You are on page 1of 8

PA 1/ส

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ไม่มวี ิทยฐานะ)
(ทุกสังกัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นายธรรมนูญ นามสกุล กันทะหงษ์ ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนสนามชัยเขต สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา
รับเงินเดือนในอันดับ คศ.1 อัตราเงินเดือน 22,840 บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู (ยังไม่มวี ิทยฐานะ) ซึ่งเป็น
ตำแหน่งที่ดำรงอยูใ่ นปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน....20....ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาวิทยาการคำนวณ เพิ่มเติม 1 (ว) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1-5/4
จำนวน 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์
รายวิชาวิทยาการคำนวณ เพิ่มเติม 2 (ว) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-6/7 จำนวน 14 ชัว่ โมง/

สัปดาห์

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รายวิชาชุมนุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์
รายวิชาลูกเสือ-เนตรนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน...1...ชัว่ โมง/สัปดาห์
กิจกรรมโฮมรูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 จำนวน 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์
    1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน....4....ชั่วโมง/สัปดาห์
ปฏิบัติหน้าที่งานศูนย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ปฏิบัติหน้าที่งานทะเบียนนักเรียน (DMC) จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
    1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน....1....ชัว่ โมง/สัปดาห์
ซ่อมเสริม จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะ
ดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาทีใ่ ช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)
ตัวชี้วัด (Indicators)
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมิน (โปรดระบุ) กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.1 จัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระ 1.1 นักเรียนได้เรียนรู้ตรงตาม 1.1 นักเรียนร้อยละ 80
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ หลักสูตรต้องรู้ หลักสูตร มีความรู้ตามตัวชี้วัดที่ต้องรู้
การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรการ เทคโนโลยี สมรรถนะและตัวชี้วัดที่ ในรายวิชาตรงตามหลักสูตร
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ สมรรถนะ
การเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ 1.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
นวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้การวัด แนวทาง active learning 1.2 นักเรียนได้เรียนรู้ตาม 1.2 นักเรียนร้อยละ 80
และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา อย่างหลากหลาย โดยเน้นการ แนวทาง active learning มีความรู้ตามหลักสูตรที่ต้องรู้
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปญ
ั หาหรือ มีส่วนร่วมของผู้เรียนตาม อย่างหลากหลายรายวิชา ตามตัวชี้วัดและมีคุณลักษะ
พัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริม แผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น วิทยาศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ อันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้
และพัฒนาผู้เรียนและการอบรมและพัฒนา 1.3 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกน 1.3 นักเรียนได้เรียนรู้ตาม 1.3 นักเรียนร้อยละ 80
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่มี ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข
2551 (ฉบับปรับปรุง คุณภาพ และบันทึกผลหลัง และมีความรู้ตามตัวชี้วัดตาม
พ.ศ.2560) ในรูปแบบแผนการ การสอนที่สะท้อนผลในการจัด หลักสูตรสมรรถนะ/
จัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ หลักสูตรต้องรู้ และส่งผลให้
มีความเข้าใจในเนื้อหาที่ครู
1.4 พัฒนาสื่อ นวัตกรรม 1.4 นั ก เรี ยนได้ รบ
ั การพั ฒ นาใน ได้ทำการสอน
เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ใน การเรี ย นการสอนโดยใช้ ส อ
่ ื
รูปแบบที่หลากหลาย เช่น ออนไลน์ และสื่อทำมือใน 1.4 นักเรียนร้อยละ 80
ชุดกิจกรรม เกมส่งเสริมการ รายวิชาวิทยาศาสตร์ที่มี เกิดทักษะ 4Cs คือทักษะการ
เรียนรู้ PowerPoint เพื่อการ ประสิทธิภาพ คิดวิจารณญาณ ทักษะการ
เรียนรู้ เป็นต้นโดยนำเทคโนโลยี ทำงานร่วมกัน ทักษะการ
เพื่อการเรียนรู้มาใช้สร้างแหล่ง สื่อสาร ทักษะความคิด
เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ในรูป สร้างสรรค์ ตามเกณฑ์ที่
แบบ google classroom, กำหนดไว้ส่งผลให้นักเรียนมี
Canva 1.5 นักเรียนได้รับการวัด ความเข้าใจและมีสมรรถนะ
และ YouTube ประเมิ น ผลโดยใช้ เครื อ
่ งมื อ ตามตัวชี้วัดตรงตามหลักสูตร
1.5 สร้างเครื่องมือวัดผลและ และแบบประเมิ น ตามตั ว ชี ว
้ ด

ประเมินผลการเรียนรู้ตาม (หลักสูตรต้องรู้) ที่มี 1.5 นักเรียนร้อยละ 80
มาตรฐานและตัวชี้วัดรายวิชา ประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือ จัด มีผลสัมฤทธิ์ผ่านตามเกณฑ์
ตรงตามหลักสูตรที่ต้องรู้ เก็บข้อมูลเป็นระบบ ที่สถานศึกษากำหนดไว้
ประกอบด้วย แบบทดสอบ ทุกตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด (Indicators)
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมิน (โปรดระบุ) กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
แบบประเมิน แบบสังเกต 1.6 นักเรียนได้รับการแก้
ที่หลากหลาย ปัญหาโดยกระบวน
การวิจัยในชั้นเรียน 1.6 นักเรียนร้อยละ 80
1.6 นำผลการจัดการเรียนรู้มา
ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา มีทักษะกระบวนการคิดและ
ที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนรู้ การทดลอง เรื่อง วงจรไฟฟ้า
ในรูปแบบวิจัยในชั้นเรียน 1.7 นักเรียนมีส่วนร่วมในการ อย่างง่าย ผ่านเกณฑ์ตามที่
จัดบรรยากาศในชั้นเรียนมี กำหนดไว้
ความพึงพอใจ และได้ช่วย
1.7 จัดบรรยากาศในเรียน เหลือจัดป้ายนิเทศ 1.7 นักเรียนร้อยละ 80
การสอนรูปแบบ On-line มุมแสดงผลงานของตนเอง มีความสนใจและ
และ On–hand ให้เอื้อต่อการ กระตือรือร้นในการร่วมทำ
จัดกิจกรรมภายใต้ช่วง กิจกรรมส่งผลให้นักเรียนมี
สถานการณ์ COVID-19 ความสุขในการเรียนรู้ส่งผล
1.8 นักเรียนชั้น ม.6/6 เป็นผู้ ต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของ
มีคุณลักษณะที่ดีทั้งต่อตนเอง นักเรียนให้สูงขึ้น
ผู้อื่น โรงเรียน และสังคม
1.8 จัดกิจกรรมแนะแนว 1.8 นักเรียนร้อยละ 100
พัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
นักเรียน ผ่านไลน์กลุ่ม ม.6/6 ตามที่สถานศึกษากำหนดไว้
และกิจกรรมครูประจำชั้นพบ
นักเรียนในชั่วโมงเช้าก่อนเข้า
เรียนในสถานการณ์ปกติ

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน 2.1 จัดทำข้อมูลในระบบ 2.1 นักเรียนมีระบบข้อมูล 2.1 นักเรียนร้อยละ 100


การจัดการเรียนรู้ สารสนเทศของนักเรียนชั้น สารสนเทศ สะดวกต่อการ มีข้อมูลในระบบ สารสนเทศ
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง ม.6/6 และในรายวิชา ใช้งานและมีประสิทธิภาพ ครบถ้วนในทุกด้านเป็นระบบ
การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและ ที่ทำการสอน เอกสารงาน และสามารถนำข้อมูลมาใช้ได้ และรายบุคคล
รายวิชา การดำเนินการตามระบบดูแลช่วย ประจำชั้นแบบ ปพ.ต่างๆ ทันที
เหลือผู้เรียน การปฏิบตั ิงานวิชาการ และงา
นอื่นๆ ของสถานศึกษา และการประสาน 2.2 จัดทำข้อมูลการดำเนินงาน 2.2 นักเรียนชั้น ม.6/6 มี 2.2 นักเรียนร้อยละ 100 ได้
ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ด้านการ ข้อมูลพื้นฐานเป็นรายบุคคล รับการดูแลเอาใจใส่ตรงตาม
และหรือสถานประกอบการ เรียน ด้านความประพฤติ และช่วยเหลือในเรื่องต่าง ๆ ความต้องการรายบุคคลและ
ด้านทุนการศึกษาและด้านอื่นๆ จากข้อมูลการเยี่ยมบ้าน มีความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
ตามที่สถานศึกษามอบหมาย จัดหาทุน การศึกษานักเรียน ครูและนักเรียน
ยากจน
ตัวชี้วัด (Indicators)
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมิน (โปรดระบุ) กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
2.3 ปฏิบตั ิงานตามโครงการ 2.3 นักเรียนร้อยละ 100 ได้
ต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.3 นักเรียนได้เรียนรู้ รับการพัฒนา มีส่วนร่วมใน
จากสถานศึกษา ได้แก่ ในกิจกรรมที่หลากหลายตาม กิจกรรมทางวิชาการที่
โครงการอาหารกลางวัน โครงการและกิจกรรมที่ทาง โรงเรียนจัดขึ้นเกิดประโยชน์
งานวิชาการ งานบัญชี โรงเรียนได้กำหนดขึ้นตลอดปี อย่างมีระบบ ตรวจสอบได้
งานประกันคุณภาพการศึกษา การศึกษา
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ 2.4 นักเรียนได้รับความช่วย 2.4 นักเรียนร้อยละ 100


ปกครองภาคีเครือข่าย และ เหลือจากผู้ปกครอง หน่วย ได้รับการดูแลจัดสรรหาทุน
หรือสถานประกอบการ งานอื่นที่เกี่ยวข้องและมีข้อมูล การศึกษาทำให้นักเรียน
ผ่านกลุ่มไลน์ (Line) ติดตาม ในระบบสารสนเทศของ มีคุณภาพชีวติ ที่ขึ้น และการ
การเรียนรู้หลายช่องทาง โรงเรียน เรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ที่สูงขึ้น

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 3.1 เข้าร่วมการประชุม/อบรม 3.1 นักเรียนได้รับการจัด 3.1 นักเรียนร้อยละ 100


ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง /สัมมนา ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมการเรียนการสอนที่ ได้รับการจัดกิจกรรมการ
การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เรียนการสอนด้วยวิธีการ
การมีส่วนร่วม ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง และรายงานผลการประชุม/อบ มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลาก ที่หลากหลายและเหมาะสม
วิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และ รม/สัมมนา อย่างเป็นระบบ หลายเหมาะสมตามความแตก กับเนื้อหาส่งผลให้มีผล
การนำความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จาก เพื่อนำมาพัฒนาสื่อและการจัด ต่างระหว่างบุคคล ทำให้ สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
การพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการ กิจกรรมการด้านการเรียนการ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น
พัฒนา การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ สอนทั้งรูปแบบการอบรม
ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม การจัดการ แบบปกติ และ Online
เรียนรู้ 3.2 นักเรียนชั้น ม.6/6 ได้รับ 3.2 นักเรียนร้อยละ 80
3.2 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเพื่อ ได้รับการแก้ไขเมื่อเกิด
พัฒนางานด้านวิชาชีพ (PLC) การแก้ไขปัญหาในการเรียนได้
เหมาะสม และความแตกต่าง ปัญหาทางการเรียนรู้และ
นำความรู้ที่ได้มาสร้างสื่อและ ปัญหาอื่นๆ ที่พบเห็นอย่าง
นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา ระหว่างบุคคลทำนักเรียนมีผล
การเรียนที่ดีขึ้นรวมถึงได้รับ ต่อเนื่องเป็นระบบ
นักเรียนชั้น ป.6 มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น และได้
การพัฒนาจากสื่อนวัตกรรม
การเรียนการสอนที่ครูได้ รับการพัฒนา แก้ปญ ั หาใน
พัฒนาขึ้น และนำมาใช้จัด การเรียนอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา
ตัวชี้วัด (Indicators)
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมิน (โปรดระบุ) กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามาก
ขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
วิทยาศาสตร์
3.3 นำความรู้ความสามารถ 3.3 นักเรียนร้อยละ 80
ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง 3.3 ผู้เรียนได้รับการจัด มีความพึงพอใจในการ
และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา ประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ ๆ จัดการเรียนการรู้ของครู
การจัดการเรียนรู้ การพัฒนา ด้วยนวัตกรรมที่ครูสร้างขึ้น ด้วยนวัตกรรมที่ครูสร้างขึ้น
คุณภาพผู้เรียน และการพัฒนา
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน. ตามแบบให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้
ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผจู้ ัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ทีเ่ สนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าทีค่ วามรับผิดชอบหลักทีส่ ง่ ผลโดยตรง
ต่อผลลัพธ์การเรียนรูข้ องผูเ้ รียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักทีท่ ำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักทีท่ ำการ
สอนทุกระดับชัน้ ในกรณีทส่ี อนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึง่ ได้โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึง
การปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงสามารถประเมินได้
ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชี้วดั (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมิน ผลการพัฒนา
งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการ
เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลง
เป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับ ประยุกต์
การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือ
มีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่องการประยุกต์ใช้งาน Google Classroom เพื่อจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ในสถานการณ์ Covid-19 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1-5/4 รายวิชาวิทยาการคำนวณเพิ่มเติม 1
(ว 30281) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
เนื่องด้วย สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค Covid-19 ในประเทศไทยยังมีความรุนแรงและยัง
ไม่มีแนวโน้มที่ดีขึ้นส่งผลกระทบกับหลายๆ ด้านรวมถึงด้านการศึกษาที่ได้รับผลกระทบทั้งครูและนักเรียน
การจัดการศึกษาที่เคยจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนกับต้องเปลี่ยนรูปแบบให้อยู่ในรูปการสอนออนไลน์ นักเรียน
และครูตา่ งมีปรับตัวอย่างไม่คาดฝัน แต่ก็ยังมีนักเรียนบางส่วนที่ยังไม่สามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่ตอ้ ง
เรียนในรูปแบบออนไลน์ได้ ด้วยสาเหตุนี้ข้าพเจ้าจึงปรับการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ที่นักเรียนและครูมี
ความพร้อมและเวลาไม่ตรงกัน สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามที่ตนเองเกิดความพร้อมและสนใจ
Google Classroom เป็นแอพลิเคชันที่ Google พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการจัดการชั้นเรียนความ
สามารถของ Google Classroom คือ จัดการชั้นเรียน การสร้างใบงาน การส่งงานของนักเรียน การจัดการเรียน
การสอน การให้คะแนน การสร้างแบบทดสอบ การวัดผลและประเมินผลต่าง ๆ ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการ
สอน การสร้างใบงานหรือวัดผลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกผู้เรียนสามารถเข้ามาเรียนในเวลาที่ตนเองสะดวกและเรียนรู้
ได้ตลอดเวลาลดปัญหาการไม่เข้าเรียนของนักเรียน การไม่ส่งงาน หรือการวัดผลต่าง ๆ ส่งผลให้การจัดการเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพดีขึ้น ดังนั้น ครูผู้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดย เรื่องการประยุกต์
ใช้งาน Google Classroom เพื่อจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์ Covid-19 สำหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-5/4 รายวิชาวิทยาการคำนวณเพิ่มเติม 1 (ว 30281) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสนามชัยเขต
2.2 ศึกษาการใช้งาน Google Classroom นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน
2.3 จัดทำโครงร่างของเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้
2.4 ครูผู้สอนนำ Google Classroom นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาวิทยาการคำนวณเพิ่มเติม 1 (ว 30281) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
2.5 ดูผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทำแบบประเมินความพึง
พอใจของนักเรียนเพื่อนำผลมาพัฒนา
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1-5/4 โรงเรียนสนามชัยเขต จำนวน 98 คน มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณเพิ่มเติม 1 (ว 30281) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยมีคะแนน (ร้อย
ละ 70 ของคะแนนเต็ม) คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดและนักเรียนทั้งหมดมีความพึงพอใจต่อ
รายวิชาวิทยาการคำนวณเพิ่มเติม 1 (ว 30281) มีคา่ เฉลี่ยอยู่ในระดับ มากขึ้น
3.2 เชิงคุณภาพ
ได้นวัตกรรมทีใ่ ช้ในการบริหารจัดการชั้นเรียนในสถานการณ์ทตี่ ้องจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์และยังสามารถใช้ในการสอนแบบปกติได้อีกด้วย
ลงชื่อ
(นายธรรมนูญ กันทะหงษ์)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ –
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
1/ตุลาคม/2564

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ
เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
.......................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ว่าที่ ร.ต.


(เกชา กลิ่นเพ็ง)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสนามชัยเขต
1/ตุลาคม/2564

You might also like