You are on page 1of 45

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มี


วิทยฐานะ)
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ.2564
ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ.2565

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวทัศน์วรรณ นามสกุล รุคเชด ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 21,660 บาท

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1
ประเภทห้องเรียนตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึง่ เป็ นตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปั จจุบันกับผู้
อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี ้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 29
ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี ้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ค 21102 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ม.1) จำนวน
9 ชั่วโมง/สัปดาห์
ค 22202 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 (ม.2)
จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
ค 31202 วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 (ม.4)
จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
ค 32102 วิชาคณิตศาสตร์ 6 (ม.6) จำนวน
6 ชั่วโมง/สัปดาห์
ชุมนุม Math-Art คณิตศิลป์ (ม.1-ม.6) จำนวน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี (ม.2) จำนวน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
รวม 29 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4
ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมโฮมรูม จำนวน 2
ชั่วโมง/สัปดาห์
- การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานฝ่ ายบริหารงานวิชาการ จำนวน 5
ชั่วโมง/สัปดาห์
โครงการต่างๆ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์
- ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ จำนวน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
รวมทัง้ หมด 29 จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุราย
ละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจ
ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว


้ ัด
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
การประเมิน ตกลงที่คาดหวังให้ เรียน
(โปรดระบุ) เกิดขึน
้ กับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็น
(โปรดระบุ) ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการ
พัฒนา มากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้
1.1 สร้างและหรือพัฒนา - วิเคราะห์หลักสูตร - แผนการจัดการ สามารถสอน
หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ เรียนรู้รายวิชา ตามแผนการ
 มีการจัดทำรายวิชา และผลการเรียนรู้ที่คาด คณิตศาสตร์ จัดการเรียนรู้
และหน่วยการเรียนรู้ให้ หวัง(จุดประสงค์การ ร้อยละ 70
สอดคล้องกับมาตรฐาน เรียนรู้) นำไปจัดทำ
การเรียนรู้ และตัวชีว้ ัด หลักสูตรรายวิชา
หรือผลการเรียนรู้ตาม คณิตศาสตร์
หลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาสมรรถนะและการ
เรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ
โดยมีการพัฒนารายวิชา
และหน่วยการเรียนรู้ ให้
สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ผู้เรียน และ
ท้องถิ่น และสามาร
แก้ไขปั ญหาในการ
จัดการเรียนรู้ได้
1.2 ออกแบบการจัดการ - จัดทำแผนการจัดการ - ผู้เรียนมีผลการ ผู้เรียนมีผลการ
เรียนรู้ เรียนรู้รายวิชา เรียนรู้ที่ผ่านเกณฑ์ เรียนรู้ที่ผ่าน
 เน้นผู้เรียนเป็ น คณิตศาสตร์โดยกำหนด หรือผ่านจุด เกณฑ์ หรือผ่าน
สำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การ
ความรู้ ทักษะ (จุดประสงค์การเรียนรู้) เรียนรู้ ร้อยละ
คุณลักษณะประจำวิชา และวิธีการจัดการเรียน 70
คุณลักษณะอันพึง รู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
ประสงค์ และสมรรถนะที่
สำคัญ ตามหลักสูตร โดย
มีการปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ผู้เรียน และ
ท้องถิ่น
1.3 จัดกิจกรรมการเรียน - การจัดกิจกรรมการ - ผู้เรียนมีความ - ผลสัมฤทธิ ์
รู้ เรียนรู้ตามจุดประสงค์ สนใจและตัง้ ใจใน ทางการเรียนดี
 มีการอำนวยความ การเรียนรู้โดยมีการ การเรียน สามารถ ขึน
้ ร้อยละ 70
สะดวกในการเรียนรู้ และ อำนวยความสะดวก ส่ง สร้างองค์ความรู้
ส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนา เสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ด้วยตนเองได้
เต็มตามศักยภาพ เรียนรู้ เรียนรู้ และทำงานร่วม
และทำงานร่วมกัน โดยมี กัน เลือกใช้เทคนิค วิธี
การปรับประยุกต์ให้ การจัดการเรียนรู้ตาม
สอดคล้องกับความแตก ความเหมาะสมโดย
ต่างของผู้เรียน คำนึงถึงความแตกต่าง
ของผู้เรียน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว


้ ัด
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
การประเมิน ตกลงที่คาดหวังให้ เรียน
(โปรดระบุ) เกิดขึน
้ กับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็น
(โปรดระบุ) ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการ
พัฒนา มากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
1.4 สร้างและหรือพัฒนา - สร้างหรือพัฒนาสื่อ - ผู้เรียนสามารถใช้ ครูมีส่ อ
ื การเรียน
สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี สื่อการเรียนรู้ที่ รู้
และแหล่งเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย และมี ร้อยละ 70
มีการสร้างและหรือ สอดคล้องกับกิจกรรม ทักษะการคิด ของการจัด
พัฒนาสื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้ตามความ กิจกรรมการ
เทคโนโลยีและแหล่ง เหมาะสมโดยคำนึงถึง เรียนรู้
เรียนรู้สอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยมี เรียน
การปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับความแตก
ต่างของผู้เรียน และ
ทำให้ผู้เรียนมีทักษะการ
คิดและสามารถสร้าง
นวัตกรรมได้
1.5 วัดและประเมินผล - การวัดและประเมินผล - ผู้เรียนได้รับการ ครูมีเครื่องการ
การเรียนรู้ การเรียนรู้ด้วยวิธีการที่ วัดประเมินผลที่ วัดและประเมิน
มีการวัดและ หลากหลาย เหมาะสม เหมาะสมและ ผล ร้อยละ 70
ประเมินผลการเรียนรู้ และสอดคล้องกับ หลากหลาย ในการจัดการ
ด้วยวิธีการที่หลากหลาย มาตรฐานการเรียนรู้ นำ เรียนรู้ตลอดปี
เหมาะสม และสอดคล้อง ผลการเรียนรู้มาใช้แก้ไข
กับมาตรฐานการเรียนรู้ ปั ญหาการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียน
รู้อย่างต่อเนื่อง
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ - ศึกษา วิเคราะห์ และ - ผู้เรียนได้รับการ ครูมีวิจัยในชัน

สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา สังเคราะห์ เพื่อแก้ แก้ปัญหาหรือการ เรียน 1 เรื่องต่อ
หรือพัฒนาการเรียนรู้ ปั ญหาหรือพัฒนาการ พัฒนาการเรียนรู้ ภาคเรียน
มีการศึกษา เรียนรู้และนำผลจาก ด้วยกระบวกการ
วิเคราะห์ และสังเคราะห์ การศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในชัน
้ เรียน
เพื่อแก้ปัญหาหรือ และสังเคราะห์มาแก้ไข
พัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผล ปั ญหาหรือพัฒนาการ
ต่อคุณภาพผู้เรียน เรียนรู้โดยการทำวิจัยใน
ชัน
้ เรียน ภาคเรียนละ ๑
เรื่อง
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่ง - จัดบรรยากาศที่เหมาะ - ผู้เรียนได้เรียนรู้ใน ผู้เรียนร้อยละ
เสริมและพัฒนาผู้เรียน สมสอดคล้องกับความ สภาพบรรยากาศ 70 ได้เรียนรู้ใน
มีการจัดบรรยากาศ แตกต่างผู้เรียนเป็ นราย การเรียนรู้ที่เอื้อต่อ บรรยากาศที่
ที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้ บุคคลสามารถแก้ไข ทักษะต่างๆอย่าง เอื้อต่อการเรียน
เรียน ให้เกิดกระบวนการ ปั ญหาการเรียนรู้ สร้าง รอบด้าน รู้
คิด ทักษะชีวิต ทักษะ แรงบันดาลใจส่งเสริม
การทำงาน ทักษะการ และพัฒนาผู้เรียนให้เกิด
เรียนรู้และนวัตกรรม กระบวนการคิดมีทักษะ
ทักษะด้านสารสนเทศ ชีวิตทักษะในการทำงาน
สื่อ และเทคโนโลยี ทักษะการเรียนรู้และ
สร้างนวัตกรรมทักษะ
ด้านสารสนเทศสื่อและ
เทคโนโลยี
1.8 อบรมและพัฒนา - มีการอบรมบ่มนิสัยให้ - ผู้เรียนมีคุณธรรม ผู้เรียนร้อยละ
คุณลักษณะที่ดีของผู้ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ 70
เรียน จริยธรรมคุณลักษณะ คุณลักษณะอันพึง มีคุณธรรม
มีการอบรมบ่มนิสัย อันพึงประสงค์และค่า ประสงค์ จริยธรรมและ
ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม นิยมความเป็ นไทยที่ดี คุณลักษณะอัน
จริยธรรม คุณลักษณะอัน งาม คำนึงถึงความแตก พึงประสงค์ใน
พึงประสงค์ และค่านิยม ต่างของผู้เรียนเป็ นราย ระดับดีขน
ั ้ ไป
ความเป็ นไทยที่ดีงาม บุคคลและสามารถแก้
ปั ญหาผู้เรียนได้
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว
้ ัด
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
การประเมิน ตกลงที่คาดหวังให้ เรียน
(โปรดระบุ) เกิดขึน
้ กับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็น
(โปรดระบุ) ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการ
พัฒนา มากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้
2.1 จัดทำข้อมูล - การจัดทำข้อมูล - มีข้อมูล ครูมข
ี ้อมูลของผู้
สารสนเทศของผู้เรียน สารสนเทศของผู้เรียน สารสนเทศเพื่อส่ง เรียน ร้อยละ
และรายวิชา และรายวิชาโดยมีการ เสริม สนับสนุนให้ผู้ 70 และ
มีการจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นราย เรียนเกิด รายวิชาที่สอน
สารสนเทศของผู้เรียน บุคคล และทำเอกสาร ประสิทธิผลในการ
และรายวิชาเพื่อใช้ในการ ประจำชัน
้ เรียน เรียนรู้
ส่งเสริมสนับสนุนการ
เรียนรู้ และพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
2.2 ดำเนินการตามระบบ - มีการดำเนินการตาม - ผู้เรียนได้รับการ ผู้เรียน ร้อยละ
ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ระบบดูแลช่วยเหลือผู้ ดูแลช่วยเหลือ 70 ได้รับการ
มีการใช้ข้อมูล เรียนและใช้ข้อมูล ประเด็นปั ญหาใน ดูแลช่วยเหลือ
สารสนเทศเกี่ยวกับผู้ สารสนเทศเกี่ยวกับผู้ ด้านต่างๆ ทัง้ ด้าน
เรียนรายบุคคล และ เรียนรายบุคคล การเรียน
ประสานความร่วมมือกับ ประสานความร่วมมือ ครอบครัว และการ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อ กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดำรงชีวิต
พัฒนา และแก้ปัญหาผู้ เพื่อพัฒนา และแก้
เรียน ปั ญหาผู้เรียน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ - ร่วมปฏิบัติงานทาง - ผู้เรียนได้รับการ ผู้เรียน ร้อยละ
และงานอื่นๆ ของสถาน วิชาการ และงานอื่น ๆ สนับสนุนงาน 70 ได้รับการ
ศึกษา ของสถานศึกษาเพื่อยก วิชาการที่ส่งผลต่อ สนับสนุนงาน
ร่วมปฏิบัติงานทาง ระดับคุณภาพการ ผลสัมฤทธิ ์ และ วิชาการ
วิชาการ และงานอื่น ๆ จัดการศึกษาของสถาน คุณลักษณะอันพึง
ของสถานศึกษาเพื่อยก ศึกษา ประสงค์
ระดับคุณภาพการจัดการ
ศึกษาของสถานศึกษา
2.4 ประสานความร่วม - มีการประสานความ - ผู้ปกครองได้รับ ผู้ปกครอง ร้อย
มือกับผู้ปกครอง ภาคี ร่วมมือกับผู้ปกครอง การประสานงาน ละ 70 ได้รับ
เครือข่าย และหรือสถาน ภาคีเครือข่าย หรือ และให้ความร่วมมือ การประสาน
ประกอบการ สถานประกอบการ เพื่อ ในการพัฒนาผู้ งานและให้
ประสานความร่วม ร่วมกันพัฒนาผู้เรียน เรียน ความร่วมมือใน
มือกับผู้ปกครอง ภาคี การพัฒนาผู้
เครือข่าย และหรือสถาน เรียน
ประกอบการ เพื่อร่วมกัน
พัฒนาผู้เรียน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว


้ ัด
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) (Indicators)
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อ ที่จะเกิดขึน
้ กับผู้
การประเมิน ตกลงที่คาดหวัง เรียน
(โปรดระบุ) ให้เกิดขึน
้ กับผู้ ที่แสดงให้เห็น
เรียน (โปรดระบุ) ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขน
ึ้
หรือมีการ
พัฒนา มากขึน

หรือผลสัมฤทธิ ์
สูงขึน
้ (โปรด
ระบุ)
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.1 พัฒนาตนเองอย่าง - เข้าร่วมการพัฒนา - ผู้เรียนได้รับ ครูได้รับการ
เป็ นระบบและต่อเนื่อง และ อบรม ในหลักสูตร การพัฒนาด้วยวิธี พัฒนาทัง้ จาก
เพื่อให้มีความรู้ความ ต่างๆทัง้ จากภายนอก การที่เหมาะสม หน่วยงานภาน
สามารถ ทักษะ โดย และแสวงหาความรู้ด้วย หลากหลาย นอกและการ
เฉพาะอย่างยิ่งการใช้ ตนเอง และนำผลการ อย่างต่อเนื่อง แสวงหาความรู้
ภาษาไทยและภาษา พัฒนาตนเองและ ด้วยตนเอง ไม่
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร พัฒนาวิชาชีพมาจัดการ น้อยกว่า 10
และการใช้เทคโนโลยี เรียนรู้เพื่อให้ส่งผลต่อ หลักสูตร
ดิจิทัล เพื่อการศึกษา การพัฒนาผู้เรียน
สมรรถนะวิชาชีพครูและ
ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชา
และวิธีการสอน
3.2 มีส่วนร่วมในการแลก - มีส่วนร่วมในการแลก - ผู้เรียนได้รับ ครูได้แลก
เปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เปลี่ยนเรียนรู้ทาง การพัฒนาด้วย เปลี่ยนเรียนรู้
เพื่อพัฒนาการจัดการ วิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ เทคนิควิธีการที่ (PLC) ตลอด
เรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยมีการ เหมาะสมจาก ปี งบประมาณไม่
ทำ PLC และนำผลมา การทำ PLC ของ น้อยกว่า 40 ชัว้
ใช้หรือแก้ปัญหาการ ครู โมง
จัดการเรียนรู้
3.3 นำความรู้ ความ - นำผลการพัฒนา - ผู้เรียนมีความ ครูใช้เทคนิค รูป
สามารถ ทักษะที่ได้จาก ตนเองและวิชาชีพมาใช้ สนใจ และตัง้ ใจ แบบการสอน
การพัฒนาตนเองและ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ เรียนจากการที่ ใหม่ๆ ในการ
วิชาชีพมาใช้ในการ โดยใช้เทคนิคการสอน ครูใช้เทคนิคการ จัดการเรียนรู้ให้
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ รูปแบบต่างๆ ที่ส่งผล สอนรูปแบบ แก่ผู้เรียนไม่
การพัฒนาคุณภาพผู้ ต่อการพัฒนาคุณภาพผู้ ต่างๆ น้อยกว่า ร้อย
เรียน และการพัฒนา เรียน ละ 70
นวัตกรรมการจัดการ
เรียนรู้

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA1 ให้
เป็ นไปตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดย
ความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครู
ผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็ นงาน
ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้
เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของ
รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชัน
้ ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา
สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติ
งานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชีว้ ัด (Indicators) ที่
เป็ นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา
งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2
จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถาน
ศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อ
ตกลงเป็ นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทายในการ
พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปั จจุบันดำรงตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้อง
แสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การ
จัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขน
ึ ้ หรือมีการพัฒนามากขึน
้ (ทัง้ นี ้ ประเด็น
ท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ
1. สภาพปั ญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
สภาพปั ญหาของผู้เรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์ ยังพบ
ปั ญหาอย่างมากในการคิดคำนวณให้ถก
ู ต้องและรวดเร็ว ซึ่งผู้เรียนขาด
ทักษะในการคิดคำนวณ จึงส่งผลให้ผเู้ รียนไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหา หรือ
หาคำตอบได้ และใช้เวลานานในการคิดคำนวณ ซึ่งแนวทางการจัดการ
เรียนการสอนแบบเดิมยังไม่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เท่าที่ควร เนื่อง
มาจากส่วนมากผู้เรียนมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ และมองว่าเป็ น
วิชาที่ยาก จึงส่งผลให้ผู้เรียนไม่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ การจัดการ
เรียนรู้ต่อผู้เรียนจึงยังไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย ดังนัน
้ เพื่อให้เกิดการ
พัฒนาทักษะการคิดคำนวณที่ดีขน
ึ ้ ครูผู้สอนจึงใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้เพลง และ เกม ประกอบไปด้วย
1. เพลงสูตรคูณ
2. เกมเศรษฐีอัตราส่วน
เพื่อให้กิจกรรมมีความสนุก น่าสนใจ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อีกทัง้ ยังเป็ นการกระตุ้นให้ผู้เรียน
ฝึ กฝนทักษะได้ทุกเวลา

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
ในการจัดการเรียนรู้เรื่อง อัตราส่วน ครูผู้สอนจัดทำสื่อการ
สอน แบบฝึ กทักษะ และ “เกมเศรษฐีอัตราส่วน” และนำมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ ผู้สอนติดตามความก้าวหน้าจากการทำแบบฝึ กทักษะน ๆ
โดยพิจารณาจากความถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว และในระหว่างการ
พัฒนา ครูผู้สอนนำปั ญหาที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูผู้
สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อที่จะหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้
เป็ นไปตามที่กำหนดไว้
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา
จำนวน 75 คน ร้อยละ 70 ที่เรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ มีผลการพัฒนา
ทักษะการคิดคำนวณที่ถูกต้องและผลสัมฤทธิส์ ูงขึน

3.2 เชิงคุณภาพ
การปรับประยุกต์/เทคนิค/สื่อการเรียนการสอนเพื่อ
พัฒนาทักษะการคิดคำนวณโดยใช้เพลงสูตรคูณและ เกมเศรษฐีอัตราส่วน
ในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้

ลงชื่อ...................................................
(นางสาวทัศน์วรรณ
รุคเชด)
ตำแหน่ง ครู
ผู้จัดทำข้อตกลงในการ
พัฒนางาน
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อ
เสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อพิจารณาอีกครัง้ ดังนี ้
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………

ลงชื่อ..........................................
.........................
(นายวิศิษฎ์ อิสระ
ดำรง)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
ทุ่งฝนพัฒนศึกษา
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564
แบบประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มี
วิทยฐานะ)
โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
อุดรธานี
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
รอบการประเมิน ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30
เดือนกันยายน พ.ศ. 2565

ข้อมูลผู้รับการประเมิน

ชื่อ นางสาวทัศน์วรรณ นามสกุล รุคเชด ตำแหน่ง ครู

สถานศึกษา โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ


ศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี

รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 21,660 บาท

ให้ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องที่ตรงกับผลการประเมิน หรือให้คะแนนตาม


ระดับคุณภาพ

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง (60


คะแนน)

1) ภาระงาน  เป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด  ไม่เป็ นไป


ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

2) การปฏิบัติงานและผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
ตำแหน่งครู
ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ


ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
1. ด้านการจัดการเรียนรู้
1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
 มีการจัดทำรายวิชาและหน่วย
การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ และตัวชีว้ ัดหรือผลการ
เรียนรู้ ตามหลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้ เต็ม
ตามศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์
ให้สอดคล้องกับบริบทของสถาน
ศึกษา ผูเ้ รียน และท้องถิ่น

1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
 เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ เพื่อให้ผู้
เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ
ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญ ตาม
หลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ผู้เรียน และท้องถิ่น
ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ


ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)
1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
 มีการอำนวยความสะดวกใน
การเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และ
ทำงานร่วมกัน โดยมีการปรับ
ประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตก
ต่างของผู้เรียน

1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้
มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีและ
แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการ
เรียนรู้ โดยมีการปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้
เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด
และสามารถสร้างนวัตกรรมได้

1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
มีการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ


ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่อง

1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์


เพื่อแก้ปัญหา
หรือพัฒนาการเรียนรู้
มีการศึกษา วิเคราะห์ และ
สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้
เรียน

1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียน
มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริม
และพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการ
คิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และ
เทคโนโลยี

1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดี
ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ


ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
ของผู้เรียน
มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี
คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และค่านิยมความเป็ นไทยที่ดี
งาม

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน
และรายวิชา
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ
ผู้เรียนและรายวิชาเพื่อใช้ในการส่ง
เสริมสนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน

2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วย
เหลือผู้เรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยว
กับผู้เรียนรายบุคคล และประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อ
ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ


ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
พัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน

2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ


ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และ
งานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยก
ระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา

2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้
ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ
สถานประกอบการ
ประสานความร่วมมือกับผู้
ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ
สถานประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนา
ผู้เรียน
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็ นระบบและ
ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ
ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษา
ไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการ
ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ


ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
ศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครูและความ
รอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน

3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียน
รู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่


ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ
พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็ นประเด็นท้าทายในการ


พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (40 คะแนน)

ผลการประเมิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 1 2 3 4

ตำแหน่ง ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ หมายเ


ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ต่ำกว่าระ ได้ ได้ ได้ หตุ
ดับฯ ต่ำกว่า ตามระ สูงกว่า
ปรับประยุกต์ (Apply & Adapt)
ที่คาด ระดับฯ ดับฯ ระดับฯ
หวังมาก ที่คาด ที่คาด ที่คาด
หวัง หวัง หวัง
1. วิธีดำเนินการ (20 คะแนน)
พิจารณาจากการดำเนินการที่ถูก
ต้อง ครบถ้วน เป็ นไปตามระยะเวลาที่
กำหนดไว้ในข้อตกลง และสะท้อนให้
เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังตาม
ตำแหน่งและวิทยฐานะ
2. ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่
คาดหวัง (20 คะแนน)
2.1 เชิงปริมาณ (10 คะแนน)
พิจารณาจากการบรรลุเป้ า
หมายเชิงปริมาณได้ครบถ้วนตามข้อ
ตกลง และมีความถูกต้อง เชื่อถือได้
2.2 เชิงคุณภาพ (10 คะแนน)
พิจารณาจากการบรรลุเป้ า
หมายเชิงคุณภาพได้ครบถ้วน ถูกต้อง
เชื่อถือได้และปรากฏผลต่อคุณภาพผู้
เรียนได้ตามข้อตกลง
รวมผลการประเมินทัง้ 2 ส่วน = ................. คะแนน
ลงชื่อ ...........................................กรร
มการผู้ประเมิน

(..........................................................

สรุปข้อสังเกตเกี่ยวกับ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อคิดเห็น

ราย นางสาวทัศน์วรรณ รุคเชด

1. จุดเด่น

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................
...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

2. จุดที่ควรพัฒนา

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

3. ข้อคิดเห็น

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................
...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................

ลงชื่อ ...........................................กรร
มการผู้ประเมิน
PA3/ส
(..........................................................
แบบประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มี
วิทยฐานะ)
โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
อุดรธานี
ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
รอบการประเมิน ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30
เดือนกันยายน พ.ศ. 2565

ข้อมูลผู้รับการประเมิน

ชื่อ นางสาวทัศน์วรรณ นามสกุล รุคเชด ตำแหน่ง ครู


สถานศึกษา โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี

รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 21,660 บาท

ภาระงาน  เป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด  ไม่เป็ นไปตามที่ ก.ค.ศ.


กำหนด
ผลการประเมิน

การประเมินข้อตกลง คะแนน คนที่ คนที่ คนที่


หมายเหตุ
ในการพัฒนางาน เต็ม 1 2 3
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนา 60 เกณฑ์ผ่านต้องได้

งาน คะแนน
จากกรรมการ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
แต่ละคนไม่ต่ำ
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนา 40
กว่าร้อยละ 70%
งาน ที่เสนอเป็ นประเด็น
ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์
การเรียนรู้ของผู้เรียน
รวม

สรุปผลการประเมินทัง้ 2 ส่วน จากกรรมการ 3 คน  ผ่าน


เกณฑ์  ไม่ผ่านเกณฑ์

ลงชื่อ ....................................ประธาน
กรรมการผู้ประเมิน

(......................................................)
ลงชื่อ ....................................กร ลงชื่อ ....................................กร
รมการผู้ประเมิน รมการผู้ประเมิน

(................................................... PA4/ส/
(...................................................
สำหรับกรรมการ
แบบประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญ
การ

โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
อุดรธานี

ผู้ขอรับการประเมิน

ชื่อ นางสาวทัศน์วรรณ นามสกุล รุคเชด ตำแหน่ง ครู

สถานศึกษา โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ


ศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี

รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 21,660 บาท

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาที่ขอรับการประเมิน กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์

ด้านที่ 1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการชัน
้ เรียน
เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric)

1 คะแนน เมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ 1
ถึง ข้อ 3 ได้ 1 ข้อ
เมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ 1
2 คะแนน
ถึง ข้อ 3 ได้ 2 ข้อ
เมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ 1
3 คะแนน
ถึง ข้อ 3 ได้ 3 ข้อ
เมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ 1
ถึง ข้อ 3 ได้ 3 ข้อ
4 คะแนน
และเมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ
4 ถึง ข้อ 5 ได้ 1 ข้อ
เมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ 1
ถึง ข้อ 3 ได้ 3 ข้อ
5 คะแนน
และเมื่อปรากฏชัดเจนว่าสามารถปฏิบัติตามข้อ
4 ถึง ข้อ 5 ได้ 2 ข้อ

ตัวชีว
้ ัดที่ 1 ผู้เรียนสามารถเข้าถึงสิ่งที่เรียนและเข้าใจบทเรียน

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) เนื้อหา (content) หรือมโนทัศน์ ที่จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้หรือ
ฝึ กฝน มีความถูกต้อง และตรงตามหลักสูตร
2) ออกแบบและจัดโครงสร้างบทเรียนเป็ นระบบและใช้เวลา
เหมาะสม
3) ใช้ส่ อ
ื ประกอบบทเรียนได้เหมาะสมและช่วยในการเรียนรู้
บรรลุวัตถุประสงค์ของบทเรียน
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนรับรู้และเข้าใจบท
เรียน
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน (มี
บันทึกหลังการสอน)

ตัวชีว
้ ัดที่ 2 ผู้เรียนสามารถ เชื่อมโยงความรู้หรือประสบการณ์
เดิมกับการเรียนรู้ใหม่

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) มีการทบทวนความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์เดิม เช่น การ
ใช้คำถาม แบบฝึ ก หรือกิจกรรม ฯลฯ
2) มีการเข้าถึงผู้เรียนที่ยังไม่พร้อมที่จะเรียนรู้ใหม่
3) มีการช่วยเหลือผู้เรียนที่ยังมีความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์
เดิมไม่เพียงพอที่จะเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ใหม่ เช่น การอธิบาย ยก
ตัวอย่าง การใช้คำถาม เกม หรือกิจกรรม ฯลฯ
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความ
รู้หรือประสบการณ์เดิมกับการเรียนรู้ใหม่
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน (มี
บันทึกหลังการสอน)
ตัวชีว
้ ัดที่ 3 ผู้เรียนได้สร้างความรู้เอง หรือได้สร้างประสบการณ์
ใหม่จากการเรียนรู้

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ออกแบบงานหรือกิจกรรมให้ผู้เรียนสร้างความรู้หรือ
ประสบการณ์ใหม่อย่างเหมาะสมกับวัย สภาพ และบริบทของผู้
เรียนและชัน
้ เรียน
2) ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่ต้องใช้ความรู้หรือทักษะ
หลากหลาย
3) ใช้เทคนิคให้ผู้เรียนสรุปความรู้หรือประสบการณ์ใหม่ด้วย
ตนเอง เช่น แผนที่ความคิด ตารางวิเคราะห์ การทดลองปฏิบัติ
การนำเสนอ ฯลฯ
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการให้ผู้เรียนสร้างความรู้หรือ
สร้างประสบการณ์ใหม่
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน (มี
บันทึกหลังการสอน)

ตัวชีว
้ ัดที่ 4 ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นและเกิดแรงจูงใจในการเรียน
รู้

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) กิจกรรมการเรียนรู้เชื่อมโยงสอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
บริบทชุมชน หรือสภาพจริงของผู้เรียน
2) วิธีการหรือกิจกรรมการเรียนรู้ มีความท้าทายและมีระดับ
ความยากง่ายเหมาะสมกับวัย สภาพ และพัฒนาการของผู้เรียน
3) ผู้เรียนมีโอกาสสะท้อนการเรียนรู้ นำเสนอความสำเร็จ หรือ
อธิบายข้อผิดพลาดหรือความล้มเหลวที่เกิดขึน

4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการกระตุ้นหรือสร้างแรงจูงใจ
ในการเรียนรู้ของผู้เรียน
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน(มี
บันทึกหลังการสอน)

ตัวชีว
้ ัดที่ 5 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญจาก
การเรียนรู้

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ผู้เรียนได้ฝึกทักษะต่าง ๆ ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์การเรียน
รู้
2) ผู้เรียนได้บูรณาการทักษะต่าง ๆ ลงสู่การปฏิบัติกิจกรรมการ
เรียนรู้
3) ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ทักษะที่ได้รับการพัฒนาในสถานการณ์
หรือการแก้ปัญหาใหม่ ๆ
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการพัฒนาทักษะความ
เชี่ยวชาญของผู้เรียน
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน (มี
บันทึกหลังการสอน)
ตัวชีว
้ ัดที่ 6 ผู้เรียนได้รับข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงการเรียน
รู้

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) มีการสังเกตหรือค้นหาข้อผิดพลาดในการปฏิบัติหรือมโน
ทัศน์ที่คลาดเคลื่อนของผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้
2) มีการประเมินผลระหว่างการเรียนรู้โดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
เช่น การใช้คำถามแบบทดสอบ การปฏิบัติ ฯลฯ
3) มีการนำผลการสังเกต หรือผลการค้นหา หรือผลการประเมิน
ระหว่างเรียนรู้สะท้อนกลับให้ผู้เรียน
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนปรับปรุงการเรียน
รู้จากข้อมูลสะท้อนกลับของครู
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน(มี
บันทึกหลังการสอน)

ตัวชีว
้ ัดที่7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศชัน

เรียนที่เหมาะสม

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ผู้เรียนได้รับแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา พฤติกรรม
แสดงออก และเจตคติจากครูผส
ู้ อน
2) กระตุ้นให้ผเู้ รียนมั่นใจ มีอิสระในการคิดหรือทดลอง และรับ
รู้ความสามารถของตนเอง
3) ใช้ส่ อ
ื การเรียนหรือตัวอย่างประกอบที่หลากหลาย และ
กระตุ้นให้ผเู้ รียนคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบจากสื่อการเรียนหรือ
ตัวอย่างเหล่านัน

4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการสร้างบรรยากาศชัน
้ เรียน
ที่ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน(มี
บันทึกหลังการสอน)

ตัวชีว
้ ัดที่ 8 ผู้เรียนสามารถ กำกับการเรียนรู้และมีการเรียนรู้
แบบนำตนเอง

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ผู้เรียนได้รับโอกาสในการกำหนดเป้ าหมายการเรียนรู้หรือ
การลงมือปฏิบัติ
2) ผู้เรียนได้ประเมินตนเองหรือถูกเพื่อนประเมินในระหว่าง
เรียนหรือเมื่อจบบทเรียน
3) ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นหรือการมอบหมายงานให้ศึกษา
ค้นคว้า ฝึ กฝน หรือเรียนรู้ต่อเนื่องเพิ่มเติมภายหลังจบบทเรียน
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการกำกับการเรียนรู้ และการ
เรียนรู้แบบนำตนเองของผู้เรียน
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน(มี
บันทึกหลังการสอน)
ด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric)

เมื่อปฏิบัติได้หรือปรากฏผลชัดเจน 1
1 คะแนน
ข้อ จาก 5 ข้อ
เมื่อปฏิบัติได้หรือปรากฏผลชัดเจน 2
2 คะแนน
ข้อ จาก 5 ข้อ
เมื่อปฏิบัติได้หรือปรากฏผลชัดเจน 3
3 คะแนน
ข้อ จาก 5 ข้อ
เมื่อปฏิบัติได้หรือปรากฏผลชัดเจน 4
4 คะแนน
ข้อ จาก 5 ข้อ
เมื่อปฏิบัติได้หรือปรากฏผลชัดเจน 5
5 คะแนน
ข้อ จาก 5 ข้อ

ตัวชีว
้ ัดที่ 1 ผลงานหรือผลการปฏิบัติเป็ นผลลัพธ์ที่เกิดขึน
้ จาก
การจัดการเรียนรู้ของครู

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) เป็ นไปตามเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้
ในแผนการจัดการเรียนรู้
2) เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของผู้เรียน
3) สอดคล้องกับสภาพและบริบทของผู้เรียนและชัน
้ เรียน
4) เกิดจากตัวผู้เรียนรายบุคคลหรือกลุ่มผู้เรียน ไม่ใช่ผลงานหรือ
ผลการปฏิบัติของครู
5) เหมาะสม คุ้มค่าและเป็ นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตัวชีว
้ ัดที่ 2 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อน ถึงการได้รับการ
พัฒนาทักษะพื้นฐาน (Basic Skills) ตามวัยและลักษณะของผูเ้ รียน

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ทักษะการสื่อสารโดยการพูด การเขียน หรือการแสดงออกใน
รูปแบบอื่น ๆ
2) ทักษะการนำเสนออย่างเป็ นระบบ น่าสนใจ
3) ทักษะการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการเรียนหรือการฝึ ก
4) ความคล่องแคล่ว หรือความชำนาญ หรือความถูกต้องในการ
คิดหรือการปฏิบัติ
5) ทักษะการออกแบบและการวางแผน

ตัวชีว
้ ัดที่ 3 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงความสามารถใน
การเรียนรู้ (Cognitive Abilities) ตามวัยและลักษณะของผูเ้ รียน

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ความยืดหยุ่นในการคิด หรือการคิดเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ
2) ความคิดสร้างสรรค์ หรือการคิดเชิงนวัตกรรม
3) กระบวนการสืบเสาะหาความหมาย หรือกระบวนการตัดสิน
ใจ
4) กระบวนการคิดเชิงเหตุผล หรือการให้เหตุผลเชิงตรรกะ
5) กระบวนการคิดเชิงระบบ

ตัวชีว
้ ัดที่ 4 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงการบูรณาการ
ทักษะในการทำงาน (Cross - functional Skills) ตามวัยและ
ลักษณะของผู้เรียน
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติ คะแนน
1) ทักษะกระบวนการ เช่น การวางแผน การวิเคราะห์วิจารณ์
การกำกับตนเอง การทดลองปฏิบัติ การนำเสนอความคิด
2) ทักษะทางสังคม เช่น การทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื การโน้มน้าว
การเจรจา การบริการ การสอนหรือฝึ กผู้อ่ น

3) ทักษะการจัดการ เช่น การจัดการเวลา การจัดการทรัพยากร
การจัดการทีมทำงาน
4) ทักษะเฉพาะทาง เช่น ทักษะทางกายภาพ การเคลื่อนไหว
การใช้กล้ามเนื้อ ดนตรี กีฬา หรือทักษะเฉพาะทางตามลักษณะ
รายวิชาหรือสาระการเรียนรู้
5) ทักษะการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน เช่น การแก้ปัญหาที่ต้องใช้
ทักษะหลากหลายการแก้ปัญหาหลายขัน
้ ตอน การแก้ปัญหาที่ต้อง
ใช้ความร่วมมือจากผู้อ่ น
ื การแก้ปัญหาเชิงซ้อนหลายระดับ

ลงชื่อ ...........................................กรร
มการผู้ประเมิน

(..........................................................
สำหรับกรรมการ
แบบสรุปผลการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ ด้านที่ 1 และ ด้านที่
2

ผู้ขอรับการประเมิน

ชื่อ นางสาวทัศน์วรรณ นามสกุล รุคเชด ตำแหน่ง ครู

สถานศึกษา โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ


ศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี

รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 21,660 บาท

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาที่ขอรับการประเมิน กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์

ด้านที่ 1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการชัน
้ เรียน

คะแนนถ่วงน้ำ
ตัวชีว
้ ัดทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการชัน
้ คะแน หนัก
เรียน น (คะแนน x
2.5)
1. ผู้เรียนสามารถเข้าถึงสิ่งที่เรียนและเข้าใจบทเรียน
2. ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้หรือประสบการณ์
เดิมกับการเรียนรู้ใหม่
3. ผู้เรียนได้สร้างความรู้เอง หรือได้สร้างประสบการณ์
ใหม่จากการเรียนรู้
4. ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นและเกิดแรงจูงใจในการ
เรียนรู้
5. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญจาก
การเรียนรู้
6. ผู้เรียนได้รับข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงการ
เรียนรู้
7. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศชัน

เรียนที่เหมาะสม
8. ผู้เรียนสามารถกำกับการเรียนรู้และมีการเรียนรู้
แบบนำตนเอง
ผลการพิจารณา  ผ่าน ไม่ผ่าน

ด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

คะแนนถ่วงน้ำ
ตัวชีว
้ ัดทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการชัน
้ คะแน
หนัก
เรียน น
(คะแนน x 5)
1. ผลงานหรือผลการปฏิบัติเป็ นผลลัพธ์ที่เกิดขึน
้ จาก
การจัดการเรียนรู้ของครู
2.. ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงการได้รับการ
พัฒนาทักษะพื้นฐาน
(Basic Skills) ตามวัยและลักษณะของผู้เรียน
3. ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงความสามารถ
ในการเรียนรู้
(Cognitive Abilities) ตามวัยและลักษณะของผู้เรียน
4. ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงการบูรณาการ
ทักษะในการทำงาน
(Cross - functional Skills) ตามวัยและลักษณะของ
ผู้เรียน
8. ผู้เรียนสามารถกำกับการเรียนรู้และมีการเรียนรู้
แบบนำตนเอง
ผลการพิจารณา  ผ่าน ไม่ผ่าน

ลงชื่อ ...........................................กรร
มการผู้ประเมิน

(..........................................................
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา

ที่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564

เรื่อง ข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA)


ประจำปี งบประมาณ 2565

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษา
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาได้ออกประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและ
วิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ที่
ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ซึง่ ในหมวดที่ 2 นัน

ได้ให้ข้าราชการครูทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance
Agreement : PA) ขึน
้ ในแต่ละรอบปี งบประมาณ
ดังนัน
้ เพื่อให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว ข้าพเจ้า นางสาวทัศน์
วรรณ รุคเชด ตำแหน่ง ครู ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ได้ดำเนินการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
(Performance Agreement : PA) ประจำปี งบประมาณ 2565 ตัง้ แต่วัน
ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 – วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565 เรียบร้อยแล้ว

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

ลงชื่อ

(นางสาวทัศน์วรรณ รุคเชด)

ตำแหน่ง ครู โรงเรียนทุ่งฝน

ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ

...................................................................................................................
.....................................................

...................................................................................................................
.....................................................
...................................................................................................................
.....................................................

ลงชื่อ ...........................................
.

(นายวิศิษฎ์ อิสระดำรง)

คำนำ

ข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA)


ประจำปี งบประมาณ 2565 เล่มนีไ้ ด้จัดทำเพื่อเป็ นข้อตกลงในการพัฒนา
งานตัง้ แต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 – วันที่ 30 กันยายน
พ.ศ. 2565 โดยในส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐาน
ตำแหน่ง มี 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดการเรียนรู้ 2) ด้านการส่งเสริม
และสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ และ 3) ด้านการพัฒนาตนเองและ
วิชาชีพ ในส่วนที่ 2 เป็ นข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็ นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้
ของผู้เรียน

ดังนัน
้ ข้าพเจ้านางสาวทัศน์วรรณ รุคเชด ตำแหน่ง ครู (ไม่มี
วิทยฐานะ) โรงเรียนทุ่งฝนพัฒนศึกษาจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
(Performance Agreement : PA) ประจำปี งบประมาณ 2565 เล่มนี ้
จะใช้เป็ นข้อมูลอ้างอิงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่งของ
ข้าพเจ้าต่อไป
นางสาวทัศน์วรรณ รุค
เชด

สารบัญ

หน้า
บันทึกข้อความ

คำนำ ข

สารบัญ

PA 1/ส ข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู


1

PA 2/ส แบบประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ตำแหน่งครู


10

PA 3/ส แบบสรุปผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง ตำแหน่งครู


17

PA 4/ส/สพฐ แบบประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ ตำแหน่งครู


วิทยฐานะชำนาญการ 18

You might also like