You are on page 1of 30

คำนำ

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) จัดทำขึ้นเพื่อ นำเสนอข้อตกลง


ในการพัฒนางานสำหรับ
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู เพื่อคงวิทยฐานะ ประจำ
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2567
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2567 เสนอต่อผู้
อำนวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจำนงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนา
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำ
วิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตรให้สูงขึ้น
โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับ การปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและ
วิทยฐานะที่ดำรงอยู่ สอดคล้องกับ เป้ าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบาย
ของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อำนวยการ สถานศึกษาได้เห็น
ชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 แบบ ข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูทุกคน ต้องจัดทำข้อตกลง
ในการพัฒนางานตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนด ทุกปี งบประมาณ เสนอต่อผู้
อำนวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบ โดยข้อตกลงใน
การพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่งครู และมีภาระงานตามที่
ก.ค.ศ. กำหนด
2) ผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมและ
สนับสนุนการจัดการเรียนรู้
และด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ข้าพเจ้าขอขอบคุณผู้อำนวยการโรงเรียน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ ายที่
มีส่วนร่วมให้การจัดทำข้อตกลง ในการพัฒนา (PA) ครั้งนี้สำเร็จลุล่วง
ด้วยดี ข้าพเจ้าจะนำไปพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม
ให้เกิดประสิทธิภาพ เต็มตามศักยภาพของผู้เรียนต่อไป

สุดารัตน์ ศรแก้ว
ตำแหน่ง ครู

สารบัญ
เรื่อง หน้

คำนำ ก
สารบัญ ข
คำอธิบายข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ค
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) 1
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐาน 1
ตำแหน่ง 7
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็ นประเด็น
ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์
การเรียนรู้ของนักเรียน
คำอธิบายข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
คำชี้แจงการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA)
หมายความว่า ข้อตกลงที่ข้าราชการครู ได้เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา
เพื่อแสดงเจตจำนงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้
ของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ ที่สำคัญตามหลักสูตร ให้สูงขึ้น
โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทยฐานะ
ที่ดำรงอยู่ และสอดคล้องกับเป้ าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของ
ส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อำนวยการสถานศึกษาได้เห็น
ชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูทุกคน ต้อง
จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนด ทุก
ปี งบประมาณ เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็น
ชอบ โดยข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่งครู และมีภาระงานตาม
ที่ ก.ค.ศ. กำหนด
2) ผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมและ
สนับสนุนการจัดการเรียนรู้
และด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็ นประเด็นท้าทายในการ
พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน โดยต้องแสดงให้เห็นถึงการปรับ
ประยุกต์ การแก้ปั ญหา ริเริ่ม พัฒนา คิดค้น ปรับเปลี่ยน หรือการสร้างการ
เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ ข้อตกลงในการพัฒนางานต้องมีความสอดคล้องกับเป้ า
หมาย และบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวง
ศึกษาธิการ
การจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ควรกำหนดการดำเนินการใน
แต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถประเมินผลการพัฒนางานตามข้อ
ตกลงได้อย่างชัดเจนและเป็ นธรรม ทั้งนี้ ในระหว่างการดำเนินการตามข้อ
ตกลงในการพัฒนางาน กรณีที่ข้าราชการครูย้าย รักษาการในตำแหน่งผู้
อำนวยการสถานศึกษา ได้รับมอบหมายให้ทำการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ที่ทำข้อตกลงไว้เดิม ให้ดำเนินการดังนี้
1. กรณีที่ข้าราชการครูย้ายสถานศึกษาระหว่างปี งบประมาณให้จัดทำ
ข้อตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำนวยการสถานศึกษาคนใหม่ในสถานศึกษา
ที่ย้ายไปดำรงตำแหน่ง
2. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งผู้
อำนวยการสถานศึกษา ให้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานในตำแหน่งครูกับ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
3. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับมอบหมายให้ทำการสอนต่างวิชา/กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ที่ทำข้อตกลงไว้เดิม ให้ข้าราชการครูจัดทำรายละเอียดข้อ
ตกลงในการพัฒนางานในวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามที่ได้รับมอบหมาย
ใหม่

PA
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู
เพื่อคงวิทยฐานะ
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2567
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน
พ.ศ. 2567

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวสุดารัตน์ นามสกุล ศรแก้ว
ตำแหน่ง ครู คศ.1
สถานศึกษา โรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
รับเงินเดือนในอันดับ - อัตราเงินเดือน 20,770 บาท

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภท


ห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู
ซึ่งเป็ นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปั จจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 19
ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชุมนุม จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมแนะแนว จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน 7 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานวิจัยชั้นเรียน จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานครูที่ปรึกษาประจำชั้น/งานดูแลนักเรียน
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานอนามัย จำนวน 3
ชั่วโมง/สัปดาห์
- ครูเวรประจำวัน จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น
จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ จำนวน
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2567 (คาดการณ์)
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 19 ชั่วโมง/สัปดาห์
ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชุมนุม จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมแนะแนว จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน 7 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานวิจัยชั้นเรียน จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานครูที่ปรึกษาประจำชั้น/งานดูแลนักเรียน
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานอนามัย จำนวน 3
ชั่วโมง/สัปดาห์
- ครูเวรประจำวัน จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น
จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ จำนวน
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของ
งานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน ว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุ
ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด


ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
1. ด้านการจัดการ 1. พัฒนาหลักสูตร 1. นักเรียนมีผล 1. ผู้เรียนร้อยละ
เรียนรู้ วิเคราะห์หลักสูตรให้ทัน สัมฤทธิ์ทางการ 80 มีผล
ลักษณะงานที่ สมัยและเหมาะสมกับผู้ เรียนสูงกว่าค่า สัมฤทธิ์ทางการ
เสนอให้ครอบคลุม เรียนในรายวิชา เป้ าหมายของ เรียนเป็ นไปตาม
ถึง การสร้างและ คณิตศาสตร์ สถานศึกษา ค่าเป้ าหมายของ
หรือพัฒนา สถานศึกษา
หลักสูตร
การออกแบบการ 2. ออกแบบการจัดการ 2. ครูมีวิธีการสอน 2. นักเรียนร้อย
จัดการเรียนรู้ การ เรียนรู้ เนื้อหา/สาระการ การวัดและ ละ 80 ได้เรียน
จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ สื่อประกอบการ ประเมินผลการ รู้วิชาคณิตศาสตร์
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
เรียนรู้ การสร้าง สอน และสอดคล้องกับ เรียนรู้นักเรียนที่ ด้วยรูปแบบการ
และหรือพัฒนาสื่อ ตัวชี้วัดและสาระการ หลากหลาย เรียนรู้ ที่หลาก
นวัตกรรม เรียนรู้แกนกลาง กลุ่ม หลาย และ
เทคโนโลยี และ สาระการเรียนรู้ 3.นักเรียนได้เรียน สอดคล้องกับตัวชี้
แหล่งเรียนรู้ การ คณิตศาสตร์ (ฉบับ รู้ตามแผนการ วัดและสาระการ
วัดและประเมินผล ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จัดการเรียนรู้ที่มี เรียนรู้แกนกลาง
การจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลาง คุณภาพ และ กลุ่มสาระการ
การศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน บันทึกผลหลังการ เรียนรู้
วิเคราะห์ พุทธศักราช 2551 สอนที่สะท้อนผล คณิตศาสตร์ (ฉบั
สังเคราะห์ เพื่อแก้ ในการจัดกิจกรรม บปรับปรุง พ.ศ.
ปั ญหาหรือ การเรียนรู้ 2560) ตาม
พัฒนาการเรียนรู้ หลักสูตรแกน
การจัดบรรยากาศ 3. จัดทำแผนการจัดการ กลางการศึกษา
ที่ส่งเสริมและ เรียนรู้รายวิชา 4. นักเรียนได้ ขั้นพื้นฐาน
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
พัฒนาผู้เรียน และ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระ พัฒนาการเรียนรู้ พุทธศักราช
การอบรมและ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้น ด้วยสื่อที่หลาก 2551
พัฒนาคุณลักษณะ ประถมศึกษาปี ที่ 2 หลาย
ที่ดีของผู้เรียน

5. ครูมีวิธีการสอน 3. นักเรียนร้อย
การวัดและ ละ 80 ได้เรียน
4. สร้างสรรค์สื่อที่ทัน ประเมินผลการ รู้อย่างมีความสุข
สมัยเหมาะสมกับผู้เรียน เรียนรู้นักเรียนที่ และมีความรู้ตาม
และสถานการณ์ หลากหลาย ตัวชี้วัด ตาม
หลักสูตร
6. นักเรียนได้รับ สมรรถนะ/หลักสู
5. ออกแบบการวัดผล การแก้ปั ญหาด้วย ตรต้องรู้ และส่ง
และประเมินผลที่หลาก สื่อและนวัตกรรม ผลให้เข้าใจใน
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
หลายครบถ้วนทุกทักษะ ที่เกิดจากการทำ เนื้อหาที่เรียน
เน้นการสร้างองค์ความรู้ วิจัยในชั้นเรียน
ได้ด้วยตนเองของผู้เรียน เพื่อช่วยแก้ปั ญหา 4. นักเรียนร้อย
ด้านการเรียนรู้ ละ 80 มี
6. ศึกษา วิเคราะห์ และ ของนักเรียน สมรรถนะตามตัว
สังเคราะห์ เพื่อแก้ไข ชี้วัดของหลักสูตร
ปั ญหาหรือพัฒนาการ
เรียนรู้ในรูปแบบวิจัยใน 7. นักเรียนมีส่วน
ชั้นเรียน ร่วม 5. นักเรียนร้อย
ในการจัด ละ 80 ได้เรียน
บรรยากาศ รู้วิชาคณิตศาสตร์
7. สร้างบรรยากาศในการ ในชั้นเรียน ด้วยรูปแบบการ
จัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เรียนรู้ ที่หลาก
ดึงดูดความสนใจของผู้ หลายและ
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
เรียนส่งเสริมการเรียนรู้ 8. นักเรียนมี สอดคล้องกับตัวชี้
คุณธรรม วัดและสาระการ
8. จัดกิจกรรมปลูกฝั ง จริยธรรม และ เรียนรู้แกนกลาง
คุณธรรม อบรมบ่มนิสัยให้ คุณลักษณะอันพึง กลุ่มสาระการ
ผู้เรียนมีคุณธรรม ประสงค์ตาม เรียนรู้
จริยธรรม คุณลักษณะอัน หลักสูตร คณิตศาสตร์
พึงประสงค์ และ (ฉบับปรับปรุง
ค่านิยม 12 ประการ โดย พ.ศ. 2560) ตาม
คำนึงถึง ความแตกต่าง หลักสูตรแกน
ของผู้เรียนเป็ นรายบุคคล กลางการศึกษา
และสามารถแก้ไขปั ญหา ขั้นพื้นฐาน
และพัฒนาผู้เรียนได้ พุทธศักราช
2551
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
6. นักเรียนร้อย
ละ 80 ที่มี
ปั ญหาด้านการ
เรียนรู้
ได้รับการแก้ไข
ปั ญหาผ่าน
กิจกรรมการใช้สื่อ
และนวัตกรรมที่
ครูผู้สอนได้
ออกแบบไว้

7. นักเรียนร้อยละ
80 มีความพึง
พอใจใน
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
บรรยากาศในการ
เรียนรู้ ในระดับ
มาก

8. นักเรียนร้อยละ
100 มี
คุณธรรม จริยธรรม
และคุณลักษณะอัน
พึง
ประสงค์ตาม
หลักสูตร
2. ด้านการส่ง 1. จัดทำข้อมูล 1. ผู้เรียนรู้จัก 1. ผู้เรียนได้รับ
เสริมและ สารสนเทศของผู้เรียนโดย ตนเองและ การแก้ไขและ
สนับสนุน การ การวิเคราะห์ผู้เรียนราย พัฒนาศักยภาพ พัฒนารายวิชา
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
จัดการเรียนรู้ บุคคลในรายวิชา ตนเองได้อย่าง คณิตศาสตร์ที่ดี
ลักษณะงานที่ คณิตศาสตร์ โดยการ เป็ นลำดับ ขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อย
เสนอให้ครอบคลุม ทดสอบก่อนเรียน เพื่อจัด ละ 60 ของผู้ที่
ถึง การจัดทำ กลุ่มผู้เรียน อ่อน ปาน ไม่ผ่านเกณฑ์
ข้อมูลสารสนเทศ กลาง และเก่ง
ของผู้เรียนและ 2. ผู้เรียนได้รับ 2. ผู้เรียนและผู้
รายวิชา การ 2. ดำเนินการตามระบบ การแก้ไขปั ญหา ปกครอง ร้อยละ
ดำเนินการตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้ง โดยมีเครือข่าย 3 80 มีความพึง
ระบบดูแลช่วย 5 ขั้นตอน อย่างทั่วถึง ประสาน คือ ครู พอใจ กับระบบ
เหลือผู้เรียน การ ครบทุกคน มีการเยี่ยม ผู้เรียน และผู้ ดูแลช่วยเหลือ
ปฏิบัติงานวิชาการ บ้านนักเรียน 100 ปกครองร่วมมือ นักเรียนอยู่ใน
และงานอื่น ๆ เปอร์เซ็นต์ และประสาน กันดูแลช่วย ระดับมาก ขึ้นไป
ของสถานศึกษา ความร่วมมือกับผู้ เหลือผู้เรียน
และการประสาน ปกครองผ่าน line group
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
ความร่วมมือกับผู้ บ้านเพื่อป้ องกันและแก้
ปกครอง ภาคี ปั ญหาผู้เรียนอย่างเป็ น 3. ผู้เรียนร้อยละ
เครือข่าย และหรือ ระบบ 3. ผู้เรียนได้รับ 80 ได้รับการดูแล
สถานประกอบการ การดูแลช่วยเหลือ ช่วยเหลือและแก้
3. ปฏิบัติงานด้านบริหาร และแก้ปั ญหา ปั ญหาเพื่อพัฒนา
ราชการ และงานอื่น ๆ เพื่อพัฒนา คุณภาพการเรียน
ของสถานศึกษา คุณภาพการเรียน รู้
-หัวหน้างานบริหารงบ รู้ โดยเรียนรู้ด้วย
ประมาณและสินทรัพย์ กิจกรรมที่หลาก
-หัวหน้างานทะเบียน หลาย ตาม
นักเรียน และงาน โครงการและ
DMC กิจกรรม ที่ทาง
-พัฒนาระบบข้อมูล โรงเรียนจัดขึ้น
สารสนเทศ
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
-จัดกิจกรรมโฮมรูม/ 4. ผู้เรียนร้อยละ
แนะแนว 80 ได้รับแก้ไข
-โครงการและกิจกรรมที่ ปั ญหาทางการ
ได้รับมอบหมาย 4. ผู้เรียนได้รับ เรียนโดยความ
แก้ไขปั ญหา ร่วมมือระหว่างครู
4. ประสานงาน ร่วมมือ ทางการเรียนโดย กับผู้ปกครอง
กับผู้ปกครองและหน่วย ความร่วมมือ
งานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไข ระหว่างครู กับผู้
และติดตามปั ญหา ปกครอง
นักเรียน
3. ด้านการพัฒนา 1. พัฒนาตนเองอย่างเป็ น 1. ผู้เรียนมีสื่อ 1. ผู้เรียนร้อยละ
ตนเองและ ระบบและต่อเนื่อง โดย และแหล่งเรียนรู้ 80 มีผล
วิชาชีพ การอบรม พัฒนาเองผ่าน ที่สามารถศึกษา สัมฤทธิ์ทางการ
ลักษณะงานที่ ระบบออนไลน์ เพื่อให้มี เรียนรู้ได้ด้วย เรียนสูงขึ้น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
เสนอให้ครอบคลุม ความรู้ ผ่าน youtube ตนเองทุกที่ทุก
ถึง การพัฒนา และ google site เกี่ยว เวลา และมีผล
ตนเองอย่างเป็ น กับความรู้ทางคณิตศาสตร์ สัมฤทธิ์ทางการ
ระบบ และต่อ และเทคโนโลยีดิจิทัล และ เรียนที่สูงขึ้น
เนื่อง การมีส่วน อื่น ๆ เพื่อใช้ในการ
ร่วม ในการแลก พัฒนาการเรียนรู้ของผู้
เปลี่ยนเรียนรู้ทาง เรียน ไม่น้อยกว่า 20 2. ผู้เรียนร้อยละ
วิชาชีพ เพื่อ ชั่วโมง/ปี 80 ที่มีปั ญหา
พัฒนาการจัดการ 2. ผู้เรียนได้รับ ได้รับการแก้ไข
เรียนรู้ และการนำ 2. มีส่วนในการเป็ นผู้นำ การแก้ไขปั ญหา ปั ญหาการเรียนรู้
ความรู้ความ ชุมชนการเรียนรู้ทาง จากการเข้าร่วม
สามารถ ทักษะที่ วิชาชีพ กลุ่มสาระการ ชุมชนแห่งการ
ได้จากการพัฒนา เรียนรู้คณิตศาสตร์ และ เรียนรู้ทาง
ตนเอง และ สร้างกลุ่มในการแลก วิชาชีพครู (PLC)
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
วิชาชีพมาใช้ใน เปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ 3. ผู้เรียนร้อยละ
การพัฒนา การ ผ่านกลุ่มไลน์ และกลุ่ม 80 มีผล
จัดการเรียนรู้ การ เฟสบุค สัมฤทธิ์ทางการ
พัฒนาคุณภาพผู้ 3. ผู้เรียนมีผล เรียนสูงขึ้น
เรียน และการ 3. นำความรู้ ความ สัมฤทธิ์ทางการ
พัฒนานวัตกรรม สามารถ ที่ได้จากการ เรียนที่สูงขึ้น
การจัดการเรียนรู้ พัฒนาตนเองและวิชาชีพ
มาใช้ ในการพัฒนาการ
เรียนรู้ เรื่องการแก้โจทย์
ปั ญหาการบวกการลบ
ของนักเรียนชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 2 โดยใช้
กระบวนการจัดการเรียน
รู้แบบ Active Learning
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
ตำแหน่ง การประเมิน ตกลง เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาค ที่คาดหวังให้ ที่แสดงให้เห็นถึง
เรียนที่ 1/2565
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง
กับผู้เรียน ไปในทาง
ที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขึ้น
หรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น
และเผยแพร่กับเพื่อนร่วม
วิชาชีพในกลุ่มเฟสบุ๊ค

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน. ตามแบบให้เป็ นไป
ตามบริบท และสภาพการจัด การเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดย
ความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้
จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็ นงานใน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชา
หลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือก
รายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตาม
มาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อ
ตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับ


ผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่
เป็ นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมิน ผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการ
ปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลง เป็ น
สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนา


ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัด
ทำข้อตกลง ซึ่งปั จจุบันดำรงตำแหน่งครู ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติ
ที่คาดหวัง คือ การปรับปรุงและประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการพัฒนา
คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น หรือมี
การพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการ
ปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทย์


ปั ญหาการบวกการลบ ด้วยแบบฝึ กทักษะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 2 โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

1. สภาพปั ญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
จากประสบการณ์การสอนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 พบว่ามี
นักเรียนประมาณร้อยละ 50 ยังไม่เข้าเข้าใจเกี่ยวกับการแก้โจทย์ปั ญหา การ
บวกการลบ ซึ่งมีเนื้อหาในการเรียนรู้ที่ต้องใช้การคิดวิเคราะห์ ตีความ และ
ต้องมีพื้นฐานการอ่านได้และการบวกการลบให้แม่นยำ ซึ่งได้รับการดูแล
เอาใจใส่ไม่เต็มที่ เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ ชี้ให้เห็นว่า
กระบวนการจัดการเรียนรู้ยังมีข้อบกพร่อง ไม่ว่าจะเป็ นตัวนักเรียนที่มองว่า
วิชาคณิตศาสตร์ เป็ นวิชาที่น่าเบื่อมีเนื้อหาที่ยาก ทำให้ไม่สนใจเรียน ขาด
ความกระตือรือร้น นักเรียนมีบทบาท และมีส่วนร่วมในการเรียนน้อยมาก
ส่วนใหญ่มักเป็ นผู้ฟั ง ขาดการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และขาด
แหล่งเรียนรู้ในการแสวงหา ความรู้ ปั ญหาเหล่านี้จึงเป็ นเรื่องที่ท้ายทายที่ครู
ต้องสร้างนวัตกรรมให้เข้ากับสถานการณ์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้คิดเลขเป็ น จึง
มีความจำเป็ นที่ผู้วิจัยจะต้องปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานในการเรียน
ระดับสูงขึ้นต่อไป

แบบฝึ กทักษะ คือสื่อการเรียนการสอนชนิดหนึ่งที่ใช้ฝึ กทักษะให้


กับผู้เรียนหลังจากเรียน
เนื้อหาในช่วงหนึ่ง ๆ เพื่อฝึ กฝนให้เกิดความเข้าใจ รวมทั้งเกิดความชำนาญ
ในเรื่องนั้น ๆ อย่างกว้างขวางมากขึ้น (อัมพร ม้าคะนองและคำรณ ล้อมใน
เมือง. 2558 : 1) แบบฝึ กทักษะ เป็ นเทคนิคการสอนที่สนุกอีกวิธีหนึ่ง
คือการให้นักเรียนทำแบบฝึ กมาก ๆ สิ่งที่จะช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการ
ทางการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาได้ดีขึ้น เพราะนักเรียนมีโอกาสนำความรู้ที่
เรียนมาแล้วมาฝึ กให้เกิดความเข้าใจกว้างขวางขึ้น มีพัฒนาการทางการเรียน
รู้ ในเนื้อหาวิชาได้ดีขึ้นเพราะนักเรียน มีโอกาสนำความรู้ที่เรียนมาแล้วมา
ฝึ กให้เกิดความเข้าใจกว้างขวางขึ้น (วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. 2555 :
131) ซึ่งมีงานวิจัยที่ได้ทำการศึกษาผลการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะ
ประกอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค TAI พบว่า
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น (สลาย ปลั่งกลาง. 2562 :
69)
Active Learning เป็ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
การสร้างสรรค์ทางปั ญญา
(Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง
ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็ นผู้
แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดย
กระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียน มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์
และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้
เป็ นไป อย่างมีความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อื่น ๆ ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558)
ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็ น
ดังนี้ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2553)
1. เป็ นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด
การแก้ปั ญหา และการนำความรู้ ไปประยุกต์ใช้
2. เ ป็ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น
กระบวนการเรียนรู้สูงสุด
3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความ
รู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน
5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทํางาน และ
การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6. เป็ นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟั ง คิดอย่าง
ลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็ นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. เป็ นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง
8. เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือ
สารสนเทศ และหลักการความคิด รวบยอด
9. ผู้สอนจะเป็ นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้
เรียนเป็ นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง
10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุป
ทบทวนของผู้เรียน
กระบวนการเรียนรู้Active Learning ทำให้ผู้เรียนสามารถรักษา
ผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มาก
และนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการ
เรียนรู้Active Learning สอดคล้องกับ
การทำงานของสมองที่เกี่ยวข้องกับความจำโดยสามารถเก็บ และจำสิ่งที่ผู้
เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์ กับเพื่อน ผู้
สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจำในระบบ
ความจำ
ระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ในปริมาณ
ที่มากกว่า ระยะยาวกว่า
จากความสำคัญและความเป็ นมาของปั ญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมี
ความเห็นว่า กระบวนการ
เรียนรู้ Active Learning เป็ นวิถีทางนำไปสู่ความสำเร็จ อย่างมีความสุข
และเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีพัฒนาการทางสังคม ซึ่งมี
ผลต่อการพัฒนาคุณลักษณะ ดี เก่ง มีความสุขของผู้เรียน ผู้เรียนเกิดความ
ภูมิใจ มีน้ำใจ รู้จักเสียสละส่งผลให้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 เป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นต่อไป

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
2.1 ศึกษาหลักสูตรและเอกสารที่เกี่ยวกับหลักสูตร เพื่อ
ให้เข้าใจมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ การวัดและประเมิน
ผล จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ปรับปรุ
ง 2561) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม ฉบับปรับปรุง 2564
2.2 ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรเนื้อหา กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
2.3 ศึกษาแนวคิด หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ
สร้างแบบฝึ กทักษะ
2.4 ศึกษารูปแบบการสร้างแบบฝึ กทักษะซึ่งในงานวิจัยนี้ผู้วิจัย
ได้อาศัยรูปแบบการสร้าง
ของ สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2558 : 14-15) เป็ นแนวทางสร้างแบบฝึ ก
ทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยม
2.5 เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ทศนิยม ตาม
เนื้อหาที่กำหนดให้
ในหน่วยการเรียนรู้ โดยเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ และให้ผู้เรียนได้ค้นพบ
องค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จะรองรับกับสภาพ
การจัดการเรียนรู้ทั้งในสถานการณ์ปกติ และสถานการณ์ที่มีข้อจำกัด เช่น
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ซึ่งต้องจัดการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ตด้วยแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ
2.6 ประเมินผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้
เรื่อง การแก้โจทย์ปั ญหาการบวกการลบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ด้วย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การแก้โจทย์ปั ญหาการบวกการลบ 2.7 จัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนด โดยมีผู้บริหาร
หัวหน้ากลุ่มสาระ หรือครู ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ร่วมสังเกตการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เกิดขึ้น เพื่อนำผลไปใช้ในการปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อ
การเรียนรู้ต่อไป
2.7 ประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียน การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง
การแก้โจทย์ปั ญหาการบวกการลบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ด้วยแบบ
ทดสอบหลังเรียน
2.8 ปรับปรุงหรือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสื่อ
การเรียนรู้ให้มีคุณภาพมากขึ้นตามผลการสะท้อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และผลการประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียน

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม
จำนวน 38 คน ที่ได้รับการพัฒนา
การเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทย์ปั ญหาการบวกการลบ ด้วยแบบฝึ กทักษะ โดย
ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยมีคะแนนทดสอบ
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด
3.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม
จำนวน 38 คน มีความรู้ความเข้าใจในการเรียนรู้เรื่อง ทศนิยม ด้วยแบบฝึ ก
ทักษะ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน เพื่อ
ใช้ ในการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้

ลงชื่อ...............................................
.........................
(นางสาวสุดารัตน์ ศร
แก้ว)
ตำแหน่ง ครู
ผู้จัดทำข้อตกลงในการ
พัฒนางาน
1/ ตุลาคม /2566

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอ
แนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
.............................................................................................
..........................................
.........................................................................................................................
.....................................................
ลงชื่อ...............................................
.........................
(นางสาวสุชีรา
ช้างเยาว์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
โรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม
1 / ตุลาคม / 2566

You might also like