You are on page 1of 64

ทฤษฎีวรรณกรรม

วิจารณ์
ผู้จัดทำ
ผูจ้ ดั ทำ
• นางสาวสุ วรรณา เชื้อชวด เลขที่ ๑
• นางสาวลักขณา อ่ำแก้ว เลขที่ ๒
• นางสาวมารยาท คงเมือง เลขที่ ๓
• นางสาวกันยา ศรี เดช เลขที่ ๕
• นางสาวนารี รัตน์ น้ำใจเย็น เลขที่ ๑๘
• นางสาวอ้อมเดือน อภัยภักดิ์ เลขที่ ๒๘
• นายคมกฤช พุม่ บุญนาก เลขที่ ๑๖
วรรณกรรม
วิจารณ์คืออะไร ประโยชน์ ทฤษฎีการวิจารณ์ จิตวิทยากับวรรณกรรม

วิจารณ์แนวสังคม วิจารณ์แนวสุ นทรี ทฤษฎีแนวสุ นทรี

วิจารณ์แนวชีวประวัติ วิจารณ์แนวภาษาศาสตร์ วิจารณ์แนวปรัชญา

การประยุ
การประยุกกต์ต์ททฤษฎี
ฤษฎีมมาใช้
าใช้กกบั บั การสอน
การสอน

การวิจารณ์ วรรณกรรม
สมาชิ
สมาชิกก ถัดไป
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
มีผู้ได้ ให้ ความหมายของการวิจารณ์ ดังนี้
• การอ่านโดยมิได้มุ่งขัดแย้งหรื อ
• ฟานซิส เบคอน ลบล้าง มิได้หลงเชื่ออย่างงมงาย
แต่เป็ นการอ่านเพื่อไตร่ ตรอง
• บางครั้งการวิจารณ์วรรณกรรมก็
• ลา บูแยร์ ไม่ใช่วชิ าการ และเป็ นวิชาชีพซึ่ง
ต้องใช้ไหวพริ บความสามารถ
ความชำนาญ
• การวิจารณ์คือ การพิจารณาสิ่ งใด
• ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ สิ่ งหนึ่งแล้วบอกข้อดี ข้อเสี ย

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
การวิจารณ์ วรรณกรรม คือการศึกษาการ
วิเคราะห์ การทำความเข้ าใจวรรณกรรม
การวิจารณ์ ประกอบด้ วยเหตุ
ยเหตผุ ลต่ าง ๆ ทั้งที่
เป็ นไปตามหลักทฤษฎีวรรณกรรมและตามจิตวิสัย
การวิจารณ์ วรรณกรรมเป็ นการนำความรู
นการนำความร้ ู
ด้ านทฤษฎีไปปฏิบัตจิ นเกิดความชำนาญ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
วิวิลลเลีเลียยมม ฟอล์
ฟอล์คคเนอร์
เนอร์

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ถวัลย์ ดัชนี

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
• เป็ นผู
นผ้ ทู รี่ ักในการอ่ านวรรณกรรม
• เข้ าใจความหมายของวรรณกรรม
• มีความสนใจในเรื่องและทิศทางเดียว
กับเรา
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
การวิจารณ์ เป็ นสิ่ งทีแ่ นะนำให้ เรารู้จักหนังสื อ
นักวิจารณ์ ยงั เป็ นผู
นผ้ ชู ี้ให้ เห็นความงามและ
ความสำคัญบางส่ วนของหนังสื อ
นักวิจารณ์ กช็ ่ วยทำความเข้ าใจของเราทีม่ อี ยูย่ ใู ห้
ชัดเจนยิง่ ขึน้
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
การวิ
การวิจจารณ์
ารณ์แแบ่บ่งงออกเป็
ออกเป็นสองชนิ
นสองชนิดด
การอธิ
การอธิบบายลั
ายลักกษณะของวรรณคดี
ษณะของวรรณคดี(interpretation)
(interpretation)

การวิ
การวินนิจิจฉัฉัยยคุคุณณค่ค่าา(( valuation
valuation ))

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ในปัจจุบันนี้
ได้ มีทฤษฎีการวิจารณ์ ใหม่ ขนึ้ อีกอย่ าง
หนึ่งเป็ นทฤษฎีทแี่ อบอิงวิทยาศาสตร์
เป็ นทฤษฎีทเี่ กิดขึน้ โดยการนำหลักและ
วิธีของวิทยาศาสตร์ มาใช้

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
สาระสำคัญของทฤษฎีวรรณคดีวจิ ารณ์ ใหม่

๑ วรรณคดีวจิ ารณ์ ไม่ ใช่ การตัดสิ นว่ าบทประพันธ์ ชิ้นหนึ่งดี


กว่ าอีกชิ้นหนึ่ง
๒. วรรณคดีวจิ ารณ์ ต้องถือว่ าในวรรณคดีไม่ มกี ฎเกณฑ์ อนั
ใดทีก่ วีจะต้ องเคารพ
๓. นักวรรณคดีวจิ ารณ์ ต้องถือว่ าไม่ มมี าตรฐานอันใดในการ
ประพันธ์ ทเี่ ป็ นของถาวร
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
แนววิจารณ์ ทยี่ ดึ หลักจิตวิทยาเป็ นหลัก

ได้ รับอิทธิพลจากทฤษฎีต่าง ๆ ในทางจิตวิทยาของ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ซิกมัน ฟรอยด์
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ของอัลเฟรด แอดเลอร์

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
คาร์ ล กสุ ตาฟ ยุง

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
• วรรณคดีเป็ นการแสดงออกของธรรมดาฝ่ ายต่ำในจิตใจมนุษย์
• ถือว่ าความดีเด่ นของวรรณคดีอยู่ทกี่ ารเปิ ดเผยสิ่ งทีซ่ ่ อนเร้ น
อยู่ภายในจิตใต้ สำนึก
• ถือว่ าความพยายามทีจ่ ะกดอารมณ์ อนั รุ นแรงเฉพาะอย่ างยิง่
อารมณ์ เพศนั้นเป็ นสิ่ งพึงประณามอย่ างยิง่

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
แนววิจารณ์ โดยยึดอิทธิพลของปัจจัย
ต่ าง ๆ ของสั งคม

ในสังคมย่อมเป็ นแสงสะท้อนหรื อเป็ น


ผลของปัจจัยต่าง ๆ ทางวัตถุ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
แนววิจารณ์ สังคมนิยม

• ถือว่ าควรพิจารณาประวัตศิ าสตร์ โดยนัยทีว่ ่ าเป็ นการ


ต่ อสู ระหว่ างชั้นวรรณะ
• ถือว่ ามาตรฐานในการวิจารณ์ วรรณคดีน้ันอยู่ทวี่ ่ ามี
ประสิ ทธิภาพมากเพียงใด

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
• ไม่เห็นด้วยกับแนววิจารณ์วรรณคดีแบบเก่า
• เห็นว่านักวิจารณ์ไม่ควรพะวงอยูก่ บั ปัญหาศีลธรรมหรื อปรัชญา
• ถือการวิเคราะห์ทำนองแต่งสำคัญกว่าการพิจารณาเนื้อเรื่ อง
• ถือว่าวรรณคดีวจิ ารณ์เป็ นศิลปะประเภทหนึ่งโดยเอกเทศ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
แนวทางการวิจารณ์ วรรณกรรมแนวจิตวิทยา
๑.การวิจารณ์ แนวจิตวิทยาทัว่ ไป มีรูปแบบง่ าย ๆ สองแบบ คือ
การวิจารณ์ ตวั ละคร
ความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียน
b. การวิจารณ์ แนวจิตวิทยาทีอ่ าศัยความรู้ ทางจิตวิเคราะห์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ของฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ของอัลเฟรด แอดเลอร์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ของคาร์ ล กุสตาฟ ยุง
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
วรรณกรรมวิจารณ์ แนวสั งคมศาสตร์
การพิจารราคุณค่ าของวรรณกรรมในฐานะทีเ่ ป็ นภาพสะท้ อนสั งคม
นั้นเอง แบ่ งออกเป็ น ๒ วิธี

a. การวิจารณ์ ลกั ษณะทางสั งคม และวัฒนธรรมทีเ่ ป็ นรู ปธรรม


๒. การวิจารณ์ ลกั ษณะสั งคมทีเ่ ป็ นนามธรรม

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
การวิจารณ์ วรรณกรรมในด้ าน
การเมืองการปกครอง

การวิจารณ์ วรรณกรรมในด้ านนีเ้ ป็ นการประเมิน


คุคณ
ุ ค่ าของวรรณคดี โดยถือเอาสภาพการเมือง
การปกครองเป็ นหลักในการพิจารณา

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
การวิจารณ์ วรรณกรรมสะท้ อนภาพสั งคม

วรรณคดีแนวนี้ มุ่งแสดงทัศนคติของผูป้ ระพันธ์ ชี้


ให้เห็นปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งของสังคม
เขาชื่อกานต์ ของสุ วรรณี สุ คนธา

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
วรรณกรรมแนวสุนทรียศาสตร์

สุ นทรี ยศาสตร์ ศาสตร์ของการรับรู ้ในความงาม


ของศิลปะ อันได้แก่การศึกษา
หาความรู้เกี่ยวกับสิ่ งทั้งปวงที่
เป็ นความงาม
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
องค์ ประกอบของสุนทรียศาสตร์

a. องค์ ประกอบด้ านเนือ้ หา


สุ นทรียภาพในคำ สุ นทรียภาพในความ
b. องค์ ประกอบด้ านรู ปแบบ กลวิธีในการแสดงออก
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ทฤษฎีทางสุนทรียศาสตร์
๑. ความงามทีเ่ ป็ นค
นคุุณสมบัตวิ ตั ถถุุ
๒. ความงามคือความรู้ สึกเพลิดเพลิน
๓. ความงามเป็ นภาวะสำคัญ
๔. ความงามเป็ นอุ
นอบุ ัตกิ ารณ์ ใหม่

ถัดไป
ทฤษฎีทางศิลปะและวัฒนธรรม

• ศิลปะคือการลอกแบบธรรมชาติ
• ศิลปะคือรู ปทรง
• ศิลปะคือการแสดงออกซึ่ง
อารมณ์ ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
การพิจารณาวรรณคดีจึงต้ องพิจารณาเป็ น
2 มิติ คือ

มิติทางศาสตร์

มิตทิ างศิลปะ
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
ความสั มพันธ์ ระหว่ างวรรณกรรมกับผู้แต่ ง

• ชีวติ กับผู้แต่ ง ประวัตสิ ่ วนตัว


• ประสบการณ์ และสิ่ งแวดล้ อมของผู้แต่ ง
• ความสามารถของผู้แต่ ง งานเขียนต่ างๆ ลักษณะ
เด่ นของงานเขียน ลีลาในการเขียน

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
หลักในการวิจารณ์ วรรณคดีแนวชีวประวัติ

• ส่ วนประกอบภายนอก
• ส่ วนประกอบภายใน

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
การนำวิชาจิตวิทยามาช่ วยในการวิจารณ์ แนวชีวประวัติ

• การใช้ วธิ ีวเิ คราะห์ ทางจิตวิทยา เรื่อทีผ่ ้ ูอ่านกระทบกระเทือนกับ


จิตใต้ สำนึก ก็จะใช้ วธิ ีจิตวิเคราะห์ ของฟรอยด์ เข้ ามาช่ วย

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
การวิจารณ์ วรรณกรรมแนวภาษาศาสตร์

• ในระดับเสี ยง
• เสี ยงพยัญชนะ
• ระดับเหนือคำ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการวิจารณ์ แนวภาษาศาสตร์

a. ทำให้ ผ้ ูอ่านได้ รับรสอย่ างเต็มที่ ทั้งในระดับเสี ยง คำ ประโยค


ความหมาย
๒. ทำให้ ผ้ ุอ่านสั นนิษฐานความหมายของคำในวรรณคดีทไี่ ม่ เคย
เห็นจากบริบทนั้นๆ
๓. ทำให้ ผ้ ูอ่านได้ พบอัจฉริยะของกวีในการเลือกสรรคำ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
วิธภาษาวิธีของปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการ
ผูแ้ ต่ง
ผลงาน
ผูอ้ ่าน
ก่อให้เกิดวรรณคดีวจิ ารณ์แบบต่างๆ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
นักปรัชญากรีก 2 คน คือ เพลโต
กับ อริสโตเติลได้ วธิ ีการโต้ แย้ งว่ าควร
เริ่มต้ น เน้ นความสำคัญของปัจจัยใด
ความแตกต่ างทางทฤษฎีของนัก
ปรัชญาทั้งสองทำให้ เกิด วรรณคดีและ
วรรณกรรมวิจารณ์ ทใี่ ช้ กนั ในปัจจุจบุ ัน

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
แนววิจารณ์ ทเี่ กิดจากวิวฒ
ั นาการ
• การวิจารณ์ แนววิธภาษาวิธี
• การวิจารณ์ แนวศาสตร์
• การวิจารณ์ แนวกวีนิพนธ์
• การวิจารณ์ แนววิชาการ
• การวิจารณ์ แนวเทคนิค
• การวิจารณ์ แนวรู ปแบบ

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ ถัดไป
แนวการศึกษาวรรณกรรมในทฤษฎีปรัชญาเกี่ยว
กับจิตและร่ างกาย จะช่วยวิเคราะห์ คุณค่า และ
ความหมายของผลงานได้อย่างดิบดี

ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
ถัดไป
• การวิจารณ์ แนวจิตวิทยา
• การวิจารณ์ แนวสั งคมศาสตร์
• การวิจารณ์ แนวส
นวสุุ นทรียศาสตร์
• การวิจารณ์ แนวภาษาศาสตร์
• การวิจารณ์ แนวปรัชญา
• การวิจารณ์ แนวประวัตศิ าสตร์
ย้ย้ออนกลั
นกลับบ
THE END
วิจารณ์ : การให้คำติชม

วรรณกรรม : งานเขียนต่าง ๆ
นักวิจารณ์มีหลักวิจารณ์ไปทาง
อธิบาย หรื อ วินิจฉัย
เพียงอย่างเดียว

การวิจารณ์ แบบสมบูรณ์
การวิจยั วรรณคดีในศตวรรษที่ ๑๔
การวินิจฉัยวรรณคดีโบราณ
ต้ องถือเอากวีนิพนธ์ โบราณ
ได้ แก่
กวีนิพนธ์กรี
กรีกละติน
หลักการประพันธ์ของ อริสโตเติล
หลักการประพันธ์ของ อริสโตเติล
ทฤษฎีโบราณทีใ่ ช้ เป็ นบรรทัดฐาน

เป็ นกฎทีอ่ นุมานได้ จาก


บทละครกรีก
ในสมัยนั้น
กฎของ
อริสโตเติล
บัวโล

เป็ นบิดาแห่ งการวิจารณ์ แบบวินิจฉัยคุณค่ า

โดยถือวรรณคดีเป็ นหลักในการเปรียบเทียบ
วิจารณ์ แบบวินิจฉัยคุณค่ า
โดยถือทฤษฎีเครื่องแวดล้ อม
แซงต์ เบอฟ บรมครูแห่งการวิจารณ์

“ ก่อนวินิจฉัย ต้ องพยายามเข้ าใจวรรณคดีเรื่องนั้นเสี ยก่ อน ”


สุนทรียภาพในคำ
a. เสี ยงของคำ
b. การเล่นคำ
c. จังหวะและลีลาของคำ
สุนทรียภาพในความ
๑.ภาพพจน์
- อุปมา
- อุปลักษณ์
๒. รสวรรณคดี
๓. โวหาร
๔. สั ญลักษณ์

You might also like