You are on page 1of 12

1

คู่มือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

สาหรับอาจารย์นิเทศก์

ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
2

คานา
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นหัวใจสาคัญของกระบวนการผลิตครู เพราะเป็นกระบวนการภาคปฏิบัติที่
จะช่วยเสริมสร้างนักศึกษาครูให้เป็นผู้ที่มีความรักศรัทธาต่อวิชาชีพครูและมีความรู้ความสามารถที่จะปฏิบัติงานใน
หน้าที่ของครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุรุสภาได้กาหนดให้นักศึกษาในสาขาวิชาการศึกษาต้องผ่านมาตรฐานความรู้และ
ประสบการณ์วิชาชีพ โดยการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะการฝึก ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
ได้จัดโดยจัดให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ได้ทบทวนแนวคิดทฤษฎี หลักการความรู้ ตามมาตรฐานความรู้วิชาชีพครูที่
นักศึกษาได้เรียนในรายวิชาที่ผ่านมาแล้ วไปสู่วิธี การสังเกตและมีส่ วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน
สถานศึกษาในโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้จัดทาคู่มือฉบับนี้ขึ้น เพื่อให้อาจารย์นิเทศก์ใช้เป็นแนวทางในการนิเทศติดตาม
และประเมินการปฏิบัติการสอนขของนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
3

รูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

รายวิชา คาอธิบายรายวิชา ลักษณะการฝึก ช่วงเวลาฝึก


ED 2401-109 การปฏิบัติการ สังเกตรูปแบบการจัดการเรียนรู้ สังเกตการณ์ใน ภาคการศึกษาที่
สอนในสถานศึกษา 1 สังเกตและสัมภาษณ์พฤติกรรมการ สถานศึกษา 2 ปีการศึกษาที่ 1
เรียนรู้ในชั้นเรียน วิเคราะห์และ (ใช้เวลาฝึก 4
นาเสนอผลการสังเกตเผยแพร่และ สัปดาห์ สัปดาห์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสัมมนา ละ 1 วัน)
ED 2401-110 การปฏิบัติการ ร่วมเป็นผู้ช่วยสอนในการจัดการ สังเกตและมีส่วนร่วม ภาคการศึกษาที่
สอนในสถานศึกษา 2 เรียนรู้ในชั้นเรียน วิเคราะห์และ ในโรงเรียนและทดลอง 2 ปีการศึกษาที่ 2
สังเคราะห์ผลด้านรูปแบบจัดการ สอน (ใช้เวลาฝึก 8
เรียนรู้ในชั้นเรียนและบทบาท สัปดาห์ สัปดาห์
ครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของ ละ 2 วัน)
ผู้เรียน นาเสนอและแลกเปลี่ยน
ความรู้ในการสัมมนา
ED 2401-111 การปฏิบัติการ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายกรณี ดูแล สังเกตและมีส่วนร่วม ภาคการศึกษาที่
สอนในสถานศึกษา 3 ช่วยเหลือ แก้ไขและพัฒนาผู้เรียน ในโรงเรียนและทดลอง 2 ปีการศึกษาที่ 3
เป็นรายบุคคล การปฏิบัติงานใน สอน (ใช้เวลาฝึก 10
หน้าที่ครูในสถานศึกษา ร่วม สัปดาห์ สัปดาห์
ออกแบบวางแผนการจัดการเรียนรู้ ละ 2 วัน)
จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้หรือแก้ปัญหาผู้เรียน
การสร้างเครือข่ายชุมชนในการ
จัดการเรียนรู้ ปฏิบัติร่วมงานผู้อื่น
อย่างสร้างสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทาโครงงาน/โครงการวิชาการ
สัมมนาถอดบทเรียนแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ บันทึก และเขียนรายงาน
การปฏิบัติงานโดยเชื่อมโยงกับ
ทฤษฏี
4

ED 2401-112 การปฏิบัติการ การปฏิบัติการสอนและจัดการ ปฏิบัติการสอนใน ภาคการศึกษาที่


สอนในสถานศึกษา 4 เรียนรู้ในสาขาวิชาเอก การบริหาร โรงเรียนเป็นเวลา 1 1 ปีการศึกษาที่ 4
จัดการในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมการ ภาคการศึกษา (ใช้เวลาฝึก 1
เรียนรู้ การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ภาคการศึกษา
ในสถานศึกษา การวัดและ เต็ม)
ประเมินผลและนาผลไปใช้ในการ
พัฒนาผู้เรียน ประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้หรือ
แก้ปัญหาผูเรียน วิจัเพื่อพัฒนา
ผู้เรียน

คาอธิบายรายวิชาการปฏิบัติการในสถานศึกษา 2
ED 2401-110 การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา2 (School Internship2)
ร่วมเป็นผู้ช่วยสอนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลด้านรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ในชั้นเรียน และบทบาทของครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน นาเสนอและแลกเปลี่ยนความรู้ในการสัมมนา
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาและบริบทที่เกี่ยวข้อง
2. รู้และเข้าใจหลักสูตรสถานศึกษาในด้านการพัฒนาและการนาไปใช้
2. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และจัดทาแผนการเรียนรู้ อย่างน้อย 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. รู้และเข้าใจการบริหารจัดการสถานศึกษาในด้านต่างๆ แนวคิดบทบาทหน้าที่ ของบุคลากรและสิ่งอานวย
ความสะดวก

การจัดการเรียนรู้
1. วางแผนการที่จะศึกษางานวิชาการ หลักสูตรของสถานศึกษา และนาไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง
2. ตั้งประเด็นคาถามเพื่อศึกษาแผนงานวิชาการ ระบบการสนับสนุนงานวิชาการ ระบบการจัดการเรียนการ
สอนสื่อและแหล่งเรียนรู้และการประเมินผลของสถานศึกษา
3. เลือกหน่วยการเรียนรู้จากแผนงานวิชาการมาจัดทาแผนจัดการเรียนรู้คนละอย่างน้อย 1 กลุ่มสาระ แล้ว
นาไปทดลองใช้อย่างน้อย 8 ครั้ง เพื่อให้เกิดการปรับปรุงแก้ไขโดยดาเนินการร่วมกับครูพี่เลี้ยง ผู้เชี่ยวชาญของ
สถานศึกษาและอาจารย์นิเทศก์ที่ปรึกษาประจากลุ่ม
4. เก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู้ในลักษณะที่แสดงการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้
พร้อมทั้งจุดอ่อนจุดแข็งของตนเอง
5. นาเสนอผลการศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการสัมมนา
5

แนวปฏิบัติของนักศึกษาในการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Teaching Practice 2)


ขั้นที่ 1 การเตรียมพร้อม
1. รับการปฐมนิเทศจากฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2. ศึกษารายละเอียดในเอกสารทุกฉบับที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู 2
3. รับความรู้จากวิทยากร อาจารย์นิเทศประจากลุ่มและจดบันทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้
ขั้นที่ 2 การปฏิบัติการสอน
1. รับการปฐมนิเทศจากโรงเรียนหน่วยฝึก
4. พบผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายและเริ่มปฏิบัติงานสอนในสถานศึกษา 2 ดังนี้
4.1 ขออนุญาตทาการศึกษาสังเกตและมีส่วนร่วมในกิจกรรมบางอย่างกับผู้เรียนและผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง
4.2 ปฏิบัติงานการศึกษาสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลและมีส่วนร่วมโดยอยู่ในความดูแลของผู้บริหาร
โรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
4.3 ร่วมกันออกแบบวางแผนและจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาเอกกับครูพี่เลี้ยงและผู้อื่นที่
เกี่ยวข้อง
4.4 ทดลองปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบอย่างน้อย 4 ครั้ง
4.5 รับการนิเทศและประเมินจากครูพี่เลี้ยงจานวน 2 ครั้ง
4.6 รับคาแนะนาจากครูพี่เลี้ยง ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน
4.7 บันทึกผลการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลและมีส่วนร่วมการปฏิบัติการสอน โดยการจัดทาเป็น
บันทึกรายงานตามหัวข้อที่กาหนดในแบบบันทึก
4.8 เข้าร่วมประชุมสัมมนาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
5. นาเสนอผลการปฏิบัติงานและการรวบรวมประสบการณ์เป็นรายบุคคลตามแบบบันทึกให้อาจารย์นิเทศก์
ประจากลุ่ม
6. แบบประเมินผลนักศึกษาทั้งหมดจากครูพี่เลี้ยงส่งมายังฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี (โดยไม่ให้นักศึกษาถือมาเอง)
6

การประเมินผลการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

กระบวนการประเมินและเอกสารการประเมิน
กระบวนการประเมินผลรายวิชา 100 จากผลการประเมิน 3 ส่วน ดังนี้
ที่ รายการประเมิน จานวนคะแนน ผู้ประเมิน
1 ประเมินการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเตรียมความพร้อม 10 ศูนย์ฝึกฯ
ก่อนฝึก
2 ประเมินแบบบันทึกกิจกรรมเตรียมความพร้อมและแบบ 65 อาจารย์นิเทศก์ประจา
บันทึกการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา กลุ่ม
3 ประเมินการปฏิบัติการสอนและบุคลิกภาพความเป็นครู 25 ครูพี่เลี้ยง
รวมคะแนนทั้งหมด 011

โดยมีรายละเอียดการดาเนินการของแต่ละส่วนดังนี้
1.ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมเตรียมพร้อมโดยฝ่ายฝึก 10 คะแนน
ที่ รายการประเมิน จานวนคะแนน ผู้ประเมิน
1 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเตรียมพร้อมก่อนฝึก 10 ศูนย์ฝึกฯ
รวมคะแนนทั้งหมด 01

2.ประเมินแบบบันทึกกิจกรรมเตรียมความพร้อมและแบบบันทึกการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาโดย
อาจารย์นิเทศก์ประจากลุ่ม 65 คะแนน จากรายการประเมินต่อไปนี้
ที่ รายการประเมิน คะแนน ผู้ประเมิน
1 ประเมินแบบบันทึกสาระสาคัญการเรียนรู้รายวิชา 15 อาจารย์นิเทศก์ประจากลุ่ม
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
2 ประเมินแบบบันทึกการปฏิบัติการสอนใน 25 อาจารย์นิเทศก์ประจากลุ่ม
สถานศึกษา 2
3 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 5 อาจารย์นิเทศก์ประจากลุ่ม
4 แบบประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ 20 อาจารย์นิเทศก์ประจากลุ่ม
บุคลิกภาพความเป็นครู
รวมคะแนนทั้งหมด 65
7

3.ประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาโดยครูพี่เลี้ยง/ผู้บริหาร 25 คะแนน จากรายการประเมินต่อไปนี้


ที่ รายการประเมิน จานวนคะแนน ผู้ประเมิน
1 คะแนนประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 2 แผน 10 ครูพี่เลี้ยง
2 คะแนนประเมินการทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 10 ครูพี่เลี้ยง
(ประเมิน 2 ครั้ง)
3 คะแนนประเมินบุคลิกภาพและการปฏิบัติตน 5 ผู้บริหาร/ครูพี่เลี้ยง
รวมคะแนนทั้งหมด 25

เกณฑ์การประเมินผล
การตัดสินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ใช้เกณฑ์การตัดสิน ดังนี้
คะแนน ระดับคะแนน คะแนนเฉลี่ย ความหมาย
90-100 A 4.00 ดีเยี่ยม Excellence
85-89 B+ 3.50 ดีมาก Very Good
80-84 B 3.00 ดี Good
70-79 C+ 2.50 ดีพอใช้ Fairly Good
60-69 C 2.00 พอใช้ Fair
55-59 D+ 1.50 ลงฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูใหม่
8

เครื่องมือประเมินปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 สาหรับอาจารย์นิเทศก์
9

แบบประเมินแบบบันทึกสาระสาคัญการเรียนรู้รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

ชื่อ-สกุลนักศึกษา.............................................................รหัสนักศึกษา...............................................
สาขาวิชา...................................................................................................................

ระดับคุณภาพ 5 หมายถึง การบันทึกอยู่ในระดับดีเยี่ยม


4 หมายถึง การบันทึกอยู่ในระดับดีมาก
3 หมายถึง การบันทึกอยู่ในระดับดี
2 หมายถึง การบันทึกในระดับพอใช้
1 หมายถึง การบันทึกที่ควรปรับปรุง
ระดับคุณภาพของ
รายการ การปฏิบัติ
5 4 3 2 0
1 บันทึกหัวข้อเรื่อง การปฐมนิเทศ
2.บันทึกหัวข้อเรื่อง กระบวนการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
3.บันทึกหัวข้อเรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ต่างๆ
4.บันทึกหัวข้อเรื่อง บทบาทครูผู้สอนเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียน
5.บันทึกหัวข้อเรื่อง หลักสูตรสถานศึกษาและการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
6.บันทึกหัวข้อเรื่อง การผลิตสื่อการสอน
7.บันทึกหัวข้อเรื่อง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
8.บันทึกหัวข้อเรื่อง การวางแผนปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
จากคะแนนเต็ม(ก) 40 คะแนน รวมคะแนนที่ได้ (ข)....................... คะแนน
สรุปผลการประเมิน น้าหนักคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ (ข ก 10)=…………คะแนน

ความคิดเห็นแลข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.........................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
วันที่................./......................./..................
10

แบบประเมินแบบบันทึกการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
ชื่อ-สกุลนักศึกษา.............................................................รหัสนักศึกษา................................................
สาขาวิชา...................................................................................................................
ระดับคุณภาพ 5 หมายถึง การบันทึกอยู่ในระดับดีเยี่ยม
4 หมายถึง การบันทึกอยู่ในระดับดีมาก
3 หมายถึง การบันทึกอยู่ในระดับดี
2 หมายถึง การบันทึกในระดับพอใช้
1 หมายถึง การบันทึกที่ควรปรับปรุง

ระดับคุณภาพของ
รายการ การปฏิบัติ
5 4 3 2 0
1 บันทึกสภาพทั่วไปของสถานศึกษา
2.บันทึกความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา
3. บันทึกสรุปการศึกษาหลักสตรกลุ่มสาระการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้
4. บันทึกรายงานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
5. บันทึกการนิเทศการสอนโดยครูพี่เลี้ยง
6. บันทึกสรุปการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
7. บันทึกกิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน
8. บันทึกผลการสัมมนาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
รวมคะแนนที่ได้

ความคิดเห็นแลข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.........................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
วันที่................./......................./..................
11

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้

ชื่อ-สกุลนักศึกษา.............................................................รหัสนักศึกษา.............................................................
สาขาวิชา...................................................................................................................
ระดับคุณภาพ 5 หมายถึง การปฏิบัติอยู่ในระดับดีเยี่ยม 4 หมายถึง การปฏิบัติอยู่ในระดับดีมาก
3 หมายถึง การปฏิบัติอยู่ในระดับดี 2 หมายถึง การปฏิบัติในระดับพอใช้
1 หมายถึง การปฏิบัติที่ควรปรับปรุง

ระดับคุณภาพของ
รายการ การปฏิบัติ
5 4 3 2 0
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์มีความเชื่อมโยงกันอย่างเหมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้แสดงพฤติกรรมผู้เรียนและสามารถประเมินได้
3. สาระการเรียนรู้ แสดงหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย
4. กระบวนการเรียนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. จัดลาดับขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ได้ต่อเนื่องและส่งผลให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาได้
ง่ายขึ้น
6. เขียนรายการสื่อการเรียนรู้ได้ครบถ้วน และมีวิธีใช้สื่ออย่างมีประสิทธิภาพ
7. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ถูกต้องตามหัวข้อและแบบที่กาหนดใช้ภาษาอธิบาย
การจัดกิจกรรมให้เข้าใจได้ง่ายและเป็นภาษาแบบแผน
8. กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมสามารถนาผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงาน/
ภาระงาน
9. มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/
กิจกรรมการเรียนรู้
10. กาหนดเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรม และสามารถนาไปปฏิบัติจริงได้
จากคะแนนเต็ม(ก) 40 รวมคะแนนที่ได้ (ข).........................
สรุปผลการประเมิน น้าหนักคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ (ข ก 10)=……………คะแนน

ความคิดเห็นและอเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.........................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
วันที่................./......................./..................
12

แบบประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และบุคลิกภาพความเป็นครู
ชื่อ-สกุลนักศึกษา.............................................................รหัสนักศึกษา.............................................................
สาขาวิชา...................................................................................................................
ระดับคุณภาพ 5 หมายถึง การปฏิบัติอยู่ในระดับดีเยี่ยม 4 หมายถึง การปฏิบัติอยู่ในระดับดีมาก
3 หมายถึง การปฏิบัติอยู่ในระดับดี 2 หมายถึง การปฏิบัติในระดับพอใช้
1 หมายถึง การปฏิบัติที่ควรปรับปรุง
ระดับคุณภาพของ
รายการ การปฏิบัติ
5 4 3 2 0
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. เตรียมการไว้พร้อมสรรพเพื่อสะดวกต่อการจัดการเรียนรู้
2. การนาเข้าสู่บทเรียนพอเหมาะสมกับเวลา สัมพันธ์กับเนื้อหาและเร้าความสนใจ
3. รอบรู้ แม่นยาในเนื้อหาที่สอน
4. การจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. ใช้สื่อการเรียนรู้ได้คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
6. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามลาดับและช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย
7. จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนได้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และจุดประสงค์
8. ประเมินผลการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับจุดประสงค์และมีแบบประเมินที่ชัดเจน
9. มีทักษะในการใช้วาจา กิริยาท่าทางในการสื่อสาร
10. จัดและควบคุมสถานการณ์ให้การจัดการเรียนรู้ดาเนินไปด้วยดี
ด้านบุคลิกภาพความเป็นครู
1. แต่งกายสะอาดเรียบร้อย ถูกต้องตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
2.ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
3. แสดงออกถึงความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น
4. แสดงออกถึงความเอาใจใส่ และใฝ่รู้ในงานครู
5. มีอารมณ์มั่นคง และอดทน
6. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
จากคะแนนเต็ม(ก) 80 รวมคะแนนที่ได้ (ข).........................
สรุปผลการประเมิน น้าหนักคะแนนเต็ม 15 คะแนน คะแนนที่ได้ (ข ก 15)=……………คะแนน
ความคิดเห็นและอเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.........................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
วันที่................./......................./..................

You might also like