - - √ - - - - - - √ -
จานวนและ ระบบจานวน การดาเนินการของจานวนผลที่เกิดขึ้น ป.5/8 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบ การคูณ
พีชคณิต จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการและ √ √ √ √ √ √ - √ √ - √ √ √ √
การหารทศนิยม 2 ขั้นตอน
นาไปใช้
ป.6/1 เปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละจาก
√ √ √ √ - - - √ √ - √ √ √ √
สถานการณ์ต่าง ๆ
ป.6/11 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญ
ั หาอัตราส่วน √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √
ป.6/12 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญ
ั หาร้อยละ 2 – 3 ขั้นตอน √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √
สาระที่ 2 ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเน ป.4/1 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา - - - - - √ - - - - - - - -
การวัดและ ขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนาไปใช้ ป.5/1 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีการ
เรขาคณิต √ √ √ √ √ √ - √ √ - √ √ √ √
เปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม
ป.6/1 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูป
√ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √
เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ป.6/2 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
- - √ - - √ - √ √ - - - √ -
และพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
ป.6/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
√ √ √ √ - - - - √ √ √ √ √ -
และพื้นที่ของวงกลม
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาคณิตศาสตร์ (ต่อ)

ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สาระที่ 2 ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของ ป.5/2 จาแนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณารจากสมบัติของรูป
การวัดและ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต - - - - - √ - - - - - - - -
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิตและนาไปใช้
สาระที่ 3 ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ ป.5/1 ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของดจทยืปญ
ั หา √ √ √ √ √ √ - √ √ √ √ √ - √
สถิติและความ ทางสถิติในการแก้ปัญหา ป.6/1 ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมในการหาคาตอบของโจทย์
น่าจะเป็น √ √ √ √ √ √ - √ √ √ √ √ √ √
ปัญหา
รวม (ตัวชี้วัด) 9 9 10 9 7 11 3 9 10 6 9 9 10 8
ดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สาระที่ 1 ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบ ป.5/1 บรรยายโครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ เหมาะสมกับการ
วิทยาศาสตร์ นิเวศ ความสัมพันธ ระหวางสิ่งไมมีชีวิต ดารงชีวิต ซึ่งเปนผลมาจาก การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแตละแหลงที่อย              
ชีวภาพ กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวาง ป.5/2 อธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ ระหวางสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งไมมีชีวิต เพื่อประโยชนตอการดารงชีวิต - - - - - - - - - - - - - -
การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง
แทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ป.5/3 เขียนโซอาหารและระบุบทบาทหนาที่ของสิ่งมีชีวิตที่เปนผูผลิตและผู - - - - - - - - - - - - - -
ประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีต บริโภคในโซอาหาร
อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และการแกไขปัญหาสิ่งแวดลอม รวมทัง้
นาความรูไปใชประโยชน์
ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวย ป.4/1 บรรยายหนาที่ของราก ลาตน ใบ และดอกของ พืชดอก โดยใชขอมูล
         -    
พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสาร ที่รวบรวมได
เข้าและออกจากเซลล ความสัมพันธ ป.6/4 สรางแบบจาลองระบบยอยอาหาร และบรรยาย หนาที่ของอวัยวะใน -  -  -  -  - - - - - 
ของโครงสรางและหนาที่ของระบบ ระบบยอยอาหาร รวมทั้ง อธิบายการยอยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร
ตาง ๆ ของสัตวและมนุษยที่ทางาน
สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง
และหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชที่
ทางานสัมพันธกัน รวมทั้งนาความรู
ไปใชประโยชน
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาวิทยาศาสตร์ (ต่อ)

ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สาระที่ 1 ว 1.3 เขาใจกระบวนการและ ป.4/1 จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใชความเหมือน และความ แตกตางของลักษณะ
- - - - - - - - - - - - - -
วิทยาศาสตร์ ความสาคัญของการถายทอด ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิตออกเปนกลุม พืช กลุมสัตว และกลุมที่ไมใชพืชและสัตว
ชีวภาพ ทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การ ป.4/2 จาแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอก โดยใชการมีดอกเป
(ต่อ) เปลี่ยนแปลง ทางพันธุกรรมที่มีผลต นเกณฑ โดยใชขอมูลที่ รวบรวมได - - - - - - - - - - - - - -
อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ
และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนา ป.4/3 จาแนกสัตวออกเปนสัตวมีกระดูกสันหลังและ สัตวไมมีกระดูกสันหลัง
- - - - - - - - - - - - - -
ความรูไปใชประโยชน โดยใชการมีกระดูก สันหลังเปนเกณฑ โดยใชขอมูลที่รวบรวมได
ป.4/4 บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตไดของสัตวมี กระดูกสันหลังในกลุมป
ลา กลุมสัตวสะเทินน้า สะเทินบก กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุมนก และ กลุ
- - - - - - - - - - - - - -
มสัตวเลี้ยงลูกดวยนม และยกตัวอยาง สิ่งมีชีวิตในแตละกลุม

ป.5/1 อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถายทอด จากพอแมสูลูก ของพืช


      -   -    
สัตว และมนุษย
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สารที่ 2 ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร ป.4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพดานความแข็ง สภาพยืดหยุน การนา
วิทยาศาสตร์ องคประกอบของสสาร ความ ความรอน และการนาไฟฟาของวัสดุ โดยใชหลักฐานเชิงประจักษจากการ ทดลอง
    -  -   -  -  
กายภาพ สัมพันธระหวางสมบัติของสสาร และระบุการนาสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุน การนาความรอน และการนา
กับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยว ไฟฟาของวัสดุไปใชในชีวิตประจาวันผานกระบวนการออกแบบชิ้นงาน
ระหวางอนุภาคหลัก และธรรมชาติ ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ จากขอมูลที่ไดจากการสังเกต
ของการเปลี่ยนแปลง สถานะของ มวล การตองการที่อยู รูปราง และปริมาตรของสสาร - - - - - - - - - - - - - -
สสาร การเกิด สารละลาย และการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ป.4/4 ใชเครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสาร ทั้ง 3 สถานะ - - - - - - - - - - - - - -
ป.5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อทาใหสสารรอนขึ้นหรือเย็นลง
- -  - - - -  - - - - - 
โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ
ป.5/2 อธิบายการละลายของสารในน้า โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ - - - - - - - - - - - - - -
ป.5/3 วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิด การเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดย
- - - - - - - - - - - - - -
ใชหลักฐานเชิงประจักษ์
ป.5/4 วิเคราะหและระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได และการเปลี่ยนแปลงที่ผัน
กลับไมได - - - - - - - - - - - - - -
ป.6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การรอน การ
ใชแมเหล็ก ดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชหลักฐานเชิง - -  - - - -  - - - -  
ประจักษ รวมทั้งระบุวิธีแกปญหาในชีวิตประจาวัน เกี่ยวกับการแยกสาร
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สารที่ 2 ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงใน ป.4/1 ระบุผลของแรงโนมถวงที่มีตอวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ       -   -    
วิทยาศาสตร์ ชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อ
ป.4/2 ใชเครื่องชั่งสปริงในการวัดน้าหนักของวัตถุ - - - - - - - - - - - - - -
กายภาพ วัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ
(ต่อ) ของวัตถุรวมทั้งนาความรูไปใชประโยชน์ ป.4/3 บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ
- - - - - - - - - - - - - -
จากหลักฐานเชิงประจักษ์
ป.5/1 อธิบายวิธีการหาแรงลัพธของแรงหลายแรง ในแนวเดียวกันที่กระทา
- - - - - - - - - - - - - -
ตอวัตถุในกรณีที่วัตถุอยูนิ่งจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ป.5/2 เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทาตอวัตถุที่อยูในแนวเดียวกันและ
- - - - - - - - - - - - - -
แรงลัพธที่กระทาตอวัตถุ
ป.5/3 ใชเครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระทาตอวัตถุ - - - - - - - - - - - - - -
ป.5/4 ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีตอการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของ
    -  -   -  -  
วัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ป.5/5 เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยูในแนวเดียวกันที่
    -  -   -  -  
กระทาตอวัตถุ
ป.6/1 อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟาซึ่งเกิดจากวัตถุที่ผานการขัดถู
     - -   -  -  
โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
-ส-ารที่ 2 ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน ป.4/1 จาแนกวัตถุเปนตัวกลางโปรงใส ตัวกลางโปรง แสง และวัตถุทึบแสง
วิทยาศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงและการถายโอน จากลักษณะการมองเห็น สิ่งตาง ๆ ผานวัตถุนั้นเปนเกณฑ โดยใชหลักฐาน - - - - -  -  - - - - - -
กายภาพ พลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสสาร และ เชิงประจักษ์
(ต่อ) พลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ป.5/1 อธิบายการไดยินเสียงผานตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ - - - - - - - - - - - - - -
ธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณ ที่
เกี่ยวของกับเสียง แสง และ คลื่นแม ป.5/2 ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า   -  - - -  - -  - - -
เหล็กไฟฟา รวมทั้งนาความรูไปใช
ประโยชน ป.5/3 ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดังเสียงคอย - - - - - - - - - - - - - -
ป.6/1 ระบุสวนประกอบและบรรยายหนาที่ของแตละสวนประกอบของวงจร
- - - - - - - - - - - - - -
ไฟฟาอยางงาย จากหลักฐานเชิงประจักษ
ป.6/2 เขียนแผนภาพและตอวงจรไฟฟาอยางงาย - - - - - - - - - - - - - -
ป.6/3 ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบาย
- - - - - - - - - - - - - -
วิธีการและผลของการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม
ป.6/5 ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบาย
- - - - - - - - - - - - - -
การตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน
ป.6/7 อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ - - - - - - - - - - - - - -
ป.6/8 เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว - - - - - - - - - - - - - -
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาภาษาอังกฤษ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สศศ.

ตชด.
สพฐ.

สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สาระที่ 1 ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและ ป.6/3 เลือก/ระบุประโยคหรือข้อความสั่น ๆ ตรงตามภาพสัญลักษณ์ หรือ
    -  -   -  -  
ภาษาเพื่อ อ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดง เครื่องหมายที่อ่าน
การสื่อสาร ความคิดเห้นอย่างมีเหตุผล ป.6/4 บอกใจความสาคัญและตอบคาถามจากการฟังและอ่านบทสนทนา
    - - -   -  -  
นิทานง่าย ๆ และเรื่องเล่า
ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาใน ป.6/1 พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล - - - - -  -  - - - - - -
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดง ป.6/2 ใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาขออนุญาต และให้คาแนะนา     - - -   -   - 
ความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมี
ประสิทธิภาพ ป.6/3 พูด/เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธ
- -  - -  -  - - - -  
การให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่าย ๆ
ป.6/4 พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และ
      -   -    
เรื่องใกล้ตัว
ป.6/5 พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว
-    -  -   -  -  
กิจกรรมต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้น ๆ ประกอบ
ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสารความคิด ป.6/1 พูด/เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว     -  -   -    
รวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ ป.6/2 เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงข้อมูลต่าง ๆ ที่ฟัง หรืออ่าน - -  - -  -  - - - -  
โดยการพูดและการเขียน
ป.6/3 พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว     -  -   -  - - 
ตัวชี้วัดที่ควรได้รับการพัฒนา ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565 วิชาภาษาอังกฤษ (ต่อ)
ระดับสังกัด

ระดับประเทศ
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด

โฮมสคูล
พัทยา
สพป.
สพม.

กทม.
สพล.
สพฐ.

สศศ.

ตชด.
สอศ.
สช.

สถ.
อว.
สารที่ 2 ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับ ป.6/2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความ
ภาษาและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนาไปใช้ได้ เป็นอยู่ของเจ้าของภา - - - - -  -  - - - - - -
วัฒนธรรม อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่าง ป.6/1 บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียง
ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน และการลาดับ       -   -    
คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
ป.6/2 เปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างแทศกาล
- - - - -  -  - - - - - -
งานฉลองและประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย
สาระที่ 4 ต 4.1 ใช้ภาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ป.6/1 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
ภาษากับ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม และสถานศึกษา            
- -
ความสัมพันธ์กับ
ชุมชนและโลก
รวม (ตัวชี้วัด) 8 9 11 9 3 12 - 14 9 - 9 5 9 11
โครงการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
วิชาภาษาไทย ด้วยรูปแบบข้อสอบอัตนัย ชั้น ป.6 และ ม.3
วัตถุประสงค์ของโครงการทดสอบ O-NET กลุ่มเป้าหมาย
อาจารย์
วิชาภาษาไทย ด้วยรูปแบบข้อสอบอัตนัย นักเรียน ครูผู้สอน มหาวิทยาลัยที่
สอนสาขาวิชา
ชั้น ป.6 และ ม.3 วิชาภาษาไทย
ชั้น ป.6 และ ม.3 ภาษาไทย

ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้ผลการทดสอบวิชา ได้ข้อค้นพบ ครูได้รับการ การพัฒนาครู
ภาษาไทยจาแนกเป็น เกี่ยวกับ พัฒนาเกี่ยวกับ ผู้ตรวจข้อสอบอัตนัย
รายบุคคล ระดับสถานศึกษา ข้อบกพร่อง การสร้างข้อสอบ โดยมีอาจารย์
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การใช้ภาษาไทย อัตนัยไปใช้ในการ มหาวิทยาลัยเป็นผู้ให้
ในการสื่อสาร พัฒนาการเรียน ความรู้ ทาให้เกิด
ระดับสานักงานศึกษาธิการ เครือข่ายและความ
จังหวัด ระดับสานักงานการ ของนักเรียน การสอนและการ
วัดผลและ ร่วมมือกันทางด้านการ
ศึกษาธิการภาค ระดับภูมิภาค วัดและประเมินผล การ
ประเมินผลในชั้น
สังกัด ที่ตั้ง สถานศึกษา เรียน จัดการศึกษา และการ
ขนาดโรงเรียน และ ทดสอบทางการศึกษา
ระดับประเทศ ระดับชาติ

รายงานข้อค้นพบฯ ป.6 รายงานข้อค้นพบฯ ม.3 สมัครเข้าร่วมอบรม


วัตถุประสงค์ของการสอบอัตนัย
ข้อ 2
ข้อ 3

ข้อ 1

เพื่อวัดความรู้และทักษะเกี่ยวกับการเขียน
ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด้านกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน
เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ
เพื่อพัฒนาระบบการตรวจข้อสอบอัตนัยเป็น
เพื่อนาผลการสอบไปใช้ในการกาหนดนโยบายชาติ มาตรฐานด้วยความเที่ยง โปร่งใส และเป็นธรรม
และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย
ตัวอย่าง ผังการสร้างข้อสอบอัตนัย (Test Blueprint)
ตัวอย่าง ข้อสอบ (การเขียนเรื่องจากภาพ) ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565
ตัวอย่าง ข้อสอบ (การสรุปใจความสาคัญ) ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2565
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

82
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านกลวิธีการสรุปความ
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านการเสนอแนวคิดสาคัญ
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านการคัดลอก
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านการใช้คา
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านการใช้คา (ต่อ)
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านการใช้คา (ตัวอย่างด้านการสะกดคา)
“ข้อค้นพบการสอบอัตนัย ป.6”
เพื่อให้โรงเรียนนาผลไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

* ด้านการใช้คา (ตัวอย่างด้านการสะกดคา)
การอบรมการตรวจอัตนัย
1) เพื่อพัฒนาครูด้านเกณฑ์การตรวจ
ข้อสอบอัตนัย เพื่อนาไปประยุกต์ใช้
ในการออกแบบพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนในชั้นเรียน
2) พัฒนาครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
เป็นครูตรวจข้อสอบอัตนัยวิชาภาษาไทย
เพื่อรองรับการทดสอบรูปแบบอัตนัย
ปัจจุบนั สทศ. ได้พัฒนาครู 6,764 ราย
ทั่วประเทศ
ข้อมูลเพิ่มเติม

90
“ สทศ. กับการพัฒนาและส่งเสริมวิชาการ
ด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา

สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ
สทศ. กับการพัฒนาระบบการทดสอบออนไลน์

การเข้าใช้งานระบบการทดสอบออนไลน์
เพื่ อ พั ฒ นาการรั ยนรู้ สามารถสมั ค รสมาชิ ก
ด้ ว ย E-mail หรื อ เข้ า ผ่ า น Facebook และ
Google Account

feature ของระบบสามารถรองรั บ
การค้นหา และเลือกข้อสอบได้ตามระดับชั้น
ตามรายวิชา ข้อสอบใหม่ และข้อสอบแนะนา
สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ

โครงการ “การนาผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน”
เพื่ อ เป็ น การน าผลการทดสอบทางการศึ ก ษา
ระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ไปใช้ ว างแผน
ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น พั ฒ น า ค ว า ม รู้
ความสามารถของครู ผู้บริหาร และบุคลากรทาง
การศึ ก ษา ให้ส ามารถน าผลการทดสอบไปใช้ ใ น
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้อง

“รูปแบบ Online”
& “รู ปแบบ Onsite”
สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติม
โครงการทดสอบวัดสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. วัดความรู้ เข้าใจ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนและ รายละเอียดการจัดสอบ ผังการสร้างแบบทดสอบ
นาไปประยุกต์ใช้ การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลผู้เรียน
2. ประยุกต์ใช้การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มเป้าหมาย
▪ ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นิสิต
ผู้เข้ารับการทดสอบ จะได้ทราบความสามารถของตนเอง เกี่ยวกับการวัดและ นักศึกษาทางด้านวิชาชีพครู และบุคคลทั่วไป
ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย น เช่ น แนวคิ ด และหลั ก การส าคั ญ ของการวั ด และ ที่สนใจ ต้องการวัดความรู้ และการประยุกต์ใช้
ประเมิ น ผลทางการศึ ก ษาในศตวรรษที่ 21 การพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด และประเมิ น ผล ความสามารถ ด้านการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้
การเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ประเภทและการออกแบบเครื่องมือ การหาคุณภาพเครื่องมือ
▪ ผู้ที่ได้ผลคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป
การประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการวัดและ จะได้รับหนังสือรับรองผลคะแนนจาก สทศ.
ประเมินผลผู้เรียนในรูปแบบต่าง ๆ การกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน การแปลความหมาย
▪ ผลคะแนนการทดสอบมีอายุ 2 ปี นับตั้งแต่
ของคะแนน และการนาผลคะแนนไปใช้ในการบริหารจัดการและยกระดับการจัดการเรียน วันที่ประกาศผลสอบ
การสอน
สทศ. เปิดให้บริการการทดสอบด้วยระบบดิจิทัล ปีละ 2 ครั้ง มีสนามสอบครอบคลุม 77 จังหวัดทั่วประเทศ
ระบบรับสมัครสอบ
สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติม
สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ
สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ
กาหนดการรับสมัคร TEC-W ปีงบประมาณ 2567
กาหนดการ ครั้งที่ 1/2567 ครั้งที่ 2/2567 ครั้งที่ 3/2567 ครั้งที่ 4/2567
ลงทะเบียนรับสมัครสอบ
16 ต.ค– 14 พ.ย 2566 2 ม.ค– 15 ก.พ 2567 1 เม.ย – 15 พ.ค 2567 1 ก.ค – 14 ส.ค 2567
ตามขั้นตอนในระบบ

ชาระเงิน 16 ต.ค – 15 พ.ย 2566 2 ม.ค – 16 ก.พ 2567 1 เม.ย – 16 พ.ค 2567 1 ก.ค – 15 ส.ค 2567

ประกาศเลขที่นั่งสอบ
28 พ.ย 2566 29 ก.พ 2567 28 พ.ค 2567 27 ส.ค 2567
และสถานที่สอบ
การทดสอบ TEC-W 16 ธ.ค 2566 9 มี.ค 2567 22 มิ.ย 2567 7 ก.ย 2567
ด้วยระบบดิจิทัล เวลา 14.00 – 15.30 น. เวลา 10.00 – 11.30 น. เวลา 14.00 – 15.30 น. เวลา 10.00 – 11.30 น.
ประกาศผลสอบ 10 ม.ค 2567 22 มี.ค 2567 11 ก.ค 2567 20 ก.ย 2567

กาหนดการสอบ ณ สนามสอบทั่วประเทศ (77 จังหวัด)


สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ
กาหนดการรับสมัคร TEC-W ปีงบประมาณ 2567

กาหนดการ ครั้งที่ 1/2567 ครั้งที่ 2/2567 ครั้งที่ 3/2567 ครั้งที่ 4/2567


ลงทะเบียนรับสมัครสอบ
1 – 15 เมษายน 2567 1 – 15 พฤษภาคม 2567 1 – 15 กรกฎาคม 2567 1 – 15 สิงหาคม 2567
ตามขั้นตอนในระบบ
ชาระเงิน 1 – 16 เมษายน 2567 1 – 16 พฤษภาคม 2567 1 – 16 กรกฎาคม 2567 1 – 16 สิงหาคม 2567
ประกาศเลขที่นั่งสอบ
22 เมษายน 2567 22 พฤษภาคม 2567 22 กรกฎาคม 2567 21 สิงหาคม 2567
และสถานที่สอบ
การทดสอบ TEC-W 25 เมษายน 2567 27 พฤษภาคม 2567 25 กรกฎาคม 2567 26 สิงหาคม 2567
ด้วยระบบดิจิทัล เวลา 10.00 – 11.30 น. เวลา 10.00 – 11.30 น. เวลา 10.00 – 11.30 น. เวลา 10.00 – 11.30 น.
ประกาศผลสอบ 26 เมษายน 2567 28 พฤษภาคม 2567 26 กรกฎาคม 2567 27 สิงหาคม 2567

กาหนดการสอบ ณ สนามสอบ สทศ.


สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติม
สทศ. กับการบริการสอบวัดความรู้ ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติม
THANK YOU
https://www.niets.or.th

Facebook : nietsofficial
Twitter : @niets_officialwebsite : www.niets.or.th
E-mail : webmaster@niets.or.th
โทรศัพท์ : 02-217-3800
โทรสาร : 02-219-2996

You might also like