You are on page 1of 10

้ ย้ำอีกครัง้ เป็ นเพียงแนวทางเท่านัน

ข้อตกลงฉบับนี ้ เป็ นเพียงแนวทางเท่านัน ้


PA 1/ส
หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยด้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มี
วิทยฐานะ)
(ทุกสังกัด)
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564
ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นายศักดิช์ ัย นามสกุล กล้าหาญ ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนซับน้อยเหนือวิทยาคม สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 20,670 บาท

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภท


ห้องเรียนตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่ง
ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึง่ เป็ นตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปั จจุบันกับผู้อำนวยการสถาน
ศึกษา ไว้ดังต่อไปนี ้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
PA 1/ส
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 24 ชั่วโมง/สัปดาห์
ดังนี ้
ภาษาไทยพื้นฐาน (ม.1) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาษาไทยพื้นฐาน (ม.2) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาษาไทยพื้นฐาน (ม.4) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชุมนุมคลินิกหมอภาษา (ม.1-ม.3) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา
ไทย จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ม.3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2
ชั่วโมง/สัปดาห์
- การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 4
ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานฝ่ ายบริหารงานบุคคล
จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานฝ่ ายบริหารงานงบประมาณ
จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
PA 1/ส
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของ
งานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้
ในการดำเนินการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว
้ ัด
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
การประเมิน ตกลงที่คาดหวังให้ เรียน
(โปรดระบุ) เกิดขึน
้ กับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็น
(โปรดระบุ) ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการ
พัฒนา มากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์หลักสูตร 1. ผู้เรียนเกิดการ 1. ผู้เรียนร้อย
ลักษณะงานที่เสนอให้ และจัดทำหน่วยการ พัฒนาทักษะการ ละ 80 สามารถ
ครอบคลุมถึงการสร้าง เรียนรู้จากมาตรฐาน เขียนสะกดคำ เขียนสะกดคำ
และหรือพัฒนาหลักสูตร การเรียนรู้ ตัวชีว้ ัดนำไป กระบวนการคิด หรือคำศัพท์ที่ใช้
การออกแบบการจัดการ จัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่ การใช้ภาษาไทยที่ ในชีวิตประจำ
เรียนรู้การจัดกิจกรรม สอดคล้องกับมาตรฐาน ถูกต้อง วันได้ถูกต้อง
การเรียนรู้การสร้างและ การเรียนรู้และตัวชีว้ ัด 2. ผู้เรียนเกิดการ 2. ผู้เรียนร้อย
หรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม 2. จัดทำแผนการ พัฒนาทักษะการ ละ 80 สามารถ
เทคโนโลยี และแหล่ง จัดการเรียนรู้โดยใช้ เขียนโดยใช้บท ทำแบบฝึ กหัด
เรียนรู้ การวัดและ กระบวนการเรียนรู้ เรียนสำเร็จรูปและ จากบทเรียน
ประเมินผลการจัดการ หลากหลายตรงกับ การเรียงความโดย สำเร็จรูปและ
เรียนรู้ การศึกษา ความแตกต่างระหว่าง ใช้ความรอบรู้เกี่ยว เขียนเรียงความ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ บุคคล กับอาชีพในชุมชน แบบสัน
้ ได้
PA 1/ส
เพื่อแก้ปัญหาหรือ 3. จัดทำบทเรียน ของตนเองหรือ 3. ผู้เรียนร้อย
พัฒนาการเรียนรู้ การ สำเร็จรูป/สื่อการสอน เหตุการณ์ปัจจุบันที่ ละ 80 เกิด
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม ที่มาจากปั ญหาการ สนใจ กระบวนการคิด
และพัฒนาผู้เรียน และ เรียนรู้ของผู้เรียนที่ตรง 3. ผู้เรียนเกิดการ การนำไป
การอบรมและพัฒนา กับความต้องการตาม ทักษะการเขียน ประยุกต์ใช้ใน
คุณลักษณะที่ดีของผู้ ความแตกต่างระหว่าง เรียงความด้วย การพัฒนาการ
เรียน บุคคลที่สอดคล้องกับ เทคนิควิธีการสอน เขียนได้
การวัดผลประเมินผล แบบ บันได 4 ขัน
้ 4. ผู้เรียนร้อย
และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้ 4. ผู้เรียนเกิดความ ละ 80 มีผล
เรียน พึงพอใจต่อการ ์ างการ
สัมฤทธิท
4. จัดบรรยากาศ โดยผู้ เรียนวิชาภาษาไทย เรียนวิชาภาษา
เรียนมีส่วนร่วมเพื่อให้ มากยิ่งขึน
้ ไทยสูงขึน

น่าสนใจที่เอื้อต่อการ 5. ผู้เรียนร้อย
เรียนรู้ของผู้เรียน ละ 80 มีความ
5. ฝึ กฝนความเป็ น พึงพอใจต่อการ
ระเบียบวินัย/การอบรม เรียนวิชาภาษา
คุณธรรม จริยธรรมจาก ไทย
การใช้ทักษะชีวิต โดย
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

2. ด้านการส่งเสริมและ 1. จัดทำรายงานข้อมูล 1. ผู้เรียนใช้ข้อมูล 1. ผู้เรียนร้อย


สนับสนุน สารสนเทศผู้เรียนราย สารสนเทศตรวจ ละ 100 ได้ใช้
การจัดการเรียนรู้ บุคคลและข้อมูล สอบและรายงาน ประโยชน์จาก
PA 1/ส
ลักษณะงานที่เสนอให้ รายวิชาที่สอนผ่าน ผลระบบดูแลช่วย สารสนเทศใน
ครอบคลุมถึง ระบบออนไลน์ SNW เหลือผู้เรียนผ่าน ระบบดูแลช่วย
การจัดทำข้อมูล Systems ระบบ School เหลือผู้เรียนด้วย
สารสนเทศของผู้เรียน 2. การออกเยี่ยมบ้าน Health hero ของ ระบบ School
และรายวิชาการดำเนิน คัดกรองรวมไปถึงผู้ ตนเอง Health hero
การตามระบบดูแลช่วย ปกครองเข้ามามีส่วน 2. ผู้เรียนและผู้ 2. ผู้ปกครอง/ผู้
เหลือผู้เรียน การปฏิบัติ ร่วมในการให้ความช่วย ปกครองมีส่วนร่วม ที่เกี่ยวข้องร้อย
งานวิชาการ และงานอื่น เหลือตามระบบดูแล กับครูผู้สอนในการ ละ 100
ๆ ของสถานศึกษาและ ช่วยเหลือผู้เรียน แก้ไขปั ญหาผู้เรียน สามารถรับรู้
การประสานความร่วมมือ 3. ปฏิบัติหน้าที่งานฝ่ าย ในด้านการเรียนรู้ ความก้าวหน้า
กับผู้ปกครองภาคีเครือ บริหารงานบุคคล งาน และระบบดูแลช่วย พัฒนาการของผู้
ข่าย และหรือสถาน ประชาสัมพันธ์ และงาน เหลือผู้เรียนราย เรียน
ประกอบการ บัญชีฝ่ายบริหารงานงบ บุคคล
ประมาณหรืองานอื่น ๆ 3. ผู้เรียนได้รับการ
ที่ได้รับมอบหมาย ช่วยเหลือเมื่อเกิด
ปั ญหาในระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียน
เช่น การแนะแนว

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว


้ ัด
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
การประเมิน ตกลงที่คาดหวัง เรียน
(โปรดระบุ) ให้เกิดขึน
้ กับผู้ ที่แสดงให้เห็น
เรียน (โปรดระบุ) ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการ
พัฒนา มากขึน

PA 1/ส
หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
3. ด้านการพัฒนา 1. การเข้าร่วมการ 1. ใช้ทักษะ/องค์ 1. ผู้เรียนร้อย
ตนเองและวิชาชีพ อบรม/การประชุมใน ความรู้มาบูรณา ละ 80 มีผล
ลักษณะงานที่เสนอให้ ศาสตร์วิชาต่าง ๆ ที่ การ/สอดแทรก สัมฤทธิว์ ิชา
ครอบคลุมถึงการพัฒนา สามารถนำมา ในเนื้อหาสาระ ภาษาไทยใน
ตนเองอย่างเป็ นระบบ พัฒนาการจัดการศึกษา วิชาในการจัดการ ระดับคุณภาพ 3
และต่อเนื่อง การมีส่วน 2. การทำกิจกรรม เรียนรู้หรือพัฒนา ขึน
้ ไป
ร่วมในการแลกเปลี่ยน ชุมชนแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรมการ 2. ผู้เรียนร้อย
เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ ทางวิชาชีพกับกลุ่ม เรียนรู้ที่ ละ 80 ได้รับ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ สาระอื่น ๆ เพื่อแลก สอดคล้องกับ การพัฒนา
และการนำความรู้ความ เปลี่ยนปั ญหาการเรียนรู้ ความแตกต่าง ทักษะภาษาจาก
สามารถทักษะที่ได้จาก ของผู้เรียน ระหว่างบุคคล นวัตกรรมที่ครูผู้
การพัฒนาตนเองและ 2. ร่วมกิจกรรม สอนประยุกต์ใช้
วิชาชีพมาใช้ในการ ชุมชนการเรียนรู้ เช่น ชุดฝึ กนอก
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ทางวิชาชีพแลก เวลา เป็ นต้น
การพัฒนาคุณภาพผู้ เปลี่ยนปั ญหาใน
เรียน และการพัฒนา การจัดการเรียน
นวัตกรรมการจัดการ การสอนของผู้
เรียนรู้ เรียนที่หลาก
หลาย

หมายเหตุ
PA 1/ส
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA1 ให้เป็ นไป
ตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบ
ร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็ นงานใน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และ
ให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลัก
ที่ทำการสอนทุกระดับชัน
้ ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใด
วิชาหนึ่งได้โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และ
คณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตาม
แบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์
การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชีว้ ัด (Indicators) ที่เป็ นรูปธรรม
และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้
คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ
การจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้
เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็ นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจาก
เอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนา


ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำ
ข้อตกลง ซึ่งปั จจุบันดำรงตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึง
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการ
พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขน
ึ ้ หรือ
มีการพัฒนามากขึน
้ (ทัง้ นี ้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติ
ที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
PA 1/ส
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนทางภาษา
1. สภาพปั ญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
สภาพปั ญหาของผู้เรียนที่ใช้ภาษาไทย ยังพบปั ญหาอย่างมากใน
การเขียนให้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาไทย ซึง่ ผู้เรียนขาดทักษะพื้นฐานสำคัญ
ในการสะกดคำ การฝึ กแจกลูกสะกดคำ การใช้คำศัพท์ผิดบ่อยครัง้ จึงส่งผลให้ผู้
เรียนไม่สามารถสื่อสารได้เท่าที่ควร ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิม
ยังไม่ส่งผลให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้เท่าที่ควร เนื่องมาจากบริบทของสิ่งแวดล้อม
การเข้าถึงสื่อ/เทคโนโลยีของผู้เรียนค่อนข้างไม่ครอบคลุม จึงส่งผลให้การจัดการ
เรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย ดังนัน
้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะ
การเขียนที่ดีขน
ึ ้ ครูผู้สอนจึงใช้วิธีการประยุกต์จากเทคโนโลยีด้วยบทเรียน
สำเร็จรูปทักษะการเขียนคำผสมผสานกับทักษะการเขียนเรียงความด้วยเทคนิค
บันได 4 ขัน
้ จากความรอบรู้เกี่ยวกับอาชีพในชุมชนของตนเองหรือเหตุการณ์
ปั จจุบันที่สนใจ ประกอบไปด้วย
1. ฝึ กเขียนบรรยายสัน
้ ๆ สิง่ ต่าง ๆ ที่มองเห็น
2. ฝึ กเขียนโวหารด้วยประโยคสัน
้ ๆ
3. ฝึ กเล่าเรื่องจากประสบการณ์
4. จับประเด็น/ทดลองเขียนอิสระ
เพื่อให้กิจกรรมมีความหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อีกทัง้ ยังเป็ นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึ กฝนทักษะได้ทุก
เวลาจากเทคโนโลยีซึ่งทำให้กิจกรรมน่าสนใจมากยิ่งขึน

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
พัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปทักษะการเขียนทางภาษาผสมผสานกับ
การจัดการเรียนรู้ด้วยการฝึ กทักษะการเขียนเรียงความสัน
้ ๆ ด้วยบันได 4 ขัน
้ ใน
รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ครูผู้สอนติดตามความก้าวหน้าจากการทำแบบฝึ กหัด
จากบทเรียนทักษะทางภาษากับการเขียนเรียงความสัน
้ ๆ โดยพิจารณาจาก
ทักษะการเขียนคำที่ถูกต้อง และในระหว่างการพัฒนา ครูผู้สอนนำปั ญหาที่เกิด
PA 1/ส
ขึน
้ กับผูเ้ รียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผส
ู้ อนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
เพื่อที่จะหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นไปตามที่กำหนดไว้
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนซับน้อยเหนือวิทยาคม
จำนวน 89 คน ร้อยละ 80 ที่เรียนในรายวิชาภาษาไทยพื้นฐานมีผลการพัฒนา
ทักษะการเขียนที่ถูกต้องและผลสัมฤทธิเ์ พิ่มสูงขึน

3.2 เชิงคุณภาพ
การปรับประยุกต์/เทคนิค/สื่อการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ
การเขียนทางภาษาที่ผสมผสานกับเทคนิคการสอนทักษะการเขียนด้วย บันได 4
ขัน
้ ในวิชาภาษาไทยพื้นฐาน โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปและรูปแบบการจัดการ
เรียนรู้เป็ นฐานในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้

ลงชื่อ...................................................
(นายศักดิช์ ัย กล้าหาญ)
ตำแหน่ง ครู คศ.1
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนา
งาน
......./......./.......
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะ
เพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อพิจารณาอีกครัง้ ดังนี ้
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
PA 1/ส
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ......................................................
.............
(นางสาวนันท์นภัส ชะฎา
จิตร)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนซับน้อย
เหนือวิทยาคม
......./......./........

You might also like