You are on page 1of 28

1

คำอธิบายข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) (สามารถตัดออกได้ครับ)


คำชีแ
้ จงการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA)
หมายความว่า ข้อตกลงที่ข้าราชการครู ได้เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา
เพื่อแสดงเจตจำนงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้
เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และสมรรถนะ ที่สำคัญตามหลักสูตร ให้สูงขึน
้ โดยสะท้อนให้เห็นถึง
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทยฐานะ ที่ดำรงอยู่ และ
สอดคล้องกับเป้ าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อำนวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลง
ในการพัฒนางาน
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูทุกคน ต้องจัด
ทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนด ทุกปี งบประมาณ
เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยข้อตกลง
ในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังต่อไปนี ้
3
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่งครู และมีภาระงานตามที่
ก.ค.ศ. กำหนด
2) ผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมและ
สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ และด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็ นประเด็นท้าทายในการ
พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยต้องแสดงให้เห็นถึงการปรับประยุกต์
การแก้ปัญหา ริเริ่ม พัฒนา คิดค้น ปรับเปลี่ยน หรือการสร้างการเปลี่ยนแปลง
ทัง้ นี ้ ข้อตกลงในการพัฒนางานต้องมีความสอดคล้องกับเป้ าหมาย และบริบท
สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ
การจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ควรกำหนดการดำเนินการในแต่ละ
กิจกรรมให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงได้
อย่างชัดเจนและเป็ นธรรม ทัง้ นี ้ ในระหว่างการดำเนินการตามข้อตกลงในการ
พัฒนางาน กรณีที่ข้าราชการครูย้าย รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถาน
ศึกษา ได้รับมอบหมายให้ทำการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ทำข้อ
ตกลงไว้เดิม ให้ดำเนินการดังนี ้
1. กรณีที่ข้าราชการครูย้ายสถานศึกษาระหว่างปี งบประมาณให้จัดทำข้อ
ตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำนวยการสถานศึกษาคนใหม่ในสถานศึกษาที่ย้าย
ไปดำรงตำแหน่ง
2. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับการแต่งตัง้ ให้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวย
การสถานศึกษา ให้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานในตำแหน่งครูกับผู้อำนวย
การสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
4
3. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับมอบหมายให้ทำการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ที่ทำข้อตกลงไว้เดิม ให้ข้าราชการครูจัดทำรายละเอียดข้อตกลงใน
การพัฒนางานในวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามที่ได้รับมอบหมายใหม่

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ไม่มี
วิทยฐานะ)
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ.
2565

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวตาลอย นามสกุล นอนน้อย ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียน........................ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา ........................
รับเงินเดือนในอันดับ คศ.1 อัตราเงินเดือน - บาท

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภท


ห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
5
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู
วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
ซึ่งเป็ นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปั จจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี ้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15
ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี ้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม
จำนวน 7.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชุมนุมเกมคณิตศาสตร์ จำนวน 0.83
ชั่วโมง/สัปดาห์
ลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน 0.83
ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน
0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3
ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
6
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 (คาดการณ์)


1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15
ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี ้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3
จำนวน 7.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชุมนุมเกมคณิตศาสตร์ จำนวน 0.83
ชั่วโมง/สัปดาห์
ลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน 0.83
ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน
0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3
ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
7
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของ
งานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลา
ที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
1. ด้านการจัดการ ภาคเรียนที่ 2/2564 และ
เรียนรู้ 1/2564
ลักษณะงานที่เสนอ มีการจัดทำรายวิชาและหน่วย
ให้ครอบคลุมถึง การเรียนรู้ เรื่อง ความน่าจะ
การสร้างและหรือ เป็ น ของนักเรียนชัน
้ - ผู้เรียนได้เรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 80
พัฒนาหลักสูตร มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ เกี่ยวกับหลักการ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
การออกแบบการ 2 ปี การศึกษา 2564 นับเบื้องต้น และนำ เนื้อหาหลักการนับ
จัดการเรียนรู้ การ มีกระบวนการในการดำเนิน ความรู้ไปอธิบาย เบื้องต้น โดย
8
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
จัดกิจกรรมการ การดังนี ้ สถานการณ์ที่เกิด พิจารณาจากผล
เรียนรู้ การสร้าง 1.1-1.2 การสร้างและพัฒนา ขึน
้ ในชีวิตประจำ การเรียนรู้ผ่าน
และหรือพัฒนาสื่อ หลักสูตร และการออกแบบ วันได้ เกณฑ์ร้อยละ 70
นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ ของแบบฝึ กหัดใน
เทคโนโลยี และ - จัดการวิเคราะห์หลักสูตร เอกสาร
แหล่งเรียนรู้ การวัด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี ้ คณิตศาสตร์เรื่อง
และประเมินผลการ วัด นำไปจัดทำรายวิชา ความน่าจะเป็ น
จัดการเรียนรู้ การ คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 (วิทย์)
- ผู้เรียนได้ฝึก
ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำหน่วยการเรียนรู้ให้
ทักษะและ
สังเคราะห์ เพื่อแก้ สอดคล้องกับหลักสูตรสถาน
- ผู้เรียนร้อยละ 80
กระบวนการทาง
ปั ญหาหรือ ศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง
มีทักษะและ
คณิตศาสตร์ในด้าน
พัฒนาการเรียนรู้ การศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
กระบวนการทาง
9
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
การจัดบรรยากาศที่ พุทธศักราช 2551 (ฉบับ การคิดคำนวณและ คณิตศาสตร์ในด้าน
ส่งเสริมและพัฒนาผู้ ปรับปรุง 2561) โดยมีการปรับ การแก้ปัญหา โดย การคิดคำนวณและ
เรียน และการอบรม ประยุกต์ให้สอดคล้องกับ ใช้เอกสาร การแก้ปัญหา โดย
และพัฒนา บริบทของโรงเรียน คณิตศาสตร์ เรื่อง พิจารณาจากการ
คุณลักษณะที่ดีของ 1.3-1.4 การจัดกิจกรรมการ ความน่าจะเป็ น ตอบคำถามของ
ผู้เรียน เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ แบบฝึ กหัดใน
ผ่านกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียน เอกสาร
ปฏิบัติ เรื่อง ความน่าจะเป็ น คณิตศาสตร์ เรื่อง
โดยเน้นกิจกรรมให้นักเรียนได้ ความน่าจะเป็ น
เรียนรู้ร่วมกัน และเน้นความ - นักเรียนมีผล ผ่านเกณฑ์ร้อย
แตกต่างของนักเรียนราย ์ างการ
สัมฤทธิท ละ 70
บุคคล แบ่งกลุ่มนักเรียนตาม เรียนสูงกว่าค่าเป้ า
10
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
ความสามารถทางคณิตศาสตร์ หมายของสถาน
แล้วให้นักเรียนช่วยเหลือกันใน ศึกษา - นักเรียนร้อยละ

การเรียน โดยใช้ส่ อ
ื เรื่อง 80 มีผลสัมฤทธิ ์

ความน่าจะเป็ น ในรูปแบบใบ ทางการเรียน

กิจกรรม และ PowerPoint ตัง้ แต่ระดับผลการ

ส่งเสริมให้นักเรียนฝึ กฝน เรียน 2.0 ขึน


้ ไป

ทักษะการคิดและสร้างชิน
้ งาน - นักเรียนร้อยละ

เกมอย่างง่ายด้วยตนเองได้ 90 มีคะแนน
- นักเรียนที่มีผล
1.5 มีการวัดและประเมินผล คุณลักษณะอันพึง
การเรียนรู้ไม่ผ่าน
ตามสภาพจริง โดย วัดและ ประสงค์ ตัง้ แต่
เกณฑ์ ได้รับการ
ประเมินการเรียนรู้จากการเข้า ระดับดีขน
ึ ้ ไป
ซ่อมเสริม แก้ไข
ร่วมกิจกรรมในชัน
้ เรียน การ - นักเรียนร้อยละ
11
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
ทำงานกลุ่ม ปรับปรุงและ 90 มีคะแนนอ่าน
การนำเสนอ การสื่อสารด้วย พัฒนาจนมีผลการ คิดวิเคราะห์และ
สัญลักษณ์และภาษา เรียนรู้ผ่านเกณฑ์ที่ เขียน ตัง้ แต่ระดับดี
คณิตศาสตร์ และพิจารณา กำหนด ขึน
้ ไป
จากชิน
้ งานเกมความน่าจะเป็ น - นักเรียนมีความ - นักเรียนร้อยละ
ที่นักเรียนนำความรู้เรื่องความ สุขในการเรียน 100 ในกลุ่มที่มีผล
น่าจะเป็ นไปสร้างเกมด้วย คณิตศาสตร์ และมี การเรียนรู้ไม่ผ่าน
ตนเอง และนำเสนอแลก ความคิดเห็นในทาง เกณฑ์ได้รับการ
เปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนใน บวกกับการจัด ซ่อมเสริม แก้ไข
ห้องเรียนได้เล่นเกม บรรยายกาศในชัน
้ ปรับปรุงและ
1.6 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ เรียน พัฒนาจนมีผลการ
สังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับ เรียนรู้ผ่านเกณฑ์
12
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
การจัดการเรียนการสอน เรื่อง - นักเรียนร้อยละ
ความน่าจะเป็ น และนำความรู้ 90 มีความคิดเห็น
ที่ได้มาวางแผนในการจัดทำ เกี่ยวกับการจัดการ
วิจัยในชัน
้ เรียน เพื่อแก้ปัญหา เรียนการสอนของ
นักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ไม่ ครูอยู่ในระดับ
ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีการ มาก(3.50) ขึน
้ ไป
บันทึกรายละเอียดไว้ในหลัง
แผนการจัดการเรียนรู้
1.7-1.8 มีการพัฒนาการจัด
บรรยายกาศในชัน
้ เรียนให้
เหมาะสมกับวัยของนักเรียน
เช่น มีการจัดบรรยากาศ
13
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
เหมือนรายการเกมโชว์
เปิ ดเพลง (ความดังอย่าง
เหมาะสม) ให้นักเรียนรู้สึก
สนุก เร้าใจ และช่วยกระตุ้นให้
นักเรียนต้องการมีส่วนร่วมกับ
กิจกรรม ส่งเสริมนักเรียนทุก
คนให้มีโอกาสนำเสนอความ
คิดเห็น และออกมานำเสนอ
หน้าชัน
้ เรียนเป็ นประจำ สร้าง
แรงบันดาลใจในการเรียนและ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับชีวิต
ประจำวัน เพื่อให้นักเรียนเห็น
14
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
คุณค่าในการเรียน และ
ประโยชน์ที่เกิดขึน
้ จากการ
เรียนรู้ ร่วมทัง้ ใช้ส่ อ

เทคโนโลยีเข้ามาช่วยลดระยะ
เวลาในการเรียนรู้ของนักเรียน
สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย
ขึน
้ และส่งเสริมคุณลักษณะที่
ดีของผู้เรียน คือ ความรับผิด
ชอบในการส่งภาระงาน และมี
ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ในการ
ทำงานในรายวิชาคณิตศาสตร์
และทดสอบความรู้ด้วยตนเอง
15
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
2. ด้านการส่งเสริม
และสนับสนุน การ
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศ - นักเรียนได้รับการ - นักเรียนร้อยละ
จัดการเรียนรู้
รายวิชา คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ปรับปรุง แก้ไข 90 ได้รับการ
ลักษณะงานที่เสนอ
4 (วิทย์) และคณิตศาสตร์เพิ่ม และพัฒนา เป็ น ปรับปรุง แก้ไข
ให้ครอบคลุมถึง
เติม 4 โดยใช้ Google form รายบุคคลตาม และพัฒนาผลการ
การจัดทำข้อมูล
และโปรแกรม Microsoft ข้อมูลสารสนเทศ เรียนรู้ให้ผา่ นเกณฑ์
สารสนเทศของผู้
Excel ในการจัดเก็บข้อมูล ประจำวิชา ที่กำหนด
เรียนและรายวิชา
และสรุปสารสนเทศในรูปแบบ
การดำเนินการตาม
กราฟแท่ง และรายงานผล
ระบบดูแลช่วยเหลือ
สะท้อนกลับให้นักเรียนทุก
ผู้เรียน การปฏิบัติ
สัปดาห์ที่มีการบันทึกผลการ
งานวิชาการ และ
16
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
งานอื่น ๆ ของ เรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนทราบว่า - นักเรียนได้รับการ - นักเรียนร้อยละ
สถานศึกษา และ ต้องปรับปรุงแก้ไขผลการเรียน ดูแล ผ่านระบบ 100 ได้ผ่านการ
การประสานความ ในหัวข้อใดบ้าง หรือนักเรียน ดูแลช่วยเหลือผู้ ประเมิน SDQ ,
ร่วมมือกับผู้ คนใดยังไม่ได้ทดสอบ หรือส่ง เรียน เพื่อแก้ไข การเยี่ยมบ้าน
ปกครอง ภาคีเครือ ภาระ/ชิน
้ ที่กำหนด ปรับปรุง พัฒนาใน กิจกรรมโฮมรูม
ข่าย และหรือสถาน 2.2, 2.4 มีการดำเนินการ เรื่องของการปรับ และกิจกรรมการ
ประกอบการ ตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้ ตัวในการเรียน การ ประชุมผู้ปกครอง
เรียน โดยบันทึกข้อมูลส่วนตัว ใช้ชีวิตในโรงเรียน
ของนักเรียนแต่ละคนผ่าน และปรับพฤติกรรม
ระบบออนไลน์ ด้วย Google ให้เหมาะสม เป็ น
form และสรุปเป็ นสารสนเทศ ไปตามระเบียบ ข้อ
ในรูปแบบของแผนภูมิวงกลม บังคับของโรงเรียน
17
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
ดำเนินกิจกรรมกรรมเยี่ยมบ้าน และประสานความ
ออนไลน์ การประเมิน SDQ ร่วมมือกับผู้
นักเรียนผ่านระบบ Student ปกครองในการ
Care และจัดกิจกรรมโฮมรู กำกับติดตาม - นักเรียนร้อยละ
มนักเรียนทุกเช้า เพื่อเป็ นการ นักเรียนในการ 90 ได้เข้าร่วม
เตรียมความพร้อมให้นักเรียน เรียนการเรียน และ กิจกรรมที่กลุ่ม
และแจ้งข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ พฤติกรรมให้เหมาะ สาระการเรียนรู้
ให้กับนักเรียนทราบ มีการจัด สม คณิตศาสตร์ได้จัด
กิจกรรมการประชุมผู้ปกครอง ขึน

ในรูปแบบออนไลน์ และมีกลุ่ม
- นักเรียนได้รับการ
ไลน์สำหรับแจ้งข้อมูลข่าวสาร
พัฒนาความรู้ความ
ของทางโรงเรียนให้กับผู้
18
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
ปกครอง สามารถทาง
2.3 ปฏิบัติงานเพื่อพัฒนา คณิตศาสตร์ ผ่าน
คุณภาพการศึกษาของ สื่อ นวัตกรรมที่ครู
โรงเรียน ดังนี ้ สร้างและพัฒนาขึน

- ปฏิบัติงานวิชาการ โดย ในรูปแบบต่างๆ
ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการของ และได้ร่วมกิจกรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการ
คณิตศาสตร์ โดยร่วมกับคุณครู เรียนรู้คณิตศาสตร์
ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธ
กิจ และเป้ าหมาย และกำหนด
ตัวชีว้ ัดความสำเร็จของกลุ่มสา
ระฯ มีโครงสร้างการบริหาร
19
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
และพรรณนางานที่ชัดเจน ใน
การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
และร่วมกับคุณครูจัดการเรียน
รู้ให้กับผู้เรียน
โดยใช้ส่ อ
ื ที่ครูสร้างขึน
้ ร่วม
กับเทคโนโลยีทางการศึกษา
ให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของ
นักเรียน
- ปฏิบัติงานกรรมการศูนย์
พัฒนาวิชาชีพครู เพื่อพัฒนา
คุณครูในโรงเรียนให้มี
วิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
20
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
ที่สูงขึน
้ รวมไปถึงการประกวด
หน่วยการเรียนรู้ และร่วมกับ
งานวิจัยสถานศึกษาในการจัด
กิจกรรมประกวดวิจัยในชัน

เรียน และมีการนำเสนอผล
การปฏิบัติงานของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้เมื่อสิน
้ ปี การศึกษา
เพื่อสร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ และเปิ ดโอกาสให้ครู
ในโรงเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียน
รู้ข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้กัน
3. ด้านการพัฒนา 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็ น - นักเรียนได้เรียนรู้ - นักเรียนร้อยละ
21
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
ตนเองและวิชาชีพ ระบบและต่อเนื่อง โดยการ เนื้อหาวิชา 100 ได้พัฒนา
ลักษณะงานที่เสนอ อบรมกับหน่วยงานที่จัดการ คณิตศาสตร์ ผ่าน ตนเองด้าน
ให้ครอบคลุมถึง อบรมเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย การจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วย
การพัฒนาตนเอง และภาษาอังกฤษ เพื่อการ ด้วยเรียนรู้ผ่านสื่อ การเรียนรู้ ความ
อย่างเป็ นระบบ สื่อสาร ในระบบ ThaiMooc นวัตกรรมที่ครูสร้าง น่าจะเป็ น ผ่าน สื่อ
และต่อเนื่อง การมี อบรมพัฒนาเองเกี่ยวกับการใช้ ขึน
้ จากเว็บไซต์ นวัตกรรมที่ครูสร้าง
ส่วนร่วม ในการ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา CANVA ขึน
้ จากเว็บไซต์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น การใช้เว็บไซต์ CANVA CANVA
ทางวิชาชีพ เพื่อ เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอน
พัฒนาการจัดการ ใบกิจกรรม ใบความรู้
เรียนรู้ และการนำ โปสเตอร์ สไลด์ในการนำเสนอ
ความรู้ความ เป็ นต้น และศึกษาค้นคว้า
22
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
สามารถ ทักษะที่ได้ หาความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา
จากการพัฒนา สมรรถนะวิชาชีพครู จาก
ตนเอง และวิชาชีพ เว็บไซต์คุรุสภา หรือหน่วยงาน
มาใช้ในการพัฒนา ทางการศึกษา - นักเรียนที่มี - นักเรียนร้อยละ
การจัดการเรียนรู้ 3.2-3.3 มีส่วนในการเป็ นเข้า ปั ญหาในการเรียนรู้ 100 ของกลุ่ม
การพัฒนาคุณภาพ ร่วมชุมชนการเรียนรู้ทาง ได้รับการแก้ไขด้วย นักเรียนที่มีปัญหา
ผู้เรียน และการ วิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรมที่ได้ ในการเรียนรู้ มีผล
พัฒนานวัตกรรม คณิตศาสตร์ ในการแลก จากการเข้าร่วม การเรียนรู้ผ่าน
การจัดการเรียนรู้ เปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่าน ชุมชนการเรียนรู้ เกณฑ์ที่กำหนด
กิจกรรมนิเทศการจัดการเรียน ทางวิชาชีพ หรือ
รู้ และนำผลจากการประชุม PLC
PLC ไปสร้างเป็ นสื่อ
23
ตัวชีว
้ ัด
(Indicators)
ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
ผลลัพธ์ เรียน
(Outcomes) ที่แสดงให้เห็น
ลักษณะงานที่ งาน (Tasks)
ของงานตามข้อ ถึงการ
ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา
ตกลง ที่คาด เปลี่ยนแปลงไป
ตามมาตรฐาน ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
หวังให้เกิดขึน
้ ในทาง
ตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบุ)
กับผู้เรียน ที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการ
(โปรดระบุ) พัฒนามากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
นวัตกรรม เพื่อนำมาใช้ในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน หรือ
แก้ไขนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้
ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน. ตามแบบให้เป็ นไปตาม
บริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบ
ร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็ นงานใน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และ
ให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลัก
24
ที่ทำการสอนทุกระดับชัน
้ ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใด
วิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง
และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้
ตามแบบการประเมิน PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์


การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชีว้ ัด (Indicators) ที่เป็ นรูปธรรม
และการประเมินของคณะกรรมการประเมิน ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้
คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง
สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้
ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็ นสำคัญ โดยไม่เน้นการ
ประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการพัฒนา


ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำ
ข้อตกลง ซึ่งปั จจุบันดำรงตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึง
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับ ประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการ
25
พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการพัฒนามากขึน

(ทัง้ นี ้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่า
ได้)
์ างการเรียนรายวิชา
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิท
คณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น
ของนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ด้วยเอกสารคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่า
จะเป็ น รายวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 4 (วิทย์) รหัสวิชา ค 32104 ภาคเรียนที่ 2
ปี การศึกษา 2564
1. สภาพปั ญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
ในการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านมานักเรียนมีความสับสนใจในการ
คำนวณหาจำนวนผลของการ
ทดลองสุ่ม และไม่สามารถเขียนแจกแจงผลลัพธ์ได้ครบทุกกรณี และมีปัญหา
ในการหาจำนวนผลลัพธ์ในปริภูมิตัวอย่าง และในการทดลองสุ่ม จึงส่งผลให้ใน
การหาค่าความน่าจะเป็ นผิดพลาดไป ดังนัน
้ ครูผส
ู้ อนจึงจัดทำข้อตกลงในการ
พัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดยการเอกสารคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น
์ างการเรียนรายวิชางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิท
ของนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2561) และหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบางละมุง ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563 ในเรื่องของ มาตรฐานการ
เรียน และตัวชีว้ ัด ของเนื้อหา เรื่อง ความน่าจะเป็ น
26
2.2 จัดทำโครงร่างของเนื้อหาเอกสารคณิตศาสตร์ เรื่อง
ความน่าจะเป็ น โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็ นส่วน ๆ พร้อมเฉลยตัวอย่าง กิจกรรม
และแบบฝึ กหัด ดังนี ้
1) การทดลองสุ่ม
2) ปริภูมิตัวอย่าง
3) เหตุการณ์
4) ความน่าจะเป็ น
2.3 ให้คณ
ุ ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง ในเนื้อหา การเฉลยของตัวอย่าง กิจกรรม และแบบ
ฝึ กหัด พร้อมทัง้ เสนอแนะ เพื่อปรับปรุง แก้ไข
2.4 ครูผู้สอนนำชุดการเรียนมาปรับปรุง แก้ไขตามคำแนะนำ
ของคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์โรงเรียนบางละมุง
2.6 นำเอกสารการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น
รายวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 4 (วิทย์) รหัสวิชา ค 32104 ไปจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ กับนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
ทัง้ ในรูปแบบ ONLINE หรือ ONSITE โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบท
2.7 บันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ที่เกิดขึน
้ จากการ
กิจกรรมการเรียนรู้ ในโปรแกรม Microsoft Excel และสะท้อนผลการเรียนรู้
ให้นักเรียนทราบเป็ นระยะ หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเรื่องใด
ให้ใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และการสอนซ่อมเสริม สำหรับใช้แก้ไขปั ญหา
การเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษา และทำการทดสอบใหม่ จนนักเรียนมีผลการ
เรียนรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
27
3.1 เชิงปริมาณ
นักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 3 ห้อง รวม
จำนวนนักเรียนทัง้ หมด 115 คน
ได้รับการพัฒนามโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น ด้วยเอกสารชุด
การเรียนคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 4 (วิทย์) รหัสวิชา ค 32104
โดยมีคะแนนทดสอบปลายภาคผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม) คิด
เป็ นร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทัง้ หมด และนักเรียนทัง้ หมดมีความพึง
พอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย
ชุดการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็ น มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากขึน
้ ไป
3.2 เชิงคุณภาพ
นักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 3 ห้อง รวม
จำนวนนักเรียนทัง้ หมด 115 คน มีความรู้ความเข้าใจในมโนทัศน์ทาง
คณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไป
เชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง

ลงชื่อ...................................................
.....................
(นายตาลอย นอน
น้อย)
ตำแหน่ง ครู
วิทยฐานะ -
28
ผู้จัดทำข้อตกลงในการ
พัฒนางาน
1/ตุลาคม/2564

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะ
เพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อพิจารณาอีกครัง้ ดังนี ้
.................................................................................................
......................................
.............................................................................................................................
.................................................
ลงชื่อ............................................................
............

(.............................................)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
โรงเรียน............................
................/.............../...................

You might also like