You are on page 1of 365

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

รายงานการวิจยั
เรื่อง

กลวิธีการเล่าเรื่องและการสร้ างบุคลิกลักษณะ
ของตัวละครในหนังสือการ์ ตูนญีป่ ุ่ น

NARRATIVE STYLE AND CHARACTERIZATION OF


JAPANESE COMIC BOOKS

นับทอง ทองใบ

งานวิจยั นี้ ได้ รับทุนอุดหนุนการวิจยั จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม


ปี การศึกษา 2552
กิตติกรรมประกาศ

ถึงใครจะว่าการ์ ตนู ก็ “แค่เรื่ องไร้ สาระ” แต่เรายังคงยืนยันคาเดิม (เหมือนเช่นใน


งานวิจยั การ์ ตนู 2 เรื่ องก่อนหน้ านี ้) ว่าการ์ ตนู ไม่ใช่ “แค่การ์ ตนู ” แต่เป็ น “ตังการ์
้ ตนู ” ที่ให้
“คุณค่า” มากกว่าจะให้ “คุณโทษ” ...ความรู้สกึ นี ้นี่เองที่ทาให้ เราเลือกจะจมจ่อมอยูก่ บั สิ่งที่ตนรัก
ผ่านงานวิจยั แสนมาราธอนชิ ้นนี ้ที่ชื่อ “กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละคร
ในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ เพื่อหวังจะเติมภาพที่ชว่ ยสะท้ อนคุณค่าตัวสื่อ “การ์ ตนู ” ให้ เป็ นรูปเป็ น
ร่าง (ทังต่
้ อในใจผู้วิจยั และทังต่้ อสังคม) มากขึ ้น
ผลจากงานวิจยั ช่วยตอกย ้าให้ เรายิ่งเชื่อว่าการ์ ตนู เป็ น “ตังการ์ ้ ตนู ” เพราะ
นอกจากตัวละครจะหลากหลาย (บางเรื่ องเรี ยกได้ วา่ หลุดโลก) จนทาให้ ทิศทางของเรื่ องทังสนุ ้ ก
ทังยากจะคาดเดาท
้ าเอาคนอ่านตามลุ้นกันจนตัวโก่งแล้ ว หลายเรื่ องที่วา่ ด้ วยจินตนาการฟุ้งฝั น
เกินจริงแต่แก่นแท้ นนกลั
ั ้ บเป็ น “ของจริง” ที่ลกึ ซึ ้งและสะท้ อนสังคมได้ แยบคายไม่แพ้ วรรณกรรม
ชันเลิ
้ ศ (เช่นวันพีซที่สะท้ อน “อานาจ” และความ “ไม่เท่าเทียม” กันของโลกโจรสลัด)
นี่จงึ เป็ นงานวิจยั ที่ทาด้ วยอารมณ์เปี่ ยมสุข และเมื่อเสร็จสิ ้นก็เหมือนมีอะไร
บางอย่างหายไป เพราะตัวละครในการ์ ตนู โลดแล่นนอกกระดาษอยูใ่ นหัวเรามาเป็ นปี ๆ จึงอด
ไม่ได้ ที่ต้องกล่าวถึงตัวละครเหล่านันว่ ้ า ...ขอบคุณลูฟี่ที่ทาให้ ร้ ูวา่ พระเอกสุดเท่ไม่จาเป็ นต้ องมีพลัง
สุดเจ๋งเหนือคนอื่นเสมอ…ขอบคุณเคนจิ พระเอกการ์ ตนู ที่เหมือนคนจริงเสียยิ่งกว่าจริ ง เพราะยอม
ยืดอกรับ “ความกลัว” และกล้ า “ถอยหนี” มากกว่าจ้ องจะเอาชนะฟาดฟั นศัตรูทา่ เดียว…
ขอบคุณนารูโตะที่ชว่ ยบอกว่าคนที่มีด้านมืดในตัวมักช่วยจุดแสงสว่างให้ กบั คนรอบข้ างได้ เสมอ
และแน่นอนย่อมต้ องขอบคุณพระเอก-นางเอกในชีวิตจริ งที่ชว่ ยให้ งานวิจยั เรื่ องนี ้
มีหน้ าแรกและมีหน้ าสุดท้ าย ...ขอบคุณ รศ.ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ อาจารย์ผ้ ไู ม่เคยปฏิเสธคาร้ องขอ
ของศิษย์คนนี ้...ขอบคุณป๊ ะป๋ ากับมอมที่ไม่เคยดุดา่ ห้ ามปรามยามที่เห็นลูกบ้ าคลัง่ อ่านการ์ ตนู
ตังแต่
้ ตวั กระเปี๊ ยก…ขอบคุณพ่อ-ลูกปลาหมึกที่แค่เห็นหน้ าก็หายเหนื่อยได้ ทกุ ครัง้
และท้ ายที่สดุ ...ขอบคุณลายเส้ นมีชีวิตที่เรี ยกว่า “การ์ ตนู ” ทุกเรื่ องบนโลกนี ้ที่
ยังรอให้ อีกหลายคนช่วยกันพิสจู น์วา่ มันเป็ น “ตังการ์ ้ ตนู ” ไม่ใช่ “แค่การ์ ตนู !

นับทอง ทองใบ
กันยายน 2555
หัวข้ อวิจยั : กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่
ผู้วิจยั : นับทอง ทองใบ
หน่วยงาน : คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม
ปี ที่พิมพ์ : พ.ศ. 2555

บทคัดย่ อ

งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการเล่าเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนและการ


ุ่
สร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครในการ์ ตนู ญี่ปนุ่ เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ ใช้ วิธีศกึ ษาเนื ้อหา
หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ได้ รับความนิยมในประเทศไทย 6 เรื่ อง และการสัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ าน
การเล่าเรื่ อง การสร้ างคาแร็ คเตอร์ การ์ ตนู และนักวิชาการเกี่ยวกับการ์ ตนู 12 คน โดยใช้ แนวคิด
เกี่ยวกับการ์ ตนู การเล่าเรื่ อง การสร้ างตัวละคร รูปลักษณ์นิยม สุนทรี ยศาสตร์ และแนวคิดสังคม
วัฒนธรรมญี่ปนเป็ ุ่ นกรอบการวิจยั ผลการวิจยั พบว่าด้ านการเล่าเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ กลวิธี
นาเสนอดังนี ้ 1. มีหลายแนวเรื่ องในเรื่ องเดียว 2. โครงเรื่ องมีความซับซ้ อนมากขึ ้น และผู้เขียนให้
ความสาคัญในการค้ นคว้ าข้ อมูลเพื่อสร้ างความน่าเชื่อถือให้ โครงเรื่ อง 3. ความขัดแย้ งหรื อปม
ปั ญหาของเรื่ องมีจานวนมาก 4. แก่นความคิดมีความหลากหลาย ลึกซึ ้ง มากกว่าแค่ธรรมะย่อม
ชนะอธรรม 5. เรื่ องที่มีโครงเรื่ องซับซ้ อน มักมีสญ ั ลักษณ์เพื่อสะท้ อนแก่นความคิดของผู้เขียน
6. ใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องแบบผู้ร้ ูรอบด้ านและมุมมองบุคคลที่ 1 มากที่สดุ ด้ านการสร้ าง
บุคลิกลักษณะตัวละครพบว่า 1. เป็ นตัวละครกลุม่ มีจานวนมากและมีความแตกต่างของ
บุคลิกลักษณะทังภายนอกและภายในชั
้ ดเจน 2. การสร้ างตัวละครกลุม่ จานวนมากต้ องสร้ างจุด
ร่วมของตัวละครเพื่อสร้ างเอกภาพให้ ตวั ละครกลุม่ 3. ตัวละครมีมิตเิ ป็ นตัวละครแบบกลมมีความ
เป็ นมนุษย์มากกว่าตัวละครแบบเหนือมนุษย์ 4. พระเอกไม่จาเป็ นต้ องหล่อแต่มีความร่วมสมัย
สะท้ อนบุคลิกเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีอตั ลักษณ์แตกต่างหลากหลาย ด้ านลักษณะลายเส้ นของการ์ ตนู
ขึ ้นอยู่กบั เนื ้อเรื่ องและกลุม่ ผู้อา่ น ส่วนวิธีการสอดแทรกวัฒนธรรมแบบญี่ปนผ่ ุ่ านการ์ ตนู ทาได้
อย่างแนบเนียน ด้ วยการใส่เรื่ องราวที่ให้ สนุ ทรี ยะด้ านความกล้ าหาญหรื อวีรรสซึง่ เป็ นลักษณะเด่น
ของชาวญี่ปนลงในการ์
ุ่ ตนู ญี่ปนทุ
ุ่ กเรื่ องที่ได้ ศกึ ษาครัง้ นี ้

คาสาคัญ : หนังสือการ์ ตนู การ์ ตนู ญี่ปนุ่ การเล่าเรื่ อง การสร้ างบุคลิกลักษณะตัวละคร


สุนทรี ยศาสตร์
Research Title : Narrative Style and Characterization of Japanese Comic Books
Name of Researcher : Nubthong Thongbai
Name of Institution : Faculty of Communication Arts, Sripatum University
Year of publication : B.E. 2555

ABSTRACT
This research is aimed to study the narrative style and characterization of
Japanese comic books. The qualitative method is the research methodology to study
the contents of 6 most popular Japanese comic books in Thailand using the in-depth
interview with 12 experts of narration and comic books. The main theoretical frameworks
are based upon the narration and the characterization concept. The result is found that
the narrative style of Japanese comic books are as follow : 1. The various genre in one
story 2. The more complex plot and more data research to create the reliable plot 3.
Many conflicts 4. The variety of theme using the more profound theme than only " As
you sow, so shall you reap" 5. The symbol in complex plot reflects the writer's theme 6.
Using the omniscient and the first-person point of view mostly. In addition, for
characterization, the result of research is also found as follow : 1. A number of Group
characters and obvious difference between inside and outside personalities. 2. To build
a number of Group characters, the common points among characters are made to build
the unity of characters. 3. More round character, close to human being, than the flat
character or super hero. 4. The leading character doesn't need to be a good looking
person but more of contemporary personalities reflecting to the various identity of the
new generation. Moreover, the line art of comic books is depend on the contents and
the reader. The clever idea inserted the Japanese culture into the comic books is
esthetics of courage which is the most outstanding personality of Japanese found in
every comic books of this research.

Keywords : Comic Books, Japanese Comic Books, Narrative, Characterization, Esthetics


สำรบัญ

บทที่ หน้ ำ

1 บทนำ..................................................................................................................1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา ...........................................................1
วัตถุประสงค์การวิจยั .......................................................................................5
คาถามการวิจยั ...............................................................................................6
สมมุตฐิ านการวิจยั ..........................................................................................6
ขอบเขตการวิจยั ..............................................................................................6
นิยามศัพท์ ......................................................................................................6
ประโยชน ที่คาดว าจะได รับ
.................................................................................7

2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง .......................................................................................8
แนวคิดเกี่ยวกับการ์ ตนู ......................................................................................8
แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้ างการเล่าเรื่ อง………………..........................................28
แนวคิดการสร้ าง และออกแบบบุคลิกลักษณะตัวละคร……………………………31
แนวคิดรูปลักษณ์นิยม……………..……………………………………………….35
แนวคิดสุนทรี ยศาสตร์ ………………………………………………………………36
แนวคิดเกี่ยวกับสังคม และวัฒนธรรมญี่ปน………………………………………..37 ุ่
งานวิจยั อื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง...................................................................................41
สรุป ...............................................................................................................46

3 ระเบียบวิธีกำรวิจัย ............................................................................................48
รูปแบบการวิจยั หรื อแบบแผนการวิจยั .............................................................48
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ..............................................................................48
เครื่ องมือการวิจยั ............................................................................................51
ขันตอนการด
้ าเนินงานวิจยั ..............................................................................53
การรวบรวมข้ อมูล…………………………………………………………………..54
การวิเคราะห์ข้อมูล ..........................................................................................54
สำรบัญ (ต่ อ)

บทที่ หน้ ำ

4 ผลกำรวิจัยกำรเล่ ำเรื่ องในหนังสือกำร์ ตูนญี่ปุ่น ...............................................55


1. การเล่าเรื่ องผ่านแนวคิดการเล่าเรื่ อง…………………………………………....55
1.1 แนวเรื่ อง (Genre)…………………………………………………………...55
1.2 โครงเรื่ อง (Plot)……………………………………………………………...59
1.3 ความขัดแย้ ง (Conflict)……………………………………………………..89
1.4 แก่นเรื่ อง (Theme)…………………………………………………………..98
1.4 ฉาก (Setting)………………………………………………………………111
1.6 สัญลักษณ์ (Symbol)……………………………………………………….125
1.7 มุมมองการเล่าเรื่ อง (Point of View)……………………………………….131
2. การเล่าเรื่ องผ่านเทคนิคการ์ ตนู …………………………………………………134
2.1 กรอบหรื อช่องการ์ ตนู ……………………………………………………….134
2.2 บอลลูน หรื อช่องคาพูด………….………………………………………….137
2.3 การใช้ เทคนิคเกี่ยวกับภาพ………………………………………………….138
2.4 การจัดวางฉากและการจัดวางองค์ประกอบอื่นๆในกรอบ/ช่องการ์ ตนู …….140
3. การเล่าเรื่ องผ่านลายเส้ นการ์ ตนู ………………………………………………..143

5 ผลกำรวิจัยกำรสร้ ำงตัวละคร............................................................................151
1. ประเภทตัวละคร………………………………………………………………..151
1.1 ประเภทตัวละครที่พิจารณาจากจานวนของตัวละคร……………………..151
1.2 ประเภทตัวละครที่พิจารณาจากมิตแิ ละพัฒนาการของตัวละคร…………155
1.3 บทบาทหน้ าที่ของตัวละคร………………………………………………..160
2. ความพิเศษของตัวละคร………………………………………………………..176
3. ความแตกต่างหลากหลายของตัวละคร………………………………………..211
4. การกระจายความสาคัญและการสร้ างความสัมพันธ์ของตัวละคร…………….258
สุนทรี ยรสแห่งการ์ ตนู ……………………………………………………………...262
สำรบัญ (ต่ อ)

บทที่ หน้ ำ

6 สรุป อภิปรำยผล และข้ อเสนอแนะ ...............................................................267


สรุปผลการวิจยั ............................................................................................267
อภิปรายผลการวิจยั .....................................................................................318
ข้ อเสนอแนะ ................................................................................................336

บรรณำนุกรม ..................................................................................................338

ภำคผนวก .......................................................................................................344
ภาคผนวก ก เรื่ องย่อการ์ ตนู ที่นามาศึกษา……………………………………….345

ประวัตยิ ่ อผู้วิจัย ..............................................................................................352


สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้ า

1 แนวเรื่ องของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ อง.............................................................................58


2 จังหวะ-การลาดับเรื่ อง……………….……………………………………………….64
3 สรุปความสมจริงและความน่าเชื่อถือของเรื่ อง (เรี ยงจากน้ อยไปมาก)………………74
4 ความลึกซึ ้งและซับซ้ อนของโครงเรื่ อง………………………………………………..81
5 สรุปกลวิธีการสร้ าง-คลี่คลายเงื่อนงา………………………………………………..88
6 ลักษณะและจุดเด่นการสร้ างความขัดแย้ ง/ปมอุปสรรคของเรื่ อง……………..........97
7 สรุปเรื่ องที่ว่าด้ วยแก่นความคิดเกี่ยวกับศีลธรรม..................................................110
8 สรุปเรื่ องที่มีแก่นความคิดว่าด้ วยการวิพากษ์/สะท้ อน/เสียดสีสงั คม………………..110
9 สรุปเรื่ องที่มีแก่นความคิดว่าด้ วยธรรมชาติมนุษย์ …………………………………..111
10 สรุปเรื่ องที่สะท้ อนแก่นความคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมญี่ปน…………………………..111 ุ่
11 เรื่ องที่สร้ างฉากจินตนาการขึ ้นใหม่……………………………………………........124
12 เรื่ องที่สร้ างฉากเหตุการณ์บนโลกความเป็ นจริง………………………...................124
13 วิธีสร้ างฉากต่อสู้ของเรื่ องที่เน้ นแนวต่อสู้……………………………………………125
14 สัญลักษณ์ที่สื่อความหมาย…………………………………………………………130
15 ประเภทของมุมมองการเล่าเรื่ อง.........................................................................134
16 ภาพรวมวิธีการใช้ ลายเส้ น………………….……………………………………….150
17 ประเภทของตัวละครโดยแบ่งเป็ นตัวละครกลุม่ -เดี่ยว และกลม-แบน………………159
18 ลักษณะของผู้ร้าย……………………………………………………………………168
19 ลักษณะของผู้ชว่ ยเหลือ……………………………………………………………..172
20 ลักษณะของนางเอก….……………………………………………………………..176
21 เบื ้องหลังปมชีวิตและความฝั นของตัวละครในวันพีซ…………………...................191
22 สรุปความสามารถ สิ่งของ และสัตว์วิเศษในนินจาคาถาฯ…………………............198
23 สรุปความแตกต่างด้ านบุคลิกลักษณะภายนอกของกลุม่ ตัวเอกในวันพีซ …….........217
24 สรุปความแตกต่างคาแร็ คเตอร์ ของกลุม่ ตัวเอกวันพีซ………………………............220
25 รวมตัวละครที่มีปมเรื่ องความเจ็บปวดและความสูญเสียในนินจาคาถาฯ................235
สารบัญตาราง (ต่ อ)

ตารางที่ หน้ า

26 ตารางแสดง “วีรรส” ความกล้ าของตัวละครเอก……………………………….……..263


27 ตารางแสดง “อัทภูตรส” การสร้ างความสงสัย อัศจรรย์ใจ………………………...…264
28 แนวเรื่ องของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ อง..............................................................................268
29 สรุปความสมจริงและความน่าเชื่อถือของเรื่ อง (เรี ยงจากน้ อยไปมาก)......................269
30 สรุปกลวิธีการสร้ าง-คลี่คลายเงื่อนงา…………………………………………………274
31 ภาพรวมวิธีการใช้ ลายเส้ น...................................................................................288
32 เบื ้องหลังปมชีวิตและความฝั นของตัวละครในวันพีซ…………………………..........297
33 กลวิธีการเขียนการ์ ตนู ตามวัยของผู้อา่ น.................................................................333
สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบ หน้ า

1 การ์ ตนู ที่ให้ อรรถรสเหมือนภาพยนตร์ เรื่ อง Shin Takarajima……………………………12


2 ตัวอย่างการวาดกรอบ/ช่องแบบปกติจานวนช่องปานกลาง..........................................22
3 เปรี ยบเทียบบอลลูนในการ์ ตนู อเมริกนั และการ์ ตนู ญี่ปน…………………………………23
ุ่
4 ลักษณะบอลลูนที่แสดงถึงเสียงพูดตัวละครที่ดงั กว่าปกติ………………………………..24
5 วิธีอา่ นการ์ ตนู ญี่ปนเรี ุ่ ยงตามลาดับบอลลูน……………………………………………....25
6 การออกแบบเครื่ องแต่งกายในการ์ ตนู เรื่ องโจโจ้ ล่าข้ ามศตวรรษ………………………...32
7 สัดส่วนร่างกายมนุษย์สาหรับตัวการ์ ตนู ปกติ……………………………………………..35
8 เสียงบทพูด/บทบรรยายในเดธโน้ ตที่มากกว่าการ์ ตนู ทัว่ ไป............................................69
9 ชินอิจิและโคนันพระเอกสองวัยในร่างเดียวจากยอดนักสืบจิ๋วฯ………………...............72
10 ปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหางที่สถิตอยูใ่ นร่างนารูโตะ……………………………………………..85
11 อุซปใน “วันพีซ” จอมโกหกที่ (ในรูป) ต้ องการเห็นรอยยิ ้มของแม่ที่ป่วย…………………95
12 คนยักษ์ดอร์ รี่และโบรกี ้จากเรื่ องวันพีซ…………………………………………………..109
13 เปลือกหอยหรื อ dials (ซ้ าย), dial เมื่อดัดแปลงเป็ นพลังงานให้ เรื อ (ขวา).....……….…112
14 ฉากต่อสู้ในนินจาคาถาฯ…………………………………………………………………114
15 โงคูในดราก้ อนบอลพบกับอาราเล่ตวั ละครเอกในเรื่ อง ดร.สลัมป์ฯ…………………….115
16 ทางเข้ าฐานทัพลับของเคนจิและเพื่อนในวัยเด็ก………………………………………...117
17 ตัวอย่างฉากวางแผนต่อสู้ไล่ลา่ เจ้ าของเดธโน้ ต (ไลท์) ในห้ องแคบ-มืด………………...118
18 ตัวอย่างการประกบคูแ่ ข่งขันในศึกชิงเจ้ ายุทธภพครัง้ ที่ 21……………………………...121
19 สัตว์วิเศษ (ราชาแห่งกบ) ที่มาร่วมต่อสู้กบั นารูโตะเมื่อได้ ยินคาถาอัญเชิญ…………….124
20 ตัวอย่างการใช้ กรอบ/ช่องในยอดนักสืบจิ๋วที่เป็ นรูปสี่เหลี่ยมเรี ยบง่าย………………….135
21 แสดงการใช้ กรอบขนาดใหญ่ในดราก้ อนบอล (ภาพ 1 หน้ าคู)่ ……………………….…136
22 ตัวอย่างการซอยกรอบ/ช่องย่อยๆ เพื่อแสดงปฏิกิริยากลุม่ ตัวละครเอก…………….…..137
23 ตัวอย่างช่องคาพูด/บอลลูนที่มีจานวนมากในวันพีซ……………………………….……138
24 ลักษณะการเปลี่ยนระยะภาพในทเวนตี ้ฯ………………………………………………..139
25 มุมกล้ องแปลกตาในวันพีซ……………………………………………………………....140
สารบัญภาพประกอบ (ต่ อ)

ภาพประกอบ หน้ า
26 ฉากเรี ยบง่ายในดราก้ อนบอล (สังเกตก้ อนเมฆและภูเขาในกรอบล่าง)………………...142
27 แสดงความขัดแย้ งในฉากดราก้ อนบอล....................................................................143
28 ลายเส้ นเรี ยบง่าย สะอาดตา และเส้ นสปี ดที่แสดงน ้าหนักในดราก้ อนบอล...................145
29 ลายเส้ นละเอียดในเดธโน้ ต (ซ้ าย) และลายเส้ นสมจริงในทเวนตี ้ฯ (ขวา)………………147
30 ลักษณะลายเส้ นและการวาดสัดส่วนตัวละครที่เกินจริงในวันพีซ……………………….148
31 สัดส่วนแบบการ์ ตนู ที่ลดความจริงจังของเรื่ องยอดนักสืบจิ๋วฯ......................................149
32 “เพื่อน” ผู้ร้ายในเรื่ องทเวนตี ้ฯ…………………………………………………………...167
ลัก33ษ ลักษณะข้ อความกฎการฆ่าคนในเดธโน้ ต ผู้ชว่ ยเหลือในเรื่ องเดธโน้ ต..........................170
34 เทพเจ้ ามังกรผู้ชว่ ยเหลือหลักในดราก้ อนบอล………………………………................171
รัน35แล รัน และซากุระ นางเอกจากยอดนักสืบจิ๋วฯ และนินจาคาถาฯ…………………………..173
36 แฮนค็อก นางเอกเรื่ องวันพีซ…………………………………………………................174
37 ลายเส้ นเรี ยบง่ายในดราก้ อนบอล - ลายเส้ นสมจริ งในฤทธิ์หมัดดาวเหนือ…................177
38 ผมชี ้แหลม เอกลักษณ์ของพระเอกในดราก้ อนบอล…………………………................179
39 คุริลิน ตัวละครไม่มีจมูกจากดราก้ อนบอล…...………………………………………….180
40 การเติบโตของตัวละครในดราก้ อนบอล (โงคู - คนกลาง)............................................181
41 ผู้เฒ่าเต่าในดราก้ อนบอล.……………………………………………………………….183
42 จอมมารบูในดราก้ อนบอล.......................................................................................184
43 การแปลงร่างของรันจิ ในดราก้ อนบอล.....................................................................185
44 ตัวละครคูห่ ู ยามุชาและปูอลั ในดราก้ อนบอล............................................................186
45 ตัวละครคูห่ ู เท็นชินฮังและเจาสึในดราก้ อนบอล........................................................187
46 ตัวละครเอกในวันพีซ ลูฟี่/โซโล/นามิ/อุซป/ซันจิ/ช้ อปเปอร์ /โรบิน/แฟรงกี ้.......................190
47 ตัวอย่างผลไม้ ปีศาจในวันพีซ………........................................................................193
48 บรู๊ค ตัวละครกลุม่ ตัวเอกในวันพีซ............................................................................195
49 นารูโตะ พระเอกในนินจาคาถาฯ..............................................................................196
50 สัตว์หางต่างๆ ในนินจาคาถาฯ.................................................................................198
สารบัญภาพประกอบ (ต่ อ)

ภาพประกอบ หน้ า

51 การออกแบบคาแร็ คเตอร์ ภายนอกของ “แอล” ตัวเอกในเดธโน้ ต.................................200


52 ยมทูตลุค (ซ้ าย) และมิสะในเดธโน้ ต (ขวา)………….................................................202
53 เปรี ยบเทียบคาแร็ คเตอร์ ภายนอก แอล-ไลท์ (พระเอก-ผู้ร้าย) .....................................203
54 เคนจิพระเอกจากทเวนตี ้ฯ.......................................................... ............................204
55 ขบวนการกู้โลกในทเวนตี ้ฯ เคนจิ โยชิสเึ นะ โอตโจะ..................................................205
56 “เพื่อน” ตัวร้ ายผู้ปิดบังใบหน้ าตลอดเวลาในทเวนตี ้ฯ.................................................207
57 ตัวละครเอกสองวัยในร่างเดียวกันจากยอดนักสืบจิ๋วฯ...............................................209
58 เฮย์จิ (ซ้ ายสุด) และจอมโจรคิด (ขวาสุด)……..........................................................210
59 ขนาด รูปร่าง สัดส่วนตัวละครเอกในวันพีซที่คอ่ นข้ างผอมเพรี ยวเกินจริง ……..............212
60 ลูฟี่และซันจิ ตัวละครในวันพีซ.................................................................................213
61 อุซป ตัวละครในวันพีซ............................................................................................213
62 นามิและโรบิน ตัวละครหญิงในวันพีซ.......................................................................214
63 โซโล และช้ อปเปอร์ ตัวละครในวันพีซ.......................................................................215
64 แฟรงกี ้และบรู๊ค ตัวละครในวันพีซ............................................................................216
65 ตัวตลกบากี ้............................................................................................................222
66 มิสเตอร์ ทวู ์และอีวานคอฟ (เพศที่ 3 ในวันพีซ)...........................................................223
67 ตัวละครร้ าย “หนวดดา” และ “โมเลีย” ในวันพีซ............................. ...................…...225
68 แชงคูส ผมแดง ในวันพีซ.......................................................... ..............................226
69 ตัวละครหญิงเลดี ้ อัลบีด้า และนาวาเอกฮินะในวันพีซ...............................................227
70 ชิกามารุ ตัวละครจอมวางแผนในนินจาคาถาฯ.........................................................229
71 ชิโนะ และโจจิ ตัวละครในนินจาคาถาฯ……………..................................................230
72 ร็อค ลี ตัวละครในนินจาคาถาฯ................................................................................231
73 เพน และซาโซริ สมาชิกกลุม่ แสงอุษา ฝ่ ายร้ ายในนินจาคาถาฯ....................................2323
74 อิทาจิ สมาชิกกลุม่ แสงอุษา ฝ่ ายร้ ายในนินจาคาถาฯ.................................................234
75 กาอาระ ตัวละครที่เคยร้ ายแต่ภายหลังกลับตัวเป็ นคนดีในนินจาคาถาฯ......................235
สารบัญภาพประกอบ (ต่ อ)

ภาพประกอบ หน้ า
76 โทบิ ตัวละครร้ ายใส่หน้ ากากในนินจาคาถาฯ….........................................................237
77 ซึนาเดะ และซากุระ ตัวละครผู้หญิงในนินจาคาถาฯ…...............................................238
78 แสดงคาแร็คเตอร์ ที่แตกต่างของตัวละครในดราก้ อนบอล...........................................239
79 ภาพการแปลงร่างของโงคู ตัวเอกในดราก้ อนบอล......................................................241
80 พิคโกโร่ และฟรี เซอร์ ตวั ละครร้ ายในดราก้ อนบอล......................................................243
81 มิสเตอร์ ซาตาน ตัวประกอบที่นา่ จดจาในดราก้ อนบอล..............................................244
82 ตัวละครผู้หญิงในดราก้ อนบอล จีจี ้ บลูม่า และมนุษย์ดดั แปลงหมายเลข 18………….245
83 แสดงขนาด-รูปร่างตัวละครในทเวนตี ้ฯ (เคนจิคนกลาง) ............................................246
84 แสดงวิธีการวาดคิ ้ว หางตาตัวละครในทเวนตี ้ฯ..........................................................247
85 ตัวละครพระเจ้ าในทเวนตี ้ฯ......................................................................................248
86 ขบวนการนักสืบเยาวชน ตัวละครกลุม่ เด็กในยอดนักสืบจิ๋วฯ.......................................251
87 ตัวละครวัยรุ่นที่หน้ าตาคล้ ายกัน (ชินอิจิ เฮย์จิ คิด) ในยอดนักสืบจิ๋วฯ..........................251
88 ตัวละครหญิงในยอดนักสืบจิ๋วฯ (โซโนโกะ-ซ้ าย, รัน-ขวา)…........................................252
89 โมริ โคโกโร่ และดร.อากาสะ ฮิโรชิ ตัวละครวัยผู้ใหญ่ในยอดนักสืบจิ๋วฯ…………….….253
90 สมาชิกองค์กรชุดดา(วอดก้ า ยิน เบลม็อท-ซ้ ายไปขวา) ในยอดนักสืบจิ๋วฯ……….…….254
91 เปรี ยบเทียบตัวละคร แอล (ซ้ าย) ไลท์ (ขวา) ในเดธโน้ ต……………............................255
92 เนียร์ และเมลโล่ ในเดธโน้ ต................................ .....................................................256
93 ยมทูตลุคและเรมในเดธโน้ ต................................ ....................................................257
94 ตัวละครคูห่ เู ท็นชินฮัง และเจาสึในดราก้ อนบอล........................................................259
บทที่ 1

บทนำ

ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปั ญหำ


“การอ่าน” กาลังเป็ นวาระแห่งชาติที่รัฐบาลให้ ความสาคัญ เนื่องจาก
คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2552 กาหนดให้ วนั ที่ 2 เมษายนของทุกปี เป็ น
“วันแห่งการรักการอ่าน” พร้ อมกับมีการลงนามแต่งตังคณะกรรมการส่ ้ งเสริมการอ่านเพื่อสร้ าง
สังคมแห่งการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต และ 1 ใน 3 ยุทธศาสตร์ หนึง่ ที่คณะกรรมการส่งเสริมการ
อ่านฯ มุง่ พัฒนาให้ เป็ นรูปธรรมคือการเปลี่ยนทัศนคติเรื่ องการอ่านของเด็กไทยให้ มีนิสยั รักการ
อ่าน หรื อผลักดันให้ เด็กไทย “อ่านเพราะชอบอ่าน” ไม่ใช่ “จาใจอ่าน” (นวรัตน์ รามสูต และนงสิลินี
โมสิกะ, พฤษภาคม 2552) ซึง่ จากงานวิจยั ของเอคอร์ น มาร์ เก็ตติ ้ง แอนด์ รี เสิร์ช คอลซัลแทนส์
จากัด (รายงานวิจยั ต่อสานักงานอุทยานการเรี ยนรู้ , 2551) ที่ได้ สารวจทัศนคติและพฤติกรรมการ
อ่านของคนไทย ทังเด็ ้ กและผู้ใหญ่ 1,600 ตัวอย่าง ระหว่าง มิถนุ ายน 2551 – กันยายน 2551
พบว่า สาเหตุสาคัญที่ทาให้ คนไทยอ่านหนังสือในอัตราน้ อยมากส่วนหนึง่ เกิดจากพื ้นฐาน
ความรู้สกึ ที่มีตอ่ “หนังสือ” นัน่ คือคนไทยรู้สกึ ว่า “ต้ องอ่าน” ตามหน้ าที่ เช่นการอ่านหนังสือเรี ยน
เพื่อสอบ ไม่ได้ อา่ นเพราะเกิดจากความสนใจด้ วยตัวเอง และจากงานวิจยั ดังกล่าวก็ยงั มี
ประเด็นที่นา่ สนใจอีกว่าในบรรดาสื่อสิ่งพิมพ์ที่เด็กและเยาวชนไม่จาใจอ่าน แต่เลือกอ่านด้ วย
ตัวเองมากที่สดุ ก็คือ “การ์ ตนู ” โดยไม่วา่ จะเป็ นกลุม่ ผู้สนใจการอ่านมาก หรื อกลุ่มผู้สนใจการ
อ่านน้ อย ต่างเลือกอ่านประเภทหนังสือ “การ์ ตนู ” สูงสุดเหมือนกัน (กลุม่ สนใจการอ่านมากเลือก
อ่านการ์ ตนู ร้ อยละ 34 กลุม่ สนใจการอ่านน้ อยเลือกอ่านการ์ ตนู ร้ อยละ 42) รายงานวิจยั
ข้ างต้ นจึงช่วยชี ้ให้ เห็นความสาคัญของการ์ ตนู ในฐานะสื่อกระตุ้นการอ่านที่เริ่มจากตัวเด็กและ
เยาวชนเอง ซึง่ จะกลายเป็ นการปลูกฝั งให้ กลายเป็ นผู้ใหญ่ที่รักการอ่านอย่างยัง่ ยืนในอนาคต
นอกจากความสาคัญของการ์ ตนู ในมิตทิ างสังคมที่มีสว่ นในการพัฒนาเยาวชนผู้
เป็ นอนาคตของชาติแล้ ว สื่อการ์ ตนู ยังมีความสาคัญในมิตทิ างเศรษฐกิจของชาติอีกทางหนึง่ ด้ วย
เพราะการ์ ตนู และแอนิเมชัน่ กลายเป็ นหนึง่ ในกลุม่ อุตสาหกรรมความคิดสร้ างสรรค์ที่ภาครัฐให้ การ
สนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจไทย
“เมื ่อก่อนรัฐบาลให้ความสนใจแรงงานราคาถูกกับปั จจัยทรัพยากรที ม่ ี เหลื อเฟื อ
2

แต่ปัจจุบนั มันเปลี ่ยนไปเป็ น creative economy หันมาสนใจสิ่ งประดิ ษฐ์ ทีเ่ ป็ นความคิ ด
สร้างสรรค์ซึ่งเกิ ดจากรากฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของตัวเองแทน…การ์ ตูนเองก็จดั อยู่ใน
สิ่ งประดิ ษฐ์ ทีเ่ ป็ นความคิ ดสร้างสรรค์ทีม่ ี ศกั ยภาพช่วยเศรษฐกิ จของชาติ ได้” (วัฒนชัย วินิจจะกูล,
25 กรกฎาคม 2552)1
แต่เมื่อหันมาดูศกั ยภาพของสื่อการ์ ตนู ไทยในปั จจุบนั ความเห็นต่อไปนี ้ คือ
มุมมองของนักเขียน-นักวิจารณ์การ์ ตนู ในบ้ านเราที่มีตอ่ “การ์ ตนู ไทย”“การ์ ตูนไทยส่วนใหญ่ ไม่
สนุก เพราะไม่มี conflict (ปมขัดแย้ง) ไม่มี drama (การสร้างอารมณ์ร่วมไปกับเรื ่อง)”
(นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์, 15 พฤษภาคม 2552)2
“ผมว่าเรื ่องลายเส้นนักเขี ยนการ์ ตูนไทยไม่ใช่ปัญหา เราสู้ชาติ ไหนๆ ก็ได้อยู่แล้ว
แต่ปัญหาก็คือวิ ธีเล่าเรื ่องยังไงให้สนุก” (สุรพล พิทยาสกุล, 3 กรกฎาคม 2552)3
“เนื อ้ เรื ่องการ์ ตูนไทยส่วนใหญ่ยงั อ่อน ไม่เป็ นปรัชญา มันไม่ได้อะไร แต่การ์ ตูน
ญี ่ปนุ่ เขามี ข้อคิ ดของมันอยู่ทกุ เรื ่อง” (สิทธิพร กุลวโรตตมะ, สัมภาษณ์, 20 มกราคม 2548)4
และจากการค้ นคว้ าของผู้วิจยั เรื่ องสถานะของหนังสือการ์ ตนู ไทยในปั จจุบนั
(นับทอง ทองใบ, 2548) ซึง่ ได้ สมั ภาษณ์ผ้ จู ดั การสถาบันการ์ ตนู ไทยและประธานสมาคมการ์ ตนู
ไทย รวมทังงานวิ ้ จยั เรื่ องการ์ ตนู ความรู้ ไทย: ความเป็ นมา สถานการณ์ และแนวทางการพัฒนา
(วรัชญ์ ครุจิตต์ และนับทอง ทองใบ, 2552) ซึง่ ได้ สมั ภาษณ์เชิงลึกนักเขียนการ์ ตนู 10 คน ต่างก็
ได้ บทสรุปตรงกันว่าจุดอ่อนในการสร้ างงานของนักเขียนการ์ ตนู ไทยคือ “การเล่าเรื่ อง” และ “การ

1
วัฒนชัย วินิจจะกูล ผู้จดั การฝ่ ายวิชาการสานักอุทยานแห่งการเรียนรู้ หรือ ทีเค ปาร์ ค ได้ กล่าวถึงความสาคัญของสื่อ
การ์ ตนู ในการแถลงข่าวและการเสวนา “หลักสูตรการ์ ตนู สร้ างชาติ : เปิ ดมิติสงั คมแห่งการเรียนรู้” เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม
2552 ณ ศูนย์พฒั นาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
2
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ คือแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านจิตเวช และนักวิจารณ์การ์ ตนู แอนิเมชัน่ “การ์ ตนู ที่
รัก”ในมติชนสุดสัปดาห์ มีผลงานหนังสือวิเคราะห์วิจารณ์การ์ ตนู ออกมาหลายเล่ม เช่น ตามหาการ์ ตนู มังงะคลาสสิกฯลฯ และ
คาพูดข้ างต้ นได้ กล่าวไว้ ในงานสังสรรค์เสวนา “ทิศทางการ์ ตนู ความรู้เพื่อสังคมไทย” ในงานแถลงผลการวิจยั เรื่องการ์ ตนู ความรู้
ไทย : ความเป็ นมา สถานการณ์ และแนวทางการพัฒนา วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 ณ สานักงานอุทยานการเรียนรู้
3
สุรพล พิทยาสกุล หรือ พล ข่าวสด นักเขียนการ์ ตนู การเมือง “หนูนากับป้าแจ่ม” ในหนังสือพิมพ์ข่าวสด และหนึ่งใน
กลุม่ การ์ ตนู เบญจรงค์ ซึง่ เป็ นการรวมตัวกันของกลุม่ นักเขียนการ์ ตนู ฝี มือดีรุ่นเก๋า
4
สิทธิพร กุลวโรตตมะหรือครูอา๋ นักวาดการ์ ตนู แนวสร้ างสรรค์สงั คม มีผลงานสอนเขียนการ์ ตนู มากมาย เช่น ตวัดเส้ น
เป็ นการ์ ตนู รูปคน ความลับของเส้ นสีนิรมิตการ์ ตนู อักษรซ่อนจินตนาการ นิทานป่ าอมยิ ้ม ฯลฯ
3

สร้ างคาแร็ คเตอร์ ” หรื อการสร้ างบุคลิกลักษณะตัวการ์ ตนู ให้ นา่ สนใจ ในขณะที่การออกแบบ
ลายเส้ นนันนั ้ กเขียนการ์ ตนู ไทยสามารถสู้ตา่ งชาติเช่น ญี่ปนุ่ หรื อเกาหลีได้ แบบไม่อายใคร
ด้ านทัศนา สลัดยะนันท์ (2543: 15-17) ซึง่ ได้ ทาการวิจยั ถึงเบื ้องหลัง
ความสาเร็จของการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่มีตอ่ เด็กและเยาวชนไทย และได้ ออกแบบสอบถามความคิดเห็น
เกี่ยวกับหนังสือการ์ ตนู ไทยเปรี ยบเทียบกับการ์ ตนู ญี่ปนนั ุ่ นก็้ พบว่าเด็กไทยมองการ์ ตนู ไทยมีเนื ้อ
เรื่ องซ ้าซาก เดาตอนจบได้ ง่าย ต่างจากการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่มีแนวเรื่ องหลากหลาย ตัวละครเหมือน
จริง โครงเรื่ องชวนติดตาม และสนุกตื่นเต้ นกว่า
ความเห็นของนักวิเคราะห์วิจารณ์ นักเขียนการ์ ตนู รวมทังงานวิ ้ จยั ที่กล่าวมานี ้จึง
อาจสรุปได้ วา่ หากการ์ ตนู ไทยต้ องการจะเข้ าไปนัง่ อยูใ่ นใจเด็กไทยให้ ได้ นนคงต้ ั ้ องหันมาใส่ใจ
วิธีการเล่าเรื่ อง รวมถึงการสร้ างตัวละครให้ มีเสน่ห์มากขึ ้น แต่การสร้ างเรื่ องและตัวละครให้ มี
เสน่ห์ มัดใจผู้อา่ นได้ นนควรเป็
ั้ นเช่นไร นี่คือคาถามที่นกั วาด-เขียนการ์ ตนู ไทยยังยากจะอธิบาย
ผู้วิจยั จึงเห็นว่าน่าจะลองหันไปศึกษาตัวอย่างการ์ ตนู ที่มีกลวิธีเล่าเรื่ องที่ได้ รับการยอมรับจากทัง้
คนไทยและหลายๆ ประเทศทัว่ โลก ซึง่ แน่นอนว่าหนีไม่พ้นการ์ ตนู สัญชาติญี่ปนุ่
“เด็กประถมถึงกว่าร้ อยละ 97 ชอบอ่านการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ (สุวรรณา สันคติประภา,
2532) นี่คือผลการวิจยั เรื่ องพฤติกรรมการอ่านและเลือกอ่านหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนของเด็ ุ่ กไทย
ในกรุงเทพมหานคร จากกลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนชันประถมปี ้ ที่ 4-6 จากโรงเรี ยน 10 แห่ง และ
จากรายงานการวิจยั ของบริ ษัท Ai Thailand ที่ได้ ศกึ ษาทัศนคติพฤติกรรมของผู้บริโภคเกี่ยวกับ
การ์ ตนู ในตลาดเมืองไทย ซึง่ ศึกษากลุม่ ผู้อา่ นอายุ 6 ปี ขึ ้นไป จนถึงผู้ปกครองอายุ 31-40 ปี ก็
พบว่า ตัวการ์ ตนู ที่ได้ รับความนิยมมากที่สดุ 5 อันดับแรก ล้ วนเป็ นการ์ ตนู จากประเทศญี่ปนทั ุ่ งสิ
้ ้น
คือ อันดับ 1 โดราเอมอน อันดับ 2 ดราก้ อนบอล อันดับ 3 ชินจัง อันดับ 4 อิคคิวซัง และอันดับ 5
เซลเลอร์ มนู (ทีวีแมกกาซีน, 2541, อ้ างถึงใน พรวลัย เบญจรัตนสิริโชติ, 2549: 4)
ความสาเร็จของการ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ ผ้ วู ิเคราะห์เอาไว้ หลายประการ ฟูซาโนะซูเกะ นัตซึ
เมะ (Fusanosuke Natsume) นักวาดและวิจารณ์การ์ ตนู ชาวญี่ปนุ่ ได้ รวบรวมข้ อมูลลักษณะเด่น
ของการ์ ตนู ญี่ปนุ่ อิทธิพลของการ์ ตนู ญี่ปนในต่ ุ่ างประเทศ และก็ได้ เดินทางมาประเทศไทยเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับอิทธิพลของการ์ ตนู ญี่ ปนในบ้ ุ่ านเรา เขาวิเคราะห์วา่ ความ
นิยมของการ์ ตนู ญี่ปนในหลายๆ
ุ่ ประเทศเป็ นเพราะมีเนื ้อหาหลากหลาย ถูกใจคนอ่านหลายกลุม่
ตังแต่
้ เด็กจนถึงผู้ใหญ่ คือมีทงเรื ั ้ ่ องผจญภัยสาหรับเด็ก เรื่ องความรักโรแมนติกสาหรับเด็กสาว
เรื่ องการต่อสู้ของวีรบุรุษสาหรับเด็กหนุม่ ไปจนถึงเรื่ องเกมการแข่งขันบาสเกตบอล ที่ซบั ซ้ อน
สาหรับผู้ใหญ่ (วันดี สันติวฒ ุ ิเมธี , 2544: 38-44)
4

ส่วนเฟรดเดอริ ค ชอดท์ (Schodt, 1989: 39-41) นักเขียน และนักแปลการ์ ตนู


ญี่ปนเป็ ุ่ นภาษาอังกฤษผู้เผยแพร่ผลงานของปรมาจารย์การ์ ตนู อย่างเท็ตสึกะ โอซามุ (Tezuka
Osamu) ให้ โด่งดังในหมู่นกั อ่านชาวตะวันตกนันก็ ้ ได้ วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่การ์ ตนู ญี่ปนเข้ ุ่ าถึงใจ
ชาวอเมริกนั ได้ วา่ ไม่ใช่แค่เพียงความแตกต่างของวัฒนธรรมที่เป็ นเสน่ห์ดงึ ดูดใจผู้อา่ นเท่านัน้
แต่เป็ นเพราะการ์ ตนู ญี่ปนผลิ ุ่ ตและแปลออกมาในช่วงที่การ์ ตนู อเมริกนั กาลังย่าอยู่กบั ที่ วนเวียน
สร้ างตัวละครซ ้าซากที่เก่งเกินมนุษย์ โครงเรื่ องล้ าสมัย และตอกย ้าแค่เพียงแก่น “ธรรมะย่อมชนะ
อธรรม” ในขณะที่การ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ ความสร้ างสรรค์ มีพลังเคลื่อนไหว แตกต่างออกไปอย่างเด่นชัด
ขณะที่เอริ อิซาวะ (Izawa, 1997 อ้ างถึงในทัศนา สลัดยะนันท์, 2543: 10) นักออกแบบเกมมือ
อาชีพในสหรัฐอเมริกาและผู้เชี่ยวชาญเรื่ องการ์ ตนู และแอนิเมชัน่ ญี่ปนุ่ (manga and anime) ก็
เห็นว่า การ์ ตนู ญี่ปนได้ ุ่ รับความนิยมอย่างกว้ างขวางเป็ นเพราะกลวิธีเล่าเรื่ องที่สามารถประสาน
ศิลปะ บทสนทนา ตัวละคร และเล่าเรื่ องได้ ลื่นไหลแบบภาพยนตร์ การแสดงออกทางสีหน้ าของ
ตัวละครเล่าเรื่ องได้ ดี และใบหน้ าตัวละครก็มีลกั ษณะสากล ไม่ได้ มีลกั ษณะเป็ นญี่ปนโดยเฉพาะ ุ่
ความสาเร็จของการ์ ตนู ญี่ปนได้ ุ่ รับความสนใจในต่างประเทศจนมีงานวิจยั
วิจารณ์ถึงจุดเด่นของผลงานออกมาเป็ นจานวนไม่น้อย แต่งานวิจยั ค้ นคว้ าเกี่ยวกับการ์ ตนู ญี่ปนุ่
ในบ้ านเรา ยังคงมุง่ เน้ นศึกษาเรื่ องผลกระทบ อิทธิพล ของสื่อที่มีตอ่ ผู้เสพ/ผู้รับสาร รวมทังประเด็ ้ น
การศึกษาว่าเนื ้อหาของการ์ ตนู ได้ สะท้ อนจริยธรรม คุณธรรมหรื อเหมาะสมต่อสังคมหรื อไม่
อย่างไร โดยมองข้ ามการศึกษาตัวรูปแบบ และเนื ้อหาที่จะพัฒนาตัวสื่อการ์ ตนู อย่างจริงจังไป
เช่น งานวิจยั ของ พรวลัย เบญจรัตนสิริโชติ (2549) ที่ศกึ ษาการนาเสนอเกณฑ์การพิจารณาใน
การจัดระดับหนังสือการ์ ตนู ที่แปลจากภาษาญี่ปนเป็ ุ่ นภาษาไทยในฐานะสื่อการศึกษาสาหรับ
เยาวชน งานวิจยั ของเอนก รัตนจิตบรรจง (2548) ศึกษาการ์ ตนู ในฐานะสื่อแห่งการสร้ างเสริม
คุณธรรมใน “บทบาทของหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนประเภทกี ุ่ ฬากับการเสริมสร้ างคุณธรรมแก่เด็กและ
เยาวชน”
ส่วน “การสื่อสารเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างเพศในการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ ของนนทยา
พงศ์ผกาย (2544) ก็มองหาการ์ ตนู ญี่ปนในแง่ ุ่ ลบที่นาเสนอเรื่ องเพศแบบไม่ปกปิ ด ในขณะที่
หากย้ อนลงไปอีกราว 9-10 ปี ก่อนหน้ านี ้ งานวิจยั การ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่มกั เป็ นงานวิจยั เชิง
ปริมาณ เช่น “เบื ้องหลังความสาเร็จของการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่มีตอ่ เด็กและเยาวชนไทย” โดย ทัศนา
สลัดยะนันท์ (2543) “การเปิ ดรับหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่มีเนื ้อหาทางเพศของวัยรุ่นในเขต
กรุงเทพมหานครกับทัศนคติตอ่ เพศสัมพันธ์ ” โดยจุตมิ า เพชรรัตน์ (2541) หรื อ “การศึกษาระดับ
5

ความชอบและพฤติกรรมการบริโภคหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนของเด็ ุ่ กและเยาวชนในเขต


กรุงเทพมหานคร” ของธรรมจักร อยูโ่ พธิ์ (2539) เป็ นต้ น
ตัวอย่างของงานวิจยั เกี่ยวกับการ์ ตนู ในประเทศไทยข้ างต้ นชี ้ให้ เห็นว่ายังมี
“ช่องว่าง” คือการมองข้ ามความสาคัญ “ภายใน” ตัวสื่อการ์ ตนู เองอันได้ แก่รูปแบบและเทคนิคการ
นาเสนอ เพราะงานวิจยั ส่วนใหญ่มงุ่ เน้ นไปที่การค้ นหาเนื ้อหาสาระ “ภายนอก”ตัวสื่อที่ฝังแฝงอยู่
ในตัวสื่อเป็ นส่วนใหญ่ นัน่ จึงเท่ากับเป็ นการละเลยคุณค่า เพิกเฉยต่อการพัฒนาตัวสื่อไปโดย
ปริยาย (ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และคณะ, 2543)
งานวิจยั กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือ
การ์ ตนู ญี่ปนจึ ุ่ งขออาสาเป็ นผู้มองเห็นค่าของ “ตัวสื่อการ์ ตนู ” โดยมุง่ ศึกษาจากตัวอย่างของสื่อ
การ์ ตนู ชันครู
้ ที่ได้ รับการยอมรับไปทัว่ โลกในแง่เทคนิค กลวิธีเล่าเรื่ อง และการสร้ างบุคลิกลักษณะ
ตัวละครอย่างการ์ ตนู ญี่ปนุ่ ซึง่ งานวิจยั ชิ ้นนี ้นอกจากจะช่วยเป็ นแว่นขยายส่องสารวจให้ กลุม่
ผู้ผลิต กองบรรณาธิการนักวาดภาพ–นักเขียนเรื่ องการ์ ตนู ไทย ได้ เข้ าใจรูปแบบและเนื ้อหาของ
การ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ไม่ใช่แค่ระดับผิวเผินแต่สามารถเข้ าไปนัง่ อยูใ่ นใจของเด็กไทยอย่างลึกซึ ้งมากขึ ้น
แล้ ว ยังเป็ นการพัฒนา “ต้ นน ้า” ของอุตสาหกรรมการ์ ตนู ที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ นัน่
เพราะของที่ขายได้ ดีนนแม้ ั ้ จะมีปัจจัยด้ านการตลาด การส่งเสริมการขาย รวมทังปั ้ จจัยอื่นๆ เป็ น
แรงหนุนสาคัญก็ตามแต่สิ่งสาคัญอันดับแรกคือตัวสินค้ าต้ องเป็ น “ของดี” เสียก่อน การศึกษา
ตัวสื่อการ์ ตนู ในเชิงวิชาการอย่างจริงจังจึงเป็ นการเริ่มต้ นพัฒนาที่ “ต้ นน ้า” ของอุตสาหกรรมชนิดนี ้
ยิ่งไปกว่านันนี
้ ่ยงั เป็ นงานวิจยั ที่เชื ้อเชิญให้ วงวิชาการนิเทศศาสตร์ หนั กลับมาให้
ความสาคัญในการศึกษา “ตัวสื่อที่ตวั สื่อ” ไม่ใช่ศกึ ษาสิ่งที่สื่อได้ สง่ ผ่าน หรื อส่องสะท้ อนสังคม
วัฒนธรรมภายนอก นัน่ เพราะตัวสื่อทุกชนิด ไม่เพียงเฉพาะการ์ ตนู แต่หมายรวมถึงวิทยุ โทรทัศน์
นิตยสาร หรื อแม้ แต่เพลงนอกกระแส ฯลฯ ต่างก็มีคณ ุ ค่าของตัวมันเองที่รอคอยให้ นกั วิจยั และ
วงวิชาการเข้ ามาส่องสารวจเพื่อร่วมกันพัฒนาตัวสื่อในแง่มมุ ที่หลากหลายมากขึ ้น

วัตถุประสงค กำรวิจัย
1. เพื่อศึกษากลวิธีการเล่าเรื่ องซึง่ หมายรวมถึงการออกแบบเนื ้อหา และลายเส้ น
ของการ์ ตนู ญี่ปนุ่
2. เพื่อศึกษาการสร้ างบุคลิกลักษณะ (character) ของตัวละครในหนังสือการ์ ตนู
ญี่ปนุ่
6

คำถำมกำรวิจัย
1. กลวิธีการเล่าเรื่ องซึง่ หมายรวมถึงการออกแบบเนื ้อหา และลายเส้ นของการ์ ตนู
ญี่ปนเป็ ุ่ นอย่างไร
2. การสร้ างบุคลิกลักษณะ (character) ของตัวละครในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนเป็ ุ่ น
อย่างไร

สมมติฐำนกำรวิจัย
-

ขอบเขตกำรวิจัย
1. หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ใช้ ในการวิจยั ครัง้ นี ้เป็ นหนังสือการ์ ตนู จากประเทศญี่ปนุ่
ที่ได้ รับการแปล และตีพิมพ์เป็ นภาษาไทยอย่างถูกลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
2. ผู้วิจยั มุง่ ศึกษาเฉพาะหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่แปลเป็ นภาษาไทยประเภทเรื่ อง
ยาว (Comic Book) หรื อที่ชาวญี่ปนุ่ และนักอ่านการ์ ตนู ส่วนใหญ่เรี ยกว่า “มังงะ” (Manga) ที่
ได้ รับการรวมเล่มแล้ ว (ไม่ได้ หมายรวมถึงหนังสือการ์ ตนู รายสัปดาห์ รายปั กษ์ รายเดือน หรื อ
นิตยสารการ์ ตนู )
3. ผู้วิจยั มุง่ ศึกษาเฉพาะหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่แปลเป็ นภาษาไทยจานวน 6 เรื่ อง
คือ ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (Detective Conan) วันพีซ (One piece) ดราก้ อนบอล (Dragon Ball)
เดธโน้ ต (Death Note) นารูโตะ นินจาคาถา โอ้ โฮเฮะ (Naruto) และ ทเวนตี ้เซนจูรี่บอยส์ (20th
Century Boys) ซึง่ ตีพิมพ์ตงแต่ ั ้ เล่มที่ 1 ไปจนถึงเล่มสุดท้ าย (สาหรับเรื่ องที่ตีพิมพ์จนจบแล้ ว)
และตังแต่ ้ เล่มที่ 1 ไปจนถึงจบตอนหรื อจบภาค ภายในเดือนตุลาคม 2554 (สาหรับเรื่ องที่ยงั
ตีพิมพ์ไม่จบ)

นิยำมศัพท์
กำร์ ตูนญี่ปุ่น ในที่นี ้หมายถึง หนังสือการ์ ตนู ที่มีลกั ษณะเป็ นรูปเล่มตีพิมพ์เป็ น
การ์ ตนู เรื่ องยาว โดยหลังจากตีพิมพ์เป็ นตอนๆ ในนิตยสารการ์ ตนู รายสัปดาห์ แล้ วก็นามารวม
เล่มวางขายอีกครัง้ มีผ้ วู าดรูปและผู้เขียนเรื่ องเป็ นชาวญี่ปนุ่ และสานักพิมพ์ในประเทศไทยได้
นามาแปลเป็ นภาษาไทย มีการนาเสนอภาพวาดในเชิงการ์ ตนู ที่ไม่เน้ นความจริ งของกายวิภาค มี
ความต่อเนื่องเป็ นเรื่ องราว มีคาบรรยาย บทสนทนา และนาเสนอผ่านช่อง จนเกือบมองเห็นเป็ น
ภาพเคลื่อนไหวได้ โดยนาเสนอเรื่ องราวในแต่ละช่องให้ มีความต่อเนื่องกัน
7

มังงะ (Manga) หมายถึง คาที่ใช้ เรี ยกหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ เป็ นคาศัพท์ที่คน
ญี่ปนใช้ ุ่ เรี ยกหนังสือการ์ ตนู ของตัวเองจนแวดวงนักเขียนและนักอ่านการ์ ตนู ญี่ปนทั ุ่ ว่ โลกรู้จกั กันดี
กำรสร้ ำงคำแร็คเตอร์ หมายถึง การสร้ างบุคลิกลักษะของตัวการ์ ตนู ซึง่
ผู้เขียนการ์ ตนู สามารถนาเสนอผ่านการออกแบบลายเส้ นหน้ าตา รูปร่าง การแต่งกายของตัว
การ์ ตนู รวมทังยั ้ งหมายถึงการสร้ างนิสยั ใจคอของตัวการ์ ตนู ซึง่ แสดงออกผ่านการกระทาของตัว
การ์ ตนู บทสนทนา ไปจนถึงการสร้ างฉากแวดล้ อมของเรื่ อง
กำรเล่ ำเรื่อง หมายถึง การที่ผ้ เู ล่าเรื่ องนาข้ อมูล ข่าวสาร ที่อาจเป็ นทังเรื ้ ่ อง
จริงหรื อเรื่ องแต่งมานาเสนอในรูปของชุดเหตุการณ์ ที่มีการลาดับเหตุการณ์ นัน่ คือมีจดุ เริ่มต้ น
กลางเรื่ อง จบเรื่ อง มีตวั ละคร สถานที่ และเวลา โดยผู้เล่ามีวตั ถุประสงค์เพื่อสื่อสารความคิด
หรื ออารมณ์ไปสูผ่ ้ รู ับสาร ผ่านการนาเสนอในรูปของสื่อต่างๆ ทังเรื ้ ่ องแต่ง (fiction) เช่น นิยาย เรื่ อง
สัน้ นิทาน ภาพยนตร์ การ์ ตนู และเรื่ องจริง (non-fiction) เช่น รายการข่าว สารคดี เป็ นต้ น
แนวเรื่อง หมายถึงประเภท รูปแบบของการ์ ตนู (genre) ที่มีการแบ่ง
ออกเป็ นกลุม่ เนื ้อหาที่มีจดุ ร่วมในแนวทางของตัวเองอย่างชัดเจน เช่น แนวการต่อสู้ ผจญภัย รัก
โรแมนติก สืบสวนสอบสวน แฟนตาซี เป็ นต้ น

ประโยชน ที่คำดว ำจะได รับ


1. ได้ ทราบถึงกลวิธีการดาเนินเรื่ อง การพัฒนาเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนุ่
2. ได้ ทราบแนวทางการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครการ์ ตนู ญี่ปนุ่
3. กลุม่ ผู้ผลิต และนักเขียนการ์ ตนู ไทย ได้ เห็นตัวอย่างในการเล่าเรื่ องและการ
สร้ างบุคลิกลักษณะตัวการ์ ตนู ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ในการพัฒนาตัวสื่อการ์ ตนู ไทย
4. นักเขียนเรื่ อง หรื อนักสร้ างสรรค์บทของสื่อชนิดอื่น เช่น นักเขียนบทวิทยุ
โทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ไทย ได้ เห็นแนวทางในการสร้ างตัวละคร และกลวิธีเล่าเรื่ องที่สามารถ
นาไปปรับใช้ ในการสร้ างสรรค์ผลงาน
5. เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ในการเรี ยนการสอนนิเทศศาสตร์ ด้ านการเขียนบท
การสร้ างสรรค์เรื่ องเล่า และการวิเคราะห์วิจารณ์สื่อ
6. เกิดองค์ความรู้ในด้ านการสร้ างสรรค์ อันจะเป็ นประโยชน์ในการประยุกต์
เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Creative Economy) ของไทยต่อไป
บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง

เนื่องจากสื่อการ์ ตนู มีลกั ษณะเฉพาะตัวที่ไม่อาจนาแนวคิดนิเทศศาสตร์ เพียงด้ าน


เดียวมาใช้ ในการวิเคราะห์ แต่จาเป็ นต้ องนาศาสตร์ อื่นๆ โดยเฉพาะสุนทรี ยศาสตร์ และรูปแบบ
การนาเสนอเฉพาะของสื่อการ์ ตนู มาร่วมเป็ นกรอบเพื่อตอบคาถามการวิจยั ชิน้ นี ้ให้ ละเอียด ลึกซึ ้ง
มากขึ ้น ผู้วิจยั จึงมีแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องในงานวิจยั “กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ าง
บุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ ดังนี ้

1. แนวคิดเกี่ยวกับการ์ ตูน

1.1 ความหมายและประเภทของการ์ ตนู


พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ ความหมายของ “การ์ ตูน” ซึง่ มาจาก
ศัพท์ภาษาอังกฤษ “Cartoon” ว่าคือ ภาพล้ อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็ นภาพบุคคล บางทีเขียน
เป็ นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผ้ เู ขียนตังใจล้
้ อเลียนจะให้ ดรู ้ ูสึกขบขัน , หนังสือเล่าเรื่ องด้ วยภาพเขียน
ซึง่ แบ่งหน้ ากระดาษเป็ นช่อง ๆ มีคาบรรยายสัน้ ๆ อ่านง่าย เนื ้อเรื่ องมักเป็ นนิทานหรื อนวนิยาย
ส่วน Encyclopedia Americana ก็ได้ ให้ คาจากัดความของการ์ ตูน (Cartoon) ไว้ วา่
ภาพเขียน (Drawing) ภาพตัวแทน (Representational) หรื อ ภาพสัญลักษณ์ (Symbolic) ซึง่ ทา
ให้ เกิดการล้ อเลียนเสียดสี (Satire) แสดงปฏิภาณ (Wit) หรื อสร้ างความขบขัน (Humor) ทังนี ้ ้จะมี
หรื อไม่มีคาบรรยาย (Caption) ก็ได้ และอาจมีมากกว่าหนึง่ ภาพหรื อช่องก็ได้
นอกจาก Cartoon ที่คนไทยเรี ยกทับศัพท์วา่ การ์ ตนู แล้ ว ยังมีคาภาษาอังกฤษที่มี
ความหมายใกล้ เคียงกันอีกคือ
Comic หมายถึง ลักษณะการ์ ตนู ที่มีความต่อเนื่องเป็ นเรื่ องราว มีคาบรรยาย บทสนทนา
ในแต่ละภาพ ลักษณะของภาพจะออกมาในเชิงภาพยนตร์ การ์ ตนู
Caricature หมายถึงภาพล้ อเลียนบุคคล พฤติกรรม หรื อวัตถุ โดยเปลี่ยนแปลงลักษณะ
บางอย่างให้ เกินความจริงเพื่อให้ เกิดความขาขัน พบมากในหนังสือพิมพ์ และมักใช้ วาดประชด
ประชันสังคม โดยเฉพาะด้ านการเมือง
9

ในปั จจุบนั การ์ ตนู ไม่ใช่แค่เพียง “ภาพร่าง” บนกระดาษที่ใช้ ถ่ายทอดเป็ นชิ ้นงานจริ งใน
งานจิตรกรรม ภาพฝาผนัง หรื อภาพลายกระเบื ้องโมเสกตามความหมายในแต่ดงเดิ ั ้ มเท่านัน้ แต่
“การ์ ตนู ” กินความหมายที่กว้ างมากขึ ้น จนมีการจัดประเภทการ์ ตนู ตามเอาไว้ ดงั นี ้ (Randall P.
Harrison, 1981; ศักดา วิมลจันทร์ , 2548: 64-65)
1.1.1 การ์ ตนู ภาพประกอบ (Illustration)
คือการนาการ์ ตนู มาใช้ เพื่อประกอบเรื่ องราว มีหน้ าที่ในการช่วยขยายความเรื่ องเล่า เช่น
ภาพประกอบการสอน หรื อภาพประกอบบทความ การ์ ตนู ลักษณะนี ้อาจมีคาบรรยายใต้ ภาพ
หรื อไม่ก็ได้
1.1.2 การ์ ตนู ช่องเดียวจบ หรื อ การ์ ตนู แก๊ ก (Gag Panel)
มักเป็ นการ์ ตนู ขาขัน หรื อการ์ ตนู การเมือง ซึง่ อาจนาเสนอเป็ นลักษณะการ์ ตนู ใบ้ คือไม่มี
ถ้ อยคา หรื อมีถ้อยคาก็ได้ แต่ลกั ษณะเด่นคือเป็ นการถ่ายทอดเรื่ องราวออกมาภายในกรอบเดียว
1.1.3 การ์ ตนู ศิลปะการเล่าเรื่ อง (Narrative Art Cartoon)
หมายถึงการ์ ตนู ที่มงุ่ เน้ นการใช้ ภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่ องราว ภาพจึงมีความสาคัญเทียบเท่า
เนื ้อหา ไม่ใช่ภาพเป็ นเพียงส่วนประกอบของเรื่ องเท่านัน้ อาจแยกย่อยออกเป็ น
- การ์ ตนู ช่อง (Comic Strip) มักมีจานวนช่องขนาดเท่าๆ กัน 3-4 ช่อง และส่วน
ใหญ่มีถ้อยคาอยูใ่ นบอลลูน ในระยะแรกนิยมใช้ เรี ยกการ์ ตนู ขาขันที่จบในตอน แต่ตอ่ มาใช้ เรี ยก
การ์ ตนู ที่ไม่จบในตอนด้ วย
- หนังสือการ์ ตนู (Comic Book หรื อ Comics) มีลกั ษณะเป็ นรูปเล่ม พัฒนามา
จากการ์ ตนู ช่อง (strip) มีรูปแบบการนาเสนอเป็ นลักษณะเฉพาะที่ทาให้ ผ้ อู ่านมองเห็นภาพนิ่งที่มี
ความต่อเนื่องกันจนเกือบเหมือนภาพเคลื่อนไหว และลักษณะช่องมักมีขนาดไม่เท่ากัน มีเนื ้อหา
หลากหลายและมีความยาวไม่จากัด ทังเรื ้ ่ องขาขัน ผจญภัย อาชญากรรม วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ซึง่
ลักษณะของหนังสือการ์ ตนู ญี่ ปนุ่ หรื อที่เรี ยกกันว่า “มังงะ” (Manga) ในงานวิจยั ชิ ้นนี ้ก็จดั อยูใ่ น
การ์ ตนู ประเภท Comic Book ด้ วยเช่นกัน
- นิยายภาพ (Graphic Novel) ในขณะที่หนังสือการ์ ตนู หรื อ Comic Book มัก
ใช้ เรี ยกหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนเป็ ุ่ นหลัก แต่การ์ ตนู ที่มีลกั ษณะเป็ นรูปเล่มในรูปแบบอื่นๆ เช่นการ์ ตนู
เล่มละบาทของไทย (ที่ปัจจุบนั ราคา 5 บาท) หรื อการ์ ตนู ที่มงุ่ เน้ นความเป็ นศิลปะในการนาเสนอ
ภาพ (ซึง่ อาจเป็ นภาพขาวดาหรื อภาพสีก็ได้ ) เหมือนเช่นการ์ ตนู ส่วนใหญ่จากยุโรป สหรัฐอเมริกา
เช่นเรื่ อง Watch men Bat Man มักเรี ยกกันว่านิยายภาพ หรื อ Graphic Novel
10

- การ์ ตนู การเมือง (Political Cartoon) มักมีลกั ษณะเป็ นภาพล้ อบุคคล และมี
เนื ้อหาเชิงเสียดสีเหตุการณ์บ้านเมือง โดยนาเสนอผ่านสื่อหนังสือพิมพ์ อาจมีชอ่ งเดียวจบ หรื อ
หลายช่องจบก็ได้ เช่น การ์ ตนู “ผู้ใหญ่มากับทุง่ หมาเมิน”
- การ์ ตนู ภาพเคลื่อนไหว (Animation) คาว่า Animation มาจากรากศัพท์ละติน
“animare” ซึง่ มีความหมายว่า ทาให้ มีชีวิต การ์ ตนู ภาพเคลื่อนไหว หรื อแอนิเมชัน่ จึงหมายถึง
การสร้ างสรรค์ภาพลายเส้ น และรูปทรงที่เป็ นภาพนิ่งให้ เกิดภาพเคลื่อนไหว ซึง่ เกิดจากการฉาย
ภาพนิ่งหลายๆ ภาพต่อเนื่องกันด้ วยความเร็วสูง
- การ์ ตนู สัญลักษณ์ หรื อ โลโก้ (Symbol, Logo) มักมีรูปทรง และรายละเอียด
เรี ยบง่ายเพื่อให้ เกิดการจดจา และอาจมีภาษาถ้ อยคาร่วมด้ วย เพื่อใช้ เป็ นสัญลักษณ์ของงาน
สินค้ า หรื อกิจกรรมต่างๆ
- สินค้ าการ์ ตนู (Cartoon Product) เกิดจากการสร้ างตัว (คาแร็ คเตอร์ ) การ์ ตนู ที่
แข็งแรง ทาให้ เกิดการผลิตเป็ นสินค้ ารูปแบบอื่นตามมา เช่น เสื ้อผ้ า กระเป๋ า หมวก ฯลฯ

1.2 ประวัติการ์ ตนู ญี่ปนุ่ (Manga)


การ์ ตนู ญี่ ปนุ่ หรื อ มังงะ (Manga) มีจดุ เริ่ มต้ นราวคริ สต์ศตวรษที่ 6 และ 7 โดยการ์ ตนู
ญี่ ปนในยุ
ุ่ คแรกได้ รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธในประเทศจีน มีการพบภาพล้ อรู ปคนและสัตว์บน
เพดานวัดโฮเรี ยวจิ (Horyuji) ที่เมืองนารา (Nara) ปี ค.ศ. 1935 มีการค้ นพบผลงานการ์ ตนู ชิ ้น
แรกที่วาดโดยพระ สร้ างขึ ้นในศตวรรษที่ 12 เรี ยกว่า “โชจุกิกะ (Chojugiga)” หรื อ ม้ วนกระดาษ
ภาพสัตว์ มีเนือ้ หาเกี่ ยวกับศาสนา และมี ลักษณะเป็ นศิลปะแบบจีนที่ แทรกอารมณ์ ขันของ
ญี่ ปุ่ นเข้ าไป ส่วนรู ป แบบก็ ยังไม่ มี ช่อ งกรอบภาพเหมื อ นการ์ ตูน ญี่ ปุ่ นในปั จ จุบัน แต่จ ะเขี ย น
ต่อเนื่องกันไป
ยุคต่อมาการเขียนภาพการ์ ตนู ได้ แพร่หลายมากขึ ้น จนกลางศตวรรษที่ 17 รูปแบบของ
การ์ ตนู ก็ได้ มีการเปลี่ยนรูปโฉมไป โดยเริ่มมีการทาภาพพิมพ์ขาว-ดา โดยใช้ แม่พิมพ์จากไม้ และ
ได้ รับความนิยมอย่างมากในยุคนัน้ เช่นการ์ ตนู เรื่ อง เซ็น (Zen)” ที่มีลกั ษณะเป็ นภาพเขียนแบบ
ญี่ปนุ่ ซึง่ จะเน้ นความคิดและอารมณ์ในเชิงปรัชญา ในขณะที่ลายเส้ นและรูปร่างมีลกั ษณะเรี ยบ
ง่าย (Schodt, 1989)
ปี ค.ศ. 1853 ช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ญี่ปนจ ุ่ าต้ องเปิ ดประเทศรับอารยธรรม
ตะวันตกมากขึ ้น ชาวต่างชาติเริ่มเข้ ามาทากิจการหนังสือพิมพ์ในญี่ปนุ่ จึงมีการนาการ์ ตนู เข้ ามา
รวมทังมี ้ การสอนศิลปะแบบตะวันตกในโรงเรี ยน และผู้ที่นาแนวทางการเขียนการ์ ตนู แบบ
11

ตะวันตกเข้ ามายังญี่ปนุ่ ก็คือชาร์ ลส์ วิกแมน (Charles Wirgman) และจอร์ จ บิโกท์ (George
Bigot) จากนันปี ้ ค.ศ. 1922 ก็ได้ มีนกั เขียนการ์ ตนู หลายคนเริ่มเดินทางไปศึกษาวิธีการเขียน
การ์ ตนู ยังต่างประเทศโดยเฉพาะที่สหรัฐอเมริกา และหนึง่ ในคนกลุม่ นี ้ก็คือ อิปเปอิ โอกาโมโต้
(Ippei Okamoto) ซึง่ ได้ นาเอาการ์ ตนู อเมริ กนั เข้ ามาเผยแพร่ในญี่ปนจนได้ ุ่ รับความนิยมอย่าง
มาก เช่นเรื่ อง Bringing up Father และ Mutt and Jeff ความชื่นชอบในการ์ ตนู อเมริกนั เรื่ อง
Bringing up Father ซึง่ ได้ รับการตีพิมพ์เป็ นตอนๆ ในหนังสือการ์ ตนู รายสัปดาห์ ทาให้ ในปี ค.ศ.
1924 ได้ เกิดการ์ ตนู ช่องสาหรับเด็กลงในหนังสือพิมพ์เป็ นครัง้ แรก คือเรื่ อง “โซซัง โนะ โบดัง” (การ
ผจญภัยของโซน้ อย
จะเห็นได้ วา่ จากที่มาของการเขียนภาพแบบญี่ปนในอดี ุ่ ตที่เน้ นลายเส้ นเรี ยบง่าย แต่แฝง
ด้ วยความคิด ผสมผสานเข้ ากับลายเส้ นแบบตะวันตกในยุคหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ได้ กลาย
มาเป็ นจุดเริ่มต้ นของลักษณะการ์ ตนู ญี่ปนุ่ หรื อมังงะในปั จจุบนั
จากนัน้ ความนิยมของการ์ ตูนในญี่ ปนมี ุ่ มากขึ ้นเรื่ อยๆ จนปี ค.ศ. 1930 หนังสือการ์ ตูน
โชเนน คลับ (Shonen Club) ของบริ ษั ท โคดัน ฉะ (Kodancha) ก็ ไ ด้ เริ่ ม พิ ม พ์ ก าร์ ตูน ออกเป็ น
รูปเล่มมีลกั ษณะเป็ นตอนๆ ตอนละประมาณ 20 หน้ า มีหลายเรื่ องในเล่มเดียว และเมื่อเรื่ องใด
จบก็จะจัดพิมพ์เป็ นการ์ ตนู รวมเล่มออกจาหน่าย แต่ภาพและเนื ้อหาของการ์ ตนู ส่วนใหญ่ยงั ไม่มี
จินตนาการมากนัก มักเป็ นเรื่ องศีลธรรม ความซื่อสัตย์ ความกล้ าหาญ และความเข้ มแข็งของ
เด็กผู้ชาย
ผู้พลิกโฉมการ์ ตนู ญี่ ปนที ุ่ ่ไร้ ชีวิตชีวาในยุคแรกให้ มีเสน่ห์เฉพาะตัวเหมือนในปั จจุบนั ก็คือ
“เท็ตสึกะ โอซามุ (Tezuka Osamu)” โดยในปี ค.ศ. 1947 เขาได้ สร้ างผลงานเรื่ อง ชินทาคารา
จิ ม่ า (Shin takarajima) หรื อ เกาะมหาสมบั ติ ใ หม่ มี ค วามยาว 200 หน้ า ซึ่ ง นั บ เป็ นการ
สร้ างสรรค์การ์ ตนู ญี่ ปนรู ุ่ ปแบบใหม่ จากเดิมที่มีลกั ษณะเหมือนนิยายภาพ ใช้ คาบรรยายใต้ รูป
เปลี่ ยนมาเป็ นการใช้ ช่องค าพูด และมี การใช้ เสี ยงประกอบภาพ (sound effect) ผ่านตัวอักษร
ทาให้ การอ่านการ์ ตนู ให้ อรรถรสเหมือนกับ การชมภาพยนตร์ ซึ่งรูปแบบการ์ ตนู ของโอซามุที่
เล่าเรื่ อง และเนื ้อหาเปี่ ยมด้ วยความคิดสร้ างสรรค์นี่เองก็ได้ กลายเป็ นต้ นแบบของการ์ ตนู ญี่ปนเรื ุ่ ่ อง
ต่อๆ มา จนเพาะสร้ างเป็ นเอกลักษณ์ ที่ทาให้ การ์ ตูน ญี่ ปุ่น ซึ่งถูกเรี ยกขานว่ามังงะ (Manga)
ได้ รับการยอมรับไปทั่วโลกในปั จจุบนั โดยเท็ตสึกะ โอซามุก็ยงั ได้ รับการขนานนามว่าเป็ น
“ปรมาจารย์แห่งการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ อีกด้ วย (ธรรมจักร อยูโ่ พธิ์, 2538: 102-103)
12

ภาพประกอบ 1 การ์ ตูนที่ให้ อรรถรสเหมือนภาพยนตร์ เรื่ อง Shin Takarajima


ที่มา: http://2chan.us/wordpress/category/movies/

1.3 การ์ ตนู ญี่ปนในประเทศไทย


ุ่
การมาถึงของการ์ ตูนญี ่ปนุ่
ยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชดั ว่าการ์ ตนู ญี่ปนเข้ ุ่ ามาในเมืองไทยช่วงใด แต่อาจกล่าว
ได้ วา่ การ์ ตนู ญี่ปนได้ ุ่ ถกู นามาแปลและตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวันของไทยเป็ นครัง้ แรกเมื่อปี
พ.ศ. 2463 กับเรื่ อง “โชจังกับกระรอก” (พรพนิต พ่วงภิญโญ, 2531: 55) ส่วนการ์ ตนู ญี่ปนทาง ุ่
โทรทัศน์ที่คนไทยได้ สมั ผัสเป็ นครัง้ แรกเกิดขึ ้นราวปี พ.ศ. 2504-2505 จากเรื่ อง เจ้ าหนูลมกรด
และเจ้ าหนูปรมาณู ซึง่ ออกอากาศทางช่อง 4 บางขุนพรหม (“การ์ ตนู ญี่ปนในเมื
ุ่ องไทย”,
มกราคม 2553)
ปี พ.ศ. 2520-2530 ถือว่าเป็ นยุคทองของนักอ่านการ์ ตนู ญี่ปนในบ้ ุ่ านเรา เพราะ
มีการตีพิมพ์ออกมาเป็ นจานวนมาก ซึง่ เรื่ องที่ได้ รับความนิยมนามาแปลนันส่ ้ วนใหญ่มาจาก
สานักพิมพ์ “โชเนน จัมพ์” แต่การ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่วางขายในสมัยนันล้ ้ วนเป็ นการ์ ตนู ที่ “ไร้ ลิขสิทธิ์” คือ
สานักพิมพ์ในประเทศไทยไม่ได้ ตดิ ต่อเจรจาจ่ายค่าลิขสิทธิ์โดยตรงจากทางญี่ปนุ่ เนื่องจากในช่วง
้ งไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ออกมาบังคับ
นันยั ทาให้ คา่ ยใหญ่ๆ แข่งขันกันตีพิมพ์ออกมา
ซ ้าซ้ อนกันเป็ นจานวนมาก เช่น สานักพิมพ์วิบลู ย์กิจ สยามสปอร์ ตพับลิชชิ่ง มิตรไมตรี ยอด
ธิดา หมึกจีน อนิเมท ฯลฯ ซึง่ ตีพิมพ์ทงหนั
ั ้ งสือการ์ ตนู รวมเล่ม และนิตยสารรวมการ์ ตนู ราย
สัปดาห์ เช่น The Talent ของมิตรไมตรี ที่แข่งขันกับ The Zero ของวิบลู ย์กิจ หรื อ เลม่อน ของ
13

สยามสปอร์ ตพับลิชชิ่ง และการ์ ตนู ที่ถือว่าแต่ละค่ายแย่งกันพิมพ์ออกมามากที่สดุ ก็คือ “โดรา


เอมอน” ซึง่ มีการตังชื ้ ่อเรื่ องที่แตกต่างกันออกไป ทังโดราเอม่
้ อน โดเรม่อน โดราม่อน เจ้ าแมว
จอมยุง่ ฯลฯ ส่วนการ์ ตนู ที่เจาะกลุม่ ผู้อา่ นเป็ นผู้ชาย และได้ รับความนิยมไม่แพ้ โดราเอมอนก็คือ
“ดราก้ อนบอล” ที่แทบทุกค่ายตีพิมพ์แข่งขันกันอย่างดุเดือด และเรี ยกชื่อตัวละครไม่เหมือนกัน (ทัง้
หงอคง โกคู หงอฮัง โกฮัง เป็ นต้ น) โดยวิธีการหลีกเลี่ยงค่าลิขสิทธิ์ก็คือการการจัดหน้ าและวาง
ภาพการ์ ตนู ให้ ตา่ งจากต้ นฉบับเดิม ซึง่ ใช้ วิธีการกลับฟิ ล์มทาให้ ภาพกลับจากซ้ ายเป็ นขวา ขวา
เป็ นซ้ าย ซึง่ วิธีนี ้เป็ นการทาต้ นฉบับให้ เหมาะกับวิธีการอ่านของคนไทย ซึง่ อ่านจากซ้ ายมาขวา
ต่างจากคนญี่ปนที ุ่ ่อ่านจากขวามาซ้ าย (ธรรมจักร อยู่โพธิ์, 2538: 102-103 ; “เปิ ดกรุ...ความ
เป็ นมาของการ์ ตนู ลิขสิทธิ์ในประเทศไทย”, มิถนุ ายน 2550)
ยุคการ์ ตูนลิ ขสิ ทธิ์ ในประเทศไทย
หลังจากการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ยุคไร้ ลิขสิทธิ์ก็ได้ สิ ้นสุดลงหลังจาก
สานักพิมพ์ แอดวานซ์ คอมมูนิเคชัน่ (ที่ถือลิขสิทธิ์การ์ ตนู อเมริ กนั ของมาร์ เวล-Marvel ปั จจุบนั ปิ ด
ตัวไปแล้ ว) ได้ อ้างว่าเป็ นสานักพิมพ์การ์ ตนู ลิขสิทธิ์ที่ถกู ต้ องแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย ส่ง
จดหมายเตือนไปยังสานักพิมพ์ที่จาหน่ายการ์ ตนู ญี่ปนไร้ ุ่ ลิขสิทธิ์ให้ หยุดการพิมพ์ ส่งผลให้
สานักพิมพ์รายย่อยหลายแห่งต้ องปิ ดตัวลง คงเหลือแต่สานักพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ได้ ไปเจรจากับ
เจ้ าของลิขสิทธิ์โดยตรง (“เปิ ดกรุ ...ความเป็ นมาของการ์ ตนู ลิขสิทธิ์ในประเทศไทย”, มิถนุ ายน
2550)
แต่ภทั รหทัย มังคะดานะรา (2541: 13-15) ซึง่ ได้ รวบรวมข้ อมูลจากหน้ า
หนังสือพิมพ์ในช่วงปี 2537-2539 พบว่าสิ่งที่ผลักดันให้ เกิดยุค “การ์ ตนู ลิขสิทธิ์” ขึ ้นในเมืองไทย
ขึ ้นอย่างจริ งจังมาจาก พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ที่มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ วนั ที่ 21 มีนาคม 2538
ทาให้ สานักพิมพ์หลายแห่ง เช่น สยามอินเตอร์ คอมิคส์ วิบลู ย์กิจ นิวเจนเนเรชัน่ พับลิชชิ่ง ฯลฯ
ต่างออกมาประกาศว่าสานักพิมพ์ของตนได้ รับลิขสิทธิ์จากสานักพิมพ์ใดบ้ างจากญี่ ปนุ่ เพื่อ
ป้องกันสานักพิมพ์ที่ทาการละเมิดลิขสิทธิ์ให้ หยุดพิมพ์
หจก. วิบลู ย์กิจ พับลิชชิ่ง กรุ๊ ป เป็ นสานักพิมพ์แรกของไทยที่ได้ ลิขสิทธิ์การ์ ตนู
ญี่ปนุ่ จากหลายบริ ษัท เช่น โคดันฉะ (Kodansha) ชูเอฉะ (Shoeisha) เป็ นต้ น ซึง่ ก็ได้ ตีพิมพ์ทงั ้
การ์ ตนู สาหรับเด็กและการ์ ตนู สาหรับผู้ใหญ่ เช่น ฤทธิ์หมัดดาวเหนือ ไยบะ แคนดี ้ ข้ าชื่อโคทาโร่
ฯลฯ นอกจากนี ้วิบลู ย์กิจยังได้ สนับสนุนนักเขียนการ์ ตนู ไทย โดยจัดพิมพ์หนังสื อการ์ ตนู ไทยชื่อ
“ไทยคอมิกส์” ซึง่ ยังคงตีพิมพ์มาจนถึงปั จจุบนั อีกด้ วย
ปั จจุบนั สานักพิมพ์ที่ได้ รับลิขสิทธิ์หนังสือการ์ ตนู ญี่ ปนแบบเต็ุ่ มตัวของบ้ านเราก็มี
14

ค่ายยักษ์ใหญ่อย่าง วิบลู ย์กิจ สยามอินเตอร์ คอมิคส์ และเนชัน่ เอ็ดดูเทนเมนท์ (NED) ซึง่ เน้ น
ตลาดการ์ ตนู ผู้ชาย ส่วนบงกช พับลิชชิ่งก็เน้ นตลาดการ์ ตนู ผู้หญิง ขณะที่บรุ พัฒน์ คอมมิกส์
เน้ นตลาดการ์ ตนู จีน-ฮ่องกง
รู ปแบบการ์ ตูนญี ่ปนุ่ ในปั จจุบนั
หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่พบมากในปั จจุบนั มีลกั ษณะตีพิมพ์เป็ นการ์ ตนู เรื่ องยาว
(Story Comic) แต่ตีพิมพ์เป็ นตอนๆ ในนิตยสารการ์ ตนู รายสัปดาห์ แล้ วนามารวมเป็ นหนังสือ
การ์ ตนู เฉพาะเรื่ องนันๆ ้ อีกครัง้ ซึง่ หนังสือการ์ ตนู รวมเล่มนี ้ส่วนใหญ่มีความยาวประมาณ 12-25
เล่มจบ แต่บางเรื่ องก็ยาวนานมากกว่า 40 เล่มจบก็มี ส่วนอีกรูปแบบหนึง่ ก็คือ หนังสือการ์ ตนู
เรื่ องสัน้ มีความยาวเล่มเดียวจบ
นิตยสารการ์ ตนู แปลที่ออกเป็ นรายสัปดาห์ นอกจากมีการ์ ตนู เรื่ องยาวลงพิมพ์
เป็ นตอนๆ มีทงหมด ั้ 4-5 เรื่ องแล้ ว มักมีพื ้นที่เปิ ดให้ ผ้ อู า่ นเขียนจดหมายพูดคุยกับกอง
บรรณาธิการ ส่วนหน้ าโฆษณามีประมาณ 1-2 หน้ า โดยเป็ นการโฆษณาหนังสือในเครื อเป็ น
หลัก ส่วนนิตยสารการ์ ตนู รายเดือนมักมีความหนากว่า 200 หน้ า และมีคอลัมน์ตา่ งๆ เพิ่มขึ ้น
ส่วนขนาดรูปเล่มของหนังสือ และนิตยสารการ์ ตนู แปลจากภาษาญี่ปนุ่ มีขนาดเท่ากัน และเล็ก
กว่าต้ นฉบับภาษาญี่ปนมาก ุ่ คือประมาณ 5” x 6” และมีราคาประมาณ 45 บาท (พรวลัย เบญจ
รัตนสิริโชติ, 2549: 28)

1.4 แนวเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนุ่ (Genre)


“อาการติ ดมังงะพบได้ตงั้ แต่วยั เด็กไปจนถึงผูใ้ หญ่วยั เลยเกษี ยณ หนึ่งในสาเหตุ
ที ท่ าให้มงั งะเป็ นที น่ ิ ยมของคนแทบจะทัว่ โลกก็เพราะมังงะมี อยู่ถึง 281 ประเภท สามารถ
ตอบสนองผู้อ่านได้ทกุ กลุ่ม”
คากล่าวของอากิโกะ ฮาชิโมโต จากบทความเรื่ อง Japan’s Comic Book Graze
(อ้ างถึงในถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และพิรุณ อนวัชศิริวงศ์, 2552: 242) ข้ างต้ น ทาให้ การจัดประเภท
หรื อแนวเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนนั ุ่ นท
้ าได้ ยากยิ่ง โดยเฉพาะในปั จจุบนั ซึง่ การ์ ตนู เป็ นวัฒนธรรมของ
คนญี่ปนจนมี
ุ่ หนังสือการ์ ตนู ออกมาตอบสนองชาวญี่ปนทุ ุ่ กกลุม่ ชน
แต่ทงนี ั ้ ้ผู้วิจยั ได้ ยกแนวคิดเกี่ยวกับแนวเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่พบมากในบ้ านเรา
มาเป็ นกรอบ ซึง่ อาจแบ่งแนวเรื่ องออกเป็ น 2 กลุม่ กว้ างๆ หากพิจารณาจากกลุม่ ผู้อา่ นเป็ นหลัก
ดังนี ้ (Schodt, 1984: 68-105 อ้ างถึงในสุวรรณา สันคติประภา, 2532: 57-65)
15

1. การ์ ตนู สาหรับผู้ชาย


ช่วงก่อนสงครามและระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ 2 รัฐบาลญี่ปนได้ ุ่ ฟืน้ ฟูลทั ธิบชู ิโด
เพื่อให้ ประชาชนเชื่อฟั งรัฐบาล การ์ ตนู ในยุคนี ้จึงมีแต่เรื่ องซามูไรเพื่อให้ สอดคล้ องกับนโยบายรัฐ
เนื ้อเรื่ องจะซับซ้ อน เน้ นความกล้ าหาญและเสียสละ โดยดัดแปลงเนื ้อเรื่ องจากวรรณคดีในยุคศักดิ
นา ที่พบได้ ในโรงละครคาบูกิ (Kabuki Theatre) จนกลายเป็ นแบบแผนของการ์ ตนู ผู้ชายใน
ปั จจุบนั แต่ภายหลังจากญี่ปนแพ้ ุ่ สงคราม เนื ้อหาการ์ ตนู ก็เปลี่ยนไปเน้ นเรื่ องจริยธรรม ความดี
ชนะความชัว่ ไม่มีเนื ้อหาของสงครามและทหาร แต่เป็ นเรื่ องของ “กีฬา” เช่นเรื่ องเกี่ยวกับยูโด เคน
โด้ เบสบอล มวยปล ้า วอลเล่ย์บอล และมวย ซึง่ อาจเป็ นเพราะญี่ปนเริ ุ่ ่มได้ รับชัยชนะจากการ
แข่งขันกีฬานานาชาติมากขึ ้น เด็กๆ ชาวญี่ปนจึ ุ่ งใฝ่ ฝั นจะเติบโตเป็ นนักกีฬาที่มีชื่อเสียง ซึง่ เนื ้อหา
ของการ์ ตนู กีฬามักว่าด้ วยการอุทิศตนเพื่อกลุม่ การฝึ กซ้ อมอย่างหนัก และแทรกด้ วยแนวชีวิต มี
การหลัง่ เลือดและน ้าตา หรื ออาจจบลงด้ วยความตายของตัวเอกเพื่อสร้ างความสะเทือนใจแก่
ผู้อา่ น
เนื ้อหาการ์ ตนู ผู้ชายยังมักเกี่ยวข้ องกับกลุม่ ผู้มีอิทธิพล หรื อพวกมาเฟี ยญี่ปนุ่ (ยา
กูซา่ ) แต่ดดั แปลงให้ อยูใ่ นรูปของอันธพาลประจาโรงเรี ยน โดยเรื่ องราวจะเป็ นการต่อสู้ระหว่าง
สองฝ่ าย จนปี ค.ศ. 1960 การ์ ตนู ซามูไรก็กลับมาเป็ นที่นิยมอีกครัง้ แต่เป็ นแนวเรื่ องแบบตลก
ขบขัน และมีเรื่ องความรุนแรง เรื่ องเพศ และปรัชญาผสมผสานเข้ าไปแทนการสอนเรื่ องความดี-
ความชัว่ นอกจากนี ้การ์ ตนู ผู้ชายยังมักมีเรื่ องราวเกี่ยวกับ “นินจาญี่ปน” ุ่ ที่เป็ นนิยายปรัมปรามา
ตังแต่
้ โบราณ รวมทังเรื ้ ่ องเกี่ยวกับวีรบุรุษยอดมนุษย์ (Superhero)
1.2 การ์ ตนู สาหรับผู้หญิง
ลักษณะเด่นของการ์ ตนู สาหรับผู้หญิงคือการแสดงความนึกคิดภายในตัวการ์ ตนู
โดยใช้ ภาพที่เหลื่อมซ้ อนกันมากกว่าจะตีชอ่ งอย่างชัดเจน รวมทังเขี
้ ยนภาพใบหน้ าตัวการ์ ตนู
ผู้หญิงให้ มีคิ ้วเรี ยวบาง มีขนตายาว และดวงตากลมโตกว่าปกติ มีประกายดาวอยูใ่ นตาเพื่อ
สะท้ อนความฝั น ความปรารถนา และความโรแมนติก ส่วนตัวการ์ ตนู ผู้ชายก็มกั จะมีรูปร่างผอม
บาง อ้ อนแอ้ น ในปี ค.ศ. 1976 นักเขียนการ์ ตนู ผู้หญิงเคะอิโกะ ทาเคะมิยา (Keiko
Takemiya) เริ่มเขียนให้ ผ้ ชู ายเป็ นตัวเอกด้ วย เช่นเรื่ อง “คาเซะโตะ คิโนะอุตา (Kazeto Kinouta)”
หมายถึงเพลงของลมและต้ นไม้ เนื ้อหาเกี่ยวกับความรักระหว่างเด็กผู้ชายด้ วยกัน และก็ทาให้
เนื ้อหาของการ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ เนื ้อหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในลักษณะการชอบเพศเดียวกันมากขึ ้นใน
เวลาต่อมา รวมทังยั ้ งมีฉากที่สะท้ อนเรื่ องเพศ การร่วมประเวณี รวมถึงฉากเปลือย กลายเป็ นเรื่ อง
ธรรมดาในปั จจุบนั
16

นอกจากการแบ่งการ์ ตนู ตามกลุม่ ผู้อา่ นแล้ ว เบญจมาศ เบ็ญจพรกุลพงศ์ (2544)


ยังได้ รวบรวมข้ อมูลจากนิตยสาร หนังสือการ์ ตนู พบว่าการ์ ตนู ญี่ปนอาจแบ่
ุ่ งออกเป็ นแนวเรื่ อง
หลัก ได้ 8 แนว ดังนี ้
1. แนวการต่อสู้ระหว่างฝ่ ายธรรมะกับอธรรม เช่น ดราก้ อนบอล หมัดเทพเจ้ า
ดาวเหนือ เป็ นต้ น เนื ้อหาในแนวนี ้มักสร้ างสถานการณ์เกิดขึ ้นในอนาคต มีการต่อสู้กบั เหล่าศัตรู
ที่มารุกรานเพื่อพิทกั ษ์สนั ติสขุ ให้ กบั โลก ตัวเอกของเรื่ องไม่มีเวทมนตร์ คาถา แต่จะมีฝีมือและ
พละกาลังที่แข็งแกร่ง การชนะคูต่ อ่ สู้ในแต่ละครัง้ ตัวเอกมักได้ รับบาดเจ็บสาหัสกว่าจะเอาชนะคู่
ต่อสู้ได้ หรื อเมื่อตัวเอกตายไปก็มกั มีการชุบชีวิตขึ ้นใหม่ ฉากการต่อสู้ในการ์ ตนู ประเภทนี ้จึงมี
ความรุนแรง มีฉากคอขาด แขนขาด เลือดไหลท่วม
2. แนวแฟนตาซี หรื อจินตนาการ ในช่วง พ.ศ. 2526 การ์ ตนู ที่มีเนื ้อหา
เกี่ยวข้ องกับของวิเศษมหัศจรรย์ เริ่มเข้ าสูเ่ มืองไทยมากขึ ้น โดยสิ่งวิเศษอาจอยูใ่ นรูปคน สัตว์เลี ้ยง
หุน่ ยนต์ ตุ๊กตา ซึง่ สิ่งวิเศษเหล่านี ้เข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในยุคปั จจุบนั ทัง้
ช่วยก่อปั ญหา แก้ ปัญหา เช่น โดราเอมอน นินจาฮาโตริ ปาร์ แมน ฯลฯ ลักษณะการ์ ตนู แนวนี ้มัก
เกี่ยวข้ องกับตัวละครเอกที่เป็ นเด็ก และนาไปสูเ่ หตุการณ์ที่สนุกสนาน เหลือเชื่อ
การ์ ตนู แนวนี ้อาจเรี ยกว่าเป็ นแนวการผจญภัยของตัวเอกและคณะก็ได้ เพราะมี
เนื ้อหาคาบเกี่ยวกัน โดยเรื่ องราวมักมีตวั เอกเป็ นเด็ก และกลุม่ เด็กในยุคปั จจุบนั กับกลุม่ เพื่อนสัตว์
ประหลาดที่มีพลังวิเศษ และสามารถกลายเป็ นร่างใหม่ที่มีพลังเพิ่มขึ ้นได้ ทังคู ้ จ่ ะคอยให้ ความ
ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และร่วมผจญภัยไปด้ วยกัน เนื ้อหาจะเน้ นที่การแสดงความกล้ าหาญ
ความสามัคคี ความเสียสละ ความมุง่ มัน่ และรักเพื่อนพ้ อง ซึง่ จะเป็ นสิ่งที่เอาชนะอุปสรรคทังปวง ้
และนาไปสูช่ ยั ชนะในที่สดุ เช่นเรื่ อง โปเกมอน ดิจิมอน เป็ นต้ น
3. แนวสืบสวนสอบสวน เช่น ซิตี ้ฮันเตอร์ แม้ วา่ เนื ้อหาจะเป็ นแนวสืบสวน แต่ก็
แทรกไปกับมุขตลกที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศของพระเอกที่เป็ นนักสืบ และมีความเฉลียวฉลาด
เชี่ยวชาญในการต่อสู้ทกุ ชนิด แต่มีนิสยั เจ้ าชู้ ภาพลายเส้ นตัวการ์ ตนู ผู้หญิงในเรื่ องจะเน้ นเรื อน
ร่าง เช่นหน้ าอก หรื อสะโพก ส่วนฉากต่อสู้นิยมใช้ อาวุธปื น ระเบิด และอยูภ่ ายใต้ สถานการณ์ยคุ
ปั จจุบนั
4. แนวการแข่งขันเกมและกีฬา เช่น สแลมดังค์ นักซิ่งสายฟ้า กัปตันซึบาสะ ซึง่
เนื ้อหาจะเน้ นเกี่ยวกับความรักเพื่อน ความสามัคคี และความพยายามในการเอาชนะอุปสรรคเพื่อ
เป้าหมายสูช่ ยั ชนะ
17

5. แนวความรักของหนุม่ สาว เช่น ออเรนจ์ โร้ ด (ถนนสายนี ้เปรี ย้ ว) เป็ นเรื่ องราว
ความรักสามเส้ าระหว่างหญิง 2 ชาย 1 ที่กาลังศึกษาในชันมั ้ ธยม การ์ ตนู แนวนี ้ใช้ การวาดภาพ
ด้ วยลายเส้ นที่สวยงามสมจริ ง เน้ นกลุม่ เป้าหมายไปที่กลุ่มวัยรุ่ น
6. แนวการผจญภัยของตัวเอกและคณะ เรื่ องแนวนี ้มักมีตวั เอกเป็ นเด็ก และ
กลุม่ เด็กในยุคปั จจุบนั กับกลุม่ เพื่อนสัตว์ประหลาดที่มีพลังวิเศษ และสามารถกลายเป็ นร่างใหม่ที่
มีพลังเพิ่มขึ ้นได้ ทังคู ้ จ่ ะคอยให้ ความช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และร่วมผจญภัยไปด้ วยกัน เนื อ้ หา
จะเน้ นที่การแสดงความกล้ าหาญ ความสามัคคี ความเสียสละ ความมุง่ มัน่ และรักเพื่อนพ้ อง ซึง่
จะเป็ นสิ่งที่เอาชนะอุปสรรคทังปวงและน
้ าไปสูช่ ยั ชนะในที่สดุ เช่นเรื่ อง โปเกมอน ดิจิมอน เป็ นต้ น
7. แนวสืบสวนสอบสวน เช่น โคนัน เป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับเด็กหนุม่ นักสืบที่มี
ความเก่งกาจในการคลี่คลายคดีปริ ศนาฆาตกรรม เนื่อหามีการนาแนวความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มา
ประยุกต์ใช้ ในการสืบสวน
8. แนวการดาเนินชีวิตของตัวแสดง เนื ้อหาในแนวนี ้จะไม่มีผ้ ชู ว่ ย หรื อสิ่งวิเศษ
แต่เป็ นการแก้ ไขปั ญหาด้ วยตัวละครเอง และสะท้ อนภาพชีวิตของครอบครัวญี่ปุ่น ลักษณะ
ลายเส้ นค่อนข้ างเรี ยบง่าย ไม่มีมิตมิ ากนัก แต่เรื่ องราวมีความตลก ขบขัน เช่นชินจังจอมแก่น ฮิบิ
มารูโกะจัง เป็ นต้ น
ขณะที่ พรวลัย เบญจรัตนสิริโชติ (2549: 154-163) ซึง่ ได้ สารวจการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่
แปลเป็ นภาษาไทยในช่วงมิถนุ ายน 2549 – กุมภาพันธ์ 2550 ก็ได้ แบ่งแนวเรื่ องของการ์ ตนู ญี่ปนุ่
ในบ้ านเราออกเป็ น 4 กลุม่ คือ
1. กลุม่ การ์ ตนู ที่สะท้ อนภาพความรุนแรง แยกย่อยได้ อีก 3 แนวเนื ้อหา คือ
- แนวการต่อสู้ มีเนื ้อหาใกล้ เคียงแนวผจญภัย แต่เนื ้อหาหลักเน้ นการต่อสู้ด้วย
กาลัง การแข่งขัน หลายเรื่ องแสดงถึงศิลปะการป้องกันตัว พระเอกของเรื่ องมักเป็ นคนเก่ง หรื อมี
พรสวรรค์ด้านทักษะการต่อสู้ และมีศตั รูคอยตามรังควาน หรื ออาจเป็ นการต่อสู้กบั ผู้ที่อยาก
ประลองฝี มือเพื่อวัดว่าใครเก่งกว่ากัน ในระหว่างต่อสู้พระเอกจะพัฒนาฝี มือตัวเองให้ แกร่งมาก
ขึ ้นเรื่ อยๆ เช่น เรื่ อง ฮันมะ บากิ โรงเรี ยนลูกผู้ชาย ข้ าชื่อโคทาโร่ ฯลฯ
- แนวผจญภัย มักมีลกั ษณะการเดินทางไปยังที่ตา่ งๆ ได้ เจอและเรี ยนรู้สิ่งใหม่
มักมีการต่อสู้เข้ ามาเกี่ยวข้ อง โดยตัวเอกของเรื่ องจะเดินทางไปดินแดนอันตราย และต่อสู้กบั สิ่ง
ต่างๆ ทังด้ ้ านความคิด และกาลัง ซึง่ ส่งผลให้ ตวั ละครพัฒนาความสามารถแตกต่างกันออกไป
โดยส่วนใหญ่เป็ นเรื่ องที่แสดงให้ เห็นความรักในหมูพ่ วกพ้ อง เช่น วันพีซ เทพอสูรจิ ้งจอกเงิน ฯลฯ
- แนวภูตผี ปี ศาจ ตัวละครเอกมักเป็ นผี (bake) มีลกั ษณะน่ารักน่าเอ็นดู มี
18

คุณธรรมและเข้ าใจมนุษย์ ปกป้องและคอยช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ ยาก หรื อเรื่ องราวเป็ นการต่อสู้


ปราบภูตี ปี ศาจที่มีความดุร้าย เช่นเรื่ อง ล่าอสูรกาย ผีน้อยคินทาโร่ ฯลฯ
2. กลุม่ ที่เกี่ยวกับความรักและความสัมพันธ์ทางเพศ แบ่งย่อยออกได้ อีก 4 แนว
เรื่ องคือ
- แนวรักโรแมนติก มักมีเนื ้อหาเกี่ยวกับความรักระหว่างนางเอกวัยรุ่นกับพระเอก
หนุม่ รูปงาม ลายเส้ นตัวการ์ ตนู นางเอกมักมีดวงตาโตกว่าปกติ พระเอกมักจมูกโด่ง ตาโต สูง หุน่
ดีเหมือนนางแบบ เนื ้อหามักมีฝ่ายหนึง่ เป็ นคนรวย และอีกฝ่ ายต้ องตกหลุมรัก มักมีเรื่ อง
เพศสัมพันธ์เข้ ามาเกี่ยวข้ อง มีการฟั นฝ่ าอุปสรรคและจบเรื่ องด้ วยความสุข เช่น สับขัวมาลุ ้ ้ นรัก
จังหวะร็อค ดนตรี รัก ฯลฯ
- แนวโป๊ มักมีเนื ้อหาเกี่ยวกับความคิดเพ้ อฝั นเรื่ องเพศ (Sexual Fantasy) แม้
จะไม่มีบทโป๊ แบบโจ๋งครึ่ม แต่นางเอกมักนุง่ น้ อยห่มน้ อย หรื อฉากวับๆ แวมๆ ทุกเรื่ อง เช่นเรื่ อง
Boy Be… Hen วิดีโอเกิร์ล เป็ นต้ น
- แนวชายรักชาย (Shonen ai & Yaoi) เป็ นเรื่ องความรักระหว่างชายกับชาย
ส่วนใหญ่มกั มีเรื่ องเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ด้วย ตัวละครมักมีรูปร่างหน้ าตาคล้ ายผู้หญิงหรื อสวยกว่า
ผู้อา่ นและผู้เขียนมักเป็ นผู้หญิง เช่นเรื่ อง ฤาสวรรค์แกล้ ง รักทระนง ลานาต่างพิภพ เป็ นต้ น
- แนวพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบต่างๆ ซึง่ แบ่งได้ อีกหลากหลายแนวเรื่ อง แต่ที่พบ
มากก็เช่น
Obacon (O) โอบาคอน มักนาเสนอเรื่ องความรักแบบที่ชอบผู้มีอายุแก่
กว่าตนเอง ส่วนมากมักเป็ นเด็กผู้ชายชอบผู้หญิงที่โตกว่า 5-6 ปี
Lolicon (L) โลลิคอน มีนาเสนอความรักของผู้ที่มีอายุอ่อนกว่าตนเอง
มากๆ ส่วนใหญ่มกั เป็ นชายแก่ที่ชอบเด็กผู้หญิงอายุระหว่าง 8-15 ปี
Shotacon เป็ นแนวเดียวกับโลลิคอน คือเป็ นเรื่ องความรักของคนที่มี
อายุมากกว่ามาก แต่ตวั ละครเอกมักเป็ นหญิงวัยกลางคนที่ชอบเด็กชายอายุไม่เกิน 15 ปี
Yuri เป็ นเรื่ องรักระหว่างหญิงกับหญิง มีฉากเพศสัมพันธ์เข้ ามาเกี่ยวข้ อง
ด้ วย แต่หากเป็ นความรักบริ สทุ ธิ์ระหว่างหญิงกับหญิงจะเรี ยกว่า Shojo ai
3. กลุม่ ที่นาเสนอสาระเฉพาะด้ าน สามารถแยกย่อยได้ 6 แนวคือ
- แนววิทยาศาสตร์ เนื ้อเรื่ องมักเกี่ยวกับการค้ นพบทางวิทยาการยุคใหม่ หรื อ
เรื่ องเกี่ยวกับโลกอนาคต การผจญภัยในอวกาศ โดยมีพระเอกรุ่นเยาว์เป็ นตัวชูโรง เช่น โดราเอ
มอน เจ้ าหนูอะตอม เกราะชีวะ กายเวอร์ เป็ นต้ น
19

- แนวอิงประวัติศาสตร์ เนื ้อเรื่ องมักใช้ เกร็ ดประวัติศาสตร์ ญี่ปนสมั ุ่ ยต่างๆ มาเป็ น


แนวการดาเนินเรื่ อง แต่ผ้ แู ต่งก็มกั ดัดแปลงเรื่ องราวให้ สนุกสนานตรมจินตนาการ มักมีภาพความ
รุนแรงโหดเหี ้ยม เช่น มังกรอหังการ์ หมาป่ าคะนองศึก
- แนวสืบสวนสอบสวน ลักษณะแนวเรื่ องมักมีตวั เอกเป็ นวัยรุ่น มีความสามารถ
ด้ านการสืบสวน ค้ นหา สืบคดี เรื่ องราวมุง่ ไปที่การสืบหาฆาตกร และมักจบลงด้ วยหายนะของ
คนร้ าย เช่นคดีฆาตกรรมปริ ศนา คินดะอิจิ สืบโอซาก้ า
- แนวกีฬา ลักษณะเรื่ องมักว่าด้ วยตัวละครเอกที่มีความมุมานะฝึ กทักษะด้ าน
กีฬา จากที่ไม่เก่ง จนกระทัง่ เก่ง ซึง่ เป็ นลักษณะที่คนญี่ปนเรี ุ่ ยกว่า “กัม-บัต-เตะ (Gambatte) และ
ไฟต์-โตะ (Fighto)” หรื อแปลเป็ นไทยในทานองว่า “ความพยายาม” หรื อความมี “จิตใจนักสู้”
นัน่ เอง การ์ ตนู แนวนี ้มักมีลกั ษณะเด่น 3 ประการของการ์ ตนู ญี่ปนรวมอยู ุ่ ่คือ ความดีย่อมชนะ
ความชัว่ ความเป็ นเพื่อนที่สามัคคีตอ่ กัน และความอดทน ขยันหมัน่ เพียร เช่นเรื่ อง ก้ าวแรกสู่
สังเวียน Prince of Tennis Eye Shield 21
- แนวชีวประวัติ เรื่ องราวมักเป็ นการนาชีวประวัตบิ คุ คลที่นา่ สนใจมานาเสนอใน
รูปการ์ ตนู โดยให้ แง่คิดในเรื่ องความมานะ บากบัน่ เช่น ดร.โนงูจิ ด้ วยใจนักสู้ จอมคนสยบฟ้า โนบุ
นากะ เป็ นต้ น
- แนวเกี่ยวกับอาชีพ มีสองแนวใหญ่ คือแนวอาชีพพ่อครัว และแนวเกี่ยวกับ
หมอ เนื ้อหาคล้ ายคลึงแนวกีฬา คือตัวเอกจะค่อยๆ ฝึ กฝนความสามารถจากไม่เก่งจนกระทัง่ เก่ง
เช่น โซ้ ยแหลก จอมโหดกระทะเหล็ก Dr.K
4. กลุม่ การ์ ตนู อื่นๆ ที่ไม่เข้ ากับ 3 กลุม่ ข้ างต้ นคือ
- แนวเกี่ยวกับสัตว์ มักมีสตั ว์เป็ นตัวเอก ส่วนใหญ่นาเสนอพฤติกรรมสัตว์ในแนว
ขาขัน รวมถึงการ์ ตนู ที่มีสตั ว์พดู ได้ เช่น โปเกมอน มากิบาโอ ขาสันพั ้ นธุ์ซิ่ง เป็ นต้ น
- แนวตลก มักมีลกั ษณะเป็ นตอนสันๆ ้ อาจมีเรื่ องตลกเกี่ยวกับเพศแทรกอยูบ่ ้ าง
เช่น ชินจังจอมแก่น ทาร์ ซานเจ้ าป่ า คิ ้วหนาซ่าสุดๆ

1.5 รูปแบบการสื่อสารของหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ (Comic Book)


การ์ ตนู มีลกั ษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างไปจากสื่อประเภทอื่น แต่ก็มีสว่ นผสมระหว่างสื่อ
ต่างๆ เช่นหากเปรี ยบกับศิลปะการวาดภาพประกอบ จะเห็นว่าภาพประกอบเน้ นที่การนา
เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึง่ ที่สาคัญมาแสดงเพียงจุดเดียว ส่วนการ์ ตนู จะเล่าเหตุการณ์อย่าง
20

ต่อเนื่องไปตามลาดับ หรื อหากเปรี ยบเทียบกับวรรณกรรม การ์ ตนู ก็เป็ นสื่อที่เล่าเรื่ อง


เช่นเดียวกับวรรณกรรม แต่การ์ ตนู เป็ นเรื่ องเล่าที่เข้ าถึงคนในวงกว้ างได้ ง่ายกว่า เพราะให้
รายละเอียดของเหตุการณ์ได้ ในเวลาอันสัน้ และหากเปรี ยบการ์ ตนู กับละคร ทังสองสื้ ่อนี ้ต่าง
ใช้ บทสนทนาโต้ ตอบกันเพื่อแสดงนิสยั ตัวละคร และมีเจตนาเพื่อขมวดปมให้ ฉงนชวนติดตามเพื่อ
บอกความคิดหลักหรื อแก่นเรื่ อง แต่การ์ ตนู ก็ยงั ได้ เปรี ยบละครที่สามารถใส่ความคิดของตัวละคร
ลงไปได้ ตลอดเวลา จากการเปรี ยบเทียบการ์ ตนู กับสื่อต่างๆ จะเห็นได้ วา่ ไม่สามารถจัดการ์ ตนู
เข้ าในสื่อประเภทใดได้ ชดั เจน การเลือกกรอบแนวคิดการสื่อสารเฉพาะตัวของการ์ ตนู ญี่ปนจึ ุ่ งต้ อง
อาศัยแนวคิดที่ผสมผสานจากสื่อ และศิลปะประเภทต่างๆ เข้ ามาพิจารณา โดยเฉพาะแนวคิด
เกี่ยวกับภาพยนตร์ เพราะภาพยนตร์ มุง่ นาเสนอภาพเคลื่อนไหว โดยใช้ เทคนิคเรื่ องเสียง
แสง มุมภาพ การตัดต่อภาพ เป็ นส่วนสาคัญในการเล่าเรื่ องซึง่ คล้ ายคลึงกับการใช้ เทคนิคการ
นาเสนอของการ์ ตนู ญี่ปนอย่ ุ่ างมาก เหมือนเช่นที่ เอกสิทธิ์ ไทยรั ตน์ นักเขียนการ์ ตนู และ
นักเขียนบทภาพยนตร์ เรื่ อง 13 เกมสยอง กล่าวไว้ ว่า “การ์ ตูนก็คือหนัง”1 เพราะนักเขียน
การ์ ตนู ไม่ตา่ งไปจากผู้กากับภาพยนตร์ ที่สามารถกากับเรื่ องราว ตัวละคร ให้ สนุกสนาน ตื่นเต้ น
อย่างไรก็ได้ เพียงแต่ใช้ เครื่ องมือในการกากับแตกต่างกันเท่านัน้ โดยนักเขียนการ์ ตนู กากับ
ทิศทางผลงานด้ วยการออกแบบลายเส้ นผ่านอุปกรณ์ดินสอ ปากกา หรื อคอแร้ ง ในขณะที่ผ้ กู ากั บ
ภาพยนตร์ กากับทิศทางผลงานด้ วยอุปกรณ์กล้ อง เครื่ องตัดต่อ นักแสดง ฯลฯ ดังนันผู ้ ้ วิจยั จึงได้
นาแนวคิดเรื่ องภาษาเฉพาะตัวของสื่อภาพยนตร์ และสื่อภาพเคลื่อนไหว(Moving Image) โดย
หลุยส์ จิอนั เน็ตตี ้ (Giannetti, 2004) ผสมผสานกับการสังเกต ศึกษา การเข้ าร่วมสัมมนา และ
อบรมค่ายการ์ ตนู ต่างๆ ของผู้วิจยั เอง2 และการสัมภาษณ์จากนักเขียนและนักวิชาการการ์ ตนู จน
อาจสรุปลักษณะการสื่อสารหรื อการนาเสนอเทคนิคเฉพาะตัวของการ์ ตนู ญี่ปนได้ ุ่ ดงั นี ้
1.5.1 กรอบหรื อช่องการ์ ตนู
“ช่อง” ในการ์ ตนู ญี่ปนุ่ อาจเปรี ยบได้ กบั 1 shot ในภาพยนตร์ แต่ละช่องที่
ต่อเนื่องกันในการ์ ตนู จึงเหมือนการที่ผ้ กู ากับภาพยนตร์ ตดั ต่อภาพแต่ละ shot ร้ อยเรี ยงออกมาเป็ น
เรื่ องราว ช่องแต่ละช่องอาจวาดให้ มีความกว้ างเท่ากันหรื อต่างกัน อาจมีเส้ นกรอบ หรื อมี

1
เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ กล่าวในการอบรมค่ายการ์ ตนู ทีเคการ์ ตนู ิสต์: หลักสูตรการ์ ตนู สร้ างชาติ ในหัวข้ อ “การพัฒนาบท
การ์ ตนู ” เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2552 ณ ศูนย์พฒ ั นาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
2
เรียบเรียงจากการเสวนาในค่ายการ์ ตนู ทีเคการ์ ตนู ิสต์: หลักสูตรการ์ ตนู สร้ างชาติ ในหัวข้ อ “เทคนิคการเล่าเรื่องแบบ
การ์ ตนู คอมิค” เมื่อวันที่ 21 และ 26 ตุลาคม 2552 ณ ศูนย์พฒ ั นาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และจากการเสวนา
ในงานนิทรรศการการ์ ตนู แหกคอก “Tale from the six” โดยวิทยากรคือ 10 นักเขียนการ์ ตนู มืออาชีพของไทย เมื่อวันที่ 27
กันยายน 2552 ณ อาร์ ท กอริลล่า สยามสแควร์
21

รูปทรงแปลกๆ ก็ได้ การลาดับช่องในการ์ ตนู Comic จึงมีความสาคัญอย่างมาก เพราะหาก


ผู้เขียนลาดับช่องไม่ถกู ต้ อง ผู้อา่ นก็อาจสับสนกับเรื่ องราว และพาลเลิกอ่านไปเลยก็เป็ นได้ แต่
หากผู้เขียนมีการจัดวางช่องได้ ดี ก็จะช่วยดึงสายตาให้ ผ้ อู า่ นเข้ าใจเรื่ องราวให้ ตอ่ เนื่องกันได้ ตงแต่
ั้
ต้ นจนจบ ดังนันผู ้ ้ เขียนการ์ ตนู จึงต้ องทาความเข้ าใจเกี่ยวกับการลาดับ “ช่อง” ในการ์ ตนู เพื่อ
สื่อสารกับผู้อ่านให้ เข้ าใจตรงกัน โดยช่องในการ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ ความสาคัญดังนี ้ (สุทธิชาติ ศราภัย
วานิช, สัมภาษณ์, 8 มีนาคม 2553)
- ช่อง เป็ นตัวกาหนดความรู้สกึ เรื่ อง “เวลา” ในการอ่าน ซึง่ หากผู้เขียนต้ องการให้
ผู้อา่ น อ่านเนื ้อเรื่ องอย่างไหลลื่น หรื อกาลังนาเสนอเรื่ องที่เป็ นเวลาต่อเนื่องกัน ก็สามารถทาได้
โดยการวาด “ระยะห่าง” ระหว่างรอยต่อช่องการ์ ตนู ให้ แคบ (เช่นเรื่ องยังดาเนินอย่างต่อเนื่องใน
สถานที่เดิม) แต่หากต้ องการแสดงให้ เห็นว่าแต่ละช่อง หรื อแต่ละภาพมีการเว้ นช่วงระยะเวลา
หรื อมีการเปลี่ยนสถานที่ หรื อเหตุการณ์ (เช่นจากเมื่อเย็นวาน มาเช้ าวันนี ้) ก็ควรวาดรอยต่อ
ระหว่างช่องให้ กว้ างขึ ้น
- ขนาดและรูปแบบของกรอบหรื อช่อง จะสัมพันธ์กบั อารมณ์ของตัวละคร และ
โทนของเรื่ องราว หากผู้เขียนวาดช่องการ์ ตนู ให้ มีขนาดเท่ากันทังหมดใน
้ 1 หน้ าจะส่งผลให้
อารมณ์ของเรื่ องราบเรี ยบ อืด ไม่มีจดุ สูงสุดทางอารมณ์ของเรื่ อง (climax) ให้ ตดิ ตาม แต่หากมี
การปรับเปลี่ยนขนาดของช่องให้ ใหญ่บ้างเล็กบ้ าง หรื อมีรูปทรงแปลกตา ก็จะช่วยเสริมอารมณ์ใน
เรื่ องได้ อย่างมาก เช่น ถ้ าเนื ้อหาสาคัญมากก็มกั ใช้ กรอบใหญ่ โดยกรอบที่ใหญ่ที่สดุ คือเต็ม 2
หน้ าซ้ ายขวา (หน้ าคู)่ มักใช้ เป็ นกรอบสาหรับเหตุการณ์ที่มีขนาดใหญ่ หรื อต้ องการสร้ างอารมณ์
ตื่นตาตื่นใจให้ ผ้ อู ่าน ในขณะที่กรอบเล็กจะเป็ นแค่การเชื่อมให้ การเล่าเรื่ องมีความลื่นไหลเท่านัน้
ขนาดของกรอบหรื อช่องยังสัมพันธ์กบั แนวทางของการ์ ตนู แต่ละประเภทอีกด้ วย เช่นการ์ ตนู ต่อสู้ก็
จะมีกรอบขนาดใหญ่มากกว่าการ์ ตนู แนวอื่น ในขณะที่การ์ ตนู ที่เน้ นเล่าเรื่ องด้ วยบทสนทนาก็จะมี
ช่องขนาดเล็กมากกว่า
-จานวนของช่องยังกาหนดกลุม่ ผู้อา่ น ยิ่งช่องมากก็ยิ่งต้ องการทักษะในการอ่าน

การ์ ตนู สูงขึ ้นด้ วย เช่นการ์ ตนู สาหรับคนทัว่ ไปก็จะมีกรอบน้ อย เช่นการ์ ตนู แก๊ ก 1-3 ช่องจบ วาง
กรอบเรี ยงกันง่ายๆ ไม่สบั สน หรื อการ์ ตนู สาหรับเด็กก็จะมีกรอบใหญ่ อาจจะ 1-2 กรอบต่อหน้ า
การ์ ตนู วัยรุ่นขึ ้นไปก็จะมีกรอบเยอะขึ ้น และวางกรอบซับซ้ อนขึ ้น
22

แต่ทงนี
ั ้ ้การวางขนาดช่องก็ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวนัก เป็ นสไตล์ของนักเขียนแต่ละคน นักเขียนบาง
คนนิยมวางช่องเยอะๆ บางคนนิยมวางช่องน้ อยๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้ วการ์ ตนู ญี่ปนใน ุ่ 1 หน้ า
มักมีจานวนช่องไม่เกิน 10 ช่อง

ภาพประกอบ 2 ตัวอย่ างการวาดกรอบ/ช่ องแบบปกติจานวนช่ องปานกลาง


ที่มา: http://www.f0nt.com/forum/index.php?topic=12723.0

1.5.2 ช่องคาพูด หรื อบอลลูน (Balloon)


“หากนักเขี ยนรู้จกั ศึกษาเทคนิ คของบอลลูนให้มากเข้าไว้ ก็จะสามารถ
นามาใช้เพือ่ ให้คนอ่านเข้าถึงอารมณ์ การ์ ตูนได้สนุกสนานมากขึ้น”
คากล่าวข้ างต้ นของ เรื องศักดิ์ ดวงพลา (2552)1 นักเขียนการ์ ตนู อาชีพมือรางวัล
บ่งบอกถึงความสาคัญของ “บอลลูน” หรื อช่องคาพูด ซึง่ รูปทรงของบอลลูนก็เป็ นอีกหนึง่ อวัจน
ภาษา (Non-Verbal Language) เช่นเดียวกับกรอบหรื อช่องการ์ ตนู ที่สื่อความหมายทัง้ ความคิด
วิธีพดู และอารมณ์ของตัวละครอย่างมาก นอกจากนี ้บอลลูนยังใช้ แทนเสียงประกอบ (Sound
effect) ได้ อีกด้ วย ซึง่ ในการ์ ตนู อเมริ กนั รูปทรงของบอลลูนจะเน้ นความเรี ยบง่าย มีลกั ษณะ
กลม จึงมักสร้ างรูปทรงบอลลูนในคอมพิวเตอร์ ในขณะที่การ์ ตนู ญี่ปนจะมี ุ่ ลกั ษณะรูปทรงบอลลูน

1
เรื องศักดิ์ ดวงพลา กล่าวถึงเทคนิคการเขียนการ์ ตนู ในการเสวนาค่ายการ์ ตนู ทีเคการ์ ตนู ิสต์: หลักสูตรการ์ ตนู
สร้ างชาติ ในหัวข้ อ “เทคนิคการเล่าเรื่ องแบบการ์ ตนู คอมิค” เมื่อวันที่ 21 และ 26 ตุลาคม 2552 ณ ศูนย์พฒ ั นาทุน
มนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
23

เป็ นวงรี แนวตัง้ รูปร่างคล้ ายไข่ หรื อลูกโป่ ง (Balloon) เนื่องจากตัวอักษรญี่ปนนั


ุ่ นเขี
้ ยนแนวตัง้ ซึง่
ถ้ าเป็ นประเทศที่เขียนตัวอักษรแนวนอนจะมีชอ่ งคาพูดเป็ นแนวนอนมากกว่า และมักมีรูปแบบไม่
ตายตัวเพราะเป็ นการวาดด้ วยมือ

ภาพประกอบ 3 เปรี ยบเทียบบอลลูนในการ์ ตูนอเมริ กันและการ์ ตูนญี่ปุ่น


ที่มา: http://thaicomic.com/forum/viewtopic.php?t=19201
http://ffman.exteen.com/app-13-55

รูปร่างของบอลลูนจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของคาพูดนันๆ ้ เช่นคาพูด
สนทนาปกติ ก็จะใช้ ชอ่ งคาพูดปกติ แต่ถ้าพูดเสียงดังหรื อตะโกนก็จะใช้ ช่องคาพูดที่มีเส้ นแหลมๆ
ออกไปรอบๆ (คล้ ายทุเรี ยน) ถ้ าเป็ นเสียงประกาศ หรื อเสียงจากโทรทัศน์ วิทยุ ก็จะเป็ นช่อง
เหลี่ยมๆ เพื่อให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ว่าต่างจากคาพูดปกติ ถ้ าผู้พดู เสียงสัน่ หวาดกลัว หรื อถ้ าเป็ นเสียง
บรรยายจากบุคคลอื่น (Narrative Voice) ก็มกั จะออกแบบเป็ นกรอบสี่เหลี่ยมที่ตา่ งจากช่องปกติ
อาจจะมีเส้ นกรอบเป็ นเส้ นคูก่ ็ได้ บางทีผ้ เู ขียนก็จะเขียนให้ ชอ่ งคาพูดเป็ นคลื่นๆ แสดงอารมณ์ แต่
การออกแบบช่องคาพูดก็ไม่มีกฎตายตัวเช่นเดียวกับการออกแบบกรอบหรื อช่องการ์ ตนู ขึ ้นอยูก่ บั
สไตล์ของนักเขียน
24

ภาพประกอบ 4 ลักษณะบอลลูนที่แสดงถึงเสียงพูดตัวละครที่ดังกว่ าปกติ


ที่มา: http://www.thai-toku.com/cgi-bin/board/YaBB.pl?num=1197711544/all

ส่วนการวางบอลลูนในแต่ละกรอบภาพผู้เขียนจะถือว่าบอลลูนคือองค์ประกอบ
หนึง่ ทางศิลปะในกรอบนันๆ ้ หรื อพูดง่ายๆ ว่าการวางบอลลูนไม่ได้ เป็ นการกินเนื ้อที่ของภาพ แต่
เป็ นจุดที่ผ้ เู ขียนออกแบบไว้ แล้ วว่าช่องคาพูดนันไม่ ้ ไปทับส่วนสาคัญของภาพนัน่ เอง ซึง่ การวาง
ช่องคาพูดมากหรื อน้ อยก็ขึ ้นอยูก่ บั เนื ้อหาที่ผ้ อู า่ นต้ องการเล่า แต่ชอ่ งคาพูดก็มีสว่ นกาหนดกลุม่
ผู้อา่ นเช่นกัน ช่องคาพูดยิ่งมาก กลุม่ ผู้อา่ นก็จะยิ่งน้ อยลง และมีชว่ งอายุมากขึ ้น ดังนันการ์
้ ตนู ที่ไม่
มีชอ่ งคาพูดจึงสามารถเข้ าถึงกลุม่ คนในวงกว้ างได้ ดี
บอลลูนยังมีหน้ าที่สร้ างความไหลลื่นในการอ่านเช่นเดียวกับกรอบหรื อช่อง
การ์ ตนู ด้ วยเช่นกัน โดยความไหลลื่นในการอ่าน จะขึ ้นอยูก่ บั วิธีการกาหนดลาดับช่องคาพูด ของ
ผู้เขียนอย่างมาก ซึง่ โดยหลักการการเรี ยงลาดับช่องคาพูดของการ์ ตนู Comic นันมั ้ กเรี ยงจาก
ทิศทาง “บนลงล่าง” และ จาก “ซ้ ายไปขวา” เป็ นลักษณะตัว Z ดังนันหากในช่ ้ องภาพเดียวกัน มี
หลายบอลลูน ให้ สงั เกตว่าบอลลูนที่ผ้ อู า่ นต้ องอ่านก่อน (เรื่ องราวเกิดขึ ้นก่อน) จะอยูใ่ นตาแหน่ง
ที่สงู กว่าบอลลูนอื่นๆ และหากบอลลูนมีระดับความสูงเท่าเทียมกันจะต้ องเริ่มอ่านจากบอลลูนที่
อยูซ่ ้ ายมือ ก่อนไล่สายตาไปอ่านบอลลูนที่อยูข่ วามือ
25

ภาพประกอบ 5 วิธีอ่านการ์ ตูนญี่ปุ่นเรี ยงตามลาดับบอลลูน


ที่มา: http://noongnan.exteen.com/20090817/how-to-story-board

1.5.3 ขนาดภาพ
หมายถึงการกาหนดขนาดภาพหรื อระยะภาพที่ปรากฏในแต่ละช่องการ์ ตนู เช่น
ภาพไกล (Long Shot) ภาพใกล้ (Close-Up) ขนาดของภาพในหนังสือการ์ ตนู มีผลต่อการสื่อ
อารมณ์แตกต่างกันออกไปเช่นเดียวกับสื่อภาพยนตร์ ซึ่งในการ์ ตนู ญี่ปนโดยเฉพาะแนวต่
ุ่ อสู้ มัก
มีการเปลี่ยนขนาดภาพแตกต่างกันภายใน 1 หน้ า และยิ่งมีความแตกต่างของขนาดภาพทังใกล้ ้ -
ไกลมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งสร้ างความหวือหวาเร้ าใจของภาพได้ มากเท่านัน้ นอกจากนี ้การเปลี่ยน
ขนาดภาพในแต่ละช่องภาพที่ตวั ละครไม่มีความเคลื่อนไหวใน 1 หน้ า (เช่นตัวละครเอกนัง่ เล่นเกม
คอมพิวเตอร์ ทงหน้ ั ้ า) ยังช่วยให้ ภาพและเรื่ องไม่นา่ เบื่ออีกด้ วย
1.5.4 มุมกล้ อง หรื อมุมมองภาพ
ในภาพยนตร์ มุมมองภาพก็คือ ภาพที่เกิดจากการจัดวางระดับความสูงของ
กล้ องที่สมั พันธ์กบั สิ่งที่ถ่ายทา เพื่อเสริมความหมาย คุณค่าด้ านสุนทรี ยศาสตร์ และด้ านจิตวิทยา
การรับรู้ ซึง่ มีผลต่ออารมณ์ความรู้สกึ ของผู้ชม เช่นเดียวกับในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ หรื อมังงะ ที่
ผู้เขียนสามารถจัดวางมุมภาพแบบใดก็ได้ โดยไม่ต้องใช้ กล้ อง แต่ใช้ ปากกาเคมี หรื ออุปกรณ์การ
เขียนอื่นๆ แทนความคิดออกมาได้ ตามต้ องการ มุมมองภาพในการ์ ตนู จึงเรี ยกได้ วา่ “ไร้ ขีดจากัด”
เช่นมุมเงย (Worm’s-Eye View) ถ้ าใช้ กบั ตัวละครก็จะสร้ างความน่าเกรงขาม ผู้อา่ นจะรู้สกึ ว่าตัว
ละคร (และตัวผู้อา่ น) กาลังถูกคุกคาม หรื อถ้ าใช้ กบั สถานที่ก็จะสร้ างความอลังการให้ กบั สถานที่
26

แต่ถ้าเป็ นมุมสูง หรื อมุมกดลง (Bird’s-Eye View) ก็จะมีความรู้สกึ ว่าตัวละครอยูเ่ หนือกว่า (เช่น
ฉากตัวละครยืนอยูบ่ นตึกสูงและมองลงไปที่เมือง ซึง่ ใช้ บอ่ ยในการ์ ตนู ฮีโร่ตา่ งๆ) โดยการเปลี่ยน
มุมกล้ องเป็ นระยะต่างๆ ในแต่ละกรอบแต่ละหน้ าก็ชว่ ยสร้ างความน่าสนใจให้ การ์ ตนู ทาให้ ผ้ ูอา่ น
ไม่ร้ ูสกึ เบื่อหน่าย แต่ถ้าเปลี่ยนมุมกล้ องโดยไม่มีเหตุผลก็อาจสร้ างความสับสนให้ เรื่ องได้
1.5.5 การเคลื่อนไหวของภาพ
ในภาพยนตร์ ความเคลื่อนไหวของภาพเกิดจากการเคลื่อนไหวของกล้ อง เช่นการ
เคลื่อนกล้ องในแนวระนาบ (Pan) จากซ้ ายไปขวาอย่างรวดเร็ว ซึง่ ก็ชว่ ยสร้ างความรู้สกึ ตื่นเต้ น
วุน่ วายได้ และแม้ หนังสือการ์ ตนู จะเป็ นภาพนิ่ง แต่ด้วยภาพที่ร้อยเรี ยงต่อเนื่องกันในแต่ละช่อง
หรื อกรอบซึง่ มีระยะห่างระหว่างช่องแตกต่างกัน รวมทังการใช้ ้ เทคนิคเฉพาะตัวของการ์ ตนู เช่น
การขีดเส้ นนาสายตา การวาดให้ ตวั ละครหันหน้ าไปยังทิศทางที่ต้องการ หรื อการวาดเส้ นสปี ดเพื่อ
แสดงความเคลื่อนไหวของตัวละคร สิ่งเหล่านี ้ก็เปรี ยบได้ กบั การเคลื่อนกล้ องในภาพยนตร์ ที่
ให้ ความรู้สึกว่าตัวละครกาลังเคลื่อนไหว และภาพแต่ละภาพ (ในแต่ละช่อง) กาลังเกี่ยวร้ อย
ออกมาเป็ นภาพเคลื่อนไหว ซึง่ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ด้ าน “เวลา” ช้ า-เร็ว และให้ อารมณ์ที่แตกต่าง
หลากหลายได้ ไม่ตา่ งจากภาพยนตร์ (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์, 8 มีนาคม 2553)
การสร้ างความต่อเนื่องของภาพ หรื อความเคลื่อนไหวในแต่ละหน้ าให้ ผ้ อู ่านรับรู้
ถึงความเร็ว-ช้ าได้ นนั ้ ยังเกิดจากการวาดจานวนของกรอบภาพด้ วย โดยถ้ าผู้เขียนต้ องการสร้ าง
ความเคลื่อนไหวให้ กบั ตัวละคร หรื อเหตุการณ์มากๆ ก็ต้องวาดรูปที่ตอ่ เนื่องกันมากในแต่ละช่อง
เช่นเหตุการณ์ที่ตวั ละครวิ่งไปและสะดุดหกล้ ม ถ้ าต้ องการให้ การเคลื่อนไหวต่อเนื่องก็ต้องวาด
กรอบภาพจานวนมากโดยเริ่ มจากเห็นตัวละครวิ่งมา - ตัดไปที่สีหน้ าในกรอบต่อมา - ตัดไปที่ก้อน
หินที่อยู่ข้างหน้ า - ตัดไปที่สีหน้ าที่ตวั ละครไม่เห็นก้ อนหินนัน้ - ตัดไปที่ภาพตัวละครสะดุดหิน
ต่อเนื่องด้ วยภาพท่าทางที่ตวั ละครกาลังล้ มลงกระแทกพื ้น - ต่อด้ วยภาพตัวละครกระทบพื ้นแล้ ว
กระเด็นขึ ้น - สุดท้ ายอาจจะเป็ นกล้ องมุมสูงที่มองลงมาเห็นตัวละครนอนอยูท่ ี่พื ้น ซึง่ จะเห็นว่า
ต้ องใช้ กรอบภาพจานวนมากเพื่อแสดงความต่อเนื่อง ในขณะที่เหตุการณ์เดียวกันถ้ าเลือก
แสดงแค่ภาพตัวละครวิ่งมา สะดุด แล้ วก็นอนอยู่กบั พื ้น จะเห็นว่าสามรถเล่าเรื่ องได้ เหมือนกัน แต่
ความต่อเนื่องจะน้ อยกว่า และรู้สกึ ว่าเวลาในเหตุการณ์นนเริ ั ้ ่มต้ นและจบลงเร็วกว่ามาก ทังนี ้ ้ก็
ขึ ้นอยู่กบั ผู้เขียนว่าต้ องการเล่าให้ ตอ่ เนื่องหรื อฉับไวนัน่ เอง (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์, 8
มีนาคม 2553)
27

1.5.6 การตัดต่อภาพ
การตัดต่อภาพของภาพยนตร์ ทาให้ เกิดจังหวะ ส่งผลทางด้ านอารมณ์ของผลงาน
และยังมีบทบาทในด้ านโครงสร้ างเรื่ องช่วงเวลา เช่นหากต้ องการสร้ างความรู้สกึ สงบนิ่ง หรื อสร้ าง
ความสงสัย ก็อาจแช่ภาพนิ่งๆ นาน 5 นาทีโดยไม่ตดั ภาพเลย หรื อหากต้ องการสร้ างความเร้ าใจ
ในฉากไล่ลา่ ผู้กากับอาจใช้ วิธีตดั ภาพกระชับ ฉับไว เป็ นต้ น ซึง่ ในหนังสือการ์ ตนู ก็มีวิธีการ
ตัดต่อภาพเช่นกัน แต่ทาได้ โดยใช้ เทคนิคเฉพาะตัวของการ์ ตนู เหมือนเช่นการเคลื่อนไหวของภาพ
นัน่ คือการสื่อสารผ่านกรอบ หรื อช่องภาพ เช่นหากใช้ ชอ่ งขนาดเล็ก ซอยถี่ๆ หลายๆ ช่องใน 1
หน้ าจะให้ ความรู้สกึ เหมือนการตัดต่อภาพฉับไว และส่งผลให้ ร้ ูสกึ ว่าเวลาในเรื่ องดาเนินไปอย่าง
รวดเร็ว หรื อรู้สกึ ว่าผู้เขียนไม่ต้องการใส่ใจรายละเอียดในช่วงนี ้มากนัก แต่หากใช้ ช่องขนาด
ใหญ่เราก็จะรู้สกึ ว่าเหตุการณ์เกิดขึ ้นช้ าๆ เหมือนการแช่กล้ องในภาพยนตร์ ที่แสดงถึงเวลาในเรื่ อง
ดาเนินไปอย่างไม่เร่งรี บ รวมทังยั ้ งแสดงถึงการให้ ความสาคัญของตัวละคร รายละเอียดของฉาก
หรื อเหตุการณ์ที่กาลังปรากฏอยูด่ ้ วย
1.5.7 การจัดวางฉาก และการจัดวางองค์ประกอบอื่นๆ ในกรอบ/ช่องการ์ ตนู
- ฉากเป็ นสิ่งสาคัญไม่แพ้ ตวั ละครในการวาดการ์ ตนู และการเปิ ดเรื่ องในหนังสือ
การ์ ตนู ที่ดีนนควรเริ
ั้ ่มจากการวาดฉาก เพื่อให้ คนอ่านรับรู้มิตเิ รื่ องสถานที่และเวลาได้ ทนั ที ซึง่
การวาดฉากที่ดีนนนอกจากผู
ั้ ้ เขียนจะต้ องศึกษาจุด perspective ที่ชว่ ยให้ ฉาก และอุปกรณ์
ประกอบฉากมีสดั ส่วนไม่ผิดเพี ้ยนไปจากความเป็ นจริง
นอกจากนี ้การจัดวางองค์ประกอบอื่นๆ ในกรอบภาพก็มีความสาคัญที่ทาให้
ภาพการ์ ตนู ดูนา่ อ่าน สบายตาอีกด้ วย ซึง่ องค์ประกอบที่ว่านี ้ก็คือการจัดวางขนาด และรูปทรง
ของตัวการ์ ตนู (จะกล่าวรายละเอียดอีกครัง้ ในหัวข้ อการสร้ างตัวละคร) ลักษณะของบอลลูน
รวมทังขนาดและรู
้ ปแบบของตัวอักษร ซึง่ ช่วยแสดงถึงมิตดิ ้ าน “เสียง” ทังบทสนทนา ้ เสียง
ประกอบฉาก (Sound Effect) เช่นเสียงระเบิด เสียงกรี ดร้ องของผู้หญิง ซึง่ ลักษณะของ
ตัวอักษรที่ดีในการ์ ตนู ช่องนันควรมี
้ ขนาดไม่ใหญ่เกินไปจนดึงความสนใจไปจากภาพ เพราะ
ตัวหนังสือควรเป็ นเพียงส่วนประกอบของภาพและเรื่ องเท่านัน้ ส่วนการใส่คาบรรยายและ
บทสนทนาในการ์ ตนู ก็ควรสัน้ กระชับ และที่สาคัญคือไม่ควรพูดซ ้ากับสิ่งที่ภาพสื่อความได้ ชดั เจน
28

อยูแ่ ล้ ว แต่คาบรรยาย และบทสนทนาจะเป็ นตัวเสริ มภาพ บรรยากาศ อารมณ์ของตัวละคร


รวมทังเนื้ ้อหาโดยภาพรวม (เรื องศักดิ์ ดวงพลา, 2552)1
จะเห็นได้ วา่ การนาเสนอด้ านภาพในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ หรื อ “มังงะ” มีลกั ษณะ
เฉพาะตัวที่ให้ รายละเอียดของภาพได้ อย่างชัดเจน ซึง่ แม้ การ์ ตนู จะเป็ นสื่อ “ภาพนิ่ง” แต่
กลับให้ ความรู้สึกเหมือน “ภาพเคลื่อนไหว” และมีข้อได้ เปรี ยบสื่อภาพเคลื่อนไหวอื่นๆ (เช่น
โทรทัศน์ และภาพยนตร์ ) หลายประการคือ นักเขียนการ์ ตนู ไม่จาเป็ นต้ องกังวลในข้ อจากัดเรื่ อง
กล้ อง งบประมาณในการสร้ างเทคนิคพิเศษ หรื อห่วงว่านักแสดงจะมีขีดความสามารถไม่เข้ าขัน้
ใดใดทังสิ ้ ้น ซึง่ ก็สง่ ผลให้ งานด้ านภาพของ “มังงะ” เป็ นสื่อที่ผ้ เู ขียนสามารถสื่อสาร “ความคิด”
และ “จินตนาการ” ของตัวเองไปยังผู้อา่ นได้ อย่างเต็มที่

2. แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้ างการเล่ าเรื่อง (Narratology)


หลังจากทาความเข้ าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ และลักษณะการสื่อสารเฉพาะตัวของหนังสือ
การ์ ตนู ญี่ปนกัุ่ นแล้ ว อีกหนึ่งแกนหลักในการวิเคราะห์สื่อที่ต้องถ่ายทอดเรื่ องราวให้ ผ้ อู า่ นได้ เข้ าใจ
โดยง่ายย่อมต้ องใช้ แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้ างการเล่าเรื่ องใน “เรื่ องเล่า” ต่างๆ และเนื่องจากสื่อ
ภาพยนตร์ เป็ นสื่อที่มีรูปแบบการนาเสนอใกล้ เคียงสื่อการ์ ตนู มากที่สดุ (สังเขต นาคไพจิตร,
2530 :4-12, ศักดา วิมลจันทร์ , 2548:72) โดยเฉพาะมังงะที่เล่าเรื่ องด้ วยภาพที่มีความลื่นไหล
ต่อเนื่องราวกับเทคนิคการเคลื่อนกล้ อง และการตัดต่อในภาพยนตร์ ผู้วิจยั จึงนาแนวคิดการเล่า
เรื่ องของสื่อภาพยนตร์ มาประกอบการวิเคราะห์ โดยหลุยส์ จิอนั เน็ตตี ้ (Giannetti, 1998) ได้
กาหนดวิธีการวิเคราะห์การเล่าเรื่ องของภาพยนตร์ ใน 7 องค์ประกอบดังนี ้
2.1 โครงเรื่ อง (Plot) ประกอบไปด้ วย
2.1.1 การเปิ ดเรื ่อง (Exposition) แบ่งได้ 3 แบบคือ
- เปิ ดด้ วยการบรรยาย เปิ ดเรี ยบๆ แล้ วค่อยๆ เพิ่มสีสนั ของเรื่ อง
- เปิ ดด้ วยฉากเพื่อให้ เห็นสภาพแวดล้ อมที่หอ่ หุ้มตัวละครและเรื่ อง
- เปิ ดด้ วยการกระทาที่นา่ สนใจของตัวละคร
2.1.2 การพัฒนาเรื่ อง (Rising Action) แบ่งได้ 3 แบบคือ

1
เรื องศักดิ์ ดวงพลา กล่าวถึงเทคนิคการเขียนการ์ ตนู ในการเสวนาค่ายการ์ ตนู ทีเคการ์ ตนู ิสต์: หลักสูตรการ์ ตนู
สร้ างชาติ ในหัวข้ อ “เทคนิคการเล่าเรื่ องแบบการ์ ตนู คอมิค” เมื่อวันที่ 21 และ 26 ตุลาคม 2552 ณ ศูนย์พฒ ั นาทุน
มนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
29

- ดาเนินเรื่ องตามลาดับปฏิทิน
- ดาเนินเรื่ องแบบเล่าย้ อนกลับ (Flash Back)
- ดาเนินเหตุการณ์และสถานที่สลับกันไปมา
2.1.3 ภาวะวิ กฤติ หรื อจุดวิ กฤติ (climax) เป็ นขันที้ ่ความขัดแย้ งพุง่ ขึ ้นสูงสุด
และถึงจุดแตกหัก ตัวละครตกอยูใ่ นสถานการณ์ต้องลงมือกระทา หรื อตัดสินใจ
2.1.4 ภาวะคลีค่ ลาย (Resolution) เมื่อตัวละครตัดสินใจลงมือกระทาสิ่งใด
สิ่งหนึง่ จุดวิกฤติก็จะผ่านพ้ น หรื อได้ รับการแก้ ไข เหตุการณ์ หรื อปมปั ญหาจึงค่อยๆ คลี่คลายลง
2.1.5 การยุติเรื ่องราว หรื อการปิ ดเรื ่อง (Ending) ปมปั ญหา ความขัดแย้ ง
ได้ รับการแก้ ไข ส่งผลสู่บทลงท้ ายของตัวละคร ซึง่ อาจจบได้ ทงมี ั ้ ความสุข เศร้ า หรื อประชดประชัน
ซึง่ ลาดับพัฒนาการของโครงเรื่ องสรุปเป็ นแผนภาพได้ ดงั นี ้
จุดวิกฤติ (climax)

ปั ญหา คลี่คลายพัฒนาเหตุการณ์

การเปิ ดเรื่ อง การปิ ดเรื่ อง

แผนภาพที่ 1 ลาดับขัน้ และพัฒนาการของโครงเรื่อง

2.2 ความขัดแย้ ง (Conflict) ความขัดแย้ งหรื อ “ความไม่ได้ ดงั่ ใจ” ในเรื่ องคือสิ่ง
ที่ทาให้ เรื่ องน่าตื่นเต้ น น่าสนใจ ซึง่ อาจจาแนกความขัดแย้ งหลักๆ ในเรื่ องเล่าได้ 5 ประเภทคือ
- ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์ดว้ ยกัน ความขัดแย้ งแบบนี ้พบบ่อยในเรื่ องแนว
แอ็คชัน่ ที่พระเอกเป็ นฮีโร่ มีฝ่ายธรรมะ และฝ่ ายอธรรม
- ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ เช่นตัวละครต้ องเอาชนะกับภัย
ธรรมชาติ เช่นน ้าท่วม แผ่นดินไหว
- ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งเหนือธรรมชาติ มักพบในเรื่ องแนวภูตผี
ปี ศาจ
- ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กบั ระบบหรื อสังคม เช่นตัวละครเอกเป็ นนักเรี ยน
จอมเกเร และชอบโต้ แย้ งกับครู ทาให้ ถกู ไล่ออกจากโรงเรี ยน
- ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กบั ตัวเอง หรื อความขัดแย้งภายในจิ ตใจ เช่น ตัว
30

ละครตกอยูใ่ นภาวะลังเล ไม่ร้ ูจะตัดสินใจเลือกแต่งงานกับแฟนคนไหนดี


2.3 ตัวละคร (Character)
เป็ นการพิจารณาลักษณะตัวละครในแง่ความคิด พฤติกรรม และบทสนทนา
เพื่อดูวา่ แต่ละตัวมีลกั ษณะแบน (Flat Character) ซึง่ หมายถึงตัวละครที่มีนิสยั ดี-เลวชัดเจน
ไม่คอ่ ยมีพฒ ั นาการทางด้ านนิสยั และพฤติกรรม หรื อตัวละครที่มีลกั ษณะกลม (Round
Character) ซึง่ หมายถึงตัวละครที่เหมือนมนุษย์ปถุ ชุ นทัว่ ไป มีทงดี ั ้ -เลวในตัว มีการก้ าวพลาดใน
ชีวิต และมักมีพฒ ั นาการที่เปลี่ยนแปลงไปในตอนท้ ายเรื่ อง
นอกจากนี ้ยังอาจพิจารณาแบ่งได้ ตามตัวละครในนิทานพื ้นบ้ านของ
วลาดิเมียร์ พร็อพ (Vladimir Propp) ซึง่ ถูกนาไปใช้ วิเคราะห์บทบาทของตัวละครได้ ดงั นี ้
2.3.1 พระเอก ตัวละครหลักของเรื่ อง ที่ต้องเจอกับอุปสรรคและต้ องฟั นฝ่ า
ไปสูเ่ ป้าหมายอย่างใดอย่างหนึง่
2.3.2 นางเอก มักเป็ นตัวละครที่ต้องรอความช่วยเหลือจากพระเอก
2.3.3 ผู้ให้ มักหมายถึง อาจารย์ หรื อ ที่ปรึกษาของตัวละครเอก
2.3.4 ผู้ร้าย คือ ผู้ขดั ขวางพระเอก และเป็ นอุปสรรคหลักของเรื่ อง
2.3.5 ผู้ชว่ ยเหลือ คือ ผู้ที่คอยให้ ความช่วยเหลือตัวละครเอกในยามคับขัน
2.3.6 ผู้สง่ สาร คือ ผู้เห็นเหตุการณ์ร้าย และคอยส่งข่าวสารไปให้ ตวั ละครเอก
2.3.7 พระเอกปลอม คือ ผู้ร้าย ที่มกั แสร้ งทาเป็ นตัวละครดี
นอกจากนี ้ยังวิเคราะห์ได้ ตามการกระทาของตัวละคร ว่าเป็ นฝ่ ายกระทา
(เป็ นตัวผลักให้ เรื่ องเดินไปข้ างหน้ า) หรื อเป็ นฝ่ ายถูกกระทา (ถูกสังคมภายนอกกระทา) ได้ อีกด้ วย
2.4 แก่นเรื่ อง (Theme)
แก่นเรื่ อง หมายถึง สาระ หรื อแนวคิดหลักของเรื่ อง ซึง่ อาจเป็ นทัศนคติหรื อ
ความคิดเห็นของผู้เล่าเรื่ องที่มีตอ่ สังคม ต่อโลก โดยหากแบ่งแก่นความคิดของเรื่ องตามเนื ้อหาอาจ
แบ่งได้ 5 ชนิดดังนี ้ (Boggs อ้ างถึงใน ศิริพร ไฝศิริ, 2544)
- แก่นเรื่ องที่เกี่ยวกับศีลธรรม
- แก่นเรื่ องที่เกี่ยวกับชีวิต วิพากษ์ และประเมินสภาพของมนุษย์
- แก่นเรื่ องที่เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ พฤติกรรมมนุษย์ โดยนาเสนอ
มนุษย์คนหนึง่ ซึง่ เป็ นตัวแทนของมนุษย์ทงหมด ั้
- แก่นเรื่ องที่เกี่ยวกับการวิพากษ์สงั คม เสียดสี เพื่อต้ องการปฏิรูปสังคม
- แก่นเรื่ องเชิงปรัชญา ด้ วยการตังค ้ าถาม-คาตอบเชิงปรัชญา
31

2.5 ฉาก (Setting)


เป็ นองค์ประกอบสาคัญในเรื่ องเล่าทุกประเภท ฉากสามารถบ่งบอก
ความหมายบางอย่างของเรื่ อง มีอิทธิพลต่อความคิด หรื อการกระทาของตัวละคร ซึง่ ฉากที่ดี
จะต้ องไม่ทาให้ ผ้ ชู ม ผู้อา่ นรู้สึกว่าตัวละครมีความโดดเด่นกว่าฉาก และไม่กลืนหายไปกับฉาก
เพราะฉากมีหน้ าที่เสริมเรื่ องราวให้ ดสู มจริง และเพิ่มรายละเอียดในเรื่ องเวลา-สถานที่ในเรื่ อง
2.6 สัญลักษณ์ (Symbol)
สัญลักษณ์ที่สื่อความหมายพิเศษ อาจหมายถึงการกระทาของตัวละคร การ
จัดวางภาพ บทสนทนาของตัวละคร หรื อสิ่งใดก็ตามที่ผ้ เู ล่านาเสนอซ ้าๆ ในลักษณะที่ไม่ปกติ
เพื่อสื่อสารความหมายพิเศษบางอย่างในเรื่ อง ซึง่ มักเป็ นสิ่งที่ชว่ ยสนับสนุนแก่นเรื่ องให้ ชดั เจนขึ ้น
2.7 มุมมองในการเล่าเรื่ อง (Point of View)
มุมมองการเล่าเรื่ องแตกต่างจากมุมมองของภาพ โดยมุมมองของการเล่า
เรื่ องเปรี ยบเหมือนวิธีการเล่าเรื่ อง หรื อวิธีการเดินเรื่ องผ่านมุมมองของตัวละครใดตัวละครหนึง่ ใน
เรื่ อง หรื ออาจเล่าผ่านมุมมองตัวละครอื่นที่ไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับเรื่ อง โดยแบ่งมุมมองของเรื่ องได้
ดังนี ้
- มุมมองบุคคลที่ 1 คือตัวละครเอกเป็ นผู้เล่าเรื่ องเอง
- มุมมองบุคคลที่ 3 คือการที่ผ้ เู ล่าเรื่ อง ไม่ใช่ตวั ละครหลักในเรื่ องแต่
กล่าวถึงตัวละครอื่นที่ตวั เองพบเห็นหรื อเกี่ยวข้ องด้ วย เช่นผู้เล่าเป็ นเพื่อนสนิทของพระเอกในเรื่ อง
- มุมมองที่เป็ นกลาง คือการเล่าเรื่ องจากวงนอก เพื่อสร้ างความเป็ น
กลางในการเล่าเรื่ อง
- มุมมองแบบผู้ร้ ูรอบด้ าน หรื อ แบบสัพพัญญู คือการเล่าเรื่ องที่ไม่มี
ข้ อจากัดสามารถหยัง่ จิตใจของตัวละครทุกตัว ซึง่ เป็ นมุมมองที่เรื่ องเล่าส่วนใหญ่ใช้ มากที่สดุ

3. แนวคิดการสร้ าง และออกแบบบุคลิกลักษณะตัวละคร
การเล่าเรื่ องในการ์ ตนู มีพลังขับเคลื่อนหลักอยู่ที่ “ตัวละคร” อย่างมาก แม้ กระทัง่ นักเขียน
การ์ ตนู ระดับโลกอย่าง โทริ ยาม่า อากิระ (Toriyama Akira) ผู้สร้ างผลงานอย่าง ดร.สลัมป์ ดรา
ก้ อนบอลยังกล่าวไว้ ว่า “ก่อนที จ่ ะเขี ยนเนื อ้ เรื ่ องการ์ ตูนได้นนั้ ผูเ้ ขี ยนจะต้องคิ ดคาแร็ คเตอร์ หรื อตัว
ละครหลักๆ ของเรื ่องเสียก่ อน” (โทริยาม่า อากิระ, 2530: 30) นัน่ เพราะหากสร้ างตัวละคร
ออกมาได้ นา่ สนใจ มีเอกลักษณ์ สร้ างความน่าเชื่อถือและสร้ างอารมณ์ให้ ผ้ อู า่ นติดตามตัวละครไป
ตลอดทังเรื้ ่ อง ก็ยอ่ มเป็ นหนทางสร้ างรายได้ ที่ยงั่ ยืนให้ กบั นักเขียน เหมือนเช่น โดราเอมอน หรื อ
32

ปิ กาจู ซึง่ การสร้ างบุคลิกลักษณะตัวละคร (Characterization) ในเรื่ องเล่าส่วนใหญ่ ไม่วา่ จะ


ละคร นวนิยาย หรื อภาพยนตร์ มักมีหลักเกณฑ์ดงั นี ้ (จรูญพร ปรปั กษ์ ประลัย, 2552; ธรรมศักดิ์
เอื ้อรักสกุล, 2547: 46-53; นฤมล วรวิเชียรกุล, 2550: 7-38)
1. สร้ างบุคลิกตัวละครที่สอดคล้ องกับแก่นเรื่ อง (Theme)
ตัวละครที่จะช่วยให้ ผ้ อู า่ นเข้ าใจเรื่ องราวได้ ดีต้องตอบรับกับ “แก่น” หรื อ “ประเด็น” ของ
เรื่ อง บุคลิกตัวละครต้ องนาไปสูป่ ระเด็นที่ผ้ เู ขียนต้ องการจะบอก
2. หาความพิเศษให้ ตวั ละคร
ตัวละครที่ทาให้ ผ้ อู า่ นเบื่อหน่ายได้ ง่ายก็คือตัวละครที่พวกเขาพบเจอได้ บอ่ ยครัง้ ซึ่งตัว
ละครเหล่านี ้มักมีลกั ษณะแบนราบ เช่นตัวละครที่ทงชี ั ้ วิตมีแต่ความสุขสบาย ไม่เคยต้ องเจอ
ปั ญหาใดใดให้ ต้องแก้ ไข ไม่มีความซับซ้ อนในตัวให้ น่าค้ นหา หรื อตัวละครประเภทสูตรสาเร็จ
เช่นตัวโตต้ องสมองทึบ ผอมบางต้ องอ่อนแอ ขี ้แพ้ พระเอกต้ อง รูปหล่อ ฉลาด
และในเรื่ องเดียวกันตัวละครยังต้ องมีความแตกต่าง หลากหลาย ไม่มีความซ ้าซ้ อนทัง้
รูปร่างหน้ าตาภายนอก และนิสยั ใจคอภายใน ซึง่ การสร้ างความพิเศษหรื อความแตกต่างให้ กบั
ตัวละครนันอาจท
้ าได้ หลายรูปแบบเช่น
2.1 หาเครื่ องประดับ เสื ้อผ้ า ทรงผมที่แปลกตาให้ กบั ตัวละคร เช่น การ์ ตนู เรื่ อง
โจโจ้ ล่าข้ ามศตวรรษ ตัวละครทุกตัวจะมีจดุ เด่นอยูท่ ี่การออกแบบเสื ้อผ้ า เครื่ องแต่งกาย และ
เครื่ องประดับที่ “มากเกินจริง” ซึง่ ก็สง่ ผลให้ กลายเป็ นเอกลักษณ์ของผลงานและสร้ างความรู้สกึ
จดจาให้ กบั ผู้อ่าน

ภาพประกอบ 6 การออกแบบเครื่ องแต่ งกายในการ์ ตูนเรื่ องโจโจ้ ล่ าข้ ามศตวรรษ


ที่มา: http://lookeypeople.exteen.com/20120505/giogio-bizarre-adventure-part-v-golden-
wind
33

2.2 สร้ างคาพูดประจาตัวให้ ตวั ละคร เหมือนเช่นตัวละครอาราเล่ หุน่ เด็กหญิง


จอมพลังสิ่งประดิษฐ์ อนั แข็งแกร่งของ ดร.สลัมป์ ก็มกั มีคาพูดประจาตัวว่า “โอ๊ ะ โยะ โหย” หรื อ
ส่วน กัตจัง คูห่ ขู อง อาราเล่ แม้ จะพูดภาษามนุษย์ไม่ได้ แต่ก็มีคาพูดติดปากว่า “กุปิ๊ กุปิ๊โปะ” เป็ น
ต้ น (โทริยาม่า อากิร่า, 2530: 17-20)
2.3 ตัวละครต้ องมีชื่อที่เรี ยกง่าย โดดเด่น และจาได้ ง่าย แม้ ได้ ยินชื่อนันเพี้ ยง
ครัง้ เดียวก็ตาม
3. ตัวละครที่ดีต้องมีจดุ อ่อน
“ตัวละครที ไ่ ม่สมบูรณ์ แบบคื อตัวละครที ส่ มบูรณ์ แบบ” (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช,
สัมภาษณ์, 8 มีนาคม 2553)
คากล่าวของนักเขียนการ์ ตนู ไทยนอกกระแสข้ างต้ นหมายถึงการเติมจุดอ่อนให้ ตวั ละคร
ซึง่ เปรี ยบเหมือนหัวใจในการสร้ างคาแร็ คเตอร์ เพราะมนุษย์ทกุ คนไม่มีใครเกิดมาสมบูรณ์แบบ
เช่นอุลตร้ าแมนเก่งกาจทุกอย่างแต่มีจดุ อ่อนคืออยูบ่ นโลกมนุษย์ได้ แค่ 3 นาทีก็จะหมดแรง หรื อ
อาราเล่ก็ยงั มีวนั หมดพลังหากไม่ได้ สารอาหารจากโรโบวิตนั เอ ดังนันตั ้ วละครที่มีจดุ อ่อน หรื อ
ข้ อบกพร่องจะทาให้ ผ้ อู า่ นเข้ าถึงและหลงรักได้ ง่ายกว่าตัวละครที่สมบูรณ์แบบไปทุกด้ าน
4. เผชิญการต่อสู้จากทังภายนอก-ภายใน

การเติมอุปสรรค ปั ญหาจากภายนอก มักหมายถึงการสร้ างตัวละครผู้ร้ายให้ ตวั ละครดิ ้น
รนฟั นฝ่ า เอาชนะ ซึง่ เป็ นการสร้ างแรงผลักดันให้ ผ้ อู ่านติดตามลุ้นกับภารกิจการกาจัดตัวละคร
เหล่าร้ ายได้ แต่ตวั ละครที่ดีไม่ควรจะมีปมปั ญหาจากภายนอกเท่านัน้ เพราะการสร้ างปมปั ญหา
ภายในจิตใจจะช่วยทาให้ ตวั ละครไม่กลายเป็ น “ฮีโร่” จนเกินไป เหมือนเช่น บรูซ เวย์น ใน Batman
ก็มีปมเรื่ องความเป็ นเด็กกาพร้ า และความตายของพ่อแม่ที่ยงั เป็ นปริ ศนา
5. สร้ างตัวละครคูห่ ู หรื อสร้ างตัวละครแบบกลุม่
การสร้ างคูห่ ู หรื อเพื่อนคูค่ ิดให้ ตวั ละคร เป็ นอีกวิธีที่จะช่วยให้ ตวั ละครสามารถแบ่งปั น
อารมณ์ ความรู้สึก เล่าความฝั น หรื อถ่ายทอดความอึดอัดคับข้ องใจให้ ผ้ อู า่ นได้ รับรู้ได้ ดีทางหนึง่
โดยอาจสร้ างตัวละคร 2 ตัวที่มีความแตกต่างกัน อาจจะทางร่างกาย (เช่นอ้ วน-ผอม) หรื อทางนิสยั
(ใจร้ อน-ใจเย็น) หรื ออาจสร้ างตัวละครเป็ นคูห่ คู นธรรมดากับสัตว์เลี ้ยง ที่ไปไหนไปกันตลอด ซึง่ ก็
จะช่วยสร้ าง “ภาพจา” ให้ กบั ผู้อา่ นได้ ดีขึ ้น เหมือนเช่น โนบิตะ กับโดราเอมอน หรื อ ลิโล่ กับ
สติทช์ (Lilo and Stich) ส่วนการสร้ างตัวละครแบบกลุม่ เช่น โปเกมอน เซเลอร์ มนู ก็ชว่ ย
สร้ างความหลากหลาย และสีสนั ให้ กบั เรื่ องได้ ดีเช่นกัน
34

6. การสร้ างตัวร้ ายให้ แข็งแกร่ง


“เรื ่องไม่มีวนั เกิ ดขึ้น ตราบใดทีย่ งั ไร้เงาของตัวร้าย” (จรูญพร ปรปั กษ์ประลัย, 2552: 58)
คากล่าวของนักเขียนบทแอนิเมชัน่ นักวิจารณ์ และนักแปลอย่างจรูญพร ปรปั กษ์ ประลัย
ข้ างต้ นบ่งบอกถึงความสาคัญของการสร้ างคาแร็คเตอร์ ตวั ร้ าย ที่จะช่วยให้ ตวั ละครเอกโดดเด่น
และเสริมให้ เรื่ องราวน่าติดตามได้ เพราะตัวร้ ายคือภารกิจที่ตวั เอกต้ องพิชิต และทาให้ การต่อสู้
ของตัวเอกมีความหมาย ดังนันตั ้ วร้ ายจึงต้ องมีคณุ สมบัติ ความสามารถสูสีกับตัวเอก เหมือนเช่น
ตัวละครอย่าง Joker ใน Batman (The Dark Night) เป็ นต้ น
7. การออกแบบขนาด รูปทรง และสัดส่วนตัวละคร
หลังจากนักเขียนบทการ์ ตนู ได้ ใคร่ครวญแนวทางการสร้ างตัวละครข้ างต้ นมาอย่างดีแล้ ว
สิ่งสาคัญที่จะช่วยให้ “คาแร็คเตอร์ ” การ์ ตนู ออกมาน่าสนใจหรื อไม่นนยั ั ้ งต้ องขึ ้นอยู่กบั การลงมือ
วาดตัวการ์ ตนู นันๆ ้ ซึง่ ต้ องผสมผสานขนาด (Size) รูปทรง (Shape) สัดส่วน (Proportion) ให้
ออกมาสมดุลกันหรื ออาจมีสดั ส่วนเพิ่ม-ขยายให้ เข้ ากับเนื ้อเรื่ องอีกด้ วย
7.1 ขนาด (Size) ขนาดใหญ่ หรื อเล็กมีความสาคัญในแง่การสร้ างความรู้สกึ ที่
แตกต่างกัน โดยขนาดใหญ่จะให้ ความรู้สึกถึงน ้าหนักที่มาก แข็งแรง และมีอานาจเหนือกว่า
ส่วนขนาดเล็กให้ ความรู้สึกถึงน ้าหนักที่น้อย อ่อนแอ คล่องแคล่ว ว่องไว และมีลกั ษณะตกเป็ นเบี ้ย
ล่าง เช่น แมวกับหนูอย่าง ทอม และเจอร์ รี่ หรื อ ไจแอนท์ กับ ซูเนโอะ ใน โดราเอมอน ซึง่ โทริ
ยาม่า อากิร่า (2530: 5) ผู้เขียนการ์ ตนู ดราก้ อนบอลก็ให้ ความสาคัญในเรื่ องขนาดไว้ วา่
“การ์ ตูนจะขาดซึ่ งความสูงไม่ได้ ถ้าตัวการ์ ตูนทุกตัวสูงเท่ากันหมด ก็จะ
กลายเป็ นการ์ ตูนที พ่ ิ ลึกกึกกื อที ส่ ดุ ”
7.2 รูปทรง (Form) รูปทรงหลักแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
- Free From หรื อรูปทรงที่ไม่มีโครงสร้ างแบบแผนที่แน่นอน เช่น ก้ อนเมฆ ควัน
ไฟ รอยหมึกซึมบนผ้ า
- Simple Form คือรูปทรงแบบง่ายๆ ไม่ยงุ่ ยาก ซับซ้ อน มีโครงสร้ างแน่นอน เช่น
ลูกฟุตบอล โต๊ ะหนังสือ กรวยจราจร เป็ นต้ น ซึง่ ในการออกแบบการ์ ตนู แอนิเมชัน่ จะให้
ความสาคัญกับ Simple Form มากกว่า เพราะเป็ นรูปทรงที่สะดวกต่อการใช้ งาน และเป็ นที่จดจา
ของคนดูได้ มากกว่า และสามารถสื่อบุคลิกตัวละครได้ ชดั เจน โดยวงกลมจะให้ ความรู้สกึ อบอุน่
สว่าง ดึงดูดสายตา ส่วนสี่เหลี่ยมให้ ความรู้สกึ มัน่ คง ตรงไปตรงมา สามเหลี่ยมให้ ความรู้สึก
ตื่นเต้ น หวือหวา ซึง่ ในเรื่ องที่มีตวั ละครแบบกลุม่ ปรากฏอยูน่ นั ้ ขนาดและรูปทรงจาเป็ นต้ อง
แตกต่างกัน เพื่อสร้ างความไม่จาเจให้ กบั ผู้อ่าน
35

7.3 สัดส่วน (Proportion) โดยปกติแล้ วสัดส่วนของมนุษย์ เมื่อวัดโดยยึดขนาด


หัวหนึง่ ส่วน ความสูงตลอดตัวของผู้ใหญ่ก็จะมีสดั ส่วนประมาณเจ็ดส่วนครึ่ง สาหรับเด็กแต่ละ
ช่วงวัยก็จะมีสดั ส่วนลดหลัน่ ลงไปตามลาดับ แต่หลักการเขียนสัดส่วนมนุษย์ในงานการ์ ตนู จะไม่
วาดตามสัดส่วนจริง แต่ต้องเขียนให้ เกินจริงเข้ าไว้ นัน่ หมายถึงเขียนให้ น้อยกว่า หรื อมากกว่า
สัดส่วนจริงของมนุษย์

ภาพประกอบ 7 สัดส่ วนร่ างกายมนุษย์ สาหรั บตัวการ์ ตูนปกติ


ที่มา: http://drawsketch.about.com/od/animemanga/ss/mangabody.htm

แต่ทงนี
ั ้ ้การออกแบบสัดส่วนของตัวละครยังขึ ้นอยู่กบั ความถนัด และเอกลักษณ์
ของผู้เขียน นอกจากนี ้ยังต้ องพิจารณาว่าสัดส่วนเข้ ากับเนื ้อเรื่ องด้ วยหรื อไม่ เช่นหากเนื ้อหา
ค่อนข้ างรุนแรง เครี ยด การออกแบบสัดส่วนตัวละครก็อาจเน้ นความสมจริงเหมือนเช่น หมัดเทพ
เจ้ าดาวเหนือ แต่หากเนื ้อเรื่ องตอบสนองกลุม่ เด็ก แนวเรื่ องตลก ก็มกั จะออกแบบสัดส่วนที่เกิน
จริงมากกว่า และมักมีลกั ษณะเรี ยบง่าย ไม่ซบั ซ้ อนจนเกินไป เพราะจะสร้ างความจดจาและทา
ให้ เด็กๆ วาดตามได้ ง่าย เหมือนเช่นตัวการ์ ตนู อย่าง คิตตี ้ หรื อ โดราเอมอน

4. แนวคิดรู ปลักษณ์ นิยม (Formalism)


การจะค้ นหาแนวทางการเล่าเรื่ อง และการสร้ างบุคลิกลักษณะตัวละครในหนังสือการ์ ตนู
ญี่ปนให้ ุ่ เห็นภาพชัดเจนในแต่ละเรื่ องนัน้ ควรนาแนวคิดรูปลักษณ์นิยมเข้ ามาเป็ นกรอบในการ
วิเคราะห์ด้วย เนื่องจากแนวคิดของวิคเตอร์ ชคล็อฟสกี ้ (Victer Shklovsky, 1893-1984) นัก
36

รูปลักษณ์นิยมชาวรัสเซีย (Russian Formalism) เป็ นแนวคิดในการศึกษาศิลปะ และวรรณกรรม


ช่วงศตวรรษที่ 20 ที่มองว่าแก่นสาระของงานศิลปะ หรื อวรรณกรรมใดก็ตามต้ องมองแบบ “องค์
รวมเป็ นหนึง่ เดียว” หรื อศึกษาถึง “รูปลักษณ์” (Morphology) ซึง่ หมายถึงมิติทกุ ด้ าน ทุก
องค์ประกอบ และทุกส่วนของงาน โดยเขาเชื่อว่ารูปลักษณ์จะดารงอยูใ่ นฐานะที่เป็ น
ความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกันระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ระหว่างองค์ประกอบกับตัวงานโดยรวม
ไม่ได้ แยกเนื ้อหา กับรูปแบบออกจากกันเด็ดขาด โดยกรอบความคิดของรูปลักษณ์นิยม คือความ
เป็ นจริง ข้ อเท็จจริงใดๆ ที่ปรากฏในผลงาน เป็ นเพียงองค์ประกอบหนึง่ ของเรื่ องเล่า คอยทาหน้ าที่
เพิ่มสีสนั และความน่าสนใจให้ กบั ตัวงาน ไม่ได้ เป็ นเครื่ องยืนยันความเป็ นจริ งนอกตัวบท
วรรณกรรมแต่อย่างใด แนวคิดรูปลักษณ์นิยมจึงให้ ความสาคัญกับตัวบทของวรรณกรรม
ด้ วยการแสวงหาลักษณะทัว่ ไปอันเป็ นคุณสมบัตขิ องวรรณกรรมและพบว่า หัวใจของความเป็ น
วรรณกรรมอยูท่ ี่ การทาให้แปลก (Defamilarization) และ การทาให้เด่น (Foregrounding)
ซึง่ ความแปลก ความใหม่สด มีหน้ าที่เพื่อให้ ศลิ ปะกอบกู้สมั ผัสแห่งชีวิตที่คนเราได้ สญ ู เสียไป
เพื่อให้ เรารู้สกึ ถึงสรรพสิ่ง กลวิธีของศิลปะคือการทาให้ สรรพสิ่ง แปลกไปจากความคุน้ เคย
ก่อให้ เกิดผลลัพธ์เชิงสุนทรี ยะ และประสบการณ์เชิงสุนทรี ยะ คือการทาให้ แปลกในตัวศิลปะ
เรี ยกร้ องการทางานจากผู้รับสารหรื อผู้เสพให้ เอาชนะความยาก และเรี ยนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนกติกา
การเสพที่ตนเองคุ้นชินเสียใหม่ ทาให้ เกิดการทอดช่วงในการรับรู้ อันนาไปสูป่ ระสบการณ์เชิง
สุนทรี ยะในการเสพสื่อ (Shklovsky อ้ างถึงใน ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และคณะ, 2547: 19)
แนวคิดรูปลักษณ์นิยมที่นามาใช้ ในงานวิจยั ชิ ้นนี ้จึงมุง่ ค้ นหาวิธีสร้ างความแปลก หรื อการ
สร้ างความโดดเด่นในงานการ์ ตนู เพื่อหาคาตอบถึง “ตัวตน” หรื อเอกลักษณ์ของผลงานแต่ละ
เรื่ องนัน่ เอง

5. แนวคิดสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
นอกจากอารมณ์ขนั แล้ วแนวคิดสุนทรี ยศาสตร์ ซึง่ เป็ นศาสตร์ ที่ว่าด้ วยความงาม การตัง้
คาถามว่าความงามคืออะไร ศิลปะคืออะไร ก็เป็ นอีกแนวคิดที่ควรนามาใช้ เป็ นกรอบอ้ างอิง
เนื่องจากการ์ ตนู เป็ นสื่อที่ต้องอาศัยศิลปะทังด้
้ านภาพ และการถ่ายทอดเรื่ องราวที่ก่อให้ เกิด
“สุนทรี ยรส” ซึง่ หมายถึงรสชาติตา่ งๆ ที่ก่อให้ เกิดอารมณ์ ความงาม ความซาบซึ ้งแก่ผ้ เู สพงาน
ศิลปะ โดยจากทฤษฎีนาฏศาสตร์ ของอินเดียได้ แบ่งรสออกเป็ น 9 รสดังนี ้ (นิยะดา เหล่าสุนทร,
2543: 23-25)
1. ศฤงคารรส รสคือเหตุให้ เกิดความรัก
37

2. หาสยรส รสคือเหตุให้ เกิดการเย้ ยหยัน เป็ นรสแห่งความขบขัน สนุกสนาน


3. กรุณารส รสคือความกรุณา ความโศกเศร้ า
4. วีรรส รสคือความกล้ า ความมุง่ มัน่ อุตสาหะ
5. ภยานกรส รสคือความกลัว
6. พีภตั สรส รสคือความ ความเกลียดชัง
7. อัทภูตรส รสคือความอัศจรรย์ใจ
8. เราทรรส รสคือความโกรธ ความดุร้าย
9. ศานตรส รสแห่งความสงบ
การเกิดรสทัง้ 9 นี ้ก็คือความงามทางอารมณ์ หรื อสุนทรี ยะทางอารมณ์ ที่ก่อรูปก่อร่างขึน้
ในตัวผู้เสพผลงาน ซึง่ การเกิดรสนัน้ อาจเกิดคละเคล้ ากันไปหลากหลายรสในการเสพงานเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึง่

6. แนวคิดเกี่ยวกับสังคม และวัฒนธรรมญี่ปุ่น
เนื่องจากวัฒนธรรม สังคม และการดาเนินชีวิตของญี่ปนมี ุ่ ลกั ษณะเฉพาะตัว ดังนันการ ้
ทาความเข้ าใจกับสิ่งเหล่านี ้ จะช่วยให้ เข้ าใจความหมายของเรื่ องราวในการ์ ตนู ญี่ปนได้ ุ่ ชดั เจนขึ ้น
โดยแม้ วา่ วัฒนธรรมญี่ปนจะได้
ุ่ รับอิทธิพลจากจีน แต่ก็ดดั แปลงให้ เข้ ากับวิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ อง
ตัวเองจนหล่อหลอมให้ ญี่ปนมี ุ่ วฒ ั นธรรมเป็ นเอกลักษณ์ของตัวเอง ซึง่ เพ็ญศรี กาญจโนมัย
(2540: 9-75); ยุพา คลังสุวรรณ (2547: 127-149) ได้ กล่าวเอาไว้ ดงั นี ้
6.1 ศาสนาและความเชื่อ
ศาสนา หรื อลัทธิความเชื่อ มีอิทธิพลมากต่อการปูพื ้นฐานวัฒนธรรม ซึง่ ศาสนาที่มี
ผลต่อการดาเนินชีวิต และวัฒนธรรมของคนญี่ปนุ่ ก็คือ ศาสนาชินโต ศาสนาพุทธ และลัทธิขงจื๊อ
ซึง่ ถ้ าเปรี ยบวัฒนธรรมญี่ปนให้ ุ่ เป็ นเสมือนตันไม้ ต้นหนึง่ แล้ ว ศาสนาชินโตจะเป็ นลาต้ นและราก
แก้ วที่แข็งแรง ลัทธิขงจื๊อเป็ นเสมือนกิ่งก้ านสาขาและใบไม้ ส่วนศาสนาพุทธก็จะเป็ นดอกและผล
ที่สวยงามของต้ นไม้ นนั ้
6.1.1 ศาสนาชินโต
ชินโต แปลว่า วิถีแห่งเทพเจ้ า ชินโตเป็ นความเชื่อดังเดิ ้ มของญี่ปนที ุ่ ่เกิดขึ ้นจาก
วัฒนธรรมก่อนการอ่านออกเขียนได้ ของคนญี่ปนุ่ ซึง่ แนวคิดและหลักธรรมของศาสนาชินโต แบ่ง
ได้ ดงั นี ้
6.1.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับเทพเจ้ า
ศาสนาชินโตเชื่อว่าเมื่อมนุษย์สืบเชื ้อสายมาจาก “คามิ” หรื อเทพเจ้ า
38

ชินโต ค่านิยมของวัฒนธรรมและศาสนาดังเดิ ้ มของญี่ปนจึ ุ่ งอยูใ่ นลักษณะที่เป็ นความสัมพันธ์


ใกล้ ชิดระหว่างมนุษย์และคามิ ให้ การเคารพนับถือดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ จงรักภักดีในเทพ
เจ้ า มีความรักธรรมชาติ
6.1.1.2 เครื่ องราชกกุธภัณฑ์ทงั ้ 3
เครื่ องราชกกุธภัณฑ์ทงั ้ 3 คือ กระจก พลอย หรื อ อัญมณี มีค่า และ
ดาบเป็ นเครื่ องบ่งบอกเอกลักษณ์เด่นของคนญี่ปนุ่ โดยกระจกเป็ นตัวแทนคุณงามความดีและ
ความรอบรู้ โดยสะท้ อนให้ เห็นทุกสิ่ง ศาสนาชินโตจึงเน้ นหลักธรรมที่แสดงถึงความจริงใจของ
มนุษย์ที่มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ตอ่ หน้ าที่และการงาน ขยันและกระตือรื อร้ นที่จะดาเนินชีวิต
ในทางโลกด้ วยดี เพราะเป็ นความจริงที่กระจกสะท้ อนให้ เห็น ซึง่ มีผลให้ คนญี่ปนด ุ่ าเนินชีวิต
อย่างประหยัด เรี ยบง่าย และพยายามใช้ ชีวิตให้ เข้ ากับธรรมชาติ ส่วน อัญมณี เป็ นตัวแทนความ
เมตตากรุณา มีน ้าใจต่อกันและกัน ได้ พฒ ั นาแนวคิดนี ้โดยปรับเข้ ากับลัทธิขงจื๊อ จนกลายเป็ น
คุณธรรมในสังคมญี่ปนที ุ่ ่มีประเพณีกราบไหว้ บชู าบรรพบุรุษ อาวุโส เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
และ ดาบ เป็ นตัวแทนความยุตธิ รรม และแสดงถึงอานาจจากการขยายตัวทางพลังสร้ างสรรค์ของ
มนุษย์ที่สามารถป้องกันตัวและเอาชนะอุปสรรคได้
6.1.1.3 แนวคิดเรื่ องสิ่งดีและสิ่งร้ าย
เรื่ องราวของคามิแสดงให้ เห็นว่าทุกสิ่งสามารถกลับคืนสู่สภาพดีได้
มนุษย์จงึ สามารถเปลี่ยนสิ่งร้ ายให้ เป็ นสิ่งดีได้ เช่นกัน ศาสนาชินโตเชื่อในมนุษย์วา่ โดยธรรมชาติ
้ มของมนุษย์ ดีและบริ สทุ ธิ์ สิ่งชัว่ ร้ ายเกิดจากสิ่งแวดล้ อมภายนอก เป้าหมายสูงสุดของโลกก็
ดังเดิ
คือความดี เป็ นแนวคิดที่เชื่อในอานาจการสร้ างสรรค์ของมนุษย์
6.1.2 พุทธศาสนา
พุทธศาสนาได้ รับการเผยแพร่ในญี่ปนตั ุ่ งแต่
้ ศตวรรษที่ 6 ซึง่ อิทธิพลของพุทธ
ศาสนาในการปูพื ้นฐานคุณธรรม ศีลธรรมของคนญี่ปนจนกลายเป็ ุ่ นเอกลักษณ์คือ ความเมตตา
กรุณา ความซื่อสัตย์ ความมานะอดทน ความขยันขันแข็ง ความประนีประนอม และ ความ
เรี ยบง่าย ซึง่ สาขาหนึง่ ของพุทธศาสนาที่มีอิทธิพลโดดเด่นต่อชาวญี่ปนก็ ุ่ คือพุทธศาสนานิกาย
เซน
พุทธศาสนานิกายเซนเป็ นผลผลิตที่เกิดขึ ้นจากพุทธศาสนาของอินเดียและ
ปรัชญาเต๋าของจีน ในพุทธศาสนาสิ่งสาคัญคือการไม่มีตวั ตนและการอยูเ่ หนือสิ่งที่เป็ นคู่
ทังหลาย
้ ส่วนปรัชญาเต๋านันมี ้ ความรักในธรรมชาติและวิถีชีวิตที่เป็ นไปเอง เมื่อกระแสธรรมทัง้
สองสายมาบรรจบกันเข้ า ก่อให้ เกิดพุทธศาสนานิกายเซน จนเกิดคากล่าวขึ ้นมาคาหนึง่ ว่า “เซนมี
39

พ่อเป็ นพุทธ แม่เป็ นเต๋า” พุทธศาสนานิกายเซนเน้ นชีวิตในโลกนี ้ และมีหลักสาคัญคือธรรมชาติ


แห่งความเป็ นพุทธะอันเป็ นสากลกับการตรัสรู้อย่างฉับพลัน
ธรรมชาติแห่งความเป็ นพุทธะเป็ นสิ่งสากล มีอยูแ่ ล้ วในชีวิตของคนทุกคน เป็ น
ธรรมชาติเดิมแท้ ของสรรพสัตว์ทงหลาย ั้ “ความคิดปรุงแต่ง” เป็ นสิ่งที่บดบังธรรมชาติแห่งความ
เป็ นพุทธะนี ้ไว้ ก่อให้ เกิด “ตัวตน” และความยึดติดทังหลายขึ
้ ้นมา แบ่งแยกตัวเรากับสิ่งภายนอกให้
ออกจากกัน เมื่อความคิดปรุงแต่งถูกขจัดออกไป ตัวตนและความยึดติดทังหลายก็ ้ สญ
ู สิ ้น ไม่มีสิ่งที่
เป็ นของตรงกันข้ าม เช่น ตัวเรากับสิ่งภายนอก ดีกบั ชัว่ หญิงกับชาย ทุกข์กับสุข ฯลฯ ทุกสิ่งทุก
อย่างเป็ นเอกภาพเดียวกับธรรมชาติ และทังหมดเป็ ้ นเรื่ องของการตื่นขึ ้นโดยตรง หรื อการตรัสรู้โดย
ฉับพลัน
ในการขจัดความคิดปรุงแต่งนัน้ “สติ” เป็ นสิ่งที่สาคัญที่สดุ สติเป็ นสิ่งที่ตรงข้ าม
กับความคิดปรุงแต่ง เมื่อไม่มีสติ ความคิดปรุงแต่งก็เกิดขึ ้น เมื่อมีสติความคิดปรุงแต่งก็หายไป
การเจริญสติของเซ็นเรี ยกว่า “ซาเซ็น” เป็ นการปฏิบตั เิ พื่อให้ เกิดความรู้สกึ ตัวทัว่ พร้ อม เป็ นการ
ปลุกธาตุร้ ูในตัวให้ ตื่นขึ ้น เพื่อที่จะช่วยให้ หลุดออกมาจากวิธีคิดแบบตรรกะและความคิดปรุงแต่ง
ของตน ด้ วยการปฏิบตั ิ “ซาเซ็น” และการดาเนินชีวิตประจาวันที่เป็ นไปเองตามธรรมชาติ
บุคคลก็จะเกิด “ปรัชญา” ปั ญญารู้แจ้ งในสิ่งทังปวงตามที
้ ่เป็ นจริง
พุทธศาสนานิกายเซ็นมีอิทธิพลต่อวิถีการดาเนินชีวิตและความรู้สกึ นึกคิดของ
ชาวญี่ปนอย่ ุ่ างแนบแน่น ซึ่งถ่ายทอดผ่านศิลปวัฒนธรรมอันประณีตงดงามและเรี ยบง่าย ไม่วา่
จะเป็ นบทกวี ภาพเขียน ดนตรี การจัดสวนหิน หรื อพิธีชงชา
6.1.3 ลัทธิขงจื๊อ
ในขณะที่ศาสนาพุทธวางรากฐานสาหรับศีลธรรม และ ศิลปะของญี่ปนุ่ ลัทธิ
ขงจื๊อได้ วางรากฐานโครงสร้ างทางสังคมและการปกครองของญี่ปนุ่ ซึง่ ความซื่อสัตย์กตัญญูถือ
เป็ นคุณธรรมสูงสุดของขงจื๊อ ลักษณะเด่นของลัทธิขงจื๊อ คือความสานึกในความสาคัญของ
สังคมมนุษย์ และยอมรับความไม่เท่าเทียมกันของมนุษย์ เช่น ความไม่เท่าเทียมกันของผู้ปกครอง
และผู้ใต้ ปกครอง มีการกาหนดรูปแบบความสัมพันธ์ทงั ้ 5 คือความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ านาย-
ลูกน้ อง พ่อ-แม่-ลูก สามี-ภรรยา พี่ชาย-น้ องชาย และเพื่อน-เพื่อน ซึง่ เป็ นวิถีทางที่ทาให้ สงั คม
ดาเนินไปอย่างสุขสงบตามหลักธรรม 5 ประการ คือ ความซื่อสัตย์ ยุตธิ รรม จงรักภักดี เห็นอกเห็น
ใจ และความรัก ลัทธิขงจื๊อได้ ชื่อว่าเป็ นผู้วางรากฐานของลัทธิบชู ิโด หรื อ นักรบ ให้ แก่สงั คม
ญี่ปนุ่ ทาให้ คนญี่ปนเคารพผู
ุ่ ้ อาวุโส ให้ ความสาคัญกับการศึกษา รักความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยใน
40

สังคม และมีความสามัคคีกนั ซึง่ การจะสร้ างความสามัคคีในชาติให้ เข้ มแข็ง ลัทธิขงจื๊อในญี่ปนุ่


จึงเน้ นให้ ประชาชนต้ องจงรักภักดีตอ่ เจ้ านายอย่างแน่นแฟ้น และเน้ นความกลมกลืนกันในสังคม
6.2 สังคมและชีวิตความเป็ นอยู่
สังคมญี่ปนเป็ ุ่ นสังคมแนวดิง่ อยู่บนพื ้นฐานของการจัดลาดับชันและต ้ าแหน่ง มีการ
กาหนดสิทธิความรับผิดชอบของคนแต่ละชันแต่ ้ ละตาแหน่งว่าควรมีบทบาทหน้ าที่อย่างไร และให้
ความสาคัญแก่กลุม่ มากกว่าปั จเจกบุคคล ซึง่ ยุพา คลังสุวรรณ (2547: 229-260) ได้ กล่าวถึง
สังคมและวิถีชีวิตของคนญี่ปนไว้ ุ่ ดงั นี ้
6.2.1 ลักษณะความสัมพันธ์ทางสังคม
6.2.1.1 สังคมอิงกลุม่
สังคมญี่ปนไม่ ุ่ แสดงความเป็ นปั จเจกชนนิยม เพราะมีการจัดลาดับ
ชันทางสั
้ งคม และระบบอาวุโส โดยเฉพาะผู้มีประสบการณ์ อานาจ และทรัพย์มากกว่า ต้ อง
คุ้มครองผู้ด้อยอาวุโส และผู้ที่ระดับทางสังคมต่ากว่า คนญี่ปนทุุ่ กคนมีพนั ธะหน้ าที่ติดตัวมา
ตังแต่
้ เกิด เริ่มจากครอบครัว ตระกูล และต่อประเทศ พันธะต่างๆ เหล่านี ้มีไว้ เพื่อสร้ างความกลม
เกลียว และอยูร่ ่วมกันอย่างสงบสุข ดังนันพั ้ นธะที่มีตอ่ กันจึงสร้ างความผูกพัน กลายเป็ นประเพณี
ปฏิบตั ทิ ี่ต้องช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
6.2.1.2 บุญคุณต้ องทดแทน ความแค้ นต้ องชาระ
การดาเนินชีวิตของสังคม ญี่ปนยั ุ่ งถูกควบคุมด้ วยพันธะหน้ าที่หนี ้
บุญคุณซึง่ เป็ นพันธะที่ต้องตอบแทนทังต่ ้ อองค์จกั รพรรดิ บิดามารดา เจ้ านาย ครู และผู้ให้ ความ
ช่วยเหลือ บุญคุณจึงเป็ นหนี ้ที่ต้องตอบแทน การไม่ตอบแทนบุญคุณจึงเปรี ยบเหมือนทาผิด
บรรทัดฐานของสังคม ดังนันสั ้ งคมญี่ปนจึ ุ่ งเป็ นสังคมแห่งการตอบแทน และการพึง่ พา
6.2.1.3 คนใน คนนอก
การให้ ความสาคัญต่อกลุม่ สูงทาให้ คนญี่ปนนึ ุ่ กถึงความคิดของคนใน
กลุม่ มากกว่าทาตามจิตสานึกของตัวเอง กลายเป็ นที่มาของคาว่า “คนใน” (Uchi) และ “คน
นอก” (Soto) คนญี่ปนจึ ุ่ งระวังกับการติดต่อกับคนนอกกลุม่ เป็ นสังคมที่รับคนนอกกลุม่ ยาก
6.2.2 ลักษณะความสัมพันธ์ของครอบครัว
ครอบครัวชาวญี่ปนในสมั ุ่ ยก่อนสงคราม ประกอบด้ วยสมาชิก 3 รุ่น คือรุ่นพ่อแม่
ลูกและ หลาน อาศัยอยูร่ ่วมกัน มีสามีเป็ นเสาหลักของครอบครัว และเป็ นผู้มีสิทธิ์ขาดในฐานะ
หัวหน้ าครอบครัว แต่หลังสงคราม สถานภาพของภรรยาสูงขึ ้นมาก สามารถแสดงความคิดเห็น
ของตนเองได้ ในฐานะท่าเทียมกับสามี
41

6.2.3 สถานภาพทางสังคม
สถานภาพ ทังด้ ้ านตาแหน่งหน้ าที่ในกลุม่ และระหว่างชายหญิงนันไม่ ้ เท่ากัน
โดยสถานภาพของผู้หญิงญี่ปนต ุ่ ่ากว่าผู้ชาย สังคมญี่ปนเป็ ุ่ นสังคมของผู้ชาย ซึง่ ผู้หญิงไม่เพียง
ไม่ตอ่ ต้ าน แต่ยงั ส่งสริมให้ ผ้ ชู ายได้ เป็ นใหญ่อีกด้ วย
6.3 ศิลปวัฒนธรรม
ศิลปวัฒนธรรมญี่ปนได้ ุ่ รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซ็นมากที่สุด โดยเฉพาะ
ศิลปะชันสู ้ ง ความงามหรื อสุนทรี ยะในทัศนะคนญี่ปนก็ ุ่ คือความงามของธรรมชาติเป็ นสาคัญ
หลักของศิลปะญี่ปนที ุ่ ่แท้ จริงคือการพยายามเข้ าถึงธรรมชาติ หรื อหากเข้ าถึงไม่ได้ ก็มกั จะ
เลียนแบบธรรมชาติ หรื อสร้ างสิ่งที่ระลึกถึงธรรมชาติ ในเรื่ องวัฒนธรรมก็เช่นเดียวกัน ชาวญี่ปนุ่
เป็ นชนชาติที่สงั เกตธรรมชาติและใช้ ชีวิตเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติ

งานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง
จากการทบทวนงานวิจยั เกี่ยวกับหนังสือการ์ ตนู ทังของญี
้ ่ปนุ่ ไทย สหรัฐอเมริ กาตังแต่
้ พ.ศ.
2532 จนถึงปั จจุบนั มีงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องดังนี ้
สุวรรณา สันคติประภา (2532) ศึกษาพฤติกรรมการอ่านและการเลือกอ่านหนังสือ
การ์ ตนู ญี่ปนของเด็
ุ่ กไทยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยศึกษากลุม่ ตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนชายหญิงชัน้
ประถมศึกษาปี ที่ 4-6 จากโรงเรี ยน 10 แห่งในกรุงเทพฯ 5 เขต จานวน 345 คน ผลการวิจยั พบว่า
กลุม่ ตัวอย่างร้ อยละ 97 เคยอ่านหนังสือการ์ ตนู ร้ อยละ 69.5 เพศชายพึงพอใจและความถี่ในการ
เปิ ดรับสูงมากกว่าเพศหญิง โดยปั จจัยที่มีผลต่อการเปิ ดรับและพฤติกรรมการอ่านหนังสือการ์ ตนู
ญี่ปนของเด็
ุ่ กคือความพึงพอใจในสื่อ และแรงจูงใจจากการดูภาพยนตร์ การ์ ตนู ทางโทรทัศน์
รวมทังยั ้ งมีปัจจัยจากเพื่อน พี่น้อง ที่สนับสนุนให้ อ่านก็จะมีปริมาณการอ่านหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่
สูงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ แต่ก็นา่ สนใจว่าแม้ ปัจจัยด้ านบุคคลแวดล้ อมจะส่งผลต่อการรับสื่อ
ของเด็กกลับพบว่าเด็กส่วนใหญ่ถึงร้ อยละ 80.6 เลือกอ่านหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนด้ ุ่ วยตัวเอง
มาณิษา พิศาลบุตร (2533) ได้ ศกึ ษาการสื่อความหมายในนิตยสารการ์ ตนู ขายหัวเราะ
ฉบับกระเป๋ า โดยพิจารณาด้ านรูปแบบ และเนื ้อหาของการ์ ตนู ขายหัวเราะว่าสะท้ อนภาพ
เหตุการณ์ สังคมไทยอย่างไร และได้ วิเคราะห์ความขบขันที่ผ้ อู า่ นได้ รับจากการอ่าน ซึ่งผลการวิจยั
พบว่า ภาพการ์ ตนู ในขายหัวเราะฉบับกระเป๋ าเกิดจากการนาแก่นเรื่ อง โครงเรื่ อง ฉาก ตัวละคร
บทสนทนา และวัตถุดบิ ที่หาได้ จากแหล่งต่างๆ คือชีวิตจริง สื่อมวลชน และจากผู้อา่ นมา
ผสมผสานเป็ นเหตุการณ์ที่ดาเนินเรื่ องราวไปตามกรอบของภาพการ์ ตนู ทังรู้ ปแบบที่เป็ นกรอบ
42

เดียว และหลายกรอบจบ โดยทุกภาพจะมีสว่ นประกอบที่ขาดไม่ได้ คือ การสอดแทรกความขบขัน


ผ่านมุขตลก 7 ประเภท คือ การซ่อนปม การหักมุม การทาเรื่ องใหญ่เป็ นเรื่ องเล็ก ความแตกต่าง
ระหว่างยุคสมัย การใช้ ศพั ท์เฉพาะวงการ การใช้ ลกั ษณะนิสยั และความเป็ นอยู่ สิ่งเกินความจริง
ส่วนเนื ้อหาที่สะท้ อนเหตุการณ์ในสังคมไทยนัน้ พบว่าผู้เขียนสะท้ อนจากเรื่ องราวที่ปรากฏใน
สื่อมวลชน โดยนาเสนอผ่านการล้ อเลียน โดยเลือกเรื่ องที่ทนั สมัย แต่บางเรื่ องก็อาจเป็ นเรื่ องร่วม
สมัยด้ วยเช่นกัน
ดวงรัตน์ กมโลบล (2534) ได้ ศกึ ษาลักษณะการสร้ างอารมณ์โดยสังคมในการ์ ตนู ญี่ปนุ่
ทางโทรทัศน์ชดุ “โดราเอมอน” ซึง่ ผลจากการศึกษาพบว่าลักษณะอารมณ์ที่สร้ างโดยสังคมที่
ปรากฏในการ์ ตนู ชุดนี ้แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ อารมณ์สขุ โกรธ เศร้ า กลัว และริษยา โดยอารมณ์
เหล่านี ้ถูกกาหนดพฤติกรรมการแสดงออกโดยสังคม 4 ประการ คือค่านิยมทางศาสนา เพื่อนและ
กลุม่ สังคม ค่านิยมด้ านการศึกษา และบรรทัดฐานการดาเนินชีวิตชาวญี่ปนุ่
นวลทิพย์ ปริญชาญสกุล (2538) ศึกษาความต้ องการและความสนใจด้ านรูปแบบ
หนังสือการ์ ตนู ของเด็กไทย ศึกษาเชิงวิเคราะห์เปรี ยบเทียบกรณีเด็กในเขตกรุงเทพมหานครและ
เด็กในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากกลุม่ ตัวอย่างเด็กนักเรี ยนชายและหญิงอายุ 11-12 ปี
กาลังศึกษาชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 6 และเด็กนักเรี ยนชายหญิง อายุ 14-15 ปี กาลังศึกษาชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และจากโรงเรี ยนต่างๆ ในเขตกรุงเทพฯ
รวมกลุม่ ตัวอย่างทังสิ้ ้น 600 คน พบผลการศึกษาดังนี ้ ด้ านพฤติกรรมการอ่านหนังสือการ์ ตนู
พบว่ากลุม่ ตัวอย่างนิยมอ่านหนังสือการ์ ตนู 2-3 วันต่อสัปดาห์ และจานวน 1-2 เล่มต่อสัปดาห์
โดยประเภทของการ์ ตนู ที่ได้ รับความนิยมมากที่สดุ คือ การ์ ตนู ญี่ปนุ่ รองลงมาคือการ์ ตนู ไทยและ
การ์ ตนู ตะวันตก กลุม่ ตัวอย่างเป็ นผู้เลือกหนังสือมาอ่านด้ วยตัวเอง ส่วนรูปแบบของหนังสือ
การ์ ตนู ที่เด็กในเขตกรุงเทพฯ และเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ต้องการ พบว่า ชอบเนื ้อหา
ประเภทตลกขบขันมากที่สดุ รองลงมาคือประเภทบู๊ ต่อสู้ ผจญภัย สงคราม และรักโรแมนติค
และยังนิยมการจัดรูปเล่มแนวตังมากที ้ ่สดุ ต้ องการให้ การ์ ตนู มีขนาดเล็กและเป็ นภาพสีที่มีการ
วาดภาพเหมือนจริง รวมทังชอบตั ้ วหนังสือแบบตัวพิมพ์ชดั เจนมากที่สดุ รองลงมาคือตัวเขียน
บรรจงเพื่อง่ายต่อการอ่าน นอกจากนี ้กลุม่ ตัวอย่างยังเห็นว่าการ์ ตนู ให้ ประโยชน์ด้านความ
เพลิดเพลินใจและช่วยให้ เกิดจินตนาการกว้ างไกล แต่ก็ให้ โทษเพราะมีสว่ นให้ การเรี ยนตกต่าลง
ธรรมจักร อยู่โพธิ์ (2538) ศึกษาระดับความชอบและพฤติกรรมบริโภคหนังสือการ์ ตนู
ญี่ปนของเด็
ุ่ กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร และวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยที่
เกี่ยวกับผู้บริ โภคคือ เพศ ระดับการศึกษา และรายได้ คา่ ขนมต่อการบริโภคหนังสือการ์ ตนู โดยใช้
43

แบบสอบถามกับกลุม่ ตัวอย่างนักเรี ยนชายและหญิงในระดับประถมศึกษาตอนปลาย และระดับ


มัธยมศึกษาทังตอนต้้ นและตอนปลาย จากโรงเรี ยนทังภาครั้ ฐและเอกชนในกรุงเทพฯ จานวน 396
คน พบว่าเยาวชนส่วนใหญ่นิยมอ่านหนังสือการ์ ตนู แนวตลกขบขันมากที่สดุ และเลือกซื ้อหนังสือ
การ์ ตนู ด้ วยตัวเองเฉลี่ยเดือนละ 5 เล่ม โดยเด็กผู้ชายส่วนใหญ่อา่ นหนังสือการ์ ตนู เกือบทุกวัน
เด็กผู้หญิงจะอ่านนานๆ ครัง้ ส่วนเด็กนักเรี ยนมัธยมปลายทังชายและหญิ ้ งอ่านการ์ ตนู ในระดับ
เกือบทุกวัน มากกว่าเด็กนักเรี ยนในระดับอื่น ขณะที่ช่วงเวลาที่เด็กและเยาวชนนิยมอ่านการ์ ตนู
คือระหว่างเย็นถึงกลางคืน ครัง้ ละ 1-2 ชัว่ โมง สาหรับปั จจัยที่มีบทบาทต่อการตัดสินใจซื ้อหนังสือ
การ์ ตนู ได้ แก่ภาพลายเส้ นการ์ ตนู ราคา และลิขสิทธิ์
จุฑามาศ สุกิจจานนท์ (2539) ศึกษาถึงจริยธรรมที่ปรากฏในภาพยนตร์ การ์ ตนู ของ
วอลท์ ดิสนีย์ โดยศึกษาถึงเนื ้อหาและการสื่อความหมายด้ านจริยธรรมในภาพยนตร์ การ์ ตนู
เรื่ องสโนว์ไวท์กบั คนแคระทังจ็
้ ด เงือกน้ อยผจญภัย และ เดอะ ไลออน คิงส์ ซึง่ พบว่าสะท้ อน
จริยธรรมด้ านความรักพวกพ้ อง ความเคารพเชื่อฟั งผู้ใหญ่ ความกตัญญู ความรับผิดชอบ ความ
เมตตา ความกล้ าหาญ และความเคารพในสิทธิของตัวเอง และผู้อื่น ซึง่ ผู้รับสารสามารถรับรู้และ
ตีความสิ่งที่ปรากฏในภาพยนตร์ ได้ ถกู ต้ อง
กิตมิ า สุรสนธิ (2540) ศึกษาเรื่ องความเหมาะสมของเนื ้อหาในนิตยสารการ์ ตนู ไทย
ยอดนิยมที่มีตอ่ เด็ก (กรณีเฉพาะนิตยสารการ์ ตนู รายสัปดาห์ขายหัวเราะ) โดยแบ่งเนื ้อหาการ์ ตนู
ออกเป็ น 2 แนว คือแนวธุรกิจ ซึง่ มีเนื ้อหาเกี่ยวกับไสยศาสตร์ ภูตผีปีศาจ กามารมณ์ เรื่ อง
อาชญากรรม เป็ นต้ น และแนวสร้ างสรรค์ จะมีเนื ้อหาความรู้ ข่าวสาร คุณธรรมวัฒนธรรม
ประเพณี ซึง่ ก็พบว่าการ์ ตนู ขายหัวเราะมีเนื ้อหาแนวธุรกิจมากกว่าแนวสร้ างสรรค์ถึง 3 เท่า และมี
คาพูด หรื อภาพบางประเภทที่ไม่เหมาะสมกับผู้อา่ นที่เป็ นเด็ก แต่เนื ้อหาแนวสร้ างสรรค์นนก็ ั ้ เป็ น
เนื ้อหาที่มีสาระ โดยนาหัวข้ อข่าวมาเสนอเป็ นมุขตลก การนาประวัติศาสตร์ วรรณคดี มาใช้ ในการ
ให้ สาระและบันเทิงควบคูก่ นั แต่โดยภาพรวมผู้วิจยั เห็นว่าการ์ ตนู ขายหัวเราะมีเนื ้อหาเหมาะสม
กับเด็ก และจะสมบูรณ์ยิ่งขึ ้นหากปรับเนื ้อหาบางส่วนให้ เหมาะสมเพื่อยกระดับคุณภาพของ
การ์ ตนู ไทยที่ตอบสนองทังก ้ าไรในเชิงธุรกิจ และประโยชน์เชิงสังคมไปพร้ อมกัน
ทรงพล สร้ อยสุวรรณ (2541) ศึกษาลักษณะการนาเสนอเนื ้อหาที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องเพศ
ในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ โดยศึกษาจากการ์ ตนู ญี่ปนุ่ 3 เรื่ อง คือ Hen ข้ าชื่อโคทาโร่ภาคยูโด และ
City Hunter พบว่าการ์ ตนู ทัง้ 3 เรื่ องมีปริมาณการนาเสนอเนื ้อหาที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องเพศในระดับ
ปานกลางหรื อทะลึง่ และระดับสูงหรื อลามากอนาจาร โดยปริมาณการนาเสนอเนื ้อหาที่เกี่ยวข้ อง
กับเรื่ องเพศพบในหนังสือการ์ ตนู ที่มีกลุม่ เป้าหมายเป็ นวัยรุ่นหญิงมากกว่าวัยรุ่นชาย ผ่านการ
44

นาเสนอเนื ้อหาด้ วยภาพเป็ นหลัก ภาษาเป็ นส่วนเสริม และเป็ นการนาเสนอแบบจะแจ้ ง ไม่อ้อม


ค้ อม
ภัทรหทัย มังคะดานะรา (2541) ศึกษาการนาเสนอลักษณะของวีรบุรุษในหนังสือ
การ์ ตนู ญี่ปนในประเทศไทย
ุ่ (พ.ศ.2536-2540) โดยทาการวิเคราะห์หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนแนว ุ่
วีรบุรุษ 10 เรื่ อง ซึง่ พบว่าโดยภาพรวมวีรบุรุษมีคณ ุ ธรรมคล้ ายกัน แต่แตกต่างกันในรายละเอียด
ของรูปแบบการนาเสนอภารกิจ และหน้ าที่ที่ปฏิบตั ิ โดยลักษณะของวีรบุรุษตังแต่ ้ วยั เด็กจนถึงวัย
ผู้ใหญ่ ได้ รับการฝึ กฝนจนมีความสามารถในด้ านต่างๆ เพิ่มขึ ้น ได้ ผจญภัยและพบอุปสรรค ได้
กลับเข้ าสูส่ งั คม ช่วยเหลือสังคม เพื่อนมนุษย์ ประเทศชาติ จนได้ รับการยกย่องว่ามีความสามารถ
เหนือผู้อื่น ลักษณะของวีรบุรุษจะเน้ นความสามารถเชิงกีฬา การต่อสู้ จากความมุง่ มัน่ มานะ
พยายามฝึ กฝนตนเอง และเสาะแสวงหาความรู้ แม้ จะมีคณ ุ ลักษณะทังด้ ้ านดีและไม่ดี แต่ก็ได้
ปรับปรุงตนเอง และแสดงออกถึงความเป็ นผู้มีคณ ุ ธรรม เหมาะจะเสริมสร้ างประสบการณ์ทางอ้ อม
แก่เด็ก และสร้ างเสริมคุณธรรม ปลูกฝั งนิสยั ที่ดีแก่เด็ก โดยใช้ ภาพและสัญลัก ษณ์ที่ทาให้ เด็กเข้ า
ในได้ ง่ายขึ ้น
ชไมพร สุขสัมพันธ์ (2541) ศึกษาการวิเคราะห์สญ ั ญะ รหัส และกระบวนการสร้ างรหัส
ในการ์ ตนู ญี่ปนุ่ โดยเป็ นการวิเคราะห์กระบวนการสร้ างรหัสในการ์ ตนู ญี่ปนุ่ และการใช้ เส้ นใน
ลักษณะต่างๆ 15 เรื่ องที่มีวางจาหน่ายในช่วงเวลามิถนุ ายน – ธันวาคม 2541 ซึง่ พบว่าการเล่า
เรื่ องในการ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ แบบแผน 6 แบบที่แน่นอน เช่น แบบที่ 1 พระเอกออกเดินทาง ผู้ร้ายต่อสู้กบั
พระเอก ผู้ชว่ ยช่วยเหลือพระเอกและพระเอกชนะผู้ร้าย แบบที่ 2 นางเอกพบพระเอก ผู้ร้าย
ขัดขวางความสัมพันธ์ระหว่างพระเอกและนางเอก ผู้ช่วยช่วยเหลือพระเอกและหรื อนางเอก และ
นางเอกเข้ าใจกับพระเอก เป็ นต้ น ส่วนของสัญญะในการตูนญี่ปนประกอบด้
ุ่ วยสัญญะ 3
ประเภท คือ 1. ภาพเหมือน ได้ แก่ธรรมชาติ เครื่ องแต่งกาย วัตถุสิ่งของเครื่ องใช้ และสิ่งก่อสร้ าง
2. ดัชนี ได้ แก่ขนาดของตัวการ์ ตนู เสื ้อผ้ าเครื่ องแต่งกาย การแสดงอารมณ์ท่าทาง การใช้ แสงสีของ
ฉาก และการใช้ เส้ นในลักษณะต่างๆ และ 3. สัญลักษณ์ ได้ แก่สญ ั ลักษณ์แทนคาพูด คาบรรยาย
แทนอารมณ์ แทนเสียง นอกจากนันการ์ ้ ตนู ญี่ปนยัุ่ งประกอบด้ วยรหัส 4 ประเภท คือรหัสที่
เกี่ยวกับวัตถุสิ่งของเครื่ องใช้ , ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล, วัฒนธรรมประเพณี, เกี่ยวกับบุคคล ซึง่
รหัสเหล่านี ้ถูกสร้ างจากวัฒนธรรมญี่ปนในด้ ุ่ านประเพณี กิจกรรมการละเล่น นิทาน การบริ โภค
การกินอยู่ การแต่งกาย การแสดงอารมณ์ การสื่อความหมาย และการพักผ่อน
ทัศนา สลัดยะนันท์ (2543) ศึกษาถึงเบื ้องหลังความสาเร็จของการ์ ตนู ญี่ ปนที ุ่ ่มีตอ่ เด็ก
และเยาวชนไทย โดยใช้ วิธีสมั ภาษณ์รายบุคคล จากกลุม่ ตัวอย่างที่ใช้ การสุม่ ตัวอย่างอย่างง่าย
45

เป็ นเด็กและเยาวชนจานวน 59 คน อายุระหว่าง 8-22 ปี แบ่งเป็ นชาย 30 คน และหญิง 29 คน


ผลการวิจยั พบว่า กลุม่ ตัวอย่างร้ อยละ 78 อ่านการ์ ตนู ญี่ปนวั ุ่ นละ 1-3 เล่ม โดยแนวเรื่ องที่ชอบ
อ่านสามอันดับแรกได้ แก่ เรื่ องตลก ตื่นเต้ น ผจญภัย และเรื่ องการต่อสู้แข่งขัน ส่วนสาเหตุที่กลุม่
ตัวอย่างชอบอ่านการ์ ตนู ญี่ปนเนื ุ่ ่องจากแนวเรื่ องหลากหลาย ตื่นเต้ น เร้ าใจ ส่งเสริมจินตนาการ
โครงเรื่ องชวนติดตาม ตัวละครมีความหลากหลาย เหมือนจริง น่ารัก ภาพสวยงาม มีรายละเอียด
มาก รูปเล่มกะทัดรัด แข็งแรง ปกสวย เรื่ องมีคติ ให้ สาระ สนุก นอกจากนี ้กลุม่ ตัวอย่างในช่วงอายุ
8-10 ปี อยากเป็ นเหมือนตัวละครในการ์ ตนู มาก แต่ในกลุม่ ที่อายุมากขึ ้นมีความอยากเป็ น
เหมือนตัวละครน้ อยลง ขณะที่การ์ ตนู ในรูปของสื่อโทรทัศน์ วีดทิ ศั น์ และเกมส์ มีส่วนช่วยให้ กลุม่
ตัวอย่างวัย 8-10 ปี ชอบอ่านการ์ ตนู ญี่ปนมาก ุ่ และลดลงในกลุม่ ตัวอย่างอายุมากขึ ้น ส่วนข้ อ
ได้ เปรี ยบของการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่เหนือกว่าการ์ ตนู ไทยที่สาคัญก็คือ การ์ ตนู ไทยมีเนื ้อหาซ ้าๆ ไม่ทนั สมัย
ส่วนการ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ เนื ้อหาหลากหลาย ตื่นเต้ น มีเรื่ องเกี่ยวกับเครื่ องยนต์กลไก ภาพสวยกว่า
นอกจากนี ้ยังมีข้อเสนอแนะว่าการ์ ตนู ไทยควรมีความแปลกใหม่ มีความคิดสร้ างสรรค์มากขึ ้น มี
เนื ้อหาเชิงพัฒนาสังคม
และจากงานวิจยั ชิ ้นนี ้ผู้วิจยั ก็สามารถต่อยอดองค์ความรู้จากงานวิจยั ที่กล่าวมาได้ ใน
หลายประเด็น โดยตังค ้ าถามเพื่อหาคาตอบขยายองค์ความรู้เดิมว่าแนวเรื่ อง เนื ้อหา ลายเส้ นของ
การ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่คนไทยชื่นชอบเป็ นอย่างไร เช่นความตื่นเต้ นในการ์ ตนู ญี่ปนเกิ ุ่ ดจากการผูกเรื่ องราว
ให้ ซบั ซ้ อน หรื ออาจเกิดจากการสร้ างตัวละครให้ มงุ่ มัน่ ฟั นฝ่ าอุปสรรคอย่างแน่วแน่ เป็ นต้ น
ชุตมิ า ธนูธรรมทัศน์ (2546) ศึกษาวัฒนธรรมญี่ปนในการ์ ุ่ ตนู ซึง่ พบว่าแก่นความคิด
ของการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่แสดงออกถึงความมานะพยายามของตัวละครที่ต้องการบรรลุสิ่งที่
มุง่ หวัง ด้ วยความอดทนและขยันหมัน่ เพียร ซึง่ เป็ นลักษณะเด่นของวัฒนธรรมญี่ปนุ่ ส่ วนค่านิยม
นันพบว่
้ า ค่านิยมดังเดิ ้ มของญี่ปนยั ุ่ งปรากฏอยูม่ ากในการ์ ตนู ได้ แก่คา่ นิยมความเป็ นกลุม่ และ
สานึกต่อกลุม่ ค่านิยมความมานะพยายาม ค่านิยมความซื่อสัตย์ จงรักภักดีและกล้ าหาญ
ค่านิยมความมีระเบียบวินยั ส่วนค่านิยมที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปคือ การจัดอันดับสูง ต่าที่เน้ น
ความสามารถแทนความอาวุโสมากขึ ้น และค่านิยมที่แสดงความเป็ นปั จเจกบุคคลมากกว่าเป็ น
กลุม่ ซึง่ เป็ นลักษณะที่มีการเปลี่ยนแปลงด้ านวัฒนธรรม
นับทอง ทองใบ (2548) ศึกษานวลักษณ์ในการเล่าเรื่ องและเอกลักษณ์ในภาพยนตร์
แอนิเมชัน่ ของฮายาโอะ มิยาซากิ ผู้กากับชาวญี่ปนุ่ โดยวิเคราะห์เนื ้อหาจากภาพยนตร์ แอนิเมชัน่
เรื่ องยาวทุกเรื่ องของมิยาซากิคือ 9 เรื่ องประกอบการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้เชี่ยวชาญในแวดวงแอนิ
เมชัน่ ภาพยนตร์ การ์ ตนู ซึง่ พบว่าในแง่กลวิธีเล่าเรื่ อง ผลงานของมิยาซากิ มีเอกลักษณ์ และนว
46

ลักษณ์ ที่แตกต่างไปจากภาพยนตร์ แอนิเมชัน่ ส่วนใหญ่ที่คนดูค้ นุ ชิน เพราะแต่งเรื่ องราวขึ ้นเอง


ไม่ได้ สร้ างจากหนังสือการ์ ตนู ที่โด่งดังมาก่อนโดยนาเอาความเชื่อเรื่ องวิญญาณ และเทพเจ้ ามา
สร้ างโลกจินตนาการขึ ้นใหม่ ตัวละครเอกส่วนใหญ่เป็ นผู้หญิงและมีบทบาทต่างจากแนวคิดการ
วิเคราะห์ตวั ละครของวลาดีมีร์ พร็ อปป์ แก่นเรื่ องสะท้ อนแง่มมุ ชีวิตมนุษย์อย่างลึกซึ ้ง บทสรุปของ
เรื่ องที่เปิ ดทิ ้งพื ้นที่ให้ ผ้ ชู มจินตนาการต่อ และการนาเสนอสัญลักษณ์ให้ ขบคิดตีความลึกซึ ้งกว่า
แอนิเมชัน่ จากตะวันตก ในแง่การสร้ างสรรค์ด้านเทคนิคมีนวลักษณ์คือการออกแบบลายเส้ นที่
เรี ยบง่าย ความเคลื่อนไหวที่นมุ่ นวล และให้ ความสาคัญในการถ่ายทอดอารมณ์ของตัวละคร
ส่วนสุนทรี ยภาพในผลงานนันเกิ ้ ดจากความรู้สกึ แปลกใหม่ในการนาเสนอเรื่ องราวผ่านเทคนิคด้ าน
ภาพยนตร์ และแอนิเมชัน่ ซึง่ ก่อให้ เกิดสุนทรี ยภาพแห่งการใช้ จินตนาการ การสัมผัสและเข้ าถึง
เรื่ องราวโดยง่าย และการเว้ นจังหวะช่องว่างให้ หยุดคิดระหว่างการเล่าเรื่ อง
พรวลัย เบญจรัตนสิริโชติ (2549) ศึกษาการนาเสนอเกณฑ์การพิจารณาในการจัด
ระดับหนังสือการ์ ตนู ที่แปลจากภาษาญี่ปนเป็ ุ่ นภาษาไทยในฐานะสื่อการศึกษา โดยใช้ วิธี
การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับสาระของประเภทเนื ้อหาการ์ ตนู ที่แปลจากภาษาญี่ปนุ่ และเกณฑ์การ
จัดระดับสื่อต่างๆ ทังในและต่ ้ างประเทศ แล้ วจึงสารวจระดับหนังสือการ์ ตนู ที่แปลจากภาษาญี่ปนุ่
เป็ นภาษาไทย ซึง่ ผลการวิจยั พบว่าการ์ ตนู ที่แปลจากภาษาญี่ปนเป็ ุ่ นภาษาไทย แยกย่อยเป็ น 4
กลุม่ คือ กลุม่ การ์ ตนู ที่สะท้ อนภาพความรุนแรง กลุ่มที่เกี่ยวกับความรักและความสัมพันธ์ทาง
เพศ กลุม่ ที่นาเสนอสาระเฉพาะด้ าน เช่นแนววิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ กีฬา เป็ นต้ น และกลุม่
การ์ ตนู อื่นๆ คือแนวสัตว์ และแนวตลก ส่วนเกณฑ์การพิจารณาในการจัดระดับหนังสือการ์ ตนู
ญี่ปนนั ุ่ นใช้
้ เกณฑ์เรื่ องควารุนแรง ความสัมพันธ์ทางเพศ การแต่งกาย ฉากสยองขวัญ สิ่งผิด
กฎหมาย ยาเสพติดและของมึนเมา การใช้ ภาษา และความถี่ที่พบในแต่ละประเด็นรวมกัน
นอกจากนี ้ยังได้ สารวจระดับหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนจากส ุ่ านักพิมพ์ใหญ่ 5 แห่ง คือวิบลู ย์กิจ สยาม
อินเตอร์ คอมิกส์ เนชัน่ คอมมิกส์ บงกช พับลิชชิ่ง และบุรพัฒน์ คอมิคส์ พบว่าหนังสือการ์ ตนู ที่จดั
อยูใ่ นระดับเหมาะสมสาหรับผู้อา่ นทุกวัยมี 1 เล่ม เหมาะสาหรับผู้อ่านอายุ 13 ปี ขึ ้นไปมี 2 เล่ม
และเหมาะสาหรับผู้อา่ นอายุ 18 ปี ขึ ้นไปมี 19 เล่ม และไม่สามารถจัดระดับได้ เพราะมีเนื ้อหา ภาพ
เกินจากเกณฑ์ 3 เล่ม
จากการทบทวนงานวิจยั ทังหมดข้ ้ างต้ นพบว่า ในระยะแรกของงานวิจยั เกี่ยวกับสื่อ
การ์ ตนู มักทาการวิจยั เชิงสารวจ โดยใช้ แบบสอบถามในการเก็บข้ อมูล และเลือกใช้ ทฤษฎีการใช้
ประโยชน์และความพึงพอใจจากสื่อ และแนวคิดการเปิ ดรับสื่อของผู้รับสารนัน่ เพราะข้ อสงสัยใน
ความนิยมของการ์ ตนู ที่มีตอ่ เด็กและเยาวชน ซึง่ เป็ นฐานงานวิจยั ที่ตงต้ ั ้ นให้ เห็นว่าหนังสือการ์ ตนู
47

ญี่ปนได้ ุ่ รับความสนใจจากผู้อา่ นชาวไทยอย่างมาก จึงก่อให้ เกิดงานวิจยั ในเชิงคุณภาพใน


ระยะเวลาต่อมา โดยเป็ นการศึกษาตัวเนื ้อหา (Content Research) เพื่อหาคาตอบว่าการ์ ตนู
แสดงถึงภาพสะท้ อน สังคม บริ บท วัฒนธรรมภายนอกอย่างไร รวมทังมองการ์ ้ ตนู ญี่ปนว่
ุ่ ามี
เนื ้อหาในแง่ลบ เช่นเรื่ องเพศ ความรุนแรง การใช้ ภาษาซึง่ มีอิทธิพลกระทบต่อเยาวชนอย่างไร
หากแต่ยงั มองข้ ามเรื่ องรูปแบบ และกลวิธีการเล่าเรื่ องของตัวสื่อชนิดนี ้
และแม้ จะมีงานวิเคราะห์หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่เริ่มมองหารูปแบบ และเนื ้อหา
ของตัวหนังสือการ์ ตนู เอง เช่น งานวิจยั ของภัทรหทัย มังคะดานะรา (2541) และชไมพร สุข
สัมพันธ์ (2541) แต่งานวิจยั ของภัทรหทัยก็มงุ่ เน้ นศึกษาเพียงแค่ลกั ษณะของความเป็ นวีรบุรุษใน
การ์ ตนู แต่ยงั ไม่ได้ ลงลึกไปที่การค้ นหาวิธีดาเนินเรื่ องราว ส่วนงานวิจยั ของชไมพรนัน้ ใช้ แนวคิด
การวิเคราะห์แบบแผนการเล่าเรื่ องที่คอ่ นข้ างตายตัวโดยมุง่ เน้ นให้ เห็น “ลาดับขัน” ้ ของการกระทา
และเหตุการณ์ รวมทังเน้ ้ นวิเคราะห์สญ ั ญะต่างๆ ในเรื่ อง แต่ยงั ไม่ได้ วิเคราะห์ไปถึงองค์ประกอบ
ย่อยของกลวิธีเล่าเรื่ องในแง่มมุ ที่ลกึ ซึ ้ง เช่นในโครงเรื่ องนันๆ
้ มีการเปิ ดเรื่ อง ปูเรื่ อง สร้ างปมขัดแย้ ง
ให้ กบั ตัวละครอย่างไร อีกทังยั
้ งขาดการวิเคราะห์องค์ประกอบด้ านภาพซึง่ เป็ นส่วนสาคัญที่
เรี ยกร้ องความสนใจจากผู้อ่าน รวมทังยั ้ งไม่คอ่ ยมีงานวิจยั ที่ให้ ความสนใจในการนาแนวคิดด้ าน
สุนทรี ยศาสตร์ มาเป็ นกรอบการวิจยั ซึง่ เป็ นส่วนที่จะช่วยทาให้ เห็นภาพรวมของความน่าสนใจใน
การ์ ตนู ญี่ปนอย่ ุ่ างแท้ จริง (เพราะจากงานวิจยั ของ นิพนธ์ คุณารักษ์ (2539) ซึง่ ได้ ศกึ ษาถึง
สถานภาพ ปั ญหาอุปสรรค และความเป็ นไปได้ ของการผลิตรายการภาพยนตร์ การ์ ตนู ชุดทาง
โทรทัศน์ของผู้ผลิตในประเทศนันก็ ้ พบว่ามี 3 ปั จจัยหลักที่ผ้ ผู ลิตต้ องคานึงถึง ซึง่ อันดับแรก คือ
ปั จจัยด้ านสุนทรี ยศาสตร์ ปั จจัยด้ านเทคโนโลยีการผลิต และปั จจัยการผลิตในเชิงธุรกิจ
อุตสาหกรรม)
จากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทังหมดที้ ่กล่าวมานี ้จะเป็ นกรอบแนวคิด ที่ผ้ วู ิจยั
นามาใช้ เปรี ยบเทียบกับผลการวิเคราะห์เพื่อสรุปและอภิปรายผลต่อไป
บทที่ 3

ระเบียบวิธีการวิจัย

งานวิจยั เรื่ อง “กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครใน


หนังสือการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ เป็ นงานวิจยั เชิงคุณภาพ โดยใช้ วิธีการศึกษาเนื ้อหา (Content Research)
หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ได้ รับความนิยมในประเทศไทย จานวน 6 เรื่ อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก
(In-depth Interview) ผู้เชี่ยวชาญด้ านการเล่าเรื่ องและการสร้ างคาแร็ คเตอร์ การ์ ตนู รวมทัง้
นักวิชาการและนักวิจารณ์เกี่ยวกับการ์ ตนู จานวน 12 คน โดยมีระเบียบวิธีวิจยั ดังนี ้

ประชากรการวิจัย
1. ประชากรสาหรับการศึกษาเนื ้อหา (Content Research) ได้ แก่ หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่
แปลเป็ นภาษาไทย และได้ รับลิขสิทธิ์อย่างถูกต้ องตามกฎหมาย
2. ประชากรสาหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ได้ แก่ ผู้เชี่ยวชาญ
การเล่าเรื่ อง และการสร้ างคาแร็คการ์ ตนู แอนิเมชัน่ อาทิ นักเขียนภาพ -เรื่ อง การ์ ตนู ไทย กอง
บรรณาธิการสานักพิมพ์การ์ ตนู ไทย นักวิชาการ และนักวิจารณ์เกี่ยวกับการ์ ตนู แอนิเมชัน่

กลุ่มตัวอย่ างการวิจัย
1. กลุม่ ตัวอย่างสาหรับการศึกษาเนื ้อหา
ผู้วิจยั ใช้ การสุม่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีเหตุผลการสุม่
เลือกคือ “หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ได้ รับความนิยมของผู้อา่ นชาวไทย” แต่เนื่องจากไม่มีร้านหนังสือ
ที่จดั อันดับหนังสือการ์ ตนู ไทยอย่างเป็ นทางการ ผู้วิจยั จึงพิจารณาจากข้ อมูล 4 แหล่ง ซึง่ ได้ จดั
อันดับการ์ ตนู ที่ได้ รับความนิยมและมีการกล่าวขวัญถึงมากที่สดุ ในกลุม่ ผู้อ่านชาวไทย จาก
เว็บไซต์เกี่ยวกับการ์ ตนู 3 เว็บไซต์ (เข้ าสารวจเมื่อ 15 ตุลาคม 2552) คือ
1. http://www.comtoon.com/ เว็บไซต์สงั่ ซื ้อการ์ ตนู อันดับต้ นๆ ของไทยที่มีให้ เลือกซื ้อ
ถึง 4,224 เรื่ อง
2. www.kartoon-discovery.com เว็บไซต์รวมรวมความเป็ นมา ข่าวสารการ์ ตนู ญี่ปนุ่
และมีบทวิเคราะห์วิจารณ์การ์ ตนู มากที่สดุ เว็บไซต์หนึง่ ของไทย
49

3. http://cartoon.mthai.com/ เว็บไซต์ขา่ วสารการ์ ตนู และให้ ข้อมูลเรื่ องย่อการ์ ตนู ญี่ปนุ่


4. จากการรวบรวมยอดขายร้ านการ์ ตนู ในกรุงเทพฯ ของนักวิเคราะห์วิจารณ์สื่อการ์ ตนู
ทางหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ คอลัมน์ “ชีวิตการ์ ตนู ” อีก 1 แหล่ง
ซึง่ จากข้ อมูลทัง้ 4 แหล่ง พบหนังสือการ์ ตนู ที่ได้ รับความนิยมร่วมกันมากที่สดุ มีดงั นี ้
- เรื่ องที่ได้ รับการโหวตว่าเป็ นที่นิยมทัง้ 4 แหล่งเท่ากันมีจานวน 3 เรื่ องคือ วัน
พีซ นารูโตะ นินจาจอมคาถา และยอดนักสืบจิ๋วโคนัน
- เรื่ องที่ได้ รับการโหวตว่าเป็ นที่นิยม 2 แหล่งเท่ากันมีถึง 12 เรื่ อง คือ ดราก้ อน
บอล เดธ โน้ ต โดราเอมอน คุณครูจอมเวทย์ เนกิมะ เซนต์ เซย่า ฮันเตอร์ X ฮันเตอร์
ทเวนตี ้เซ็นจูรี่บอย แขนกลคนแปรธาตุ เทพมรณะ เดอะ ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส และแฟรี่ เทล
จากนันผู้ ้ วิจยั จึงเลือกตัวอย่างหนังสือการ์ ตนู ออกมา 6 เรื่ อง (โดย 3 ใน 6 เรื่ องเป็ นเรื่ องที่
ได้ รับการโหวตมากที่สดุ ส่วนอีก 3 เรื่ องที่เหลือซึง่ ได้ รับการโหวตเท่ากันจึงพิจารณาจากการเรื่ องที่
ไม่จบเป็ นตอนสันๆ ้ และตีพิมพ์จนจบ รวมถึงถูกนาไปสร้ างเป็ นแอนิเมชัน่ ทางโทรทัศน์ และ
ภาพยนตร์ ที่ใช้ คนแสดงซึง่ แสดงถึงการเป็ นเรื่ องเล่าที่เข้ าถึงคนในวงกว้ าง) ดังนี ้
1. วัน พีซ (แนวผจญภัย แฟนตาซี แอ็คชัน่ ตลก ดราม่า) ความยาว (ยังไม่จบ
2542-ปั จจุบนั ) ลิขสิทธิ์ของสานักพิมพ์สยามอินเตอร์ คอมิกส์ ถูกนาไปสร้ างทังแอนิ ้ เมชัน่ ทาง
โทรทัศน์ นวนิยาย เกม เป็ นการ์ ตนู ที่ขณะนี ้ได้ รับความนิยมสูงที่สดุ เป็ นอันดับ 1 จากการจัด
อันดับในประเทศญี่ปนุ่ (ระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม – 6 กันยายน 2552)
(http://www.oricon.co.jp/rank/obc/w/) และจากการค้ นคว้ าของผู้วิจยั ก็พบว่าการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็
ได้ รับความนิยมในประเทศไทยสูงมากในปั จจุบนั มีการกล่าวขวัญบ่อยครัง้ ในเว็บบอร์ ดพันทิป
2. นารู โตะ นินจาคาถา โอ้ โฮเฮะ (แนวแอ็คชัน่ ลึกลับ ดราม่า) ความยาว (ยัง
ไม่จบ2542-ปั จจุบนั ) ลิขสิทธิ์ของสานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทนเมนท์ เคยออกฉายทาง
สถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ทีวีไทยในปั จจุบนั ) และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ได้ รับความนิยม
สูงทังในประเทศไทย
้ ญี่ปนุ่ และสหรัฐอเมริกา ไม่แพ้ เรื่ อง วัน พีซ
3. ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แนวสืบสวนสอบสวน) (ยังไม่จบ 2537- ปั จจุบนั )
ลิขสิทธิ์ของสานักพิมพ์วิบลู ย์กิจ เป็ นการ์ ตนู ที่ได้ รับความนิยมสูงสุดของสานักพิมพ์วิบลู กิจ ได้ รับ
การตีพิมพ์หลายภาษาทังจี ้ น ฝรั่งเศส อังกฤษ ไทย มีการนามาสร้ างเป็ นแอนิเมชัน่ ทางโทรทัศน์
ภาพยนตร์ และออกอากาศทางโมเดิร์นไนน์ ทีวีในปั จจุบนั ด้ วย
4. ดราก้ อนบอล (แนวผจญภัย แอ็คชัน่ ตลก แฟนตาซี) ตีพิมพ์ 42 เล่มจบ ภาค
50

แรก 16 เล่ม ภาค Z 26 เล่ม ลิขสิทธิ์ของสานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทนเมนท์ แม้ เรื่ องจะสร้ างจนจบ
ไปนานแล้ วก็ตาม (2527-2538) แต่มีการสร้ างเป็ นเป็ นแอนิเมชัน่ ทางโทรทัศน์ และแม้ กระทัง่
ฮอลลีว้ ดู ยังซื ้อลิขสิทธิ์ไปสร้ างเป็ นภาพยนตร์ ที่ใช้ คนแสดงอีกด้ วย รวมทังหากพิ ้ จารณาจากการ
ออกอากาศทางโทรทัศน์ในประเทศไทย ก็พบว่าถูกนามาฉายซ ้าหลายครัง้ ด้ วยกัน คือทาง
สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ทีวี (สมัยที่ยงั เป็ นช่อง 9 ปี 2531-2534) สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี (2548-
2550) และสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีชอ่ ง 3 (2551-ปั จจุบนั )
5. เดธโน้ ต (แนวแฟนตาซี ลึกลับ แอ็คชัน่ ) ตีพิมพ์ 12 เล่มจบ ลิขสิทธิ์ของ
สานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทนเมนท์ การ์ ตนู เรื่ องนี ้มีจดุ เด่นอย่างมากในแง่การเล่าเรื่ องที่กระชับฉับ
ไว โครงเรื่ องค่อนข้ างซับซ้ อน น่าติดตาม การสร้ างตัวละครพระเอกและผู้ร้ายที่กลับขัว้ กัน รวมทัง้
แก่นเรื่ องที่กระตุ้นให้ คิดถึงคาว่าธรรมะและอธรรม จึงทาให้ ถกู นาไปสร้ างเป็ นภาพยนตร์ ในเวลา
ต่อมาอย่างรวดเร็ ว และได้ รับการตอบรับจากผู้ชมชาวไทยอย่างมาก
6. ทเวนตีเ้ ซนจูร่ ี บอยส์ (แนวแฟนตาซี สืบสวน ไซ-ไฟ ) ตีพิมพ์ 22 เล่มจบ
ลิขสิทธิ์ของสานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็ นการ์ ตนู ที่ได้ รับรางวัลการ์ ตนู ยอดเยี่ยมจาก
หลายสานักพิมพ์ และจากกระทรวงวัฒนธรรมของญี่ปนุ่ เพราะเนื ้อหาที่ไม่เหมือนใคร และจาก
การสังเกตของผู้วิจยั พบว่าการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีวิธีการเล่าเรื่ องที่ผกู ปมขัดแย้ ง และคลี่คลายปมได้ อย่าง
ยอกย้ อน น่าติดตาม และก็เป็ นการ์ ตนู ที่ได้ รับการดัดแปลงเป็ นภาพยนตร์ ในเวลาอันรวดเร็ว
เช่นเดียวกับเรื่ อง เดธโน้ ต
2. กลุม่ ตัวอย่างสาหรับการสัมภาษณ์
ในการวิจยั ครัง้ นี ้เลือกใช้ กลุม่ ตัวอย่างในการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็ นผู้เชี่ยวชาญใน
เชิงวิชาชีพ และวิชาการ ด้ านการ์ ตนู ทังผู ้ ้ เขียนรูป และเขียนเรื่ อง และผู้เชี่ยวชาญด้ านการเล่า
เรื่ องในสื่อที่มีธรรมชาติใกล้ เคียงการ์ ตนู เช่นภาพยนตร์ แอนิเมชัน่ จานวน 12 คน แบ่งเป็ น 4 กลุม่
2.1 กลุม่ นักเขียนภาพ – เรื่ อง และออกแบบคาแร็คเตอร์ การ์ ตนู 4 คน
- เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ นักเขียนการ์ ตนู ไทย เรื่ อง 13 เกมสยอง และโครงการมรณะ
ได้ รับการยอมรับว่าเป็ นนักเขียนการ์ ตนู จอมหักมุม นาเสนอเรื่ องที่ผ้ อู า่ นคาดไม่ถึง และเป็ นการ์ ตนู
ที่นาไปสร้ างเป็ นภาพยนตร์ อีกด้ วย (รวมถึงในระยะหลังก็เขียนทังการ์ ้ ตนู และบทภาพยนตร์ ด้วย)
- ทรงวิทย์ สี่กิติกลุ นักเขียนการ์ ตนู นักออกแบบคาแร็ คเตอร์ และนักวาด
ภาพประกอบอิสระ
- วีระชัย ดวงพลา หรื อ “เดอะ ดวง” นักเขียนการ์ ตนู ที่ขยันสร้ างผลงานมากที่สดุ
51

คนหนึง่ และสามารถคว้ ารางวัลรองชนะเลิศ (Silver Award) จากเวทีประกวดรางวัลการ์ ตนู


นานาชาติ ครัง้ ที่ 4 (2553) ที่ประเทศญี่ปนุ่ จากผลงาน "เรื่ องมีอยูว่ ่า"
- ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ นักเขียนการ์ ตนู รุ่นใหม่ที่เล่าเรื่ องได้ ทงซึ
ั ้ ้งและขาไปพร้ อมกัน
จนสามารถคว้ ารางวัลรองชนะเลิศจากเวทีประกวดรางวัลการ์ ตนู นานาชาติ ครัง้ ที่ 5 (2554) ที่
ประเทศญี่ปนุ่ ด้ วยผลงานการ์ ตนู สัน้ "ชายผู้ออกเดินทางตามเสียงของตัวเอง”
2.2 กลุม่ นักวิชาการการ์ ตนู และการออกแบบคาแร็ คเตอร์ 3 คน
- ผศ.ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล หัวหน้ าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ อาร์ ต คณะดิจิทลั
อาร์ ต มหาวิทยาลัยรังสิต
- สุทธิชาติ ศราภัยวานิช (SS) อาจารย์ประจาคณะดิจิทลั อาร์ ต มหาวิทยาลัย
รังสิต และอาจารย์พิเศษวิชา Comic book design ที่คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ซึง่ เป็ นผู้ร่างหลักสูตรการเขียนการ์ ตนู (ที่ใช้ ในมหาวิทยาลัย) คนแรกของไทย
- กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554) นักวิชาการ-นักวิจยั การ์ ตนู
และอดีตบรรณาธิการนิตยสารเซ็นชู และผู้ก่อตังนิ ้ ตยสาร Animax
2.3 กลุม่ นักวิจารณ์เกี่ยวกับการ์ ตนู 2 คน
- จรูญพร ปรปั กษ์ประลัย นักวิจารณ์ นักเขียน ผู้แต่งตาราการเขียนบท และแอนิ
เมชัน่ รวมทังยั ้ งเป็ นผู้เขียนบทภาพยนตร์ แอนิเมชัน่ เรื่ อง “ก้ านกล้ วย 2”
- ประสพโชค จันทรมงคล คอลัมนิสต์วิเคราะห์ วิจารณ์การ์ ตนู คอลัมน์ “ชีวิต
การ์ ตนู ” ในจุดประกายวรรณกรรม หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
2.4 กลุม่ บรรณาธิการสานักพิมพ์การ์ ตนู ไทย 3 คน
- อิศเรศ ทองปั สโณว์ ผู้แปล และกองบรรณาธิการจากสานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทน
เมนท์
- วรวุฒิ วรวิทยานนท์ บรรณาธิการบริ หารจากสานักพิมพ์วิบลู ย์กิจ
- ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี บรรณาธิการนิตยสารการ์ ตนู Let’s comic

เครื่องมือการวิจัย
ในการศึกษาเนื ้อหาการ์ ตนู มีเครื่ องมือที่ใช้ สาหรับการวิจยั คือ แบบบันทึกการเล่าเรื่ องและ
แบบบันทึกการสร้ างตัวละคร โดยมีรายละเอียดดังนี ้
1. แบบบันทึกการเล่ าเรื่อง แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนหลักคือ การเล่าเรื่ องผ่านแนวคิดการ
เล่าเรื่ อง (Narratology) และการเล่าเรื่ องผ่านเทคนิคการ์ ตนู
1.1 การเล่าเรื่ องผ่านแนวคิดการเล่าเรื่ อง ใช้ วิเคราะห์ในองค์ประกอบย่อย ดังนี ้
52

- แนวเรื่ อง วิเคราะห์ว่าเป็ นแนวเรื่ องใด มีแนวเดียว หรื อหลากหลายแนว


- โครงเรื่ อง วิเคราะห์กลวิธีการเปิ ดเรื่ อง พัฒนาเรื่ อง ภาวะวิกฤติ ภาวะ
คลี่คลาย และการปิ ดเรื่ อง
- ปมขัดแย้ ง วิเคราะห์แยกแยะประเภทของปมขัดแย้ ง จานวนของปม
ความเข้ มข้ น น่าเชื่อถือของปมที่มีสว่ นผลักดันเรื่ องราว
- ตัวละคร วิเคราะห์ประเภทของตัวละคร แบบกลม-แบน พัฒนาการของตัว
ละคร
- แก่นเรื่ อง วิเคราะห์แก่นเรื่ องว่าผู้เขียนต้ องการนาเสนอเรื่ องใดบ้ าง ชัดเจน
หรื อไม่ มีการสอดแทรกวัฒนธรรม สังคมของญี่ปนลงไปในเรื ุ่ ่ องอย่างไร
- มุมมองการเล่าเรื่ อง วิเคราะห์วิธีการใช้ มมุ มองหลักของเรื่ องว่าเล่าผ่านใคร
เป็ นหลัก มุมมองที่ 1 มุมมองที่ 3 มุมมองที่เป็ นกลาง หรื อ มุมมองแบบผู้ร้ ูรอบด้ าน (สัพพัญญู)
- ฉาก วิเคราะห์การสร้ างฉาก เหตุการณ์ในเรื่ องว่าสร้ างสรรค์ โดดเด่น
เหมาะสมกับเรื่ อง และช่วยเสริมเรื่ องหรื อตัวละครอย่างไร
- สัญลักษณ์ วิเคราะห์ภาพรวมของการ์ ตนู ว่านาเสนอสัญลักษณ์ใดที่โดดเด่น
และสื่อความหมายอย่างไร
1.2 การเล่าเรื่ องผ่านเทคนิคการ์ ตนู ซึง่ ใช้ วิเคราะห์หวั ข้ อย่อยๆ ดังนี ้
- การนาเสนอช่อง หรื อกรอบการ์ ตนู เพื่อสื่อความหมาย
- การนาเสนอบอลลูนเพื่อสื่อความหมาย
- การนาเสนอภาพ หรื อมุมกล้ องเพื่อสื่อความหมาย ประกอบด้ วย ขนาดภาพ
มุมมองภาพ การเคลื่อนไหวของภาพ และการตัดต่อภาพ
- การนาเสนอลายเส้ นของนักเขียนการ์ ตนู เพื่อสื่อความหมาย
2. แบบบันทึกการสร้ างตัวละคร ซึง่ แบ่งย่อยออกเป็ นหัวข้ อดังนี ้
2.1 ประเภทของตัวละคร พิจารณาแยกแยะว่ามีตวั ละครหลักๆ ใดบ้ าง เป็ นตัว
ละครประเภทเดี่ยว คู่ หรื อกลุม่
2.2 ลักษณะพิเศษของตัวละคร โดยวิเคราะห์จดุ เด่น-จุดด้ อยของตัวละคร มี
ลักษณะอย่างไร ทังรู้ ปร่างหน้ าตา พฤติกรรม คาพูด นิสยั ใจคอ และพิจารณาว่า
จุดเด่น-จุดด้ อยนันมี
้ ลกั ษณะเป็ นสูตรสาเร็จหรื อไม่
2.3 การออกแบบความแตกต่างของตัวละครหลัก โดยวิเคราะห์วา่ ตัวละครใน
53

เรื่ องเดียวกันมีความซ ้าซ้ อนกัน หรื อแตกต่างกันอย่างไร ทังในแง่ ้ ลายเส้ น รูปร่างหน้ าตาภายนอก
(ขนาด-รูปทรง-สัดส่วน) นิสยั ใจคอภายใน และมีลกั ษณะลายเส้ นโดยภาพรวมเป็ นอย่างไร เช่น
เรี ยบง่าย สมจริง วุน่ วาย
2.4 การกระจายความสาคัญและการสร้ างความสัมพันธ์ของตัวละคร โดย
วิเคราะห์วา่ ในความแตกต่างของตัวละครนันผู ้ ้ เขียนได้ กระจายบทบาท ความสาคัญของตัวละคร
ได้ เท่าเทียมกันหรื อไม่ มีการทอดทิ ้งตัวละครกลางคัน หรื อให้ ความสาคัญกับตัวละครใดเป็ นพิเศษ
หรื อไม่ อย่างไร
และนอกจากการวิเคราะห์การเล่าเรื่ อง และการสร้ างคาแร็คเตอร์ ผา่ นแบบบันทึก
ข้ างต้ นแล้ ว งานวิจยั ชิ ้นนี ้ยังจาเป็ นต้ อง “บูรณาการผลงาน” หรื อการมองในภาพรวมของผลงาน
แต่ละเรื่ องซึง่ จะช่วยให้ เห็น “สุนทรี ยรส” ในงาน รวมทังลั ้ กษณะเฉพาะตัว หรื อเอกลักษณ์ใน
ผลงานตามแนวคิดรูปลักษณ์นิยม (formalism) ที่ได้ กล่าวไว้ ในบทที่ 2 ดังนันในท้ ้ ายแบบบันทึก
จึงต้ องมีหวั ข้ อ “ความโดดเด่น” ของการ์ ตนู แต่ละเรื่ อง โดยเป็ นการวิเคราะห์ และสังเกตของผู้วิจยั
หลังจากเก็บรายละเอียดในองค์ประกอบต่างๆ จากแบบบันทึกการเล่าเรื่ อง และแบบบันทึกการ
สร้ างตัวละครทังหมดแล้
้ ว

ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
ผู้วิจยั วางแผนการดาเนินงานดังตารางต่อไปนี ้

กิจกรรมการวิจยั เดือน
ขันตอนการด
้ าเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
1. ยื่นแบบเสนอโครงการวิจยั สาหรับ  
บุคลากรภายใน (FM. วจ.-01)
2. ศึกษาทฤษฎีงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง  
และสร้ างเครื่ องมือการวิจยั
3. เก็บรวบรวมข้ อมูลจากเอกสาร    
เบื ้องต้ นและวิเคราะห์เนื ้อหาการ์ ตนู
4. สัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญ   
5. วิเคราะห์ข้อมูล   
6. ทารูปเล่มรายงานวิจยั  
54

การรวบรวมข้ อมูลการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้ อมูลในการวิจยั มีลาดับดังนี ้
1. ผู้วิจยั ซื ้อหนังสือการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจากร้ านขายหนังสือ และเช่าบางเรื่ องที่หาซื ้อไม่ได้
จากร้ านเช่าหนังสือการ์ ตนู ใกล้ บ้าน
2. ถ่ายเอกสารบทความ ข่าวสาร ข้ อมูล จากหนังสือพิมพ์ นิตยสารที่เกี่ยวข้ องกับหนังสือ
การ์ ตนู ญี่ปนุ่ และค้ นคว้ าจากเว็บไซต์ รวมทังหาข้
้ อมูลจากมูลนิธิญี่ปนในประเทศไทย
ุ่
ประกอบการวิเคราะห์
3. วิเคราะห์การศึกษาเนื ้อหาการ์ ตนู ที่ได้ ลงในแบบบันทึก
4. สรุปรวบรวมข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษาเนื ้อหา และเอกสารอื่นๆ เพื่อสร้ างแบบสัมภาษณ์
ในการสัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญเกี่ยวกับการ์ ตนู
5. สัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญเกี่ยวกับการ์ ตนู 12 คน

การวิเคราะห ข อมูล
หลังจากศึกษาเนื ้อหาการ์ ตนู และสัมภาษณ์ผ้ ูเชี่ยวชาญครบถ้ วน ผู้วิจยั จึงนาข้ อมูลที่ได้
มาวิเคราะห์ร่วมกันเพื่อเขียนผลการวิจยั และวิเคราะห์ข้อมูล ตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้ องที่ได้ เขียนไว้ ในบทที่ 2 โดยนาเสนอผลการวิจยั ในเชิงพรรณนา ซึง่ มีประเด็น ข้ อค้ นพบที่
น่าสนใจในด้ านการเล่าเรื่ อง และการสร้ างตัวละครเป็ นตัวตัง้ พร้ อมกับอ้ างอิงข้ อมูล และคาให้
สัมภาษณ์ของผู้เชี่ยวชาญเป็ นตัวเสริม จากนันจึ ้ งอภิปรายผลโดยหาจุดร่วม จุดแตกต่าง ของการ
เล่าเรื่ อง และการสร้ างตัวละครในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ ซึง่ ในการอภิปรายผลการวิจยั จะนาเสนอ
โดยคานึงถึงบริบทสังคมของญี่ปนและของไทยมาประกอบด้
ุ่ วย เนื่องจากไม่มีผลงานใดใดที่
สามารถดารงอยูไ่ ด้ ด้วยตัวมันเองโดยปราศจากการได้ รับอิทธิพลจากบริ บทสังคมโดยรอบ
บทที่ 4

ผลการวิจัยการเล่ าเรื่องในหนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่น

ผลการวิจยั เรื่ อง “กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือ


การ์ ตนู ญี่ปน” ุ่ ซึง่ ใช้ วิธีการศึกษาเนื ้อหา (Content Research) หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ได้ รับความ
นิยมในประเทศไทย จานวน 6 เรื่ อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้เชี่ยวชาญ
ด้ านการเล่าเรื่ อง การสร้ างคาแร็คเตอร์ นักวิจารณ์และนักวิชาการด้ านการ์ ตนู จานวน 12 คน แบ่ง
ออกเป็ น สองส่วนหลัก คือการเล่าเรื่ อง และการสร้ างตัวละคร โดยในบทนี ้จะเป็ นผลการวิจยั ใน
ด้ านกลวิธีการเล่าเรื่ องโดยแบ่งออกเป็ นสามส่วนหลัก คือการเล่าเรื่ องผ่านแนวคิดการเล่าเรื่ อง
การเล่าเรื่ องผ่านเทคนิคการ์ ตนู และการเล่าเรื่ องผ่านลายเส้ นการ์ ตนู ดังต่อไปนี ้

1. การเล่ าเรื่องผ่ านแนวคิดการเล่ าเรื่อง


1.1 แนวเรื่ อง (Genre)
อาจเป็ นการยากที่จะระบุชดั เจนว่าการ์ ตนู ทังหมด
้ 6 เรื่ องที่นามาศึกษาจัดเป็ นแนวเรื่ อง
ประเภทใดประเภทหนึง่ โดยเฉพาะ เพราะการ์ ตนู ที่เข้ าถึงคนส่วนใหญ่ได้ ดีย่อมสร้ างความรู้สึก
“ครบรส” แก่ผ้ อู า่ น นัน่ คือมีหลากแนวผสมผเสรวมเข้ าไว้ ในเรื่ องเดียวกัน ซึง่ อาจแบ่งแนวเรื่ อง
ของแต่ละเรื่ องได้ ดงั นี ้
ดราก้ อนบอล อาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นการ์ ตนู แนว “ครบรส” ยุคแรกๆ ที่รวมเอาแนว
ต่อสู้ผจญภัย แฟนตาซี และตลก รวมอยูใ่ นเรื่ องเดียวกัน โดยเนื ้อหาหลักจะมีสองส่วนคือส่วน
การผจญภัยทังบนโลกและนอกโลก
้ และการต่อสู้ หรื อแอ็คชัน่ ในขณะเดียวกันก็มีมขุ ตลก
สอดแทรกตลอดเรื่ องราว ทาให้ ชว่ ยลดทอนความรุนแรงของการต่อสู้ลง ซึง่ ด้ วยความที่มี
หลากหลายแนวในเรื่ องเดียวกันนี่เอง (ผสานกับลายเส้ นที่เรี ยบง่าย ซึง่ จะกล่าวถึงในหัวข้ อการเล่า
เรื่ องผ่านเทคนิคการ์ ตนู ) จึงทาให้ มีกลุม่ ผู้อา่ นในวงกว้ างมากกว่าแค่กลุม่ เด็กผู้ชายที่สว่ นใหญ่ชื่น
ชอบการ์ ตนู แนวต่อสู้ แต่ยงั เข้ าถึงกลุม่ เด็กผู้หญิง หรื อผู้ใหญ่ได้ เป็ นอย่างดี
ในขณะที่ วัน พีซ การ์ ตนู ที่ครองใจผู้อา่ นชาวญี่ปนและทั
ุ่ ว่ โลกเป็ นอันดับ 1 มา
อย่างยาวนานจนถึงปั จจุบนั เรื่ องนี ้มีจดุ เด่นอย่างมากในแง่ของแนวเรื่ อง เพราะมีแนวเรื่ องครบทุก
แนวเสียยิ่งกว่าดราก้ อนบอล เพราะในขณะที่การ์ ตนู ยอดฮิตส่วนใหญ่อาจให้ รสชาติที่มีทงแฟน ั้
ตาซี ผจญภัย ต่อสู้ ตลกรวมอยูใ่ นเรื่ องเดียว แต่วนั พีซนันกลั ้ บเหนือกว่าเพราะนอกจากจะให้ รส
56

ที่กล่าวมาแล้ วยังให้ รสที่เรี ยกว่า “ดราม่า” หรื อการสร้ างความรู้สกึ มีส่วนร่วมจากผู้อา่ น ทาให้
ผู้อา่ น “อิน” ไปกับเรื่ องราวและตัวละครได้ มากกว่าการ์ ตนู ในแนวทางที่ดลู ายเส้ นหรื อเรื่ องราวโดย
ผิวเผินเป็ นแนวต่อสู้ แฟนตาซี ผจญภัยด้ วยกัน ซึง่ ก็เกิดจากการสร้ างมิตใิ ห้ กบั ตัวละครของเรื่ อง
อย่างลึกซึ ้ง (ผู้เขียนจะนาเสนอรายละเอียดของการสร้ างอารมณ์ร่วมหรื อดราม่าในหัวข้ อโครง
เรื่ องและการสร้ างตัวละคร)
ส่วนนินจาคาถา โอ้ โฮเฮะ แค่เพียงชื่อเรื่ องย่อมทาให้ ผ้ อู า่ นจินตนาการไปถึง
ภาพของชายชุดดาที่พรางตัวในเงามืด ซึง่ เป็ นแบบฉบับของนินจาที่เราคุ้นชินกันอยู่ตาม
ภาพยนตร์ ที่เคยชม หรื ออาจนึกไปถึงการ์ ตนู ญี่ปนเรื ุ่ ่ องดังอย่าง นินจาฮาโตริ ทาให้ หลายคน
อาจรู้สกึ ไม่ตื่นเต้ นกับการ์ ตนู นินจาเรื่ องนี ้มากนัก แต่หากได้ อา่ นไปถึงเนื ้อในของนินจาคาถา
โอ้ โฮเฮะก็จะพบว่าผู้เขียนอย่างมาซาชิ คิชิโมโตะได้ รือ้ สร้ าง “โลกของนินจา” ที่ลกึ ไปกว่านินจาที่
คนส่วนใหญ่เคยรู้จกั เพราะเราจะไม่พบฉากการต่อสู้โดยใช้ อาวุธลับอย่างดาวกระจาย หรื อการ
พรางตัวใต้ ผิวน ้าตามที่ค้ นุ ชินกันอยู่แบบพร่ าเพรื่ อ แต่กลับมีฉากการต่อสู้ที่หลากหลายจน
ผู้อา่ นยากจะจินตนาการถึง (เช่นการอัญเชิญเทพเจ้ าในร่างสัตว์ตา่ งๆ การใช้ เงาเป็ นอาวุธในการ
ต่อสู้ฯลฯ)
ดังนันแนวเรื
้ ่ องของนินจาคาถา โอ้ โฮเฮะ จึงขับเน้ นไปที่การต่อสู้เป็ นหลัก
ขณะเดียวกันในรายละเอียดของการต่อสู้ก็เต็มไปด้ วยเรื่ องราวแฟนตาซีจากการใช้ คาถาและพลัง
วิเศษของนินจา นอกจากนี ้ก็ยงั ให้ อารมณ์แบบ “ดราม่า” เช่นเดียวกับวัน พีซ เพราะตัวละครเอก
ของเรื่ องเต็มเปี่ ยมไปด้ วยความขัดแย้ งต่อตัวเอง ต่อเพื่อนสนิท และต่อสังคมนินจาที่เขาอาศัยอยู่
(ผู้เขียนจะนาเสนอรายละเอียดในหัวข้ อโครงเรื่ อง ตัวละคร และความขัดแย้ ง)
ด้ านแนวเรื่ องของเดธโน้ ตก็ไม่ตา่ งจากการ์ ตนู ยอดนิยมส่วนใหญ่ ที่มกั ต้ องมี
ความหลากรสในเรื่ องเดียว โดยเรื่ องนี ้จะเน้ นไปที่แนว “การต่อสู้” หรื อแอ็คชัน่ โดยผสานความเป็ น
แฟนตาซี และความลึกลับเป็ นตัวดึงดูดผู้อา่ น แต่ในความเป็ นการ์ ตนู ต่อสู้ของเดธโน้ ตนี ้เองที่ไม่
เหมือนใคร เพราะในขณะที่การ์ ตนู แนวต่อสู้ของญี่ปนโดยทั ุ่ ว่ ไปเน้ นไปที่การต่อสู้ “ภายนอก” หรื อ
การใช้ พลังฝี มือผ่านร่างกาย เพื่อชิงตาแหน่งสูงสุดแห่งยุทธจักร/โลก/จักรวาล แต่เดธโน้ ตกลับเน้ น
ที่การประลองฝี มือ “ภายใน” ด้ วยการปะทะกัน “ทางปั ญญา” ผ่านตัวละครเอก 2 ฝ่ ายที่ตา่ งก็คิด
ว่าตัวเองคือ “ความถูกต้ อง” และเป็ น “ผู้ผดุงคุณธรรม” จึงทาให้ เกิดความรู้สกึ แปลกใหม่สาหรับ
ผู้อา่ น “การ์ ตนู ” ซึง่ คุ้นชินอยูก่ บั การต่อสู้แบบรบราฆ่าฟั นกันด้ วยอาวุธและพลังฝี มือทางร่างกาย
เพราะเดธโน้ ตได้ บง่ บอกว่าเรื่ องราวที่เชือดเฉือนกันผ่านสติปัญญาก็สามารถถ่ายทอดให้ สนุกผ่าน
สื่อ “การ์ ตนู ” ได้ เช่นกัน
57

ขณะเดียวกันทเวนตีเ้ ซนจูร่ ี บอยส์ (20th Century Boys) หรื อ แก๊ งนีม้ ีป่วน ก็
ให้ อารมณ์ของเรื่ องต่างออกไปจากการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่นนั่ คือแนวลึกลับ ผสานไซไฟ (sci-
fiction) โดย ทเวนตีฯ้ ว่าด้ วยเรื่ องราวของ “เพื่อน” ชายผู้หวังจะครอบครองโลกโดยใช้ ไวรัส
ทาลายล้ างมวลมนุษยชาติ แต่ก็มีกลุม่ “ขบวนการเคนจิ” และหญิงสาวผู้มีพลังพิเศษในการเป็ น
ศูนย์รวมจิตใจผู้คนอย่างเอ็นโด คันนะ คอยขัดขวางไม่ให้ “เพื่อน” ทาตามแผนร้ ายนี ้ ซึง่ จาก
เรื่ องราวข้ างต้ นหลายคนคงนึกไปถึงการ์ ตนู แนวฮีโร่ แฟนตาซีของญี่ปนจ ุ่ าพวกกลุม่ ขบวนการ (มด
แดง มดเอ็กซ์ ฯลฯ) เพียงแต่เปลี่ยนรูปแบบจากมนุษย์ดดั แปลง (แปลงกาย) มาเป็ นคนธรรมดาๆ
และเปลี่ยนจากสัตว์ประหลาดนอกโลก มาเป็ นมนุษย์เรานี่เอง ซึง่ ก็นา่ จะไม่มีอะไรน่าตื่นเต้ นมาก
นัก แต่หากลองได้ อ่านเรื่ องราวของทเวนตี ้ฯ ตังแต่ ้ เล่มแรกแล้ วจะเห็นถึงความ “ไม่ธรรมดา”
ที่แตกต่างไปจากเรื่ องราวแบบฮีโร่ขบวนการ และฉีกไปจากแนวของการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่
(โดยเฉพาะในยุคที่การ์ ตนู เรื่ องนี ้วางขาย) อย่างมาก นัน่ เพราะผู้เขียนสอดแทรกกลิ่นไอของแนว
เรื่ องแบบหวนราลึกอดีต (Nostalgia) ลงไปตลอดทังเรื ้ ่ อง (อ่านรายละเอียดในโครงเรื่ อง)
ขณะเดียวกันยังผสมผสานแนวเรื่ องแบบจิตวิทยาลงไปด้ วย1 โดยนาเสนอเรื่ องราวการเล่น ของเด็ก
ชันประถมกลุ
้ ม่ หนึง่ ที่นกึ สนุกเขียนบันทึกคาทานายโลกอนาคตอันสูญสิ ้น (มีทงหุ ั ้ น่ ยนต์ มีทงไวรั
ั้ ส
ทาลายล้ างโลก) และทาให้ บนั ทึกในกระดาษนันกลายมาเป็ ้ นเรื่ องจริง ที่คนทังโลกต้
้ องตระหนักถึง
“วันสิ ้นโลก”
จากข้ างต้ นคงไม่มากเกินไปหากกล่าวว่าทเวนตีเ้ ซนจูร่ ี บอยส์ คือการ์ ตนู แนว
แปลก แตกต่างจากการ์ ตนู ส่วนใหญ่ที่นกั อ่านการ์ ตนู ไทยเคยผ่านตา และนอกจากความแปลกแล้ ว
ยังสร้ างสรรค์เนื ้อหาได้ ไม่เหมือนใครตรงที่หยิบเอา “เรื่ องไม่เป็ นเรื่ อง” (บันทึกคาทานายของเด็ก
ประถม) ให้ กลาย “เป็ นเรื่ อง” (ไวรัสทาลายล้ างโลก) ขึ ้นมาจริงๆ
ด้ านยอดนักสืบจิ๋วโคนัน แค่เห็นชื่อเรื่ องคนอ่านก็เดาแนวเรื่ องได้ ชดั เจนนัน่ คือ
แนวสืบสวนสอบสวน ซึง่ เป็ นแนวของการ์ ตนู ที่หาได้ ไม่มากนักในท้ องตลาดบ้ านเรา เพราะเรื่ อง
แบบสืบสวนส่วนใหญ่มกั มีเรื่ องราวจริงจัง มีภาพความตาย การฆาตกรรม และปมปั ญหาในเชิง
จิตวิทยาที่ทาให้ กลุม่ ผู้อ่านที่เป็ นเด็ก (ซึง่ เป็ นกลุม่ ใหญ่ที่อา่ นการ์ ตนู ญี่ปน) ุ่ อาจรู้สกึ หดหู่ และรู้สกึ
ว่าการ์ ตนู แนวนี ้ “อ่านยาก” กว่าแนวเรื่ องประเภทแฟนตาซี หรื อต่อสู้ แต่ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน
ก็ได้ ฉีกไปจากกฎข้ างต้ น เพราะสร้ างความดึงดูดจากผู้อา่ นกลุม่ เด็กได้ เป็ นอย่างดี นัน่ อาจ
เพราะหากมองในอีกแง่หนึง่ แล้ วเรื่ องแบบสืบสวนสอบสวน ก็จดั เป็ นเรื่ องราวการต่อสู้ชนิดหนึง่ ที่ตวั

1
เป็ นแนวที่ผ้ เู ขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่าถนัดเพราะเคยนาเสนอประเด็นด้ านจิตใจมนุษย์ได้
อย่างน่าสนใจในผลงานก่อนหน้ าเรื่ อง Monster
58

เอกต่อสู้กบั ผู้ร้ายที่ก่อคดีเพื่อความยุตธิ รรม (เหมือนเช่นเดธโน้ ต) ซึง่ เป็ นแนวเรื่ องที่กลุม่ ผู้อา่ น


หลักอย่างเด็กผู้ชายชื่นชอบ ขณะเดียวกันการสร้ างตัวละครเอกที่เป็ นเด็ก การลดทอนความน่า
กลัวของเรื่ องราวลง อีกทังยั ้ งมีรายละเอียดของเรื่ องที่ใส่ความเป็ นแฟนตาซีจากสิ่งประดิษฐ์ ล ้ายุค
คอยช่วยเหลือตัวเอก ทังหมดนี ้ ้จึงช่วยให้ ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน เป็ นการ์ ตนู สืบสวนสอบสวนที่
แตกต่างไปจากการ์ ตนู แนวเดียวกัน เพราะในช่วงเวลาใกล้ เคียงกับที่การ์ ตนู เรื่ องนี ้เริ่ มวางจาหน่าย
ผู้อา่ นชาวไทยคุ้นเคยอยู่กบั การ์ ตนู สืบสวนเรื่ องดังอย่างคินดะอิจิกับฆาตกรรมปริศนา ซึง่ เป็ น
การสืบสวนแบบเดียวกัน (ฆาตกรรมในสถานที่ปิดตาย) เพียงแต่ตวั ละครเอกเป็ นผู้ใหญ่ และให้
ความรู้สกึ จริงจังของเรื่ องราวมากกว่าเพราะตัวเอกไม่มีตวั ช่วยประเภทอุปกรณ์ล ้ายุคเหมือนเช่น
โคนัน
จากทัง้ 6 เรื่ องอาจสรุปได้ วา่ แม้ ทกุ เรื่ องจะมีหลากแนว หลายรส แต่ก็มีจดุ ร่วมที่
เหมือนกันคือเนื ้อหายังคงอยู่ในวังวนของแนวเรื่ องแบบต่อสู้ (อาจต่อสู้ทางร่างกายเช่นดราก้ อน
บอล วันพีซ นินจาคาถาฯ หรื อต่อสู้ทางสติปัญญาอย่างเดธโน้ ต หรื ออาจต่อสู้เพื่ออุดมการณ์
อย่างทเวนตี ้ฯและโคนัน) นอกจากนี ้ทุกเรื่ องยังมีกลิ่นไอของความเป็ นแฟนตาซี (เหนือจริง)
ซึง่ เป็ นแนวที่เอื ้อต่อสื่อการ์ ตนู อันสามารถสร้ าง “จินตนาการ” ให้ กลายเป็ น “เรื่ องจริง” ได้ อย่าง
แทบไร้ ขีดจากัด (เช่นเดธโน้ ตก็สร้ างเรื่ องของยมทูต และสมุดโน้ ตฆ่าคน หรื อกระทัง่ เรื่ องนักสืบ
อย่างโคนันก็ยงั สร้ างเรื่ องของกลุม่ องค์กรลึกลับที่สร้ างยาประหลาดให้ ผ้ ใู หญ่กลายร่างเป็ นเด็ก)
ซึง่ หากแยกแยะแนวเรื่ องของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องก็อาจสรุปได้ ดงั นี ้ (เรี ยงลาดับจากแนวเรื่ องที่ปรากฎ
ในเนื ้อเรื่ องมากไปหาน้ อย)

เรื่อง แนวเรื่อง
ดราก้ อนบอล ต่อสู้ แฟนตาซี ผจญภัย ตลก
วันพีซ แฟนตาซี ผจญภัย ต่อสู้ ตลก ดราม่า
นินจาคาถาฯ ต่อสู้ แฟนตาซี ดราม่า
เดธโน้ ต ลึกลับ แฟนตาซี ต่อสู้
ทเวนตี ้ฯ ลึกลับ แฟนตาซี ดราม่า ต่อสู้
ยอดนักสืบจิ๋วฯ สืบสวน ต่อสู้ แฟนตาซี

ตารางที่ 1 แนวเรื่ องของการ์ ตูนทัง้ 6 เรื่อง


59

1.2 โครงเรื่อง (Plot)


1.2.1 จังหวะและลาดับการเดินเรื่อง
ก. เดินเรื่ องกระชับ ฉับไว
จากทังหมด
้ 6 เรื่ อง ดราก้ อนบอล และเดธโน้ ตโดดเด่นในแง่จงั หวะ
ของการเดินเรื่ องที่รวดเร็วมากที่สดุ และน่าสังเกตว่าตลอดทังเรื
้ ่ องไม่มีการเล่าเรื่ องย้ อนอดีต
(flash back) เพื่ออธิบายปูมหลังของตัวละคร หรื อเพื่อหาเหตุผลให้ กบั การกระทาที่เกิดขึ ้น แต่
ผู้เขียนเลือกจะเดินเรื่ องราวพุ่งตรงไปข้ างหน้ าโดยสร้ างเหตุการณ์ หรื อสถานการณ์อดั แน่นให้ ตวั
ละครต้ อง “ปะทะ” ฝี มือกันอยู่ตลอดเวลา เรี ยกได้ ว่าแทบไม่ต้องหายใจหายคอกันเลยทีเดียว
นอกจากนี ้ยังสร้ างสรรค์ตวั ละครฝ่ ายตรงกันข้ ามกับพระเอกให้ มีจานวนมากพร้ อมๆ กับสร้ างคา
แร็คเตอร์ ที่หลากหลายทาให้ สร้ างความน่าตื่นเต้ นให้ ผ้ อู า่ นได้ ล้ นุ อยูต่ ลอดเวลาว่าคูต่ อ่ สู้ข อง
พระเอกคนต่อไปจะเป็ นใคร มีลกั ษณะเด่นอย่างไร นอกจากนี ้ยังออกแบบการต่อสู้ให้ ตวั ละคร
ไม่ต้องปะทะมือกันกลับไปกลับมาหลายครัง้ และไม่ต้องเสียเวลาวางแผนต่อสู้กนั ให้ ซบั ซ้ อนหลาย
ขันตอน
้ เพราะมักตัดสินผลแพ้ ชนะกันได้ ภายในฉากเดียว ซึง่ หากจะลาดับเหตุการณ์ที่โงคูต้อง
พบเจอกับตัวละครซึง่ เป็ นคูต่ อ่ สู้หลักนันมี ้ เป็ นจานวนมากโดยเรี ยงลาดับได้ ดงั นี ้
ปิ ลาฟ  กองทัพเร้ ดริบบ้ อน  จอมมารพิคโกโร่  ราดิซ (นักรบดาวไซย่า)  เบจิต้า/นัป
ป้า (นักรบดาวไซย่า)  ฟรี เซอร์ (มนุษย์ตา่ งดาว)  มนุษย์ดดั แปลงหมายเลข 17-18 และเซล
 จอมมารบู
การเดินเรื่ องอย่างกระชับ ฉับไวของดราก้ อนบอลนันเหมาะสม ้
กับเรื่ องราวที่มงุ่ เน้ นไปที่การต่อสู้เป็ นหลัก เพราะผู้อา่ นย่อมคาดหวังความเร้ าใจในฉากต่อสู้
ขณะเดียวกันการสร้ าง “ผู้ร้าย” ให้ มีความหลากหลาย ไม่ผกู ขาดตัวละครร้ ายอยูเ่ พียงตัวเดียวก็
เปิ ดทางให้ ผ้ เู ขียนได้ สร้ างสรรค์ตวั ละครและเหตุการณ์ใหม่ๆ จนยากจะคาดเดาซึง่ ก็ส่งผลให้ ผ้ อู า่ น
ย่อมต้ องการติดตามผลงานอย่างต่อเนื่อง
ส่วนเดธโน้ ต ก็ใช้ กลวิธีเดินเรื่ องไปข้ างหน้ า (สร้ างสถานการณ์/
เหตุการณ์ปัจจุบนั ) โดยไม่มีการท้ าวความย้ อนหลัง (flash back) เช่นกัน โดยหากได้ ลองอ่าน
เพียงหน้ าแรก ก็จะเห็นทิศทางของเรื่ องผ่านคาพูดของยมทูต “ลุค” ที่กาลังรู้สกึ เบื่อกับหน้ าที่การ
ฆ่ามนุษย์ด้วยการเขียนรายชื่อคน (ที่ถกู สุม่ เลือก) ผ่านสมุดบันทึกมรณะหรื อ “เดธโน้ ต” จึงนึก
สนุกโดยทาเดธโน้ ตตกลงไปยังโลกเพื่อให้ มนุษย์ที่เก็บโน้ ตมรณะเป็ นผู้กาหนดชะตาชีวิตมนุษย์ (ชี ้
เป็ นชี ้ตาย) แทนยมทูตเสียเอง ซึง่ มนุษย์ที่เก็บโน้ ตมรณะได้ นนก็
ั ้ เป็ นนักเรี ยนมัธยมที่แสน
เพียบพร้ อมคนหนึง่ ที่ชื่อ “ยางามิ ไลท์”
60

และแค่เนื ้อหาเล่มแรกก็มีเหตุการณ์เกิดขึ ้นหลายเหตุการณ์ ทังการที ้ ่ตวั


ละครเอกอย่างไลท์ใช้ เดธโน้ ตฆ่าอาชญากรตัวเอ้ ระดับโลกจานวนมากเพื่อเป้าหมายการทาให้ โลก
สงบสุข ส่วนตารวจก็มองว่าผู้ที่อยูเ่ บื ้องหลังการเสียชีวิตของเหล่าอาชญากรคือฆาตกรที่ต้องไล่
ล่าตัวมาลงโทษให้ ได้ แต่ขณะเดียวกันสังคมออนไลน์กลับสนับสนุนการกระทาของฆาตกรโดยตัง้
ฉายาให้ กบั ฆาตกรว่าเป็ น “คิระ” (Killer) หรื อพระเจ้ าของพวกเขา นอกจากนี ้ยังเกิดตัวละคร
หลักอย่าง “แอล” เด็กหนุม่ ปริศนาที่อยูเ่ บื ้องหลังการคลี่คลายคดีสาคัญๆ ระดับโลกให้ กบั องค์กร
ตารวจสากล ซึง่ กลายมาเป็ นคูป่ รับตัวฉกาจที่วางแผนสืบหาคิระตัวจริง โดย“แอล” สามารถใช้
แผนล่อหลอกให้ คริ ะเผยตัวออกมาจนจากัดพื ้นที่การสอบสวนได้ วา่ คิระที่ตารวจตามหานันอยู ้ ใ่ น
ญี่ปนุ่ จนทาให้ ต้องมีการระดมกาลังเอฟบีไอช่วยกันสืบหาคิระ
จากชุดเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นในการ์ ตนู เล่มแรกของเดธโน้ ตก็คงพอเห็นแล้ ว
ว่าเป็ นการ์ ตนู ที่เดินเรื่ องรวดเร็ว กระชับเหมือนเช่นดราก้ อนบอล ซึง่ เนื ้อหาเพียงแค่เล่มเปิ ดตัวก็
จับคนอ่านได้ อยู่หมัดแล้ ว เพราะเรื่ องราวมีความชัดเจน ทังการเปิ ้ ดตัวละครหลักสองฝ่ าย และ
ปมของเรื่ องที่ทาให้ ผ้ อู า่ นเห็นทิศทางในก้ าวต่อไปว่าผู้อา่ นจะได้ เห็นเรื่ องราวการการต่อสู้-ห ้าหัน่ กัน
ระหว่างคิระ กับแอล ขณะเดียวกันจินตนาการของผู้เขียนที่สามารถสร้ างตัวละครให้ เก่งกาจจน
วางแผนก้ าวไปไกลกว่าที่ผ้ อู ่านคาดคิดก็เป็ นจุดดึงดูดสาคัญของเดธโน้ ต
“ผมรู้สึกทึ่งมากที แ่ ค่เพียงแป๊ ปเดี ยว ตัวละครอย่างแอลก็สามารถใช้
แผนการถ่ายทอดสดท้าทายคิ ระจนสื บรู้ได้ว่าคิ ระตัวจริ งอยู่ในญี ่ปนุ่ มันแสดงถึงความฉลาดของ
ตัวละคร และความเก่งของผูเ้ ขี ยน” (ประสพโชค จันทรมงคล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม 2554)
อาจกล่าวได้ วา่ ความรวดเร็ว และความกระชับในการเดินเรื่ องโดยการ
สร้ างตัวละครฝ่ ายร้ าย/เหตุการณ์ใหม่ๆ ให้ ตวั ละครเอกต้ องฟั นฝ่ าอุปสรรคไปได้ (ดราก้ อนบอลได้
ทุม่ กาลังในการออกแบบตัวละครใหม่ๆ ให้ โงคูตอ่ สู้อยู่ตลอด/เดธโน้ ตก็สร้ างสรรค์เหตุการณ์
วางแผนเอาชนะคะคานซึง่ กันและกันระหว่างแอลและคิระ) คือจุดแข็งของทังดราก้ ้ อนบอล และ
เดธโน้ ตที่สร้ างแรงดึงดูดจากผู้อา่ นให้ ตดิ ตามได้ เป็ นอย่างดี
ข. เล่าย้ อนอดีตเพื่อสร้ างความลึกซึ ้งให้ ตวั ละคร
แม้ วา่ การเดินเรื่ องตรงไปข้ างหน้ าอย่างรวดเร็วจะเป็ นวิธีการที่เหมาะสม
กับสื่อการ์ ตนู (เพราะผู้อา่ นกลุม่ ใหญ่ยงั คงเป็ นเยาวชนที่ยากจะมีสมาธิกบั เรื่ องที่จงั หวะเรี ยบเรื่ อย)
แต่ก็ไม่อาจกล่าวได้ วา่ การ์ ตนู ยอดนิยมส่วนใหญ่จะใช้ วิธีดงั กล่าวทังหมด ้ เพราะวัน พีซ และ
นินจาคาถาฯ เองก็ใช้ วิธีตรงกันข้ าม โดยให้ ความสาคัญกับการย้ อนเล่าถึงเหตุการณ์ในอดีต
โดยวันพีซนัน้ ถึงแม้ จะมีลกั ษณะของการ์ ตนู แนวต่อสู้ซงึ่ ส่วนใหญ่เน้ น
61

ความฉับไวในการเดินเรื่ อง แต่กลับไม่เดินหน้ าสร้ างสถานการณ์ -เหตุการณ์ใหม่ๆ เพื่อผลักดัน


เรื่ องไปข้ างหน้ าเพียงอย่างเดียว เพราะมักจะหยุดเล่าเหตุการณ์ในปั จจุบนั และอนาคตผ่านการ
เล่าย้ อนอดีต หรื อแฟลชแบ็ค (flash back) เพื่อสร้ างแรงขับ-เหตุผลของนิสยั การกระทา และ
ความมุง่ มัน่ ของตัวละครในปั จจุบนั ความโดดเด่นในการใช้ แฟลชแบ็คแสดงถึงความกล้ าของ
ผู้เขียนในการเลือกใช้ วิธีเดินเรื่ องเช่นนี ้ เพราะการเล่าแบบแฟลชแบ็คทาให้ เรื่ องราวในปั จจุบนั
หยุดนิ่ง ดังนันหากผู้ ้ เขียนเลือกจะไม่เดินเรื่ องไปข้ างหน้ าเป็ นเวลานานก็อาจทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ เบื่อ
เนื่องจากเรื่ องไม่คืบหน้ าจนพาลเลิกติดตามเรื่ องราวได้ แต่การใช้ วิธีเล่าย้ อนอดีตในวันพีซก
ลับทาให้ เรื่ องราวในปั จจุบนั และเหตุการณ์ที่กาลังจะเกิดในอนาคตน่าเชื่อถือมากขึ ้น เพราะเป็ น
การเล่าย้ อนอดีตในช่วงเวลาที่ตวั ละครหลัก (ที่กาลังดาเนินเรื่ องอยูใ่ นเวลานัน) ้ กาลังทาพฤติกรรม
น่าสงสัย หรื อกาลังสร้ างเงื่อนปมบางอย่างที่กระตุ้นให้ คนอ่านสนใจอยากรู้ถึงสาเหตุของการ
กระทาของตัวละคร ดังนันการย้ ้ อนไปเล่าถึงเหตุการณ์ที่ตวั ละครประสบในอดีต ทังชี ้ วิตวัยเด็ก
และสภาพแวดล้ อมที่ตวั ละครเติบโตขึ ้นมา ซึง่ เป็ นวิธีการเล่าโดยใช้ “ผลลัพธ์” ก่อน “สาเหตุ”
เช่นนี ้นี่เองจึงทาให้ ผ้ อู า่ นเข้ าใจความคิด และการกระทาของตัวละครในปั จจุบนั มากขึ ้น
การเล่าย้ อนถึงปมอดีตของตัวละครแสดงถึงการให้ ความสาคัญกับ “ที่มา
ของตัวละคร” ดังนันประวั ้ ติชีวิตของตัวละครหลักในวันพีซจึง “ไม่ธรรมดา” เพราะล้ วนถูกกระทา
จากสังคม หรื อมีแรงกดดันบางอย่างที่สง่ ผลให้ ต้องเป็ นโจรสลัด และส่งผลต่อการกาหนด
เป้าหมายในชีวิตที่นา่ สนใจ (อ่านรายละเอียดในหัวข้ อตัวละคร) เช่น การเล่าเรื่ องราวของ “ช้ อป
เปอร์ ” ซึง่ เปิ ดตัวละครด้ วยภาพของกวางเรนเดียร์ ที่กินผลปี ศาจเข้ าไปจนมีรูปลักษณ์ก ้ากึ่งระหว่าง
คนและกวาง ทาให้ ช้อปเปอร์ มีอาการหวาดกลัว ไม่กล้ าเผชิญหน้ ากับผู้คน และเมื่อดึงดูดผู้อา่ น
ด้ วยคาแร็ คเตอร์ ประหลาดของช้ อปเปอร์ แล้ ว ก็ได้ เล่าย้ อนไปเฉลยอาการหวาดกลัวมนุษย์ของ
เจ้ ากวางเรนเดียร์ ตวั นี ้ว่า เป็ นเพราะร่างกายที่ผิดแผก-แตกต่าง ไม่ใช่ทงคนและไม่ ั้ ใช่ทงกวาง
ั้ ทา
ให้ กลุม่ กวางป่ าก็ไม่ยอมรับ และกลุม่ มนุษย์ในหมู่บ้านก็มองว่าเป็ นตัวประหลาดจนเอาก้ อนหินมา
ขว้ างปาขับไล่ช้อปเปอร์ อยูร่ ่ าไป แต่ในช่วงเวลาที่ทงร่ ั ้ ายกายและจิตใจบอบช ้าจากการ “ไม่เข้ า
พวก” กับใครเลยนันกลั ้ บมีชายคนหนึง่ ที่ยอมรับช้ อปเปอร์ หมดหัวใจ และชายคนที่วา่ นี ้ก็คือหมอ
ประจาหมูบ่ ้ าน (ซึง่ น่าสนใจว่าหมอคนนี ้ก็ไม่ใช่หมอที่ได้ รับการยอมรับจากคนในหมูบ่ ้ านเท่าไหร่
นัก) และวันหนึง่ หมอที่เขารัก (และเป็ นคนเดียวที่ยอมรับมนุษย์กวาง) ได้ เสียชีวิตลง นี่จงึ เป็ น
แรงผลักดันที่ทาให้ ช้อปเปอร์ มงุ่ มัน่ ในความฝั นที่ต้องการเป็ นหมอชันเซี ้ ยนระดับโลกให้ ได้
จะเห็นได้ วา่ การใช้ flash back ในวันพีซช่วยให้ ผ้ อู ่านไม่ใช่แค่มองเห็น
62

การกระทาของตัวละครตามแบบที่ผ้ เู ขียนต้ องการผลักให้ เรื่ องเดินตรงไปข้ างหน้ าแต่เพียงผิวเผิน


เพียงอย่างเดียว แต่ชว่ ยให้ ผ้ อู า่ น “เข้ าใจ” อย่างถ่องแท้ ถึงวิถีการดาเนินชีวิต และความฝั นของตัว
ละคร ดังนันจึ ้ งไม่แปลกที่วนั พีซจะทาให้ ผ้ ูอ่านยอมรับถึงการกระทาของตัวละครอย่างหมดหัวใจ
กระทัง่ แอบลุ้นกับบทสรุปของตัวละคร (หากตัวละครทาความฝั นเป็ นจริงก็เปรี ยบเหมือนได้ ชดเชย
ความรู้สกึ ของผู้อ่านที่อยากจะทาความฝั นให้ เป็ นจริงเช่นกัน เพราะในโลกแห่งความจริงนันมี ้ คน
เพียงหยิบมือเดียวที่ฝันกลายเป็ นจริง) หรื อถึงขันหลงรั ้ กตัวละครหลายๆ ตัวในเรื่ องนี ้ได้ ไม่ยาก
ซึง่ นี่ก็เป็ นจุดเด่นที่ทาให้ วนั พีซเหนือชันกว่
้ าการ์ ตนู เรื่ องอื่นๆ ที่เน้ นแนวผจญภัย ต่อสู้อย่างชัดเจน
และก็นา่ จะเป็ นจุดสาคัญที่ทาให้ วนั พีซเป็ นการ์ ตนู ที่ครองใจผู้อา่ นทังชาวญี ้ ่ปนุ่ ชาวไทย รวมทังทั
้ ่ว
โลกเป็ นอันดับหนึง่ มาอย่างยาวนานจนถึงปั จจุบนั
ส่วนนินจาคาถาฯ นันค่ ้ อนข้ างให้ ความสาคัญกับอดีตของตัวละคร
เหมือนวันพีซ และนอกจากจะใช้ กลวิธีเล่าแบบย้ อนอดีต (flash back) แทรกเป็ นเนื ้อเดียวกับเนื ้อ
เรื่ องเหมือนเช่นวันพีซแล้ ว ยังมักจะเล่าแยกออกมาเป็ น “ตอนพิเศษ” เพื่อบ่งบอกให้ ผ้ อู า่ นทราบ
อย่างชัดเจนว่านี่คือตอนพิเศษที่จะหยุดเล่าถึงเหตุการณ์หลักของเรื่ องที่กาลังเกิดขึ ้นเพื่อเปลี่ยน
อารมณ์-บรรยากาศของเรื่ องราวในปั จจุบนั ให้ ผ่อนคลายลง โดยไปอธิบายถึงที่มาที่ไปของตัวละคร
แทน เหมือนเช่นการอธิบายถึงที่มาของการมีความสามารถในการลอกเลียนแบบของ คาคาชิ จน
ทาให้ เกิดเรื่ องราวตอนพิเศษเพื่อขยายความที่มาที่ไปของความสามารถในการใช้ ตาลอกเลียน
ท่าทางของผู้อื่นได้ เหมือนเช่นนินจาจากตระกูลอุจิวะขึ ้น ซึง่ การเล่าถึงอดีตของตัวละครโดย
แบ่งแยกออกจากเนื ้อหาหลักของเรื่ องเช่นนี ้ก็ทาให้ ผ้ อู ่านรู้สกึ ถึงความสาคัญที่น้อยกว่าตอนปกติ
หรื อรู้สกึ ว่าเป็ น “ตอนคัน่ เวลา” ที่ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ว่า “อ่านก็ได้ -ไม่อา่ นก็ได้ ” ในขณะที่การเล่า
ย้ อนอดีตที่แทรกซึมเป็ นเนื ้อเดียวกับเรื่ องราวหลักที่กาลังดาเนินอยูเ่ หมือนเช่นวันพีซย่อมสามารถ
หลอกล่อให้ ผ้ อู ่านติดตามอ่านเรื่ องราวในอดีตได้ โดยไม่มีการ “อ่านข้ าม” นัน่ เพราะไม่มีการแยก
เนื ้อหา (ตอนพิเศษ) ออกมาจากเนื ้อหาปกติอย่างชัดเจนเหมือนเช่นนินจาคาถาฯ นัน่ เอง แต่
ขณะเดียวกันการสร้ าง “ตอนพิเศษ” ก็ชว่ ยสร้ าง “ความลึกซึ ้ง” ของตัวละครและเรื่ องมากขึ ้นไปอีก
ค. การเล่า 3 เหตุการณ์คขู่ นานไปพร้ อมกัน
ขณะที่เรื่ องราวในทเวนตีเ้ ซนจูร่ ี บอยส์ ก็โดดเด่นเรื่ องกลวิธีการลาดับ
เหตุการณ์อย่างมาก นัน่ เพราะฉากเหตุการณ์สาคัญในการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีถึง 3 ช่วงเวลา โดยช่วงแรก
เหตุการณ์เกิดขึ ้นในปี โชวะที่ 40 หรื อประมาณปี 1969-1971 ซึง่ เป็ นการเล่าเรื่ องราววัยเด็กของ
เอ็นโด เคนจิ ตัวเอกของเรื่ อง และอดีตของ “เพื่อน” ผู้ตงองค์ ั ้ กรลึกลับขึ ้นมาเพื่อครองโลก ส่วน
ช่วงเวลาที่ 2 คือปี 1997-2000 เคนจิรวบรวมเพื่อนๆ ในวัยเด็ก เพื่อต่อสู้กบั เหล่าองค์กร "เพื่อน"
63

แต่ขา่ วสารกลับถูกบิดเบือนเมื่อ “เพื่อน” กลับกลายเป็ นฮีโร่ ในขณะที่เคนจิกลับกลายเป็ นอาชญา


กร (เนื่องจากเพื่อนมีเส้ นสายใหญ่โตและเป็ นพรรคการเมืองใหญ่ที่กมุ ขัวอ ้ านาจของรัฐบาลญี่ปน) ุ่
และช่วงเวลาที่ 3 คือปี 2014-2015 เป็ นเรื่ องราวความพยายามของคันนะ หลานสาวของเคนจิ (ลูก
ของพี่สาว) ที่ต้องการเปิ ดเผยโฉมหน้ าความเลวร้ ายของเพื่อนออกมาให้ ได้
ด้ วยเหตุการณ์หลักของเรื่ องที่มีหลายช่วงเวลาและค่อนข้ างซับซ้ อนทาให้
ผู้เขียนเลือกจะเล่าเรื่ องโดยใช้ การตัดกลับไปกลับมาให้ เห็นฉาก เหตุการณ์ทงอดี ั ้ ต ปั จจุบนั และ
อนาคตจนกลายเป็ นเอกลักษณ์ของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ โดยผู้เขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่าใช้ วิธีการเล่า
เหตุการณ์ตดั กลับไปกลับมาตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ องโดยเพียง 20 หน้ าแรก ก็ระดมสร้ างเหตุการณ์ให้ ผ้ อู ่าน
ต้ องออกอาการ “ฉงน” กันถึง 4 เหตุการณ์ คือ
1. เล่าถึงโรงเรี ยนชันประถมแห่
้ งหนึง่ เพื่อเล่าเหตุการณ์ในวัยเด็กของตัว
เอกอย่างเอ็นโด เค็นจิ
2. ตัดไปเล่าถึงหอประชุมยักษ์แห่งหนึง่ กาลังแห่แหนกันต้ อนรับฮีโร่
ผู้ชว่ ยมนุษยชาติให้ รอดพ้ นภัยพิบตั ิ (ยังไม่บอกว่าใครและภัยพิบตั คิ ืออะไร)
3. ตัดไปเล่าหญิงสาวคนหนึง่ (เอ็นโด คันนะ-แต่ยงั ไม่ได้ บอกที่มาที่ไป
ตัวละคร) เห็นเงาดาทะมึนของสัตว์ประหลาดพร้ อมเอ่ยออกมาว่า “มันอีกแล้ ว”
4. ตัดไปเปิ ดตัวละครหลักเคนจิ พระเอกของเรื่ อง ผ่านชีวิตที่แสนเรี ยบ
ง่าย โดยหลังจากทาความฝั นไม่สาเร็จ (การเป็ นนักดนตรี ) จึงกลับมาทางานช่วยแม่ขายของใน
ร้ านมินิมาร์ ทเล็กๆ แห่งหนึ่ง (ที่เมื่อก่อนเป็ นร้ านขายเหล้ าแต่เพราะพิษเศรษฐกิจจึงต้ องเปลี่ยน
กิจการ) พร้ อมกับต้ องแบกเป้อุ้มเด็กทารก (คันนะ) ไปด้ วย ขณะเดียวกันก็เกิดปมการเสียชีวิต
ของอาจารย์มหาวิทยาลัย (ซึง่ เคยเป็ นลูกค้ าร้ านเหล้ า) จากนันก็ ้ เล่าเหตุการณ์เสียชีวิตของ “ดอง
กี ้” เพื่อนในวัยประถม
แค่เพียง 20 หน้ าแรกการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็ทาให้ คนอ่านงุนงงกับเรื่ องราวที่จะ
เกิดขึ ้นในทเวนตี ้เซ็นจูรี่บอยส์เสียแล้ ว นัน่ เพราะผู้เขียนใส่เหตุการณ์ และตัวละครที่หลากหลาย
อย่างมาก ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู ่านที่ค้ นุ ชินกับการเล่าเรื่ องไปตามลาดับเวลา หรื อการเล่าผ่านมุมมอง
ของผู้เล่าที่ตามติดตัวละครหลักไปตลอดเรื่ องอาจเลิกอ่านการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไปกลางคัน แต่
ขณะเดียวกันความซับซ้ อนของเรื่ องที่ปไู ว้ ตงแต่ ั ้ เปิ ดเรื่ องก็ดงึ ดูดความสนใจกลุม่ ผู้อา่ นที่ชอบเรื่ อง
ลึกลับ และกลุม่ ผู้อา่ นที่อยูใ่ นวัยผู้ใหญ่เอาไว้ ได้ ขณะเดียวกันการใส่รายละเอียดฉาก เหตุการณ์
ในหลายช่วงเวลาพร้ อมกับนาเสนอตัดไปตัดมาเช่นนี ้ก็แสดงถึงชันเชิ ้ งของผู้เขียนในแง่การลาดับ
64

เรื่ องราวที่สามารถกระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นได้ คดิ และนารายละเอียดของแต่ละเหตุการณ์มาปะติดปะต่อ


เพื่อเข้ าใจเรื่ องราวโดยรวมในตอนท้ ายเรื่ อง
ง. การเล่าเรื่ องเดิมซ ้าไปซ ้ามา
ในขณะที่ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเองก็มีจงั หวะการเดินเรื่ องที่คอ่ นข้ าง
กระชับ แต่ไม่ได้ เน้ นกลวิธีเล่าเรื่ องที่เดินหน้ าอย่างรวดเร็วเหมือนเช่นดราก้ อนบอลและเดธโน้ ต
โดยยอดนักสืบจิ๋วโคนันแทบไม่มีการเล่าย้ อนอดีต (ที่ลงลึกถึงรายละเอียดของตัวละครเหมือน
เช่นวันพีซ) หรื อการตัดสลับเหตุการณ์แบบไม่เรี ยงลาดับเวลา นัน่ เพราะแนวเรื่ องที่เป็ นการ
สืบสวนสอบสวนจึงเป็ นการเล่าย้ อนอดีตเพียงสันๆ ้ ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นก่อนคดีฆาตกรรม และ
ด้ วยลักษณะของการ์ ตนู ที่จบในตอน (มีความยาวไม่มากนัก) ประกอบกับเนื ้อเรื่ องที่ไม่ใช่คดี
ซับซ้ อนจึงเหมาะสมกับการเล่าเรื่ องที่สร้ างความเข้ าใจได้ ง่ายนัน่ คือการเรี ยงไปตามลาดับเวลา ไม่
มีการตัดสลับเหตุการณ์กลับไปกลับมา นัน่ เพราะไม่มีเหตุการณ์เกิดขึ ้นหลายเหตุการณ์เหมือน
เช่นทเวนตี ้ฯ แต่มีเหตุการณ์หลักเกิดขึ ้นเพียงช่วงเวลาเดียวคือ ณ จุดเกิดเหตุฆาตกรรม การเล่า
เรื่ องจึงเน้ นย ้าอยูท่ ี่จดุ เกิดเหตุในบริเวณแคบๆ ซ ้าไปซ ้ามา โดยค่อยๆ เล่าให้ เห็นรายละเอียดทีละ
เล็กทีละน้ อย ณ จุดที่เกิดคดี (ที่ตวั เอกเคยมองข้ ามไป) เพื่อการคลี่คลายปมของคดีให้ ได้ นนั่ เอง
ดังนันจึ
้ งอาจสรุปจังหวะและการลาดับเรื่ องของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องได้ ดงั นี ้

จังหวะ-การลาดับเรื่อง ชื่อเรื่อง
เน้ นเล่าเรื่ องรวดเร็ว ไปข้ างหน้ า ดราก้ อนบอล เดธโน้ ต
เน้ นเล่าย้ อนอดีต วันพีซ นินจาคาถาฯ
เน้ นเล่าหลายเหตุการณ์พร้ อมกัน ทเวนตี ้ฯ
เน้ นเล่าเหตุการณ์เดียวซ ้าไปมา ยอดนักสืบจิ๋วฯ

ตารางที่ 2 จังหวะ-การลาดับเรื่อง

1.2.2 ความสมจริง และความน่ าเชื่อถือของโครงเรื่อง


แม้ การ์ ตนู จะเป็ นสื่อที่ชว่ ยถ่ายทอดจินตนาการได้ อย่างมากจนทาให้ หลายคนมัก
รู้สกึ ว่าเนื ้อหาของสื่อชนิดนี ้ “โอเวอร์ ” (เกินจริง) แต่ในความเกินจริงนันการ์ ้ ตนู ก็ยงั เป็ นเรื่ องเล่า
ชนิดหนึง่ ซึง่ แน่นอนว่าเรื่ องเล่าที่ดีย่อมต้ องทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึก”สมจริง” หรื อรู้สกึ “เชื่อ” ในจินตนาการ
ที่ผ้ เู ขียนได้ ถ่ายทอดออกมาให้ ได้ และยิ่งแปรเปลี่ยนจินตนาการให้ ผ้ อู า่ นเชื่อถือได้ มากเท่าไหร่
65

การ์ ตนู เรื่ องนันย่


้ อมน่าติดตามมากขึ ้น ซึง่ จากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องก็มีการวางโครงเรื่ องที่สมจริง
และน่าเชื่อถือแตกต่างกันดังนี ้
1.2.2.1 ดราก้ อนบอล
ก. เดินเรื่ องเร็วแต่โครงเรื่ องโหว่
ดราก้ อนบอลมีการเดินเรื่ องกระชับฉับไวพร้ อมกับมุขตลกที่
สอดแทรกอยูต่ ลอดเวลาซึง่ ทาให้ เรื่ องราวสนุกสนานอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ย่อมส่งผลให้ การใส่ใจใน
รายละเอียดบางส่วนหล่นหายไปจนอาจทาให้ โครงเรื่ องไม่สมเหตุผลเท่าที่ควร โดยเฉพาะเรื่ อง
“ภูมิหลังของตัวละคร” เช่น ความเก่งกาจของตัวละครพระเอกอย่างโงคูที่ผ้ เู ขียนมักเลือกใช้ วิธีเล่า
เรื่ องผ่านบุคคลที่ 3 ว่าเหตุการณ์ได้ ผา่ นไปแล้ วหลายปี พร้ อมกับตัวละครกลับมาเก่งกาจขึ ้นโดยไม่
มีการเล่าถึงรายละเอียดในการฝึ กฝี มือของตัวละคร (เช่นตอนที่พระเอกไปฝึ กวิชาเคลื่อนย้ ายมิติ
กลับมา ผู้อา่ นก็ร้ ูเพียงว่าพระเอกได้ ฝึกวิชาใหม่แต่ไม่ร้ ูรายละเอียดในการฝึ กฝนหรื อผู้ที่ชว่ ยสอน
วิชาให้ เลย แต่ผ้ เู ขียนกลับบอกผู้อา่ นผ่านการให้ ตวั ละครเป็ นคนพูดกับกลุม่ เพื่อนแทน) การ
เลือกที่จะไม่ให้ ผ้ อู า่ นรับรู้ รายละเอียดในการฝึ กปรื อฝี มือของตัวเอกอย่างแจ่มชัด นี ้จึงเป็ นส่วนหนึง่
ที่ทาให้ ผ้ อู ่านไม่ร้ ูสกึ เข้ าถึงในความพยายามของตัวละคร แต่กลับทาให้ ร้ ูสกึ ว่าการได้ มาซึง่
ฝี มือนันเป็
้ นเรื่ อง ”ง่ายดาย”
และเนื่องจากตัวละครเอกต้ องพัฒนาฝี มือให้ เก่งขึ ้นเรื่ อยๆ (ตาม
ความคาดหวังของผู้อา่ น) ทาให้ โครงเรื่ องมีรอยโหว่ในบางเงื่อนไขที่ผ้ เู ขียนสร้ างเอาไว้ จนทาให้
เรื่ องราวไม่สมเหตุสมผล เช่น พระเจ้ าสูงสุดของโลกมนุษย์แท้ จริงแล้ วมีพื ้นเพเป็ นมนุษย์ตา่ งดาว
(ชาวดาเม็ก) ซึง่ ดูจะไม่เป็ นเหตุเป็ นผลนัก เพราะหากต้ องการสร้ างพระเจ้ าผู้สร้ าง-ทาลายสิ่งใดใน
โลกได้ ก็ควรสร้ างตัวละครที่ไม่ถกู จัดหมวดหมูว่ ่าเป็ นชาวโลกหรื อชาวต่างดาว แต่ควรจะเป็ นผู้ที่
ดารงสถานะอยูเ่ หนือสิ่งอื่นใด หรื อการที่ “ท่านไคโอ” ซึง่ นับเป็ นพระเจ้ าสูงสุดแห่งจักรวาล
ยอมรับว่าตนเองไม่สามารถไปสู้รบปรบมือกับนักรบชาไซย่าเพราะตนมีฝีมือด้ อยกว่า ทังๆ ้ ที่ชาว
ไซย่าก็เป็ นเพียงสิ่งมีชีวิตหนึ่งในจักรวาลเท่านัน้ นัน่ หมายความว่าผู้ควบคุมจักรวาลสู้ชาวไซย่า
ไม่ได้ อย่างนันหรื้ อ แต่โงคู-พระเอกของเรื่ องกลับสู้กบั ชาวไซย่าได้ หรื อการที่โงคูมีพลัง
เคลื่อนย้ าย (สิ่งของ) ข้ ามมิตไิ ด้ แต่กลับไม่ได้ นาพลังดังกล่าวมาใช้ ในยามคับขัน เช่นไม่ได้ ชว่ ยให้
มนุษย์ดดั แปลงหมายเลข 17 รอดพ้ นจากฝี มือของฝ่ ายตัวร้ ายอย่างเซล แต่ในเวลาไล่เลี่ยกันโงคู
กลับนึกถึงวิชาเคลื่อนย้ าย (สิ่งของ) ข้ ามมิติขึ ้นได้ โดยกลับมาช่วยเพื่อนตัวเอง อย่างพิคโกโร่
และเท็นชินฮัง หลังจากที่เซลดูดพลังมนุษย์ดดั แปลงหมายเลข 17 ไปแล้ ว เป็ นต้ น
ข. จุดคลี่คลายซ ้าซาก
66

“ความบังเอิญ” ดูจะเป็ นทางออกหรื อจุดคลี่คลายเรื่ องราวใน


ดราก้ อนบอลอยูห่ ลายครัง้ ซึง่ “ความบังเอิญ” นี ้เองที่เป็ นตัวลดทอนความสมจริงในเรื่ องราว
ลงไป เช่นตัวละครอย่างโงคู และพระเจ้ าที่ถกู ส่งลงมายังโลกมนุษย์ตงแต่ ั ้ เยาว์วยั กลับไม่มีใครจา
พื ้นเพความเป็ นชาวต่างดาวของตัวเองได้ โดยผู้เขียนเลือกจะให้ เหตุผลเดียวกันอย่างคลุมเครื อคือ
“สูญเสียความทรงจาเพราะหัวโดนกระแทกบางอย่างอย่างรุนแรง” นัน่ อาจแสดงถึงผู้เขียนไม่ได้
ผูกเรื่ อง หรื อนึกไม่ถึงว่าเรื่ องจะไปไกลขนาดที่ต้องอธิบายที่มาของตัวละคร (เพราะตัวละครอย่าง
โงคูเก่งกาจกว่ามนุษย์นบั พันเท่า และพระเจ้ าก็หน้ าตาเหมือนปี ศาจผสมมนุษย์ตา่ งดาว จนทาให้
ผู้เขียนต้ องอ้ างเหตุผลว่าทังคู ้ ม่ าจากนอกโลกนัน่ เอง)
และนอกเหนือจากการใช้ ความบังเอิญเป็ นทางออกของปม
ขัดแย้ งในบางจุดแล้ ว การที่ต้องคลี่คลายเรื่ องราวให้ จบแบบมีความสุข (Happy Ending) ตาม
ลักษณะของการ์ ตนู สาหรับกลุม่ ผู้อา่ นเด็กไปจนถึงวัยรุ่นจึงผลักให้ ผ้ เู ขียนต้ องนา “ดราก้ อนบอล”
มาใช้ เป็ นทางออกของทุกๆ สิ่ง ซึง่ แน่นอนว่าเป็ นการตอกย ้า “ชื่อเรื่ อง” และ แก่นความคิดของ
เรื่ องให้ ชดั เจนมากขึ ้น แต่ “มุขเกี่ยวกับมังกร” หรื อการคลี่คลายเรื่ องผ่านมังกรผู้สามารถดล
บันดาลพรใดก็ได้ นนถู ั ้ กนามาใช้ อยู่บอ่ ยครัง้ (ตลอดทังเรื
้ ่ องเทพเจ้ ามังกรปรากฏตัวถึง 14 ครัง้ ) จน
ทาให้ เรื่ องราวขาดความสมจริงสมจัง และไม่ทาให้ เกิดอาการ “ลุ้น” จากผู้อา่ น เพราะอย่างไร
ผู้อา่ นก็นกึ อยูเ่ สมอว่า “เดี ๋ยวตัวละครฝ่ ายพระเอกที ต่ ายไปก็จะถูกชุบชี วิตใหม่ด้วยเทพมังกรอยู่ดี”
นอกจากนี ้การนามังกรมาใช้ เป็ นทางออกของเรื่ องยังมีการ
แปรเปลี่ยนเงื่อนไขไปในตอนท้ ายเรื่ อง แสดงถึงผู้เขียนไม่ซื่อสัตย์กบั เงื่อนไขที่สร้ างขึ ้นแก่ผ้ อู า่ น
ตังแต่้ แรกว่าเทพเจ้ ามังกรสามารถให้ พรแก่ผ้ ทู ี่รวบรวมดราก้ อนบอลครบ 7 ลูกได้ เพียง 1 ข้ อ
โดยในช่วงท้ ายเรื่ องนัน้ โทริยาม่า อากิระได้ เพิ่มความสามารถของมังกรให้ บนั ดาลพรเพิ่มได้ จาก
1 ข้ อเป็ น 3 ข้ อ พร้ อมๆ กับให้ เหตุผลว่ามังกรให้ พรเพิ่มได้ ตามเงื่อนไขของชาวนาเม็ก (ผู้สร้ าง
มังกรตัวจริง) ซึง่ มังกรบนดาวนาเม็กสามารถให้ พรได้ 3 ข้ อ แต่ทงนี
ั ้ ้ผู้เขียนเพิ่มความสามารถ
ของมังกรก็เพื่อให้ ช่วยคลี่คลายปมหลายๆ จุดในเรื่ องให้ จบแบบ happy ending พร้ อมๆ กัน เช่น
การขอให้ ตวั ละครฝ่ ายพระเอกฟื น้ ขึ ้นจากความตาย พร้ อมๆ กับขอให้ ทกุ คนบนโลกมนุษย์ฟืน้ คืน
ชีพอีกครัง้ เป็ นต้ น ้ การที่ต้องพึง่ “ตัวช่วย” หรื อ “สิ่งศักดิส์ ิทธิ์” ในนิทาน เทพนิยาย
ดังนันแม้
หรื อกระทัง่ การ์ ตนู แนวแฟนตาซีดจู ะเป็ นเรื่ องธรรมดาก็จริ งอยู่ แต่การเสริมแต่ง “เงื่อนไข” ให้ สิ่ง
ศักดิส์ ิทธิ์มีฤทธิ์เดชเพิ่มขึ ้น ในภายหลังดูจะเป็ นทางออกของการคลี่คลายปมปั ญหาที่ไม่คอ่ ยเหนือ
ชันนั้ ก
ค. ไม่มีใครตายจริงในดราก้ อนบอล
67

ความพยายามในการรักษาชีวิต-บทบาทของตัวละครมากเกินไป
จนไม่ยอมให้ ตวั ละครหลักๆ ฝ่ ายพระเอกตายจริงเสียที (โดยพึง่ ฝี มือชุบชีวิตจากเทพเจ้ ามังกรอยู่
ตลอดเวลา) ก็ทาให้ ผ้ อู ่านไม่ล้ นุ ไปกับฉากการต่อสู้เท่าที่ควร นอกจากนี ้แม้ กระทัง่ มังกรที่ถกู ฆ่า
ตายไปแล้ วด้ วยฝี มือของพิคโกโร่ แต่จนแล้ วจนรอดก็ยงั ถูกชุบชีวิตให้ ฟืน้ ขึ ้นมาใหม่ได้ สถานะ
ของมังกรที่นา่ จะเป็ นผู้ชว่ ยเหลือสูงสุดของเรื่ อง (ตามชื่อเรื่ อง และทิศทางของเรื่ องในตอนแรกที่ผ้ ู
รวบรวมดราก้ อนบอลสาเร็จจะสามารถขอพรจากเทพเจ้ ามังกรได้ 1 ข้ อ) จึงลด “ความศักดิส์ ิทธิ์”
ลงไป (เพราะมีพระเจ้ าและชาวดาเม็กผู้ที่เหนือกว่ามังกร และสามารถชี ้เป็ นชี ้ตายมังกรได้ โผล่
ขึ ้นมาภายหลังนัน่ เอง)
แต่ทงนี
ั ้ ้ทังนั
้ นการไม่
้ อธิบายถึงที่มาที่ไปของตัวละครมากนัก
การคลี่คลายปมขัดแย้ งที่ไม่สมเหตุสมผลในหลายๆ เงื่อนไขที่ผ้ เู ขียนสร้ างขึ ้น รวมทังการมี ้ ชีวิต
รอดของตัวละคร (ไม่ตายจริ ง) ตามที่กล่าวไปแล้ วข้ างต้ น ก็ไม่ได้ ลดทอนความน่าสนใจในการ
ติดตามอ่านดราก้ อนบอลลงไปเลย เพราะการเล่าเรื่ องที่กระชับ เดินหน้ าอย่างรวดเร็ว มุขตลกที่
สอดแทรกมาเป็ นระยะ รวมทังการปิ ้ ดเรื่ องแบบ happy ending เหล่านี ้ล้ วนเป็ นความคาดหวัง
ตามลักษณะเฉพาะของสื่อที่เรี ยกว่า “การ์ ตนู ” (โดยเฉพาะการ์ ตนู สาหรับเด็ก) ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู ่าน
มองข้ ามความไม่สมจริงของเรื่ องราวไปได้ โดยง่าย
“มันเป็ นพิ มพ์นิยมอยู่แล้วล่ะ ที ก่ าร์ ตูน โดยเฉพาะการ์ ตูนที เ่ น้น
กลุ่มผูอ้ ่านเป็ นเด็ก จะไม่สร้างตัวละครเอกให้ตาย ...และจริ งๆ แล้วดราก้อนบอลมันถูกยื ดเรื ่ องให้
ยาวกว่าที ่ควรจะเป็ นเพราะได้รับความนิ ยมมาก โครงเรื ่องก็เลยเริ่ มออกทะเลในระยะหลัง” (สุทธิ
ชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2554)
“ถึงเรื ่องมันจะดูเว่อร์ (over) ยังไงซะคนก็ตามอ่านดราก้อนบอล
เพราะมันเป็ นยุคทีค่ นอ่านได้ปลดปล่อยจิ นตนาการจริ งๆ ไม่ตอ้ งคานึงถึงเหตุผลของเรื ่องมากนัก ”
(ธนิสร์ วีระศักดิ์วงศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
1.2.2.2 เดธโน้ ต: ติดกับดักเงื่อนไขโครงเรื่ อง
ขณะที่เดธโน้ ตซึง่ เดินเรื่ องรวดเร็วไม่แพ้ ดราก้ อนบอลโดยมุง่ เน้ นไปที่การ
วางแผนสู้กนั ระหว่างฝ่ ายยางามิ ไลท์ (หรื อ คิระ) ผู้ครอบครองเดธโน้ ต (โน้ ตมรณะที่ผ้ คู รองครอง
สามารถเขียนชื่อลงในโน้ ตเพื่อฆ่าใครก็ได้ ) กับ แอล ซึง่ ช่วยเหลือองค์กรตารวจสากลในการ
ปราบปรามไลท์ โดยมีองค์กรต่างๆ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง เช่นเอฟบีไอ หรื อตัวช่วยอื่นๆ เช่นยมทูต ทา
ให้ ผ้ เู ขียนต้ องสร้ างให้ ตวั เอกของเรื่ องอย่าง “ไลท์” เก่งกาจมากชนิดหาตัวจับยาก (ตามที่เรื่ องได้ ปู
เอาไว้ ด้วยการทาให้ ไลท์ฟันฝ่ าอุปสรรคยากๆ ในการถูกไล่ตามตัวมาตลอด) ดังนันการเดิ ้ นเรื่ อง
68

ช่วงท้ ายที่ต้องค่อยๆ ตะล่อมให้ ไลท์ต้องจนมุม หรื อพบจุดจบในตอนท้ ายนัน้ จึงเป็ นเรื่ องยากที่จะ
หาเหตุผลรองรับตามไปด้ วย จนทาให้ มีบางช่วงที่เนื ้อเรื่ องขาดความสมเหตุสมผลอยูบ่ ้ าง เช่น
ตอนที่ไลท์ถกู แอลสงสัยอย่างหนักก็เลยจาเป็ นต้ องสละสิทธิ์การครอบครองเดธโน้ ต ซึง่ การสละ
หรื อละทิ ้งโน้ ตนันไลท์
้ จะต้ องสูญเสียความทรงจาเกี่ยวกับโน้ ตโดยสิ ้นเชิง ดังนันการที ้ ่ผ้ เู ขียนเลือก
จะใช้ วิธีให้ ไลท์เป็ นคนวางแผนที่จะสูญเสียโน้ ตและเสียความทรงจาก่อนจะได้ โน้ ตกลับคืนมาอีก
ครัง้ เพื่อให้ ความทรงจาในการใช้ โน้ ตกลับคืนมาด้ วยนันจึ ้ งเป็ นการสร้ างเงื่อนไขที่เป็ นไปได้
ค่อนข้ างยาก
และก็เพราะการใช้ เดธโน้ ตเพื่อฆ่าคนนันมี ้ กฎข้ อบังคับอยู่มาก ทาให้
ความสนุกอีกประการของการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงอยูท่ ี่ “เงื่อนไข” ของการใช้ โน้ ต ซึง่ ผู้เขียนปูไว้ ตงแต่ ั ้ ต้น
เรื่ องว่ามีกฎของการใช้ หลายข้ อที่แม้ แต่ตวั ยมทูตผู้ถือโน้ ตเองก็ยงั ไม่อาจทราบหมด ซึง่ ก็เอื ้อต่อการ
ให้ ผ้ เู ขียนใส่รายละเอียดลงไปได้ ภายหลังโดยไม่มีข้อผูกมัด (ซึง่ แตกต่างจากดราก้ อนบอลที่ผ้ เู ขียน
ระบุชดั เจนว่าเทพเจ้ ามังกรสามารถให้ พรได้ เพียงข้ อเดียว แต่กลับเพิ่มกฎใหม่เข้ ามาภายหลังให้
เทพเจ้ ามังกรให้ พรได้ มากกว่า 1 ข้ อ) ทังนี
้ ้ก็เพื่อช่วยคลี่คลายปมของเรื่ องในบางจุดได้ อย่าง
น่าเชื่อถือ เช่นถ้ าผู้ใช้ เดธโน้ ตอยากได้ ดวงตายมทูตที่สามารถฆ่าคนได้ สะดวกมากขึ ้น เพราะแค่
เพียงเห็นหน้ าแล้ วรู้ชื่อเพื่อเขียนลงในโน้ ตให้ คนคนนันตายทั ้ นทีก็สามารถทาได้ (จากเดิมที่ต้องสืบรู้
ชื่อจริงให้ ได้ เสียก่อนจึงจะสามารถลงมือสังหารได้ ) แต่ผ้ ทู ี่ต้องการดวงตายมทูตนี ้ก็ต้องแลกเปลี่ยน
ด้ วยอายุขยั ครึ่งหนึง่ ของตัวเองเป็ นต้ น ซึง่ เงื่อนไขเช่นนี ้นี่เองที่ชว่ ยให้ ตวั ละครเอกอย่างยางามิ
ไลท์มีจดุ อ่อน (หรื อจุดแข็งในเวลาเดียวกัน) เพราะสามารถใช้ ตวั ละครผู้ชว่ ยอย่างมิสะ สาวผู้คลัง่
ไคล้ คริ ะให้ ชว่ ยเป็ นมือขวาที่มีดวงตายมทูตแทน ในขณะที่ไม่ต้องลดชีวิตของตัวเองลงครึ่งหนึง่ ด้ วย
แม้ วิธีการใช้ เดธโน้ ตที่มีเงื่อนไขหลากหลายข้ างต้ นจนทาให้ เกิดความ
ยอกย้ อนในการวางแผนต่อสู้ระหว่างตัวเอกอย่างแอลและไลท์นนจะช่ ั ้ วยให้ เกิดความสมจริงของ
การ์ ตนู เรื่ องนี ้ แต่ในทางกลับกันเงื่อนไขของการใช้ โน้ ตมรณะที่มากขึ ้นทุกขณะก็ทาให้ ผ้ เู ขียนยิ่ง
ต้ องหาเหตุผลมาอธิบายทังกฎเกณฑ์ ้ ของโน้ ตและวิธีคดิ วางแผนต่อสู้ของตัวเอกมากขึ ้นเป็ นเงา
ตามตัวเพื่อสร้ างความสมจริ งให้ กบั เรื่ องราวมากที่สดุ จนทาให้ การ์ ตนู เรื่ องนี ้อัดแน่นไปด้ วยข้ อมูล
ซึง่ ก็ทาให้ มี “ตัวหนังสือ” มากกว่าการ์ ตนู โดยทัว่ ไป ซึง่ ก็กลายเป็ นจุดอ่อนสาหรับ “คอการ์ ตนู ” ที่
แน่นอนว่าย่อมชื่นชอบหรื อคุ้นชินกับการ “อ่านภาพ” มากกว่า “อ่านตัวหนังสือ”
“ผมว่ามันก็สนุกหรอกนะ เออแรกๆ ก็รู้สึกเจ๋ งดี แต่พอตามอ่านตอน
หลังๆ ผมก็อ่านผ่านๆ ไม่ครบทุกหน้า รู้สึกว่าตัวหนังสื อมันเยอะเกิ น เวลาอ่านเดธโน้ตเนี ย่ ต้องใช้
เวลานานกว่าการ์ ตูนเรื ่องอื ่นมาก” (วีระชัย ดวงพลา, สัมภาษณ์, 12 มิถนุ ายน 2554)
69

ภาพประกอบ 8 เสียงบทพูด/บทบรรยายในเดธโน้ ตที่มากกว่ าการ์ ตูนทั่วไป


ที่มา: http://www.sj.in.th/forum.php?mod=viewthread&tid=9322&extra=page%3D1

1.2.2.3 ทเวนตี ้ : เรื่ องเด็กเล่นที่แสนสมจริง


ตามที่กล่าวไปแล้ วใน “แนวเรื่ อง” ว่าความน่าสนใจของทเวนตี ้ฯ เกิดจาก
การที่ผ้ เู ขียนหยิบเอาเรื่ องแต่ง (บันทึกคาทานายโลก) ของเด็กชันประถมมาท ้ าให้ กลายเป็ นเรื่ อง
จริง แต่ในความน่าสนใจนันก็ ้ ทาให้ หลายคนอาจกังขาถึง “ความสมจริง” ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น
แต่ผ้ เู ขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่าก็ชาญฉลาดพอที่จะเติมเหตุผลจนทาให้ เรื่ องเด็กเล่นสมจริงอย่าง
น่าเชื่อถือ เช่นผู้เขียนได้ เฉลยถึงแรงจูงใจในการเลือกเป้าหมายในการปล่อยอาวุธ เชื ้อโรคโจมตี
ซานฟรานซิสโกเอาไว้ ว่า ไม่ได้ เกิดจากขนาดหรื อความสาคัญของเมือง (เหมือนเช่นในภาพยนตร์
แนวหายนะทัว่ ๆ ไป) แต่เพราะ “ซานฟรานซิสโก” คือชื่อร้ านกาแฟที่ตวั เอกอย่างเคนจิเคยไปและ
รู้สกึ ประทับใจจนใส่เอาไว้ ในบันทึกคาทานาย หรื อการใช้ อาวุธเชื ้อโรคโจมตี “ลอนดอน” ก็มีที่มา
จากชื่อบาร์ เหล้ าที่อยู่ข้างร้ านกาแฟ รวมทังการใช้ ้ อาวุธเชื ้อโรคโจมตี “โอซาก้ า” ก็เพราะเป็ น
สถานที่อนั โด่งดังที่ใช้ จดั งานเอกซ์โป (ซึง่ เด็กญี่ปนทุ ุ่ กคนรวมทังเคนจิ
้ ต้องการจะไป)
การใส่เหตุผล ในรายละเอียดปลีกย่อยของการ์ ตนู เรื่ องนี ้โดยอ้ างอิงฉาก
70

สถานที่ที่มีอยูจ่ ริงจึงแสดงให้ เห็นการวางแผนเรื่ องบทเป็ นอย่างดี และยิ่งทาให้ เรื่ องราว “หุ่นยักษ์


และไวรัสทาลายโลก” ไม่ใช่แค่เรื่ องเด็กเล่นอีกต่อไป
“การผูกเรื ่ องเด็กขึ้ นมามันจริ งจังมาก เขาใช้เวลาคิ ดเรื ่ องถึง 5 ปี โดยเริ่ ม
จากภาพคุก (ในเรื ่องมี ตวั ละครในกลุ่มตัวเอกอย่างโอตโจะแหกคุกออกมา) และก็มีตอนจบอยู่ใน
ใจอยู่แล้ว โครงเรื ่องของเขาเลยน่าติ ดตามมาก”1 (วีระชัย ดวงพลา, สัมภาษณ์, 12 มิถนุ ายน
2554)
“พล็อทเขาแน่นมาก อิ งการเมื อง วางแผนไว้อย่างดีจบในตัวเอง ไม่ใช่
วางแผนตอนต่อตอนลงใน Jump เรื ่องมันเลยน่าเชื ่อถือ ...อ่านเล่ม 20 ก็ยงั เชื ่อมถึงเล่ม 1”
(ธนิสร์ วีระศักดิ์วงศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
เรื่ องราวเด็กเล่นในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงสร้ างความรู้สึกสมจริ งสมจังให้ กบั
ผู้อา่ นอย่างถึงที่สดุ เพราะความพยายามของผู้เขียนและทีมงานที่ใส่ใจกับการหาข้ อมูลมาประกอบ
เรื่ องราว รวมทังรายละเอี
้ ยดปลีกย่อยที่หลอมรวมเป็ นหนึง่ เดียวในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ โดยเฉพาะการ
สร้ างตัวละครที่ใกล้ เคียงมนุษย์ธรรมดาอย่างมาก (จะกล่าวรายละเอียดในหัวข้ อการสร้ างตัว
ละคร) และแก่นเรื่ องที่พดู ถึงธรรมะกับอธรรมในอีกมุมมองหนึง่ (จะกล่าวรายละเอียดในหัวข้ อ
แก่นเรื่ อง)
“ทเวนตีใ้ ห้ความรู้สึกสมจริ งมากที ส่ ดุ เพราะเขา research ข้อมูลอย่าง
จริ งจัง ทาให้ประทับใจกับการอ่านที ร่ ู้สึกว่ามันเป็ นการ์ ตูนที ใ่ ห้ทงั้ ความเหนื อจริ งแต่ขณะเดี ยวกันก็
ดูสมจริ งไปพร้อมกัน” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
1.2.2.4 ยอดนักสืบจิ๋ว โคนัน: ส่วนผสมกลมกล่อมระหว่าง “สมจริง” –
“เหนือจริง”
ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเป็ นการ์ ตนู ที่มีขาสองข้ างยืนอยู่บนฝั่ งของ“ความจริง”
และ “ความเหนือจริง” ได้ อย่างสมดุลย์ แม้ วา่ แก่นแท้ ของแนวเรื่ องสืบสวน สอบสวนก็คือ “การ
ค้ นหาความจริง” ซึง่ ต้ องการความสมจริงของทังแรงจู ้ งใจของฆาตกร และวิธีคลี่คลายคดีอย่างสม
เหตุผลของนักสืบอย่างมาก แต่ยอดนักสืบจิ๋วฯ นันแม้ ้ จะมีความสมจริงเรื่ องแรงจูงใจของฆาตกร
กลับมีวิธีคลี่คลายคดีที่ดเู หนือจริงแต่ขณะเดียวกันก็หาทางออกให้ ผ้ อู า่ นยอมรับความไม่สมจริงนัน้
ได้ อย่างน่าเชื่อถือ

1
ผู้ให้ สมั ภาษณ์อ้างอิงข้ อมูลจากการเดินทางไปดูงานเขียนของผู้เขียนเรื่ องทเวนตี ้เซนจูรี่บอยส์
ที่ประเทศญี่ปนุ่
71

เนื่องจากตัวละครเอกในการ์ ตนู เรื่ องนี ้เป็ นผู้ใหญ่ (นักเรี ยนมัธยมปลาย


วัย 17 ปี ผู้เก่งกาจเรื่ องสืบสวน-คุโด้ ชินอิจิ) ที่อยูใ่ นร่างเด็ก (ชันประถม
้ 1-เอโดงาวะ โคนัน) เพราะ
ถูกชายชุดดาจับกรอกยาประหลาดชนิดหนึง่ จนทาให้ อายุลดลง ตัวละครเอกจึงมี “ข้ อจากัด”
หลายประการโดยเฉพาะในการคลี่คลายคดีที่แน่นอนว่าคงไม่มีผ้ ใู หญ่คนไหนเชื่อคาพูดของเด็ก
ประถม ดังนันผู ้ ้ เขียนจึงสร้ างตัวช่วยที่ทาให้ เด็กสามารถคลี่คลายคดีได้ โดยอาศัยสิ่งประดิษฐ์ ของ
นักวิทยาศาสตร์ อย่าง ดร.อากาสะ ฮิโรชิ ซึง่ ก็คือนาฬิกายิงยาสลบ และหูกระต่ายเปลี่ยนเสียง
เพื่อเปลี่ยนเสียงของเด็กให้ กลายเป็ นเสียงผู้ใหญ่ (นักสืบเอกชนโมริ โคโกโร่) แล้ วจึงค่อยคลี่คลาย
คดีแทน จึงทาให้ เกิดฉายาว่า โคโกโร่ นิทรา ขึ ้นเพราะเวลาคลี่คลายคดีจะเหมือนกาลังนอนหลับอยู่
นัน่ เอง
จะเห็นได้ วา่ ผู้เขียนอย่างอาโอยาม่า โกโช ชาญฉลาดในการนา
วิทยาศาสตร์ มาอธิบายเรื่ อง “เหนือจริง” ทังการย้ ้ อนไปสู่วยั เด็กของพระเอก และวิธีการคลี่คลาย
คดีด้วยการใช้ เครื่ องเปลี่ยนเสียง เพราะย่อมเป็ นวิธีที่เหมาะสมกับเรื่ องแนวสืบสวนสอบสวน (ที่
หัวใจอยู่ที่การค้ นหาความจริ ง) มากกว่าจะเลือกเอาเหตุผลประเภทเรื่ องเหนือธรรมชาติมาอธิบาย
(เช่น เกิดปาฏิหาริย์กบั พระเอกทาให้ เปิ ดกล่องวิเศษแล้ วกลายเป็ นเด็ก) ขณะเดียวกันการนา
เรื่ องราวที่ดเู หนือจริงมาใส่ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็เป็ นการเพิ่มเสน่ห์ดงึ ดูดกลุม่ ผู้อา่ นโดยเฉพาะเยาวชน
ที่ชื่นชอบเรื่ องแฟนตาซีมากกว่าผู้ใหญ่ เพราะจะทาให้ โทนของเรื่ องไม่หนักอึ ้งไปกับการมุง่ ค้ นหา
ความจริงของคดีเพียงอย่างเดียว ซึง่ การผสมผสานความจริงและความเหนือจริงเช่นนี ้นี่เองที่ทา
ให้ ยอดนักสืบจิ๋วฯ เป็ นการ์ ตนู แนวสืบสวนสอบสวนที่ไม่ซ ้าใคร และทาให้ เกิดกลุม่ ผู้อ่านในวงกว้ าง
จนเรี ยกได้ ว่าเป็ นการ์ ตนู ที่ “เด็กอ่านได้ ผู้ใหญ่อ่านดี”
“ส่วนใหญ่เรื ่องสื บสวนมักมี พระเอกเป็ นผูใ้ หญ่ แต่โคนันเป็ นเด็กชัน้
ประถม เรื ่องมันก็เลยไม่ซีเรี ยสมาก เด็กอ่านเข้าใจง่าย ผู้ใหญ่ก็อ่านได้เพลิ นๆ” (วรวุฒิ วรวิทยา
นนท์, สัมภาษณ์, 23 สิงหาคม 2554)
“ทีโ่ คนันยังออกวางขายมาได้อย่างยาวนาน ผมว่าส่วนหนึ่งเป็ นเพราะพ่อ
แม่สนับสนุน เพราะผูใ้ หญ่มกั ชอบให้ลูกอ่านการ์ ตูนแนวนี เ้ พราะคิ ดว่าอ่านแนวนักสื บ จะทาให้ลูก
ฉลาด เพราะมันมี วิธีการเสาะหาความจริ ง การสังเกต การคิ ดทีเ่ ป็ นเหตุเป็ นผล ...ดี กว่าจะปล่อย
ให้ซื้อการ์ ตูนแฟนตาซี หรื อต่อสูท้ วั่ ๆ ไป” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
72

ภาพประกอบ 9 ชินอิจิและโคนันพระเอกสองวัยในร่ างเดียวจากยอดนักสืบจิ๋วฯ


ที่มา: http://sukanyabutchuang.wordpress.com/2012/02/10/

1.2.2.5 วันพีซ-นินจาคาถา: ข้ อมูลล้ นเหลือเติมโลกจินตนาการ


ให้ นา่ เชื่อถือ
แม้ วันพีซจะเป็ นเรื่ องราวจินตนาการของโลกโจรสลัดที่ดเู หนือจริงไปเสีย
ทุกอย่าง ทังการสร้้ างบรรดา “ของวิเศษ” (เช่นผลไม้ ปีศาจที่มีพลังพิเศษหลากหลายรูปแบบให้ แก่ผ้ ู
ที่ได้ กิน) “ผู้วิเศษ” (เช่น เหล่า 7 เทพโจรสลัด เผ่าพันธุ์ยกั ษ์ เผ่าพันธุ์เงือกฯลฯ) หรื อ “สถานที่
วิเศษ” (เช่น เมืองเงือก เมืองซอมบี ้ หรื อคุกใต้ ทะเล) ขึ ้นมาเพื่อเป็ นการสร้ างจุดดึงดูดของเรื่ อง แต่
ความเหนือจริงที่ถกู สร้ างขึ ้นเพื่อสร้ างความรู้ สกึ แปลกใหม่ให้ กบั คนอ่านในวันพีซนัน้ กลับดูเหมือน
จริงเสียจนทาให้ ผ้ อู า่ นแทบหลงเชื่อไปว่าโลกแห่งวันพีซนันเป็ ้ น “ของจริง” นัน่ เพราะทุกจินตนาการ
ที่ผ้ เู ขียนอย่างเออิจิโระ โอดะสร้ างขึ ้นล้ วนมีข้อมูลรายละเอียดประกอบสร้ างขึ ้นมารองรับ โดยใช้
วิธีการให้ ข้อมูลเสริม (ข้ อมูลที่ไม่ได้ มีผลต่อโครงเรื่ องแต่เป็ นการให้ รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อเสริม
ความน่าเชื่อถือของเรื่ อง) แยกส่วนออกมาจากเนื ้อเรื่ อง เช่นการให้ รายละเอียดของผลไม้ ปีศาจซึง่
ปรากฎในเรื่ องบ่อยครัง้ จึงมีการอธิบายให้ ผ้ อู า่ นเข้ าใจเพิ่มผ่านการจัดทาแผนผังการแบ่งประเภท
ของผลไม้ ปีศาจว่ามีกี่ประเภท แต่ละประเภทมีพลังอานาจแค่ไหน และจุดเด่นจุดด้ อยอย่างไร หรื อ
การให้ ข้อมูลการแบ่งสายงานของกลุม่ องค์กรลึกลับในเรื่ อง เป็ นต้ น
“จุดเด่นของวันพีซคื อรายละเอียดของเรื ่อง ผมอ่านถึงเล่ม 40 กว่าแต่
เรื ่องก็ยงั เชื ่อมถึงเล่ม 1 เนื ้อหาไม่มีหลุด วันพีซมี ชนั้ เชิ งมากพอไม่ทาให้เอี ยนเหมื อนบางเรื ่องที ่
73

ขายแต่ตวั ละครใหม่ๆ คิ ดแต่ท่าไม้ตายโผล่ออกมา” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม


2554)
ไม่ใช่แค่วนั พีซเพียงเรื่ องเดียวเท่านันที
้ ่เน้ นการให้ รายละเอียดของข้ อมูล
เพื่อเติมความสมจริงของโลกแห่งจินตนาการ (ที่ไม่เป็ นจริ ง) เพราะนินจาคาถาฯ เองก็ใช้ กลวิธีนี ้
เช่นกัน โดยเมื่อสร้ างโลกของนินจาที่เต็มไปด้ วยสงคราม การต่อสู้ ดึงให้ ผ้ อู า่ นสนใจแล้ ว จึงค่อย
เติมความน่าเชื่อถือของเรื่ องด้ วยการให้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับนินจา เช่นวิธีการรี ดจักระ (การรี ด
พลังของนินจา) การแบ่งความสามารถของนินจาตามธาตุพื ้นฐานในตัว (เช่น ดิน น ้า ลม ไฟ)
หรื อขีดความสามารถทางสายเลือดของนินจาแต่ละตระกูล ซึง่ แน่นอนว่าการให้ ข้อมูลเหล่านี ้ยิ่ง
เพิ่มความสมจริงของเรื่ องมากขึ ้น
“แม้ความหลากหลายของตัวละครจะน้อยกว่าวันพีซ แต่ ชอบ skill การ
ต่อสู้ การรี ดจักระ มันทาให้เรื ่องดูเป็ นวิ ทยาศาสตร์ แต่ละท่าดูเป็ นเหตุเป็ นผล ทาให้โลกนิ นจา
ของเขาน่าเชื ่อถือขึ้นเยอะ” (ธนิสร์ วีระศักดิ์วงศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
นินจาคาถาฯ นันใช้ ้ วิธีการให้ “ข้ อมูลเสริม” ทังการหลอมรวมกั
้ บเนื ้อหา
โดยให้ ตวั ละครบางตัวเป็ นผู้อธิบาย หรื อการแยกส่วนออกมาจากเนื ้อเรื่ องอย่างชัดเจน (เช่นการ
ให้ ข้อมูลสันๆ้ ใน 1 หน้ ากระดาษเพื่อคัน่ ระหว่างตอน) หรื อกระทัง่ การออกเล่มพิเศษเพื่ออธิบาย
ที่มาที่ไปของตัวละคร (เช่นตอนคาคาชิไกเดน ซึง่ เป็ นตอนที่คาคาชิ ครูของนารูโตะตัวเอกของเรื่ อง
ออกปฏิบตั ภิ ารกิจและเฉลยที่มาของการได้ เนตรวงแหวน) จะเห็นได้ วา่ ยิ่งแนวเรื่ องแฟน
ตาซีมากเท่าไหร่ (เช่นวันพีซ นินจาคาถาฯ เดธโน้ ต) ผู้เขียนที่จาต้ อง “สมมติ” โลกแห่งจินตนาการ
ขึ ้นยิ่งต้ องทาการบ้ านในการสร้ างโลกแห่งการ์ ตนู ให้ ดสู มจริงมากเท่านันด้ ้ วยการ “ให้ รายละเอียด”
ของสิ่งที่จินตนาการเพื่อสร้ างของสมมติให้ มีชีวิตขึ ้นมาให้ ได้ ยิ่งผู้เขียนให้ รายละเอียดของโลกที่
ถูกสร้ างขึ ้นได้ มากเพียงใดก็ยิ่งแสดงถึงความใส่ใจของผู้เขียนและทีมงาน และก็ยงั แสดงถึงความ
พยายามในการค้ นคว้ าหาข้ อมูลเพื่อสร้ างโลกจินตนาการให้ ดนู า่ เชื่อถืออีกด้ วย นัน่ เพราะในโลกไซ
เบอร์ นกั อ่านการ์ ตนู หลายคนอาจมีข้อมูล ความรู้มากกว่านักเขียนเสียอีกดังนันการหาข้
้ อมูล
(research) จึงเป็ นสิ่งจาเป็ นมากสาหรับนักเขียนการ์ ตนู ในปั จจุบนั
“สูตรสาเร็ จของการ์ ตูนในยุคนี ้ “หัวใจคื อข้อมูล” ทัง้ การหาข้อมูลโดยรวม
ของเรื ่อง และการใส่รายละเอี ยดข้อมูลของตัวละครที ย่ ิ่ งละเอี ยดยิ่ งสมบูรณ์ ยิ่ งผูส้ ร้างงานมี ข้อมูล
มากไหร่ ก็ยิ่งสร้างความรู้สึก”แน่น” และ “แม่น” ให้ผู้อ่านตื น่ เต้นได้มากเท่านัน้ ” (วรวุฒิ วรวิทยา
นนท์, สัมภาษณ์, 23 สิงหาคม 2554)
จากทัง้ 6 เรื่ อง สรุปความสมจริงและความน่าเชื่อถือได้ ดงั นี ้
74

เรื่อง ความสมจริง วิธีสร้ างความสมจริง/ความน่ าเชื่อถือ


ดราก้ อนบอล น้ อย ไม่เน้ นความสมจริง
เดธโน้ ต ปานกลาง ใช้ ตวั หนังสืออธิบายกฎการใช้ โน้ ต (เพื่อสร้ างและ
คลี่คลายปม)
ยอดนักสืบจิ๋ว ปานกลาง สร้ างตัวละครให้ มีที่มาแฟนตาซีแต่ยงั คงหัวใจการคลี่คลาย
คดีเพื่อหาความจริงตามแนวเรื่ องสืบสวน
ทเวนตี ้ฯ มาก การใส่ใจข้ อมูล-รายละเอียดเรื่ องสถานที่ สิ่งของที่สมมติขึ ้น
วันพีซ มาก การใส่ใจข้ อมูล-รายละเอียดเรื่ องสถานที่ สิ่งของที่สมมติขึ ้น
นินจาคาถาฯ มาก การใส่ใจข้ อมูล-รายละเอียดเรื่ องสถานที่ สิ่งของที่สมมติขึ ้น

ตารางที่ 3 สรุปความสมจริงและความน่ าเชื่อถือของเรื่อง (เรียงจากน้ อยไปมาก)

แต่นอกเหนือจากการหาข้ อมูล และการวางโครงเรื่ องข้ างต้ นแล้ วความสมจริงของ


การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องยังเกิดจากองค์ประกอบอื่นๆ ร่วมด้ วย เช่นตัวละคร แก่นเรื่ อง การออกแบบ
ลายเส้ น ฯลฯ ซึง่ จะกล่าวถึงในหัวข้ อต่อๆ ไป

1.2.3 ความลึกซึง้ และความซับซ้ อนของโครงเรื่อง


1.2.3.1 ดราก้ อนบอล: โครงเรื่ องง่ายๆ ได้ ใจคนอ่าน
แน่นอนว่าความลึกซึ ้งและความซับซ้ อนของโครงเรื่ องสัมพันธ์กบั ความ
สมจริงของเรื่ อง โดยดราก้ อนบอลที่ขาดความสมจริงของโครงเรื่ องในหลายๆ จุดตามที่กล่าวไปนัน้
ก็มีโครงเรื่ องที่ไม่ซบั ซ้ อนเช่นกัน ในภาคดราก้ อนบอล (ภาคแรก) ทิศทางของเรื่ องชัดเจนอย่าง
มากเพราะสามารถทาให้ ผ้ อู ่านสนใจเรื่ องราวได้ ตงแต่ ั ้ เปิ ดเรื่ อง โดยภายใน 10 หน้ าแรก ตัวละคร
หลัก (กลุม่ เพื่อนของตัวเอก) อย่างบลูมา่ ก็บอกทิศทางของเรื่ องออกมาอย่างไม่อ้อมค้ อมว่าหาก
ใครรวบรวมดราก้ อนบอลได้ ครบ 7 ลูก จะสามารถขอพรจากเทพเจ้ ามังกรได้ หนึง่ ข้ อ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้
เป้าหมายของเรื่ องได้ ทนั ที พร้ อมกับเป็ นการเฉลยตังแต่ ้ ต้นเรื่ องว่า “ดราก้ อนบอล” นันหมายถึ้ ง
อะไร ขณะเดียวกันก็เป็ นการจูงมือผู้อา่ นให้ ก้าวเข้ าสูโ่ ลกแห่งจินตนาการที่ผ้ เู ขียนสร้ างขึ ้น ซึง่
แม้ จะไม่ได้ บอกชัดเจนว่าเป็ นโลกของโจรสลัด (เหมือนวันพีซ) หรื อโลกของนินจา (เช่นนินจาคาถา
โอ้ โฮเฮะ) แต่ก็ชดั เจนพอจะทาให้ ผ้ อู ่านคาดเดาและคาดหวังเหตุการณ์ตอ่ ไปของเรื่ อง ซึง่
เรื่ องราวก็เดินไปตามความคิดของตัวเอกอย่างโงคูเพียงด้ านเดียว ทาให้
75

โครงเรื่ องหลักก็คือการรวบรวมดราก้ อนบอลของโงคูเพื่อฝึ กฝนตนเอง และเมื่อระหว่างการเดินทาง


รวบรวมบอลวิเศษทาให้ โงคูมีเพื่อนพ้ องมากขึ ้น เป้าหมายการรวบรวมดราก้ อนบอลจึงเปลี่ยนไป
เพื่อช่วยเหลือกลุม่ เพื่อนและปกป้องโลกจากผู้ร้ายหลากหลายรูปแบบ มีทงจอมมาร ั้ และกลุม่
องค์กรอย่างกองทัพเร้ ดริบบ้ อน (แต่ขณะเดียวกันโงคูก็ทาเพื่อตอบสนองความต้ องการเป็ นผู้
แข็งแกร่งเหนือใครของตนด้ วย) เช่นเดียวกับดราก้ อนบอลภาค Z ที่ตอ่ เนื่องจากภาคแรก โครง
เรื่ องหลักก็ยงั อยูท่ ี่การพัฒนาตนเองของโงคูให้ มีฝีมือเก่งกาจขึ ้นเรื่ อยๆ แต่เมื่อเอาชนะคูต่ อ่ สู้ทกุ คน
บนโลก (แม้ กระทัง่ จอมมารก็ชนะมาแล้ ว) ก็เลยมีเป้าหมายใหม่เป็ นการประมือระหว่างชาวโลกกับ
นอกโลก (ชาวไซย่า มนุษย์ตา่ งดาวอย่างฟรี เซอร์ ) รวมทังมนุ ้ ษย์ดดั แปลง และเมื่อตัวละครเอก
เก่งเสียจนเริ่มถึงจุดอิ่มตัวแล้ ว โทริยาม่า อากิระก็เลยเปลี่ยนตัวละครเอกเป็ นรุ่นลูกแทน โดยพูด
ถึงโงฮัง ลูกชายของโงคูเพื่อเดินเรื่ องวนกลับไปเป็ นแบบเดิมเช่นเดียวกับรุ่นพ่อ (โงคู) นัน่ คือเล่าถึง
การฝึ กฝนตนเองของโงฮังอีกครัง้
จะเห็นได้ วา่ โครงเรื่ องของดราก้ อนบอลมีประเด็นหลักๆ เพียงการต่อสู้
ของโงคู ซึง่ แม้ จะมีเพื่อนพ้ องเข้ าร่วมกลุม่ ด้ วยเป็ นจานวนไม่น้อย (เช่นคุริลิน พิคโกโร่ ผู้เฒ่าเต่า
ฯลฯ) แต่ตวั ละครเหล่านี ้ก็ไม่ได้ ก่อให้ เกิดโครงเรื่ องย่อยๆ ตามมาอย่างชัดเจน (เช่นอาจเปลี่ยน
บรรยากาศของเรื่ องไปเล่าที่มาของการไม่มีจมูกของคุริลินในวัยเด็ก) นัน่ เพราะผู้เขียนมุง่ ประเด็น
ไปที่การต่อสู้เพื่อเอาใจผู้อา่ นที่ต้องการเห็นตัวละครเอกอย่างโงคูว่าสามารถเก่งขึ ้นได้ แค่ไหน โดย
ไม่ไขว้ เขวไปเล่าเรื่ องของตัวละครหลักคนอื่นๆ ดังนันการเปิ
้ ดเรื่ องที่บอกทิศทางของเรื่ องอย่าง
ชัดเจนโดยเร็วและการสร้ างโครงเรื่ องที่ไม่ซบั ซ้ อนของดราก้ อนบอลย่อมทาให้ ผ้ อู า่ นไม่เกิดอาการ
“สับสน” หรื อ “ตามไม่ทนั ” กับเรื่ องราว ซึง่ ก็ชว่ ยให้ ดราก้ อนบอลเข้ าถึงกลุม่ คนอ่านในวงกว้ างตาม
ไปด้ วย
1.2.3.2 วันพีซ:หลากโครงเรื่ องหลอมรวมเป็ นเนื ้อเดียว
แม้ จะสามารถเนรมิตโลกโจรสลัดให้ กว้ างใหญ่ไพศาลแค่ไหนก็ได้ เพราะ
เป็ นอีกโลกเร้ นลับที่เราเคยได้ ยินเพียงคาเล่าขาน แต่ทกุ โครงเรื่ องย่อยๆ ที่ปรากฎในวันพีซก็
ไม่ได้ ใหญ่โตหรื อซับซ้ อนซ่อนเงื่อนเสียจนทาให้ ทิศทางของเรื่ องสะเปะสะปะ เพราะทุกเหตุการณ์
เรื่ องราวในการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีคา่ เทียบเท่าจิ๊กซอว์หนึง่ ชิ ้นที่ตา่ งก็ชว่ ยทาให้ เป้าหมายของเรื่ องชัดเจน
ขึ ้น โดยผู้เขียนอย่างเออิจิโระ โอดะไม่เสียเวลาอ้ อมค้ อมกับเป้าหมายของเรื่ องตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง
เพราะเพียงหน้ าแรกก็ดงึ ผู้อา่ นเข้ าสูเ่ รื่ อง (โลกแห่งโจรสลัด) ด้ วยคาพูดของเจ้ าแห่งโจรสลัดอย่าง
โกลด์ โรเจอร์ ที่ทิ ้งปริศนากระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นเกิดความสงสัยพร้ อมๆ กับเข้ าใจทิศทางของเรื่ องได้ ว่า
เรื่ องราวต่อไปนี ้คือการแย่งชิง-ตามหาสมบัตขิ องเจ้ าแห่งโจรสลัดโรเจอร์ นนั่ เอง (ซึง่ ก็ยงั ไม่มีใคร
76

ตอบได้ วา่ สมบัติที่วา่ นันคื ้ ออะไรกันแน่) ขณะเดียวกันตัวละครเอกอย่างลูฟี่ก็พดู ออกมาอย่าง


ชัดเจนว่าเป้าหมายของเขาคือการเป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ให้ ได้ ความฝั น (หลัก) หรื อโครงเรื่ องหลัก
ของการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงเป็ นการเดินทางผจญภัยค้ นหา “วันพีซ” ของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง (กลุม่ ของ
พระเอกอย่างลูฟี่) นัน่ เอง และนอกจากความฝั นหลักของตัวละคร (เป้าหมายหลักหรื อ
โครงเรื่ องหลัก) แล้ ว ผู้เขียนยังสร้ างเป้าหมายรอง หรื อโครงเรื่ องย่อยๆ อีกเป็ นจานวนมาก ซึง่
โครงเรื่ องย่อยดังกล่าวก็เกิดขึ ้นได้ อย่างน่าเชื่อถือ เพราะผู้เขียนสร้ างตัวละครกลุม่ (เพื่อนพ้ องของลู
ฟี่ ) ที่มีบทบาทจาเป็ นต่อเนื ้อเรื่ องขึ ้นมา ทังยั
้ งสร้ างให้ มีบทบาทโดดเด่นไม่แพ้ ตวั เอกอย่างลูฟี่อีก
ด้ วย (อ่านรายละเอียดในบทถัดไปหัวข้ อความแตกต่างของตัวละคร) ดังนันโครงเรื
้ ่ องย่อยๆ
จึงเกิดจากการที่ตวั ละครกลุ่มเหล่านี ้ต่างร่วมแรงร่วมใจช่วยเหลือให้ พวกพ้ องของตนทาความฝั น
(โครงเรื่ องย่อยๆ) ให้ สาเร็จ เช่นการปลกแอกครอบครัวและคนในหมู่บ้านของนามิให้ รอดพ้ นจาก
การกดขี่เก็บค่าคุ้มครองของกลุม่ เงือก หรื อ การช่วยให้ อซุ ปเป็ นฮีโร่ในสายตาของคายะ (สาวน้ อย
ผู้มีร่างกายอ่อนแอและเชื่อมัน่ ในตัวอุซป) และแม้ ความฝั นของตัวละครกลุม่ เหล่านี ้จะประสบ
ความสาเร็จแล้ วแต่พวกเขาก็ยงั มีเหตุผลในการออกเดินทางในฐานะโจรสลัดลูกเรื อของลูฟี่ต่อไป
นัน่ เพราะด้ วยความสามารถในการ “ให้ กาลังใจ” แก่คนรอบข้ างของลูฟี่จึงทาให้ ลกู เรื อของเขา
มุง่ มัน่ จะไล่ลา่ “ความฝั นส่วนตัว” ขึ ้น เช่นการเป็ นนักเขียนแผนที่เดินเรื อไปทัว่ โลกของนามิ หรื อ
การเป็ นโจรสลัดที่ห้าวหาญและสมศักดิ์ศรี ของอุซป การออกผจญทะเลในฐานะกลุม่ โจรสลัด
หมวกฟางทังหมดจึ ้ งมีเป้าหมายร่วมกันคือ “การทาฝั นของตนให้ เป็ นจริง” จากที่กล่าวมา
แสดงให้ เห็นว่าวิธีการคิดโครงเรื่ องย่อยๆ ของโอดะสอดคล้ องกับโครงเรื่ องหลัก (การทาความฝั น
คือการเป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ของตัวเอกอย่างลูฟี่จะได้ มาก็ตอ่ เมื่อช่วยกันสานฝั นของพวกพ้ องบน
เรื อให้ เป็ นจริงเสียก่อน) ขณะเดียวกันโครงเรื่ องย่อยๆ ทังหมดก็ ้ สะท้ อนถึงชื่อเรื่ องวันพีซ (One
Piece – รวมกันเป็ นหนึง่ เดียว/ชิ ้นเดียว) การ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงเป็ นตัวอย่างชันดี
้ สาหรับการสร้ างโครง
เรื่ องหลัก-รองที่แม้ จะมีจานวนมากแต่กลับหลอมรวมเป็ นเนื ้อเดียวกันได้ อย่างมีเอกภาพ
“การวางโครงเรื ่องของวันพีซเหนื อกว่านารู โตะ (นิ นจาคาถาฯ) เหนื อกว่า
ดราก้อนบอลมาก อ่านสองเรื ่องนัน้ รู้ว่าบางช่วงเหมื อนไม่อยากเขี ยน เหมื อนเบื ่อๆ แต่วนั พีซเขา
สร้างโลกโจรสลัดได้ลึกมาก วางโครงมาเสร็ จแล้ว ไม่จาเป็ นต้องยื ดเรื ่อง เลยรักษาความสนุกได้
ตลอดทัง้ เรื ่อง” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
“คนเขี ยนสร้าง One Piece World โดยไม่เสียโครงเรื ่องเลย เขาวางแผน
เขี ยน 100 เล่มตัง้ แต่แรก จนถึงเล่ม 40, 50 ปมสาคัญก็ยงั ต่อกันหมด แสดงว่าเขาผูกเรื ่อง
77

ล่วงหน้า ไม่เหมื อนดราก้อนบอลทีเ่ ขี ยนไปเรื ่อยๆ” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม


2554)
1.2.3.3 นินจาคาถาฯ: โครงเรื่ องซับซ้ อนและลึกซึ ้ง
ในขณะที่วนั พีซมีโครงเรื่ องหลักคือการตามหา“วันพีซ” เพื่อการเป็ นเจ้ า
แห่งโจรสลัดของตัวเอกอย่างลูฟี่ นินจาคาถาฯ เองก็มีโครงเรื่ องหลักคือการได้ เป็ นโฮคาเงะหรื อ
ผู้ปกครองหมูบ่ ้ านนินจาของตัวเอกอย่างอุซมึ ากิ นารูโตะ และขณะที่วนั พีซสร้ างโครงเรื่ องย่อย
ผ่านการเดินทางตามน่านน ้าต่างๆ ที่พบพานทังมิ ้ ตรและศัตรู นินจาคาถาฯ ก็สร้ างโครงเรื่ อง
ย่อยๆ ผ่านการฝึ กฝนตัวเองของนารูโตะที่ต้องทาภารกิจนินจาตามคาสัง่ ของหัวหน้ าหมูบ่ ้ านโคโน
ฮะ แต่ในความแตกต่างของทังสองเรื ้ ่ องที่สร้ างโลกจินตนาการได้ อย่างยอดเยี่ยมจนครองใจผู้อา่ น
จานวนมากในบ้ านเรานันก็ ้ คือ โครงเรื่ องย่อยๆ ของวันพีซถูกสร้ างขึ ้นโดยอาศัย “มิตรภาพ” เป็ น
เครื่ องชี ้นา เช่นการเล่าย้ อนอดีตของตัวละครหลักๆ ที่ตอกย ้าความรู้สึกนึกคิดของตัวละครนันๆ ้
เพื่อตอกย ้าความเหนียวแน่นในมิตรภาพของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง (กลุม่ ของลูฟี่) หรื อการ
ช่วยเหลือเจ้ าหญิงเนเฟลตาลี บิบีแห่งอลาบาสต้ าให้ กอบกู้อาณาจักร (ทังๆ ้ ที่บบิ ีเองก็ไม่ใช่สมาชิก
ของกลุม่ ) จึงทาให้ ต้องต่อกรกับอาชญากรตัวร้ ายอย่างคร็อคโคไดล์ หรื อกระทัง่ การเดินทางเพื่อ
ค้ นหาสกายเปี ยร์ เกาะแห่งท้ องฟ้า เพราะสาเหตุส่วนหนึง่ ก็เพื่อลบคาครหา “จอมโกหก” ของ
มองบลัง โนแลนด์ ที่ยืนยันว่ามีขมุ ทองบนเกาะแห่งท้ องฟ้าจริง แต่นินจาคาถาฯ นันแม้ ้ จะ
กล่าวถึงมิตรภาพของกลุม่ เพื่อนร่วมทีมนินจาแต่ก็เน้ นไปที่การใช้ “ความแค้ น” เป็ นจุดเริ่มต้ น
ของโครงเรื่ องย่อยหลายๆ เรื่ อง ทังการโจมตี ้ หมู่บ้านโคโนฮะของหมูบ่ ้ านซึนะ หรื อการออก
เดินทางเพื่อล้ างแค้ นพี่ชาย (อุจิวะ อิทาจิ) ของอุจิวะ ซาสึเกะ (เพื่อนรักเพื่อนแค้ นของนารูโตะ) ซึง่ ก็
ทาให้ นารูโตะและทีมต้ องไปตามตัวซาสึเกะกลับมา
และแม้ วา่ ทังวั้ นพีซ และนินจาคาถาฯ จะมีโครงเรื่ องย่อยจานวนมาก แต่
นินจาคาถาฯ นันกลั ้ บมีความซับซ้ อนของโครงเรื่ องมากกว่า โดยวันพีซนันเดิ ้ นเรื่ องไปตามกลุม่
ตัวละครหลัก (ที่แม้ จะมีหลายคนแต่อยูร่ วมกันบนเรื อลาเดียว) ทาให้ ไม่ต้องเสริมแต่งฉาก
สถานการณ์ของตัวละครกลุ่มให้ มากมาย (ไม่ต้องเล่ากลับไปกลับมาจนอาจทาให้ คนอ่านงงหรื อ
รู้สกึ ว่าผู้เขียนชัง่ น ้าหนักตัวละครบางตัวมากไปหรื อน้ อยไป) ขณะเดียวกันการเดินทางของกลุม่ โจร
สลัดหมวกฟางในวันพีซนันก็ ้ เข้ าใจได้ ไม่ยากนัก เนื่องจากการเริ่มต้ นของโจรสลัดไร้ นามคนหนึง่
ย่อมต้ องเกิดจากการหา “พรรคพวก” คูใ่ จบนเรื อเสียก่อน ดังนันผู ้ ้ อ่านย่อมเข้ าใจโครงเรื่ องย่อยและ
ทิศทางของเรื่ องได้ ว่าเรื่ องราวต่อไปก็คือการรวบรวมพลพรรรคสมาชิกบนเรื อ ซึง่ มีตาแหน่งต่างๆ
คอยกากับอยูแ่ ล้ วทังต้ ้ นหน ยอดฝี มื อ (นักดาบ) กุ๊ก หมอ ช่าง เป็ นต้ น ขณะเดียวกันก็เสริมแต่ง
78

อุปสรรคของการเดินทางให้ เข้ มข้ นมากขึ ้นจากการขัดขวางของกองทัพเรื อ และกลุม่ โจรสลัดต่างๆ


ส่วนทางด้ านนินจาคาถาฯ นันมี ้ โครงเรื่ องที่ซบั ซ้ อนมากกว่า เพราะไม่ได้
เดินเรื่ องเน้ นไปที่ตวั ละครเอกอย่าง “นารูโตะ” เพียงคนเดียว แต่กลับเลือกจะให้ น ้าหนักกับการ
เสริมแต่ง “อดีต” ของตัวละครที่อยูร่ ายรอบตัวเอก เช่น “ซาสึเกะ” ที่มีความต้ องการ (ความฝั น) ที่
แตกต่างออกไป (ในวันพีซตัวละครแม้ ฝันแตกต่างกันบ้ างแต่ก็ลงเรื อลาเดียว-จุดมุง่ หมายจึงเป็ นที่
เดียวกัน) โดยซาสึเกะนันเต็ ้ มเปี่ ยมไปด้ วยความแค้ นส่วนตัวต่อพี่ชาย หรื อการเล่าถึงอดีตของ
นินจากลุม่ ต่างๆ ที่เป็ นสาเหตุให้ เกิดสงครามครัง้ ใหญ่ของกลุม่ นินจาขึ ้น จะเห็นได้ วา่ การที่มีตวั
ละครเด่นจานวนมากแต่ไม่สามารถเล่าตัวละครเด่นเหล่านันพร้ ้ อมๆ กัน (เหมือนเช่นวันพีซที่ตวั
ละครเด่นๆ อยูบ่ นเรื อเดียวกันและอยูใ่ นเหตุการณ์เดียวกันจึงเล่าตัวละครไปพร้ อมกันได้ ) จึงทา
ให้ บางครัง้ ผู้อา่ นเกิดความรู้สกึ ว่าตัวละครหลักบางตัวถูก “ทิ ้ง” นานจนเกินไป และทาให้ ตวั ละคร
พระเอกอย่าง “นารูโตะ” ไม่ได้ รับบทเด่นมากเท่าที่ควร แต่ขณะเดียวกันการสร้ างโครงเรื่ อง
ย่อยๆ ที่ซบั ซ้ อนก็มีข้อดีตรงที่ทาให้ เรื่ องราว “เข้ มข้ น” ดูลกึ ลับน่าติดตาม แต่กลับกันผู้อา่ นที่
เป็ นเด็กก็อาจเข้ าไม่ถึงความซับซ้ อนของเรื่ องได้ เท่าที่ควร
“นารู โตะมี ช่วงที เ่ ดิ นเรื ่ องอื ดไป เล่าถึงตัวละครอื น่ ๆ เยอะจนตัวเอกไม่
เด่น แต่วนั พีซค่อนข้างจะวางโครงเรื ่ องมาดี มีจุดพีคอยู่ตลอดเวลา และเข้าใจง่ายเกาะไปตาม
ตาแหน่งของตัวละครบนเรื อ” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
“วันพีซโครงเรื ่ องมันไม่ยาก เข้าใจง่าย แต่นารู โตะสนุกมันก็สนุกแต่ว่า
อาจซับซ้อน ลึกซึ้งเกิ นไป” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
1.2.3.4 ยอดนักสืบจิ๋วฯ: โครงเรื่ องง่ายๆ ตามแบบฉบับซีรี่ส์
จากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ อง ยอดนักสืบจิ๋วฯ มีลกั ษณะของโครงเรื่ องที่
ต่างออกไป นัน่ เพราะในขณะที่การ์ ตนู เรื่ องดังส่วนใหญ่ของญี่ปนในปั ุ่ จจุบนั มักมีโครงเรื่ องเหมือน
นิยายขนาดยาวที่แม้ จะมีบทหรื อตอนแต่จะไม่มีการปิ ดเรื่ องหากยังเล่าไม่ถึงตอนจบ แต่ยอด
นักสืบจิ๋วนันมี้ ลกั ษณะโครงเรื่ องตามแบบการ์ ตนู จบในตอน หรื อเหมือนซีรี่ส์ (หรื อละครชุดของ
อเมริกนั หรื อในบ้ านเราก็คล้ ายลักษณะของละครซิทคอม-situation comedy) ดังนันโครงเรื ้ ่ องจึง
ไม่ซบั ซ้ อนมากนัก โดยมีโครงเรื่ องหลัก (โครงเรื่ องระยะยาวที่รอการคลี่คลายปมในตอนจบ) คือ
การเสาะหาองค์กรของชายชุดดาลึกลับที่ทาให้ ตวั เอกของเรื่ องอย่างชินอิจิต้องกลายร่างจากเด็ก
มัธยมไปเป็ นเด็กประถมพร้ อมๆ กับการค่อยๆ ทาให้ ผ้ อู า่ นได้ ล้ นุ เรื่ องราวความรักระหว่างคูพ่ ระ-
นางว่าจะลงเอยเมื่อไหร่ -อย่างไร ขณะเดียวกันก็มีโครงเรื่ องย่อยๆ ที่ คลี่คลายจบในตอนตามแต่
ละคดีที่ตวั เอกได้ เข้ าไปเกี่ยวข้ องด้ วย (ซึง่ ในแต่ละตอนย่อยก็คอ่ ยๆ คลี่คลายปมหลักของโครงเรื่ อง
79

ระยะยาวคือเรื่ องชายชุดดาและเรื่ องความรักไปด้ วย) ซึง่ การวางโครงเรื่ องเช่นนี ้ทาให้ ยอด


นักสืบจิ๋วฯ แตกต่างไปจากการ์ ตนู แนวเดียวกันที่วางจาหน่ายในบ้ านเราในเวลาไล่เลี่ยกันอย่าง
“คินดะอิจิกบั คดีฆาตกรรมปริศนา” เพราะคินดะอิจิฯ ไม่ได้ วางโครงเรื่ องหลัก หรื อปมปริศนาที่ทา
ให้ คนดูต้องตามร่องรอย (clue) ในแต่ละตอนเพื่อลุ้นกันในระยะยาวจนถึงตอนจบ ซึง่ ข้ อด้ อย
ตรงนี ้นี่เองจึงทาให้ ผ้ เู ขียนคินดะอิจิฯ ต้ องออกผลงานใหม่ที่ต้องวางปมปริ ศนาระยะยาว (โครงเรื่ อง
หลัก) ที่คอ่ ยๆ “ปล่อย” จุดคลี่คลายในแต่ละตอนย่อยออกมาในภายหลัง นัน่ ก็คือผลงานเรื่ อง
“โรงเรี ยนนักสืบ Q” นัน่ เอง
ข้ อดีของการที่ยอดนักสืบจิ๋วฯ สร้ างโครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อนและมีแบบแผน
ค่อนข้ างตายตัวก็คือช่วยสร้ าง “ความอบอุน่ คุ้นเคย” ให้ กบั ผู้อ่านผ่านรายละเอียดแบบเดิมๆ ใน
การคลี่คลายคดี เช่นการใช้ เครื่ องแปลงเสียง การหลับของโคโกโร่ (ที่ถกู ตัวเอกอย่างโคนันยิง
ยาสลบเพื่อยืมร่างผู้ใหญ่ในการคลี่คลายคดี) แต่ในอีกทางหนึง่ การนาแบบแผนคลี่คลายคดี
เดิมๆ มาใช้ อยู่บอ่ ยครัง้ ก็สร้ างความจาเจซึง่ ผู้เขียนก็หาทางออกด้ วยการหาวิธีคลี่คลายคดีใหม่
และสร้ างตัวละครใหม่ ให้ มีบทบาทเพิ่มขึ ้นมา (อ่านรายละเอียดในหัวข้ อตัวละคร) จุดเด่น
อีกประการของการสร้ างโครงเรื่ องหลักระยะยาว ซ้ อนไปกับโครงเรื่ องย่อยที่จบในตอนก็คือผู้อา่ น
สามารถอ่านเล่มไหนก็ได้ โดยที่ไม่ร้ ูสกึ ว่า “ตามไม่ทนั ” และขณะเดียวกันก็ยงั อยากซื ้ออ่านต่อไป
เรื่ อยๆ เพราะมีเรื่ องให้ “ลุ้น” อยูก่ บั ปมที่ผ้ เู ขียนวางไว้ ในโครงเรื่ องหลักที่แน่นอนว่าต้ องมาเฉลยกัน
ในเล่มจบ
1.2.3.5 ทเวนตี ้ฯ: โครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อนแต่เล่าเรื่ อง (ให้ ดเู หมือน) ซับซ้ อน
ที่กล่าวว่าทเวนตี ้ฯ มีโครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อนก็เพราะโครงเรื่ องหลักที่แท้ จริงมี
เพียงแค่ความพยายามกอบกู้โลกของ “ขบวนการเคนจิ” ที่คอยขัดขวางแผนการร้ ายของ “เพื่อน”
ซึง่ หากฟั งโครงเรื่ องเพียงผิวเผินเราย่อมนึกไปถึงโครงเรื่ องย่อยๆ ที่เต็มไปด้ วยเรื่ องราวการวางแผน
ต่อสู้ระหว่างตัวเอก-ตัวร้ ายที่เกือบจะพลาดพลังใส่ ้ กนั หลายต่อหลายครัง้ แล้ วจึงค่อยจบลงด้ วยการ
ที่ตวั ร้ ายถูกตัวเอกปราบลงได้ ในที่สดุ น่าสนใจว่าการ์ ตนู เรื่ องนี ้แทบไม่ได้ สร้ างโครงเรื่ องย่อย
ผ่านฉากต่อสู้ระหว่างตัวเอก-ตัวร้ ายตามที่เราคาดหวังเลยแม้ แต่น้อย แต่กลับสามารถดึงดูดผู้อา่ น
เอาไว้ ได้ ผา่ นการสร้ างโครงเรื่ องย่อยๆ ที่มกั เกิดจาก “อดีต” ของตัวละครกลุม่ พระเอก และจาก
รายละเอียดชีวิตของตัวละครประกอบ (จะกล่าวละเอียดอีกครัง้ ในหัวข้ อตัวละคร) ซึง่
น่าสนใจว่าการเล่าโครงเรื่ องย่อยๆ ผ่านตัวละครที่อยูร่ ายรอบตัวเอกนันยิ ้ ่งช่วยเติมเต็มโครงเรื่ อง
หลัก (เป้าหมายหลักของเรื่ องคือการต่อสู้กนั ระหว่างขบวนการเคนจิและ “เพื่อน”) ให้ ดนู า่ เชื่อถือ
มากขึ ้นเรื่ อยๆ เช่นการเล่าย้ อนไปถึงอดีตของเพื่อนพระเอกอย่างโอตโจะที่ชีวิตไร้ จดุ หมาย
80

หลังจากลูกชายเสียชีวิต ดังนันการได้ ้ เข้ าร่วมขบวนการเคนจิจงึ ดูจะช่วยเติมเต็มชีวิตอันว่างเปล่า


ของเขา แต่แม้ โครงเรื่ องจะไม่ซบั ซ้ อน ผู้เขียนก็พยายามสร้ างความซับซ้ อนของเรื่ องราวด้ วย
กลวิธีการลาดับเรื่ องที่เล่าตัดเหตุการณ์กลับไปกลับมาระหว่าง 3 เหตุการณ์หลักตามที่กล่าวไป
แล้ วนัน้ ซึง่ ก็ชว่ ยสร้ างความลึกซึ ้ง-ซับซ้ อนของปมเรื่ องที่ทาให้ คนอ่านติดตามไปจนถึงบทสรุปเพื่อ
หาคาตอบว่าใครกันแน่คือ “เพื่อน” และเหตุใดเขาจึงต้ องการนาบันทึกคาทานายของเคนจิมาเป็ น
แม่แบบในการยึดครองโลก
ทเวนตี ้ฯ จึงเป็ นการ์ ตนู ที่นา่ สนใจตรงที่มีโครงเรื่ องหลักชัดเจน-ไม่ซบั ซ้ อน
ขณะเดียวกันก็ยงั สามารถสร้ างโครงเรื่ องย่อยที่ชว่ ยขับเสริ มโครงเรื่ องหลักได้ อย่างน่าเชื่อถือ (การ
ย้ อนอดีตสร้ างความสงสัยว่า “เพื่อน” ที่แท้ จริงคือใครและเหตุใดถึงต้ องใส่ร้ายเคนจิพระเอกของ
เรื่ อง) และยังทาให้ ปมปั ญหาของเรื่ องดูซบั ซ้ อนและน่าติดตามไปพร้ อมกัน
1.2.3.6 เดธโน้ ต: โครงเรื่ องประเด็นเดียวแบบเรื่ องสัน้
จากทังหมด ้ 6 เรื่ องเดธโน้ ตมีโครงเรื่ องหลักเพียงประเด็นเดียวอย่าง
ชัดเจนมากที่สดุ คือการต่อสู้ระหว่างตัวแทนความดี-ความชัว่ ผ่านตัวละครหลักสองตัว คือคิระ
และแอล (รวมทังทายาทของแอลอย่
้ างเนียร์ ) ซึง่ ต้ องลงเอยด้ วยจุดจบของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ โดยที่
ไม่มีการสร้ างโครงเรื่ องย่อยๆ ทังเบื ้ ้องหลังชีวิต การกระทาของตัวละครหลัก หรื อตัวละครประกอบ
เข้ ามาทาให้ เรื่ องไขว้ เขวเลย ดังนันความน่
้ าสนใจของเดธโน้ ตจึงอยู่ที่การใส่รายละเอียดของ
เรื่ องราวการวางแผนต่อกรกันระหว่างตัวเอกทังสองฝั ้ ่ ง ซึง่ ผู้เขียนก็สร้ างรายละเอียดดังกล่าวได้ นา่
สนุกสนานอยู่ตลอดเวลา และแม้ ผ้ อู า่ นจาเป็ นต้ องใช้ เวลาในการอ่านตัวหนังสือค่อนข้ างมาก
แต่ก็เข้ าใจได้ ไม่ยากจนเกินไป เพราะคนอ่านก็ยงั รับรู้ได้ วา่ เรื่ องราวทังหมดย่ ้ อมไม่หลุดหนีไปจาก
การต่อสู้ห ้าหัน่ กันระหว่างตัวละครหลักสองตัวนัน่ เอง โครงเรื่ องของเดธโน้ ตซึง่ มีลกั ษณะเข้ าใจ
ได้ ง่ายนันจึ ้ งเป็ นลักษณะโครงเรื่ องแบบเรื่ องสัน้ ซึง่ ผู้เขียนก็โดดเด่นตรงที่สามารถดึงดูดผู้อ่านให้
รู้สกึ ว่าเรื่ องราวเข้ มข้ นจนอยู่กบั เรื่ องได้ แทบตลอดเวลา
จะเห็นได้ วา่ การ์ ตนู ที่เลือกมาศึกษาทังหมดมี ้ ความซับซ้ อนของโครงเรื่ องแตกต่าง
กันออกไป ทังน้ ้ อยและมาก ซึง่ โครงเรื่ องที่คอ่ นข้ างซับซ้ อนจะเป็ นลักษณะของการ์ ตนู ยอดนิยมใน
ปั จจุบนั ที่มีขนาดยาว (จานวนเล่มมากกว่า 50 เล่มขึ ้นไปเช่นวันพีซ นารูโตะ ส่วนดราก้ อนบอลนัน้
แม้ จะตีพิมพ์ออกมาหลายเล่มแต่ก็มีจดุ อ่อนของโครงเรื่ องตามที่กล่าวไปแล้ ว) ส่วนโครงเรื่ องที่
ไม่ซบั ซ้ อนจะเหมาะกับการ์ ตนู ที่มีความยาวไม่มากนัก (เช่นเดธโน้ ต ยาว13 เล่มและทเวนตี ้ฯ ยาว
22 เล่ม) ในขณะที่ยอดนักสืบจิ๋วฯ มีโครงเรื่ องแบบละครชุดหรื อซิทคอมที่มีทงโครงเรื ั้ ่ องหลัก (ที่ยงั
81

ไม่เฉลยปมจนกว่าจะจบเรื่ อง) และโครงเรื่ องย่อย (ที่เฉลยปมแบบจบในตอน) ซึง่ อาจสรุปความ


ลึกซึ ้ง ซับซ้ อนของโครงเรื่ องทัง้ 6 เรี ยงลาดับจากน้ อยไปหามากได้ ดงั นี ้

ความลึกซึง้ ความลึกซึง้ ความลึกซึง้


เรื่อง น้ อย ปานกลาง มาก

เดธโน้ ต 
ดราก้ อนบอล 
ยอดนักสืบจิ๋ว 
ทเวนตี ้ฯ 
วันพีซ 
นินจาคาถาฯ 

ตารางที่ 4 ความลึกซึง้ และซับซ้ อนของโครงเรื่อง

1.2.4 การสร้ างและการคลี่คลายเงื่อนงา


1.2.4.1 ดราก้ อนบอล: สร้ างเงื่อนงาและคลี่คลายแบบทันทีทนั ใด
เพราะดราก้ อนบอลมีโครงเรื่ องที่ไม่ซบั ซ้ อน เดินเรื่ องแบบตรงไปตรงมา
เน้ นขายความสนุกที่ฉากต่อสู้ระหว่างพระเอกกับผู้ร้ายเพื่อปกป้องโลก ดังนันเงื
้ ่อนงาหรื อปม
ปั ญหาของเรื่ องจึงถูกสร้ างขึ ้นเพียงชัว่ เวลาสันๆ
้ แล้ วจึงเฉลยในเวลาต่อมาแบบทันทีทนั ใด ไม่ทิ ้ง
ช่วงปล่อยให้ ผ้ อู า่ นสงสัยเป็ นเวลานาน ทาให้ ผ้ อู า่ น “รู้เท่าๆ กับตัวละคร” เช่นการสร้ างตัวละคร
หน้ าใหม่ขึ ้นพร้ อมๆ กับเฉลยถึงความสามารถด้ านการต่อสู้ของตัวละครตัวนันในทั ้ นทีผา่ นบท
สนทนาของตัวละครหลักตัวอื่น นอกจากนี ้ยังใช้ กลวิธีการกระตุ้นความสงสัยให้ ผ้ อู า่ นติดตาม
เรื่ องราวแบบง่ายๆ ด้ วยการใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องบุคคลที่ 3 มาคอยกระตุ้นความสงสัยผู้อา่ น
อย่างตรงไปตรงมาว่า “เอาล่ะสิ โงคูกาลังเจอกับทางตัน เขาจะหาหนทางแก้ไขอุปสรรคใหญ่นีไ้ ด้
อย่างไร”
และแม้ ฉากการต่อสู้จะเป็ นจุดขายของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ แต่การสร้ างเงื่อนงา
เป็ นปริ ศนาให้ คนดูต้องติดตามกลับไม่ได้ อยูท่ ี่เหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ที่พลิกผัน เพราะตัวเอก
แบบโงคูนนเก่
ั ้ งกาจจนทาให้ คนอ่านรู้สกึ ว่าไม่วา่ จะอย่างไรก็ต้องเอาชนะคูต่ อ่ สู้ได้ อยูแ่ ล้ ว ผู้อา่ นจึง
ไม่ต้องเสียเวลาลุ้นว่าผลการต่อสู้จะออกมาอย่างไร นอกจากนี ้ดราก้ อนบอลก็ได้ “แบไต๋” ให้
82

ผู้อา่ นรู้จกั “ดราก้ อนบอล” ซึง่ เป็ นเงื่อนปมสาคัญของเรื่ องกันแบบหมดเปลือกตังแต่ ้ ต้นเรื่ อง (ให้
ผู้อา่ นรู้ว่าดราก้ อนบอลเป็ นหินวิเศษที่ทาให้ คนที่เป็ นเจ้ าของหินทัง้ 7 ก้ อนสามารถขอพรจากเทพ
เจ้ ามังกรได้ 1 ข้ อ) ดังนันอาการ
้ “ลุ้น” หรื อความรู้สึก “คาดไม่ถึง” ของคนอ่านจึงมีไม่มากนัก แต่
สิ่งที่โทริยาม่า อากิระสร้ างขึ ้นมาทดแทนเงื่อนปมหลักของเรื่ องก็อยูท่ ี่ “คาแร็ คเตอร์ ” ตัวละคร
เพราะด้ วยความเก่งกาจของตัวเอกทาให้ ต้องสร้ างคูต่ อ่ สู้หน้ าใหม่อยูต่ ลอดเวลา ดังนันตั ้ วละคร
ในดราก้ อนบอลโดยเฉพาะฝั่ งผู้ร้ายจึงมีความแตกต่างแต่นา่ สนใจทุกตัวละคร (จะกล่าว
รายละเอียดในหัวข้ อการสร้ างตัวละคร)
1.2.4.2 ยอดนักสืบจิ๋วฯ: อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ชว่ ยคลี่คลายคดี
แนวเรื่ องของโคนันคือสืบสวนสอบสวน ดังนันจึ ้ งต้ องให้ ความสาคัญกับ
การสร้ างและคลี่คลายเงื่อนงาคดีฆาตกรรมเป็ นหลัก ซึง่ จุดเด่นของการสร้ างเงื่อนงาในการ์ ตนู
เรื่ องนี ้คือ ความไม่ซบั ซ้ อนจนยากเกินเข้ าใจ โดยหากเทียบกับการ์ ตนู ในแนวเดียวกันเรื่ องดังอย่าง
คินดะอิจิ กับคดีฆาตกรรมปริศนาก็พบว่าแม้ จะสร้ างคดีในแนวทางเดียวกันคือการเปิ ดเรื่ องด้ วย
การสร้ างปมปั ญหาขึ ้นมาผ่าน “เหตุฆาตกรรมในสถานที่ปิดตาย” เพื่อช่วยจากัดวงแคบให้ ผ้ อู า่ น
ได้ ร่วม “ลุ้น” กับ “ผู้ต้องสงสัย” เหมือนๆ กัน แต่คนิ ดะอิจิฯ จะเปิ ดเผยขันตอนการสื ้ บสวน และ
ยอม “ปล่อย” ร่องรอย (clue) ของการฆาตกรรมให้ ผ้ อู ่านได้ ครุ่นคิดกันมากกว่าโคนัน
ในขณะที่โคนันจะไม่คอ่ ยเปิ ดเผยร่องรอยของคดีให้ เห็นรายละเอียดมากนัก ทาให้ ผ้ อู า่ น “รู้น้อย
กว่าตัวละคร” เช่นโคนันเดินออกไปตรวจที่เกิดเหตุอีกครัง้ และพบร่องรอยน่าสงสัยก่อนพูดว่า
“คนร้ ายใช้ วิธีอย่างนี ้นี่เอง” (โคนันรู้ทริ คของคนร้ ายแล้ วแต่คนอ่านยังไม่ร้ ู) การทาให้ ผ้ อู า่ น “รู้น้อย
กว่าตัวละคร” มีข้อดีตรงที่สามารถปิ ดบังเงื่อนงาบางส่วนไว้ ทาให้ ผ้ อู ่านเดาตัวคนร้ ายไม่คอ่ ยถูก
(หรื อถ้ าเดาถูกก็เป็ นเพียงการเดาสุม่ จากความรู้สกึ ไม่ใช่จากหลักฐานหรื อร่องรอยที่ผ้ เู ขียนปล่อย
ออกมา) แต่ในทางกลับกันก็อาจไม่ถกู ใจผู้อา่ นที่เป็ นแฟนประจาของเรื่ องราวแนวนี ้ซึ่งมักชื่นชอบ
การค่อยๆ คิดหาคาตอบไต่ไปตามเงื่อนงาที่ผ้ เู ขียนพยายามปล่อยออกมา และสนุกกับการได้
“ลุ้น” ว่าตนสามารถ “ทาย” ผู้ร้ายตัวจริงได้ ถกู ต้ อง
แม้ ยอดนักสืบจิ๋วฯ จะให้ ตวั เอกแสดงความสามารถในการสืบหาร่องรอย
ของคดีไม่มากนัก แต่การคลี่คลายปมของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็สามารถทาให้ คนอ่านที่เป็ นเด็กสามารถ
“เข้ าถึง” เรื่ องราวแบบสืบสวนสอบสวนได้ ง่ายขึ ้นด้ วยการนา “วิทยาศาสตร์ ” มาเป็ น “พระเอก”
ของเรื่ อง เพราะจุดเด่นในการคลี่คลายปมของยอดนักสืบจิ๋วคือการนาเครื่ องมือทางวิทยาศาสตร์
มาใช้ (หูกระต่ายแปลงเสียง และการยิงยาสลบ ตามที่กล่าวไปแล้ วในหัวข้ อการสร้ างความสมจริง
ของเรื่ อง) นอกจากนี ้ยังมักมีการอ้ างกฎทางฟิ สิกส์เพื่อแสดงถึง “ทริ ค” ของคนร้ ายในการลงมือ
83

ฆาตกรรม เช่นผู้ร้ายต้ องเปิ ดหน้ าต่างที่ทามุม 45 องศา เพื่อสอดเชือกเข้ าไปแล้ วเกิดแรงส่งให้ รูป
ปั น้ หล่นลงมาสูร่ ่างผู้ตาย เป็ นต้ น
การนาวิทยาศาสตร์ เข้ ามาเป็ นตัวช่วยสาคัญในการคลี่คลายคดีจงึ เป็ น
รสชาติที่คอ่ นข้ างแปลกใหม่สาหรับแนวเรื่ องแบบสืบสวนและการคลี่คลายคดีฆาตกรรมในสถานที่
ปิ ดตาย ซึง่ ก็ได้ สะท้ อนแนวโน้ มของเรื่ องราวแนวสืบสวนของสื่ออื่นในปั จจุบนั ที่เน้ นการคลี่คลาย
คดีด้วยหลักนิตวิ ิทยาศาสตร์ มากขึ ้นด้ วย (เช่นการหารอยเลือด เส้ นผม ของละครชุดทางโทรทัศน์
อย่าง CSI) ส่วนการ “เฉลย” แรงจูงใจของฆาตกรในการ์ ตนู เรื่ องนี ้แน่นอนว่าย่อมหนีไม่พ้นการ
หาเหตุด้าน “จิตวิทยา” โดยเฉพาะการกระทาที่เกิดจาก “ความรัก “(เช่นฆ่าเพราะไม่สมหวังในรัก
หรื อฆ่าเพื่อช่วยเหลือคนที่เรารัก) นัน่ เพราะการฆาตกรรมในที่ปิดตายมักต้ องเกิดจากฝี มือคนที่อยู่
ในสถานที่เกิดเหตุซงึ่ มักเป็ นผู้ใกล้ ชิดกับผู้ตาย แต่เพราะด้ วยข้ อจากัดของการ์ ตนู จบในตอนที่มี
ความยาวไม่มากนัก (เมื่อเทียบกับนิยายแนวสืบสวนสอบสวน) จึงทาให้ เมื่อถึงเวลา “เฉลย”
แรงจูงใจของฆาตกรจึงไม่ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกเข้ าถึง หรื อสะเทือนอารมณ์ได้ เท่าที่ควร
1.2.4.3 วันพีซ: การสร้ างความเซอร์ ไพรส์คือหัวใจของวันพีซ
ลักษณะการวางเงื่อนงาของวันพีซก็ไม่ตา่ งจากการ์ ตนู เรื่ องยาวโดยส่วน
ใหญ่ที่มกั ทาให้ “คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร” เป็ นระยะเวลานานกว่าครึ่งค่อนเรื่ องกว่าจะเฉลย
เงื่อนงาสาคัญนันๆ ้ โดยเริ่มต้ นด้ วยการวางเงื่อนงาปมหลักของเรื่ องเพียงประเด็นเดียวนัน่ คือ
“อะไรคือวันพีซ” ตามชื่อเรื่ อง และในช่วงแรกของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ (10 เล่มแรก) อาจดูเหมือนไม่ได้
มุง่ หน้ าคลี่คลายปมหลักของเรื่ องมากนัก แต่กลับขับเน้ นไปที่การสร้ างปมปั ญหาและการคลี่คลาย
ปมผ่านตัวละครกลุม่ สมาชิกโจรสลัดหมวกฟางที่ได้ เดินทางไปยังน่านน ้า และเมืองประหลาดต่างๆ
ซึง่ หากมองเพียงผิวเผินอาจเหมือนการเดินทางเพื่อสร้ างความสนุกสนานตามแนวเรื่ องผจญภัยที่
มักมีจดุ ขายที่การสร้ างฉาก สถานการณ์อนั แปลกใหม่ให้ ตวั ละครต้ องฟั นฝ่ า แต่แท้ จริ งการเดินทาง
ในแต่ละสถานที่ก็มีความหมายเพื่อการปล่อยร่องรอย ให้ ผ้ อู า่ นได้ เข้ าถึง “วันพีซ” ไปทีละนิด เช่น
การค้ นพบอักษรโพโนกลิฟบนเกาะแห่งท้ องฟ้าก็ทาให้ ขยับเข้ าใกล้ ประวัตขิ องโลกโจรสลัดที่
ปกครองโดยรัฐบาลโลก และเข้ าใกล้ ความหมายของ “วันพีซ” มากขึ ้น
จุดเด่นของการวางเงื่อนงาที่ชว่ ยดึงดูดผู้อา่ นในวันพีซอีกประการก็คือ
การสร้ างตัวละครหลักขึ ้นมาหลายตัวโดยที่ยงั ไม่บอกที่มาที่ไปของตัวละครอย่างชัดเจน โดย
เฉพาะตัวละครเอกอย่างลูฟี่ที่ผ้ เู ขียนเปิ ดตัวด้ วยคาแร็ คเตอร์ ภายนอกเท่านัน้ หลังจากนันจึ
้ ง
ค่อยๆ เปิ ดเผยรายละเอียดของตัวละครภายหลัง เช่นลูฟี่เป็ นพี่น้องกับเอส (โจรสลัดหนุม่ ไฟแรงที่
โด่งดังจากการเป็ นหัวหน้ าหน่อยที่ 2 ของกลุม่ โจรสลัดหนวดขาว กลุม่ โจรสลัดที่แข็งแกร่งที่สดุ ใน
84

โลก) หรื อการเปิ ดเผยว่าแท้ จริงแล้ วลูฟี่เป็ นลูกของนักปฏิวตั ชิ ื่อดังผู้กาลังถูกกล่าวขวัญถึงในโลก


โจรสลัด การเปิ ดเรื่ องที่ทาให้ ลฟู ี่ ดูเหมือนเด็กหนุม่ “ธรรมดาๆ” คนหนึง่ (nobody) ซึง่ อาจมีดี
แค่เพียงความกล้ าหาญและความมุง่ มัน่ แล้ วกลับมาเฉลยหรื อคลี่คลายในภายหลังว่าโดยเนื ้อแท้
นันเด็
้ กหนุม่ คนนี ้คือทายาทของบุคคนสาคัญแห่งโลกโจรสลัด (somebody) จึงสร้ างความรู้สึก
คาดไม่ถึง หรื อเซอร์ ไพรส์ผ้ อู ่านได้ เป็ นอย่างดี ขณะเดียวกันก็ชว่ ยให้ ตวั เอกขยับเข้ าใกล้ ความฝั น
การเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัดได้ อย่างน่าเชื่อถือมากขึ ้นด้ วย
อาจกล่าวได้ วา่ กลวิธีการสร้ างเงื่อนงาและการคลี่คลายของวันพีซ
สะท้ อนการวางแผนโครงเรื่ องระยะยาวมาอย่างดีของผู้เขียน ที่มีลกั ษณะการวางเงื่อนงาสาคัญไว้
แต่ต้นและจะยังไม่ยอมคลี่คลายเงื่อนงานันจนกว่ ้ าจะถึงปลายทางของเรื่ อง แต่ขณะเดียวกันใน
ระหว่างทางของเรื่ องก็พยายามหาทางสร้ างและคลี่คลายเงื่อนงาย่อยๆ ที่น่าสนใจผ่านตัวละคร
และฉากสถานการณ์ตา่ งๆ เพื่อดึงผู้อา่ นให้ อยูก่ บั เรื่ องราวได้ ตลอดรอดฝั่ ง
1.2.4.4 นินจาคาถาฯ: ชีวิตขื่นขมสร้ างอารมณ์ดราม่า
บ่อยครัง้ ที่คอการ์ ตนู ชาวไทยมักเปรี ยบเปรยวันพีซ กับนินจาคาถาฯ และ
เมื่อเทียบการสร้ างเงื่อนงาระหว่างสองเรื่ องนี ้แล้ วก็พบว่ามีลกั ษณะไม่ตา่ งกันนัน่ คือการทาให้ “คน
อ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร” อยูเ่ สมอ แต่นินจาคาถาฯ มุง่ เน้ นการสร้ างเงื่อนงาของเรื่ องและตัวละคร
มากกว่าวันพีซ โดยตังแต่
้ เปิ ดเรื่ องผู้เขียนได้ วางเงื่อนงาเพื่อจับคนอ่านได้ อย่างอยู่หมัดผ่านปม
ชีวิตของตัวละครเอกอย่างนารูโตะ ที่มีสตั ว์ประหลาดจอมวายร้ าย (สัตว์หาง อย่างจิ ้งจอกเก้ าหาง)
ถูกสะกดอยูใ่ นร่าง เรี ยกได้ วา่ แค่เพียงเปิ ดเรื่ องตัวละครอย่างนารูโตะก็มีมิตทิ ี่ลึกซึ ้งและทาให้ คน
ดูคาดเดาแนวทางต่อไปของเรื่ องกันได้ มากมาย ซึง่ ผู้เขียนก็คอ่ ยๆ คลี่คลายปมของจิ ้งจอกเก้ า
หางออกมาเป็ นระยะ ทังวิ ้ ธีที่จะควบคุมจิ ้งจอกเก้ าหาง หรื อสัตว์หางประเภทอื่นๆ อยูใ่ นร่างของ
ใครบ้ าง นอกจากการสร้ างเงื่อนงาผ่านตัวเอกแล้ ว ตัวละครประกอบอื่นๆ ก็มีเบื ้องหลังชีวิต
น่าสนใจไม่แพ้ กนั (ตามที่กล่าวไปบ้ างแล้ วในความลึกซึ ้ง ซับซ้ อนของโครงเรื่ อง) เช่นการสร้ าง
เงื่อนงาในชีวิตของเพื่อนร่วมทีมนินจาของนารูโตะอย่าง “อุจิวะ ซาสึเกะ” ที่มีชีวิตอยูเ่ พื่อความแค้ น
และการแก้ แค้ นพี่ชายของตน (ซึง่ สังหารพ่อแม่และครอบครัวตัวเองอย่างอิทาจิ) แต่แท้ จริงแล้ ว
เรื่ องราวกลับมาคลี่คลายในภายหลังว่าพี่ชายของซาสึเกะนันลงมื ้ อสังหารครอบครัวเพื่อปกป้อง
เกียรติของคนในตระกูลและได้ สร้ างปมเงื่อนงาต่อไปอีกว่าสาเหตุการตายของคนในตระกูลอุจิวะ
มาจากการที่ถกู ชาวโคโนฮะ (หมูบ่ ้ านนินจาของตนเอง) หักหลัง หรื อการสร้ างเงื่อนงาของตัว
ละครโฮคาเงะรุ่นที่ 4 (ผู้ปกครองหมู่บ้านนินจา) ซึง่ ผู้เขียนได้ กล่าวไว้ ในตอนต้ นว่าเป็ นผู้สละชีวิต
85

ตนเองเพื่อผนึกจิ ้งจอกเก้ าหางเอาไว้ ในตัวนารูโตะ แล้ วจึงค่อยมาเฉลยในภายหลังว่าแท้ จริงแล้ ว


โฮคาเงะรุ่นที่ 4 ซึง่ เป็ นที่รักของคนในหมูบ่ ้ านนินจานันเป็
้ นพ่อบังเกิดเกล้ าของนารูโตะ

ภาพประกอบ 10 ปี ศาจจิง้ จอกเก้ าหางที่สถิตอยู่ในร่ างนารู โตะ


ที่มา: http://www.siamzone.com/board/view.php?sid=1510881

เห็นได้ วา่ วิธีการสร้ างเงื่อนงาเพื่อดึงดูดผู้อ่านของนินจาคาถาฯ นันเกิ ้ ดขึ ้น


ผ่าน “ตัวละคร” ทังตั ้ วละครเอกและตัวละครหลักอื่นๆ ที่มีพฤติกรรมหรื อนิสยั ที่ลกึ ลับในตอนต้ น
เรื่ อง ก่อนจะเฉลยหรื อคลี่คลายเหตุผลในภายหลังโดยสร้ างเรื่ องราวที่เต็มไปด้ วยอารมณ์ ทังขม ้
ขื่น ปวดร้ าว ความรัก ความเสียสละ ความพยาบาทฯลฯ เพื่อสร้ างความสะเทือนอารมณ์แก่ผ้ อู า่ น
อาจกล่าวได้ วา่ ตลอดทังเรื ้ ่ องของนินจาคาถาฯ นันเต็
้ มไปด้ วยเงื่อนปม
ลึกลับผ่านการกระทาของตัวละคร หรื อกลุม่ องค์กรลึกลับ (เช่นโอโรจิมารุ หรื อกลุม่ แสงอุษา) ซึง่
ผู้เขียนก็ใช้ ประโยชน์จากการสร้ างตัวละครที่ “ดูลกึ ลับ” ในตอนเปิ ดตัว เพราะสามารถใส่เหตุผล
เพื่อสร้ างความเซอร์ ไพรส์ให้ กบั คนอ่านในภายหลังได้ ตลอดเวลา (เช่นพ่อของนารูโตะเป็ นใคร หรื อ
จิไรยะ นินจาจอมลามกในปั จจุบนั ที่แท้ จริงแล้ วเป็ นยอดนินจาในตานาน เป็ นต้ น)
1.2.4.5 ทเวนตี ้ฯ : ทิ ้งเรื่ องราวให้ ค้างคาใจ
นอกเหนือจากการเล่าเรื่ องที่ไม่เป็ นไปตามลาดับเวลาแล้ วสิ่งที่นา่ สนใจ
อีกประการในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็คือ “วิธีการปูเรื่ องราวเพื่อเร้ าอารมณ์ผ้ อู ่านไปสูจ่ ดุ ที่น่าสนใจจนถึง
ที่สดุ ” (จุดไคลแมกซ์-climax) ซึง่ ในการเล่าเรื่ องโดยส่วนใหญ่จะคลี่คลายจุดไคลแมกซ์ในทันที
เช่นตัวละครเอกกาลังจนมุมโดนผู้ร้ายไล่ลา่ จวนเจียนจะตกตึก (ปูเรื่ องดันกราฟความน่าสนใจไปถึง
จุดไคลแมกซ์) แล้ วภาพก็ตดั มาที่ด้านหลังของผู้ร้ายเผยให้ เห็นว่ายังมีเพื่อนพระเอกที่คอยช่วย
ขัดขวางตัวร้ ายไม่ให้ เหนี่ยวไกปื นไปที่พระเอกในเสี ้ยววินาทีไคลแมกซ์นนั ้ ซึ่งก็ทาให้ พระเอกรอด
86

พ้ นจากความตายมาได้ หวุดหวิด (การคลี่คลายเรื่ องและบทสรุป) แต่ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้กลับ


เลือกที่จะ “ตัดไคลแม็กซ์” ทิ ้ง ทาให้ ผ้ อู า่ นจึงต้ องหยุดอารมณ์ เอาดื ้อๆ (ในช่วงเวลาที่อารมณ์
กาลังพุง่ ถึงขีดสุด) เพราะผู้เขียนไม่ยอมเฉลยจุดไคลแมกซ์และจุดคลี่คลายในแต่ละปมปั ญหา
เช่น หลังจากที่ปเู รื่ องมาจนถึงช่วงที่กลุม่ ของพระเอก “ขบวนการเคนจิ” กาลังจะไปกู้วิกฤติโลกโดย
การหยุดหุน่ ยักษ์ ที่จะปล่อยเชื ้อไวรัสทาลายล้ างเมือง ผู้เขียนก็เล่าถึงเพียงแค่เคนจิได้ พยายาม
ปี นขึ ้นไปบนห้ องควบคุมหุ่นยักษ์เพื่อยับยังการปล่ ้ อยเชื ้อไวรัส แต่แล้ วก็ตดั จุดคลี่คลายเหตุการณ์
ทิ ้งไป ทิ ้งให้ คนดูเข้ าใจเอาเองว่าเคนจิถกู ไฟทาลายล้ างไปพร้ อมกับหุน่ ยักษ์ (เพราะหลังจากนันก็ ้
ไม่มีใครพบเคนจิอีกเลย) ส่วนชะตากรรมของเพื่อนร่วมขบวนการเคนจิอีกหลายคนเป็ นอย่างไร
นันผู
้ ้ เขียนก็ยงั ไม่ได้ คลี่คลายเหตุการณ์ในทันที (เช่น คนอ่านไม่ร้ ูวา่ โอตโจะ หัวหอกของขบวนการ
เคนจิอีกคนอยูท่ ี่ไหนจนกระทัง่ ผู้เขียนได้ เฉลยในภายหลังว่าเขาโดนจับขังคุก)
การไม่ยอมคลี่คลายปมปั ญหาหรื ออุปสรรคในทันทีทนั ใดเป็ นกลวิธีหลัก
ที่ผ้ เู ขียนใช้ ดงึ ความสนใจของผู้อา่ นในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ โดยเลือกจะเบี่ยงเบนความสนใจคนอ่าน
ด้ วยการเปลี่ยนไปเล่าเรื่ องราวของตัวละครอื่น หรื อเหตุการณ์อื่นแทน แล้ วจึงค่อยมาเฉลยจุด
คลี่คลายในภายหลัง (ไม่เฉลยในเล่มเดียวกัน แต่หา่ งกันหลายเล่ม) ซึง่ การนาเสนอเช่นนี ้อาจ
เป็ นทังจุ ้ ดเด่นและจุดด้ อยในเวลาเดียวกัน ในแง่จดุ เด่นก็คือ “ความคาใจ” ทาให้ ผ้ อู ่านทาให้ สนใจ
ติดตามเรื่ องราวต่อไป (โดยผู้เขียนมักทิ ้งจุดคลี่คลายเอาไว้ เสมอเมื่อนาเสนอเรื่ องราวมาจนท้ าย
เล่ม) แต่เมื่อผู้เขียนใช้ วิธีนี ้บ่อยครัง้ ก็ทาให้ บางครัง้ ผู้อา่ นลืมเรื่ องราวก่อนหน้ าที่เกิดขึ ้นจนออก
อาการงงงันกับเรื่ องราวและทาให้ ต้องไล่อา่ นเรื่ องราวย้ อนหลังเพื่อปะติดปะต่อเหตุการณ์ (เพราะ
กว่าการ์ ตนู จะวางจาหน่ายแบบรวมเล่มก็ต้องใช้ เวลานานประมาณ 1 เดือน) เช่น เหตุการณ์ที่
ดองกี ้ผู้กล้ าหาญพบบางสิ่งบางอย่างในห้ องวิทยาศาสตร์ ตอนกลางคืน ผู้เขียนได้ เล่าถึง
เหตุการณ์นี ้หลายครัง้ โดยสร้ างความสงสัยผ่านการบรรยายว่า “สิ่ งที ่ดองกี ้เห็นตอนนัน้ เป็ นที ร่ ู้ กนั
ในภายหลัง แต่ว่าตอนที ร่ ู้เรื ่ องนัน้ สถานการณ์ มนั ก็สายเกิ นกว่าจะแก้ไขเสี ยแล้ว” และในการ
ย้ อนกลับไปเล่าเรื่ องนี ้อีกแต่ละครัง้ ก็คอ่ ยๆ ขยับเข้ าใกล้ จดุ คลี่คลายมากขึ ้นทุกขณะ แต่จนแล้ ว
จนรอดก็ไม่ยอมเฉลยเสียทีว่าสิ่งที่ดองกี ้เห็นจนทาให้ คนที่ “ขวัญดี” ที่สดุ ต้ อง “ขวัญหาย” นันคื ้ อ
อะไรกันแน่
“วิ ธีเล่าเรื ่องของทเวนตี ม้ นั ดี ตรงที ท่ าให้เรารู้สึกเหมื อนดูซีรี่ส์ฝรั่ง เพราะ
วางโครงเรื ่ องมาอย่างดี พออ่านจบหนึ่งเล่มก็เหมื อนดูซีรี่ส์จบ chapter แต่ก็จะต้องมี ปมอะไร
บางอย่างทิ้ งให้เราตามในตอนต่อไป” (ทรงวิทย์ สี่กิตกิ ลุ , สัมภาษณ์, 12 มิถนุ ายน 2554 )
“เขาเก่งมากในการสร้างปมใหม่ให้เราสนใจ สงสัยได้ตลอด พอเล่าไปจน
87

จะไคลแม็กซ์ แล้วก็ไม่ยอมเฉลยปมซักที วิ ธีการเล่ามันเหมื อนเรื ่องสัน้ ย่อยๆ ทีเ่ มื ่อปิ ดเรื ่องย่อยๆ
โดยทิ้ งปมไว้ แต่พอเปิ ดตอนใหม่ขึ้นมาก็สร้างปมใหม่ทีน่ ่าสนใจกว่าเก่าขึ้นมาอีก มันเลยซัดเราซะ
อยู่หมัดเลย” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
“มันให้ความรู้สึกเหมื อนดูหนังฮอลลี วูด้ เล่ากลับไปกลับมา พร้อมๆ กับ
ซ่อนปมให้เราสงสัยติ ดตามเรื ่องได้ตลอด (ประสพโชค จันทรมงคล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม
2554)
“มันเล่าคล้ายหนังซี รี่ส์ ทัง้ การทิ้ งปม การไม่บอกเรื ่องทัง้ หมด มัน
เดิ นเรื ่องไม่เป็ นเสต็ปของมังงะจ๋าๆ ไม่เหมื อนกับมังงะดังๆ อย่าง Bleach” (ธัญลักษณ์ เตชศรี
สุธี,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
“มันมี ลกั ษณะของนิ ยายผูใ้ หญ่ เป็ นการต่อสู้ดว้ ยความเชื ่อ และการ
รวมตัวของกลุ่มขบวนการ โดยผูเ้ ขี ยผูกปมให้ปริ ศนาตามที ละเปลาะๆ ล่อให้คนติ ดตามว่า
“เพือ่ น” คื อใครกันแน่” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
1.2.4.6 เดธโน้ ต: เฉลยเงื่อนงาสาคัญตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง
ขณะที่การ์ ตนู หรื อเรื่ องเล่าในสื่ออื่นๆ (เช่นนิยาย ละคร หรื อภาพยนตร์ )
มักพยายามเก็บเงื่อนงาหรื อปมหลักของเรื่ องที่ตนสร้ างไว้ ก่อนจะคลี่คลายปมสาคัญนันใน ้
ตอนท้ ายเรื่ องเพื่อรักษา-ดึงผู้อา่ นหรื อผู้ชมเอาไว้ เหมือนเช่นวันพีซ คนอ่านยังค้ างคาใจกับปมเรื่ อง
ประวัตชิ ีวิตของลูฟี่ หรื อเรื่ องวันพีซที่แท้ จริงคืออะไร ส่วนนารูโตะก็ยิ่งมีปมมากมายที่ยงั ไม่ยอม
เฉลยให้ คนอ่านรู้ เช่นอิทธิฤทธิ์ที่แท้ จริ งของจิ ้งจอกเก้ าหาง เบื ้องลึกเหตุการณ์ในวัยเด็กของนารู
โตะ และซาสึเกะ หรื อกระทัง่ โคนันยอดนักสืบจิ๋วฯ ที่เป็ นเรื่ องราวสืบสวนแบบจบในตอนก็ ยงั
มีเงื่อนปมระยะยาวให้ คนอ่านลุ้นว่าแท้ จริงแล้ วองค์กรของชายชุดดามีความสาคัญต่อเรื่ องอย่างไร
แต่สาหรับเดธโน้ ตกลับฉีกไปจากกฎที่วา่ นี ้ เพราะยอมให้ ผ้ อู า่ นรู้ ”คาตอบ” สาคัญตังแต่ ้ ต้นเรื่ อง
นัน่ คือการบอกว่า “ใครคือเจ้ าของเดธโน้ ตตัวจริง” อาจเรี ยกได้ ว่าการ์ ตนู เรื่ องนี ้ “แบไต๋” หรื อ
“เฉลย” เงื่อนงาสาคัญของเรื่ องให้ ผ้ อู า่ นรู้ตงแต่
ั ้ ต้น ซึง่ หากเป็ นวิธีการเขียนเรื่ องแนวลึกลับ
สืบสวนสอบสวนส่วนใหญ่ก็อาจเปิ ดเรื่ องผ่านเงื่อนปมให้ คนสงสัยผ่านการตายของผู้ร้ายที่อยูใ่ นคุก
จากนันจึ ้ งเปิ ดด้ วยตัวละครเอกอย่างแอลที่คอยสืบหาร่องรอยของคดีตา่ งๆ ก่อนสาวไปถึงตัวผู้ร้าย
ที่ก่อคดี (คลี่คลายเงื่อนงา) ในตอนท้ ายเรื่ อง
แต่กลวิธีเล่าเรื่ องของเดธโน้ ตด้ วยการคลี่คลายปมว่าใครคือผู้ร้ายตัวจริง
ตังแต่
้ เปิ ดเรื่ องย่อมทาให้ ทิศทางในการเขียนเรื่ องเปลี่ยนไปโดยสิ ้นเชิง จากเดิมที่เรื่ องแนวสืบสวน
ลึกลับมักทาให้ ผ้ อู ่านสนุกกับการสร้ างปมและคลี่คลายปมบางส่วนให้ คนอ่านค่อยๆ “คาดเดาตัว
88

ผู้ร้าย” ทีละนิดๆ ก่อนเฉลยแบบเซอร์ ไพรส์ในตอนจบ กลับกลายมาเป็ นการสร้ างยุทธวิธี “พรางตัว”


ของยางามิ ไลท์ (ผู้ครอบครองเดธโน้ ตซึง่ สามารถเขียนชื่อใครก็ได้ เป็ นการสัง่ ให้ ตายนัน่ เอง) ว่าจะ
สามารถซ่อนตัวไม่ให้ ถกู จับจากยอดนักสืบรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างแอลได้ อย่างไรแทน
การสร้ างและการคลี่คลายเงื่อนงาของเดธโน้ ตจึงมีลกั ษณะ “คนอ่านรู้เท่ากับตัวละคร” ซึง่ ก็เป็ น
ความท้ าทายในการเล่าเรื่ องว่าทาอย่างไรถึงจะดึงคนอ่านในระยะยาวเอาไว้ ได้ เพราะไม่มีเงื่อนปม
ของคดีมาช่วยดึงดูด แถมยังไม่มีการสร้ างปมอดีตของตัวละครเข้ ามาช่วยสร้ างความเซอร์ ไพรส์
(เหมือนเช่นวันพีซ หรื อนินจาคาถาฯ) แต่ด้วยการพลิกวิธีเล่าเรื่ องมาเป็ นการยอมเปิ ดเผยให้ ผ้ อู า่ น
ได้ รับรู้ขนตอน
ั้ วิธีคิดวางแผนของตัวเอกอย่างละเอียดแทน จึงกลายเป็ นรสชาติที่แปลกใหม่สาหรับ
ผู้อา่ นที่เสมือนได้ เป็ น “จอมวางแผน” เสียเอง และก็กลายเป็ นจุดเด่นของเดธโน้ ตที่สามารถดึง
ความน่าสนใจจากคนอ่านไว้ ได้ ตลอดรอดฝั่ ง
“การเขี ยนเรื ่องแบบเดธโน้ตมันยากนะ เพราะคนอ่านเดาตอนจบออกอยู่
แล้ว ว่ายังไงไลท์ก็ต้องถูกจับ จนมุมแน่ๆ มันเลยท้าทายว่าจะทาให้คนอ่านเขาสนใจเรื ่องไปจนจบ
ได้ยงั ไง แต่เขาก็ทาได้ มันทาให้ผมอ่านรวดเดี ยวจบเลย สุดยอดมาก” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์,
สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
ดังนันจึ
้ งสรุปกลวิธีการสร้ างเงื่อนงาและการคลี่คลายเงื่อนงาของทุกเรื่ องได้ ดงั นี ้

เรื่อง กลวิธีสร้ าง-คลี่คลายปม/เงื่อนงา การรับรู้ของคนอ่ านต่ อเรื่อง การสร้ างความคาดไม่ ถงึ


ดราก้ อนบอล สร้ าง-คลีค่ ลายทันที ไม่ทิ ้งปมไว้ นาน คนอ่านรู้เท่าๆ กับตัวละคร น้ อย
สร้ าง- คลีค่ ลายทีละนิดและไม่คลีค่ ลาย
ยอดนักสืบจิ๋ว ปมทังหมดจนกว่
้ าจะจบตอน คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร ปานกลาง
สร้ างปมหลักต้ นเรื่ องและไม่เฉลยจนกว่า
จบเรื่ อง /สร้ างปมย่อยๆ-คลีค่ ลายเป็ น
วันพีซ ระยะ คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร มาก
สร้ างปมหลักต้ นเรื่ องและไม่เฉลยจนกว่า
จบเรื่ อง /สร้ างปมย่อยๆ-คลีค่ ลายเป็ น
นินจาคาถาฯ ระยะ คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร มาก
สร้ างปมหลักต้ นเรื่ องและไม่เฉลยจนกว่า
จบเรื่ อง /สร้ างปมย่อยๆ-ทิ ้งช่วงให้ คน
ทเวนตี ้ฯ อ่านสงสัยก่อนคลีค่ ลายภายหลัง คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร มาก
เดธโน้ ต สร้ าง-คลีค่ ลายปมตังแต่
้ เปิ ดเรื่ อง คนอ่านรู้มากกว่าตัวละคร น้ อย

ตารางที่ 5 สรุปกลวิธีการสร้ าง-คลี่คลายเงื่อนงา


89

จากที่กล่าวมาทังหมดในส่
้ วนของโครงเรื่ องจะพบว่าลักษณะของเรื่ องที่มีความ
สมจริง มักจะมีความซับซ้ อนลึกซึ ้งของโครงเรื่ อง และมีวิธีการสร้ างปมหลัก และปมรองเอาไว้
ค่อนข้ างมาก รวมทังมั ้ กจะไม่ยอมเฉลยปมสาคัญของเรื่ องจนกว่าจะจบเรื่ อง อย่างเช่น วันพีซ
นินจาคาถาฯ และยอดนักสืบจิ๋ว ในขณะที่ดราก้ อนบอล มีความซับซ้ อนของโครงเรื่ องน้ อยมาก
แต่ก็สามารถดึงคนอ่านไว้ ด้วยการสร้ างคาแร็ คเตอร์ ที่แข็งแรง ส่วนเดธโน้ ต และทเวนตี ้ฯ นัน้ มี
วิธีการเล่าเรื่ องที่เฉพาะตัว เพราะแม้ จะมีความสมจริงในการเล่าเรื่ องมาก แต่ก็ไม่ได้ มีปมหลัก หรื อ
ปมรองที่ซบั ซ้ อนมากนัก โดยเดธโน้ ตพลิกการเล่าเรื่ องจากการ “ปิ ดบังปมหรื อเงื่อนงา” มาเป็ น
การ “คลี่คลายปมหรื อเงื่อนงา” ตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง ขณะที่ทเวนตี ้ฯ ก็อาศัยกลวิธีการเรี ยงลาดับการ
เล่าเรื่ องที่ซบั ซ้ อนส่งผลให้ เรื่ องราวดูลกึ ลับและน่าติดตาม

1.3 ความขัดแย้ ง (Conflict)


นอกจากโครงเรื่ องที่เป็ นองค์ประกอบสาคัญในการถ่ายทอดเรื่ องราวแล้ ว ความขัดแย้ ง
หรื อปมขัดแย้ ง หรื ออาจเรี ยกว่าอุปสรรคที่มาขัดขวางการเดินทางไปสูเ่ ป้าหมายของตัวละคร
(conflict) ก็มีสว่ นสาคัญที่จะเสริมสร้ างให้ เรื่ องสนุก เข้ มข้ น หรื ออาจลดทอนให้ นา่ เบื่อได้ เช่นกัน
ซึง่ จากทัง้ 6 เรื่ องก็พบว่าอาจแบ่งความขัดแย้ งออกเป็ น 3 ประเภทด้ วยกัน
1.3.1 ประเภทเน้ นความขัดแย้ งภายนอก ได้ แก่ ดราก้ อนบอล เดธโน้ ต และยอด
นักสืบจิ๋วฯ
1.3.2 ประเภทเน้ นความขัดแย้ งภายใน ได้ แก่ ทเวนตี ้ฯ
1.3.3 ประเภทเน้ นทังความขั
้ ดแย้ งภายนอก-ภายในใกล้ เคียงกัน ได้ แก่ วันพีซ
และนินจาคาถาฯ
1.3.1 ประเภทเน้ นความขัดแย้ งภายนอก
ก. ดราก้ อนบอล: ความขัดแย้ งภายนอกคือคูต่ อ่ กรของโงคู
การสร้ างความขัดแย้ ง หรื ออุปสรรคที่ทาให้ ตวั ละครต้ องฟั นฝ่ าในดรา
ก้ อนบอลหนีไม่พ้นความขัดแย้ งระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ด้วยกัน (ในเรื่ องนี ้อาจหมายถึงปี ศาจกับ
ปี ศาจด้ วยกันหรื อมนุษย์กบั สัตว์ประหลาด) ซึง่ ล้ วนแล้ วแต่เป็ นความขัดแย้ งภายนอก ที่เราเห็น
เป็ นรูปธรรม ปรากฎในรูปของตัวละครฝ่ ายตรงกันข้ ามกับตัวเอก หรื อฝ่ ายร้ ายนัน่ เอง และความ
ขัดแย้ งประเภทนี ้ก็มกั พบในเรื่ องแนวต่อสู้อยูแ่ ล้ ว แต่จดุ เด่นในการสร้ าง “ตัวอุปสรรค” ของ
ดราก้ อนบอลนันอยู ้ ่ที่การสร้ างตัวละครศัตรูของตัวเอกให้ มีคาแร็ คเตอร์ ที่หลากหลาย โดยมีทงคน ั้
90

สัตว์ สิ่งมีชีวิตนอกโลกอย่างชาวไซย่า สิ่งประดิษฐ์ อย่างมนุษย์ดดั แปลง รวมทังเผ่ ้ าพันธุ์ปีศาจ


ต่างๆ อย่างจอมมารบู
และเนื่องจากผู้เขียนเน้ นไปที่ความขัดแย้ งภายนอกระหว่างมนุษย์กบั
มนุษย์ (ฝ่ ายพระเอกและศัตรู) อย่างเข้ มข้ น โดยจะเห็นได้ จากฉากต่อสู้ที่เกิดขึ ้นอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง
โดยที่ตวั ละครเอกแทบไม่มีชว่ งเวลาได้ พกั เพื่อฝึ กฝี มือเลยนัน้ จึงทาให้ ความขัดแย้ งภายในถูก
ละเลยไปทังๆ ้ ที่ผ้ เู ขียนได้ สร้ าง “ปม” ที่นา่ สนใจขึ ้น นัน่ คือการสร้ างพื ้นเพของตัวละครเอกอย่างโง
คูวา่ ไม่ใช่มนุษย์แต่กลับมีสายเลือดของมนุษย์ตา่ งดาว (ชาวไซย่า) ที่ถกู ส่งมายังโลกตังแต่ ้ ยงั แบ
เบาะเพื่อทาลายล้ างโลกมนุษย์ จากจุดนี ้เองเมื่อโงคูทราบเรื่ องในภายหลัง เขากลับไม่ได้ มี
ปฏิกิริยาใดใด ไม่แปลกใจ ไม่เสียใจ (ที่ชาวไซย่าค่อนข้ างจะโหดร้ าย รักเพียงการต่อสู้) และไม่
สับสนกับการต้ องเลือกระหว่างความเป็ นชาวไซย่า และความเป็ นชาวโลก ยิ่งไปกว่านันโงคู
้ ยงั
สามารถลงมือฆ่าพี่ชายของตัวเอง (ชาวไซย่าซึง่ มีปรากฎตัวพร้ อมเป้าหมายการโจมตีโลกมนุษย์)
โดยไม่แสดงความรู้สกึ ใดอีกเช่นกัน การที่ผ้ เู ขียนไม่ได้ ใช้ ประโยชน์จากความขัดแย้ งใน
เรื่ อง “สายเลือดที่แท้ จริง” ของโงคูให้ เกิดประโยชน์ ทังๆ ้ ที่อตุ ส่าห์สร้ างปมความขัดแย้ งในตัวเอง
ได้ อย่างน่าสนใจแล้ วนันจึ ้ งเป็ นเรื่ องที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง ซึง่ อาจเป็ นเพราะเป้าหมายของโทริยาม่า
อากิระที่ต้องการให้ เรื่ องอ่านง่าย ไม่ซบั ซ้ อนก็จริงอยู่ แต่หากมีการใส่ใจรายละเอียดในแง่
ความรู้สกึ “ผิดบาป” จากการฆ่าพี่ชายแท้ ๆ ของโงคู หรื อให้ ตวั ละครได้ แสดงออกถึงความลังเล-
เจ็บปวดที่ต้อง “เลือก” ระหว่างการต่อสู้เพื่อโลกที่เขาใช้ ชีวิตมาเกือบตลอดชีวิต กับ พี่ชายและ
สายเลือดชาวไซย่าที่มีภารกิจเพื่อทาลายล้ างโลก ก็น่าจะทาให้ สถานะความเป็ น “ฮีโร่” ของโงคู
ไม่ได้ อยูบ่ นหิ ้งจนผู้อา่ นแตะต้ องไม่ได้ (เพราะตลอดทังเรื ้ ่ องโงคูฝีมืออยูข่ นเหนื
ั ้ อกว่าผู้อื่นโดย
สิ ้นเชิง) แต่จะทาผู้อา่ นได้ พกั สมองกับฉากต่อสู้และเปลี่ยนไปรับรสความรู้สกึ เข้ าถึง “ความเป็ น
มนุษย์” ของตัวละครเอกที่สามารถเศร้ า เสียใจ และต้ องพบพานกับอุปสรรคอื่นๆ ที่ไม่ใช่แค่เรื่ อง
“การต่อสู้” เท่านัน้
ข. เดธโน้ ต : เปิ ดด้ วยปมภายในแต่กลับขับเน้ นปมภายนอก
น่าแปลกที่เดธโน้ ตเปิ ดเรื่ องด้ วยความขัดแย้ งระหว่างมนุษย์กบั ระบบ
สังคม โดยทาให้ ผ้ อู ่านเชื่อว่าเรื่ องราวที่เรากาลังจะได้ พบในการ์ ตนู เรื่ องนี ้เกิดจากสาเหตุความ “ไม่
เชื่อมัน่ ต่อระบบยุตธิ รรม” ของเด็กหนุม่ อย่างยางามิ ไลท์ ที่เอือมกับการต้ องพึง่ มือตารวจ-อัยการ
ซึง่ ไร้ น ้ายาในการจับคนร้ ายมาลงโทษให้ สาสมกับความผิด จนทาให้ เขาต้ องแต่งตังตั ้ วเองเป็ น
“ศาลเตี ้ย” ชาระความผิดต่ออาชญากรผ่านการเขียนชื่ออาชญากรลงบนสมุดบันทึกลึกลับที่ชื่อ
“เดธโน้ ต” ซึง่ เป็ นสมุดบันทึกของยมทูตที่ทาตกไว้ บนโลกมนุษย์ แน่นอนว่าเมื่อเปิ ดเรื่ องเช่นนี ้
91

คนอ่านย่อมคาดเดาว่าเรื่ องราวอาจเน้ นไปที่ความขัดแย้ งระหว่างความรู้สกึ ในจิตใจของไลท์ที่นา่


จะต้ องแบกรับกับความรู้สึกผิดในการลงมือสังหารผู้คน (ความขัดแย้ งภายในจิตใจ) รวมทัง้
ความรู้สกึ ผิดต่อการกระทาที่เกิดจากเสียงตอบรับจากสังคมที่มีทงเห็ ั ้ นด้ วยและไม่เห็นด้ วยกับการ
กระทาของไลท์ (ความขัดแย้ งระหว่างมนุษย์กบั ระบบสังคม) แต่ทิศทางการเล่าเรื่ องของ
เดธโน้ ตกลับขับเน้ นไปในทิศทางตรงกันข้ ามเพราะให้ ความสาคัญกับความขัดแย้ งภายนอกอย่าง
มาก ผ่านการแสดงรายละเอียด วิธีคิดการต่อสู้วางแผนไล่ต้อนกันระหว่างนักสืบหนุ่มรุ่นราวคราว
เดียวกันอย่างแอลและเจ้ าของเดธโน้ ตผู้สงั หารฆาตกรอย่างไลท์ ซึง่ การมุง่ เน้ นไปที่วิธีการ
วางแผนซ้ อนแผนที่วา่ นี ้สร้ างรสชาติแปลกใหม่ให้ กบั คนอ่าน และทาให้ ร้ ูสกึ สนุก หรื อทึง่ กับความ
เก่งกาจของตัวละคร และของผู้เขียนก็จริง แต่ก็เท่ากับว่าผู้เขียนได้ ลืมเลือนที่จะเน้ นย ้าความ
ขัดแย้ งภายในที่เคย “ปูทาง” เอาไว้ ตงแต่ ั ้ ต้นเรื่ อง เช่นถ้ าผู้เขียนเลือกให้ พระเอกอย่างไลท์แสดง
ความรู้สกึ ผิดในใจอยู่บ้างที่บางครัง้ ต้ องฆ่าคนบริ สทุ ธิ์ ตัวละครอย่างไลท์ก็นา่ จะทาให้ ผ้ ชู มรู้สกึ ลุ้น
รัก และอยากเอาใจช่วยมากกว่านี ้ หรื อหากผู้เขียนเลือกจะให้ เห็นจิตใจภายในของแอลมาก
กว่านี ้ (เช่นการใช้ แฟลชแบ็คช่วยให้ เห็นที่มาที่ไปของตัวละครว่าทาไมเด็กวัยรุ่นคนหนึง่ ถึงได้
เก่งกาจขนาดองค์กรระดับตารวจสากลยังต้ องเชื่อถือฝี มือคนคนนี ้) ก็จะช่วยให้ ตวั ละครและ
เรื่ องราวดูจริงจัง น่าเชื่อถือ และสร้ างอารมณ์ร่วมจากผู้อ่านได้ มากขึ ้นด้ วย
ค. ยอดนักสืบจิ๋วฯ : ปมขัดแย้ งภายนอกสร้ างเอกลักษณ์แก่เรื่ องราว
แม้ การ์ ตนู เรื่ องนี ้จะสร้ างตัวละครขึ ้นมาโดยมีเงื่อนปมที่สามารถหยิบจับ
ขึ ้นมาบีบเป็ นเกลียวอุปสรรคภายในจิตใจตัวละครได้ ผา่ นการต้ องกลายร่างจากเด็กมัธยมปลาย
มาเป็ นเด็กประถมของตัวเอกอย่างโคนัน หลังจากที่ถกู องค์กรลึกลับจับกรอกยาหวังฆ่าให้ ตายแต่
แผนกลับผิดพลาดทาให้ ชินอิจิกลายร่างเป็ นเด็ก “โคนัน” จนกลายเป็ นที่มาของเรื่ องราวยอด
นักสืบจิ๋วจอมคลี่คลายคดีฆาตกรรมปริ ศนา แต่ปมอุปสรรคจากความรู้สกึ เป็ นเด็กในจิตใจของ
ชินอิจิ กลับไม่ได้ แสดงออกมาเป็ นรูปธรรมมากนัก (เช่นการปล่อยให้ ตวั เอกได้ ครุ่นคิดว่าการอยูใ่ น
ร่างเด็กทาให้ ไม่สามารถแสดงความรู้สกึ รักหญิงสาวที่เขาชื่นชอบอย่างรัน หรื อการเป็ นเด็กทาให้
เขาลืมความรู้สึกเป็ นหนุม่ หรื อการเป็ นเด็กทาให้ เขาไม่อาจเข้ าใกล้ พ่อ-แม่ได้ ดงั เดิม เป็ นต้ น)
เพราะอุปสรรคจาก “ความเป็ นเด็ก” นันเพาะสร้ ้ างปมปั ญหา-ความขัดแย้ งภายนอกมากกว่า
โดยเฉพาะการนาข้ อจากัดของความเป็ นเด็กมาใช้ ในการสืบคดี เช่น หลายครัง้ ที่โคนันเรี่ ยวแรง
น้ อยเกินไปเพราะเป็ นเด็กจนทาให้ ต้องเกือบจนมุมผู้ร้าย หรื อการเอื ้อมมือหยิบของไม่ถึงเพราะแขน
ของเด็กนันยาวไม่
้ เท่าผู้ใหญ่ รวมทังการสื
้ บและการคลี่คลายคดีที่ต้องการความน่าเชื่อถือ
ของผู้ใหญ่ทาให้ โคนันต้ องใช้ เครื่ องเปลี่ยนเสียงกลายเป็ นนักสืบรุ่นเก๋าอย่างโมริ เรี ยกได้ ว่า
92

ผู้เขียนใช้ ประโยชน์จากข้ อจากัด (ปมอุปสรรค) ของความเป็ นผู้ใหญ่ในร่างเด็กได้ อย่างน่าสนใจ จน


ทาให้ วิธีการคลี่คลายคดีของนักสืบโมริ (ที่ต้องมีแบบแผนในการถูกยิงยาสลบและการนอนหลับทุก
ครัง้ ก่อนคลี่คลายคดี) กลายมาเป็ น “เอกลักษณ์” ให้ กบั การ์ ตนู เรื่ องนี ้ไปโดยปริยาย ซึง่ นอกจาก
การ์ ตนู เรื่ องนี ้จะสร้ างแบบแผนของการคลี่คลายคดีข้างต้ นแล้ วยังสร้ างแบบแผนของคดีที่มกั ต้ อง
เกิดเหตุในสถานที่ปิดตาย แถมตัวละครเอกอย่างโคนันยังต้ องอยูใ่ นเหตุการณ์ทกุ ครัง้ ไป สิ่ง
เหล่านี ้ที่อาจเรี ยกได้ วา่ “ความบังเอิญ” ที่ผ้ เู ขียนจงใจสร้ างขึ ้นซ ้าแล้ วซ ้าเล่า ที่แม้ จะดูเป็ นเรื่ องไม่
น่าเชื่อถือ จนหลายๆ คนอาจร้ องว่า “เอาอีกแล้ ว” แต่เมื่อถูกตอกย ้า ซ ้าเดิมหลายๆ ครัง้ ก็ย่อม
เพาะสร้ างแฟนประจากลุม่ ที่ร้ ูสกึ คุ้นเคยและเรี ยกร้ องจะเห็นแบบแผนที่ตนเคยเห็นนันซ ้ ้าแล้ วเล่า
นันเพื
้ ่อความอบอุน่ ใจ (ไม่ตา่ งอะไรกับคนดูละครไทยในบ้ านเราที่ต้องการเห็นละครแนวทางเดิมๆ
อยูร่ ่ าไปนัน่ เอง) “แบบแผน” หรื อ “แนวทาง” ที่ยอดนักสืบจิ๋วฯ ได้ สร้ างขึ ้นเหล่านี ้จึงกลายเป็ น
เอกลักษณ์ของเรื่ องที่ยอ่ มส่งผลให้ มีผ้ อู า่ นที่ติดตามผลงานอยู่อย่างยาวนานจนถึงปั จจุบนั
1.3.2 ประเภทเน้ นความขัดแย้ งภายใน ได้ แก่ ทเวนตี ้ฯ
ก. ทเวนตี ้ฯ: ความขัดแย้ ง “นามธรรม” เหนือ “รูปธรรม”
คัทสึมาตะคุง (“เพื่อน”คนใหม่ ): นายช่วยเป็ น “เพือ่ น” กับชัน้ ได้มยั้
เคนจิ: ได้สิ แต่ว่า... เพือ่ นน่ะไม่ใช่แค่บอกว่าเป็ นเพือ่ นกันแล้วจะเป็ นกัน
ได้ง่ายๆ หรอกนะ
จากบทสนทนาระหว่างตัวปั ญหาหลักของเรื่ องอย่าง “เพื่อน” กับตัวเอก
อย่างเคนจิข้างต้ น คือที่มาของปมปั ญหา หรื อความขัดแย้ งหลักที่ขบั เคลื่อนการ์ ตนู เรื่ องนี ้ ซึง่ ก็
คือ “ความต้ องการการยอมรับจากสังคม “ นัน่ เอง ผู้เขียนอย่างอุราซาว่าได้ สร้ างตัวปั ญหาที่
แท้ จริงเป็ นเพียงมนุษย์ปถุ ชุ นที่เรี ยกตัวเองว่า “เพื่อน” (ทังฟุ ้ คเุ บเพื่อนตัวจริง หรื อคัตสึมาตะคุง
เพื่อนคนใหม่) เหล่าเด็กชายวัยประถมที่ใครๆ ก็ไม่เหลียวแล (กลุม่ คนประเภทที่นงั่ มุมห้ อง กิน
ข้ าวเพียงลาพัง หรื อคนที่เมื่อยามโตเป็ นผู้ใหญ่กลับมางานเลี ้ยงรุ่น ไม่มีใครนึกชื่อเขาออก) ซึง่
กลุม่ “คนนอก” แบบนี ้เองที่ต้องต่อสู้กบั ความรู้สึก “ต้ องการการยอมรับ” จากคนรอบข้ าง
อยากให้ ใครสักคนเรี ยกเขาว่า “เพื่อน” อยากมีกลุม่ พวกพ้ องที่ไปไหนไปกัน เปิ ดอกพุดคุยกันแบบ
สนิทใจ และในเรื่ องนี ้กลุ่มคนนอกเหล่านี ้ต้ องการการยอมรับเป็ นพิเศษจาก (เด็ก) ชายคนหนึง่
ที่ชื่อ “เคนจิ” ซึง่ เป็ นหัวโจก หรื อคนที่เพื่อนๆ รักที่สดุ ในห้ อง (ในอีกมุมหนึง่ “เพื่อน” ตัวจริงอย่าง
ฟุคเุ บอาจต้ องการทังการยอมรั
้ บ และการเอาชนะเคนจิ ซึง่ เคยปฏิเสธไม่ให้ เขาเข้ าร่วมกลุม่ ไป
พร้ อมกัน)
ปมปั ญหาหลักของเรื่ องนี ้จึงเกิดจากความพยายามข้ ามผ่านความรู้สกึ
93

ต้ องการการยอมรับของชายที่เรี ยกตัวเองว่า “เพื่อน” ซึง่ แม้ เขาจะมีตวั ตนจริง แต่การใช้ สมญานาม


ว่า “เพื่อน” ก็เป็ นเพียงสัญลักษณ์ของคนที่ต้องการ “พื ้นที่ยืนในสังคม” ซึง่ ผู้เขียนจงใจสื่อว่า
“เพื่อน” ไม่ได้ มีคนเดียว แต่ “เพื่อน” มีการสืบทอดอุดมการณ์ไม่ตา่ งจากลัทธิ กลุม่ ก้ อนทาง
ศาสนา (ในเรื่ อง “เพื่อน” ตัวจริงตายไป ก็มี “เพื่อน” คนใหม่มาสานต่ออุดมการณ์)
ดังนันแม้
้ เหตุการณ์บนั ทึกคาทานายโดยใช้ ไวรัสฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์มนุษย์
ในทเวนตี ้เซนจูรี่บอยจะเป็ นเพียงเรื่ องแต่งของเด็กประถม แต่ความรู้สกึ จริงจังที่ผ้ อู า่ นรับรู้นนั ้
นอกเหนือจากการให้ รายละเอียดเรื่ องฉาก สถานที่ อย่างน่าเชื่อถือตามที่กล่าวมาแล้ ว ส่วนหนึง่
ย่อมมาจากการสร้ าง “ปมปั ญหา” หรื อความขัดแย้ งได้ อย่างลึกซึ ้ง เพราะผู้เขียนให้ ความสาคัญ
กับ “ปมปั ญหาภายใน” จิตใจของตัวละคร หรื อการต่อสู้กบั “นามธรรม” มากกว่าที่ตวั ละครจะต้ อง
ต่อกรกับ “รูปธรรม” จาพวกผู้ร้าย หรื อสัตว์ประหลาด ทังๆ
้ ที่หากฟั งเค้ าโครงเรื่ องของทเวนตี ้
เซนจูรี่บอยก็ไม่ใช่เรื่ องยากหรื อผิดแปลกอะไรหากผู้เขียนจะมุง่ เน้ นไปที่ภาพเหตุการณ์ทาลางล้ าง
โลกของหุ่นยักษ์ (ในเรื่ องมีการสร้ างตัวละครอย่าง “หุน่ ยักษ์ ” ขึ ้นมา แต่นนั่ เป็ นเพียงเครื่ องมือดึง
ความสนใจจากผู้อ่าน เพราะหุน่ ยักษ์ ปรากฎตัวเพียงไม่กี่ครัง้ และไม่เน้ นรูปลักษณ์ ความแปลก
อลังการของตัวหุ่น) หรื อขับเน้ นให้ เห็นภาพความสยดสยองผู้คนนอนตายเกลื่อนเพราะสัมผัส
ไวรัส รวมทังสามารถฉายให้
้ เห็นภาพการต่อสู้ห ้าหัน่ กันระหว่างเจ้ าลัทธิ “เพื่อน” กับพระเอกของ
เรื่ องอย่าง ”ขบวนการเคนจิ” แต่ผ้ เู ขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่ากลับไม่ทา เพราะสิ่งที่เขาเน้ นย ้า
กลับเป็ นเรื่ อง “ความรู้สึกภายในจิตใจมนุษย์”
ปมปั ญหาย่อยๆ ที่ทเวนตี ้นาเสนอในประเด็น ความรู้สกึ ขัดแย้ งภายใน
จิตใจมนุษย์ถกู นาเสนอผ่านตัวละครแทบทุกตัว ทังฝ่้ ายร้ าย (เพื่อน) และฝ่ ายดี (เคนจิ) เช่น
พระเอกอย่างเคนจิเอง ก็ต้องต่อสู้กบั ความขัดแย้ งระหว่างความต้ องการผดุงความยุตธิ รรม (ซึง่
เป็ นสิ่งที่เขาเคยพูดเสมอเมื่อยามเป็ นเด็ก) กับความรู้สกึ หวาดกลัวที่ต้องเผชิญหน้ ากับการกระทา
ของ “เพื่อน” ทาให้ เขาต้ องหลบหนีไม่พบเจอผู้คนไปหลายปี กว่าจะปรากฎตัวอีกครัง้ หนึง่
ส่วนตัวเอกอีกคนหนึง่ อย่างคันนะ (หลานสาวของเคนจิและลูกชายของ “เพื่อน) ก็ต้องต่อสู้กบั
ความรู้สกึ สับสนที่ตนเป็ นลูกของ “เพื่อน” และขณะเดียวกันก็เป็ นหลานของเคนจิ (เลือดในกาย
ครึ่งหนึง่ เกิดจากฝ่ ายอธรรมแต่จิตใจกลับอยูข่ ้ างธรรมะ) หรื อลูกสมุนฝ่ ายร้ ายอย่างมันโจเมะ
อินชู ก็ต้องต่อสู้กบั ความรู้สึกผิดกับแผนการทาร้ ายคนบริ สทุ ธิ์ของ “เพื่อน” แต่ขณะเดียวกันความ
ทะเยอทะยานในหน้ าที่การงานและการเงินที่ได้ รับจากการค ้าจุนของ “เพื่อน” ก็ค ้าคอเขาอยูเ่ ช่นกัน
การสร้ างปมอุปสรรคแบบ “นามธรรม” ให้ มีความหมายเหนือ “รูปธรรม”
94

ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงส่งผลให้ เรื่ องราวทังหมดดู


้ น่าเชื่อถือ และสร้ างความรู้สกึ ลุม่ ลึกให้ แก่ผ้ อู ่าน
มากกว่าการ์ ตนู ส่วนใหญ่ที่ใส่ใจกับปมขัดแย้ ง “ภายนอก” เพราะในชีวิตจริงเราคงไม่มีโอกาสพาน
พบกับอุปสรรคประเภทหุน่ ยักษ์ หรื อไวรัสทาลายล้ างโลก มากไปกว่าอุปสรรคเรื่ องการเข้ าสังคม
หรื อการต่อสู้เพื่อมี “ตัวตน” ให้ ใครๆ ยอมรับ
1.3.3 ประเภทที่เน้ นทังความขั
้ ดแย้ งภายนอก-ภายในใกล้ เคียงกัน ได้ แก่ วันพีซ
และนินจาคาถาฯ
ก. วันพีซ: ขัดแย้ งภายนอกเหนือจินตนาการ-ขัดแย้ งภายในเข้ มข้ น
โดยธรรมชาติของแนวเรื่ องแบบผจญภัยย่อมต้ องมุง่ ออกแบบความ
ขัดแย้ งหรื ออุปสรรค“ภายนอก” เพื่อให้ ตวั ละครต้ องข้ ามผ่านไปให้ ได้ (เช่นต้ องปะทะกับพ่อมด
ปี ศาจ หรื อสัตว์ประหลาด) ซึง่ ในวันพีซก็ได้ สร้ างอุปสรรคหรื อปมปั ญหาภายนอกในรูปของตัว
ละคร และสิ่งของขึ ้นมาได้ อย่างน่าสนใจ เพราะมีการจัดหมวดหมูใ่ ห้ กบั สิ่งของเหล่านัน้ เช่นการ
สร้ างกลุม่ องค์กรบาล็อคเวิร์คส์ ที่มีการนาเอาหมายเลขมาตังฉายาให้ ้ กบั ผู้ที่ทางานให้ กบั องค์กร
(เช่นมิสเตอร์ ซีโร่ มิสเตอร์ วนั มิสเตอร์ ทูว์ โดยเรี ยงลาดับให้ มิสเตอร์ ซีโร่มีความเก่งกาจที่สดุ ) หรื อ
การสร้ างผลไม้ ปีศาจให้ มีหลากหลายสายพันธุ์/ตระกูล1 ซึง่ หมายถึงความพยายามของผู้เขียนที่ได้
ทาการบ้ าน และคิดวางแผนคาแร็ คเตอร์ สิ่งของ หรื อตัวละครที่แม้ จะเป็ นเพียงตัวประกอบของเรื่ อง
มาอย่างดี
ขณะเดียวกันวันพีซก็ไม่ได้ ละเลยการสร้ างความขัดแย้ ง “ภายใน” ในเชิง
นามธรรม หรื อความรู้สึกของตัวละคร แต่กลับให้ ความสาคัญอย่างมาก เช่นตัวละครกลุม่ เพื่อน
ของตัวเอกอย่างนิโค โรบิน ที่ต้องขัดแย้ งกับความรู้สกึ ในจิตใจที่ต้องเลือกระหว่างเพื่อน กับตัวเอง
ซึง่ เธอก็เลือกอย่างแรกโดยพร้ อมสละชีวิตตัวเองเพื่อให้ เพื่อนทุกคนมีชีวิตรอด หรื อการสร้ างความ
ขัดแย้ งภายในตัวละครอย่างอุซป ที่ใครๆ ต่างเข้ าใจว่าเป็ น “จอมโกหก” แต่การโกหกของอุซปทุก
ครัง้ เขามีเหตุผลเพื่อ “ความสุข” ของผู้อื่นเสมอ และแม้ ท้ายที่สดุ จะมีเพียงไม่กี่คนที่เข้ าใจว่าเขา
สร้ างเรื่ องขึ ้นเพื่อประโยชน์สขุ ของคนอื่นก็ตาม

1
ผลไม้ ปีศาจแบ่งประเภทออกเป็ น 3 สาย คือ 1. สายโรเกีย หรื อสายพลังธรรมชาติ ผู้ที่กินเข้ าไปจะ
สามารถกลายเป็ นสสารนันๆ ้ เช่นกลายเป็ นไฟ หรื อกลายเป็ นสายฟ้า 2 สายพารามิเซีย ผู้ที่กินเข้ าไปจะมีพลังเหนือ
มนุษย์ อย่างเช่น ลูฟี่ตัวเอกของเรื่ องมีพลังยางยืด 3. สายโซออน หรื อ สายที่ใช้ พลังของสัตว์ จะสามารถเปลี่ยนรู ปร่ าง
เป็ นสัตว์และมีร่างแปลงได้ หลายระดับเหมือนเช่น ช้ อปเปอร์
95

ภาพประกอบ 11 อุซปในวันพีซ จอมโกหกที่ (ในรู ป) ต้ องการเห็นรอยยิม้ ของแม่ ท่ ปี ่ วย


ที่มา: http://dyukefundee.exteen.com/20081011/onepiece-3/page/2

ความน่าสนใจในแง่ปมขัดแย้ งของวันพีซอีกประการหนึง่ ก็คือ “วิธีการ


คลี่คลายหรื อข้ ามผ่านอุปสรรค/ปมขัดแย้ ง” เพราะเป็ นวิธีที่สร้ างเอกลักษณ์ให้ กบั เรื่ องอย่างมาก
เนื่องจากแตกต่างจากการ์ ตนู แนวต่อสู้โดยทัว่ ไปที่มกั อาศัย “พลังฝี มือ” (ภายนอก) โดยให้ ตวั เอก
ได้ รับพลังที่เก่งกาจขึ ้น ซึง่ อาจเกิดจากการฝึ กฝน หรื ออาจเกิดจากตัวช่วยประเภทอุปกรณ์วิเศษ
หรื อผู้มีพลังวิเศษ (เช่นในดราก้ อนบอล โงคูมีตวั ช่วยทังผู ้ ้ เฒ่าเต่า ดราก้ อนบอล ฯลฯ หรื อในนินจา
จอมคาถาฯ นารูโตะมีอาจารย์ที่เป็ นยอดเซียนมาช่วยสอน หรื อมีพลังพิเศษเป็ นจิ ้งจอกเก้ าหางใน
ร่างกาย) แต่ในวันพีซแม้ ตวั เอกอย่างลูฟี่จะมีตวั ช่วยคือผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ ผ้ ทู ี่กินผลไม้ เหล่านี ้เข้ า
ไปมีพลังวิเศษตามแต่ชนิดของผลไม้ แต่ผ้ เู ขียนก็เลือกจะไม่พงึ่ พาของวิเศษ หรื อผู้วิเศษมา
คลี่คลายในปมปั ญหาสาคัญๆ (จุดคับขันของตัวละคร) แต่กลับใช้ แรงผลักดันจาก “พลังใจ”
(ภายใน) ตัวละครมาช่วยเหลือแทน เช่นการต่อสู้ระหว่างลูฟี่กับคร็อคโคไดล์ ซึง่ ลูฟี่ตกเป็ นรอง
และน่าจะพ่ายแพ้ หลายต่อหลายครัง้ จนทาให้ คร็อคโคไดล์ต้องเอ่ยปากถากถางว่าการที่ลฟู ี่ ต่อสู้
เพื่อพวกพ้ องจนตัวตายนันเป็ ้ นเรื่ องน่าขัน และจากคาพูดที่เหยียบย่า “มิตรภาพ” ระหว่างเพื่อนฝูง
นี่เองที่ทาให้ ลฟู ี่ เกิดแรงใจที่ทาให้ เกิดเป็ นแรงพลังมากพอจนเอาตัวรอดจากสถานการณ์คบั ขันได้
ซึง่ ข้ อดีของการใช้ ประโยชน์จากแรงผลักดันภายในนันนอกจากจะช่
้ วยให้ ผ้ เู ขียนไม่ต้องขบคิด
ออกแบบหน้ าตา-คุณสมบัติของ “ของวิเศษ” หรื อพลังฝี มือใหม่ๆ เพื่อมาคลี่คลายปมอุปสรรค
ให้ กบั ตัวละครอยู่ร่ าไปแล้ ว ยังช่วยสร้ างความรู้สกึ “เข้ าถึงตัวละคร” จากผู้อา่ นได้ เป็ นอย่างดี นัน่
96

เพราะในโลกแห่งความเป็ นจริงมนุษย์เดินดินอย่างเราก็ย่อมไม่มีของวิเศษหรื อพลังฝี มืออันเหนือ


มนุษย์มาคอยช่วยเหลือในยามคับขันอย่างแน่นอน แต่แรงใจต่างหากที่สามารถเกิดได้ จริงกับคน
ธรรมดาสามัญ แม้ วา่ มันเป็ นสิ่งที่กาลังขาดแคลนเหลือเกินในโลกปั จจุบนั (และคงด้ วยความขาด
แคลนนี่เองที่ทาให้ เรายิ่งสัมผัส เข้ าถึงเรื่ องราวที่อาศัยแรงใจเป็ นแรงขับเคลื่อนให้ กบั ตัวละครในวัน
พีซได้ เป็ นอย่างดี) แต่ขณะเดียวกันการเลือกใช้ “พลังใจ” มาเป็ นตัวช่วยในการคลี่คลาย
ปม-อุปสรรคอยู่บอ่ ยครัง้ ก็เป็ นดาบสองคมเพราะอาจทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึก “เบื่อ” หรื อ รู้สึก “เฝื อ” จนไม่
ค่อยจะเชื่อถือวิธีการข้ ามผ่านอุปสรรคแบบนี ้ ซึง่ ก็ทาให้ เรื่ องราวในระยะหลังของวันพีซจึงต้ อง
สร้ างสถานการณ์ให้ ตวั ละครได้ ฝึกฝนฝี มือ (ภายนอก-ไม่ใช่ฝึกฝนพลังใจ) เพื่อเป็ นตัวช่วยในการ
ก้ าวข้ ามอุปสรรคด้ วยอีกทางหนึง่
ข. นินจาคาถาฯ: ขัดแย้ งภายในสาคัญไม่แพ้ ขดั แย้ งภายนอก
นินจาคาถาฯ ก็เช่นเดียวกับวันพีซ ที่ให้ ความสาคัญมากทังความขั ้ ดแย้ ง
ภายนอก และความขัดแย้ งภายใน โดยความขัดแย้ งหลักๆ ของเรื่ องนันเชื ้ ่อมโยงถึงกันอย่าง
สมเหตุผล เริ่มจากการเปิ ดเรื่ องด้ วยความขัดแย้ งภายในร่างกายและจิตใจของตัวเอกอย่างนารูโตะ
ที่ภายในตัวเขามีปีศาจจิ ้งจอกเก้ าหางซึง่ ออกอาละวาดฆ่าคนในอดีต ส่งผลให้ ต้องทนต่อสู้กบั
ความไม่พงึ พอใจของคนในหมูบ่ ้ าน (ความขัดแย้ งระหว่างมนุษย์กบั ระบบสังคม) และก็ทาให้ เขา
พยายามเป็ นนินจาที่เก่งกาจเพื่อเป็ นโฮคาเงะ หรื อหัวหน้ าผู้ปกครองนินจาของทุกคนในหมูบ่ ้ านให้
ได้ ทังหมดนี ้ ้เองที่กลายเป็ นสาเหตุของความขัดแย้ งหรื ออุปสรรคภายนอก ซึง่ ก็คือฉากการต่อสู้
ระหว่างนารูโตะกับอุปสรรคในการไปถึงฝั นของเขา เริ่มตังแต่ ้ การสอบให้ ผา่ นเป็ นนินจาระดับเกะ
นิน จูนิน ไปจนถึงการทาภารกิจนินจาตามที่ได้ รับมอบหมายจากโฮคาเงะประจาหมูบ่ ้ าน
(ผู้ปกครองสูงสุดของหมูบ่ ้ าน)
จะเห็นได้ วา่ อุปสรรคหรื อปมขัดแย้ งหลักของนินจาคาถาฯ นันน่ ้ าสนใจ
อย่างยิ่ง เพราะแกนหลักที่ทาให้ เรื่ องเริ่มต้ นคือความขัดแย้ งภายในจิตใจนารูโตะที่ต้องต่อสู้กบั
สิ่งชัว่ ร้ ายในจิตใจ และยังต้ องต่อสู้กบั ความรู้สึกเกลียดชังจากคนในหมูบ่ ้ านนันช่ ้ วยสร้ าง
ความรู้สกึ “เอาใจช่วย” ให้ กบั ตัวละครพระเอกอย่างนารูโตะเติบโตเป็ นสุดยอดนินจาอย่างมาก
ตังแต่
้ ต้นเรื่ อง ในขณะที่วนั พีซเองไม่ได้ สร้ างความขัดแย้ งหรื อปมอุปสรรคภายในจิตใจตัว
ละครพระเอกอย่างลูฟี่ให้ ชดั เจนและลึกซึ ้งมากพอตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง โดยบอกเพียงลูฟี่อยากเป็ นโจร
สลัดที่ยิ่งใหญ่เพราะได้ แรงบันดาลใจจากแชงคูสที่ยอมสละแขนตัวเองเพื่อช่วยชีวิตเขา แน่นอนว่า
ความอยากเป็ นคนเก่งเพราะเห็นคนอื่นเป็ นแบบอย่างของลูฟี่ย่อมดูไม่มีแรงผลักดันมากเท่ากับการ
อยากเป็ นคนเก่งเพื่อพิสจู น์ตวั เองให้ มีพื ้นที่ยืนในสังคมนินจาของนารูโตะ
97

ส่วนทางด้ านการสร้ างปมขัดแย้ งภายนอก หรื อการต่อสู้กบั กลุม่ นินจา


ต่างๆ ของนารูโตะนันก็ ้ นา่ สนใจไม่แพ้ ปมขัดแย้ งภายใน เพราะผู้เขียนได้ สร้ างกลุ่มองค์กรนินจา
ทังจากหมู
้ บ่ ้ านต่างๆ กลุม่ แสงอุษา หรื อ กลุม่ ปี ศาจที่มีหางชนิดต่างๆ ขึ ้นมาอย่างหลากหลาย
และด้ วยความลึกลับของโลกนินจา (เช่นเดียวกันโลกแห่งโจรสลัดอย่างวันพีซ) การสร้ างตัว
อุปสรรคให้ เป็ นรูปธรรม ทังสั ้ ตว์ประหลาด กลุม่ นินจามากฝี มือที่ตายแล้ วฟื น้ คืนชีพขึ ้นใหม่นนย่
ั ้ อม
เปิ ดกว้ างให้ สร้ างจินตนาการได้ อย่างแทบไร้ ขีดจากัดอยูแ่ ล้ ว
จะเห็นได้ วา่ ทังนิ
้ นจาคาถาฯ และวันพีซนันต่ ้ างให้ ความสาคัญกับการ
เปิ ดเรื่ องด้ วย “ปมขัดแย้ ง” ในจิตใจตัวละครเอกก่อนเพื่อสร้ าง “ความน่าเชื่อถือ” แก่ผ้ อู า่ น ซึง่ เมื่อ
เกิดความเชื่อ-ศรัทธาในความคิด-การกระทาของตัวละครเอกแล้ ว การจะสร้ างปมขัดแย้ งภายนอก
ที่ปรากฎเป็ นรูปธรรมจาพวกสัตว์ประหลาดนันย่ ้ อมเป็ นเรื่ องรอง ซึง่ ก็แล้ วแต่จินตนาการของ
ผู้เขียนที่จะสรรค์สร้ างปมอุปสรรคภายนอกออกมาให้ แปลกใหม่ และหลากหลายได้ อย่างไร ซึง่
ทังวั ้ นพีซ และนินจาคาถาฯ ต่างก็สร้ างปมขัดแย้ งภายนอกได้ อย่างน่าสนใจตามที่กล่าวไปข้ างต้ น
และจากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องอาจกล่าวได้ วา่ เรื่ องที่เน้ นความขัดแย้ ง
ภายนอก (การต่อสู้กบั ผู้ร้าย/ฝ่ ายตรงข้ าม) มักทาให้ เรื่ องสนุก และเดินเรื่ องได้ กระชับฉับไว แต่
ผู้อา่ นยังเข้ าไม่ถึงตัวละคร (ตัวละครดูเป็ นเทพมากกว่ามนุษย์) แต่เรื่ องที่เน้ นความขัดแย้ งภายใน
(ต่อสู้กบั ความรู้สึกตนเองและการมีพื ้นที่ยืนในสังคม) มักทาให้ ผ้ อู ่านเข้ าถึงความรู้สกึ และเอาใจ
ช่วยตัวละครในเรื่ องได้ มาก ซึง่ สรุปวิธีการความขัดแย้ ง/ปมปั ญหา หรื ออุปสรรคของเรื่ องได้ ดงั นี ้

ลักษณะความ
เรื่อง ขัดแย้ ง จุดเด่ นการสร้ างความขัดแย้ ง ผลต่ อการรับรู้ของผู้อ่าน
ดราก้ อนบอล ภายนอก เน้ นฉากต่อสู้และตัวละครฝ่ ายร้ าย เรื่ องสนุกแต่ขาดความลึกของตัวละคร
เดธโน้ ต ภายนอก เน้ นวิธีการคิดแผนต่อสู้อย่างละเอียด เรื่ องสนุกแต่ขาดความลึกของตัวละคร
สร้ างแบบแผนความขัดแย้ งจนเกิด
ยอดนักสืบจิ๋ว ภายนอก เอกลักษณ์ คุ้นเคยกับแนวเรื่ องและตัวละคร
ทเวนตี ้ฯ ภายใน เน้ นความรู้สกึ ตัวละคร เรื่ องไม่คืบหน้ านักแต่เข้ าถึงตัวละคร
วันพีซ ภายนอก-ภายใน เน้ นพลังใจเอาชนะความขัดแย้ ง เรื่ องสนุกและเข้ าถึงตัวละคร
เน้ นฉากต่อสู้และปมขัดแย้ งในตัว
นินจาคาถาฯ ภายนอก-ภายใน ละคร เรื่ องสนุกและเข้ าถึงตัวละคร

ตารางที่ 6 ลักษณะและจุดเด่ นการสร้ างความขัดแย้ ง/ปมอุปสรรคของเรื่อง


98

1.4 แก่ นเรื่อง (theme)


แม้ การ์ ตนู จะเป็ นสื่อที่ใครๆ ต่างมองว่ามุง่ ให้ ความบันเทิงแต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะเป็ น
สื่อไร้ สาระ หรื อไร้ ซงึ่ “แก่นความคิด” ซึง่ จากการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องที่เลือกศึกษานันอาจเป็ ้ นตัวตัว
แทนที่ยืนยันความคิดที่วา่ การ์ ตนู ในปั จจุบนั มิได้ ไร้ สาระ เพราะทาหน้ าที่ไกลไปถึงการวิพากษ์ -
เสียดสีสงั คม รวมถึงการตังค ้ าถามเชิงปรัชญาด้ วยซ ้าไป ซึง่ หากแบ่งประเภทของแก่นเรื่ อง หรื อ
แก่นความคิดที่นาเสนอได้ อย่างชัดเจนนันอาจแบ่ ้ งได้ ดงั นี ้
1.4.1 แก่นว่าด้ วยศีลธรรม
“ความดี-ความชัว่ ” ดูจะเป็ นแก่นความคิดพื ้นฐานที่อยู่คกู่ บั เรื่ องเล่าหลากหลาย
แนว ซึง่ ก็หนีไม่พ้นที่การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจะว่าด้ วยแก่นความคิดดังกล่าวในมุมที่แตกต่างกันออกไป
ดังนี ้
ก. ดราก้ อนบอล : ธรรมะย่อมชนะอธรรม
“ธรรมะย่อมชนะอธรรม” ดูจะเป็ นแก่นเรื่ องแบบดังเดิ ้ มที่ปรากกฎในเรื่ อง
แนวต่อสู้หรื อแอ็คชัน่ มาโดยตลอด ซึง่ ดราก้ อนบอลเองก็นามายึดเป็ นแก่นความคิดหลักของเรื่ อง
เช่นกัน โดยบอกกับผู้อา่ นว่า “สุดท้ ายกลุม่ คนดีผ้ ปู กป้องโลกก็ย่อมเอาชนะกลุม่ คนร้ าย ที่ต้องการ
ทาลายล้ างโลกลงจนได้ ” และน่าสนใจว่าในการเอาชนะคูต่ อ่ สู้ของโงคูนนั ้ เป็ นการเอาชนะที่แฝง
ด้ วยคาว่า “ให้ อภัย” เพราะแม้ ตลอดทังเรื ้ ่ อง โงคูมีคตู่ อ่ สู้มากมายนับร้ อย แต่ผ้ เู ขียนกลับเลือกให้
โงคูลงมือสังหารคูต่ อ่ สู้ถึงตายเพียงแค่ 9 คนเท่านัน้ ซึ่งก็สะท้ อนความเชื่อตามศาลนาชินโตของ
ชาวญี่ปนที ุ่ ่มองว่าโดยเนื ้อแท้ แล้ วมนุษย์ทกุ คนเป็ นคนดี ดังนันคนชั
้ ว่ ย่อมกลับตัวเป็ นคนดีได้
เสมอ เหมือนเช่น พิคโกโร่ที่เคยเป็ นศัตรูตวั ฉกาจของโงคู แต่สดุ ท้ ายก็กลายเป็ นคนดีในที่สดุ
ข. ทเวนตี ้ฯ : ธรรมะไม่จาเป็ นต้ องชนะอธรรม
ในขณะที่ดราก้ อนบอลยังคงนาเสนอแนวความเชื่อแบบเดิมๆ คือไม่วา่ จะ
อย่างไรธรรมะจะต้ องเอาชนะอธรรมด้ วยการลงมือห ้าหัน่ กันให้ ได้ เสมอ แต่ในทเวนตี ้ฯ กลับ
นาเสนออีกมุมมองในประเด็นเรื่ อง อธรรม-ธรรมะ และความดี-ความเลว โดยการ์ ตนู เรื่ องนี ้
เลือกจะสร้ างตัวละครกลุม่ พระเอกให้ “ขบวนการเคนจิ” เป็ นตัวแทนของฝ่ ายธรรมะ ส่วนองค์กรที่
มีหวั หน้ าอย่าง “เพื่อน” คือตัวแทนของฝ่ ายอธรรม ซึ่งแม้ วา่ ท้ ายที่สดุ ฝ่ ายอธรรมก็ต้องพ่ายแพ้
(ทาลายล้ างเผ่าพันธุ์มนุษย์ไม่สาเร็จ) แต่ “วิธีการปะทะกัน” ของฝ่ ายธรรมะ และอธรรมในเรื่ องนี ้
กลับแตกต่างจากการ์ ตนู ทัว่ ไปที่ฝ่ายธรรมะมักต้ องหาทางคลี่คลายเหตุการณ์ด้วยการลงมือ
เอาชนะคะคานฝ่ ายอธรรมผ่านการต่อสู้ (เช่นในดราก้ อนบอลเอาชนะกันทางร่างกาย ในเดธโน้ ต
เอาชนะกันทางสมอง) แต่ตวั เอกอย่างเคนจิกลับหาทางคลี่คลายปมอุปสรรค (ตัวละครฝ่ ายร้ าย)
99

ด้ วยวิธี “ไม่เอาชนะ” แต่ด้วยการ “ทาความเข้ าใจ” กับความรู้สกึ และอดีตที่ฝังใจของอีกฝ่ าย ทา


ให้ ฉากการเผชิญหน้ าระหว่าง พระเอก กับ ผู้ร้ายในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ ไม่มีเลือดเจิ่งนอง ไม่มีการ
แสดงความสามารถทังบุ ้ น๋ และบู๊ของตัวเอกเหมือนเช่นที่เราคุ้นชินจากการ์ ตนู ทัว่ ไป เคนจิใช้ เพียง
“คาพูด” ที่แสนธรรมดา เพื่อทาความเข้ าใจกับคนธรรมดาๆ คนหนึง่ แต่กลับเหมือนเข้ าไปนัง่ อยูใ่ น
ใจคนฟั ง และนี่คือคาพูดที่เคนจิใช้ จดั การกับสาวกของ “เพื่อน” ที่กาลังถือปื นจ้ องจะเอา
ชีวิตเขาอยู่
“การเป็ นคนชัว่ ลาบากนะไอ้นอ้ งอยู่ฝ่ายธรรมะสบายกว่ากันตัง้ เยอะ”
สาเหตุที่เคนจิกล่าวกับคน (ที่อ้างตัวว่าเป็ นคน) ที่ชวั่ ร้ ายที่สดุ แบบนี ้
เพราะเขารู้ดีว่าชายคนนี ้ลาบากใจที่แบกความทุกข์เอาไว้ มากมาย และเพราะเคนจิเชื่อว่าการลง
มือฆ่าคน แท้ จริงแล้ วตัวคนกระทาย่อมเจ็บปวด ย่อมหวัน่ ไหวกับความรู้สกึ ผิดบาปที่กดั กินหัวใจ
และด้ วยคาพูดที่ “จี ้ใจดา” เช่นนี ้นี่เองที่ชว่ ยให้ เคนจิสยบฝ่ ายตรงข้ ามลงได้
การตัดสินปั ญหาของเคนจิข้างต้ น นอกจากสะท้ อนความสามารถของ
ผู้เขียนที่เข้ าถึง “จิตใจ” มนุษย์เป็ นอย่างดีแล้ ว ยังสะท้ อนความเชื่อในพลัง “ความดี” ของมนุษย์
(ที่ไม่วา่ จะทาชัว่ สักเท่าใดแต่ก็สามารถกลับตัวกลับใจได้ ตามแนวคิดศาสนาชินโตของญี่ปนุ่
เช่นกัน) อีกทังยั
้ งชี ้ให้ ผ้ อู า่ นตระหนักถึง “วิธีจดั การกับปั ญหา” ที่ไม่จาเป็ นต้ องตัดสินด้ วย
พละกาลังหรื อความรุนแรง (หากเป็ นการ์ ตนู ส่วนใหญ่ตวั เอกคงคิดหาพลัง-วิชา-อุปกรณ์วิเศษมา
เอาชนะฝ่ ายอธรรม) แต่วา่ เราสามารถเลือกจะจัดการกับปั ญหาด้ วยวิธีประนีประนอมโดยไม่ต้อง
เสียเลือดเนื ้อได้ แถมผลลัพธ์ที่ได้ ยอ่ มดีกว่า เพราะไม่มีใครต้ องสูญเสีย ขณะเดียวกันการไม่ลง
มือกระทา (ฆ่าคน) แม้ วา่ คนที่เราต้ องการฆ่านันจะเลวร้ ้ ายเพียงใด ย่อมทาให้ ไม่ต้องแบกรับกับ
ปมปั ญหาในใจ (ความรู้สกึ บาปจากการฆ่า) ที่จะตามหลอกหลอนเราไปชัว่ ชีวิต
ค. วันพีซ/เดธโน้ ต : อะไรคือความดี-ความเลว
แม้ แก่นหลักของวันพีซจะต้ องการกระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นกลับมาครุ่นคิดถึง
ความฝั นของตัวเอง ซึง่ เป็ นเรื่ องปั จเจกของแต่ละคน แต่ขณะเดียวกันก็ได้ พดู ไกลไปถึงเรื่ อง
ส่วนรวม โดยตังค ้ าถามเชิงปรัชญาว่า “อะไรคือความถูกต้ องกันแน่ ” รวมทังตั ้ งค
้ าถามคูข่ นาน
ถึงความชัว่ ความยุตธิ รรม อยุตธิ รรม ผ่านตัวละครนอกคอกอย่างโจรสลัดกลุม่ ของลูฟี่ (กลุม่ โจร
สลัดหมวกฟาง) ที่ไม่ได้ ทาตัวเลวร้ ายระราน-ปล้ นสะดมภ์ผ้ อู ื่นเฉกเช่นภาพของโจรสลัดที่เราคุ้น
ชินกันมาโดยตลอด ตรงกันข้ ามกลับเต็มใจช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่คิดถึงความปลอดภัยของตนเอง
ด้ วยซ ้าไป แต่พวกเขากลับต้ องถูกหมายหัวว่าเป็ น “ตัวอันตราย” โดยต่างก็ถกู ตังค่ ้ าหัวสูงลิบลิ่ว
ในขณะที่กองทัพเรื อ (อยูภ่ ายใต้ การดูแลของรัฐบาลโลกและเป็ นผู้ควบคุม-ตังค่ ้ าหัวโจรสลัด) นัน้
100

กลับฆ่าคนเป็ นว่าเล่นจนทาให้ ลกู น้ องบางคนยังกังขากับการกระทาของผู้บงั คับบัญชาและเกิด


สงสัยใน “ความถูกต้ อง” ของกองทัพเรื อ เช่นการทาลายเกาะโอฮาร่าทังเกาะซึ ้ ง่ เป็ นศูนย์รวมของ
นักวิชาการและนักประวัตศิ าสตร์ เพื่อปกปิ ดความลับบางอย่างที่เป็ นกุญแจสาคัญของเรื่ อง (ซึง่
ผู้เขียนยังไม่เฉลยในประเด็นนี ้แต่ทาให้ ผ้ อู า่ นคาดเดาว่ารัฐบาลโลกจะต้ องทาเรื่ องเลวร้ ายอย่า ง
มากเอาไว้ )
การนาเสนอการกระทาของกลุม่ ตัวละครเอกที่ทาความดีในคราบโจร
สลัดในวันพีซได้ กระตุ้นเตือนให้ เราต้ องย้ อนกลับมาตังค ้ าถามเกี่ยวกับความดี-ความชัว่ เสียใหม่วา่
คนที่ใครๆ (คนส่วนใหญ่ในสังคม) ต่างว่าดีนนแท้ ั ้ จริงแล้ วอาจไม่ดีจริงก็ได้ เช่นเดียวกับคนที่ใครๆ
ต่างตัดสินว่าเลวนันก็้ อาจไม่ได้ เลวจริงเสมอไป สิ่งที่ผ้ เู ขียนอย่างเออิจิโระ โอดะต้ องการบอกจึง
น่าจะเป็ น “เรามิอาจตัดสินคนเพียงภายนอก” ขณะเดียวกันก็บอกด้ วยว่าทุกอาชีพ ทุกชนชันย่ ้ อมมี
ทังคนดี
้ -เลวปะปนกันไปเป็ นสัจธรรมของมนุษย์
ไม่ใช่แค่เพียงวันพีซที่ตงค
ั ้ าถามเชิงปรัชญาว่าด้ วยความดี-เลวเพียงเรื่ อง
เดียวแต่เดธโน้ ตเองก็ตงค ั ้ าถามเก่าดังกล่าวแต่ในมุมมองใหม่เช่นกัน โดยนาเสนอผ่านตัวละคร
เอกอย่างยางามิ ไลท์ ที่ดเู หมือนจะเป็ นฝ่ าย “ธรรมะ” เพราะเมื่อเปิ ดเรื่ องเขาเป็ นคนดีมีอดุ มการณ์
ที่อยากเห็นโลกใหม่อนั แสนสงบสุขปราศจากคนชัว่ จึงใช้ เดธโน้ ต (สมุดบันทึกฆ่ามนุษย์ของยมทูต)
เป็ นเครื่ องมือในการฆ่าคนร้ าย (ที่รอดพ้ นเงื ้อมมือกฎหมายรอวันพ้ นโทษออกจากคุก) เพราะเชื่อว่า
หากคนเลวน้ อยลงเท่าไหร่โลกจะสงบสุขมากเท่านัน้ แต่เมื่อนานวันเข้ าไลท์เริ่มถูกไล่ลา่ จากแอล
(เด็กหนุม่ รุ่นราวคราวเดียวกันที่เป็ นยอดนักสืบซึง่ ตารวจขอให้ มาช่วยสืบคดีการตายปริศนาของ
นักโทษ) จึงเริ่มออกอาการเห็นแก่ตวั และฆ่าคนบริ สทุ ธิ์ ทังการหลอกใช้
้ สาวน้ อยผู้หลงรักตนอย่าง
มิสะให้ มีอายุสนลงเพื
ั้ ่อแลกกับดวงตายมทูต หรื อความคิดที่ยอมให้ น้องสาวตนเองตายเพื่อปิ ดบัง
สถานะความเป็ นเจ้ าของเดธโน้ ตของตนเอง ฯลฯ
เด็กหนุม่ อย่างไลท์ (หรื อที่ประชาชนในเรื่ องเรี ยกว่า “คิระ”) จึงเป็ นภาพ
แทนของคนดี (ที่อยากเห็นโลกสงบสุข) แต่ไม่เชื่อมัน่ กับระบบยุตธิ รรมจนตังตั ้ วเป็ นผู้พิพากษาชีวิต
ของเหล่าคนชัว่ เสียเอง ซึ่งผู้เขียนก็นาเสนอเรื่ องราวของไลท์แบบ “ไม่ตดั สิน” ว่าถูก-ผิดอย่าง
ชัดเจน เพราะในตอนต้ นเรื่ องมีเนื ้อหาที่กล่าวถึงประชาชนหลายคนก็สนับสนุนคิระ เพราะการ
กระทาของเขาทาให้ ผ้ รู ้ ายต่างหดหัว และคดีอาชญากรรมก็ลดน้ อยลงอย่างมาก แม้ กระทัง่ ตารวจ
บางส่วนเองก็ยงั แอบเข้ าข้ างคิระ แถมยังมีกลุม่ แฟนคลับคิระผ่านทางอินเทอร์ เน็ตอีกด้ วย แต่
ท้ ายที่สดุ เมื่อการกระทาของไลท์เริ่มสวนทางกับอุดมการณ์ตามที่กล่าวข้ างต้ นทาให้ ต้องพบกับจุด
จบในที่สดุ
101

สิ่งที่เดธโน้ ตต้ องการจะนาเสนอในประเด็นด้ านศีลธรรมจึงเป็ นการตัง้


คาถามถึงเส้ นแบ่งระหว่างคนดี-คนชัว่ ว่าอยูท่ ี่ตรงไหนกันแน่ คิระต้ องการให้ โลกมีแต่คนดีโดย
ยอมให้ มือเปื อ้ นเลือดฆ่าคนชัว่ นันเราเรี
้ ยกว่าเป็ น “คนดี” ได้ หรื อไม่ และคิระเป็ นใครจึงสามารถชี ้
นิ ้วตัดสินความชัว่ ของคน (ในเรื่ องคนชัว่ ส่วนใหญ่นนถู ั ้ กตัดสินเพียงแค่คนคุก) เพราะท้ ายที่สดุ
แล้ วคิระก็ไม่ตา่ งอะไรกับคนคุกเหล่านันที ้ ่ตา่ งก็มีเหตุผลในการสังหารผู้คน (คิระอ้ างว่าเพื่อสังคม
ส่วนรวมแต่สงั คมส่วนรวมต้ องการอย่างนันจริ ้ งหรื อ)
“ผมชอบการตัง้ ประเด็นของเรื ่อง เดธโน้ตเขาตัง้ คาถามเชิ งปรัชญาถึง
คุณค่าของชี วิต ว่าคนทีท่ าผิ ดยังมี คณ ุ ค่าต่อโลกนีห้ รื อไม่ ซึ่งเขาก็บอกเป็ นนัยว่าคนคนหนึ่งอยู่ใน
สถานการณ์ทีแ่ ตกต่าง ในวาระทีต่ ่างไป เขาอาจดี หรื อไม่ดีก็ได้ ไม่ควรตัดสิ นโดยเหมารวม” (จรูญ
พร ปรปั กษ์ประลัย , สัมภาษณ์, 24 สิงหาคม 2554)
1.4.2 แก่นที่วา่ ด้ วยการวิพากษ์/สะท้ อน/เสียดสีสงั คม
นอกจากแก่นความคิดหลักที่สะท้ อนหลากมุมของความดี-ความชัว่ แล้ วการ์ ตนู ที่
เลือกมาศึกษานี ้ยังมีประเด็นวิพากษ์และเสียดสีสงั คมสอดพ่วงมาเป็ นแก่นรองร่วมด้ วยหลายเรื่ อง
ดังนี ้
ก. เดธโน้ ต: ความเชื่อมัน่ ต่อระบบยุตธิ รรม
การ์ ตนู เรื่ องนี ้สะท้ อนความรู้สกึ ของประชาชน (โดยเฉพาะชาวญี่ปน) ุ่ ที่มี
ต่อตารวจ และระบบยุติธรรมของทังระดั ้ บประเทศและนานาชาติในแง่ลบอย่างตรงไปตรงมา ด้ วย
ตัวละครที่ชา่ งหยามหยัน “ฝี มือ” ของตารวจเสียเหลือเกินอย่างคิระ และแอล เพราะทังคู ้ ต่ า่ งเป็ น
ตัวแทนของ “คนรุ่นใหม่” ที่ไม่ต้องการจะ “ทนกับระบบ” ระเบียบการทางานของตารวจ (แบบ
เก่า) ซึง่ ดูจะอืดอาดจนพวกเขาต้ องออกมาแสดงฝี มือเสียเอง (แอลเป็ นหัวหน้ าตารวจ ส่วนคิระตัง้
ตนเป็ นศาลเตี ้ยเสียเอง) และแน่นอนว่าความเชื่อมัน่ ของประชาชนต่อตารวจนี ้ดูจะเป็ นประเด็น
ร่วมของแทบทุกสังคมโลกทาให้ แก่นความคิดการวิพากษ์ การทางานของตารวจสามารถเข้ าถึงคน
อ่านได้ ในวงกว้ าง
ข. นินจาคาถาฯ: การเมืองการปกครองอันแสนวุน่ วาย
การจาลองโลกจินตนาการของการ์ ตนู ให้ ดสู มจริงและเข้ าถึงได้ นนย่ ั ้ อม
ต้ องอาศัย“ความคุ้นชิน” จากโลกของความเป็ นจริงเข้ าช่วย ดังนันโลกของนิ ้ นจาจึงเปรี ยบเหมือน
การจาลองโลกของมนุษย์เราดีดีนี่เอง โดยการแก่งแย่งช่วงชิงอานาจกันตลอดเวลาระหว่าง
หมูบ่ ้ านนินจาก็ไม่ตา่ งอะไรจากการแผ่ขยายอานาจของประเทศมหาอานาจ หรื อการมี คลื่นใต้ น ้า
เป็ นบุคคลภายในหมูบ่ ้ านจ้ องจะโค่นอานาจผู้ปกครองหมู่บ้านเพื่อนขึ ้นเป็ นผู้นาคนใหม่ ก็เปรี ยบได้
102

กับการปฏิวตั ริ ัฐประหารบนโลกมนุษย์ที่เกิดขึ ้นอยู่บอ่ ยครัง้ หรื อแม้ กระทัง่ ปี ศาจในจินตนาการ


จาพวกสัตว์หางหรื อคาถาวิเศษต่างๆ ที่ชว่ ยเพิ่มความสามารถให้ แก่เหล่านินจาแต่ละหมูบ่ ้ านก็คง
เทียบเคียงได้ กบั อาวุธจาพวกปื น รถถัง เครื่ องบินรบ หรื ออาวุธชีวภาพที่มนุษย์ตา่ งพยายามทุม่
กาลังคิดค้ นขึ ้นเพื่อสร้ างความเป็ นใหญ่ให้ กบั ประเทศของตน และแน่นอนว่าการสู้รบ-โลกนินจาก็
คือภาพจาลองเหตุการณ์สงครามโลกของมวลมนุษยชาติที่ตา่ งก็เต็มไปด้ วยเลือด คราบน ้าตา
ความสูญเสียและความเจ็บปวดเฉกเช่นกัน
ค. วันพีซ: ความไม่เท่าเทียมกันในโลกโจรสลัดอันอิสระเสรี
แม้ เรื่ องราวของโจรสลัดจะทาให้ เรานึกถึงเสรี ภาพที่นา่ จะอยูเ่ หนือเงื ้อมือ
กฎหมายหลายๆ ประการ แต่วนั พีซก็ได้ ทาให้ โลกแห่งการอยูร่ ่วมกันของเหล่าโจรสลัดมีระบบ
ระเบียบการปกครองขึ ้นภายใต้ เสรี ภาพนันอย่ ้ างสมจริง โดยสร้ างกองทัพเรื อซึง่ อยูภ่ ายใต้ การดูแล
ของรัฐบาลโลกเข้ าควบคุม-ไล่ลา่ เหล่าโจรสลัด แต่ก็ยงั ต้ องสร้ างกลุม่ โจรสลัดอย่างกลุ่ม 4
จักรพรรดิไว้ เพื่อคานอานาจกับเหล่ากองทัพเรื อและแน่นอนว่าเมื่อมี “การเมืองการปกครอง”
เกิดขึ ้นย่อมต้ องเกิดการจัด “ลาดับชันทางสั้ งคม” ซึง่ วันพีซก็ได้ สะท้ อนโลกแห่งความเป็ นจริงด้ าน
ชาติพนั ธุ์ที่แตกต่างหลากหลายของมนุษย์จนเกิดความ “ไม่เท่าเทียมกัน” ทางสังคมผ่านกลุม่
มนุษย์เงือกซึง่ เป็ นเผ่าพันธุ์ที่ถกู มองว่าต้ อยต่าจึงมักถูกจับตัวไปเป็ นทาส แถมยังสร้ างกลุม่ ชนชัน้
อภิสิทธิ์อย่างเผ่ามังกรฟ้าที่ได้ รับความคุ้มครองพิเศษจากกองทัพเรื อจึงมีอานาจเต็มที่ที่จะสามารถ
ประมูลค่าตัวเหล่าทาสเพื่อเอาไปทาอะไรก็ได้ นอกจากจะวิพากษ์ การกดขี่ของมนุษย์
ผ่านการสร้ างลาดับชันทางสั้ งคมของกลุม่ โจรสลัดแล้ ว ในวันพีซยังได้ สร้ างการปกครองบน “สรวง
สวรรค์” ในมุมมองที่ “จิกกัด” ยิ่งนัก โดยสร้ าง “เกาะแห่งท้ องฟ้า”ที่เปรี ยบเหมือนสรวงสวรรค์ แต่
บรรดาเทพเจ้ าบนเกาะดังกล่าวแทนที่จะก่อคุณความดีกลับห ้าหัน่ ต่อสู้กนั เพื่อแย่งชิงอาณาเขต
(หมายถึงพื ้นดินซึง่ ถือเป็ นของหายาก-มีคา่ สาหรับคนที่อยู่บนท้ องฟ้า) ของตัวเองไม่ตา่ งจากการ
ก่อสงครามขยายอาณาเขตของประเทศมหาอานาจบนโลก
ง. ทเวนตี ้ฯ: สภาพจิตใจมนุษย์ที่แสนอ่อนแอ
ในขณะที่เดธโน้ ต นินจาคาถาฯ และวัน พีซ สะท้ อนและวิพากษ์ การ
ทางานของกลุม่ ผู้ปกครองสังคม-ประเทศ แต่ทเวนตี ้เลือกที่จะสะท้ อน “จิตใจมนุษย์” ในปั จจุบนั
ผ่านการก้ าวขึ ้นเป็ นผู้ปกครองประเทศและโลกของ “เพื่อน” โดย “เพื่อน” ชายผู้ไม่ยอดเปิ ดเผย
ใบหน้ าของตนสามารถจูงใจให้ คนยอมรับเขาด้ วย “ภาพลวงตา” และ “มายากล” ราคาถูก เช่นการ
งอช้ อน การใช้ เชือกยกร่างกายให้ ดเู หมือนบินได้ แม้ ในระยะหลังเพื่อนจะเปลี่ยนมายากลเป็ นเรื่ อง
อื่นแต่ก็ยงั นาเสนอแต่เรื่ องหลอกลวงตบตาประชาชนทังสิ ้ ้น
103

ความหลอกลวงของ “เพื่อน” และการหากินกับความเชื่อและความ


ศรัทธาของผู้อื่นนันล้ ้ วนเป็ นสิ่งที่มนุษย์เราต้ องพบเจอกันมาตลอดทุกยุคทุกสมัย แต่การนาเสนอ
เรื่ องความเชื่อ-พลังศรัทธาของมนุษย์ในยุคนี ้อาจสะท้ อน “สภาพจิตใจมนุษย์” ในปั จจุบนั ที่
เทคโนโลยี และวัตถุภายนอกยิ่งสูงค่ามากเท่าไหร่ จิตใจมนุษย์ยิ่งอ่อนแอ-โหยหาสิ่งยึดเหนี่ยวที่
ฉาบฉวยมากขึ ้นทุกขณะ จนทาให้ มายากลข้ างถนนของ “เพื่อน” ก็สามารถครอบงา-ยึดกุมหัวใจ
คนและกลายเป็ นจุดเริ่มต้ นแห่งความสาเร็จในการปูทางให้ เขาก้ าวขึ ้นสูผ่ ้ นู าระดับประเทศและ
ระดับโลกได้ ซึง่ เรื่ องราวข้ างต้ นนี ้ก็คงไม่ตา่ งอะไรกับสภาพสังคมไทยปั จจุบนั นี ้ที่เกิดเจ้ าลัทธิ
ความเชื่อต่างๆ จานวนมากที่ผดุ ขึ ้นมาเพื่อ “หากิน” กับความเชื่อ-พลังศรัทธาของคน
1.4.3 แก่นความคิดที่ว่าด้ วยธรรมชาติของมนุษย์
ก. ทเวนตี ้ฯ: มนุษย์ทกุ คนต้ องการการยอมรับ
“เพื่อน” คาคานี ้มีคา่ แค่ไหนสาหรับมนุษย์ หลายคนอาจบอกว่าเขาไม่
ต้ องการเพื่อน (อาจเพราะโลกเราขณะนี ้ทุกคนล้ วนมีตวั ตนที่แตกต่างกันจนยากจะหา “คนคอ
เดียวกัน” มาเป็ นเพื่อนซี ้) แต่ลกึ ๆ แล้ วเราเองก็คงอดคิดไม่ได้ วา่ หากมีเพื่อนแท้ สกั คน คนที่ร้ ูใจ
เข้ าใจเรา และพร้ อมจะอยูเ่ คียงข้ างเราในทุกสถานการณ์นนย่ ั ้ อมดีกว่าไม่มีแน่ ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้
ก็เช่นกัน ตัวละครอย่าง “เพื่อน” หรื อฟุคเุ บ-ผู้ก่อตังองค์ ้ กรเพื่อนนัน้ มีนิสยั ชาญฉลาด ชอบดูถกู
ผู้อื่น แต่กระนันก็ ้ ยงั ต้ องการเข้ ากลุม่ กับเคนจิ แต่เมื่อถูกปฏิเสธ อีกทังยั ้ งถูกกลุม่ ของเคนจิสร้ าง
วีรกรรมโด่งดังจนกลบวีรกรรมที่เขาทา (เช่นการได้ ไปงานเอ็กซ์โปที่เด็กญี่ปนทุ ุ่ กคนอยากไป) เขา
จึงต้ องการพิสจู น์ให้ คนอย่างเคนจิ (และพวกพ้ อง) ยอมรับในตัวเขาให้ ได้ ส่วนคัทสึมาตะ (ผู้
สานต่อเจตนารมณ์เป็ น“เพื่อน”คนใหม่) ก็เป็ นคนประเภทไม่มีตวั ตนในสายตาคนอื่น เมื่อเขาถูก
ฟุคเุ บบอก “เลิกคบ” จึงต้ องทาทุกวิถีทางเพื่อให้ ความสัมพันธ์ฉนั ท์เพื่อนกลับคืนมาอีกครัง้
การกระทาของ “เพื่อน” (รวมทังฟุ ้ คเุ บผู้สานต่อเจตนารมณ์เป็ นเพื่อนคน
ใหม่) ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงเป็ นภาพแทนของพวกเราทุกคนที่โดยเนื ้อแท้ แล้ วย่อมต้ องการใครสักคนที่
เราเรี ยกว่า “เพื่อน” ได้ เต็มปาก และยังแสดงถึงพลังแห่งความต้ องการเป็ นที่ร้ ูจกั -ได้ รับการยอมรับ
(somebody) ของมนุษย์วา่ สามารถเป็ นแรงผลักดันให้ เกิดเรื่ องยิ่งใหญ่ (ไม่วา่ จะในทางดีหรื อทาง
ร้ ายซึง่ ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้นาเสนอไปในทางร้ าย) ได้ เพียงใด
ข. นินจาคาถา: มนุษย์ทกุ คนมีปีศาจ (ความชัว่ ร้ าย) อยูใ่ นจิตใจ
ในขณะที่ศาสนาชินโตเชื่อในตัวมนุษย์วา่ โดยธรรมชาติดงเดิ ั ้ มของมนุษย์
104

เป็ นคนดีและบริ สทุ ธิ์ ส่วนสิ่งชัว่ ร้ ายนันเกิ้ ดจากสิ่งแวดล้ อมภายนอก แต่ในนินจาคาถาฯ กลับมอง
ในมุมตรงกันข้ ามโดยบอกว่าสิ่งชัว่ ร้ ายนันติ ้ ดตัวเราทุกคนมาแต่กาเนิด แต่ท้ายที่สดุ แล้ วสิ่งชัว่ ร้ าย
จะพองตัวหรื อหดเล็กลงล้ วนขึ ้นอยู่กบั “ความแข็งแกร่งของจิตใจ”
แก่นความคิดหลักของเรื่ องข้ างต้ นถูกนาเสนออย่างชัดเจนผ่านตัวละคร
เอกอย่างนารูโตะ ที่ถกู ปี ศาจร้ ายอย่างจิ ้งจอกเก้ าหางผนึกไว้ ในร่างกาย รอวันที่จะตื่นออกมา
เมื่อใดก็ตามที่นารูโตะ “โกรธ” หรื อควบคุมอารมณ์ไม่อยูจ่ นอาจเข้ า “ควบคุม” ทังความคิ ้ ด-
ร่างกายของนารูโตะ ดังนันการรู ้ ้ จกั สะกดอารมณ์ ไม่โกรธ และรู้จกั ให้ อภัยของนารูโตะจึงเป็ น
สิ่งจาเป็ นอย่างมากในการควบคุมจิ ้งจอกเก้ าหาง (ซึง่ ก็คือการรู้จกั ควบคุมจิตใจตนนัน่ เอง)
นอกจากการนาเสนอเรื่ องสิ่งชัว่ ร้ ายอยูใ่ นตัวเราทุกคนมาแต่กาเนิดผ่านนารูโตะแล้ ว ผู้เขียนยังย ้า
แก่นความคิดดังกล่าวผ่านตัวละครหลักคูร่ ักคูแ่ ค้ นกับพระเอกอีกตัว นัน่ คือ ซาสึเกะ ที่แม้ จะมี
เพื่อน-พี่ชายที่ดีเพียงใด แต่ด้วยจิตใจที่ถกู ครอบงาด้ วยความแค้ นมาตลอดชีวิต (จากความเข้ าใจ
ผิดว่าพี่ชายฆ่าพ่อแม่-คนในตระกูลของตน) จึงทาให้ แม้ จะรู้ความจริงเกี่ยวกับความดีของพี่ชายที่
เสียสละตนเพื่อหมู่บ้านและครอบครัวแล้ วก็ตาม แต่ด้วยปี ศาจที่ชื่อ “ความแค้ น” สิงสูอ่ ยูใ่ นจิตใจ
เป็ นเวลานานจนยากจะยอมรับจึงทาให้ ท้ายที่สดุ ความแค้ นนันได้ ้ ฝังแน่นและหลอมรวมเป็ นตัวตน
ของซาสึเกะจนเขาเลือกจะเดินไปในทางร้ ายและเป็ นศัตรูกบั นารูโตะ นอกจากนี ้การสร้ างตัว
ละคร “สัตว์หาง” หมายเลขต่างๆ (0-9) ที่สิงอยูใ่ นร่างสถิตของมนุษย์อีกหลายคน เช่นกาอาระ
หัวหน้ าหมู่บ้านนินจาซึนะที่เป็ นเด็กชายผู้ถกู สาปส่งจากคนในหมู่บ้านเพราะมีปีศาจ (สัตว์หาง) สิง
อยูใ่ นร่าง(เช่นเดียวกับนารูโตะ) ก็เคยเป็ นเด็กชายผู้เกรี ย้ วกราดและฆ่าคนโดยไม่เลือก แต่เมื่อ
เข้ าใจ-ยอมรับว่ามีปีศาจอยูใ่ นร่างกายได้ แล้ วจึงสามารถควบคุมความรู้สกึ เกรี ย้ วกราดนันได้ ้ ใน
ภายหลัง
การ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงบอกเป็ นนัยให้ เรารู้วา่ แม้ ทกุ คนจะมีปีศาจ (ความชัว่ ร้ าย)
แฝงฝั งอยูใ่ นจิตใจก็ตามแต่หากเราเรี ยนรู้ที่จะควบคุมปี ศาจตนนันได้ ้ (ข่มใจ-สะกดอารมณ์มิให้
ความอาฆาตแค้ น แรงโกรธ แรงพยาบาทมาครอบงาจิตใจ) เราก็สามารถดาเนินชีวิตไปได้ อย่าง
ปกติสขุ แถมยังอาจใช้ ประโยชน์จากเจ้ าปี ศาจในใจเราได้ อีกด้ วย เหมือนเช่นนารูโตะที่บางครัง้ ก็
อาศัยพลังของจิ ้งจอกเก้ าหางในการต่อสู้ และอาจเปรี ยบได้ กบั การที่เราเอาเก็บงาความโกรธไว้
ในจิตใจแล้ วแปรเปลี่ยนพลังแห่งความโกรธเป็ นพลังในการพัฒนาตัวเองให้ ดีขึ ้น (ให้ ดีกว่าคนที่เรา
โกรธ)
แท้ จริงแล้ วการนาเสนอแก่นเรื่ องการควบคุมความโกรธของนินจาคาถาฯ
105

ก็ได้ สะท้ อนแนวคิดแบบพุทธศาสนานิกายเซ็นที่ต้องการให้ มนุษย์ตงั ้ “สติ” หรื อเจริ ญสติเพื่อขจัด


ความคิดปรุงแต่ง (เทียบได้ กบั ความโกรธแค้ น-พยาบาท) เพราะเมื่อไม่มีสติ ความคิดปรุงแต่ง
(ความโกรธแค้ น-พยาบาท) ก็เกิดขึ ้น แต่เมื่อมีสติความคิดปรุงแต่ง (ความโกรธแค้ น-พยาบาท) ก็
หายไป และก็ทาให้ เกิด “ความรู้สกึ ตัวทัว่ พร้ อม” ซึง่ ย่อมก่อเกิด “ปั ญญารู้แจ้ ง” ในการใช้ ชีวิต
ตามมา
1.4.4 แก่นที่สะท้ อน/สอดแทรกวิถีชีวิต-แนวคิด-วัฒนธรรมญี่ปนุ่
ก. ดราก้ อนบอล/วันพีซ/นารูโตะ: มิตรภาพและการเสียสละเพื่อส่วนรวม
แนวคิดการใช้ ชีวิตแบบอิงกลุ่มตามวิถีชาวญี่ปนปรากฎชั ุ่ ดเจนในดรา
ก้ อนบอล เพราะหลายครัง้ ที่แรงขับเคลื่อนในการออกเดินทางของตัวละคร คือการช่วยเหลือกลุม่
มิตรสหาย เช่นการที่โงคูออกตามหาดราก้ อนบอลเพื่อช่วยชุบชีวิตพ่อของอูป้าเด็กชายชาวชนเผ่า
พื ้นเมืองที่โงคูพบพานระหว่างการเดินทาง หรื อการร่วมกันต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ถึงขันสละชี ้ วิต
ของกลุม่ นักสู้ชาวโลกอย่าง พิคโกโร่ คุริลิน หยาฉา (ยามุชา) เท็นชินฮัง ฯลฯ เพื่อปกป้องโลกมนุษย์
ให้ พ้นจากน ้ามือของชาวไซย่าอย่างราดิซ เบจิต้า และ นัปป้า ซึง่ นอกจากจะแสดงให้ เห็นถึง
แก่นของเรื่ องด้ านความรักในพวกพ้ องแล้ วยังพ่วงแนวคิดการ “เสียสละเพื่อส่วนรวม” มากกว่าจะ
ยึดถือประโยชน์สว่ นตนตามแนวคิดของคนญี่ปนอี ุ่ กด้ วย ดังจะเห็นได้ จากเมื่อถึงยามคับขันที่โลก
ต้ องการความสามัคคีของเหล่านักสู้ พิคโกโร่ซงึ่ เคยเป็ นคูต่ อ่ สู้กบั โงคูก็ไม่ยดึ เอาความบาดหมาง
ในอดีตมาใส่ใจ แต่ได้ กลับตัวมาเข้ ากับพวกของโงคูและต่อสู้ร่วมกันเพื่อความปลอดภัยของ
ชาวโลก ซึง่ การเปลี่ยนตนให้ เป็ นคนดีนนก็ ั ้ ยงั สะท้ อนแนวคิดตามศาสนาชินโตของญี่ปนที ุ่ ่เชื่อว่า
ั ้ ษย์ดี-บริ สทุ ธิ์ คนเราจึงสามารถเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ ้นได้ เสมออีกด้ วย
โดยเนื ้อแท้ นนมนุ
ส่วนนินจาคาถาฯ นัน้ แน่นอนว่าแค่เพียงเรื่ องราวของนินจาก็ย่อมบ่ง
บอกถึงสังคม วัฒนธรรมของชาวอาทิตย์อทุ ยั ได้ เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะแก่นความคิดเรื่ อง “สังคม
แนวดิง่ ” ที่มีลาดับชันสู ้ งต่า จนเกิดการกาหนดบทบาทหน้ าที่ ความสาคัญของแต่ละคนไว้ ให้
เหลื่อมล ้า ไม่เท่าเทียมกันนันยั ้ งปรากฎอยู่อย่างชัดเจน เช่นการแบ่งแยกอาณาเขตเป็ นหมู่บ้าน
นินจาที่มีกฎ-ระเบียบของใครของมันอย่างชัดเจน การสร้ างตระกูลนินจาที่ล้วนมีความสามารถ
ที่แตกต่างกัน และในตระกูลเองก็ยงั มีลาดับชันความส ้ าคัญของสายเลือดหลัก -สายเลือดรองของ
ตระกูล จนเกิดความอิจฉาริ ษยา แค้ นเคืองกันเองในตระกูล ซึ่งสังคมแนวดิง่ ที่กาหนดบทบาทแต่
ละคนไว้ ชดั เจนนี ้ก็เพื่อเป้าหมายการใช้ ชีวิตแบบ “อิงกลุม่ ” ที่ทกุ คนทุกบทบาทหน้ าที่ต้องทาเพื่อ
ประโยชน์ในสังคมของตนเอง ซึง่ แสดงผ่านนินจาในเรื่ องทุกคนที่ไม่ว่าจะอย่างไรก็ต้องนา
ความสามารถพิเศษ (ที่แม้ เป็ นความลับประจาตระกูล) มาใช้ ให้ เกิดประโยชน์แก่การทา “ภารกิจ”
106

ให้ แก่ผ้ ปู กครองหมูบ่ ้ าน และแน่นอนว่าการนาเสนอประเด็น “มิตรภาพ” “การทางานเป็ นทีม”


ตามวิถีชีวิตแบบอิงกลุม่ จึงถูกถ่ายทอดออกมาตลอดทังเรื ้ ่ อง เริ่มตังแต่
้ การเรี ยน (ในโรงเรี ยน
นินจาของนารูโตะ) ที่ต้องจัดกลุม่ การเรี ยนออกเป็ น 3 คน เพื่อทังแข่ ้ งขันกันและช่วยเหลือเกื ้อกูล
กัน รวมทังการท
้ างานของนินจาจริงๆ ก็ยงั ต้ องเดินทางกันไปเป็ นทีมเพื่อช่วยเหลือ-ทดแทน
ความสามารถที่แตกต่างกันในทีม และเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการทาภารกิจนินจา
“มิตรภาพมีคา่ เหนือสิ่งอื่นใด” ประโยคนี ้ยังถูกตอกย ้าผ่านความคิดและ
การกระทาของนารูโตะตัวเอกของเรื่ อง ที่ไม่วา่ จะอย่างไรก็ยงั ต้ องการ “มิตรภาพ “ จากซาสึเกะที่
แม้ จะตัดสินใจออกจากหมู่บ้านและหันไปอยูฝ่ ่ ายร้ ายก็ตาม แต่เขาและเพื่อนร่วมทีมอย่างซากุระก็
ยังยืนยันที่จะตามตัวเพื่อนรักกลับมาเป็ นทีมเดียวกันเหมือนเดิมให้ ได้ (แม้ ท้ายที่สดุ จะพูดเกลี ้ย
กล่อมเพื่อนรักคนนี ้ไม่สาเร็จก็ตาม) และแม้ เรื่ องราวจะผลักให้ นารูโตะจาต้ องเกลียดซาสึเกะแต่
ลึกๆ ในใจนันนารู ้ โตะก็ยงั เชื่อมัน่ และรอให้ ซาสึเกะกลับตัวกลับใจคืนมาเป็ นนินจาของหมูบ่ ้ านโค
โนฮะอีกครัง้ หนึง่
ในขณะที่วันพีซก็นาเสนอแก่นแกนเรื่ อง “มิตรภาพ” และ “การเสียสละ”
ได้ อย่างชัดเจนและลึกซึ ้ง เพราะตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง การกระทาของแชงคูส โจรสลัดหนุม่ ผมแดงที่
ยอมสละแขนหนึง่ ข้ างของตนเพื่อช่วยชีวิตเด็กชายที่ไม่ได้ มีความเกี่ยวพันทางสายเลือดอย่างลูฟี่
(ตัวเอกของเรื่ อง) ก็ได้ กลายมาเป็ นแรงผลักดันให้ ลฟู ี่ อยากเป็ นโจรสลัดผู้ยิ่งใหญ่ ให้ ได้
นอกจาก “ความเสียสละ” จะถูกหยิบชูขึ ้นมาเป็ นแก่นสาคัญที่ชว่ ย
ผลักดันเป้าหมายให้ กบั ตัวละครเอกอย่างลูฟี่ตังแต่ ้ ต้นเรื่ องแล้ ว แน่นอนว่าฮีโร่ในใจของลูฟี่อย่าง
แชงคูสย่อมเป็ นแบบอย่างให้ ลฟู ี่ เอาชนะใจลูกเรื อและผู้อื่นด้ วยการให้ คณ ุ ค่ากับคาว่า “มิตรภาพ”
แก่ผ้ คู นรอบข้ างเช่นเดียวกัน ซึง่ ก็ได้ สง่ ผ่านการช่วยเหลือผู้คนที่พวกเขาได้ พบเจอระหว่างการ
เดินทางอย่างการช่วยปลดแอกการปกครองของกลุม่ มนุษย์เงือกให้ กบั หมู่บ้านโคโคยาชิ การช่วย
เจ้ าหญิงบิบีแห่งอลาบาสต้ าในการกอบกู้อาณาจักร นอกจากนี ้ลูฟี่ยังตีคา่ ของมิตรภาพผ่านการ
แสดงความรู้สกึ “เชื่อใจ” แก่ลกู เรื อของเขาแบบหมดหัวใจ เห็นได้ จากนิโค โรบิน สาวสวยที่มีอดีต
ลึกลับผู้ไม่เคยเชื่อถือในคาว่ามิตรภาพ เพราะเธอพร้ อมจะหักหลังทุกคนเพื่อเอาตัวเองให้ รอด
แต่ลฟู ี่ ก็ทาให้ โรบินเชื่อใจได้ สาเร็จ หลังจากที่โรบินสร้ างภาพว่าต้ องการออกจากกลุม่ ของลูฟี่เพื่อ
ไม่ให้ เพื่อนๆ ต้ องเดือดร้ อน และได้ สร้ างสถานการณ์วา่ เธอได้ หกั หลังกลุม่ แต่แม้ เหตุการณ์จะดู
เหมือนว่าโรบินได้ หกั หลังเพื่อน ลูฟี่และกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางก็ยงั คง “เชื่อใจ” โรบิน และ
พยายามตามตื๊อเธอเพื่อถามความจริงออกมาให้ ได้
หรื อกระทัง่ ตัวละครอย่างมิสเตอร์ ทูว์ ซึง่ เคยเป็ นศัตรูกบั กลุ่มของลูฟี่ แต่
107

ด้ วยการกระทาของลูฟี่และเพื่อนๆ ที่แสดงถึงมิตรภาพ (ไม่เคยทอดทิ ้งและเชื่อใจกันร้ อยเปอร์ เซ็นต์


ต่างจากกลุม่ องค์กรบาล็อคเวิร์คส์ของมิสเตอร์ ทูว์เองที่ตา่ งขัดแข้ งขัดขากันเองเพื่อขึ ้นเป็ นเบอร์ หนึง่
ขององค์กร) จึงทาให้ มิสเตอร์ ทวู ์ร้ ูสึกประทับใจ และหันมาช่วยลูฟี่ในภายหลัง อีกทังยั ้ งถึงกับยอม
สละชีวิตตัวเองเพื่อช่วยเหลือลูฟี่อีกด้ วย
จะเห็นได้ วา่ การนาเสนอแก่นแกนเรื่ อง “มิตรภาพ” ในนินจาคาถาฯ และ
วันพีซนันค่ ้ อนข้ างลึกซึ ้งหากเทียบกับดราก้ อนบอล เพราะ “มิตรภาพ” ของทังสองเรื ้ ่ องนี ้มีบท
พิสจู น์จาก “ความไว้ เนื ้อเชื่อใจ” และการพร้ อม “ให้ อภัย” ซึง่ กันและกันได้ เสมอ (ลูฟี่อภัยให้ โรบินที่
โกหก-ปิ ดบังความจริงบางอย่าง-นารูโตะรอการกลับมาของซาสึเกะเสมอแม้ ซาสึเกะจะจ้ องทาร้ าย
หมูบ่ ้ านโคโนฮะของเขาก็ตาม) ซึง่ ความลึกซึ ้งของแก่นความคิดเรื่ อง “มิตรภาพ” แม้ จะสะท้ อน
แนวคิดแบบสังคมญี่ปนแต่ ุ่ ก็เป็ นแก่นความคิดสากลที่ใครๆ ก็เข้ าถึงได้ ไม่เฉพาะชาวญี่ปนเท่ ุ่ านัน้
และด้ วยแก่นที่สามารถทลายกาแพงเรื่ องวัฒนธรรมลงได้ นี่เองจึงน่าจะเป็ นสาเหตุสาคัญประการ
หนึง่ ที่เป็ นแรงเสริมให้ นินจาคาถาฯ และวันพีซ เข้ าถึงผู้อ่านในวงกว้ างได้
ข. วันพีซ/นินจาคาถาฯ: จงเชื่อมัน่ และมุง่ มัน่ ในความฝั น
วันพีซและนินจาคาถาฯ ไม่ใช่จะสะท้ อนแค่เพียงความดี-ความชัว่
หรื อการวิพากษ์สงั คมที่ดจู ะเป็ นเรื่ องไกลตัวและยากจะเข้ าถึงสาหรับผู้อา่ นเยาวชนเท่านัน้ แต่
ยังมีแก่นแกนว่าด้ วยเรื่ องราวใกล้ ตวั เด็กและเยาวชนปรากฎอยูอ่ ย่างชัดเจนนัน่ คือประเด็นเรื่ อง
“การมุง่ มัน่ ทาความฝั นให้ เป็ นจริง”
ในวันพีซตามที่กล่าวในส่วนโครงเรื่ องไปแล้ วจะเห็นได้ ว่าไม่วา่ จะเป็ นตัว
ละครหลัก หรื อตัวละครประกอบเล็กๆ แทบทุกตัวละครได้ ทาหน้ าที่เป็ นจิ๊กซอว์ตวั แทนความคิด
ของผู้เขียนที่ต้องการจะบอกว่า “คนเราเกิดมาย่อมต้ องมีเป้าหมาย (ความฝั น) และยึดมัน่ ไม่ยอ่
ท้ อกับการเดินไปตามรอยฝั นนันอย่ ้ างมัน่ คง” และเพราะ “ความฝั น” เป็ นสิ่งที่เราทุกคนมี แต่
หลายคนอาจลืมเลือนความฝั นไปแล้ ว และก็อีกหลายคนมีชีวิตจริงตรงข้ ามอย่างสิ ้นเชิงกับความ
ฝั น ดังนันแก่ ้ นเรื่ องที่วา่ ด้ วยความฝั นอันหลากหลายในวันพีซจึง “กระทบใจ” ผู้อ่านทุกคน (ทัง้
ฝั นเล็กๆ แค่การได้ พบกับวาฬน้ อยอีกครัง้ ของบรู๊ค (สมาชิกหน้ าใหม่ของกลุม่ โจรสลัดของลูฟี่) หรื อ
ฝั นใหญ่ๆ อย่างการเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัดของลูฟี่เองก็ตาม และยังเป็ นแรงบันดาลใจชันดี ้ ให้ ผ้ อู า่ น
เหล่านี ้กล้ าที่จะปฏิวตั ิตวั เองด้ วยการไล่ลา่ ความฝั นเหมือนเช่นตัวละครในการ์ ตนู เรื่ องนี อ้ ีกด้ วย
“ชัน้ พูดแล้วไม่คืนคา นี แ่ หละคื อวิ ถีนินจาของชัน้ ”
ประโยคข้ างต้ นคือคาพูดติดปากของตัวเอกในนินจาคาถาฯ อย่าง
108

นารูโตะ ซึง่ “ตัวตน” ของเขาย่อมสะท้ อนถึงการให้ ความสาคัญในประเด็น “การมุง่ มัน่ ตามฝั น”


โดยนาเสนอผ่านนารูโตะซึง่ แม้ จะเป็ นเด็กที่ไม่คอ่ ยมีใครอยากคบเพราะมีปีศาจจิ ้งจอกเก้ าหางผนึก
อยูใ่ นร่างอีกทังยั
้ งดูเหมือนไม่มีทงพรสวรรค์ั้ และพรแสวงในการฝึ กวิชานินจาสักเท่าไหร่ แต่
นารูโตะก็ประกาศออกมาตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ องว่าความฝั นของเขาคือการเป็ นโฮคาเงะ หรื อผู้ปกครอง
หมูบ่ ้ านนินจาโคโนฮะ และเขาจะต้ องเป็ นโฮคาเงะที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ เก่งที่สดุ ให้ ได้ อีกด้ วย ซึง่ ด้ วย
ความมุง่ มัน่ ของนารูโตะเช่นนี ้ก็ยิ่งทาให้ การเดินทางไปสูเ่ ป้าหมายของนารูโตะนันเพิ ้ ่มความรู้สกึ
“เอาใจช่วย” จากผู้อา่ น เพราะระหว่างหนทางของเขาเต็มไปด้ วยอุปสรรคมากมาย ทังจากการ ้
พิสจู น์ตวั เองให้ เป็ นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมทีม จากผู้หลักผู้ใหญ่ของหมูบ่ ้ านนินจาในการทา
ภารกิจที่ดยู ิ่งใหญ่เกินความสามารถในหลายๆ ครัง้ รวมทังอุ
้ ปสรรคจากการต้ องข่มใจเอาชนะ
ปี ศาจในร่างตัวเอง
การสร้ างตัวละครเอกที่เริ่มต้ นจากศูนย์และการระดมอุปสรรคให้ เขา
ต้ องฟั นฝ่ าให้ ได้ เช่นนี ้ย่อมทาให้ คนอ่านรู้สึกทังรั้ กทังลุ้ ้ นไปกับตัวละครและย่อมเฝ้ารอคอยการ
เติบโตของตัวละครให้ ไปถึงฝั่ งฝั น จึงไม่นา่ แปลกใจที่การ์ ตนู เรื่ องนี ้ยังคงไม่ยอมให้ ตวั ละครขยับ
เข้ าใกล้ ความฝั นอย่างรวดเร็ วนัก เพราะจะได้ รักษากลุม่ ผู้อา่ นให้ ตดิ ตามเรื่ องราวไปได้ นานๆ
ค. วันพีซ:ปรัชญาแฝงอยูใ่ นทุกสิ่ง
สิ่งที่วนั พีซสร้ างความประทับใจให้ กบั ผู้อา่ นส่วนหนึง่ อาจเกิดจากการใส่
“ปรัชญา” หรื อแก่นแท้ ของสิ่งที่ตวั ละครกาลังกระทาผ่านการคลี่คลายอุปสรรค หรื อปั ญหาหลาย
ต่อหลายครัง้ โดยเฉพาะในฉากการต่อสู้ ซึง่ ในแนวเรื่ องแบบแอ็คชัน่ ส่วนใหญ่ไม่ได้ ใส่ใจใน
ประเด็นนี ้ เช่นการต่อสู้ระหว่างคนยักษ์ “ดอร์ รี่” กับ “โบรกี ้” (ตัวละครประกอบที่กลุม่ โจรสลัด
หมวกฟางเจอระหว่างการเดินทางไปสูว่ นั พีซ) ที่ฟาดฟั นกันมายาวนานนับ 100 ปี (อายุขยั ของคน
ยักษ์มากกว่าคนธรรมดา 3 เท่า) และแม้ จะตัดสินหาผู้ชนะไม่ได้ แต่ก็ไม่มีใครคิดยอมแพ้ ซึง่
แน่นอนว่าในสายตาของหลายๆ คน คงคิดว่ายักษ์คนู่ ี ้ไม่บ้าก็โง่ เพราะไม่เข้ าใจว่าทาไมจะต้ อง
เสียเวลาเกือบครึ่งชีวิตเพื่อการต่อสู้อนั ไร้ สาระ (ที่คนส่วนใหญ่คิดว่าเป้าหมายการต่อสู้ก็แค่วดั ผล
แพ้ -ชนะ) แต่ดอร์ รี่กบั โบรกี ้ก็ให้ เหตุผลของการต่อสู้ที่ยาวนานในครัง้ นี ้แก่กลุ่มของลูฟี่อย่าง
น่าสนใจว่า “ทรัพย์สินเงิ นทองชี วิตคนเรา มันเป็ นสิ่ งทีไ่ ม่จีรังยัง่ ยืนน่ะนะ พวกข้ามี อายุขยั ยื นยาว
กว่าพวกเจ้า (มนุษย์) จึ งคาดหวังความตายอย่างสมศักดิ์ ศรี เป็ นสิ่ งสาคัญที ส่ ดุ ...เกี ยรติ ยศความ
ภาคภูมิคือสมบัติอนั เป็ นนิ รันดร์ ...”
เหตุผลของการต่อสู้ข้างต้ นทาให้ ตวั ละครประกอบสองตัวนี ้กลายเป็ น
109

ยักษ์ฉลาดขึ ้นมาทันที (และแน่นอนว่าผู้อ่านย่อมรู้สกึ ดี-ผูกพันด้ วย) นัน่ เพราะผู้เขียนเลือกจะ


สร้ างตัวละครประหลาด รวมทังการกระท ้ าที่แปลกประหลาดได้ อย่าง “มีเหตุผล” ขณะเดียวกัน
คาพูดของยักษ์คนู่ ี ้ก็สะท้ อนให้ ผ้ อู า่ นเห็นว่าเราทุกคนย่อมมี “เป้าหมาย” หรื อ “ความฝั น” ที่
แตกต่างกัน บางฝั นก็ดแู ปลก บ้ าบอในสายตาของบางคน แต่เราไม่ควรดูหมิ่น-หยามเหยียดความ
ฝั นของใคร เพราะแต่ละความฝั นย่อมเปี่ ยมด้ วยความเชื่อและเหตุผลของเจ้ าของความฝั นนัน้

ภาพประกอบ 12 คนยักษ์ ดอร์ ร่ ี และโบรกีจ้ ากเรื่องวันพีซ


ที่มา: http://www.mangarush.com/manga/one-piece/117/p-1

หรื อในการต่อสู้ของโซโล (อีกหนึง่ สมาชิกกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางของลูฟี่)


ที่ต้องต่อสู้กบั มนุษย์ดาบ (คนที่กิจผลไม้ ปีศาจเข้ าไปทาให้ ร่างกายทุกส่วนเป็ นดาบ) จนทาให้
โซโลเกือบจะต้ องท้ อถอยยอมรับความพ่ายแพ้ อยูแ่ ล้ วนัน้ ผู้เขียนก็ได้ ใส่ปรัชญาของการต่อสู้ด้วย
ดาบลงไปผ่านคาสอนของอาจารย์ของโซโลว่า “ดาบที่คมที่สดุ แกร่งที่สดุ คือดาบที่ไม่ได้ ฟันอะไร
เลย” นัน่ ก็คือการปล่อยวางจิตใจของผู้ถือดาบไม่ให้ คาดหวังว่าจะต้ องฟาดฟั นสิ่งใดที่อยู่ตรงหน้ า
คาสอนของอาจารย์ของโซโลนันน ้ ามาปรับใช้ ได้ กบั หลายๆ สิ่งเพราะสะท้ อนว่าหากเราลงมือทาสิ่ง
ใดอย่างเต็มที่โดยไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ กับคาว่า “ชัยชนะ” เมื่อนันเราจะข้
้ ามผ่านทุกสิ่ง และผลของการ
กระทาก็ย่อมมีประสิทธิภาพสูงสุด
ตัวอย่างของตัวละครในวันพีซที่มองหา “แก่นแท้ ” หรื อปรัชญาในสิ่งที่ตน
110

เลือกทาข้ างต้ นได้ สะท้ อนวิธีคดิ และวิถีชีวิตของคนญี่ปนที ุ่ ่หลอมรวมให้ กลายเป็ นคนที่มองสิ่ง


ต่างๆ อย่างลึกซึ ้ง-ถึงแก่น และพยายามมุง่ มัน่ พัฒนาสิ่งเหล่านันจากตั ้ วตน (อัตลักษณ์) ของสิ่งนัน้
อย่างแท้ จริง ซึง่ ก็สง่ ผลให้ คนญี่ปนสามารถพัุ่ ฒนาประเทศให้ ดีขึ ้นอยูต่ ลอดเวลา
จะเห็นได้ วา่ แก่นความคิดในสื่อการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องนี ้หลากหลายอย่างมาก
มีทงสะท้
ั ้ อนความคิดที่เป็ นสากล วิพากษ์สงั คม และสะท้ อนเรื่ องส่วนตัวระดับปั จเจกด้ วยเช่นกัน
โดยแก่นความคิดที่ได้ วิเคราะห์นนผู ั ้ ้ เขียนเลือกมาเฉพาะแก่นความคิดที่สะท้ อนออกมาได้ อย่าง
เฉียบคมมากพอจะกล่าวถึง ดังนันจะเห็ ้ นได้ วา่ ผู้เขียนไม่ได้ กล่าวถึงแก่นความคิดของยอดนักสืบ
จิ๋วฯ เพราะการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไม่ได้ นาเสนอองค์ประกอบของการเล่าเรื่ องด้ าน “แก่นความคิด” ได้
ชัดเจนมากนัก แม้ จะมีถ่ายทอดออกมาบ้ างผ่านคดีที่ตวั เอกสืบสวนและคลี่คลายโดยสะท้ อนการ
ทางานของอาชีพนักสืบที่ต้องการ “ค้ นหาความจริง” และการสะท้ อนสาเหตุของคดีฆาตกรรมส่วน
ใหญ่ที่เกิดจาก “ธรรมชาติของมนุษย์” หรื อแรงผลักดันจากความ “รัก-โลภ-โกรธ-หลง” แต่
ผู้เขียนการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็ไม่ได้ ทาให้ ผ้ อู า่ นสัมผัสในแก่นดังกล่าวอย่างชัดเจน ซึง่ อาจเพราะข้ อจากัด
ของการ์ ตนู แบบจบในตอนที่มีความยาวไม่มากนักจึงทาให้ ยากที่จะสะท้ อนแก่นความคิดได้ อย่าง
เฉียบคม
ดังนันอาจสรุ
้ ปแก่นความคิดของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ อง แยกตามประเภทของ
แก่นความคิดได้ เป็ น 4 กลุม่ ดังนี ้

เรื่อง รายละเอียดของแก่ น
ดราก้ อนบอล สะท้ อนว่าธรรมะย่อมชนะอธรรม
ทเวนตี ้ฯ สะท้ อนว่าธรรมะไม่จาเป็ นต้ องชนะอธรรม
วันพีซ/เดธโน้ ต ตังค
้ าถามว่าอะไรคือความดี-เลว

ตารางที่ 7 สรุปเรื่องที่ว่าด้ วยแก่ นความคิดเกี่ยวกับศีลธรรม

เรื่อง รายละเอียดของแก่ น
เดธโน้ ต สะท้ อนความเชื่อมัน่ ต่อระบบยุตธิ รรม
นินจาคาถาฯ สะท้ อนการเมืองการปกครองอันแสนวุน่ วาย
วันพีซ สะท้ อนความไม่เท่าเทียมกันของสังคม

ตารางที่ 8 สรุปเรื่องที่มีแก่ นความคิดว่ าด้ วยการวิพากษ์ /สะท้ อน/เสียดสีสังคม


111

เรื่อง รายละเอียดของแก่ น
ทเวนตี ้ฯ มนุษย์ทกุ คนต้ องการการยอมรับ
นินจาคาถาฯ มนุษย์ทกุ คนมีความชัว่ ร้ ายอยูใ่ นจิตใจ
ยอดนักสืบจิ๋วฯ ความรัก-โลภ-โกรธ-หลงคือต้ นเหตุแห่งการฆาตกรรม

ตารางที่ 9 สรุปเรื่องที่มีแก่ นความคิดว่ าด้ วยธรรมชาติมนุษย์

เรื่อง รายละเอียดของแก่ น
วันพีซ/นินจาคาถาฯ มิตรภาพและการเสียสละเพื่อส่วนรวม
วันพีซ/นินจาคาถาฯ จงเชื่อมัน่ และมุง่ มัน่ ในความฝั น
วันพีซ ปรัชญาแฝงอยูใ่ นทุกสิ่ง

ตารางที่ 10 สรุปเรื่องที่สะท้ อนแก่ นความคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมญี่ปุ่น

1.5 ฉาก (Setting)


ความหมายของฉากในเรื่ องเล่าไม่ได้ หมายถึงการออกแบบพื ้นหลังตัวละครในแง่
องค์ประกอบศิลป์ แต่หมายถึงการสร้ างเหตุการณ์ สถานการณ์เพื่อรองรับการกระทาของตัวละคร
ซึง่ หัวใจของการสร้ างฉากที่ดียอ่ มต้ องไม่โดดเด่นไปกว่าตัวละคร แต่จะต้ องช่วยเสริมเรื่ องราวให้ ดู
น่าเชื่อถือมากขึ ้น โดยจากการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องอาจแบ่งประเภทของการสร้ างฉากเป็ นสองกลุม่ คือ
กลุม่ ที่สร้ างฉากจินตนาการขึ ้นใหม่ และกลุม่ ที่สร้ างฉากเหตุการณ์ให้ เกิดขึ ้นบนโลกแห่งความจริง
1.5.1 กลุม่ ที่สร้ างฉากจินตนาการขึ ้นใหม่ ได้ แก่ วันพีซ นินจาคาถาฯ ดรา
ก้ อนบอล
ก. วันพีซ: ฉากหลากหลาย-รายละเอียดประกอบฉากแสนสร้ างสรรค์
หัวใจของการสร้ างฉาก สถานการณ์ที่เป็ นเรื่ อง “ไม่จริง” ให้ ดสู มจริงย่อม
เกิดจากการใส่รายละเอียดในโลกที่ “ไม่จริง” นันให้ ้ มีองค์ประกอบเหมือนโลกมนุษย์ที่เราคุ้นชิน
ดังนันโลกในวั
้ นพีซซึง่ แม้ จะเป็ นโลกแห่งโจรสลัดแต่ก็เป็ นการจาลองโลกมนุษย์เราดีดีนี่เอง เช่นการ
สร้ าง “กฎเกณฑ์” การปกครองของกลุม่ โจรสลัด การสร้ างตัวละครที่มีทงดี ั ้ และร้ าย การสร้ าง
ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมตามที่ได้ กล่าวไปแล้ วในหัวข้ อแก่นความคิด
แต่ในอีกทางหนึง่ การสร้ างรายละเอียดของฉาก สถานการณ์ให้ สมจริงก็
112

เพียงตอบสนองความรู้สกึ “คุ้นชิน” ให้ ผ้ อู ่านเข้ าถึงเรื่ องราวได้ โดยง่ายเท่านัน้ แต่สิ่งที่จะช่วยสร้ าง


ความน่าสนใจ หรื อตื่นตาตื่นใจให้ กบั ผู้อา่ นย่อมเป็ นการสร้ าง “โลกแห่งจินตนาการ” ของเหล่าโจร
สลัดให้ มีรายละเอียดมากที่สดุ เพื่อสร้ างความน่าเชื่อถือแห่งโลกดังกล่าว
และฉากในจินตนาการที่วนั พีซได้ สร้ างขึ ้นนันก็
้ มีความหลากหลาย และ
เต็มไปด้ วยตัวละคร สิ่งของ ที่หลอมรวมกันเป็ นฉากสถานการณ์ที่คาดไม่ถึงได้ อย่างมาก ทังเมื ้ อง
แห่งทะเลทราย เมืองซอมบี ้ หรื อแม้ แต่คกุ ใต้ ทะเล ฯลฯ โดยจุดเด่นของการสร้ างฉากในวันพีซคือ
การสร้ างรายละเอียดประกอบฉากเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้ กบั ฉากนันๆ ้ เช่นในเกาะแห่ง
ท้ องฟ้า ผู้เขียนได้ สร้ างอุปกรณ์ที่คนบนเกาะประดิษฐ์ ขึ ้นได้ อย่างน่าสนใจนัน่ คือ เปลือกหอยชนิด
หนึง่ เรี ยกว่าไดอัล (Dials) ซึง่ ด้ วยพลังทางธรรมชาติของไดอัลที่แตกต่างกันจึงทังสามารถน ้ ามา
ติดตังลงไปในอาวุ
้ ธซึง่ ทาให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น หรื อสร้ างเป็ นยานพาหนะที่มีกาลังแรงสูงได้
เช่นกัน โดยสิ่งของเหล่านันต่ ้ างก็มีบทบาทเป็ นผู้ชว่ ยให้ ตวั ละครได้ คลี่คลายอุปสรรคสาคัญได้ เป็ น
อย่างดี (ในขณะที่ดราก้ อนบอลมีผ้ ชู ว่ ยเหลือเป็ นพลังฝี มือ หรื อเทพอันศักดิส์ ิทธิ์ หรื อนินจาคาถาฯ
เองมีตวั ช่วยเป็ นพลังคาถานินจา หรื อสัตว์วิเศษ/สัตว์หางที่สิงอยูใ่ นร่างคน) ซึง่ การสร้ างฉากที่
หลากหลายและอุปกรณ์ประกอบฉากที่สร้ างสรรค์เหล่านี ้ย่อมดึงดูดคนอ่านให้ ร้ ูสกึ ตื่นเต้ นไปกับ
การลุ้นว่าตัวละครจะได้ พบกับสิ่งของประหลาดใดอีกบ้ าง และจะแก้ ไขปั ญหาตามฉาก
สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาได้ อย่างไร

ภาพประกอบ 13 เปลือกหอยหรือ dials (ซ้ าย), dial ดัดแปลงเป็ นพลังงานให้ เรือ (ขวา)
ที่มา: http://onepiece.wikia.com/wiki/Dials และ http://onepiece.wikia.com/wiki/Dial_Boat

ข. นินจาคาถาฯ: ฉากต่อสู้แบบใหม่ของโลกนินจา
ภาพจาที่เราเคยคุ้นกับเรื่ องราวของนินจาผ่านสื่อภาพยนตร์ หรื อละคร
โทรทัศน์โดยส่วนใหญ่มกั เกิดจากการสร้ างฉากและสถานการณ์ให้ นินจาต้ องพรางตัวอยูใ่ นสังคม
มนุษย์ปกติ แต่สาหรับการ์ ตนู เรื่ องนี ้กลับเลือกจะสร้ างฉาก-เรื่ องราวที่วา่ ด้ วย “ความเป็ นอยูข่ อง
113

โลกนินจา” ที่ไม่ได้ เกี่ยวข้ องกับชีวิตมนุษย์ในโลกแห่งความเป็ นจริง และเมื่อทิศทางของเรื่ องไม่


จาเป็ นต้ องสร้ างฉาก-สถานการณ์ให้ นินจาต้ องหลบๆ ซ่อนๆ กับการต้ องทาภารกิจลับเช่นการลอบ
ฆ่าผู้ปกครองผู้ทรงอานาจ ภาพที่เราคุ้นชินกับการเห็นนินจาทาภารกิจภายใต้ เงามืด ฉาก
กลางคืน หรื อฉากการพรางตัวใต้ น ้าจึงแทบไม่ปรากฎอยู่ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ เพราะผู้เขียนสามารถ
สร้ างฉากสถานการณ์ได้ อย่างเปิ ดเผยในที่โล่งแจ้ ง และทาให้ ผ้ อู ่านได้ รับรู้ “ตัวตนของนินจา” ที่
ทางานกันเป็ นทีม และออกมาต่อสู้กนั อย่างเปิ ดเผยเพื่อปกป้องหมูบ่ ้ านนินจาของตัวเอง หรื อเพื่อ
การครองความเป็ นใหญ่ในโลกนินจากันแบบถวายชีวิต ซึง่ ฉาก-สถานการณ์ที่เปิ ดโอกาสให้
นินจาได้ เปิ ดเผยตัวตนในสังคมแบบนี ้ย่อมสร้ างความรู้สึกแปลกใหม่ให้ แก่ผ้ อู า่ นได้ ในแบบที่ไม่เคย
พบเห็นจากแนวเรื่ องแบบนินจาที่ไหนมาก่อน
“นารู โตะฉี กเรื ่องนิ นจาโบราณทีค่ อยลอบสังหาร เรื ่องนี ไ้ ม่มีชูริเค็น
(ดาวกระจาย)พร่ าเพรื ่ อ มันสูพ้ ลังกันเลย ไม่อยู่ในโลกมื ด ไม่ซ่มุ แอบ สูท้ ี ่โล่งแจ้ง เปิ ดตัวตลอด ไม่
เหมื อนนิ นจาที เ่ ราเคยเห็น มันเลยดูตืน่ ตาตื ่นใจ” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
นอกจากฉาก สถานที่ที่เกิดขึ ้นในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จะเป็ นโลกสมมติแล้ ว
ตัวละครก็ยงั ค่อนข้ างเหนือจริงอีกด้ วย (เมื่อเทียบกับวันพีซ ที่มีตวั ละครเป็ นโจรสลัดนันเราอาจเคย

ได้ ยินข่าวตามสื่อจริงๆ แต่ตวั ละครนินจาดูจะเป็ นเรื่ องลี ้ลับในตานานที่จบั ต้ องได้ ยากยิ่งกว่า)
ดังนันการสร้
้ างฉาก สถานการณ์ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงจาเป็ นต้ องเนรมิต “เรื่ องลี ้ลับ” ของนินจาให้
ปรากฎสูส่ ายตาผู้อา่ นอย่างสมจริงผ่านการสร้ างรายละเอียดของสถานที่ เหตุการณ์ และ
สถานการณ์ ซึง่ ผู้เขียนก็ทาออกมาได้ อย่างน่าเชื่อถือผ่านการกาหนดอาณาเขตการปกครองของ
แต่ละหมูบ่ ้ านนินจาตังแต่
้ เปิ ดเรื่ อง และสร้ างเรื่ องราวให้ มีฉากที่ปรับเปลี่ยนอยูต่ ลอดเวลาโดยให้
ตัวละครเดินทางออกไปทา “ภารกิจนินจา” นอกหมู่บ้านนินจาของตนเอง ขณะเดียวกันฉาก
สถานการณ์ภายในหมู่บ้านก็ไม่เคยหยุดนิ่งเพราะต้ องรับศึกเพื่อทาสงครามอยูบ่ อ่ ยครัง้
114

ภาพประกอบ 14 ฉากต่ อสู้ในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://ipmaya.com/naruto-595/

ค. ดราก้ อนบอล: ฉากล ้ายุคไม่หยุดนิ่ง


ด้ านการออกแบบฉากของดราก้ อนบอลก็ไม่ตา่ งอะไรไปจากการ
ออกแบบตัวละครที่มีความหลากหลายสมกับเป็ นการ์ ตนู แนวแฟนตาซี เพราะมีการเปลี่ยนฉาก
เหตุการณ์อยู่ตลอดเวลา เรี ยกได้ วา่ ไม่มีการหยุดนิ่ง ณ ฉากใดฉากหนึง่ เป็ นเวลานานจนทาให้ คน
อ่านรู้สกึ เบื่อ โดยมีการโยกย้ ายสถานที่จากป่ า (ในตอนเปิ ดเรื่ อง) สูเ่ มือง (ศึกประลองยุทธ์ชิง
ตาแหน่งเจ้ ายุทธภพ) ไปยังใต้ ทะเล (ในการต่อสู้กบั กองทัพเร้ ดริบบ้ อน) รวมทังหอคอยสู ้ งเสียด
ฟ้า หรื อปรโลก และในยามที่ผ้ อู ่านนึกไปว่าจะถึงทางตันเพราะมนุษย์ตา่ งดาวมาบุกโลกจน
พระเอกต่อสู้เอาชนะไปแล้ ว ก็ยงั สร้ างสถานการณ์ให้ เดินทางไปต่อสู้กนั ยังดาวเคราะห์นอกโลกได้
อย่างน่าเชื่อถือนัน่ เพราะตัวละครเอกอย่างโงคูก็มิใช่มนุษย์แต่เป็ นมนุษย์ตา่ งดาว (ชาวไซย่า)
เช่นกัน อีกทังยั
้ งมีการสร้ างฉากให้ เกิดขึ ้นใน “หมูบ่ ้ านนกเพนกวิน” ซึง่ เป็ นการหยิบยืมฉาก
มาจากผลงานเรื่ องดังก่อนหน้ านี ้ของผู้เขียนอย่างโทริ ยาม่า อากิระคือ “ดร.สลัมป์กับหนูน้อยอารา
เล่” ซึง่ ก็แสดงถึงความเป็ นผู้สร้ างสรรค์งานแบบประพันธกรที่มกั ใส่รายละเอียดเล็กๆ น้ อยๆ ที่
แสดงถึง “ตัวตน” ของผู้สร้ างลงไปในงานเพื่อสร้ าง “ภาพจา” และสร้ าง “ความสนิทชิดเชื ้อ” ให้
เกิดขึ ้นแก่แฟนๆ ที่ติดตามผลงาน
115

ภาพประกอบ 15 โงคูในดราก้ อนบอลพบกับอาราเล่ ตัวละครเอกในเรื่ อง ดร.สลัมป์ฯ


ที่มา: http://www.tumblr.com/tagged/arale

1.5.2 กลุม่ ที่สร้ างฉากเหตุการณ์ให้ เกิดขึ ้นบนโลกแห่งความเป็ นจริง ได้ แก่


ทเวนตี ้ฯ เดธโน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ
ในขณะที่เรื่ องจินตนาการที่ถกู สร้ างขึ ้นบนฉาก-สถานการณ์ที่เป็ นโลกสมมติ
อย่างดราก้ อนบอล วันพีซ และนินจาคาถาฯ ง่ายต่อการเสกสรรปั น้ แต่ง “โลกใหม่” ให้ ตรงตามใจ
ผู้เขียนได้ โดยไม่ต้องกังวลว่าจะผิดไปจากความเชื่อ หรื อกระทบกับความเป็ นจริง แต่เรื่ องที่ถกู
จินตนาการขึ ้นโดยอาศัยฉาก-เหตุการณ์เกิดขึ ้นบนโลกมนุษย์เหมือนเช่น ทเวนตี ้ และเดธโน้ ตนัน้
ยากยิ่งกว่าในการ “สร้ างความน่าเชื่อถือ” ของเรื่ องราว เพราะผู้เขียนต้ องนาเอา “เรื่ องไม่จริง”
(หรื อเรื่ องที่โอกาสเกิดขึ ้นได้ ยากมาก) มาหลอมรวมให้ เข้ ากับ “เรื่ องจริ ง” (หรื อเรื่ องที่คนส่วนใหญ่
ในสังคมเชื่อ) แต่ทงั ้ 2 เรื่ องดังกล่าวก็สามารถสร้ างฉาก-สถานการณ์โดยยึดประเด็นข้ างต้ นได้
แตกต่างกันดังนี ้
ก. ทเวนตี ้ฯ: ฉากจริงในอดีตสร้ างอารมณ์ราลึกความหลัง
ความยากในการสร้ างฉาก-สถานการณ์ของเรื่ องนี ้ คือจะหาเหตุผลให้
ผู้อา่ นเชื่อได้ อย่างไรว่า “เพื่อน” ชายชาวญี่ปนผู ุ่ ้ อาพรางใบหน้ าของตนเองและต้ องการยึดครองโลก
มนุษย์โดยทาตามแผนการที่อยูใ่ น “บันทึกคาทานาย” ของเด็กชายวัยประถมอย่างเคนจิ (ซึง่ ใน
คาทานายบอกว่าหุน่ ยักษ์ และไวรัสจะเป็ นตัวการทาลายล้ างโลก) สามารถยึดครองโลกได้ อย่าง
น่าเชื่อถือ เพราะตัวละครที่ปิดบังใบหน้ าแต่สามารถเข้ าไปนัง่ ในใจประชาชนจานวนมากได้ จน
116

สามารถจูงใจให้ เชื่อถือในแผนการชัว่ ร้ ายที่มีการปล่อยไวรัสทาลายล้ างโลกได้ นนช่ ั ้ างดู “เหลือเชื่อ”


ยิ่งนัก แต่ผ้ เู ขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่าสามารถสร้ างฉาก เหตุการณ์ให้ ตวั ละครอย่าง
“เพื่อน” สามารถเป็ นผู้ยิ่งใหญ่ได้ อย่างน่าเชื่อถือโดยอาศัยคาว่า “ฮีโร่” เป็ นที่ตงั ้ โดยการใส่ร้าย
ขบวนการเคนจิวา่ เป็ นตัวการในการบังคับหุ่นยักษ์เพื่อทาลายล้ างโลกในวันสิ ้นปี 2000 และอ้ างว่า
รัฐบาล (ซึง่ ถูกควบคุมโดย “เพื่อน”) สามารถจับกุมตัวผู้ร้ายในขบวนการเคนจิได้ บางส่วนแล้ ว
รวมทังการจั
้ ดฉากให้ “เพื่อน” เป็ นผู้ชว่ ยเหลือชีวิตพระสันตะปาปาผู้มาเยือนญี่ปนุ่ การสร้ าง
ฉาก-สถานการณ์ที่อาศัยแรงศรัทธาของมหาชนเพื่อสร้ างภาพ “ฮีโร่” ให้ เกิดขึ ้นนี ้เองที่ชว่ ยสร้ าง
ความยิ่งใหญ่ให้ กบั “เพื่อน” ที่ไม่หยุดอยูแ่ ค่ความเป็ นฮีโร่สาหรับชาวญี่ปนุ่ แต่ยงั เป็ นฮีโร่สาหรับคน
ทังโลกโดยเฉพาะคริ
้ สศาสนิกชน (ผู้นบั ถือ-ศรัทธาพระสันตะปาปา) ดังนันด้ ้ วยแรงศรัทธาจาก
มวลชนทัว่ ทังโลกนี
้ ่เองที่ทาให้ แผนการยึดครองโลกของ “เพื่อน” เกิดขึ ้นได้ อย่างไม่ยากเย็นนัก
นอกจากความน่าเชื่อถือในทิศทางของเรื่ องจะเกิดจากการสร้ างฉาก-
สถานการณ์ให้ เพื่อนกลายเป็ นฮีโร่แล้ ว ยังเกิดจากการให้ รายละเอียดที่ตรงกับความเป็ นจริงอย่าง
มากในฉากอีกด้ วยโดยเห็นได้ จากฉากที่โอตโจะ (หนึง่ ในขบวนการเคนจิ-ตัวเอกของเรื่ อง) ใช้ ชีวิต
อยูท่ ี่ประเทศไทย ซึง่ เขาวาดฉากออกมาได้ อย่างสมจริ งเสียจนคนอ่านซึง่ เป็ นคนไทยอย่างเรายัง
ยอมรับ ทังขนาด ้ รูปร่างตัวอักษรภาษาไทยที่ปรากฎเป็ นชื่อร้ านตามตึกต่างๆ รวมไปถึงการ
แต่งตัวของคน ซึง่ แสดงถึงการลงทุนของสานักพิมพ์ ผู้เขียน และทีมงานที่ต้องเดินทางมาประเทศ
ไทยเพื่อหาข้ อมูลฉากมาอ้ างอิงได้ อย่างน่าเชื่อถือ และแน่นอนว่าการให้ รายละเอียดของทังฉาก ้
ตัวละครประกอบฉาก รวมทังทุ
้ กสิ่งที่ปรากฎบนหน้ าหนังสือการ์ ตนู อย่างสมจริงนันยิ ้ ่งสร้ าง
ความรู้สกึ “เชื่อ” ในเรื่ องราวให้ เกิดแก่ผ้ อู า่ นอย่างมาก
และเพราะการ์ ตนู เรื่ องนี ้จะไร้ ความน่าเชื่อถือไปทันทีหากขาดฉาก
สถานที่ รวมทังมิ ้ ตขิ องเวลาที่ระบุอย่างชัดเจนและถูกต้ อง ทาให้ ผ้ เู ขียนอย่างอุราซาว่าได้ ทา
การบ้ านกับการคิดฉากอย่างหนัก โดยเฉพาะฉากหลักอย่างฉากในวัยเด็กของเคนจิ ซงึ่ ผู้เขียนผูก
โยงให้ ตวั ละครส่วนร่วมกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นจริงบนหน้ าประวัติศาสตร์ เช่น ดองกี ้ได้ มาดูการ
ถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์เพื่อดูเหตุการณ์ยานอพอลโล 11 ลงจอดบนดวงจันทร์ เมื่อวันที่ 20
กรกฎาคม 1969 ที่บ้านของเคนจิ หรื อการจัดงานเอ็กซ์โปอันเป็ นที่ฮือฮาของคนญี่ปนุ่ EXPO
'70 (The Japan World Exposition ) ที่โอซาก้ า ช่วงเดือนมีนาคม-กันยายน ปี 1970 อุราซาว่า
ก็สร้ างให้ ดองกี ้ยืมจักรยานเคนจิปั่นไปร่วมงาน (แต่สดุ ท้ ายก็ต้องล้ มเลิก) ส่วนเคนจิก็อดไปงาน
เพราะพ่อของเขาเปลี่ยนใจพาครอบครัวไปทะเลแทน นอกจากนี ้ยังสร้ างฉากเหตุการณ์ที่
เด็กผู้ชายแทบทุกคนต่างเคยผ่านช่วงเวลาเหล่านันเหมื ้ อนกัน นัน่ คือการสร้ างฉากให้ เคนจิตงฐาน ั้
117

ทัพลับกลางทุง่ เพื่อสร้ างบรรยากาศของ “สถานที่เก็บความลับ” สาหรับกลุม่ แก๊ งเด็กชายวัยประถม


หรื อการสร้ างร้ านขายขนมและของเล่นของตา-ยายที่กลุ่มเคนจิแวะเวียนอยูเ่ ป็ นประจาก็จะมี
รายละเอียดของขนมและของเล่นในช่วงยุค 60-70 ตรงตามปี ค.ศ. ที่เหตุการณ์ เกิดขึ ้นจริง

ภาพประกอบ 16 ทางเข้ าฐานทัพลับของเคนจิและเพื่อนในวัยเด็ก


ที่มา: http://www.goodreads.com/review/list/160319-seth-hahne

การใส่ใจในฉากและรายละเอียดที่อยูใ่ นฉากให้ ถกู ต้ องตรงตามมิตขิ อง


สถานที่-เวลาที่เกิดขึ ้นจริงดังกล่าว ย่อมทาให้ การ์ ตนู เรื่ องนี ้สร้ างอารมณ์หวนราลึกอดีต หรื อ
nostalgia (ในช่วงปี โชวะที่ 40 หรื อประมาณปี 1969-1971) ให้ แก่ผ้ อู ่าน (ที่แน่นอนว่าเคยเป็ นเด็ก
มาก่อนและโดยเฉพาะชาวญี่ปนเอง) ุ่ ได้ เป็ นอย่างดี
ข. เดธโน้ ต: ฉากเมืองใหญ่สะท้ อนความคิดคนเมือง
เมื่อเรื่ องราวในเดธโน้ ตค่อนข้ างเหนือจริง (โน้ ตสาหรับยมทูตที่ใช้ เขียน
รายชื่อคนตายหล่นลงบนโลกมนุษย์ เด็กหนุม่ แสนชาญฉลาดอย่างยางามิ ไลท์จงึ เก็บโน้ ตมรณะ
ที่วา่ นี ้มาใช้ ฆา่ คนชัว่ เสียเอง) แต่การที่ผ้ เู ขียนเลือกจะให้ “ความเหนือจริง” เกิดขึ ้นในฉาก สถานที่
ที่ที่มีอยูจ่ ริงและเป็ นที่ที่คนอ่านคุ้นเคย นัน่ คือประเทศ “ญี่ปน” ุ่ ผ่านการสร้ างตัวละครเอกซึง่ เป็ น
เด็กหนุม่ วัยรุ่นชาวญี่ปนุ่ 2 คนที่เก่งกาจในการวางแผนและการสืบสวนให้ ตอ่ สู้กนั ภายในประเทศ
นันย่
้ อมสร้ างความท้ าทายของผู้เขียนในแง่ฉาก-สถานการณ์ เช่นเดียวกันกับ ทเวนตี ้ฯ ซึง่ ต้ องตอบ
118

โจทย์วา่ “จะทาอย่างไรให้ การครองโลกโดยอาศัยเดธโน้ ตของยางามิ ไลท์ดนู า่ เชื่อถือ” (ในขณะ


ที่ทเวนตี ้ฯ ต้ องสร้ างการครองโลกของ “เพื่อน” โดยอาศัยบันทึกคาทานายของเคนจิให้ ดนู า่ เชื่อถือ)
ข้ อกังขาในการสร้ างให้ เด็กหนุม่ ชาวญี่ปนสามารถท ุ่ าให้ นานาประเทศ
เชื่อในสถานะความเป็ นพระเจ้ า (เหมือนเช่น “เพื่อน” ในทเวนตี ้) นันได้ ้ มลายหายไปเพราะผู้เขียน
ฉลาดที่จะใช้ วิธีการสร้ าง “กฎ” ในการใช้ เดธโน้ ตซึง่ เปรี ยบเสมือนตัวละครแบบ “ผู้วิเศษ” ที่มี
อานาจเกินหยัง่ ถึงมาช่วยทลายกาแพงเรื่ อง ฉาก-สถานที่ไปโดยสิ ้นเชิง เพราะผู้ครอบครองเดธ
โน้ ตอย่างไลท์ ไม่จาเป็ นต้ องเดินทางออกไปจากห้ องสี่เหลี่ยมแคบๆ ในบ้ านของตนเองก็ยงั สามารถ
ฆ่าคนได้ ผ่านการอ่านข่าวหรื อหาข้ อมูลอาชญากรตามสื่อต่างๆ ที่อยูร่ ายรอบตัว (ทังโทรทั ้ ศน์
หนังสือพิมพ์ หรื อทางออนไลน์) ดังนันการที
้ ่เด็กหนุม่ ชาวญี่ปนจะสามารถฆ่
ุ่ าอาชญากรตัว เอ้
ระดับโลกได้ จงึ ทาได้ อย่างง่ายดายและสมเหตุสมผลโดยที่ผ้ เู ขียนไม่ต้องสร้ างฉาก-สถานการณ์การ
ฆาตกรรม หรื อฉากต่อสู้ให้ ตื่นตาตื่นใจเหมือนเช่นการ์ ตนู ที่ต้องประลองกาลังฝี มือกันทางร่างกาย
เพราะไลท์ ผู้ครอบครองเดธโน้ ตนันสามารถต่ ้ อสู้-ควบคุมให้ คนตายได้ แค่เพียงจรดปลายปากกา
ณ ที่ใดก็ได้ ดังนันภาพฉาก-สถานการณ์
้ ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงเป็ นความแปลกใหม่สาหรับผู้อ่านที่จะ
ได้ เห็นภาพความเป็ น “เมือง” ของญี่ปนผ่ ุ่ านตึกรามบ้ านช่อง ฉากรถไฟฟ้าใต้ ดนิ หรื อห้ องสี่เหลี่ยม
แคบๆ ซึง่ เป็ นที่กกั ขังตัวไลท์ รวมทังเซฟเฮ้
้ าส์ของทีมสืบสวนสอบสวนไล่ลา่ ตัวคิระ

ภาพประกอบ 17 ตัวอย่ างฉากที่แอลใช้ วางแผนต่ อสู้ไล่ ล่าเจ้ าของเดธโน้ ตในห้ องแคบ-มืด


ที่มา: http://www.sj.in.th/forum.php?mod=viewthread&tid=9322&extra=page%3D1
119

ฉาก เหตุการณ์ข้างต้ นกลายเป็ นเสน่ห์ให้ กบั การ์ ตนู เรื่ องนี ้เพราะเดธโน้ ต
ได้ แสดงให้ เราเห็นว่าการ์ ตนู ต่อสู้ที่สนุก (ไม่วา่ จะต่อสู้ทางร่างกายหรื อปั ญญาเหมือนเช่นในเดธ
โน้ ต) ไม่จาเป็ นต้ องให้ ตวั ละครออกเดินทางไปนอกโลก และไม่จาเป็ นต้ องเนรมิตรายละเอียด
ประกอบฉากที่เหนือจินตนาการ แต่ฉากซ ้าซากจาเจที่เราชินตากันอยูแ่ บบภาพเมืองก็เสริมสร้ าง
เรื่ องราวให้ สนุกและน่าเชื่อถือได้ เช่นกัน หนาซ ้ายังสอดคล้ องกับเนื ้อหาของเรื่ องที่กล่าวถึงความคิด
และสภาพจิตใจของคนเมืองเหมือนเช่นเด็กหนุม่ วัยรุ่นซึง่ เป็ นตัวเอกของเรื่ องอย่างยางามิ ไลท์ (คิ
ระ) ได้ เป็ นอย่างดีอีกด้ วย
“ในเดธโน้ตถึงจะสูก้ นั ตลอดทัง้ เรื ่องแต่มนั ไม่มีฉากต่อสูแ้ บบเรื ่ องอื น่ มัน
เลยเป็ นความแปลกใหม่ทีท่ าให้เราเห็นฉากต่อสูแ้ บบเมื องสมัยใหม่” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี,
สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
ค. ยอดนักสืบจิ๋วฯ: สถานที่ปิดตายคือฉากหลักของเรื่ องแนวสืบสวน
จากทังหมด
้ 6 เรื่ อง ยอดนักสืบจิ๋วเป็ นเพียงเรื่ องเดียวที่เป็ นแนว
สมจริง (reality) มากที่สดุ แม้ จะมีกิมมิค (gimmick) ที่ชว่ ยลดทอนความไม่สมจริงเรื่ องการ
ปลอมเสียงเป็ นผู้ใหญ่ขณะคลี่คลายคดีของตัวเอกอย่างโคนันตามที่กล่าวไปแล้ วก็ตาม แต่
ด้ วยเนื ้อเรื่ องที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีฆาตกรรม และเน้ นภาพขันตอน-วิ ้ ธีการสืบสวนและ
คลี่คลายคดีของโคนันในที่เกิดเหตุ ทาให้ ฉาก สถานการณ์ที่เกิดขึ ้นในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงต้ องรองรับ
“ความจริง” ให้ มากที่สดุ เพื่อให้ เข้ ากับแนวเรื่ อง และเพื่อให้ ผ้ อู า่ นคิด ไขคดี โดยใช้ หลักเหตุผล
ให้ ได้ มากที่สดุ ดังนันสถานที
้ ่เกิดเหตุที่เป็ นห้ องปิ ดตาย เกาะที่ถกู ตัดขาด บ้ านร้ าง หรื อเรื อ
สาราญในทะเล ซึง่ สามารถ “จากัด” พื ้นที่เกิดเหตุฆาตกรรมให้ อยูใ่ นวงแคบๆ ได้ จึงเป็ นฉาก
สถานการณ์หลักของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ เพื่อให้ ยอดนักสืบจิ๋วอย่างโคนัน “แสดงความสามารถ” ทัง้
ความช่างสังเกต ไหวพริบ และระบบความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผลในการสืบคดีภายในพื ้นที่จากัดนัน้
ได้ อย่างเต็มที่ และนอกจากการสร้ างฉากในที่จากัดแล้ วในยอดนักสืบจิ๋วฯ ยังให้ ความสาคัญกับ
การใส่รายละเอียดประกอบฉากจาพวกอุปกรณ์ภายในครัวเรื อนเพราะสามารถดัดแปลงเป็ นอาวุธ
ได้ เช่น กระป๋ อง ไขควง น ้ามัน เชือก ฯลฯ
แต่แม้ ฉาก เหตุการณ์จะรองรับเนื ้อเรื่ องและการกระทาของตัวละคร (การ
สืบคดี) ได้ อย่างสมจริง แต่ฉากที่เป็ นเรื่ องจริง ไม่ใช่เรื่ องจินตนาการเช่นนี ้ย่อมทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ เบื่อ
ในความจาเจของฉาก เหตุการณ์ได้ ง่ายเช่นกัน ดังนันทางออกของการ์ ้ ตนู เรื่ องนี ้จึงเหมือนเช่น
ละครชุดทางโทรทัศน์ (ซีรี่ส์) หรื อละครซิทคอม (situation comedy) ที่ต้องหลีกหนีความจาเจใน
ฉากเดิมๆ (ที่แม้ ตวั เอกจะเดินทางไปเที่ยวทัว่ ญี่ปนแล้ ุ่ วก็ตาม) ด้ วยการเพิ่มตัวละครใหม่ เพื่อสร้ าง
120

ปมปั ญหาใหม่ๆ ให้ นา่ สนใจขึ ้นมา รวมทังน ้ าเสนอคดีที่ไม่มีเงื่อนปมซับซ้ อนมากนัก เพื่อให้ กลุม่
แก๊ งเพื่อนวัยประถมของโคนันได้ แสดงความสามารถ ช่วยกันสืบสวนและคลี่คลายคดีเพื่อเปลี่ยน
บรรยากาศของเรื่ อง และเพื่อเอาใจกลุม่ ผู้อา่ นที่เป็ นเด็กอีกทางหนึง่ ด้ วย
และสาหรับการ์ ตนู ที่มีเรื่ องราวการต่อสู้เป็ นปมขัดแย้ งหลักของเรื่ องแล้ ว
การออกแบบ “ฉาก-สถานการณ์การต่อสู้” ก็เป็ นหัวใจสาคัญที่จะช่วยสร้ างสีสนั และความสนุก
ตื่นเต้ นให้ ผ้ อู ่านได้ ไม่น้อย ซึง่ จากทัง้ 6 เรื่ องนันก็ ้ พบว่ามี 3 เรื่ องที่ออกแบบฉากต่อสู้ได้ อย่าง
น่าสนใจดังนี ้
ก. การออกแบบฉากต่อสู้
ดราก้ อนบอล: อ่านดราก้ อนบอลก็เหมือนเล่นเกมคอมพิวเตอร์
ความสนุกในการอ่านดราก้ อนบอลนอกจากจะเกิดจากการสร้ างฉาก
ต่อสู้แบบตรงไปตรงมาด้ วยการสร้ างสถานการณ์ให้ มีการแข่งขัน “ศึกประลองยุทธ์” แบบตัวต่อตัว
(ซึง่ เรามักพบเวทีตอ่ สู้แบบเป็ นทางการเช่นนี ้ได้ ในการ์ ตนู แนวต่อสู้แทบทุกเรื่ องเพื่อให้ ตวั ละครเอก
ได้ พิสจู น์พลังฝี มือที่ฝึกฝนมา) ยังเกิดจากการที่ผ้ เู ขียนได้ สร้ างสถานการณ์ให้ ตวั ละครเอกอย่าง
โงคูที่ฝีมือแข็งแกร่งขึ ้นหลังจากได้ ตวั ช่วยทังจาก
้ “ผู้ชว่ ยเหลือ” เช่นพระเจ้ า หรื อจาก ”พลังพิเศษ”
เช่นพลังของร่างแปลงซูเปอร์ ไซย่า พร้ อมๆ กับการ “ฝ่ าด่าน” เอาชนะคูต่ อ่ สู้ที่เก่งยิ่งขึ ้นเป็ น
ลาดับในด่านต่อๆ ไป เช่นการเอาชนะคูแ่ ข่งหลากหลายคาแร็ คเตอร์ ในศึกประลองยุทธ์ หรื อการ
เอาชนะลูกสมุนแต่ละคนของกองทัพเร้ ดริ บบ้ อน
การ “ฝ่ าด่าน” หรื อข้ ามผ่านอุปสรรคของโงคูจงึ เปรี ยบเหมือนการที่ผ้ อู า่ น
ได้ เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ประเภทต่อสู้-ฝ่ าด่านไปเจอคูแ่ ข่งที่เก่งกาจขึ ้นเรื่ อยๆ ซึ่งเป็ นสิ่งที่เด็กส่วน
ใหญ่ชื่นชอบและเข้ าถึงได้ ง่าย ดังนันเมื ้ ่อการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีทงความคิ
ั้ ดสร้ างสรรค์ในการสร้ างด่าน
ต่างๆ แถมยังผสมผสานกับวิธีการเดินเรื่ องที่ฉับไว นี่จงึ น่าจะเป็ นสาเหตุให้ ฉากต่อสู้ในดราก้ อน
บอลดึงดูดความน่าสนใจจากผู้อา่ นรุ่นเยาว์ได้ ไม่ยาก
121

ภาพประกอบ 18 ตัวอย่ างการประกบคู่แข่ งขันในศึกชิงเจ้ ายุทธภพครั ง้ ที่ 21


ที่มา: http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&month=11-
2011&date=20&group=19&gblog=1

นอกจากนี ้การสร้ างสถานการณ์การต่อสู้เป็ นทีม ระหว่างทีมของพระเอก


กับผู้ร้าย เช่นฉากการต่อสู้เซลเกม โดยตัวละครแต่ละฝ่ ายต้ องขึ ้นมาต่อสู้ตวั ต่อตัวจนกว่าจะพบผู้
ชนะ(เหมือนการแข่งมวยปล ้า) ก็ยงั ตอกย ้าความเป็ นการ์ ตนู -เกมของดราก้ อนบอล ซึง่ แน่นอนว่า
ช่วยให้ ผ้ อู ่านชื่นชอบ “เกมการต่อสู้” ในดราก้ อนบอลมากขึ ้นอีก
“ดราก้อนบอลน่าจะเป็ นเรื ่ องแรกๆ ที เ่ ซ็ ตฉากต่อสูเ้ ป็ นที ม ให้อารมณ์
แบบแข่งเกม มันเลยสนุก ...อย่าว่าแต่เด็กๆ เลย ผูใ้ หญ่ก็ชอบ ผมว่าดราก้อนบอลเนีย่ เป็ นต้นแบบ
การสร้างฉากต่อสูท้ ี ม่ ากที ส่ ดุ และหลากหลายที ส่ ดุ เลยนะ” (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์, 20
กันยายน 2554 )
“เขาเปิ ดมิ ติการต่อสูไ้ ว้เยอะมาก ทัง้ สูแ้ บบตัวต่อตัวเหมื อนนักมวย และ
สร้างธรรมเนียมเรื ่องร่ างแปลง การเพิ่มพลังแบบเกิ นลิ มิท การตายแล้วฟื ้ น” (ประสพโชค จันทรมง
คล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม 2554)
“ผมว่าถ้าดราก้อนบอลออกมายุคนี ้ก็คงไม่ดงั แต่มนั เป็ นความแปลกใหม่
ในยุคนัน้ การสร้ างฉากต่อสูไ้ ปเรื ่อยๆ การวาดรายละเอี ยดจาพวกเครื ่ องยนต์กลไก มันทาให้เกิ ด
Toriyama World อย่างมี เอกลักษณ์ แต่เหตุการณ์ช่วงหลังมันเริ่ มซ้ าๆ จนเดาทางได้หมด มัน
เลยเหมาะกับนักอ่านรุ่นเด็ก” (อิศเรศม์ ทองปั สโณว์, สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
122

ด้ วยการสร้ างฉากต่อสู้ที่เหมือนการเล่นเกมเช่นนี ้นี่เองจึงทาให้ แม้ ดรา


ก้ อนบอลจะมีฉากต่อสู้ที่วดั ผลแพ้ -ชนะ และมีความตายเกิดขึ ้นอยู่บ้าง (ฝั่ งตัวร้ ายตายจริงในบาง
ฉากแต่ผ้ เู ขียนไม่ขบั เน้ นภาพการตาย ส่วนฝั่ งตัวเอกไม่มีใครตายจริง) แต่ก็ทาให้ ความรุนแรงใน
ฉากต่อสู้ของดราก้ อนบอลนันถู ้ กลดทอนลงไปไม่น้อย
วันพีซ: ตัวละครประกอบเพิ่มความเร้ าใจให้ ฉากต่อสู้
ทังวั
้ นพีซ และนินจาคาถาฯ ต่างได้ รับอิทธิพลจากงานที่แวดวงนักเขียน
การ์ ตนู ต่างยกย่องอย่างดราก้ อนบอล โดยเฉพาะแนวทางการสร้ างฉากต่อสู้แบบเปิ ดเผยและ
เป็ นการประลองกันแบบ “ตัวต่อตัว” แน่นอนว่าการต่อสู้ระหว่างสมาชิกในกลุม่ พระเอกกับฝ่ าย
ตรงกันข้ ามแบบตัวต่อตัวสร้ างความ “เร้ าใจ” ให้ ผ้ อู า่ นได้ มากกว่าการสร้ างฉากต่อสู้ประเภท
ตะลุมบอน หรื อฉากสงคราม นัน่ เพราะสายตาทุกดวง (ของทังผู ้ ้ ชมการต่อสู้ในเรื่ อง และของ
ผู้อา่ นเอง) ย่อมจับจ้ องไปที่ตวั ละครที่มีเพียง 2 คนเท่านัน้ การสร้ างฉากต่อสู้เช่นนี ้ยังสามารถ
เชิดชูความเป็ นฮีโร่ของตัวละครได้ ง่ายดายผ่าน “การบรรยายของผู้ชมการต่อสู้” เช่นฉากต่อสู้
ระหว่างพระเอกอย่างลูฟี่กับอารอน มนุษย์เงือกนันมี ้ ผ้ ชู มที่เป็ นทังพรรคพวกของลู
้ ฟี่ – อารอน และ
ชาวบ้ านทัว่ ไป ซึง่ ชาวบ้ านส่วนใหญ่ไม่ร้ ูจกั ลูฟี่ดังนันจึ ้ งเอ่ยปากปรามาสฝี มือลูฟี่ตังแต่ ้ เริ่มฉากต่อสู้
แต่ตวั ละครอย่างโซโลซึง่ เป็ นเพื่อนกับลูฟี่และยืนดูการต่อสู้ครัง้ นี ้อยูด่ ้ วยกลับมีเสียงคิดในใจว่าเกม
นี ้เขาเชื่อมัน่ ว่าลูฟี่ต้ องเป็ นฝ่ ายชนะแน่นอน
จากตัวอย่างการบรรยายเกมต่อสู้ของผู้ชมรอบข้ างข้ างต้ น นอกจากจะ
ช่วยให้ ผ้ อู ่านเข้ าใจสถานการณ์ของตัวละครมากขึ ้นแล้ ว ยังทาให้ คนอ่านรับรู้ความรู้สึกของผู้คนที่
อยูร่ ายรอบการต่อสู้ซงึ่ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ลุ้นและเอาใจช่วยตัวละครมากขึ ้นอีกด้ วย
แต่ในขณะที่ฉากต่อสู้ของดราก้ อนบอลนันสู ้ ้ กนั ค่อนข้ างจริงจัง โดยอาศัย
พลังฝี มือเพื่อเอาชนะคะคานกันโดยไม่คอ่ ยอาศัย “ความบังเอิญ” เป็ นทางออก วันพีซมักอาศัย
”พลังใจ” ของตัวละคร (ตามที่กล่าวไปแล้ วในหัวข้ อความขัดแย้ ง conflict) มากกว่าพลังฝี มือ
และในหลายๆ ฉาก-สถานการณ์ ความบังเอิญก็กลายมาเป็ นทางออก โดยเฉพาะในฉากต่อสู้ของ
ตัวละครหลักที่ไม่มีพลังฝี มือโดดเด่นแถมพลังใจก็ยงั ไม่แข็งแกร่งมากนัก เช่นอุซป ที่ผ้ เู ขียนได้ สร้ าง
อาวุธคูก่ ายคือหนังสติ๊กสาหรับการซุม่ ยิง ซึง่ แม้ จะเป็ นอาวุธที่ดเู หมือน “ของเด็กเล่น” แต่
ของเด็กเล่นเช่นนี ้นี่เองที่มีคณ ุ สมบัตยิ ืดหยุ่น และทาให้ ผ้ อู า่ นคาดเดาผลลัพธ์ได้ ยากจากทิศทาง
ของหิน หรื อวัสดุอื่นๆ ที่ถกู ปล่อยออกมาจากหนังสติก๊ จนอาจกล่าวได้ วา่ อาวุธเช่นนี ้นี่เองที่
สามารถสร้ าง “ความบังเอิญ” ให้ เกิดขึ ้นในฉากต่อสู้ได้ อย่างน่าเชื่อถืออีกทังยั ้ งเข้ ากับโทนของเรื่ อง
ที่เน้ นการสร้ างมุขตลกได้ ดีอีกด้ วย เช่นเดียวกับตัวละครอย่างลูฟี่ที่มีพลังพิเศษคือร่างกาย
123

สามารถยืดหยุ่นได้ ตามใจชอบ ซึง่ การสร้ างความพิเศษเช่นนี ้ให้ กบั ตัวละครย่อมส่งผลให้ ฉากต่อสู้


ในวันพีซเต็มไปด้ วย “ความยืดหยุ่น” (เหมือนเช่นลูฟี่) และลดทอนความรุนแรงของฉากต่อสู้ลงไป
ไม่น้อย จนทาให้ คอการ์ ตนู แนวต่อสู้แบบจริงจังอาจไม่ชื่นชอบ “ฉากต่อสู้” ในวันพีซมากเท่าที่ควร
นินจาคาถา: ฉากต่อสู้หลากหลาย อลังการ
อาจกล่าวได้ วา่ ฉากต่อสู้ของนินจาคาถาฯ นันป็ ้ นจุดขายของการ์ ตนู เรื่ อง
นี ้เลยทีเดียว เพราะนอกจากจะมีการต่อสู้แบบ “ตัวต่อตัว” ในฉากการประกบคูแ่ ข่งขันเพื่อสอบ
เป็ นนินจาระดับจูนินที่ได้ รับอิทธิพลมาจากฉากต่อสู้ในดราก้ อนบอลแล้ ว ยังมีฉากต่อสู้ของนินจาที่
ปฏิบตั ภิ ารกิจจริง (ไม่ใช่แค่โรงเรี ยนนินจา) ที่สร้ างความตื่นตาตื่นใจให้ ผ้ อู ่านอย่างมาก เพราะ
นินจาคาถาฯ ทาให้ ผ้ อู ่านได้ เห็นภาพการทางานของนินจาที่แท้ จริงแบบเปิ ดเผยเป็ นขันเป็ ้ นตอน ซึง่
ต้ องอาศัยทีมเวิร์คในการทางาน และนอกจากฉากการต่อสู้แบบตัวต่อตัว และการต่อสู้แ บบทีม
แล้ วความพิเศษในพลังคาถาของนินจาทาให้ ตวั ละครสามารถ “อัญเชิญ” สัตว์วเิ ศษ เหมือนเช่น
นารูโตะตัวเอกของเรื่ องที่สามารถอัญเชิญปู่ กบ มาช่วยในฉากสู้รบ รวมทังในบางครั ้ ง้ ยังมีพลังของ
”สัตว์หาง” อย่างจิ ้งจอกเก้ าหางที่ถกู ผนึกเอาไว้ ในร่างกายผุดโผล่ขึ ้นมาช่วยในฉากต่อสู้อีกด้ วย
ดังนันจึ
้ งเรี ยกได้ วา่ “ฉากต่อสู้” ของนารูโตะนัน้ “ครบรส” สาหรับผู้อา่ นที่ชื่นชอบความจริงจังใน
ฉากการต่อสู้ เพราะมีทงฉากต่ ั้ อสู้ที่หลากหลายอย่างมากทังตั ้ วต่อตัว ต่อสู้แบบทีม ต่อสู้แบบใช้
พลังพิเศษ (สัตว์วิเศษ-พลังพิเศษประจาตระกูลซึง่ มีแตกต่างกัน) ดังนันด้ ้ วยองค์ประกอบที่เป็ น
“ตัวช่วย” ในฉากต่อสู้ที่กล่าวมาทังหมดนี ้ ้จึงล้ วนสร้ างความอลังการและสร้ างผลลัพธ์ที่ยากจะคาด
เดาให้ กบั การ์ ตนู เรื่ องนี ้อย่างมาก
“ฉากต่อสูม้ นั มี อะไรมากกว่าแค่ซดั ดาวกระจาย ต่อยเตะกันอย่างเดียว
เขาคิ ดบทบู๊ไว้มาก วางแผนต่อสู้ดี เหมื อนตัวละครที ใ่ ช้เงาต่อสู้ แทนที จ่ ะใช้ตวั เองสู้ แต่ใช้สมองสู้
แทน มันทาให้รู้สึกว่าเออแฮะแปลก...เจ๋ งดี แค่นงั่ อยู่เฉยๆ แต่ถา้ วางแผนคานวณทิ ศทางของ
แสงอาทิ ตย์กบั เงาทีส่ ะท้อนบนพืน้ ให้ดีๆ มันก็เล่นงานคู่ต่อสูไ้ ด้เหมื อนกัน” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ ,
สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
“วันพีซเน้นการต่อสูเ้ ดี ย่ วต่อเดี ย่ วมากกว่า แต่นารู โตะมันสูก้ นั สนุกเพราะ
แฟนตาซี เยอะ ทัง้ คาถา เวทมนตร์ เอาสัตว์ อสูรสูก้ นั อลังการทุกกลุ่ม ทัง้ หมู่บา้ น ผูเ้ ขี ยนเขาผูก
แผนการต่อสูไ้ ด้น่าสนุกกว่า” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
124

ภาพประกอบ 19 สัตว์ วิเศษที่มาร่ วมต่ อสู้กับนารู โตะเมื่อได้ ยนิ คาถาอัญเชิญ


ที่มา: http://www.clanvamp.com/newvamp/boardread.php?topic=1281

ดังนันวิ
้ ธีการสร้ างฉากเหตุการณ์ของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจึงสรุปได้ ดงั นี ้

เรื่อง จุดเด่ นในการสร้ างฉาก-เหตุการณ์


วันพีซ ฉากหลากหลายมีรายละเอียดประกอบฉากมาก
นินจาคาถาฯ ฉากเปิ ดโล่งฉีกความคุ้นเคยเรื่ องภาพนินจาที่ชอบซ่อนตัว
ดราก้ อนบอล ฉากหลากหลาย ปรับเปลี่ยนตลอดเวลา

ตารางที่ 11 เรื่องที่สร้ างฉากจินตนาการขึน้ ใหม่

เรื่อง จุดเด่ นในการสร้ างฉาก-เหตุการณ์


ทเวนตี ้ฯ ฉากตรงตามมิตเิ วลาและมีรายละเอียดปลีกย่อยที่สมจริง
เดธโน้ ต ฉากเมืองใหญ่ของญี่ปนช่ ุ่ วยขับเน้ นเนื ้อเรื่ อง
ยอดนักสืบจิ๋วฯ ฉาก/สถานที่ที่มีพื ้นที่จากัดและเน้ นอุปกรณ์ประกอบฉากที่สมจริง

ตารางที่ 12 เรื่องที่สร้ างฉากเหตุการณ์ บนโลกความเป็ นจริง


125

เรื่อง วิธีสร้ างความโดดเด่ นในฉากต่ อสู้


ดราก้ อนบอล สร้ างเกมต่อสู้เหมือนเกมฝ่ าด่านในคอมพิวเตอร์
วันพีซ ต่อสู้ตวั ต่อตัว และเน้ นอุปกรณ์และพลังพิเศษแบบแปลกใหม่
นินจาคาถาฯ สร้ างฉากต่อสู้หลากหลาย จริงจัง อลังการ

ตารางที่ 13 วิธีสร้ างฉากต่ อสู้ของเรื่ องที่เน้ นแนวต่ อสู้

1.6 สัญลักษณ์ (Symbol)


แม้ การ์ ตนู จะตอบสนองกลุม่ ผู้อา่ นเยาวชนเป็ นหลัก แต่สญ ั ลักษณ์ ในเรื่ องราวที่ต้องอาศัย
การสังเกต-ขบคิดเพื่อตีความถึงนัยยะบางอย่างที่ผ้ เู ขียนต้ องการจะสื่อนันก็ ้ ยงั มีปรากฎอยูใ่ นสื่อ
ชนิดนี ้ไม่น้อยเลยทีเดียว ซึ่งจากกลุม่ ตัวอย่างที่เลือกมาศึกษาพบว่ามีการสอดแทรกสัญลักษณ์ใน
เรื่ องราวได้ อย่างชัดเจนในประเด็นต่อไปนี ้
1.6.1 ดราก้ อนบอล : ความแข็งแกร่ งพึงได้ มาด้ วยความโกรธ
ในขณะที่นินจาคาถาฯ ต้ องการจะบอกให้ “ควบคุมความโกรธ” แต่ดราก้ อนบอล
กลับพูดตรงกันข้ ามนัน่ คือให้ “ระเบิดความโกรธ” ด้ วยเนื ้อหาและแก่นเรื่ องของดราก้ อนบอล
ที่ตรงไปตรงมาคือต่อสู้-พัฒนาตนเอง-ช่วยเพื่อน-ช่วยโลก แนวทาง “การต่อสู้” ของตัวเอกใน
การ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงกลายเป็ นสัญลักษณ์ที่นาเสนอในทางลบแก่เด็กและเยาวชนโดยไม่ร้ ูตวั เพราะ
ในช่วงท้ ายของเรื่ อง โทริ ยาม่า อากิระอาศัยการคลี่คลายเรื่ องและการพัฒนาตัวละครเอกอย่างโงคู
ด้ วย “ความโกรธ” ยิ่งตัวละครถูกกระตุ้นด้ วยความโกรธแค้ น เช่นเพื่อนพ้ อง หรื อคนรักถูกทาร้ าย
โงคูก็จะยิ่งมีพลังเพิ่มขึ ้นจนแปลงร่างเป็ นซูเปอร์ ไซย่าเพื่อเอาชนะฝ่ ายตรงข้ ามได้ หรื อกระทัง่ การ
ฝึ กฝนลูกชายของโงคูอย่าง “โงฮัง” ซึง่ มีนิสยั อ่อนโยนไม่ได้ ชื่นชอบการต่อสู้ก็ยงั ต้ องฝึ กปรื อตัวเอง
ให้ “ระเบิดความโกรธ” ออกมาเพื่อพัฒนาพลังของตัวเองในการเอาชนะจอมวายร้ ายอย่างเซล
แม้ ผ้ เู ขียนอาจไม่ตงใจจะบอกว่
ั้ าความโกรธทาให้ มีพลังแข็งแกร่ง แต่ก็ปฏิเสธ
ไม่ได้ เช่นกันว่าผู้อา่ นโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนย่อมซึมซับแนวคิดเรื่ อง “ความโกรธ”ผ่านการ
กระทาของตัวละครที่พวกเขาชื่นชอบไว้ และอาจส่งผลต่อการเลียนแบบเป็ นเยี่ยงอย่างใน
ชีวิตประจาวันด้ วยการ “เอาชนะผู้อื่นด้ วยความโกรธ” โดยไม่ร้ ูตวั
“ผมว่าโทริ ยาม่า อากิ ระ เขาเหมื อนผูใ้ หญ่ทีเ่ ป็ นเด็กตลอดกาลน่ะ เขาไม่ได้คิดถึง
ประเด็นนี ้ แต่ถา้ เด็กๆ อ่านเห็นพระเอกทีเ่ ขาชอบเพิ่มพลังได้เพราะโกรธคนอืน่ เด็กๆ ก็อาจจะทา
ตามได้ ...มันไม่ดีแน่ๆ” (ทรงวิทย์ สี่กิตกิ ลุ , สัมภาษณ์, 12 มิถนุ ายน 2554)
126

1.6.2 ทเวนตีฯ้ : พลังแห่ งคาว่ า “เพื่อน”


การตังค้ าถามถึงความหมายที่แท้ จริงของคาว่า “เพื่อน” ถูกถ่ายทอดผ่าน
สัญลักษณ์และการกระทาของตัวละครในเรื่ องอยู่ตลอดเวลา เริ่มตังแต่
้ การตังค
้ าถามแบบ
ตรงไปตรงมาผ่านชายลึกลับ ตัวการร้ ายของเรื่ องที่คิดทาลายล้ างโลกโดยเรี ยกตัวเองว่า “เพื่อน”
โดยการสร้ างให้ “เพื่อน” ปิ ดบังใบหน้ าด้ วยการพันผ้ าพันแผลเอาไว้ ซึง่ อาจเป็ นสัญลักษณ์บง่ บอก
ถึงการสร้ างความสัมพันธ์กบั ใครสักคนที่เราคิดว่าน่าจะเรี ยกเขาได้ วา่ เป็ นเพื่อนแท้ ได้ เต็มปากนัน้
ต้ องมองอย่างลึกซึ ้งถึงจิตใจภายในมิใช่เพียงแค่รูปร่างหน้ าตาภายนอกโดยผิวเผิน (เพราะหากมอง
เพียงผิวเผินเหมือนประชาชนที่เชื่อในกลลวงตาของ “เพื่อน” ก็อาจต้ องตกเป็ นทาสทางความคิด
ของ “เพื่อน” ในที่สดุ )
“เพื่อนคืออะไร”...เราอาจพบคาตอบนี ้ได้ จากผลพวงแห่งการกระทาของ ”เพื่อน”
เพราะเมื่อเคนจิ ตัวเอกของเรื่ องเริ่มรู้วา่ “เพื่อน” กาลังปฏิบตั กิ ารทาลายล้ างโลกตามบันทึกคา
ทานายที่เขาและกลุม่ เพื่อนสนิททาขึ ้นสนุกๆ ในวัยเด็ก เคนจิจงึ ต้ องลงทุนบากหน้ าไปขอร้ อง ”
กลุม่ เพื่อน” ในวัยเด็ก (ที่ตา่ งก็เติบโตเป็ นผู้ใหญ่มีภาระมากมายหลากหลายให้ ต้องแบกรับ) ให้
ช่วยกันสละชีวิตส่วนตัวเพื่อส่วนรวม นัน่ คือการร่วมมือกันแก้ ไขวิกฤติโลกที่เกิดจากเรื่ องเด็กเล่น
ของพวกเขา ซึง่ กลุม่ เพื่อนเหล่านันต่ ้ างตอบรับเข้ าร่วม “ขบวนการเคนจิ” ไม่เว้ นแม้ แต่อนั ธพาลที่
ชอบแกล้ งเพื่อนอย่างยัมโบ มาโบเองก็ยงั มีสว่ นช่วยเหลือขบวนการเคนจิเช่นกัน
เสียงตอบรับจากเพื่อนพ้ องในวัยเด็กของเคนจิจงึ เป็ นสัญญะที่อาจบ่งบอกถึง
ความหมายที่แท้ จริงของคาว่าเพื่อนในสายตาของผู้เขียน นัน่ คือไม่วา่ จะอย่างไร “เพื่อนก็คือเพื่อน”
เพื่อนไม่ทิ ้งเพื่อน และเพื่อนย่อมเสียสละเพื่อเพื่อนได้ เสมอ
ในอีกคาตอบของคาถามว่า “เพื่อนคืออะไร” อาจนิยามได้ วา่ “เพื่อนคือสิ่งล ้าค่า
ของชีวิต” ที่มีความสาคัญ และทรงอิทธิพลต่อความคิดและการกระทาของคนเรามากพอจะทาให้
เกิดเรื่ องดี-เลวตามมา เหมือนเช่น “เพื่อน” ตัวละครในเรื่ องที่โหยหาเพื่อนผู้ยกย่องและเทิดทูนใน
ตัวเขา ดังนันเมื ้ ่อไม่ได้ รับในสิ่งที่เขาโหยหาจึงทาให้ เกิดการ “ชวนมาเล่นกันอีกครัง้ ” ของเด็กชาย
คนหนึง่ โดยนาเอาเรื่ องสนุกในวัยเด็กมาจับปั น้ ให้ เป็ นเรื่ องจริงอันชัว่ ร้ าย (แผนการทาลายล้ างโลก)
เพื่อปั่ นหัว “กลุม่ เพื่อน” อันเหนียวแน่นของเคนจิให้ สานึกและยอมรับการดารงอยูข่ อง “เพื่อน”
ในทางตรงกันข้ ามเคนจิเองก็อาศัยแรงใจจากกลุม่ เพื่อนในวัยเด็กเป็ นพลังขับเคลื่อนให้ ตอ่ สู้กบั
แผนการร้ ายของ “เพื่อน” เช่นกัน
1.6.3 ทเวนตีฯ้ : พลังของดนตรี
ความเชื่อของผู้เขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่าในเรื่ องการจัดการกับปั ญหา
127

ด้ วยความไม่รุนแรง หรื อด้ วยสันติวิธี (ตามที่กล่าวไปในหัวข้ อแก่นเรื่ อง) ยังถูกนาเสนอผ่าน


สัญลักษณ์อีกอย่างหนึง่ นัน่ คือ “ดนตรี ” อุราซาว่าเชื่อในพลังของดนตรี อย่างมาก โดยปรากฎ
อยูใ่ นสัญลักษณ์ตลอดทังเรื ้ ่ อง ไม่วา่ จะเป็ นชื่อเรื่ องของการ์ ตนู “20th Century Boys ” ก็มาจาก
ชื่อเพลงของวงดนตรี ร็อคชาวอังกฤษ T-Rex และเพลงดังกล่าวก็ถกู นามาใช้ ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้
พร้ อมกับเฉลยในตอนท้ ายว่า เพลงเพียงหนึง่ เพลงก็สามารถเปลี่ยนแปลง-เยียวยาจิตใจคนฟั งได้
เพราะเมื่อตัวละครอย่างคัตสึมาตะคุง (“เพื่อน” คนใหม่) ที่กาลังกระโดดตึกดาดฟ้าโรงเรี ยนอยูน่ นั ้
ได้ ฟังเพลง 20th Century Boy (ที่เคนจิแอบเอามาออกอากาศ) เพลงเพลงนี ้กลับทาให้ คตั สึมาตะ
คุงเปลี่ยนใจไม่ฆา่ ตัวตายได้
นอกจากนี ้ตัวละครเอกอย่างเคนจิ ก็ได้ แต่งเพลงที่แทบจะไม่มีเนื ้อหาให้ จบั ต้ องได้
(เกือบทังเพลงก็
้ แค่ร้องว่า “กูตาลาลา ซือตาลาลา”) แต่เพลงนี ้กลับทาให้ ผ้ คู นที่ได้ ฟังเกิด
ความรู้สกึ แช่มชื่น มีพลังขึ ้นมา ทังๆ ้ ที่เคนจิเองก็ไม่ใช่นกั ร้ องเสียงทอง หรื อนักเล่นดนตรี ชนเซี
ั ้ ยน
ดังนันผู
้ ้ เขียนจึงทาให้ ผ้ อู ่านคาดเดาเอาเองว่าเพราะนี่คือ “ดนตรี ที่เล่นด้ วยใจ” ไม่วา่ จะเพราะ
หรื อไม่ คนฟั งย่อมรับรู้ได้ ถึงพลังที่สื่อถึงการ “ให้ กาลังใจ” ผู้คนที่กาลังตกอยูใ่ นภาวะหดหู่ สิ ้นหวัง
กับการนอนรอวันตายจากไวรัสฝี มือ “เพื่อน”
อีกทังในเรื
้ ่ องนี ้ยังได้ พดู ถึงการจัดคอนเสิร์ตของเคนจิ โดยเชื่อว่าพลังดึงดูดของ
คอนเสิร์ต ย่อมจะช่วยให้ คนมารวมตัวกันเพื่อแสดงพลังบางอย่าง และแม้ วา่ ผลลัพธ์ที่เกิดกับ
คนที่มาดูคอนเสิร์ตจะไม่ได้ ชว่ ยยับยังให้ ้ “เพื่อน” ปล่อยไวรัสก็ตาม แต่ท้ายที่สดุ สิ่งสาคัญกว่านัน้
ก็คือผู้คนต่างได้ รับความ “อิ่มใจ” กลับไป “เติมเต็ม” ชีวิตในช่วงเวลาที่จิตใจแห้ งแล้ งจากภาวะ
ของโลกที่ถกู ปิ ดกันสื
้ ่อและศิลปะ (เพราะในเรื่ องเด็กๆ ถูกปิ ดกันจากแบบเรี ้ ยนจอมปลอม และ
นักเขียนการ์ ตนู เองก็ถกู ห้ ามเขียนการ์ ตนู ที่เร้ าอารมณ์ผ้ อู า่ น เป็ นต้ น)
ไม่บอ่ ยนักที่เราจะเห็นการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่แปลเป็ นภาษาไทยให้ ความสาคัญกับ
“ดนตรี ” รวมถึงสื่อ-ศิลปะอื่นๆ ว่าช่วยจรรโลงจิตใจ จรรโลงโลกได้ (มีอยูบ่ ้ างเหมือนกันแต่เน้ นไป
ที่การแข่งขัน-การพัฒนาความสามารถของตัวละครในเรื่ องดนตรี 1) การชูประเด็นดังกล่าว
ผ่านสัญญะต่างๆ ที่กล่าวมาในทเวนตี ้ฯ นอกจากจะช่วยยกคุณค่าของดนตรี แล้ ว ยังยกคุณค่า
ของสื่อและศิลปะรวมทังสื ้ ่อการ์ ตนู เองว่ามีพลังมากพอที่จะขับเคลื่อนมวลชนได้ เช่นกัน
1.6.4 สัญญะแห่ งอาวุธ

การ์ ตนู ญี่ปนแปลเป็


1
ุ่ นไทยที่นาเสนอเรื่ องดนตรี และได้ รับความนิยมก็เช่น วุ่นรัก นักดนตรี
(Nodame Cantabile) (ว่าด้ วยดนตรี คลาสสิคและเปี ยโน) และ ปุปะจังหวะฮา BECK : The Mongolian Chop Squad
(การร้ องเพลงและการตังวงดนตรี
้ ) ทังสองเรื
้ ่ องว่าด้ วยการพัฒนาความสามารถทางดนตรี ของตัวละคร
128

ในศาสตร์ แห่งเรื่ องเล่าเรามักพบ “อาวุธ” เป็ นของคูก่ ายตัวละครในเรื่ องไม่วา่ จะ


ตัวเอก ตัวร้ าย หรื อตัวประกอบ ซึง่ อาวุธในกลุม่ ตัวอย่างที่เลือกมาศึกษานี ้มีอยู่ 3 เรื่ องด้ วยกันที่
แสดงถึงสัญลักษณ์ที่มีความหมายต่อเรื่ องดังนี ้
ก. เดธโน้ ต: ไม่ ใช่ แค่ สมุดโน้ ตแต่ เป็ นตัวแทนแห่ งพลังอานาจ
นอกจากยางามิ ไลท์ และแอล จะเป็ นภาพแทนของวัยรุ่นในปั จจุบนั ที่มี
“อัตลักษณ์” หรื อ “ตัวตน” สูงเพราะคิดและทาตามความคิดของตัวเองอย่างแน่วแน่แล้ ว “เดธ
โน้ ต” หรื อสมุดโน้ ตมรณะที่ยมทูตใช้ เขียนชื่อคนตายนันยั ้ งเป็ นสัญญะของอาวุธที่ร้ายแรงยิ่งกว่า
อาวุธสงคราม หรื ออาวุธชีวภาพที่มนุษย์เราหวาดกลัวกันเสียอีก เพราะเดธโน้ ตเปรี ยบเหมือนภาพ
แทนของ “อานาจ” ที่ขึ ้นอยู่กบั ผู้ใช้ อานาจ (เดธโน้ ต) ว่าจะนาอานาจ (เดธโน้ ต) ในมือนันไปใช้ ้
ในทางใด
แม้ ยางามิ ไลท์ ผู้ได้ รับ “อานาจ” จากเดธโน้ ตจะดูเหมือนเป็ นผู้ปกครอง
อานาจที่ดีในตอนแรก เพราะมีอดุ มการณ์แน่วแน่ในการเขียนเฉพาะชื่อคนร้ ายที่สมควรตายอยูแ่ ล้ ว
ลงในเดธโน้ ต แต่เมื่อสถานการณ์บีบคันจากการสื ้ บสวนของแอลที่เชื่อมัน่ ในระบบยุตธิ รรมของ
ตารวจ และศาลในการตัดสินคนชัว่ ไลท์ก็จาต้ องฆ่าผู้บริ สทุ ธิ์เพื่อปิ ดบังตัวตนที่แท้ จริ งในการเป็ นผู้
ครอบครองอานาจ (เดธโน้ ต)
การกระทาของไลท์จงึ แสดงถึงธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่วา่ ใครก็ตามย่อม
ตกเป็ นเหยื่อของ “อานาจ” (เดธโน้ ต) ได้ อย่างง่ายดาย และ “เดธโน้ ต” ก็ชว่ ยอธิบายให้ เราเข้ าใจ
ได้ วา่ คนดีๆ คนหนึง่ สามารถเปลี่ยนไปเป็ นคนชัว่ ได้ อย่างไร
“ผมชอบความลึกซึ้ งของเรื ่อง การตัง้ คาถามถึงคนที ม่ ี อานาจอยู่ในมื อ
เขาจะใช้อานาจนัน้ อย่างไร โดยไม่ถูกครอบงา ...มันทาให้เดธโน้ตเป็ นการ์ ตูนที ม่ ี แก่นที น่ ่าสนใจ
มากกว่าการ์ ตูนเรื ่ องอื น่ ” (จรูญพร ปรปั กษ์ประลัย , สัมภาษณ์, 24 สิงหาคม 2554)
ข. วันพีซ: ความยืดหยุ่นอันทรงพลัง
โดยปกติแล้ วในเรื่ องเล่าแนวผจญภัย หรื อแฟนตาซี ตัวละครเอกมักจะมี
ตัวช่วยเป็ น “อาวุธ” หรื อ “ความสามารถพิเศษ” ที่โดดเด่นกว่าตัวละครอื่นในเรื่ อง เหมือนเช่นโนบี
ตะก็มีโดราเอมอนเป็ นผู้ชว่ ยให้ หยิบยืมของวิเศษ หรื อแฮร์ รี่ พอตเตอร์ เองก็มีสายเลือดของผู้
ยิ่งใหญ่ในโลกพ่อมดแม่มดอยูใ่ นตัว ซึง่ อาวุธ ความสามารถ หรื อตัวช่วยเหล่านี ้ย่อมทาให้ ตวั
ละครน่าเชื่อถือในยามเอาชนะคูต่ อ่ สู้ ในวันพีซเองก็เช่นกันที่ได้ สร้ างให้ ตวั ละครในเรื่ อง
ส่วนใหญ่มีความสามารถพิเศษมากมาย หลากหลายกันไป (จะกล่าวละเอียดในบทที่ 5 หัว
ข้ อความพิเศษของตัวละคร) รวมทังตั ้ วละครเอกของเรื่ องอย่างลูฟี่ด้ วย แต่ความสามารถ
129

ของลูฟี่นันกลั
้ บไม่ใช่ความสามารถที่ดู “พิเศษ” เหนือผู้อื่นแต่อย่างใดเพราะผลไม้ ปีศาจที่ลฟู ี่ กินเข้ า
ไปนันคื
้ อ “ผลยางยืด” ทาให้ ร่างกายกลายเป็ นยาง สามารถยืด-หดได้ ในขณะที่ตวั ละคร
ประกอบ หรื อตัวละครฝ่ ายร้ ายอื่นๆ ที่กินผลไม้ ปีศาจเข้ าไปกลับมีพลังที่ “พิเศษ” ใกล้ เคียงกันหรื อ
อาจจะมากกว่าด้ วยซ ้า เช่นผลระเบิดของมิสเตอร์ 5 ที่ร่างกายทุกส่วนสามารถแปรเป็ นระเบิดได้
ผลใบมีดของมิสเตอร์ 1 ที่ทาให้ ทกุ ส่วนของร่างกายคบกริบเหมือนมีด หรื อผลสายฟ้า ที่เมื่อ
เสียชีวิตก็ใช้ พลังของสายฟ้าปั๊ มหัวใจตัวเองให้ ฟืน้ ขึ ้นใหม่ได้
การสร้ างให้ ตวั ละครเอกอย่างลูฟี่มี “ความสามารถพิเศษ” ที่ดบู ้ าๆ บอๆ
ไม่นา่ จะนาไปใช้ ประโยชน์ได้ มากนักในการเอาชนะผู้อื่นเช่นนี ้ นัน่ เพราะผู้เขียนอย่างเออิจิโระ
โอดะไม่ต้องการให้ ลฟู ี่ อาศัยเพียงแค่ “ของวิเศษ” ในการเอาชนะผู้อื่นเพียงอย่างเดียว จึงทาให้ ลฟู ี่
นันต้
้ องอาศัย “แรงฮึด” หรื อแรงใจจากคนรอบข้ างในการเอาชนะอุปสรรคอยูเ่ สมอ ใน
ขณะเดียวกันเขาก็ไม่ปฏิเสธ “การพึง่ พาของวิเศษ” เช่นกัน จากสัญญะเรื่ องคุณสมบัตพิ ิเศษ
ของลูฟี่ข้ างต้ นจึงเป็ นการบอกเราเป็ นนัยว่า ของวิเศษซึง่ อาจเปรี ยบเหมือนเทคโนโลยีที่เราพึง่ พา
มันอยูท่ กุ วันนี ้ เป็ นเพียงตัวช่วยที่ทาให้ เราฟั นฝ่ าอุปสรรค หรื อใช้ ชีวิตประจาวันได้ ง่ายขึ ้น แต่การ
อาศัยเพียงตัวช่วยหรื อของวิเศษ (เทคโนโลยี) เพียงอย่างเดียวไม่ทาให้ เราฟั นฝ่ าอุปสรรคได้ เสมอ
ไป เพราะสิ่งสาคัญกว่าของวิเศษ (เทคโนโลยี) ที่เราต้ องพึง่ พานันคื ้ อการพึง่ พามันสมองและสอง
มือของตัวเอง (เหมือนเช่นลูฟี่ที่ต้องพึง่ สมองในการคิดเอาชนะคูต่ อ่ สู้ หรื อพึง่ พลังใจที่มาจากการมี
น ้าใจจากคนรอบข้ าง)
ในอีกทางหนึง่ พลังวิเศษของลูฟี่ที่ทาให้ เขาเป็ น “มนุษย์ยางยืด” ก็
เป็ นสัญญะที่บง่ บอกถึงคนที่จะเก่ง-แกร่ง และเป็ นใหญ่ได้ ในโลกปั จจุบนั อาจไม่จาเป็ นต้ องมี
คุณสมบัตใิ นเชิงทาลายล้ างผู้อื่นเช่น ไฟ ระเบิด หรื อสายฟ้า แต่ควรมีคณ ุ สมบัตใิ นเชิงตังรั้ บหรื อ
หลบหลีก นัน่ คือมี ”ความยืดหยุน่ ” ไม่ตงึ ไม่แข็งแกร่งเหมือนหินผา และไม่ออ่ นนุม่ ปวกเปี ยก
เหมือนสาลี นัน่ เพราะความยืดหยุน่ จะช่วยให้ เราพร้ อมเข้ าใจ-รับมือ-ปรับแก้ สถานการณ์ที่
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วเหมือนเช่นสถานการณ์บนโลกมนุษย์ที่เรากาลังเผชิญกันอยูท่ กุ วันนี ้ได้
เป็ นอย่างดี
ค. นินจาคาถาฯ : จงเรี ยนรู้ ท่ จี ะสะกดความโกรธ (ปี ศาจ) ในจิตใจ
ตามที่กล่าวไปบ้ างแล้ วในหัวข้ อแก่นเรื่ องถึง “ปี ศาจ” ที่มีบทบาทสาคัญ
ในนินจาคาถาฯ โดย “ปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหาง” ถูกผนึกอยูใ่ นร่างตัวเอกของเรื่ องอย่างนารูโตะและ
เป็ นต้ นเหตุให้ เขาต้ อง “สูญเสีย” แทบทุกสิ่งอย่าง ทังครอบครั
้ ว ความรักจากคนรอบข้ างจนทาให้
เขากลายเป็ นนินจานอกคอกในสายตาผู้อื่น นอกจากนี ้ตัวละครอื่นที่มีปีศาจที่เรี ยกว่า “สัตว์
130

หาง” สิงสถิตอยูใ่ นร่างล้ วนต้ องทนทุกข์กบั ความแปลกแยกจากผู้อื่นเช่นกันเหมือนอย่างกาอาระ ผู้


มีหนึง่ หางสถิตอยูแ่ ละมีความสามารถในการควบคุมทรายได้
แม้ “ปี ศาจ” จะถูกนามาใช้ เพื่อสร้ างเรื่ องราวให้ ดลู ึกลับ ตื่นเต้ นในฉาก
ต่อสู้ เพราะด้ วยพลังของปี ศาจที่เรี ยกว่าสัตว์หางนันเปรี ้ ยบเหมือน “ผู้ชว่ ยเหลือ” ชันดี ้ ของนินจา
แต่ในอีกทางหนึง่ “ปี ศาจ” ที่ถกู ผนึกอยูใ่ นร่างตัวละครนันก็ ้ สามารถออกมาก่อกวน อาละวาดผู้ที่
เป็ นร่างสถิตได้ ตลอดเวลา ดังนันนารู ้ โตะจึงต้ องรู้จกั สะกดใจมิให้ หวัน่ ไหวต่อแรงโกรธเพื่อไม่ให้
ปี ศาจเก้ าหางเติบโตในร่างของเขาจนสามารถเข้ าครอบงาความคิดและจิตใจจนกลืนกลายตัวเขา
ไปนัน่ เอง
“ปี ศาจ” ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงไม่ใช่แค่ผ้ ชู ว่ ยเพิ่มพลังให้ ตวั ละครเท่านันแต่้ มี
ความหมายแทน “สิ่งชัว่ ร้ าย” ในจิตใจมนุษย์ที่ผ้ เู ขียนเชื่อว่าเราทุกคนล้ วนมีสิ่งนี ้อยูแ่ ละรอวันเติบ
ใหญ่ขึ ้น แต่ตวั ตนของเราจะถูกกลืนกลายไปเป็ นปี ศาจ (ชัว่ ร้ าย) หรื อไม่อย่างไรนันขึ ้ ้นอยูก่ บั “การ
ควบคุม” แรงอารมณ์ของเราเอง โดยเฉพาะอารมณ์โกรธที่สง่ ผลให้ เกิดการกระทาโดยไม่ยงคิ ั้ ด
ดังนันหากเราสามารถควบคุ
้ มแรงโกรธได้ มากเท่าไหร่ก็จะสามารถควบคุมสิ่งชัว่ ร้ ายในจิตใจ
ได้ มากเท่านัน้

เรื่อง สัญลักษณ์ ท่ ปี รากฎ


ดราก้ อนบอล ความแข็งแกร่งพึงได้ มาด้ วยความโกรธ
ทเวนตี ้ฯ พลังแห่ง “เพื่อน”
พลังแห่งดนตรี
เดธโน้ ต/วันพีซ/ สัญญะแห่งอาวุธ
นินจาคาถา เดธโน้ ต: ไม่ใช่แค่สมุดโน้ ตแต่เป็ นตัวแทนแห่งพลังอานาจ
วันพีซ: ความยืดหยุน่ อันทรงพลัง
นินจาคาถาฯ : จงเรี ยนรู้ที่จะสะกดความโกรธ (ปี ศาจ) ในจิตใจ

ตารางที่ 14 สัญลักษณ์ ท่ สี ่ ือความหมาย

สัญลักษณ์ที่ได้ กล่าวถึงข้ างต้ นเป็ นเพียงสัญลักษณ์ที่สื่อความหมายซ ้าๆ


และมีนยั ยะสอดคล้ อง-ตอกย ้ากับแก่นเรื่ อง แท้ จริงนันมี ้ สญ ั ลักษณ์เกิดขึ ้นมากมายที่ปรากฎผ่าน
การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ อง เช่นชื่อเรื่ องวันพีซ แสดงถึงการหลอมรวมกันเป็ นหนึง่ เดียวของตัวละครกลุม่ โจร
131

สลัดที่จะนาพาไปสูเ่ ป้าหมายของเรื่ องคือ “วันพีซ” ส่วน “โจรสลัด” ในวันพีซ “ไลท์” ในเดธโน้ ต


“โคนัน” ในยอดนักสืบจิ๋วฯและ “นารูโตะ” ใน นินจาคาถาฯ ต่างก็เป็ นสัญลักษณ์แทนคนรุ่นใหม่ที่มี
อิสระทางความคิด และไม่อยูใ่ นกรอบที่สงั คมขีดไว้ ส่วนสัญญะอื่นๆ ก็ได้ กล่าวมาบ้ างแล้ วใน
หัวข้ อแก่นเรื่ อง ฉาก และจะกล่าวต่ออีกครัง้ ในการวิเคราะห์การสร้ างบุคลิกลักษณะตัวละครในบท
ถัดไป

1.7 มุมมองการเล่ าเรื่อง (Point of View)


มุมมองการเล่าเรื่ องของการ์ ตนู ที่เลือกมาศึกษาส่วนใหญ่ใช้ มมุ มองแบบผู้ร้ ูรอบด้ าน
(Omniscent) ซึง่ เป็ นมุมมองที่นิยมใช้ มากที่สดุ ในการเล่าเรื่ องทุกสื่อ ทุกแนวเรื่ อง ส่วนที่พบ
รองลงมาก็คือการเล่าเรื่ องผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 (First-Person Narrator) หรื อผ่านตัวละครเอก
โดยดราก้ อนบอลนันเล่ ้ าเรื่ องให้ คนอ่านรู้ความเป็ นไปของทังตั ้ วเอกอย่างโงคู ตัวละคร
กลุม่ เพื่อน และตัวละครฝ่ ายร้ าย ซึง่ เรี ยกได้ วา่ เหมาะสมกับจังหวะในการเล่าเรื่ องที่เน้ นการต่อสู้ที่
อาศัยความรวดเร็ว ฉับไว เพราะการเล่าด้ วยมุมมองแบบผู้ร้ ูรอบด้ าน ทาให้ ผ้ อู ่านเห็นความ
เป็ นไปของทังฝ่้ ายตัวเอก ตัวร้ าย ตัวประกอบ โดยไม่ต้องเสียเวลากับการให้ ความสาคัญกับตัว
ละครเอกเพียงฝ่ ายเดียว แต่หากมองในมุมกลับกันก็ทาให้ ผ้ อู ่านไม่อาจรับรู้ “ความรู้สกึ นึกคิด”
ของตัวละครเอกอย่างโงคู ซึ่งก็ทาให้ ความผูกพันต่อตัวละคร การลุ้น เอาใจช่วยย่อมลดน้ อยตาม
ไปด้ วย
ส่วนวันพีซ ยอดนักสืบจิ๋วฯ และนินจาคาถาฯ ใช้ วิธีเล่าเรื่ องผสมผสานระหว่างมุมมอง
จากผู้ร้ ูรอบด้ าน และมุมมองของบุคคลที่ 1 โดยวันพีซนันใช้
้ มมุ มองผู้ร้ ูรอบด้ านในฉากต่อสู้
และการเปิ ดตัวละครฝ่ ายร้ าย แต่ขณะเดียวกันก็เลือกมุมมองบุคคลที่ 1 มาใช้ ได้ อย่างโดดเด่น
จนกลายเป็ นเอกลักษณ์ของเรื่ อง เพราะมีการสลับสับเปลี่ยนให้ “กลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง”
สามารถเป็ น “ตัวเอก” ของเรื่ องได้ ทกุ ตัวละคร ไม่เฉพาะพระเอกอย่างลูฟี่เท่านัน้ โดยใช้ กลวิธี
การเล่าผ่านมุมมองความคิดของพวกพ้ องกลุ่มโจรสลัดแต่ละคนเพื่อย้ อนเล่าถึงปูมหลัง ที่มาที่ไป
ของตัวละคร เพื่อที่ผ้ เู ขียนจะได้ สามารถพาผู้อา่ นไปรู้จกั กับเรื่ องราวของกลุม่ ตัวละครหลักได้
อย่างทัว่ ถึง และทาให้ รับรู้ เข้ าใจความรู้สึก นึกคิดของตัวละครหลักแต่ละตัว เช่นเมื่อย้ อนไปเล่าถึง
อดีตของนิโค โรบิน มุมมองการเล่าเรื่ องก็จะเน้ นผ่านสายตาของโรบินว่ารู้สกึ อย่างไรกับการเป็ น
เด็กประหลาดไม่มีใครรักเพราะฤทธิ์ของผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ เธอสามารถเสกอวัยวะต่างๆ ให้ งอก
ออกมาจากร่างกาย หรื อการที่เธอไม่มีแม่คอยอยูเ่ คียงข้ างตังแต่ ้ เด็กนันเป็
้ นอย่างไร เป็ นต้ น
ขณะเดียวกันยอดนักสืบจิ๋วฯ ก็ใช้ วิธีการที่ไม่แตกต่างไปจากเรื่ องราวแนว
สืบสวน สอบสวนส่วนใหญ่ที่มกั เล่าผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 เป็ นแกนหลักเพื่อใช้ แทนสายตาและ
132

ความคิดของตัวละครเอกอย่างโคนัน ยอดนักสืบในร่างเด็กประถม ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู า่ นสามารถไล่


ทันวิธีขบคิดคลี่คลายคดีของโคนัน และยังเป็ นการกระตุ้ม “ต่อมสงสัย” หรื อการวางปมผ่าน
ความคิดของตัวละครเอกที่สื่อสารกับผู้ชมโดยตรง ดังนันมุ ้ มมองการเล่าเรื่ องของโคนันจึงมักเป็ น
การใช้ “เสียงในความคิด” ของโคนันนัน่ เอง แต่นอกจากมุมมองของตัวเอกแล้ วยังนาเสนอ
เรื่ องราวผ่านมุมมองผู้ร้ ูรอบด้ านในยามที่เกิดคดีฆาตกรรม เพื่อให้ เห็นการกระทาและบทสนทนา
ของตัวละครที่อยูใ่ นสถานที่เกิดเหตุอย่างทัว่ ถึงอีกด้ วย
ส่วนนินจาคาถาฯ ก็ใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องคล้ ายคลึงกับวันพีซ ที่มีทงมุ ั ้ มจาก
ผู้ร้ ูรอบด้ านซึง่ จาเป็ นอย่างมากในการเล่าเรื่ องที่มีตวั ละครจานวนมาก และมีโครงเรื่ องย่อยที่
ซับซ้ อนเช่นนินจาคาถาฯ เพราะการกระจายมุมมองของเรื่ องราวโดยไม่ตามติดตัวละครใครคนใด
คนหนึง่ ทาให้ ผ้ เู ขียนสามารถถ่ายทอดเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นกับตัวละครหลักๆ ได้ อย่างครบถ้ วน
ขณะเดียวกันนินจาคาถาฯ ยังให้ ความสาคัญกับการเล่าผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 โดยเฉพาะตัวเอก
อย่างนารูโตะ รวมทังเปลี ้ ่ยนให้ ตวั ละครหลักที่อยู่รายรอบนารูโตะได้ เล่าผ่านมุมมองของตัวเองเพื่อ
สร้ างความผูกพันกับผู้อา่ นอีกด้ วย
แต่สาหรับ เดธโน้ ต เล่าเรื่ องผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 เป็ นหลัก และน่าสนใจว่า
ผู้เขียนตามติดตัวละครหลัก (บุคคลที่ 1) สองตัวละครคือทังผู ้ ้ ไล่ลา่ อาชญากรอย่าง (แอล) และผู้
ถูกล่าอย่าง (ยางามิ ไลท์) ในสัดส่วนที่ใกล้ เคียงกัน ทาให้ ผ้ อู ่านไม่ร้ ูสกึ เข้ าข้ างฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่
เป็ นพิเศษซึง่ ก็สอดคล้ องกับแก่นเรื่ องที่ต้องการตังค ้ าถามกับผู้ชมว่าการกระทาของยางามิ ไลท์
(ตังตนเป็
้ นยมทูตฆ่าคนชัว่ ที่ลอยนวลอยูใ่ นสังคม) นันถู ้ กต้ องแล้ วหรื อไม่ ขณะเดียวกันเดธโน้ ตก็
ยังเล่าจากมุมมองบุคคลที่ 3 (Third-Person Narrator) ผ่านความคิด ความรู้สึกของตัวละคร
ประกอบอย่างยมทูตลุคที่มกั มีเสียงในความคิดอยู่บอ่ ยครัง้ เพื่อแสดงความรู้สกึ ต่อการกระทาของ
ไลท์ เช่นหลังจากได้ เห็นการวางแผนฆ่าคนของไลท์ลคุ ก็คดิ ขึ ้นมาว่า “มนุษย์นี่ชา่ งน่ากลัว
เหลือเกิน” ซึง่ การเล่าผ่านมุมมองบุคคลที่ 3 ของยมทูตลุคก็ชว่ ยทาหน้ าที่แทนผู้เขียนที่สามารถ
สื่อสารประเด็น หรื อแก่นความคิดที่ต้องการจะบอกไปยังผู้อา่ นได้ อีกด้ วย
ในบรรดาทัง้ 6 เรื่ อง เรื่ องที่ให้ ความสาคัญกับมุมมองการเล่ามากที่สดุ ก็คือ
ทเวนตีฯ้ ซึง่ ใช้ กลวิธีเล่าเรื่ องผ่านมุมมองบุคคลที่ 3 เป็ นหลัก โดยการเล่าผ่านบุคคลที่ 3 นัน้
มักทาให้ เกิดความรู้สกึ “เหินห่าง” จากตัวละครเอกมากกว่าการเล่าผ่านบุคคลที่ 1 หรื อผ่านตัว
ละครเอกของเรื่ อง แต่น่าแปลกที่การเล่าผ่านบุคคลที่ 3 ของทเวนตี ้ฯ ยังสามารถสร้ างความรู้สกึ
“รัก” และ “เอาใจช่วย” ตัวละครได้ ดีไม่แพ้ การเล่าผ่านสายตาของตัวละครเอกเอง
กลวิธีเล่าจากมุมมองจากตัวละครบุคคลที่ 3 ที่ผ้ เู ขียนให้ ความสาคัญนันก็ ้ คือตัว
133

ละครประกอบที่ไม่ได้ มีความสาคัญต่อเรื่ องเลย เช่นตัวละครอย่างนักเขียนการ์ ตนู โนเนม (อุจิคกิ บั


คาเนโกะ) ที่ฝันจะเขียนการ์ ตนู สนุกๆ ให้ ได้ (แม้ วา่ โลกในขณะนันจะไร้ ้ ซงึ่ ชีวิตชีวาเพราะหวาดกลัว
ภัยของเชื ้อไวรัสและหุน่ ยักษ์ ทาลายล้ างโลกฝี มือของ “เพื่อน”) แต่เขากลับถูกจับโทษฐานเป็ น
กบฏต่อรัฐบาล “เพื่อน” และนักเขียนการ์ ตนู โนเนมนี่เองที่ได้ กลายมาเป็ น “ผู้เล่า” ความเป็ นไป
ของตัวละครหลักอย่าง “โอตโจะ” ซึง่ ป็ นเพื่อนสนิทกับตัวละครเอกของเรื่ อง (และเป็ นกลุม่ ตัวละคร
หลักด้ วย) โดยผู้เขียนได้ ใช้ ประโยชน์จาก “ความคิด” “ความรู้สกึ ” ของนักเขียนการ์ ตนู โนเนมคน
หนึง่ เพื่อแสดงความรุ้สกึ “เชิดชู” ตัวละครหลักอย่างโอตโจะว่าเป็ นคนดีเพียงใด และเก่งกาจแค่
ไหน หรื อการเล่าเรื่ องผ่านเพลย์บอยคนหนึง่ ที่ตามสังเกตการณ์ตวั ละครเอกอย่างเคนจิ ซึง่ เขา
พบว่าเคนจินนได้ ั ้ ทาความดีอยูต่ ลอดเวลาจนทาให้ เขายกย่องเคนจิวา่ เป็ นตัวแทนของ “ความ
ยุตธิ รรม”
การเล่าจากบุคคลที่ 3 ในทเวนตี ้ฯ จึงเป็ นการสร้ างบรรยากาศการเล่าเรื่ องด้ วย
มุมมองที่แปลกใหม่ในแบบที่การ์ ตนู ส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยทากัน นัน่ คือให้ ความสาคัญกับการเล่า โดย
ใช้ บคุ คลที่ 3 (ตัวละครประกอบ) เพื่อเล่าความเป็ นไปของบุคคลที่ 1 (ตัวละครหลัก) ซึง่
นอกจากจะสร้ างความรู้สกึ ที่สด ใหม่และสร้ างความลึกลับให้ กบั ตัวละครเพราะผู้อา่ นย่อมรู้สึก
“เข้ าไม่ถึง” แล้ ว การเล่าเช่นนี ้ยังมีสว่ นสาคัญอย่างยิ่งในการสร้ าง “ความเป็ นฮีโร่” ของตัวละคร
หลักๆ ในเรื่ องได้ เป็ นอย่างดี เพราะการนาเสนอความรู้สกึ นึกคิดของตัวละครประกอบ (มุมมอง
บุคคลที่ 3) ทาให้ ผ้ อู ่านได้ รับรู้ความรู้สกึ ของผู้คนรอบข้ างที่มีตอ่ ตัวละครหลัก ดังนันการที ้ ่ตวั
ละครประกอบแสดงอาการยกย่อง เชิดชูการกระทาของตัวละครหลักจึงน่าเชื่อถือกว่าให้ ตวั ละคร
เอกพูดยกย่องตัวเอง และแน่นอนว่าดีกว่าการให้ ผ้ อู า่ นรับรู้ความเป็ นฮีโร่ของตัวละครเอาเองผ่าน
การกระทาแบบตรงไปตรงมาด้ วยเช่นกัน
มุมมองการเล่าเรื่ องของกลุม่ ตัวอย่างการ์ ตนู ที่เลือกมาศึกษานันจึ ้ งสรุปได้ ดงั นี ้

เรื่อง ประเภทของมุมมองการเล่ าเรื่อง


ดราก้ อนบอล รู้รอบด้ าน
วันพีซ รู้รอบด้ าน บุคคลที่ 1
ยอดนักสืบจิ๋วฯ บุคคลที่ 1 รู้รอบด้ าน
นินจาคาถาฯ รู้รอบด้ าน บุคคลที่ 1
134

เดธโน้ ต บุคคลที่ 1
ทเวนตี ้ฯ บุคคลที่ 3

ตารางที่ 15 ประเภทของมุมมองการเล่ าเรื่อง

2. การเล่ าเรื่ องผ่ านเทคนิคการ์ ตูน


แม้ แนวคิดด้ านการเล่าเรื่ องข้ างต้ นจะช่วยให้ เห็นกลวิธีถ่ายทอดเรื่ องราวได้ พอสมควร แต่
เมื่อ “การ์ ตนู ” มีธรรมชาติเฉพาะตนในการสื่อสารไปยังผู้อา่ นดังนันจึ ้ งต้ องพิจารณาการเล่าเรื่ อง
ผ่านเทคนิคเฉพาะของสื่อชนิดนี ้เพื่อให้ เห็นภาพรวมของ “กลวิธีเล่าเรื่ อง” ในแบบการ์ ตนู ญี่ปนุ่
(มังงะ) ดังประเด็นต่อไปนี ้
2.1 กรอบหรื อช่องการ์ ตนู
“กรอบ” หรื อ “ช่อง” ในการ์ ตนู ญี่ปนุ่ อาจเปรี ยบได้ กบั 1 shot ในภาพยนตร์ แต่ละช่องที่
ร้ อยเรี ยงต่อกันจึงเหมือนกับการตัดต่อภาพทีละภาพแบบเดียวกับภาพยนตร์ ซึง่ การวางขนาด
กรอบก็ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวนัก เป็ นสไตล์ของนักเขียนแต่ละคน นักเขียนบางคนนิยมวางช่อง
เยอะๆ บางคนนิยมวางช่องน้ อยๆ โดยการ์ ตนู ที่ศกึ ษาทัง้ 6 เรื่ องมีวิธีการวาดขนาด และจานวน
ของกรอบหรื อช่องคล้ ายคลึงกัน นัน่ คือขึ ้นอยูก่ บั “เนื ้อหา” และขึ ้นกับ “กลุม่ ผู้อา่ น” เป็ นหลักดังนี ้
2.1.1 ใช้ กรอบหลากหลายตามท้ องเรื่ อง
ในทเวนตีฯ้ มีเรื่ องราวส่วนใหญ่เน้ นการสนทนา และมีการตัดไปยังเหตุการณ์
ต่างๆ ที่มีความต่างในเรื่ องสถานที่และเวลา จึงใช้ กรอบจานวนมากต่อหน้ า แต่ขณะเดียวกันใน
ช่วงเวลาที่ต้องมีฉากต่อสู้ กรอบก็จะน้ อยลงเพื่อเน้ นให้ เกิดความตื่นเต้ น
ส่วนยอดนักสืบจิ๋วฯ วาดกรอบคล้ ายคลึงกับเทวนตี ้ฯ คือมีทงช่ ั ้ วงที่เมื่อเนื ้อ
เรื่ องเน้ นการสืบสวนก็จาเป็ นต้ องใช้ กรอบเยอะเพื่อให้ เห็นรายละเอียดของเหตุการณ์
ขณะเดียวกันเมื่อถึงช่วงต่อสู้ก็ใช้ กรอบน้ อยลงเพื่อเน้ นความสาคัญในกรอบมากขึ ้น แต่เนื่องจาก
ยอดนักสืบจิ๋วฯ เจาะผู้อ่านในวงกว้ างมากกว่าเทวนตี ้ฯ ดังนันรู ้ ปทรงของกรอบภาพรวมทังรู้ ปวาด
ในกรอบจึงดูเรี ยบง่ายกว่า (ไม่เน้ นขีดเส้ นกรอบเอียงๆ กรอบส่วนใหญ่มกั เป็ นเส้ นตรงธรรมดาๆ)
ด้ านเนื ้อเรื่ องในเดธโน้ ตเน้ นเหตุการณ์ที่ไม่หวือหวานัก ไม่ได้ มีฉากต่อสู้ด้วยการ
ประลองฝี มือเหมือนเช่นดราก้ อนบอล ดังนันกรอบต่ ้ อหน้ าจะมีจานวนค่อนข้ างมาก ยกเว้ น
เหตุการณ์ที่ต้องการสร้ างอารมณ์ตื่นเต้ นของตัวละคร หรื อต้ องการเฉลย หรื อหักมุม จึงจะเลือกใช้
ช่องขนาดใหญ่เพื่อเน้ นความสาคัญของฉากนันๆ ้
ขณะที่นินจาคาถาฯ มีเนื ้อหาเน้ นฉากต่อสู้กนั ค่อนข้ างเยอะ ทาให้ ในฉากที่ต้อง
135

โชว์ความสามารถของตัวละครจึงวาดกรอบใหญ่ มีจานวนกรอบต่อหน้ าน้ อย แต่เมื่อถึงบทที่


ต้ องการเน้ นความรู้สกึ สภาวะจิตใจตัวละคร ก็จะทาให้ กรอบมีขนาดเล็กลง และรูปทรงของกรอบดู
ซับซ้ อนมากขึ ้น

ภาพประกอบ 20 ตัวอย่ างการใช้ กรอบ/ช่ องในยอดนักสืบจิ๋วที่เป็ นรู ปสี่เหลี่ยมเรี ยบง่ าย


ที่มา: http://itszaa.com/index.php/topic,283.0.html

2.1.2 ดราก้ อนบอล: เน้ นกรอบใหญ่โชว์ฉากต่อสู้


เมื่อฉากต่อสู้แทบจะเป็ นตัวขับเคลื่อนหลักให้ เรื่ องราวในดราก้ อนบอล
เดินไปข้ างหน้ า จึงย่อมมีกรอบรูปต่อหน้ าน้ อย และมีขนาดของกรอบโดยรวมค่อนข้ างใหญ่กว่า
เรื่ องอื่นๆ และเนื่องจากดราก้ อนบอลเป็ นการ์ ตนู ที่เจาะกลุม่ ผู้อา่ นวงกว้ าง (พิจารณาจาก
เนื ้อหาที่ไม่มีภาพรุนแรง หรื อความไม่สมจริงสมจังที่เมื่อตัวละครตายแล้ วก็ยงั ฟื น้ คืนกลับมาได้ )
กรอบจึงไม่ถกู ซอยย่อยให้ ผ้ อู ่านรู้สกึ ซับซ้ อนมากนัก และทาให้ กรอบมีขนาดใหญ่กว่าการ์ ตนู แนว
ต่อสู้ทวั่ ๆ ไป
136

ภาพประกอบ 21 แสดงการใช้ กรอบขนาดใหญ่ ในดราก้ อนบอล (ภาพ 1 หน้ าคู่)


ที่มา: http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&month=11-
2011&date=20&group=19&gblog=1

2.1.3 วันพีซ: ไม่จาเป็ นต้ องใช้ กรอบใหญ่ในฉากสาคัญเสมอไป


แม้ ดราก้ อนบอลและนารูโตะจะมีวิธีสร้ างกรอบไปตามสูตรของการ์ ตนู ต่อสู้ของ
ญี่ปนโดยส่
ุ่ วนใหญ่ที่เมื่อต้ องการขับเน้ นอารมณ์ผ้ อู า่ นในฉากปะทะฝี มือกัน หรื อฉากสาคัญๆ ย่อม
ขยายพื ้นที่ให้ ตวั ละคร และฉากนันๆ ้ มีขนาดใหญ่ขึ ้น ดังนันกรอบการ์
้ ตนู จึงใหญ่ตามไปด้ วย แต่
วันพีซ ซึง่ แม้ จะมีฉากต่อสู้เยอะไม่แพ้ กนั แต่กลับเป็ นการ์ ตนู ที่ซอยย่อยกรอบเยอะมากในหนึง่ หน้ า
นัน่ เพราะวันพีซมีตวั ละครต่อฉากจานวนมาก (เนื่องจากตัวละครกลุม่ พระเอกเป็ นสมาชิกโจรสลัด
ที่เดินทางไปไหนไปกันตลอด สู้จงึ สู้พร้ อมๆ กัน) การวางกรอบจึงต้ องมีขนาดเล็กลงเพื่อกระจายบท
ให้ ทกุ ตัวละคร ทาให้ ผ้ อู า่ นเห็นสีหน้ า ท่าทาง ความรู้สึก และการกระทาของตัวละครกลุม่ เหล่านี ้
แม้ กระทัง่ ฉากที่เป็ นการต่อสู้ก็ตาม
“คนอ่านวันพีซทีเ่ ป็ นเด็กเล็กหรื อคนทัว่ ไปที ไ่ ม่ค่อยได้อ่านการ์ ตูนจะอ่านวันพีซได้
ยากกว่าดราก้อนบอล เพราะกรอบเยอะกว่าการ์ ตูนแอ็คชัน่ ด้วยกัน มันทาให้รายละเอี ยดใน 1
หน้าของวันพีซเยอะมาก แต่ข้อดี คือทาให้คนอ่านเห็นตัวละครครบถ้วน แล้วมันก็ทาให้เรื ่องสนุก
มากขึ้นด้วย เพราะได้เห็นรี แอ็ค (reaction) กับเหตุการณ์แตกต่างกันตามคาแร็ คเตอร์ ” (สุทธิชาติ
ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2554)
“ลองสังเกตดูจะรู้ ว่าในฉากเดี ยวเขาสร้าง plot ซ้อนเยอะมาก เพราะซอยย่อยแต่
137

ละช่องให้เห็นความเป็ นไปของตัวละครหลายๆ ตัวในหน้าเดียว” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์, สัมภาษณ์,


19 สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 22 ตัวอย่ างการซอยกรอบ/ช่ องย่ อยๆ เพื่อแสดงปฏิกิริยากลุ่มตัวละครเอก


ที่มา: http://cartoon.tlcthai.com/one-piece-653/12453/

2.2 บอลลูน หรื อช่องคาพูด (Balloon)


การวางบอลลูน หรื อช่องคาพูดจะมีจานวนมากหรื อน้ อยขึ ้นอยู่กบั เนื ้อหาที่ผ้ อู า่ นต้ องการ
เล่า ช่องคาพูดยิ่งมาก กลุม่ ผู้อา่ นก็จะมีชว่ งอายุมากขึ ้น การ์ ตนู ที่ไม่มีชอ่ งคาพูดจึงสามารถเข้ าถึง
กลุม่ คนทัว่ ไป ไม่วา่ จะเป็ นชนชาติใด (แต่ก็ขึ ้นอยูก่ บั เนื ้อหาของการ์ ตนู นันด้
้ วยว่าจะเล่าเรื่ องยาก
ง่ายเพียงใด) ซึง่ การใช้ บอลลูนหรื อการวางช่องคาพูดในแต่ละกรอบภาพทัง้ 6 เรื่ องนันโดยรวม ้
มีจานวนค่อนข้ างน้ อย แต่ก็อาจเรี ยงลาดับจากเรื่ องที่ใช้ ชอ่ งคาพูดมากไปหาน้ อยได้ ดงั นี ้
วันพีซ ใช้ ช่องคาพูดค่อนข้ างเยอะ เพราะมีตวั ละครจานวนมาก และผู้เขียน
นิยมสร้ างบุคลิกตัวละครผ่านบทสนทนา (เช่นสาเนียงตัวละคร หรื อคาพูดติดปาก) ทาให้ เกิดช่อง
คาพูดจานวนมากกว่าการ์ ตนู แนวต่อสู้ด้วยกัน (ดราก้ อนบอลและนินจาคาถาฯ)
ทเวนตีฯ้ ใช้ ช่องคาพูดพอสมควร เพราะเนื ้อหาในแต่ละตอนค่อนข้ างมาก
รวมทังวิ
้ ธีการเล่าเรื่ องเน้ นการหลอกล่อผู้อ่าน ดังนันค้ าพูด บทสนทนาจึงเป็ นส่วนหนึง่ ที่สาคัญใน
การดาเนินเรื่ อง แต่แม้ บทสนทนาจะเป็ นตัวขับเคลื่อนหลักของทเวนตี ้ฯ ก็ไม่ใช่บทสนทนาที่เยิ่น
เย้ อมากความ ดังนันขนาดของช่
้ องคาพูดจึงไม่ใหญ่จนกินพื ้นที่ตวั ละคร หรื อรายละเอียดในฉาก
เดธโน้ ต เนื่องจากเรื่ องราวเน้ นการต่อสู้ทางมันสมองมากกว่าฉากต่อสู้แบบ
138

ปะทะฝี มือทางร่างกาย ช่องคาพูดจึงมีจานวนค่อนข้ างมาก แต่ด้วยเนื ้อเรื่ องที่เน้ นความลึกลับ


และบรรยากาศในเรื่ อง ดังนันถึ ้ งแม้ ชอ่ งคาพูดจะมีจานวนค่อนข้ างมากแต่ก็ไม่มากจนทาให้ คน
อ่านรู้สกึ รกรุงรัง
ยอดนักสืบจิ๋วฯ คล้ ายคลึงกับทเวนตี ้ฯ เพราะเนื ้อหามีทงช่
ั ้ วงสืบสวน (พูดเยอะ)
และแอ็คชัน่ (พูดน้ อย) ช่วงที่สืบสวนจึงต้ องมีชอ่ งคาพูดมากตามไปด้ วย ส่วนช่วงที่เป็ นฉากต่อสู้ก็
ย่อมมีชอ่ งคาพูดน้ อยเช่นกัน
นินจาคาถาฯ และดราก้ อนบอลใช้ ชอ่ งคาพูดน้ อย เน้ นแต่สว่ นสาคัญ เช่นใน
นินจาคาถาฯ อาจมีตอนเฉลยถึงความเป็ นไปของตัวละครจึงต้ องใช้ ชอ่ งคาพูดมากขึ ้น หรื อในดรา
ก้ อนบอลอาจใช้ ชอ่ งคาพูดบ้ างในช่วงมุขตลก ตรงกันข้ ามกับช่วงแอ็คชัน่ ซึง่ เป็ นเนื ้อหาหลักใหญ่
ของเรื่ องที่แทบจะไม่ใช้ ชอ่ งคาพูดเลย

ภาพประกอบ 23 ตัวอย่ างช่ องคาพูด/บอลลูนที่มีจานวนมากในวันพีซ


ที่มา: http://cartoon.tlcthai.com/
2.3 การใช้ เทคนิคเกี่ยวกับภาพ
นอกจากการใช้ ขนาดของกรอบ จานวนของบอลลูนแล้ ว การวาดภาพในแต่ละกรอบแต่ละ
หน้ าของผู้เขียนต่างส่งผลต่ออารมณ์ของเรื่ องราวได้ อย่างมากเช่นกัน ซึง่ ก็เปรี ยบได้ กบั การใช้
ขนาด/ระยะภาพ มุมกล้ อง การเคลื่อนไหวของภาพ และการจัดวางองค์ประกอบในสื่อ
139

ภาพเคลื่อนไหวเช่นภาพยนตร์ หรื องานโทรทัศน์ ซึง่ การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องส่วนใหญ่ไม่ใช้ เทคนิคเกี่ยวกับ
ภาพเพื่อสร้ างอารมณ์แก่เรื่ องราวนัก แต่มีอยู่ 2 เรื่ องที่ใช้ เทคนิคเกี่ยวกับภาพได้ น่าสนใจคือ
2.3.1 ทเวนตี ้ฯ: เปลี่ยนมุมกล้ องเพื่อสร้ างอารมณ์ร่วม
ตามที่กล่าวไปแล้ วในกลวิธีการเล่าเรื่ องว่าทเวนตี ้ฯ มีภาพรวมของเรื่ องเน้ นไปที่
“ความลึกลับ” และด้ วยวิธีการเล่าเรื่ องที่คล้ ายซีรี่ส์ และภาพยนตร์ อเมริ กนั จึงทาให้ ในทเวนตี ้ฯ ใช้
มุมกล้ องที่หลากหลายกว่าการ์ ตนู เรื่ องอื่นๆ โดยเฉพาะการเลือกใช้ มมุ ที่สร้ างบรรยากาศ “ชวนให้
สงสัย” ดังนันจึ ้ งเกิดมุมกล้ องที่เหมือนผู้อา่ นกาลังแอบดูเหตุการณ์อยู่ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ มีสว่ นร่วม
และตื่นเต้ นกับเหตุการณ์ที่กาลังเกิดขึ ้น ซึง่ ก็เข้ ากับโทนของเรื่ องที่เน้ นความลึกลับ ไม่นา่ ไว้ ใจ
นอกจากนี ้ยังใช้ การตัดภาพ และการเปลี่ยนขนาดภาพเพื่อสื่ออารมณ์ บรรยากาศในเรื่ องได้ อย่าง
น่าสนใจ เช่นในฉากที่ภายในหนึง่ หน้ ากระดาษไม่ได้ มีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน ผู้เขียน
จึงใช้ การปรับเปลี่ยนขนาดภาพทังระยะไกล ้ - ใกล้ หรื อตัดไปที่องค์ประกอบอื่นๆ ในฉาก เพื่อช่วย
เร้ าอารมณ์ผ้ อู า่ นทดแทนความนิ่งของตัวละครได้ เป็ นอย่างดี

ภาพประกอบ 24 ลักษณะการเปลี่ยนระยะภาพในทเวนตีฯ้
ที่มา:http://topicstock.pantip.com/chalermthai/topicstock/2008/12/A7272369/A7272369.h
tml
2.3.2 วันพีซ: มุมแปลกตาสร้ างพลังให้ เรื่ องราว
เป็ นการ์ ตนู ที่นิยมเขียนมุมภาพแปลกๆ หวือหวา เปรี ยบได้ กบั การใช้ เทคนิคการ
ถ่ายภาพ เช่น การใช้ มมุ มองแบบตาปลา (Fish Eye) หรื อมุมมองจากกายภาพที่แปลกประหลาด
ของตัวละคร เพราะตัวเอกอย่างลูฟี่ที่มีร่างกายเป็ นยางยืดก็จะสามารถสร้ างมุมมองที่แปลก
140

ประหลาดกว่าปกติได้ ดราก้ อนบอล การวางภาพและมุมมองจะเรี ยบง่ายในช่วงเดินเรื่ อง แต่


มักจะเปลี่ยนมุมมอง และตัดภาพบ่อยครัง้ ในช่วงฉากต่อสู้
“เขาเด่นมากเรื ่องมุมภาพ มันเป็ นแรงบันดาลใจให้งานของผลเลยนะ ผมรู้สึกถึง
พลังจากการใช้มมุ แบบแปลกๆ เขากล้าทีจ่ ะคิ ดมุมใหม่ๆ ออกมามันทาให้เรื ่องสนุก ตื ่นเต้นขึ้น
เยอะ” (วีระชัย ดวงพลา, สัมภาษณ์, 12 มิถนุ ายน 2554)
“มุมกล้องในวันพีซมันเด่นมาก ทาให้เล่าเรื ่องได้ชดั และทาให้เร้าใจ ตืน่ เต้น...เขา
สามารถเขี ยนฉากต่อสู้กนั โดยทาให้เราเชื ่อว่ามี คนอยู่ในฉากเป็ นพันๆ คนได้” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์
, สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
ด้ วยมุมกล้ องแปลกใหม่ของวันพีซ ทังมุ ้ มเงย มุมกด ผสานกับการซอยย่อยกรอบ
ให้ เล็กในหนึง่ หน้ ากระดาษ เหล่านี ้จึงทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกถึงความเคลื่อนไหว ความเร็ว ของตัวละครซึง่
ทาให้ เรื่ องราวดูกระชับ ฉับไวได้ เป็ นอย่างดี

ภาพประกอบ 25 มุมกล้ องแปลกตาในวันพีซ


ที่มา: http://www.niceoppai.net/onepiece/18/7/
2.4 การจัดวางฉากและการจัดวางองค์ประกอบอื่นๆในกรอบ/ช่องการ์ ตนู
จากทังหมด
้ 6 เรื่ อง มีการจัดวางฉากที่น่าสนใจดังนี ้
2.4.1 ทเวนตี ้ฯ : จัดวางฉากแต่พอดีเสริมรับเรื่ องราว
การจัดวางในฉาก การวางองค์ประกอบต่างๆ ในกรอบภาพของการ์ ตนู เรื่ องนี ้
141

สามารถคุมโทนของเรื่ องที่สร้ างปมลึกลับอยู่ตลอดเวลาได้ อย่างดี โดยทังจ ้ านวนของบอลลูนที่เป็ น


บทสนทนาของตัวละคร รายละเอียดของคนและสิ่งของในฉากที่ไม่ได้ มีจานวนมาก ต่างล้ วนเสริม
แต่งความรู้สกึ โดดเดี่ยว เปลี่ยวเหงาของตัวละครที่อยูใ่ นภาวะ “ครุ่นคิด” ถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้น ซึง่ ก็
ส่งผลให้ ผ้ อู า่ นได้ “ครุ่นคิด” และ “ใคร่ครวญ” ถึงความคิด จิตใจของตัวละครตามไปด้ วย จึงเรี ยก
ได้ วา่ การจัดวางองค์ประกอบของภาพ (รวมทังการใช้ ้ มมุ กล้ องตามที่กล่าวไปแล้ ว) ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้
ผ่านกระบวนการคิดเพื่อสื่อความหมายแก่ผ้ ชู มมาอย่างดี อีกทังยั ้ งสอดรับกับแนวของเรื่ องอย่าง
พอเหมาะพอเจาะอีกด้ วย
“การออกแบบในฉาก ทัง้ ตัวอักษร คาพูด มันไม่มากเกิ นไป ทาให้เรามี สมาธิ กบั
เรื ่อง ให้อารมณ์ไม่โหวกเหวก โวยวาย ไม่ผ่าง ตึงโป๊ ะ ซึ่งก็เข้ากับเรื ่องที ่ค่อยๆ เดิ นไป ทาให้มี
พลัง ดูแล้วรู้สึก cool ดี ” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
2.4.2 ดราก้ อนบอล: ความเรี ยบง่ายที่ไม่เรี ยบง่าย
“ความเรี ยบง่ายที่ไม่เรี ยบง่าย” คงเป็ นนิยามสาหรับการจัดวางองค์ประกอบใน
ฉาก และกรอบภาพในการ์ ตนู ของโทริ ยาม่า อากิระได้ เป็ นอย่างดี เพราะนอกจากตัวละครจะดู
เรี ยบง่ายเพราะมีลายเส้ นกลมมนเป็ นหลักแล้ ว องค์ประกอบอื่นๆ ในฉากก็ยงั เรี ยบง่าย สอดคล้ อง
กับเรื่ องราวที่เป็ นเรื่ องต่อสู้ที่ไม่มีโครงเรื่ องซับซ้ อน แค่ตวั ละครอยากเก่ง -แกร่งขึ ้น มีแค่การปะทะ
ฝี มือวัดผลแพ้ -ชนะเท่านัน้
“เขาออกแบบสภาพแวดล้อมในฉากให้เป็ นต้นแบบของนักเขี ยนในยุคนัน้ เลย ทัง้
การวาดต้นไม้ ภูเขา มันดูวาดเป็ นทรงง่ายๆ มาก แต่ดูรวมๆ แล้วรู้สึก “ใช่” ทาให้จินตนาการไปได้
เช่นวาดเมฆเป็ นก้อนกลมๆ ดูง่ายๆ แต่ก็เข้าใจได้ทนั ที จนเป็ นเอกลักษณ์ของเขาไปเลย” (ประสพ
โชค จันทรมงคล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม 2554)
142

ภาพประกอบ 26 ฉากเรี ยบง่ ายในดราก้ อนบอล (สังเกตก้ อนเมฆและภูเขาในกรอบล่ าง)


ที่มา: http://thaimanga.bestgoo.com/t1601-topic

นอกจากการวาดองค์ประกอบและจัดวางสิ่งต่างๆ ในฉากให้ เรี ยบง่าย


สอดคล้ องกับเรื่ องราวแล้ ว เขายังใส่ความเป็ นตัวตนลงไปในฉากเพื่อแสดงความสามารถด้ านการ
วาดเครื่ องยนต์กลไก และตัวละครสัตว์ประหลาดแปลกตาอีกด้ วย ซึง่ ความถนัดในสองสิ่ง นี ้ยังช่วย
สร้ าง “ความขัดแย้ ง” ให้ เกิดภายในฉากเดียวกัน เช่นการใส่ไดโนเสาร์ ในฉากเดียวกับรถยนต์สดุ
ล ้ายุคจนเกิดเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ยากจะลืม
“อาจารย์โทริ ยาม่าแม้จะออกแบบโลกส่วนเจริ ญให้เจริ ญมาก แต่ในโลก
นัน้ กลับมี ไดโนเสาร์ อยู่ การสร้างรายละเอี ยดของตัวละครประกอบ หรื อสิ่ งของในฉากให้ดูขดั แย้ง
กับฉากเลยเป็ นเสน่ห์ ทีท่ าให้ฉากน่าจดจา” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล, สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)
143

ภาพประกอบ 27 แสดงความขัดแย้ งในฉากดราก้ อนบอล (หุ่นลา้ ยุคในชนบทท่ ามกลางภูเขา)


ที่มา: http://thaimanga.bestgoo.com/t1601-topic

3. การเล่ าเรื่องผ่ านลายเส้ นการ์ ตูน


นอกเหนือจากการเล่าเรื่ องด้ วยเทคนิคเฉพาะตัวของการ์ ตนู ช่องแบบญี่ปนแล้ ุ่ ว อีกสิ่ง
หนึง่ ที่จะช่วยให้ การเล่าเรื่ องน่าติดตามยิ่งขึ ้นย่อมต้ องคานึงถึง “ลายเส้ น” ของนักเขียน เพราะ
ลายเส้ นเปรี ยบเสมือนลายมือของนักเขียนการ์ ตนู บางคนก็ลายมือสวย บางคนก็ไม่ แต่นกั เขียน
การ์ ตนู ที่ประสบความสาเร็จจะมีจดุ ร่วมของลายเส้ นคือความน่าสนใจ และเป็ นเอกลักษณ์จดจาได้
ซึง่ การจะวิเคราะห์ “ลายเส้ น” ในการ์ ตนู นัน้ ต้ องคานึงถึงการทาสกรี น หรื อการติดสกรี นโทน1
ประกอบด้ วย เพราะการ์ ตนู ที่ทาสกรี นมากๆ ภาพโดยรวมจะออกไปในโทนมืด ซึง่ ทาให้ จากัดกลุม่

1
การทาสกรีน ย่อมาจากคาว่าการติดสกรีนโทน ซึง่ เป็ นแผ่นใสคล้ ายสติ๊กเกอร์ ที่มีจดุ สีดาเล็กๆเรียงกันเต็ม
แผ่นเพื่อให้ เกิดสีเทา ซึง่ เหมาะกับงานสิ่งพิมพ์ แต่ที่จริงแล้ วการทาสกรีนนันคื ้ อการเติมน ้าหนักสีเทาให้ ภาพขาวดา (การ์ ตนู ที่มีแค่
ลายเส้ นคือภาพขาวดา) เพื่อสร้ างความสมจริง และน ้าหนักที่สมดุลทังภาพ ้ (ภาพขาวดาที่สมบูรณ์จะต้ องมีน ้านักขาว-เทา-ดาที่
สมดุลกัน) ดังนันการท
้ าสกรีนนันจะท
้ าด้ วยวิธีใดก็ได้ ขึ ้นอยูก่ บั นักเขียน เช่นการวาดเส้ นตรงติดๆกันก็จะเกิดน ้าหนักสีเทาได้ เรียกว่ า
“การสานเส้ น” หรือจะใช้ หมึกผสมน ้าระบายลงไปในงานจนเกิดเป็ นสีเทา หรือใช้ คอมพิวเตอร์ เข้ าช่วย หรือในญี่ปนมี ุ่ การทาแผ่น
สกรีนโทนออกมาวางขายเพื่อทุน่ เวลาให้ นกั เขียน
144

ผู้อา่ นเป็ นวัยรุ่นหรื อผู้ใหญ่ดงั นันการ์


้ ตนู ที่ต้องการกลุม่ ผู้อา่ นในวงกว้ างจะติดสกรี นน้ อย และใช้
ลายเส้ นเป็ นตัวช่วยมากกว่า ซึง่ และแต่ละเรื่ องก็มีเอกลักษณ์ในเรื่ อง “ลายเส้ น” ที่แตกต่างกัน
และส่งผลให้ เกิดอารมณ์ที่ตา่ งกันออกไปดังนี ้
3.1 ดราก้ อนบอล: ลายเส้ นเรี ยบง่ายเข้ ากับเรื่ องเรี ยบง่าย
ดราก้ อนบอลอาจเปรี ยบเหมือนดิสนีย์ฉบับพัฒนาเป็ นโทริยาม่า อากิระ ที่มีลายเส้ น
โดยรวมดูเรี ยบง่าย น ้าหนักเส้ นสม่าเสมอ แต่ชดั เจน สมบูรณ์ในตัว ดูสะอาดตา เข้ าใจง่าย ซึง่ ทา
ให้ ฉีกไปจากลักษณะลายเส้ นการ์ ตนู ญี่ปนแนวต่ ุ่ อสู้ในยุคใกล้ เคียงกันที่เน้ นสัดส่วน ลายเส้ นที่
สมจริงเป็ นหลัก
“โทริ ยาม่า อากิ ระเป็ นคนแรกๆ ทีใ่ ช้กราฟิ กผสมความเป็ นจริ ง เพราะก่อนหน้านีเ้ ราจะเจอ
แต่แบบหมัดดาวเหนื อ โรงเรี ยนลูกผูช้ าย ซึ่งลายเส้นสมจริ ง แต่ดราก้อนบอลทัง้ ลายเส้นทัง้ เรื ่อง
มัน simple ไม่ซบั ซ้อน อ่านได้เพลิ นๆ” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
“ดีไซน์ของโทริ ยาม่าเขาทาให้เราหลงรักตัวละครได้ง่าย เหมื อนกับการดีไซน์ตวั ละครใน
เกม ทาให้เขามี ไอเดี ยกระฉูดมากเรื ่องตัวละคร พอตัวละครตัวใหม่ออกมาเราจะรู้สึกว่ามันทา
อะไรก็ดูเท่ไปหมด” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
ความเรี ยบง่าย สะอาดตาในดราก้ อนบอลเกิดจากการไม่ทาสกรี น ซึง่ นักเขียน
การ์ ตนู ส่วนใหญ่นิยมใช้ เพื่อสร้ างมิติ อารมณ์ ความรู้สึกให้ กบั ตัวละคร แต่ดราก้ อนบอลสามารถใช้
แต่ลายเส้ นล้ วนๆ (หรื อใช้ การสานเส้ นเพื่อสร้ างน ้าหนักในบางจุดเท่านัน) ้ ก็สามารถสื่อถึงอารมณ์
แอ็คชัน่ ของตัวละครได้ ไม่แพ้ กนั
“เวลามี การปล่อยพลังกระจายออกไป ก็มีเส้นสปี ดทีเ่ ขี ยนให้เป็ นแสงเท่านัน้ ไม่ต้องลง
น้าหนักเทาดา (การทาสกรี น) ก็รู้สึกถึงพลังเต่า สว่างจ้ามาก ซึ่ งวิ ธีการวาดแบบนี ้ไม่มีในการ์ ตูน
เรื ่องอืน่ ๆ ซึ่งผมชอบการเขี ยนทีง่ ่ายๆ ไม่ต้องใช้ลายเส้นมาก ไม่ตอ้ งลงแสงเงามันสวยด้วยตัวมัน
เอง เหมื อนเช่นโดราเอมอน โปเกมอน ชิ นจัง อิ คคิ วซัง พวกนัน้ ” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล,
สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)
“ดราก้อนบอลวาดน้อย ใช้แค่เส้นขาวดา ไม่ว่นุ วายมาก การวาดน้อยมันทาให้เราอ่าน
เท่าไหร่ ก็รู้สึกไม่พอ อยากตามอ่านมากขึ้นๆ อี กเรื ่อยๆ” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13
กันยายน 2554)
นอกจากลายเส้ นที่เรี ยบง่าย สะอาดตาแล้ ว ลายเส้ นของดราก้ อนบอลยังเป็ นแบบตัดทอน
รายละเอียดให้ ดเู ป็ นการเขียนแบบการ์ ตนู (การลดทอนและการเพิ่มขยายสัดส่วนตัวละคร) มาก
ขึ ้น ซึง่ ก็ทาให้ ลายเส้ นดูนา่ สนุกและเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นในวงกว้ างได้ มากตามไปด้ วย
145

ภาพประกอบ 28 ลายเส้ นเรียบง่ าย สะอาดตา และเส้ นสปี ดในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&month=11-
2011&date=20&group=19&gblog=1

3.2 เดธโน้ ต: ลายเส้ นเนี ้ยบ-ซับซ้ อน


ในขณะที่ดราก้ อนบอลมีลายเส้ นเรี ยบง่าย น ้าหนักสม่าเสมอ ชัดเจน แต่ผ้ เู ขียนภาพอย่าง
ทาเคชิ โอบาตะ กลับสร้ างตัวละคร ทังการออกแบบเครื
้ ่ องแต่งกาย และรูปร่างหน้ าตาตัวละครใน
เดธโน้ ตด้ วยลายเส้ นที่ซบั ซ้ อน ด้ วยขนาดของเส้ นที่คอ่ นข้ างเล็กและบางทาให้ ตวั ละครดูมี
รายละเอียดเยอะ และด้ วยการติดสกรี นโทนในเรื่ องค่อนข้ างมากทาให้ ภาพโดยรวมเป็ นโทนดาซึง่
ก็เหมาะสมกับเรื่ องราวที่เน้ นความลึกลับ และการสืบสวน และก็ทาให้ เรื่ องดูซบั ซ้ อนขึ ้นไปอีก
นอกจากนี ้ด้ วยเรื่ องราวที่เกิดบนโลกมนุษย์ (ไม่ใช่โลกจินตนาการขึ ้นเหมือนวันพีซ หรื อนินจาคาถา
ฯ) ทาให้ การวาดฉากในเรื่ องใช้ วิธีที่แตกต่างไปจากการวาดฉากในการ์ ตนู ปกติ คือแทนที่จะวาด
ฉากเองกลับถ่ายรูปจริงมาลอกลายเส้ นแล้ วแปะสกรี นโทนเพื่อความสมจริง
“เดธโน้ตเป็ นลายเส้นแบบยุคใหม่ ทีม่ ี ลายเส้นค่อนข้างซับซ้อน เหมื อนลายเส้นแบบแอนิ
เมชัน่ ” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล, สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)
และแน่นอนว่าเมื่อลายเส้ นค่อนข้ างละเอียด ซับซ้ อนจึงอาจส่งผลต่อกลุม่ ผู้อ่านบางกลุม่
โดยเฉพาะเด็กที่ยอ่ มเข้ าถึงลายเส้ นเรี ยบง่ายอย่างดราก้ อนบอลได้ มากกว่า
“เขาวาดสวยนะ ลายเส้นเนี ้ยบสุดยอดเลย แต่มนั อึดอัดไป ดูเจ้าระเบี ยบเกิ นไปสาหรับ
ผม” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
146

3.3 เทวนตี ้ฯ: ลายเส้ นสมจริงแต่ไม่ซบั ซ้ อนสวยงามเกินจริ ง


ด้ วยเนื ้อเรื่ องที่เน้ นความสมจริง ตัวละครก็เป็ นมนุษย์ธรรมดาๆ เดินดิน ดังนันลายเส้ ้ น
ของนาโอกิ อุราซาว่าจึงวาดในแนวเหมือนจริงอย่างมากทังฉากและโดยเฉพาะตั ้ วละคร รวมทังมี ้
การทาสกรี นค่อนข้ างมากเพื่อสร้ างความสมจริงให้ กบั เรื่ องราวเหมือนเช่นเดธโน้ ต แต่ในขณะที่
เดธโน้ ตเน้ นวาดตัวละครสมจริงแต่ก็เป็ นตัวละครสมจริงที่อิงกับกลุม่ คนที่ เป็ นต้ นแบบของสังคม
(Idol) ดังนันจึ ้ งยังคงสร้ างความหล่อ-สวย-เท่ผา่ นสัดส่วนและหน้ าตาของตัวละคร (ผอมเพรี ยว
ตาโต) แต่ทเวนตี ้ฯ กลับวาดตัวละครสมจริงที่เป็ นคนกลุม่ ใหญ่ของสังคมจริงที่สดั ส่วนและ
หน้ าตาตัวละครไม่หล่อ ไม่สงู ยาวเข่าดีเหมือนเช่นเดธโน้ ต ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ มีลายเส้ นที่บาง
ละเอียด ซับซ้ อนเท่ากับเดธโน้ ตเช่นกัน ดังนันลายเส้ ้ นของเดธโน้ ตแม้ อาจเข้ าไม่ถึงกลุม่ เด็กแต่ก็
น่าจะถูกใจกลุม่ ผู้อา่ นวัยรุ่น และกลุม่ ผู้อ่านที่ยึดติดกับการออกแบบรูปร่างหน้ าตาตัวละคร
มากกว่าทเวนตี ้ฯ
“ลายเส้นเขาสมจริ งมาก มันสร้างเอกลักษณ์ ให้ตวั ละครก็จริ งอยู่แต่ก็เรี ยกคนอ่านได้ยาก”
(อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
“ลายเส้นเขาเหมื อนเพลงสุนทราภรณ์ ถามว่าเพราะไหม เพราะแน่ แต่ร้องตามยาก ไม่
ฮิ ตในวงกว้าง ความยากของลายเส้นมันก็ทาให้เป็ นอุปสรรคในการสร้างการจดจาของคนอ่าน
โดยเฉพาะเด็กที ่ย่อมชอบลายเส้นง่ายๆ ดูแล้วจาได้ วาดตามได้ พอวาดตามได้ก็ภูมิใจอยากซื ้อ
อ่านต่อ” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล, สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)
แต่หากมองอีกมุม การสร้ างตัวละครและฉากให้ มีลายเส้ นสมจริงโดยไม่ตงใจจะขาย
ั้
หน้ าตา-รูปร่างของตัวละครภายนอกให้ โดดเด่นเกินคนจริงในทเวนตี ้ฯ ก็อาจเป็ นความต้ องการของ
ผู้เขียนที่อยากให้ ผ้ อู า่ นเพ่งพิจไปที่บรรยากาศและปมของเรื่ องที่ทาให้ ดซู บั ซ้ อนชวนติดตามมากขึ ้น
“ลายเส้นทเวนตีฯ้ ไม่เนี ย้ บเกิ นไปจนทาให้ผอู้ ่านอึดอัด มันไม่เป็ นทางการมากจนพอจะมี
พืน้ ทีส่ บายๆ ให้คนอ่านบ้าง ไม่ เหมื อนเดธโน้ตทีล่ ายเส้นเนีย้ บมากๆ จนไม่เหลือทีท่ ี ่จะก้าวไปได้
ซึ่ งเรื ่องที ล่ ายเส้นเนี ย้ บมากๆ ไม่มีลายเส้นหลุดๆ สบายๆ ก็ทาให้คนอ่านโฟกัสอยู่กบั ตัวละครมาก
เกิ นไป แต่ทเวนตีเ้ ปิ ดพืน้ ทีม่ ากพอจะทาให้คนอ่านมี สมาธิ กบั เนือ้ เรื ่อง ทาให้เรื ่องเด่นขึ้น” (เอกสิทธิ์
ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
147

ภาพประกอบ 29 ลายเส้ นละเอียดในเดธโน้ ต (ซ้ าย) และลายเส้ นสมจริงในทเวนตีฯ้ (ขวา)


ที่มา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=405591
http://asiabeam.com/v/films/20th-Century-Boys/20th-Century-Boys-manga-01

3.4 วันพีซ :ลายเส้ นละเอียดแต่สดั ส่วนแบบการ์ ตนู


แม้ วนั พีซจะเป็ นการ์ ตนู ที่ลายเส้ นมีรายละเอียดสูง ซึ่งโดยปกติอาจเป็ นข้ อจากัดในการ
เข้ าถึงสาหรับกลุม่ เด็ก แต่ด้วยวิธีการออกแบบตัวละครที่มีความเป็ นการ์ ตนู แบบตัดทอนและ
เพิ่มขยายมาก (เช่นภาพตัวละครอ้ าปากกว้ างเกินจริง) จึงเป็ นตัวช่วยทาให้ เกิดความรู้สกึ สนุก
และตลกจนทาให้ เรื่ องได้ รับความนิยมในวงกว้ างมากกว่าการ์ ตนู ที่ลายเส้ นมีความละเอียดสูงและ
สัดส่วนก็เน้ นสมจริง (เช่นเดธโน้ ตหรื อทเวนตี ้ฯ)
“ลายเส้นของวันพีซมันเร้าอารมณ์ สูงเพราะเขาวาดแบบโอเวอร์ ไว้ก่อน เช่นปากกว้าง มัน
ทาให้ลายเส้นเขาโดดเด่น” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี , สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
“ first impression ของลูฟี่ (พระเอกวันพีซ) เนี ย่ ไม่ผ่านนะ ผมว่าเขาวาดคาแร็ คเตอร์ ไม่
สวยเลยนะ แรกๆ ไม่โอ.เค.เลย แต่ไปๆ มาๆ อ่านเรื ่ องไปแล้วมันก็สนุกดี ดูไปดูมาแขนที ไ่ ม่สม
ส่วน ไม่มีข้อพับ ออกแนวโค้งๆ ก็ดูชินตาจนเป็ นเอกลักษณ์ ไป ผมว่าการ์ ตูนที เ่ นื อ้ เรื ่องสนุก ก็มีผล
ยัดเยี ยดคาแร็ คเตอร์ ให้ผู้อ่านได้เหมื อนชิ นจัง” (ประสพโชค จันทรมงคล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม
2554)
148

ภาพประกอบ 30 ลักษณะลายเส้ นและการวาดสัดส่ วนตัวละครที่เกินจริงในวันพีซ


ที่มา: http://cartoon.tlcthai.com/

ขณะเดียวกันการติดสกรี นโทนน้ อย (การใช้ แผ่นสกรี นโทนแบบสาเร็จรูป) แต่ใช้ การสาน


เส้ นด้ วยมือค่อนข้ างมาก (มากกว่าดราก้ อนบอลและนินจาคาถาฯ) ทาให้ ผ้ อู า่ นที่ไม่ค้ นุ กับการ
อ่านการ์ ตนู อาจรู้สึกสับสนเพราะแยกแยะรายละเอียดต่างๆ ในภาพได้ ยาก
“ลายเส้นวันพีซมันดูตึงโป๊ ะ วุ่นวาย ไม่สวย ไม่ค่อยมี น้าหนัก” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์,
สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
3.5 นินจาคาถาฯ: ลายเส้ นเรี ยบง่ายแต่สดั ส่วนสมจริง
ลายเส้ นของนินจาคาถาฯ ได้ รับอิทธิพลจากดราก้ อนบอลตรงการติดสกรี นน้ อยเช่นกัน
และลายเส้ นก็คอ่ นข้ างเรี ยบง่ายเมื่อเทียบกับโทนของเรื่ องที่นอกจากจะต่อสู้กนั จริงจังแล้ วยังพูดถึง
ปมของตัวละครในด้ านมืดค่อนข้ างเยอะ ทาให้ ภาพรวมของตัวละครและฉากไม่ได้ ดมู ีมิตลิ กึ ซึ ้ง
หรื อซับซ้ อนมากนัก แต่ขณะเดียวกันการออกแบบสัดส่วนตัวละครให้ คอ่ นข้ างสมจริง ไม่ได้ เน้ น
การตัดทอน เพิ่มขยายสัดส่วนเหมือนดราก้ อนบอลหรื อวันพีซจึงทาให้ เรื่ องราวดูสมจริ งมากกว่า
“ชอบความเรี ยบง่าย ลายเส้นเขาดูเขี ่ยๆ แต่ work ในแง่การเล่าเรื ่อง มันทาให้เรื ่ องดู
น้อย และสวยโดยไม่ต้องใส่รายละเอียดเยอะ” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม
2554)
149

3.6 ยอดนักสืบจิ๋วฯ: ลายเส้ นแบบการ์ ตนู ลดทอนความรุนแรงของเรื่ องสืบสวน


ลายเส้ นของยอดนักสืบจิ๋วฯ มีทงแบนและกลมในเรื
ั้ ่ องเดียวกัน โดยมักใช้ เส้ นแหลม ชี ้
ผ่านการออกแบบตัวละครหลักเกือบทุกตัว (ที่หน้ าตาดีและอยู่ในช่วงวัยรุ่น) โดยเฉพาะการวาด
จมูก และทรงผม ขณะเดียวกันก็ออกแบบตัวละครให้ ลดทอนและเพิ่มขยายสัดส่วนและใส่ทรง
กลมลงไป (โดยเฉพาะในตัวละครวัยเด็กที่ตาโต หัวใหญ่ ตัวเล็ก) จนทาให้ มีความเป็ นการ์ ตนู
ค่อนข้ างมาก และทาให้ ร้ ูสึกถึงความ “ไม่สมจริง” ตามไปด้ วย ดังนันแม้
้ จะมีฉากนองเลือด
จากเหตุฆาตกรรมปรากฎให้ เห็นตลอดทังเรื ้ ่ องก็ไม่ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ถึงความรุนแรงที่เกิดขึ ้น
เท่าที่ควรจะเป็ นดังนันจึ
้ งเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นในวงกว้ างได้ มากกว่าเรื่ องแนวสืบสวนทัว่ ไป
“โคนันมี ลายเส้นถึงลูกถึงคน ปาก ตาโต มี จุดร่ วมคล้ายๆ โทริ ยาม่า การอ้าปาก ตาถลน
เหมื อนๆ กัน มี ความเป็ นการ์ ตูนสูง มี ไดนามิ คเยอะ ตุ๊ยท้องปากถลนปากอ้าเหมื อนๆ กับวันพีซ ซึ่ ง
ก็เข้ากับเรื ่อง” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13 กันยายน 2554)
แต่ในทางกลับกันลายเส้ นที่ยงั คงความเป็ นการ์ ตนู (ลด-เพิ่มสัดส่วน) และการใช้ ทรงกลม
เข้ าช่วยในตัวละครที่เป็ นเด็กก็ทาให้ ความเข้ มข้ นของเรื่ องราวแบบสืบสวนสอบสวนลดลงไปด้ วย
“ลายเส้นเขาเป็ นเอกลักษณ์ สูง วาดเด็กก็น่ารัก วาดผูห้ ญิ งก็สวย แต่จุดอ่อนคื อ
ลายเส้นมี ความเป็ นเด็กสูงทาให้บางครั้งรู้สึกว่ามันไปไม่ถึงเรื ่องแนวสื บสวน เพราะลายเส้นที ด่ ูเป็ น
เด็กทาให้เรื ่องดู soft “ (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี , สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 31 สัดส่ วนแบบการ์ ตูนที่ลดความจริงจังของเรื่องยอดนักสืบจิ๋วฯ


ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/
150

แม้ ลายเส้ นในการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจะแตกต่างกันอย่างไร แต่สิ่งที่เหมือนกันของทุกเรื่ องคือ


การเลือกใช้ ลายเส้ น (รวมทังการสานเส้
้ นหรื อการติดสกรี น) ให้ เหมาะสมกับเนื ้อเรื่ อง บรรยากาศ
และความรู้สกึ นึกคิดของตัวละครเป็ นสาคัญ โดยอาจสรุปออกเป็ นตารางได้ ดงั นี ้

เรื่อง ความเรียบง่ าย/ การลด-เพิ่ม วิธีสร้ างนา้ หนัก/มิติ ผลรวมของการใช้ ลายเส้ น


ความละเอียดเส้ น สัดส่ วนตัวละคร ให้ ตวั ละคร
ดราก้ อน เส้ นเรี ยบง่าย มีความ ลด-เพิ่มสัดส่วน
แทบไม่ติดสกรี น ไม่ เส้ นดูเข้ าใจง่าย สะอาดตา
บอล เป็ นกราฟิ ก ค่อนข้ างมาก เน้ นสร้ างมิติ
เดธโน้ ต เส้ นละเอียด เล็กบาง สัดส่วนสมจริ ง
ติดสกรี นมาก ตัวละคร เส้ นดูซบั ซ้ อน โทนภาพมืด
ดูเนี ้ยบ ฉากดูมมี ิติ หม่นเข้ ากับเรื่ อง
ทเวนตี ้ฯ เส้ นละเอียดพอควร สัดส่วนสมจริ งมาก ติดสกรี นค่อนข้ างมาก เส้ นไม่ซบั ซ้ อนเกิน แต่ตวั
แต่ไม่เล็กเท่าเดธโน้ ต ตัวละคร ฉากดูมีมติ ิ ละครดูสมจริ งเข้ ากับเรื่ อง
วันพีซ เส้ นละเอียดมาก ลด-เพิ่มสัดส่วน สานเส้ นด้ วยมือ เข้ าใจ เส้ นดูคอ่ นข้ างยุง่ เหยิง แต่
มากที่สดุ ยากกว่าติดสกรี น สร้ างความตลกได้ มาก
นินจาคาถา เส้ นค่อนข้ างเรี ยบง่าย สัดส่วนค่อนข้ าง ติดสกรี นน้ อย ไม่เน้ น เส้ นดูเข้ าใจง่าย โทนภาพไม่
สมจริ ง มิติตวั ละคร ฉากนัก มืดหม่นเกินไป
ยอดนักสืบ เส้ นค่อนข้ างเรี ยบง่าย ทังสมจริ
้ งและ ติดสกรี นพอสมควร เส้ นดูเข้ าใจง่าย โทนภาพมืด
จิ๋วฯ ใช้ เส้ นตรงชี ้และทรง ลดทอนตามวัยของ ฉากดูมมี ิติเข้ าใจง่าย หม่นตามแนวเรื่ อง
กลมผสมผสาน ตัวละคร

ตารางที่ 16 ภาพรวมวิธีการใช้ ลายเส้ น


บทที่ 5

ผลการวิจัยการสร้ างตัวละคร

จากผลการวิจยั ด้ วยแนวคิดการเล่าเรื่ อง และการนาเสนอเรื่ องราวผ่านเทคนิคเฉพาะของ


สื่อการ์ ตนู ในบทที่ 4 ทาให้ เห็นรูปแบบ และกลวิธีการนาเสนอเรื่ องราวของการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจน
เกือบรอบด้ านแล้ ว ขาดแต่เพียงองค์ประกอบในส่วนของ “ตัวละคร” ในบทนี ้จึงเป็ นผลการวิจยั
ที่วา่ ด้ วยกลวิธีการสร้ างบุคลิกลักษณะตัวละครหรื อการสร้ างคาแร็ คเตอร์ ซึง่ ถือเป็ นองค์ประกอบ
สาคัญที่นกั สร้ างสรรค์เรื่ องเล่าทุกรูปแบบต่างทุม่ ให้ ความสาคัญไม่แพ้ องค์ประกอบของการเล่า
เรื่ องอื่นๆ โดยแบ่งออกเป็ นหัวข้ อดังนี ้
1. ประเภทตัวละคร
2. ความพิเศษของตัวละคร
3. ความแตกต่างหลากหลายของตัวละคร
4. การกระจายความสาคัญและการสร้ างความสัมพันธ์ของตัวละคร

1.ประเภทตัวละคร
ก่อนจะวิเคราะห์ไปถึงแนวทาง-กลวิธีสร้ างลักษณะพิเศษของตัวละครเราควรรู้ถึงประเภท
ของตัวละคร รวมถึงมิตขิ องตัวละครเสียก่อน ซึง่ ตามแนวคิดการเล่าเรื่ องสามารถแยกแยะออกมา
ได้ ดงั นี ้
1.1 ประเภทตัวละครที่พิจารณาจากจานวนของตัวละคร ซึง่ แบ่งเป็ นตัวละครกลุม่
และตัวละครเดี่ยว
1.1.1 ตัวละครกลุม่
จากกลุม่ ตัวอย่าง 6 เรื่ อง มีการสร้ างตัวละครแบบกลุม่ มากถึง 4 เรื่ อง คือดรา
ก้ อนบอล ทเวนตี ้ฯ วันพีซ และนารูโตะ โดย 2 เรื่ องแรกคือดราก้ อนบอล กับทเวนตี ้ฯ สร้ างตัว
ละครกลุม่ ฝ่ ายตัวเอกเพียงด้ านเดียว ในขณะที่ฝ่ายตัวร้ าย (หรื อฝ่ ายตรงกันข้ ามกับตัวเอก) เป็ นตัว
ละครเดี่ยว โดยในดราก้ อนบอลนันตั ้ วละครกลุม่ หลักๆ ของฝั่ งตัวเอกอย่างโงคูมีถึง 12 ตัว1

1
ตัวละครกลุ่มหลักทัง้ 12 ตัว (รวมพระเอก) ประกอบด้ วยโงคู โงฮัง โงเท็น พิคโกโร่ บลูม่า คุ
ริ ลิน หยาฉา เท็นชินฮัง เจาสึ ผู้เฒ่าเต่า ยาจิโรเบ้ รันจิ (ไม่นบั ตัวละครประเภทผู้ช่วยเหลือ เช่น เทพเจ้ ามังกร หมอดูบาบา
หรื อท่านไคโอ)
152

แต่การสร้ างตัวละครกลุม่ ในดราก้ อนบอลก็ยงั อาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นตัวละครกลุม่ ที่ไม่ได้ รวมตัวกัน
เหนียวแน่นนัก เพราะตัวละครกลุม่ ฝั่ งพระเอกทังหมดไม่ ้ ได้ ร่วมแรงร่วมใจต่อสู้พร้ อมกันในคราว
เดียวเหมือนเช่นในวันพีซ และก็ไม่ได้ ลงมือกระทาตามอุดมการณ์ในทิศทางเดียวกันเหมือนเช่น
ในทเวนตี ้ฯ แต่ตวั ละครกลุ่มในดราก้ อนบอลมีหน้ าที่เสมือนผู้ชว่ ยเหลือตัวละครพระเอกอย่างโงคู
ในการเอาชนะคูต่ อ่ สู้ โดยตัวละครกลุม่ เหล่านี ้จะเป็ นตัวชูรสในฉากต่อสู้แบบตัวต่อตัวระหว่างฝั่ ง
พระเอกกับผู้ร้าย โดยมักเป็ นการไล่ระดับการต่อสู้จากตัวละครที่มีฝีมื อต่าไปหาฝี มือสูง ขณะที่
ตัวละครฝ่ ายร้ ายก็เป็ นตัวละครแบบเดี่ยวที่ผ้ เู ขียนจาต้ องสร้ างตัวละครหน้ าใหม่ๆ เข้ ามาแทนที่ตวั
ละครฝ่ ายร้ ายตัวเก่าที่ล้มหายตายจาก หรื อบางคนก็กลับใจมาเข้ าพวกกับกลุม่ ตัวเอกอยู่
ตลอดเวลา
ส่วนทเวนตีฯ้ สร้ างตัวละครกลุม่ ของฝั่ งตัวเอก “ขบวนการเคนจิ” ซึง่ มีจานวน 6
คน1 แต่ตวั ละครฝ่ ายร้ ายนันเป็
้ นตัวละครเดี่ยวตลอดทังเรื ้ ่ องคือ “เพื่อน” เพราะถึงแม้ จะเป็ นผู้นา
องค์กรใหญ่ แต่การบริหารงานล้ วนเกิดจาก “เพื่อน” เพียงคนเดียว ตัวละครฝ่ ายร้ ายที่มีบทบาท
สาคัญอื่นๆ เช่น ชัค มันโจเมะ ก็เป็ นเพียงลูกสมุนที่ไม่มีบทบาทในการตัดสินใจลงมือกระทาในสิ่งที่
ส่งผลต่อทิศทางของเรื่ อง
ขณะที่วันพีซ และนารู โตะ สร้ างตัวละครแบบกลุม่ ที่มีแบบแผนมากขึ ้น เพราะได้
จัดรูปแบบของตัวละครอย่างเป็ นหมวดหมูเ่ พื่อง่ายต่อการจดจา ทังฝ่้ ายตัวเอก และฝ่ ายตัวร้ าย
โดยฝ่ ายตัวเอกในวันพีซ คือกลุม่ ก้ อนของโจรสลัดหมวกฟางจานวน 8 คนที่นาโดย “ลูฟี่” ซึง่ แต่ละ
ตัวละครต่างถูกกากับด้ วยบทบาทหน้ าที่สาคัญบนเรื อ2 ส่วนฝ่ ายตัวร้ ายหลักคือหน่วยงานที่
ปกครองโลกแห่งโจรสลัดอย่างกองทัพเรื อ ซึง่ ตัวละครถูกจัดลาดับชันความส ้ าคัญตามยศ และ
ตาแหน่งในกองทัพ รวมทังยั
้ งมีกลุม่ ของเจ็ดเทพโจรสลัดที่เป็ นอดีตโจรสลัดที่มีชื่อเสียงและ
ทางานรับใช้ กองทัพ ขณะที่กลุม่ ตัวเอกของนารูโตะก็คือทีมนินจาแห่งหมูบ่ ้ านนินจา
โคโนฮะ “ทีม 7” ซึง่ มีสมาชิกคือนารุโตะ ซาอิ ซากุระ คาคาชิ และยามาโตะ ส่วนกลุม่ ตัวละคร
ฝ่ ายร้ ายหลักๆ ก็จดั ตังเป็
้ นองค์กรขึ ้นมาชื่อว่า “แสงอุษา” นอกจากนี ้ยังมีตวั ละครกลุ่มที่โดดเด่นไม่
แพ้ ตวั ละครกลุม่ ของตัวเอก นัน่ คือตัวละครที่มีความสามารถพิเศษที่ได้ รับสืบทอดมาจากต้ น

1
ตัวละครทัง้ 7 คน (รวมทังตั
้ วเอกอย่างเอ็นโด เคนจิ) ประกอบไปด้ วย เอ็นโด คันนะ โอตโจะ
ยูคจิ ิ มอนจัง มารุ โอะ และ โยชิสเึ นะ (ไม่นบั รวมตัวละครประเภทผู้ช่วยเหลือชัว่ ครัง้ ชัว่ คราวที่ไม่ได้ มีอดุ มการณ์ร่วมกันใน
การกาจัดแผนร้ ายของ “พระเจ้ า” เช่น พระเจ้ า หรื อ ยัมโบ มาโบ)
2
กลุ่มโจรสลัดหมวกฟาง 8 คนประกอบด้ วย ลูฟี่ นามิ อุซป ซันจิ ช็อปเปอร์ นิโค โรบิน
แฟรงกี ้ และฮัมมิ่ง บรู๊ ค
153

ตระกูล (ในเรื่ องนาเสนอความสามารถพิเศษถึง 9 ตระกูล เช่นตระกูลที่ใช้ แมลงเป็ นอาวุธ ตระกูลที่


ควบคุมเงาได้ หรื อตระกูลที่ถนัดในการใช้ ไฟ เป็ นต้ น) อีกทังยั ้ งมีตวั ละครกลุม่ อื่นๆ ที่อยูใ่ นหมูบ่ ้ าน
นินจาต่างๆ ซึง่ แบ่งออกเป็ นแคว้ นหลัก 5 แคว้ น โดยแต่ละแคว้ นจะมีหมูบ่ ้ านนินจาลับของตัวเอง
นอกจากนี ้ยังมีตวั ละครกลุม่ ที่มีสตั ว์หางสถิตอยูใ่ นร่างกายซึง่ ถูกเรี ยงลาดับชันของพลั ้ งด้ วยจานวน
หางของสัตว์หางอีกด้ วย
การสร้ างตัวละครในวันพีซ และนินจาคาถาฯ นอกจากจะมีตวั ละครเป็ นจานวน
มากแล้ ว ยังสร้ างให้ ตวั ละครเหล่านันมี ้ รูปแบบที่ง่ายต่อการจดจา โดยเฉพาะฝ่ ายตัวร้ ายซึง่ มักมี
ชื่อเรี ยกที่เป็ นนัยยะสื่อถึงลาดับชันเรื ้ ่ องความสามารถ เช่นตัวละครฝ่ ายร้ ายอย่างองค์กรบาร็อก
เวิร์คส์ในวันพีซมีการเรี ยงลาดับความเก่งกาจผ่าน code name คือตังแต่ ้ มิสเตอร์ ซีโร่ไปจนถึง
มิสเตอร์ ไฟว์ (0-5) หรื อในนินจาคาถาฯ ก็ได้ สร้ างสัตว์หางที่ไล่ลาดับพลังเอาไว้ ตงแต่ ั ้ 1-10 หาง
เป็ นต้ น ดังนันการสร้
้ างตัวละครหน้ าใหม่ๆ ให้ เป็ นกลุม่ ก้ อนขึ ้นมาในเรื่ องเดียวกันโดยคิดเพียง
ให้ มีบคุ ลิกลักษณะทังภายในและภายนอกที
้ ่แตกต่างจากตัวละครเก่า เหมือนเช่นดราก้ อนบอลนัน้
อาจไม่เพียงพอสาหรับการสร้ างตัวละครกลุม่ ในการ์ ตนู ปั จจุบนั เพราะจานวนของตัวละครในเรื่ อง
มีมากจนอาจทาให้ ผ้ อู า่ นสับสนหรื อลืมบุคลิกลักษณะของตัวละครไปได้ โดยง่าย ดังนันการสร้ ้ าง
ระบบ หรื อรูปแบบของชื่อให้ กบั ตัวละครกลุม่ เหมือนเช่นข้ างต้ นย่อมช่วยให้ ผ้ อู า่ นจดจาตัวละครได้
ง่ายขึ ้นด้ วย ขณะเดียวกันการกาหนดรูปแบบให้ กบั ตัวละครกลุม่ ยังทาให้ ผ้ เู ขียนเล่าเรื่ องได้ ง่าย
ไม่สะเปะสะปะ เช่นวันพีซ ที่สามารถเล่าเรื่ องราวของตัวละครทีละตัวเริ่มจากหน้ าที่สาคัญบนเรื อ
ตังแต่
้ กปั ตันเรื อ นักดาบ ต้ นหนไปจนถึงนักดนตรี หรื อในฉากต่อสู้ก็เล่าเรี ยงตามลาดับ
ความสามารถของตัวละครฝ่ ายตรงข้ ามที่คนอ่านคาดเดาได้ จากชื่อตัวละครอยูแ่ ล้ ว
1.1.2 ตัวละครเดี่ยว
มีเพียง 2 เรื่ องเท่านันที
้ ่สร้ างตัวละครเอกเป็ นตัวละครประเภทเดี่ยว นัน่ คือเดธโน้ ต
และยอดนักสืบจิ๋วฯ แต่ก็ยงั มีตวั ละครที่อยูร่ ายรอบตัวเอกจัดเป็ นกลุม่ เป็ นก้ อนด้ วยเช่นกัน
เหมือนเช่นในยอดนักสืบจิ๋วฯ ตัวเอกนันมี ้ เพียงคุโด้ ชินอิจิ ยอดนักสืบหนุม่ ชันมั ้ ธยมปลายที่ถกู
องค์กรลึกลับทาให้ ต้องกลายร่างกลับไปเป็ นเด็กประถม โดยใช้ ชื่อใหม่ (ในร่างเด็ก) ว่า เอโดงาวะ
โคนัน ซึง่ การมีตวั ละครเอกไขคดีเพียงคนเดียวก็เป็ นไปตามแนวทางของเรื่ องแนวสืบสวน
สอบสวนที่ต้องการแสดงความสามารถของยอดนักสืบอย่างเต็มที่ แต่การสืบคดีคนเดียวย่อมทา
ให้ เรื่ องราวดูจริงจัง และสร้ างสีสนั จากบทสนทนา หรื อความคิดที่แตกต่างกันเหมือนเช่นตัวละคร
กลุม่ ได้ ยาก จึงทาให้ เกิดตัวละครกลุม่ ขึ ้นเพื่อร่วมกันไขคดีในนาม “ขบวนการนักสืบเยาวชน” ซึง่
เป็ นกลุม่ เพื่อนของโคนันในโรงเรี ยนทัง้ 4 คน และขบวนการนักสืบเยาวชนก็ทาให้ โคนันและ
154

เพื่อนๆ ได้ พาผู้อา่ นเปลี่ยนบรรยากาศไปติดตามการสืบสวนแบบ “เด็กประถม” ที่ไม่จาเป็ นต้ อง


เป็ นคดีคนตายเสมอไป ซึง่ ก็ชว่ ยลดทอนความจริงจังของเรื่ องลงจนทาให้ การ์ ตนู เรื่ องนี ้เข้ าถึงกลุม่
ผู้อา่ นที่เป็ นทังเด็
้ กและผู้ใหญ่ในเวลาเดียวกัน
ดังนันหากมองแบบผิ
้ วเผิน “ยอดนักสืบจิ๋วฯ” อาจมีตวั ละครเอกเพียงหนึง่ เดียว
แต่ด้วยโครงเรื่ องที่จบั พลัดจับผลูให้ ตวั เอกอย่างชินอิจิกลายร่างเป็ นเด็กอย่างโคนัน จึงเปิ ดโอกาส
ให้ เกิดตัวละครกลุม่ ขึ ้น (กลุ่มเพื่อนของโคนัน) และนอกจากตัวละครกลุม่ ฝ่ ายตัวเอกแล้ ว ยังมีตวั
ละครกลุม่ ฝ่ ายตัวร้ ายอย่าง “องค์กรชุดดา” ซึง่ เป็ นต้ นตอที่ทาให้ ชินอิจิกลายร่างเป็ นเด็ก และก็เป็ น
องค์กรปริ ศนาที่ยงั ไม่มีการเปิ ดเผยถึงเบื ้องลึกและจุดประสงค์ขององค์กรมาจนถึงปั จจุบนั
ส่วนเดธโน้ ตสร้ างตัวละครเดี่ยวอย่างยางามิ ไลท์ หรื อคิระผู้ครอบครองโน้ ต
มรณะหรื อ “เดธโน้ ต” ขึ ้นมา โดยไลท์ทาหน้ าที่สงั หารอาชญากรเพียงลาพัง แม้ จะมี “ลุค” ยมทูต
เจ้ าของเดธโน้ ตคอยจับตาอยูก่ ็ตามแต่ลคุ ก็ไม่ได้ ทาหน้ าที่เป็ นคูห่ คู คู่ ดิ ในการลงมือฆ่าคนเพราะการ
ตัดสินใจของไลท์มาจากความคิดของเขาเพียงคนเดียว ขณะเดียวกันตัวละครฝ่ ายตรงกันข้ าม
อย่างแอล (ในเรื่ องนี ้อาจกล่าวได้ ยากว่าใครคือพระเอก-ผู้ร้ายที่แท้ จริงตามที่เสนอไปในโครงเรื่ อง
และแก่นความคิด) ที่คอยขบปริศนาตามจับตัวคิระ แม้ จะมีผ้ ชู ว่ ยอย่างวาตานาเบ้ แต่ก็เป็ นเหมือน
คนรับใช้ ส่วนตัวมากกว่าเพื่อนคูค่ ิด การ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงขับเน้ นไปที่ตวั ละครเดี่ยวทังสองฝ่
้ ายให้ โดด
เด่นเพื่อจะได้ แสดงความสามารถในการเค้ นมันสมองมาต่อสู้กนั เพื่อหาทางหนีทีไล่ฝ่ายตรงกันข้ าม
อย่างเต็มที่
ดังนันตั
้ วละครอย่าง “แอล” และ “ไลท์” จึงอาจเรี ยกว่าเป็ นตัวละครแบบคูร่ ักคู่
แค้ น ที่หากขาดฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ไปเรื่ องราวก็คงไม่สนุก เพราะผู้เขียนสร้ างบทบาทให้ ทงสองเคี ั้ ยง
คูก่ นั เป็ น “อาชญากรตัวเอ้ ” และ “ยอดนักสืบระดับโลก” ที่หากฝ่ ายใดจนมุมนัน่ ก็ย่อมหมายถึงจุด
จบของเรื่ อง
จากประเภทตัวละครที่เน้ นแบบกลุม่ ค่อนข้ างมากตามที่กล่าวข้ างต้ นจึงทาให้ เห็น
แนวทางของการสร้ างตัวละครในปั จจุบนั ที่เน้ นให้ มีตวั ละคร “มากเข้ าไว้ ” (ยกเว้ นเดธโน้ ตที่มีความ
ยาวของเรื่ องไม่มากนัก) เพราะจะช่วยสร้ างบรรยากาศคึกครื น้ ให้ กบั ผู้อา่ นและสามารถสร้ าง
ทิศทางของเรื่ องในระยะยาวได้ หลากหลายแง่มมุ
“สมัยนีต้ ้องสร้างตัวละครแบบกลุ่ม สร้างให้เยอะไว้ก่อน อย่างน้อยคนอ่านก็ต้อง
ชอบซักตัว ไม่ใช่แต่การ์ ตูนหรอก สื ่ออืน่ ๆ ก็เหมื อนกัน อย่างนักร้องสมัยนี ้ตอ้ งออกอัลบัม้ ใหม่เป็ น
เกิ ร์ลกรุ๊ป บอยแบนด์กนั ทัง้ นัน้ เพือ่ ให้คนรับสารเขามี ทางเลือก เลื อกชอบในแบบทีต่ วั เองชอบ ใน
แบบที ่ตวั เองเป็ น” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
155

1.2 ประเภทตัวละครที่พิจารณาจากมิตแิ ละพัฒนาการของตัวละคร โดย


แบ่งเป็ น 2 รูปแบบคือ ตัวละครแบบกลม และตัวละครแบบแบน ซึง่ จากการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องที่เลือก
ศึกษามีวิธีการสร้ างตัวละครแบบกลม 3 เรื่ องและตัวละครแบบแบน 3 เรื่ องเช่นกัน
1.2.1 ตัวละครแบบกลม
การจะค้ นหาตัวละครที่ดสู มจริงเหมือนมนุษย์เดินดินในการ์ ตนู นันดู
้ จะเป็ นเรื่ อง
ยาก เพราะสื่อแห่งจินตนาการย่อมขัดแย้ งกับการสร้ างตัวละครที่มีความเป็ นมนุษย์ธรรมดาๆ
แต่ในทเวนตีฯ้ กลับสร้ างตัวละครที่แสนธรรมดา เหมือนเช่นมนุษย์เงินเดือนที่เห็นกันเกลื่อนใน
สังคมญี่ปนุ่ และได้ กลายเป็ นตัวแทนของคนส่วนใหญ่ในสังคมที่ล้วนลืมความฝั นในวัยเด็กกันไป
หมดแล้ ว เหมือนเช่นตัวเอกของเรื่ องอย่างเอ็นโด เคนจิ ซึง่ เยาว์วยั ฝั นจะเป็ นฮีโร่ปกป้องโลกให้
พันภัยจากสิ่งชัว่ ร้ าย และเมื่อยามวัยรุ่นก็ฝันอยากจะเป็ นร็อคสตาร์ แต่ยามเติบใหญ่โลกแห่ง
ความเป็ นจริงให้ เขาเป็ นได้ แค่ลกู มือช่วยแม่ขายของในร้ านมินิมาร์ ทไปพลางเลี ้ยงหลานสาวไป
พลางจนไฟฝั นในชีวิตนันแทบจะมอดไหม้
้ ไปหมดสิ ้น
พระเอกแบบเคนจิจงึ เป็ นตัวละครแบบกลมที่แสนสมจริง เพราะคนหมดไฟ ไปไม่
ถึงฝั นย่อมมีมากกว่าคนที่คว้ าฝั นมาครองในอุ้งมือ ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู า่ น (โดยเฉพาะชายวัยทางาน)
สัมผัสและเข้ าใจตัวตนของเคนจิได้ ไม่ยาก และนอกจากตัวละครเอกอย่างเคนจิแล้ ว ตัวละคร
หลักอื่นๆ ต่างก็เป็ นคนธรรมดาๆ ไม่ตา่ งกัน ทังโอตโจะ ้ เพื่อนสนิทในวัยเด็กของเคนจิที่อยู่
อย่างไร้ วิญญาณหลังจากลูกชายเสียชีวิต จนต้ องหนีไปใช้ ชีวิตเยี่ยงมาเฟี ยต็อกต๋อยที่เมืองไทย
หรื อโยชิสเึ นะ รักษาการหัวหน้ าขบวนการเคนจิก็ไม่ตา่ งอะไรจากคุณลุงแว่นหนาเตอะ ขี ้อาย ไร้
ความกล้ าหาญ แต่ก็รักเพื่อนมากพอจะรักษาคาพูดในการดูแลฐานทัพลับของกองกาลังเคนจิ
จนกว่าเพื่อนรักจะกลับมา
ตัวละครแบบกลมที่มีความเป็ นมนุษย์จริงๆ ข้ างต้ นอาจทาให้ ผ้ อู า่ นที่เป็ นผู้ใหญ่
เข้ าถึง และเอาใจช่วย “พวกเขา” (ที่ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกเหมือนเป็ น “พวกเรา”) ไปจนจบ แต่
ขณะเดียวกันตัวละครที่ถกู สร้ างให้ เหมือนชีวิตจริงก็ยากจะยึดครองใจผู้อ่านที่เป็ นเด็กและวัยรุ่นซึง่
เป็ นวัยที่ยงั วาดฝั นและปั น้ แต่งจินตนาการไว้ สวยงาม
ขณะที่ตวั ละครแบบกลมในทเวนตี ้ฯ เกิดจากการหยิบเอาชีวิตจริงอันน่าเบื่อ และ
ไร้ ความหวังของวัยผู้ใหญ่มาปั น้ เป็ นตัวละคร แต่ตวั ละครแบบกลมในวันพีซเกิดจากการสร้ าง
“อดีต” อันขมขื่น และฝั งใจจนบ่มเพาะเป็ นลักษณะเฉพาะของตัวละครนันๆ ้ เช่น อุซปนักแม่นปื น
ประจาเรื อของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง เขาต้ องทนทุกข์กบั ความเจ็บป่ วยของแม่ซงึ่ เฝ้ารอพ่อผู้ออก
เรื อไปกับกลุม่ โจรสลัดแชงคูส ทาให้ เขาจาเป็ นต้ องแต่งเรื่ องโกหกเพื่อต้ องการเห็นรอยยิ ้มของแม่
156

จนทาเอาคนในหมูบ่ ้ านมองว่าอุซปคือเด็กเลี ้ยงแกะไร้ คา่ คนหนึง่ หรื อแฟรงกี ้ นายช่างใหญ่


ประจาเรื อของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง เขามีอดีตอันเจ็บปวดเพราะตัวเองเป็ นต้ นเหตุทาให้ ผ้ มู ี
พระคุณซึง่ เปรี ยบเหมือนพ่ออย่างทอม นักต่อเรื อผู้ยิ่งใหญ่ต้องเสียชีวิตลง และด้ วยเหตุการณ์นี ้
เองที่สง่ ผลให้ เขาเลือกจะ “ซ่อม” ตัวเอง ซึง่ ในที่นี ้หมายถึงการซ่อมแซม เยียวยาจิตใจตนให้ ลบ
เลือนอดีตด้ วยการดัดแปลงให้ ตวั เองกลายเป็ นไซบอร์ ก
และไม่ใช่แค่เพียงวันพีซเท่านันที
้ ่สร้ างมิติตวั ละครให้ ลกึ ซึ ้งด้ วยการแต่งเรื่ อง
“อดีต” อันขมขื่น น่าเศร้ า จนเป็ นตัวละครแบบกลม เพราะนินจาคาถาฯ เองก็ใช้ วิธีเดียวกันใน
การสร้ างความน่าสนใจให้ กบั ตัวละคร และอาจเรี ยกได้ วา่ ให้ ความสาคัญกับ “อดีต” ของตัว
ละครมากยิ่งกว่าวันพีซด้ วยซ ้า นัน่ เพราะ “อดีต” เพียงคาเดียวนี่เองที่ทาให้ เรื่ องราวในนินจา
คาถาฯ ดาเนินต่อไปอย่างน่าเชื่อถือ เพราะในขณะที่วนั พีซสร้ างอดีตให้ เฉพาะกับตัวละคร
กลุม่ หลักฝ่ ายตัวเอกอย่างลูฟี่เพื่ออธิบายถึงที่มาของนิสยั ใจคอของตัวละคร แต่นินจาคาถาฯ
เลือกจะสร้ างอดีตอันขมขื่นให้ กบั ตัวละครกลุม่ ทังฝ่้ ายตัวเอก ตัวร้ าย หรื อตัวประกอบอื่นๆ ที่อยูร่ าย
รอบตัวเอก เช่น การสร้ างให้ ตระกูลอุจิวะซึง่ เป็ นฝั่ งตรงกันข้ ามกับตระกูลของนารูโตะ (ตัวเอกใน
เรื่ อง) มีประวัตติ ระกูลที่ลึกลับ เพราะเกิดการฆ่าล้ างกันเองภายในตระกูลซึง่ ส่งผลต่อวิถีชีวิต
และวิถีนินจาของอิทาจิ ทายาทแห่งตระกูล ผู้เป็ นเพื่อนร่วมทีมของนารูโตะ จนทาให้ อิทาจิต้องอยู่
กับเพื่อนที่ชื่อว่า “ความแค้ น” มาตลอดชีวิต หรื อการกล่าวถึงตัวละครประกอบที่ไม่ได้ อยู่
ร่วมหมูบ่ ้ านและไม่ได้ อยูท่ ีมเดียวกันกับนารูโตะอย่างซาบาคุโน กาอาระ ก็ยงั มีการเล่าย้ อนอดีต
เพื่อให้ เห็นที่มาของคาแร็คเตอร์ อนั เลือดเย็น ซึง่ ก็เกิดจากการที่เขามีปีศาจหางเดี่ยว (สัตว์หาง
แบบเดียวกับที่สถิตอยูใ่ นตัวนารูโตะ) หรื อผู้พิทกั ษ์ทะเลทรายสถิตอยูใ่ นตัวจนทาให้ คนในหมูบ่ ้ าน
นินจาซึนะ รวมทังพ่ ้ อของตัวเองตังข้้ อรังเกียจจนกลายเป็ นคนโดดเดี่ยว (เหมือนเช่นนารูโตะ)
แต่เมื่อได้ ตอ่ สู้กบั นารูโตะและเห็นถึงพลังใจอันเข้ มแข็งของนารูโตะจึงทาให้ เขาปรับเปลี่ยนตัวเอง
จนได้ รับการยอมรับจากคนในหมูบ่ ้ านให้ เป็ นผู้ปกครองหมูบ่ ้ านหรื อเป็ น "คาเสะคาเงะ" รุ่นที่ 5
หากกล่าวโดยสรุปความกลมของตัวละคร หรื อความเป็ นคนไม่สมบูรณ์แบบใน
การ์ ตนู ทัง้ 3 เรื่ องคือ ทเวนตี ้ฯ วันพีซ และนินจาคาถาฯ เกิดจากสาเหตุที่แตกต่างกัน โดยทเวนตีฯ้
นันเน้
้ นสร้ างตัวละครที่เป็ น “มนุษย์จริง” โดยถอดแบบจากมนุษย์ในสังคมญี่ปนปั ุ่ จจุบนั เพื่อสร้ าง
ความรู้สกึ ร่วมจากกลุม่ คนอ่านโดยเฉพาะผู้ใหญ่ ประกอบกับกลวิธีเล่าเรื่ องที่ตดั กลับไป
กลับมาระหว่างอดีต (สมัยที่ตวั ละครหลักยังเป็ นเด็กประถม) กับอนาคตของตัวละครหลักในวัย
ปลายสามสิบต้ นสี่สิบ ทาให้ เราเห็นพัฒนาการของตัวละครแบบทะลุปรุโปร่ง ไม่เฉพาะรูปลักษณ์
ภายนอก แต่ยงั รวมถึงวิธีคดิ ความเชื่อ ความรู้สึกของตัวละคร จนทาให้ เรื่ องราวที่ดเู หลือเชื่อของ
157

ชายสวมหน้ ากากปริ ศนาที่เรี ยกตัวเองว่าเพื่อนซึง่ สามารถจูงใจคนจนยึดครองโลกได้ สาเร็จนันดู ้


น่าเชื่อถือขึ ้นมาทันที
ส่วนทางด้ านวันพีซ และนินจาคาถาฯ แม้ ตวั ละครจะมีพฒ ั นาการไม่มากนัก
(อาจเพราะเป็ นเรื่ องขนาดยาว ตัวละครมีมาก ตัวเอกจึงยังไม่ควรบรรลุเป้าหมายเร็ วเกินไป) แต่ตวั
ละครต่างมีมิตทิ ี่นา่ สนใจ เพราะใช้ วิธีการสร้ างปมในจิตใจผ่าน “อดีต” อันเจ็บปวดจนทาให้
ความรู้สกึ ในใจตัวละครแหว่งวิ่น และส่งผลต่อนิสยั ใจคอ รวมทังการกระท ้ า ซึง่ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ
เข้ าใจ เห็นใจ และเข้ าข้ างตัวละครได้ ง่ายนัน่ เอง
แต่ขณะที่ทเวนตี ้ฯ วันพีซ และนินจาคาถาฯ สร้ างตัวละครแบบกลมที่มีมิตคิ วาม
ลึกซึ ้งจนคล้ ายมนุษย์จริง ดราก้ อนบอล เดธโน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ กลับสร้ างตัวละครในทาง
ตรงกันข้ ามนัน่ คือตัวละครแบบแบน
1.2.2 ตัวละครแบบแบน
ตัวละครในดราก้ อนบอล เดธโน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ ไม่ได้ มีมิตซิ บั ซ้ อนมาก
นัก นัน่ เพราะผู้เขียนไม่ได้ เปิ ดพื ้นที่ให้ ตวั ละครได้ แสดงอารมณ์ ความรู้สึก นึกคิดเท่าที่ควร
โดยเฉพาะดราก้ อนบอล ซึง่ ให้ ความสาคัญกับโครงเรื่ องที่มงุ่ ตรงไปข้ างหน้ า และเน้ นสร้ างตัว
ละครหน้ าใหม่ๆ ขึ ้นมาต่อกรกับตัวเอก (ตามความถนัดของผู้เขียนอย่างโทริ ยาม่า อากิระที่
ออกแบบคาแร็คเตอร์ ภายนอกให้ กบั ตัวละครได้ อย่างหวือหวา แปลกตา ซึง่ จะกล่าวละเอียดใน
หัวข้ อถัดไป “ความพิเศษของตัวละคร”) ดังนันแม้ ้ ตวั ละครในดราก้ อนบอลจะมีพฒ ั นาการด้ าน
ฝี มือในการต่อสู้ ก็เป็ นการฝึ กฝนตนเองด้ านพละกาลังภายนอก แต่กลับไม่เผยให้ เห็นการเติบโต
ทางความคิด จิตใจของตัวละคร (แม้ กระทัง่ ตัวเอกอย่างโงคูก็ตาม) เราจึงเข้ าใจโงคูเพียงผิวเผินว่า
ที่เขาต้ องการต่อสู้ เพิ่มพลัง ก็เพราะเกิดจากธรรมชาติของชาวไซย่าที่ชื่นชอบการเอาชนะคะคาน
ผู้อื่นอยูแ่ ล้ ว แต่สิ่งที่โงคูได้ เรี ยนรู้ ผ่านการต่อสู้กบั ผู้อื่นนับร้ อยนันกลั
้ บ “ว่างเปล่า”
แต่หากมองอีกด้ านหนึง่ การจะสร้ างตัวละครให้ มีชีวิตจิตใจ มีหลากหลายเหลี่ยม
มุมผ่านการเล่าถึงวิธีคิด ความรู้สกึ หรื อเบื ้องหลังชีวิตของตัวละครนันอาจท ้ าให้ จงั หวะของการเล่า
เรื่ องช้ าลง และความสนุกสนานในการติดตามตัวละครเอกอย่างโงคูให้ ได้ เพิ่มพลัง และเอาชนะคู่
ต่อสู้ก็ยอ่ มถูกลดทอนลงด้ วย
“เรื ่องต่อสู้ยคุ แรกๆ มันไม่ต้องมาใส่รายละเอี ยดให้ตวั ละครกันหรอก คนอ่านเขา
อยากเห็นฉากบู๊ สูก้ นั เลยดี กว่า อยากดูแค่พระเอกจะชนะยังไงเท่านัน้ ถ้าต้องเสี ยเวลาให้โงคูคิด
มากเกิ นไป คนอ่านก็เบื ่อ ขี ้เกี ยจตามอ่านแล้ว” (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์, 20
กันยายน, 2554)
158

ส่วนเดธโน้ ต ผู้เขียนปล่อยให้ เราได้ มองเห็น “ความคิด” ของตัวละครเอกอย่าง


ยางามิ ไลท์ (หรื อคิระ) และแอลอย่างทะลุปรุ โปร่ง แต่ก็เป็ นความคิดเพียงด้ านเดียวคือ “ด้ านการ
วางแผน” ยอกย้ อนซึง่ กันและกันของฝ่ ายผู้ล่า (แอล) และ ผู้ถกู ล่า (ไลท์) ซึง่ การมองเห็นความคิด
ของตัวละครแม้ จะทาให้ คนอ่านเข้ าใจเรื่ องราวที่กาลังดาเนินไปมากขึ ้นว่าในขันต่ ้ อไปไลท์จะทา
อย่างไรเพื่อใช้ เดธโน้ ตสังหารคนโดยที่ยงั คงพรางตัวไม่ให้ ถกู แอลจับได้ และช่วยขับเสริมความ
เก่งกาจของตัวละครเอกจนทาให้ เรื่ องน่าติดตามอย่างมาก แต่ผ้ อู ่านก็ได้ เข้ าใจเพียงแค่
“ความคิด” แต่ไม่ได้ ซมึ ซับถึง “ความรู้สึก” ของตัวละคร เพราะผู้เขียนแทบไม่เคยเอ่ยถึงความรู้สึก
เสียใจ เจ็บปวด ที่ไลท์ต้องฆ่าคนบริ สทุ ธิ์เพื่ออาพรางตัวตนที่แท้ จริ งของตัวเอง หรื อฝ่ ายตรงกัน
ข้ ามอย่างแอลเองก็ไม่เคยเผยให้ ผ้ อู า่ นเห็นถึงวิถีชีวิตในแง่มมุ อื่นที่ไม่ใช่แค่เพียงการคิดวางแผนจับ
อาชญากร แถมที่มาที่ไปของความเป็ นยอดนักสืบของแอลก็ยงั ไม่ถกู ขยายความมากพอ ซึง่
การไม่เอ่ยถึงเบื ้องหลังชีวิตของตัวละคร และการมุง่ เน้ นเพียงประเด็นการต่อสู้ทางความคิดของตัว
เอกนี่เองที่ทาให้ ตวั ละครในเดธโน้ ตมีลกั ษณะแบน ซึง่ ก็ทาให้ ความผูกพันต่อตัวละครย่อมลด
น้ อยลง เพราะในยามที่แอลเสียชีวิตลง แม้ จะสร้ างความรู้สกึ “คาดไม่ถึง” จากผู้อา่ นก็จริง แต่ก็
ไม่ได้ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ เสียใจมากนัก เพราะเข้ าใจว่า “นี่คือความพ่ายแพ้ จากการดวลเกมกึ๋น” เท่า
นันเอง
้ เช่นเดียวกับจุดจบด้ วยการตายของพระเอกในคราบผู้ร้ายอย่างไลท์ก็ไม่ได้ ทาให้ ผ้ ูอา่ น
รู้สกึ เสียดาย หรื อโศกเศร้ ามากมายนักเช่นกัน นัน่ เพราะไลท์เป็ นตัวเอกชนิดที่ “เก่งขันเทพ” ้ ซึง่
ด้ วยสถานะที่ดชู าญฉลาดเหนือมนุษย์ และการเลือกจะไม่นาเสนอแง่มมุ อื่นๆ เช่นความเป็ นเด็ก
วัยรุ่นคนหนึง่ ที่มีมมุ เรื่ องความรัก (ในเรื่ องไลท์ไม่ออ่ นไหวกับเพศตรงกันข้ ามเลย หนาซ ้ากลับ
หลอกใช้ ผ้ หู ญิงที่หลงรักตัวเองถึงสองคนจนหนึง่ คนต้ องเสียชีวิตเพราะเขา) ลงไปในเนื ้อเรื่ องบ้ าง
ย่อมลดทอนความรู้สึก “เข้ าถึง” ตัวละครจากผู้อา่ นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
“ผมว่าพระเอกเรื ่องนีม้ นั เก่งจริ ง แต่มนั เหมื อนไม่ใช่มนุษย์มนั ไร้หวั จิ ตหัวใจ
เกิ นไป มันน่าจะทาให้คิระคิ ดมากกว่านีห้ น่อยเวลาลงมื อฆ่าใคร หรื ออาจทาให้พระเอกแสดง
ความรู้สึกอะไรออกมาบ้างหลังจากเขี ยนชื ่อคนลงบนเดธโน้ต” (ทรงวิทย์ สี่กิตกิ ลุ , สัมภาษณ์, 12
มิถนุ ายน 2554 )
“คิ ระน่าทึ่งมาก จะฉลาดอะไรขนาดนัน้ แต่ก็ฉลาดเกิ นไปเพราะเขาสร้างคาแร็ ค
เตอร์ เพือ่ เซอร์ วิส (service) กลุ่มแฟนคลับสาวๆ มากไป ซึ่ งมันก็ขายได้ มี สีสนั ดี อยู่หรอกแต่น่า
เสียดายทีเ่ ขาทิ้ งความ “ดราม่า” ทิ้ งไป เราได้เห็นแค่วนั ๆ พระเอกวางแผนอย่างเดียว หลังๆ เลย
เอือม” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
159

ด้ านยอดนักสืบจิ๋วฯ สร้ างตัวละครให้ มีลกั ษณะค่อนข้ างแบน แต่ไม่แบนมาก


เท่ากับดราก้ อนบอล และเดธโน้ ต เนื่องจากตามแนวเรื่ องแบบสืบสวนสอบสวนมีจดุ สาคัญที่การ
ไขคดีผา่ นการแสดงความสามารถของตัวเอก ดังนันตลอดทั ้ งเรื
้ ่ องเราจึงได้ ยิน “เสียงในความคิด”
ของโคนันอยูต่ ลอดเวลา (เพราะตัวเอกมักไขคดีเพียงลาพัง) เพื่อแสดงถึงกระบวนการคิด การตังข้ ้ อ
สงสัย ซึง่ ช่วยสร้ างปม และคลี่คลายปมของเรื่ อง แถมยังเป็ นการ “พูดคุยกับผู้อา่ นโดยตรง” ซึง่
การแสดงกระบวนการคิดผ่านเสียงในความคิดของโคนันเป็ นการสร้ างความคุ้นเคย ความเป็ น
กันเองให้ กบั ผู้อ่าน เพราะผู้อา่ นย่อมรู้สกึ ว่า “รู้กนั สองคนกับตัวเอก” เพราะได้ เกาะติดความคิด
ของตัวเอกและสถานการณ์ของเรื่ องโดยที่ตวั ละครอื่นที่อยูร่ ายรอบตัวเอกไม่อาจรับรู้ได้ (เพราะเป็ น
เสียงในความคิด) แต่เพราะการพูดคุยกับผู้อ่านว่าด้ วยเรื่ องคดีเป็ นหลัก แง่มมุ ของความรู้สกึ
ทนทุกข์ อึดอัดจากการเป็ นผู้ใหญ่ (หนุม่ มัธยมปลาย) ในร่างเด็ก (เด็กชายวัยประถม) จึงไม่ได้ รับ
การถ่ายทอดเท่าที่ควร ดังนันตั
้ วละครเอกแบบโคนันหรื อชินอิจิ จึงค่อนข้ างแบน เช่นเดียวกับ
ตัวละครหลักตัวอื่นๆ ในเรื่ องที่เป็ นเพียงตัวประกอบในการช่วยเสริมการคลี่คลายคดีให้ สนุกยิ่งขึ ้น
ดังนันจึ
้ งอาจสรุปประเภทของตัวละครจากการ์ ตนู ที่เลือกมาศึกษาทังหมดได้ ้ ดงั นี ้

เรื่อง ประเภทตัวละคร (กลุ่ม-เดี่ยว /กลม-แบน)


ดราก้ อนบอล กลุม่ /แบน (ขาดการแสดงความรู้สกึ /อารมณ์ของตัวละคร)
เดี่ยว/ค่อนข้ างแบน (การแสดงความรู้สกึ /อารมณ์ของตัวละครค่อนข้ าง
เดธโน้ ต น้ อย)
ทังเดี
้ ่ยวและกลุม่ /ค่อนข้ างแบน (การแสดงความรู้สึก/อารมณ์ของตัวละคร
ยอดนักสืบจิ๋ว ค่อนข้ างน้ อย)
กลุม่ /กลม (สร้ างตัวละครเหมือนคนจริงที่มีความรัก-โลภ-โกรธ-หลง/ดี-เลว
ทเวนตี ้ฯ ในตัว)
กลุม่ /กลม (สร้ างเบื ้องลึกให้ ตวั ละครกลุม่ พระเอกและจัดหมวดหมูใ่ ห้ กบั ตัว
วันพีซ ละครร้ าย)
กลุม่ /กลม (สร้ างเบื ้องลึกให้ ตวั ละครอย่างมากแม้ กระทัง่ ตัวประกอบและ
นินจาคาถาฯ จัดหมวดหมูใ่ ห้ กบั ตัวละครร้ าย)

ตารางที่ 17 ประเภทของตัวละครโดยแบ่ งเป็ นตัวละครกลุ่ม-เดี่ยว และกลม-แบน


160

1.3 บทบาทหน้ าที่ของตัวละคร


หากแยกย่อยแต่ละบทบาทของตัวละครโดยนาแนวคิดการวิเคราะห์บทบาทหน้ าที่ตวั
ละครของ วลาดิมีร์ พร็อพ (Vladimir Propp) นักวิเคราะห์เทพนิยายพื ้นบ้ านของรัสเซียมาเป็ น
กรอบอ้ างอิงก็สามารถแยกแยะลักษณะ และบทบาทของตัวละครหลักๆ ได้ ดงั นี ้

1.3.1 พระเอก (hero) หรื อตัวละครหลักของเรื่ อง ที่ขบั เคลื่อนให้ เรื่ องเดินหน้ า


นันพบว่
้ าตัวละครพระเอกมีหลากหลายรูปแบบและหลากหลายบทบาทคือ
ก. พระเอกที่ออกเดินทางเพื่อค้ นหาบางสิ่ง
พระเอกแบบที่ได้ รับมอบหมายให้ เดินทางออกนอกอาณาเขตของตัวเอง
เพื่อค้ นหาบางอย่าง หรื อคลี่คลายปมหลักของเรื่ อง (seeking hero) มักปรากฏอยูใ่ นเรื่ องเล่าแนว
ผจญภัย และแนวการค้ นหาตนเองของวัยที่เปลี่ยนผ่านจากเด็กสู่วยั รุ่น (coming of age) ซึง่
ตามแนวคิดของพร็อพนันพระเอกมั
้ กออกเดินทางตามความต้ องการของผู้หลักผู้ใหญ่ในครอบครัว/
หมูบ่ ้ าน แต่พระเอกอย่าง ซุน โงคู ในดราก้ อนบอล และมังกี ้ ดี ลูฟ่ ี ในวันพีซ กลับมีอิสระจาก
การตัดสินใจออกเดินทางทาภารกิจ นัน่ เพราะทังคู ้ ไ่ ม่ได้ ออกเดินทางตามความต้ องการของแม่เฒ่า
หรื อปราชญ์ประจาหมูบ่ ้ านที่มกั ส่งคนไปค้ นหาบางสิ่งเพื่อช่วยเหลือหรื อปกป้องหมูบ่ ้ าน หรื ออาณา
เขตของตนเอง แต่ลฟู ี่ และโงคูเดินทางไปตามแรงขับที่มาจากความปรารถนาของตนเอง (ลูฟี่ออก
เรื อเพราะต้ องการเป็ นโจรสลัดผู้ยิ่งใหญ่ โงคูออกค้ นหาดราก้ อนบอลเพราะเป็ นของดูตา่ งหน้ าปู่ ที่
ให้ ไว้ ก่อนตาย แม้ ระยะหลังเขาจะเปลี่ยนความต้ องการของตนกลายเป็ นปรารถนาจะเป็ นนักสู้ผ้ ู
แข็งแกร่งและปกป้องภัยให้ ชาวโลกก็ตาม)
แต่อุซึมากิ นารู โตะ พระเอกในนินจาคาถาฯ ยังคงบทบาทเดิมของ
พระเอกที่ได้ รับมอบหมายจากผู้มีอานาจของหมูบ่ ้ านเพื่อทาภารกิจบางประการ ซึง่ ก็คือการที่
ผู้ปกครองหมูบ่ ้ านนินจาโคโนฮะได้ มอบหมายให้ เหล่านินจาแต่ละทีมออกเดินทางไปทาภารกิจ
นินจา ซึง่ มีทงภารกิ
ั้ จเล็กอย่างการคุ้มกันภัยให้ แก่ผ้ วู ่าจ้ าง หรื อกระทัง่ ภารกิจใหญ่อย่างการทาศึก
สงครามเพื่อป้องกันหมู่บ้านนินจาของตน
การเป็ นพระเอกที่ตดั สินใจลงมือทาบางสิ่ง หรื อออกเดินทางเพื่อค้ นหา
บางอย่างได้ ด้วยตัวเองอาจทาให้ ผ้ อู า่ นเดาทิศทางของเรื่ องได้ ง่าย เพราะรู้พื ้นนิสยั ใจคอ และ
เป้าหมายของตัวละครดี เช่น รู้วา่ ลูฟี่ต้ องรวบรวมสมาชิกบนเรื อเพื่อเดินทางไปทีละเกาะๆ เพื่อ
เข้ าถึงแกรนด์ไลน์ น่านน ้าที่เหล่าโจรสลัดใฝ่ ฝั นถึงสมบัติที่เรี ยกขานกันว่า “วันพีซ” หรื อรู้วา่ ในที่สดุ
โงคูก็ต้องเสาะหารวบรวมดราก้ อนบอลและฝึ กปรื อฝี มือเพื่อเอาชนะคูต่ อ่ สู้จนได้ แต่พระเอกที่
ต้ องทาตามคาสัง่ ผู้อื่นนันย่
้ อมทาให้ ผ้ อู า่ นคาดเดาทิศทางของเรื่ องได้ ยากกว่า เช่นนารูโตะต้ องรับ
161

คาสัง่ จากโฮคาเงะประจาหมู่บ้านไปทาภารกิจอันหลากหลาย ทาให้ ผ้ อู า่ นยากจะคาดเดาว่า


นารูโตะจะออกเดินทางไปที่ใดและลักษณะของการปฏิบตั ภิ ารกิจต่อไปจะเป็ นอย่างไร ซึง่ นารูโตะ
เองก็ได้ รับโจทย์ที่ยากเกินความสามารถตังแต่ ้ ยงั เป็ นเกะนิน (นินจาระดับต่าสุดที่เพิ่งจบจาก
โรงเรี ยนนินจาและได้ ปฏิบตั ิภารกิจที่ง่ายที่สดุ ) เพราะถูกหลอกให้ ไปทาภารกิจระดับสูงกว่าระดับ
ความสามารถนินจาของตนตังแต่ ้ ต้นเรื่ อง
ข. พระเอกเหนือมนุษย์/พระเอกที่ใกล้ เคียงคนเดินดิน
นอกจากบทบาทเรื่ องการทาภารกิจของตัวเอกประเภทที่ออก
เดินทางเพื่อคลี่คลายปมปั ญหาของเรื่ องแล้ ว อาจแยกแยะประเภทของตัวเอกตามความสามารถ
ได้ อีกทางหนึง่ ซึง่ ก็แบ่งเป็ นพระเอกชนิดที่มีความสามารถเหนือมนุษย์ (hero’s power of action)
กับพระเอกที่ไม่ได้ เก่งกาจเหนือมนุษย์แต่ใกล้ เคียงคนเดินดินธรรมดา ซึง่ พระเอกแบบเหนือมนุษย์
ที่มีความสามารถเหนือกว่าคนทัว่ ไปอย่างชัดเจนนันก็ ้ คือ โงคู จากดราก้ อนบอล ที่เรี ยกได้ วา่ ฝี มือ
การต่อสู้เป็ นอันดับหนึง่ ในจักรวาลก็วา่ ได้ เพราะกระทัง่ พระเจ้ าเองก็ยงั ยอมรับในตัวโงคูซงึ่ มี
สายเลือดนักสู้ของชาวไซย่า ขณะที่พระเอกอย่างลูฟ่ ี ในวันพีซ ก็มีความสามารถเหนือมนุษย์
เพราะมีร่างกายเป็ นยางที่สามารถยืดได้ หดได้ ตามใจชอบ และนารู โตะในนินจาคาถาฯ ก็มี
ปี ศาจสิงอยูใ่ นร่างทาให้ มีพลังพิเศษเหนือนินจาคนอื่นๆ
ขณะที่พระเอกอย่างแอล ยอดนักสืบหนุม่ จากเดธโน้ ต แม้ จะเป็ นคน
ธรรมดาๆ ที่ไม่ได้ มีพลังวิเศษใดใด แต่ก็เป็ นเด็กวัยรุ่นที่ฉลาดเสียจนยากจะเชื่อว่าอายุเพียงต้ น
ยี่สิบและเก่งกว่าตารวจทุกคนในญี่ปนุ่ (เพราะแอลได้ รับแต่งตังให้ ้ เป็ นหน้ าทีมสืบสวนไล่ลา่ “คิระ”
ผู้เป็ นฆาตกรปริศนาที่คอยสังหารอาชญากรตัวฉกาจและยังได้ รับการยอมรับจากประธานาธิบดี
สหรัฐอเมริกาอีกด้ วย) ส่วนคุโด้ ชินอิจิ หรื อเอโดงาวะ โคนัน ในยอดนักสืบจิ๋วฯ ก็เป็ น
พระเอกชนิดที่เกือบๆ จะเหนือมนุษย์เช่นกัน เพราะแม้ แนวเรื่ องจะไม่ได้ เน้ นการต่อสู้ แต่ชินอิจินนั ้
รับบทเป็ นยอดนักสืบมัธยมปลายที่ฝีมือดังกระฉ่อนระดับที่กรมตารวจญี่ปนเองยั ุ่ งยอมรับ
เช่นเดียวกับแอลในเดธโน้ ต
น่าสังเกตว่าพระเอกแบบเหนือมนุษย์ที่กล่าวมาข้ างต้ นทังหมดมี ้ อายุอยู่
ในช่วงวัยรุ่นระดับมัธยมปลายถึงระดับมหาวิทยาลัย ซึง่ เป็ นกลุม่ เป้าหมายหลักที่ผ้ เู ขียนคาดว่า
จะอ่านงานของพวกเขา (ยกเว้ นโงคูที่ตวั ละครเติบโตตังแต่ ้ เด็กชายช่วงประถมปลายไปจนถึงวัย
กลางคน) ดังนันแม้ ้ ตวั ละครเอกจะเก่งกาจเหนือมนุษย์สกั เพียงใด แต่อย่างน้ อยๆ พระเอกเหล่านี ้
ก็ยงั มีจดุ ร่วมกับผู้อ่านนัน่ คืออยูใ่ นช่วงวัยเดียวกัน ซึง่ ย่อมช่วยลดทอนสถานะความเป็ น “เทพ”
ของตัวละครให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกจับต้ องและเข้ าถึงได้ ง่ายขึ ้น นอกจากนี ้แต่ละตัวละครเอกก็ยงั มีจดุ อ่อน
162

เฉพาะตัวที่ชว่ ยลดทอนความเหนือมนุษย์ของตัวละครลงไปด้ วยเช่นกัน เช่นโงคูในช่วงวัยเด็กมี


จุดอ่อนที่ “หาง” หากใครดึงหางจะอ่อนแอขึ ้นทันที หรื อลูฟี่ในวันพีซแม้ จะร่างกายยืดหยุน่ เพราะ
เป็ นมนุษย์ยางแต่ก็ต้องแลกกับการไม่สามารถว่ายน ้าได้ เนื่องจากฤทธิ์ของผลไม้ ปีศาจ
จากทัง้ 6 เรื่ องจึงเหลือเพียงเอ็นโด เคนจิ ใน ทเวนตีฯ้ ที่เป็ นพระเอก
แบบใกล้ เคียงคนธรรมดามากที่สดุ จนอาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นพระเอกที่ตอ่ ต้ านความเป็ นพระเอกผู้มกั มี
ความสามารถเหนือผู้อื่น (anti-hero) เพราะนอกจากรูปลักษณ์ภายนอกของเคนจิจะไม่หล่อไม่เท่
แล้ ว ความคิด จิตใจภายในก็ไม่ได้ มงุ่ มัน่ เผชิญหน้ ากับคูต่ อ่ สู้ (“เพื่อน”) มากมายนักเพราะผู้อา่ น
ได้ เห็นช่วงเวลาที่เคนจิหลีกลี ้หายไปจากสังคมเพราะความหวาดกลัว “เพื่อน” โดยปล่อยให้
หลานสาวอย่างคันนะต้ องแบกรับความกดดันจากการรวมพลประชาชนเพื่อต่อต้ าน “เพื่อน”
แต่ในความเป็ นพระเอกที่ไม่ได้ เหนือผู้อื่นนันเคนจิ
้ กลับโดดเด่นในแง่การเป็ นศูนย์รวมจิตใจให้ แก่
คนรอบข้ าง และเป็ นผู้มีจินตนาการสร้ างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้ เกิดขึ ้น (ทังการคิ้ ดบันทึกคาทานายโลก
การเป็ นต้ นคิดรวบรวมเพื่อนๆ เพื่อช่วยกันสืบหาเบื ้องหลังการตายของเพื่อนในวัยเด็กอย่างดองกี ้
หรื อการแต่งเพลงที่ดจู ะไร้ ความหมายแต่กลับเข้ าถึงใจผู้ฟัง) ดังนันพระเอกแบบเคนจิ
้ จงึ ไม่
สามารถสร้ างความรู้สึกตื่นเต้ น หวือหวาในยามต้ องต่อสู้กบั อุปสรรคหรื อเหล่าร้ าย แต่ในทาง
ตรงกันข้ ามผู้อา่ นกลับเอาใจช่วยให้ เคนจิฟันฝ่ าอุปสรรคมากกว่าพระเอกประเภทเหนือมนุษย์
เพราะเขาไม่สามารถสร้ างความคาดไม่ถึงได้ จากพลังลี ้ลับที่แฝงในร่างกาย และไม่อาจมีอาวุธ
พิเศษใดใดเป็ นตัวช่วย แต่ต้องอาศัยพลังใจ และความสามารถในการโน้ มน้ าวใจให้ ทงพวกพ้ ั้ อง
และศัตรูยอมรับในความเห็นของเขา
ค. พระเอกที่เริ่มจาก 0/ พระเอกที่เริ่มจาก 10
หากจะแยกแยะพระเอกตามพัฒนาการความสามารถก็อาจแบ่งได้ เป็ น 2
กลุม่ คือ พระเอกที่ไม่ได้ เก่งตังแต่
้ แรกเริ่ม หรื อพระเอกที่เริ่ มต้ นจากศูนย์ กับพระเอกที่เก่งตังแต่ ้
แรกเริ่ม หรื อพระเอกที่เริ่มต้ นจาก 10 ซึง่ พระเอกที่เริ่มต้ นจากศูนย์หรื อไม่มีความสามารถติดตัว
เลยนันก็้ คือนารู โตะ ในนินจาคาถาฯ และลูฟ่ ี ในวันพีซ ซึง่ มีเพียงกาลังใจมุง่ มัน่ อยากจะเป็ นสุด
ยอดนินจาและสุดยอดโจรสลัดเท่านัน้ ความสนุกสนานของการติดตามตัวละครเอกทังสองตั ้ วนี ้
จึงเป็ นการค่อยๆ เติบโต เก่งกาจไปกับตัวละคร ทีละนิดๆ ซึง่ โงคู ในดราก้ อนบอลเองก็อาจจัด
อยูใ่ นกลุม่ นี ้ด้ วยเช่นกัน แต่โงคูนนเริ
ั ้ ่มต้ นจากการมีฝีมือติดตัวอยูบ่ ้ าง (ไม่ได้ เริ่มจากศูนย์แต่เริ่ม
จาก 5) และก็คอ่ ยๆ พัฒนาฝี มืออย่างรวดเร็ว จนผู้อา่ นแทบเดาไม่ออกว่าผู้เขียนจะสร้ าง
สถานการณ์ หรื อศัตรูที่เก่งกาจมาจากไหนเพื่อแสดงถึงความเก่งของโงคูที่มากขึ ้นทุกขณะ
163

ส่วนพระเอกที่เก่งตังแต่
้ แรกเริ่ม หรื อเริ่มต้ นจาก 10 และไม่ได้ มี
พัฒนาการในด้ านความสามารถก็คือโคนัน จากยอดนักสืบจิ๋วฯ และแอลกับไลท์ จากเดธโน้ ต
เพราะทังสองเรื
้ ่ องมุง่ เน้ นไปที่แนวการสืบสวนสอบสวน จึงจาเป็ นต้ องสร้ างตัวละครเอกที่เก่งกาจ
อยูแ่ ล้ วตังแต่
้ เปิ ดเรื่ องเพื่อสร้ างความน่าเชื่อถือในการสืบคดี-คลี่คลายปม ซึง่ ความสนุกของผู้อ่าน
ที่ได้ ติดตามพระเอกประเภทเก่งอยูแ่ ล้ วเช่นนี ้ก็เลยมุง่ ไปที่วิธีการสืบสวน การเสาะหาร่องรอยตัว
คนร้ ายที่เหนือชันกว่ ้ านักสืบหรื อตารวจธรรมดาๆ
มีพระเอกเพียงเรื่ องเดียวคือเคนจิ จากทเวนตีฯ้ ที่ไม่อาจจัดเข้ าพวกได้
เพราะเคนจิเป็ นพระเอกประเภท anti-hero ซึง่ ไม่ได้ เก่งกาจตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง และเมื่อถึงกลางเรื่ อง
หรื อกระทัง่ จบเรื่ อง เขาก็ไม่ได้ เก่งกาจมากขึ ้นเช่นกัน และแม้ จะเป็ นหัวหน้ าขบวนการ
ต่อต้ านองค์กรร้ ายอย่าง “เพื่อน” แต่ในวันที่เคนจิหายตัวไปไร้ ร่องรอยหลังวันที่ขบวนการเคนจิ
บางส่วนถูกจับตัว ไม่มีใครรู้ว่าพระเอกคนนี ้หายตัวไปที่ไหน แต่ในตอนท้ ายจนเกือบจะจบเรื่ องเคน
จิได้ เล่าให้ ดีเจโนเนมคนหนึง่ (แท้ จริงแล้ วก็คือ “คอนจิ” เพื่อนสมัยเด็ก) รู้ความจริงว่า เขาแค่เพียง
หนีหวั ซุกหัวซุน และยืนร้ องไห้ อยู่ 3 วัน 3 คืนกับเหตุการณ์เลวร้ ายที่เกิดขึ ้น (ในเรื่ องไม่ได้ บอก
ชัดเจนว่าสาเหตุเพราะอะไรถึงร้ องไห้ อาจเพราะเสียใจกับการกระทาในวัยเด็กที่สง่ ผลให้ “เพื่อน”
คิดเอาชนะเขา หรื ออาจเสียใจที่ชกั ชวนเพื่อนในวัยเด็กมาปฏิบตั ภิ ารกิจยิ่งใหญ่เกินตัว หรื ออาจ
เสียใจที่ไม่ร้ ูจะหยุดยังแผนการร้
้ ายของ “เพื่อน” ได้ อย่างไร)
ความเป็ นพระเอกของเคนจิจึงไม่ได้ เกิดจากการเชิดชูประเด็นเรื่ อง
“ความเก่งกาจ” ทังด้ ้ านการต่อสู้ทางร่างกายเหมือนเช่นดราก้ อนบอล นินจาคาถาฯ หรื อวันพีซ
และไม่ได้ เน้ นเรื่ องการต่อสู้ทางความคิดเหมือนเช่นเดธโน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ แต่ความเป็ น
พระเอกของเคนจิ คือการเผยให้ เห็นถึงแง่มมุ ของคนธรรมดาๆ ที่อาจมีข้อดีอยูบ่ ้ างตรงที่กล้ า
ออกมารับผิดชอบเรื่ องราวในวัยเด็กที่ได้ เขียนบันทึกคาทานายล้ างโลกจน “เพื่อน” ได้ อตุ ริไปหยิบ
เอามาสร้ างเป็ นเรื่ องทาลายล้ างโลกขึ ้นมาจริงๆ ซึง่ ก็ทาให้ เขาเกิด “สานึกผิด” จนต้ องรวมพลเพื่อน
ในวัยเด็กให้ ออกมาต่อต้ านการครองโลกของ “เพื่อน” พระเอกแบบเคนจิจงึ ไม่ใช่พระเอก
สุดเท่ประเภทที่ผ้ อู า่ นใฝ่ ฝั นเป็ นแบบอย่าง แต่เป็ นพระเอกประเภทที่ผ้ อู า่ นสามารถรู้สกึ สนิทชิด
เชื ้อ เอาตัวเองไปเทียบเคียงจนรู้สกึ รัก และผูกพันกับตัวละครเหมือนเพื่อนสนิท ซึง่ ก็ทาให้ ตดิ ตาม
อ่านไปจนจบเรื่ องได้ เช่นเดียวกับพระเอกแบบเหนือมนุษย์
ง. พระเอกที่เป็ นฝ่ ายกระทาและถูกกระทา
การ์ ตนู โดยส่วนใหญ่ที่มีพระเอกชนิดเหนือมนุษย์ และ/หรื อเก่งตังแต่

164

เปิ ดเรื่ องมักเป็ นพระเอกที่เป็ นฝ่ ายกระทา คือต่อสู้ (ทังทางร่


้ างกาย จิตใจ) ได้ อย่างมาดมัน่ และ
เอาชนะอุปสรรคของเรื่ องได้ ไม่ยากเย็นนัก โดยมีผ้ คู น สังคมรอบข้ างให้ การยอมรับและชื่นชมว่า
เป็ นพระเอกตัวจริง ซึง่ ก็คือพระเอกอย่างแอล-ไลท์ ในเดธโน้ ต โคนัน ในยอดนักสืบจิ๋วฯ
และโงคูในดราก้ อนบอล พระเอกที่เป็ นฝ่ ายกระทาเหล่านี ้มักเป็ นวีรบุรุษที่ทาให้ ผ้ อู า่ นใฝ่ ฝั น
อยากเป็ นแบบนี ้บ้ างแม้ ร้ ูดีวา่ “เป็ นไปไม่ได้ ” ก็ตาม (เพราะเราคงไม่มีวนั วางแผนซับซ้ อนยอกย้ อน
ได้ อย่างเหนือชันเหมื
้ อนเช่นไลท์ คงไม่สามารถไขคดีปริ ศนาที่ตารวจเองยังยากจะคลี่คลายเหมือน
เช่นโคนัน และก็คงไม่มีพลังกายไร้ ขีดจากัดเหมือนเช่นโงคู)
ส่วนพระเอกที่ถกู กระทา ถูกกดดันจากผู้คนรอบข้ าง ไม่ได้ รับการยอมรับ
ว่าเป็ นบุคคลสาคัญในสังคมก็มกั เป็ นพระเอกที่เริ่มต้ นจากศูนย์ ไร้ พลังฝี มือเหมือนเช่นลูฟ่ ี จากวัน
พีซ ที่ถกู ตีตราว่าเป็ นโจรสลัดและมีคา่ หัวให้ กองทัพเรื อออกไล่ลา่ หรื อเคนจิจากทเวนตีฯ้ ก็ถกู
สังคมกล่าวหา (จากการป้ายสีของ “เพื่อน”) ว่าเป็ นตัวการร้ ายของกลุม่ ขบวนการทาลายล้ างโลก
จนต้ องหนีหวั ซุกหัวซุนไปจากสังคม และพระเอกที่ถกู กดดันมากที่สดุ จนแทบเรี ยกได้ ว่าเป็ น
“ขบถ” หรื อ “คนชายขอบ” ในสังคมก็คือนารู โตะ จากนินจาคาถาฯ ที่ต้องถูกคนในหมู่บ้าน
นินจาของตนเกลียดชัง ไม่อยากเข้ าใกล้ เพราะมีปีศาจร้ ายสิงสูใ่ นร่างกาย ซึง่ พระเอกที่ถกู
กระทาเหล่านี ้ย่อมเรี ยกอารมณ์ ความรู้สกึ จากผู้อา่ นที่อาจรู้สกึ “เจ็บใจ” แทนตัวละครได้ ดี ดังนัน้
เมื่อยามที่ตวั ละครฝึ กฝน พัฒนาตนจนบรรลุเป้าหมายและได้ รับการยอมรับจากสังคมจึงมักสร้ าง
อารมณ์ร่วม (อาจเรี ยกได้ ว่าความ “สะใจ”) จากผู้อา่ นและสร้ างความประทับใจได้ มากกว่าตัว
ละครชนิดที่ได้ รับการยอมรับจากสังคมอยูแ่ ล้ ว

1.3.2 ผู้ร้าย (villain)


วิธีที่ง่ายที่สดุ ที่จะเชิดชูความสามารถของพระเอกได้ ก็คือการสร้ างตัวละครผู้ร้าย
(ผู้ขดั ขวางพระเอก) หรื อตัวละครที่เป็ นอุปสรรคหลักของเรื่ องให้ มีความสามารถทัดเทียมกัน
ดังนันในเรื
้ ่ องเล่าทุกรูปแบบ รวมทังการ์
้ ตนู แทบทุกเรื่ องจึงให้ ความสาคัญกับการสร้ างทักษะ
ความสามารถพิเศษของตัวละคร “ผู้ร้าย” ไม่แพ้ “พระเอก” ซึง่ จากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องก็พบว่า
มีถึง 5 เรื่ องที่สร้ างตัวร้ ายให้ เก่งกาจสูสีกบั พระเอกดังนี ้
165

เดธโน้ ตสร้ างผู้ร้าย1อย่างยางามิ ไลท์ได้ โดดเด่นจนแทบจะเกินหน้ าพระเอกอย่าง


แอล เพราะนอกจากผู้เขียนจะเลือกเปิ ดเรื่ องด้ วยการตามติดชีวิตของผู้ร้ายทาให้ ผ้ อู ่านรู้สกึ ผูกพัน
ด้ วยตังแต่้ แรกแล้ ว ก็ยงั สร้ างให้ ไลท์ฉลาดในการวางแผนเท่าเทียมพระเอก แถมยังพลิกบทบาท
ของผู้ร้ายที่มกั มีเป้าหมายต้ องการวางแผนยึดครองโลก หรื อฆ่าฟั นผู้อื่นเพราะความสนุกส่วนตัวให้
กลายเป็ นผู้ร้ายที่มีอดุ มการณ์ไม่ตา่ งจากพระเอก นัน่ คือต้ องการเห็นโลกสงบสุขจนกลายเป็ น
เหตุผลให้ ไลท์ลงมือใช้ เดธโน้ ตสังหารฆาตกรโหดให้ หมดโลกนัน่ เอง ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู ่านจานวนไม่
น้ อยที่อาจเห็นด้ วยกับผู้ร้ายจนถึงขันหลงรั
้ กผู้ร้ายมากพอๆ กับพระเอก หนาซ ้าพระเอกอย่างแอล
ยังมาพลาดท่าผู้ร้ายในตอนกลางเรื่ องจนถึงขันเสี ้ ยชีวิต ทาให้ ผ้ อู ่านคาดไม่ถึงไปตามๆ กัน และก็
ทาให้ หลายๆ คนต่างติดตามการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไปตลอดรอดฝั่ งเพราะอยากรู้วา่ จุดจบของผู้ร้ ายอย่าง
ไลท์นนจะลงเอยเช่
ั้ นไร
ในขณะที่เดธโน้ ตสร้ างตัวละครผู้ร้ายขึ ้นมาให้ มีความสามารถโดดเด่นเพียงหนึง่
เดียวอย่างชัดเจน แต่นินจาคาถาฯ กลับเลือกจะสร้ างผู้ร้ายขึ ้นมาหลากหลายรูปแบบ ทังปี ้ ศาจ
จิ ้งจอกเก้ าหางที่เปรี ยบเหมือนความชัว่ ร้ ายในจิตใจที่แฝงอยูใ่ นตัวพระเอกอย่างนารูโตะ หรื อ
ภารกิจหลากหลายชิ ้นที่มีผ้ รู ้ ายมากหน้ าหลายตาอย่างนินจาต่างหมู่บ้าน กระทัง่ นินจาและปี ศาจ
นอกคอกจากองค์กรแสงอุษา (มือที่ 3 ที่ต้องการยึดครองความเป็ นใหญ่ในโลกนินจา) ซึง่
ลักษณะของผู้ร้ายหรื ออุปสรรคในนินจาคาถาฯ ล้ วนแล้ วแต่มีความเก่งกาจเหนือชันกว่ ้ าพระเอก
แต่ด้วยการทางานเป็ นทีมนินจาจึงทาให้ นารูโตะยังมีผ้ ชู ว่ ย รวมทังการสิ ้ งสูใ่ นตัวนารูโตะของปี ศาจ
จิ ้งจอกเก้ าหางก็ยงั เป็ นอีกหนึง่ ตัวช่วยที่ทาให้ เขาอาจปะทุพลังขึ ้นมาเมื่อไหร่ก็ได้ และเป็ นจุดพลิก
ผันให้ นารูโตะสามารถฟั นฝ่ าอุปสรรคเหล่านี ้ไปได้ ในที่สดุ
แต่ผ้ รู ้ ายที่สาคัญที่สดุ ของนารูโตะกลับปรากฏในรูปของเพื่อนรักเพื่อนแค้ นอย่าง
อิทาจิ ที่แม้ จะคิดทาร้ ายเขาอย่างไรแต่นารูโตะกลับไม่เคยคิดแค้ นเคือง เพราะอิทาจิเปรี ยบเหมือน
เป็ นเป้าหมายสูงสุดของนารูโตะที่ต้องการจะเก่งกาจเทียบเท่าหรื อมากกว่าเพื่อนคนนี ้ให้ ได้ เรี ยก
ได้ วา่ ผู้ร้ายสาคัญของเรื่ องอย่างอิทาจินนเป็ ั ้ นผู้ร้ายที่แตกต่างไปจากผู้ร้ายส่วนใหญ่ที่พระเอก
ต้ องการโค่นล้ มเอาชนะด้ วยกาลังหรื อการปะทะกันด้ วยความคิด แต่นารูโตะไม่คิดที่จะโค่นล้ ม

1
เนื่องจากตัวละครในเดธโน้ ตต่างมีเหตุผลในการกระทา (ทังท
้ าดีและเลวตามบรรทัดฐาน
สังคม) จนยากจะแบ่งแยกว่าใครเป็ นพระเอก-ผู้ร้าย ดังนันการก ้ าหนดบทบาทพระเอก-ผู้ร้าย ของเดธโน้ ตในที่นี ้จึง
พิจารณาตามมาตรฐานของพระเอกในเรื่ องเล่าส่วนใหญ่ที่สงั คมยอมรับว่าเป็ นคนมีคณ ุ ธรรม ส่วนผู้ร้ายมักเป็ นฆาตกรที่
สังหารผู้อื่น หรื อกลุ่มองค์กรที่ม่งุ ทาลายล้ างโลก
166

ผู้ร้ายอย่างอิทาจิลงเลย แต่กลับต้ องการฝึ กฝนตนเองเพียงเพื่อประลองฝี มือกับอิทาจิให้ เพื่อนรัก


คนนี ้ ”ยอมรับ” ในตัวนารูโตะให้ ได้ เท่านัน้
ลักษณะของผู้ร้าย หรื อผู้ขดั ขวางพระเอกที่มีมากหน้ าหลายตาแบบนินจาคาถาฯ
ปรากฏอยูใ่ นวันพีซ และดราก้ อนบอล เช่นกัน โดยผู้ร้ายในวันพีซนัน้ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกัน
ไปตลอดตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง โดยมีผ้ รู ้ ายหลักคือทังสมุ้ นและผู้บญั ชาการจาก “กองทัพเรื อ” และ
“รัฐบาลโลก” ซึง่ ถือเป็ นผู้ปกครองสูงสุดที่มีอานาจทาสิ่งใดก็ได้ ในโลกโจรสลัด นอกจากนี ้ยังมี
ผู้ร้ายที่เกิดขึ ้นตามรายทางที่ลฟู ี่ และพวกพ้ องโจรสลัดหมวกฟางเดินทางไปแต่ละเกาะเพื่อ
เป้าหมายสู่การเสาะหา “วันพีซ” ซึง่ ผู้ร้ายแต่ละคน แต่ละกลุม่ นันก็ ้ มกั จะมีฝีมือสูสี หรื อไม่ก็
เหนือกว่าพระเอกและกลุม่ เพื่อนพ้ องของพระเอกอยูเ่ ล็กน้ อย ซึง่ วิธีการเอาชนะอุปสรรคหรื อ
ผู้ร้ายเหล่านี ้ของพระเอกอย่างลูฟี่ก็คือนอกจากจะมีตวั ช่วยคือการใช้ พลังพิเศษ “ยางยืด” ที่ชว่ ยให้
ร่างกายยืดหยุน่ หลบหลีกในการต่อสู้จนมีอิสระพอที่จะพลิกผันการต่อสู้ได้ แล้ ว ยังอาศัยแรงใจ
หรื อ “ลูกฮึด” ที่ทาให้ ผ่านพ้ นสถานการณ์จนมุมมาได้ เสมอ
ส่วนดราก้ อนบอลนัน้ เนื่องจากเป้าหมายหลักตังแต่ ้ แรกเริ่มของผู้เขียนอย่าง
โทริยาม่า อากิระไม่ได้ ต้องการให้ การ์ ตนู เรื่ องนี ้เป็ นการ์ ตนู ต่อสู้เข้ มข้ นจริงจังและไม่ได้ วางโครง
เรื่ องในระยะยาว เขาจึงไม่ได้ สร้ าง “ผู้ร้าย” ตัวฉกาจที่มีฝีมือสูสีกบั พระเอกอย่างโงคูขึ ้นมาตังแต่ ้
แรก ดังนันอุ
้ ปสรรคของโงคูจงึ เป็ นคนชัว่ หรื อปี ศาจร้ ายระหว่างการเดินทางไปเสาะหา “ดรา
ก้ อนบอล” และ “คูต่ อ่ สู้” ในเวทีประลองยุทธ์ที่โงคูเข้ าร่วมแข่งขันเพื่อต้ องการฝึ กฝนตนเอง แต่
เมื่อเรื่ องราวได้ รับความนิยมจากผู้อา่ นมากขึ ้นจนต้ องยืดเรื่ องออกไป ทาให้ ผ้ เู ขียนจาต้ องสร้ างคา
แร็คเตอร์ ตวั ละครคูต่ อ่ สู้ขึ ้นมาใหม่อยู่ตลอดเวลาโดยมีเงื่อนไขคือ “เก่งกาจมากกว่าผู้ร้ายคนเก่า”
เพื่อให้ มีฝีมือทัดเทียมกับโงคูซงึ่ แข็งแกร่งขึ ้นเรื่ อยๆ นัน่ เอง ดังนันโงคู
้ ซงึ่ ชื่นชอบการต่อสู้เป็ น
พิเศษจึงขยันฝึ กฝนตนเองทังจากเซี ้ ยน เทพ ปี ศาจทังในโลก
้ นอกโลกเพื่อเอาชนะคูต่ อ่ สู้ซงึ่ มีฝีมือ
สูสีคคู่ ี่กนั และปรากฏในรูปแบบหลากหลายทังคน ้ ปี ศาจ เทพ มนุษย์ตา่ งดาว
ด้ านทเวนตีฯ้ ก็สร้ างผู้ร้ายหลักขึ ้นมาเพียงหนึง่ เดียวเหมือนเช่นเดธโน้ ต นัน่ คือ
“เพื่อน” ผู้สร้ างแผนการครอบครองโลกเพียงเพราะความแค้ นส่วนตัวในวัยเด็กที่มีตอ่ พระเอก
อย่างเคนจิ อาจเรี ยกได้ วา่ “เพื่อน” ไม่ได้ มีความสามารถหรื อทักษะพิเศษในแบบผู้ร้ายทัว่ ไปที่
มักมีพลังพิเศษแฝงอยูใ่ นตัว หรื ออาจมีวิชาประจาตัวที่เป็ นไม้ ตายให้ ใช้ งานยามต่อสู้ เพราะ
ความสามารถที่ “เพื่อน” มีและช่วยสร้ างความยิ่งใหญ่ให้ กบั เขาได้ ก็คือการสร้ างกลลวงหลอกผู้คน
ให้ เคารพ และเชื่อถือเขาจนหมดใจและสามารถหลอกใช้ งานอะไรก็ได้ แถมยังสามารถกดดัน
พระเอกอย่างเคนจิจนเกือบเสียผู้เสียคน หนาซ ้ายังเกือบยึดครองโลกด้ วยการปล่อยไวรัสทาลาย
167

ล้ างมนุษย์ได้ สาเร็จอีกด้ วย เรี ยกได้ ว่า “เพื่อน” กับ “เคนจิ” พระเอกของเรื่ องนันมี
้ ความสามารถ
แทบทัดเทียมกันโดยเฉพาะการเป็ นผู้นาที่ศนู ย์รวมจิตใจของผู้คนได้ เป็ นอย่างดี เพียงแต่ตา่ งกัน
ตรงที่วิธีคิด ที่ฝ่ายหนึง่ เลือกเป็ นผู้ทาลายล้ าง (เหมือนเพื่อน) และอีกฝ่ ายเลือกจะเป็ นผู้ชว่ ยเหลือ
(เหมือนเคนจิ) เท่านันเอง

ภาพประกอบ 32 “เพื่อน” ผู้ร้ายในเรื่ องทเวนตีฯ้


ที่มา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=419438

มีเพียงยอดนักสืบจิ๋วฯ เรื่ องเดียวที่สร้ างตัวร้ ายได้ ไม่ชดั เจนมากนัก โดยการ์ ตนู


แนวสืบสวนเรื่ องนี ้ได้ สร้ างผู้ร้ายขึ ้นมาสองชุดหลัก ชุดแรกคือองค์กรชายชุดดา ผู้ร้ายที่คอ่ ยๆ
เติบโตไปกับตัวละครเอกและเรื่ องราว ซึง่ ผู้เขียนจาต้ องสร้ างองค์กรดังกล่าวให้ คลุมเครื อมากที่สดุ
เพื่อเล่นกับความต้ องการอยากรู้อยากเห็นของผู้อา่ นที่ล้ นุ ว่าแท้ จริงแล้ วองค์กรชายชุดดามีใครอยู่
เบื ้องหลังที่แท้ จริงกันแน่ ส่วนผู้ร้ายอีกชุดหนึง่ ก็คือผู้ร้ายที่ปรากฏในโครงเรื่ องย่อยๆ แต่ละตอน
ของคดีฆาตกรรม ซึง่ แน่นอนว่าผู้เขียนไม่ได้ ให้ ความสาคัญกับคนร้ ายมากเท่าตัวเนื ้อคดี ที่มงุ่ ไปที่
การสร้ าง”ข้ อผิดพลาด” ของคนร้ าย (เช่นการสร้ างหลักฐานเท็จของฆาตกร หรื อแรงจูงใจของการ
ฆาตกรรม) เพื่อสร้ างสถานการณ์ให้ พระเอกสามารถแสดงฝี มือในการคลี่คลายคดีได้ เต็มที่นนั่ เอง
ดังนันลั
้ กษณะและความสามารถของผู้ร้ายในการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจึงสรุปได้ ดงั นี ้
168

เรื่อง ลักษณะของผู้ร้าย
ผู้ร้ายประเภทคูร่ ักคูแ่ ค้ น เพราะเป็ นผู้ร้ายเพียงคนเดียวของเรื่ อง
เดธโน้ ต
ผู้ร้ายที่เหมือนพระเอกเพราะมีอดุ มการณ์และวางแผนเก่งทัดเทียมพระเอก
มีผ้ รู ้ ายหลายรูปแบบ (นินจา/สัตว์หาง/ไซบอร์ ก/ซอมบี ้) และมักเก่งกว่า
นินจาคาถาฯ
พระเอกเสมอเพื่อสร้ างพัฒนาการของพระเอก
มีผ้ รู ้ ายหลายรูปแบบ (ทหาร/ยักษ์ /เงือก/ครึ่งคนครึ่งสัตว์/ไซบอร์ ก/ซอมบี ้) มี
วันพีซ
ทังเก่
้ งกว่าพระเอกและสูสีกนั เพื่อสร้ างพัฒนาการของพระเอก
มีผ้ รู ้ ายหลายรูปแบบ (คน/ปี ศาจ/เทพ/มนุษย์ตา่ งดาว/ไซบอร์ ก) มีทงเก่ ั ้ งกว่า
ดราก้ อนบอล
พระเอกและสูสีกนั เพื่อสร้ างพัฒนาการของพระเอก
ผู้ร้ายประเภทคูร่ ักคูแ่ ค้ น เพราะเป็ นผู้ร้ายเพียงคนเดียวของเรื่ อง เก่งด้ านการ
ทเวนตี ้ฯ
โน้ มน้ าวใจคน
มีผ้ รู ้ ายสองชุด คือผู้ร้ายหลักที่ไม่ยอมเปิ ดเผยตัวจนกว่าจะจบเรื่ อง และผู้ร้าย
ยอดนักสืบจิ๋ว
ที่เป็ นฆาตกรในแต่ละคดี

ตารางที่ 18 ลักษณะของผู้ร้าย

แต่ไม่วา่ จะเป็ นผู้ร้ายแบบใดต่างก็มีลกั ษณะร่วมกันก็คือผู้ร้ายเหล่านี ้ไม่ได้ ร้าย


มาแต่กาเนิด แต่ร้ายอย่างมีเหตุผล และท้ ายที่สดุ ก็มกั กลับใจ หรื อเปลี่ยนข้ างเข้ าไปอยูฝ่ ่ าย
พระเอก (ฝั่ งธรรมะ) ในที่สดุ เหมือนเช่นตัวละครอย่างจอมมารพิคโกโร่ในดราก้ อนบอล หรื อเพน
ในนินจาคาถาฯ (อ่านรายละเอียดในหัวข้ อความพิเศษของตัวละคร)
“ตัวละครร้ายในการ์ ตูนญี ่ปนุ่ ไม่ได้ร้ายด้วยเกิ ดมาร้าย มันร้ายด้วยเป้ าหมายใน
ชี วิตเขา เพราะความเชื ่อในวัฒนธรรมญี ่ปนุ่ ที ม่ องว่าคนร้ายไม่ควรต้องถูกทาลาย” (จรูญพร
ปรปั กษ์ประลัย , สัมภาษณ์, 24 สิงหาคม 2554)
1.3.3 ผู้ช่วยเหลือ (helper)
ในเรื่ องเล่าที่พระเอกเก่งกาจอยูแ่ ล้ ว ย่อมฟั นฝ่ าอุปสรรค หรื อคลี่คลายปั ญหา
ได้ ด้วยตัวเอง แต่ในยามสถานการณ์คบั ขันพระเอกที่เก่งกาจก็อาจมีชว่ งเวลาที่ต้องการความ
ช่วยเหลือ เช่นเดียวกับพระเอกที่เป็ นเด็ก หรื อพระเอกที่ความสามารถเริ่มต้ นจากศูนย์ ย่อมต้ องมีผ้ ู
คอยให้ ความช่วยเหลือ หรื อสิ่งของที่เป็ นตัวช่วยอื่นๆ ให้ พระเอกผ่านพ้ นอุปสรรคไปได้ ซึง่ ก็ทาให้
บทบาทของผู้ชว่ ยเหลือมีความสาคัญต่อโครงเรื่ องไม่น้อย เพราะสามารถเติมเรื่ องราวให้
169

สนุกสนาน และคาดไม่ถึงได้ เช่นกัน จนผู้เขียนการ์ ตนู หลายๆ เรื่ องทุม่ เทในการคิดสร้ างสรรค์
รูปลักษณ์ และความสามารถของ “ผู้ชว่ ยเหลือ” อย่างมาก ซึง่ การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องมีผ้ ชู ว่ ยเหลือ
แตกต่างกันออกไปดังนี ้
ก. ผู้ชว่ ยเหลือที่เห็นเป็ นรูปธรรมจับต้ องได้
ในยอดนักสืบจิ๋วฯ โคนันต้ องอยูใ่ นร่างเด็กประถมที่มีข้อจากัดด้ านความ
น่าเชื่อถือในการไขคดี และข้ อจากัดด้ านพละกาลังของร่างกาย ดังนันตึ ้ งต้ องการ “ผู้ชว่ ยเหลือ”
อย่างแน่นอน แต่ด้วยแนวเรื่ องแบบสืบสวนที่เน้ นเหตุ-ผล ความเป็ นไปได้ บนโลกแห่งความจริง
(ไม่ใช่โลกจินตนาการ) ทาให้ ตวั ช่วยของโคนันจึงไม่ใช่พลังพิเศษจากของวิเศษใดๆ แต่เป็ นตัว
ช่วยที่เป็ นสิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ จาก ดร.อากาสะ ฮิโรชิ นักวิทยาศาสตร์ ข้างบ้ านที่สร้ าง
นาฬิกายิงยาสลบ กับหูกระต่ายเปลี่ยนเสียง เพื่อช่วยให้ โคนันแปลงตัว-แปลงเสียงเป็ นนักสืบ
โมริ โคโกโร่ในการคลี่คลายคดี นอกจากนี ้ยังมีผ้ ชู ว่ ยเหลือในรูปของคน ทังนั ้ กสืบหนุ่มอย่างฮัตโตริ
เฮย์จิ ที่เป็ นทังคู
้ แ่ ข่งและผู้ช่วยเหลือในยามที่โคนันไขคดีไม่ออก หรื อแก๊ งเพื่อนเด็กประถมของ
โคนันอย่างขบวนการนักสืบเยาวชนที่แม้ จะเป็ นแค่เด็กตัวเล็กๆ แต่ก็ชว่ ยตังข้ ้ อสังเกตจากแง่มมุ ของ
เด็กที่ผ้ ใู หญ่อาจมองข้ ามและมีสว่ นช่วยให้ โคนันคลี่คลายคดีได้ เช่นกัน
ข. ผู้ชว่ ยเหลือประเภทของวิเศษ
เดธโน้ ต น่าแปลกที่พระเอกอย่างแอล ผู้ไล่ลา่ ตามจับฆาตกรร้ ายไม่ได้ มีผ้ ชู ว่ ย
เหลืออื่นใดนอกจาก “มันสมอง” ของตัวเองในการจับสังเกต และวางแผนต้ อนวายร้ ายอย่าง “คิระ”
และแม้ แอลจะมีผ้ ชู ว่ ยเหลือเป็ นกรมตารวจญี่ปนที ุ่ ่ให้ ความร่วมมือในการสืบสวนแต่ก็ไม่ได้ มีสว่ น
เป็ นผู้ชว่ ยเหลือแอลในยามคับขัน (อาจเพราะผู้เขียนไม่ได้ สร้ างสถานการณ์ให้ แอลถูกกดดันจาก
ผู้ร้าย หรื อมีอปุ สรรคในใจให้ เห็นเลย) ซึง่ ตรงกันข้ ามกับผู้ร้ายอย่างยางามิ ไลท์ (ผู้ร้ายผู้มี
อุดมการณ์จนอาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นพระเอก) ที่ต้องเจอกับสถานการณ์ถกู แอลไล่ต้อนแทบจนมุมอยู่
หลายครัง้ ดังนันผู
้ ้ ชว่ ยเหลือของไลท์จงึ เป็ นสมุดโน้ ตบันทึกรายชื่อผู้ตาย หรื อ “เดธโน้ ต” ที่ชว่ ย
ให้ เขาเขียนชื่อใครก็ได้ ที่ต้องการให้ ตายลงในสมุดโน้ ตเล่มนี ้ได้ ตามใจนึก นอกจากนี ้ไลท์ก็ยงั
มีผ้ ชู ว่ ยเหลือในรูปของ “ยมทูต” ที่เป็ นเจ้ าของ “เดธโน้ ต” ซึง่ สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการ
สังหารคนอื่นได้ เช่นการลดอายุของตัวเองลงครึ่งหนึง่ เพื่อขอดวงตาของยมทูตที่ช่วยให้ เห็นชื่อจริง
ของมนุษย์ทกุ คนได้ (เพื่อจะได้ นาชื่อนันมาเขี ้ ยนลงเดธโน้ ตซึง่ ช่วยแก้ ปัญหาเรื่ องฆาตกรที่ปกปิ ดชื่อ
จริงทาให้ เขียนชื่อลงเดธโน้ ตไม่ได้ )
170

ภาพประกอบ 33 ลักษณะข้ อความกฎการฆ่ าคนในเดธโน้ ต ผู้ช่วยเหลือในเรื่ องเดธโน้ ต


ที่มา: http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=476808&chapter=28

ค. ผู้ชว่ ยเหลือหลายรูปแบบ
ส่วนดราก้ อนบอล วันพีซ นินจาคาถาฯ ซึง่ ล้ วนแล้ วแต่จาลองโลกแห่ง
จินตนาการขึ ้นมา ดังนันจึ ้ งต้ องสร้ างผู้ชว่ ยเหลือประเภทเหนือธรรมชาติขึ ้นมาตามโลกจินตนาการ
ด้ วยเช่นกัน ขณะเดียวกันก็ยงั อาศัยตัวช่วยที่อิงกับโลกความเป็ นจริงคือเพื่อนและจิตใจอันเข้ มแข็ง
ของตนเองอยู่ด้วย โดยดราก้ อนบอลนัน้ เน้ น “ของวิเศษ” เพื่อช่วยเหลือตัวละครอย่างมาก
เพราะนอกจากโงคูจะมีผ้ ชู ว่ ยเหลือหลักคือเทพมังกรที่จะปรากฏตัวยามที่ลกู บอลทังเจ็ ้ ดลูกมา
รวมตัวกันเพื่อให้ พรแก่ผ้ ทู ี่สามารถรวบรวมบอลได้ สาเร็จแล้ ว ยังมีถวั่ ถัว่ เซนซึ” (Senzu Bean) ซึง่
มีสรรพคุณ สามารถช่วยรักษาบาดแผลและอาการเจ็บปวดทุกประเภทได้ โดยหากตัวละครที่
กาลังสูญเสียพลัง หรื อใกล้ ตายได้ กินถัว่ วิเศษนี ้เข้ าไปก็จะสามารถฟื น้ ฟูพลังและกลับมาแข็งแกร่ง
ได้ เหมือนดิม นอกจากนี ้ก็ยงั มี แม่เฒ่าพยากรณ์ (ผู้ชว่ ยทานายเรื่ องราวต่างๆ ในยามที่
พระเอกอยูใ่ นภาวะคับขัน) ท่านคาริน (ผู้ชว่ ยฝึ กปรื อฝี มือให้ โงคูเก่งขึ ้นไปอีกขัน) ้ พระเจ้ า (ผู้ชว่ ย
ปราบศัตรูตวั ฉกาจอย่างราชาปี ศาจพิคโกโร่) ท่านไคโอ (พระเจ้ าแห่งจักรวาลผู้ชว่ ยฝึ กฝี มือให้ โงคู)
รวมถึงเทพเจ้ ามังกร (ผู้ชว่ ยชุบชีวิตพวกพ้ องให้ ฟืน้ คืนชีพรวมทังดลบั ้ นดาลพรให้ แก่ผ้ ูรวบรวมดรา
ก้ อนบอลได้ ทกุ เรื่ อง) ขณะเดียวกันพระเอกของเรื่ องก็ยงั มีเพื่อนพ้ องที่ร่วมต่อสู้ด้วยกันคอย
ช่วยเหลือกันในยามจนมุมต่อผู้ร้ายอีกด้ วย
171

ภาพประกอบ 34 เทพเจ้ ามังกร ผู้ช่วยเหลือหลักในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&month=11-
2011&date=20&group=19&gblog=1

ลูฟี่จากวันพีซ ก็มีพลังพิเศษจากผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ เขากลายเป็ นมนุษย์ยางยืด


เพื่อคอยช่วยเหลือในยามต่อสู้กบั ฝ่ ายตรงกันข้ าม และเหมือนเช่นดราก้ อนบอลที่มีเพื่อนพ้ องคอย
ช่วยคิด ช่วยชี ้ทางในยามแก้ ปัญหาไม่ตก แต่ในยามที่คบั ขันจริงๆ ลูฟี่ก็ไม่ได้ เลือกจะพึง่ พลัง
วิเศษ และเพื่อนพ้ อง เพราะเขาเลือกจะใช้ “พลังใจ” อันแข็งแกร่งของตัวเองเข้ าคลี่คลาย
สถานการณ์มากกว่า
นารูโตะจากนินจาคาถาฯ ก็เป็ นพระเอกที่ไม่ใช่แค่นินจาธรรมดา เพราะมีตวั ช่วย
เป็ นพลังพิเศษจากปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหางอยู่ในร่างกาย และมีเพื่อนร่วมทีมนินจาคอยระแวดระวัง
ภัยให้ และเช่นเดียวกับลูฟี่ที่แม้ จะมีพลังแฝงจนยากหยัง่ ถึงแต่สิ่งที่ชว่ ยนารูโตะให้ พนั ภัยที่
แท้ จริงกลับเป็ นพลังจากภายในนัน่ ก็คือ “ความมุง่ มัน่ ” ไม่ยอ่ ท้ อต่อสิ่งใดของตัวนารูโตะเอง
ง. ไม่มีผ้ ชู ว่ ยเหลือ
จากทัง้ 6 เรื่ อง ก็มีทเวนตีฯ้ เพียงเรื่ องเดียวที่ฉีกกฎ “ผู้ชว่ ยเหลือ” ออกไป เพราะ
พระเอกอย่างเคนจิแม้ จะมีเพื่อนร่วมขบวนการ แต่เพื่อนพ้ องร่วมขบวนการก็แทบไม่ได้ มีสว่ นช่วย
คลี่คลายปมปั ญหาหลักของเรื่ องซึง่ ก็คือการคลายปมในใจ “เพื่อน” ผู้ต้องการทาลายล้ างมวล
172

มนุษยชาติ เคนจิซงึ่ ไม่ได้ มีคณ


ุ สมบัตโิ ดดเด่นใด (ไม่มีทงมั
ั ้ นสมอง หรื อพลังวิเศษ) แต่อาศัย
หลักจิตวิทยาในการเข้ าถึงจิตใจคน (ผ่านทางดนตรี และคาพูด) จนทาให้ เยียวยาปมในใจ “เพื่อน”
ในเยาว์วยั และส่งผลให้ เข้ าใจสาเหตุ ที่มาของแผนการทาลายล้ างโลกซึง่ ก็ทาให้ เคนจิสามารถ
ขัดขวางแผนร้ ายของ “เพื่อน” ได้ ในที่สดุ ดังนันจากกลุ
้ ม่ ตัวอย่างทังหมดจึ
้ งสรุปลักษณะของ
ผู้ชว่ ยเหลือได้ ดงั นี ้

เรื่อง ลักษณะของผู้ช่วยเหลือ รายละเอียดของผู้ช่วยเหลือ


-สิง่ ของ (สิง่ ประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ )
ยอดนักสืบจิ๋ว ผู้ช่วยเหลือทีเ่ ห็นเป็ นรูปธรรมจับต้ องได้
-คน (เพื่อนนักสืบ)
-สิง่ ของ (สมุดโน้ ตยมทูต)
เดธโน้ ต ผู้ช่วยเหลือประเภทของวิเศษ
-ปี ศาจ (ยมทูตเจ้ าของสมุดเดธโน้ ต)
-เทพเจ้ า (มังกร)
ดราก้ อนบอล ผู้ช่วยเหลือหลายรูปแบบ
-คน (เพื่อนพ้ อง)
-สิง่ ของ (ผลไม้ ปีศาจ)
วันพีซ ผู้ช่วยเหลือหลายรูปแบบ -คน (เพื่อนพ้ อง)
-แรงใจของของพระเอก
-ปี ศาจ (ปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหาง)
นินจาคาถาฯ ผู้ช่วยเหลือหลายรูปแบบ -คน (เพื่อนพ้ อง)
-ความมุง่ มัน่ ของพระเอก
ทเวนตี ้ฯ ไม่มีผ้ ชู ่วยเหลือ -หลักจิตวิทยาของพระเอก

ตารางที่ 19 ลักษณะของผู้ช่วยเหลือ

1.3.4 นางเอก (princess)


บทบาทของนางเอกประเภทรอความช่วยเหลือจากพระเอกตามที่วลาดิมีร์ พร็อพ
เคยสรุปเอาไว้ นนเรีั ้ ยกได้ วา่ แทบไม่มีอีกแล้ วในบทบาทของนางเอกปั จจุบนั โดยจะเห็นได้ จาก
การ์ ตนู ต่อไปนี ้
โมริ รัน นางเอกในยอดนักสืบจิ๋ว ตัวละครที่ทาให้ ผ้ อู า่ นได้ ล้ นุ กันเป็ นระยะๆ
ว่าเมื่อไหร่จะรู้ความลับเรื่ องพระเอกที่กลายร่างเป็ นเด็กประถมและมาอยูข่ ้ างกายเธอตลอดเวลา
(อยูใ่ นบ้ านเดียวกัน) รันเป็ นนางเอกที่แข็งแกร่งยิ่งกว่าผู้ชายหลายคนเพราะเป็ นหัวหน้ าทีม
คาราเต้ ระดับมัธยมปลาย และแม้ จะเคยตกอยูใ่ นอันตรายจนโคนันต้ องช่วยชีวิตมาหลายครัง้ แต่
173

รันเองก็เคยช่วยพระเอก (โคนันที่อยู่ในร่างเด็ก) ได้ ในยามคับขันเช่นกัน และแม้ ภายนอกจะดู


แข็งแกร่งแต่รันก็มีมมุ ของผู้หญิงอยูเ่ ต็มเปี่ ยมนัน่ คือมีจิตใจที่ออ่ นไหว ร้ องไห้ ง่ายจนโคนันต้ องคอย
ปลอบอยู่บอ่ ยครัง้
ฮารุโนะ ซากุระ ในนินจาคาถาฯ ก็เรี ยกได้ วา่ เป็ นนางเอกในการ์ ตนู เรื่ องนี ้
เพราะแม้ ตวั เอกอย่างนารูโตะเทียบได้ กบั เด็กวัยประถมปลาย แต่ผ้ เู ขียนกลับนาเสนอเรื่ องราว
ความรักลงไป โดยสร้ างบทให้ นารูโตะแอบชอบซากุระตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง แต่ขณะเดียวกันซากุระกลับ
แอบชอบซาสึเกะ เพื่อนร่วมทีมคูร่ ักคูแ่ ค้ นของนารูโตะ ซึง่ การเปิ ดเรื่ องที่มีทงปมเรื ั้ ่ องปี ศาจในตัว
นารูโตะแถมยังมีปมเรื่ องเพื่อนรักเพื่อนในทีมนินจานี่เองที่ทาให้ เรื่ องราวในนินจาคาถาฯ มีหลากรส
และกระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นติดตามเรื่ องราวได้ เป็ นอย่างดี โดยบทบาทของซากุระในนินจาคาถาฯ นัน้
เรี ยกได้ ว่าสาคัญอย่างยิ่ง เพราะนอกจากหน้ าตาดีแล้ วเธอเป็ นนินจาที่เก่งด้ านการแพทย์จงึ
สามารถช่วยเหลือทังพระเอกอย่
้ างนารูโตะ และกู้ชีวิตนินจาคนสาคัญอื่นๆ ของหมูบ่ ้ านโคโนฮะให้
ฟื น้ คืนมาได้

ภาพประกอบ 35 รัน และซากุระ นางเอกจากยอดนักสืบจิ๋วฯ และนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://vermouth-hotz.blogspot.com/2010_11_01_archive.html

โบอา แฮนค็อก ในวันพีซ ที่แม้ จะเรี ยกไม่ได้ เต็มปากว่าเป็ นนางเอก เพราะ


พระเอกอย่างลูฟี่ไม่ได้ ร้ ูสกึ สนใจในเรื่ องรักๆ ใคร่ๆ เลย แต่แฮนค็อกก็เป็ นผู้หญิงเพียงคนเดียวใน
เรื่ องนี ้ที่ตกหลุมรักพระเอกอย่างลูฟี่จนหมดหัวใจ (เพราะความเป็ นสุภาพบุรุษของลูฟี่ช่วยปกปิ ด
174

ความลับของเธอที่เคยตกเป็ นทาสของขุนนางโลกหรื อเผ่ามังกรฟ้ามาก่อน) แฮนค็อกเป็ นหญิงสาว


ที่สวยที่สดุ ในโลกของโจรสลัดก็วา่ ได้ แถมยังเก่งกาจเป็ นหัวหน้ าเผ่าคุจา ชนเผ่านักรบหญิง และ
เป็ นผู้หญิงเพียงคนเดียวที่เป็ นสมาชิกกลุม่ เจ็ดเทพโจรสลัดที่รัฐบาลโลกให้ ความเคารพยาเกรง
ดังนันแฮนค็
้ อกจึงรับบทสาคัญในการช่วยให้ ลฟู ี่ ได้ เข้ าไปทาภารกิจสาคัญคือการช่วยพี่ชายอย่าง
โปโตกัส ดี เอส ที่คกุ อิมเพลดาวน์ได้ สาเร็จผ่านเส้ นสายการเป็ นหนึ่งในเจ็ดเทพโจรสลัดของเธอ
นัน่ เอง

ภาพประกอบ 36 แฮนค็อก นางเอกเรื่องวันพีซ


ที่มา: http://www.fanpop.com/spots/one-piece/images/27978507/title/boa-hancock-photo

ส่วนในทเวนตีฯ้ ไม่เน้ นบทบาทของนางเอกชัดเจนมากนัก โดยเรื่ องราว


กล่าวถึงยูคิจิ หญิงสาวที่เคนจิ พระเอกของเรื่ องแอบชอบมาตังแต่ ้ ประถม ลักษณะของยูคจิ ิ
คล้ ายคลึงกับโมริ รันในยอดนักสืบจิ๋วฯ ที่เป็ นคนเข้ มแข็ง เด็ดเดี่ยว เก่งเรื่ องการต่อสู้พอตัว และ
แม้ ยคู จิ ิอาจไม่ได้ มีบทบาทสาคัญในการช่วยเหลือเคนจิในเรื่ องสาคัญๆ (เพราะเคนจิ คลี่คลายปม
ปั ญหาต่างๆ ด้ วยตัวเอง) แต่ก็เป็ นผู้หญิงเพียงหนึง่ เดียวที่กล้ าเป็ นกบฏกับรัฐบาล “เพื่อน” และเข้ า
ร่วมขบวนการกู้โลกของเคนจิ (ไม่นบั คันนะหลานสาวของเคนจิที่ตงกลุ ั ้ ม่ ใหม่เพื่อต่อต้ าน “เพื่อน”
เช่นกัน)
175

แต่ในขณะที่นางเอกในการ์ ตนู ยุคปั จจุบนั ถูกยกระดับให้ ความสาคัญในแง่ความ


เก่งกาจในเรื่ องการต่อสู้จนสามารถช่วยเหลือพระเอกในยามคับขันได้ แต่ในการ์ ตนู ที่มีเป้าหมาย
กลุม่ ผู้อา่ นหลักเป็ นผู้ชายบางเรื่ องก็ไม่ได้ ขบั เน้ นบทบาทของ “นางเอก” ในเรื่ องดังกล่าวเท่าไหร่นกั
และอีกหลายเรื่ องก็สร้ างบทบาทของนางเอกเพียงเพื่อเสริมความแข็งแกร่ง สมชายชาตรี ให้ กบั
พระเอกเหมือนเช่น ดราก้ อนบอล โดยนางเอกอย่างจีจี ้ ลูกสาวของราชาปี ศาจวัว ที่แม้ จะ
แต่งงานกับพระเอกอย่างโงคูจนกระทัง่ ลูกชายด้ วยกัน กลับไม่มีบทบาทโดดเด่นที่สง่ ผลต่อ
พระเอกหรื อต่อเรื่ องโดยสิ ้นเชิง โดยการแต่งงานของโงคูกบั จีจี ้เกิดขึ ้นจากการได้ พบกันเพียง
ครัง้ เดียว ซึง่ โงคูได้ ไปตกปากรับคากับจีจี ้ (ที่ในขณะนันยั ้ งเป็ นเด็กอยู)่ ว่าหากโตขึ ้นจะมาขอจีจี ้
แต่งงาน เพราะโงคูเข้ าใจผิดคิดว่าการแต่งงานคือของกินอย่างหนึง่ นัน่ เอง บทบาทของจีจี ้ซึง่
เป็ นสาวสวย มีฝีมือทางการต่อสู้พอตัว (แต่ไม่ได้ เก่งกาจถึงขันเป็ ้ นนักสู้) จึงมี เพียงการห้ ามปราม
ลูกชายตามประสาแม่คนหนึ่ง ส่วนในฐานะภรรยาของโงคูนนเธอเป็ ั้ นเพียง “ผู้รับรู้” การกระทา
ของโงคูโดยไม่ได้ มีสว่ นให้ คาปรึกษาหรื อช่วยตัดสินใจในการกระทาสาคัญใดใดเลย ขณะที่ในฉาก
การต่อสู้ของโงคูนนก็ ั ้ ไม่มีจีจี ้ร่วมแสดงฝี มืออยู่ด้วยเลยเช่นกัน เรี ยกได้ ว่าจีจี ้ถูกสร้ างขึ ้น
เพื่อตังครรภ์
้ และมีลกู ชายอย่างโงฮังเพื่อเปิ ดทางให้ เรื่ องราวดาเนินต่อไปได้ (โดยการเปลี่ยนตัว
ละครเอกจากรุ่นพ่อสูร่ ุ่นลูก) เท่านัน้
และจากทังหมด ้ 6 เรื่ องมีเพียงเดธโน้ ตเพียงเรื่ องเดียวที่ไม่มีนางเอกที่แท้ จริง
บทบาทของผู้หญิงที่โดดเด่นที่สดุ ในเรื่ องอย่างอามาเนะ มิสะ ดาราไอดอลชื่อดัง สาวน้ อยที่
เปรี ยบเหมือนตัวแทนของชาวคอสเพลย์ (cosplay) ก็เป็ นเพียงหุน่ ชักใยตัวหนึง่ ในแผนร้ ายของฝ่ าย
ผู้ร้าย (ที่คล้ ายพระเอก) อย่างยางามิ ไลท์เจ้ าของเดธโน้ ต เช่นเดียวกับทาคาดะ คิโยมิ ผู้
ประกาศและแฟนสาวของไลท์เมื่อสมัยเรี ยนมหาวิทยาลัยด้ วยกัน ที่แม้ จะเรี ยนเก่ง แต่ก็ยงั ถูกไลท์
หลอกจนกระทัง่ ถูกเดธโน้ ตสังหารในท้ ายที่สดุ จึงกล่าวได้ วา่ แม้ สองสาวในเรื่ องจะมีสว่ นช่วยให้
ไลท์ในยามคับขันก็จริง แต่การช่วยเหลือดังกล่าวก็ไม่ได้ เกิดจากการใช้ มนั สมองหรื อสองมือของ
ตัวเอง บทบาทของทังสองสาวจึ ้ งเป็ นเพียงตัวประกอบที่ถกู ยางามิ ไลท์ เลือกมาเป็ นเครื่ องมือที่จะ
ช่วยให้ แผนการสร้ างโลกใหม่ด้วยเดธโน้ ตสมบูรณ์ขึ ้นเท่านันเอง ้
จากลักษณะร่วมกันของนางเอกในการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องอาจกล่าวได้ วา่ บทบาทของ
นางเอกเริ่มมีความเก่งและแข็งแกร่งด้ านร่างกาย หรื อเรื่ องฝี มือการต่อสู้มากขึ ้น ไม่ได้ รอความ
ช่วยเหลือจากพระเอกฝ่ ายเดียว เพราะในยามคับขันบางครัง้ ยังสามารถช่วยเหลือพระเอกในเรื่ อง
สาคัญๆ ได้ ด้วย ซึง่ อาจสรุปลักษณะของนางเอกจากกลุม่ ตัวอย่างได้ ดงั นี ้
176

เรื่อง ลักษณะของนางเอก
เก่งกาจด้ านต่อสู้ แต่จิตใจอ่อนไหว รูปลักษณ์ภายนอกค่อนข้ างสวย ช่วยเหลือพระเอกใน
ยอดนักสืบจิ๋ว
ยามคับขันได้
เก่งกาจด้ านต่อสู้ และมันสมอง (ด้ านการแพทย์) รูปลักษณ์ภายนอกค่อนข้ างสวย
นินจาคาถาฯ
ช่วยเหลือพระเอกในยามคับขันได้

วันพีซ เก่งกาจด้ านต่อสู้ รูปลักษณ์ภายนอกอยูใ่ นขันสวยมาก


้ ช่วยเหลือพระเอกในยามคับขันได้

ค่อนข้ างเก่งด้ านต่อสู้ และมันสมอง รูปลักษณ์ภายนอกไม่โดดเด่นนัก ช่วยเหลือพระเอก


ทเวนตี ้ฯ
ทางอ้ อม
ดราก้ อนบอล ไม่เน้ นบทบาทนางเอก เป็ นเพียงผู้รับรู้ ไม่ใช่ผ้ ชู ่วยเหลือพระเอกในเหตุการณ์สาคัญ
เดธโน้ ต ไม่มีนางเอก

ตารางที่ 20 ลักษณะของนางเอก

2. ความพิเศษของตัวละคร
แม้ จะรู้ประเภทของตัวละครซึง่ ส่งผลต่อการสร้ างความรู้สกึ ต่อผู้อา่ นทังลึ
้ กซึ ้ง/ตื ้นเขิน หรื อ
สร้ างความผูกพัน/สร้ างความรู้สกึ บูชาใฝ่ ฝั นอยากเป็ นตัวละครนัน้ แต่เพียงแค่นนไม่ ั ้ อาจทาให้ ตวั
ละครเป็ นที่จดจาได้ มากพอ นัน่ เพราะตัวละครที่อมตะย่อมต้ องเกิดจากการสร้ างลักษณะเด่น หรื อ
”ความพิเศษ” ให้ กบั ตัวละครผ่านทางรูปลักษณ์ภายนอก (เสื ้อผ้ า หน้ าผม อาวุธหรื อท่าไม้ ตาย)
และ/หรื อนิสยั ใจคอภายใน ซึง่ แต่ละเรื่ องล้ วนใช้ กลวิธีแตกต่างกันดังนี ้
2.1 ดราก้ อนบอล
2.1.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: ลายเส้ นเรียบง่ ายแต่ ร่วมสมัย
เรี ยกได้ ว่าการออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครในดราก้ อนบอลนันโดด ้
เด่นเหนือใครในยุคเดียวกันอย่างมาก เพราะหลังจากโทริยาม่า อากิระประสบความสาเร็จจาก
การสร้ างคาแร็ คเตอร์ อย่าง “อาราเล่” และ “กัต๊ จัง” จากการ์ ตนู ตลกแฟนตาซีแบบจบในตอน
เรื่ องดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่ (การจับคูข่ องหุน่ ยนต์สาวจอมพลังแสนใสซื่อกับหุน่ หัวเขียนมี
ปี กจอมกินเหล็กที่พดู เป็ นแค่ “กูปี้ กูปี้ กูโปะ”) ก็ฉีกแนวมาสร้ างดราก้ อนบอลการ์ ตนู เรื่ องยาว
แนวแฟนตาซีเช่นเดิมแต่เพิ่มรสของการผจญภัย และต่อสู้เข้ าไป ซึง่ เขาก็ยงั ไม่ทิ ้งการสร้ างตัว
ละครที่มีสดั ส่วนไม่เหมือนจริ ง โดยเน้ นไปที่สดั ส่วน “ใหญ่เกินจริง” โดยเฉพาะขนาดของศีรษะ
นัยน์ตา ซึง่ ก็ชว่ ยเบรกอารมณ์จริงจังของเรื่ องให้ กลายเป็ นเรื่ องตลกได้
177

นอกจากนี ้ลายเส้ นของอากิระยังดูสะอาดตา รูปทรงเรี ยบง่าย มีสดั ส่วนของทรง


กลมค่อนข้ างเยอะกว่าเหลี่ยม ซึง่ ก็สอดคล้ องกับแนวเรื่ องที่เน้ นการต่อสู้ผสมตลก และแน่นอนว่า
ส่งผลต่ออารมณ์ของเรื่ องโดยรวมให้ เป็ นการ์ ตนู ต่อสู้ที่ไม่รุนแรง จึงเข้ าถึงกลุม่ ผู้อ่านที่เป็ นกลุม่ เด็ก
ได้ ดี รวมทังเข้
้ าถึงกลุม่ ผู้อ่านที่เป็ นผู้หญิงได้ มากขึ ้น (ตามที่กล่าวไปบ้ างแล้ วในหัวข้ อลายเส้ นใน
บทที่ 4)
“ผมว่าเขาเป็ นคนแรกๆ ที ่ใช้กราฟิ กผสมลายเส้นสมจริ งเข้ามาในการเขี ยนการ์ ตูน
เพราะยุคนัน้ เรามักจะเจอลายเส้นสมจริ งแบบหมัดดาวเหนื อ มันทาให้ลายเส้นเขาดูง่าย สบายตา
เหมาะกับเรื ่อง เด็กอ่านง่ายไม่ซบั ซ้อน ... เขาตัดทอนความสมจริ งออกไปจนลายเส้นเข้าถึงคนได้
ทุกกลุ่ม มันเลยทาให้เป็ นการ์ ตูนที ม่ ี ลายเส้นร่ วมสมัยมาก” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10
สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 37 ลายเส้ นเรียบง่ ายในดราก้ อนบอล-ลายเส้ นสมจริ งในฤทธิ์หมัดดาวเหนือ


ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Dragon_Ball
http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t146337.html

ขณะเดียวกันตัวละครแต่ละตัวล้ วนมีจดุ เด่นในด้ านรูปลักษณ์ภายนอกที่ตา่ งกัน


ออกไปอย่างสิ ้นเชิง และเป็ นการออกแบบรูปร่างหน้ าตาตัวละครที่เปิ ดมิตใิ หม่ของการออกแบบ
การ์ ตนู ในยุคนันเลยที
้ เดียว
“ดราก้อนบอลพิ เศษตรงจิ นตนาการ มันใหม่มากในยุคนัน้ เขาได้เปิ ดประตูของ
การดี ไซน์ ทัง้ ทรงผมโงคู ท่าปล่อยพลัง การตายแล้วเกิ ดใหม่ การสูก้ นั บนอากาศ…” (ธัญลักษณ์
เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
178

ซึง่ ลักษณะเด่นของภายนอกของตัวละครในดราก้ อนบอลแบ่งได้ ดงั นี ้


2.1.1.1 ซุน โงคู: ผมชีแ้ หลมอันเป็ นเอกลักษณ์
แค่ได้ เห็นเพียงรูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครเอกอย่าง ซุน โงคู ก็อาจ
กล่าวได้ ว่าเป็ นพระเอกที่ฉีกไปจากความเชื่อแบบเดิมที่นกั เขียนการ์ ตนู ส่วนใหญ่มกั สร้ างตัวละคร
เอกให้ “เรี ยบง่ายไว้ ก่อน” เพื่อให้ ง่ายต่อการเข้ าถึงคนอ่าน เพราะสิ่งที่สะดุดตาผู้อ่าน และเป็ นที่
จดจาอย่างมากในตัวโงคู ก็คือ
-“ทรงผม” ที่แม้ จะเป็ นผมสีดาตามแบบของพระเอกการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วน
ใหญ่แต่ก็มีรูปทรงที่ไม่เหมือนคนปกติ ซึง่ แสดงถึงความพยายามในการคิด และออกแบบมาอย่างดี
นอกจากนี ้ยังสะท้ อนถึงที่มาที่ไปของตัวละครได้ อีกด้ วย (เพราะแท้ ที่แท้ จริงแล้ วโงคูไม่ใช่มนุษย์โลก
แต่เป็ นมนุษย์ตา่ งดาว หรื อชาวไซย่า)
“ทุกคนต้องจาทรงผมของโงคูได้ ไอ้หวั ชี ้ๆ แหลมไปแหลมมาแบบเนี ้ย ไม่
มี ใครเขาเคยทามาก่อน” (ประสพโชค จันทรมงคล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม 2554)
“การออกแบบทรงผมของโงคูทีเ่ ป็ นหัวแหลมๆ ตัง้ ๆ มันใหม่มาก และน่า
ประทับใจจนมี อิทธิ พลต่อการ์ ตูนญี ่ปนุ่ เกาหลี ในระยะต่อๆ มา” (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช,
สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2554)
- “หาง” เมื่อตอนเปิ ดตัวละครตังแต่้ แรกนัน้ ผู้เขียนฉลาดในการสร้ าง
ปมหรื อการกระตุ้มต่อมสงสัยจากผู้อ่านด้ วยการเผยให้ เห็นรูปลักษณ์ภายนอกของโงคูที่ แม้ จะตัว
เล็ก (วัยเพียง 12 ปี ) แต่กลับมีเรี่ ยวแรงเยอะ พร้ อมๆ กับเผยให้ เห็นหางกุดสันเหมื ้ อนลิงของโงคูที่
ทาให้ ผ้ อู ่านคาดเดาไปต่างๆ นานาว่าเขาน่าจะมีเชื ้อสายของลิงอยูใ่ นตัวแน่นอน เพราะเมื่อถึงวัน
พระจันทร์ เต็มดวงเมื่อไหร่หากโงคูเผลอไปมองพระจันทร์ เข้ าก็จะกลายร่างเป็ นลิงยักษ์ ออก
อาละวาดทาร้ ายผู้คน ซึง่ ทังหั
้ วชี ้แหลม และหางของโงคูก็ได้ สร้ างภาพแปลกตาของความเป็ น
พระเอกในการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ก่อนหน้ านี ้มักสร้ างรูปลักษณ์ภายนอกของพระเอกให้ เรี ยบง่าย ใกล้ เคียง
คนธรรมดาไว้ ก่อน
179

ภาพประกอบ 38 ผมชีแ้ หลม เอกลักษณ์ ของพระเอกในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://fwmail.sodazaa.com/681.html

แต่แม้ การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครจะสร้ างความโดด


เด่นให้ กบั โงคูเพียงใดก็ตามแต่โทริ ยาม่า อากิระก็ยงั คิดไม่ไกลไปถึงสิ่งสาคัญประการหนึง่ ของ
การ์ ตนู ที่เน้ นแนวต่อสู้นนั่ คือ “อาวุธหรื อท่าไม้ ตาย” โดยเฉพาะอาวุธหรื อท่าไม้ ตายของตัวเอก
อย่างโงคู นัน่ เพราะโงคูไม่ได้ มีทา่ ไม้ ตายเพียงท่าเดียว หรื ออาวุธพิเศษประจาตัวเหมือนตัวละคร
เอกหลายๆ เรื่ อง (แต่ก็มีท่าที่เขาใช้ บอ่ ยและถือเป็ นท่าแรกที่ทาให้ คนจดจาโงคูได้ ก็คือ “พลังคลื่น
เต่า” ที่เขาลอกเลียนแบบมาจากอาจารย์ของเขาเองหรื อผู้เฒ่าเต่านัน่ เอง)
ข้ อดีของการไม่มีทา่ ไม้ ตายที่ระบุชดั เจนลงไปในการ์ ตนู แนวต่อสู้ก็คือตัว
ละครเป็ นอิสระต่อการพัฒนาฝี มือด้ านการต่อสู้ เพราะท่าไม้ ตายแต่ละรูปแบบย่อมมีจดุ แข็ง
จุดอ่อนที่ชดั เจน การไม่มีอาวุธ หรื อท่าไม้ ตายประจาตัวจึงทาให้ โงคูสามารถพัฒนาฝี มือไปได้ จน
แทบไร้ ขีดจากัด ในเรื่ องจึงเพิ่มขีดความสามารถของโงคูโดยการเปลี่ยน “ผู้ให้ ” และ “ผู้ชว่ ยเหลือ”
ซึง่ ก็คืออาจารย์ที่ชว่ ยสอนกระบวนท่าใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา (ในเรื่ องโงคูมีอาจารย์เท่าที่ปรากฏตัว
ให้ เห็นกระบวนการสอนถึง 7 คน แต่ยงั มีอาจารย์จากทังต่ ้ างดาวและปรโลกที่โงคูเอ่ยถึงเพียง
คร่าวๆ แบบไม่เปิ ดเผยตัวอีกด้ วย) แต่ขณะเดียวกันกระบวนท่าที่เปลี่ยนไปได้ ตลอดเวลาของโงคู
ก็ทาให้ ผ้ อู า่ น “หมดลุ้น” ในฉากต่อสู้ไปด้ วย เพราะท้ ายที่สดุ ผู้อา่ นย่อมคาดเดาได้ วา่ ไม่วา่ จะ
180

อย่างไรพระเอกก็ต้องหาวิชาใหม่ๆ มาล้ มคูต่ อ่ สู้ลงได้ อยู่ดี (ไม่นบั รวมกับตัวช่วยประเภทของวิเศษ


อื่นๆ อย่างเทพเจ้ ามังกรช่วยชุบชีวิตใหม่ หรื อถัว่ เซนสึชว่ ยเพิ่มพลังตามที่กล่าวไปแล้ ว)
2.1.1.2 คุริลิน: คนอะไรไม่ มีจมูก
ในขณะที่ทรงผม “หลุดโลก” ของโงคูเป็ นการสร้ างรูปลักษณ์ภายนอก
ของตัวละครได้ อย่างน่าจดจาแล้ ว ความล ้ายุคในการออกแบบคาแร็คเตอร์ ของดราก้ อนบอลยัง
หมายถึงความเรี ยบง่ายที่หลายคนมองข้ าม เช่นการสร้ างรูปร่าง หน้ าตาของตัวละครเพื่อนสนิท
ของโงคูอย่าง คุริลิน
คุริลิน เป็ นที่จดจาไม่ใช่แค่ในฐานะเพื่อนร่วมเป็ นร่วมตายกับโงคูเท่านัน้
แต่สิ่งที่เณรน้ อยหัวโล้ นหน้ าตาแสนธรรมดาคนนี ้น่าสนใจขึ ้นมาก็คือเป็ นตัวละครที่ไม่มี “จมูก”
“คิ ดได้ไงไม่รู้ ตัวละครไม่มีจมูก มันง่ายสาหรับคนเขี ยนด้วย เพราะไม่
ต้องเสียเวลาวาดตัวละครให้มากเกิ นความจาเป็ นแต่ขณะเดียวกันตัวละครก็ยงั ได้ความน่าสนใจไป
พร้อมกัน” (ประสพโชค จันทรมงคล, สัมภาษณ์, 26 สิงหาคม 2554)
“ตัวละครในดราก้อนบอลมันดูเหมื อนออกแบบเรี ยบๆ ง่ายๆ แต่การ
ออกแบบให้เรี ยบง่ายนีแ่ หละทีม่ นั เป็ นเรื ่องยากสาหรับนักออกแบบคาแร็ คเตอร์ ” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรัก
สกุล, สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)

ภาพประกอบ 39 คุริลิน ตัวละครไม่ มีจมูกจากดราก้ อนบอล


ที่มา:http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9520000071134&Tab
ID=2&
181

2.1.1.3 ตัวละครโตไปพร้ อมผู้อ่าน


จุดเด่นอีกประการหนึง่ ในการออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของดรา
ก้ อนบอลก็คือการสร้ างตัวละครให้ “เติบโตไปพร้ อมผู้อา่ น” เราเห็นซุน โงคูตงแต่ ั ้ ยงั เด็ก (12 ปี )
ต่อสู้ชว่ งชิงความเป็ นหนึง่ ในโลกไปจนถึงในจักรวาล เห็นเขาโตเป็ นหนุม่ จนกระทัง่ แต่งงานมี ลกู
ตัวละครที่มีความเปลี่ยนแปลงเหมือนเช่นอายุของผู้อา่ นที่โตตามไปกับการ์ ตนู เช่นนี ้ย่อมทาให้ คน
อ่านรู้สกึ ผูกพันและตามอ่านไปจนสุดทาง และขณะเดียวกันก็เป็ นการสร้ างบุคลิกให้ เหมาะสม
กับแนวเรื่ องที่เปลี่ยนไปจากที่เน้ นการผจญภัย ต่อสู้เพื่อความสนุกของเด็กวัยรุ่ น (ลายเส้ นตัวละคร
กลมมน สัดส่วนผิดเพี ้ยนจากของจริง ให้ ความรู้สกึ เป็ นการ์ ตนู ต่อให้ โงคูปล่อยพลังขนาดไหนก็ยงั
น่ารักเป็ นมิตร) ก็กลายเป็ นการต่อสู้ที่จริงจัง เพื่อปกป้องโลกและช่วยเหลือเพื่อนพ้ อง ที่มีจานวน
มากขึ ้นเรื่ อยๆ จากการประลองฝี มือที่ได้ ทงฝ่
ั ้ ายธรรมะ และอธรรมกลับใจมาเป็ นพวก (ลายเส้ นตัว
ละครไม่เน้ นรูปทรงกลมแล้ ว แต่ลายเส้ นละเอียดขึ ้น มีเส้ นเหลี่ยมมากขึ ้น รูปร่างตัวละครมี
กล้ ามเนื ้อดูแข็งแรง สีหน้ า แววตาจริงจัง เป็ นนักสู้มากขึ ้น)

ภาพประกอบ 40 การเติบโตของตัวละครในดราก้ อนบอล (โงคู – คนกลาง)


ที่มา: http://www.thaisecondhand.com/web.cpss.in.th

2.1.2 การสร้ างรู ปลักษณ์ ภายใน: ภายนอกขัดแย้ งกับภายใน


แต่ความพิเศษของตัวละครย่อมไม่ได้ เกิดจากการออกแบบลายเส้ น หรื อรูปร่าง
หน้ าตาภายนอกของตัวละครเท่านัน้ นิสยั ใจคอของตัวละครข้ างในก็สร้ างความน่าจดจาได้ เช่นกัน
แต่ก็ย่อมต้ องผสมผสานกับรูปลักษณ์ภายนอกที่เหมาะสมกัน ซึง่ ดราก้ อนบอลก็มกั ใช้ กลวิธีสร้ าง
นิสยั ใจคอภายในให้ “ขัดแย้ ง” กับรูปลักษณ์ภายนอก หรื อบทบาทของตัวละคร เพื่อสร้ างจุดเด่น
ให้ กบั ตัวละครและยังสร้ าง “อารมณ์ขนั ” ได้ เป็ นอย่างดี เหมือนเช่นตัวละครต่อไปนี ้
182

2.1.2.1 ผู้เฒ่ าเต่ า


ตัวละคร “ผู้เฒ่าเต่า” ซึง่ ได้ รับการยกย่องว่าเป็ นเทพเจ้ าแห่งการต่อสู้
และเป็ นอาจารย์ของซุน โงคู ตัวเอกของเรื่ อง มีรูปร่างหน้ าตาภายนอกไม่ถึงขันโดดเด่ ้ น หรื อฉีก
ไปจากขนบของ “ปรมาจารย์” ที่เราคุ้นชิน (นักสู้ที่เก่งส่วนใหญ่มกั สุขมุ ไม่โอ้ อวดพลังต่อสู้อนั
มหาศาลของตัวเองที่ซุกซ่อนอยู)่ โดยรูปลักษณ์ของผู้เฒ่าเต่านันให้ ้ ความรู้สกึ สมเป็ นปรมาจารย์
จากหนวดเคราที่ยาวเฟื อ้ ย และหัวที่โล้ นเลี่ยนเหมือนเช่นเจ้ าอาวาสวัดเส้ าหลิน อีกทังไม่ ้ เคยพูด
หรื อแสดงอาการโอ้ อวดความสามารถของตนแก่ใคร แต่ในรูปลักษณ์ที่ดสู มเป็ นผู้เยี่ยมยุทธ์ ที่
แสนสุขมุ ก็มีเครื่ องแต่งกายอยูส่ องชิ ้นที่ชว่ ยลดทอนความเป็ นยอดนักสู้แสนจริงจังลงไปนัน่ คือ
- แว่นกันแดด ที่ชว่ ยอาพรางแววตา และช่วยสร้ างความลึกลับ น่า
ค้ นหา พร้ อมๆ กับเพิ่มความรู้สกึ หยัง่ ลึก คาดไม่ถึงถึงพลังอันซุกซ่อนอยู่ (เพราะแววตาเป็ นตัวบ่ง
บอกความรู้สึกได้ เป็ นอย่างดี) ขณะเดียวกันภาพของชายแก่ใส่แว่นกันแดดก็ยงั แสดงถึงจิตใจที่
เป็ นวัยรุ่นของตัวละครได้ เอีกทางหนึง่ ด้ วย
- กระดองเต่าขนาดใหญ่ที่ติดอยู่ที่หลังของท่านผู้เฒ่า ซึ่งนัยยะหนึง่ อาจ
แสดงถึงภูมิความรู้ที่สงั่ สมมายาวนานเหมือนอายุของเต่าเพื่อเสริมสร้ างความทรงภูมิของ
ปรมาจารย์เฒ่ารายนี ้ แต่ขณะเดียวกันกระดองเต่าก็เป็ นเครื่ องแต่งกายที่คอ่ นข้ างแหวกแนวไป
จากการสร้ างบุคลิกของตัวละคร “ฝ่ ายดี” เพราะเราจะไม่คอ่ ยพบลักษณะแปลกประหลาด (ที่
เพิ่มเติมไปจากอวัยวะทัง้ 32 ชิ ้นของร่างกาย) ในตัวละครฝ่ ายดีสกั เท่าไหร่ (แต่เรามักจะพบการ
ออกแบบรูปร่างที่แปลกประหลาดได้ อย่างชินตาในตัวละครฝ่ ายร้ าย)
การสร้ างรูปลักษณ์ภายนอกของผู้เฒ่าเต่าจึงโดดเด่นด้ วยอุปกรณ์ หรื อ
เครื่ องแต่งกายที่ดเู รี ยบง่ายอย่างแว่นกันแดด และกระดองเต่า แต่ขณะเดียวกันก็ยงั คงรูปลักษณ์
ของความเป็ น “ปรมาจารย์” เอาไว้ ได้ เป็ นอย่างดี
แต่นอกเหนือจากรูปลักษณ์ภายนอกที่ดสู มเป็ นผู้เยี่ยมยุทธ์แล้ ว สิ่งที่
ทาให้ ตวั ละครอาจารย์ของพระเอกรายนี ้น่าสนใจอย่างมากก็คือ “นิสยั ใจคอ” ของท่านผู้เฒ่า
เพราะผู้เยี่ยมยุทธ์รุ่นปู่ ที่ดทู รงภูมิเช่นนี ้ ควรจะเป็ นผู้ทรงคุณธรรม และจิตใจบริ สทุ ธิ์งดงาม แต่
แท้ จริงแล้ วจิตใจของเขากลับไม่ตา่ งอะไรกับ “ตาแก่จอมลามก” ธรรมดาๆ คนหนึง่ เท่านัน้ เพราะ
มีนิสยั ชอบแอบดูผ้ หู ญิงเข้ าห้ องน ้าอยูเ่ ป็ นประจานัน่ เอง (แต่ในเรื่ องก็สื่อออกมาให้ กลายเป็ นเรื่ อง
ขาขัน ไม่ใช่การแอบดูแบบจริงจังจนเป็ นเรื่ องชัว่ ร้ าย)
ด้ วยลักษณะภายนอกที่นา่ เชื่อถือตรงกันข้ ามกับนิสยั ใจคอภายในที่
เหมือนเด็กเช่นนี ้นี่เองที่สร้ างความน่าจดจาให้ กบั ตัวละคร “ผู้เฒ่าเต่า”
183

ภาพประกอบ 41 ผู้เฒ่ าเต่ า ในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2367449

2.1.2.2 จอมมารบู
เมื่อพูดถึงคาว่า “จอมมาร” แน่นอนว่าภาพของตัวละครลึกลับ น่าเกลียด
น่ากลัวย่อมผุดขึ ้นในหัวของหลายๆ คน แต่ภาพของจอมมารบู (ในร่างแรกที่ปรากฏต่อสายตาคน
อ่าน) กลับลบล้ างภาพจาเหล่านันโดยสิ ้ ้นเชิง เพราะจอมมารตนนี ้มีรอยยิ ้มเปื อ้ นหน้ าอยูเ่ สมอ
พร้ อมด้ วยใบหน้ าและรูปร่างอ้ วนกลม พุงพลุ้ย (ไร้ ซงึ่ กล้ ามเนื ้อเป็ นมัดๆ ที่แสดงถึงความแข็งแกร่ง)
การใช้ ลายเส้ นที่กลมมน และสร้ างรอยยิ ้มเหมือนเด็กให้ กบั ตัวละครที่ถกู เรี ยกว่า “จอมมาร” ซึง่ เป็ น
ฝ่ ายตรงกันข้ ามกับตัวเอก จึงเป็ นความโดดเด่นในการสร้ างตัวละครที่มีรูปลักษณ์ภายนอกให้
ตรงกันข้ ามกับสถานะ หรื อบทบาทที่ตวั ละครได้ รับ ขณะเดียวกันนิสยั ใจคอของจอมมารบูก็
ตรงกันข้ ามกับบทบาทของตัวละครฝ่ ายร้ ายเช่นกันเพราะมีความอ่อนโยน ยึดถือใน “มิตรภาพ”
หรื อคาว่าเพื่อนอย่างมาก และมีอารมณ์แปรปรวนได้ ง่ายเหมือนเด็ก
ความขัดแย้ งกันของบทบาทตัวละครกับรูปลักษณ์ภายนอกและนิสยั ใจ
คอยภายในนี่เองที่ทาให้ จอมมารบูนา่ สนใจ และกลายเป็ นตัวละครที่ผ้ อู ่านหลงรักได้ ไม่แพ้ ตวั
ละครฝั่ งพระเอกเช่นกัน
“ผมว่าตัวละครในดราก้อนบอลมันเป็ นแบบถ่อมตัว ถ่อมคนเก่ง คนเก่ง
มากแต่ดูภายนอกธรรมดามาก พอคนอ่านรู้ ความเก่งของตัวละครแต่ตวั ละครในเรื ่ องไม่รู้มนั ทาให้
184

เรารู้สึกสนุกไปด้วยที ่ตวั ละครสร้างความทึ่งได้” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13 กันยายน


2554)

ภาพประกอบ 42 จอมมารบูในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.online-station.net/entertainment/variety/2

2.1.2.3 รันจิ
รันจิเป็ นผู้หญิงที่มี 2 บุคลิก คือยามปกติจะเป็ นคนเรี ยบร้ อย น่ารัก
(แสดงผ่านรูปลักษณ์สาวผมดา) แต่เมื่อเกิดจามขึ ้นมาเธอจะกลายเป็ นสาวซ่าแสนโหดเหี ้ยมที่
สามารถจับปื นไล่ยิงคนรอบข้ างได้ อย่างไม่หวาดหวัน่ (แสดงผ่านรูปลักษณ์สาวผมทอง) และจะ
กลายเป็ นคนเรี ยบร้ อยเหมือนเดิมเมื่อเกิดจามอีกครัง้
แม้ รันจิ จะเป็ นแค่ตวั ละครประกอบที่ไม่คอ่ ยมีบทบาท แต่โทริ ยาม่า อา
กิระก็ให้ ความสาคัญกับการออกแบบนิสยั ใจคอให้ มีความพิเศษ ซึง่ ไม่ใช่แค่เพียงเพื่อสร้ างตัว
ละครให้ แตกต่างจากตัวละครอื่นๆ โดยไร้ ความหมาย แต่ตวั ละครอย่างรันจิกลับมีความสาคัญที่
สามารถบ่งบอกนิสยั ใจคอ (ความลามก บ้ าผู้หญิง) ของผู้เฒ่าเต่าได้ เป็ นอย่างดี เพราะผู้เฒ่าเต่า
ได้ บอกเงื่อนไขกับคุริลินที่ขอฝากตัวเป็ นลูกศิษย์วา่ หากสามารถพาตัวสาวสวยมาได้ ก็จะรับเป็ นลูก
ศิษย์ทนั ที ซึง่ คุริลินก็พาตัวสาวสวยอย่างรันจิมาได้ สาเร็จโดยไม่ลว่ งรู้ถึงบุคลิกที่แสนแปลก
ประหลาดของเธอ
185

ภาพประกอบ 43 การแปลงร่ างของรันจิ ในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.flickr.com/photos/iannnnn/7180716130/sizes/m/in/photostream/

2.1.3 ตัวละครคู่หู : ช่ วยเสริมเติมแต่ งกันและกัน


หลังจากโทริ ยาม่า อากิระประสบความสาเร็จกับสูตรการจับคูข่ องตัวละครอย่าง
อาราเล่ กับ กัต๊ จัง ในผลงานเรื่ องก่อนอย่าง ดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่ เขาจึงยังไม่ทิ ้งสูตร
ของตัวละครคูห่ ทู ี่มกั ปรากฏตัวด้ วยกัน และช่วยเติมเต็มบุคลิก และนิสยั ใจคอซึง่ กันและกันในดรา
ก้ อนบอล เหมือนเช่นตัวละครต่อไปนี ้
2.1.3.1 หยาฉา (ยามุชา) กับปูอัล
หยาฉา อดีตโจรทะเลทราย มีคหู่ คู นสาคัญชื่อ ปูอลั ซึง่ เป็ นสิ่งมีชีวิต
รูปร่างคล้ ายแมว บินได้ และสามารถแปลงร่างเป็ นอะไรก็ได้ จะเห็นได้ วา่ รูปลักษณ์ของหยาฉา
นันไม่
้ โดดเด่นเป็ นพิเศษ เมื่อแรกเห็นก็เป็ นเหมือนชายหนุม่ รูปร่างหน้ าตาค่อนข้ างดี ธรรมดาๆ
คนหนึง่ แต่ด้วยจุดอ่อนของเขาที่ผ้ เู ขียนสร้ างให้ หยาฉาเป็ นโรค “กลัวผู้หญิง” จึงต้ องมีคหู่ อู ย่าง
ปูอลั คอยช่วยเหลือในยามเป็ นลมเมื่อยามที่เขาเผลไปโดนตัวผู้หญิงเข้ า
ตัวละครอย่างปูอลั จึงเป็ นตัวสร้ างแรงดึงดูดภายนอกเสริมให้ หยาฉาดู
น่าสนใจขึ ้น ด้ วยการสร้ างภาพของชายหนุม่ หน้ าตาดีคมเข้ มที่ขึ ้นชื่อว่าเป็ นโจรทะเลทรายแต่กลับมี
คูห่ เู ป็ นสิ่งมีชีวิตตัวเล็กน่ารักไปไหนไปกัน เรี ยกว่าเป็ นการใช้ หลักความขัดแย้ งเพื่อดึงดูดซึง่ กันและ
กัน เพราะบทบาทของโจรที่คนอ่านมีภาพจาในสมองก็คือความโหดเหี ้ยม แต่โจรคนนี ้กลับมีสตั ว์
186

เลี ้ยง หรื อคูห่ ทู ี่ดนู า่ รักเป็ นมิตรอย่างปูอลั ) ดังนันตั


้ วละครอย่างปูอลั นอกจากจะเสริมให้ หยาฉาที่
ดูภายนอกเป็ นคน “ธรรมดา” กลายเป็ นคน “ไม่ธรรมดา” ขึ ้นมาแล้ ว ยังเป็ นตัวบ่งบอกนิสยั ใจคอ
ข้ างในของตัวละครได้ อีกด้ วยว่าแท้ จริงนันไม่ ้ ใช่โจรขาโหดตัวจริงผ่านการออกแบบรูปร่างหน้ าตา
ของตัวละครคูห่ ขู ้ างกายนัน่ เอง ซึง่ การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครโดยสะท้ อนให้
เห็นนิสยั ใจคอข้ างในของตัวละครนี ้เองที่เรี ยกได้ วา่ เป็ นจุดเด่นอย่างมากของโทริยาม่า อากิระ
เพราะการสร้ างตัวละครได้ เช่นนี ้ย่อมทาให้ ไม่ต้องเสียเวลา “อธิบาย” ที่มาที่ไปของตัวละคร หรื อ
แสดงการกระทา หรื อบทสนทนาที่อาจเยิ่นเย้ อเพื่อเผยให้ เห็นนิสยั ใจคอของตัวละคร
“ผมยกให้การดีไซน์ของดราก้อนบอลเที ยบเท่ากับโดราเอมอนเลยนะ
เพราะเขาสร้างรู ปทรงออกมาให้คนรู้สึกได้ถึงนิ สยั ของตัวละคร เหมื อนกับซูเนโอะปากแหลมดูเจ้า
เล่ห์ ไจแอนท์อว้ นเป็ นพวกชอบใช้กาลัง” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 44 ตัวละครคู่หู ยามุชาและปูอัลในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.online-station.net/entertainment/variety/4

2.1.3.2 เท็นชินฮังกับเจาสึ (เกี๊ยวซ่ า)


เท็นชินฮัง อดีตลูกศิษย์ของผู้เฒ่ากระเรี ยน เขาเคยประลองกับพระเอก
อย่างโงคูในศึกชิงเจ้ ายุทธภพ แต่ตอ่ มากลายเป็ นพรรคพวกของโงคู รูปลักษณ์ภายนอกของเท็น
ชินฮังก็เหมือนนักสู้ทวั่ ไปที่รูปร่างกายา มีบาดแผลตามตัวแสดงถึงร่ อยรอยการผ่านศึกต่อสู้มา
อย่างโชกโชน และแววตาที่ม่งุ มัน่ จริงจัง แต่ที่โดดเด่นกว่าคนอื่นคือมีดวงตาที่ 3 บนหน้ าผาก (แต่
น่าเสียดายที่โทริยาม่า อากิระไม่ได้ นาประโยชน์ของดวงตาที่ 3 มาใช้ ในการเล่าเรื่ องเท่าไหร่นกั )
187

ซึง่ การสร้ างดวงตาที่ 3 นี ้ก็สร้ างความเป็ นคน “ไม่ธรรมดา” (เหมือนมนุษย์ตา่ งดาวเหมาะสมกับ


แนวเรื่ องที่บง่ บอกความเป็ นแฟนตาซีชดั เจนตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง) ซึง่ สามารถเบรกความรู้สกึ หล่อเหลา
ของตัวละครลงไปได้ ส่วนคูห่ ทู ี่ปรากฏตัวพร้ อมกันอยูเ่ สมออย่างเจาสึ หรื อเกี๊ยวซ่าก็เป็ นศิษย์
สานักเดียวกัน และร่วมแข่งขันในศึกชิงเจ้ ายุทธภพด้ วยกัน เจาสึมีลกั ษณะเด่นตรงรูปร่างหน้ าตา
ที่เหมือนเด็ก แก้ มแดง ตากลมโต สวมหมวกแบบจีน ให้ ความรู้สกึ เหมือน “ผีจีน” ซึง่ แค่เห็นรูปร่าง
หน้ าตาก็สร้ างความรู้สึกได้ ทนั ทีวา่ “นี่ไม่ใช่ตวั ละครที่จิตใจชัว่ ร้ าย” อย่างแน่นอน (แม้ วา่ จะเป็ น
ศิษย์สานักผู้เฒ่ากระเรี ยนจอมโหดเหี ้ยม เอาชนะคูต่ อ่ สู้โดยไร้ ความปราณีก็ตาม)
เมื่อตัวละครอย่างเท็นชินฮังและเจาสึจบั คูก่ นั เจาสึซงึ่ สร้ างความรู้สึก
“น่ารัก” ย่อมทาให้ ภาพความจริงจังของเท็นชินฮังลดทอนลงไป ขณะเดียวกันความน่ารักของ
เจาสึก็ชว่ ยให้ โทนของการแข่งขันดูไม่รุนแรงตามไปด้ วย
จะเห็นได้ วา่ การสร้ างตัวละครคูห่ ใู นดราก้ อนบอลจะใช้ สตู รตัวละครเก่ง -
หล่อ-จริงจัง คูก่ บั ตัวละครน่ารัก ซึง่ เมื่อจับคูก่ นั ก็ชว่ ยให้ โทนของเรื่ องโดยรวมเป็ นทังเรื ้ ่ องต่อสู้ที่
ตื่นเต้ นแต่ขณะเดียวกันก็ยงั แฝงด้ วยความน่ารัก และไม่รุนแรง และก็สง่ ผลให้ ดราก้ อนบอลเข้ าถึง
กลุม่ ผู้อา่ นที่คอ่ นข้ างเด็ก และผู้หญิงได้ มากกว่าแค่ผ้ อู า่ นชายเพียงกลุม่ เดียว
กล่าวได้ ว่าการออกแบบตัวละครที่หลากหลาย มีตวั ละครหน้ าใหม่ๆ เติม
แต่งเรื่ องราวให้ มีสีสนั ตลอดเวลาในดราก้ อนบอลเป็ นส่วนสาคัญที่คอยผูกใจผู้อา่ นได้ ในระยะยาว

ภาพประกอบ 45 ตัวละครคู่หู เท็นชินฮังและเจาสึในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.videogamesblogger.com/2009/09/03/dragon-ball-revenge-of-king-
piccolo-characters-list-wii.htm
http://www.otakuzone.com/forums/detail/getid/387014/page/2/
188

2.1.4 ตัวละครสะท้ อนความเป็ นประพันธกรของผู้เขียน


“ความเป็ นประพันธกร” หรื อการใส่ตวั ตนของผู้เขียนอย่างโทริยาม่า อากิระผ่าน
รายละเอียดของเรื่ อง (เช่นการสร้ างตัวละคร การสร้ างฉาก บทสนทนา) ลงในผลงานทุกเรื่ อง
ปรากฏอยูใ่ นดราก้ อนบอลเช่นกัน โดยเขาได้ สร้ างตัวละครที่มีลกั ษณะนิสยั ใจคอคล้ ายคลึงกันกับ
ตัวละครในผลงานเรื่ องก่อน โดยเฉพาะตัวละคร “ผู้เฒ่าเต่า” ที่แม้ รูปร่างหน้ าตาจะไม่เหมือนกับ
ดร.สลัมป์ ในผลงานเรื่ องดังของเขาอย่าง “ดร.สลัมป์ กับหนูน้อยอาราเล่” แต่นิสยั ใจคอกลับถอด
แบบกันออกมาไม่ผิดเพี ้ยน นัน่ คือความเป็ นคนเปิ่ น ลามก แต่แฝงความเก่งกาจในตัว (ดร.สลัมป์
เก่งเรื่ องการประดิษฐ์ คิดค้ น แต่ผ้ เู ฒ่าเต่าเป็ นยอดฝี มือด้ านการต่อสู้) หรื อตัวละครสาวสวยที่เป็ น
ภรรยาของดร.สลัมป์นันก็ ้ รูปร่างหน้ าตาเหมือนกับรันจิสาวสวยในดราก้ อนบอลเช่นกัน
การสร้ างตัวละครที่มี “ลักษณะร่วม” ซึง่ สะท้ อนตัวตนของผู้เขียนลงในผลงานแต่
ละเรื่ องเช่นนี ้ย่อมทาให้ เกิดความผูกพันระหว่างผู้เขียนและผู้อา่ น และยังเป็ นการประกันได้ วา่ ตัว
ละครแบบนี ้น่าจะทาให้ ผ้ อู ่านหลงรักได้ ไม่ยาก (เพราะเคยใช้ สตู รตัวละครเช่นเดียวกันนี จ้ นประสบ
ความสาเร็จในผลงานเรื่ องก่อนหน้ าแล้ ว) นี่จงึ เป็ นอีกแนวทางหนึง่ ในการสร้ างตัวละครที่
นอกจากจะดึงฐานกลุม่ ผู้อา่ นเดิมเอาไว้ แล้ วยังสร้ างความเหนียวแน่นระหว่างผู้เขียนและผู้อา่ นให้
มากขึ ้นด้ วย
2.2 วันพีซ
2.2.1 แรงผลักดันภายในตัวละคร: ตัวละครนอกคอกแต่ เปี่ ยมความฝั น
แม้ การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกตัวละครในวันพีซอาจไม่ได้ โดดเด่นชนิดที่
เรี ยกได้ ว่า “เห็นหน้ าแล้ วรู้นิสยั ใจคอ” เหมือนดราก้ อนบอล นอกจากนี ้สัดส่วนของตัวละครก็ไม่ได้
แตกต่างกันมากนัก (เช่นกลุ่มตัวเอกอย่างโซโล และซันจิ รูปร่างหน้ าตาก็ไม่หลุดไปจากกันคือค่อน
ไปทางหน้ าตาดี ค่อนข้ างผอม สูง หรื อนามิ และโรบินก็จดั ว่าหน้ าตาค่อนข้ างสวยเหมือนกันทังคู ้ ่
เพียงแต่ตา่ งกันที่นิสยั ใจคอ) แต่ความโดดเด่นของการออกแบบตัวละครในวันพีซกลับอยูท่ ี่การ
สร้ างนิสยั ใจคอภายใน โดยเฉพาะการสร้ าง “ที่มาที่ไป” (background) ให้ กบั ตัวละคร ซึง่ เป็ น
วิธีการสร้ างตัวละครที่เหนือกว่าการ์ ตนู แนวเดียวกัน (ที่มงุ่ เน้ นไปที่การต่อสู้ ผจญภัยที่มกั มุง่ เน้ นไป
ที่การสร้ างรูปลักษณ์ภายนอกให้ โดดเด่นมากกว่าจิตใจหรื อการกระทา) เหมือนเช่นที่กล่าวไปแล้ ว
ในส่วนโครงเรื่ องที่ผ้ เู ขียนเลือกจะเล่าย้ อนอดีตให้ เห็นที่มาของตัวละครที่ไม่ใช่แค่เพียงตัวละคร
พระเอกเท่านัน้ แต่ยงั เผยให้ ผ้ อู า่ นได้ รับรู้เบื ้องลึกความเป็ นไปของกลุม่ ตัวละครหลักๆ นับสิบชีวิต
(ปั จจุบนั สมาชิกกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง กลุม่ ของตัวเอกมีสมาชิก 9 คน) และที่นา่ สนใจ
ยิ่งกว่านันก็
้ คือผู้เขียนเลือกจะสร้ างภูมิหลังของตัวละครให้ มีลกั ษณะร่วมกันประการหนึง่ นัน่ คือ
189

“ไม่มีใครเป็ นคนดีสมบูรณ์แบบ” ลงไป โดยสร้ างให้ เกิดกลุม่ คนที่ไม่สมบูรณ์แบบซึง่ กระจัด


กระจายกัน แต่ได้ มารวมตัวกันเป็ นกลุม่ ก้ อนที่สมบูรณ์แบบ ซึง่ ก็พ้องกับชื่อเรื่ อง One Piece
(รวมกันเป็ นชิ ้นเดียว หนึง่ เดียวกัน) รวมทังยั ้ งพ้ องกับเป้าหมายของสิ่งที่ทกุ คนตามหา ซึง่ ก็คือ
One Piece (สมบัตทิ ี่เป็ นตานานของโจรสลัดที่ไม่มีใครรู้แน่ชดั ว่าสมบัตทิ ี่วา่ นันคื ้ ออะไรกันแน่) อีก
เช่นกัน ดังนันการเดิ
้ นทางไปสูว่ นั พีซจึงเป็ นจุดมุ่งหมายหลักของเรื่ องที่ก่อให้ เกิดโครงเรื่ อง
ย่อยๆ ผ่านฉากสถานการณ์การเดินทางข้ ามน ้าข้ ามทะเล (หรื อกระทัง่ ท้ องฟ้า ทะเลทราย หรื อใต้
บาดาล)
ระหว่างการเดินทางนี่เองที่ช่วยให้ ตวั ละครเกิดการเรี ยนรู้ เปลี่ยนผ่านความคิด
พัฒนาพลังกายพลังใจ และก็ชว่ ยเติมเบื ้องหลังชีวิตของตัวละครแต่ละตัวที่เคยพร่องหายไปให้
เต็มขึ ้นมา เช่น การที่พวกพ้ องของตัวเอกของเรื่ องอย่างลูฟี่ช่วยเหลือนามิ (หนึง่ ในลูกเรื อของเขา)
และหมูบ่ ้ านของเธอให้ เป็ นอิสระจากการปกครองของกลุ่มเงือก ก็เป็ นการช่วยให้ ความฝั นของนา
มิที่ถกู กดขี่จากกลุม่ เงือกกลายเป็ นจริงขึ ้นมา หรื อการช่วยกอบกู้ภาพพจน์แบบ “เด็กเลี ้ยงแกะ”
ให้ กบั อุซป โดยทาให้ คนในหมูบ่ ้ านที่อซุ ปอาศัยอยูไ่ ด้ เข้ าใจถึงเหตุผลของการโกหกว่าแท้ จริงแล้ ว
เขาทาไปเพื่อต้ องการเห็นรอยยิ ้มของแม่ และเยียวยาจิตใจของเด็กผู้หญิงคนหนึง่ ที่กาลังป่ วยอยู่
เท่านัน้ เป็ นต้ น หรื อตัวละครที่เปรี ยบเหมือน “ตัวซวย” โดนผู้คนกล่าวขานว่าเป็ น “ลูกปี ศาจ”
อยูท่ ี่ไหนก็พาเพื่อนพ้ องตายหมดอย่างนิโค โรบิน แท้ จริงแล้ วเธอไม่ใช่ตวั ซวยแต่อย่างใดแถมยัง
เป็ นหญิงสาวผู้กล้ าหาญที่แบกรับความฝั นของนักประวัตศิ าสตร์ ทงเกาะโอฮาร่
ั้ าเอาไว้ อีกด้ วย
ความเป็ นคน “นอกคอก” หรื อกลุม่ “ขบถ” ที่ชดั เจนในเรื่ องนี ้ เริ่มตังแต่
้ การสร้ าง
เรื่ องราวของโจรสลัด (ลอยทะเลอยูน่ อกเหนือเงื ้อมือกฎหมาย) ไปจนถึงตัวละครสาวสวยจอมขโมย
อย่างนามิ หรื อกวางเรนเดียร์ จมูกน ้าเงินแถมกลายร่างเป็ นกึ่งกวางกึ่งคนเหมือนปี ศาจอย่าง
ช้ อปเปอร์ รวมทังเด็ ้ กเลี ้ยงแกะจอมโวอย่างอุซป แต่ในความเป็ นขบถที่ดู “ไม่เอาถ่าน” นัน้
พวกเขามี “ความฝั น” ด้ านบวกในแบบของพวกเขา ที่หลายคนอาจตราหน้ าว่าเพ้ อฝั น ไม่มีทาง
เป็ นจริง (เช่นนามิอยากช่วยคนในหมู่บ้านให้ รอดพ้ นจากการปกครองของกลุม่ เงือก อุซปต้ องการ
เป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ ลูฟี่ใฝ่ ฝั นจะค้ นหาวัน พีซ สมบัตใิ นตานาน หรื อโรบินต้ องการค้ นหา
โพเนกลีฟเพื่อเพื่อค้ นหาความจริงเรื่ องประวัติศาสตร์ )
190

ภาพประกอบ 46 ตัวละครเอกในวันพีซ ลูฟ่ ี /โซโล/นามิ/อุซป/ซันจิ/ช้ อปเปอร์ /โรบิน/แฟรงกี ้


ที่มา: http://www.pramool.com/classified/view.php3?katoo=G14966

แต่กลุม่ คนแบบนี ้นี่เอง ล้ วนเป็ นภาพแทนของทังเด็้ ก และผู้ใหญ่ ในสังคมปั จจุบนั


ที่ตา่ งมีความเป็ นปั จเจก มีความต้ องการเฉพาะตัวของแต่ละคน ไม่ใช่ฝันแต่จะเป็ นหมอ เป็ นครู
หรื อเป็ นตารวจเหมือนๆ กันไปหมด แต่เพราะเรามีความฝั น ที่เป็ น “ของตัวเอง” จึงทาให้ ผ้ อู า่ น
ตามลุ้นกับ “ความสาเร็จ” ของตัวละครอย่างไม่ลดละ และผู้อา่ นอีกไม่น้อยอาจใช้ ตวั ละครนอก
คอกแต่มงุ่ มัน่ ไปสูฝ่ ั นเหล่านี ้เป็ นต้ นแบบให้ พวกเขาเกิดแรงใจเดินตามฝั นของตัวเองบ้ าง และ
แน่นอนว่าตัวละครที่ดมู ีชีวิตเสมือนจับต้ องได้ และเหมือนตัวตนของคนอ่านขนาดนี ้ย่อมทาให้
ผู้อา่ นติดตามการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไปจนถึงที่สดุ
ดังนันหากเปรี
้ ยบเทียบการสร้ างตัวละครที่เปรี ยบเสมือนภาพแทนของฮีโร่ผ้ พู ิทกั ษ์
โลกอย่างโงคูในดราก้ อนบอล ซึง่ เป็ นแรงขับภายนอกที่แทบไม่มีทางเป็ นจริงได้ จึงดูไม่สมจริงมาก
เท่ากับการเป็ นฮีโร่ที่ตอ่ สู้เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ความฝั นของตัวเอง เหมือนเช่นตัวละครในวันพีซ ที่เหมือน
ต้ องการจะบอกให้ เรารู้วา่ “ทุกคนสามารถออกแบบฝั นของตัวเองและทาฝั นให้ เป็ นจริ งได้ ” ซึง่ ผล
จาการสร้ าง “แรงขับเคลื่อนภายในจิตใจ” ให้ กบั ตัวละครกลุม่ ที่สญ ู เสียคนที่รัก หรื อถูกกระทาจาก
สังคมเหมือนคนนอกคอกจนกลายเป็ นกลุม่ คนแบบเดียวกันนี ้นี่เองที่ช่วยสร้ าง “ความน่าเชื่อถือ”
ให้ กบั ทังโครงเรื
้ ่ อง และ”ความน่าเชื่อถือ” ให้ กบั ตัวละครไปพร้ อมๆ กัน
ซึง่ หากจะทาให้ เห็นแรงขับเคลื่อนของตัวละครชัดเจนขึ ้นจึงอาจสรุปออกเป็ น
ตารางดังนี ้
191

ตัวละคร ความฝั น เบือ้ งหลังชีวิต/ปมชีวติ


มังกี ้ ดี ลูฟี่ ค้ นหาวันพีซ/เป็ นจ้ าวโจรสลัด ไม่ได้ อยูก่ บั พ่อแม่ มีพอ่ เป็ นนักปฏิวตั ิ (เป็ น
ปฏิปักษ์ กบั รัฐบาลโลก)
โรโรโนอา นักดาบที่เก่งที่สดุ ในโลก เพื่อนในวัยเด็ก (คุอินะ นักดาบหญิงที่โซโล
โซโล ไม่เคยเอาชนะได้ ) เสียชีวติ พร้ อมสัญญา
ร่วมกันกับโซโลว่าจะเป็ นนักดาบที่เก่งที่สดุ
นามิ เขียนแผนที่โลก เป็ นจอมขโมย และกาพร้ าพ่อแม่
อุซป เป็ นอัศวินผู้ห้าวหาญแห่งท้ องทะเล เป็ นจอมโกหกฉายา “เด็กเลี ้ยงแกะ”ประจา
หมูบ่ ้ าน
ซันจิ ค้ นหา All Blue (ศูนย์รวมปลาทุกชนิด) ทาให้ ก๊ กุ มือ 1 ของโลกโจรสลัดและเป็ นผู้มี
พระคุณแขนขาด (เพราะช่วยเหลือซันจิ)
โทนี่ โทนี่ เป็ นหมอที่รักษาได้ ทกุ โรค เป็ นครึ่งมนุษย์ครึ่งกวาง ไม่มใี ครรับเข้ า
ช้ อปเปอร์ พวก
นิโค โรบิน ค้ นหา โพเนกลีฟที่แท้ จริ ง เป็ นเด็กประหลาดเพราะงอกอวัยวะจาก
ร่างกายได้ ทกุ ส่วนจนไม่มใี ครอยากอยูใ่ กล้
แฟรงกี ้(คาติฟู ดูความสาเร็ จของเรื อ เธาซัน ซันนี่ เป็ นต้ นเหตุทาให้ ผ้ มู ีพระคุณต้ องถูก
แลม) ประหารชีวติ /มีร่างกายเป็ นไซบอร์ ก
ฮัมมิง่ บรู๊ค อยากพบวาฬลาบูนอีกครัง้ เพื่อนพ้ องตายหมด แต่ตวั เองอยากตายก็
ตายไม่ได้ เพราะกินผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ มี
ชีวิตอมตะ

ตารางที่ 21 เบือ้ งหลังปมชีวิตและความฝั นของตัวละครในวันพีซ

2.2.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: อาวุธและความสามารถพิเศษที่


เป็ นระบบ
แน่นอนว่าในการ์ ตนู หรื อแนวเรื่ องแบบแฟนตาซี และต่อสู้ ผู้เขียนมักทุม่ คิด
“อภินิหาร” “พลังพิเศษ” หรื อ “ตัวช่วย” อย่างมาก เหมือนเช่นดราก้ อนบอลคิด “ท่าไม้ ตาย” ของนัก
สู้ทงฝ่
ั ้ ายดีและฝ่ ายร้ ายเอาไว้ โดยคานึงถึงรูปลักษณ์ภายนอกและนิสยั ใจคอของตัวละครเช่น ผู้เฒ่า
เต่ามี “พลังคลื่นเต่า” แต่พลังพิเศษเหล่านี ้ก็เป็ นพลังที่ไม่หลากหลาย เน้ นไปที่การฝึ กฝี มือเพื่อ
พัฒนาความรุนแรง เป็ นพลังเพื่อทาลายล้ างเป็ นหลัก ซึง่ ก็ไม่ได้ มีคณ ุ สมบัตแิ ปลกแยกไปจาก
การ์ ตนู แนวต่อสู้ด้วยกัน แต่วนั พีซกลับสร้ างความสามารถพิเศษให้ กบั ตัวละคร (ที่มีจานวน
มาก) ได้ อย่างแตกต่าง หลากหลาย ขณะเดียวกันก็ดมู ีเอกภาพ เป็ นหมวดหมูเ่ ดียวกัน โดย
192

ผู้เขียนอย่างเออิจโิ ระ โอดะได้ จดั หมวดหมู่ “ตัวช่วย” ให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันตลอดทังเรื ้ ่ อง


นัน่ คือ “ผลไม้ ปีศาจ” ที่มีหลากหลายชนิดและหลากหลายสรรพคุณ มีทงจุ ั ้ ดเด่น จุดด้ อยแก่ผ้ ทู ี่กิน
ผลปี ศาจเข้ าไป และทาให้ ทกุ คนที่กินผลไม้ ปีศาจจะไม่สามารถว่ายน ้าได้ ตลอดชีวิต ดังนันตั ้ ว
ละครในเรื่ องจึงมีความสามารถพิเศษที่ทงโดดเด่ ั้ น และทังแปลกประหลาด
้ โดยผู้เขียนได้ จดั
หมวดหมู่ความสามารถพิเศษของตัวละครได้ อย่างเป็ นระบบดังนี ้
- ผลไม้ ปีศาจสายพารามีเซีย
เมื่อกินผลปี ศาจสายนี ้เข้ าไปร่างกายจะสามารถใช้ งานได้ อย่างใดอย่างหนึง่ เช่น
ผลโกมุโกมุ ที่ลฟู ี่ กินเข้ าไป สามารถทาให้ ร่างกายของผู้กินเป็ นยางที่ยืดหยุน่ ได้ หรื อผลแยกส่วน
ที่บากี ้กินเข้ าไปซึง่ สามารถแยกส่วนต่างๆ ของร่างกายออกเป็ นชิ ้นๆ ได้ หรื อผลน ้าหนัก ที่ผ้ กู ิน
สามารถบังคับให้ ร่างกายหนักหรื อเบา
- ผลไม้ ปีศาจสายโซออน
สายโซออนหรื อสายสัตว์ ทาให้ คนกินผลสัตว์ลงไปแล้ วจะกลายเป็ นสัตว์หรื อครึ่ง
คน-ครึ่งสัตว์ได้ มีความพิเศษคือ สามารถฝึ กฝนร่างกายให้ เก่งขึ ้นได้ เช่น ช้ อปเปอร์ กินผลมนุษย์ไป
ทาให้ กลายร่าง (จากกวาง) เป็ นมนุษย์หรื อ ครึ่งมนุษย์ครึ่งสัตว์
- ผลไม้ ปีศาจสายโรเกีย
สายโรเกียหรื อสายธรรมชาติ สามารถเปลี่ยนร่างให้ เป็ นธาตุหรื อสสารตามผลที่
กินเข้ าไปได้ เช่น ตัวละครฝ่ ายร้ ายอย่างครอคโคไดล์กินผลทะเลทรายเข้ าไปทาให้ ร่างกาย
กลายเป็ นทรายได้
การสร้ างอาวุธ หรื อความสามารถพิเศษให้ กบั ตัวละครเหล่านี ้ย่อมเปิ ดกว้ างให้
ผู้เขียนคิดสร้ างตัวละครที่ “หลุดล ้า” ได้ โดยยากจะถึงทางตัน (เพราะผลไม้ ปีศาจเป็ นตัวแทนของ
ผลรวมของทังสิ ้ ่งมีชีวิตบนโลกทุกรูปแบบทังคน ้ สัตว์ สิ่งของ หรื อกระทัง่ สสารเช่นดินน ้าลมไฟ)
เหมือนเช่น “ผลฟื น้ คืนชีพ” ผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ มีชีวิตเป็ นอมตะ หรื อ “ผลดอกไม้ ” ที่ทาให้ ร่างกาย
งอกออกมาได้ ทกุ ส่วน กระทัง่ “ผลเอื่อยเฉื่อย” ที่ทาให้ คนที่โดนคลื่นของผู้กินผลไม้ นี ้เข้ าไป
เชื่องช้ าลง ดังนันเมื
้ ่อตัวละครแต่ละตัวมีความพิเศษที่แตกต่างกันเช่นนี ้ก็ยอ่ มทาให้ เมื่อ
ยามเผชิญหน้ ากันจึงกลายเป็ นเรื่ องสนุก หลากหลาย และยากจะคาดเดาถึงผลการต่อสู้ที่ตามมา
193

ภาพประกอบ 47 ตัวอย่ างผลไม้ ปีศาจในวันพีซ


ที่มา: http://onepiececlub-hit.blogspot.com/2011/07/download-onepiece-1-3.html

2.2.3 ตัวละครประกอบเล็กๆ ก็สร้ างอารมณ์ ร่วมได้


วิธีการสร้ างอารมณ์ร่วมจากผู้อา่ นได้ ดีวิธีหนึง่ ก็คือการสร้ างตัวละครที่อาจไม่ใช่
ตัวเอก แต่เป็ นเพียงตัวละครประกอบที่ตวั เอกได้ พดู คุย หรื อพบเจอ เพื่อสร้ างบทเรี ยนบางอย่าง
หรื อให้ แง่คดิ แก่ผ้ อู ่าน ซึง่ วันพีซก็ใช้ วิธีดงั กล่าวอยูบ่ อ่ ยครัง้ เช่นการสร้ างตัวละครดังนี ้
2.2.3.1 ตัวละครยักษ์ -ผู้สูงอายุ ช่ วยสร้ างอารมณ์ ร่วม
ไม่ใช่แค่เพียงตัวละครกลุม่ หลักของตัวเอกเท่านันที ้ ่ผ้ เู ขียนได้ “ออกแบบ”
เบื ้องหลังชีวิตให้ ตวั ละครมีมิตลิ กึ ซึ ้ง กระทัง่ ตัวละครประกอบที่ตวั ละครเอกกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง
ได้ พบเจอระหว่างการเดินทางก็ไม่ได้ ถกู ออกแบบมาแค่ชว่ ยเสริมความเป็ นวีรบุรุษของพระเอก (ที่
มักมีฉากเข้ าช่วยเหลือตัวประกอบตามเบี ้ยใบ้ รายทางที่ออกเดินทางตามแนวหนังผจญภัย) แต่ตวั
ละครประกอบเหล่านี ้ถูกสร้ างขึ ้นอย่างมีมิตจิ นสร้ างความผูกพันให้ กบั ผู้อา่ น เหมือนเช่นตัวละคร
เผ่าพันธุ์คนยักษ์ “ดอร์ รี่” กับ “โบรกี ้” คูป่ รับที่ตอ่ สู้กนั ทุกวันมาอย่างยาวนานนับร้ อยปี โดยหาผล
แพ้ ชนะไม่ได้ ซึง่ ในช่วงเวลาที่กลุม่ ของลูฟี่ได้ เดินทางไปเจอทังคู ้ น่ นั ้ ดอร์ รี่ กับโบรกี ้ก็ กาลังสงบศึก
กันชัว่ คราวเพื่อเล่าถึงเป้าหมายชีวิตของตัวเองอย่างมีความสุขว่าด้ วยเหตุผลเพียงคาว่า
“เกียรติยศ” (ยอมตายดีกว่ายอมแพ้ ) เขาจึงขอสู้กนั จนรู้ผลแพ้ ชนะกันไปข้ างหนึง่ ให้ ลฟู ี่ ฟั ง โดย
ในขณะที่ทงคู ั ้ ก่ าลังสร้ างความผูกพันให้ กบั ผู้อา่ นอยูน่ ี ้เอง ดอร์ รี่ก็ถกู ทาร้ ายจากกลุม่ องค์กร
บาล็อกเวิร์คส์จนล้ มลงในพริบตา ซึง่ ส่งผลให้ ผ้ อู ่านที่กาลังผูกพันและยกย่องในการกระทา
ของดอร์ รี่ (ที่กาลังเล่าปรัชญาชีวิตอยูใ่ นเวลานัน) ้ เกิดความรู้สกึ คาดไม่ถึงอย่างมาก การสร้ าง
ตัวละครประกอบอย่างดอร์ รี่และโบรกี ้ให้ มีความคิด มีปรัชญาในการใช้ ชีวิต ซึง่ ขัดกับรูปลักษณ์
194

ภายนอกที่เป็ นยักษ์ (ที่คนส่วนใหญ่มกั มีภาพจาว่ายักษ์ต้องโง่) นอกจากจะเป็ นกลวิธีแฝงแก่น


ความคิดของผู้เขียนสูผ่ ้ อู า่ นแล้ ว ยังทาให้ ตวั ละครประกอบเล็กๆ ดูนา่ สนใจขึ ้นมา และเรี ยก
อารมณ์ร่วมจากผู้อ่านได้ เป็ นอย่างดี
อีกตัวอย่างของการสร้ างตัวละครประกอบได้ อย่างน่าสนใจก็คือการสร้ าง
เรื่ องราวความมุมานะของ “โตโต้ ” ชายชราคนหนึง่ ที่มงุ่ มัน่ ขุดผืนดินที่กลายเป็ นทรายมานับสิบปี
ด้ วยความเชื่อว่าใต้ ผืนทรายจะมีแหล่งน ้าที่ชว่ ยชีวิตคนในหมูบ่ ้ าน โดยหารู้ไม่วา่ แท้ จริงแล้ วตัว
ละครวายร้ ายอย่างคร็ อคโคไดล์ ใช้ พลังพิเศษพัดทรายไปยังหมูบ่ ้ านทุกวันจนคนในหมูบ่ ้ านหมด
หวังกับการขุดหาน ้าบาดาล แต่ด้วยความพยายามขุดทรายอย่างไม่ลดละของโตโต้ ทา่ มกลาง
สายตาดูหมิ่น ดูแคลนจากคนรอบข้ าง ในที่สดุ ก็เจอแหล่งน ้าเข้ าจนได้ แม้ จะเป็ นเพียงตาน ้าขนาด
เล็กก็ตาม จากการปูเรื่ องราวผ่านการกระทาของตัวละครอย่างโตโต้ นี่เองที่ทาให้ ผ้ เู ขียนสามารถ
ใช้ ประโยชน์จากตัวละครประกอบเล็กๆ เพื่อขยี ้อารมณ์ผ้ อู า่ น โดยให้ ตวั ละครฝ่ ายร้ าย
อย่างคร็อคโคไดล์พดู จาหยามหยันความพยายามของโตโต้ วา่ “โง่เง่า ไร้ สาระสิ ้นดี” จนสร้ าง
“แรงผลักดัน” ให้ พระเอกอย่างลูฟี่เกิดอาการ “เลือดขึ ้นหน้ า” ซึง่ ก็สง่ ผลให้ พลังฝี มือ (พละกาลัง
ภายนอก) ที่เคยอ่อนด้ อยกว่าคูต่ อ่ สู้ กลับได้ แรงฮึดจนมี “พลังใจ” และส่งผลให้ เกิด “พลังฝี มือ” ที่
คาดไม่ถึงแทบทุกครัง้ การสร้ างเรื่ องราวให้ กบั ตัวละครประกอบที่ดเู หมือนจะ ”ไร้ ความหมาย”
แต่ใส่รายละเอียดของชีวิตและความฝั นลงไปเช่นนี ้จึงกลับเป็ นการ “สร้ างความหมาย” ที่ทาให้ เกิด
การขยี ้อารมณ์ผ้ อู า่ นในภายหลังได้ เป็ นอย่างดี
2.2.3.2 บรู๊ ค โครงกระดูกเดินได้ กับความฝั นเล็กๆ
การสร้ างตัวละครให้ มีเป้าหมาย หรื อความฝั นในวันพีซไม่ได้ มีแต่เรื่ อง
ยิ่งใหญ่(ที่ต้องฟั นฝ่ าอุปสรรคและมีเงื่อนงามากมาย) อย่างการเดินทางค้ นหาวันพีซเท่านัน้ แต่
การสร้ างความฝั นเล็กๆ ให้ กบั ตัวละครก็ชว่ ยสร้ างอารมณ์ร่วมให้ เกิดขึ ้นได้ ไม่น้อยเช่นกัน เช่น
ความฝั นของ ฮัมมิ่ง บรู๊ค โครงกระดูกเดินได้ เพราะกินผลไม้ ปีศาจที่ชว่ ยให้ ฟืน้ คืนชีพ ไม่ใช่เงิน
ทอง ชื่อเสียง การเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัด หรื อการกลับมาเป็ นมนุษย์ที่มีเลือดเนื ้อ (ไม่ใช่โครงกระดูก)
แต่เพียงแค่ต้องการได้ เจอกับสหายระหว่างการเดินทางอย่างเจ้ าวาฬ “ลาบูน” เพื่อเล่นดนตรี ให้ กบั
วาฬน้ อยได้ ฟังอีกครัง้ หนึง่ เท่านัน้ การที่ผ้ เู ขียนเลือกจะออกแบบความฝั นที่มีทงเรื
ั ้ ่ องใหญ่
(เป็ นไปได้ ยาก เช่น การเป็ นนักดาบที่เก่งที่สดุ ของโซโล หรื อการเป็ นนักเขียนแผนที่โลกมือหนึง่ ของ
นามิ) แต่ขณะเดียวกันก็ออกแบบให้ ตวั ละครบางตัวฝั นถึงสิ่งเล็กๆ ตามที่กล่าวข้ างต้ น
นอกจากจะสร้ างความหลากหลายให้ กบั เรื่ องราวของตัวละครแล้ ว ยังเป็ นการเติมความประทับใจ
แก่ผ้ อู า่ นให้ มากขึ ้นอีกด้ วย นัน่ เพราะในโลกแห่งความจริ ง มนุษย์เราก็ไม่ได้ มีฝันที่ยิ่งใหญ่ หรื อดู
195

เท่เหมือนตัวละครในวันพีซ (เช่นอยากเป็ นนายกรัฐมนตรี หรื ออยากเป็ นศิลปิ นที่เก่งกาจที่สดุ ใน


โลก) แต่สิ่งที่หล่อเลี ้ยงให้ คนเราใช้ ชีวิตอย่างมีสขุ ได้ นนอยู
ั ้ ท่ ี่สิ่งเล็กๆ น้ อยๆ ที่ผา่ นเข้ ามา ที่บางครัง้
เราอาจหลงลืมไปแล้ วนัน่ เอง (อาจเทียบได้ กบั การได้ กลับมาเจอกับเพื่อนเก่าในวัยเด็ก หรื อการ
ค้ นเจอหนังสือดีๆ ซักเรื่ อง)

ภาพประกอบ 48 บรู๊ ค ตัวละครกลุ่มตัวเอกในวันพีซ


ที่มา: http://onepiece-fc.blogspot.com/2011/04/brook.html

2.3 นินจาคาถาฯ
2.3.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก : ตัวละครร่ วมสมัยเจาะใจผู้อ่านวง
กว้ าง
ในขณะที่ตวั ละครพระเอกในการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่ยงั คงรูปลักษณ์ที่สะท้ อน
ความเป็ นญี่ปนโดยเฉพาะสี
ุ่ ผมที่เป็ นสีดาสนิท (แม้ ในการ์ ตนู แฟนตาซีก็ตามเหมือนเช่นโงคู
ในดราก้ อนบอล ลูฟี่ในวันพีซ หรื อโคนันในยอดนักสืบจิ๋วฯ ) แต่พระเอกของนินจาคาถาฯ อย่าง
นารูโตะกลับมีผมสีส้มทอง ทาให้ สร้ างความแตกต่างจากภาพลักษณ์ของพระเอกในการ์ ตนู ญี่ปนุ่
ที่ผา่ นๆ มาที่ยงั คงความเป็ นอนุรักษ์นิยม แต่ด้วยสีผมของนารูโตะที่แปลกตาออกไปนี ้เอง
นอกจากจะสร้ างความโดดเด่นให้ กบั บทบาท “พระเอก” แล้ ว นารูโตะยังเป็ นภาพแทนของเด็ก
ญี่ปนในปั
ุ่ จจุบนั ที่นิยมย้ อมสีผมกันมากขึ ้นจนกลายเป็ นเรื่ องธรรมดา สะท้ อนถึง “อัตลักษณ์” ของ
ตนเองที่ไม่ต้องการอยูใ่ นกรอบของผู้ใหญ่เหมือนเช่นตัวละครพระเอกที่ผ่านๆ มา นอกจากนี ้แค่
196

เพียงสีผมของตัวละครพระเอกก็สามารถบ่งบอกถึงนิสยั ใจคอภายในที่ชอบแหกกฎ รักการ


แสดงออก และเรี ยกร้ องความสนใจจากคนรอบข้ างได้ เป็ นอย่างดี
การสร้ างคาแร็ คเตอร์ ผา่ นสีผมของนารูโตะซึง่ ช่วยสะท้ อนภาพความเป็ นจริงของ
เด็กและวัยรุ่นญี่ปนในปั
ุ่ จจุบนั จึงสร้ างความรู้สึกร่วมจากผู้อา่ นกลุม่ นี ้ได้ อย่างมาก นอกจากนี ้ผม
สีส้มยังเป็ นรูปลักษณ์ที่เป็ นสากลมากขึ ้น เข้ าถึงกลุม่ ผู้อ่านไม่ใช่แค่ญี่ปนแต่ ุ่ กลุม่ ผู้อา่ นฝั่ งตะวันตก
เองก็ยอ่ มรู้สึกเข้ าถึงรูปลักษณ์ของนารูโตะได้ ง่ายเช่นกัน
“ผมสีทองของตัวเอกช่วยสื ่อถึงความเป็ นเด็กแปลกแยก โดดเดีย่ ว เข้าถึงคนอ่าน
ทีใ่ ห้อารมณ์ คนเมื อง และก็เข้าถึงฝรั่งได้ดี” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 49 นารู โตะ พระเอกในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://happy.teenee.com/naruto/character/1.html

ในขณะที่สีผมของนารูโตะสะท้ อนความ “ร่วมสมัย” ของตัวละครจนเข้ าถึงกลุม่


ผู้อา่ นรุ่นใหม่ได้ อย่างเป็ นสากลแล้ ว กลุม่ ผู้อา่ นที่เป็ นผู้ใหญ่เองก็ไม่ได้ ถกู ทอดทิ ้งเช่นกัน เพราะแม้
นารูโตะจะมีรูปลักษณ์และนิสยั ใจคอแบบเด็กรุ่นใหม่ (ทาสีผม แหกคอก) แต่การสร้ างตัวละคร
“จิ ้งจอกเก้ าหาง” ซึง่ เป็ นปี ศาจในนิทานปรัมปราของญี่ปนให้ ุ่ สิงสถิตอยูใ่ นร่างของนารูโตะ ก็ชว่ ย
ทาให้ ภายในตัวของเขายังคงมีความเป็ นพื ้นบ้ าน และสะท้ อนความเชื่อเรื่ องภูตผีวิญญาณแบบ
ญี่ปนอยู ุ่ ใ่ นตัวเอง ดังนันการผสมผสานรู
้ ปลักษณ์ภายนอกของตัวละครที่อิงกับคนญี่ปนทั ุ่ งใน

ปั จจุบนั และอดีตตามที่กล่าวมานี ้เองจึงทาให้ ตวั ละครพระเอกอย่างนารูโตะมีความ “ร่วมสมัย”
เข้ าถึงผู้อา่ นได้ ในวงกว้ าง
197

2.3.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: ของวิเศษหลากหลายสร้ างฉาก


ต่ อสู้น่าตื่นตา
การออกแบบความสามารถพิเศษของตัวละคร รวมทังของวิ ้ เศษ สัตว์ประหลาด
เทพเจ้ า หรื อภูตผี วิญญาณ ซึง่ เป็ นผู้ชว่ ยเหลือ (helper) ตัวละครเอกในยามคับขันนันเรี ้ ยกได้ วา่
สาคัญอย่างยิ่งในการเขียนเรื่ องแนวต่อสู้ และแฟนตาซี โดยเฉพาะการสร้ างตัวช่วยให้ กบั ตัวละคร
เอกที่เริ่มต้ นจากศูนย์ (หรื อไม่ได้ มีความสามารถเก่งกาจเหนือมนุษย์มาตังแต่ ้ ต้น) เหมือนเช่น
นารูโตะในนินจาคาถาฯ ซึง่ ผู้เขียนอย่างมาซาชิ คิชิโมโตะจึงได้ สร้ างผู้ชว่ ยเหลือเพื่อเพิ่มความ
น่าเชื่อถือในยามต้ องแก้ ไขสถานการณ์สาคัญๆ ให้ กบั ตัวละครเรื่ องนี ้ได้ อย่างน่าสนใจและ
หลากหลาย โดยตัวละครในเรื่ องนอกจากจะมีคาถา หรื อท่าไม้ ตายประจาตัวแล้ ว ยังมีพลังและ
ความสามารถที่ไม่ซ ้ากัน โดยในนินจาคาถาฯ นันได้ ้ สร้ างหมวดหมูข่ องความสามารถพิเศษ และตัว
ช่วยเอาไว้ ดงั นี ้

ความสามารถพิเศษ/ตัวช่ วย ความหมาย/ลักษณะของความสามารถพิเศษ/ตัวช่ วย
จักระ เปรี ยบเหมือน “ชี่” “ลมปราณ” หรื อพลังแฝงเร้ นในทุกสิง่ ผู้ที่ควบคุมจักระ
ได้ ดีจะสามารถรี ดพลังแฝงเร้ นออกมาใช้ งานได้ ตามใจชอบ (นารูโตะมี
จักระแฝงมหาศาลเพราะได้ พลังจากจิ ้งจอกเก้ าหาง)
ธาตุประจาตัวนินจา ธาตุนินจาแบ่งเป็ นดิน น ้า ลม ไฟ สายฟ้ า แต่ละธาตุ มีผลต่อการเสีย
เปรี ยบ-ได้ เปรี ยบในการต่อสู้ (เช่นนารูโตะธาตุลมมักเสียเปรี ยบธาตุไฟ)
ความสามารถพิเศษประจา แต่ละตระกูลนินจามีความสามารถพิเศษต่างกันและเป็ นความลับของ
ตระกูล ตระกูล เช่นเนตรวงแหวนของตระกูลอุจิวะ (สามารถลอกเลียนแบบ
ท่าทางคูต่ อ่ สู้ได้ แม่นยา) หรื อเนตรสีขาวของตระกูลฮิวงะ (สามารถมอง
ทะลุสงิ่ ต่างๆ ได้ กว้ างไกล และเห็นจักระของผู้อื่น) เป็ นต้ น
สัตว์หาง ปี ศาจในนิทานปรัมปราของญี่ปนุ่ โดยบางตัวละครก็มีการดัดแปลง
รูปลักษณ์ไปบ้ างแต่สว่ นใหญ่ยงั คงรูปลักษณ์เหมือนเช่นตัวละครใน
ตานาน (เหมือนเช่นจิ ้งจอกเก้ าหางของนารูโตะ) โดยปี ศาจแต่ละตัว (มี
ตังแต่
้ 1-9 หาง) กระจายกันสถิตในร่างนินจาแต่ละแว่นแคว้ นเพื่อเพิ่มพลัง
ให้ กบั ร่างสถิตเหล่านัน้
คาถาอัญเชิญ ในยามคับขันนินจาสามารถใช้ คาถาอัญเชิญเพื่อเชิญสัตว์วิเศษมาช่วยใน
การต่อสู้ได้ เหมือนเช่นนารูโตะทีม่ ีสตั ว์วเิ ศษที่อญ
ั เชิญมาเป็ นประจาอย่าง
“กามะบุนตะ” (หรื อราชาแห่งกบ)

ตารางที่ 22 สรุปความสามารถ สิ่งของ และสัตว์ วิเศษในนินจาคาถาฯ


198

ความหลากหลายของความสามารถ และของวิเศษข้ างต้ นเหล่านี ้จึงทาให้ ฉาก


การต่อสู้ในนินจาคาถาฯ สนุก ตื่นเต้ น และยากจะคาดเดาผลลัพธ์ (มากกว่าดราก้ อนบอล หรื อวัน
พีซ) เพราะตัวละครมีตวั ช่วยหลากรูปแบบ ทังเพื ้ ่อนร่วมทีมนินจา (ที่ปฏิบตั ภิ ารกิจพร้ อมกัน 3 คน)
ทังสั
้ ตว์หางที่สถิตอยูใ่ นร่าง หรื อคาถาแปลกประหลาดทังการเชิ ้ ญวิญญาณคนตายให้ ฟืน้ ขึ ้นมา
ต่อสู้ใหม่ หรื อการอัญเชิญสัตว์วิเศษเพื่อต่อสู้แทน ฯลฯ

ภาพประกอบ 50 สัตว์ หางต่ างๆ ในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://www.clanvamp.com/newvamp/boardread.php?topic=1865

2.3.3 แรงผลักดันภายใน: อดีตด้ านลบของครอบครั วสร้ างแรงจูงใจอัน


น่ าเชื่อถือ
ตัวละครที่ถกู กดดัน และถูกกระทาจากคนรอบข้ างมากที่สดุ คือตัวละครจากนินจา
คาถาฯ เพราะนอกจากตัวละครหลักในเรื่ องอย่างตัวเอก อุซมึ ากิ นารูโตะ จะมีอดีตที่ขมขื่น เป็ น
ร่างสถิตของปี ศาจและสูญเสียพ่อแม่ตงแต่ ั ้ ยงั เด็กจนแทบไม่มีใครคบแล้ ว ตัวละครหลักอื่นๆ ก็มกั
มีแรงกดดันจากปมของ “ครอบครัว” หรื อ “ตระกูล” ตังแต่ ้ ครัง้ อดีตส่งผลให้ เกิดแรงผลักดันต่อการ
กระทาในปั จจุบนั เหมือนเช่นอุจิวะ ซาสึเกะเพื่อนร่วมทีมนินจาของนารูโตะก็เป็ นเด็กชายผู้เงียบ
ขรึมเพราะฝั งใจกับภาพการฆ่าล้ างตระกูลของพี่ชายตนเองและจมอยูก่ บั ความแค้ นที่ต้องการ
สังหารพี่ชายตนเองอยูต่ ลอดเวลา หรื อตัวละครนินจาในหมูบ่ ้ านโคโนฮะ (ฝั่ งพระเอก)
อย่างฮิวงะ เนจิ เขาเป็ นทายาทของตระกูลสาขาของกลุม่ ฮิวงะ ซึง่ มีความสามารถหลักคือเนตรสี
ขาว ที่สามารถมองทะลุสิ่งต่างๆ และมองเห็นถึงกระแสจักระ (เปรี ยบเหมือนพลังที่ซุกซ่อนอยู่
ภายในร่างกายของนินจา) แม้ วา่ เนจิจะถือได้ วา่ เป็ นอัจฉริยะของตระกูลและได้ รับการยกย่อง
199

ว่าเก่งที่สดุ ในนินจารุ่นเดียวกันแต่กลับไม่สามารถเป็ นผู้สืบทอดตัวจริงของตระกูลได้ เพราะด้ วยวิถี


แห่งตระกูลที่ได้ กาหนดให้ ทายาทต้ องเกิดในตระกูลหลักเท่านัน้ ทาให้ เนจิที่เกิดในตระกูลสาขา
ต้ องมีชีวิตอยูเ่ พื่อ “ปกป้อง” ทายาทของตระกูลหลักอย่างฮิวงะ ฮินาตะ เหมือนเช่นพ่อของเนจิเองก็
ยอมเสียชีวิตเพื่อปกป้องตระกูลฮิวงะมาแล้ ว และด้ วยโชคชะตาที่ขีดเส้ นให้ เขาต้ องเติบโตใน
ตระกูลสาขาเช่นนี ้นี่เองจึงส่งผลให้ เนจิกลายเป็ นคนเย่อหยิ่ง ทะนงในความสามารถของตนและ
เกลียดทายาทตัวจริงของตระกูลหลักเข้ าไส้
การสร้ างแรงกดดันผ่านอดีตของตัวละคร โดยเฉพาะการสร้ างปมความขัดแย้ งใน
ครอบครัว หรื อตระกูลของตนเอง เพื่อสร้ างแรงจูงใจในการดาเนินเรื่ องของนารูโตะและซาสึเกะก็
เป็ นกลวิธีเดียวกันกับที่วนั พีซเลือกทา เพียงแต่นินจาคาถาฯ สร้ างปมอดีตที่สร้ างแรงผลักดันทาง
ลบให้ กบั ตัวละคร (สร้ างความแค้ น) มากกว่าจะสร้ างแรงผลักดันทางบวก (สร้ างความฝั น) ซึง่ แรง
ผลักในด้ านลบย่อมส่งผลให้ ตวั ละครมีเหตุผลในการกระทาและทาให้ ผ้ อู า่ น “เชื่อ” ในลักษณะนิสยั
ใจคอของตัวละครอย่างมาก (เหมือนที่เราเชื่อแรงจูงใจของฆาตกรโรคจิตเพราะถูกกระทาจากพ่อ
ของตนเองมากกว่าจะเชื่อว่าเขาลงมือฆ่าคนเพราะฝั นจะโด่งดังเหมือนฆาตกรต่อเนื่องอย่างแจ็ค
เดอะริ ปเปอร์ ส) เช่นการสร้ างลักษณะนิสยั ของซาสึเกะให้ กลายเป็ นคนเงียบขรึมยากจะหยัง่
ความคิดก็เพราะเขาเองต้ องเจอกับเหตุการณ์ทรยศของพี่ชายตนเองจนยากจะเปิ ดใจเชื่อคนรอบ
ข้ าง หรื อเนจิที่เงียบและเย่อหยิ่งในฝี มือของตน นัน่ ก็เพราะเขาเชื่อว่าฝี มือของเขานันเป็
้ นสิ่ง
เดียวที่พิสจู น์ความแข็งแกร่ง และเหนือกว่าทายาทของตระกูลหลักได้ ส่วนการไม่มีเพื่อนของ
นารูโตะ ตัวเอกของเรื่ องกลับทาให้ เขาเป็ นคนร่าเริงเพื่อกลบความเศร้ าในใจ ขณะเดียวกันก็มีพลัง
ใจในการมุมานะทาทุกสิ่งอย่างสุดพลัง นัน่ ก็เพราะนารูโตะต้ องพยายามมากกว่าคนอื่นเป็ นเท่าตัว
เพื่อต้ องการการยอมรับจากสังคมรอบข้ างนัน่ เอง
2.4 เดธโน้ ต
2.4.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: ใส่ ใจรายละเอียดเพื่อสร้ าง
ความแตกต่ าง
ในการ์ ตนู แนวแฟนตาซีสามารถสร้ างรูปร่างหน้ าตาของตัวละครให้ น่าจดจาได้
ง่ายดายผ่านการออกแบบให้ ตวั ละครมีรูปทรงที่ผิดสัดส่วน เกินจริง (เช่นตาโตหัวกลมแบบโดรา
เอมอน หรื อพุงพลุ้ยแบบจอมมารบู) ในขณะที่การ์ ตนู แนวสมจริง หรื อมีฉาก เหตุการณ์ไม่ได้
หลุดล ้าไปในโลกจินตนาการไม่อาจสร้ างตัวละครที่มีรูปลักษณ์ผิดแผกไปจากการรับรู้ของผู้อา่ น
ได้ มากนัก ดังนันการออกแบบรู
้ ปร่างหน้ าตาของตัวละครที่เกิดขึ ้นอยู่บนโลกแห่งความจริงจึงต้ อง
เน้ นความสมจริงตามไปด้ วย จนยากจะทาให้ ผ้ อู ่านจดจาตัวละครบนโลกจริงดังกล่าวผ่าน
รูปลักษณ์ภายนอก (เว้ นแต่ตวั ละครพระเอก นางเอกที่มกั สวย หล่อเท่ เป็ นที่จดจาอยู่แล้ ว) แต่
200

ในเดธโน้ ต การ์ ตนู ที่มีฉากเหตุการณ์เกิดที่ “ญี่ปน” ุ่ กลับสร้ างตัวละครที่ไม่หล่อแถมแค่เห็น


เพียงภายนอก (โดยไม่ต้องรู้ -เห็นถึงการกระทาหรื อนิสยั ใจคอ ) ก็สร้ างความโดดเด่นแตกต่างได้
โดยไม่จาเป็ นต้ องพึง่ การออกแบบผ่านลายเส้ นหรื อรูปทรงของตัวละครที่เกินจริง ซึง่ ตัวละคร
ดังกล่าวก็คือ “แอล” ชายหนุม่ ผู้โตมาจากสถานรับเลี ้ยงเด็กกาพร้ าแต่มีความสามารถในการไข
คดีสืบหาตัวคนร้ ายนัน่ เอง
ความโดดเด่นในการออกแบบแอลที่ดผู ิวเผินก็เป็ นวัยรุ่นหนุม่ ธรรมดาๆ รูปร่าง
ผอม สูง คนนี ้ก็คือการออกแบบรายละเอียดเล็กๆ น้ อยๆ ให้ กบั ท่าทางของตัวละคร ทังการยื ้ น เดิน
ที่หลังงุ้มงอ การนัง่ ยองๆ บนเก้ าอี ้บัญชาการขณะสืบสวนหรื อใช้ ความคิด หรื อกระทัง่ การหยิบ
แก้ วกาแฟที่ใช้ เพียงนิ ้วโป้งและชี ้เพียงสองนิ ้วจับหูกาแฟ การให้ ความสาคัญผ่าน “อิริยาบถ”
ของตัวละครซึง่ แตกต่างไปจากคนธรรมดาๆ ที่กล่าวมานี ้ประกอบกับการวางสีหน้ าเรี ยบเฉย จน
ยากจะคาดเดาความคิดแล้ วจึงทาให้ แอลกลายเป็ นตัวละครที่แม้ ไม่หล่อ (หล่อไม่เท่ายางามิ ไลท์
ผู้ร้ายที่รับบทเด่นเหมือนพระเอก) แต่ก็ติดอยูใ่ นความทรงจาของผู้อา่ นได้ เหมือนกัน
“เขาสร้างคาแร็ คเตอร์ แอลมี เสน่ห์มาก เพราะเขาเน้นดี ไซน์ภายนอก ดูปปจ ุ๊ าได้
เพราะเขาดีไซน์รายละเอียดของตัวละครไว้มาก ทัง้ ท่าเดิ น ท่าจับของโดยใช้นิ้วชี ้...ยิ่ งใส่
รายละเอียดมากตัวละครยิ่ งมี เสน่ห์มาก ” (ธนิสร์ วีระศักดิว์ งศ์ , สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 51 การออกแบบคาแร็คเตอร์ ภายนอกของ “แอล” ตัวเอกในเดธโน้ ต


ที่มา: http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1673727

2.4.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: เครื่องแต่ งกายทันสมัยเข้ าถึงใจ


วัยรุ่น
ภาพของยมทูตที่คนส่วนใหญ่นกึ ถึงมักเป็ นโครงกระดูกเดินได้ ที่มาพร้ อมผ้ าคลุม
201

ผืนใหญ่สีดาและอาวุธประจากายอย่างเคียวเล่มยาว แต่ยมทูตลุค (เจ้ าของสมุดโน้ ตมรณะที่ทา


หล่นไปถึงมือยางามิ ไลท์บนโลกมนุษย์) กลับล้ างภาพจาข้ างต้ นโดยสิ ้นเชิง เพราะถึงแม้ ใบหน้ า
จะยังคงเค้ าความน่ากลัวของโครงกระดูก ปากที่ฉีกกว้ างจนแทบจะถึงใบหู ดวงตากลมโตปูดโปน
และรูปร่างสูงผอม แต่การออกแบบเสื ้อผ้ าหน้ าผมของยมทูตลุคกลับเหมือนนักดนตรี พงั ก์
(punk) ที่เปลี่ยนจากผ้ าคลุมตัวหลวมของยมทูตที่เราคุ้นชินมาเป็ นเสื ้อ-กางเกงรัดรูปสีดา แถมยัง
มีต้ มุ หูหว่ งโซ่ห้อยยาว และเข็มขัดหัวเหล็กอันใหญ่รูปหัวกะโหลก อีกทังยมทู ้ ตตนนี ้ก็ไม่ได้ ถือ
เคียวประจากายใดใด แต่กลับชอบพก “แอ้ ปเปิ ล้ ” ไม่ใช่เพื่อเป็ นอาวุธแต่เป็ นของกินสุดโปรดที่ต้อง
ติดตัวไว้ เสมอนัน่ เอง
เช่นเดียวกับตัวละครหญิงที่รับบทเด่นในเรื่ องอย่างอามาเนะ มิสะ ที่อาจ
เรี ยกได้ ว่า “นางเอก” (ใกล้ เคียงกับบทบาทนางเอกมากที่สดุ เพราะในเรื่ องไม่มีนางเอกที่แท้ จริง) ก็
ไม่ใช่เด็กสาวแสนเรี ยบร้ อย หรื อฉลาดเฉลียวเหมือนนางเอกทัว่ ๆ ไป เพราะแค่เครื่ องแต่งกาย
ภายนอกก็แสดงให้ เห็นความ “แรง” และทันสมัยของตัวละครที่แต่งตัวแนวพังก์เช่นเดียวกับยมทูต
ลุค ทังผมสี ้ สว่าง การเขียนขอบตาดาเข้ ม สร้ อยคอหนังเส้ นใหญ่สีดา และเครื่ องประดับรูปหัว
กะโหลกหลากหลายรูปแบบบนร่างกาย แถมยังไม่ได้ ฉลาดเฉลียวเหมือนนางเอกปั จจุบนั โดยส่วน
ใหญ่ (เพราะในเรื่ องมิสะบูชาคนรักอย่างไลท์จนถูกหลอกใช้ ให้ ลดอายุขยั ของตัวเองลงครึ่งหนึง่
โดยไม่ร้ ูตวั )
“มิ สะมี ความเป็ นแฟชัน่ มากๆ ต่างจากการ์ ตูนผูช้ ายอื น่ ที น่ างเอกมักเรี ยบร้ อยผม
ดายาวสลวย แต่มิสะแต่งตัวเหมื อนสก๊ อย เลยเป็ นตัวละครทีอ่ อกแบบมาให้แอนตี ้นางเอก
โดยทัว่ ไป” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
การสร้ างรูปลักษณ์ของยมทูตลุค และสาวน้ อยผู้เทิดทูนความรักอย่างมิสะให้ เป็ น
แนว “พังก์” ข้ างต้ น นอกจากจะเป็ นการสร้ างตัวละครให้ เข้ ากับโทนเรื่ องสืบสวน ลึกลับได้ เป็ น
อย่างดีแล้ ว ยังเป็ นตัวละครที่ทนั ยุคสมัย เข้ าถึงกลุม่ วัยรุ่น (โดยเฉพาะวัยรุ่นญี่ปนจ ุ่ านวนไม่น้อยที่
นิยมแต่งกายกันแบบหลุดโลกและแน่นอนว่าเป็ นกลุม่ ที่มีกาลังซื ้อมาก) อีกทังรู้ ปลักษณ์ตวั
ละครที่แปลกแยกไปจากภาพจาของยมทูต และตัวละครผู้หญิงที่ได้ รับบทหลักในการ์ ตนู ก็ยงั สร้ าง
การจดจาจากผู้อา่ นได้ เป็ นอย่างดี
“คาแร็ คเตอร์ ในเดธโน้ตมันเป็ นการตีกลับของความเป็ นหญิ งและชาย และเป็ น
การออกแบบทีม่ ่งุ ไปที ่เทรนด์แบบสาว Y ซึ่ งกลุ่มนี เ้ ป็ นตลาดที ม่ ี กาลังซื ้อสูง อาจสูงกว่า main
stream (กระแสหลัก) ด้วยซ้ าไป มันเลยทาให้เดธโน้ตเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่ นทัง้ ชายทัง้ หญิ ง เรี ยกว่า
เป็ นการ์ ตูนแบบ unisex ก็ได้” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
202

“แนวโน้มการออกแบบคาแร็ คเตอร์ ในปัจจุบนั มี ความสมจริ งมากขึ้น ไม่ล้ายุค


เหมื อนดราก้อนบอล มี ความร่ วมสมัยที ท่ าให้ผู้อ่านในขณะนัน้ รู้สึกเข้าถึงง่าย การออกแบบจะไม่
หลุดโลกเกิ นไปแม้จะเป็ นเรื ่องแฟนตาซี ก็ตาม” (วรวุฒิ วรวิทยานนท์, สัมภาษณ์, 23 สิงหาคม
2554)

ภาพประกอบ 52 ยมทูตลุค (ซ้ าย) และมิสะในเดธโน้ ต (ขวา)


ที่มา: http://student.nu.ac.th/wizard13_1988/home.html
http://entertainment.hunsa.com/detail.php?id=6804

2.4.3 การออกแบบนิสัยใจคอ: พลิกบทบาทผู้ร้าย-พระเอก


อาจเรี ยกได้ วา่ ตัวละครอย่างยางามิ ไลท์เป็ นผู้ร้ายที่หล่อที่สดุ คนหนึง่ ก็ว่าได้
เพราะหากจับตัวละครอย่างไลท์ กับแอล มายืนคูก่ นั แล้ วให้ ผ้ อู า่ นคาดเดาว่าใครเป็ นพระเอก และ
ใครเป็ นผู้ร้ายโดยไม่ได้ อา่ นเนื ้อเรื่ องของเดธโน้ ตมาก่อน เชื่อว่าส่วนใหญ่คงเลือกผิด เพราะเปลือก
นอกของไลท์ (ซึง่ รับบทผู้ร้าย) นันเรี ้ ยกได้ วา่ หล่อ หุน่ สูงเพรี ยวตามสมัยนิยม และอิริยาบถ
โดยรวมก็ถกู สร้ างให้ ดู “เท่” ในขณะที่แอล (ซึง่ รับบทพระเอก) กลับหน้ าตาไม่อาจเรี ยกได้ วา่ หล่อ
ตามพิมพ์นิยม เพราะผู้เขียนวาดให้ ลกั ษณะนัยน์ตาของแอลค่อนไปทางผู้ร้าย ด้ วยรอยขีดดาใต้
ตาที่ทาให้ ดลู ึกลับ และให้ ความรู้สกึ เหมือน “พังก์” (ให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับการออกแบบ
ยมทูคลุค และมิสะ) นอกจากนี ้ด้ วยท่าทางของแอลที่ชอบยืนหลังค่อม นัง่ ยองๆ หรื อการกัดเล็บ
ก็ยิ่งทาให้ แอลดูหา่ งไกลจากคาว่า “พระเอก” ที่มกั ดูหล่อไว้ ก่อน (โดยเฉพาะพระเอกในเรื่ องแนว
ต่อสู้ หรื อสืบสวน) แต่กลับดู “แปลก” ซึง่ น่าจะเป็ นการออกแบบตัวละครผู้ร้าย หรื อตัวประกอบ
มากกว่าจะเป็ นพระเอก เช่นเดียวกับการออกแบบนิสยั ใจคอ ตัวละครอย่างไลท์แม้ จะรับบท
ผู้ร้ายที่ถกู สังคมส่วนใหญ่ประณาม แต่ความคิด อุดมการณ์ของเขากลับน่าชื่นชมไม่ตา่ งจากคนดีๆ
203

คนหนึง่ จนอาจเรี ยกว่าเป็ นพระเอกได้ ไม่ยาก เพียงแต่เขาเลือกวิธีการไปสูอ่ ดุ มการณ์ของเขา


ในทางที่ทาให้ คนบริ สทุ ธิ์ต้องสูญเสียนี่เองที่ทาให้ ไลท์กลายเป็ น “ผู้ร้าย” ไปโดยปริยาย ส่วน
แอลนันก็ ้ ไม่ได้ ถกู สร้ างให้ เป็ นพระเอกนิสยั ดีตามพิมพ์นิยมที่เราคุ้นเคยเช่นกัน เราเห็นเพียงความ
เก่งกาจในมันสมองของแอลด้ านการสืบสวน การวางแผนไล่ลา่ ไลท์ แต่นอกเหนือจาก
ความสามารถเหล่านี ้แล้ วเราก็ไม่เห็นนิสยั ใจคอด้ านความเป็ นคนมีคณ ุ ธรรมของแอลเช่นกัน (เรื่ อง
ไม่ได้ บอกอุดมการณ์ของแอลชัดเจนว่าเพราะเขาอยากเห็นโลกสงบสุขเหมือนไลท์ แอลเป็ นเพียง
เด็กหนุม่ คนหนึง่ ที่ชอบใช้ ความคิดเท่านัน) ้
การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครในเดธโน้ ตข้ างต้ นจึงเป็ นความตังใจ ้
เล่นกับความคุ้นชินของผู้อา่ น โดย “กลับขัว”้ รูปลักษณ์ทงภายในและภายนอกของตั
ั้ วละครให้
ตรงกันข้ ามกับ “บทบาท” ที่ตวั ละครได้ รับ ดังนันการออกแบบคาแร็
้ คเตอร์ เช่นนี ้ ที่ทาให้ ผ้ รู ้ ายก็
ไม่ได้ เลวร้ ายประเภทฆ่าคนเพื่อความสนุก ส่วนพระเอกก็ไม่ได้ ดีจนเราหลงรักในคุณธรรมของเขา
แถมหน้ าตาก็ไม่ได้ หล่อเหลาจนสาวๆ คลัง่ ไคล้ ดังนันผู ้ ้ อ่านที่ชอบในตัวละครทังไลท์
้ และแอล จึง
หลงรักในมันสมองของตัวละคร มากกว่ารูปลักษณ์และนิสยั เพียงฉาบฉวยเท่านัน้
ตัวละครอย่างแอลจึงน่าจะเป็ นพระเอกที่ผ้ อู า่ นชายคงไม่ร้ ูสกึ อิจฉาหรื อหมัน่ ไส้
แต่ร้ ูสกึ เข้ าถึงได้ ง่ายกว่าพระเอกที่หล่อ ดี มีคณ ุ ธรรม ขณะเดียวกันก็นา่ จะเป็ นคาแร็ คเตอร์ ที่ถกู ใจ
กลุม่ ผู้อา่ นญิงที่ชอบ “ของแปลก” ต่างไปจากภาพความเป็ น “พระเอก” ที่เห็นกันอยูโ่ ดยส่วนใหญ่
วิธีการออกแบบข้ างต้ นนอกจากจะสร้ างความรู้สกึ แปลก แตกต่างไปจากการ
ออกแบบตัวละครพระเอก-ผู้ร้ายที่เราคุ้นชินแล้ ว ยังสะท้ อนความแตกต่าง หลากหลายของเด็ก
และวัยรุ่นในสังคมปั จจุบนั ที่ล้วนต้ องการ “ตัวตน” ความมีอตั ลักษณ์ที่ไม่จาเป็ นต้ องเดินตาม
กระแสหลักอีกด้ วย

ภาพประกอบ 53 เปรียบเทียบคาแร็คเตอร์ ภายนอก แอล-ไลท์ (พระเอก-ผู้ร้าย)


ที่มา: http://zaalimp.exteen.com/
204

2.5 ทเวนตีฯ้
2.5.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: อีกมุมมองของคาว่ า “ฮีโร่ ”
แม้ ทเวนตี ้ฯ จะว่าด้ วยเรื่ องของฮีโร่ผ้ กู อบกู้โลกให้ รอดพ้ นจากมหันตภัยร้ ายของ
กลุม่ องค์กร “เพื่อน” ผู้ต้องการแพร่พนั ธุ์ไวรัสร้ ายทาลายมนุษย์ แต่แนวทางการออกแบบตัวละคร
กลับไม่เดินตามรอยการสร้ าง “ฮีโร่” ที่เราเคยผ่านตา นัน่ เพราะการออกแบบ “ขบวนการเคนจิ” ซึง่
เป็ นกลุม่ ของพระเอกที่ตอ่ ต้ าน “เพื่อน” กลับมีรูปร่าง หน้ าตา สัดส่วนของร่างกายไปจนถึงเสื ้อผ้ า
ทรงผมแสนธรรมดา แถมไม่ได้ มีของวิเศษ หรื อความสามารถพิเศษมาช่วยเชิดชูความเก่งกาจใด
ใดให้ กบั ตัวละคร เรี ยกได้ วา่ หากเห็นตัวละครกลุม่ ฮีโร่ของเคนจิเพียงภายนอกย่อมคิดไม่ถึงว่า
กลุม่ คนเหล่านี ้หรื อคือผู้กอบกู้โลก
เริ่มจากตัวเอกอย่างเคนจิ ทุกส่วนบนใบหน้ าไม่ได้ ใหญ่โต ผิดสัดส่วน แต่ด้วยการ
วาดหางตาที่ชี ้ขึ ้นเล็กน้ อยทาให้ หน้ าตาโดยรวมของเขาค่อนไปทางตัวร้ ายมากกว่าพระเอกด้ วยซ ้า
ไป แต่ก็ยงั คงรูปร่างผอม เพรี ยว ผมสันสี ้ ดา สวมเสื ้อแจ็คเก็ตเรี ยบง่าย ตามแบบฉบับคนญี่ปนุ่
ธรรมดาๆ นอกจากนี ้ก็ยงั ไม่ได้ มีพลังวิเศษ หรื อความสามารถทังด้ ้ านพละกาลัง (เหมือนเช่นโงคู
ในดราก้ อนบอล) หรื อมีมนั สมองเลิศล ้า (เหมือนเช่น แอลในเดธโน้ ต) อีกด้ วย

ภาพประกอบ 54 เคนจิพระเอกจากทเวนตีฯ้
ที่มา: http://asiabeam.com/v/films/20th-Century-Boys/20th-Century-Boys-manga-02-03

ส่วนโอตโจะ ตัวละครที่เปิ ดตัวมาใกล้ เคียงกับคาว่า “เท่” มากที่สดุ เพราะเป็ น


หนุม่ ร่างใหญ่ผมยาว ไว้ หนวด เคราประปราย สวมเสื ้อโค้ ทตลอดเวลา และสร้ างวีรกรรมปกป้อง
205

ผู้หญิง (ช่วยเหลือหญิงขายบริการชาวไทย) ในตอนต้ นเรื่ อง โอตโจะจึงดูเป็ นชายหนุม่ ที่ ให้


ภาพลักษณ์แบบ “bad boy” แต่จิตใจดีพร้ อมช่วยเหลือผู้อื่น แต่ผ้ เู ขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่า
ก็ยอมหักดิบความรู้สกึ ของผู้อา่ นโดยฆ่าภาพลักษณ์ของตัวละครไปเมื่อเรื่ องราวดาเนินไปถึงกลาง
เรื่ อง เพราะหลังเหตุการณ์ที่ขบวนการเคนจิชว่ ยกันหยุดยังหุ ้ ่นยักษ์ไม่ให้ ทาลายโลกและสร้ าง
เรื่ องราวให้ โอตโจะหายตัวไปนัน้ เขากลับมาอี กครัง้ ในภาพของชายวัยกลางคนที่รูปลักษณ์
ห่างไกลจากคาว่า “เท่” เมื่อตอนเปิ ดเรื่ องโดยสิ ้นเชิง ด้ วยผมที่บางจนเกือบล้ าน แถมด้ วยหนวด
เครารุงรังจนดูคล้ ายคนจรจัดเข้ าไปทุกที
ด้ านโยชิสเึ นะ ที่แม้ จะรับบทสาคัญในการเป็ น “รักษาการณ์หวั หน้ าขบวนการ
เคนจิ” แต่กลับรูปร่าง หน้ าตาใกล้ เคียงกับคาว่า “ลูกกระจ๊ อก” มากกว่า เพราะด้ วยหางตาที่ตกดู
เศร้ าสร้ อยตลอดเวลา แว่นตากลมใหญ่หนาเตอะให้ ความรู้สกึ เป็ นนักวิชาการมากกว่านักก่อการ
ปฏิวตั ิ แถมยังมีรูปร่างผอมบาง และขาดความมัน่ ใจในตัวเองอีกด้ วย หากรูปร่างหน้ าตาอย่าง
โยชิสเึ นะปรากฏอยู่ในการ์ ตนู เรื่ องอื่น ย่อมหนีไม่พ้นตัวประกอบไร้ บทบาท แต่โยชิสเึ นะกลับได้ รับ
บทเป็ นตัวตายตัวแทนของขบวนการกู้โลกในยามที่ขาดหัวหน้ าอย่างเคนจิคอยบัญชาการ

ภาพประกอบ 55 ขบวนการกู้โลกในทเวนตี ้ เคนจิ (กลาง) โยชิสึเนะ (ขวาบน) โอตโจะ (ขวาล่ าง)


ที่มา: http://forum.duelingnetwork.com/index.php?/topic/28337-need-new-manga-to-
read-plz-give-recomendations-d/

การสร้ างตัวละครขบวนการกู้โลกอย่างเคนจิ โอตโจะ และโยชิสเึ นะให้ มีรูปลักษณ์


ภายนอกห่างไกลจากคาว่า “ฮีโร่” นอกจากจะสร้ างความรู้สกึ แปลกใหม่สาหรับนักอ่านการ์ ตนู
แนวธรรมะ-อธรรมแล้ ว ยังเป็ นการสร้ างความหมายใหม่ของคาว่า “ฮีโร่” ที่ไม่จาเป็ นต้ องดูหล่อ เท่
206

หรื อมีความสามารถเหนือมนุษย์เสมอไป ซึง่ ก็อาจเป็ นความต้ องการของผู้เขียนที่อยากให้ ตวั ละคร


ที่ดเู หมือนคนจริงในสังคมญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่ช่วยกระตุ้นให้ คนอ่านที่ก็เป็ นคนธรรมดาอย่างเราๆ
โดยเฉพาะวัยผู้ใหญ่ (ที่ถกู ภาระหน้ าที่การงานทาให้ ลืมเลือนความฝั น ความมุง่ มัน่ ในวัยเด็ก) ลุก
ขึ ้นมามีพลังใจทา “ความดี” (เหมือนเช่นความฝั นอยากเป็ นฮีโร่ก้ โู ลกเมื่อครัง้ ยังเด็กเช่นเดียวกับ
เคนจิ) กันอีกทางหนึง่ แต่ขณะเดียวกันความสมจริงที่ถกู ใจผู้ใหญ่ก็อาจไม่จบั ใจกลุม่ ผู้อา่ นวัย
เด็กได้ เช่นกัน
“ตัวละครเขาเด่นตรงทุกตัวมี ความอ่อนแอในตัวเอง มี มมุ ที ไ่ ม่เก่ง ไม่กล้าสู้ แต่
สุดท้ายก็ลกุ ขึ้นสูจ้ นได้ มันเลยทาให้ฉากดราม่าเรื ่ องนี ้มนั ดูเข้าท่า” (ธนิสร์ วีระศักดิ์วงศ์ ,
สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554)
2.5.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: หน้ ากากบังหน้ าสร้ างตัวละคร
ลึกลับ
แนวทางการสร้ างตัวละครผู้ร้ายให้ คนอ่านรู้สกึ สะพรึงกลัว และสร้ างความลึกลับ
ให้ กบั ตัวละครโดยส่วนใหญ่นนอาจเลื ั้ อกใช้ วิธีออกแบบให้ ตวั ละครมีลายเส้ นเยอะ หรื อรูปร่าง
น่าเกลียดน่ากลัว (เหมือนเช่นพิคโกโร่ในดราก้ อนบอล หรื อตัวละครเหนียวเมือกในภาพยนตร์ อย่าง
เอเลี่ยน) หรื อมิเช่นนันก็
้ หลีกเลี่ยงใบหน้ าของผู้ร้ายผ่านฉากนัง่ เก้ าอี ้หันหลังให้ ผ้ อู ่านบ้ าง หรื อ
การสร้ างมุมภาพที่เผยอวัยวะเพียงบางส่วนของตัวละครโดยอาพรางใบหน้ าทังหมดบ้ ้ าง เพื่อสร้ าง
ความลึกลับซับซ้ อนให้ กบั คูอ่ ริของพระเอก แต่ตวั ร้ ายอย่าง “เพื่อน” ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้กลับไม่
ใช้ ทงสองวิ
ั้ ธีข้างต้ น สิ่งที่นาโอกิ อุราซาว่าทานันเรี ้ ยบง่ายแต่สร้ างความลึกลับให้ กบั หัวหน้ า
องค์กรที่เรี ยกตัวเองว่า “เพื่อน” ได้ อย่างน่าเชื่อถือ เพียงการสร้ าง "หน้ ากาก” ที่มีลกั ษณะเหมือนถุง
คลุมใบหน้ า ซึง่ บนถุงมีรูปดวงตาและนิ ้วมือ (เสมือนว่ากาลังจับจ้ องทุกคนอยู่ ขณะเดียวกันนิ ้วมือ
ที่ชี ้ขึ ้นก็อาจตีความได้ วา่ เป็ นการเชิญชวนสาวกหรื อผองเพื่อนทุกคนให้ เดินไปในทิศทางเดียวกัน
กับองค์กร “เพื่อน”) ซึง่ การซ่อนใบหน้ าตัวร้ ายภายใต้ “หน้ ากาก” นอกจากจะช่วยกระตุ้น
ความสงสัยแก่ผ้ อู า่ นได้ เป็ นอย่างดีแล้ ว ยังทาให้ ผ้ เู ขียนเปิ ดเผยท่าทาง การกระทาของตัวละครได้
อย่างเต็มที่โดยไม่ต้องซ่อนสีหน้ า แววตาของตัวละครในมุมมืด ขณะเดียวกันก็ยงั คงปกปิ ด
ความลับเรื่ องใบหน้ าที่แท้ จริ งของตัวละครได้ ตลอดเวลาอีกด้ วย
“ผมชอบการออกแบบตัวละคร “เพือ่ น” มาก มันออกแบบน้อยแต่ได้เยอะ แค่วาด
หน้ากากคลุมหน้า แต่มนั ทาให้คาแร็ คเตอร์ “เพือ่ น” ดูลึกลับ และน่ากลัว ทัง้ ๆ ที ่ตลอดทัง้ เรื ่องมัน
ไม่ได้มีบทสนทนา หรื อพฤติ กรรมทีส่ ่อไปในทางเลวร้ายเลย” (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์,
20 กันยายน 2554)
207

ภาพประกอบ 56 “เพื่อน” ตัวร้ ายผู้ปิดบังใบหน้ าตลอดเวลาในทเวนตีฯ้


ที่มา: http://www.comicbookgalaxy.com/commentary_ak_010305.html

2.5.3 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอกและนิสัยใจคอ: ตัวละครประกอบ


แสนทรงพลัง
ตัวละครประกอบที่ดีย่อมถูกสร้ างขึ ้นเพื่อรองรับเรื่ องราว ซึง่ อาจเหมือนเช่นตัว
ละครคนใช้ ในละครไทย ที่มกั มีบทบาทเป็ นคนบอกความลับสาคัญของเรื่ อง หรื อในวันพีซ สร้ าง
ตัวละครประกอบให้ มีความหมายขึ ้นเพื่อสร้ างอารมณ์ร่วมจากผู้อา่ น และเพื่อเป็ นแรงจูงใจให้
พระเอกอย่างลูฟี่มีแรงฮึดสู้กบั ศัตรู แต่ตวั ละครประกอบในทเวนตี ้ฯ กลับถูกสร้ างให้ มี
ความหมายมากกว่าแค่การเปิ ดเผยเรื่ องราวสาคัญและการแสดงความรู้สกึ ยกย่องตัวเอกให้
กลายเป็ นวีรบุรุษเหมือนเช่นตัวละครเหล่านี ้
เด็กน้ อยสองพี่น้อง ซานาเอะ กับคัตสึโอะ พวกเขาบังเอิญได้ พบเจอกับโอต
โจะแกนนาของขบวนการเคนจิระหว่างการเดินทางเอาโทรทัศน์ไปซ่อม และก็ได้ ถกู มอบหมาย
ภารกิจจากโอตโจะให้ ชว่ ยส่งมอบจดหมายแจ้ งข่าวการลอบสังหารพระสันตะปาปาของ “เพื่อน”
และหลังจากเด็กน้ อยมองเห็นพลังและความตังใจจริ ้ งของขบวนการกู้โลกเคนจิ ซานาเอะจึงได้ มี
ส่วนสาคัญในการทาสาเนาเพลงของเคนจิเผยแพร่ไปยังชาวบ้ านในละแวกใกล้ เคียง
โคอิซุมิ เคียวโกะ นักเรี ยนสาวมัธยมปลายที่ดไู ม่เอาไหนคนหนึง่ ได้ รับรู้ความ
จริงเหตุการณ์นองเลือดวันส่งท้ ายปี เก่าโดยบังเอิญว่าขบวนการเคนจิตา่ งหากที่เป็ นฮีโร่ก้ โู ลกให้
รอดพ้ นจากเงื ้อมมือของ “เพื่อน” ที่ตงใจจะล้
ั้ างโลกด้ วยการปล่อยไวรัส จนทาให้ เธอตัดสินใจ
208

ช่วยเหลือขบวนการเคนจิด้วยการแฝงตัวเข้ าไปยัง “เพื่อนแลนด์” เพื่อสืบหาที่มาที่ไปของ “เพื่อน”


ตัวจริง
คาคุตะ นักเขียนการ์ ตนู โนเนมที่ถกู ส่งไปอยูใ่ นคุกเดียวกันกับโอตโจะ จาก
ที่เคยเขียนการ์ ตนู อย่างไร้ แรงใจก็ได้ แรงพลังในการเขียนการ์ ตนู ขึ ้นมาอีกครัง้ เมื่อเห็นความไม่ยอ่
ท้ อของทังโอตโจะและพรรคพวก
้ จนเขาตังปณิ
้ ธานไว้ วา่ จะใช้ การ์ ตนู เป็ นสื่อกลางถ่ายทอด
เรื่ องราว “ฮีโร่ตวั จริง” อย่างขบวนการเคนจิไปยังคนทังโลกให้
้ ได้
การสร้ างตัวละครเด็ก วัยรุ่น และนักเขียนการ์ ตนู จากที่เป็ นคนธรรมดาๆ แต่เมื่อ
ได้ รับแรงใจจากขบวนการเคนจิก็สามารถกลายมาเป็ นตัวละครที่ “ทรงพลัง” เพราะสามารถส่งต่อ
พลังให้ คนอื่น และลุกขึ ้นมาทาบางสิ่งเพื่อความถูกต้ องเช่นนี ้ จึงเป็ นการสร้ างตัวละครประกอบที่
แสน “ทรงพลัง” เพราะนอกจากจะทาให้ ตวั ละครที่ปรากฏตัวเพียงไม่กี่ครัง้ เป็ นที่นา่ จดจาแล้ ว
ตัวละครเหล่านี ้ยังเปี่ ยมด้ วยความหมายที่ผ้ เู ขียนอาจต้ องการบอกแก่นความคิดของเขาว่า กลุม่
คนเหล่านี ้นี่เอง (คนรุ่นใหม่ และศิลปิ น) คือ “ความหวัง” ของสังคม ที่ควรจะลุกขึ ้นมาตังค ้ าถาม
ต่อความไม่ชอบมาพากลในสังคม หรื อลุกขึ ้นหาคาตอบถึงวิถีแห่งการเมือง การปกครองที่ควรจะ
ปราศจากการครอบงาทางความคิดของกลุม่ อิทธิพลใดใด (เหมือนเช่นองค์กร “เพื่อน”)

2.6 ยอดนักสืบจิ๋วฯ
2.6.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: สร้ างตัวละครเพียงหนึ่งแต่ ได้ ถงึ
สอง
หลายๆ เรื่ องในรหัสคดีอาจหาทางสร้ างความสนุกสนานในการสืบสวนด้ วยการ
สร้ างตัวละครนักสืบแบบคูห่ ู (เช่นเชอร์ ล็อคส์ โฮล์ม กับหมอวัตสัน) เพื่อช่วยสร้ างทังข้ ้ อขัดแย้ ง
ของมุมมองการสืบสวน หรื อเติมเต็มข้ อบกพร่องในการไขปมปริ ศนาซึง่ กันและกัน แต่ในยอด
นักสืบจิ๋วกลับสร้ างมิตขิ องตัวละครได้ อย่างง่ายดายโดยไม่ต้องสร้ างตัวละครคูห่ ูเข้ าช่วย เพราะ
ตัวละครเอกแม้ มีเพียงคนเดียวแต่ก็เหมือนมีสองคนสองบุคลิกในร่างเดียวกัน นัน่ เพราะร่างกาย
ของพระเอกอย่างคุโด้ ชินอิจิ ได้ หดเล็กลงจากฝี มือขององค์กรชายชุดดาจนกลายเป็ นเด็กประถม
ในร่างของ “โคนัน” แม้ การสร้ างตัวละครเอกจะดู “เหลือเชื่อ” ซึง่ ขัดแย้ งกับแนว
เรื่ องแบบสืบสวนสอบสวนที่มีบรรยากาศโดยรวมเน้ นความสมจริง และใช้ ตรรกะในการคลี่คลาย
ปม แต่ความเหนือจริง (ของการที่ผ้ ใู หญ่กลายเป็ นเด็ก) ก็ไม่ใช่ความเหนือจริงที่เข้ ากันไม่ได้ กบั
เรื่ องสมจริง เพราะสถานการณ์ “ร่างหดเล็กลง” นันถู ้ กอธิบายได้ ด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
ว่าเกิดจากการคิดค้ นยาสูตรใหม่ขององค์กรลึกลับนัน่ เอง การออกแบบตัวละครเอกอย่าง
ชินอิจิและโคนันจึงเป็ นตัวละครที่ฉีกตัวเองออกมาจากแนวเรื่ องแบบสืบสวนอย่างน่าสนใจ เพราะ
209

นอกจากจะทาให้ ผ้ อู า่ นได้ รสชาติที่แปลกใหม่ของการได้ เห็น “เด็กประถม” กลายเป็ นยอดนักสืบได้


อย่างน่าเชื่อถือแล้ ว ขณะเดียวกันการสร้ างตัวละครเอกเช่นนี ้ก็ยงั ให้ ผลทางการตลาดในวงกว้ าง
มากขึ ้นอีกด้ วย เพราะผู้เขียนสามารถสร้ างตัวละครกลุ่มรายรอบตัวเอกได้ หลากหลายวัยมากขึ ้น
เพราะตัวเอกเป็ นทังเด็
้ กประถม และวัยรุ่นในคนเดียวกันนัน่ เอง

ภาพประกอบ 57 ตัวละครเอกสองวัยในร่ างเดียวกันจากยอดนักสืบจิ๋วฯ


http://www.slumpy.net/conan/characters_regular.html

2.6.2 สร้ างตัวละครทัง้ เพื่อนทัง้ คู่แข่ งผูกใจคนอ่ าน


เมื่อตัวละครเอกในเรื่ องราวรหัสคดีมกั สืบเสาะร่องรอย ไขปมปริศนาของคนร้ าย
ได้ อย่างเหนือชัน้ เมื่อจบคดีหรื อจบตอนแล้ วก็จบกันไป จึงทาให้ เรื่ องราวแนวนี ้ขาดตัวละคร
ผู้ร้ายที่แข็งแกร่งทัดเทียมกับตัวเอก จนอาจทาให้ ผ้ อู ่านขาดแรงจูงใจในการติดตามเรื่ องราวระยะ
ยาว แต่สาหรับยอดนักสืบจิ๋วกลับแก้ ปัญหาข้ างต้ นด้ วยการสร้ างตัวละคร “ฝ่ ายตรงกันข้ าม” และ
“คูแ่ ข่ง” ของพระเอกออกมาเพื่อสร้ างความขัดแย้ ง และสร้ างความผูกพันให้ คนอ่านได้ ล้ นุ กับ
ความสัมพันธ์ของตัวละครในระยะยาว ทังฮั
้ ตโตริ เฮย์ จิ คูแ่ ข่งที่กลายมาเป็ นเพื่อนคูห่ ู
ภายหลัง เขาเป็ นนักสืบมัธยมปลายผิวเข้ มผู้มีชื่อเสียงในแถบคันไซ ซึง่ ได้ รับการยกย่องเคียงคูก่ บั
พระเอกอย่างชินอิจิ (ที่เป็ นนักสืบแห่งตะวันออก) ว่าเป็ นนักสืบแห่งตะวันตก โดยในเรื่ องโกโช อา
โอยาม่าได้ สร้ างฉากการดวลกันไขคดีของทังคู ้ ่ เพื่อให้ คนอ่านได้ ล้ นุ และเอาใจช่วยพระเอกอย่าง
210

ชินอิจิมากขึ ้น (เพราะการสืบคดีในแต่ละตอนไม่ได้ สร้ างความรู้สกึ ร่วมกับตัวละครเอกมากนักนัน่


เพราะคนอ่านคาดเดาได้ อยู่แล้ วว่าไม่วา่ จะอย่างไรชินอิจิก็ต้องสืบคดีสาเร็จ) นอกจากนี ้
ยังมีตวั ละครอย่าง “จอมโจรคิด” ตัวเอกของเรื่ องจอมโจรอัจฉริยะซึง่ เป็ นผลงานเรื่ องก่อนหน้ าของ
ผู้เขียนอย่างอาโอยาม่าปรากฏตัวในเรื่ องยอดนักสืบจิ๋วฯ ด้ วย โดยตัวจริงของจอมโจรคิดนันก็ ้
เป็ นนักเรี ยนมัธยมปลายเหมือนเช่นชินอิจิ มีไอคิวสูงถึง 400 มีหน้ าตาหล่อเหลาเหมือนชินอิจิ
อย่างมาก และมีคติประจาตัวว่าเขาจะเป็ นแค่ขโมยแต่ไม่ใช่ฆาตกร ซึง่ ผู้เขียนก็สร้ างจอมโจร
คิดให้ เป็ นทังคู้ ป่ รับ และผู้ชว่ ยเหลือโคนัน เพราะแม้ โคนันจะเคยขัดขวางการโจรกรรมของคิด แต่
คิดก็เคยช่วยเหลือแก๊ งนักสืบจิ๋วของโคนันจนทาให้ โคนันก็แอบปล่อยตัวจอมโจรคิดให้ หลุดรอด
เงื ้อมมือตารวจไปเช่นกัน
น่าสนใจว่าผู้เขียนสร้ างตัวละครอย่างเฮย์จิและจอมโจรคิดนันมี ้ รูปร่างหน้ าตาดี
แทบเป็ นพิมพ์เดียวกับพระเอกอย่างชินอิจิ (ผอม สูง หน้ าเล็กเรี ยว ผมดา) โดยเฉพาะจอมโจรคิดที่
หน้ าเหมือนชินอิจิเสียจนกระทัง่ นางเอกอย่างโมริ รันเองยังจาผิดมาแล้ ว ซึง่ การสร้ างตัวละคร
คูร่ ักคูแ่ ค้ นของพระเอกทังเฮย์
้ จิ และจอมโจรคิดให้ มีรูปลักษณ์หล่อเหลา และมีความสามารถคูค่ ี่สสู ี
กับพระเอกเช่นนี ้ นอกจากจะช่วยเสริมให้ พระเอกอย่างชินอิจิดเู ก่งกาจมากขึ ้นแล้ ว ยังเป็ นการ
สร้ าง “ทางเลือก” ให้ กบั ผู้อา่ น (โดยเฉพาะกลุม่ ผู้หญิง) เพื่อสร้ างความรู้สกึ ว่ามีตวั ละครเท่-หน้ าตา
ดีถึง 3 คน ซึง่ ย่อมหลอกล่อให้ ผ้ อู า่ น “รอคอย” การกลับมาของตัวละครในตอนต่อๆ ไป
นอกจากนี ้การนาตัวละครจากผลงานเรื่ องเก่าลงในเรื่ องใหม่เหมือนเช่นจอมโจรคิดยังเป็ นการ
รักษาผู้อา่ นกลุม่ เดิมที่ชื่นชอบตัวละครเก่าอยู่แล้ วให้ ตดิ ตามผลงานเรื่ องใหม่ได้ อย่างต่อเนื่องด้ วย

ภาพประกอบ 58 เฮย์ จิ (ซ้ ายสุด) และจอมโจรคิด (ขวาสุด)


ที่มา: http://sukanyabutchuang.wordpress.com/2012/02/10/
211

3. ความแตกต่ างหลากหลายของตัวละคร
เรื่ องที่สร้ างตัวละครได้ ดีย่อมต้ องมีบคุ ลิกลักษณะทังภายในและภายนอกที
้ ่ไม่ซ ้าซ้ อนกัน
ในเรื่ องเดียว ซึง่ อาจแยกย่อยการสร้ างความแตกต่างหลากหลายของตัวละครในการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ อง
ดังนี ้
3.1 วันพีซ
3.1.1 ความแตกต่างของรูปลักษณ์ภายนอกของกลุม่ ตัวละครเอก
- ขนาดของตัวละคร
หากจับตัวละครมายืนเรี ยงกันจะเห็นว่าขนาดความสูงต่าของตัวละครในวันพีซไม่
แตกต่างกันมากนัก โดยตัวละครที่เป็ นมนุษย์ธรรมดาเช่นพระเอกอย่างลูฟี่ กลุม่ ตัวเอกอย่างอุซป
หรื อตัวละครโจรสลัดหญิงอย่างนามิมีความสูงใกล้ เคียงกัน เว้ นแต่ตวั ละครที่ไม่ใช่มนุษย์เหมือน
เช่นครึ่งคนครึ่งกวางอย่างโทนี่ ช้ อปเปอร์ ที่ตวั เล็กกว่าคนอื่น หรื อไซบอร์ กอย่างแฟรงกี ้ก็สร้ างให้
ตัวสูงใหญ่กว่าคนทัว่ ไปและมีกล้ ามเนื ้อเป็ นมัดๆ ให้ สมกับเป็ นหุน่ ยนต์ที่แข็งแกร่ง
- รูปทรงและสัดส่วนของตัวละคร
แนวทางการออกแบบตัวละครในวันพีซไม่ได้ ใช้ รูปทรงที่เป็ น simple form หรื อ
รูปทรงกลม สามเหลี่ยม หรื อสี่เหลี่ยมอย่างชัดเจนเพื่อสร้ างการจดจาทันทีเมื่อแรกเห็นเหมือนเช่น
การสร้ างตัวการ์ ตนู อย่างคิตตี ้ หรื อโดราเอมอน (ที่เน้ นทรงกลมชัดเจน) นัน่ เพราะตัวละครโดย
ส่วนใหญ่คือ “มนุษย์” ดังนันจึ
้ งไม่อาจสร้ างรูปทรงให้ ฉีกไปจากการรับรู้ของผู้อา่ นได้ มากนัก
ผู้เขียนจึงอาศัยการออกแบบสัดส่วนตัวละครที่คอ่ นข้ างเกินจริงเพื่อสร้ างอารมณ์ร่วมจากผู้อา่ น
แทน เช่นการวาดตัวละครให้ อ้าปากกว้ างอยูบ่ อ่ ยครัง้ เพื่อสร้ างอารมณ์ขนั นอกจากนี ้ยัง
สร้ างตัวละครกลุม่ พระเอกให้ ดู “เท่” แบบวัยรุ่นยุคใหม่เข้ าไว้ ก่อน ผ่านการออกแบบรูปร่างตัวละคร
ที่ไม่มีใคร “อ้ วน” เลยแม้ แต่คนเดียว หนาซ ้ายัง “ผอมเพรี ยว” เกินจริงด้ วยซ ้าไป ทังซั ้ นจิ (กุ๊ก
ประจาเรื อ) โรโรโนอา โซโล (นักดาบ) อุซป (จอมยิงหนังสติก๊ ) พระเอกอย่างลูฟี่ ซึง่ ก็สะท้ อน
ค่านิยมของวัยรุ่นญี่ปนในปั ุ่ จจุบนั ที่ชื่นชอบผู้ชายรูปร่างอ้ อนแอ้ น บอบบาง ไม่จาเป็ นต้ องบึกบึนมี
กล้ ามเป็ นมัดๆ แบบพระเอกจากฝั่ งตะวันตก เช่นเดียวกับรูปร่างของตัวละครโจรสลัดหญิงกลุม่
ตัวเอกอย่างนามิและโรบินก็ดบู อบบาง แต่ขณะเดียวกันก็ยงั คงรูปลักษณ์แบบตัวเอกหญิงสาหรับ
การ์ ตนู ผู้ชายโดยส่วนใหญ่ที่มกั วาดให้ ผ้ หู ญิงมีหน้ าอกค่อนข้ างใหญ่ เอวเล็ก สะโพกผาย และแขน
ขายาวเรี ยว
212

ภาพประกอบ 59 ขนาด รู ปร่ าง สัดส่ วนตัวละครเอกในวันพีซที่ผอมเพรี ยวเกินจริง


ที่มา: http://davecollyjap.blogspot.com/2011_12_01_archive.html

ดังนันเมื
้ ่อขนาดของตัวละครเอกในวันพีซไม่ได้ แตกต่างกันมากนัก แถมรูปร่าง
ของตัวละครหลักส่วนใหญ่ยงั เน้ นความ “ผอมเพรี ยว” จนเกินจริงใกล้ เคียงกันแล้ ว จึงทาให้
รูปลักษณ์ภายนอกของกลุม่ ตัวละครเอก (กลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง) ไม่ได้ แตกต่าง หลากหลายจน
เป็ นที่สงั เกต แต่ผ้ เู ขียนเลือกจะสร้ างความแตกต่างให้ กบั ตัวละครด้ วยรูปทรงของหน้ า
อวัยวะบนใบหน้ า รวมถึงเสื ้อผ้ าเครื่ องแต่งกายของตัวละครแทน เช่นตัวเอกอย่างลูฟ่ ี มีรูป
หน้ าค่อนข้ างกลม ตาโต ซึง่ ก็ดสู มกับวัยของเขาที่ยงั ก ้ากึ่งระหว่างเด็กและวัยรุ่นชาย ชอบสวมเสื ้อ
แขนกุดมีกระดุม และกางเกงขาสันทรงหลวม ้ พร้ อมกับหมวกฟางอันเป็ นเอกลักษณ์ การ
ออกแบบภาพรวมของตัวละครอย่างลูฟี่จึงเป็ นเอกภาพอย่างมากเพราะให้ ความรู้สึกถึงความเป็ น
คน “ง่ายๆ สบายๆ” ด้ วยเสื ้อผ้ าตัวหลวม หมวกฟางที่เหมาะกับทะเล (ที่ทาให้ เรานึกถึงวัน
พักผ่อนสบายๆ) รวมทังความสามารถพิ
้ เศษคือพลังของมนุษย์ยางยืดที่ทาให้ เราเห็นภาพการยืด
แขนยืดขา (ซึง่ แสดงถึงความยืดหยุ่น เป็ นอิสระของโจรสลัด) อยูบ่ อ่ ยครัง้
ส่วนซันจิ กุ๊กประจาเรื อที่สวมสูทดาและปากคีบบุหรี่ อยูต่ ลอดเวลา เขามีใบหน้ า
ค่อนข้ างเรี ยวกว่าลูฟี่ และแม้ ภาพรวมบนใบหน้ าจะดูหล่อ แต่ผ้ เู ขียนก็ใส่ความแปลก แตกต่าง
แสนง่ายดายบนใบหน้ าผ่านรูปทรงของ “คิ ้ว” ที่แค่วาดให้ ม้วนงอ แต่ก็สง่ ผลลดทอนความหล่อ เท่
และเพิ่มความเป็ น “การ์ ตนู ” (ที่ไม่สมจริง) ลงไปในตัวละครได้ อย่างมาก ซึง่ แนวทางการสร้ าง
ตัวละครพ่อครัวมือดีประจาเรื อให้ ผอมเพรี ยว ค่อนข้ างหล่อ แถมใส่สทู ตลอดเวลานี ้เองที่ ทาให้ ซนั จิ
แตกต่างไปจากภาพของตัวละคร “พ่อครัว” ที่เราคุ้นชินกันอยู่ (นัน่ คือภาพของชายวัยกลางคน
213

รูปร่างใหญ่ ไม่ใช่ผอมบางเหมือนซันจิ และพ่อครัวก็น่าจะสวมชุดขาว และหมวกไม่ใช่ใส่สทู ดา


แบบซันจิ)

ภาพประกอบ 60 ลูฟ่ ี และซันจิ ตัวละครในวันพีซ


ที่มา: http://www.onepiece.com.au/grandline/?page_id=9
http://onepiece-fc.blogspot.com/2011/04/sanji.html

ด้ านอุซป พลปื นประจาเรื อที่ดจู ะมีหน้ าตาผิดแผกไปจากกลุม่ พระเอก ด้ วย


รูปทรงของใบหน้ าที่เน้ นทรง “สี่เหลี่ยมเรี ยวยาว” ผมหยิก ปากหนา (ไม่ได้ มีความหล่อเท่แต่อย่าง
ใด) แถมด้ วยจมูกที่ยาวเกินจริง ซึง่ เป็ นการออกแบบที่ล้วนสะท้ อนถึง “นิสยั ใจคอ” ภายในได้ เป็ น
อย่างดี เพราะอุซปเป็ นเด็กเลี ้ยงแกะ หรื อจอมโกหกประจาหมูบ่ ้ าน (ซึ่งเข้ ากับทรงเหลี่ยมยาวของ
หน้ าที่ให้ ความรู้สึกขี ้โกง หรื อจมูกที่ยาวแบบพิน็อคคิโอ วรรณกรรมอมตะที่คนส่วนใหญ่ร้ ู ดีว่าจมูก
ยาวเป็ นสัญลักษณ์ของการพูดปด) ดังนันการออกแบบรู้ ปลักษณ์ของอุซปโดยรวมจึงทาให้ เขาดู
น่าสนใจเพราะเขาดูจะเป็ นตัวละคร “ตรงกันข้ ามกับความเท่แบบกลุม่ ตัวเอก” โดยสิ ้นเชิง

ภาพประกอบ 61 อุซป ตัวละครในวันพีซ


ที่มา: http://onepiece-fc.blogspot.com/2011/04/usoop.html
214

ขณะที่ตวั ละครหญิงอย่างนามิ และ โรบิน แม้ รูปร่างจะคล้ ายคลึงกันคือเน้ น


สัดส่วนสวยงามเหมือนนางแบบ แต่ใบหน้ าก็แตกต่างกันชัดเจน โดยนามิคอ่ นข้ างตาโต ผมสันสี ้
ส้ มทอง แสดงถึงความน่ารักแต่กระฉับกระเฉง ขณะเดียวกันรอยสักบนร่างกายก็สะท้ อนความ
เป็ นผู้หญิงที่ “ใจถึง” ไม่กลัวเจ็บ ซึง่ ก็เหมาะสมกับบทบทความเป็ นต้ นหนเรื อโจรสลัดสาวได้
เป็ นอย่างดี ขณะที่โรบิน สาวผู้เคยเป็ นฝ่ ายตรงกันข้ ามกับกลุม่ พระเอกมาก่อน ก็ให้ ภาพความ
เป็ นสาวลึกลับ สุขมุ ยากจะอ่านใจผ่านผมสีดาสนิท หมวกปี กกว้ างปิ ดบังใบหน้ า เสื ้อผ้ าที่สวมสี
เข้ มอยูต่ ลอดเวลา รวมทังความเป็
้ นนักโบราณคดีที่ชื่นชอบค้ นหาความจริงของประวัตศิ าสตร์ เป็ น
ชีวิตจิตใจ

ภาพประกอบ 62 นามิและโรบิน ตัวละครหญิงในวันพีซ


ที่มา: http://naruto-wall-papers.blogspot.com/2012/05/nami-one-piece-wallpaper-hd.html

ด้ านโซโล นักดาบ นักต่อสู้ผ้ แู ข็งแกร่งที่สดุ ของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง ก็


สะท้ อนผ่านรูปทรงใบหน้ าที่คอ่ นข้ างเหลี่ยมแสดงถึงความหนักแน่น มัน่ คงกว่าตัวละครเอกคนอื่น
และมีอาวุธคูก่ ายคือดาบ 3 เล่ม
ส่วนตัวละครที่ไม่ใช่มนุษย์อย่างช้ อปเปอร์ หมอประจาเรื อ ดูผิวเผินเหมือนกวาง
น้ อยธรรมดา แต่ก็มีคณ ุ สมบัตพิ ิเศษที่แปลงร่างเป็ นกวางยักษ์ จอมพลังได้ ถึง 8 ขัน้ แถมยังพูด
ภาษามนุษย์ได้ อีกทังผู้ ้ เขียนยังใส่ใจในรายละเอียดเล็กๆ น้ อยๆ เพื่อสร้ างความน่าสนใจให้ กบั ตัว
ละครด้ วยการทาให้ ช้อปเปอร์ มีจมูก “สีน ้าเงิน” ไม่ใช่สีแดงเหมือนกวางทัว่ ไป (ซึง่ ก็เป็ นที่มาของ
ความแปลกแยกถูกกลุม่ กวางล้ อเลียนเป็ นประจา) ทาให้ ภาพรวมของช้ อปเปอร์ จงึ เป็ น “คนสอง
215

บุคลิก”เพราะเป็ นทังกวางน้
้ อยแสนบอบบางขณะเดียวกันก็ซอ่ นความแข็งแกร่งของกวางป่ าจอม
อาละวาดที่พร้ อมจะพุง่ เข้ าชนศัตรูได้ เสมอ

ภาพประกอบ 63 โซโล และช้ อปเปอร์ ตัวละครในวันพีซ


ที่มา: http://basseafood.exteen.com/20070721/tag-10
http://onepiecestreaming.com/2565-tony-tony-chopper/

ส่วนแฟรงกี ้ นายช่างประจาเรื อ ที่เคยเป็ นมนุษย์แต่ดดั แปลงร่างกายตัวเองให้


เป็ นไซบอร์ ก ตัวละครตัวนี ้ออกแบบด้ วยรูปทรงที่แปลกตาไปจากกลุม่ ตัวละครเอกตัวอื่นโดยแสดง
ผ่าน “คาง” ที่เป็ นรูปสามเหลี่ยม และแม้ รูปร่างจะใหญ่โตกายามากกว่าคนทัว่ ไป แต่ผ้ เู ขียนกลับ
ลดทอนความแข็งแกร่งแบบหุน่ ยนต์ด้วยเสื ้อผ้ าที่ทาให้ แฟรงกี ้ดูไม่ใช่หนุ่ ยนต์มาดขรึม แต่เป็ น
หุน่ ยนต์ที่เปี่ ยมรอยยิ ้ม และมีความตลกในตัวเอง ผ่านการสวมเสื ้อเชิ ้ตแขนสันลายสดใส
้ และชอบ
สวม “กางเกงใน” ตัวเดียวอยูต่ ลอดเวลา ด้ วยแนวทางการออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกเหล่านี ้
จึงทาให้ แฟรงกี ้ให้ ความรู้สกึ “แข็งแกร่ง แต่บ้าบอ” รวมทังตั ้ วละครอย่าง บรู๊ ค โครงกระดูกเดิน
ได้ และไม่มีวนั ตาย (เพราะกินผลไม้ ปีศาจที่ชว่ ยให้ ไม่วา่ จะถูกฆ่าสักกี่ครัง้ ก็จะฟื น้ คืนชีพขึ ้นมาได้ )
และเป็ นนักดนตรี ประจาเรื อ ก็ถือว่าเป็ นตัวละครที่ฉีกแนว และไม่ซ ้าประเภทจากกลุ่มตัวละครเอก
(ไม่ใช่ทงคน
ั ้ สัตว์ หุน่ ยนต์ แต่เป็ นปี ศาจ) และแน่นอนว่าภาพของโครงกระดูกเดินได้ นนคงเป็ ั้ น
การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกที่ไม่อาจดึงดูดผู้อา่ นได้ มากเท่าไหร่ เออิจิโระ โอดะจึงสร้ างความ
แตกต่างด้ วยการเสริมแต่งทรงผม “แอฟโฟร” ลงไป นัน่ ทาให้ บรู๊คไร้ ความน่ากลัวโดยสิ ้นเชิง แต่
เพิ่มความน่ารัก ตลก ให้ เข้ ากับโทนของเรื่ องได้ เป็ นอย่างดี
216

ภาพประกอบ 64 แฟรงกีแ้ ละบรู๊ ค ตัวละครในวันพีซ


ที่มา: http://es.onepiece.wikia.com/wiki/Franky
http://one-piece_monkey-d-luffy.shonenblog.com/images-brook-c253671

อาจกล่าวได้ วา่ แนวทางการสร้ างรูปลักษณ์ภายนอกให้ กบั กลุม่ ตัวละครเอกในวัน


พีซไม่ได้ เน้ นการสร้ างรูปทรงและสัดส่วนของตัวละครที่แตกต่างกันจนสุดขัว้ เพราะทุกตัวละครมี
จุดร่วมกันคือความ “ผอม เพรี ยว เรี ยว ยาว” ที่คอ่ นข้ างจะเกินจริง แต่เออิจิโระ โอดะก็สามารถ
สร้ างความรู้สึกแตกต่างให้ เกิดขึ ้นได้ ผา่ นการออกแบบรูปทรงของอวัยวะบนใบหน้ า เสื ้อผ้ า ทรงผม
และเครื่ องประดับ ซึง่ แยกแยะออกเป็ นตารางได้ ดงั นี ้

ตัวละคร/ ภาพลักษณ์ ตวั ละครที่เกิดจาก


บทบาทบนเรือ ลักษณะเด่ นของบุคลิกภายนอก การสร้ างบุคลิกภายนอก
ลูฟี่ /กัปตัน รูปหน้ าค่อนข้ างกลม ตาโต ชอบสวมเสื ้อแขนกุด ดูเป็ นคนง่าย สบาย อิสระ ไม่ยดึ ติด
มีกระดุม และกางเกงขาสันทรงหลวม
้ มีหมวก
ฟางติดตัวตลอด ยืดแขนยืดขาได้ ดงั ใจ
ซันจิ/กุ๊ก ฉีกภาพกุ๊กส่วนใหญ่ เพราะสวมสูทดา และคีบ ดูไม่เหมือนกุ๊ก เพราะหล่อ เท่ ใส่สทู
บุหรี่ อยูต่ ลอดเวลา ผอม เพรี ยว ค่อนข้ างหล่อแต่ ดา แต่ก็ดมู เี ป็ นคนตลกแฝงผ่านคิ ้ว
ถูกเบรกให้ ดตู ลกด้ วยรูปทรง “คิ ้ว” ทีม่ ้ วนงอ ม้ วนงอ
อุซป/พลปื น ไม่หล่อ ไม่เท่ ด้ วยรูปทรงใบหน้ าค่อนข้ าง ดูนา่ สนใจเพราะการออกแบบที่
สีเ่ หลีย่ มเรี ยวยาว ผมหยิก ปากหนา จมูกยาว ตรงกันข้ ามกับความเท่แบบกลุม่ ตัว
เกินจริง เอก แถมรูปทรงจมูกยังสะท้ อน“นิสยั
ใจคอ” ภายในความช่างโกหก
217

ตัวละคร/ ภาพลักษณ์ ตวั ละครที่เกิดจาก


บทบาทบนเรือ ลักษณะเด่ นของบุคลิกภายนอก การสร้ างบุคลิกภายนอก
นามิ/ต้ นหน รูปร่าง สัดส่วนสวยงามเหมือนนางแบบ ตาโต ดูนา่ รัก กระฉับกระเฉง ร่าเริง ขาลุย
ผมสันสี
้ ส้มทอง มีรอยสัก ใจถึง (เพราะมีรอยสัก)
โรบิน/นัก รูปร่างสวยงามเหมือนนางแบบ ผมสีดาสนิท ดูสวยแบบลึกลับ เย็นชา น่าค้ นหา
โบราณคดี สวมหมวกปี กกว้ าง และชุดสีเข้ มตลอดเวลา
โซโล/นักดาบ หล่อ สูงผอม ไหล่กว้ าง สวมชุดแบบนักดาบ ดูเป็ นนักต่อสู้ หนักแน่น สุขมุ
ตลอดเวลา และมีอาวุธคูก่ ายคือดาบ 3 เล่ม
ช้ อปเปอร์ /หมอ ครึ่งคนครึ่งกวาง ร่างปกติเป็ นกวางตัวเล็ก ตา ดู แต่ซอ่ นความแข็งแกร่งไว้ ภายใน
กลมโต จมูกสีน ้าเงิน ยามแปลงร่างจะ
กลายเป็ นกวางยักษ์ ทมี่ ีทอ่ นบนเป็ นกวาง ท่อน
ล่างเป็ นมนุษย์
แฟรงกี ้/นายช่าง ครึ่งมนุษย์ครึ่งหุน่ ยนต์ คางเป็ นรูปสามเหลีย่ ม ดูแสบ ซ่า กล้ า บ้ าบิ่น
ใส่แว่นกันแดดเสมอ ตัวใหญ่กว่ามนุษย์ปกติ
ชอบใส่กางเกงในตัวเดียว
บรู๊ค/นักดนตรี โครงกระดูกเดินได้ ผมทรงแอฟโฟร ดูบ้า บ๊ อง ไม่นา่ กลัวสมกับเป็ นผี

ตารางที่ 23 สรุปความแตกต่ างด้ านบุคลิกลักษณะภายนอกของกลุ่มตัวเอกในวันพีซ

3.1.2 ความแตกต่างของนิสยั ใจคอภายในของกลุม่ ตัวละครเอก


แม้ รูปร่างหน้ าตาภายนอกอาจไม่แตกต่างกันจนเห็นได้ ชดั แต่ลกั ษณะนิสยั ใจคอ และ
ความสามารถของกลุม่ ตัวเอกนันแตกต่ ้ างกันอย่างมาก เริ่มจากลูฟ่ ี ที่แม้ หน้ าตาไม่หล่อ ไม่เท่
รูปร่างไม่สงู ใหญ่ หรื อเก่งกาจอะไรเป็ นพิเศษแต่นิสยั ใจคอข้ างในตัวเขากลับยิ่งใหญ่เกินตัว นัน่
เพราะเขามีความมุง่ มัน่ ในการทาตามฝั นการเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัดอย่างมาก เขาซื ้อใจผู้อื่นด้ วย
การ “เชื่อใจ” และยึดมัน่ ในคาว่า “มิตรภาพ” เขาจึงยอมตายเพื่อเพื่อนได้ เสมอ ซึง่ ด้ วยคุณสมบัติ
ข้ างต้ นนี ้เองที่ทาให้ เขาเหมาะสมกับการเป็ นกัปตันและ “ลูกพี่” ผู้ได้ รับการยอมรับจากลูกเรื อทุก
คน ส่วนซันจิ หนุม่ หล่อ เท่ที่ใส่สทู อยู่ตลอดเวลา เป็ นกุ๊กผู้รักการทาอาหารเป็ นชีวิตจิตใจ
ความรักในการทาอาหารของเขาส่งผ่านการต่อสู้ที่ “ใช้ แต่ขาเท่านัน” ้ (จนมีฉายาว่าซันจิขาดา) นัน่
เพราะเขาต้ องรักษามือยิ่งชีพเพื่อใช้ ในการประกอบอาหาร ซึง่ นอกจากเรื่ องอาหารแล้ วอีกสิ่ง
หนึง่ ที่เขาสนใจคือ “ผู้หญิง” ดังนันยามต่
้ อสู้กบั ผู้หญิง โดยเฉพาะสาวสวยจึงทาให้ เขาต้ องพ่ายแพ้
อยูเ่ สมอ ด้ านโซโล หนุม่ แสนหล่อเท่อีกคนผู้มงุ่ มัน่ ในการเป็ นนักดาบอันดับหนึง่ ของโลก เขาไม่
ค่อยพูดมากนัก จึงเป็ นคนที่ดสู ขุ มุ และเป็ นที่วางใจของเพื่อนๆ ในยามต่อสู้
218

แต่วนั พีซก็ไม่ได้ มีแต่ตวั ละครที่ให้ ภาพของความเป็ นวีรบุรุษ (ลูฟี่น ้าใจสูงส่ง ซันจิเป็ นยอด
กุ๊ก หรื อโซโลเป็ นจอมดาบ) เพียงอย่างเดียว เพราะคนที่เป็ นจอมโกหก ซึ่งเป็ นคุณสมบัตทิ ี่
ตรงกันข้ ามกับความเป็ นวีรบุรุษก็สามารถเป็ นตัวละครในกลุม่ พระเอกได้ เหมือนเช่น อุซป จอม
โกหก นักแม่นปื นผู้ไม่เก่งและไม่กล้ าเรื่ องการต่อสู้ซงึ่ ๆ หน้ าจึงถนัดในการซุม่ ยิง เขามองว่าเรื่ อง
โกหกช่วยหล่อเลี ้ยงชีวิตผู้อื่นได้ เหมือนเช่นที่เขาแต่งเรื่ องพ่อผู้ไม่เคยกลับบ้ านให้ กบั แม่ที่นอนป่ วย
ได้ มีกาลังใจขึ ้นมาอีกครัง้ ส่วนนามิก็เป็ นสาวสวย แสนร่าเริงที่ไม่ได้ มีไว้ เพื่อสร้ างฉากรักโร
แมนติคกับตัวละครชาย เธอคือคนสาคัญยิ่งสาหรับชาว “เรื อ” เพราะนามิคือต้ นหนเรื อที่เก่งกาจ
ไม่แพ้ ผ้ ชู าย แถมยังมีความสามารถในเรื่ อง “ขโมย” (จนได้ ฉายาว่าแมวขโมย) อีกด้ วย ด้ าน
โรบิน ก็เป็ นสาวสวยนักโบราณคดีประจาเรื อแต่นิสยั ตรงกันข้ ามกับนามิ เพราะเธอช่างเงียบขรึม
ไม่ไว้ วางใจผู้อื่นง่ายๆ เพราะถูกมองว่าเป็ นปี ศาจตังแต่ ้ เด็ก เนื่องจากฤทธิ์ของผลไม้ ปีศาจที่ทาให้
งอกอวัยวะต่างๆ ออกมาจากร่างกายได้ เธอจึงทาทุกอย่างเพื่อตัวเองด้ วยการ “หักหลัง” คนทุก
กลุม่ ที่รับเธอเข้ าเป็ นพรรคพวก เพราะโรบินไม่เชื่อว่าจะมีใครที่ “ยอมรับ” ตัวตนของเธอ
ขณะที่ตวั ละครที่ไม่ใช่มนุษย์เต็มตัวอย่างช้ อปเปอร์ (ครึ่งคนครึ่งกวาง) แม้ จะดูใสซื่อ ขี ้
ตกใจ แต่ก็เป็ นตัวละครที่ขาดไม่ได้ สาหรับเรื อโจรสลัด เพราะนี่คือ “หมอ” ตัวเล็กๆ คนหนึง่ ผู้มี
ความฝั นยิ่งใหญ่คือ “การรักษาคนไข้ ได้ ทกุ โรค” และนอกจากฝี มือด้ านการแพทย์แล้ วเขายังช่วย
เรื่ องต่อสู้ด้วยการแปลงร่างเป็ นกวางยักษ์ ได้ อีกด้ วย ส่วนแฟรงกี ้ ช่างประจาเรื อ ก็เป็ นจอม
บ้ าบิน่ ถึงขนาดดัดแปลงตัวเองให้ กลายเป็ นหุน่ ยนต์ (ครึ่งหน้ าเป็ นหุน่ ยนต์ครึ่งหลังเป็ นคน) แต่
แม้ จะดูห้าวห่ามอย่างไรเขากลับร้ องไห้ ออกมาอย่างง่ายดายอยู่บอ่ ยครัง้ และในกลุม่ โจร
สลัดหมวกฟางก็ไม่ได้ มีแค่นกั ต่อสู้ ต้ นหน ช่าง กุ๊ก หรื อหมอเท่านัน้ แต่ยงั มีอาชีพที่หลายๆ คน
มองข้ ามแต่ผ้ เู ขียนอย่างเออิจิโระ โอดะมองว่าสาคัญนัน่ ก็คือ “นักดนตรี ” โดยสร้ างตัวละครบรู๊ ค
โครงกระดูกผู้เล่นดนตรี ได้ ทกุ ชนิดเยี่ยงมืออาชีพขึ ้นมา ซึง่ นอกจากจะสร้ างความบันเทิงให้ เพื่อน
ฝูงบนเรื อด้ วยการเล่นดนตรี แล้ วเขายังชอบพูดมุขตลก (แต่ไม่ตลก) อีกด้ วย
จากการสร้ างบุคลิกให้ กลุม่ ตัวละครเอกมีความแตกต่าง และมีเรื่ องราวเป็ นของตัวเอง
เช่นนี ้จึงสะท้ อนถึงการไตร่ตรองมาอย่างดีของผู้เขียนซึง่ ทาให้ ภาพรวมการออกแบบคาแร็คเตอร์
ของวันพีซมีความครบถ้ วน ขณะเดียวกันตัวละครแต่ละตัวก็มีลกั ษณะเฉพาะตัวด้ วยเช่นกัน
“ตัวละครวันพีซเด่นทุกตัวเพราะปูมหลังซับซ้อน และเขาเล่าเรื ่องได้ง่ายมาก เพราะมี พลัง
พิเศษทีฟ่ รี มาก (ผลไม้ปีศาจ) บวกกับการคิ ดหน้าตา เสื ้อผ้าเครื ่องแต่งกายแปลกๆ ฉากเยอะ มัน
แสดงถึงการ “คิ ดทุกอย่าง” ของคนเขี ยน” (ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
219

“เขาสร้างปมตัวละครไม่ลึกมาก ทาความเข้าใจได้ง่าย เช่นเดียวกับดีไซน์ที่ดูง่ายแต่ทกุ ตัว


มี เอกลักษณ์ หมด” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15 สิงหาคม 2554)
จากลักษณะนิสยั ใจคอของกลุม่ ตัวละครเอกทังหมด
้ อาจสรุปให้ เห็นความแตกต่างที่
ชัดเจน พร้ อมกับภาพรวมบุคลิกตัวละครทังภายนอกและภายในผ่
้ านตารางด้ านล่างดังนี ้

ตัวละคร ลักษณะเด่ นของนิสัยภายใน คาแร็คเตอร์ โดยรวมทัง้ ภายนอกและภายใน


ลูฟี่ มุง่ มัน่ ในการเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัด ร่าเริ ง ตัวแทนเด็กวัยรุ่นที่ภายนอกดูธรรมดา แต่ทาเรื่ อง
เป็ นผู้นา มีน ้าใจ เชื่อใจเพือ่ น ยอมตายเพื่อ ยิ่งใหญ่ได้ สาเร็ จเพราะความ มุง่ มัน่ จริ งใจ มีความ
“มิตรภาพ” สามารถยืดหดร่างกายได้ เป็ น “ลูกพี่” ที่ลกู น้ องยอมถวายหัวให้ เพราะความมี
ตามใจ น ้าใจและเชื่อใจคนอื่น
ซันจิ รักการทาอาหารเป็ นชีวิตจิตใจ จึงใช้ แต่ขา ตัวแทนหนุม่ เพลย์บอยแสนเท่ ซึง่ ภาพภายนอกขัด
ในการต่อสู้ไม่ยอมใช้ มอื (เพราะต้ องใช้ กับความชอบที่ฝันอยากเป็ นกุ๊กมือหนึง่ ของโลก
ทาอาหาร) เจ้ าชู้ เห็นผู้หญิงแล้ วมักใจ
อ่อน
โซโล มุง่ มัน่ ในการเป็ นนักดาบอันดับหนึง่ ของ ตัวแทนหนุม่ หล่อ มุง่ มัน่ เก่งกาจเรื่ องต่อสู้
โลก สุขมุ ไม่คอ่ ยพูดมากนัก
อุซป ถนัดในการซุม่ ยิง และประดิษฐ์ อปุ กรณ์ ตัวแทนเด็กวัยรุ่นผู้ “ไม่เอาถ่าน” เพราะเป็ นเด็ก
แปลกๆ มีชีวิตอยูไ่ ด้ ด้วยการโกหก มองว่า หนุม่ ที่ไม่มีดีตามแบบที่สงั คมชื่นชม (หน้ าตาไม่ดี
การเล่าเรื่ องโกหกก็ชว่ ยหล่อเลี ้ยงชีวิตผู้อื่น ไม่กล้ าหาญ แถมชอบโกหก) แต่อย่างน้ อยก็รัก
ได้ และรักเพื่อน เพื่อน และชอบทาให้ คนอื่นยิ ้มได้
นามิ ถนัดเรื่ องขโมย ภายนอกเหมือนเห็นแก่เงิน ตัวแทนวัยรุ่นสาวยุคใหม่ ที่สวย ฉลาด แต่ก็แสบอยู่
แต่แท้ จริ งทาเพื่อครอบครัว เอาตัวรอดเก่ง ในที ทาหลายสิง่ ที่ผ้ หู ญิงส่วนใหญ่ทาไม่ได้ (ต้ นหน
มีความสามารถในการวาดแผนที่ จึงฝั นจะ เรื อ-หัวขโมย) และเสียสละเพื่อครอบครัว
เป็ นนักเขียนแผนที่เดินเรื อทีเ่ ก่งทีส่ ดุ ในโลก
โรบิน เงียบ ขรึม ไม่ไว้ วางใจผู้อื่น เพราะถูกมอง ตัวแทนคนชายขอบที่แม้ จะเป็ นสาวสวย มีความรู้
้ เด็ก เนื่องจากฤทธิ์ของ
ว่าเป็ นปี ศาจตังแต่ แต่ไม่มีพื ้นที่ยืนในสังคม เพราะความแปลก
ผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ งอกอวัยวะออกจาก ประหลาดของร่างกาย
ร่างกายได้ เรี ยนเก่ง ฝั นจะค้ นหา
ประวัติศาสตร์ ที่แท้ จริ งของโลกโจรสลัด
ช้ อปเปอร์ ฝั นจะเป็ นหมอที่รักษาได้ ทกุ โรค ซื่อ ขี ้อาย ตัวแทนคนตัวเล็กๆ คนชายขอบผู้ใสซื่อ (ครึ่งคน
ครึ่งกวาง เข้ าไม่ได้ ทงคนทั
ั ้ งกวาง)
้ แต่แม้ ตวั เล็กก็มี
ฝั นยิ่งใหญ่ จิตใจบริ สทุ ธิ์อยากเป็ นหมอรักษาทุกคน
220

ตัวละคร ลักษณะเด่ นของนิสัยภายใน คาแร็คเตอร์ โดยรวมทัง้ ภายนอกและภายใน


แฟรงกี ้ บ้ าบิ่น แต่ร้องไห้ ง่าย เก่งเรื่ องเครื่ องยนต์ ตัวแทนหนุม่ ห้ าว ทาอะไรไม่ยงคิ
ั ้ ด แต่แม้ จะดูกล้ า
กลไก หาญกลับอ่อนไหวง่ายและร้ องไห้ อยูบ่ อ่ ยครัง้
บรู๊ค เล่นดนตรี ได้ ทกุ ชนิดเยีย่ งมืออาชีพ ตัวเบา ตัวแทนศิลปิ น ผู้สร้ างความสุขแก่คนรอบข้ างด้ วย
จึงกระโดดได้ สงู ชอบพูดมุขตลกแต่ไม่ตลก เสียงดนตรี และมุขตลก

ตารางที่ 24 สรุปความแตกต่ างคาแร็คเตอร์ ของกลุ่มตัวเอกวันพีซ

อาจกล่าวได้ วา่ การสร้ างคาแร็คเตอร์ ของตัวละครเอกทัง้ 9 ตัวถูกกาหนดให้ แตกต่างกัน


อย่างชัดเจนด้ วย “บทบาทหน้ าที่” บนเรื อโจรสลัดตังแต่ ้ ต้น โดยรูปลักษณ์ภายนอกตัวละครไม่ได้
แตกต่างกันมากนัก เพราะมีจดุ ร่วมที่ความผอมเพรี ยว เรี ยวยาวของร่างกายคล้ ายคลึงกัน วัย
ใกล้ เคียงกัน (ส่วนใหญ่เป็ นวัยรุ่นระหว่าง 15-19 ปี ยกเว้ นโรบิน แฟรงกี ้และบรู๊ค) แต่สิ่งที่
แตกต่างกันคือนิสยั ใจคอที่ผ้ เู ขียนสร้ างตัวละครกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางให้ เป็ นภาพแทนของเด็ก
วัยรุ่นในสังคม ซึง่ ไม่ได้ มีแต่ลกั ษณะของตัวละครที่สงั คมให้ คณ ุ ค่าว่า “ดี” (เช่นเด็กเรี ยน มีน ้าใจ
กตัญญูเช่นลูฟี่ หรื อเก่งในเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ ที่ดีเช่นซันจิเก่งทาอาหารและโซโลเก่งฟั นดาบ) เท่านัน้
แต่ยงั สร้ างภาพแทนของวัยรุ่นอีกมากที่ “แปลกแยก” “ไม่เหมือนใคร” เช่นตัวละครที่รูปร่างครึ่งคน
ครึ่งกวางอย่างช้ อปเปอร์ ที่ไม่มีใครรับเข้ าเป็ นพรรคพวกเว้ นแต่ลฟู ี่ หรื อกระทัง่ ตัวละครที่มีนิสยั ที่
คนในสังคมส่วนใหญ่ประณามเหมือนเช่น “จอมโกหก” อย่างอุซป “แมวขโมย” ที่ทาทุกอย่าง
เพื่อเงินอย่างนามิ หรื อ “จอมทรยศ” หักหลังคนอื่นอย่างโรบิน แต่ตวั ละครที่มีคณ
ุ ลักษณะ
ด้ านลบเหล่านี ้ต่างก็มีเหตุผลในการกระทาทังสิ ้ ้น อุซปโกหกเพื่อหล่อเลี ้ยงกาลังใจให้ แม่และเพื่อน
นามิขโมยของคนอื่นเพื่อหาเงินมาปลดแอกอิสรภาพให้ ครอบครัว และโรบินหักหลังคนอื่นเพราะ
ไม่เคยได้ รับความ “เชื่อใจ” จากใครเลยในชีวิต
การสร้ างตัวละครเอกให้ เป็ น “กลุม่ วัยรุ่น” ที่มีอตั ลักษณ์ของตนเอง ซึง่ นอกจากจะแตกต่าง
ทังรู้ ปร่างหน้ าตา ความฝั น และความสามารถที่มีทงด้ ั ้ านบวกและด้ านลบเหล่านี ้นอกจากจะทาให้
เรื่ องราวมีสีสนั มากขึ ้นแล้ วยังทาให้ ตวั ละครของวันพีซเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นที่แตกต่างหลากหลายใน
สังคมได้ เป็ นอย่างดีอีกด้ วย
“ตัวละครเอกทุกคนในวันพีซแตกต่างกันชัดเจน เพราะมี จ็อบบนเรื อดึงคาแร็ คเตอร์
ออกมา แต่ถึงจะต่างยังไงก็มีจุดร่ วมทีค่ วามเฮฮา ความเพีย้ น และไม่ตอ้ งเท่เสมอไป มี อะไรหลุดๆ
บ้าง ทาให้เป็ นตัวละครกลมๆ ไม่มีแค่มิติเดียว” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
221

“วันพีซมี ตวั ละครหลากหลาย มี ความเป็ นตัวตน ไม่ซ้ ากัน เพราะไม่มีค่ตู รงกันข้ามเหมื อน


นารู โตะที ว่ างเมน (main) ไว้สองฝั่ ง ขาว-ดา นารู โตะ-ซาสึเกะ ส่วนตัวละครอื น่ ๆ ในนารู โตะก็แค่
เกาะรายรอบตัวหลัก ทาให้ความหลากหลายน้อยกว่าวันพีซ” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์,
15 สิงหาคม 2554)
3.1.3 ความแตกต่างของตัวละครอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตวั เอก
ในขณะที่กลุม่ ตัวละครเอกในวันพีซไม่ได้ เน้ นการออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกให้ แตกต่าง
กันมากนัก (เฉพาะตัวละครที่เป็ นมนุษย์ ไม่นบั ตัวละครอมนุษย์) แต่ตวั ละครผู้ร้าย และตัวละคร
ประกอบอื่นๆ กลับออกแบบอย่างหลากหลาย เพราะในเรื่ องได้ กล่าวถึงโลกแห่งโจรสลัดที่มีหลาก
เผ่าพันธุ์ ทังยั
้ กษ์ เงือก หรื อเทพ ฯลฯ แต่ตวั ละครโดยส่วนใหญ่ยงั มีรูปลักษณ์ใกล้ เคียง “มนุษย์”
เพียงแต่ผ้ เู ขียนเลือกจะวาดสัดส่วนตัวละครที่ผิดไปจากขนาดของคนปกติ และเพิ่มความดึงดูด
ด้ วยการออกแบบเสื ้อผ้ า ทรงผม และเครื่ องแต่งกายแทน โดยตัวละครผู้ร้าย และตัวละคร
ประกอบที่นา่ สนใจมีดงั นี ้
- ตัวตลก บากี:้ ตัวละครประเภทฮีโร่หลอกลวง
ในโลกแห่งโจรสลัดคนที่สามารถเป็ นกัปตันได้ มกั ต้ องเก่งกาจด้ านฝี มือต่อสู้ หรื อไม่ก็ต้อง
มีคณ ุ ธรรมประจาใจที่นา่ เชื่อถือ แต่ “บากี ้” กัปตันของกลุม่ โจรสลัดบากี ้กลับเป็ นกัปตันเพียงคน
เดียวที่ดอู ่อนแอ แม้ จะมีพลังของผลปี ศาจ “ผลแยกร่าง” ที่สามารถแยกชิ ้นส่วนร่างกายและ
ควบคุมทุกส่วนที่แยกได้ ในระยะไกล แต่เขากลับไม่ชอบต่อสู้ แต่ชอบ “หนีเอาตัวรอด” อยูเ่ สมอ
แถมยังไม่ได้ มีคณ ุ ธรรมใดให้ นา่ เคารพอีกด้ วย คติประจาตัวของบากี ้คือ “ชื ่อเสียงหรื อพละกาลัง
จะสาคัญอะไร แผนทีส่ มบัติสิ สาคัญ”
แต่ด้วยบุญเก่าที่เคยเป็ นอดีตลูกเรื อของเจ้ าแห่งโจรสลัดในตานานอย่างโกลด์ โรเจอร์ และ
รู้จกั กับแชงคูส คนดังในโลกโจรสลัดที่ถกู ยกย่องว่าเป็ น 1 ใน 4 จักรพรรดิผ้ ยู ิ่งใหญ่ อีกทังเทพเจ้ ้ า
แห่งโชคชะตายืนอยูข่ ้ างเขา จึงทาให้ บากี ้กลายเป็ นฮีโร่ที่ได้ รับการยอมรับในโลกโจรสลัด จาก
เหตุการณ์ที่เขาจาใจร่วมกับพระเอกอย่างลูฟี่ (ซึง่ บากี ้ตามล่าล้ างแค้ นอยู)่ แหกคุกนรกใต้ สมุทร
“อิมเพลดาวน์” ซึง่ แม้ บากี ้จะไม่ได้ ใช้ ฝีไม้ ลายมือในการต่อสู้โค่นล้ มผู้คมุ (แท้ จริงเป็ นฝี มือของลูฟี่
และนักโทษคนอื่นๆ ช่วยกันต่อสู้มากกว่า) แต่โชคชะตากลับทาให้ นกั โทษที่อยูใ่ นคุกเชื่อว่าบากี ้
เป็ นโต้ โผใหญ่ในการแหกคุกครัง้ ประวัตศิ าสตร์ ครัง้ นี ้จนได้ รับการยกย่องว่าเป็ น “วีรบุรุษ” ที่ชว่ ย
ปลดแอกอิสรภาพให้ กบั เหล่านักโทษ
ตัวละครกัปตันเรื อแบบบากี ้ ที่ไม่ได้ เก่งกล้ า หรื อมี คณ
ุ ธรรมน ้ามิตรอะไร แถมยังเห็นแก่เงิน
ด้ วยซ ้าไปแต่กลับกลายเป็ น “วีรบุรุษ” ในสายตาของผู้อื่น ขณะที่วีรบุรุษตัวจริงอย่างลูฟี่ กลับถูก
222

มองข้ ามไปนันท ้ าให้ ตวั ละครตัวนี ้แสดงถึงสัจธรรมเรื่ องโชคชะตา และวาสนาของคนเราในโลกแห่ง


ความเป็ นจริงที่ยงั คงมี “ฮีโร่ปลอม” ที่อาจเกิดจากความเข้ าใจผิดของคนอื่น จากภูมิหลังที่สงั่ สม
ความดีงามกันมา หรื ออาจเกิดจากการสร้ างภาพมายาขึ ้นเอง แต่แน่นอนว่าคนที่ร้ ู วา่ เราเป็ น
ใครได้ ดีที่สดุ ก็คือตัวเราเอง ซึง่ บากี ้ก็ได้ กมุ ความลับเอาไว้ ว่าฮีโร่ที่แท้ จริงคือลูฟี่คูป่ รับของเขา
ต่างหาก การที่โชคชะตาเล่นตลกให้ บากี ้ต้ องยอมรับในความเป็ นวีรบุรุษที่เกิดจากฝี มือ
ของคนที่เขาเกลียดชังอย่างลูฟี่ด้ วยแล้ วนัน่ ยิ่งทาให้ คนอ่านทังข ้ าแต่ก็ขาขื่นกับเหตุการณ์จบั พลัด
จับผลูที่เกิดขึ ้นกับตัวละครตัวนี ้ และนัน่ ก็ทาให้ เรื่ องราวของเขาสมกับฉายา “ตัวตลก บากี ้” และ
สอดคล้ องกับรูปลักษณ์ที่ชอบแต่งเป็ นตัวตลกจมูกแดงขึ ้นมาจริงๆ

ภาพประกอบ 65 ตัวตลกบากี ้
ที่มา: http://onepiece.wikia.com/wiki/Buggy%27s_Crew:_After_the_Battle!

- บทสาคัญของตัวละครเพศที่ 3
อาจกล่าวได้ วา่ ในวันพีซให้ ความสาคัญกับตัวละคร “เพศที่ 3” อย่างมาก เพราะมีตวั
ละครเพศชายที่แต่งเป็ นหญิงถึง 2 ตัวที่ได้ รับบทสาคัญนัน่ คือ มิสเตอร์ ทูว์ บอน เคร สาว
ประเภทสองร่างผอมบางที่เคยเป็ นสมาชิกขององค์กรบาล็อกเวิร์คส์ซงึ่ เป็ นฝ่ ายตรงกันข้ ามกับกลุม่
พระเอกมาก่อน ความน่าจดจาของมิสเตอร์ ทวู ์ ไม่ได้ เกิดจากการสร้ างความสามารถในการ
ลอกเลียนแบบผู้อื่นได้ เหมือนร้ อยเปอร์ เซ็นต์เท่านัน้ แต่เกิดจากการสร้ างรูปลักษณ์ภายนอกให้
ขัดแย้ งกับนิสยั ใจคอภายใน นัน่ คือแม้ จะชอบใส่ชดุ แสนหวานแบบบัลเล่ต์คล้ ายหงส์สีชมพู ทา
ผมหน้ าม้ าสันเต่
้ อ และทาลิปสติกแดงล ้าขอบปากแบบสาวจอมแฟชัน่ แต่นิสยั ใจคอของมิสเตอร์
ทูว์นนน่
ั ้ านับถือเสียยิ่งกว่าชายอกสามศอก เพราะ “วิถีกะเทย” ในแบบของเขาที่ประกาศออกมา
223

อย่างชัดเจนก็คือการให้ ความสาคัญใน “มิตรภาพ” ดังนันด้ ้ วยความเชื่อใจกันและกันของกลุม่ โจร


สลัดหมวกฟางจึงทาให้ มิสเตอร์ ทวู ์นบั ถือลูฟี่ และหันมาช่วยเหลือลูฟี่ในการแหกคุกใต้ สมุทรอิม
เพลดาวน์ถึงขันยอมสละชี
้ วิตตัวเองเลยทีเดียว
ส่วนตัวละครเพศชายแต่งหญิงอีกคนหนึง่ ในวันพีซก็คือ เอ็มเพอริโอ อิวานคอฟ มือ
ขวาของนักปฏิวตั ดิ ราก้ อน อาชญากรอันดับหนึง่ ของโลก (เพราะตังตั ้ วจะโค่นล้ มรัฐบาลโลกที่กมุ
อานาจในโลกโจรสลัด) ความโดดเด่นของตัวละครตัวนี ้อันดับแรกต้ องสะดุดที่ใบหน้ าขนาด
ใหญ่เกินตัว ขนตายาว ปากกว้ าง และผมทรงแอฟโฟรสีมว่ ง เขามีความสามารถในการเปลี่ยน
ฮอร์ โมนในร่างกายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีอารมณ์ขนั และชอบหลอกผู้อื่น อีวานคอฟมีความสาคัญ
ในโลกโจรสลัดด้ วยการเป็ นราชินีแห่งราชอาณาจักรคามาบัคคะ(อาณาจักรกะเทย) และเป็ นผู้
ก่อตังกลุ
้ ม่ นิวคาม่าแลนด์ หรื อกลุม่ ที่ก้าวข้ ามการแบ่งแยกเพศ เพราะผู้ชายบางคนก็เป็ นผู้หญิง
ส่วนผู้หญิงบางคนก็เป็ นผู้ชาย นอกจากนี ้ยังมีความสามารถด้ านการต่อสู้สงู มาก แถมยังมี
บทบาทสาคัญช่วยฟื น้ พลังให้ ลฟู ี่ ได้ อย่างปาฏิหาริย์สมกับฉายาบุรุษแห่งปาฏิหาริ ย์อีกด้ วย
จากที่กล่าวมาข้ างต้ นยืนยันได้ ดีว่าเออิจิโระ โอดะยกย่อง “เพศที่ 3” โดยสะท้ อนผ่านตัว
ละครมิสเตอร์ ทวู ์ และอิวานคอฟ เพราะทังสองถู ้ กกล่าวถึงในเชิงบวก ด้ วยการสร้ างความสามารถ
ด้ านการต่อสู้ นิสยั ความมีน ้าใจที่ยอมสละชีวิตช่วยเหลือพระเอกอย่างลูฟี่ รวมทังการเป็ ้ นผู้นา
ของกลุม่ เพศที่ 3 ที่กลายมาเป็ นเผ่าพันธุ์ใหม่ที่ได้ รับการยอมรับในโลกโจรสลัด ซึง่ การสร้ างตัว
ละครเพศที่ 3 ซึง่ ไม่ได้ มีดีแค่ตลก แต่ยงั นิสยั ดี แถมเก่งกาจ และได้ รับการยอมรับจากสังคมเช่นนี ้
นอกจากจะเป็ นการสร้ างความแตกต่างหลากหลายของตัวละครที่สะท้ อน-เข้ าถึงความแตกต่าง
หลากหลายของคนเราในโลกปั จจุบนั ได้ ในแบบที่หาได้ ยากในการ์ ตนู ญี่ปนเรื ุ่ ่ องอื่นๆ แล้ วยังช่วย
ยกระดับสถานะทางสังคมของเพศที่ 3 ให้ สงู ขึ ้นอีกด้ วย

ภาพประกอบ 66 มิสเตอร์ ทูว์และอีวานคอฟ (เพศที่ 3 ในวันพีซ)


ที่มา: http://www.crunchyroll.com/forumtopic-361104/any-gay-anime-char?pg=7
http://www.tvchannelsfree.com/tvshows/780/one-piece/48.html
224

นอกจากตัวละครประเภทโชคชะตาเล่นตลกอย่างบากี ้ และตัวละครเพศที่ 3 ในวันพีซแล้ ว


ยังมีตวั ละครที่แปลก และแตกต่างด้ านรูปลักษณ์ภายนอกอีกมากมาย เพราะด้ วยโลกแห่งโจรสลัด
ที่มีหลากเผ่าพันธุ์ จึงเกิดตัวละครที่ทาให้ ผ้ อู า่ นคาดไม่ถึงได้ เสมอ ซึง่ อาจแยกแยะได้ ดงั นี ้
- ตัวร้ ายแบบน่าเกลียดน่ากลัว
ตัวร้ ายที่แค่เห็นหน้ าก็ร้ ูว่าร้ ายมีหลายคนด้ วยกัน โดยเฉพาะกลุม่ ของ 7 เทพโจรสลัด โจร
สลัดมากฝี มือ (ที่แท้ จริงแล้ วเป็ นสุนขั รับใช้ รัฐบาลโลกในการปล้ นสะดมผู้อื่นแล้ วแบ่งเปอร์ เซ็นต์ให้
รัฐบาล) ซึง่ ประกอบด้ วย “หนวดดา" มาแชล ดี ทีช ที่หน้ าตาค่อนข้ างอัปลักษณ์ ปากกว้ าง
ฟั นหัก จมูกงอ และเคราดาอันเป็ นเอกลักษณ์ และมีรูปร่างใหญ่โต สูงกว่า 3 เมตร มี
ความสามารถดูดกลืนทุกสิ่งจึงดูดพลังจากผลปี ศาจของผู้อื่นมาเป็ นของตนได้ หรื อ "ราชาแห่ง
ทะเลลึก" เก็กโค โมเลีย มนุษย์ที่รูปร่างคล้ ายหอมหัวใหญ่ หน้ าตาน่าเกลียดน่ากลัว มีเขา 2 อันที่
ข้ างหน้ าผาก มีหู จมูก และฟั นแหลม และมีรูปร่างสูงถึงกว่า 6 เมตร เขาสามารถนาเงาผู้อื่นมา
ใส่ร่างของตนเพื่อให้ ได้ ความสามารถพิเศษของคนคนนัน้ และทังคู้ ต่ า่ งมีเป้าหมายเป็ นเจ้ าแห่ง
โจรสลัดเหมือนกันโดยหนวดดานันหวั ้ งจะปกครองผู้คนด้ วยความกลัว ส่วนโมเลียก็หวังจะปกครอง
ผู้คนด้ วยความเกียจคร้ านและพึง่ เพียงลูกน้ องคือเหล่าซอมบี ้ที่ถกู ปลุกให้ ฟืน้ คืนชีพอีกครัง้
จะเห็นได้ วา่ ตัวละครร่างใหญ่ยกั ษ์ หน้ าตาอัปลักษณ์ และสีดาซึง่ เป็ นสัญลักษณ์ที่คนส่วน
ใหญ่รับรู้ว่าเป็ นสิ่งน่ากลัว ไม่ดีถกู นามาใช้ ในการสร้ างตัวละครร้ ายอย่างชัดเจน เช่นเดียวกับการ
กาหนดความสามารถพิเศษของทังคู ้ ท่ ี่ต้อง “ขโมย” ความสามารถของผู้อื่นมาเป็ นของตนเอง
ลักษณะเหล่านี ้ล้ วนบ่งบอกความเป็ น “ตัวร้ าย” ได้ เป็ นอย่างดี แต่ไม่วา่ จะมีความชัว่ ร้ าย
เหมือนกันอย่างไรแต่ลกั ษณะนิสยั ใจคอของทังคู ้ ก่ ็ยงั แตกต่างกันซึง่ ทาให้ ตวั ละครร้ ายเหล่านี ้ล้ วนมี
เอกลักษณ์ในตัวเอง เช่นหนวดดานันแม้ ้ จะเป็ นจอมตะกละที่หิวโหยในทุกสิ่ง ทังอาหาร ้ ลาภยศ
เงินทอง จนสามารถฆ่าคนได้ ไม่เลือกหน้ าเพื่อประโยชน์ของตน แต่บางครัง้ เขาก็ดเู หมือนจะขี ้
ขลาด และช่างอดทนอดกลันจนยากจะคาดเดาการกระท
้ า ส่วนโมเลียก็เป็ นจอมเกียจคร้ านจึง
อาศัยพลังของตนยืมพลังของคนอื่นเพื่อสร้ างความสุขสบายให้ กบั ตนเอง
225

ภาพประกอบ 67 ตัวละครร้ าย “หนวดดา” และ “โมเลีย” ในวันพีซ


ที่มา: http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1136543
http://www.pastelhouse.net/vote/onepiece/formvoteonepiece.php

- ตัวละครประหลาด: ครึ่งคนครึ่งสัตว์
เนื่องจากในวันพีซมีผลไม้ ปีศาจสายโซออนซึง่ ทาให้ ผ้ ทู ี่กินเข้ าไปสามารถแปลงเป็ นมนุษย์
หรื อสัตว์ชนิดนันๆ้ ได้ ตัวละครในเรื่ องจึงมีรูปลักษณ์แปลกตา (เหมือนเช่นช้ อปเปอร์ กวางน้ อยที่
กินผลมุษย์เข้ าไปจึงมีร่างแปลงเป็ นทังกวางและทั
้ งมนุ
้ ษย์) เช่น จาคา ซึง่ กินผลอินอุ ินุ (จิ ้งจอก)
เข้ าไปจึงมีร่างแปลงเป็ นกึ่งมนุษย์กึ่งจิ ้งจอก หรื อคาคุซงึ่ กินโมเดลยีราฟเข้ าไปจึงมีใบหน้ าเป็ น
คนแต่จมูกยื่นยาวแบบยีราฟ ซึง่ การสร้ างตัวละครประเภทสัตว์เช่นนี ้แม้ จะไม่ใช่เรื่ องใหม่
สาหรับการ์ ตนู แนวต่อสู้แฟนตาซี แต่การสร้ างเงื่อนไขให้ มนุษย์ผสานร่างกับสัตว์ หลากหลายชนิด
เช่นนี ้ก็สร้ างความน่าสนใจได้ เช่นกัน เพราะด้ วยลักษณะของสัตว์หลากหลายชนิดจึงทาให้ คนอ่าน
ก็สนุกสนานไปกับการคาดเดารูปร่าง หน้ าตาของผู้ที่กินผลไม้ ปีศาจสายโซออนเข้ าไป
- ตัวละครสุดเท่
หากไม่นบั ตัวละครอย่างโซโลซึง่ เป็ นยอดนักดาบสุดหล่อ รูปร่างดีของกลุม่ พระเอก หรื อ
พี่ชายต่างสายเลือดของลูฟี่อย่างโปโตกัส ดี เอส ที่ตายไปแล้ ว ในเรื่ องวันพีซก็แทบจะหาตัวละคร
ที่ดหู ล่อสมบูรณ์แบบได้ ยากยิ่ง ตัวละครชาย (ฝ่ ายดี) ในวันพีซจึงไม่ได้ เน้ นแค่หน้ าตา หรื อ
รูปร่างที่หล่อเหลา แต่เน้ นไปที่ความสามารถ ความคิด นิสยั ใจคอ และการกระทาที่ทาให้ ตวั ละคร
ไม่หล่อ แต่ก็ดเู ท่ สมชายชาตรี ให้ สอดคล้ องกับเรื่ องราวแบบโจรสลัด ซึง่ ตัวละครที่ดู “เท่” ในเรื่ อง
นี ้ก็มีความโดดเด่น แตกต่างกันเช่น แชงคูส ผมแดง 1 ใน 4 จักรพรรดิที่โจรสลัดยอมรับว่ายากจะ
ต่อกรด้ วย ความเท่ของแชงคูสไม่ใช่เกิดจากหน้ าตาที่หล่อเหลา เพลงดาบหรื อการมีพลังจิต
คุกคามผู้อื่นในระดับสูง แต่เกิดจากการกระทาที่เปิ ดตัวเขาด้ วยการยอม “สละแขนซ้ าย” ให้ กบั ลู
226

ฟี่ ตังแต่
้ ต้นเรื่ อง ทังๆ
้ ที่เขาเป็ นโจรสลัดหน้ าใหม่ไฟแรงในเวลานันแต่ ้ กลับยอมเสียแขนให้ กบั
เด็กอมมือที่ไม่ได้ สนิทสนมกันเป็ นพิเศษ (ลูฟี่ในวัยที่ยงั ไม่ได้ เป็ นโจรสลัด) จนทาให้ แชงคูสคือ
ต้ นแบบการเป็ นโจรสลัดของลูฟี่ โดยแชงคูสกล่าวถึงปรัชญาในการใช้ ชีวิตของเขาว่า "คนที่ได้ ลิ ้ม
รสทังชั้ ยชนะและความพ่ายแพ้ เท่านันถึ ้ งจะเรี ยกได้ วา่ เป็ นลูกผู้ชายที่แท้ จริง...ถึงแม้ จะหมายถึงการ
วิ่งหนี และการเสีย น ้าตาก็ตาม"

ภาพประกอบ 68 แชงคูส ผมแดง ในวันพีซ


ที่มา:http://topicstock.pantip.com/chalermthai/topicstock/2012/05/A12103328/A1210332
8.htm

หรื ออีกตัวละครฝ่ ายดีอย่างเอ็ดวาร์ ด นิวเกต ฉายา “หนวดขาว” 1 ใน 4 จักรพรรดิ


เช่นกัน เขามีหนวดสีขาวรูปร่างคล้ ายพระจันทร์ เสี ้ยวขนาดใหญ่เกินตัว ร่างกายใหญ่โตผิดมนุษย์
และมักจะไม่สวมเสื ้อโชว์รอยสักที่เป็ นสัญลักษณ์หนวดขาวด้ านหลัง เป็ นคนร่าเริง ความเท่ของ
เขานอกจากจะเป็ นโจรสลัดที่ใช้ ความสามารถจากผลปี ศาจในทาง “ตังรั้ บ” คือใช้ เป็ นเกราะป้องกัน
การโจมตีของผู้อื่น (ไม่เริ่มทาร้ ายใครก่อน) ยังผิดแผกจากโจรสลัดอื่นๆ ตรงที่ไม่สนใจในทรัพย์
สมบัติ เงินทอง แต่สิ่งล ้าค่าสาหรับเขาคือสิ่งที่ให้ คณ
ุ ค่าทางจิตใจเพราะเชื่อว่าเมื่อได้ มาแล้ วจะไม่
มีใครแย่งมันไปได้ ตลอดกาล
- ตัวละครหญิง: สวยประหาร
ไม่มีตวั ละครผู้หญิงคนไหนเลยในวันพีซที่มีนิสยั อ่อนแอ เรี ยบร้ อย เพราะตัวละครส่วน
227

ใหญ่นอกจากจะแข็งแกร่ง และมีความสามารถด้ านการต่อสู้แล้ วยังสวยแบบนางร้ ายที่เต็มไปด้ วย


เล่ห์เหลี่ยม มารยา (ไม่เว้ นแม้ กระทัง่ ตัวละครหญิงที่อยูฝ่ ่ ายพระเอกอย่างนามิและโรบินตามที่
กล่าวไปแล้ ว) เช่น โบอา แฮนค็อค เธอเป็ นสมาชิกเพียงคนเดียวของ 7 เทพโจรสลัดที่เป็ นผู้หญิง
แถมยังเป็ นหญิงสาวที่สวยมากเสียด้ วย แฮนค็อคมีขาเรี ยวยาว รูปร่างสมส่วน ผมดายาว มี
ความสามารถจากผลหลงใหลในการทาให้ ทกุ คนที่สบตากับเธอรู้สึกหลงใหลจนยอมทาทุกสิ่งให้ ได้
ดังนันจึ
้ งติดนิสยั เจ้ าอารมณ์ เอาแต่ใจตนเอง และหยิ่งผยอง เธอเชื่อว่าแม้ จะทาผิดหนักหนาแค่
ไหนใครๆ ก็ต้องให้ อภัยเพราะความสวยของเธอ
หรื อ เลดีอ้ ัลบีด้า เธอมีหน้ าตาสวยงาม ผมดายาว รูปร่างงดงามเหมือนนางแบบหนังสือ
ปลุกใจเสือป่ า (คล้ ายคลึงกับแฮนค็อคมาก) เธอเป็ นคูต่ อ่ สู้ของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางที่ไม่ได้ มีดี
แค่สวยและเซ็กซี่นา่ มองเพียงอย่างเดียวแต่มีความสามารถด้ านการป้องกันการโจมตีของผู้อื่นจาก
ฤทธิ์ของผลสุเบะสุเบะ ที่ทาให้ ผิวหนังเนียนนุม่ จนทาให้ อาวุธไหลผ่านตัวไปได้
ส่วนนาวาเอก ฮินะ สาวสวย ประจากองทัพเรื อ ก็เป็ นทหารเรื อหญิงเพียงไม่กี่คนที่มียศ
สูง รูปลักษณ์ของเธอสะท้ อนความเปรี ย้ วซ่าด้ วยผมสีชมพูยาว ชอบทาลิปสติกสีแดงสด และสูบ
บุหรี่ จดั มาก เธอเป็ นคนจริงจังและไม่เคยกลัวใคร นอกจากนี ้ยังมีความสามารถจากผลโอริโอริ ที่
หากมีสิ่งใดกระทบตัว จะสามารถสร้ างกรงขังล้ อมสิ่งนันได้ ้ และด้ วยรูปร่างหน้ าตาสวยงาม
ของฮินะนี่เองที่ทาให้ เธอทางานลุลว่ งด้ วยดีเพราะผู้ใต้ บงั คับบัญชายอมถวายชีวิตเพื่อขอเพียงได้
อยูใ่ นกองทัพกับเธอ

ภาพประกอบ 69 ตัวละครหญิงเลดี ้ อัลบีด้า และนาวาเอกฮินะในวันพีซ


http://onepiece.wikia.com/wiki/Alvida
http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=615513&chapter=18
228

อาจกล่าวได้ วา่ ตัวละครหญิงในวันพีซมีจดุ ร่วมคือ ”รูปร่าง หน้ าตาดี” เป็ นอันดับแรก แต่
ทุกตัวละครกลับไม่ได้ มีความโดดเด่นแค่เพียงความสวยงามเท่านัน้ เพราะทุกคนมี
ความสามารถพิเศษบางอย่าง (จากผลปี ศาจ) จนทาให้ ตวั ละครผู้หญิงที่ปรากฏในวันพีซจะไม่ใช่
หญิงธรรมดาที่ไร้ ฝีมือ แต่สามารถต่อสู้ และอยู่รอดในโลกโจรสลัดได้ อย่างสง่าผ่าเผยทุกคน
จากตัวละครทังหมดในวั
้ นพีซ ทังตั้ วเอก ผู้ร้าย ตัวประกอบ คงพอทาให้ เห็น ว่าทุกตัว
แตกต่างกันอย่างมาก ซึง่ แท้ จริงแล้ วยังมีอีกหลายตัวละครที่นา่ สนใจ และมีเอกลักษณ์ของตนเอง
เพราะเพียงแค่พลังจากผลปี ศาจก็สามารถสร้ างความแตกต่างได้ อย่างมากแล้ ว ดังนันแนวทาง ้
การสร้ างตัวละครของวันพีซจึงเน้ นความหลากหลาย เพื่อให้ สอดคล้ องกับการสร้ างโลกแห่งโจร
สลัดที่สามารถเนรมิตตัวละครที่หลุดโลกเพียงใดก็ได้ เราจึงสามารถพบเจอทังหนุ
้ ่มเท่ สาวเก่ง
เพศที่ 3 ยักษ์ เงือก ปี ศาจ หรื อแม้ กระทัง่ ไซบอร์ กได้ ในโลกแห่งวันพีซ
3.2 นินจาคาถาฯ
ด้ วยเรื่ องราวที่เกี่ยวกับ “นินจา” การออกแบบคาแร็ คเตอร์ ของตัวละครในนินจาคาถาฯ
โดยรวมทังรู้ ปลักษณ์ภายนอกและนิสยั ใจคอจึงเน้ นตัวละครในทิศทางเดียวกันคือความ “มืดหม่น”
ของจิตใจ ความคิด ภูมิหลัง รวมทังเสื ้ ้อผ้ าเครื่ องแต่งกาย แต่ในความมืดทึมที่สะท้ อนความเป็ น
นินจาที่ดลู ึกลับนันมี ้ ความแตกต่างหลากหลายกันดังนี ้
3.2.1 ความแตกต่างของกลุ่มตัวละครเอก
กลุม่ ตัวละครเอกในนินจาคาถาฯ ก็คือกลุม่ นินจาหมู่บ้านโคโนฮะของพระเอก
อย่างนารูโตะซึง่ เติบโตมาด้ วยกันตังแต่ ้ การเป็ นนักเรี ยนนินจาและออกทาภารกิจร่วมกันเป็ นทีม
ดังนันความแตกต่
้ างของตัวละครจึงเกิดขึ ้นโดย “ทีม” เป็ นตัวกาหนดในเบื ้องต้ น เพราะในแต่ละ
ทีมต้ องมีนินจาที่มีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือซึง่ กันและกันได้ ซึง่ ตัวละครที่โดดเด่น
ในด้ านการออกแบบบุคลิกภายนอกจึงเน้ นไปที่การสร้ าง “ความสามารถ” หรื อ “พรสวรรค์” ของแต่
ละคนดังนี ้
-ตัวละครจอมวางแผน
ในวันพีซตัวละครฝั่ งตัวเอกไม่มีใครที่ดเู ป็ น “จอมวางแผน” หรื อ “มันสมอง” ของ
กลุม่ เลย ทุกตัวละครสมกับเป็ น “โจรสลัด” ที่มีอิสระในความคิด และเดินเรื อไปตามอารมณ์ (แม้
จะมีเป้าหมายหลักอย่างการเดินเรื อเข้ าสูแ่ กรนด์ไลน์ แต่ก็สามารถแวะช่วยเหลือผู้อื่น หรื อค้ นหา
เกาะแปลกๆ ในระหว่างทางตามความสนุกของกัปตันอย่างลูฟี่) แต่ด้วยเรื่ องราวที่ให้ บรรยากาศ
ลึกลับในนินจาคาถาฯ จึงเกิดตัวละครฝั่ งตัวเอกที่เก่งกาจเรื่ องการวางแผนอย่าง นารา ชิกามารุ
ซึง่ เป็ นตัวละครสาคัญยิ่งของทีมยามที่ต้องปฏิบตั ภิ ารกิจเพื่อช่วยวิเคราะห์สถานการณ์การต่อสู้กบั
229

นินจาหมูบ่ ้ านอื่นๆ ว่าควรตังรั้ บ โจมตี ถอยหนี หรื อวางแผนการใช้ คนในทีมต่อสู้อย่างไรให้


ได้ เปรี ยบที่สดุ ชิกามารุเป็ นเด็กวัยรุ่นร่างสูง ผอม รวบผมยาวดา นิง่ เฉย และในขณะที่
ตัวละครในเรื่ องนี ้เต็มไปด้ วยเป้าหมายการเป็ นสุดยอดนินจา หรื อการปกครองโลกแห่งนินจา แต่
ชิกามารุกลับเป็ นคนเรี ยบๆ เรื่ อยๆ ไม่ได้ มีเป้าหมายยิ่งใหญ่เหมือนคนอื่นๆ สิ่งที่โดดเด่นของ
ชิกามารุนอกจากจะมีความสามารถประจาตระกูลที่ควบคุมเงาได้ แล้ วความเป็ นคนนิ่งเฉย ไม่
มุง่ มัน่ เอาชนะใครกลับกลายเป็ นเรื่ องดีที่ทาให้ เป็ นตัวละครที่ “นิ่งที่สดุ ” คนหนึง่ (จนเกือบเรี ยกได้
ว่า “เฉื่อยชา”) จนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ และวางแผนการต่อสู้ได้ อย่างเหลือเชื่อจนพลิกผัน
ทาให้ นินจาจากหมูบ่ ้ านโคโนฮะรอดตายมาได้ หลายครัง้ และในการสอบจูนิน (เลื่อนชันนิ ้ นจา)
แม้ วา่ เขาจะขอยอมแพ้ ไปเองเพราะเบื่อที่จะสู้กบั ผู้หญิง (เพราะพ่อของเขาสอนให้ เคารพผู้หญิง)
แต่คณะกรรมการกลับเห็นความฉลาดเฉลียวของเขา จนสอบผ่านเป็ นจูนินในที่สดุ

ภาพประกอบ 70 ชิกามารุ ตัวละครจอมวางแผนในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://atcloud.com/stories/21167

- ตัวละครประเภทนินจาพรสวรรค์
ทุกๆ ตระกูลนินจาจะมีความลับเรื่ องความสามารถพิเศษประจาตระกูล หรื อ
“ขีดจากัดสายเลือด” หรื ออาจเรี ยกได้ ว่าพรสวรรค์ประจาตระกูลที่ไม่เหมือนกัน ซึง่ ก็เป็ นอีก
เงื่อนไขที่สร้ างความหลากหลายให้ ตวั ละคร เหมือนเช่นอาบุราเมะ ชิโนะ ตระกูลของผู้ใช้ แมลง
โดยคนที่เกิดในตระกูลจะทาสัญญากับแมลงให้ ร่างกายตนเองเป็ นรังให้ กบั แมลงและสามารถเรี ยก
230

แมลงมาใช้ งานได้ รอบด้ านแลกกับการให้ แมลงกินจักระ (พลังงานหรื อพลังชีวิต) ของตน ดังนัน้


คนในตระกูลอาบุราเมะทุกคนจึงใส่แว่นตาดา ปิ ดบังเบ้ าตาอันกลวงโบ๋เพราะต้ องสูญเสียดวงตาไป
เพื่อเป็ นทางออกให้ แมลง
หรื อตัวละครอย่าง อาคิมิจิ โจจิ อีกหนี่งตระกูลของหมู่บ้านโคโนฮะ ลักษณะ
เด่นของโจจินนอาจดู
ั้ เป็ นตัวละครแบบ “สูตรสาเร็จ” ในทุกเรื่ องที่มกั มีตวั ละคร “อ้ วน” หรื อสัดส่วน
ใหญ่โตผิดคนอื่น (เหมือนเช่นไจแอนท์ในโดราเอมอน) แต่ตวั ละคร “อ้ วน” ตัวนี ้ไม่ได้ เกิดขึ ้นมา
เพื่อให้ แตกต่างจากคนอื่นอย่างไร้ เหตุผล เพราะผู้เขียนหามูลเหตุของความอ้ วนได้ อย่างน่าสนใจ
นัน่ เพราะขีดจากัดสายเลือดของตระกูลอาคิมิจิที่ถ่ายทอดมายังรุ่นลูกรุ่นหลานให้ มีความสามารถ
ในการเปลี่ยนแคลอรี ให้ เป็ นจักระ (พลังงาน) ได้ ดังนันการที ้ ่โจจิกินเก่ง หิวบ่อย จนกลายเป็ น
นินจาที่เรี ยกได้ วา่ “อ้ วน” ซึง่ ดูจะขัดกับภาพลักษณ์ของนินจาที่ควรจะผอมเพรี ยวเพราะต้ องการ
ความปราดเปรี ยว ว่องไว ในการหลบหนีและพรางตัวจึงดูมีเหตุผลขึ ้นมาทันที

ภาพประกอบ 71 ชิโนะ และโจจิ ตัวละครในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1478966

ยังมีตวั ละครอื่นที่ไม่ใช่ฝั่งตัวเอก แต่มีความสามารถ หรื อพรสวรรค์ที่น่าสนใจ


เช่นการนา “ศิลปะ” มาจับคูเ่ ข้ ากับ “การต่อสู้” เหมือนเช่นการนาศิลปะ “เชิดหุน่ ” ให้ อากาซึนะ
ซาโซริ โดยซาโซริสามารถนามนุษย์มาทาเป็ นหุน่ เชิดได้ (ทังคนเป็ ้ นและคนตาย) ท้ ายที่สดุ เขาจึง
ได้ แปลงตนเองเป็ นหุ่นเชิดซึง่ เป็ นอาวุธอันทรงพลังของหมูบ่ ้ านซึนะ
231

-ตัวละครประเภทนินจาพรแสวง
ส่วนใหญ่แล้ วนินจาที่เก่งกาจย่อมมีดีเรื่ องคาถา หรื อพรสวรรค์ประจาตระกูล แต่
ตัวละครอย่างร็อค ลี กลับไร้ ตวั ช่วยที่กล่าวมาทังหมด ้ ลี คือนินจาที่มีดีที่ “กระบวนท่า” ที่
สามารถโจมตีคตู่ อ่ สู้ได้ อย่างรวดเร็ว และเมื่อถอดที่ถ่วงน ้าหนักขาก็สามารถแสดงพลังที่นา่ กลัว
ออกมาได้ นอกจากนี ้เวลาที่ดื่มเหล้ าไปแค่จิ๊บเดียวจะสามารถใช้ หมัดเมาได้ และยิ่งดื่มมากพลัง
หมัดเมาก็จะสูงตาม ตัวละครอย่างร็ อค ลี จึงเป็ นนินจาที่ดเู ป็ นนินจาน้ อยที่สดุ ในเรื่ อง เพราะ
นอกจากความสามารถด้ านหมัดมวย ที่คล้ ายคลังกับภาพยนตร์ จีนที่เราคุ้นชินกันอย่างไอ้ หนุม่
หมัดเมาแล้ ว ลียงั หน้ าตาถอดแบบเหมือนตานานดาราที่โด่งดังไปทัว่ โลกอย่าง บรู๊ซ ลี ด้ วยทรง
ผมบ็อบหน้ าม้ า และคิ ้วเข้ มหนาอีกด้ วย แต่แม้ ลีดจู ะหลุดออกไปจากตัวละครแบบ “นินจา” แต่
เขาก็เป็ นตัวแทนของเด็กหนุ่มที่ไม่อาศัยโชคชะตา หรื อภูมิหลังของชาติตระกูล แต่อาศัยฝี มือ ความ
พยายามที่มากกว่าคนอื่นเป็ นเท่าตัวจนทาให้ ได้ รับความไว้ วางใจให้ ทาภารกิจยากๆ หลายครัง้
และแม้ เขาจะโชคร้ ายกระดูกสันหลังถูกทาลายในการสอบเลื่อนชันนิ ้ นจาจนหลายคนบอกว่าเขาไม่
สามารถเป็ นนินจาได้ อีกต่อไป แต่ท้ายที่สดุ ก็ยงั ต่อสู้ไม่ยอ่ ท้ อจนฟื น้ ตัวกลับมาช่วยทาภารกิจให้ กบั
หมูบ่ ้ านได้ อีกครัง้ ตัวละครอย่างร็ อค ลีจงึ เป็ นตัวละครที่ดบู ง่ บอกผู้อา่ นถึง “ความพยายามอยูท่ ี่
ไหน ความสาเร็จอยูท่ ี่นนั่ ” ได้ เป็ นอย่างดี

ภาพประกอบ 72 ร็อค ลี ตัวละครในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://cartoon-za.exteen.com/20091008/entry-15
232

และเมื่อมีตวั ละครนินจาที่เก่งเพราะได้ ตวั ช่วย (จากวิชาลับของตระกูล) และเก่ง


เพราะความมานะแบบสุดโต่งแล้ ว ย่อมต้ องมีตวั ละครที่อยู่ตรงกลางซึง่ ก็คือนินจาที่มีทงตั ั ้ วช่วย
ขณะเดียวกันก็บากบัน่ ไม่ยอ่ ท้ ออย่างอุซึมากิ นารู โตะ พระเอกของเรื่ อง ที่นอกจากจะมีแต้ มต่อ
จากพลังของปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหางที่สถิตอยู่ในร่างแล้ วก็ยงั มีแรงเสริมจากนิสยั อันมุง่ มัน่ ทาทุกสิ่ง
ด้ วยความตังใจซึ ้ ง่ ส่งผลให้ บคุ ลิกโดยรวมของนารูโตะโดดเด่นเหนือนินจาคนอื่นและเป็ นตัวละครที่
น่าเชื่อถือมากพอจะบรรลุความฝั นการเป็ นผู้ปกครองหมู่บ้านนินจาที่เก่งเหนือใคร
3.2.2 ความแตกต่างของกลุ่มตัวละครอื่นๆ (ผู้ร้าย ตัวประกอบ ตัวละครหญิง)
ในขณะที่ตวั ละครเอกและตัวละครร้ ายของวันพีซจะมีรูปร่างหน้ าตาที่แตกต่างกัน
ชัดเจน โดยกลุม่ ตัวเอกส่วนใหญ่ผ้ หู ญิงดูสวยและผู้ชายดูดี (ยกเว้ นอุซป) ส่วนตัวร้ ายไม่มีใครเลยที่
พอจะเรี ยกได้ ว่า “หล่อ” หรื อดู “เท่” แต่ตวั ละครโดยรวมของนินจาคาถาฯ ทังฝ่้ ายพระเอก และ
ฝ่ ายผู้ร้ายนันมี
้ รูปร่างหน้ าตาค่อนข้ างสวยงาม หรื อไม่ก็ดเู ท่แทบทังหมด
้ โดยเฉพาะการสร้ าง
รูปลักษณ์ของ “ตัวร้ าย” ที่อาจดูหล่อ เท่ยิ่งกว่าฝ่ ายตัวเอกเสียด้ วยซ ้า ซึง่ แยกแยะได้ ดงั นี ้
- ตัวละครร้ ายหล่อ เท่
องค์กรหลักที่ถือเป็ นฝ่ ายผู้ร้าย หรื อเป็ นอุปสรรคหลักของพระเอกในนินจาคาถาฯ
ก็คือ “กลุม่ แสงอุษา” กลุม่ นินจาถอนตัวจากแต่ละหมูบ่ ้ าน (นินจาที่เข้ าพวกกับคนในหมู่บ้าน
ไม่ได้ นนั่ เอง) แสงอุษามีสมาชิก 11 คน (แต่ภายหลังแยกตัวและเสียชีวิตไปหลายคน) ซึง่ แม้
รูปลักษณ์โดยรวมของแต่ละคนจะดูเย็นชา ลึกลับ (ด้ วยชุดทีมเสื ้อคลุมสีดา และสวมกระบังหน้ า)
แต่ก็มีรูปร่าง หน้ าตาค่อนข้ างดูดี เท่ และสามารถสร้ างวีรกรรมจนเป็ นวีรบุรุษได้ ไม่ตา่ งจากตัวเอก
เลย โดยเฉพาะตัวละครต่อไปนี ้
เพน หัวหน้ าของแสงอุษา มีความสามารถในการเปลี่ยนร่างได้ ถึง 6 ร่างหรื อ 6
วิถี ซึง่ ทาให้ ตวั ละครนี ้ดูมีมิติ และลึกลับ จุดเด่นเมื่อแรกเห็นก็คือมีรอยเจาะจานวนมากตาม
ร่างกาย ซึง่ ด้ วยรอยเจาะเช่นนี ้เองที่ทาให้ เพนดูเท่ และด้ วยวัยเด็กที่โดดเดี่ยว ทรมานจากการ
เป็ นเด็กกาพร้ าที่ถกู ทิ ้งเขาจึงเริ่มตังตั
้ วเป็ นพระเจ้ า สังหารผู้อื่นไม่เลือก แต่ท้ายที่สดุ หลังจากได้
พูดคุยกับพระเอกอย่างนารูโตะ จึงพบทางสว่างและยอมสละชีวิตตัวเองเพื่อคืนชีพให้ นินจา
หมูบ่ ้ านโคโนฮะ (หมูบ่ ้ านของนารูโตะ)
อากาซึนะ ซาโซริ
อีกหนึง่ สมาชิกของแสงอุษา หนุม่ น้ อยรูปงาม ที่มีรูปลักษณ์ชวนให้ สงสาร
เพราะซาโซริมีแววตาที่ดเู ศร้ าสร้ อยตลอดเวลาเนื่องจากขาดความรักจากพ่อแม่ เขาจึงทาหุน่ เชิด
ที่มีลกั ษณะคล้ ายพ่อแม่ของเขาขึ ้นมาเพื่อหวังจะได้ ความรักทดแทน แต่เมื่อพบว่าหุ่นก็เป็ นเพียง
233

หุน่ กระบอกไร้ ความรู้สกึ จึงหลบหนีออกจากหมูบ่ ้ านและหันมาร่วมกับองค์กรแสงอุษา และ


ท้ ายที่สดุ ก็ต้องพบกับความตายด้ วยน ้ามือของย่าโจผู้เลี ้ยงดูเขาแทนพ่อแม่มาตังแต่
้ ยงั เล็ก

ภาพประกอบ 73 เพน และซาโซริ สมาชิกกลุ่มแสงอุษา ฝ่ ายร้ ายในนินจาคาถาฯ


ที่มา:http://topicstock.pantip.com/chalermthai/topicstock/2007/08/A5763093/A5763093.html
http://writer.dek-d.com/14727/writer/view.php?id=658412

อุจิวะ อิทาจิ
หากมองแค่การกระทาของอิทาจิ นินจาหนุม่ ผมดาผู้นิ่งขรึมคนนี ้ ก็ไม่ตา่ งอะไร
จากพระเอกยอดฮีโร่ผ้ เู สียสละทุกสิ่งแม้ ความตายและเกียรติยศ เพราะเขาเลือกจะสังหารหมูค่ น
ในตระกูลตนเองเพื่อปกป้องหมูบ่ ้ านโคโนฮะ (เหลือเพียงน้ องชายคืออุจิวะ ซาสึเกะเพียงคนเดียว)
หลังจากรู้ความจริงว่าตระกูลอุจิวะคิดจะก่อสงครามเพื่อยึดครองอานาจในหมูบ่ ้ าน การกระทา
ในครัง้ นันตี
้ ตราให้ เขากลายเป็ น “ฆาตกร” ผู้เหี ้ยมโหด ทังที
้ ่แท้ จริงแล้ วเขาทาเพื่อแสดงความภักดี
ต่อหมู่บ้าน และท้ ายที่สดุ เขาก็ยอมตายเพื่อมอบเนตรกระจกเงาหมื่นบุปผาให้ กบั น้ องชายผู้อยู่
รอดเพียงคนเดียวของตระกูลอุจิวะ (เพื่อป้องกันไม่ให้ วายร้ ายอย่างมาดาระเข้ าใกล้ ได้ )
234

ภาพประกอบ 74 อิทาจิ สมาชิกกลุ่มแสงอุษา ฝ่ ายร้ ายในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://my.dek-d.com/saintmark98/blog/?blog_id=10046887

ซาบาคุโนะ กาอาระ
กาอาระ นินจาผู้มีใบหน้ าเย็นชา ด้ วยขอบตาดา ผมสันสี ้ แดง พร้ อมถังทรายติด
ตัวที่หลังตลอดเวลา กาอาระเป็ นตัวละครที่แม้ จะอยู่ตา่ งหมูบ่ ้ านกับนารูโตะ แต่ก็มีชะตาชีวิตที่ไม่
ต่างจากนารูโตะเลย นัน่ คือการมีปีศาจมาสถิตอยูใ่ นร่าง โดยเขามี “หางเดี่ยว” หรื อผู้พิทกั ษ์
ทะเลทรายอยูใ่ นตัวจึงถูกรังเกียจจากคนในหมู่บ้านซึนะ ไม่เว้ นแม้ กระทัง่ พ่อของเขา ที่ฝังใจว่ากา
อาระเป็ นต้ นเหตุที่ทาให้ แม่ตาย แต่หลังจากได้ ตอ่ สู้กบั นารูโตะจนเกิดนับถือในตัวเพื่อนคนนี ้ที่
สามารถมุง่ มัน่ ทาดีได้ แม้ รอบข้ างจะหยามเหยียด กาอาระจึงเข้ าใจตัวเองมากขึ ้นและปรับปรุงตัว
จากที่ไม่มีความรักให้ ใคร ฆ่าทุกคนที่ขวางทาง มาเป็ นคนที่เข้ าใจผู้อื่นมากขึ ้น และทาทุกวิถีทาง
เพื่อปกป้องชีวิตทุกคนในหมู่บ้านซึนะของเขา
235

ภาพประกอบ 75 กาอาระ ตัวละครที่เคยร้ ายแต่ ภายหลังกลับตัวเป็ นคนดีในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://atthapol147.blogspot.com/2010/08/blog-post_7377.html

เห็นได้ วา่ นอกจากรูปลักษณ์ตวั ละครที่ดดู ีแล้ ว ผู้เขียนได้ อาศัยการใส่ปมู หลัง อัน


เจ็บปวดของชีวิตที่ต้องสูญเสียคนที่ตนรักลงไปเพื่อรองรับนิสยั เยือกเย็น ยากเข้ าถึง (เพราะอดีตอัน
เจ็บปวด) อีกทังสร้
้ างการกระทาที่ท้ายที่สดุ แล้ วตัวร้ ายเหล่านี ้ก็กลับใจกลายเป็ นคนดีด้วยการ
“เสียสละ” เพื่อคนอื่น จึงทาให้ พวกเขากลายเป็ นตัวละครที่มีบคุ ลิก “เท่” น่าจดจาจนเช่นเดียวกับ
ตัวเอกอย่างนารูโตะ (ที่มีชีวิตวัยเด็กกาพร้ า แปลกแยกเช่นกัน) จึง ไม่นา่ แปลกเลยที่ตวั ละครร้ าย
เหล่านี ้จะอยูใ่ นใจผู้อา่ น โดยอาจแยกแยะให้ เห็นบุคลิกตัวละครที่ มีจดุ ร่วม “ความสูญเสีย” ดังนี ้
ลักษณะเด่ นของบุคลิกภายนอก ปูมหลังของความเจ็บปวด/ความ
ตัวละคร และนิสัยภายใน สูญเสีย
เพน ผมสีน ้าตาล มีรอยเจาะจานวนมากตามร่างกาย ทาให้ ดเู ท่ เป็ นเด็กกาพร้ าถูกทอดทิ ้ง
มีร่างอยู่ 6 ร่าง หรื อ 6 วิถี มีนิสยั เย็นชา
ซาโซริ ผมสีน ้าตาล รูปหน้ าเรียวสวย หน้ าตาหล่อเหลา แต่แววตา กาพร้ าพ่อแม่ แต่มียา่ คอยเลี ้ยงดู
เศร้ าอยูเ่ สมอ นิสยั นิ่งเฉย เป็ นนินจาเชิดหุน่ ที่เก่งที่สดุ
อิทาจิ ผมสีเทาดา หน้ าตาค่อนข้ างหล่อ เงียบขรึม ซื่อสัตย์ตอ่ ยอมฆ่าคนในครอบครัวจนหมดสิ ้น
หน้ าที่ และหมูบ่ ้ าน เพื่อปกป้องชื่อเสียงของตระกูล
กาอาระ ผมสีน ้าตาลแดง ขอบตาดา ทาให้ ดเู ท่ นิสยั เย็นชา ฆ่าคน ฆ่าน้ าของตัวเอง ถูกพ่อของตน
ไม่เลือก (ในตอนแรกๆ) เกลียดชัง และแม่ก็ไม่ต้องการ
เพราะมีปีศาจอยูใ่ นร่างกาย

ตารางที่ 25 รวมตัวละครที่มีปมเรื่องความเจ็บปวดและความสูญเสียในนินจาคาถาฯ
236

- ตัวละครปี ศาจและ สัตว์ประหลาด


หากจับตัวละครที่เป็ นนินจาทังหมดยื
้ นเรี ยงกัน แน่นอนว่าขนาด และสัดส่วนของ
ตัวละครอาจใกล้ เคียงกันไปหมด เพราะด้ วยรูปร่างที่ไม่ใหญ่โต หรื ออ้ วนล่าตามแบบฉบับนินจาอัน
ปราดเปรี ยว รวมทังชุ ้ ดดาที่ทาให้ เกิดความรู้สกึ ลึกลับเหมือนๆ กัน จึงอาจทาให้ รูปลักษณ์
ภายนอกของตัวละครโดยรวมดูเหมือนจะขาดสีสนั ไป ดังนันจึ ้ งเกิดตัวละครสัตว์วิเศษอย่างเช่น
สัตว์หาง ที่สามารถปั น้ แต่งให้ ร่างใหญ่โต บิดเบี ้ยว น่าเกรงขามอย่างไรก็ได้ เพื่อสร้ างความ
หลากหลายในแง่ขนาด และรูปร่างของตัวละครโดยภาพรวม เช่นจิ ้งจอกเก้ าหางของนารูโตะ
หรื องูที่เป็ นสัตว์อญ
ั เชิญของโอโรจิมารุ เป็ นต้ น
- ตัวละครเก่งซ่อนเก่ง
ตัวละครประเภทรูปลักษณ์ภายนอกขัดแย้ งกับนิสยั ภายในก็ยงั เป็ นอีกสูตรสาเร็จ
ที่ปรากฏอยูใ่ นเรื่ องเล่าหลายๆ ประเภท ในนินจาคาถาฯ ก็เลือกใช้ สตู รนี ้ด้ วยเช่นกัน โดยสร้ าง
ตัวละครอย่าง จิไรยะ อาจารย์ของนารูโตะ ผู้มีรูปลักษณ์ภายนอกเหมือนชายกลางคนที่ดบู ้ าๆ
บอๆ ด้ วยทรงผมยาวชี ้แหลม ซึง่ แสดงถึงความไม่อยูใ่ นกฎและกรอบใด แถมยังมีนิสยั ลามก และมี
อาชีพหลักอย่างการเป็ น “นักเขียนนิยายอีโรติก” (หรื อเรี ยกว่าเป็ นหนังสือปลุกใจเสือป่ านัน่ เอง)
แต่ใครจะคาดคิดว่าแท้ จริงแล้ วเขากลับเป็ นสุดยอดนินจาพรสวรรค์ที่ได้ รับการยกย่องว่าเป็ น 3
นินจาในตานาน หรื อตัวละครอย่างคิลเลอร์ บี ผู้เป็ นร่างสถิตของแปดหางก็ใช้ แนวทางการ
สร้ างตัวละครแบบ “ภายในขัดแย้ งภายนอก” ด้ วยเช่นกัน เพราะหากมองเพียงผิวเผินเขาก็มี
รูปลักษณ์ไม่ตา่ งจากจิไรยะแถมยังดูเพี ้ยนมากกว่าเป็ นเท่าตัวด้ วยซ ้า คิลเลอร์ บีดเู ป็ นหนุม่ ใหญ่
อารมณ์ดี และชอบร้ องเพลงแร็พอยูต่ ลอดเวลาไม่เว้ นกระทัง่ เวลาที่กาลังต่อสู้ เขามีคาพูดติด
ปากเป็ นคาหยาบ เช่น “ไอ้ บ้าห้ าร้ อย ไอ้ เวรตะไล” เสมอๆ ซึง่ แสดงถึงความเป็ นคนสบายๆ รัก
สนุก อารมณ์มนั่ คง ไม่เครี ยดกับสิ่งรอบตัว และด้ วยเหตุนี ้เองที่ทาให้ คลิ เลอร์ บเี ป็ นพลังสถิตร่าง
เพียงคนเดียวที่ควบคุมสัตว์หางในตัวได้ ซึง่ การสร้ างนิสยั ให้ ตวั ละครตัวนี ้เป็ นคนเพี ้ยน แต่จิตใจ
มัน่ คง สบายๆ ซึง่ ทาให้ เขาควบคุมสัตว์หางได้ เช่นนี ้ก็อาจเป็ นนัยยะอย่างหนึง่ ที่ผ้ เู ขียนต้ องการจะ
บอกว่าการจะควบคุมสัตว์หางได้ นนต้ ั ้ องการคนที่มีอารมณ์มนั่ คง และปล่อยวางต่อพลังอานาจ
ของสัตว์หางเหมือนเช่นคิลเลอร์ บี
- ตัวละครลึกลับ
โทบิ ชายลึกลับผู้ปิดบังใบหน้ าด้ วยการสวมหน้ ากากที่มีลกั ษณะเหมือนรูปก้ น
หอย เขาเป็ นสมาชิกของแสงอุษาที่ดไู ม่เหมือนสมาชิกคนอื่นๆ ที่จริงจัง เย็นชา เพราะเป็ นคน
ตลกและดูไร้ ความกังวลอยูต่ ลอดเวลา และแม้ จะเป็ นสมาชิกที่เข้ ามาภายหลังแต่การกระทากลับ
237

เป็ นเหมือนหัวหน้ าจนทาให้ ผ้ อู า่ นต่างคาดเดาไปต่างๆ นานาถึงตัวจริงของชายลึกลับผู้ออกคาสัง่


ให้ กบั สมาชิกของแสงอุษาคนนี ้ ซึง่ ณ ปั จจุบนั ใบหน้ าที่แท้ จริงของโทบิก็ยงั คงเป็ นปริ ศนาต่อไป
การสร้ างตัวละครสาคัญโดยการใส่หน้ ากาก ไม่ยอมเปิ ดเผยใบหน้ าเช่นนี ้มักดึง
ความสนใจของผู้อา่ นไว้ ได้ อย่างเหนียวแน่น โดยตัวละครแบบนี ้นี่เองที่ผ้ เู ขียนมักใช้ เป็ นตัว
ล่อหลอกผู้อา่ นให้ อยูก่ บั เรื่ องไปจนจบ (ตราบเท่าที่ยงั ไม่เฉลยว่าภายใต้ หน้ ากากของโทบิคือใคร)

ภาพประกอบ 76 โทบิ ตัวละครร้ ายใส่ หน้ ากากในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://www.naruto-kun.com/tobi/

-ตัวละครหญิงเก่ง
เมื่อต้ องสร้ างตัวละครหญิงในนินจาคาถาฯ ย่อมต้ องมี “หญิงเก่ง” เหมือนเช่นใน
วันพีซ นัน่ เพราะด้ วยเรื่ องราวที่มีฉากต่อสู้เกิดขึ ้นบ่อยครัง้ ดังนันตั
้ วละครผู้หญิงจึงต้ องมีสว่ นร่วม
ในการปะทะฝี มือ ซึง่ ในนินจาคาถาฯ ก็มีตวั ละครหญิงเก่งที่นา่ สนใจหลายคนเช่น
ซึนาเดะ
สาวสวยผมทองที่มีรูปร่างเย้ ายวนใจชาย ซึนาเดะรักการดื่มเหล้ า และเล่นพนัน
ซึง่ แม้ ความชอบของเธอจะทาให้ ดเู ป็ นนินจาไม่เอาไหน แต่แท้ จริงแล้ วเธอเป็ น 1 ใน 3 นินจาใน
ตานานและเป็ นนินจาแพทย์ที่เก่งที่สดุ ในโลกนินจาจนได้ กลายเป็ นโฮคาเงะ (ผู้ปกครองหมู่บ้าน
นินจาโคโนฮะ) รุ่นที่ 5 ซึนาเดะเป็ นนินจาที่แข็งแกร่งมากในด้ านพลัง พลังช้ างสารของเธอ
สามารถทาลายกาแพงหรื อทาให้ พื ้นดินแตกเป็ นหลุมระเบิดด้ วยการอัด ชก หรื อฟาดเท้ าเพียงครัง้
เดียว และเป็ นนินจาแพทย์ที่ไม่มีวนั ตาย เธอสามารถชุบชีวิตตัวเองกี่ครัง้ ก็ได้ ในการต่อสู้ แต่การชุบ
ชีวิตและฟื น้ ฟูตนเองจะมีผลข้ างเคียงทาให้ อายุขยั สันลงเรื
้ ่ อยๆ
238

ซากุระ
ซากุระเป็ นเด็กสาวน่ารัก ผมยาวสีชมพู (ภายหลังตัดผมให้ สนเป็
ั ้ นผมบ็อบ) เธอ
เป็ นนินจาที่ฉลาด มุง่ มัน่ มีพลังทาลายล้ างสูงเหมือนซึนาเดะ แค่เธอต่อยลงพื่นที่เดียวแผนดินก็
แตกออกเป็ นส่วนๆ แถมยังถนัดวิชาภาพลวงตาอีกด้ วย ซึนาเดะรับบทเด่นเพราะอยูร่ ่วมทีมนินจา
“กลุม่ 7” ทีมเดียวกับนารูโตะ แต่เธอกลับตกหลุมรักซาซึเกะ (คนที่นารูโตะชื่นชมแต่หกั หลังคนใน
หมูบ่ ้ านไปอยูร่ ่วมอุดมการณ์เดียวกับแสงอุษา) และรู้สกึ กับ นารูโตะ (ที่หลงรักซากุระ) แค่เพื่อน
สนิท ภายหลังเธอเริ่ มเดินตามรอยของซึนาเดะโดยไปขอเป็ นลูกศิษย์เรี ยนนินจาแพทย์เพื่อ
ช่วยเหลือเพื่อนในทีมยามปฏิบตั ภิ ารกิจ

ภาพประกอบ 77 ซึนาเดะ และซากุระ ตัวละครผู้หญิงในนินจาคาถาฯ


ที่มา: http://cartoon-za.exteen.com/20091008/entry-7
http://paan-dda.exteen.com/20100818/entry-1

สรุปแล้ วตัวละครในนินจาคาถาฯ น่าสนใจทังการออกแบบรู


้ ปลักษณ์ภายนอกให้
ดูโดยรวมหล่อ-เท่ แม้ จะเป็ นตัวละครร้ าย ขณะเดียวกันผู้อ่านยังเห็นใจตัวละครด้ วยการใส่
เบื ้องหลังชีวิตที่สญ
ู เสีย และมีความลับดามืดในตัวเองคล้ ายคลึงกัน โดยเฉพาะตัวร้ ายที่ชะตาชีวิต
เหมือนตัวเอกอย่างนารูโตะ (ที่ต้องเป็ นเด็กกาพร้ า รู้สกึ แปลกแยกจากสังคม) ดังนันตั
้ วละคร
ฝ่ ายร้ ายจึงดูหล่อ-เท่ ไม่แพ้ ฝ่ายดี (ต่างจากวันพีซที่ตวั ละครฝ่ ายร้ ายไม่มีใครดูหล่อ และตัวละคร
เอกโดยรวมก็ไม่ได้ ดหู ล่อมากนัก) ส่วนตัวละครประกอบอื่นๆ นันก็ ้ มีความแตกต่างกันโดยการ
ออกแบบให้ นินจาแต่ละคนมีความสามารถประจาตระกูล ความถนัดของคาถาที่ใช้ รวมทังสั ้ ตว์
หางที่สิงสถิตในร่างคนที่ทาให้ เกิดความสนุกตื่นเต้ นยามต้ องปะทะฝี มือกัน
239

3.3 ดราก้ อนบอล


ในขณะที่วนั พีซ และนินจาคาถาฯ ไม่ได้ มีความแตกต่างในด้ านขนาด และรูปร่างของกลุม่
ตัวละครเอกมากนัก แต่ในดราก้ อนบอลหากจับตัวละครยืนรวมกันเราจะพบความหลากหลายใน
เรื่ องขนาด และรูปร่างหน้ าตาของตัวละครอย่างมาก ถึงกระทัง่ ตัวเอกอย่างโงคูเองก็มีความ
หลากหลายในตัวเองเช่นกัน จนอาจเรี ยกได้ วา่ ดราก้ อนบอลเป็ นการ์ ตนู อีกเรื่ องที่เป็ นต้ นแบบของ
การออกแบบบุคลิกภายนอกของตัวละครได้ เป็ นอย่างดี
“อากิ ระ โทริ ยาม่า วาดคนได้ครอบคลุมมาก ทัง้ อ้วน ผอม เตีย้ และตัวละครเขามี ความ
ร่ วมสมัยอยู่ในตัว เพราะมี ความเป็ นกราฟิ กในตัวเอง ผมให้ออกแบบตัวละครเขาเท่ากับโดราเอ
มอนเลยนะ เพราะเล่นกับรู ปทรงที ส่ ะท้อนนิ สยั ใจคอ และตัดทอน shape ทีไ่ ม่สมจริ งออกไป” (ธัญ
ลักษณ์ เตชศรี สธุ ี ,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
ดังนันอาจแบ่
้ งย่อยการออกแบบบุคลิกภายนอกของตัวละครเป็ นประเด็นดังนี ้
3.3.1 ความแตกต่างของกลุ่มตัวละครเอก
- แค่เห็นหน้ าก็ร้ ูความแตกต่าง

ภาพประกอบ 78 แสดงคาแร็คเตอร์ ท่ ีแตกต่ างของตัวละครในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.gangtoon.com/data/6/0016-1.html#.UDNA76Dlbbo
240

เด็กผมชี ้ หนุม่ หล่อ ชายสามตา คนแก่ สาวสวย หมู แมวน้ อย เต่า ผีจีน ภาพ
ข้ างต้ นคงเป็ นตัวแทนความหลากหลายของตัวละครในดราก้ อนบอลได้ อย่างดี เพราะนี่คือกลุม่
ตัวละครเอก (ฝ่ ายดี) ของดราก้ อนบอลในภาคแรกที่ให้ ความต่างของบุคลิกภายนอกทัง้ ขนาด
รูปร่าง เพศ วัย เผ่าพันธุ์ของตัวละคร (คน สัตว์ ปี ศาจซึง่ แท้ จริงไม่ใช่ปีศาจแต่ดเู หมือนปี ศาจ)
แต่แม้ ตวั ละครจะแตกต่างก็ยงั มีจดุ ร่วมกันที่ทาให้ เมื่อคนอ่านเห็นตัวละครก็รับรู้
ได้ ทนั ทีวา่ นี่คือฝ่ ายดี เพราะทุกตัวละครมีดวงตากลม แววตาใสซื่อ และดูอารมณ์ดีกนั ทุกคน ซึง่ ก็
เป็ นการออกแบบตัวละครที่สะท้ อนแนวเรื่ องผจญภัย และตลกได้ เป็ นอย่างดี นอกจากนี ้ยังเป็ น
การออกแบบกลุม่ ตัวละครที่สอดคล้ องกับวัยของตัวเอกอย่างโงคูที่ยงั เป็ นเด็ก (เป็ นเด็กช่วงปลาย
และกาลังข้ ามผ่านไปสู่วยั รุ่นตอนต้ น) เป็ นวัยที่เปี่ ยมความฝั น ไม่ผนั ผ่านเหตุการณ์เลวร้ ายซึง่ ก็ได้
สะท้ อนผ่านสีหน้ า และแววตาที่ดสู นุกสนาน
“ตัวละครในดราก้อนบอลสะท้อนความเป็ นนักออกแบบคาแร็ คเตอร์ ทีด่ ีของ
อาจารย์ โทริ ยาม่า เพราะแค่เห็นดี ไซน์ภายนอกตัวละคร เราก็เข้าใจนิ สยั ใจคอโดยไม่ต้องเห็นข้อมูล
โพรไฟล์ (profile) การกระทา มันเลยเป็ นตัวละครที ถ่ ูกเขี ยนให้มีชีวิตโดยแทบไม่ตอ้ งสร้าง
สถานการณ์ มากมาย เพราะตัวละครเหล่านีม้ นั เล่นได้ด้วยตัวมันเอง” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล,
สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)
และแม้ ยคุ หลังตัวละครจะเริ่ มไม่ได้ ผจญภัย และต่อสู้เพื่อความสนุกของตนเอง
แต่มีภาระอันยิ่งใหญ่คือการปกป้องโลกลายเส้ นของตัวละครจึงเปลี่ยนไป รูปร่างเปลี่ยนเป็ นตัว
ใหญ่ กล้ ามเป็ นมัดๆ ซึง่ ก็สอดคล้ องกับท้ องเรื่ องและแนวเรื่ องที่เปลี่ยนจากผจญภัย สนุกสนานมา
เป็ นการต่อสู้ที่จริงจัง เสียเลือดเสียเนื ้อมากขึ ้น
- สร้ างสีสนั ให้ ตวั ละครพระเอกผ่านร่างแปลง
นอกจากผู้อา่ นจะได้ เห็นซุน โงคูในร่างเด็ก และร่างหนุม่ หล่อแล้ ว ตัวละคร
พระเอกยังสร้ างแรงดึงดูดจากผู้อา่ นผ่านการออกแบบตัวละครให้ สามารถ “แปลงร่างได้ ” แต่
ผู้เขียนก็ฉลาดในการเลือกจะออกแบบให้ ปลอดภัยไว้ ก่อน โดยไม่สร้ างให้ ตวั ละครมีร่างเป็ นตัว
ประหลาด ผู้หญิง หรื อปี ศาจที่อาจเสี่ยงต่อภาพความเป็ น “พระเอก” ดังนันร่
้ างแปลงของโงคู
ซึง่ เรี ยกว่า “ซูเปอร์ ไซย่า” ที่ทาให้ เขาเพิ่มพลังขึ ้นยามเมื่อแปลงร่างจึงเป็ นการเปลี่ยนสี-ความยาว
ของผม (ทรงเดิมที่คงเอกลักษณ์ชี ้แหลม) จากสีดาเป็ นสีส้มทอง พร้ อมกับใส่แววตาที่จริงจัง และ
ดุดนั มากขึ ้น
“การเพิ่มพลังให้พระเอกด้วยการเปลีย่ นสีผม มันเป็ นวิ ธีง่ายๆ เหมื อนไม่คิดมาก
241

แต่กลับใช้ได้ผลดี และคนอ่านรับรู้ได้ว่าตัวละครเก่งขึ้นจริ งๆ” (สุทธิชาติ ศราภัยวานิช, สัมภาษณ์,


20 กันยายน 2554)

ภาพประกอบ 79 ภาพการแปลงร่ างของโงคู ตัวเอกในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=145513

- บุคลิกภายนอกแจ่มชัดแต่มองไม่เห็นบุคลิกภายใน
แต่แม้ ความแตกต่างของกลุ่มตัวละครเอกในดราก้ อนบอลจะสะท้ อนผ่าน ขนาด
รูปร่าง และเผ่าพันธุ์อย่างเด่นชัด ผู้อ่านกลับมองไม่เห็นความแตกต่างด้ าน “ความคิด” หรื อ
“เป้าหมาย” ของตัวละคร ในขณะที่กลุม่ ตัวละครเอกในวันพีซทุกคนมีความฝั นลึกๆ ของตัวเองแจ่ม
ชัด (นอกเหนือจากการผจญภัยตามหาวันพีซตามที่กล่าวไปแล้ วในความแตกต่างของตัวละครวัน
พีซ) ส่วนในนินจาคาถาฯ เองก็ใส่ความฝั นของตัวเอกและทีมของตัวเอกให้ ผ้ อู า่ นได้ เห็นกัน
พอสมควร แต่กลุม่ ตัวละครเอกในดราก้ อนบอลกลับร่วมต่อสู้กบั พระเอกอย่างโงคูเพื่อปกป้อง
โลกเพียงประการเดียว โดยโทริยาม่า อากิระไม่ได้ ใส่ความฝั น หรื อเป้าหมายให้ ตวั ละครมีแรงจูงใจ
อื่นลึกๆ ในใจให้ กบั กลุม่ ตัวละครเอกเลย รวมทังไม่ ้ เผยให้ เห็นอดีตที่ต้องผันผ่านความเจ็บปวด
ความสูญเสียของตัวละครเหมือนเช่นกลุม่ ตัวเอกในวันพีซ และนินจาคาถา ดังนันตั
้ วละคร
เอกในดราก้ อนบอลจึงเรี ยกได้ วา่ เป็ นตัวละครประเภท “ไม่คอ่ ยคิดมาก” ซึง่ ก็ทาให้ เรื่ องราวเป็ น
เส้ นตรง ไม่ซบั ซ้ อน และเหมาะสมกับกลุม่ ผู้อา่ นที่เป็ นเด็ก แต่ขณะเดียวกันตัวละครเหล่านี ้ย่อม
ไม่สามารถทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกเอาใจช่วยได้ มากเท่ากับตัวละครที่มีเป้าหมายหรื อแรงจูงใจภายในที่
กระจ่างชัด และย่อมไม่ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกยืนข้ างเดียวกับพวกเขาได้ มากเท่ากับตัวละครที่เคย
เจ็บปวดและสูญเสียสมเป็ นตัวละครที่มีเลือดเนื ้อ
242

3.3.2 ความแตกต่างของตัวละครอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตวั เอก (ตัวร้ าย ตัวประกอบ ตัว


ละครหญิง)
- ตัวละครร้ ายกลายร่างหลากอารมณ์
รูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครฝ่ ายร้ ายในดราก้ อนบอล มีความหลากหลาย
อย่างมาก เพราะด้ วยจานวนของตัวร้ ายที่สบั เปลี่ยนหมุนเวียนกันอยู่ตลอด ทาให้ การออกแบบตัว
ละครจึงมีทงรู ั ้ ปลักษณ์ที่เป็ นทังปี
้ ศาจ เหมือนคนธรรมดา หรื อจอมมารขี ้เล่น ซึง่ ตัวละครที่
ออกแบบได้ นา่ สนใจมีดงั นี ้
ราชาปี ศาจพิคโกโร่ : แค่ เห็นหน้ าก็ร้ ู ว่าเป็ นปี ศาจ
ปี ศาจเผ่าอสูรที่มาจากนอกโลก (ดาวนาเม็ก) ซึง่ หลังจากตายแล้ วเกิดใหม่ (และ
ปรากฏตัวในรูปลักษณ์แบบเดิม) ก็หนั มาเข้ าร่วมปกป้องโลกกับโงคู อาจเรี ยกได้ วา่ ตัวละคร
จอมมารตัวนี ้เป็ น “ผู้ร้าย” คนแรกของดราก้ อนบอล (หลังจากก่อนหน้ านี ้ตัวละครฝ่ ายร้ ายไม่ได้ ร้าย
มากนักเพียงแค่ขดั ขวางการกระทาของพระเอกอย่างปิ ลาฟ หรื อกองทัพเร้ ดริบบ้ อน)
สิ่งที่นา่ จดจาของพิคโกโร่ก็คือรูปร่างที่กายาสีเขียวมีเส้ นเลือดปูดโปนอยูเ่ ต็มตัว
ซึง่ บ่งบอกถึง “ความเป็ นปี ศาจ” อย่างชัดเจนตังแต่ ้ แรกเห็น ใบหน้ านิ่งเฉยแสดงความสุขมุ
ขณะเดียวกันการวาดกรอบของตาให้ เฉียงขึ ้นเล็กน้ อยก็แสดงความมุง่ มัน่ ของตัวละครได้ ดี และที่
สาคัญก็คือการ “กลับใจ” ของพิคโกโร่มาเข้ าร่วมกับโงคูในภายหลังทาให้ ผ้ อู ่านได้ เห็น “ปี ศาจตัว
เขียวเส้ นเลือดปูดโปน” รายนี ้อยู่ตลอดเวลา ทาให้ เกิดภาพแปลกตาเมื่อเกิดการรวมกลุม่ กันของ
ตัวละครฝ่ ายพระเอก เพราะผู้อา่ นส่วนใหญ่มกั คุ้นชินกับตัวละครฝ่ ายดีที่ลายเส้ นเรี ยบง่ าย สะอาด
ตา ไม่เน้ นการออกแบบมากเท่ากับตัวละครผู้ร้าย ดังนันภาพการเข้ ้ าร่วมกลุม่ ฝ่ ายดีของพิคโกโร่
จึงมีความ “ขัดแย้ ง” กันในตัวเอง (ตัวละครไม่กลืนกันไปหมด) ทาให้ เกิดภาพที่นา่ จดจาขึ ้นได้
ฟรีเซอร์ : ร่ างแปลงแสนเซอร์ ไพรส์
อาจเรี ยกได้ วา่ โทริยาม่า อากิระได้ สร้ างแบบแผนของการ์ ตนู แนวต่อสู้ไว้ หลาย
ประการ ซึง่ ก็รวมถึงแบบแผนของการสร้ างตัวละครที่สามารถ “แปลงร่าง” เพื่อเพิ่มพลังในขณะ
ต่อสู้ให้ มีขีดความสามารถสูงขึ ้นได้ เพราะหลายๆ ตัวละครในดราก้ อนบอล ทังฝ่้ ายดี ฝ่ ายร้ ายต่าง
ก็สามารถปรับแต่งร่างกาย เพื่อเพิ่มพลังในการต่อสู้ได้ เสมอ เหมือนเช่นที่โงคูสามารถเพิ่มพลังด้ วย
ความโกรธเพื่อกลายเป็ นร่างแปลงที่มีความสามารถไร้ ขีดจากัดในร่างของ “ซูเปอร์ ไซย่า” ผ่านทรง
ผมสีทองจนเกือบขาว ส่วนฝ่ ายตัวร้ ายที่มีร่างแปลงน่าสนใจอย่างมากนันก็ ้ คงหนีไม่พ้น ฟรีเซอร์
ฟรีเซอร์ เป็ นศัตรูที่แข็งแกร่งที่ต้องการยึดครองโลกและสามารถแปลงร่างเพื่อเพิ่ม
พลังได้ เช่นเดียวกับพระเอกอย่างโงคู ซึง่ ลักษณะของฟรี เซอร์ ก็มีความคล้ ายคลึงกับพิคโกโร่ ตรง
รูปทรงของหัวที่โล้ นเลี่ยน และแววตาที่แฝงความก้ าวแกร่ง แต่ความน่าสนใจของฟรี เซอร์ คือการที่
243

ตัวละครตัวนี ้สามารถเปลี่ยนร่างได้ หลายระดับ (3 ขัน้ และหากรวมร่าง 100 เปอร์ เซ็นต์ก็จะเป็ น 4


ขัน)้ และร่างในระดับที่มีพลังสูงกว่ากลับกลายเป็ นตัวละครที่มีขนาดเล็กกว่าร่างที่มีพลังต่ากว่า
ซึง่ ถือว่าสร้ างความคาดไม่ถึงให้ กบั ผู้อ่านอย่างมาก เพราะคอการ์ ตนู ญี่ปนมั ุ่ กคุ้นชินกับขนบของ
การสร้ างตัวละครผู้ร้ายที่ยิ่งเก่งหรื อมีพลังมากก็มกั แสดงออกผ่านรูปลักษณ์ที่มีขนาดใหญ่ และมี
ลายเส้ น รูปทรงของตัวละครที่ซบั ซ้ อนมากกว่านัน่ เอง

ภาพประกอบ 80 พิคโกโร่ และฟรีเซอร์ ตัวละครร้ ายในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://club.yenta4.com/ และ http://dragonball.wikia.com/wiki/Frieza

นอกจากนี ้ยังมีจอมมารบู ที่แม้ รับบทบาทเป็ นมารร้ ายแต่กลับมีรูปร่างตุ้ยนุ้ย


น่ารักซึง่ ขัดกับภาพความเป็ นผู้ร้าย (ตามที่ได้ กล่าวโดยละเอียดแล้ วในหัวข้ อความพิเศษของตัว
ละคร) ซึง่ ก็ทาให้ ตวั ละครผู้ร้ายในดราก้ อนบอลนันมี ้ ความหลากหลายในด้ านรูปลักษณ์ภายนอก
อย่างมาก
- ตัวละครฮีโร่ปลอม ตัวตลกประจาเรื่ อง
การสร้ างตัวละครประกอบให้ นา่ จดจานันไม่ ้ ใช่เรื่ องง่ายๆ แต่โทริยาม่า อากิระ
สามารถทาได้ ด้วยการสร้ างตัวละคร “มิสเตอร์ ซาตาน” มิสเตอร์ ซาตานเป็ นมนุษย์โลก
ธรรมดาๆ รูปลักษณ์ภายนอกนันเรี ้ ยกได้ วา่ เป็ นหนุม่ ใหญ่ที่คอ่ นไปทางขี ้เหร่ ด้ วยทรงผมหยิกฟู
หัวเถิก ไว้ หนวดยาว นิสยั ขี ้โอ่ เขาสร้ างการจดจาให้ เกิดขึ ้นหลัง จากเข้ าแข่งขันชิงศึกเจ้ ายุทธภพ
แล้ วสามารถครองแชมป์ได้ ถึง 5 ครัง้ และทัง้ 5 ครัง้ ก็เป็ นการคว้ าแชมป์ด้ วยโชคชะตา ไม่ได้ เกิด
จากฝี มือใดใดทังสิ้ ้น เช่นในการคว้ าแชมป์ของการแข่งขันครัง้ ที่ 25 มิสเตอร์ ซาตานเอาชนะมนุษย์
244

ดัดแปลงหมายเลข 18 ได้ ด้วยการยัดเงินใต้ โต๊ ะก้ อนโตให้ เกิดการล้ มมวยขึ ้น หรื อในการแข่งขัน
ครัง้ ที่ 26 เขาก็เอาชนะจอมมารบูได้ เพราะจอมมารบูยอมทาตามมิสเตอร์ ซาตานเพื่อมิตรภาพที่มี
ให้ กนั ดังนันจากชั
้ ยชนะในศึกประลองยุทธ์เขาจึงโด่งดังไปทัว่ โลกในฐานะมนุษย์ที่แข็งแกร่ง
ที่สดุ ทาให้ เมื่อถึงยามที่คนทังโลกต้
้ องการให้ มิสเตอร์ ซาตานออกมาปกป้องจากฝี มือของเซลที่
กาลังทาลายล้ างโลก (ซึง่ คนอ่านคิดว่าคราวนี ้สิเจอของจริง) แต่เขาก็ยงั โชคช่วย เพราะท้ ายที่สดุ ก็
เป็ นกลุม่ ของโงคูที่โค่นเซลได้ แต่มิสเตอร์ ซาตานกลับเหมาเอาความดีความชอบจนกลายเป็ นฮีโร่
ตลอดกาลของโลกไปเสียแล้ ว
ตัวละครที่ไม่ใช่ทงคนดี
ั้ และไม่ใช่ทงคนร้
ั ้ าย แต่โชคชะตาเล่นตลกเช่นนี ้จึงเป็ นตัว
ละครที่คนอ่านรู้สกึ ผูกพันได้ ง่าย เพราะเขามี “ความลับ” ระหว่างผู้อา่ นกับตัวละครที่ทกุ คนในเรื่ อง
ไม่ร้ ู(ความลับที่ผ้ อู า่ นรู้ถึงความอ่อนแอของเขาไว้ ภายใต้ สถานะความเป็ นฮีโร่) ซึ่งก็เป็ นแนว
ทางการสร้ างตัวละครประกอบให้ นา่ จดจาเหมือนเช่นตัวตลกบากี ้ในวันพีซ จนอาจเรี ยกได้ ว่าตัว
ละครแบบมิสเตอร์ ซาตาน และตัวตลกบากี ้แม้ อาจไม่สาคัญกับเนื ้อเรื่ องหลัก แต่เขาเป็ น “ตัวละคร
ของคนดู”
“ตัวละครของคนดูอาจไม่จาเป็ นกับเรื ่อง แต่ออกมาเมื ่อไหร่ ก็ตามคนดูจะชอบ และจดจา
ได้” (ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล, สัมภาษณ์, 7 กันยายน 2554)

ภาพประกอบ 81 มิสเตอร์ ซาตาน ตัวประกอบที่น่าจดจาในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A12423081/A12423081.html
245

- ตัวละครหญิงเก่งแท้ จริงเป็ นได้ แค่แม่ศรี เรื อน


เรี ยกได้ ว่าตัวละครหญิงในเรื่ องนี ้ ไร้ บทบาทสาคัญโดยสิ ้นเชิง แม้ เราจะเห็นภาพ
ตัวละครหญิงในดราก้ อนบอลอยูบ่ ้ างในช่วงภาคแรก แต่ตวั ละครเหล่านันก็ ้ ปรากฏตัวเพียงชัว่ ครู่ชวั่
ยาม ไม่ได้ มีบทบาทในการต่อสู้เหมือนตัวละครชาย เช่นจีจี ้ สาวน้ อยน่ารักลูกสาวของราชา
ปี ศาจวัวที่เคยเข้ าแข่งขันศึกชิงเจ้ ายุทธภพและภายหลังก็แต่งงานมีลกู กับโงคู ซึง่ เราได้ เห็นการ
ปรากฏตัวของจีจี ้เพียง 3-4 ครัง้ เท่านัน้ ส่วนบลูม่า สาวสวยแต่บ้าผู้ชายที่ดจู ะเป็ นหญิงเก่ง
ที่สดุ จากความถนัดเรื่ องเครื่ องจักรกล สามารถประดิษฐ์ คดิ ค้ นพาหนะในการเดินทางแปลกใหม่ได้
อยูเ่ สมอ และเป็ นคนจุดประกายให้ โงคูออกเดินทางค้ นหาดราก้ อนบอลด้ วยกัน แต่
ภายหลังบลูมา่ ก็ได้ มาอยู่กินกับเบจิต้า ชาวไซย่าที่เคยเป็ นคูแ่ ค้ นกับโงคูชนิดที่เรี ยกได้ วา่ ไร้ มลู เหตุ
แห่งความรักและการแต่งงานครัง้ นี ้โดยสิ ้นเชิง (เพราะเรื่ องราวไม่ได้ ปทู างเอาไว้ เลยว่าสองคนนี ้จะ
รักกันได้ ตอนไหน และไม่มีฉากเหตุการณ์ความรักของทังคู ้ ด่ ้ วย) และมีลกู ชายด้ วยกัน
ขณะที่ตวั ละครหญิงฝ่ ายร้ ายอย่างมนุษย์ ดัดแปลงหมายเลข 18 สาวผมบ็อบสีทอง บุคลิกมาด
มัน่ ก็เป็ นตัวละครร้ ายที่เป็ นผู้หญิงคนเดียวที่แข็งแกร่งไม่แพ้ ผ้ ชู าย และท้ ายที่สดุ เธอก็ละทิ ้งฝี มือ
และบทบาทด้ านการต่อสู้ หลังจากกลายมาเป็ นภรรยาของคุริลิน (เพื่อนสนิทของโงคู) และมีลกู
สาวด้ วยกัน 1 คน

ภาพประกอบ 82 ตัวละครหญิงในดราก้ อนบอล จีจี ้ บลูม่า และมนุษย์ ดัดแปลงหมายเลข 18


ที่มา: http://www.rcthai.net/webboard/viewtopic.php?t=551682&p=7477361
http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2230989
http://dbfever.exteen.com/category/Episode

อาจกล่าวได้ วา่ ตัวละครหญิงที่โดดเด่นในเรื่ องนี ้ ไม่ได้ มีบทบาทด้ านการต่อสู้


ทัดเทียมผู้ชาย หรื อแม้ จะมีตวั ละครมนุษย์ดดั แปลงหมายเลข 18 ที่ฝีมือเชิงยุทธ์ยอดเยี่ยมแต่นนั่ ก็
เกิดจากการที่เธอเป็ นหุน่ ยนต์ ไม่ใช่มนุษย์จริงๆ และชะตากรรมของหญิงสาวที่เคยมีบทบาททัง้
246

สามก็ถกู ลดทอนลงในภายหลัง จากการรับบทบาทใหม่นนั่ คือการเป็ น “เมีย” และ “แม่” ของลูกๆ


นัน่ เอง ซึง่ การสร้ างตัวละครหญิงของอากิระในเรื่ องนี ้จึงสะท้ อนถึงการให้ คณ ุ ค่าด้ านสถานะของ
ผู้หญิงได้ เป็ นอย่างดีวา่ ท้ ายที่สดุ แล้ วแม้ ผ้ หู ญิงจะเก่งหรื อแกร่งอย่างไร ก็ต้องมาสิ ้นฤทธิ์กบั บทบาท
การเป็ นภรรยาและแม่ของลูกอยูว่ นั ยังค่า
3.4 ทเวนตีฯ้
3.4.1 ความแตกต่างด้ านรูปลักษณ์ภายนอกของกลุม่ ตัวละครเอก
แม้ ในทเวนตี ้ฯ จะสร้ างฉากเหตุการณ์ให้ เกิดบนโลกมนุษย์ขึ ้นจริง แต่ตวั ละคร
กลับแตกต่างกันอย่างมากโดยไม่ต้องพึง่ สัตว์ประหลาด หรื อของวิเศษที่เป็ นตัวช่วยเสริมความต่าง
ให้ กบั บุคลิกภายนอกของตัวละครเลย โดยความแตกต่างของตัวละครในทเวนตี ้ฯ นันอาศั ้ ยสิ่ง
ต่อไปนี ้
- ขนาด และรูปร่าง
เมื่อจับตัวละครขบวนการกู้โลกของพระเอกอย่างเคนจิยืนเรี ยงกันจะพบว่าตัว
ละครมีความเฉพาะตัวสูงมากในแง่การออกแบบขนาด รูปร่างให้ มีความสูงต่า และอ้ วนผอมที่
ต่างกันชัดเจน โดยตัวเอกอย่างเคนจิ มีความสูงปานกลาง รูปร่างสันทัดที่สดุ ส่วนโอตโจะ ชาย
หนุม่ ผู้แข็งแกร่งที่สดุ ในกลุม่ ก็รูปร่างสูงใหญ่ บึกบึนกว่าทุกคน อีกทังยั ้ งมีตวั ละครอ้ วนที่สดุ อย่าง
มารุโอะ ตัวเตี ้ยที่สดุ อย่างโยชิสึเนะและผู้หญิงเพียงหนึง่ เดียวของขบวนการ ที่แน่นอนว่าต้ อง
หน้ าตาดี (แต่ไม่ถึงขันนางงาม)
้ อย่าง ยูคิจิ

ภาพประกอบ 83 แสดงขนาด-รู ปร่ างตัวละครในทเวนตีฯ้ (เคนจิคนกลาง)


ที่มา: http://rcw.ms/forum/showthread.php/541278-20th-Century-Boys-
247

- รูปทรงของอวัยวะบนใบหน้ า และทรงผม
นอกจากความสูงต่า อ้ วนผอมแล้ ว นาโอกิ อุราซาว่ายังสร้ างความต่างภายนอก
ให้ กลุม่ ตัวละครเอกได้ ง่ายๆ ด้ วยรูปทรงของใบหน้ า และทรงผม เช่นเคนจิรูปหน้ าค่อนข้ างเรี ยว
ยาวสมส่วน ผมสันด ้ า ตามแบบฉบับตัวเอกในการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่ ส่วนโอตโจะรูปหน้ า
ค่อนข้ างเหลี่ยมกว้ างแสดงถึงความหนักแน่น และผมยาวสีสว่างแสดงถึงอิสระ นอกคอกสมกับ
เป็ นมาเฟี ย มารุ โอะหน้ าอ้ วน แก้ มเยอะดันลูกนัยน์ตาจนแทบมองไม่เห็นดวงตา
และการออกแบบที่นา่ สนใจอย่างมากก็คือ “เส้ นขีดของดวงตา และคิ ้ว” ที่มีความ
ขัดแย้ ง (contrast) กันในตัวอย่างเช่นการวาดหนังตาตก แต่คิ ้วชี ้ขึ ้น ซึง่ ก็สร้ างความรู้สกึ เศร้ าให้ กบั
ตัวละครได้ อย่างเหลือเชื่อ เหมือนเช่นตัวละครอย่างโยชิสึเนะ ที่หางตาตก ซึง่ เมื่อผสมผสานกับ
ท่าทางคอตก ไหล่หอ่ ก็ยิ่งทาให้ เขาดูเหมือนชายขี ้อาย ขาดความมัน่ ใจ และไร้ ซึ่งพิษสงใด หรื อ
รูปตาและคิ ้วที่เฉียงขึ ้นของเคนจิก็ชว่ ยทาให้ เขาดูเป็ นคนจริงจัง ไม่ยอมอ่อนข้ อให้ ใครง่ายๆ ได้
เหมือนกัน ซึง่ การออกแบบเส้ นของดวงตา และคิ ้วนี ้เองที่เป็ นจุดเด่นในการออกแบบตัวละครของ
อุราซาว่า ที่เรี ยกว่าเป็ นการออกแบบ “น้ อยได้ มาก” เพราะสามารถสะท้ อนนิสยั ใจคอภายในตัว
ละครได้ ดีกว่าการกระทาด้ วยซ ้าไป
“ผมชอบวิ ธีทีเ่ ขาวาดหางคิ้ ว หางตาตัวละคร เขาเก็บรายละเอียดอากัปกิ ริยาของ
ตัวละครได้ดีมากทัง้ แววตา และสีหน้า ทุกช่องมันเล่าด้วยอาการ สีหน้า และแววตา ทาให้รู้สึกมัน
มี มิติ มี ชีวิต มันทาให้คนอ่านไม่ผลีผลามตัดสิ นตัวละคร” (เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์, สัมภาษณ์, 13
กันยายน 2554)

ภาพประกอบ 84 แสดงวิธีการวาดคิว้ หางตาตัวละครในทเวนตีฯ้


ที่มา: http://20thcenturyboys.wikia.com/wiki/Special:NewFiles
248

แต่แม้ ภายนอกจะดูตา่ ง แต่นิสยั ใจคอภายในก็ไม่ได้ แตกต่างกันมากนัก เพราะ


ตัวละครที่เป็ นขบวนการกู้โลกคือกลุม่ เพื่อนที่เป็ นตัวแทนของคนจริงในสังคมปั จจุบนั ที่มีจดุ ร่วมคือ
“ความเป็ นคนธรรมดา” ที่เมื่อหลุดพ้ นจากวัยฝั นในวัยเยาว์ ก็กลับกลายเป็ นผู้ใหญ่ที่ถกู ระบบ
สังคมหยิบยื่นภาระหนักหน่วงให้ แบกรับจนไร้ สิ ้นความฝั น ตัวละครเอกเหล่านี ้จึงมีความเงียบ
ขรึม จริงจัง ใช้ ชีวิตซ ้าเดิม ไม่กล้ าฉีกตัวเองออกจากกรอบสังคมตามแบบฉบับผู้ใหญ่วยั ทางานที่
พบเห็นกันได้ ทวั่ ไป
ขณะที่ฝั่งขบวนการกู้โลกของเคนจิเต็มไปด้ วยความหลากหลายในการสร้ าง
บุคลิกภายนอกให้ กบั ตัวละคร แต่ฝั่งตัวร้ ายกลับไม่ได้ มีความแตกต่างกันมากนัก เพราะผู้เขียนให้
ความสาคัญกับบทบาทของ “เพื่อน” เป็ นหลัก (ซึง่ ได้ กล่าวถึงความเด่นในการสร้ างบุคลิกตัว
ละครให้ ลกึ ลับผ่านหน้ ากากไปแล้ วในหัวข้ อความพิเศษของตัวละคร) ดังนันจึ ้ งมีตวั ละครสาคัญ
เพียงหนึง่ เดียวที่เป็ นมือขวาให้ กบั “เพื่อน” นัน่ คือ
ชัค มันโจเมะ ชายวัยกลางคนผู้มีใบหน้ าเหลี่ยม คิ ้วตก แววตากร้ านโลก และมี
รูปลักษณ์ภายนอกที่สะดุดตาจากศีรษะที่ล้านไปครึ่งหัวแต่ไว้ ผมยาวทังๆ ้ ที่เป็ นนักการเมือง
ส่วนตัวละครที่มีบทเด่นที่สดุ อีกคนหนึง่ ก็คือ “พระเจ้ า”
แม้ “พระเจ้ า” จะไม่ใช่ทงกลุ
ั ้ ม่ ฮีโร่ก้ โู ลกฝั่ งพระเอก หรื อจอมวายร้ ายฝั่ ง “เพื่อน”
แถมยังเป็ นเพียงชายแก่จรจัดธรรมดาๆ คนหนึง่ แต่ “พระเจ้ า” กลับเป็ นตัวประกอบผู้มีบทสาคัญ
ในการ “บอกร่องรอย” (clue) สาคัญของเรื่ อง ขณะเดียวกันก็กระตุ้นความสงสัยจากผู้อา่ นด้ วย
ความสามารถพิเศษของเขานัน่ คือการเป็ นผู้มีพลังจิต หรื อญาณวิเศษ ที่ร้ ูเห็นเหตุการณ์ได้ ลว่ งหน้ า
แต่ผ้ เู ขียนก็มีชนเชิ
ั ้ งมากพอที่จะไม่ทาให้ ตวั ละครตัวนี ้บอกอนาคตของเหตุการณ์แบบตรงไปตรงมา
เพราะ “พระเจ้ า” จะทานายเหตุการณ์แบบหว่านแห และคลุมเครื อเสมอเช่น “ข้ าฝั นเห็นโลกจะถึง
คราวดับสูญ” เป็ นต้ น

ภาพประกอบ 85 ตัวละครพระเจ้ าในทเวนตีฯ้


ที่มา: http://20thcenturyboys.wikia.com/wiki/Special:NewFiles
249

นอกจากนี ้ยังมีตวั ประกอบที่เรี ยกว่าเป็ นแนวร่วมของขบวนการเคนจิอีกมากที่


แตกต่างหลากหลายในด้ านรูปลักษณ์ของตัวละคร เพราะนอกจากคนแก่อย่างพระเจ้ า ก็ยงั มีเด็ก
สาวอย่างซานาเอะ หรื อตัวละครอย่าง ลูเซียโน่ อดีตยากูซา่ ที่ผนั ตัวเองมาเป็ นบาทหลวงจนทา
ให้ เกิดภาพแปลกตาของ “บาทหลวงผู้มีรอยสักเต็มตัว” รวมทังตั
้ วละครเพศที่ 3 อย่างมาไรห์
ซึง่ ตัวละครประกอบเหล่านี ้ก็ตา่ งมีบทสาคัญที่ช่วยเสริมความยิ่งใหญ่ของขบวนการต่อต้ าน
“เพื่อน” ทังสิ้ ้น
3.4.2 ตัวละครสองวัยสร้ างความแตกต่างในตัวคนเดียว
การคลี่คลายปมสาคัญของการ์ ตนู เรื่ องนี ้อยูท่ ี่การทาความเข้ าใจความสัมพันธ์
ระหว่างเคนจิและ “เพื่อน” ในช่วงเยาว์วยั ดังนันผู ้ ้ อา่ นจึงได้ เห็นตัวละครเอกมี “สองวัย” ในเรื่ อง
เดียวคือ เด็กชายวัยประถม และหนุม่ ใหญ่วยั ทางาน ซึ่งผู้เขียนได้ สร้ างความแตกต่างระหว่างตัว
ละครสองวัยให้ เกิดขึ ้นอย่างน่าสนใจ เพราะตัวละครที่ดจู ะมีอนาคตในวัยเด็กเช่นพระเอกอย่าง
เคนจิ ซึง่ มีความเป็ นผู้นา กล้ าหาญ เป็ นที่รักของเพื่อน กลับมีชะตาชีวิตในยามเติบโตที่กลับ
ตาลปั ตรเพราะกลายเป็ นชายหนุม่ ที่ไร้ ทงเกี ั ้ ยรติยศ ทรัพย์สินเงินทอง หรื อกระทัง่ ความฝั น เพราะ
ต้ องทนทางานเป็ นลูกมือแม่ในร้ านขายของชาไปวันวัน เช่นเดียวกับโอตโจะ เด็กเรี ยนเก่ง จบ
การศึกษาดี ได้ งานในตาแหน่งสูงที่หลายคนใฝ่ ฝั นแต่ชะตาชีวิตก็เล่นตลกทาให้ เขาสูญเสียลูกชาย
จนเสียผู้เสียคนและกลายสภาพจากหนุม่ อนาคตไกลไปเป็ นมาเฟี ยต็อกต๋อยที่ประเทศไทยแทน
ในขณะที่เด็กแฝดอ้ วนจอมเกเรอย่างยัมโบ มาโบ ผู้ตงตนเป็ ั้ นมาเฟี ยเด็ก เพราะ
ชอบแกล้ ง และทาร้ ายทังคนและสั้ ตว์ที่ออ่ นแอกว่าอยูเ่ สมอ กลับได้ ดิบได้ ดีเป็ นนักธุรกิจที่ร่ ารวย
เช่นเดียวกับ “เพื่อน” หรื อฟุคุเบ ที่ไม่คอ่ ยมีใครคบหาสมาคมด้ วย เพราะเป็ นพวกเย่อหยิ่งใน
ตัวเอง ดูถกู ผู้อื่น แต่ก็ต้องการเป็ นที่รักของเพื่อนๆ (เหมือนที่เคนจิเป็ น) กลับเติบโตมาเป็ นชายผู้มี
พลังในการหว่านล้ อมจิตใจผู้อื่นจนเกือบจะยึดครองโลกได้ อย่างเหลือเชื่อ
การสร้ างความขัดแย้ ง แตกต่างระหว่างวัยเด็ก และวัยผู้ใหญ่ในตัวคนคนเดียว
เช่นนี ้นี่เองที่ทาให้ ตวั ละครน่าจดจา เพราะด้ วยความผูกพันของผู้อา่ นที่มีตอ่ ตัวละครในวัยเด็กที่
สร้ างความคาดหวังไปต่างๆ นานา (ว่าเคนจิต้องเป็ นศิลปิ น หรื อยัมโบมาโบต้ องโตมาเป็ น
อันธพาลไม่ใช่ใส่สทู ผูกไทเป็ นนักธุรกิจแน่ๆ) แต่ผ้ เู ขียนกลับดับความหวังเหล่านันด้ ้ วยการใส่ชะตา
ชีวิตจริงที่แสน “พลิกผัน” ซึง่ ย่อมทาให้ ผ้ อู า่ นเกิดความรู้สึกคาดไม่ถึง ขณะเดียวกันการเติบโตของ
ตัวละครเหล่านี ้ก็ช่วยตอกย ้าสัจธรรมในโลกแห่งความเป็ นจริงได้ เป็ นอย่างดีวา่ “ชีวิตคนเราไม่มี
อะไรเที่ยงแท้ แน่นอน”
250

3.5 ยอดนักสืบจิ๋วฯ
3.5.1 ความแตกต่างของรูปลักษณ์ภายนอกกลุม่ ตัวละครฝ่ ายดี
ด้ วยแนวเรื่ องที่เป็ นการสืบสวนสอบสวนทาให้ ไม่อาจสร้ างตัวละครที่มีขนาด
รูปร่างผิดเพี ้ยนไปจากการรับรู้ของผู้อา่ นมากนัก ภาพรวมของตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วจึงดูสมกับ
เป็ นมนุษย์ธรรมดาๆ คนหนึง่ แต่ในการออกแบบคนธรรมดาๆ ก็ทาให้ ตวั ละครในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ดู
แตกต่างได้ ด้วยการสร้ างตัวเอกสองรุ่นในร่างเดียว
เพราะพระเอกคือคุโด้ ชินอิจิ นักสืบหนุม่ มัธยมปลายไฟแรง ที่ร่างหดเล็กลงเป็ น
เด็กประถม จึงทาให้ เกิดตัวละครรายรอบตัวเอกที่มีหลากหลายวัยเพื่อเพิ่มสีสนั ให้ กบั เรื่ องและเพื่อ
ขยายฐานผู้อา่ นในวงกว้ าง นัน่ คือมีทงตั ั ้ วละครกลุม่ เด็กประถมอย่าง “ขบวนการนักสืบเยาวชน”
ที่ใช้ สตู รเดียวกับตัวละครในการ์ ตนู อมตะอย่างโดราเอมอน ซึง่ ประกอบด้ วยโคนัน (พระเอก) เด็ก
น้ อยหน้ าตาดีใส่แว่นเพื่อแสดงถึงความเป็ นเด็กฉลาด คงแก่เรี ยน (คล้ ายโนบีตะ) โยชิดะ อายูมิ
เด็กผู้หญิงคนเดียวในกลุม่ ที่หน้ าตาน่ารัก ค่อนข้ างฉลาด และแอบชอบโคนัน (คล้ ายชิซูกะ) ซึบุรา
ยะ มิซึฮโิ กะ เด็กเรี ยนตัวผอม หน้ าแหลม จอมหลักการ เจ้ าเหตุผล และแอบชอบอายูมิ (คล้ าย
ซูเนโอะ) โคจิมะ เกนตะ เด็กอ้ วนใจร้ อน มักใช้ อารมณ์นาเหตุผล มีแผลเป็ นรูปเหรี ยญ 100 เยนที่
หัวแสดงถึงความชื่นชอบเรื่ องพะบู๊ (คล้ ายไจแอนท์)
“คาแร็ คเตอร์ ในโคนันโคลน (clone) โดราเอมอนมาชัดเจน ทัง้ ตัวละครอ้วนผม
เด็กผูห้ ญิ งหนึ่งคนในกลุ่มเพื อ่ ให้ผหู้ ญิ งดึงกลุ่มผูช้ ายไม่ให้ซนเกิ นไป ตัวละครกลุ่มแบบนีช้ ่วยสร้าง
พล็อตประเภทการปกป้ องรักเพือ่ นได้ดี” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
ส่วนสมาชิกที่เพิ่มขึ ้นภายหลังอย่าง ไฮบาระ ไอ ผู้รับชะตากรรมเดียวกับ
พระเอก เพราะเธอเองก็กินยาแบบเดียวกับชินอิจิ ทาให้ จากนักวิทยาศาสตร์ สาวผู้เงียบขรึมต้ อง
กลายร่างเป็ นเด็กประถมเหมือนเช่นชินอิจิ ซึง่ ก็ทาให้ ภาพของไอเป็ นเด็กประถมที่ดทู งสวย ั้ ทัง้
ฉลาด และเป็ นผู้ใหญ่กว่าเด็กรุ่นเดียวกัน ซึง่ การออกแบบลักษณะภายนอกของตัวละครนักสืบ
ประถมกลุม่ นี ้ก็เป็ นไปตามแนวทางการออกแบบตัวละครสาหรับเด็กที่คงความเป็ น “การ์ ตนู ” ด้ วย
สัดส่วนของศีรษะตัวละครที่คอ่ นข้ างใหญ่เกินจริง และลูกนัยน์ตาที่เป็ นทรงกลมขนาดใหญ่กว่าตัว
ละครในเรื่ องที่มีอายุมากกว่า
251

ภาพประกอบ 86 ขบวนการนักสืบเยาวชน ตัวละครกลุ่มเด็กในยอดนักสืบจิ๋วฯ


ที่มา: http://www.anime-planet.com/characters/father-luciano

ถัดจากตัวละครกลุม่ เด็กประถม ก็ขยับขึ ้นไปเป็ นตัวละครวัยรุ่น ซึง่ ขนาดและ


รูปร่างไม่ได้ แตกต่างกันมากเหมือนกลุม่ ขบวนการนักสืบเด็ก เพราะตัวละครส่วนใหญ่มีรูปร่าง
ผอม สูง ใบหน้ าแหลมเรี ยว และมีเส้ นผมที่ชี ้แหลมคล้ ายคลึงกันทังตั ้ วเอกอย่างชินอิจิ ฮัตโตริ
เฮย์ จิ นักสืบ ม.ปลายผู้มีชื่อเสียงในแถบคันไซ โอซาก้ า ซึง่ มีหน้ าตาหล่อเหลา คางแหลมเรี ยว
ตาโตใกล้ เคียงชินอิจิอย่างมาก จะมีก็เพียง “สีผิว” ที่เข้ มกว่าคนญี่ปนทั ุ่ ว่ ไปเท่านันที
้ ่ทาให้ เฮย์จิดู
ต่างออกมา เช่นเดียวกับจอมโจรคิด ที่หน้ าตาถอดแบบมาจากชินอิจิ โดยผู้เขียนทาให้ ตา่ งจาก
พระเอกโดยกาหนดบทบาทให้ เป็ นจอมโจรน ้าใจงาม และสร้ างภาพความลึกลับให้ เป็ นตัวละคร
เดี๋ยวผลุบเดี๋ยวโผล่เพื่อให้ ผ้ อู ่านเฝ้ารอการปรากฏตัวของเขา

ภาพประกอบ 87 ตัวละครวัยรุ่นที่หน้ าตาคล้ ายกัน (ชินอิจิ เฮย์ จิ คิด) ในยอดนักสืบจิ๋วฯ


ที่มา: http://www.gangtoon.com/gangstory/character8.html
252

ในขณะที่ตวั ละครวัยรุ่นฝ่ ายหญิงก็มีรูปร่างที่ผอม สูง คางแหลมและผมชี ้แหลม


อันเป็ นเอกลักษณ์เหมือนกัน จะต่างก็เพียงการกาหนดนิสยั ใจคอ และรายละเอียดของใบหน้ า
โดยนางเอกอย่างโมริ รันนันหน้ ้ าผอมเพรี ยว คางแหลม และคงความเป็ นสาวเอเชียแบบดังเดิ ้ มที่
ไว้ ผมยาวดา ร้ องไห้ ง่าย ทากับข้ าวเก่ง แต่แม้ รูปลักษณ์จะดูเป็ นสาวเรี ยบร้ อยอนุรักษ์นิยม กลับมี
ความสามารถเรื่ องกีฬาคาราเต้ ถึงขันเป็
้ นหัวหน้ าทีมของโรงเรี ยน ส่วนเพื่อนสนิทของรันอย่าง ซึซึ
กิ โซโนโกะ ถูกทาให้ แตกต่างด้ วยทรงผมบ็อบสันสี ้ น ้าตาล และทรงผมที่เสยขึ ้นเผยให้ เห็น
หน้ าผากก็แสดงถึงนิสยั เปิ ดเผย มัน่ ใจในตัวเอง

ภาพประกอบ 88 ตัวละครหญิงในยอดนักสืบจิ๋วฯ (โซโนโกะ-ซ้ าย, รัน-ขวา)


ที่มา: http://www.gangtoon.com/gangstory/character8.html

ต่อจากแก๊ งนักสืบเด็กประถม และมัธยมปลาย ก็ย่อมมีนกั สืบรุ่นใหญ่ ซึง่ ผู้เขียน


สร้ างความแตกต่างให้ กบั ตัวละครผ่านรูปลักษณ์ภายนอกมากกว่าวัยรุ่น เพราะตัวละครวัยผู้ใหญ่
ไม่ได้ มีจดุ ดึงดูดผู้อ่าน (ซึง่ เป็ นเด็กและวัยรุ่น) ด้ วยรูปร่างหน้ าตา ดังนันจึ
้ งมีทงตั
ั ้ วละครอ้ วน ผอม
ต่างกันไป อย่างโมริ โคโกโร่ อดีตตารวจจอมหลงตัวเองและผันตัวมาเป็ นนักสืบเอกชน ก็เป็ นชาย
วัยกลางคนร่างผอมบาง จอมเจ้ าชู้และชอบเล่นไพ่นกกระจอกเป็ นชีวิตจิตใจ ส่วนเมงูเระ จูโซ
สารวัตรแห่งกองกากับการสืบสวนสอบสวน 1 ของกรมตารวจโตเกียว ก็เป็ นชายวัยกลางคนรูปร่าง
อ้ วน เตี ้ย ใส่หมวกและเสื ้อคลุมตลอดเวลา เช่นเดียวกับดร.อากาสะ ฮิโรชิ นักวิทยาศาสตร์
เพื่อนบ้ านของโคนันผู้ประดิษฐ์ อปุ กรณ์ในการปลอมเสียง ถึงจะมีรูปร่างอ้ วนเหมือนสารวัตรเมงูเระ
แต่กลับให้ ความรู้สกึ น่ารัก ใจดีตา่ งจากภาพความจริงจังของสารวัตร นัน่ เพราะรูปทรงของดร.อา
กาสะที่นอกจากตัวอ้ วนกลมแล้ ว ใบหน้ าก็ยงั รวมทรงกลมเอาไว้ แทบทุกส่วน ทังนั ้ ยน์ตา แว่น และ
จมูก ทาให้ ดร.อากาสะ เป็ นตัวละครที่ให้ ความรู้สกึ เป็ นมิตรกับเด็กมากที่สดุ ในเรื่ อง
253

ภาพประกอบ 89 โมริ โคโกโร่ และดร.อากาสะ ฮิโรชิ ตัวละครวัยผู้ใหญ่ ในยอดนักสืบจิ๋วฯ


ที่มา:http://misterfriendship.com/th และ http://writer.dek-d.com/noey2000/

3.5.2 ความแตกต่างของรูปลักษณ์ตวั ละครฝ่ ายร้ าย


เมื่อแต่ละคดีที่โคนันพบเจอได้ รับการคลี่คลายไขตัวฆาตกรอย่างหมดจด ดังนัน้
ตัวละครฝ่ ายร้ ายอย่าง ”องค์กรชุดดา” จึงถูกสร้ างขึ ้นมาให้ เป็ นตัวร้ ายแบบถาวรที่ยงั คงดึงดูดผู้อ่าน
ไว้ ได้ ด้วยความลึกลับ โดยตัวละครในองค์กรแม้ จะมีจดุ ร่วมผ่านสีของชุด การสวมหมวกดาอา
พรางใบหน้ า และมีโค้ ดเนมเหมือนกันคือใช้ ชื่อเครื่ องดื่มผสมแอลกอฮอล์แทนชื่อจริ ง แต่รูปร่าง
หน้ าตาก็แตกต่างกันอย่างเห็นได้ ชดั เช่น ยิน ชายหนุม่ หน้ าเรี ยวผมทอง ปรกหน้ าปรกตา เป็ นคน
เยือกเย็น เจ้ าเล่ห์ และเหี ้ยมโหด มีรถเปอร์ เช่สีดาเป็ นสัญลักษณ์ประจาตัว ส่วนคูห่ อู ย่างวอดก้ า
ก็มีใบหน้ าเหลี่ยมและร่างบึกบึน สวมแว่นดาอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี ้ยังมีสาวสวยผมทองอย่าง
เบลม็อท ผู้มีความสามารถในการปลอมตัวได้ อย่างแนบเนียน และเป็ นตัวละครฝ่ ายร้ ายเพียงคน
เดียวที่ดมู ีมิตมิ ากที่สดุ เพราะเธอเป็ นดาราแสนสวยแต่ในวันที่ภาพยนตร์ เรื่ องแรกของเธอออกฉาย
พ่อแม่ของเธอกลับเสียชีวิตในกองเพลิง และแม้ ตอ่ มาเธอทาผลงานจนได้ รับรางวัลออสการ์ แต่โชค
ร้ ายก็เกิดซ ้าสองเมื่อสามีของเธอเสียชีวิตในวันรุ่งขึ ้น จนทาให้ เธอเป็ นคนที่ไม่เชื่อเรื่ องพระเจ้ าและ
เข้ าร่วมเป็ นสมาชิกองค์กรชุดดาแบบลับๆ เบลม็อทยังเป็ นผู้ร้ ูความลับว่าชินอิจิกบั โคนันเป็ นคน
เดียวกันแต่เธอกลับปกปิ ดความลับไม่ให้ องค์กรรู้ ดังนันเบลม็ ้ อทจึงเป็ นตัวละครที่มีบทบาทมาก
และเป็ นตัวละครที่ดกู ้ากึ่งระหว่างฝั่ งร้ ายและดี
254

ภาพประกอบ 90 สมาชิกองค์ กรชุดดา (วอดก้ า ยิน เบลม็อท-ซ้ ายไปขวา) ในยอดนักสืบจิ๋วฯ


ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/

จะเห็นว่าโดยภาพรวมตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วฯ แม้ มีจานวนค่อนข้ างมาก แต่


เมื่อจับตัวละครยืนเรี ยงกันก็ไม่ได้ มีรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันชนิดสุดขัว้ ความแตกต่างเพียงเล็กน้ อย
ที่เกิดขึ ้นนอกจากจะอยูท่ ี่นิสยั ใจคอแล้ ว ยังถูกกาหนดด้ วย”อายุ” เป็ นหลัก ซึง่ ทาให้ เกิดตัวละครสูง
ต่าต่างกัน นอกจากนี ้ก็ยงั เกิดจากการสร้ างรูปทรงและสีผิว ให้ หลากหลายอย่างการสร้ างตัวละคร
อ้ วนจัด ดาจัด แต่ไม่ว่าจะอย่างไรตัวละครในช่วงวัยรุ่นก็ยงั เน้ นความสวย หล่อ ผอมเพรี ยว
ใบหน้ าเรี ยว และคางแหลมเหมือนๆ กัน

3.6 เดธโน้ ต
“ตัวละครในเดธโน้ตก็เหมื อนมวยที ่ชกในวงแคบๆ” (อิศเรศ ทองปั สโณว์ , สัมภาษณ์, 15
สิงหาคม 2554)
ความหมายของมวยที่ชกในวงแคบตามคากล่าวข้ างต้ นของผู้แปลและกองบรรณาธิการ
สานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทนเมนท์ข้างต้ นหมายถึงวิธีการสร้ างตัวละครในเดธน้ ตที่มีตวั ละครไม่มาก
(มีตวั ละครหลัก 2 ฝ่ าย) แต่ทกุ ตัวละครก็มีจดุ เด่นมากพอจะดึงดูดผู้อ่าน (เหมือนเช่นนักมวยที่โดด
เด่นเป็ นสง่าบนเวทีให้ ผ้ ชู มเฝ้าติดตามไปจนจบเกม)
เดธโน้ ตจึงเป็ นเพียงเรื่ องเดียวที่มีตวั ละครน้ อยและเน้ นสร้ างคาแร็ คเตอร์ ภายนอกตัวละคร
โดยรวมให้ ไม่แตกต่างกันมากนัก เพราะทุกตัวละครถูกสร้ างให้ เกิดความรู้ สึกเท่ หล่อ สวย ลึกลับ
แบบพังก์ (ตามที่กล่าวไปแล้ วในความพิเศษของตัวละคร) ทังพระเอกอย่ ้ างแอล ที่ผ้ เู ขียนวาดให้
ขอบตาล่างมีสีดา ผมดา รูปร่างค่อนข้ างสูง ผอม หรื อยางามิ ไลท์ ฝั่ งตัวร้ ายที่ผมสีน ้าตาลทอง
ก็หน้ าตาหล่อเหลา หุน่ สูง เพรี ยว ทังคู ้ เ่ รี ยกได้ วา่ มีโครงหน้ า และรูปร่างใกล้ เคียงกัน คือยังคง
255

ค่อนข้ างผอม สูงตามสมัยนิยมของคาว่าหล่อ ต่างกันเพียงการลงเส้ นดาตรงขอบตาล่างให้ แอล


เพื่อสร้ างความรู้สกึ ลึกลับแบบพังก์ และการออกแบบท่าทางการยืน นัง่ ของตัวละครให้ แอลมี
ท่วงท่าเฉพาะตัวในการนัง่ (ชอบนัง่ ยองๆ) หรื อการยืนห่อไหล่ เพื่อให้ แอลเป็ นตัวละครที่ไม่หล่อ
เหลาตามพิมพ์นิยมแต่มีทว่ งท่าที่เป็ นแบบฉบับของตนเอง
“เขาออกแบบตัวละครให้แอนตี ฮ้ ี โร่ คื อต้องสร้างตัวละครพระเอกอย่างแอลให้ไม่เท่ ดู
แปลกๆ เข้าไว้ แต่ตอ้ งทัดเที ยมผูร้ ้ายที เ่ หมื อนพระเอกอย่างไลท์” (กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22
สิงหาคม 2554)

ภาพประกอบ 91 เปรียบเทียบตัวละคร แอล (ซ้ าย) ไลท์ (ขวา) ในเดธโน้ ต


ที่มา: http://screenrant.com/shane-black-death-note-movie-sandy-96175/

หรื อตัวละครที่รับช่วงอุดมการณ์สืบหาตัวคิระ (เจ้ าของเดธโน้ ต) อย่าง เนียร์ และ เมลโล่


แม้ จะแต่งตัวต่างกันโดยเนียร์ ชอบสวมชุดโคร่งหลวมเหมือนชุดนอน (ทาให้ ดเู ป็ นคนเก่งแบบ
แปลกๆ) ส่วนเมลโล่กลับชอบใส่ชดุ รัดรูปสีดาแบบพังก์ (ทาให้ ดขู งึ ขัง ลึกลับ) ชอบกินช็อคโกแลต
เป็ นชีวิตจิตใจ แต่ทงคู
ั ้ ก่ ็ยงั มีแววตามุง่ มัน่ และดูน่าเกรงขามเหมือนๆ กัน ผ่านการวาดนัยน์ตาดา
ให้ ชิดขอบตาบนและวาดหางตาให้ เฉียงขึ ้นเล็กน้ อย ซึง่ ก็เป็ นแววตาของตัวละครทังฝ่้ ายดีและร้ าย
ไม่แยกจากกันชัดเจนที่เป็ นเอกลักษณ์ของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ จนทาให้ ยากจะบอกได้ ว่าตัวละครฝ่ าย
ไหนคือฝ่ ายธรรมะหรื ออธรรมกันแน่
256

ภาพประกอบ 92 เนียร์ และเมลโล่ ในเดธโน้ ต


ที่มา: http://kittisak113.wordpress.com/author/kittisak113/page/8/
http://dn-zeta.blogspot.com/

แต่ด้วยแนวทางการสร้ างตัวละครของแอลที่นา่ จดจาด้ วยจุดขายเรื่ องความแปลกของ


หน้ าตา และท่าทาง จึงทาให้ เป็ นที่นา่ เสียดายเมื่อแอลมาตายเอาแบบคาดไม่ถึงตอนครึ่งค่อนเรื่ อง
ทาให้ ผ้ เู ขียนต้ องสร้ างตัวละครผู้สืบทอดเจตนารมณ์สืบหาผู้ร้ายอย่าง “เนียร์ ” ออกมาภายหลัง ซึง่
ด้ วยบุคลิกที่ใกล้ เคียงกับแอลจึงทาให้ ผ้ อู า่ นไม่เกิดภาพจาในตัว “เนียร์ ” หรื อ “เมลโล่” ได้ มาก
เท่ากับแอล
ส่วนตัวละครยมทูตในเรื่ องที่ปรากฏให้ เห็นหลักๆ คือ ลุค และเรม ซึง่ ทังคู ้ ก่ ็ให้ ภาพความ
เป็ น “ปี ศาจ” ที่นา่ กลัวอย่างไม่อ้อมค้ อม แต่ลคุ โดดเด่นที่รูปลักษณ์ภายนอกเพราะให้ ภาพความเท่
แบบพังก์เพื่อลดทอนความน่ากลัวที่สง่ ผ่านใบหน้ าตอบ ตาแดง ฟั นแหลม ขณะที่เรมเองแม้
ภายนอกจะดูนา่ กลัวเพราะเหมือนโครงกระดูกผอมแห้ งเดินได้ แต่ก็เป็ นรูปลักษณ์ที่ไม่ได้ น่าจดจา
เท่ากับลุค ดังนันความน่
้ าสนใจของยมทูตตนนี ้จึงอยูท่ ี่การสร้ างนิสยั ใจคอของเรมให้ มีความ
“อ่อนโยน” เพราะเรมหลงรักผู้ครอบครองเดธโน้ ตอย่างมิสะจนยอมสละชีวิตตัวเองเพื่อฆ่าแอลตาม
แผนที่ไลท์วางไว้ ดังนันตั ้ วละครยมทูตแสนน่าเกลียดย่าเรมจึงสร้ างวีรกรรมที่น่า จดจาแก่ผ้ อู า่ น
เพราะเขาเป็ นตัวละครเพศชายเพียงคนเดียวในเรื่ องที่มีรักแท้ (ในขณะที่ไลท์หลอกใช้ ผ้ หู ญิงถึง 2
คน) และยอมตายเพื่อความรักโดยที่ร้ ูทงรู ั ้ ้ วา่ ฝ่ ายหญิงอย่างมิสะนันไม่
้ มีวนั เหลือบแลเขาแน่นอน
(เพราะหลงรักไลท์หวั ปั กหัวปาอยูแ่ ล้ ว)
257

ภาพประกอบ 93 ยมทูตลุคและเรมในเดธโน้ ต
ที่มา: http://jamaru.exteen.com/category/Jamaru-Story/page/5

ดังนันความต่
้ างที่เห็นได้ ชดั ของการออกแบบตัวละครในเดธโน้ ตจึงเกิดจาก “ความคิด”
“ความเชื่อ” ข้ างในตัวละครที่มีตอ่ คาว่า “ความถูกต้ อง” อันเป็ นแก่นแกนสาคัญของเรื่ อง จนเกิด
ตัวละครที่ตา่ งกันทางความคิดอย่างสุดขัวขึ ้ ้นมาอย่าง ยางามิ ไลท์ เจ้ าของโน้ ตมรณะที่ตงตน ั้
เป็ นศาลเตี ้ยสังหารอาชญากรด้ วยการเขียนชื่อลงไปในโน้ ตดังกล่าว เพราะเขาไม่เชื่อมัน่ ต่อระบบ
ยุตธิ รรมของสังคม ขณะเดียวกัน แอล ยอดนักสืบวัยรุ่นที่ได้ รับการยอมรับว่าเก่งกาจที่สดุ ใน
โลกก็เชื่อมัน่ ต่อระบบยุตธิ รรมของสังคมที่ตดั สินโดยตารวจ และผู้พิพากษา ดังนันด้
้ วยความ
ต่างทางความคิดนี่เองที่ผลักดันให้ เรื่ องราวดาเนินไปอย่างเข้ มข้ นโดยมีฉากการประลองสมองของ
ทังฝ่้ ายผู้ลา่ และผู้ถกู ล่าเป็ นจุดขาย
มาจนถึงตรงนี ้คงเห็นแล้ วว่าการ์ ตนู ที่นามาวิเคราะห์ทงั ้ 6 เรื่ องสร้ างความแตกต่างให้ กบั
ตัวละครต่างกันไป โดยเรื่ องที่มีตวั ละครกลุม่ จานวนมากอย่างวันพีซ นารูโตะ และดราก้ อนบอล
จาต้ องสร้ างตัวละครให้ ตา่ งตังแต่ ้ รูปลักษณ์ภายนอกเสียก่อน ดังนันจึ
้ งเกิดการกาหนด
ความสามารถพิเศษ อาวุธ ท่าไม้ ตายที่เป็ นแบบฉบับของตนเอง แต่ขณะเดียวกันการที่จะทาให้
ตัวละครเป็ นที่จดจา ประทับในความทรงจาได้ นนยั ั ้ งต้ องเสริมสร้ างนิสยั ใจคอที่ขดั แย้ ง หรื อ
สอดคล้ องกันกับรูปลักษณ์ภายนอกด้ วย เช่นผู้เฒ่าเต่าในดราก้ อนบอลเป็ นตาแก่ตวั เตี ้ย จอม
ลามก แต่แท้ จริงแล้ วเป็ นปรมาจารย์เยี่ยมยุทธ์ ส่วนนักสืบอันดับหนึง่ ของโลกอย่างแอลในเดธโน้ ต
กลับชอบนัง่ ยองๆ และขอบตาดาคล ้าให้ ความรู้สกึ เหมือนหนุม่ พังก์ (บทบาทและรูปลักษณ์
ภายนอกขัดแย้ งกับภายใน) หรื อตัวละครองค์กรแสงอุษาในนินจาคาถาฯ แทบทุกคนมีหน้ าตา
258

หล่อเหลา เย็นชา เพราะมีเบื ้องหลังชีวิตที่โดดเดี่ยว โหดร้ าย (รูปลักษณ์ภายนอกขัดแย้ งกับนิสยั ใจ


คอภายใน)

4. การกระจายความสาคัญและการสร้ างความสัมพันธ์ ของตัวละคร


การสร้ างความแตกต่างหลากหลายของบุคลิกตัวละครในเรื่ องราวที่มีตวั ละครกลุม่ จานวน
มากอาจทาให้ เรื่ องราวมีทางเลือกในการสร้ างความสนุกสนาน และสร้ างความรู้สึกยากจะคาดเดา
ให้ แก่ผ้ อู ่านได้ ดี แต่การจะทาให้ ตวั ละครประทับอยูใ่ นความทรงจาผู้อา่ นได้ นนย่ ั ้ อมเกิดจากการ
กระจายความสาคัญของตัวละครให้ รับบทบาทยิ่งใหญ่ใกล้ เคียงกัน รวมทังสร้ ้ างการปรากฏตัว
ของตัวละครอย่างเท่าเทียมกัน ซึง่ ในวันพีซสามารถกระจายบทบาทตัวละครกลุม่ พระเอก (กลุม่
โจรสลัดหมวกฟาง) ให้ ไม่มีใครมากกว่าหรื อน้ อยกว่าได้ เป็ นอย่างดี ด้ วยการเล่าเรื่ องราวชีวิตของ
ตัวละครไปทีละคน เริ่มตังแต่ ้ กปั ตันอย่างลูฟี่ ต่อด้ วยนักสู้ประจาเรื ออย่างโซโล ตามมาติดๆ กับการ
ตามหาต้ นหนมือดีอย่างนามิ ซึง่ เออิจิโระ โอดะก็เดินเรื่ องด้ วยการออกตามหาสมาชิกบนเรื อโจร
สลัดอย่างมีทิศทางเช่นนี ้คูข่ นานกับการเดินทางตามหาวันพีซที่เป็ นเป้าหมายของกัปตันอย่างลูฟี่
มาตลอด จะเห็นได้ วา่ วันพีซสร้ างบทบาทตัวละครให้ มีหน้ าที่แตกต่างกันชัดเจนเพราะทุกคน
มีบทบาทบนเรื อเป็ นตัวกาหนด และเพราะตัวละครอยู่บนเรื อลาเดียวกันทาให้ เหตุการณ์ผจญภัย
ระหว่างการเดินทางที่ผนั ผ่านเข้ ามาจึงปะทะเข้ ากับกลุ่มตัวละครเอกไปพร้ อมๆ กัน ดังนันแม้ ้ จะ
มีฉากต่อสู้ที่ต้องฉายเดี่ยวกันบ้ าง แต่ท้ายที่สดุ ทุกคนก็ต้องกลับมารวมตัวกันบนเรื ออยูด่ ี การ
สร้ างตัวละครกลุม่ ให้ ต้องฟั นฝ่ าอุปสรรคไปด้ วยกันเช่นนี ้จึงทาให้ ผ้ อู า่ นไม่ลืมเลือนตัวละครกลุม่ โจร
สลัดหมวกฟาง และยิ่งจะเพิ่มความรัก ความผูกพันต่อตัวละครจนพร้ อมจะเดินไปด้ วยกันจนสุด
ทาง
“วันพีซสร้างตัวละครได้ “เหนือ” ตรงทีไ่ ม่ทิ้งตัวละครตัวไหนนานๆ มันเล่าได้ทวั่ ๆ ถ้วนๆ ดี ”
(กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
ตรงกันข้ ามกับดราก้ อนบอล ที่แม้ จะสร้ างตัวละครให้ แตกต่างผ่านรูปลักษณ์ภายนอกได้
ชนิดไม่ซ ้ากัน และพยายามสร้ างตัวละครคูห่ ู (ในช่วงภาคแรก) เพื่อสร้ างความน่าสนใจให้ กบั ตัว
ละคร แต่กลุม่ ตัวละครเอกหรื อตัวละครฝ่ ายดีหลายตัวกลับถูก “ทอดทิ ้ง” ระหว่างทาง เช่นผู้
เฒ่าเต่าที่เคยมีบทบาทมากในช่วงครึ่งแรกของเรื่ อง เพราะเป็ นผู้บม่ เพาะความรู้ให้ กบั พระเอก
อย่างโกคู และเคยต่อสู้กบั เหล่าร้ ายร่วมกัน แต่เมื่อศิษย์เก่งกว่าอาจารย์ก็ทาให้ บทบาทของผู้เฒ่า
เต่าลดลงไป เช่นเดียวกับตัวละครที่เคยเป็ นเพื่อนของโกคูอย่างคุรุริน หรื อพิคโกโร่ หลังจากที่โกคู
ฝี มือแข็งแกร่งเกินใคร (ในโลกมนุษย์) ทาให้ ตวั ละครเพื่อนฝูง พันธมิตรที่แม้ จะอยูร่ ่วมทีมต่อสู้กบั
เหล่าร้ ายจากต่างดาว เช่นชาวไซย่า หรื อฟรี เซอร์ ก็รับบทบาทเป็ นได้ แค่ตวั ประกอบ เพราะ
259

พระเอกอย่างโกคูเท่านันที ้ ่มีพลังฝี มือแกร่งพอจะต่อสู้กบั เหล่าร้ ายได้ ดังนันผู


้ ้ อา่ นจึงไม่ร้ ูสกึ ถึง
ความเป็ น “ทีม” ของกลุ่มตัวเอกมากนัก เพราะไฮไลท์ของการต่อสู้ที่แท้ จริงมุง่ ไปที่ตวั พระเอก
เท่านัน้ ตัวละครอื่นๆ นอกเหนือจากพระเอกที่แม้ จะสู้กนั เป็ นทีมจึงดูคล้ าย “ตัวประกอบ” เสีย
มากกว่า เช่นเดียวกับการสร้ างความสัมพันธ์ให้ ตวั ละครมีคหู่ ู อย่าง เท็นชินฮัง หนุม่ สามตาที่
เคยครองแชมป์ศึกชิงเจ้ ายุทธภพมาแล้ วและกลายมาเป็ นพรรคพวกของพระเอก กับเจาสึ ตัว
ละครคูห่ ทู ี่หน้ าตาคล้ ายผีจีน (แก้ มแดง ผมทรงแมนจู) หากมองครัง้ แรกตัวละครแบบคูห่ นู นั ้
สร้ างจุดเด่นให้ กบั ตัวละครอย่างมาก เพราะด้ วยภาพความสูง บึกบึน และดูขงึ ขังของเท็นชินฮังที่
ขัดแย้ งกับความตัวเล็ก น่ารักของเจาสึ แต่เมื่อขึ ้นชื่อว่า “ตัวละครคูห่ ”ู การปรากฏตัวย่อมต้ อง
มาพร้ อมกัน ดังนันตั
้ วละครอย่างเท็นชินฮังที่ฝีมือแกร่งกว่าจึงมีบทบาทมากกว่าในภายหลัง
(เพราะสอดคล้ องกับแนวทางของเรื่ องที่ต้องการตัวละครที่เก่งขึ ้นเรื่ อยๆ) ในขณะที่เจาสึที่แม้ จะมี
พลังจิตควบคุมผู้อื่นได้ บ้างแต่ก็ไม่สามารถนามาต่อกรกับเหล่าร้ ายที่เริ่มร้ ายมากขึ ้นทุกทีๆ
(อย่างเช่นเซล) ทาให้ การเป็ นคูห่ ทู ี่เคยโดดเด่นกลับกลายเป็ นจุดด้ อยเพราะเจาสึทาได้ แค่เพียงยืน
ดูเกมการต่อสู้เฉยๆ จนกลายเป็ นเพียงไม้ ประดับของเรื่ องไปในที่สดุ

ภาพประกอบ 94 ตัวละครคู่หูเท็นชินฮัง และเจาสึในดราก้ อนบอล


ที่มา: http://topicstock.pantip.com/chalermthai/

ด้ านนินจาคาถาฯ นันแม้ ้ เรื่ องจะเริ่มจากการตามติดชีวิตพระเอกอย่างนารูโตะตังแต่ ้ อยู่


โรงเรี ยนนินจาระดับประถม แต่เรื่ องราวต่อจากนันมี ้ ตวั ละครมากหน้ าหลายตาเข้ ามามีบทบาท
แทน โดยเฉพาะตัวละครฝั่ งตรงกันข้ ามกับพระเอก เพราะผู้เขียนให้ ความสาคัญกับการสร้ างตัว
ร้ ายที่แข็งแกร่งเพื่อเป็ นตัวพิสจู น์และพัฒนาความสามารถของนารูโตะ และเป็ นตัวร้ ายที่มีเหตุผล
ของการกระทาดังนันจึ ้ งต้ องสร้ างเรื่ องราวในอดีตเพื่อเพิ่มแรงจูงใจของความร้ ายการในปั จจุบนั จน
ทาให้ “ผู้ร้าย” รับบทเด่นและปรากฏตัวอยูใ่ นเรื่ องยาวนานกว่าฝั่ งตัวเอกเสียด้ วยซ ้า เริ่มตังแต่

260

ตัวร้ ายแต่ท้ายที่สดุ ก็กลายเป็ นคนดีอย่างกาอาระนินจาคนเก่งของหมูบ่ ้ านซึนะ ตามด้ วยโอโรจิ


มารุ หนึง่ ในสมาชิกแสงอุษาที่แยกตัวออกมา หรื อเพื่อนร่วมทีมนินจาอย่างอุจิวะ ซาสึเกะ ที่
ถอนตัวจากทีมเพื่อสืบหาความลับดามืดของตระกูลและท้ ายที่สดุ ก็กลายเป็ นผู้เคียดแค้ นหมูบ่ ้ าน
ของตัวเอง ไล่ไปจนถึงสมาชิกในแสงอุษาแทบทุกคนโดยเฉพาะอุจิวะ อิทาจิ และเพน ซึง่
จากการถ่ายเทน ้าหนักการเล่าเรื่ องไปยังตัวละครฝ่ ายร้ ายค่อนข้ างมากเช่นนี ้จึงทาให้ บทบาทการ
เป็ นพระเอกของนารูโตะดูด้อยไปบ้ างในบางช่วงบางตอนของเรื่ อง
“จุดอ่อนของนารู โตะคื อใส่รายละเอี ยดในตัวละครบางตัวเยอะเกิ นเช่นซาสึเกะ จนบทเด่น
มากกว่าพระเอก และมี แอ็คชัน่ ฉากสูก้ นั เยอะ ตัวเอกได้สนู้ อ้ ยมาก และไม่ได้ใช้ความสามารถใน
ฝี มื อมากนัก จนทาให้รู้สึกว่าความสมดุลของเรื ่ องและตัวละครมี นอ้ ยกว่า (เมื ่อเที ยบกับวันพีซ) ”
(กมลรัตน์ เสราดี, สัมภาษณ์, 22 สิงหาคม 2554)
ส่วนการกระจายความสาคัญของบทบาทใน ทเวนตีฯ้ นันท ้ าได้ อย่างสม่าเสมอ โดยคง
ความสมดุลของ “เพื่อน” ผู้ร้ายผู้วางแผนยึดครองโลกด้ วยแผนการปล่อยไวรัสทาลายมนุษย์
กับฮีโร่ก้ โู ลกอย่าง “เคนจิ” ไว้ ให้ มีความสาคัญใกล้ เคียงกัน ซึง่ ผู้เขียนมีชนเชิ
ั ้ งในการไม่สร้ าง
มุมมองการเล่าเรื่ องให้ ตามติดตัวละครทัง้ “เพื่อน” และ “เคนจิ” อยู่ตลอดเวลา แต่กลับทาให้
“เพื่อน” และพระเอกอย่างเคนจิจะหายไปจากบางช่วงของเรื่ อง โดยหลังวันสิ ้นปี 2000 นันเคนจิ ้
ได้ หายไปอย่างไร้ ร่องรอยโดยให้ โยชิสเึ นะคอยรักษาการตาแหน่งหัวหน้ าขบวนการกู้โลกแทนแต่
การไม่นาเสนอเรื่ องราวของเคนจิก็ไม่ได้ ทาให้ ความสาคัญของพระเอกคนนี ้ลดลงไปเลย นัน่
เพราะการหายตัวของเคนจินนกลั ั ้ บกระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นสงสัย ต้ องการหาคาตอบว่าเขาอยูห่ รื อตาย
ส่วนเพื่อนเองแม้ จะมาตายเอากลางคัน ก็ยงั มีผ้ สู ืบทอดอุดมการณ์ตอ่ ขณะเดียวกันเรื่ องราวก็
เปลี่ยนทิศไปเล่าถึงแต่ละมุมมองของประชาชนคนธรรมดา ที่ได้ รับผลกระทบจากเหตุการณ์ไวรัส
ร้ ายระบาด พร้ อมๆ กับเปลี่ยนมุมไปเล่าถึงสาวน้ อยแสนสวยและเข้ มแข็งอย่างคันนะ หลานสาว
ของเคนจิและลูกสาวของ “เพื่อน” ในการตังกลุ ้ ม่ “ราชินีน ้าแข็ง” เพื่อต่อต้ าน “เพื่อน” (พ่อของ
ตัวเอง) ขึ ้นมาอีกขบวนการหนึง่ จึงเรี ยกได้ วา่ ไม่มีใครแย่งบทเด่นของพระเอกอย่างเคนจิ ซึง่ ก็
ทาให้ เขายังคงสถานะความเป็ น “พระเอก” ที่คงความสาคัญที่สดุ ของเรื่ องเอาไว้ ได้ เช่นเดียวกับ
“เพื่อน” ที่ทาให้ ผ้ อู า่ น “เชื่อ” ว่ามีตวั ตายตัวแทนได้ อย่างสนิทใจโดยไม่ตะขิดตะขวงเรื่ องบุคลิกของ
ตัวละครที่จะมารับบท “เพื่อน” นัน่ เพราะ “เพื่อน” คือผู้ชายธรรมดาที่สวมหน้ ากาก ดังนันแค่ ้ หาตัว
ละครใส่หน้ ากากมารับช่วงต่อก็เพียงพอแล้ วโดยที่ผ้ เู ขียนไม่ต้องเหนื่อยสร้ างตัวละครใหม่ให้ ลกึ ลับ
และเลวร้ ายกว่าตัวร้ ายตัวเก่า ในขณะที่ผ้ รู ่วมขบวนการเคนจิคนอื่นๆ ต่างก็ได้ รับบทสาคัญ
ต่อขบวนการไม่น้อยหน้ ากัน ทังโอตโจะ
้ ที่สร้ างวีรกรรมแหกคุกอุมิโฮตารุที่ว่ากันว่าเป็ นคุก
261

ที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สดุ ออกมาได้ หรื อโยชิสึเนะที่รับบทผู้ชว่ ยเหลือเคนจิทางอ้ อมในการสืบ


หาความจริงเรื่ องปมความพยายาทของ “เพื่อน” ในวัยเด็กที่มีตอ่ เคนจิ
“ผมว่าทเวนตีฯ้ เก่งเรื ่องการกระจายความสาคัญของตัวละครมาก นอกจากตัวละครจะดู
แตกต่าง เพราะมี ทงั้ อ้วน แว่น แถมทาให้ตวั ละครที ่ดูง่อยๆ เตี ย้ แว่น(โยชิ สึเนะ) เด่นขึ้นมาได้ เขา
ทาให้ตวั ละครทุกตัวมี บทสาคัญๆ กันหมด ไม่เหมื อนดราก้อนบอล ที ่โงคูเด่นอยู่คนเดี ยว ส่วนตัว
อืน่ ๆ อย่างคุริลิน ยามุชา ที พ่ อเจอศัตรู ทีเ่ ก่งกว่าก็แทบหมดบทบาทไปเลย” (ธัญลักษณ์ เตชศรี
สุธี,สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2554)
ขณะที่ ยอดนักสืบจิ๋วฯ ก็ไม่มีปัญหาเรื่ องการกระจายบทเด่น บทด้ อยของตัวละครแม้ จะ
มีตวั ละครจานวนมาก เพราะแกนกลางของเรื่ องย่อมอยูท่ ี่ตวั เอกอย่างโคนัน ที่มกั ฉายเดี่ยว
เสาะหาร่องรอยของฆาตกร ดังนันตั ้ วละครอื่นๆ รายรอบเขาจึงเป็ นตัวเสริมที่มีหน้ าที่ตอ่ เรื่ อง เช่น
โมริ โคโกโร่ หรื อซึซึกิ โซโนโกะที่โคนันต้ องอาศัยร่างของทังคู ้ ใ่ นการยิงยาสลบเพื่อปลอมเสียง
ในการคลี่คลายคดีดงั นันจึ ้ งต้ องสร้ างเหตุการณ์ให้ โคนันเดินทางไปไหนต่อไหนกับคนใดคนหนึง่ ที่
กล่าวมา ส่วนตัวละครกลุม่ ที่ชว่ ยเปลี่ยนบรรยากาศของเรื่ องให้ ผอ่ นคลายลงอย่างกลุ่ม
ขบวนการนักสืบเยาวชน ก็รับบทเด่นใกล้ เคียงกันเพราะมักปรากฏตัวพร้ อมๆ กันเสมอ
นอกจากนี ้ยอดนักสืบจิ๋วยังมีข้อได้ เปรี ยบการ์ ตนู เรื่ องยาวอื่นๆ เพราะเมื่อใดที่เริ่มเขียนตอนใหม่ ก็
สามารถสร้ างสถานการณ์ใหม่ ตัวละครใหม่ ให้ เข้ ามามีบทบาทกับเรื่ องได้ โดยไม่ต้องคานึงถึง
ความต่อเนื่องกับตอนที่แล้ ว (เพราะเหตุการณ์ ยอ่ ยจบในตอนไปแล้ ว) ดังนันผู ้ ้ เขียนจึงสามารถ
สร้ างตัวละครในเรื่ องได้ เป็ นจานวนมาก และเมื่อตัวละครใดวางคาแร็ คเตอร์ ได้ ดี ได้ รับความนิยม
สูงก็สามารถหยิบขึ ้นมาใส่ในตอนใหม่ได้ แบบไม่ต้องคิดผูกโยงเหตุการณ์ให้ เชื่อมโยงกันมากนัก
เช่นตัวละครอย่างฮัตโตริ เฮย์ จิ เพื่อนสนิทและคูแ่ ข่งชิงตาแหน่งยอดนักสืบหนุม่ แห่งญี่ปนุ่ หรื อ
จอมโจรคิด ขโมยหนุม่ ที่รูปร่างหน้ าตาเหมือนพระเอกอย่างกับฝาแฝด ซึง่ ผู้เขียนก็สร้ างให้ ทงคู ั้ ่
เข้ ามาช่วยเหลือโคนันในการคลี่คลายคดีอยูบ่ อ่ ยครัง้
ด้ านเดธโน้ ตเป็ นเพียงเรื่ องเดียวที่มีตวั ละครไม่มากนัก จึงไม่มีปัญหาเรื่ องการกระจาย
ความสาคัญให้ ตวั ละครมีบทบาทเท่าเทียมกัน เพราะทิศทางของเรื่ องคือการขับเคี่ยวกันระหว่าง
นักสืบหนุม่ อย่างแอล และฆาตกรฆ่าอาชญากรด้ วยโน้ ตของยมทูตอย่างไลท์ ดังนันตราชั ้ ง่ บทบาท
ของทังคู้ จ่ งึ ไม่เอนเอียงไปข้ างใดข้ างหนึง่ เพราะผู้เขียนมีตวั ละครให้ ใส่ใจเพียง 2 คนเท่านัน้
จะเห็นได้ วา่ การกระจายความสาคัญของตัวละครให้ ปรากฏตัวสม่าเสมอ หรื อเท่าเทียมกัน
ภายในเรื่ องเดียวกันจะช่วยทาให้ “ตัวละครกลุม่ ” ที่มีจานวนมากมีเอกภาพ และส่งผลต่อการสร้ าง
ความรักและประทับความผูกพันให้ อยูใ่ นใจผู้อ่านได้ มากกว่าการสร้ างตัวละครให้ มากให้ แตกต่าง
262

เข้ าไว้ แต่กลับลืมเลือนตัวละครเหล่านันเดิ


้ นร่วมกันไปสู่บทสรุปของเรื่ อง ขณะเดียวกันการ
สร้ าง “ความสัมพันธ์” ระหว่างตัวละครให้ เชื่อมโยงกันด้ วย “อุดมการณ์” หรื อ “เป้าหมาย” ในชีวิตที่
ใกล้ เคียงกันก็ทาให้ ตวั ละครสามารถ “ต่อกันติด” โดยไม่ต้องคิดหาเหตุผลในการสร้ างตัวละครให้
เป็ นกลุม่ ก้ อนเดียวกัน เหมือนเช่นกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางในวันพีซที่ล้วนต่างพ่อแม่ เผ่าพันธุ์ แต่
กลับเชื่อมโยงกันได้ ด้วยการเป็ นคนเปี่ ยมความฝั น หรื อกลุม่ ตัวละครฝ่ ายร้ ายอย่างแสงอุษาใน
นินจาคาถาฯ ที่ภาพรวมมีคาแร็ คเตอร์ โดดเด่นกว่าฝั่ งตัวละครนินจาหมูบ่ ้ านของพระเอกเสียด้ วย
ซ ้า นัน่ เพราะตัวละครในแสงอุษาต่างมี “ความสูญเสีย” ในวัยเด็ก หรื ออดีตที่เจ็บช ้าเหมือนๆ กัน
ซึง่ การสร้ างความสัมพันธ์ของตัวละครให้ มีความคิด มีเป้าหมายในทิศทางเดียวกันนี่เองที่เป็ นแรง
เสริมให้ ความเป็ น “ตัวละครกลุม่ ” แข็งแรงจนเป็ นที่โจษจันและจดจาอยูใ่ นใจผู้อา่ น

และเมื่อทราบถึงแนวทางการเล่าเรื่ องผ่านแนวคิดการเล่าเรื่ อง การสื่อสารผ่านเทคนิค


การ์ ตนู รวมทังการสร้้ างตัวละครแล้ วจึงทาให้ เห็น “รส” แห่งความสุนทรี ยะของการ์ ตนู ญี่ปนทั
ุ่ ง้ 6
เรื่ องซึง่ ให้ สนุ ทรี ยรสโดยรวมดังนี ้

สุนทรี ยรสแห่ งการ์ ตูน


1. รสสาคัญคือรสแห่ งความกล้ าหาญมุ่งมั่น
เมื่อผสมผสานทังกลวิ้ ธีการเล่าเรื่ อง การนาเสนอผ่านภาพ ลายเส้ น การสร้ างตัวละคร จะ
พบว่ารสชาติที่ผ้ อู ่านได้ รับจากการ์ ตนู ญี่ปนทุุ่ กเรื่ องที่เลือกมาศึกษาก็คือ “วีรรส” หรื อรสแห่งความ
มุง่ มัน่ กล้ าหาญ ซึง่ ปรากฏผ่านตัวละครเอกทังลู ้ ฟ่ ี ในวันพีซ นารู โตะในนินจาคาถาฯ ที่แม้ จะ
ถูกกดดันจากสังคมรอบข้ างแค่ไหน ก็ยงั เดินหน้ าไปสูค่ วามฝั นของตัวเองอย่างไม่ยอ่ ท้ อ
เช่นเดียวกับเคนจิใน ทเวนตีฯ้ ที่กลายเป็ นฮีโร่จาเป็ นเพราะไม่อาจแบกรับความผิดในวัยเด็กที่เป็ น
ต้ นเหตุให้ เด็กชายหลงตัวเองคนหนึง่ เติบโตมาเป็ นปี ศาจร้ ายทาลายโลก ซึง่ อาจสรุป “วีรรส” ที่
พบในการ์ ตนู ทังหมดดั
้ งนี ้
263

เรื่อง/ตัวละครเอก การกระทาที่ก่อให้ เกิด “วีรรส” ความมุ่งมั่น กล้ าหาญ


วันพีซ/ลูฟี่ ยึดมัน่ ในความเชื่อต่อเพื่อนพ้ องและกล้ าเดินทางไปหาความฝั นที่แสน
อันตรายคือ “วันพีซ”
นินจาคาถาฯ/นารู เชื่อมัน่ ในความดีที่มีอยูใ่ นตัวมนุษย์ ไม่สนคาดูหมิ่น เหยียดแคลนจาก
โตะ คนรอบข้ าง และมุง่ มัน่ เป็ นยอดนินจา (โฮคาเงะหรื อผู้ปกครอง
หมูบ่ ้ านนินจา)
ดราก้ อนบอล/โงคู มุง่ มัน่ พัฒนาฝี มือตนเองเพื่อปกป้องเพื่อนมนุษย์
ยอดนักสืบจิ๋วฯ/ ยึดมัน่ ในความดีและมุง่ มัน่ ต่อการตามล่าหาคนผิด
โคนัน
เดธโน้ ต/แอล ยึดมัน่ ในความดีและมุง่ มัน่ ต่อการตามล่าหาคนผิด
ทเวนตี ้ฯ/เคนจิ ยอมสละชีวิตแสนเรี ยบง่ายมาเป็ นผู้นาต่อต้ านวายร้ ายทาลายโลกที่
เรี ยกตัวเองว่า “เพื่อน”

ตารางที่ 26 ตารางแสดง “วีรรส” ความกล้ าของตัวละครเอก

2. รสแห่ งการสร้ างความลึกลับ น่ าสงสัย


นอกจากรสแห่งความมุง่ มัน่ จริงจังแล้ วรสที่พบทุกเรื่ องก็คือ “อัทภูตรส” หรื อการสร้ าง
ความรู้สกึ สงสัย และความอัศจรรย์ใจ โดยแสดงผ่านหลายองค์ประกอบของการเล่าเรื่ อง คือผ่าน
โครงเรื่องที่วางปมปั ญหา ที่ยงั ไม่ได้ รับการคลี่คลาย หรื อการคลี่คลายปมปั ญหาได้ ชนิดที่ผ้ อู ่าน
คาดไม่ถึง เช่นการเฉลยตัว “เพื่อน” และแรงพยาบาทของเขาที่มีตอ่ เคนจิใน ทเวนตีฯ้ การสร้ าง
ปมเรื่ อง “วันพีซ” สมบัตขิ องมหาโจรสลัดที่ใครๆ ใฝ่ ฝั นถึง ความลึกลับดามืดของประวัติศาสตร์ ที่
สูญหายไปเพราะการกระทาบางอย่างของรัฐบาลโลกผู้กมุ อานาจในโลกโจรสลัดหรื อแสดงผ่านการ
สร้ างความลึกลับของตัวละคร ทังการซ่ ้ อนเงื่อนเรื่ องพ่อ-แม่ที่แท้ จริงของลูฟี่ในวันพีซ หรื อใน
นินจาคาถาฯ ก็สร้ างผ่านปมชีวิตของนารูโตะ ที่ยงั ไม่เผยประวัตขิ องตระกูลที่ชดั เจน รวมทังความ ้
จริงของการฆ่าล้ างตระกูลตัวเองของตระกูลอุจิวะ อีกทังความลั ้ บดามืดของตัวละครฝ่ ายร้ ายใน
สมาชิก “แสงอุษา” หรื อการสร้ างกลุม่ องค์กรชายชุดดาให้ เป็ นผู้ร้ายตัวเอ้ ที่คนอ่านรอลุ้นให้
เฉลยกันเสียทีในยอดนักสืบจิ๋วฯ ในขณะที่เดธโน้ ต และดราก้ อนบอลสร้ างความอัศจรรย์ใจ
ได้ โดยไม่ต้องพึง่ ความลึกลับดามืดของโครงเรื่ อง หรื อตัวละคร โดยเดธโน้ ต ซึง่ เฉลยตัว “ฆาตกร”
ตังแต่
้ ต้นเรื่ องได้ สร้ างความอัศจรรย์ใจแก่ผ้ อู า่ นผ่านการสร้ างเหตุการณ์ การกระทาของตัวละคร
264

ฝ่ ายผู้ลา่ และผู้ถกู ล่า (แอลและไลท์) ให้ แสดงถึงความเป็ นอัจฉริยะในการวางแผนอันยอกย้ อน


ขณะที่ดราก้ อนบอลนันสร้ ้ างความอัศจรรย์ผ่านการเติมแต่งตัวละครร้ ายหน้ าใหม่ๆ ที่นอกจากจะ
เก่งกาจขึ ้นเรื่ อยๆ แล้ วยังมีคาแร็คเตอร์ แตกต่างกันออกไป ซึง่ อาจสรุปการสร้ างรสแห่งความ
สงสัย อัศจรรย์ใจของทัง้ 6 เรื่ องดังนี ้
เรื่อง กลวิธีท่ กี ่ อให้ เกิด “อัทภูตรส” ความสงสัย น่ าอัศจรรย์
ทเวนตี ้ฯ การสร้ างความลึกลับในตัวละคร “เพื่อน” ตัวละครไม่เปิ ดเผยหน้ า
และการคลี่คลายแรงพยาบาทของ “เพื่อน” ที่ทาให้ เป็ นวายร้ าย
ทาลายโลก
วันพีซ การสร้ างปมเรื่ องสมบัตใิ นตานาน “วันพีซ” เงื่อนปมเรื่ องพ่อ-แม่ที่
แท้ จริงของลูฟี่ เงื่อนปมเรื่ องประวัติศาสตร์ ที่หายไปจากการกระทา
ของรัฐบาลโลก
นินจาคาถาฯ การสร้ างความลึกลับในปมชีวิตของนารูโตะที่มีปีศาจอยูใ่ นร่าง และ
ที่มาของตระกูล การสร้ างประวัติดามืดของตระกูลคูแ่ ค้ นอย่าง
ตระกูลอุจิวะที่ลกู ชายตนเองต้ องมาฆ่าล้ างตระกูล รวมทังความลั้ บ
ของตัวละครฝ่ ายร้ ายในสมาชิก “แสงอุษา”
ยอดนักสืบจิ๋วฯ การสร้ างปมหลักปมรอง โดยปมหลักคือองค์กรชุดดาที่ทาให้ โคนันก
ลายเป็ นเด็ก ส่วนปมรองคือเงื่อนคดีแต่ละตอนที่โคนันต้ องคลี่คลาย
เดธโน้ ต การสร้ างตัวละครให้ เก่งกาจ วางแผนที่ซบั ซ้ อนเหลือเชื่อ
ดราก้ อนบอล การสร้ างตัวละครร้ ายหน้ าใหม่ๆ ที่ฝีมือเก่งกาจขึ ้นเรื่ อยๆ

ตารางที่ 27 ตารางแสดง “อัทภูตรส” การสร้ างความสงสัย อัศจรรย์ ใจ

3. รสแห่ งความตลกขบขัน
นอกจากรสที่ทาให้ ผ้ อู ่านประทับใจจากความมุง่ มัน่ กล้ าหาญของตัวละครเอก และการ
สร้ างอัศจรรย์ใจผ่านโครงเรื่ อง และตัวละครที่มีมิติ ลึกลับ และแปลกใหม่นา่ ติดตามแล้ วยังมีรส
แห่งความตลกขบขัน สนุกสนาน หรื อ “หาสยรส” โดยพบมากในดราก้ อนบอล และวันพีซ ซึง่
มีจดุ ร่วมกันคือการวาดสัดส่วนตัวละครให้ “เกินจริง” โดยเฉพาะท่าทางการอ้ าปาก การวาดลูกตา
ให้ ใหญ่ผิดปกติซงึ่ ก็ถือเป็ นการสร้ างอารมณ์ขนั ที่เป็ นสากลผ่านการสื่อสารด้ วยภาพและลายเส้ น
ของตัวละครซึง่ ย่อมดีกว่าเป็ นมุขตลกที่อิงกับสังคม วัฒนธรรมของญี่ปนุ่ ซึง่ ก็ทาให้ การ์ ตนู ทังสอง

265

เรื่ องเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นได้ ในวงกว้ างโดยเฉพาะกลุม่ เด็กและเยาวชน นอกจากนี ้รสแห่งความขบขัน
ยังเกิดจากการสร้ างตัวละครฮีโร่ปลอม เหมือนเช่นมิสเตอร์ ซาตานในดราก้ อนบอล และตัวตลก
บากีใ้ นวันพีซ ซึง่ ที่แท้ จริงตัวละครทังคู ้ ต่ า่ งไร้ ฝีมือ แต่ด้วยโชคชะตาเล่นตลกจนจับพลัดจับผลูให้
ได้ หน้ าแทนพระเอก กลายเป็ นฮีโร่ที่สงั คมยกย่อง (ตามที่กล่าวไปแล้ วในหัวข้ อความแตกต่างของ
ตัวละคร)
แต่ในขณะที่ดราก้ อนบอล และวันพีซ เน้ นรสชาติของตวามตลกขบขัน แนวเรื่ องที่จริ งจังก็
ให้ “กรุณารส” หรื อการสร้ างความรู้สกึ โศกเศร้ า เห็นใจตัวละคร โดยเฉพาะในนินจาคาถาฯ และ
วันพีซ ซึง่ แสดงผ่านการสร้ างกลุม่ ตัวละครที่ ดเู ลวร้ าย (จากบรรทัดฐานของสังคม) ให้ กลายเป็ นตัว
ละครที่มีที่มาที่ไปของการกระทาชัว่ ร้ ายเหล่านัน้ เช่นการเป็ นยอดนักขโมยของนามิในวันพีซไม่ได้
เกิดจากจิตใจใฝ่ ร้ ายของเธอเอง แต่ที่เธอขโมยก็เพราะจาเป็ นต้ องนาเงินมาปลดแอกครอบครัว
หรื อการเป็ นคนเลือดเย็นของเพนในนินจาคาถาฯ ก็เป็ นเพราะถูกพ่อแม่ตวั เองเกลียดชัง และไม่มี
พื ้นที่ยืนในสังคมนัน่ เอง
4. รสแห่ งความรัก
และแน่นอนว่าอีกหนึง่ รสที่ขาดไม่ได้ ก็คือ รสแห่งความรักหรื อ “ศฤงคารรส” ซึง่ แม้ จะไม่มี
การสร้ างตัวละครเอกให้ หมกมุน่ กับเรื่ องความรัก หรื อการตามจีบนางเอก แต่ก็มีการกาหนด คู่
พระ-คูน่ าง ให้ เกิดขึ ้นในหลายเรื่ อง และสร้ างเงื่อนไขของความรักแตกต่างกันไป
4.1 รักเขาข้ างเดียว
เช่นในยอดนักสืบจิ๋วฯ ที่กาหนดให้ ตวั ละครมีความรักทังตั ้ วละครวัยเด็กประถม
อย่างในขบวนการนักสืบเยาวชน ที่สร้ างให้ เกิดความรักแบบเป็ นวงกลม คืออายูมิแอบชอบตัวเอก
อย่างโคนัน แต่มิซฮึ ิโกะแอบชอบอายูมิ ในขณะที่โคนันก็ไม่ได้ ร้ ูสึกใดใดกับเพื่อนตัวน้ อยของเขา
เลยนัน่ เพราะจิตใจที่แท้ จริงของโคนันซึง่ เติบโตเป็ นหนุม่ มัธยมอย่างชินอิจิได้ เทใจให้ กบั รันเพื่อน
สาวคนสนิทเสียแล้ ว ส่วนในนินจาคาถาฯ ก็ยงั คงใช้ สตู รความรักเป็ นวงกลมเช่นเดียวกับใน
ยอดนักสืบจิ๋วฯ นัน่ คือตัวเอกอย่างนารูโตะ หลงรักเพื่อนร่วมทีมเดียวกันอย่างซากุระ แต่ซากุระ
กลับชื่นชอบซาสึเกะเพื่อนร่วมทีมอีกคนหนึง่ ซึง่ ซาสึเกะเองก็ไม่ได้ แยแสต่อความรักแบบหนุม่ -สาว
เลย หรื อกระทัง่ ในทเวนตีฯ้ เองก็ยงั ปูความรักในวันเด็กของเคนจิกบั ยูคจิ ิ และทาให้ คน
อ่านแอบลุ้นอยู่บ้างกับการลงเอยของทังคู ้ ใ่ นยามเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ (แต่ท้ายที่สดุ ผู้เขียนก็ไม่ได้ พดู
ถึงเรื่ องนี ้) แต่ในวันพีซกลับสร้ างให้ ตวั ละครเอกไม่ประสีประสากับความรัก ขณะเดียวกัน
กลับมีสาวสวยแสนเก่งกาจที่คนทังโลกต่ ้ างหมายปองอย่างโบอา แฮนค็อกมาหลงรักลูฟี่อย่าง
น่าเชื่อถือ (เพราะลูฟี่รู้ความลับของเธอที่เคยเป็ นทาสมาก่อนแต่กลับไม่แสดงทีทา่ หยามเหยียดแต่
266

กลับรักษาคาพูดช่วยปกปิ ดความลับให้ ) ซึง่ ก็ยิ่งทาให้ ลฟู ี่ เป็ นตัวละครเอกที่ “ครบรส” (ทังตลก ้ ทัง้
มุง่ มัน่ แถมยังเป็ นที่หมายปองของสาวสวยอันดับหนึง่ )
4.2 รู้เขาหลอกแต่เต็มใจให้ หลอก
ขณะที่เดธโน้ ต ก็สร้ างตัวละครที่เฉยชาต่อความรักขึ ้นมาอย่างไลท์ แต่ก็สร้ างตัว
ละครสาวแสนน่ารัก และคาแร็คเตอร์ “แรง” แบบสาวพังก์อย่างมิสะให้ คลัง่ ไคล้ หลงใหลในตัวไลท์
ชนิดหัวปั กหัวปา นอกจากนี ้ยังสร้ างคิโยมิ ตัวละครผู้ประกาศสาวแสนเก่ง สวย และมัน่ ใจใน
ตัวเองแต่ก็ต้องสยบแทบเท้ าไลท์ ชายผู้มีอดุ มการณ์กวาดล้ างคนชัว่ ด้ วยเดธโน้ ต และท้ ายที่สดุ มิ
สะยอมลดอายุขยั ของตัวเองลงครึ่งหนึง่ เพี่อชายที่เธอรัก ขณะที่คโิ ยมินนต้ั ้ องพบกับความตาย
ซึง่ ก็ทาให้ เดธโน้ ตเป็ นเรื่ องเดียวที่ทาให้ สถานะของตัวละครหญิงต่าต้ อยกว่าเรื่ องอื่น เพราะทัง้
ความน่ารัก (ของมิสะ) หรื อความเป็ นสาวเก่ง (ของคิโยมิ) ต่างก็ยงั ไม่สามารถทาให้ ตนเองรอดพ้ น
จากการถูกผู้ชายจอมวางแผนอย่างไลท์หลอกใช้ ได้ ซึง่ ก็เป็ นการตอกย ้าความไม่เท่าเทียมกันของ
เพศหญิงที่ท้ายที่สดุ ก็ยงั คง (ถูกตีตราว่า) โง่เขลากว่าเพศชายอยู่วนั ยังค่า
4.3 รักต่างเผ่าพันธุ์
ส่วนดราก้ อนบอล แม้ ความรักของตัวเอกอย่างโงคูกบั จีจี ้จะไม่นา่ ลุ้น (เพราะ
เรื่ องราวกาหนดให้ ผ้ อู ่านรับรู้ภายหลังว่าทังคู้ แ่ ต่งงานมีลกู ด้ วยกันโดยข้ ามเรื่ องราว “ระหว่างกัน
และกัน” ของทังคู ้ )่ แต่ก็สร้ างรสแห่งรักที่ดไู ม่นา่ เป็ นไปได้ ให้ เป็ นไปได้ ขึ ้นมา (แต่ก็ยงั คงไม่นาเสนอ
เรื่ องราวการถักทอความรักของตัวละครอยูด่ ี) เมื่อคุริลิน เพื่อนซี ้ของโงคูที่ตวั เตี ้ย ไม่หล่อ ไม่เท่
(แถมยังไม่มีจมูก) กลับลงเอยกับหุ่นยนต์สาวแสนสวย และเฉยชา หรื อสาวบ้ าผู้ชายผู้เก่งเรื่ อง
เครื่ องยนต์กลไกอย่างบลูมา่ กลับลงเอยกับมนุษย์ตา่ งดาวชาวไซย่าแสนเลือดร้ อนอย่างเบจิต้า
บทที่ 6

สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

“กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปน” ุ่


เป็ นงานวิจยั ที่ใช้ วิธีการศึกษาเนื ้อหา (Content Research) หนังสือการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ได้ รับความนิยม
ในประเทศไทย จานวน 6 เรื่ องคือ ดราก้ อนบอล วันพีซ นินจาคาถา โอ้ โฮเฮะ เดธโน้ ต ทเวนตี ้
เซนจูรี่บอยส์ และยอดนักสืบจิ๋ว โคนัน และวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
ผู้เชี่ยวชาญด้ านการเล่าเรื่ อง การสร้ างคาแร็ คเตอร์ การ์ ตนู นักวิจารณ์และนักวิชาการด้ านการ์ ตนู
จานวน 12 คน โดยใช้ แนวคิดหลักคือแนวคิดเกี่ยวกับการ์ ตนู แนวคิดโครงสร้ างการเล่าเรื่ อง
แนวคิดการสร้ างและออกแบบบุคลิกลักษณะตัวละคร แนวคิดรูปลักษณ์นิยม แนวคิดสุนทรี ยรส
และแนวคิดเกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรมญี่ปนุ่ ซึง่ สรุปผลได้ ตามวัตถุประสงค์การวิจยั ดังนี ้

1. กลวิธีการเล่ าเรื่องซึ่งหมายรวมถึงการออกแบบเนือ้ หา และลายเส้ นของการ์ ตนู ญี่ปุ่น


แบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วนหลักคือ
1.1 การเล่าเรื่ องผ่านแนวคิดการเล่าเรื่ อง
1.2 การเล่าเรื่ องผ่านเทคนิคเฉพาะของสื่อการ์ ตนู
1.3 การเล่าเรื่ องผ่านลายเส้ นการ์ ตนู

1.1 การเล่ าเรื่องผ่ านแนวคิดการเล่ าเรื่อง


1.1.1 แนวเรื่ อง
จากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องทาให้ เห็นว่าทุกเรื่ องมีหลากแนว หลายรส แต่ก็มีจดุ
ร่วมที่เหมือนกันคือเนื ้อหายังคงอยูใ่ นวังวนของแนวเรื่ องแบบต่อสู้ คือการต่อสู้ทางร่างกาย
เช่นดราก้ อนบอล วันพีซ นินจาคาถาฯ หรื อการต่อสู้ทางสติปัญญาอย่างเดธโน้ ต หรื อต่อสู้
เพื่ออุดมการณ์และความรู้สึกผิดชอบชัว่ ดีของตนเองอย่างทเวนตี ้ฯ และโคนัน นอกจากนี ้
ทุกเรื่ องยังมีกลิ่นไอของความเป็ นแฟนตาซี (เหนือจริง) ซึง่ เป็ นแนวที่เอื ้อต่อสื่อการ์ ตนู อันสามารถ
สร้ าง “จินตนาการ” ให้ กลายเป็ น “เรื่ องจริง” ได้ อย่างแทบไร้ ขีดจากัด เช่นเดธโน้ ตก็สร้ างเรื่ อง
ของยมทูต และสมุดโน้ ตฆ่าคนได้ ตามใจต้ องการ หรื อกระทัง่ แนวนักสืบอย่างโคนันก็ยงั สร้ าง
เรื่ องของกลุม่ องค์กรลึกลับที่ผลิตยาประหลาดทาให้ ผ้ ใู หญ่กลายร่างเป็ นเด็ก โดยอาจ
แยกแยะแนวเรื่ องของการ์ ตนู ทัง้ 6 ได้ ดงั นี ้ (เรี ยงจากแนวเรื่ องที่ปรากฏในเนื ้อเรื่ องมากไปหาน้ อย)
268

เรื่อง แนวเรื่อง
ดราก้ อนบอล ต่อสู้ แฟนตาซี ผจญภัย ตลก
วันพีซ แฟนตาซี ผจญภัย ต่อสู้ ตลก ดราม่า
นินจาคาถาฯ ต่อสู้ แฟนตาซี ดราม่า
เดธโน้ ต ลึกลับ แฟนตาซี ต่อสู้
ทเวนตี ้ฯ ลึกลับ แฟนตาซี ดราม่า ต่อสู้
ยอดนักสืบจิ๋วฯ สืบสวน ต่อสู้ แฟนตาซี

ตารางที่ 28 แนวเรื่ องของการ์ ตูนทัง้ 6 เรื่อง

1.1.2 โครงเรื่อง (Plot)


1.1.2.1 จังหวะและลาดับการเดินเรื่ อง โดยแบ่งจังหวะความช้ า-เร็ว
ของการเดินเรื่ องเป็ น 2 รูปแบบคือมีทงแบบที ั้ ่เรื่ องพุง่ ตรงไปข้ างหน้ าโดยไม่สนใจอดีต กับอีกแบบ
คือเน้ นเล่าอดีตเพื่อเติมเหตุผลและความน่าเชื่อถือของการกระทาในปั จจุบนั โดยเรื่ องราวที่พงุ่ ตรง
ไปข้ างหน้ าคือดราก้ อนบอล และเดธโน้ ต ในขณะที่วันพีซ และนินจาคาถาฯ จะเน้ นเล่าย้ อน
อดีตหรื อแฟลชแบ็ค (flash back) เพื่อสร้ างแรงขับ-เหตุผลของนิสยั การกระทา และความมุง่ มัน่
ของตัวละคร ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู ่านรู้สกึ สนิทสนมและหลงรักตัวละครได้ ง่าย และนอกจากจังหวะ
การเดินเรื่ องแล้ วยังมีลาดับการเดินเรื่ องที่นา่ สนใจคือ การเล่า 3 เหตุการณ์คขู่ นานไปพร้ อม
กันใน ทเวนตีเ้ ซนจูร่ ี บอยส์ ผู้เขียนเล่าเรื่ องโดยใช้ การตัดกลับไปกลับมาให้ เห็นฉาก เหตุการณ์
ทังอดี
้ ต ปั จจุบนั และอนาคตจนกลายเป็ นเอกลักษณ์ของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ ซึง่ ก็อาจทาให้ ผ้ อู ่านที่
คุ้นชินกับการเล่าเรื่ องไปตามลาดับเวลา อาจเลิกอ่านการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไปกลางคัน แต่การนาเสนอ
เรื่ องราวโดยตัดไปตัดมาเช่นนี ้ก็แสดงถึงชันเชิ ้ งของผู้เขียนในแง่การลาดับเรื่ องราวที่สามารถกระตุ้น
ให้ ผ้ อู า่ นได้ คิดและนารายละเอียดของแต่ละเหตุการณ์มาปะติดปะต่อเพื่อเข้ าใจเรื่ องราวโดยรวม
ในตอนท้ ายเรื่ อง
1.1.2.2 ความสมจริง และความน่าเชื่อถือของโครงเรื่ อง
จากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องก็มีการวางโครงเรื่ องที่สมจริงและน่าเชื่อถือ
แตกต่างกันดังตารางสรุปนี ้
269

เรื่อง ความสมจริง วิธีสร้ างความสมจริง/ความน่ าเชื่อถือ


ดราก้ อนบอล น้ อย ไม่เน้ นความสมจริง
เดธโน้ ต ปานกลาง ใช้ ตวั หนังสืออธิบายกฎการใช้ โน้ ต (เพื่อสร้ างและ
คลี่คลายปม)
ยอดนักสืบจิ๋ว ปานกลาง สร้ างตัวละครให้ มีที่มาแฟนตาซีแต่ยงั คงหัวใจการคลี่คลาย
คดีเพื่อหาความจริงตามแนวเรื่ องสืบสวน
ทเวนตี ้ฯ มาก การใส่ใจข้ อมูล-รายละเอียดเรื่ องสถานที่ สิ่งของที่สมมติขึ ้น
วันพีซ มาก การใส่ใจข้ อมูล-รายละเอียดเรื่ องสถานที่ สิ่งของที่สมมติขึ ้น
นินจาคาถาฯ มาก การใส่ใจข้ อมูล-รายละเอียดเรื่ องสถานที่ สิ่งของที่สมมติขึ ้น

ตารางที่ 29 สรุปความสมจริงและความน่ าเชื่อถือของเรื่อง (เรียงจากน้ อยไปมาก)

1.1.2.3 ความลึกซึ ้ง และความซับซ้ อนของโครงเรื่ อง แตกต่างกันดังนี ้


ดราก้ อนบอล: โครงเรื่ องง่ายๆ ได้ ใจคนอ่าน
ดราก้ อนบอลที่ขาดความสมจริงของโครงเรื่ องในหลายๆ จุดย่อมมีโครง
เรื่ องไม่ซบั ซ้ อน โดยมีทิศทางของเรื่ องชัดเจนอย่างมากเพราะสามารถทาให้ ผ้ อู ่านสนใจเรื่ องราว
ได้ ตงแต่
ั ้ เปิ ดเรื่ อง
วันพีซ:หลากโครงเรื่ องหลอมรวมเป็ นเนื ้อเดียว
ทุกโครงเรื่ องย่อยๆ ที่ปรากฏในวันพีซก็ไม่ได้ ใหญ่โตหรื อซับซ้ อนซ่อนเงื่อน
เสียจนทาให้ ทิศทางของเรื่ องสะเปะสะปะ เพราะทุกเหตุการณ์ เรื่ องราวในการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีคา่
เทียบเท่าจิ๊กซอว์หนึง่ ชิ ้นที่ตา่ งก็ชว่ ยทาให้ เป้าหมายของเรื่ องชัดเจนขึ ้น โดยเพียงหน้ าแรกก็ดงึ
ผู้อา่ นเข้ าสูเ่ รื่ อง (โลกแห่งโจรสลัด) ด้ วยคาพูดของเจ้ าแห่งโจรสลัดอย่างโกลด์ โรเจอร์ ที่ทิ ้งปริศนา
กระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นเกิดความสงสัยพร้ อมๆ กับเข้ าใจทิศทางของเรื่ องได้ วา่ เรื่ องราวต่อไปนี ้คือการแย่ง
ชิง-ตามหาสมบัตขิ องเจ้ าแห่งโจรสลัดโรเจอร์ นนั่ เอง ขณะเดียวกันตัวละครเอกอย่างลูฟี่ก็พดู
ออกมาอย่างชัดเจนว่าเป้าหมายของเขาคือการเป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ให้ ได้ ความฝั น(หลัก) หรื อ
โครงเรื่ องหลักของการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงเป็ นการเดินทางผจญภัยค้ นหา “วันพีซ” ของกลุม่ โจรสลัดหมวก
ฟาง (กลุม่ ของพระเอกอย่างลูฟี่) นัน่ เอง และนอกจากความฝั นหลักของตัวละคร
(เป้าหมายหลักหรื อโครงเรื่ องหลัก) แล้ ว ผู้เขียนยังสร้ างเป้าหมายรอง หรื อโครงเรื่ องย่อยๆ อีกเป็ น
จานวนมาก เพื่อสร้ างที่มาที่ไป ความลึกซึ ้งของกลุม่ ตัวละครเพื่อนพ้ องของลูฟี่ เช่นการปลกแอก
ครอบครัวและคนในหมูบ่ ้ านของนามิ (ต้ นหนเรื อสาวสวย) ให้ รอดพ้ นจากการกดขี่เก็บค่าคุ้มครอง
270

ของกลุม่ เงือก และแม้ ความฝั นของตัวละครกลุม่ เหล่านี ้จะประสบความสาเร็จแล้ วแต่พวกเขาก็ยงั


มีเหตุผลในการออกเดินทางในฐานะโจรสลัดลูกเรื อของลูฟี่ต่อไป นัน่ เพราะด้ วยความสามารถใน
การ “ให้ กาลังใจ” แก่คนรอบข้ างของลูฟี่จึงทาให้ ลกู เรื อของเขามุง่ มัน่ จะไล่ลา่ “ความฝั นส่วนตัว”
ขึ ้น เช่นนามิเริ่มล่าฝั นการเป็ นนักเขียนแผนที่เดินเรื อไปทัว่ โลก ดังนันการออกผจญทะเลใน ้
ฐานะกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางทังหมดจึ ้ งมีเป้าหมายร่วมกันคือ “การทาฝั นของตนให้ เป็ นจริง”
จากที่กล่าวมาแสดงให้ เห็นว่าวิธีการคิดโครงเรื่ องย่อยๆ ของโอดะสอดคล้ องกับโครงเรื่ องหลัก (การ
ทาความฝั นคือการเป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ของตัวเอกอย่างลูฟี่จะได้ มาก็ตอ่ เมื่อช่วยกันสานฝั นของ
พวกพ้ องบนเรื อให้ เป็ นจริงเสียก่อน) ขณะเดียวกันโครงเรื่ องย่อยๆ ทังหมดก็ ้ สะท้ อนถึงชื่อเรื่ องวัน
พีซ (One Piece – รวมกันเป็ นหนึง่ เดียว/ชิ ้นเดียว) การ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงเป็ นตัวอย่างชันดี ้ สาหรับการ
สร้ างโครงเรื่ องหลัก-รองที่แม้ จะมีจานวนมากแต่กลับหลอมรวมเป็ นเนื ้อเดียวกันได้ อย่างมีเอกภาพ
นินจาคาถาฯ: โครงเรื่ องซับซ้ อนและลึกซึ ้ง
นินจาคาถาฯ มีความซับซ้ อนของโครงเรื่ องอย่างมาก เพราะไม่ได้
เดินเรื่ องเน้ นไปที่ตวั ละครเอกอย่าง “นารูโตะ” เพียงคนเดียว แต่กลับเลือกจะให้ น ้าหนักกับการ
เสริมแต่ง “อดีต” ของตัวละครที่อยูร่ ายรอบตัวเอกที่มีความต้ องการ (ความฝั น) ที่แตกต่างออกไป
ซึง่ การสร้ างโครงเรื่ องย่อยๆ ที่ซบั ซ้ อนก็มีข้อดีตรงที่ทาให้ เรื่ องราว “เข้ มข้ น” ดูลกึ ลับน่าติดตาม แต่
กลับกันผู้อา่ นที่เป็ นเด็กก็อาจเข้ าไม่ถึงความซับซ้ อนของเรื่ องได้ มากนัก
ยอดนักสืบจิ๋วฯ: โครงเรื่ องง่ายๆ ตามแบบฉบับซีรี่ส์
ยอดนักสืบจิ๋วนันมี ้ ลกั ษณะโครงเรื่ องตามแบบการ์ ตนู จบในตอน หรื อ
เหมือนซีรี่ส์ดงั นันโครงเรื
้ ่ องจึงไม่ซบั ซ้ อนมากนัก โดยมีโครงเรื่ องหลัก คือการเสาะหาองค์กรของ
ชายชุดดาลึกลับที่ทาให้ ตวั เอกของเรื่ องอย่างชินอิจิต้องกลายร่างจากเด็กมัธยมไปเป็ นเด็กประถม
ขณะเดียวกันก็มีโครงเรื่ องย่อยๆ ที่คลี่คลายจบในตอนตามแต่ละคดีที่ตวั เอกได้ เข้ าไปเกี่ยวข้ องด้ วย
ซึง่ การสร้ างโครงเรื่ องหลักระยะยาว ซ้ อนไปกับโครงเรื่ องย่อยที่จบในตอนก็ทาให้ ผ้ อู า่ นที่พลาดบาง
ช่วงบางตอนสามารถหยิบอ่านเล่มไหนก็ได้ โดยไม่ร้ ูสกึ ว่า “ตามไม่ทนั ” และขณะเดียวกันก็ยงั
อยากซื ้ออ่านต่อไปเรื่ อยๆ เพราะมีเรื่ องให้ “ลุ้น” อยู่กบั ปมของโครงเรื่ องหลัก
ทเวนตี ้ฯ: โครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อนแต่เล่าเรื่ อง (ให้ ดเู หมือน) ซับซ้ อน
การ์ ตนู เรื่ องนี ้แทบไม่ได้ สร้ างโครงเรื่ องย่อยผ่านฉากต่อสู้ระหว่างตัวเอก-
ตัวร้ ายตามที่เราคาดหวังเลยแม้ แต่น้อย แต่กลับสามารถดึงดูดผู้อา่ นเอาไว้ ได้ ผา่ นการสร้ างโครง
เรื่ องย่อยๆ ที่มกั เกิดจาก “อดีต” ของตัวละครกลุม่ พระเอก และจากรายละเอียดชีวิตของตัวละคร
ประกอบ แต่ขณะเดียวกันแม้ โครงเรื่ องจะไม่ซบั ซ้ อน ผู้เขียนก็พยายามสร้ างความซับซ้ อน
271

ของเรื่ องราวด้ วยกลวิธีการลาดับเรื่ องที่เล่าตัดเหตุการณ์กลับไปกลับมาระหว่าง 3 เหตุการณ์หลักๆ


ซึง่ ก็ชว่ ยสร้ างความลึกซึ ้ง-ซับซ้ อนของปมเรื่ องที่ทาให้ คนอ่านติดตามไปจนถึงบทสรุ ปเพื่อหา
คาตอบว่าใครกันแน่คือ “เพื่อน” ทเวนตี ้ฯ จึงเป็ นการ์ ตนู ที่นา่ สนใจตรงที่มีโครงเรื่ องหลักชัดเจน-ไม่
ซับซ้ อน ขณะเดียวกันก็ยงั สามารถสร้ างโครงเรื่ องย่อยที่ช่วยขับเสริมโครงเรื่ องหลักได้ อย่าง
น่าเชื่อถือ และยังทาให้ ปมปั ญหาของเรื่ องดูซบั ซ้ อนและน่าติดตามไปพร้ อมกัน
เดธโน้ ต: โครงเรื่ องประเด็นเดียวแบบเรื่ องสัน้
โครงเรื่ องหลักเพียงประเด็นเดียวของเดธโน้ ตคือการต่อสู้ระหว่างตัวแทน
ความดี-ความชัว่ ผ่านตัวละครหลักสองตัว ระหว่างคิระ และแอล ซึง่ ต้ องลงเอยด้ วยจุดจบของ
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ โดยที่ไม่มีการสร้ างโครงเรื่ องย่อยๆ เข้ ามาทาให้ เรื่ องไขว้ เขวเลย ดังนันความ

น่าสนใจของเดธโน้ ตจึงอยูท่ ี่การใส่รายละเอียดของเรื่ องราวการวางแผนต่อกรกันระหว่างตัวเอกทัง้
สองฝั่ ง ซึง่ ผู้เขียนก็สร้ างรายละเอียดดังกล่าวได้ นา่ สนุกสนานอยูต่ ลอดเวลา โครงเรื่ องของเดธ
โน้ ตซึง่ มีลกั ษณะเข้ าใจได้ ง่ายนันจึ ้ งเป็ นลักษณะโครงเรื่ องแบบเรื่ องสัน้ ซึง่ ผู้เขียนก็สามารถดึงดูด
ผู้อา่ นให้ ร้ ูสึกว่าเรื่ องราวเข้ มข้ นจนอยู่กบั เรื่ องได้ แทบตลอดเวลา
จะเห็นได้ วา่ การ์ ตนู ที่เลือกมาศึกษาทังหมดมี
้ ความซับซ้ อนของโครงเรื่ อง
แตกต่างกันออกไป ทังน้ ้ อยและมาก ซึง่ โครงเรื่ องที่คอ่ นข้ างซับซ้ อนจะเป็ นลักษณะของการ์ ตนู ยอด
นิยมในปั จจุบนั ที่มีขนาดยาว (จานวนเล่มมากกว่า 50 เล่มขึ ้นไปเช่นวันพีซ นินจาคาถาฯ ส่วนดรา
ก้ อนบอลนันแม้ ้ จะตีพิมพ์ออกมาหลายเล่มแต่ก็มีรอยโหว่ของโครงเรื่ องตามที่กล่าวไปแล้ ว)
ส่วนโครงเรื่ องที่ไม่ซบั ซ้ อนจะเหมาะกับการ์ ตนู ที่มีความยาวไม่มากนัก (เช่นเดธโน้ ต ยาว13 เล่ม
และ ทเวนตี ้ฯ ยาว 22 เล่ม) ในขณะที่ยอดนักสืบจิ๋วฯ มีโครงเรื่ องแบบละครชุดหรื อซิทคอมที่มีโครง
เรื่ องหลัก (ที่ยงั ไม่เฉลยปมจนกว่าจะจบเรื่ อง) และโครงเรื่ องย่อย (ที่เฉลยปมแบบจบในตอน)
1.1.2.4 การสร้ าง-และการคลี่คลายเงื่อนงา
ดราก้ อนบอล: สร้ างเงื่อนงาและคลี่คลายแบบทันทีทนั ใด
ดราก้ อนบอลมีโครงเรื่ องที่ไม่ซบั ซ้ อน ดังนันเงื
้ ่อนงาหรื อปมปั ญหาของ
เรื่ องจึงถูกสร้ างขึ ้นเพียงชัว่ เวลาสันๆ ้ แล้ วจึงเฉลยในเวลาต่อมาแบบทันทีทนั ใด ไม่ทิ ้งช่วงปล่อยให้
ผู้อา่ นสงสัยเป็ นเวลานาน ทาให้ ผ้ อู า่ น “รู้เท่าๆ กับตัวละคร” นอกจากนี ้ดราก้ อนบอลก็ได้ “แบไต๋”
ให้ ผ้ อู า่ นรู้จกั “ดราก้ อนบอล” ซึง่ เป็ นเงื่อนปมสาคัญของเรื่ องกันแบบหมดเปลือกตังแต่ ้ ต้นเรื่ อง
ดังนันอาการ
้ “ลุ้น” หรื อความรู้สกึ “คาดไม่ถึง” ของคนอ่านจึงมีไม่มากนัก

โคนัน: อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ชว่ ยคลี่คลายคดี


272

จุดเด่นของการสร้ างเงื่อนงาในการ์ ตนู สืบสวนเรื่ องนี ้คือ ความไม่ซบั ซ้ อน


จนยากเกินเข้ าใจ โดยหากเทียบกับการ์ ตนู ในแนวเดียวกันเรื่ องดังอย่างคินดะอิจิ กับคดีฆาตกรรม
ปริศนาก็พบว่าแม้ จะสร้ างคดีในแนวทางเดียวกันคือการเปิ ดเรื่ องด้ วยการสร้ างปมปั ญหาขึ ้นมา
ผ่าน “เหตุฆาตกรรมในสถานที่ปิดตาย” แต่คนิ ดะอิจิฯ จะเปิ ดเผยขันตอนการสื ้ บสวน และยอม
“ปล่อย” ร่องรอย (clue) ของการฆาตกรรมให้ ผ้ อู า่ นได้ ครุ่นคิดกันมากกว่าโคนัน ในขณะที่
โคนันจะไม่คอ่ ยเปิ ดเผยร่องรอยของคดีให้ เห็นรายละเอียดมากนัก ทาให้ ผ้ อู ่าน “รู้น้อยกว่าตัว
ละคร” ซึง่ มีข้อดีตรงที่สามารถปิ ดบังเงื่อนงาบางส่วนไว้ ทาให้ ผ้ อู า่ นเดาตัวคนร้ ายไม่คอ่ ยถูก แต่
ในทางกลับกันก็อาจไม่ถกู ใจผู้อา่ นที่เป็ นแฟนประจาของเรื่ องราวแนวนี ้ซึง่ มักชื่นชอบการค่อยๆ คิด
หาคาตอบไต่ไปตามเงื่อนงาที่ผ้ เู ขียนพยายามปล่อยออกมา และสนุกกับการได้ “ลุ้น” ว่าตน
สามารถ “ทาย” ผู้ร้ายตัวจริ งได้ ถกู ต้ อง ส่วนการคลี่คลายปมของการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็สามารถทาให้
คนอ่านที่เป็ นเด็กสามารถ “เข้ าถึง” เรื่ องราวแบบสืบสวนสอบสวนได้ ง่ายขึ ้นด้ วยการนา
“วิทยาศาสตร์ ” มาเป็ น “พระเอก” ของเรื่ อง เพราะจุดเด่นในการคลี่คลายปมของยอดนักสืบจิ๋ว
คือการนาเครื่ องมือทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ (หูกระต่ายแปลงเสียง และการยิงยาสลบ) ซึง่ การนา
วิทยาศาสตร์ เข้ ามาเป็ นตัวช่วยสาคัญในการคลี่คลายคดีจงึ เป็ นรสชาติที่คอ่ นข้ างแปลกใหม่สาหรับ
แนวเรื่ องแบบสืบสวนและการคลี่คลายคดีฆาตกรรมในสถานที่ปิดตาย ซึง่ ก็ได้ สะท้ อนแนวโน้ ม
ของเรื่ องราวแนวสืบสวนของสื่ออื่นในปั จจุบนั ที่เน้ นการคลี่คลายคดีด้วยหลักนิตวิ ิทยาศาสตร์ มาก
ขึ ้นด้ วย (เช่นละครชุดทางโทรทัศน์อย่าง CSI)
วันพีซ: การสร้ างความเซอร์ ไพรส์คือหัวใจของวันพีซ
ลักษณะการวางเงื่อนงาของวันพีซก็ไม่ตา่ งจากการ์ ตนู เรื่ องยาวโดยส่วน
ใหญ่ที่มกั ทาให้ “คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร” เป็ นระยะเวลานานกว่าครึ่งค่อนเรื่ องกว่าจะเฉลย
เงื่อนงาสาคัญนันๆ ้ จุดเด่นของการวางเงื่อนงาที่ชว่ ยดึงดูดผู้อ่านในวันพีซอีกประการก็คือการ
สร้ างตัว ละครหลักขึ ้นมาหลายตัวโดยที่ยงั ไม่บอกที่มาที่ไปของตัวละครอย่างชัดเจน ต่อเมื่อ
คนอ่านเริ่มผูกพันกับตัวละครแล้ วจึงค่อยๆ เผยรายละเอียดของตัวละครภายหลัง เช่นลูฟี่เป็ นพี่
น้ องกับเอส (โจรสลัดหนุม่ ไฟแรงที่โด่งดัง) หรื อการเปิ ดเผยว่าแท้ จริงแล้ วลูฟี่เป็ นลูกของนัก
ปฏิวตั ชิ ื่อดังผู้กาลังถูกกล่าวขวัญถึงในโลกโจรสลัด ซึง่ สร้ างความรู้สกึ คาดไม่ถึง ให้ กบั ผู้อา่ นได้
เป็ นอย่างดี จนอาจกล่าวได้ วา่ กลวิธีการสร้ างเงื่อนงาและการคลี่คลายของวันพีซสะท้ อนการ
วางแผนโครงเรื่ องระยะยาวมาอย่างดี เพราะมีลกั ษณะการวางเงื่อนงาสาคัญไว้ แต่ต้นและจะยังไม่
ยอมคลี่คลายเงื่อนงานันจนกว่ ้ าจะถึงปลายทางของเรื่ อง แต่ขณะเดียวกันในระหว่างทางของเรื่ อง
273

ก็พยายามหาทางสร้ างและคลี่คลายเงื่อนงาย่อยๆ ที่นา่ สนใจผ่านตัวละคร และฉากสถานการณ์


ต่างๆ เพื่อดึงผู้อา่ นให้ อยู่กบั เรื่ องราวได้ ตลอดรอดฝั่ ง
นินจาคาถาฯ: ชีวิตขื่นขมสร้ างอารมณ์ดราม่า
การสร้ างเงื่อนงาระหว่างวันพีซ และนินจาคาถาฯ มีลกั ษณะไม่ตา่ งกัน
นัน่ คือการทาให้ “คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร” อยูเ่ สมอ แต่นินจาคาถาฯ มุง่ เน้ นการสร้ างเงื่อนงา
ของเรื่ องและตัวละครมากกว่าวันพีซ โดยตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ องผู้เขียนได้ วางเงื่อนงาเพื่อจับคนอ่านได้
อย่างอยูห่ มัดผ่านปมชีวิตของตัวละครเอกอย่างนารูโตะ ที่มีสตั ว์ประหลาด (เรี ยกว่าสัตว์หาง
อย่างจิ ้งจอกเก้ าหาง) ถูกสะกดอยูใ่ นร่าง ซึง่ ผู้เขียนก็คอ่ ยๆ คลี่คลายปมของจิ ้งจอกเก้ าหางและ
สัตว์หางอื่นๆ ออกมาภายหลัง และนอกจากการสร้ างเงื่อนงาผ่านตัวเอกแล้ ว ตัวละครอื่นๆ
ก็มีเบื ้องหลังชีวิตน่าสนใจไม่แพ้ กนั จึงอาจสรุปได้ วา่ วิธีการสร้ างเงื่อนงาเพื่อดึงดูดผู้อา่ นของ
นินจาคาถาฯ นันเกิ ้ ดขึ ้นผ่าน “ตัวละคร” ทังตั ้ วละครเอกและตัวละครหลักอื่นๆ ที่มีพฤติกรรมหรื อ
นิสยั ที่ลกึ ลับในตอนต้ นเรื่ อง ก่อนจะเฉลยหรื อคลี่คลายเหตุผลในภายหลังโดยสร้ างเรื่ องราวที่เต็ม
ไปด้ วยอารมณ์ ปวดร้ าว ความรัก ความพยาบาทฯลฯ เพื่อสร้ างความสะเทือนอารมณ์แก่ผ้ อู า่ น
ทเวนตี ้ฯ: ทิ ้งเรื่ องราวให้ ค้างคาใจ
นอกเหนือจากการเล่าเรื่ องที่ไม่เป็ นไปตามลาดับเวลาแล้ วสิ่งที่นา่ สนใจ
อีกประการในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ก็คือ “วิธีการปูเรื่ องราวเพื่อเร้ าอารมณ์ผ้ อู ่านไปสูจ่ ดุ ที่น่าสนใจจนถึง
ที่สดุ ” (จุดไคลแมกซ์-climax) ซึง่ ในการเล่าเรื่ องโดยส่วนใหญ่จะคลี่คลายจุดไคลแมกซ์ในทันที
แต่ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้กลับเลือกที่จะ “ตัดไคลแม็กซ์” ทิ ้ง ทาให้ ผ้ อู า่ นจึงต้ องหยุดอารมณ์ เอาดื ้อๆ
(ในช่วงเวลาที่อารมณ์กาลังพุง่ ถึงขีดสุด) การไม่ยอมคลี่คลายปมปั ญหาหรื ออุปสรรคใน
ทันทีทนั ใดเป็ นกลวิธีหลักที่ผ้ เู ขียนใช้ ดงึ ความสนใจของผู้อา่ น โดยเลือกจะเบี่ยงเบนความสนใจคน
อ่านด้ วยการเปลี่ยนไปเล่าเรื่ องราวของตัวละครอื่น หรื อเหตุการณ์อื่นแทน แล้ วจึงค่อยมาเฉลยจุด
คลี่คลายในภายหลัง (ไม่เฉลยในเล่มเดียวกัน แต่หา่ งกันหลายเล่ม) ซึง่ การนาเสนอเช่นนี ก้ ็ทา
ให้ ดงึ ดูดผู้อ่านได้ ด้วย “ความคาใจ” ทาให้ สนใจติดตามเรื่ องราวต่อไป (โดยผู้เขียนมักทิ ้งจุด
คลี่คลายเอาไว้ เสมอเมื่อนาเสนอเรื่ องราวมาจนท้ ายเล่ม)
เดธโน้ ต: เฉลยเงื่อนงาสาคัญตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง
ขณะที่การ์ ตนู หรื อเรื่ องเล่าในสื่ออื่นๆ (เช่นนิยาย ละคร หรื อภาพยนตร์ )
มักพยายามเก็บเงื่อนงาหรื อปมหลักของเรื่ องที่ตนสร้ างไว้ ก่อนจะคลี่คลายปมสาคัญนันใน ้
ตอนท้ ายเรื่ องเพื่อรักษา-ดึงผู้อา่ นหรื อผู้ชมเอาไว้ แต่สาหรับเดธโน้ ตกลับฉีกไปจากกฎที่วา่ นี ้เพราะ
ยอมแบไต๋” หรื อ “เฉลย” ให้ ผ้ อู า่ นรู้ ”คาตอบ” เงื่อนงาสาคัญตังแต่ ้ ต้นเรื่ องว่า “ใครคือเจ้ าของเดธ
274

โน้ ตตัวจริง” ดังนันการที


้ ่เดธโน้ ตคลี่คลายปมว่าใครคือผู้ร้ายตัวจริงตังแต่
้ เปิ ดเรื่ องย่อมทาให้
ทิศทางในการเขียนเรื่ องเปลี่ยนไปโดยสิ ้นเชิง จากเดิมที่เรื่ องแนวสืบสวน มักทาให้ ผ้ อู า่ นสนุกกับ
การสร้ างปมและคลี่คลายปมบางส่วนให้ คนอ่านค่อยๆ “คาดเดาตัวผู้ร้าย” ทีละนิดๆ กลับกลายมา
เป็ นการสร้ างยุทธวิธี “พรางตัว” ของยางามิ ไลท์ (ผู้ครอบครองเดธโน้ ตแทน การสร้ างและ
การคลี่คลายเงื่อนงาของเดธโน้ ตจึงมีลกั ษณะ “คนดูร้ ูเท่ากับตัวละคร” ซึง่ ก็เป็ นความท้ าทายใน
การเล่าเรื่ องว่าทาอย่างไรถึงจะดึงคนอ่านในระยะยาวเอาไว้ ได้ เพราะไม่มีเงื่อนปมของคดีมาช่วย
ดึงดูด แต่ด้วยการพลิกวิธีเล่าเรื่ องมาเป็ นการยอมเปิ ดเผยให้ ผ้ อู า่ นได้ รับรู้ขนตอน
ั้ วิธีคดิ วางแผน
ของตัวเอกอย่างละเอียดแทน จึงกลายเป็ นรสชาติที่แปลกใหม่สาหรับผู้อา่ นที่เสมือนได้ เป็ น “จอม
วางแผน” เสียเอง และก็กลายเป็ นจุดเด่นของการ์ ตนู เรื่ องนี ้
ดังนันจึ
้ งสรุปกลวิธีการสร้ างเงื่อนงาและการคลี่คลายเงื่อนงาของทุกเรื่ องได้ ดงั นี ้

เรื่อง กลวิธีสร้ าง-คลี่คลายปม/เงื่อนงา การรับรู้ของคนอ่ านต่ อเรื่อง การสร้ างความคาดไม่ ถงึ


ดราก้ อนบอล สร้ าง-คลีค่ ลายทันที ไม่ทิ ้งปมไว้ นาน คนอ่านรู้เท่าๆ กับตัวละคร น้ อย
สร้ าง- คลีค่ ลายทีละนิดและไม่คลีค่ ลาย
ยอดนักสืบจิ๋ว ปมทังหมดจนกว่
้ าจะจบตอน คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร ปานกลาง
สร้ างปมหลักต้ นเรื่ องและไม่เฉลยจนกว่า
จบเรื่ อง /สร้ างปมย่อยๆ-คลีค่ ลายเป็ น
วันพีซ ระยะ คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร มาก
สร้ างปมหลักต้ นเรื่ องและไม่เฉลยจนกว่า
จบเรื่ อง /สร้ างปมย่อยๆ-คลีค่ ลายเป็ น
นินจาคาถาฯ ระยะ คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร มาก
สร้ างปมหลักต้ นเรื่ องและไม่เฉลยจนกว่า
จบเรื่ อง /สร้ างปมย่อยๆ-ทิ ้งช่วงให้ คน
ทเวนตี ้ฯ อ่านสงสัยก่อนคลีค่ ลายภายหลัง คนอ่านรู้น้อยกว่าตัวละคร มาก
เดธโน้ ต สร้ าง-คลีค่ ลายปมตังแต่
้ เปิ ดเรื่ อง คนอ่านรู้เท่าๆ กับตัวละคร น้ อย

ตารางที่ 30 สรุปกลวิธีการสร้ าง-คลี่คลายเงื่อนงา

จากโครงเรื่ องทังหมดจะพบว่
้ าลักษณะของเรื่ องที่มีความสมจริง มักจะมีความ
ซับซ้ อนลึกซึ ้งของโครงเรื่ อง และมีวิธีการสร้ างปมหลัก และปมรองเอาไว้ คอ่ นข้ างมาก รวมทัง้
275

มักจะไม่ยอมเฉลยปมสาคัญของเรื่ องจนกว่าจะจบเรื่ อง อย่างเช่น วันพีซ นินจาคาถาฯ และยอด


นักสืบจิ๋วฯ ในขณะที่ดราก้ อนบอล มีความซับซ้ อนของโครงเรื่ องน้ อยมาก แต่ก็สามารถดึงคนอ่าน
ไว้ ด้วยส่วนอื่น (เช่นการสร้ างคาแร็ คเตอร์ ที่แข็งแรง) ส่วนเดธโน้ ต และทเวนตี ้ฯ นัน้ มีวิธีการ
เล่าเรื่ องที่เฉพาะตัว เพราะแม้ จะมีความสมจริงในการเล่าเรื่ องมาก แต่ก็ไม่ได้ มีปมหลัก หรื อปมรอง
ที่ซบั ซ้ อนมากนัก โดยเดธโน้ ตพลิกการเล่าเรื่ องจากการ “ปิ ดบังปมหรื อเงื่อนงา” มาเป็ นการ
“คลี่คลายปมหรื อเงื่อนงา” ตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง ขณะที่ทเวนตี ้ฯ ก็อาศัยกลวิธีการเรี ยงลาดับการเล่าเรื่ อง
ที่ซบั ซ้ อนส่งผลให้ เรื่ องราวดูลกึ ลับและน่าติดตาม

1.1.3 ความขัดแย้ ง (conflict)


จากทัง้ 6 เรื่ องพบว่าอาจแบ่งความขัดแย้ งออกเป็ น 3 ประเภทด้ วยกัน
1.1.3.1 ประเภทเน้ นความขัดแย้ งภายนอก ได้ แก่ ดราก้ อนบอล เดธ
โน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ โดยความขัดแย้ งภายนอกของดราก้ อนบอลมีเพียงประการเดียวนัน่ คือคู่
ต่อกรของโงคู เช่นเดียวกับเดธโน้ ตที่เน้ นความขัดแย้ งระหว่างพระเอก-ผู้ร้ายในการไล่ลา่ -หลบหนี
ซึง่ กันและกัน ขณะที่ยอดนักสืบจิ๋วฯ ก็มงุ่ สร้ างความขัดแย้ งหรื อปมอุปสรรคเรื่ องคดีฆาตกรรม
เพื่อให้ พระเอกแสดงความสามารถในการคลี่คลายคดี
1.1.3.2 ประเภทเน้ นความขัดแย้ งภายใน ทเวนตี ้ฯ เป็ นเรื่ องที่ให้
ความสาคัญกับความขัดแย้ งภายในมากที่สดุ โดยปมปั ญหาย่อยๆ ที่ทเวนตี ้ฯ นาเสนอในประเด็น
ความรู้สกึ ขัดแย้ งภายในจิตใจมนุษย์ถกู นาเสนอผ่านตัวละครแทบทุกตัว เช่นพระเอกอย่างเคนจิ
เอง ก็ต้องต่อสู้กบั ความขัดแย้ งระหว่างความต้ องการผดุงความยุตธิ รรม กับความรู้สึกหวาดกลัวที่
ต้ องเผชิญหน้ ากับการกระทาของ “เพื่อน” ซึง่ การสร้ างปมอุปสรรคภายในตัวละครให้ โดดเด่น
กว่าอุปสรรคภายนอก (ในรูปศัตรู ผู้ร้าย) จึงส่งผลให้ เรื่ องราวทังหมดดู ้ น่าเชื่อถือ และสร้ าง
ความรู้สกึ ลุม่ ลึกให้ แก่ผ้ อู า่ น
1.1.3.3 ประเภทเน้ นทังความขั
้ ดแย้ งภายนอก - ภายในใกล้ เคียงกัน
ได้ แก่ วันพีซ และนินจาคาถาฯ โดยในวันพีซได้ สร้ างอุปสรรคหรื อปมปั ญหาภายนอกในรูปของตัว
ละคร และสิ่งของขึ ้นมาได้ อย่างน่าสนใจ เพราะมีการจัดหมวดหมูใ่ ห้ กบั สิ่งของเหล่านัน้ เช่นการ
สร้ างกลุม่ องค์กรฝ่ ายร้ ายอย่างบาล็อคเวิร์คส์ ที่มีการนาเอาหมายเลขมาตังฉายาให้ ้ กบั ผู้ที่ทางาน
ให้ กบั องค์กร (เช่นมิสเตอร์ ซีโร่ มิสเตอร์ วนั มิสเตอร์ ท)ู หรื อการสร้ างผลไม้ ปีศาจให้ มีหลากหลาย
สายพันธุ์/ตระกูล) ซึง่ หมายถึงความพยายามของผู้เขียนที่ได้ ทาการบ้ าน และคิดวางแผนคาแร็ ค
เตอร์ สิ่งของ หรื อตัวละครที่แม้ จะเป็ นเพียงตัวประกอบของเรื่ องมาอย่างดี ขณะเดียวกันวันพีซก็
276

ยังให้ ความสาคัญกับการสร้ างความขัดแย้ ง “ภายใน” ในเชิงนามธรรม หรื อความรู้สึกของตัวละคร


เช่นการสร้ างความขัดแย้ งภายในตัวละครอย่างอุซป ที่ใครๆ ต่างเข้ าใจว่าเป็ น “จอมโกหก” แต่การ
โกหกของอุซปทุกครัง้ เขามีเหตุผลเพื่อ “ความสุข” ของผู้อื่นเสมอ และแม้ ท้ายที่สดุ จะมีเพียงไม่กี่
คนที่เข้ าใจว่าเขาสร้ างเรื่ องขึ ้นเพื่อประโยชน์สขุ ของคนอื่นก็ตาม
ความน่าสนใจในวันพีซอีกประการหนึง่ ก็คือ “วิธีการคลี่คลายหรื อข้ าม
ผ่านอุปสรรค/ปมขัดแย้ ง” เนื่องจากแตกต่างจากการ์ ตนู แนวต่อสู้โดยทัว่ ไปที่มกั อาศัย “พลังฝี มือ”
(ภายนอก) หรื ออาจเกิดจากตัวช่วยประเภทของวิเศษ หรื อผู้มีพลังวิเศษ แต่ในวันพีซแม้ ตวั เอก
อย่างลูฟี่จะมีตวั ช่วยคือผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ เขามีพลังวิเศษก็ตาม แต่ผ้ เู ขียนก็เลือกจะไม่พงึ่ พาของ
วิเศษมาคลี่คลายในปมปั ญหาสาคัญๆ (จุดคับขันของตัวละคร) แต่กลับใช้ แรงผลักดันจาก “พลัง
ใจ” (ภายใน) เข้ าช่วยเหลือแทน ซึง่ ก็ชว่ ยสร้ างความรู้สกึ “เข้ าถึงตัวละคร” จากผู้อา่ นได้ เป็ น
อย่างดี
เช่นเดียวกับนินจาคาถาฯ ที่ให้ ความสาคัญมากทังความขั้ ดแย้ งภายนอก
และความขัดแย้ งภายใน เพราะอุปสรรคหรื อปมขัดแย้ งหลักของนินจาคาถาฯ นันเริ ้ ่มต้ นจาก
ความขัดแย้ งภายในตัวพระเอกอย่างนารูโตะที่ต้องต่อสู้กบั สิ่งชัว่ ร้ ายในจิตใจ (ปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหาง
ที่มาสถิตร่าง) และยังต้ องต่อสู้กบั ความรู้สึกเกลียดชังจากคนในหมูบ่ ้ าน (ความขัดแย้ งกับระบบ
สังคม) ซึง่ ก็สง่ ผลให้ เขาพยายามเป็ นนินจาที่เก่งกาจเพื่อเป็ นโฮคาเงะ หรื อหัวหน้ าผู้ปกครอง
นินจาของทุกคนในหมูบ่ ้ านให้ ได้ ทังหมดนี ้ ้เองที่กลายเป็ นสาเหตุของความขัดแย้ งหรื ออุปสรรค
ภายนอก ซึง่ ก็คือฉากการต่อสู้ระหว่างนารูโตะกับอุปสรรคในการไปถึงฝั นของเขา ดังนันการสร้ ้ าง
ปมขัดแย้ งทังภายในที
้ ่ชดั เจนตังแต่
้ ต้นเรื่ องจนเชื่อมโยงถึงปมปั ญหาหลากหลายรูปแบบเช่นนี ้จึงทา
ให้ เรื่ องราวน่าเชื่อถือและเข้ มข้ นอย่างมาก และจากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องอาจกล่าวได้ ว่าเรื่ องที่
เน้ นความขัดแย้ งภายนอก (การต่อสู้กบั ผู้ร้าย/ฝ่ ายตรงข้ าม) มักทาให้ เรื่ องสนุก และเดินเรื่ องได้
กระชับฉับไว แต่ผ้ อู า่ นยังเข้ าไม่ถึงตัวละคร (ตัวละครดูเป็ นเทพมากกว่ามนุษย์) แต่เรื่ องที่ เน้ น
ความขัดแย้ งภายใน (ต่อสู้กบั ความรู้สกึ ตนเองและการมีพื ้นที่ยืนในสังคม) มักทาให้ ผ้ อู า่ นเข้ าถึง
ความรู้สกึ และเอาใจช่วยตัวละครในเรื่ องได้ มากกว่า
1.1.4 แก่ นเรื่ อง (theme)
แม้ การ์ ตนู จะเป็ นสื่อที่ใครๆ ต่างมองว่ามุง่ ให้ ความบันเทิงแต่ก็ไม่ได้ หมายความว่า
จะไร้ ซงึ่ “แก่นความคิด” เพราะการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องก็สะท้ อนคาพูดดังกล่าวได้ ดีเพราะได้ สะท้ อนแก่น
ที่พดู ไกลไปถึงการวิพากษ์ -เสียดสีสงั คม รวมถึงการตังค ้ าถามเชิงปรัชญาด้ วยซ ้าไป ซึง่ อาจแบ่ง
ประเภทของแก่นเรื่ องที่นาเสนอได้ อย่างชัดเจนดังนี ้
277

1.1.4.1 แก่นที่วา่ ด้ วยศีลธรรม


แก่นที่วา่ ด้ วยศีลธรรมนันปรากฏอยู
้ ใ่ นทุกเรื่ อง แต่เรื่ องที่กล่าวได้ อย่าง
น่าสนใจคือทเวนตี ้ฯ ที่นาเสนออีกมุมมองในประเด็นเรื่ อง อธรรม-ธรรมะ และความดี-ความเลว
โดยเลือกจะสร้ างตัวละครกลุ่มพระเอกให้ “ขบวนการเคนจิ” เป็ นตัวแทนของฝ่ ายธรรมะ ส่วน
องค์กรที่มีหวั หน้ าอย่าง “เพื่อน” คือตัวแทนของฝ่ ายอธรรม ซึง่ แม้ วา่ ท้ ายที่สดุ ฝ่ ายอธรรมก็ต้อง
พ่ายแพ้ (ทาลายล้ างเผ่าพันธุ์มนุษย์ไม่สาเร็จ) แต่ “วิธีการปะทะกัน” ของฝ่ ายธรรมะ และอธรรมใน
เรื่ องนี ้กลับแตกต่างจากการ์ ตนู ทัว่ ไปที่ฝ่ายธรรมะมักต้ องหาทางคลี่คลายเหตุการณ์ด้วยการลงมือ
เอาชนะคะคานฝ่ ายอธรรม แต่ตวั เอกอย่างเคนจิกลับหาทางคลี่คลายปมอุปสรรค (ตัวละครฝ่ าย
ร้ าย) ด้ วยวิธี “ไม่เอาชนะ” แต่ด้วยการ “ทาความเข้ าใจ” กับความรู้สกึ และอดีตที่ฝังใจของอีกฝ่ าย
ทาให้ ฉากการเผชิญหน้ าระหว่าง พระเอก กับ ผู้ร้ายในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ ไม่มีเลือดเจิ่งนอง ไม่มีการ
แสดงความสามารถทังบุ ้ น๋ และบู๊ของตัวเอกเหมือนเช่นที่เราคุ้นชินจากการ์ ตนู ทัว่ ไป เคนจิใช้ เพียง
“คาพูด” ที่แสนธรรมดา เพื่อทาความเข้ าใจกับคนธรรมดาๆ คนหนึง่ แต่กลับเหมือนเข้ าไปนัง่ อยูใ่ น
ใจคนฟั ง ซึง่ การตัดสินปั ญหาของเคนจินอกจากสะท้ อนความสามารถของผู้เขียน
ที่เข้ าถึง “จิตใจ” มนุษย์เป็ นอย่างดีแล้ ว ยังสะท้ อนความเชื่อในพลัง “ความดี” ของมนุษย์ (ที่ไม่วา่
จะทาชัว่ สักเท่าใดแต่ก็สามารถกลับตัวกลับใจได้ ตามแนวคิดศาสนาชินโตของญี่ปนเช่ ุ่ นกัน) อีก
ทังยั้ งชี ้ให้ ผ้ อู า่ นตระหนักถึง “วิธีจดั การกับปั ญหา” ที่ไม่จาเป็ นต้ องตัดสินด้ วยพละกาลังหรื อความ
รุนแรง
1.1.4.2 แก่นที่วา่ ด้ วยการวิพากษ์/สะท้ อน/เสียดสีสงั คม
ก. ทังในเดธโน้
้ ต วันพีซ ทเวนตี ้ฯ และนินจาคาถาฯ ต่างมีแก่นแกน
สะท้ อนและเสียดสีสงั คมอย่างชัดเจน เช่นในวันพีซที่แม้ จะเป็ นเรื่ องราวของโจรสลัดที่ทาให้ เรานึก
ถึงเสรี ภาพอันน่าจะอยูเ่ หนือเงื ้อมือกฎหมายหลายๆ ประการ แต่วนั พีซก็ได้ ทาให้ โลกแห่งการอยู่
ร่วมกันของเหล่าโจรสลัดมีระบบระเบียบการปกครองขึ ้นภายใต้ เสรี ภาพนันอย่ ้ างสมจริง โดยสร้ าง
กองทัพเรื อซึง่ อยูภ่ ายใต้ การดูแลของรัฐบาลโลกเข้ าควบคุม-ไล่ลา่ เหล่าโจรสลัด แต่ก็ยงั ต้ อง
สร้ างกลุม่ โจรสลัดอย่างกลุม่ 4 จักรพรรดิไว้ เพื่อคานอานาจกับเหล่ากองทัพเรื อและแน่นอนว่าเมื่อ
มี “การเมืองการปกครอง” เกิดขึ ้นย่อมต้ องเกิดการจัด “ลาดับชันทางสั ้ งคม” ซึง่ วันพีซก็ได้ สะท้ อน
โลกแห่งความเป็ นจริงด้ านชาติพนั ธุ์ที่แตกต่างหลากหลายของมนุษย์จนเกิดความ “ไม่เท่าเทียม
กัน” ทางสังคมผ่านกลุม่ มนุษย์เงือกซึง่ เป็ นเผ่าพันธุ์ที่ถกู มองว่าต้ อยต่าจึงมักถูกจับตัวไปเป็ นทาส
แถมยังสร้ างกลุม่ ชนชันอภิ ้ สิทธิ์อย่างเผ่ามังกรฟ้าที่ได้ รับความคุ้มครองพิเศษและมีอานาจแสดง
ความ “กร่าง” ได้ เต็มที่
278

1.1.4.3 แก่นความคิดที่ว่าด้ วยธรรมชาติของมนุษย์


ทังทเวนตี
้ ้ นินจาคาถาฯ เดธโน้ ตและวันพีซ ต่างมีแก่นแกนที่สะท้ อน
ธรรมชาติความเป็ นมนุษย์ได้ เป็ นอย่างดี เช่นในนินจาคาถาฯ ที่สะท้ อนธรรมชาติของมนุษย์ทกุ คน
ว่ามีปีศาจ (ความชัว่ ร้ าย) อยูใ่ นจิตใจ โดยในขณะที่ศาสนาชินโตเชื่อในตัวมนุษย์วา่ โดย
ธรรมชาติดงเดิ ั ้ มของมนุษย์ เป็ นคนดีและบริ สทุ ธิ์ ส่วนสิ่งชัว่ ร้ ายนันเกิ้ ดจากสิ่งแวดล้ อมภายนอก
แต่ในนินจาคาถาฯ กลับมองในมุมตรงกันข้ ามโดยบอกว่าสิ่งชัว่ ร้ ายนันติ ้ ดตัวเราทุกคนมาแต่
กาเนิด แต่ท้ายที่สดุ แล้ วสิ่งชัว่ ร้ ายจะพองตัวหรื อหดเล็กลงล้ วนขึ ้นอยูก่ บั “ความแข็งแกร่งของ
จิตใจ”
แก่นความคิดหลักของเรื่ องข้ างต้ นถูกนาเสนออย่างชัดเจนผ่านตัวละคร
เอกอย่างนารูโตะ ที่ถกู ปี ศาจร้ ายอย่างจิ ้งจอกเก้ าหางผนึกไว้ ในร่างกาย รอวันที่จะตื่นออกมา
เมื่อใดก็ตามที่นารูโตะ “โกรธ” หรื อควบคุมอารมณ์ไม่อยูจ่ นอาจเข้ า “ควบคุม” ทังความคิ ้ ด-
ร่างกายของนารูโตะ ดังนันการรู ้ ้ จกั สะกดอารมณ์ ไม่โกรธ และรู้จกั ให้ อภัยของนารูโตะจึงเป็ น
สิ่งจาเป็ นอย่างมากในการควบคุมจิ ้งจอกเก้ าหาง (ซึง่ ก็คือการรู้จกั ควบคุมจิตใจตนนัน่ เอง)
การ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงบอกเป็ นนัยให้ เรารู้วา่ แม้ ทกุ คนจะมีปีศาจ (ความชัว่ ร้ าย) แฝงฝั งอยู่ในจิตใจก็
ตามแต่หากเราเรี ยนรู้ที่จะควบคุมปี ศาจตนนันได้ ้ (ข่มใจ-สะกดอารมณ์มิให้ ความอาฆาตแค้ น แรง
โกรธ แรงพยาบาทมาครอบงาจิตใจ) เราก็สามารถดาเนินชีวิตไปได้ อย่างปกติสขุ แถมยังอาจใช้
ประโยชน์จากเจ้ าปี ศาจในใจเราได้ อีกด้ วย เหมือนเช่นนารูโตะที่บางครัง้ ก็อาศัยพลังของจิ ้งจอก
เก้ าหางในการต่อสู้ และอาจเปรี ยบได้ กบั การที่เราเอาเก็บงาความโกรธไว้ ในจิตใจแล้ ว
แปรเปลี่ยนพลังแห่งความโกรธเป็ นพลังในการพัฒนาตัวเองให้ ดีขึ ้น (ให้ ดีกว่าคนที่เราโกรธ)
ซึง่ แท้ จริงแล้ วการนาเสนอเรื่ องการควบคุมความโกรธของนินจาคาถาฯ ก็ได้ สะท้ อนแนวคิดแบบ
พุทธศาสนานิกายเซ็นที่ต้องการให้ มนุษย์ตงั ้ “สติ” หรื อเจริญสติเพื่อขจัดความคิดปรุงแต่ง (เทียบ
ได้ กบั ความโกรธแค้ น-พยาบาท) เพราะเมื่อไม่มีสติ ความคิดปรุงแต่ง (ความโกรธแค้ น-พยาบาท)
ก็เกิดขึ ้น แต่เมื่อมีสติความคิดปรุงแต่ง (ความโกรธแค้ น-พยาบาท) ก็หายไป และก็ทาให้ เกิด
“ความรู้สกึ ตัวทัว่ พร้ อม” ซึง่ ย่อมก่อเกิด “ปั ญญารู้แจ้ ง” ในการใช้ ชีวิตตามมา
1.1.4.4 แก่นที่สะท้ อน/สอดแทรกวิถีชีวิต-แนวคิด-วัฒนธรรมญี่ปนุ่
แนวคิดการใช้ ชีวิตแบบอิงกลุ่มตามวิถีชาวญี่ปนปรากฏชั ุ่ ดเจนในดรา
ก้ อนบอล เพราะตัวละครทังหมดล้ ้ วนต่อสู้ฟันฝ่ ากันเพื่อปกป้องโลกมนุษย์ และ เมื่อถึงยามคับขันที่
โลกต้ องการความสามัคคีของเหล่านักสู้ พิคโกโร่ซงึ่ เคยเป็ นคูต่ อ่ สู้กบั พระเอกอย่างโงคูก็ไม่ยดึ เอา
ความบาดหมางในอดีตมาใส่ใจ แต่ได้ กลับตัวมาเข้ ากับพวกของโงคูและต่อสู้ร่วมกันเพื่อความ
279

ปลอดภัยของชาวโลก ซึง่ การเปลี่ยนตนให้ เป็ นคนดีนนก็ ั ้ ยงั สะท้ อนแนวคิดตามศาสนาชินโตของ


ญี่ปนที ั ้ ษย์ดี-บริ สทุ ธิ์ คนเราจึงสามารถเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ ้นได้
ุ่ ่เชื่อว่าโดยเนื ้อแท้ นนมนุ
เสมออีกด้ วย
ส่วนนินจาคาถาฯ และวันพีซนันให้ ้ แก่นความคิดเรื่ อง “มิตรภาพ” อย่าง
โดดเด่นเช่นกัน โดยนินจาคาถานันเห็ ้ นมิตรภาพสาคัญกว่าศัตรูผา่ นตัวเอกอย่างนารูโตะที่ให้ อภัย
ผู้อื่นและท้ ายที่สดุ แล้ วเขาก็เป็ นคนที่ชว่ ยให้ “ผู้ร้ายกลับใจ” ได้ เสมอ (เช่นกาอาระ และเพน) ส่วน
ในวันพีซ พระเอกอย่างลูฟี่เอาชนะใจลูกเรื อและผู้อื่นด้ วยการให้ คณ ุ ค่ากับคาว่า “มิตรภาพ” แก่
ผู้คนรอบข้ างเช่นเดียวกัน ซึง่ ก็ได้ สง่ ผ่านการช่วยเหลือผู้คนที่พวกเขาได้ พบเจอระหว่างการ
เดินทาง นอกจากนี ้เขาได้ ตีคา่ ของมิตรภาพผ่านการแสดงความรู้สึก “เชื่อใจ” แก่ลกู เรื อของเขา
แบบหมดหัวใจ จนทาให้ นิโค โรบินสาวสวยที่มีอดีตลึกลับผู้ไม่เคยเชื่อถือในคาว่ามิตรภาพยอม
เชื่อใจหัวหน้ าและเพื่อนพ้ องกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางในที่สดุ หรื อกระทัง่ ตัวละครอย่างมิสเตอร์ ทู
ซึง่ เคยเป็ นศัตรูกบั กลุม่ ของลูฟี่ ก็ซึ ้งใจในมิตรภาพของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางที่ไม่เคยทอดทิ ้งและ
เชื่อใจกันร้ อยเปอร์ เซ็นต์จนมิสเตอร์ ทหู นั มาเป็ นแนวร่วมกับลูฟี่ในภายหลังอีกด้ วย
แก่นอีกประเด็นหนึง่ ที่สะท้ อนสังคม วัฒนธรมแบบญี่ปนในทุ ุ่ กเรื่ องก็คือ
“การมุง่ มัน่ ทาความฝั นให้ เป็ นจริง” เช่นในวันพีซ ตัวละครหลัก หรื อตัวละครประกอบเล็กๆ
แทบทุกตัวละครได้ ทาหน้ าที่เป็ น จิ๊กซอว์ตวั แทนความคิดของผู้เขียนที่ต้องการจะบอกว่า “คนเรา
เกิดมาย่อมต้ องมีเป้าหมาย (ความฝั น) และยึดมัน่ ไม่ยอ่ ท้ อกับการเดินไปตามรอยฝั นนันอย่ ้ าง
มัน่ คง” และเพราะ “ความฝั น” เป็ นสิ่งที่เราทุกคนมี แต่หลายคนอาจลืมเลือนความฝั นไปแล้ ว
และก็อีกหลายคนมีชีวิตจริงตรงข้ ามอย่างสิ ้นเชิงกับความฝั น ดังนันแก่ ้ นเรื่ องที่ว่าด้ วยความฝั น
อันหลากหลายในวันพีซจึง “กระทบใจ” ผู้อา่ นทุกคน (ทังฝั ้ นเล็กๆ แค่การได้ พบกับวาฬน้ อยอีกครัง้
ของบรู๊ค (สมาชิกหน้ าใหม่ของกลุม่ โจรสลัดของลูฟี่) หรื อฝั นใหญ่ๆ อย่างการเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัด
ของลูฟี่เองก็ตาม และยังเป็ นแรงบันดาลใจชันดี ้ ให้ ผ้ อู า่ นเหล่านี ้กล้ าที่จะปฏิวตั ิตวั เองด้ วยการไล่ลา่
ความฝั นเหมือนเช่นตัวละครในการ์ ตนู เรื่ องนี ้อีกด้ วย
1.1.5 ฉาก
จากการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องอาจแบ่งประเภทของการสร้ างฉากเป็ นสองกลุม่ คือ กลุม่ ที่
สร้ างฉากจินตนาการขึ ้นใหม่ และกลุม่ ที่สร้ างฉากเหตุการณ์ให้ เกิดขึ ้นบนโลกแห่งความจริง
1.1.5.1 กลุม่ ที่สร้ างฉากจินตนาการขึ ้นใหม่ ได้ แก่ วันพีซ นินจาคาถาฯ
ดราก้ อนบอล ซึง่ มีกลวิธีสร้ างฉากแตกต่างกันคือวันพีซ นันโดดเด่
้ นในการสร้ างฉากให้
หลากหลาย และเต็มไปด้ วยตัวละคร สิ่งของ ที่หลอมรวมกันเป็ นฉากสถานการณ์ที่คาดไม่ถึงได้
280

อย่างมาก ทังเมื ้ องแห่งทะเลทราย เกาะแห่งท้ องฟ้า เมืองซอมบี ้ หรื อแม้ แต่คกุ ใต้ ทะเล
โดยจุดเด่นของการสร้ างฉากในวันพีซคือการสร้ างรายละเอียดประกอบฉากเพื่อเพิ่มความ
น่าเชื่อถือให้ กบั ฉากนันๆ้
ขณะที่นินจาคาถาฯ ก็ได้ สร้ างฉาก-เรื่ องราวที่วา่ ด้ วย “ความเป็ นอยูข่ อง
โลกนินจา” ที่ไม่ได้ เกี่ยวข้ องกับชีวิตมนุษย์ในโลกแห่งความเป็ นจริง ซึง่ ลบล้ างภาพจาที่เราเคยคุ้น
กับเรื่ องราวของนินจาที่ต้องพรางตัวอยูใ่ นสังคมมนุษย์ปกติโดยสิ ้นเชิง ดังนันเมื ้ ่อทิศทางของเรื่ อง
ไม่จาเป็ นต้ องสร้ างฉาก-สถานการณ์ให้ นินจาต้ องหลบๆ ซ่อนๆ กับการต้ องทาภารกิจลับ ภาพที่
เราคุ้นชินกับการเห็นนินจาทาภารกิจภายใต้ เงามืด ฉากกลางคืน หรื อฉากการพรางตัวใต้ น ้าจึง
แทบไม่ปรากฏอยูใ่ นการ์ ตนู เรื่ องนี ้ เพราะผู้เขียนสามารถสร้ างฉากสถานการณ์ได้ อย่างเปิ ดเผย
ในที่โล่งแจ้ ง และทาให้ ผ้ อู า่ นได้ รับรู้ “ตัวตนของนินจา” ที่ทางานกันเป็ นทีม และออกมาต่อสู้กนั
อย่างเปิ ดเผย ซึง่ ฉาก-สถานการณ์ที่เปิ ดโอกาสให้ นินจาได้ เปิ ดเผยตัวตนในสังคมแบบนี ้ย่อมสร้ าง
ความรู้สกึ แปลกใหม่ให้ แก่ผ้ อู า่ นได้ ในแบบที่ไม่เคยพบเห็นจากแนวเรื่ องแบบนินจาที่ไหนมาก่อน
ส่วนความโดดเด่นของฉากในดราก้ อนบอลคือมีการเปลี่ยนแปลงฉาก
เหตุการณ์ชนิดที่เรี ยกได้ วา่ ไม่มีการหยุดนิ่ง ณ ฉากใดฉากหนึง่ เป็ นเวลานานจนทาให้ คนอ่านรู้สึก
เบื่อเลย โดยมีการโยกย้ ายสถานที่จากป่ า สูเ่ มือง ไปยังใต้ ทะเล หอคอยสูงเสียดฟ้า ปรโลก ไป
จนถึงดาวเคราะห์นอกโลก ซึง่ ก็เป็ นการสร้ างฉากรองรับตัวละครและเหตุการณ์ได้ อย่างน่าเชื่อถือ
นัน่ เพราะตัวละครเอกอย่างโงคูก็มิใช่มนุษย์แต่เป็ นมนุษย์ตา่ งดาว (ชาวไซย่า) เช่นกัน
1.1.5.2 กลุม่ ที่สร้ างฉากเหตุการณ์ให้ เกิดขึ ้นบนโลกแห่งความเป็ นจริง
ได้ แก่ทเวนตี ้ฯ เดธโน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ โดยความยากของเรื่ องที่ถกู จินตนาการขึ ้นโดย
อาศัยฉาก-เหตุการณ์เกิดขึ ้นบนโลกมนุษย์เหมือนเช่นทเวนตี ้ฯ และเดธโน้ ตนันคื ้ อการ “สร้ างความ
น่าเชื่อถือ” ของเรื่ องราว เพราะผู้เขียนต้ องนาเอา “เรื่ องไม่จริง” (หรื อเรื่ องที่โอกาสเกิดขึ ้นได้ ยาก
มาก) มาหลอมรวมให้ เข้ ากับ “เรื่ องจริง” (หรื อเรื่ องที่คนส่วนใหญ่ในสังคมเชื่อ) ต่างจากเรื่ อง
จินตนาการที่ไม่อิงกับฉากสถานการณ์จริงอย่างดราก้ อนบอลหรื อวันพีซที่ไม่ต้องกังวลกับ “การรับรู้
ความจริง” ของผู้อ่าน แต่ทงทเวนตี ั้ ้ฯ และเดธโน้ ตก็สามารถสร้ างฉาก-สถานการณ์ได้ นา่ สนใจ
โดยทเวนตี ้ฯ เน้ นการสร้ างฉากหลักในอดีตเพื่อทาให้ ผ้ อู า่ นวัยผู้ใหญ่ได้ มีโอกาสย้ อนเวลาหวน
ราลึกอดีต (nostalgia) ได้ เป็ นอย่างดี ส่วนในเดธโน้ ตก็ให้ ภาพแปลกตาของเรื่ องราว
การต่อสู้เพราะภาพฉาก-สถานการณ์ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ เน้ นความเป็ น “เมือง” ของญี่ปนผ่ ุ่ านตึกราม
บ้ านช่อง ฉากรถไฟฟ้าใต้ ดนิ หรื อห้ องสี่เหลี่ยมแคบๆ ซึ่งเป็ นสถานที่ที่เขาสัง่ การฆ่าคน (แค่เพียง
จรดปากกาเขียนลงสมุดโน้ ตเท่านัน) ้ ซึง่ กลายเป็ นเสน่ห์ให้ กบั การ์ ตนู เรื่ องนี ้เพราะเดธโน้ ตได้
281

แสดงให้ เราเห็นว่าการ์ ตนู ต่อสู้ที่สนุก ไม่จาเป็ นต้ องให้ ตวั ละครออกเดินทางไปนอกโลก และไม่
จาเป็ นต้ องเนรมิตรายละเอียดประกอบฉากที่เหนือจินตนาการ แต่ฉากซ ้าซากจาเจที่ เราชินตากัน
อยูแ่ บบภาพเมืองก็เสริมสร้ างเรื่ องราวให้ สนุกและน่าเชื่อถือได้ เช่นกัน หนาซ ้ายังสอดคล้ องกับ
เนื ้อหาของเรื่ องที่กล่าวถึงความคิด สภาพจิตใจของคนเมืองเหมือนเช่นเด็กหนุม่ วัยรุ่นซึง่ เป็ น ตัวเอก
ของเรื่ องอีกด้ วย
1.1.5.3 การออกแบบฉากต่อสู้
และสาหรับการ์ ตนู ที่มีเรื่ องราวการต่อสู้เป็ นปมขัดแย้ งหลักของเรื่ องแล้ ว
การออกแบบ “ฉาก-สถานการณ์การต่อสู้” ก็เป็ นหัวใจสาคัญที่จะช่วยสร้ างสีสนั ให้ ผ้ อู ่าน ซึง่ เรื่ องที่
ทาได้ โดดเด่นอย่างมากก็คือ ดราก้ อนบอล ซึง่ นอกจากจะทาให้ ผ้ อู ่านสนุกกับการสร้ างฉากต่อสู้
แบบตรงไปตรงมาด้ วยการสร้ างสถานการณ์ให้ มีการแข่งขัน “ศึกประลองยุทธ์” แล้ ว ยังเกิดจาก
การที่ผ้ เู ขียนได้ สร้ างสถานการณ์ให้ ตวั ละครเอกอย่างโงคูที่ฝีมือแข็งแกร่งขึ ้นหลังจากได้ ตวั ช่วยทัง้
จาก “ผู้ชว่ ยเหลือ” เช่นพระเจ้ า หรื อจาก ”พลังพิเศษ” เช่นพลังของร่างแปลงซูเปอร์ ไซย่า
พร้ อมๆ กับการ “ฝ่ าด่าน” เอาชนะคูต่ อ่ สู้ที่เก่งยิ่งขึ ้นเป็ นลาดับในด่านต่อๆ ไป การ “ฝ่ าด่าน”
หรื อข้ ามผ่านอุปสรรคของโงคูจงึ เปรี ยบเหมือนการที่ผ้ อู า่ นได้ เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ประเภทต่อสู้-ฝ่ า
ด่านไปเจอคูแ่ ข่งที่เก่งกาจขึ ้นเรื่ อยๆ ซึง่ เป็ นสิ่งที่เด็กส่วนใหญ่ชื่นชอบและเข้ าถึงได้ ง่า ย ดังนัน้
เมื่อการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีทงความคิ
ั้ ดสร้ างสรรค์ในการสร้ างด่านต่างๆ แถมยังผสมผสานกับวิธีการ
เดินเรื่ องที่ฉับไว นี่จงึ น่าจะเป็ นสาเหตุให้ ฉากต่อสู้ในดราก้ อนบอลดึงดูดความน่าสนใจจากผู้อ่าน
รุ่นเยาว์ได้ ไม่ยาก นอกจากนี ้การสร้ างสถานการณ์การต่อสู้เป็ นทีม ระหว่างทีมของพระเอกกับ
ผู้ร้าย เช่นฉากการต่อสู้เซลเกม โดยตัวละครแต่ละฝ่ ายต้ องขึ ้นมาต่อสู้ตวั ต่อตัวจนกว่าจะพบผู้ชนะ
(เหมือนการแข่งมวยปล ้า) ก็ยงั ตอกย ้าความเป็ นการ์ ตนู -เกมของดราก้ อนบอล ซึง่ แน่นอนว่าช่วย
ให้ ผ้ อู า่ นชื่นชอบ “เกมการต่อสู้” ในดราก้ อนบอลมากขึ ้นอีก
ขณะที่ฉากต่อสู้ในนินจาคาถาฯ นันเป็ ้ นจุดขายของการ์ ตนู เรื่ องนี ้เลย
ทีเดียว เพราะนอกจากจะมีการต่อสู้แบบ “ตัวต่อตัว” ในฉากการประกบคูแ่ ข่งขันเพื่อสอบเป็ น
นินจาระดับโรงเรี ยนที่ได้ รับอิทธิพลมาจากฉากต่อสู้ในดราก้ อนบอลแล้ ว ยังมีฉากต่อ สู้ของนินจาที่
ปฏิบตั ภิ ารกิจจริงที่สร้ างความตื่นตาตื่นใจให้ ผ้ อู า่ นอย่างมาก เพราะนินจาคาถาฯ ทาให้ ผ้ อู ่านได้
เห็นภาพการทางานของนินจาที่แท้ จริงที่มีทงต่ ั ้ อสู้แบบกลุ่ม แบบตัวต่อตัว แถมยังมีการ “อัญเชิญ”
สัตว์พิเศษ มาช่วยในฉากสู้รบ รวมทังในบางครั ้ ง้ ยังมีพลังของ ”สัตว์หาง” อย่างจิ ้งจอกเก้ าหางที่
ถูกผนึกเอาไว้ ในร่างกายผุดโผล่ขึ ้นมาช่วยในฉากต่อสู้อีกด้ วย ดังนันจึ ้ งเรี ยกได้ ว่า “ฉากต่อสู้” ของ
นารูโตะนัน้ “ครบรส” จนสร้ างความอลังการและสร้ างผลลัพธ์ที่ยากจะคาดเดาอีกด้ วย
282

1.1.6 สัญลักษณ์
แม้ การ์ ตนู จะตอบสนองกลุม่ ผู้อา่ นเยาวชนเป็ นหลัก แต่สัญลักษณ์ในเรื่ องราวที่
ต้ องอาศัยการสังเกต-ขบคิดเพื่อตีความถึงนัยยะบางอย่างที่ผ้ เู ขียนต้ องการจะสื่อก็ยงั มี ปรากฏไม่
น้ อยโดยสัญลักษณ์ที่นา่ สนใจก็เช่น
1.1.6.1 ทเวนตีฯ้ : พลังแห่ งศิลปะ
ความเชื่อของผู้เขียนอย่างนาโอกิ อุราซาว่าในเรื่ องการจัดการกับปั ญหา
ด้ วยความไม่รุนแรง หรื อด้ วยสันติวิธี (ตามที่กล่าวไปในหัวข้ อแก่นเรื่ อง) ยังถูกนาเสนอผ่าน
สัญลักษณ์อีกอย่างหนึง่ นัน่ คือ “ดนตรี ” โดยปรากฏอยูใ่ นสัญลักษณ์ตลอดทังเรื ้ ่ อง ไม่วา่ จะ
เป็ นชื่อเรื่ องของการ์ ตนู “20th Century Boys ” ก็มาจากชื่อเพลงของวงดนตรี ร็อคชาวอังกฤษ T-
Rex และเพลงดังกล่าวก็ถกู นามาใช้ ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้พร้ อมกับเฉลยในตอนท้ ายว่า เพลงเพียงหนึง่
เพลงก็สามารถเปลี่ยนแปลง-เยียวยาจิตใจคนฟั งได้ เพราะเมื่อตัวละครอย่างคัตสึมาตะคุง
(“เพื่อน” คนใหม่) ที่กาลังกระโดดตึกดาดฟ้าโรงเรี ยนอยูน่ นได้ ั ้ ฟังเพลง 20th Century Boy (ที่เคนจิ
แอบเอามาออกอากาศ) เพลงเพลงนี ้กลับทาให้ คตั สึมาตะคุงเปลี่ยนใจไม่ฆา่ ตัวตายได้
นอกจากนี ้ตัวละครเอกอย่างเคนจิ ก็ได้ แต่งเพลงที่แทบจะไม่มีเนื ้อหาให้ จบั ต้ องได้ (เกือบทังเพลงก็ ้
แค่ร้องว่า “กูตาลาลา ซือตาลาลา”) แต่เพลงนี ้กลับทาให้ ผ้ คู นที่ได้ ฟังเกิดความรู้สกึ แช่มชื่น มีพลัง
ขึ ้นมา ดังนันผู ้ ้ เขียนจึงทาให้ ผ้ อู า่ นคาดเดาเอาเองว่าเพราะนี่คือ “ดนตรี ที่เล่นด้ วยใจ” ไม่วา่ จะ
เพราะหรื อไม่ คนฟั งย่อมรับรู้ได้ ถึงพลังที่สื่อถึงการ “ให้ กาลังใจ” ผู้คนที่กาลังตกอยู่ในภาวะหดหู่
สิ ้นหวังกับการนอนรอวันตายจากไวรัสฝี มือ “เพื่อน” อีกทังในเรื
้ ่ องนี ้ยังได้ พดู ถึงการจัด
คอนเสิร์ตของเคนจิ โดยเชื่อว่าพลังดึงดูดของคอนเสิร์ต ย่อมจะช่วยให้ คนมารวมตัวกันเพื่อแสดง
พลังบางอย่าง และแม้ วา่ ผลลัพธ์ที่เกิดกับคนที่มาดูคอนเสิร์ตจะไม่ได้ ชว่ ยยับยังให้ ้ “เพื่อน”
ปล่อยไวรัสก็ตาม แต่ท้ายที่สดุ สิ่งสาคัญกว่านันก็ ้ คือผู้คนต่างได้ รับความ “อิ่มใจ” กลับไป “เติม
เต็ม” ชีวิตในช่วงเวลาที่จิตใจแห้ งแล้ งจากภาวะของโลกที่ถกู ปิ ดกันสื ้ ่อและศิลปะ (เพราะในเรื่ อง
เด็กๆ ถูกปิ ดกันจากแบบเรี
้ ยนจอมปลอม และนักเขียนการ์ ตนู เองก็ถกู ห้ ามเขียนการ์ ตนู ที่เร้ า
อารมณ์ผ้ อู ่าน เป็ นต้ น)
ไม่บอ่ ยนักที่เราจะเห็นการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่แปลเป็ นภาษาไทยให้ ความสาคัญ
กับ “ดนตรี ” รวมถึงสื่อ-ศิลปะอื่นๆ ว่าช่วยจรรโลงจิตใจ จรรโลงโลกได้ การชูประเด็นดังกล่าว
ผ่านสัญญะต่างๆ ที่กล่าวมาในทเวนตี ้ฯ นอกจากจะช่วยยกคุณค่าของดนตรี แล้ ว ยังยกคุณค่า
ของสื่อและศิลปะรวมทังสื ้ ่อการ์ ตนู เองว่ามีพลังมากพอที่จะขับเคลื่อนมวลชนได้ เช่นกัน
1.1.6.2 สัญญะแห่ งอาวุธ
เดธโน้ ต: ไม่ ใช่ แค่ สมุดโน้ ตแต่ เป็ นตัวแทนแห่ งพลังอานาจ
283

นอกจากยางามิ ไลท์ และแอล จะเป็ นภาพแทนของวัยรุ่นในปั จจุบนั ที่มี


“อัตลักษณ์” หรื อ “ตัวตน” สูงเพราะคิดและทาตามความคิดของตัวเองอย่างแน่วแน่แล้ ว “เดธ
โน้ ต” หรื อสมุดโน้ ตมรณะที่ยมทูตใช้ เขียนชื่อคนตายนันยั ้ งเป็ นสัญญะของอาวุธที่ร้ายแรงยิ่งกว่า
อาวุธสงคราม หรื ออาวุธชีวภาพที่มนุษย์เราหวาดกลัวกันเสียอีก เพราะเดธโน้ ตเปรี ยบเหมือนภาพ
แทนของ “อานาจ” ที่ขึ ้นอยู่กบั ผู้ใช้ อานาจ (เดธโน้ ต) ว่าจะนาอานาจ (เดธโน้ ต) ในมือนันไปใช้ ้
ในทางใด
วันพีซ: ความยืดหยุ่นอันทรงพลัง
ในวันพีซได้ สร้ างให้ ตวั ละครในเรื่ องส่วนใหญ่มีความสามารถพิเศษ
มากมายหลากหลายกันไป รวมทังตั ้ วละครเอกของเรื่ องอย่างลูฟี่ด้ วย แต่ความสามารถของลูฟี่
นันกลั
้ บไม่ใช่ความสามารถที่ดู “พิเศษ” เหนือผู้อื่นแต่อย่างใดเพราะผลไม้ ปีศาจที่ลฟู ี่ กินเข้ าไปนัน้
คือ “ผลยางยืด” ทาให้ ร่างกายกลายเป็ นยาง สามารถยืด-หดได้ ในขณะที่ตวั ละครประกอบ หรื อ
ตัวละครฝ่ ายร้ ายอื่นๆ ที่กินผลไม้ ปีศาจเข้ าไปกลับมีพลังที่ “พิเศษ” ใกล้ เคียงกันหรื ออาจจะ
มากกว่าด้ วยซ ้า การสร้ างให้ ตวั ละครเอกอย่างลูฟี่มี “ความสามารถพิเศษ” ที่ดบู ้ าๆ บอๆ ไม่
น่าจะนาไปใช้ ประโยชน์ได้ มากนักในการเอาชนะผู้อื่นเช่นนี ้ นัน่ เพราะผู้เขียนอาจไม่ต้องการ
ให้ ลฟู ี่ อาศัยเพียงแค่ “ของวิเศษ” ในการเอาชนะผู้อื่นเพียงอย่างเดียว จึงทาให้ ลฟู ี่ นันต้ ้ องอาศัย
“แรงฮึด” หรื อแรงใจจากคนรอบข้ างในการเอาชนะอุปสรรคอยูเ่ สมอ ในขณะเดียวกันเขาก็ไม่
ปฏิเสธ “การพึง่ พาของวิเศษ” เช่นกัน จากสัญญะเรื่ องคุณสมบัตพิ ิเศษของลูฟี่ข้ างต้ นจึงเป็ น
การบอกเราเป็ นนัยว่าของวิเศษ ซึง่ อาจเปรี ยบเหมือนเทคโนโลยีที่เราพึง่ พามันอยู่ทกุ วันนี ้ เป็ นเพียง
ตัวช่วยที่ทาให้ เราฟั นฝ่ าอุปสรรค หรื อใช้ ชีวิตประจาวันได้ ง่ายขึ ้น แต่การอาศัยเพียงตัวช่วยหรื อของ
วิเศษ (เทคโนโลยี) เพียงอย่างเดียวไม่ทาให้ เราฟั นฝ่ าอุปสรรคได้ เสมอไป เพราะสิ่งสาคัญกว่าของ
วิเศษ (เทคโนโลยี) ที่เราต้ องพึง่ พานันคื ้ อการพึง่ พามันสมองและสองมือของตัวเอง (เหมือนเช่นลูฟี่
ที่ต้องพึง่ สมองในการคิดเอาชนะคูต่ อ่ สู้ หรื อพึง่ พลังใจที่มาจากการมีน ้าใจจากคนรอบข้ าง)
ในอีกทางหนึง่ พลังวิเศษของลูฟี่ที่ทาให้ เขาเป็ น “มนุษย์ยางยืด” ก็
เป็ นสัญญะที่บง่ บอกถึงคนที่จะเก่ง-แกร่ง และเป็ นใหญ่ได้ ในโลกปั จจุบนั อาจไม่จาเป็ นต้ องมี
คุณสมบัตใิ นเชิงทาลายล้ างผู้อื่นแต่ควรมีคณ ุ สมบัตใิ นเชิงตังรั้ บหรื อหลบหลีก นัน่ คือมี ”ความ
ยืดหยุ่น” นัน่ เพราะความยืดหยุน่ จะช่วยให้ เราพร้ อมเข้ าใจ-รับมือ-ปรับแก้ สถานการณ์ที่
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วเหมือนเช่นสถานการณ์บนโลกมนุษย์ที่เรากาลังเผชิญกันอยูท่ กุ วันนี ้
1.1.7 มุมมองการเล่ าเรื่อง
มุมมองการเล่าเรื่ องของการ์ ตนู ที่เลือกมาศึกษาส่วนใหญ่ใช้ มมุ มองแบบผู้ร้ ูรอบ
284

ด้ าน (Omniscent) ซึง่ เป็ นมุมมองที่นิยมใช้ มากที่สดุ ในการเล่าเรื่ องทุกสื่อ ทุกแนวเรื่ อง ส่วนที่พบ


รองลงมาก็คือการเล่าเรื่ องผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 (First-Person Narrator) หรื อผ่านตัวละครเอก
โดยดราก้ อนบอลนันเล่ ้ าเรื่ องให้ คนอ่านรู้ความเป็ นไปของทังตั ้ วเอกอย่างโงคู ตัวละครกลุม่ เพื่อน
และตัวละครฝ่ ายร้ าย ซึง่ เรี ยกได้ วา่ เหมาะสมกับจังหวะในการเล่าเรื่ องที่ เน้ นการต่อสู้ที่อาศัยความ
รวดเร็ว ฉับไว เพราะการเล่าด้ วยมุมมองแบบผู้ร้ ูรอบด้ าน ทาให้ ผ้ อู ่านเห็นความเป็ นไปของทังฝ่้ าย
ตัวเอก ตัวร้ าย ตัวประกอบ โดยไม่ต้องเสียเวลากับการให้ ความสาคัญกับตัวละครเอกเพียงฝ่ าย
เดียว แต่หากมองในมุมกลับกันก็ทาให้ ผ้ อู า่ นไม่อาจรับรู้ “ความรู้สกึ นึกคิด” ของตัวละครเอก
อย่างโงคู ซึง่ ก็ทาให้ ความผูกพันต่อตัวละคร การลุ้น เอาใจช่วยย่อมลดน้ อยตามไปด้ วย
ส่วนวันพีซ ยอดนักสืบจิ๋วฯ และนินจาคาถาฯ ใช้ วิธีเล่าเรื่ องผสมผสานระหว่างมุมมองจากผู้ร้ ูรอบ
ด้ าน และมุมมองของบุคคลที่ 1 โดยวันพีซนันใช้ ้ มมุ มองผู้ร้ ูรอบด้ านในฉากต่อสู้ และการเปิ ดตัว
ละครฝ่ ายร้ าย แต่ขณะเดียวกันก็เลือกมุมมองบุคคลที่ 1 มาใช้ ได้ อย่างโดดเด่นจนกลายเป็ น
เอกลักษณ์ของเรื่ อง เพราะมีการสลับสับเปลี่ยนให้ “กลุ่มโจรสลัดหมวกฟาง” สามารถเป็ น “ตัว
เอก” ของเรื่ องได้ ทกุ ตัวละคร ไม่เฉพาะพระเอกอย่างลูฟี่เท่านัน้ โดยใช้ กลวิธีการเล่าผ่านมุมมอง
ความคิดของพวกพ้ องกลุม่ โจรสลัดแต่ละคนเพื่อย้ อนเล่าถึงปูมหลัง ที่มาที่ไปของตัวละคร เพื่อที่
ผู้เขียนจะได้ สามารถพาผู้อา่ นไปรู้จกั กับเรื่ องราวของกลุม่ ตัวละครหลักได้ อย่างทัว่ ถึง
ขณะเดียวกันยอดนักสืบจิ๋วฯ ก็ใช้ วิธีการที่ไม่แตกต่างไปจากเรื่ องราวแนว
สืบสวน สอบสวนส่วนใหญ่ที่มกั เล่าผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 เป็ นแกนหลักเพื่อใช้ แทนสายตาและ
ความคิดของตัวละครเอกอย่างโคนัน ยอดนักสืบในร่างเด็กประถม ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู า่ นสามารถไล่
ทันวิธีขบคิดคลี่คลายคดีของโคนัน และยังเป็ นการกระตุ้ม “ต่อมสงสัย” หรื อการวางปมผ่าน
ความคิดของตัวละครเอกที่สื่อสารกับผู้ชมโดยตรง ดังนันมุ ้ มมองการเล่าเรื่ องของโคนันจึงมักเป็ น
การใช้ “เสียงในความคิด” ของโคนันนัน่ เอง
ส่วนนินจาคาถาฯ ก็ใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องคล้ ายคลึงกับวันพีซ เพราะการ
กระจายมุมมองของเรื่ องราวโดยไม่ตามติดตัวละครใครคนใดคนหนึง่ ทาให้ ผ้ เู ขียนสามารถ
ถ่ายทอดเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นกับตัวละครหลักๆ ได้ อย่างครบถ้ วน ขณะเดียวกันนินจาคาถาฯ ยังให้
ความสาคัญกับการเล่าผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 โดยเฉพาะตัวเอกอย่างนารูโตะ รวมทังเปลี ้ ่ยนให้ ตวั
ละครหลักที่อยูร่ ายรอบนารูโตะได้ เล่าผ่านมุมมองของตัวเองเพื่อสร้ างความผูกพันกับผู้อา่ นอีกด้ วย
แต่สาหรับ เดธโน้ ต เล่าเรื่ องผ่านมุมมองบุคคลที่ 1 เป็ นหลัก และน่าสนใจว่า
ผู้เขียนตามติดตัวละครหลัก (บุคคลที่ 1) สองตัวละครคือทังผู ้ ้ ไล่ลา่ อาชญากรอย่าง (แอล) และผู้
285

ถูกล่าอย่าง (ยางามิ ไลท์) ในสัดส่วนที่ใกล้ เคียงกัน ทาให้ ผ้ อู ่านไม่ร้ ูสกึ เข้ าข้ างฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่
เป็ นพิเศษ
และในบรรดาทัง้ 6 เรื่ อง เรื่ องที่ให้ ความสาคัญกับมุมมองการเล่ามากที่สดุ ก็คือ
ทเวนตีฯ้ ซึง่ ใช้ กลวิธีเล่าเรื่ องผ่านมุมมองบุคคลที่ 3 เป็ นหลัก โดยการเล่าผ่านบุคคลที่ 3 นัน้
มักทาให้ เกิดความรู้สกึ “เหินห่าง” จากตัวละครเอกมากกว่าการเล่าผ่านบุคคลที่ 1 หรื อผ่านตัว
ละครเอกของเรื่ อง แต่น่าแปลกที่การเล่าผ่านบุคคลที่ 3 ของทเวนตี ้ฯ ยังสามารถสร้ างความรู้สกึ
“รัก” และ “เอาใจช่วย” ตัวละครหลักได้ ดีไม่แพ้ การเล่าผ่านสายตาของตัวละครเอกเอง เช่น
มุมมองการเล่าเรื่ องผ่านเพลย์บอยคนหนึง่ ที่ตามสังเกตการณ์ตวั ละครเอกอย่างเคนจิ ซึง่ เขาพบว่า
เคนจินนได้
ั ้ ทาความดีอยู่ตลอดเวลาจนทาให้ เขายกย่องเคนจิวา่ เป็ นตัวแทนของ “ความยุตธิ รรม”
การเล่าจากบุคคลที่ 3 ในทเวนตี ้ฯ จึงเป็ นการสร้ างบรรยากาศการเล่าเรื่ องด้ วย
มุมมองที่แปลกใหม่ในแบบที่การ์ ตนู ส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยทากัน นัน่ คือให้ ความสาคัญกับการเล่าโดย
ใช้ บคุ คลที่ 3 (ตัวละครประกอบ) เพื่อเล่าความเป็ นไปของบุคคลที่ 1 (ตัวละครหลัก) ซึง่
นอกจากจะสร้ างความรู้สกึ ที่สด ใหม่แล้ ว ยังมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งในการสร้ าง “ความเป็ นฮีโร่”
ของตัวละครหลักๆ ในเรื่ องได้ เป็ นอย่างดี เพราะการนาเสนอความรู้สกึ นึกคิดของตัวละคร
ประกอบ (มุมมองบุคคลที่ 3) ทาให้ ผ้ อู า่ นได้ รับรู้ความรู้สกึ ของผู้คนรอบข้ างที่มีตอ่ ตัวละครหลัก
ดังนันการที
้ ่ตวั ละครประกอบแสดงอาการยกย่อง เชิดชูการกระทาของตัวละครหลักจึงน่าเชื่อถือ
กว่าให้ ตวั ละครเอกพูดยกย่องตัวเอง และแน่นอนว่าดีกว่าการให้ ผ้ อู ่านรับรู้ความเป็ นฮีโร่ของตัว
ละครเอาเองผ่านการกระทาแบบตรงไปตรงมาด้ วยเช่นกัน

1.2 การเล่ าเรื่ องผ่ านเทคนิคเฉพาะของสื่อการ์ ตูน


การเล่าเรื่ องผ่านเทคนิคเฉพาะของสื่อชนิดนี ้จากทัง้ 6 เรื่ อง มีประเด็นการสื่อสารเรื่ องราว
ผ่านองค์ประกอบดังต่อไปนี ้
1.2.1 กรอบหรื อช่องการ์ ตนู
การ์ ตนู ที่ศกึ ษาทัง้ 6 เรื่ องมีวิธีการวาดขนาด และจานวนของกรอบหรื อช่อง
คล้ ายคลึงกัน นัน่ คือขึ ้นอยูก่ บั “เนื ้อหา” และขึ ้นกับ “กลุม่ ผู้อา่ น” เป็ นหลัก แต่โดยรวมแล้ วก็ใช้
จานวนกรอบไม่มากนักคือเฉลี่ย 4-8 ช่องต่อหน้ า โดยกลุม่ ที่ใช้ กรอบหลากหลายตามท้ องเรื่ อง
คือทเวนตีฯ้ ยอดนักสืบจิ๋วฯ นินจาคาถาฯ และเดธโน้ ต เพราะด้ วยเรื่ องราวที่เน้ นความ
สมจริง และปมลึกลับ จึงใช้ กรอบจานวนค่อนข้ างมาก โดยฉากที่เน้ นการสนทนาหรื อฉากเน้ น
การสืบสวนก็จาเป็ นต้ องใช้ กรอบจานวนมากขึ ้นเพื่อให้ เห็นรายละเอียดของเหตุการณ์ แต่
ขณะเดียวกันในช่วงเวลาที่ต้องมีฉากต่อสู้ กรอบก็จะน้ อยลงเพื่อเน้ นให้ เกิดความตื่นเต้ น
286

ในขณะที่รูปทรงของกรอบภาพโดยรวมก็ไม่หวือหวามากนัก (ไม่เน้ นขีดเส้ นกรอบเอียง กรอบส่วน


ใหญ่มกั เป็ นเส้ นตรงธรรมดาๆ)
ส่วนดราก้ อนบอลนันต่ ้ างจากสามเรื่ องที่กล่าวมาเพราะเน้ นการใช้ กรอบใหญ่
บ่อยครัง้ กว่าเรื่ องอื่นๆ เพื่อโชว์ฉากต่อสู้ เนื่องจากฉากต่อสู้แทบจะเป็ นตัวขับเคลื่อนหลักให้
เรื่ องราวในดราก้ อนบอลเดินไปข้ างหน้ า จึงทาให้ เป็ นการ์ ตนู ที่มีกรอบรูปต่อหน้ าน้ อย และมีขนาด
ของกรอบโดยรวมค่อนข้ างใหญ่กว่าเรื่ องอื่นๆ แต่วันพีซกลับฉีกสูตรของการโชว์ฉากต่อสู้ด้วย
การสร้ างกรอบใหญ่เพื่อขับเน้ นอารมณ์ผ้ อู า่ นออกไป ซึง่ แม้ วนั พีซจะมีฉากต่อสู้เยอะไม่แพ้ ดรา
ก้ อนบอลหรื อนินจาคาถาฯ แต่กลับเป็ นการ์ ตนู ที่ซอยย่อยกรอบเยอะมากในหนึง่ หน้ า นัน่ เพราะวัน
พีซมีตวั ละครต่อฉากจานวนมาก (เนื่องจากตัวละครกลุ่มพระเอกเป็ นสมาชิกโจรสลัดที่เดินทางไป
ไหนไปกันตลอดจึงสู้พร้ อมหน้ ากัน) การวางกรอบจึงต้ องมีขนาดเล็กลงเพื่อกระจายบทให้ ทกุ ตัว
ละคร ทาให้ ผ้ อู า่ นเห็นสีหน้ า ท่าทาง การกระทาของตัวละครกลุม่ เหล่านี อ้ ย่างทัว่ ถึง ซึง่ ก็เป็ นการ
ตอกย ้าคาแร็ คเตอร์ ของตัวละครกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางให้ หนักแน่นมากขึ ้นไปอีก
1.2.2 บอลลูน หรื อช่องคาพูด (Balloon)
การใช้ บอลลูนหรื อการวางช่องคาพูดในแต่ละกรอบภาพทัง้ 6 เรื่ องนันโดยรวมมี ้
จานวนค่อนข้ างน้ อย แต่ก็อาจเรี ยงลาดับจากเรื่ องที่ใช้ ช่องคาพูดมากไปหาน้ อยได้ ดงั นี ้
วันพีซ ใช้ ช่องคาพูดค่อนข้ างเยอะ เพราะมีตวั ละครจานวนมาก และผู้เขียน
นิยมสร้ างบุคลิกตัวละครผ่านบทสนทนา (เช่นสาเนียงตัวละคร หรื อคาพูดติดปาก) ทาให้ เกิดช่อง
คาพูดจานวนมากกว่าการ์ ตนู แนวต่อสู้ด้วยกัน (ดราก้ อนบอลและนินจาคาถาฯ)
ทเวนตีฯ้ เดธโน้ ต ยอดนักสืบจิ๋วฯ ใช้ ชอ่ งคาพูดพอสมควร เพราะเนื ้อหาในแต่
ละตอนค่อนข้ างมาก รวมทังวิ ้ ธีการเล่าเรื่ องเน้ นการหลอกล่อผู้อา่ น ดังนันค ้ าพูด บทสนทนาจึง
เป็ นส่วนหนึง่ ที่สาคัญในการดาเนินเรื่ อง
ส่วนนินจาคาถาฯ และดราก้ อนบอลใช้ ชอ่ งคาพูดน้ อย เน้ นแต่สว่ นสาคัญ
เช่นบทสนทนาของตัวละครเท่านัน้ เพราะเนื่องจากเรื่ องราวเน้ นไปที่ฉากต่อสู้เป็ นหลัก จึง แทบจะ
ไม่ใช้ ชอ่ งคาพูดเลย
1.2.3 การใช้ เทคนิคเกี่ยวกับภาพ
จากการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องส่วนใหญ่ไม่ใช้ เทคนิคของขนาดภาพ หรื อการเปลี่ยนระยะ
ภาพเพื่อสร้ างอารมณ์แก่เรื่ องราวนัก แต่มีอยู่ 2 เรื่ องที่ใช้ เทคนิคเกี่ยวกับภาพได้ น่าสนใจดังนี ้
ทเวนตี ้ฯ: เปลี่ยนมุมกล้ องเพื่อสร้ างอารมณ์ร่วม
ทเวนตี ้ฯ มีภาพรวมของเรื่ องเน้ นไปที่ “ความลึกลับ” และด้ วยวิธีการเล่าเรื่ องที่
287

คล้ ายซีรี่ส์ และภาพยนตร์ อเมริกนั จึงทาให้ ในทเวนตี ้ฯ ใช้ มมุ กล้ องที่หลากหลายกว่าการ์ ตนู เรื่ อง
อื่นๆ โดยเฉพาะการเลือกใช้ มมุ ที่สร้ างบรรยากาศ “ชวนให้ สงสัย” เช่นมุมแอบดู เพื่อสร้ าง
อารมณ์ร่วมให้ ผ้ อู า่ นตื่นเต้ นกับเหตุการณ์ที่กาลังเกิดขึ ้น นอกจากนี ้ยังใช้ การตัดภาพ และการ
เปลี่ยนขนาดภาพทังระยะไกล- ้ ใกล้ หรื อตัดไปที่องค์ประกอบอื่นๆ ในฉาก เพื่อช่วยเร้ าอารมณ์
ผู้อา่ นทดแทนความนิ่งของตัวละครได้ เป็ นอย่างดี
วันพีซ: มุมแปลกตาสร้ างพลังให้ เรื่ องราว
วันพีซขึ ้นชื่อว่าเป็ นการ์ ตนู ที่นิยมเขียนมุมภาพแปลกๆ หวือหวา เปรี ยบได้ กบั การ
ใช้ เทคนิคการถ่ายภาพ เช่น การใช้ มมุ มองแบบตาปลา หรื อมุมมองจากกายภาพที่แปลกประหลาด
ของตัวละคร เพราะตัวเอกอย่างลูฟี่ที่มีร่างกายเป็ นยางยืดก็จะสามารถสร้ างมุมมองที่แปลก
ประหลาดกว่าตัวละครเรื่ องอื่น โดยมักจะมีการเปลี่ยนมุมมองภาพ และตัดภาพบ่อยครัง้ ในช่วง
ฉากต่อสู้ ซึง่ การปรับเปลี่ยนมุมมองของการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ถึงความเคลื่อนไหว
ความเร็ว ของตัวละคร ซึง่ ก็ทาให้ เรื่ องราวดูกระชับ ฉับไวได้ เป็ นอย่างดี
1.2.4 การจัดวางฉากและการจัดวางองค์ประกอบอื่นๆในกรอบ/ช่องการ์ ตนู
จากทังหมด้ 6 เรื่ อง มีการจัดวางฉากที่น่าสนใจดังนี ้
ทเวนตี ้ฯ : จัดวางฉากแต่พอดีเสริมรับเรื่ องราว
การจัดวางในฉาก การวางองค์ประกอบต่างๆ ในกรอบภาพของการ์ ตนู เรื่ องนี ้
สามารถคุมโทนของเรื่ องที่สร้ างปมลึกลับอยู่ตลอดเวลาได้ อย่างดี โดยทังจ ้ านวนของบอลลูนที่เป็ น
บทสนทนาของตัวละคร รายละเอียดของคนและสิ่งของในฉากที่ไม่ได้ มีจานวนมาก ต่างล้ วนเสริม
แต่งความรู้สกึ โดดเดี่ยว เปลี่ยวเหงาของตัวละครที่อยูใ่ นภาวะ “ครุ่นคิด” ถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้น ซึง่ ก็
ส่งผลให้ ผ้ อู า่ นได้ “ครุ่นคิด” และ “ใคร่ครวญ” ถึงความคิด จิตใจของตัวละครตามไปด้ วย จึงเรี ยก
ได้ วา่ การจัดวางองค์ประกอบของภาพ (รวมทังการใช้ ้ มมุ กล้ อง) ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ผ่านกระบวนการ
คิดเพื่อสื่อความหมายแก่ผ้ ชู มมาอย่างดี อีกทังยั ้ งสอดรับกับแนวของเรื่ องอย่างพอเหมาะ
ดราก้ อนบอล: ความเรี ยบง่ายที่ไม่เรี ยบง่าย
“ความเรี ยบง่ายที่ไม่เรี ยบง่าย” คงเป็ นนิยามสาหรับการจัดวางองค์ประกอบใน
ฉาก และกรอบภาพในการ์ ตนู ของโทริ ยาม่า อากิระได้ เป็ นอย่างดี เพราะนอกจากตัวละครจะดู
เรี ยบง่ายเพราะมีลายเส้ นกลมมนเป็ นหลักแล้ ว องค์ประกอบอื่นๆ ในฉากเช่นก้ อนเมฆ หรื อต้ นไม้ ก็
ยังเรี ยบง่าย สอดคล้ องกับเรื่ องราวที่เป็ นเรื่ องต่อสู้ที่ไม่มีโครงเรื่ องซับซ้ อน นอกจากความเรี ยบ
ง่ายในฉากแล้ วอากิระยังใส่ความเป็ นตัวตนลงไปในฉากเพื่อแสดงความสามารถด้ านการวาด
เครื่ องยนต์กลไก และตัวละครสัตว์ประหลาดแปลกตาอีกด้ วย ซึง่ ความถนัดในสองสิ่งนี ้ยังช่วย
288

สร้ าง “ความขัดแย้ ง” ให้ เกิดภายในฉากเดียวกัน เช่นการใส่ไดโนเสาร์ ในฉากเดียวกับรถยนต์สดุ


ล ้ายุคจนเกิดเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว

1.3 การเล่ าเรื่ องผ่ านลายเส้ นการ์ ตูน


“ลายเส้ น” เปรี ยบเสมือนลายมือของนักเขียนการ์ ตนู ซึง่ แต่ละเรื่ องก็มีเอกลักษณ์แตกต่าง
กัน และส่งผลให้ เกิดอารมณ์ที่ตา่ งกันออกไปโดยสรุปออกเป็ นตารางได้ ดงั นี ้

เรื่อง ความเรียบง่ าย/ การลด-เพิ่ม วิธีสร้ างนา้ หนัก/มิติ ผลรวมของการใช้ ลายเส้ น


ความละเอียดเส้ น สัดส่ วนตัวละคร ให้ ตวั ละคร
ดราก้ อน เส้ นเรี ยบง่าย มีความ ลด-เพิ่มสัดส่วน แทบไม่ติดสกรี น ไม่ เส้ นดูเข้ าใจง่าย สะอาดตา
บอล เป็ นกราฟิ ก ค่อนข้ างมาก เน้ นสร้ างมิติ
เดธโน้ ต เส้ นละเอียด เล็กบาง สัดส่วนสมจริ ง ติดสกรี นมาก ตัวละคร เส้ นดูซบั ซ้ อน โทนภาพมืด
ดูเนี ้ยบ ฉากดูมมี ิติ หม่นเข้ ากับเรื่ อง
ทเวนตี ้ฯ เส้ นละเอียดพอควร สัดส่วนสมจริ งมาก ติดสกรี นค่อนข้ างมาก เส้ นไม่ซบั ซ้ อนเกิน แต่ตวั
แต่ไม่เล็กเท่าเดธโน้ ต ตัวละคร ฉากดูมีมติ ิ ละครดูสมจริ งเข้ ากับเรื่ อง
วันพีซ เส้ นละเอียดมาก ลด-เพิ่มสัดส่วน สานเส้ นด้ วยมือ เข้ าใจ เส้ นดูคอ่ นข้ างยุง่ เหยิง แต่
มากที่สดุ ยากกว่าติดสกรี น สร้ างความตลกได้ มาก
นินจาคาถา เส้ นค่อนข้ างเรี ยบง่าย สัดส่วนค่อนข้ าง ติดสกรี นน้ อย ไม่เน้ น เส้ นดูเข้ าใจง่าย โทนภาพไม่
สมจริ ง มิติตวั ละคร ฉากนัก มืดหม่นเกินไป
ยอดนักสืบ เส้ นค่อนข้ างเรี ยบง่าย ทังสมจริ
้ งและ ติดสกรี นพอสมควร เส้ นดูเข้ าใจง่าย โทนภาพมืด
จิ๋วฯ ใช้ เส้ นตรงชี ้และทรง ลดทอนตามวัยของ ฉากดูมมี ิติเข้ าใจง่าย หม่นตามแนวเรื่ อง
กลมผสมผสาน ตัวละคร

ตารางที่ 31 ภาพรวมวิธีการใช้ ลายเส้ น

แม้ ลายเส้ นในการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องจะแตกต่างกันอย่างไร แต่สิ่งที่เหมือนกันของทุกเรื่ องคือ


การเลือกใช้ ลายเส้ น (รวมทังการสานเส้
้ นหรื อการติดสกรี น) ให้ เหมาะสมกับเนื ้อเรื่ อง บรรยากาศ
และความรู้สกึ นึกคิดของตัวละครเป็ นสาคัญ

2. กลวิธีการสร้ างบุคลิกลักษณะตัวละคร หรื อการสร้ างคาแร็คเตอร์ (character) ใน


หนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่นแบ่ งออกเป็ นประเด็นหลัก 4 ข้ อดังนี ้
289

2.1 ประเภทตัวละคร
2.2 ความพิเศษของตัวละคร
2.3 ความแตกต่างหลากหลายของตัวละคร
2.4 การกระจายความสาคัญและการสร้ างความสัมพันธ์ของตัวละคร

2.1 ประเภทตัวละคร
2.1.1 ประเภทตัวละครที่พิจารณาจากจานวนของตัวละคร
ตัวละครกลุม่ จากกลุม่ ตัวอย่าง 6 เรื่ อง มีการสร้ างตัวละครแบบกลุม่ มากถึง 4
เรื่ อง คือดราก้ อนบอล ทเวนตี ้ฯ วันพีซ และนารูโตะ โดย 2 เรื่ องแรกคือดราก้ อนบอล กับทเวนตี ้ฯ
สร้ างตัวละครกลุม่ ฝ่ ายตัวเอกเพียงด้ านเดียว ในขณะที่ฝ่ายตัวร้ าย (หรื อฝ่ ายตรงกันข้ ามกับตัว
เอก) เป็ นตัวละครเดี่ยว ขณะที่วนั พีซ และนารูโตะสร้ างตัวละครกลุม่ ทังฝั ้ ่ งตัวเอกและตัวร้ าย
โดยการสร้ างตัวละครกลุม่ ในวันพีซ และนินจาคาถาฯ น่าสนใจตรงกาหนดรูปแบบที่ง่ายต่อการ
จดจา เช่นในวันพีซมีการกาหนด code name เรี ยงลาดับความเก่งคือตังแต่ ้ มิสเตอร์ ซีโร่ไปจนถึง
มิสเตอร์ ไฟว์ (0-5) เป็ นต้ น
2.1.2 ประเภทตัวละครที่พจิ ารณาจากมิตแิ ละพัฒนาการของตัวละคร
2.1.2.1 ตัวละครแบบกลม
ความกลมของตัวละคร หรื อความเป็ นคนไม่สมบูรณ์แบบในการ์ ตนู ทัง้ 3
เรื่ องคือ ทเวนตี ้ฯ วันพีซ และนินจาคาถาฯ โดยทเวนตีฯ้ นันเน้ ้ นสร้ างตัวละครที่เป็ น “มนุษย์จริง”
โดยถอดแบบจากมนุษย์ในสังคมญี่ปนปั ุ่ จจุบนั เพื่อสร้ างความรู้สกึ ร่วมจากกลุม่ คนอ่านโดยเฉพาะ
ผู้ใหญ่ ส่วนทางด้ านวันพีซ และนินจาคาถาฯ แม้ ตวั ละครจะมีพฒ ั นาการไม่มากนัก แต่ตวั
ละครต่างมีมิตทิ ี่นา่ สนใจ เพราะใช้ วิธีการสร้ างปมในจิตใจผ่าน “อดีต” อันเจ็บปวดจนทาให้
ความรู้สกึ ในใจตัวละครแหว่งวิ่น และส่งผลต่อนิสยั ใจคอ รวมทังการกระท ้ า ซึง่ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ
เข้ าใจ เห็นใจ และเข้ าข้ างตัวละครได้ ง่าย
2.1.2.2 ตัวละครแบบแบน
ตัวละครในดราก้ อนบอล เดธโน้ ต และยอดนักสืบจิ๋วฯ ไม่ได้ มีมิติ
ซับซ้ อนมากนัก นัน่ เพราะผู้เขียนไม่ได้ เปิ ดพื ้นที่ให้ ตวั ละครได้ แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ นึกคิด
เท่าที่ควร เนื่องจากทังดราก้
้ อนบอลและเดธโน้ ตเน้ นการประลองฝี มือในฉากต่อสู้เป็ นหลัก
เช่นเดียวกับยอดนักสืบจิ๋วฯ ก็มงุ่ เน้ นให้ พระเอกแสดงความสามารถด้ านการไขคดี ดังนันตั ้ ว
ละครเอกแบบแบนที่ไม่คอ่ ยจะมีพฒ ั นาการ และไม่คอ่ ยยอมให้ ผ้ อู า่ นเห็นประวัตชิ ีวิต ความคิด
290

ความอ่านของพวกเขาหล่านี ้ถึงแม้ จะทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ทึง่ กับความเก่งกาจได้ ดี แต่ก็ไม่อาจสร้ าง


อารมณ์ร่วมจากผู้อ่านในเกมแข่งขัน หรื อฉากต่อสู้ได้ เท่ากับตัวละครแบบกลม
2.1.3 บทบาทหน้ าที่ของตัวละคร
หากแยกแยะบทบาทของตัวละครตามแนวคิดวลาดิมีร์ พร็อพ (Vladimir Propp)
นักวิเคราะห์เทพนิยายพื ้นบ้ านของรัสเซีย ก็สามารถแยกแยะลักษณะ และบทบาทของตัวละคร
หลักๆ ที่น่าสนใจได้ ดงั นี ้
2.1.3.1 พระเอก (hero) หรื อตัวละครหลักของเรื่ อง ที่ขบั เคลื่อนให้ เรื่ อง
เดินหน้ า พบว่าตัวละครพระเอกมีหลากหลายรูปแบบและหลากหลายบทบาทคือ
พระเอกที่ออกเดินทางเพื่อค้ นหาบางสิ่ง
พระเอกอย่าง ซุน โงคู ในดราก้ อนบอล และมังกี ้ ดี ลูฟ่ ี ในวันพีซ
มีอิสระจากการตัดสินใจออกเดินทางทาภารกิจต่างจากแนวคิดของพร็อพ นัน่ เพราะทังคู ้ ไ่ ม่ได้ ออก
เดินทางตามความต้ องการของแม่เฒ่าหรื อปราชญ์ประจาหมูบ่ ้ านที่มกั ส่งคนไปค้ นหาบางสิ่งเพื่อ
ช่วยเหลือหรื อปกป้องอาณาเขตของตนเอง แต่ลฟู ี่ และโงคูเดินทางไปตามแรงขับที่มาจากความ
ปรารถนาของตนเอง (ลูฟี่ออกเรื อเพราะต้ องการเป็ นโจรสลัดผู้ยิ่งใหญ่ โงคูออกค้ นหาดราก้ อนบอล
เพราะเป็ นของดูตา่ งหน้ าปู่ ที่ให้ ไว้ ก่อนตาย)
พระเอกเหนือมนุษย์/พระเอกที่ใกล้ เคียงคนเดินดิน
พระเอกแบบเหนือมนุษย์ที่มีความสามารถเหนือกว่าคนทัว่ ไปอย่าง
ชัดเจนนันมี้ 3 เรื่ องก็คือ โงคู จากดราก้ อนบอล ลูฟ่ ี ในวันพีซ และนารู โตะในนินจาคาถาฯ ที่
มีพลังพิเศษแฝงเร้ นในร่างกาย ขณะที่อีก 2 เรื่ องคือพระเอกอย่างแอล ยอดนักสืบหนุม่ จากเดธ
โน้ ต และคุโด้ ชินอิจิ ในยอดนักสืบจิ๋วฯ แม้ จะเป็ นคนธรรมดา ไม่ได้ มีพลังวิเศษใดใด แต่ก็เรี ยก
ได้ วา่ ความสามารถเกือบๆ จะเหนือมนุษย์เพราะเก่งกว่าตารวจทุกคนในญี่ปนุ่
น่าสังเกตว่าพระเอกแบบเหนือมนุษย์ที่กล่าวมาข้ างต้ นทังหมดมี
้ อายุอยู่
ในช่วงวัยรุ่นระดับมัธยมปลายถึงระดับมหาวิทยาลัย ซึง่ เป็ นกลุม่ เป้าหมายหลักที่ผ้ เู ขียนคาดว่า
จะอ่านงานของพวกเขา ดังนันแม้ ้ ตวั ละครเอกจะเก่งกาจเหนือมนุษย์สกั เพียงใด แต่อย่างน้ อยๆ
พระเอกเหล่านี ้ก็ยงั มีจดุ ร่วมกับผู้อ่านนัน่ คืออยูใ่ นช่วงวัยเดียวกัน ซึง่ ย่อมช่วยลดทอนสถานะความ
เป็ น “เทพ” ให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกจับต้ องและเข้ าถึงได้ ง่ายขึ ้น
จากทัง้ 6 เรื่ องจึงเหลือเพียงเอ็นโด เคนจิ ใน ทเวนตีฯ้ ที่เป็ นพระเอก
แบบใกล้ เคียงคนธรรมดามากที่สดุ จนอาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นพระเอกที่ตอ่ ต้ านความเป็ นพระเอกผู้มกั มี
ความสามารถเหนือผู้อื่น (anti-hero) เพราะนอกจากรูปลักษณ์ภายนอกของเคนจิจะไม่หล่อไม่เท่
291

แล้ ว ความคิด จิตใจภายในก็ไม่ได้ มงุ่ มัน่ เผชิญหน้ ากับคูต่ อ่ สู้ (“เพื่อน”) มากมายนัก ดังนัน้
พระเอกแบบเคนจิแม้ ไม่สามารถสร้ างความรู้สกึ หวือหวาในยามต้ องต่อสู้กบั อุปสรรคหรื อเหล่าร้ าย
แต่ผ้ อู ่านกลับเอาใจช่วยให้ เขาฟั นฝ่ าอุปสรรคมากกว่าพระเอกประเภทเหนือมนุษย์เพราะเขาไม่
สามารถสร้ างความคาดไม่ถึงได้ จากพลังลี ้ลับที่แฝงในร่างกาย และไม่มีอาวุธพิเศษใดเป็ นตัวช่วย
แต่ต้องอาศัยพลังใจ และความสามารถในการโน้ มน้ าวใจให้ ศตั รูยอมรับในความเห็นของเขาแทน
พระเอกที่เริ่มจาก 0/ พระเอกที่เริ่มจาก 10
หากจะแยกแยะพระเอกตามพัฒนาการความสามารถก็อาจแบ่งได้ เป็ น 2
กลุม่ คือ พระเอกที่ไม่ได้ เก่งตังแต่ ้ แรกเริ่ม หรื อพระเอกที่เริ่ มต้ นจากศูนย์ กับพระเอกที่เก่งตังแต่ ้
แรกเริ่ม หรื อพระเอกที่เริ่มต้ นจาก 10 ซึง่ พระเอกที่เริ่มต้ นจากศูนย์หรื อไม่มีความสามารถติดตัว
เลยนันก็ ้ คือนารู โตะ ในนินจาคาถาฯ และลูฟ่ ี ในวันพีซ ซึง่ มีเพียงกาลังใจมุง่ มัน่ อยากจะเป็ นสุด
ยอดนินจาและสุดยอดโจรสลัดเท่านัน้ ความสนุกสนานของการติดตามตัวละครเอกทังสองตั ้ วนี ้
จึงเป็ นการค่อยๆ เติบโต เก่งกาจไปกับตัวละคร ซึง่ โงคู ในดราก้ อนบอลเองก็อาจจัดอยูใ่ นกลุม่
นี ้ด้ วยเช่นกัน แต่โงคูนนเริ ั ้ ่มต้ นจากการมีฝีมือติดตัวอยู่บ้างและก็คอ่ ยๆ พัฒนาฝี มืออย่างรวดเร็ว
จนผู้อา่ นแทบเดาไม่ออกว่าผู้เขียนจะสร้ างสถานการณ์ หรื อศัตรูที่เก่งกาจมาจากไหนเพื่อแสดงถึง
ความเก่งของโงคูที่มากขึ ้นทุกขณะ ส่วนพระเอกที่เก่งตังแต่
้ แรกเริ่ม หรื อเริ่มต้ นจาก 10
และไม่ได้ มีพฒ ั นาการในด้ านความสามารถก็คือโคนัน จากยอดนักสืบจิ๋วฯ และแอลกับไลท์
จากเดธโน้ ต เพราะทังสองเรื ้ ่ องมุง่ เน้ นไปที่แนวการสืบสวนสอบสวน จึงจาเป็ นต้ องสร้ างตัวละคร
เอกที่เก่งกาจอยู่แล้ วตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ องเพื่อสร้ างความน่าเชื่อถือในการสืบคดี -คลี่คลายปม
มีพระเอกเพียงเรื่ องเดียวคือเคนจิ จากทเวนตีฯ้ ที่ไม่อาจจัดเข้ าพวกได้
เพราะเคนจิไม่ได้ เก่งกาจตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง และเมื่อจบเรื่ อง เขาก็ไม่ได้ เก่งกาจมากขึ ้นเช่นกัน นัน่
เพราะความเป็ นพระเอกของเคนจิไม่ได้ เกิดจากการเชิดชูประเด็นเรื่ อง “ความเก่งกาจ” ด้ านการ
ต่อสู้ทางร่างกายหรื อทางความคิด แต่ความเป็ นพระเอกของเคนจิคือการเผยให้ เห็นถึงแง่มมุ ของ
คนธรรมดาๆ ที่กล้ ารับผิดชอบในสิ่งที่ก่อไว้ ในอดีตเท่านันเอง ้
พระเอกที่เป็ นฝ่ ายกระทาและถูกกระทา
การ์ ตนู โดยส่วนใหญ่ที่มีพระเอกชนิดเหนือมนุษย์ และ/หรื อเก่งตังแต่ ้
เปิ ดเรื่ องมักเป็ นพระเอกที่เป็ นฝ่ ายกระทา คือต่อสู้ (ทังทางร่ ้ างกาย จิตใจ) ได้ อย่างมาดมัน่ และ
เอาชนะอุปสรรคของเรื่ องได้ ไม่ยากเย็นนัก ซึง่ ก็คือพระเอกอย่างแอล-ไลท์ ในเดธโน้ ต โคนัน
ในยอดนักสืบจิ๋วฯ และโงคูในดราก้ อนบอล พระเอกที่เป็ นฝ่ ายกระทาเหล่านี ้มักเป็ น
วีรบุรุษที่ทาให้ ผ้ อู า่ นใฝ่ ฝั นอยากเป็ นแบบนี ้บ้ างแม้ ร้ ูดีวา่ “เป็ นไปไม่ได้ ” ก็ตาม ส่วนพระเอกที่ถกู
292

กระทา ถูกกดดันจากผู้คนรอบข้ าง ไม่ได้ รับการยอมรับว่าเป็ นบุคคลสาคัญในสังคมก็มกั เป็ น


พระเอกที่เริ่มต้ นจากศูนย์ ไร้ พลังฝี มือเหมือนเช่นลูฟ่ ี จากวันพีซ ที่ถกู ตีตราว่าเป็ นโจรสลัด หรื อ
เคนจิจากทเวนตีฯ้ ก็ถกู สังคมกล่าวหาว่าเป็ นกลุม่ ขบวนการทาลายล้ างโลก และพระเอกที่เรี ยก
ได้ วา่ เป็ น “ขบถ” หรื อ “คนชายขอบ” ในสังคมก็คือนารู โตะ จากนินจาคาถาฯ ที่ต้องถูกคนใน
หมูบ่ ้ านนินจาของตนเกลียดชัง เพราะมีปีศาจร้ ายสิงสูใ่ นร่างกาย ซึง่ พระเอกที่ถกู กระทาเหล่านี ้
ย่อมเรี ยกอารมณ์ ความรู้สึกจากผู้อา่ นที่อาจรู้สกึ “เจ็บใจ” แทนตัวละครได้ ดี ดังนันเมื ้ ่อยามที่ตวั
ละครฝึ กฝน พัฒนาตนจนบรรลุเป้าหมายและได้ รับการยอมรับจากสังคมจึงมักสร้ างอารมณ์ร่วม
จากผู้อา่ นและสร้ างความประทับใจได้ มากกว่าตัวละครชนิดที่ได้ รับการยอมรับจากสังคมอยูแ่ ล้ ว
2.1.3.2 ผู้ร้าย (villain)
วิธีที่ง่ายที่สดุ ที่จะเชิดชูความสามารถของพระเอกได้ ก็คือการสร้ างตัวละครผู้ร้าย
(ผู้ขดั ขวางพระเอก) หรื อตัวละครที่เป็ นอุปสรรคหลักของเรื่ องให้ มีความสามารถทัดเทียมกัน ซึง่
จากกลุม่ ตัวอย่างทัง้ 6 เรื่ องก็มีถึง 5 เรื่ องที่สร้ างตัวร้ ายให้ เก่งกาจสูสีกบั พระเอกคือเดธโน้ ต
ทเวนตี ้ฯ นินจาคาถาฯ วันพีซ และดราก้ อนบอล โดยเรื่ องที่สร้ างผู้ร้ายได้ น่าสนใจที่สดุ คงหนีไม่พ้น
เดธโน้ ต ที่สร้ างผู้ร้าย*อย่างยางามิ ไลท์ได้ โดดเด่นอย่างมากจนแทบจะเกินหน้ าพระเอกอย่างแอล
เพราะนอกจากผู้เขียนจะเลือกเปิ ดเรื่ องด้ วยการตามติดชีวิตของผู้ร้ายทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ผูกพันด้ วย
ตังแต่
้ แรกแล้ ว ก็ยงั สร้ างให้ ไลท์ฉลาดในการวางแผนเท่าเทียมพระเอก แถมยังพลิกบทบาทของ
ผู้ร้ายที่มกั มีเป้าหมายต้ องการวางแผนยึดครองโลก หรื อฆ่าฟั นผู้อื่นเพราะความสนุกส่วนตัวให้
กลายเป็ นผู้ร้ายที่มีอดุ มการณ์ไม่ตา่ งจากพระเอก (การใช้ เดธโน้ ตฆ่าคนเพื่ออยากเห็นโลกสงบสุข)
ซึง่ ก็ทาให้ ผ้ อู ่านไม่น้อยเห็นด้ วยกับผู้ร้ายจนถึงขันหลงรั
้ กผู้ร้ายมากพอๆ กับพระเอกด้ วยซ ้าไป
ผู้ร้ายที่โดดเด่นรองลงมาเห็นจะเป็ น “เพื่อน” ในทเวนตีฯ้ เพราะมีผ้ รู ้ ายหลัก
เพียงหนึง่ เดียวเหมือนเช่นเดธโน้ ต “เพื่อน” เป็ นผู้สร้ างแผนการครอบครองโลกเพียงเพราะ
ความแค้ นส่วนตัวในวัยเด็กที่มีตอ่ พระเอกอย่างเคนจิ แม้ “เพื่อน” ไม่ได้ มีความสามารถหรื อ
ทักษะพิเศษในแบบผู้ร้ายทัว่ ไปที่มกั มีพลังพิเศษแฝงอยูใ่ นตัว แต่ความสามารถที่ “เพื่อน” มีและ
ช่วยสร้ างความยิ่งใหญ่ให้ กบั เขาได้ ก็คือ “การสร้ างกลลวง” หลอกผู้คนให้ เคารพ และเชื่อถือเขาจน
หมดใจ เรี ยกได้ ว่า “เพื่อน” กับ “เคนจิ” พระเอกของเรื่ องนันมี ้ ความสามารถแทบทัดเทียมกัน

*
เนื่องจากตัวละครในเดธโน้ ตต่างมีเหตุผลในการกระทา (ทังท ้ าดีและเลวตามบรรทัดฐาน
สังคม) จนยากจะแบ่งแยกว่าใครเป็ นพระเอก-ผู้ร้าย ดังนันการก ้ าหนดบทบาทพระเอก-ผู้ร้าย ของเดธโน้ ตในที่นี ้
จึงพิจารณาตามมาตรฐานของพระเอกในเรื่ องเล่าส่วนใหญ่ที่สงั คมยอมรับว่าเป็ นคนมีคณ ุ ธรรม ส่วนผู้ร้ายมัก
เป็ นฆาตกรที่สงั หารผู้อื่น หรื อกลุม่ องค์กรที่มงุ่ ทาลายล้ างโลก
293

โดยเฉพาะการเป็ นผู้นาที่ศนู ย์รวมจิตใจของผู้คนได้ เป็ นอย่างดี เพียงแต่ตา่ งกันตรงที่วิธีคดิ ที่ฝ่าย


หนึง่ เลือกเป็ นผู้ทาลายล้ างและอีกฝ่ ายเลือกจะเป็ นผู้ชว่ ยเหลือเท่านันเอง ้
แต่ไม่วา่ จะอย่างไรการ์ ตนู ญี่ปนทั ุ่ ง้ 6 เรื่ องก็มีจดุ ร่วมของผู้ร้ายที่เหมือนกันคือตัว
ร้ ายส่วนใหญ่ไม่ได้ ร้ายมาแต่กาเนิด แต่ร้ายอย่างมีเหตุผล และท้ ายที่สดุ ก็มกั กลับใจ หรื อเข้ าไปอยู่
ฝ่ ายพระเอก (ฝั่ งธรรมะ) ในที่สดุ
2.1.3.3 ผู้ช่วยเหลือ (helper)
พระเอกที่เป็ นเด็ก หรื อพระเอกที่ความสามารถเริ่มต้ นจากศูนย์ ย่อมต้ องมีผ้ คู อย
ให้ ความช่วยเหลือ หรื อสิ่งของที่เป็ นตัวช่วยให้ ผา่ นพ้ นอุปสรรคไปได้ ซึง่ การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องมีผ้ ู
ช่วยเหลือแตกต่างกันออกไปดังนี ้
- ผู้ชว่ ยเหลือที่เห็นเป็ นรูปธรรมจับต้ องได้ ปรากฏในยอดนักสืบจิ๋วฯ โคนัน
ที่ต้องอยูใ่ นร่างเด็กประถมโดยมีข้อจากัดด้ านความน่าเชื่อถือในการไขคดี จึงมีตวั ช่วยที่เป็ น
สิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ อย่างนาฬิกายิงยาสลบ และหูกระต่ายเปลี่ยนเสียง เพื่อช่วยให้
โคนันแปลงตัว-แปลงเสียงเป็ นนักสืบรุ่นใหญ่และคลี่คลายคดีได้ อย่างน่าเชื่อถือมากขึ ้น
- ผู้ชว่ ยเหลือประเภทของวิเศษปรากฏในเดธโน้ ต ซึง่ น่าแปลกที่ผ้ ชู ว่ ยเหลือ
กลับไปอยูฝ่ ั่ งผู้ร้ายอย่างคิระหรื อไลท์เพราะฝั่ งพระเอกอย่างแอลใช้ เพียง“มันสมอง” ของตัวเองใน
การวางแผนต้ อนวายร้ าย โดยผู้ชว่ ยเหลือของไลท์ก็คือสมุดโน้ ตบันทึกรายชื่อผู้ตาย หรื อ “เดธโน้ ต”
ที่ชว่ ยให้ เขาเขียนชื่อใครก็ได้ ที่ต้องการให้ ตายลงในสมุดโน้ ตเล่มนี ้ได้ ตามใจนึก
- ผู้ชว่ ยเหลือหลายรูปแบบ อยูใ่ นเรื่ องต่อสู้แฟนตาซีอย่างดราก้ อนบอล วัน
พีซ และนินจาคาถาฯ ซึง่ คล้ ายคลึงกันตรงที่เน้ น “ของวิเศษ” “ปี ศาจวิเศษ” เพื่อ “เพิ่มพลังให้ ตวั
ละคร” เช่นดราก้ อนบอลมีเทพเจ้ ามังกรช่วยให้ คนตายฟื น้ คืนชีพ นินจาคาถาฯ มีสตั ว์หางที่สถิต
อยูใ่ นร่างพระเอก หรื อวันพีซนันพระเอกอย่ ้ างลูฟี่ก็มีพลังจากผลไม้ ปีศาจที่ทาให้ ร่างกายเป็ นยาง
- ไม่มีผ้ ชู ว่ ยเหลือ จากทัง้ 6 เรื่ อง มีทเวนตีฯ้ เพียงเรื่ องเดียวที่ฉีกกฎ
“ผู้ชว่ ยเหลือ” ออกไป เพราะพระเอกอย่างเคนจิแม้ จะมีเพื่อนร่วมขบวนการ แต่ก็แทบไม่ได้ มีสว่ น
ช่วยคลี่คลายปมปั ญหาหลักของเรื่ องซึง่ ก็คือการคลายปมในใจ “เพื่อน” ผู้ต้องการทาลายล้ างมวล
มนุษยชาติเลย
2.1.3.4 นางเอก (princess)
บทบาทของนางเอกประเภทรอความช่วยเหลือจากพระเอกตามที่วลาดิมีร์ พร็อพ
เคยสรุปเอาไว้ นนเรี ั ้ ยกได้ วา่ แทบไม่มีอีกแล้ วในบทบาทของนางเอกปั จจุบนั เพราะจากการ์ ตนู ทัง้ 6
เรื่ องมีลกั ษณะร่วมกันของนางเอกที่เริ่มมีความเก่งและแข็งแกร่งด้ านร่างกาย หรื อเรื่ องฝี มือการ
294

ต่อสู้มากขึ ้น ไม่ได้ รอความช่วยเหลือจากพระเอกฝ่ ายเดียว เพราะในยามคับขันยังสามารถ


ช่วยเหลือพระเอกในเรื่ องสาคัญๆ ได้ ด้วยเหมือนเช่น โมริ รัน นางเอกในยอดนักสืบจิ๋ว
ที่แม้ จะเคยตกอยูใ่ นอันตรายจนโคนันต้ องช่วยชีวิตมาหลายครัง้ แต่รันเองก็เคยช่วยพระเอก (โคนัน
ที่อยูใ่ นร่างเด็ก) ได้ ในยามคับขันเช่นกัน หรื อฮารุโนะ ซากุระ ในนินจาคาถาฯ ก็ได้ บทสาคัญ
อย่างมากนัน่ เพราะนอกจากหน้ าตาดีแล้ วเธอยังเป็ นนินจาที่เก่งด้ านการแพทย์ที่ชว่ ยชุบชีวิตเพื่อน
นินจาได้ อีกด้ วย ไม่ตา่ งอะไรกับโบอา แฮนค็อก ในวันพีซ ที่เป็ นหญิงสาวที่สวยที่สดุ ในโลก
ของโจรสลัดก็วา่ ได้ อีกทังยั ้ งเก่งกาจเป็ นหัวหน้ าชนเผ่านักรบหญิง และเป็ นผู้หญิงเพียงคนเดียวที่
เป็ นสมาชิกกลุม่ เจ็ดเทพโจรสลัดที่รัฐบาลโลกให้ ความเคารพยาเกรง แถมยังช่วยให้ ลฟู ี่ แหกคุก
เพื่อช่วยพี่ชายได้ อีกด้ วย
2.2 ความพิเศษของตัวละคร
ตัวละครที่อมตะย่อมต้ องเกิดจากการสร้ างลักษณะเด่น หรื อ ”ความพิเศษ” ให้ กบั ตัวละคร
ผ่านทางรูปลักษณ์ภายนอก และ/หรื อนิสยั ใจคอภายใน ซึง่ แต่ละเรื่ องล้ วนใช้ กลวิธีแตกต่างกัน
ดังนี ้
2.2.1 ดราก้ อนบอล
2.2.1.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: เรียบง่ ายแต่ ลา้ ยุค
การออกแบบของดราก้ อนบอลมีความแปลก ใหม่จากการ์ ตนู ยุคเดียวกัน
ตรงการนารูปทรงกราฟิ ก (วงกลม สี่เหลี่ยมที่เห็นเป็ นทรงง่ายๆ ชัดเจน) มาใช้ ซงึ่ ต่างจากการวาด
เส้ นที่ซบั ซ้ อนตามแนวการ์ ตนู ต่อสู้ที่เน้ นความสมจริงในยุคเดียวกันจึงทาให้ เกิดตัวละครที่นา่ จดจา
เช่น
ซุน โงคู: ผมชีแ้ หลมอันเป็ นเอกลักษณ์ เรี ยกว่าเป็ นพระเอกที่ฉีก
ไปจากความเชื่อแบบเดิมที่นกั เขียนการ์ ตนู ส่วนใหญ่มกั สร้ างตัวละครเอกให้ ดหู ล่อเท่ แต่ไม่โดดเด่น
หรื อแปลกแตกต่าง เพื่อให้ ง่ายต่อการเข้ าถึงคนอ่าน แต่โงคูกลับมีสิ่งที่สะดุดตาผู้อา่ น และเป็ นที่
จดจาอย่างมากผ่าน “ทรงผม” ชี ้แหลมที่ไม่เคยเห็นในทรงผมตัวเอกในเรื่ องใดมาก่อน
คุริลิน: คนอะไรไม่ มีจมูก ความล ้ายุคในการออกแบบคาแร็ คเตอร์ ขอ
งดราก้ อนบอลยังหมายถึงความเรี ยบง่ายที่หลายคนมองข้ าม เช่นคุริลิน ซึง่ เป็ นที่จดจาไม่ใช่แค่ใน
ฐานะเพื่อนร่วมเป็ นร่วมตายกับโงคูเท่านัน้ แต่สิ่งที่เณรน้ อยหัวโล้ นหน้ าตาแสนธรรมดาคนนี ้
น่าสนใจก็คือเป็ นตัวละครที่ไม่มี “จมูก”
2.2.1.2 การสร้ างรู ปลักษณ์ ภายใน: ภายนอกขัดแย้ งกับภายใน
ดราก้ อนบอลมักใช้ กลวิธีสร้ างนิสยั ใจคอภายในให้ “ขัดแย้ ง” กับ
รูปลักษณ์ภายนอก เพื่อสร้ างจุดเด่นให้ กบั ตัวละคร เหมือนเช่น
295

ผู้เฒ่ าเต่ า ซึง่ ได้ รับการยกย่องว่าเป็ นเทพเจ้ าแห่งการต่อสู้ มีรูปร่าง


หน้ าตาภายนอกไม่ถึงขันโดดเด่
้ น หรื อฉีกไปจากขนบของ “ปรมาจารย์” ที่เราคุ้นชิน เพราะ
รูปลักษณ์ของผู้เฒ่าเต่านันให้ ้ ความรู้สึกสมเป็ นปรมาจารย์จากหนวดเคราที่ยาวเฟื อ้ ย และหัวที่โล้ น
เลี่ยนเหมือนเช่นเจ้ าอาวาสวัดเส้ าหลิน แต่ “นิสยั ใจคอ” ของท่านผู้เฒ่าที่ควรจะเป็ นผู้ทรงคุณธรรม
กลับกลายเป็ น “ตาแก่จอมลามก” ธรรมดาๆ คนหนึง่ เท่านัน้ เพราะมีนิสยั ชอบแอบดูผ้ หู ญิงเข้ า
ห้ องน ้าอยูเ่ ป็ นประจา ด้ วยลักษณะภายนอกที่นา่ เชื่อถือตรงกันข้ ามกับนิสยั ใจคอภายในที่
เหมือนเด็กเช่นนี ้นี่เองที่สร้ างความน่าจดจาให้ กบั ตัวละคร “ผู้เฒ่าเต่า”
จอมมารบู เมื่อพูดถึงคาว่า “จอมมาร” แน่นอนว่าภาพของตัวละคร
ลึกลับน่าเกลียด น่ากลัวย่อมผุดขึ ้นในหัวของหลายๆ คน แต่ภาพของจอมมารบู (ในร่างแรกที่
ปรากฏต่อสายตาคนอ่าน) กลับลบล้ างภาพจาเหล่านันโดยสิ ้ ้นเชิง เพราะจอมมารตนนี ้มีรอยยิ ้ม
เปื อ้ นหน้ าอยูเ่ สมอ พร้ อมด้ วยใบหน้ าและรูปร่างอ้ วนกลม จึงเป็ นความโดดเด่นในการสร้ างตัว
ละครที่มีรูปลักษณ์ภายนอกให้ ตรงกันข้ ามกับสถานะ หรื อบทบาทที่ตวั ละครได้ รับ ขณะเดียวกัน
นิสยั ใจคอของจอมมารบูก็ตรงกันข้ ามกับบทบาทของตัวละครฝ่ ายร้ ายเช่นกันเพราะมีความ
อ่อนโยน ยึดถือใน “มิตรภาพ” อย่างมาก
2.2.1.3 ตัวละครคู่หู : ช่ วยเสริมเติมแต่ งกันและกัน
สูตรของตัวละครคูห่ ทู ี่ชว่ ยเติมเต็มบุคลิก และนิสยั ใจคอซึง่ กันและกัน
เหมือนที่โทริยาม่า อากิระประสบความสาเร็จจาก “อาราเล่กบั กัต๊ จัง” ในหนูน้อยอาราเล่กบั ดร.
สลัมป์ ยังคงปรากฏอยูใ่ นดราก้ อนบอล เหมือนเช่นตัวละคร หยาฉา (ยามุชา) กับปูอัล หยา
ฉา อดีตโจรทะเลทรายรูปหล่อ มีคหู่ คู นสาคัญชื่อ ปูอลั ซึง่ เป็ นสิ่งมีชีวิตรูปร่างคล้ ายแมว บินได้
และสามารถแปลงร่างเป็ นอะไรก็ได้ ตัวละครอย่างปูอลั จึงเป็ นตัวสร้ างแรงดึงดูดภายนอก
เสริมให้ หยาฉาดูนา่ สนใจขึ ้น ด้ วยการสร้ างภาพของชายหนุม่ หน้ าตาดีคมเข้ มที่ขึ ้นชื่อว่าเป็ นโจร
ทะเลทรายแต่กลับมีคหู่ เู ป็ นสิ่งมีชีวิตตัวเล็กน่ารักไปไหนไปกัน เรี ยกว่าเป็ นการใช้ หลักความขัดแย้ ง
เพื่อดึงดูดซึง่ กันและกัน เพราะช่วยลดทอนภาพความโหดเหี ้ยมของโจรลงไป ดังนันตั ้ วละครอย่าง
ปูอลั นอกจากจะเสริมให้ หยาฉาที่ดภู ายนอกเป็ นคน “ธรรมดา” กลายเป็ นคน “ไม่ธรรมดา” ขึ ้น
มาแล้ ว ยังเป็ นตัวบ่งบอกนิสยั ใจคอข้ างในของตัวละครได้ อีกด้ วยว่าแท้ จริงนันไม่ ้ ใช่โจรขาโหดตัว
จริงผ่านการออกแบบรูปร่างหน้ าตาของตัวละครคูห่ ขู ้ างกาย
จะเห็นได้ วา่ การสร้ างตัวละครคูห่ ใู นดราก้ อนบอลจะใช้ สตู รตัวละครเก่ง-
296

หล่อ-จริงจัง คูก่ บั ตัวละครน่ารัก ซึง่ เมื่อจับคูก่ นั ก็ชว่ ยให้ โทนของเรื่ องโดยรวมเป็ นทังเรื
้ ่ องต่อสู้ที่
ตื่นเต้ นแต่ขณะเดียวกันก็ยงั แฝงด้ วยความน่ารัก ไม่รุนแรง และก็สง่ ผลให้ ดราก้ อนบอลเข้ าถึงกลุม่
ผู้อา่ นที่คอ่ นข้ างเด็ก และผู้หญิงได้ มากกว่าแค่ผ้ อู า่ นชาย
2.2.2 วันพีซ
2.2.2.1 แรงผลักดันภายในตัวละคร: ตัวละครนอกคอกแต่ เปี่ ยม
ความฝั น
แม้ การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกตัวละครในวันพีซอาจไม่ได้ โดดเด่น
ชนิดที่เรี ยกได้ วา่ “เห็นหน้ าแล้ วรู้นิสยั ใจคอ” เหมือนดราก้ อนบอล นอกจากนี ้สัดส่วนของตัวละครก็
ไม่ได้ แตกต่างกันมากนัก แต่ความโดดเด่นของการออกแบบตัวละครในวันพีซกลับอยูท่ ี่การสร้ าง
นิสยั ใจคอภายใน โดยเฉพาะการสร้ าง “ภูมิหลัง” ให้ กบั ตัวละคร โดยมีลกั ษณะร่วมกันประการ
หนึง่ นัน่ คือ “ไม่มีใครเป็ นคนดีสมบูรณ์แบบ” โดยสร้ างให้ เกิดกลุม่ คนที่ไม่สมบูรณ์แบบซึง่ กระจัด
กระจายแตกต่างกัน แต่ได้ มารวมตัวกันเป็ นกลุม่ ก้ อนที่สมบูรณ์แบบ พ้ องกับชื่อเรื่ อง One Piece
(รวมกันเป็ นชิ ้นเดียว หนึง่ เดียวกัน) โดยกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางในเรื่ องต่างเป็ นภาพแทนของ
ทังเด็
้ ก และผู้ใหญ่ ในสังคมปั จจุบนั ที่ตา่ งมีความเป็ นปั จเจก มีความต้ องการเฉพาะตัวของแต่ละ
คน จึงกลายเป็ นตัวละครที่เสมือนตัวตนของคนอ่าน จนทาให้ อยากติดตามการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไปจนถึง
ที่สดุ ดังตารางสรุปความฝั นและเบื ้องหลังชีวิตที่แหว่งวิ่นจนรวมตัวกันเป็ นหนึง่ เดียวได้ ดงั นี ้

ตัวละคร ความฝั น เบือ้ งหลังชีวิต/ปมชีวติ


มังกี ้ ดี ลูฟี่ ค้ นหาวันพีซ/เป็ นจ้ าวโจรสลัด ไม่ได้ อยูก่ บั พ่อแม่ มีพอ่ เป็ นนักปฏิวตั ิ (เป็ น
ปฏิปักษ์ กบั รัฐบาลโลก)
โรโรโนอา นักดาบที่เก่งที่สดุ ในโลก เพื่อนในวัยเด็ก (คุอินะ นักดาบหญิงคน
โซโล เดียวที่โซโลไม่เคยเอาชนะได้ ) เสียชีวิต
พร้ อมสัญญาร่วมกันกับโซโลว่าจะเป็ นนัก
ดาบที่เก่งที่สดุ
นามิ เขียนแผนที่โลก เป็ นจอมขโมย และกาพร้ าพ่อแม่
อุซป เป็ นอัศวินผู้ห้าวหาญแห่งท้ องทะเล เป็ นจอมโกหกฉายา “เด็กเลี ้ยงแกะ”ประจา
หมูบ่ ้ าน
ซันจิ ค้ นหา All Blue (ศูนย์รวมปลาทุกชนิด) ทาให้ ก๊ กุ มือ 1 ของโลกโจรสลัดและเป็ นผู้มี
พระคุณแขนขาด (เพราะช่วยเหลือซันจิ)
โทนี่ โทนี่ เป็ นหมอที่รักษาได้ ทกุ โรค เป็ นครึ่งมนุษย์ครึ่งกวาง ไม่มใี ครรับเข้ า
ช้ อปเปอร์ พวก
297

ตัวละคร ความฝั น เบือ้ งหลังชีวิต/ปมชีวติ


นิโค โรบิน ค้ นหา โพเนกลีฟที่แท้ จริ ง เป็ นเด็กประหลาดเพราะงอกอวัยวะจาก
ร่างกายได้ ทกุ ส่วนจนไม่มใี ครอยากอยูใ่ กล้
แฟรงกี ้(คาติฟู ดูความสาเร็ จของเรื อ เธาซัน ซันนี่ เป็ นต้ นเหตุทาให้ ผ้ มู ีพระคุณต้ องถูก
แลม) ประหารชีวติ /มีร่างกายเป็ นไซบอร์ ก
ฮัมมิง่ บรู๊ค อยากพบวาฬลาบูนอีกครัง้ เพื่อนพ้ องตายหมด แต่ตวั เอง(อยากตายก็
ตายไม่ได้ ) เพราะกินผลไม้ ปีศาจที่
ไม่วา่ ถูกทาร้ ายถึงตายอย่างไรก็ต้องฟื น้ คืน
ชีพขึ ้นใหม่ทกุ ครัง้

ตารางที่ 32 เบือ้ งหลังปมชีวิตและความฝั นของตัวละครในวันพีซ

2.2.2.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: อาวุธและความสามารถ


พิเศษที่เป็ นระบบ
วันพีซสร้ างความสามารถพิเศษให้ กบั ตัวละคร (ที่มีจานวนมาก) ได้ อย่าง
แตกต่างหลากหลาย ขณะเดียวกันก็ดมู ีเอกภาพ เป็ นหมวดหมูเ่ ดียวกัน เพราะมีการจัดกลุม่ “ตัว
ช่วย” ให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันตลอดทังเรื ้ ่ อง นัน่ คือการสร้ าง “ผลไม้ ปีศาจ” ที่มีหลากหลาย
ชนิด และมีทงจุ ั ้ ดเด่น จุดด้ อยแก่ผ้ ทู ี่กินเข้ าไปแตกต่างกัน ดังนันตั
้ วละครในเรื่ องจึงมี
ความสามารถพิเศษที่ทงโดดเด่ ั้ น และทังแปลกประหลาด
้ เช่นผลเอื่อยเฉื่อย ที่ทาให้ คนที่โดนคลื่น
ของผู้กินผลไม้ นี ้เข้ าไปเชื่องช้ าลง หรื อ “ผลดอกไม้ ” ที่ทาให้ ร่างกายงอกออกมาได้ ทกุ ส่วน ดังนัน้
เมื่อตัวละครแต่ละตัวมีความพิเศษที่แตกต่างกันเช่นนี ้ก็ย่อมทาให้ เมื่อยามเผชิญหน้ ากันจึง
กลายเป็ นเรื่ องสนุก และยากจะคาดเดาถึงผลที่ตามมา
2.2.2.3 ตัวละครประกอบเล็กๆ ก็สร้ างอารมณ์ ร่วมได้
วิธีการสร้ างอารมณ์ร่วมจากผู้อา่ นได้ ดีวิธีหนึง่ ก็คือการสร้ างตัวละครที่
อาจไม่ใช่ตวั เอก แต่เป็ นเพียงตัวละครประกอบที่ตวั เอกได้ พดู คุย หรื อพบเจอ เพื่อสร้ างแง่คดิ และ
เรี ยกอารมณ์ร่วมแก่ผ้ อู า่ น เช่น การสร้ างเรื่ องราวความมุมานะของ “โตโต้ ” ชายชราคนหนึง่ ที่
มุง่ มัน่ ขุดผืนดินที่กลายเป็ นทรายมานับสิบปี ด้ วยความเชื่อว่าใต้ ผืนทรายจะมีแหล่งน ้าที่ชว่ ยชีวิต
คนในหมู่บ้านท่ามกลางสายตาดูหมิ่น จากคนรอบข้ าง โดยเฉพาะตัวละครฝ่ ายร้ ายอย่างคร็อคโค
ไดล์ที่พดู จาหยามหยันความพยายามนี ้ว่า “โง่เง่า ไร้ สาระ” จนสร้ าง “แรงผลักดัน” ให้ พระเอก
อย่างลูฟี่เกิดอาการ “เลือดขึ ้นหน้ า” ซึง่ ก็สง่ ผลให้ ลฟู ี่ เกิด“พลังใจ” และทาให้ เกิด “พลังฝี มือ” ที่
คาดไม่ถึงแทบทุกครัง้ การสร้ างเรื่ องราวให้ กบั ตัวละครประกอบที่ดเู หมือนจะ ”ไร้ ความหมาย”
298

แต่ใส่รายละเอียดของชีวิตและความฝั นลงไปเช่นนี ้จึงกลับเป็ นการ “สร้ างความหมาย” ที่ทาให้ เกิด


การขยี ้อารมณ์ผ้ อู า่ นในภายหลังได้ เป็ นอย่างดี
2.2.3 นินจาคาถาฯ
2.2.3.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก : ตัวละครร่ วมสมัยเจาะ
ใจผู้อ่านวงกว้ าง
ในขณะที่ตวั ละครพระเอกในการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่ยงั คงรูปลักษณ์ที่
สะท้ อนความเป็ นญี่ปนโดยเฉพาะสี
ุ่ ผมที่เป็ นสีดาสนิท แต่พระเอกของนินจาคาถาฯ อย่างนารู
โตะกลับมีผมสีส้มทอง ซึง่ นอกจากจะสร้ างความแปลกใหม่ให้ กบั การออกแบบคาแร็ คเตอร์
“พระเอก” แล้ ว ยังเป็ นภาพแทนของเด็กญี่ปนในปั ุ่ จจุบนั ที่นิยมย้ อมสีผมกันมากขึ ้น และสะท้ อน
ถึง “อัตลักษณ์” ของตนเองที่ไม่ต้องการอยูใ่ นกรอบของผู้ใหญ่เหมือนเช่นตัวละครพระเอกที่ผา่ นมา
การสร้ างคาแร็ คเตอร์ ผา่ นสีผมของนารูโตะซึง่ สะท้ อนภาพความเป็ นจริงของเด็กและวัยรุ่นญี่ปนใน ุ่
ปั จจุบนั จึงสร้ างความรู้สึกร่วมจากผู้อา่ นกลุม่ นี ้ได้ อย่างมาก นอกจากนี ้ผมสีส้มยังเป็ นรูปลักษณ์ที่
เป็ นสากลจึงย่อมเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นในฝั่ งตะวันตกได้ ง่ายเช่นกัน
2.2.3.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: ของวิเศษหลากหลาย
สร้ างฉากต่ อสู้น่าตื่นตา
นินจาคาถาฯ ออกแบบความสามารถพิเศษของตัวละคร รวมทังของ ้
วิเศษ สัตว์ประหลาด ซึง่ เป็ นผู้ชว่ ยเหลือตัวละครเอกในยามคับขันได้ อย่างแตกต่างครบถ้ วน โดยได้
สร้ างหมวดหมูข่ องความสามารถพิเศษ และตัวช่วย (เหมือนเช่นวันพีซ) เช่นธาตุประจาตัวนินจา
อย่างดิน น ้า ลม ไฟ ที่แตกต่างกัน หรื อความสามารถพิเศษประจาตระกูลที่เป็ นเอกลักษณ์
รวมทังรู้ ปลักษณ์ของสัตว์หางที่มีระดับความเก่งกล้ าตามจานวนหาง ซึง่ ความหลากหลายของ
ความสามารถ และของวิเศษข้ างต้ นเหล่านี ้จึงทาให้ ฉากการต่อสู้ในนินจาคาถาฯ สนุก ตื่นเต้ น และ
ยากจะคาดเดาผลลัพธ์ (มากกว่าดราก้ อนบอล หรื อวันพีซ) เพราะตัวละครมีตวั ช่วยหลากรูปแบบ
ทังเพื
้ ่อนร่วมทีมนินจา ทังสั ้ ตว์หางที่สถิตอยู่ในร่าง คาถาแปลกประหลาด รวมทังการอั ้ ญเชิญสัตว์
วิเศษเพื่อช่วยในการต่อสู้
2.2.3.3 แรงผลักดันภายใน: อดีตด้ านลบของครอบครัวสร้ าง
แรงจูงใจอันน่ าเชื่อถือ
ตัวละครที่ถกู กดดัน และถูกกระทาจากคนรอบข้ างมากที่สดุ คือตัวละคร
จากนินจาคาถาฯ เพราะนอกจากตัวละครหลักในเรื่ องอย่างนารูโตะ จะมีอดีตที่ขมขื่น เป็ นร่าง
สถิตของปี ศาจและสูญเสียพ่อแม่ตงแต่ ั ้ ยงั เด็กจนแทบไม่มีใครคบแล้ ว ตัวละครหลักอื่นๆ ก็มกั มี
แรงกดดันจากปมของ “ครอบครัว” หรื อ “ตระกูล” ตังแต่ ้ ครัง้ อดีตส่งผลให้ เกิดแรงผลักดันต่อการ
299

กระทาในปั จจุบนั ซึง่ การสร้ างแรงกดดันผ่านอดีตของตัวละคร โดยเฉพาะการสร้ างปมความ


ขัดแย้ งในครอบครัว หรื อตระกูลของตนเอง เพื่อสร้ างแรงจูงใจในการดาเนินเรื่ องของนารูโตะและ
ซาสึเกะก็เป็ นกลวิธีเดียวกันกับที่วนั พีซเลือกทา เพียงแต่นินจาคาถาฯ สร้ างปมอดีตที่สร้ าง
แรงผลักดันทางลบให้ กบั ตัวละคร (สร้ างความแค้ น) มากกว่าจะสร้ างแรงผลักดันทางบวก (สร้ าง
ความฝั น) ซึง่ แรงผลักในด้ านลบย่อมส่งผลให้ ตวั ละครมีเหตุผลในการกระทาและทาให้ ผ้ อู า่ น
“เชื่อ” ในลักษณะนิสยั ใจคอของตัวละครอย่างมาก
2.2.4 เดธโน้ ต
2.2.4.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: ใส่ ใจรายละเอียดเพื่อ
สร้ างความแตกต่ าง
ความมีเสน่ห์ของตัวละครในเดธโน้ ตคือการสร้ างรายละเอียดใน
รูปลักษณ์ภายนอกให้ ตวั ละคร เช่นการสร้ างพระเอกอย่าง “แอล” ที่หากดูผิวเผินก็เป็ นเพียงวัยรุ่น
หนุม่ ธรรมดาๆ แต่การออกแบบรายละเอียด“อิริยาบถ” กลับมาธรรมดาเช่นท่าทางการยืน เดิน ที่มี
หลังงุ้มงอ การนัง่ ยองๆ บนเก้ าอี ้ หรื อการใช้ เพียงนิ ้วโป้งและชี ้จับหูกาแฟ จึงทาให้ แอลกลาย
เป็ นตัวละครที่แม้ ไม่หล่อ แต่ก็ติดอยูใ่ นความทรงจาของผู้อา่ นได้ ไม่ยาก
2.2.4.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: เครื่องแต่ งกายทันสมัย
เข้ าถึงใจวัยรุ่ น
ภาพของยมทูตที่คนส่วนใหญ่นกึ ถึงมักเป็ นโครงกระดูกเดินได้ ที่มาพร้ อม
ผ้ าคลุมผืนใหญ่สีดาและอาวุธประจากายอย่างเคียวเล่มยาว แต่ยมทูตลุค (เจ้ าของสมุดโน้ ต
มรณะ) กลับล้ างภาพจาข้ างต้ นโดยสิ ้นเชิง เพราะถึงแม้ ใบหน้ าจะยังคงเค้ าความน่ากลัวของโครง
กระดูก ปากที่ฉีกกว้ างจนแทบจะถึงใบหู ดวงตากลมโตปูดโปน และรูปร่างสูงผอม แต่การ
ออกแบบเสื ้อผ้ าหน้ าผมของยมทูตลุคกลับเหมือนนักดนตรี พงั ก์ ที่เปลี่ยนจากผ้ าคลุมตัวหลวม
ของยมทูตที่เราคุ้นชินมาเป็ นเสื ้อ-กางเกงรัดรูปสีดา แถมยังมีต้ มุ หูหว่ งโซ่ห้อยยาว อีกทังไม่ ้ ได้ ถือ
เคียวประจากายใดใด แต่กลับชอบพก “แอ้ ปเปิ ล้ ” ติดตัวไว้ เสมอ เช่นเดียวกับตัวละครหญิงที่รับ
บทเด่นในเรื่ องอย่างอามาเนะ มิสะ ที่อาจเรี ยกได้ ว่า “นางเอก” ก็ไม่ใช่เด็กสาวแสนเรี ยบร้ อย
หรื อฉลาดเฉลียวเหมือนนางเอกทัว่ ๆ ไป เพราะแค่เครื่ องแต่งกายภายนอกก็แสดงให้ เห็นความ
“แรง” และทันสมัยของตัวละครที่แต่งตัวแนวพังก์เช่นเดียวกับยมทูตลุค ทังผมสี ้ สว่าง การเขียน
ขอบตาดาเข้ ม และสร้ อยคอหนังเส้ นใหญ่สีดา ซึง่ การสร้ างรูปลักษณ์ของยมทูตลุค และมิสะ
ให้ เป็ นแนว “พังก์” ข้ างต้ น นอกจากจะเป็ นการสร้ างคาแร็คเตอร์ ที่แปลกแยกไปจากภาพจาของ
ตัวละครแบบเดียวกันในอดีตแล้ ว ยังเป็ นตัวละครที่ทนั ยุคสมัย เข้ าถึงกลุม่ วัยรุ่น (โดยเฉพาะวัยรุ่น
ญี่ปนจ ุ่ านวนไม่น้อยที่นิยมแต่งกายกันแบบหลุดโลก) ได้ เป็ นอย่างดีอีกด้ วย
300

2.2.4.3 การออกแบบภายนอก-ภายใน:พลิกบทบาทพระเอก-ผู้ร้าย
การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครในเดธโน้ ตเป็ นความตังใจ ้
เล่นกับความคุ้นชินของผู้อา่ น โดย “กลับขัว”้ รูปลักษณ์ทงภายในและภายนอกของตั
ั้ วละครให้
ตรงกันข้ ามกับ “บทบาท” ที่ตวั ละครได้ รับ เพราะหากจับตัวละครอย่างไลท์ กับแอล มายืนคูก่ ัน
แล้ วให้ ผ้ อู า่ นคาดเดาว่าใครเป็ นพระเอก และใครเป็ นผู้ร้ายโดยไม่ได้ อ่านเนื ้อเรื่ องมาก่อน เชื่อว่า
ส่วนใหญ่คงเลือกผิด เพราะเปลือกนอกของไลท์ (ซึง่ รับบทผู้ร้าย) นันเรี ้ ยกได้ ว่า หล่อ หุน่ สูงเพรี ยว
ตามสมัยนิยม และอิริยาบถโดยรวมก็ถกู สร้ างให้ ดู “เท่” ในขณะที่แอล (ซึง่ รับบทพระเอก) กลับ
หน้ าตาไม่อาจเรี ยกได้ วา่ หล่อตามพิมพ์นิยม เพราะผู้เขียนวาดให้ ลกั ษณะนัยน์ตาของแอลค่อนไป
ทางผู้ร้าย ด้ วยรอยขีดดาใต้ ตาที่ทาให้ ดลู ึกลับ และให้ ความรู้สกึ เหมือน “พังก์” (เป็ นไปในทิศทาง
เดียวกันกับการออกแบบยมทูตลุค และมิสะ) นอกจากนี ้ด้ วยท่าทางของแอลที่ชอบยืนหลังค่อม
นัง่ ยองๆ หรื อการกัดเล็บก็ยิ่งทาให้ แอลดูหา่ งไกลจากคาว่า “พระเอก” ที่มกั ดูหล่อไว้ ก่อน แต่กลับดู
“แปลก” ซึง่ น่าจะเป็ นการออกแบบตัวละครผู้ร้าย หรื อตัวประกอบมากกว่า เช่นเดียวกับการ
ออกแบบนิสยั ใจคอ ที่ไลท์แม้ จะรับบทผู้ร้ายก็กลับมีอดุ มการณ์ไม่ตา่ งจากคนดีๆ คนหนึง่ จนอาจ
เรี ยกว่าเป็ นพระเอกได้ ไม่ยาก ส่วนแอลนันก็ ้ ไม่ได้ ถกู สร้ างให้ เป็ นพระเอกที่นิสยั ดีตามพิมพ์นิยม
เพราะเราเห็นเพียงความเก่งกาจในมันสมองของแอลด้ านการสืบสวน แต่มองไม่เห็นนิสยั ใจคอ
ด้ านความเป็ นคนมีคณ ุ ธรรมของเขาเลย ดังนันการออกแบบคาแร็
้ คเตอร์ เช่นนี ้นอกจากจะสร้ าง
ความรู้สกึ แปลก แตกต่างไปจากการออกแบบตัวละครพระเอก-ผู้ร้ายที่เราคุ้นชินแล้ ว ยังสะท้ อน
ความแตกต่าง หลากหลายของวัยรุ่นในสังคมปั จจุบนั ที่ล้วนต้ องการ “ตัวตน” ที่ไม่จาเป็ นต้ องเดิน
ตามกระแสหลักอีกด้ วย
2.2.5 ทเวนตีฯ้
2.2.5.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: อีกมุมมองของ “ฮีโร่ ”
แม้ ทเวนตี ้ฯ จะว่าด้ วยเรื่ องของฮีโร่ผ้ กู อบกู้โลกให้ รอดพ้ นจากมหันตภัย
ร้ าย แต่แนวทางการออกแบบตัวละครกลับไม่เดินตามรอยการสร้ าง “ฮีโร่” ที่เราเคยผ่านตา นัน่
เพราะการออกแบบ “ขบวนการเคนจิ” ซึง่ เป็ นกลุม่ ของพระเอกที่ตอ่ ต้ าน “เพื่อน” กลับมีรูปร่าง
หน้ าตา สัดส่วนของร่างกายไปจนถึงเสื ้อผ้ า ทรงผมเรี ยบง่าย ไม่ดหู ล่อ เท่ และไม่ได้ มีของวิเศษ
หรื อความสามารถพิเศษมาช่วยเชิดชูความเก่งกาจใดใดให้ กบั ตัวละคร โดยเฉพาะ “โยชิสเึ นะ” ที่
แม้ จะรับบทสาคัญเป็ น “รักษาการณ์หวั หน้ าขบวนการเคนจิ” แต่กลับรูปร่าง หน้ าตาใกล้ เคียงกับ
คาว่า “ลูกกระจ๊ อก” มากกว่า เพราะด้ วยหางตาที่ตกดูเศร้ าสร้ อยตลอดเวลา แว่นตากลมใหญ่
หนาเตอะให้ ความรู้สกึ เป็ นนักวิชาการมากกว่านักก่อการปฏิวตั ิ ซึง่ การสร้ างตัวละครกลุม่ ตัว
เอกให้ มีรูปลักษณ์หา่ งไกลจากคาว่า “ฮีโร่” นอกจากจะสร้ างความรู้สึกแปลกใหม่สาหรับนักอ่าน
301

การ์ ตนู แนวธรรมะ-อธรรมแล้ ว ยังเป็ นการสร้ างความหมายใหม่ของคาว่า “ฮีโร่” ที่ไม่จาเป็ นต้ องดู
หล่อ เท่ หรื อมีความสามารถเหนือมนุษย์เสมอไป
2.2.5.2 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอกและนิสัยใจคอ: ตัวละคร
ประกอบแสนทรงพลัง
ตัวละครประกอบในทเวนตี ้ฯ ถูกสร้ างให้ มีความหมายมากกว่าแค่การ
เปิ ดเผยเรื่ องราวสาคัญและการแสดงความรู้สกึ ยกย่องตัวเอกให้ กลายเป็ นวีรบุรุษเหมือนเช่น คา
คุตะ นักเขียนการ์ ตนู โนเนมที่ถกู ส่งไปอยูใ่ นคุกเดียวกันกับโอตโจะ จากที่เคยเขียนการ์ ตนู อย่างไร้
แรงใจก็ได้ แรงพลังในการเขียนการ์ ตนู ขึ ้นมาอีกครัง้ เมื่อเห็นความไม่ย่อท้ อของทังโอตโจะและพรรค

พวก จนเขาตังปณิ
้ ธานไว้ วา่ จะใช้ การ์ ตนู เป็ นสื่อกลางถ่ายทอดเรื่ องราว “ฮีโร่ตวั จริง” อย่าง
ขบวนการเคนจิไปยังคนทังโลกให้ ้ ได้ ซึง่ การสร้ างตัวละครคนธรรมดาๆ แต่เมื่อได้ รับ
แรงใจจากขบวนการเคนจิก็สามารถกลายมาเป็ นตัวละครที่ “ทรงพลัง” เพราะสามารถส่งต่อ พลัง
ให้ คนอื่น และลุกขึ ้นมาทาบางสิ่งเพื่อความถูกต้ อง จึงเป็ นการสร้ างตัวละครประกอบที่แสน “ทรง
พลัง” เพราะนอกจากจะทาให้ ตวั ละครที่ปรากฏตัวเพียงไม่กี่ครัง้ เป็ นที่นา่ จดจาแล้ ว ตัวละคร
เหล่านี ้ยังเปี่ ยมด้ วยความหมายที่สะท้ อนความคิดของผู้เขียนที่ต้องการกระตุ้นให้ กลุม่ คนเหล่านี ้
นี่เอง (คนรุ่นใหม่ ศิลปิ น) คือ “ความหวัง” ของสังคม ที่ควรจะลุกขึ ้นมาตังค ้ าถามต่อความไม่ชอบ
มาพากลในสังคม หรื อลุกขึ ้นหาคาตอบถึงวิถีแห่งการเมือง การปกครองที่ควรจะปราศจากการ
ครอบงาทางความคิดของกลุ่มอิทธิพลใดใด (เหมือนเช่นองค์กร “เพื่อน”)
2.2.6 ยอดนักสืบจิ๋วฯ
2.2.6.1 การออกแบบรู ปลักษณ์ ภายนอก: สร้ างตัวละครเพียงหนึ่ง
แต่ ได้ สอง
ในยอดนักสืบจิ๋วสร้ างมิตขิ องตัวละครได้ อย่างง่ายดายโดยไม่ต้องสร้ าง
ตัวละครคูห่ เู ข้ าช่วย (เหมือนเรื่ องแนวสืบสวนอื่นๆ) เพราะตัวละครเอกแม้ มีเพียงคนเดียวแต่ก็
เหมือนมีสองคนสองบุคลิกในร่างเดียวกัน นัน่ เพราะร่างกายของพระเอกอย่างคุโด้ ชินอิจิ ได้ หด
เล็กลงจากฝี มือขององค์กรชายชุดดาจนกลายเป็ นเด็กประถมในร่างของ “โคนัน” การออกแบบตัว
ละครเอกอย่างชินอิจิและโคนัน จึงเป็ นตัวละครที่ฉีกตัวเองออกมาจากแนวเรื่ องแบบสืบสวนอย่าง
น่าสนใจ เพราะนอกจากจะทาให้ ผ้ อู ่านได้ รสชาติที่แปลกใหม่ของการได้ เห็น “เด็กประถม”
กลายเป็ นยอดนักสืบได้ อย่างน่าเชื่อถือแล้ ว ขณะเดียวกันการสร้ างตัวละครเอกเช่นนี ้ก็ยงั ให้ ผล
ทางการตลาดในวงกว้ างมากขึ ้นอีกด้ วย
302

2.3 ความแตกต่ างหลากหลายของตัวละคร


เรื่ องที่สร้ างตัวละครได้ ดีย่อมต้ องมีบคุ ลิกลักษณะทังภายในและภายนอกที
้ ่ไม่ซ ้าซ้ อนกัน
ในเรื่ องเดียว โดยแต่ละเรื่ องใช้ แนวทางสร้ างความ “หลาก” ให้ กบั ตัวละครต่างกันดังนี ้
2.3.1 วันพีซ
2.3.1.1 ความแตกต่างของกลุม่ ตัวละครเอก
การออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกของกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางนันไม่ ้ ได้ มี
ขนาดความสูงต่าของตัวละครแตกต่างกันมากนัก (เว้ นแต่ตวั ละครที่ไม่ใช่มนุษย์เหมือนเช่นครึ่ง
คนครึ่งกวางอย่างช้ อปเปอร์ ที่ตวั เล็กกว่าคนอื่น หรื อไซบอร์ กอย่างแฟรงกี ้ก็สร้ างให้ ตวั สูงใหญ่
กว่าปกติ) เช่นเดียวกับการออกแบบสัดส่วนตัวละครโดยรวม ให้ ดู “เท่” แบบวัยรุ่นยุคใหม่เข้ าไว้
ก่อน เพราะไม่มีใคร “อ้ วน” แม้ แต่คนเดียว ดังนันทุ ้ กตัวละครจึงมีจดุ ร่วมกันคือความ “ผอม เพรี ยว
เรี ยว ยาว” ที่คอ่ นข้ างจะเกินจริงแต่ก็สามารถสร้ างความรู้สกึ แตกต่างให้ เกิดขึ ้นได้ ผา่ นการ
ออกแบบรายละเอียดของอวัยวะบนใบหน้ า เสื ้อผ้ า ทรงผม และเครื่ องแต่งกาย ซึง่ แยกแยะเป็ น
ตารางได้ ดงั นี ้
2.3.1.2 ความแตกต่างของนิสยั ใจคอภายในของกลุม่ ตัวละครเอก
แม้ รูปร่างหน้ าตาภายนอกอาจไม่แตกต่างกันจนเห็นได้ ชดั แต่ลกั ษณะ
นิสยั ใจคอและความสามารถของกลุม่ ตัวเอกนันแตกต่ ้ างกันอย่างมาก เพราะทุกตัวละครล้ วนมี
เรื่ องราว และความฝั นเป็ นของตัวเอง ทาให้ เมื่อผนวกรูปร่างหน้ าตาภายเข้ ากับกับนิสยั ใจคอ
ภายในจึงทาให้ ภาพรวมคาแร็คเตอร์ กลุม่ ตัวเอกของวันพีซมีทงความเหมื ั้ อนที่เป็ นตัวเชื่อมโยงตัว
ละครเข้ าไว้ ด้วยกัน และขณะเดียวกันก็ยงั คงความแตกต่างเฉพาะตัวเอาไว้ ได้ โดยการสร้ างคา
แร็คเตอร์ ของตัวละครเอกทัง้ 9 ตัวถูกกาหนดให้ แตกต่างกันอย่างชัดเจนด้ วย “บทบาทหน้ าที่” บน
เรื อโจรสลัดตังแต่
้ ต้น โดยรูปลักษณ์ภายนอกตัวละครไม่ได้ แตกต่างกันมากนัก เพราะมีจดุ ร่วมที่
ความผอมเพรี ยว เรี ยวยาวของร่างกายคล้ ายคลึงกัน วัยใกล้ เคียงกัน (ส่วนใหญ่เป็ นวัยรุ่นระหว่าง
15-19 ปี ยกเว้ นโรบิน แฟรงกี ้และบรู๊ค) แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือนิสยั ใจคอที่ผ้ เู ขียนสร้ างตัว
ละครกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางให้ เป็ นภาพแทนของเด็กวัยรุ่นในสังคม ซึง่ ไม่ได้ มีแต่ลกั ษณะของตัว
ละครที่สงั คมให้ คณ ุ ค่าว่า “ดี” (เช่นเด็กเรี ยน มีน ้าใจ กตัญญูเช่นลูฟี่ หรื อเก่งในเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ ที่ดี
เช่นซันจิเก่งทาอาหารและโซโลเก่งฟั นดาบ) เท่านัน้ แต่ยงั สร้ างภาพแทนของวัยรุ่นอีกมากที่
“แปลกแยก” “ไม่เหมือนใคร” เช่นตัวละครที่รูปร่างครึ่งคนครึ่งกวางอย่างช้ อปเปอร์ ที่ไม่มีใครรับเข้ า
เป็ นพรรคพวก หรื อกระทัง่ ตัวละครที่มีนิสยั ที่คนในสังคมส่วนใหญ่ประณามเหมือนเช่น “จอม
โกหก” อย่างอุซป หรื อ “แมวขโมย” ที่ทาทุกอย่างเพื่อเงินอย่างนามิ แต่ตวั ละครที่มี
คุณลักษณะด้ านลบเหล่านี ้ต่างก็มีเหตุผลในการกระทาทังสิ ้ ้น อุซปโกหกเพื่ อหล่อเลี ้ยงกาลังใจให้
303

แม่และเพื่อน และ นามิขโมยของคนอื่นเพื่อหาเงินมาปลดแอกอิสรภาพให้ ครอบครัว ซึง่ การ


สร้ างตัวละครเอกให้ เป็ น “กลุม่ วัยรุ่น” ที่มีอตั ลักษณ์ของตนเอง ซึง่ นอกจากจะแตกต่างทังรู้ ปร่าง
หน้ าตา ความฝั น และความสามารถเหล่านี ้นอกจากจะทาให้ เรื่ องราวมีสีสนั มากขึ ้นแล้ วยังทาให้
ตัวละครของวันพีซเข้ าถึงกลุ่มผู้อา่ นที่แตกต่างหลากหลายในสังคมได้ เป็ นอย่างดี อีกด้ วย
2.3.1.3 ความแตกต่างของตัวละครอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตวั เอก
ตัวละครฝ่ ายร้ าย หรื อตัวละครประกอบอื่นๆ ก็มีความหลากหลายไม่แพ้
กลุม่ ตัวละครเอก ซึง่ ส่วนใหญ่เน้ นไปที่การวาดสัดส่วนตัวละครให้ ผิดไปจากขนาดของคนปกติ
และเพิ่มความดึงดูดด้ วยเสื ้อผ้ า ทรงผม และเครื่ องแต่งกายเป็ นหลัก แต่ก็มีตวั ละครที่มีความ
แตกต่างและน่าสนใจด้ วยการสร้ างสถานการณ์ และนิสยั ใจคอดังนี ้
- ตัวตลก บากี:้ ตัวละครประเภทฮีโร่ หลอกลวง บากี ้เป็ นหัวหน้ า
โจรสลัดที่ไม่เก่งกาจด้ านการต่อสู้ใด และชอบหนีเอาตัวรอดอยูเ่ สมอ แต่โชคชะตามักเล่นตลกให้
ผู้คนรอบข้ างเข้ าใจผิดว่าเขาก่อวีกรรมยิ่งใหญ่จนได้ รับการยกย่องเป็ น “วีรบุรุษ” (ขณะที่วีรบุรุษตัว
จริงอย่างลูฟี่ กลับถูกมองข้ าม) ตัวละครกัปตันเรื อแบบบากี ้จึงเป็ นตัวละครที่คนอ่าน (โดยเฉพาะ
คนไทย) ชื่นชอบได้ ไม่ยากเพราะเป็ นตัวละครประเภท ”โชคชะตาพาไปมากกว่าฝี มือ” ซึง่ ก็แสดงสัจ
ธรรมเรื่ องโชค และวาสนาของคนเราในโลกแห่งความเป็ นจริงที่บางครัง้ เราไม่อาจกาหนดชะตา
ชีวิตเราเองได้ ซงึ่ ก็ทาให้ เกิด “ฮีโร่ปลอม” ที่อาจเกิดจากความเข้ าใจผิดของคนอื่น หรื ออาจเกิดจาก
การที่สงั คมสร้ างภาพมายาขึ ้นเองอยูเ่ สมอๆ
- บทสาคัญของตัวละครเพศที่ 3 ในวันพีซให้ ความสาคัญกับตัวละคร
“เพศที่ 3” อย่างมาก เพราะมีตวั ละครเพศชายที่แต่งเป็ นหญิงถึง 2 ตัวที่ได้ รับบทสาคัญนัน่ คือ
มิสเตอร์ ทูว์ บอน เคร สาวประเภทสองร่างผอมบางที่เคยอยูฝ่ ่ ายตรงกันข้ ามกับกลุ่มพระเอกมา
ก่อน เธอน่าสนใจเพราะรูปลักษณ์ภายนอกขัดแย้ งกับนิสยั ใจคอภายใน นัน่ คือแม้ จะชอบใส่
ชุดแสนหวานแบบบัลเล่ต์ และทาลิปสติกแดงล ้าขอบปากแบบสาวจอมแฟชัน่ แต่นิสยั ใจคอกลับ
นับถือเสียยิ่งกว่าชายอกสามศอก เพราะ “วิถีกะเทย” ในแบบของเธอที่ให้ ความสาคัญใน
“มิตรภาพ” ทาให้ มิสเตอร์ ทวู ์ยอมสละชีวิตตนเองเพื่อช่วยลูฟี่ในการแหกคุกครัง้ สาคัญ
เช่นเดียวกับเอ็มเพอริโอ อิวานคอฟ มือขวาของนักปฏิวตั ิดราก้ อน อาชญากรอันดับหนึง่ ของ
โลก ที่นอกจากจะโดดเด่นด้ วยรูปลักษณ์ภายนอกที่มีใบหน้ าขนาดใหญ่เกินตัว ขนตายาว และผม
ทรงแอฟโฟรสีมว่ ง เธอยังเป็ นคนสาคัญในโลกโจรสลัดด้ วยการเป็ นราชินีแห่งราชอาณาจักร
กะเทย และเป็ นผู้ก่อตังกลุ ้ ่มนิวคาม่าแลนด์ ซึง่ เป็ นกลุ่มที่มีสมาชิก “ไร้ เพศ” (เพราะก้ าวข้ ามการ
แบ่งแยกเพศโดยผู้ชายบางคนก็เป็ นผู้หญิง ส่วนผู้หญิงบางคนก็เป็ นผู้ชาย) การสร้ างตัวละคร
304

เพศที่ 3 ซึง่ ไม่ได้ มีดีแค่ตลก แต่ยงั นิสยั ดี แถมเก่งกาจ และได้ รับการยอมรับจากสังคมเช่นนี ้


นอกจากจะสะท้ อน-เข้ าถึงความแตกต่างหลากหลายของคนเราในโลกปั จจุบนั ได้ ในแบบที่หาได้
ยากในการ์ ตนู ญี่ปนเรื ุ่ ่ องอื่นๆ แล้ วยังช่วยยกระดับสถานะทางสังคมของเพศที่ 3 ให้ สงู ขึ ้นอีกด้ วย
2.3.2 นินจาคาถาฯ
ด้ วยเรื่ องราวที่เกี่ยวกับ “นินจา” การออกแบบคาแร็คเตอร์ ของตัวละครในนินจา
คาถาฯ โดยรวมทังรู้ ปลักษณ์ภายนอกและนิสยั ใจคอจึงเน้ นตัวละครในทิศทางเดียวกันคือความ
“มืดหม่น” ของจิตใจ ความคิด ภูมิหลัง รวมทังเสื ้ ้อผ้ าเครื่ องแต่งกาย แต่ในความมืดทึมที่สะท้ อน
ความเป็ นนินจานันมี ้ ความแตกต่างกันดังนี ้
2.3.2.1 ความแตกต่างของกลุม่ ตัวละครเอก
- ทีมนินจาสร้ างคาแร็ คเตอร์ แตกต่าง
ความแตกต่างแรกในกลุม่ ตัวเอกคือการสร้ าง “ทีมนินจา” เพราะในแต่
ละทีมต้ องมีนินจาที่มีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือซึง่ กันและกันได้ ซึง่ ตัวละครที่โดด
เด่นในด้ านการออกแบบบุคลิกภายนอกจึงเน้ นไปที่การสร้ าง “ความสามารถ” หรื อ “พรสวรรค์”
ของแต่ละคนจึงเกิดตัวละครที่นา่ สนใจเช่น “จอมวางแผน” ซึง่ เป็ นตัวละครที่เป็ น “มันสมอง” ของ
กลุม่ อย่าง นารา ชิกามารุ ที่นอกจากจะควบคุมเงาได้ แล้ ว ความเป็ นคนนิ่งเฉย ไม่ม่งุ มัน่ เอาชนะ
ใครกลับกลายเป็ นเรื่ องดีที่ทาให้ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ และวางแผนการต่อสู้ได้ อย่าง
เหลือเชื่อ
- ตัวละครประเภทนินจาพรสวรรค์ และนินจาพรแสวง
ทุกๆ ตระกูลนินจาจะมีความลับเรื่ องความสามารถพิเศษประจาตระกูล
หรื อ “ขีดจากัดสายเลือด” หรื ออาจเรี ยกได้ วา่ พรสวรรค์ประจาตระกูลที่ไม่เหมือนกัน ซึง่ ก็เป็ นอีก
เงื่อนไขที่สร้ างความหลากหลายให้ ตวั ละคร เหมือนเช่น อาคิมิจิ โจจิ ซึง่ ลักษณะเด่นของโจจิ
นันอาจดู
้ เป็ นตัวละครแบบ “สูตรสาเร็จ” ในทุกเรื่ องที่มกั มีตวั ละคร “อ้ วน” หรื อสัดส่วนใหญ่โตผิด
คนอื่น (เหมือนเช่นไจแอนท์ในโดราเอมอน) แต่ผ้ เู ขียนก็ให้ มลู เหตุของความอ้ วนได้ อย่างน่าสนใจ
นัน่ เพราะขีดจากัดสายเลือดของตระกูลอาคิมิจิที่ถ่ายทอดมายังรุ่นลูกรุ่นหลานให้ มีความสามารถ
ในการเปลี่ยนแคลอรี ให้ เป็ นจักระ (พลังงาน) ได้ ดังนันการที ้ ่โจจิกินเก่ง หิวบ่อย จนกลายเป็ น
นินจาที่เรี ยกได้ วา่ “อ้ วน” ซึง่ ดูจะขัดกับภาพลักษณ์ของนินจาที่ควรจะผอมเพรี ยวจึงดูมีเหตุผล
ขึ ้นมาทันที และเมื่อมีนินจาที่มีพรสวรรค์ประจาตระกูล ก็ย่อมมีตวั ละครที่ไร้ พรสวรรค์แต่อาศัย
พรแสวงเช่น ร็อค ลี ผู้มีหน้ าตาถอดแบบเหมือนตานานดารานักสู้ที่โด่งดังไปทัว่ โลกอย่าง บรู๊ซ ลี
ด้ วยทรงผมบ็อบหน้ าม้ า และคิ ้วเข้ มหนา แม้ ลีดจู ะหลุดออกไปจากตัวละครแบบ “นินจา” เพราะ
305

ไม่มีต้นตระกูลที่ให้ ความสามารถพิเศษด้ านคาถาหรื อเวทมนตร์ แต่ก็อาศัยความมุมานะจนทาให้


เป็ นนินจาที่เก่ง “กระบวนท่า” สามารถโจมตีคตู่ อ่ สู้ได้ อย่างรวดเร็ วจนน่าจะเป็ นตัวเอกในหนังจีน
ยุคเก่ามากกว่า แต่ตวั ละครอย่างร็อค ลีก็เป็ นตัวละครที่เป็ นแบบอย่างให้ กลุ่มผู้อา่ นเข้ าถึง
ความหมายของ “ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยูท่ ี่นนั่ ” ได้ เป็ นอย่างดี
ในขณะที่ตวั ละครร้ ายของวันพีซมีรูปร่างหน้ าตาโดยรวมไม่หล่อ ไม่เท่
แต่ตวั ละโดยรวมของนินจาคาถาฯ กลับมีรูปร่างหน้ าตาค่อนข้ างสวยงาม หรื อไม่ก็ดเู ท่แทบ
ทังหมด
้ โดยเฉพาะ “ตัวร้ าย” ที่อาจดูหล่อ เท่ยิ่งกว่าฝ่ ายตัวเอกด้ วยซ ้า เพราะนอกจากรูปลักษณ์
ตัวละครที่ดดู ีแล้ ว ผู้เขียนได้ อาศัยการใส่ปมู หลังอันเจ็บปวดของชีวิตที่ต้องเกิด “ความสูญเสีย” คน
ที่ตนรักลงไป อีกทังการสร้้ างการกระทาที่ท้ายที่สดุ แล้ วตัวร้ ายเหล่านี ้ก็กลับใจกลายเป็ นคนดี จึง
ทาให้ พวกเขากลายเป็ นตัวละครที่มีบคุ ลิก “เท่” และน่าจดจาจนเช่นเดียวกับตัวเอกอย่างนารูโตะ
(ที่มีชีวิตวัยเด็กกาพร้ า แปลกแยกเช่นกัน) จึงไม่นา่ แปลกเลยที่ตวั ละครร้ ายเหล่านี ้จะอยูใ่ นใจของ
ผู้อา่ นได้ ไม่ยาก โดยอาจแยกแยะให้ เห็นบุคลิกตัวร้ ายที่ มีจดุ ร่วมเรื่ อง “ความสูญเสีย”
2.3.3 ดราก้ อนบอล
อาจกล่าวได้ วา่ ดราก้ อนบอลออกแบบความหลากหลายในเรื่ องขนาด และรูปร่าง
หน้ าตาของตัวละครได้ เด่นชัดมากที่สดุ จนเรี ยกได้ ว่าแค่เห็นการออกแบบภายนอกของตัวละคร ก็
เข้ าใจนิสยั ใจคอได้ โดยไม่ต้องเห็นข้ อมูลประกอบ หรื อการกระทาของตัวละครเลย ซึง่ ความอาจ
แยกความแตกต่างของตัวละครเป็ นกลุม่ ดังนี ้
2.3.3.1 ความแตกต่างของกลุม่ ตัวละครเอก
เด็กผมชี ้ หนุม่ หล่อ ชายสามตา หมูน้อย และผีจีน ตัวละครเหล่านี ้คง
บ่งบอกความหลากหลายสุดขัวของตั ้ วละครในดราก้ อนบอลได้ อย่างดี เพราะนี่คือกลุม่ ตัวละคร
เอก (ฝ่ ายดี) ของดราก้ อนบอลในภาคแรกที่ให้ ความต่างของบุคลิกภายนอกทัง้ ขนาด รูปร่าง เพศ
วัย เผ่าพันธุ์ของตัวละครที่ทาให้ ดราก้ อนบอลเด่นล ้าเรื่ องการสร้ าง “จินตนาการ” เรื่ องคาแร็ค
เตอร์ ตวั ละครที่แทบจะไร้ ขีดจากัด ตัวละครเอกในดราก้ อนบอลจึงเป็ นตัวละครประเภท “ไม่คอ่ ย
คิดมาก” ซึง่ ก็ทาให้ เรื่ องราวเป็ นเส้ นตรง ไม่ซบั ซ้ อน และเหมาะสมกับกลุม่ ผู้อ่านที่เป็ นเด็กได้ ดี
2.3.3.2 แตกต่างของตัวละครอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตวั เอก
มีผ้ อู า่ นจานวนไม่น้อยที่เฝ้ารอคอย “ตัวร้ าย” ในดราก้ อนบอล นัน่ เพราะ
ผู้ร้ายในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ต่างสับเปลี่ยนหมุนเวียนมาเป็ นบททดสอบให้ กบั พระเอกโดยไม่ซ ้าหน้ า ทา
ให้ รูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครฝ่ ายร้ ายในดราก้ อนบอล โดดเด่น และหลากหลายอย่างมาก มี
ทังปี ้ ศาจ คนธรรมดา หรื อจอมมารขี ้เล่น ซึง่ ตัวละครที่ออกแบบได้ นา่ สนใจก็เช่น ราชาปี ศาจพิค
306

โกโร่ ปี ศาจเผ่าอสูรที่มาจากนอกโลก สิ่งที่นา่ จดจาของพิคโกโร่ก็คือ รูปร่างที่กายาสีเขียวมี


เส้ นเลือดปูดโปนอยูเ่ ต็มตัว ซึง่ บ่งบอกถึง “ความเป็ นปี ศาจ” ตังแต่ ้ แรกเห็น แต่การ “กลับใจ”
ของพิคโกโร่มาเข้ าร่วมกับโงคูในภายหลังทาให้ ผ้ อู ่านได้ เห็น ภาพแปลกตาเมื่อเกิดการรวมกลุม่ กัน
ของตัวละครฝ่ ายพระเอก เพราะผู้อา่ นส่วนใหญ่มกั คุ้นชินกับตัวละครฝ่ ายดีที่ลายเส้ นเรี ยบง่าย
สะอาดตา ไม่เน้ นการออกแบบมากเท่ากับตัวละครผู้ร้าย ดังนันภาพการเข้
้ าร่วมกลุม่ ฝ่ ายดี
ของพิคโกโร่จงึ สร้ างความ “ขัดแย้ ง” กันในกลุม่ (ตัวละครไม่กลืนกันไปหมด) ทาให้ เกิดภาพที่นา่
ประทับใจขึ ้นได้
นอกจากตัวร้ ายแล้ วโทริ ยาม่า อากิระสามารถสร้ างตัวละครประกอบให้
น่าจดจาด้ วยการสร้ าง“มิสเตอร์ ซาตาน” หนุม่ ใหญ่ที่คอ่ นไปทางขี ้เหร่ ด้ วยทรงผมหยิกฟู หัวเถิก
นิสยั ขี ้โอ่ แต่เขาสร้ างการจดจาให้ เกิดขึ ้นหลังจากคว้ าแชมป์ในศึกเจ้ ายุทธภพได้ ถึง 5 ครัง้ โดย
ทัง้ 5 ครัง้ ก็เป็ นการคว้ าแชมป์ด้ วยโชคชะตา หรื อการเล่นนอกเกม ไม่ได้ เกิดจากฝี มือใดใดทังสิ ้ ้น
(เช่นยัดเงินใต้ โต๊ ะก้ อนโตให้ เกิดการล้ มมวยขึ ้น หรื อเอาชนะจอมมารบูเพื่อเห็นแก่มิตรภาพที่มีให้
กัน) ทาให้ เมื่อถึงยามที่คนทังโลกต้
้ องการให้ มิสเตอร์ ซาตานออกมาปกป้องจากฝี มือของเซลที่
กาลังทาลายล้ างโลก เขาก็ยงั โชคช่วย เพราะท้ ายที่สดุ ก็เป็ นกลุม่ ของโงคูที่โค่นเซลได้ แต่มิสเตอร์
ซาตานกลับเหมาเอาความดีความชอบจนกลายเป็ นฮีโร่ตลอดกาลของโลกไปเสียแล้ ว ตัวละคร
ที่ไม่ใช่ทงคนดี
ั้ และไม่ใช่ทงคนร้
ั ้ าย แต่โชคชะตาเล่นตลกเช่นนี ้จึงเป็ นตัวละครที่คนอ่านรู้สกึ ผูกพัน
ได้ ง่าย เพราะเขามี “ความลับ” ระหว่างผู้อา่ นกับตัวละครที่ทกุ คนในเรื่ องไม่ร้ ู (ความลับที่ผ้ อู า่ นรู้
ถึงความอ่อนแอของเขาไว้ ภายใต้ สถานะความเป็ นฮีโร่) ซึง่ ก็เป็ นแนวทางการสร้ างตัวละคร
ประกอบให้ น่าจดจาเหมือนเช่นตัวตลกบากี ้ในวันพีซจนเรี ยกได้ วา่ ตัวละครแบบมิสเตอร์ ซาตาน แม้
อาจไม่สาคัญกับเนื ้อเรื่ องหลัก แต่ก็เป็ น “ตัวละครของคนอ่าน” ที่เรี ยกรอยยิ ้มได้ ทกุ ครัง้ ที่ปรากฏตัว
2.3.4 ทเวนตีฯ้
หากตัวละครของดราก้ อนบอลเป็ นต้ นแบบการออกแบบรูปลักษณ์ภายนอก
สาหรับการ์ ตนู แนวแฟนตาซี ตัวละครในทเวนตี ้ฯ ก็คงเป็ นแบบอย่างที่ดีให้ กบั การออกแบบ
รูปลักษณ์ภายนอกของตัวละครแนวสมจริง เพราะนอกจากตัวละครในทเวนตี ้ฯ จะมีความ
เฉพาะตัวสูงมากในด้ านการออกแบบขนาด รูปร่างให้ มีความสูงต่า และอ้ วนผอมที่ตา่ งกันชัดเจน
แล้ ว ยังมีการออกแบบบนใบหน้ าที่นา่ สนใจด้ วยการวาด “เส้ นขีดของดวงตา และคิ ้ว” ที่ขดั แย้ งกัน
เช่นการวาดหนังตาตก แต่คิ ้วชี ้ขึ ้น ซึง่ ก็สร้ างความรู้สกึ เศร้ า และให้ ความรู้สึกเป็ นตัวละครที่ผา่ น
ร้ อนผ่านหนาวมาเป็ นอย่างดีซงึ่ ก็เป็ นจุดเด่นในการออกแบบลักษณะภายนอกของตัวละครที่
307

เรี ยกว่า “น้ อยได้ มาก” เพราะสามารถสะท้ อนนิสยั ใจคอภายในตัวละครโดยรวมของเรื่ องที่เป็ น


“คนธรรมดา” ในสังคม
2.3.5 ยอดนักสืบจิ๋วฯ
ภาพรวมตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วฯ แม้ มีจานวนค่อนข้ างมาก แต่เมื่อจับตัวละคร
ยืนเรี ยงกันก็ไม่ได้ มีรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันชนิดสุดขัว้ ความแตกต่างเพียงเล็กน้ อยที่เกิดขึ ้น
นอกจากจะอยูท่ ี่นิสยั ใจคอแล้ ว ยังถูกกาหนดด้ วย”อายุ” เป็ นหลัก ซึง่ ทาให้ เกิดตัวละครสูง ต่า
ต่างกัน นอกจากนี ้ก็ยงั เกิดจากการสร้ างรูปทรงและสีผิว ให้ หลากหลายอย่างการสร้ างตัวละคร
อ้ วนจัด ดาจัด แต่ไม่ว่าจะอย่างไรตัวละครในช่วงวัยรุ่นก็ยงั เน้ นความสวย หล่อ ผอมเพรี ยว
ใบหน้ าเรี ยว และคางแหลมเหมือนๆ กัน
โดยตัวละครในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ดูแตกต่างได้ ด้วยการสร้ างตัวเอกสองรุ่นในร่างเดียว
เพราะพระเอกคือคุโด้ ชินอิจิ นักสืบหนุม่ มัธยมปลายไฟแรง ที่ร่างหดเล็กลงเป็ นเด็กประถม จึงทา
ให้ เกิดตัวละครรายรอบตัวเอกที่มีหลากหลายวัยเพื่อเพิ่มสีสนั ให้ กบั เรื่ องและเพื่อขยายฐานผู้อ่าน
ในวงกว้ าง นัน่ คือมีทงตั ั ้ วละครกลุม่ เด็กประถมอย่าง “ขบวนการนักสืบเยาวชน” ซึง่ ใช้ สตู ร
เดียวกับการสร้ างตัวละครในการ์ ตนู อมตะอย่างโดราเอมอนเพราะมีทงเด็ ั ้ กน้ อยหน้ าตาดีใส่แว่น
อย่างโคนัน (คล้ ายโนบีตะ) เด็กอ้ วนใจร้ อนอย่างเกนตะ (คล้ ายไจแอนท์) เด็กเรี ยนตัวผอมหน้ า
แหลมอย่างมิซึฮโิ กะ (คล้ ายซูเนโอะ) และผู้หญิงน่ารักเพียงหนึง่ เดียวของกลุม่ อย่างอายูมิ (คล้ าย
ชิซูกะ) ซึง่ การออกแบบลักษณะภายนอกของตัวละครนักสื บประถมกลุม่ นี ้ก็เป็ นไปตามแนว
ทางการออกแบบตัวละครสาหรับเด็กที่คงความเป็ น “การ์ ตนู ” ด้ วยสัดส่วนของศีรษะตัวละครที่
ค่อนข้ างใหญ่เกินจริง และลูกนัยน์ตาที่เป็ นทรงกลมขนาดใหญ่กว่าตัวละครในเรื่ องที่มีอายุ
มากกว่า
ถัดจากตัวละครกลุม่ เด็ก ก็ขยับขึ ้นไปเป็ นตัวละครวัยรุ่น ซึง่ ขนาดและรูปร่างไม่ได้
แตกต่างกันมากเหมือนกลุม่ ขบวนการนักสืบเด็ก โดยส่วนใหญ่มีรูปร่าง ผอม สูง ใบหน้ าแหลมเรี ยว
และมีเส้ นผมที่ชี ้แหลมคล้ ายคลึงกันโดยตัวเอกหนุม่ ทังพระเอกอย่
้ างชินอิจิ ฮัตโตริ เฮย์ จิ
นักสืบ ม.ปลายผู้มีชื่อเสียงในแถบคันไซ โอซาก้ า และจอมโจรคิด ล้ วนมีรูปร่างหน้ าตาหล่อเหลา
คางแหลมเรี ยว ตาโตเหมือนกันอย่างมาก จะต่างก็เพียง “สีผิว”(ของเฮย์จิ) ที่เข้ มกว่าคนอื่นเท่านัน้
ในขณะที่ตวั ละครวัยรุ่นฝ่ ายหญิงก็มีรูปร่างที่ผอม สูง คางแหลมและผมชี ้แหลมอันเป็ นเอกลักษณ์
เหมือนกัน จะต่างก็เพียงการกาหนดนิสยั ใจคอ และรายละเอียดของใบหน้ าเพียงเล็กน้ อย
ขณะที่กลุม่ นักสืบรุ่นใหญ่ ก็มีความแตกต่างทางรูปลักษณ์ภายนอกมากกว่าวัยรุ่น เพราะตัวละคร
วัยผู้ใหญ่ไม่ได้ มีจดุ ดึงดูดผู้อ่านด้ วยรูปร่างหน้ าตา ดังนันจึ้ งมีทงตั
ั ้ วละครอ้ วน ผอมต่างกันไป
308

2.3.6 เดธโน้ ต
เดธโน้ ตเป็ นเพียงเรื่ องเดียวที่มีตวั ละครน้ อยและเน้ นสร้ างคาแร็ คเตอร์ ภายนอกตัว
ละครโดยรวมให้ ไม่แตกต่างกันมากนัก เพราะทุกตัวละครถูกสร้ างให้ เกิดความรู้สกึ เท่ หล่อ สวย
ลึกลับแบบพังก์ ทังพระเอกอย่
้ างแอล ที่ผ้ เู ขียนวาดให้ ขอบตาล่างมีสีดา ผมดา รูปร่างค่อนข้ างสูง
ผอม หรื อยางามิ ไลท์ ฝั่ งตัวร้ ายที่ผมสีน ้าตาลทอง ก็หน้ าตาหล่อเหลา หุน่ สูง เพรี ยว ทังคู ้ เ่ รี ยก
ได้ วา่ มีโครงหน้ า และรูปร่างใกล้ เคียงกัน คือยังคงค่อนข้ างผอม สูงตามสมัยนิยมของคาว่าหล่อ
ต่างกันเพียงการออกแบบท่าทางการยืน นัง่ ของตัวละครให้ แอลมีทว่ งท่าเฉพาะตัวในการนัง่ (ชอบ
นัง่ ยองๆ) หรื อการยืนห่อไหล่ เพื่อให้ แอลเป็ นตัวละครที่ไม่หล่อเหลาตามพิมพ์นิยมแต่มีทว่ งท่าที่
เป็ นแบบฉบับของตนเอง ดังนันความต่
้ างที่เห็นได้ ชดั ของการออกแบบตัวละครในเดธโน้ ตจึง
เกิดจาก “ความคิด” “ความเชื่อ” ข้ างในตัวละครที่มีตอ่ คาว่า “ความถูกต้ อง” อันเป็ นแก่นแกน
สาคัญของเรื่ อง
2.4 การกระจายความสาคัญและการสร้ างความสัมพันธ์ ของตัวละคร
การสร้ างความแตกต่างหลากหลายของบุคลิกตัวละครในเรื่ องราวที่มีตวั ละครกลุม่ จานวน
มากอาจเข้ าถึงผู้อา่ นในวงกว้ างได้ ง่าย แต่การจะทาให้ ตวั ละครประทับอยูใ่ นความทรงจาผู้อา่ นได้
นันย่
้ อมเกิดจากการกระจายความสาคัญของตัวละครให้ รับบทบาทยิ่งใหญ่ใกล้ เคียงกัน รวมทัง้
สร้ างการปรากฏตัวของตัวละครอย่างเท่าเทียมกัน ซึง่ เรื่ องที่ทาได้ ดีก็คือวันพีซที่สามารถ
กระจายบทบาทตัวละครกลุ่มพระเอก (กลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง) ให้ ไม่มีใครมากกว่าหรื อน้ อยกว่า
ได้ เป็ นอย่างดีเพราะทุกคนมีบทบาทบนเรื อเป็ นตัวกาหนด และเพราะตัวละครอยูบ่ นเรื อลาเดียวกัน
ทาให้ เหตุการณ์ผจญภัยระหว่างการเดินทางที่ผนั ผ่านเข้ ามาจึงปะทะเข้ ากับกลุม่ ตัวละครเอกไป
พร้ อมๆ กัน ตรงกันข้ ามกับดราก้ อนบอล ที่แม้ จะสร้ างตัวละครให้ แตกต่างผ่านรูปลักษณ์
ภายนอกได้ ชนิดไม่ซ ้ากัน และพยายามสร้ างตัวละครคูห่ ู (ในช่วงภาคแรก) เพื่อสร้ างความน่า สนใจ
ให้ กบั ตัวละคร แต่กลุม่ ตัวละครเอกหรื อตัวละครฝ่ ายดีหลายตัวกลับถูก “ทอดทิ ้ง” ระหว่างทาง
เพราะเรื่ องราวเน้ นเพียงแค่การต่อสู้ระหว่างพระเอกอย่างโงคูที่เก่งขึ ้นกับตัวร้ ายที่เก่งกว่า ดังนัน้
ตัวละครที่เคยเก่งแต่ไม่พฒ ั นาฝี มือจึง “ไร้ ประโยชน์” ต่อเรื่ อง ผู้อา่ นจึงไม่ร้ ูสกึ ถึงความเป็ น “ทีม”
ของกลุม่ ตัวเอกแต่กลับรู้สกึ ว่าเป็ น “ตัวประกอบ” เสียมากกว่า ด้ านนินจาคาถาฯ นันแม้ ้ เรื่ องจะ
เริ่มจากการตามติดชีวิตพระเอกอย่างนารูโตะตังแต่ ้ อยู่โรงเรี ยนนินจาระดับประถม แต่เรื่ องราว
ต่อจากนันมี ้ ตวั ละครมากหน้ าหลายตาเข้ ามามีบทบาทแทน โดยเฉพาะตัวละครฝั่ งตรงกันข้ ามกับ
พระเอก เพราะผู้เขียนให้ ความสาคัญกับการสร้ างตัวร้ ายที่แข็งแกร่งเพื่อเป็ นตัวพิสจู น์และพัฒนา
ความสามารถของนารูโตะ จนทาให้ “ผู้ร้าย” รับบทเด่นและปรากฏตัวอยูใ่ นเรื่ องยาวนานกว่าฝั่ ง
ตัวเอกเสียด้ วยซ ้า จนทาให้ บทบาทการเป็ นพระเอกของนารูโตะดูด้อยไปบ้ างในบางช่วง
309

จะเห็นได้ วา่ การกระจายความสาคัญของตัวละครให้ ปรากฏตัวสม่าเสมอ หรื อเท่าเทียมกัน


ภายในเรื่ องเดียวกันจะช่วยทาให้ “ตัวละครกลุม่ ” ที่มีจานวนมากมีเอกภาพ และส่งผลต่อการสร้ าง
ความรักและประทับความผูกพันให้ อยูใ่ นใจผู้อ่านได้ มากกว่าการสร้ างตัวละครให้ มากให้ แตกต่าง
เข้ าไว้ แต่กลับลืมเลือนตัวละครเหล่านันเดิ ้ นร่วมกันไปสู่บทสรุปของเรื่ อง
ขณะเดียวกันการสร้ าง “ความสัมพันธ์” ระหว่างตัวละครให้ เชื่อมโยงกันด้ วย “อุดมการณ์”
หรื อ “เป้าหมาย” ในชีวิตที่ใกล้ เคียงกันก็ทาให้ ตวั ละครสามารถ “ต่อกันติด” โดยไม่ต้องคิดหา
เหตุผลในการสร้ างตัวละครให้ เป็ นกลุม่ ก้ อนเดียวกัน เหมือนเช่นกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางในวันพีซที่
ล้ วนต่างพ่อแม่ เผ่าพันธุ์ แต่กลับเชื่อมโยงกันได้ ด้วยการเป็ นคนเปี่ ยมความฝั น หรื อกลุม่ ตัวละคร
ฝ่ ายร้ ายอย่างแสงอุษาในนินจาคาถาฯ ที่ภาพรวมมีคาแร็ คเตอร์ โดดเด่นกว่าฝั่ งตัวละครนินจา
หมูบ่ ้ านของพระเอกเพราะต่างเชื่อมโยงกันด้ วย “ความสูญเสีย” ในวัยเด็ก หรื ออดีตที่เจ็บช ้า
เหมือนๆ กัน ซึง่ การสร้ างความสัมพันธ์ของตัวละครให้ มีความคิด มีเป้าหมายในทิศทาง
เดียวกันนี่เองที่เป็ นแรงเสริมให้ ความเป็ น “ตัวละครกลุม่ ” แข็งแรงจนเป็ นที่โจษจันและจดจาอยู่ใน
ใจผู้อา่ น
แต่การวิเคราะห์เพียงวิธีการเล่าเรื่ อง และการออกแบบคาแร็คเตอร์ ยงั ไม่อาจทาให้ เห็น
ภาพรวมของความสนุก น่าประทับใจของการ์ ตนู ยอดนิยมทัง้ 6 เรื่ องได้ ครบถ้ วนเพราะส่วนผสม
ของทังการเล่
้ าเรื่ องและการออกแบบตัวละครย่อมทาให้ เกิดรสชาติที่ประทับอยูค่ วามรู้สกึ ของ
ผู้อา่ นแตกต่างกันหรื อที่เรี ยกว่า “สุนทรียรส” ที่ตา่ งกัน ซึง่ ก็พบว่ารสที่พบมากที่สดุ จากการ์ ตนู
ทังหมดก็
้ คือ รสแห่งความกล้ าหาญมุง่ มัน่ หรื อ “วีรรส” ซึง่ ปรากฏผ่านตัวละครเอกทุกเรื่ อง
เช่นเดียวกับการสร้ างรสแห่งการสร้ างความลึกลับ น่าสงสัย น่าอัศจรรย์ใจอย่าง “อัทภูตรส” โดย
แสดงผ่านหลายองค์ประกอบของการเล่าเรื่ อง ทังโครงเรื ้ ่ องที่วางปมปั ญหาไว้ รอการคลี่คลายใน
ตอนจบ หรื อการสร้ างความน่าฉงนผ่านการออกแบบตัวละคร “เพื่อน” ในทเวนตี ้ฯ และอีกรสที่
ปรากฏอยูใ่ นหลายเรื่ องเช่นกันก็คือ รสแห่งความตลกขบขัน อย่าง“หาสยรส” โดยพบในดราก้ อน
บอล และวันพีซ ซึง่ ก็มีจดุ ร่วมกันคือการวาดสัดส่วนตัวละครให้ “เกินจริง” แต่ขณะเดียวกันใน
เรื่ องแนวจริงจังก็ให้ “กรุณารส” หรื อการสร้ างความรู้สึกโศกเศร้ า เห็นใจตัวละคร โดยเฉพาะใน
นินจาคาถาฯ และวันพีซ ซึ่งแสดงผ่านการสร้ างกลุม่ ตัวละครที่ดเู ลวร้ าย ให้ กลายเป็ นตัวละครที่มี
ที่มาที่ไปของการกระทาจนกลายเป็ นตัวละครที่ผ้ อู ่านหลงรักไม่แพ้ ตวั ละครฝ่ ายดี
310

บทสรุปความโดดเด่ น และแตกต่ างของการ์ ตูนทัง้ 6 เรื่อง


จากองค์ประกอบต่างๆ ของการเล่าเรื่ อง ลายเส้ นการ์ ตนู การออกแบบคาแร็ คเตอร์
รวมทังสุ ้ นทรี ยรสที่ได้ รับจากการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่กล่าวมาทังหมดจึ
้ งทาให้ เห็นจุดเด่นของแต่ละเรื่ องที่ใช้
กลวิธีแตกต่างกันเพื่อสร้ างความแปลกแยกไปจากความคุ้นชินของผู้อา่ นตามแนวคิดรูปลักษณ์
นิยม (formalism) ดังนี ้
1. ดราก้ อนบอล
1.1 ความเรี ยบง่ายเหนือกาลเวลา
เมื่อนึกถึงความสนุกของดราก้ อนบอลคงต้ องนึกถึง “ความเรี ยบง่าย” ที่ทาให้ ผ้ อู า่ นเข้ าถึง
เรื่ องราวได้ ง่าย โดยความง่ายนันส่ ้ งผ่านทางการใช้ ลายเส้ นแบบกราฟิ ก (ที่ทาให้ ผ้ อู า่ นเห็นรูปทรง
ชัดเจนเช่นทรงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม) ผู้เขียนอย่างโทริยาม่า อากิระใช้ ทรงกลมค่อนข้ างมาก
ทาให้ ลายเส้ นเป็ นไปในทิศทางเดียวกับเนื ้อเรื่ องที่ไม่ได้ พดู ถึงเรื่ องอื่นใดนอกจาก “การต่อสู้” การ
เพิ่มพลังของพระเอกเพื่อเอาชนะผู้ร้ายและปกป้องโลก ซึง่ ลายเส้ นที่ดเู รี ยบง่ายนี ้เองที่ทา
ให้ ดราก้ อนบอลฉีกตัวเองออกมาจากการ์ ตนู ต่อสู้ยคุ เดียวกันที่ลายเส้ นซับซ้ อน เห็นกล้ ามเป็ นมัดๆ
ดังนันความโดดเด่
้ นของดราก้ อนบอลเรื่ องความเรี ยบง่ายนี ้เองที่ทาให้ เข้ าไปนัง่ อยูใ่ นใจทุกเพศ ทุก
วัย และก็ทาให้ การ์ ตนู เรื่ องนี ้อยูเ่ หนือกาลเวลาเหมือนประโยคที่วา่ “simply is the best”
1.2 แค่เห็นหน้ าก็หลงรัก (ตัวละคร)
การออกแบบคาแร็ คเตอร์ ในด้ านรูปลักษณ์ภายนอกของดราก้ อนบอลนันเรี ้ ยกได้ วา่ “เปิ ด
ประตูแห่งโลกจินตนาการ” แทบทุกตัวละคร เพราะทังหลากหลาย ้ และแปลกใหม่ สามารถทา
ให้ ผ้ อู า่ นหลงรักได้ ผา่ นการออกแบบภายนอกได้ โดยไม่ต้องพึง่ การออกแบบนิสยั ใจคอภายใน
(ความโดดเด่นของการออกแบบรูปร่างหน้ าตาตัวละครทาให้ ผ้ เู ขียนผันตัวไปเป็ นนักออกแบบคา
แร็คเตอร์ เกมโดยเฉพาะ) เช่นพระเอกอย่างโงคู ที่มีทรงผมชี ้แหลมเป็ นเอกลักษณ์ (ในขณะที่
พระเอกยุคเดียวกันมักหน้ าตาแบบปลอดภัยไว้ ก่อนไม่ดแู ปลก-หลุดโลกเช่นนี ้) นอกจากนี ้ยังมัก
นาหลักการสร้ างความขัดแย้ งระหว่างรูปลักษณ์ภายนอกและนิสยั ใจคอภายในตัวละครมาใช้ เช่น
ตัวละครผู้เฒ่าเต่า (ภายนอกประหลาดมีกระดองเต่า ลามกแต่เป็ นยอดเซียนด้ านต่อสู้) หรื อตัวร้ าย
อย่างจอมมารบู (อ้ วนกลมน่ารักแต่เป็ นจอมมารฝี มือร้ ายกาจ) ซึง่ จุดเด่นของการออกแบบคา
แร็คเตอร์ ทงหมดนี
ั้ ้เองที่ช่วยดึงดูดให้ ผ้ อู ่านยังคงเฝ้ารอคอยตัวละครร้ ายหน้ าใหม่ๆ ในดราก้ อนบอล
แม้ วา่ โครงเรื่ องจะเริ่มตัน และไม่สมเหตุสมผลในระยะหลังอันเนื่องจากการขยายเรื่ องออกไปเพื่อ
สนองกลุม่ ผู้อา่ น
1.3 แบบแผนใหม่ของเรื่ องแนวต่อสู้
311

โทริยาม่า อากิระได้ สร้ างแบบแผนใหม่ของแนวเรื่ องแบบต่อสู้ที่ในยุคก่อนหน้ านันตั ้ วละคร


ต่อสู้กนั ด้ วยอาวุธ ด้ วยฝี มือที่จากัด แต่ในดราก้ อนบอลตัวละครสามารถเพิ่มพลัง แปลงร่างได้
อย่างแทบไร้ ขีดจากัด นอกจากนี ้ยังสร้ างแบบแผนการสู้แบบตัวต่อตัว รวมทังสร้ ้ างการต่อสู้ที่ไม่
รุนแรงเกินไปเพราะตัวละครสามารถตายแล้ วฟื น้ ใหม่ได้ เสมอ ดังนันถึ ้ งแม้ การต่อสู้แบบอากิระ
จะทาให้ เรื่ องดูไม่สมจริงนัก แต่วิธีการเพิ่มพลัง ตัวช่วยแบบต่างๆ ในดราก้ อนบอลทาให้ ผ้ อู า่ นคาด
ไม่ถึงผลลัพธ์ของการต่อสู้ที่ตามมา (แม้ ท้ายที่สดุ จะรู้ว่าพระเอกก็ต้องชนะอยูว่ นั ยังค่าก็ตาม)
2. วันพีซ
สิ่งที่ทาให้ วนั พีซเป็ นการ์ ตนู ที่ครองใจผู้อา่ นทังในญี
้ ่ปนุ่ ในบ้ านเราและเกือบทัว่ โลกมีหลาย
ประการซึง่ อาจสรุปเฉพาะที่โดดเด่นอย่างมากได้ ดงั นี ้
2.1 ทังตลกทั
้ งเศร้
้ าในเรื่ องเดียว
วันพีซสร้ างแนวเรื่ องที่ผสมผสานจนเรี ยกได้ วา่ “ครบรส” เพราะนอกจากแนวเรื่ องหลักที่
เป็ นโลกแฟนตาซีซงึ่ เหมาะกับการนาเสนอผ่านสื่อการ์ ตนู แล้ วยังว่าด้ วยการผจญภัยพาคนอ่าน
หลุดจากความจาเจในโลกแห่งความจริง ที่สาคัญคือวันพีซให้ ทงเสี ั ้ ยงหัวเราะ (หาสยรส) และ
ขณะเดียวกันก็ไม่ลืมที่จะเรี ยกน ้าตา (กรุณารส) จากผู้อ่านได้ ในคราวเดียวกัน (ในขณะที่ดราก้ อน
บอลอาจให้ เสียงหัวเราะได้ แต่ไม่อาจเรี ยกอารมณ์ดราม่าเคล้ าน ้าตาได้ ส่วนนินจาคาถาฯ อาจเรี ยก
น ้าตาได้ เพียงด้ านเดียว) ซึง่ แน่นอนว่าเรื่ องตลกเป็ นสิ่งที่เข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นไทยได้ ดี (ความตลก
ในวันพีซนันเป็ ้ นสากลเพราะเกิดจากการวาดสัดส่วนเพิ่ม-ขยายเกินจริง เช่นการอ้ าปากกว้ าง)
ขณะเดียวกันการเรี ยกน ้าตาจากเรื่ องราวได้ นนก็ ั ้ ยิ่งทาให้ วนั พีซอยูใ่ นใจผู้อา่ นได้ อย่างยาวนาน
2.2 ตัวละครกลุม่ แสนแตกต่างแต่มีเอกภาพ
วันพีซสร้ างตัวละครกลุม่ ที่ทงแตกต่
ั้ างแต่มีจดุ ร่วมกันบางอย่างที่ทาให้ ตวั ละครกลุม่ เหล่านี ้
เชื่อมโยงถึงกันจนไม่หลุดจากโทนเรื่ อง ซึง่ ความแตกต่างเกิดจากทังรู้ ปลักษณ์ภายนอกและนิสยั
ภายใน โดยแม้ ตวั ละครฝั่ งพระเอกที่เป็ นผู้ชายจะค่อนข้ างหล่อ ตัวละครหญิงค่อนข้ างสวย แต่ก็มี
ตัวละครแปลกแยกรวมกลุม่ อยูด่ ้ วยอย่างจอมโกหก ครึ่งคนครึ่งกวาง ไซบอร์ ก หรื อโครงกระดูก
คืนชีพ และในความแตกต่างนันก็ ้ มีจดุ ร่วมกันทังอดี
้ ตและอนาคต (เป้าหมายของตัวละคร) นัน่
คืออดีตที่เจ็บปวด สูญเสีย ความเป็ นคนชายขอบของสังคม ซึง่ ก็เป็ นแรงผลักดันที่มากพอจะทา
ให้ “เชื่อ” ในความมุง่ มัน่ ไปสูเ่ ป้าหมายในอนาคตของตัวละครที่ต้องออกเดินทางเพื่อค้ นหาบางสิ่ง
ที่แตกต่างกัน (เช่นการสูญเสียครอบครัวและคนในหมู่บ้านของโรบินโดยไม่มีการกล่าวขวัญถึงบน
หน้ าประวัติศาสตร์ ทาให้ เธอตังใจจะออกเดิ
้ นทางค้ นหาความจริงและกอบกู้ประวัติศาสตร์ ที่สญ ู
หายไป) การสร้ างตัวละครกลุม่ ในวันพีซยังโดดเด่นกว่าทุกเรื่ องเพราะสามารถทาให้
312

ตัวละครกลุม่ ตัวเอกได้ รับบทสาคัญเท่าๆ กัน และกระจายการปรากฏตัวได้ อย่างทัว่ ถึง เพราะตัว


ละครกลุม่ หลักๆ ถูกกาหนดบทบาทด้ วยหน้ าที่บนเรื อโจรสลัด (เช่นหมอ กุ๊ก ต้ นหนฯลฯ) ซึง่ ทาให้
แม้ ตวั ละครจะมีจานวนมากแต่เมื่ออยูบ่ นเรื อเดียวกัน สู้ด้วยกันจึงทาให้ ทกุ ตัวละครไม่ถกู ทิ ้งช่วง
ด้ วยการตัดไปเล่าเรื่ องตัวละครอื่น ณ ฉากเหตุการณ์อื่น นอกจากนี ้การกระจาย
ความสาคัญของตัวละครยังใช้ วิธีแตกต่างจากการ์ ตนู เรื่ องอื่นๆ ที่ในฉากต่อสู้มกั ใช้ “กรอบใหญ่”
เพื่อแสดงความสาคัญ ความอลังการ แต่วนั พีซกลับซอยย่อยกรอบหรื อช่องในฉากต่อสู้เพื่อให้
เห็นปฏิกิริยากลุม่ โจรสลัดหมวกฟางเป็ นรายคน ซึง่ ก็ทาให้ ชว่ ยตอกย ้าคาแร็ คเตอร์ ให้ แก่ตวั ละคร
และสร้ างการจดจาตัวละครให้ เกิดแก่ผ้ อู า่ นได้ เป็ นอย่างดี
ขณะที่การออกแบบตัวละครร้ าย และตัวประกอบ ก็แตกต่างหลากหลาย มีเอกลักษณ์
ของตัวเอง เพราะโลกโจรสลัดมีหลากเผ่าพันธุ์ (เช่นเทพ ปี ศาจ เงือก) เป็ นตัวละครที่ไม่ถกู จาแนก
ด้ วยความดี-ชัว่ หรื อตัวละครที่มีด้านมืด-สว่าง หรื อขาว-ดาเหมือนในนิจาคาถาฯ
2.3 ข้ อมูลล้ นเหลือสร้ างโครงเรื่ องแข็งแรง
การสร้ างโลกจินตนาการทังฉาก ้ รายละเอียดประกอบฉาก หรื อตัวละครประกอบเพื่อเกิด
One Piece World นันครบถ้ ้ วนด้ วยข้ อมูล มีความแม่นยาในข้ อมูล และแสดงออกผ่านการวาง
โครงเรื่ องระยะยาวที่ผ้ เู ขียนตังใจจะเขี
้ ยนวันพีซออกมาถึง 100 เล่ม ดังนันจึ
้ งมีการวาง “เงื่อน
ปม” ที่ซุกซ่อนอยูใ่ นเรื่ องจานวนมาก ทังปมหลั ้ ก (สมบัติ “วันพีซ” ของเจ้ าโจรสลัดคืออะไรกันแน่)
ปมรอง (การตามหาสมาชิกของกลุม่ พระเอก/การช่วยเหลือผู้คนตามเกาะต่างๆ/ประวัตศิ าสตร์ ที่
หายไปโดยฝี มือของรัฐบาลโลกคืออะไรฯลฯ) ซึง่ รายละเอียดต่างๆ เหล่านี ้ล้ วนคอยหลอกล่อ
ผู้อา่ นได้ อย่างชะงัดตังแต่
้ ต้นเรื่ อง กลางเรื่ องไปจนถึงปลายทางของเรื่ อง
2.4 พลังใจสาคัญกว่าของวิเศษ
ในขณะที่การ์ ตนู แนวต่อสู้โดยส่วนใหญ่ ตัวเอกมักใช้ พลังฝี มือทางร่างกายเอาชนะคูต่ อ่ สู้
ไม่วา่ จะมาจากความสามารถส่วนตัว หรื อผู้ชว่ ยเหลือจาพวกของวิเศษ พลังวิเศษ แต่ลฟู ี่ พระเอก
ในวันพีซที่แม้ จะมีพลังจากผลไม้ ปีศาจที่ชว่ ยให้ ร่างกายเป็ นมนุษย์ยางยืด แต่เขากลับเลือกใช้ “ลูก
ฮึด” หรื อพลังใจเป็ นแรงขับในการคลี่คลายอุปสรรค หรื อเอาชนะคูต่ อ่ สู้ในยามคับขันเพราะ
แรงใจที่แข็งแกร่งนันช่ ้ วยเพิ่มพลังจากที่เคยเป็ นรองให้ กลายเป็ นต่อและเอาชนะคูต่ อ่ สู้ลงได้ แทบ
ทุกครัง้ ไป ซึง่ วิธีการคลี่คลาย เอาชนะอุปสรรคด้ วยพลังใจ หรื อความมุมานะจากข้ างในตัวเอง
โดยไม่ต้องพึง่ ของวิเศษให้ พร่ าเพรื่ อเช่นนี ้ก็ทาให้ ลฟู ี่ เป็ นพระเอกที่ดเู ป็ นมนุษย์มากขึ ้นและยังเป็ น
แบบอย่างที่ดีให้ กบั ผู้อ่านได้ ฉกุ คิดถึงคาว่า “ตนเป็ นที่พงึ่ แห่งตน” (ไม่ใช่ของวิเศษเป็ นที่พงึ่ แห่งตน
เหมือนในการ์ ตนู ต่อสู้เรื่ องอื่นๆ)
313

2.5 แก่นความคิดลึกซึ ้ง
ความเหนือชันและลึ้ กซึ ้งของวันพีซยังเกิดจากการก้ าวข้ ามการให้ แก่นความคิดเพียง
“มิตรภาพ” และการร่วมแรงร่วมใจกันที่พบบ่อยในการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่เจาะกลุม่ ผู้อา่ นเป็ นเด็กไปจนถึง
วัยรุ่น เพราะวันพีซให้ แก่นแกนที่วิพากษ์สงั คม การเมืองอย่างตรงไปตรงมา ทังการปกครองของ ้
รัฐบาลโลกที่ใช้ อานาจในทางที่ผิด หรื อความเหลื่อมล ้าทางสังคมของแต่ละเผ่าพันธุ์ในโลกโจร
สลัด
3. นินจาคาถาฯ
3.1 เปิ ดโลกใหม่ของ “นินจา”
เรื่ องราวที่มีเนื ้อหาเกี่ยวกับ “นินจา” ที่คนทังโลกต่ ้ างคุ้นชินและทึง่ ในความ“ลึกลับ”
อันเป็ นเอกลักษณ์ของชาวญี่ปนคื ุ่ อจุดเด่นที่สดุ ของนินจาคาถาฯ ซึง่ ดึงดูดผู้อา่ นที่ไม่ใช่แค่คน
ญี่ปนแต่ ุ่ เข้ าถึงในระดับสากลโดยเฉพาะกลุม่ ผู้อา่ นชาวตะวันตก และที่นา่ สนใจกว่านันคื ้ อ
เรื่ องราวของนินจาในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ไม่ใช่นินจาที่ใช้ ชีวิตแฝงตัวอยู่กบั คนปกติ แต่วา่ ด้ วยโลกทังใบ ้
ของนินจาที่เต็มไปด้ วยการต่อสู้แย่งชิงอานาจกันของนินจาต่างตระกูลต่างหมูบ่ ้ านที่ทาให้ เรื่ องราว
เข้ มข้ นไม่แพ้ นิยายจีน ดังนันผู้ ้ อา่ นจึงได้ เห็นแง่มมุ ที่แปลกใหม่ของนินจาที่ไม่ต้องอาพรางตัว
แต่กลับเปิ ดเผยตัวต่อสู้กนั แบบจะแจ้ ง ภาพการต่อสู้ของนินจาคาถาฯ จึงให้ ความตื่นเต้ น
มากกว่าแค่การใช้ ดาวกระจาย หรื อการใช้ ก้านบัวหายใจพรางตัวใต้ น ้าแบบเดิมๆ เพราะมีทงการ ั้
ร่ายคาถาประจาตระกูลที่แตกต่างกัน การปลุกวิญญาณยอดนินจาในอดีตมาสู้กนั การรี ดจักระ
(หรื อพลังงานในร่างกาย) มาปะทะกัน หรื อกระทัง่ การอัญเชิญสัตว์/เทพวิเศษขนาดยักษ์มาช่วย
สู้แทน ดังนันนิ ้ นจาคาถาฯ จึงช่วยเปิ ดโลกอันลี ้ลับของนินจาได้ ชนิดที่คนอ่านคาดไม่ถึง ซึง่ ก็ทา
ให้ ฉากการต่อสู้ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้มีความหลากหลาย อลังการ และยากจะคาดเดาผลลัพธ์อย่างมาก
3.2 ตัวละครทังร่้ วมสมัยและเป็ นสากล
ตัวละครพระเอกอย่างนารูโตะเป็ นภาพแทนของเด็กวัยรุ่นยุคใหม่ได้ ดีเพราะมีความ
เป็ น “ขบถ” ในตัวเองผ่านการออกแบบรูปลักษณ์ภายนอกอย่างชัดเจน ด้ วยสีผมที่ไม่ใช่สีดาตาม
แบบพระเอกการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่แต่เป็ น “สีส้มทอง” ที่ให้ ความรู้สกึ เป็ นสากลจนทาให้ การ์ ตนู
เรื่ องนี ้เป็ นที่นิยมในกลุม่ นักอ่านฝั่ งตะวันตก แต่ในขณะเดียวกันก็ยงั มีความเป็ นญี่ปนรุ ุ่ ่นเก่าอยู่
ในตัวผ่านการออกแบบ “จิ ้งจอกเก้ าหาง” ซึง่ เป็ นปี ศาจในตานานของญี่ปนสิ ุ่ งสถิตอยูใ่ นร่าง
นารูโตะด้ วย การออกแบบตัวละครเอกอย่างนารูโตะในนินจาคาถาฯ จึงมีความร่วมสมัยและ
เป็ นสากลจนเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นได้ ทงในและนอกประเทศ
ั้
3.3 สร้ างตัวร้ ายให้ แข็งแกร่ง
314

การสร้ าง “ตัวละครร้ าย” ในนินจาคาถาฯ โดดเด่นมากเป็ นพิเศษ เพราะนอกจากจะ


รวมตัวกันเป็ นกลุม่ ก้ อนชัดเจนในนาม “แสงอุษา” แล้ ว ตัวละครแทบทุกตัวขององค์กรร้ ายหมาย
ยึดครองโลกนินจาที่วา่ นี ้ยังสร้ าง “ภูมิหลัง” ให้ ตวั ละครมีจดุ ร่วมกันผ่าน “ความสูญเสีย” (เหมือน
เช่นตัวละครเอกในวันพีซ) ตัวละครร้ ายของนินจาคาถาฯ จึงมีมิตลิ กึ ซึ ้งอย่างมาก (มากกว่าตัว
ละครฝั่ งพระเอกหลายๆ ตัวที่นา่ สนใจแค่เพียงความสามารถทางนินจาแต่ไม่มีปมอดีตที่นา่ เห็นใจ)
จนทาให้ ผ้ อู ่านหลงรักตัวละครฝ่ ายร้ ายมากกว่าตัวละครฝ่ ายดีอย่างพระเอกด้ วยซ ้าไป
4. เดธโน้ ต
4.1 เผยปมสาคัญตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง
การวางโครงเรื่ องของเดธโน้ ตแปลกแยกไปจากเรื่ องเล่าแนวลึกลับ สืบสวนส่วนใหญ่ที่มกั
เปิ ดด้ วยการฆาตกรรม หรื อคดีที่สร้ างตัวคนร้ ายขึ ้นมาแล้ วซ่อน “ปม” หรื อสถานะความลึกลับของ
คนร้ ายไว้ ก่อน แล้ วค่อยๆ เผยร่องรอยของคนร้ ายหรื อฆาตกรนันที ้ ละนิดๆ เพื่อนาไปสูบ่ ทสรุป
สุดท้ ายคือการเฉลยตัวคนร้ าย เพราะเดธโน้ ตกลับ “แบไต๋” ให้ ผ้ อู า่ นรู้ตวั คนร้ าย หรื อเฉลยตัวปม
ปั ญหานี ้ตังแต่
้ เปิ ดเรื่ อง แล้ วใช้ วิธีสร้ างรายละเอียดของการวางแผนตามล่าผู้ร้ายและการ
วางแผนซ่อนตัวตนของผู้ร้ายโต้ ตอบซึง่ กันและกันให้ เข้ มข้ นเพื่อดึงผู้อ่านไปถึงปลายทางแทน
การวางโครงเรื่ องที่คลี่คลายปมอุปสรรคหลักของเรื่ องตังแต่ ้ ต้นแต่กลับดึงกลุม่ ผู้อา่ นได้ ชนิดที่ได้ รับ
ความนิยมจนสร้ างเป็ นภาพยนตร์ ยอดฮิตเรื่ องหนึง่ ของญี่ปนเช่ ุ่ นนี ้จึงแสดงถึงความเหนือชันของ

นักเขียนบทที่บง่ บอกว่า “เรื่ องที่สนุกและน่าติดตามไม่จาเป็ นต้ องสร้ าง “ปมขัดแย้ ง” ให้ ดลู ึกลับไว้
ก่อนเสมอไป”
4.2 คาแร็ คเตอร์ กลับขัว้ :ผู้ร้าย หรื อพระเอก
การออกแบบคาแร็ คเตอร์ ตวั ละครในเดธโน้ ตฉีกไปจากขนบของคาว่า “พระเอก” “ผู้ร้าย”
และ ”นางเอก” อย่างเด่นชัด เพราะตัวละครผู้ร้ายอย่าง “ไลท์” กลับรูปร่างหน้ าตาหล่อเหลาแบบ
พิมพ์นิยมของพระเอกที่ผ้ อู ่านส่วนใหญ่ค้ นุ ชิน ขณะที่ตวั ละครพระเอกอย่าง “แอล” ก็ถกู ออก
แบบให้ ดู “แปลก” มากกว่าจะดูหล่อเหลาผ่านทางหน้ าตา และอิริยาบถเล็กๆ น้ อยๆ ของตัวละคร
อย่างการเขียนขอบตาดา (ที่ทาให้ ดเู ป็ นผู้ร้ายมากกว่าพระเอก) การยืนหลังค่อม การนัง่ ยองๆ
หรื อการใช้ นิ ้งโป้งและนิ ้วชี ้จับหูแก้ วกาแฟ ซึง่ ก็ทาให้ แอลดูแตกต่างจากแนวทางการออกแบบ
ของ “พระเอก” ที่มกั “ปลอดภัยไว้ ก่อน” (ด้ วยการสร้ างให้ มีรูปร่างหน้ าตาใกล้ เคียงพิมพ์นิยมของ
คาว่าหล่อในสังคมปั จจุบนั ) ขณะที่ตวั ละครหญิงที่รับบทเด่นจนอาจเรี ยกได้ วา่ นางเอกอย่าง
มิสะ ก็ไม่ได้ ให้ ภาพนางเอกแบบพิมพ์นิยมของการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่ที่มกั สร้ างนางเอกให้ ผมดา
ยาว เรี ยบร้ อยแต่กล้ าหาญ เพราะเธอกลับดูเหมือนสาวพังก์ (punk) แถมยังชื่นชอบการแต่งตัว
315

แบบคอสเพลย์ (การแต่งตัวเลียนแบบเกมหรื อการ์ ตนู ) ซึง่ การออกแบบตัวละครที่กลับขัวทั ้ ง้


พระเอก-ผู้ร้ายเช่นนี ้ช่วยสร้ างความแตกต่างให้ บทบาท “พระเอก” ที่ไม่จาเป็ นต้ องหล่อแบบพิมพ์
นิยมเสมอไป ซึง่ ก็สะท้ อนอัตลักษณ์ของวัยรุ่นยุคใหม่ที่ตา่ งต้ องการตัวตนที่ไม่ซ ้าแบบใคร
เช่นเดียวกับตัวละครหญิงอย่างมิสะที่นา่ จะเป็ นตัวละครหญิงที่เข้ าถึงกลุม่ วัยรุ่น โดยเฉพาะวัยรุ่น
ญี่ปนจ ุ่ านวนไม่น้อยที่นิยมแต่งตัวแบบคอสเพลย์
5. ทเวนตีฯ้
5.1 เล่าเรื่ องไม่เหมือนการ์ ตนู แต่เหมือนละครชุดอเมริ กนั
ความแปลก แตกต่างที่ทาให้ ทเวนตี ้ฯ ถูกกล่าวขวัญถึงคือการเล่าเรื่ องที่ไม่เป็ นไป
ตามแบบแผนของการ์ ตนู ส่วนใหญ่แต่เล่าไปตามขนบแบบละครชุดอเมริกนั ส่วนใหญ่ที่มกั สร้ างปม
ปั ญหาลึกลับซ่อนไว้ จานวนมาก และขณะที่ปเู รื่ องปมลึกลับเหล่านี ้จนดันไปสูจ่ ดุ วิกฤติ (climax)
ที่ควรคลี่คลายเหตุการณ์ให้ ชดั เจน กลับมีการตัดจุดวิกฤติและจุดคลี่คลายเรื่ องทิ ้งไปเพื่อเล่า
เรื่ องราวของตัวละครอื่น หรื อสร้ างปมลึกลับอื่นขึ ้นมาใหม่แทน จนทาให้ ทเวนตี ้ฯ สร้ าง “ความ
คาใจ” แก่ผ้ อู า่ นที่ต้องการเห็นการคลี่คลายปมปั ญหาแบบทันทีทนั ใด ซึง่ แม้ จะทาให้ เรื่ องราว
โดยรวมดูเหมือน “ไม่มีจดุ สูงสุดทางอารมณ์” เกิดขึ ้น แต่นี่ก็เป็ นวิธีดงึ ดูดผู้อา่ นให้ เกิดการติดตาม
เรื่ องในระยะยาวอย่างได้ ผล เพราะผู้อา่ นย่อมเฝ้ารอการ “เฉลย” จุดวิกฤติที่ไม่ร้ ูวา่ จะมาคลี่คลาย
เอาภายหลังในช่วงเวลาใดกันแน่
5.2 ตัวละครแสนสมจริง
แม้ ตวั ละครในทเวนตี ้ฯ จะมีเพียง “มนุษย์” เพราะไม่ใช่เรื่ องราวแฟนตาซีที่เอื ้อต่อการ
ออกแบบตัวละครได้ หลากเผ่าพันธุ์ แต่การออกแบบคนในการ์ ตนู เรื่ องนี ้ที่เน้ นสร้ างคาแร็คเตอร์
แบบสมจริงกลับสร้ างความแตกต่างหลากหลายได้ อย่างน่าจดจา โดยส่งผ่านทางรูปร่างหน้ าตา
กลุม่ ขบวนการกู้โลก (ฮีโร่ฝั่งตัวเอก) ที่มีทงชายหนุ ั้ ม่ ธรรมดา มาเฟี ยกลางคนหัวล้ าน หรื อชายร่าง
เล็กใส่แว่นหนาเตอะ ขณะเดียวกันตัวละครทุกคนก็ยงั มีจดุ ร่วมกันตรง “ความอ่อนแอ” ภายใน
จิตใจแม้ กระทัง่ ตัวเอกที่เป็ นหัวหน้ าขบวนการกู้โลกก็เพราะจาใจรับผิดชอบกับสิ่งที่ทาผิดพลาดไป
ในวัยเด็ก นอกจากนี ้นิสยั ความอ่อนแอของตัวละครยังปรากฏผ่านทางรูปลักษณ์ภายนอก ทังแวว ้
ตา การวาดหางคิ ้ว-หางตาให้ เฉียงขึ ้น-ลง หรื อใบหน้ าที่มีริว้ รอยสมวัยผู้ใหญ่ จนทาให้ ตวั การ์ ตนู ใน
เรื่ องนี ้ดูราวกับเป็ นมนุษย์จริ งที่พบเห็นกันอยูใ่ นสังคมปั จจุบนั จนผู้อา่ นโดยเฉพาะวัยทางานซึม
ซับความรู้สกึ ความคิดของตัวละครเหล่านี ้ได้ อย่างง่ายดาย แต่ขณะเดียวกันการออกแบบคาแร็ค
เตอร์ ที่เน้ นความ “สมจริง” เช่นนี ้ก็อาจเข้ าไม่ถึงผู้อา่ นกลุม่ เด็กได้ เช่นกัน
5.3 พระเอกแบบต่อต้ านความเป็ นพระเอก (Anti-Hero)
316

พระเอกอย่าง “เคนจิ” อาจเรี ยกว่าเป็ นพระเอกแบบ Anti-Hero ในแบบการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่เรา
คุ้นเคยกัน เพราะไม่ใช่พระเอกที่ คอ่ ยๆ เรี ยนรู้เพื่อพัฒนาฝี มือความเก่งกาจของตัวเอง ไม่ได้ มี
พลังแฝง-ของวิเศษใดใดในตัว แถมยังลังเลไม่กล้ าเป็ นผู้นายอมรับสิ่งที่เคยทาผิดไว้ ในวัยเด็ก
(ท้ ายที่สดุ ก็ยอมทาด้ วยสานึก) สิ่งที่เคนจิมีก็เพียงความเป็ นนักจิตวิทยาที่เข้ าใจความรู้สกึ ผู้อื่น
ความเป็ นศิลปิ นที่สง่ ผ่านเพลงที่เขาร้ องเพื่อกระตุ้นให้ คนฟั งหยุดคิดและมีพลังเริ่มต้ นวันใหม่ ซึง่
เพียงแค่นี ้เท่านันที
้ ่ชว่ ยให้ เขาคลี่คลายอุปสรรคสาคัญลงได้ ตัวละครพระเอกแบบเคนจิจงึ เข้ า
ไปนัง่ ในใจผู้อา่ นวัยผู้ใหญ่ได้ ดีแต่ขณะเดียวกันก็ไม่ใช่พระเอกสุดเท่ในสายตากลุม่ เด็กเช่นกัน
5.4 ฉากเหตุการณ์สมจริงสร้ างอารมณ์หวนราลึกอดีต
ภาพรวมของเรื่ องที่ให้ บรรยากาศเหมือนจริงในทเวนตี ้ฯ นอกจากจะเกิดจากการสร้ าง
คาแร็ คเตอร์ และลายเส้ นที่เน้ นความสมจริงแล้ วยังเกิดจากการใส่ใจรายละเอียดข้ อมูล การสร้ าง
ฉาก เหตุการณ์ที่เชื่อมโยงกับความทรงจาของผู้อา่ น โดยมีการนาเหตุการณ์สาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ (เช่นการจัดงานเอ็กซ์โปที่ญี่ปน) ุ่ เข้ ามามีสว่ นร่วมกับการกระทาของตัวละคร ซึง่ ก็
ถือเป็ นกลวิธีการสร้ างอารมณ์ สร้ างบรรยากาศให้ กบั เรื่ อง และยังช่วยกระตุ้นความรู้สกึ หวนราลึก
อดีต (nostalgia) ในแบบที่ยากจะหาในการ์ ตนู เรื่ องอื่น เพราะภาพเหตุการณ์เก่าๆ ที่ติดอยู่ใน
ความทรงจาของผู้คนนันย่ ้ อมมีคณุ ค่าโดยเฉพาะคุณค่าทางจิตใจแก่กลุม่ ผู้อา่ นวัยผู้ใหญ่ (ที่ชอบ
พูดเรื่ องเก่าๆ เพื่อความสุขใจเล็กๆ น้ อยๆ อยูเ่ สมอ)
5.5 มุมมองการเล่าเรื่ องแปลกใหม่
ในขณะที่การ์ ตนู ส่วนใหญ่เน้ นมุมมองการเล่าเรื่ องแบบผู้ร้ ู รอบด้ าน (สัพพัญญู) หรื อ
บุคคลที่ 1 ทเวนตี ้ฯ กลับเน้ นการเล่าเรื่ องด้ วยมุมมองที่พบได้ คอ่ นข้ างน้ อยนัน่ คือการเล่าผ่าน
มุมมองของ “บุคคลที่ 3” หรื อตัวประกอบของเรื่ องที่ชว่ ยกล่าวความเป็ นไปของตัวละครเอก
รวมทังยั ้ งถ่ายทอดความรู้สกึ นึกคิดที่มีตอ่ ตัวละครเอกได้ เป็ นอย่างดี ซึง่ การเล่าด้ วยมุมมองเช่นนี ้
ไม่ได้ สร้ างขึ ้นเพียงเพื่อต้ องการให้ เกิดความแปลกและแตกต่างไปจากการ์ ตนู ส่วนใหญ่เท่านัน้ แต่
ยังช่วยขับเสริมตัวละครเอกให้ มีความเป็ น “ฮีโร่” มากขึ ้นทวีคณ ู เพราะผู้อา่ นมี “แนวร่วม” ในการ
รับรู้ความรู้สกึ ชื่นชม ความรู้สกึ เชื่อมัน่ ของผู้คนมากหน้ าหลายตา (ตัวประกอบ) ที่มีตอ่ พระเอก
นัน่ เอง
5.6 ธรรมะไม่ต้องชนะอธรรม และพลังแห่งศิลปะ
แก่นความคิดที่ผ้ เู ขียนถ่ายทอดลงทเวนตี ้ฯ อาจเรี ยกได้ วา่ ไปไกลกว่าการ์ ตนู อีกหลายๆ
เรื่ อง ทังการให้
้ แง่คิดเรื่ องการต่อสู้ในประเด็น “ธรรมะย่อมชนะอธรรม” เพราะการ์ ตนู เรื่ องนี ้กลับ
บอกตรงกันข้ ามว่า “ธรรมะไม่จาเป็ นต้ องเอาชนะอธรรม” ก็คลี่คลายตัวปั ญหาลงได้ ด้ วยสันติวิธี
317

(เคนจิใช้ ความกล้ าหาญก้ มหัวขอโทษยอมรับความผิดที่ก่อไว้ กบั “เพื่อน” และใช้ คาพูดจากใจ


กระตุ้นให้ ฝ่ายตรงกันข้ ามรู้สึกสานึกผิด) อีกทังการ์ ้ ตนู เรื่ องนี ้ยังพูดถึง “พลังแห่งศิลปะ” ทังดนตรี

หรื อกระทัง่ สื่อ “การ์ ตนู ” ว่ามีคณ ุ ค่าเพราะสามารถเยียวยาจิตใจผู้คน และช่วยเรี ยกพลังใจให้
กลับคืนมาได้ ซึง่ ยากจะหาแก่นความคิดเช่นเดียวกันนี ้ในสื่อที่เรี ยกว่า “การ์ ตนู ”
6. ยอดนักสืบจิ๋วฯ
6.1 ภาพแปลกใหม่ของพระเอกตัวจิ๋วในแนวเรื่ องสืบสวนแบบเดิมๆ
จุดเด่นที่สดุ ของการ์ ตนู เรื่ องนี ้คือการสร้ างตัวละครให้ เป็ น “ยอดนักสืบจิ๋ว” ตามชื่อเรื่ อง
เพราะแม้ เราอาจเคยเห็นเรื่ องสืบสวนที่มีตวั ละครเป็ นเด็กมาบ้ างแต่ก็เป็ นการไขคดีที่ไม่ลกึ ลับ
ซับซ้ อนมากนัก แต่เจ้ าหนูโคนันในเรื่ องนี ้แม้ ร่างกายเป็ นเด็กประถมแต่สามารถไขคดีของผู้ใหญ่
หรื อตารวจชันเซี้ ยนได้ อย่างน่าเชื่อถือ เพราะผู้เขียนเติมเหตุผลลงไปว่าเพราะแท้ จริ งแล้ วโคนันคือ
ชินอิจิ ยอดนักสืบมัธยมปลายอันโด่งดังที่โชคร้ ายถูกชายชุดดาจับกรอกยาประหลาดจนร่างหดเล็ก
ลงเป็ นเด็กประถมนัน่ เอง ดังนันเรื ้ ่ องราวของตัวละครเอกที่เป็ นนักสืบเด็กแต่กลับนาเสนอการไข
คดีความแบบผู้ใหญ่จงึ เป็ นโครงเรื่ องที่แปลกใหม่ หนาซ ้าพระเอกที่เป็ นเด็ก ยังน่ารัก น่าเอาใจช่วย
มากกว่าพระเอกที่เป็ นผู้ใหญ่ด้วยซ ้าไป
6.2 ตัวละครกลุม่ ต่างวัยสร้ างสีสนั ให้ เรื่ องราว
เมื่อพระเอกอย่างโคนันเป็ นทังเด็ ้ กประถม และทังวั ้ ยรุ่นหนุม่ หล่อจึงเอื ้อให้ เกิดตัวละคร
กลุม่ ใหญ่ที่แตกต่างหลากหลายวัย ทังกลุ ้ ม่ นักสืบเด็กอย่างขบวนการนักสืบเยาวชน (มีสมาชิก
แรกเริ่ม 4 คน) และกลุม่ นักสืบวัยรุ่น (เพื่อนรักและคูแ่ ข่งอย่างเฮย์จิและจอมโจรคิด) ซึง่ นอกจาก
จะเป็ นการออกแบบตัวละครที่ชาญฉลาดเหมือนยิงปื นนัดเดียวได้ นกสองตัว (เพราะตัวเอกสองวัย
แต่อยูใ่ นร่างเดียวกันจึงเข้ าถึงคนอ่านได้ ทงเด็ ั ้ กเล็กและวัยรุ่น) ยังทาให้ เกิดเรื่ องราวการไขคดีที่
หลากหลายตามไปด้ วยคือทังคดี ้ จริงจังที่มีภาพเลือด การตายเกิดขึ ้น และคดีที่ไม่จริงจัง (ไม่
ร้ ายแรงนัก) อย่างการตามหาคนหาย ของหาย ซึง่ ก็ทาให้ เรื่ องราวมีหลายรส และเต็มไปด้ วยสีสนั
ที่เกิดจากความหลากหลายของตัวละคร
6.3 เรื่ องราวผสมผสานความสมจริง-เหนือจริงอย่างลงตัว
“สิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ ” คือผู้ชว่ ยเหลือพระเอกที่ทาให้ เรื่ องราวดูทงสมจริ ั้ ง
และเหนือจริงได้ อย่างลงตัว เพราะในเรื่ องมีทงการใช้ ั้ เครื่ องแปลงเสียง การใช้ ปืนยิงยาสลบเพื่อ
ช่วยให้ โคนันใช้ ร่างกายของผู้ใหญ่ในการคลี่คลายคดี อีกทังยั ้ งมีการนาเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ มา
ช่วยอธิบายเรื่ อง “ร่างและวัยที่หดเล็กลง” ของพระเอก (แทนที่จะเป็ นเรื่ องเหนือธรรมชาติประเภท
วิญญาณคนอื่นมาสลับร่างกัน) การนาวิทยาศาสตร์ ให้ กลายเป็ นผู้ชว่ ยเหลือสาคัญของพระเอก
318

จึงทาให้ เรื่ องราวที่ดเู หนือจริ งข้ างต้ นดูน่าเชื่อถือไปพร้ อมๆ กับทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึกว่าพระเอกไม่ได้ เก่ง
เพราะมันสมองเพียงอย่างเดียวแต่ยงั ต้ องพึง่ ตัวช่วยสมกับเป็ นเด็กชายวัยประถม ซึง่ ก็ทาให้
ภาพรวมของโทนเรื่ องไม่หนักหรื อเข้ าใจยากในแบบเรื่ องสืบสวนส่วนใหญ่จงึ ทาให้ ยอดนักสืบจิ๋วฯ
เข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นเด็กได้ ดี

อภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจยั กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างบุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือการ์ ตนู
ญี่ปนที ุ่ ่ได้ รับความนิยมในบ้ านเราทัง้ 6 เรื่ องทาให้ เห็นจุดที่ใช้ ดงึ ดูดผู้อ่าน ทังจุ
้ ดร่วม จุดแตกต่าง
ซึง่ เป็ นแนวทางให้ กบั นักเขียนเรื่ องและนักวาดภาพการ์ ตูน รวมทังนั ้ กเขียนบทผ่านสื่ออื่นๆ ใน
แวดวงนิเทศศาสตร์ ที่ล้วนเป็ น “นักเล่าเรื่ อง” ซึง่ มีประเด็นที่นา่ หยิบยกมาอภิปรายดังนี ้

เล่ าเรื่องอย่ างไรให้ น่าดึงดูด


1. แนวเรื่อง (genre): ยิ่งหลายแนวยิ่งประกันการเข้ าถึงผู้อ่านในวงกว้ าง
อาจเรี ยกได้ วา่ “หมดสมัย” ไปแล้ วสาหรับเรื่ องราวที่ยดึ ติดอยูเ่ พียงแนวเดียวโดดๆ เพราะ
การ์ ตนู ทังหมดที
้ ่เลือกมาศึกษาล้ วนมีแนวที่เด่นชัดมากกว่า 2 แนวเรื่ อง โดยแนวเรื่ องที่ได้ รับความ
นิยมสูงสุดยังคงเป็ นแนวต่อสู้หรื อแอ็คชัน่ แต่น่าสังเกตว่าลักษณะการต่อสู้นนหลากหลาย
ั้
มากกว่าแค่การสู้ด้วยพลังฝี มือทางกาย (เหมือนเช่นดราก้ อนบอลที่เป็ นเรื่ องต่อสู้แบบแฟนตาซียคุ
แรกๆ) เพราะมีการต่อสู้รูปแบบอื่นอย่างการสู้ด้วยมันสมอง (ในเดธโน้ ต) หรื อสู้ด้วยหลักจิตวิทยา
(ในทเวนตี ้ฯ) มากขึ ้น ซึ่งก็กลายเป็ นทางเลือกใหม่ให้ กบั กลุม่ ผู้อา่ นที่ต้องการหลีกหนีจากแนว
เรื่ องต่อสู้แบบเดิมที่เน้ นสาดพลังใส่กนั ท่าเดียว ส่วนแนวเรื่ องที่พบในทุกเรื่ องเช่นกันก็คือแนว
เรื่ องแบบจินตนาการหรื อแฟนตาซี เพราะเป็ นแนวที่สื่อการ์ ตนู สามารถให้ ได้ อย่างเต็มที่ (มากกว่า
สื่อที่นาเสนอด้ วยภาพเหมือนกันเช่นภาพยนตร์ หรื อละครที่มีข้อจากัดเรื่ องความสมจริงและการใช้
คนแสดง) ดังนันทุ
้ กเรื่ องจึงล้ วนเต็มไปด้ วยการสร้ างโลกจินตนาการที่มีทงจิ ั ้ นตนาการที่หลุด
จากความจริงอย่างโลกการห ้าหัน่ กันเองของนินจาในนินจาคาถาฯ และจินตนาการที่มีโอกาส
เกิดขึ ้นจริงอย่างไวรัสทาลายโลกในทเวนตี ้ฯ
2. โครงเรื่ อง (plot): หัวใจสาคัญของโครงเรื่องคือสร้ างความเชื่อด้ วย “ข้ อมูล”
การ์ ตนู เรื่ องดังที่มกั สร้ างฐานผู้อา่ นได้ อย่างเหนียวแน่นส่วนหนึง่ ย่อมเกิดจากการเขียน
เรื่ องให้ “ยาวไว้ ก่อน” เพราะยิ่งตีพิมพ์มาก ตัวละครผันผ่านเหตุการณ์มาก ยิ่งสร้ างความสนิท
สนมผูกพันให้ กบั ผู้อา่ นได้ มากเช่นกัน ซึง่ แนวโน้ มการเขียนการ์ ตนู ของนักเขียนที่มีชื่อเสียงส่วน
ใหญ่ตา่ งล้ วนวางโครงเรื่ องระยะยาวไว้ ทงนั ั ้ น้ (เพื่อจะไม่เกิดการยืดเรื่ องซึง่ ทาให้ เรื่ องอ่อนเหตุผล
319

เหมือนดราก้ อนบอล) เหมือนเช่นวันพีซที่ผ้ เู ขียนตังใจแต่ ้ แรกแล้ วว่าจะต้ องเขียนออกมาให้ ได้ 100


เล่ม (แบบรวมเล่ม) ดังนันการวางโครงเรื
้ ่ องที่แข็งแรงไว้ ลว่ งหน้ าจึงจาเป็ นต่อการเขียนการ์ ตนู
ในปั จจุบนั เพราะสานักพิมพ์ยอ่ มต้ องการเรื่ องที่ขายดีในระยะยาวเพื่อไม่ต้องเสี่ยงต่อการหาเรื่ อง
ใหม่มาทดแทนเรื่ องเก่า (ที่เป็ นที่นิยมอยูแ่ ล้ ว) ซึง่ การวางโครงเรื่ องให้ นา่ เชื่อถือในระยะยาวนัน้
เกิดจากการสร้ างความเชื่อจากผู้อา่ นด้ วย “ข้ อมูล”
เพราะเมื่อโลกแห่งสังคมออนไลน์ทาให้ คนเราหาข้ อมูลได้ อย่างง่ายดาย นักเขียนการ์ ตนู จึง
ต้ องทาการบ้ านอย่างหนักไม่แพ้ นกั วิจยั -นักวิชาการที่ต้องค้ นคว้ าหาข้ อมูล (research) สิ่งที่ตน
ต้ องการจะเขียนให้ ลึกซึ ้งที่สดุ เท่าที่จะทาได้ เพื่อทาให้ ผ้ อู ่าน “เชื่อ” ในสิ่งที่เขียน โดยต้ องเลือก
ข้ อมูลที่นอกจากจะถูกต้ องแล้ ว ยังต้ องเป็ นสิ่งแปลกใหม่ที่คนอ่านยังไม่เคยผ่านตาแล้ วนามา
ขยายต่อผ่านจินตนาการส่วนตัวของผู้เขียนให้ เป็ นส่วนผสมที่กลมกล่อมที่สดุ เหมือนเช่นใน
นินจาคาถาฯ ที่ให้ ข้อมูลเกี่ยวกับโลกของนินจาโดยผสมผสานข้ อเท็จจริงเรื่ องความเชื่อของญี่ปนุ่
โบราณที่แสดงผ่านตัวละคร “สัตว์หาง” ให้ สถิตอยูใ่ นร่างนินจาเพื่อช่วยเพิ่มพลัง-ควบคุมจิตใจ
นินจาเหล่านัน้ หรื อการให้ ข้อมูลเรื่ อง “จักระ” (พลังฝั งแฝงในร่างกาย) โดยให้ ข้อมูลเพิ่มเติมว่า
จักระคืออะไรแยกออกมาเป็ นหน้ าพิเศษ ซึง่ การนาข้ อเท็จจริงที่ทงกลมกลื
ั้ นไปกับเรื่ องหรื อ
การเสริมแยกออกมาอันเป็ นวิธีการให้ ความรู้แบบ “การ์ ตนู ความรู้” เหล่านี ้ ล้ วนเพิ่มน ้าหนักให้
“โลกนินจา” น่าเชื่อถือมากขึ ้น จนทาให้ ความแตกต่างระหว่างการ์ ตนู เพื่อความบันเทิงกับการ์ ตนู
ความรู้นนยากจะขี
ั้ ดเส้ นแบ่งพรมแดน เพราะการ์ ตนู เพื่อความบันเทิงอย่างนินจาคาถาฯ และวัน
พีซ ซึง่ ได้ รับความนิยมอย่างสูงเป็ นเวลานานจนถึงปั จจุบนั นันล้ ้ วนใช้ กลวิธีให้ ข้อมูลความรู้ที่มีทงั ้
เป็ นหน้ าคัน่ ย่อยๆ ในแต่ละตอน และแยกออกมาเป็ นตอนพิเศษที่ทาให้ เรื่ องราว-ตัวละครดูลึกซึ ้ง
จนทาให้ ผ้ อู ่านเชื่อหมดใจว่าข้ อมูลเหล่านัน้ (แม้ ไม่ใช่เรื่ องจริง) แต่ก็เป็ นเรื่ องจริงในโลกแห่งมายาที่
ผู้เขียนสร้ างขึ ้น
จึงอาจกล่าวได้ วา่ นักเขียนการ์ ตนู (เขียนเรื่ อง) ในปั จจุบนั ต้ องพัฒนาทักษะการค้ นคว้ าหา
ข้ อมูล การคัดเลือกข้ อมูลให้ เป็ น เพราะเมื่อมีต้นเรื่ อง (ข้ อมูล) ที่ดีและลึกซึ ้งมากพอไว้ ในมือแล้ ว
ย่อมทาให้ เรื่ องนันๆ้ ดึงดูดใจผู้อา่ นได้ เป็ นอันดับแรก
และเมื่อมีข้อมูลที่มากเพียงพอต่อการเขียนโครงเรื่ องระยะยาวแล้ ว นักเขียนที่ดีก็ควรจัด
หมวดหมูข่ ้ อมูลเพื่อให้ ง่ายแก่การจดจาของผู้อา่ น เหมือนเช่นการสร้ าง “ผลไม้ ปีศาจ” ในวันพีซ
โดยมีการกาหนดว่ามีผลไม้ ปีศาจสายพันธุ์ใดบ้ าง และแต่ละสายพันธุ์ให้ ความสามารถพิเศษแก่ผ้ ู
กินเข้ าไปแตกต่างกันอย่างไรเป็ นต้ น หรื อการกาหนดหมวดหมูใ่ ห้ สตั ว์หาง (ปี ศาจที่สิงในร่าง
นินจา) ด้ วยการใช้ ตวั เลขแยกความแตกต่างของสัตว์หางโดยเรี ยงลาดับจาก 1 หางไปจนถึง 9 หาง
320

เป็ นต้ น การกาหนดหมวดหมูข่ ้ อมูลเหล่านี ้นี่เองที่นอกจากจะทาให้ ง่ายต่อการจดจาแล้ ว ยัง เป็ น


เหมือนการเพิ่มตัวช่วยให้ นกั เขียนเสริมแต่งเรื่ องราวให้ สมกับเป็ นโลกแห่งจินตนาการได้ อย่างไร้
ขีดจากัด ซึง่ เมื่อสร้ างข้ อมูลได้ แน่น แถมง่ายต่อการจดจาก็ย่อมส่งผลให้ แม้ เขียนเรื่ องในระยะ
ยาวก็แทบจะหา “ทางตัน” ได้ ยากตามไปด้ วย
3. ปมปั ญหา (conflict): ยิ่งเยอะยิ่งน่ าดึงดูด
ปมปั ญหา อุปสรรค ความขัดแย้ ง ความไม่ได้ ดงั่ ใจของตัวเอก หรื อ conflict นันจ ้ าเป็ น
อย่างยิ่งในเรื่ องเล่าทุกรูปแบบไม่เว้ นกระทัง่ สื่อการ์ ตนู และยิ่งหากวางโครงเรื่ องในระยะยาวด้ วย
แล้ วยิ่งต้ องสร้ างปมปั ญหาใหญ่ที่ลกึ ลับที่สดุ โดยปูไว้ ตงแต่ ั ้ เปิ ดเรื่ อง (เพื่อดึงความสนใจตังแต่ ้ ต้น)
แล้ วจึงค่อยๆ ปล่อยร่องรอย (clue) ของปมนันเป็ ้ นระยะๆ ก่อนจะเฉลยหรื อคลี่คลายในตอนจบ
(เหมือนเช่นในยอดนักสืบจิ๋วฯ ที่แม้ จะนาเสนอเรื่ องราวการคลี่คลายคดีแบบจบในตอนแต่ก็ยงั ต้ อง
วางปมปั ญหาใหญ่ไว้ ตงแต่ ั ้ ต้นเรื่ องคือหลอกล่อให้ ผ้ อู า่ นสงสัยว่าองค์กรชุดดาที่ทาให้ พระเอกร่าง
หดเล็กลงนันเป็ ้ นใครกันแน่) ซึง่ ด้ วยกลวิธีเช่นนี ้ย่อมเป็ นวิธีการจับมือผู้อา่ นให้ แน่นตังแต่
้ ต้น
เพื่อนาพาไปด้ วยกันกับผู้เขียนจนถึงปลายทางที่แม้ จดุ คลี่คลายอาจไม่สวยงาม หรื อยังเกิดข้ อกังขา
อยูบ่ ้ าง (เหมือนเช่นในทเวนตี ้ฯ ) แต่ผ้ เู ขียนก็หลอกล่อให้ ผ้ อู า่ นติดตามจนจบได้ สาเร็ จแล้ ว
แต่การสร้ างปมใหญ่หลักๆ เพียงประเด็นเดียวก็อาจยังไม่เพียงพอ ปมปั ญหาย่อยๆ หรื อ
การวางโครงเรื่ องรองระหว่างทางของการเล่าเรื่ องจึงย่อมมีสว่ นดึงคนอ่านให้ ตลอดรอดฝั่ งด้ วย
เช่นกัน เหมือนในทเวนตี ้ฯ ที่สร้ างปมหลักปิ ดบังโฉมหน้ าที่แท้ จริงของ “เพื่อน” ซึ่งด้ วยปมเพียง
เท่านี ้อาจทาให้ เรื่ องราวเดินไปได้ ไม่ยาวไกลนัก จึงต้ องหลอกล่อคนอ่านด้ วยการสร้ างปมย่อยๆ
เช่นการหายตัวไปของพระเอก ความทรงจาวัยเด็กของ”เพื่อน” ซึง่ ก็ยงั ล่อหลอกคนอ่านอีกชันหนึ ้ ง่
ด้ วยการไม่ยอมคลี่คลายปมเหล่านันในทั ้ นทีทนั ใด หรื อในวันพีซก็สร้ างปมหลักตังแต่ ้ เปิ ด
เรื่ องคือคาถามถึงสมบัตขิ องเจ้ าโจรสลัดอย่าง “วันพีซ” คือสิ่งใด และระหว่างการเดินเรื่ องก็มีปม
ปั ญหาย่อยๆ เกิดขึ ้นอีกมากทังปมเรื ้ ่ องเบื ้องหลังแผนร้ ายของรัฐบาลโลก หรื อพ่อที่แท้ จริงของ
พระเอกเป็ นใคร อีกทังยั ้ งมีปมยิบย่อยที่เกิดจากตัวละครกลุม่ พระเอกที่มีเรื่ องราวเป็ นของตัวเอง
เป็ นต้ น
และเมื่อสร้ างปมปั ญหาขึ ้นมาจานวนมากเมื่อถึงบทสรุปก็ยอ่ มต้ องคลี่คลายปมเหล่านันให้ ้
ครบถ้ วน สมเหตุผล และถูกจังหวะเวลาจึงจะเรี ยกว่าเป็ น “เรื่ องที่ดี” (ไม่ใช่พระเอกตกม้ าตายตอน
จบเพราะจบเรื่ องไม่ลง) เหมือนเช่นในทเวนตี ้ฯ ที่มีชนเชิ ั ้ งในการคลี่คลายปมปั ญหาโดยไม่
คลี่คลายปมทันทีทนั ใดแต่ทิ ้งข้ อกังขาในปมนันไว้ ้ เป็ นเวลานานเพื่อหลอกล่อให้ ผ้ อู ่านเฝ้าติดตาม
แล้ วจึงค่อยเฉลยหรื อคลี่คลายปมภายหลัง
321

แต่จากการ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องมีเดธโน้ ตเพียงเรื่ องเดียวที่มีวิธีสร้ างและคลี่คลายปมปั ญหาฉีกไป


จากฎข้ างต้ น เพราะสร้ างและคลี่คลายปมปั ญหาที่ดลู ึกลับที่สดุ ตังแต่ ้ เปิ ดเรื่ อง (ผู้ร้ายตัวจริงที่
ครอบครองเดธโน้ ตคือใคร) หรื อเป็ นการทาให้ ผ้ อู า่ น “รู้เท่ากับตัวละคร” ซึง่ แตกต่างจากเรื่ องอื่นๆ
ที่มกั ทาให้ ผ้ อู า่ น “รู้น้อยกว่าตัวละคร” เข้ าไว้ ดังนันกลวิ ้ ธีดงึ ดูดผู้อา่ นของการ์ ตนู เรื่ องนี ้จึงไม่ใช่
ปมลึกลับเหมือนเช่นเรื่ องเล่าอื่นๆ แต่อยู่ที่เงื่อนไข รายละเอียดของการใช้ เดธโน้ ตที่ทาให้ เกิดการ
“จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ” ระหว่างนักสืบหนุม่ กับเจ้ าของเดธโน้ ต รวมทังการสร้ ้ างเหตุการณ์คาดไม่ถึง
เมื่อพระเอกอย่างแอลมาตายเอาตอนกลางเรื่ อง (ในแบบที่การ์ ตนู กระแสหลักไม่กล้ าทา) ซึง่
การเล่าเรื่ องที่ไม่ใช้ จดุ ดึงดูด หรื อ การหลอกล่อผู้อา่ นด้ วย “ปมปั ญหาลึกลับ” ในแบบที่เรื่ องเล่า
ส่วนใหญ่เลือกทาแต่ก็ยงั คงความน่าติดตามของเรื่ องได้ เช่นนี ้นี่เองที่ทาให้ เดธโน้ ตเป็ นการ์ ตนู ที่เล่า
เรื่ องได้ อย่างน่าทึง่
นอกจากวิธีการสร้ างปมและการคลี่คลายปมแล้ ว ลักษณะของ “ปมปั ญหา” หรื อ “ความ
ขัดแย้ ง” ก็ทาให้ เรื่ องน่าสนใจได้ เช่นกัน โดยเฉพาะในการ์ ตนู ขนาดยาวเช่นนินจาคาถาฯ และวัน
พีซ ที่นา่ สังเกตว่าสร้ างปมปั ญหาให้ มีหลากหลายรูปแบบมากกว่าแค่ปมปั ญหาภายนอกอย่าง
“ผู้ร้าย” (เหมือนเช่นในดราก้ อนบอล) โดยทังนิ ้ นจาคาถาฯ และวันพีซ ให้ ความสาคัญกับทังปม ้
ภายนอก (ผู้ร้ายอย่างรัฐบาลโลกและกลุม่ แสงอุษา) ปมระหว่างตัวละครกับสังคม (ความเป็ น
คนชายขอบอย่างโจรสลัดลูฟี่หรื อการพิสจู น์ความสามารถตนเองให้ คนในหมูบ่ ้ านนินจายอมรับ
ของนารูโตะ) และปมภายในจิตใจตัวละครเอง (นารูโตะต่อสู้กบั ความโกรธในใจเพื่อไม่ให้ ปีศาจที่
สิงอยูใ่ นร่างกายควบคุมเขาได้ ) ซึง่ ยิ่งปมปั ญหาของเรื่ องมีหลากหลายทังภายนอก-ภายใน

มากเท่าไหร่ก็ยิ่งเหมาะกับการเขียนเรื่ องขนาดยาวเพราะทาให้ เรื่ องดูซบั ซ้ อน น่าลุ้น น่าติดตาม
มากเท่านัน้ แต่หากเป็ นเรื่ องที่มีความยาวไม่มากนัก เหมือนเช่นเดธโน้ ต หรื อทเวนตี ้ฯ ปม
ปั ญหาที่ขบั เน้ นจะไม่หลากหลายเท่ากับเรื่ องยาว เพราะในทเวนตี ้ฯ มุง่ ไปที่ปมปั ญหาภายใน
ตัวเองมากกว่าปมปั ญหาภายนอก (พระเอกอย่างเคนจิต้องต่อสู้กบั ความผิดบาปในใจมากกว่าจะ
มุง่ ต่อสู้กบั วายร้ ายของเรื่ องอย่าง “เพื่อน”) หรื อในเดธโน้ ตก็เน้ นแค่ปมปั ญหาภายนอกเท่านัน้
(พระเอกอย่างแอลต้ องต่อสู้กบั ผู้ร้ายอย่างไลท์)
4. แก่ นความคิด (theme): สารัตถะระดับวรรณกรรมชัน้ นา
แก่นที่วา่ ด้ วย “มิตรภาพ” การร่วมแรงร่วมใจกัน การเสียสละของกลุม่ เพื่อน รวมทังการ ้
กลับตัวกลับใจของผู้ร้ายที่กลายมาเป็ นฝ่ ายดีก็ยงั เป็ นประเด็นยอดนิยมที่พบได้ จากการ์ ตนู เกือบทัง้
6 เรื่ อง (ทุกเรื่ องพูดถึงพลังของมิตรภาพ แต่เดธโน้ ตและยอดนักสืบจิ๋วฯ ไม่สะท้ อนเรื่ องผู้ร้ายกลับ
ใจ) ซึง่ แก่นความคิดเหล่านี ้ล้ วนสะท้ อนวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของคนญี่ปนที ุ่ ่เห็นแก่
322

ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตน รวมทังสะท้ ้ อนความเชื่อตามศาสนาชินโตที่เชื่อว่า


ธรรมชาติดงเดิ ั ้ มของมนุษย์ ดีและบริ สทุ ธิ์ดงั นันคนชั้ ว่ จึงสามารถกลับตัวเริ่มต้ นใหม่ได้ เสมอ
และแม้ แก่นความคิดที่ถกู หยิบยกขึ ้นมากล่าวถึงมากที่สดุ คือการตังค ้ าถามถึงความดี-
ความชัว่ แต่นา่ สนใจว่าเป็ นการนาเสนอในแง่มมุ ใหม่ (มีเพียง 2 เรื่ องคือดราก้ อนบอลและยอด
นักสืบจิ๋วฯ ที่ตอกย ้าแก่นความคิดแบบเดิมๆ คือธรรมะย่อมชนะอธรรม) โดยวันพีซได้ ตงค ั ้ าถาม
ว่าคนดี-คนชัว่ แตกต่างกันอย่างไร คนดีที่สงั คมยกย่องอย่างรัฐบาลโลกแต่เที่ยวกดขี่ขม่ เหงผู้อื่น
นันใช่้ คนดีหรื อไม่ หรื อในนินจาคาถาฯ ก็บอกว่าคนเรามี “ด้ านมืด” หรื อ “ความชัว่ ร้ าย” อยูใ่ น
จิตใจ แต่การจะเป็ นคนดีหรื อชัว่ นันขึ ้ ้นอยู่กบั การรู้จกั ควบคุมจิตใจตนเอง (เพราะตัวเอกแม้ มีปีศาจ
สิงร่างอยูแ่ ต่ก็ไม่ใช่คนเลวเพราะรู้จกั ควบคุมจิตใจไม่ให้ ถกู ปี ศาจกลืนกลายตัวตน) ส่วนเดธโน้ ตก็
ตังค ้ าถามว่าคนที่เจตนาดีอยากเห็นโลกสงบสุขแต่เลือกวิธีกาจัดคนเลวด้ วยวิธีไม่ตา่ งจากคนเลว
(ลงมือสังหารคนเลวเสียเอง) นันสามารถเรี ้ ยกว่าเป็ นคนดีได้ หรื อไม่ ขณะที่ทเวนตี ้ฯ ก็มอง
ว่าการเป็ นคนดีไม่จาเป็ นต้ องเอาชนะคนเลว (ธรรมะไม่ต้องชนะอธรรมเสมอไป) ก็สามารถ
คลี่คลายปั ญหาลงได้ ด้วยสันติวิธี
นอกจากนี ้ยังมีแก่นที่วิพากษ์ สงั คม และสะท้ อนระบบการเมืองการปกครองในอีกหลาย
เรื่ องเช่นวันพีซ นินจาคาถาฯ และในทเวนตี ้ฯ ยังมีแก่นที่วา่ ด้ วย “พลังของศิลปะ” ที่ยากจะหา
พบในการ์ ตนู เรื่ องอื่นๆ ซึง่ แก่นความคิดที่หลากหลาย และการนาเสนอเรื่ องความดี-ความชัว่ ในอีก
มุมมองก็คงเป็ นเครื่ องพิสจู น์ได้ ดีวา่ “การ์ ตนู ไม่ใช่สื่อไร้ สาระ” ดังนันแนวทางการเขี
้ ยนการ์ ตนู
ให้ นา่ สนใจและมีคณ ุ ค่าในปั จจุบนั จึงควรให้ ทงความบั
ั้ นเทิงขณะเดียวกันก็ต้อง “ให้ แง่คดิ ” ที่ลกึ ซึ ้ง
ฝั งแฝงไปพร้ อมกัน
5. ฉาก (setting): ฉากที่ดีไม่ จาเป็ นต้ องหลุดลา้ อลังการเสมอไป
การสร้ างฉาก เหตุการณ์ของเรื่ องที่เกิดบนโลกแห่งจินตนาการ (เหมือนเช่น ดราก้ อนบอล
วันพีซ และนินจาคาถาฯ) จาเป็ นต้ องสร้ างรายละเอียดในฉากให้ มากที่สดุ เพื่อสร้ างความ
น่าเชื่อถือให้ กบั ฉาก เรื่ องราว ซึง่ วันพีซก็เป็ นเรื่ องที่ใส่ใจในรายละเอียดของฉากอย่างมาก เห็น
ได้ จากการให้ รายละเอียดเรื่ อง พาหนะ สิ่งของ สภาพแวดล้ อมของฉากในแทบทุกสถานที่ที่กลุม่
โจรสลัดหมวกฟางเดินทางไปถึง (เช่นการสร้ างสิ่งประดิษฐ์ อย่างไดอัลบนเกาะแห่งท้ องฟ้าที่อาศัย
พลังทางธรรมชาติจนเป็ นทังอาวุ ้ ธ และพาหนะได้ อย่างเหลือเชื่อ) การใส่ใจในรายละเอียดของ
ฉากนี่เองที่ทาให้ โลกโจรสลัดของวันพีซสมจริง น่าตื่นตา และทาให้ ผ้ อู ่านเฝ้ารอคอย “เกาะแห่ง
ใหม่” ที่เหล่าโจรสลัดหมวกฟางออกไปเยือน
323

แต่เรื่ องที่เหตุการณ์เกิดขึ ้นบนโลกมนุษย์ซงึ่ ไม่ได้ มีฉาก หรื อรายละเอียดประกอบฉากให้


น่าตื่นตาเหมือนโลกจินตนาการข้ างต้ นย่อมต้ องหาวิธีสร้ างฉาก เหตุการณ์ให้ แปลกแตกต่างกันไป
โดยเรื่ องที่ทาได้ นา่ สนใจก็คือทเวนตี ้ฯ ที่หยิบเอาเหตุการณ์จริงอันน่าจดจาทางประวัตศิ าสตร์ มา
เชื่อมโยงกับตัวละครซึง่ ก็สง่ ผลให้ เหตุการณ์ในการ์ ตนู เรื่ องนี ้เต็มไปด้ วยความทรงจาเก่าๆ และ
สร้ างอารมณ์หวนหาอดีต ขณะที่เดธโน้ ตซึง่ ว่าด้ วยเรื่ องราวของพระเอก-ผู้ร้ายต่อสู้กนั ด้ วย
การวางแผนและมันสมองจึงสร้ างฉาก เหตุการณ์แบบคนเมือง โดยสร้ างห้ องสี่เหลี่ยมแคบๆ ให้
กลายเป็ นสถานที่สงั่ การสังหารอาชญากรได้ อย่างน่าเชื่อถือ (เพราะการฆ่าคนโดยใช้ เดธโน้ ตนัน้
สามารถเขียนจากเตียง โต๊ ะ และหาข้ อมูลชื่ออาชญากรผ่านคอมพิวเตอร์ ในห้ องนอนก็ได้ แล้ ว)
จากข้ างต้ นแสดงให้ เห็นว่าการสร้ างฉาก เหตุการณ์ที่ดีจงึ ควรอิงอยูก่ บั ลักษณะความ
“แฟนตาซี” ของเรื่ องเป็ นสาคัญ ยิ่งเรื่ องราวเกิดขึ ้นในโลกแห่งจินตนาการมากเท่าไหร่ นักเขียนก็
ยิ่งต้ องคิดรายละเอียดสิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ในโลกที่ไม่มีอยูจ่ ริงให้ มากที่สดุ เพื่อทาให้ ผ้ อู า่ น “เชื่อ”
หมดใจว่าโลกที่แต่งแต้ มขึ ้นนันมี ้ อยูจ่ ริง ขณะที่เรื่ องราวที่เกิดในโลกแห่งความจริงก็ควรต้ อง
สร้ างฉากห่อหุ้มวิถีชีวิต การกระทาของตัวละครได้ อย่างน่าเชื่อถือ ซึง่ เดธโน้ ตก็สร้ างฉากหลักใน
เรื่ องได้ แตกต่างจากเรื่ องอื่นได้ อย่างน่าสนใจเพราะสามารถสร้ าง “ห้ องสี่เหลี่ยม” ธรรมดาให้
กลายเป็ นฉากวางแผนต่อสู้ทางมันสมองที่แสนเข้ มข้ นไม่แพ้ ฉากประลองฝี มือนอกโลกแบบดรา
ก้ อนบอลเช่นกัน อีกทังยั
้ งฉีกแนวคิดของการสร้ างฉากในการ์ ตนู ได้ วา่ “ฉากการ์ ตนู ที่ดีไม่
จาเป็ นต้ องหลุดล ้าไปจากความเคยชินของผู้อา่ นเสมอไป”

6. สัญลักษณ์ (Symbol): สัญลักษณ์ ท่ ดี ีต้องสะท้ อนเรื่ องราว-แก่ นเรื่อง


การ์ ตนู ทุกเรื่ องต่างมีสญ
ั ลักษณ์เพื่อแทนความหมายบางอย่าง แต่มกั เป็ นสัญลักษณ์ที่สื่อ
ความหมายอย่างง่าย ตรงไปตรงมา เช่นในเรื่ องยอดนักสืบจิ๋วฯ สร้ างให้ ตวั ละครอย่างเกนตะ
(หนึง่ ในขบวนการนักสืบเยาวชน) มีรูปร่างอ้ วนเพื่อเป็ นสัญลักษณ์ที่บง่ บอกนิสยั ความเป็ นคนช่าง
กิน ใจร้ อน หรื อการสร้ างให้ โคนัน (พระเอก) สวมแว่นตานอกจากจะปิ ดบังใบหน้ าที่แท้ จริงแล้ วยัง
เป็ นสัญญะที่ต้องการสะท้ อนความเป็ นคนฉลาด ช่างคิดด้ วย แต่เรื่ องที่ใช้ สญ
ั ลักษณ์
ทางอ้ อม เพื่อสะท้ อนภาพรวมของเรื่ อง หรื อสะท้ อนแก่นความคิดของเรื่ อง นันกลั ้ บมีไม่มากนัก
เหมือนเช่น วันพีซ ที่สร้ างตัวละครเอกอย่างลูฟี่ให้ มีพลังวิเศษคือ “มนุษย์ยางยืด” ซึง่ เพียงแค่นี ้
ก็สะท้ อนเรื่ องราวทังหมดของวั
้ นพีซ ที่วา่ ด้ วยเรื่ องของโจรสลัดอันอิสระเสรี เหมือนเช่นร่างกาย
ของลูฟี่ที่ยืดหดได้ อย่างเสรี เช่นกัน หรื อใน ทเวนตี ้ฯ ที่ตงค
ั ้ าถามถึงแก่นของคาว่า “เพื่อน” ว่า
คืออะไรก็เล่นกับคาว่า “เพื่อน” ผ่านสัญลักษณ์คือตัวร้ ายที่เรี ยกตัวเองว่า “เพื่อน” ผู้โหยหาการ
324

ยอมรับจากเพื่อน หรื อการรวมตัวกันของกลุม่ เพื่อนใน”ขบวนการเคนจิ” ก็เป็ นสัญลักษณ์


สาคัญที่บง่ บอกว่าแม้ ภาระหน้ าที่ในวัยผู้ใหญ่จะหนักหน่วงเพียงไหนแต่เพราะเชื่อในพลังของ
มิตรภาพแห่งเพื่อนจึงสามารถรวมตัวกันเพื่อยับยังแผนร้ ้ ายของ “เพื่อน”
แม้ การสร้ างสัญลักษณ์อาจเรี ยกได้ ว่า “ไม่จาเป็ น” ต่อสื่อ “การ์ ตนู ” ที่ผ้ อู า่ นส่วนใหญ่ยงั คง
คาดหวังความบันเทิงมากกว่าการนัง่ ขบคิดตีความสัญญะที่สอดแทรกเข้ ามา แต่ก็คงไม่ผิด
อะไรหากนักเขียนการ์ ตนู จะลองคิดให้ มากเข้ าไว้ ก่อน เพราะการสร้ างสัญลักษณ์ที่ดีย่อมทาให้
เรื่ องราวดูมีความหมายลึกซึ ้ง ขณะเดียวกันยังช่วยกระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นใช้ ความคิดเพื่อถกเถียงตีความ
ต่อแม้ เรื่ องราวจะจบลงแล้ วก็ตาม อีกทังยั
้ งเป็ นหนทางหนึง่ ที่จะช่วยยกระดับคุณค่าของสื่อ
การ์ ตนู ได้ อีกด้ วย
7. มุมมองการเล่ าเรื่อง (Point of view): มุมมองใหม่ สร้ างบรรยากาศใหม่ ให้ เรื่ องราว
การ์ ตนู ทัง้ 6 เรื่ องยังไม่คอ่ ยเลือกใช้ มมุ มองการเล่าที่แปลกแตกต่างไปจากการ์ ตนู ส่วน
ใหญ่ที่ถ่ายทอดความเป็ นไปของตัวละครผ่านมุมมองแบบผู้ร้ ูรอบด้ าน (สัพพัญญู) เพื่อให้ เห็น
ความคืบหน้ า พัฒนาการของตัวละครหลากหลายฝ่ าย และมุมมองจากบุคคลที่ 1 ที่ง่ายต่อการ
เผยให้ เห็นความคิด ความรู้สึกของตัวละครเอกซึง่ ทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ร่วมไปกับตัวเอกได้ แต่มีอยู่
1 เรื่ องที่เลือกใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องได้ แปลกแยกออกไปนัน่ คือทเวนตี ้ฯ ซึง่ มักใช้ มมุ มองจาก
บุคคลที่ 3 ผ่านตัวประกอบหลายคนในเรื่ องที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันถ่ายทอดความรู้สกึ ของ
พวกเขาที่มีตอ่ “ขบวนการเคนจิ” รวมทังตั ้ วประกอบเหล่านี ้ยังเป็ นผู้เล่าเหตุการณ์ การกระทาของ
ขบวนการเคนจิ (แทนที่การถ่ายทอดเหตุการณ์/การกระทาจริงให้ ผ้ อู า่ นเห็นโดยตรง) ซึง่ การ
เลือกใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องเช่นนี ้ก็เป็ นการแสดงชันเชิ ้ งของผู้เขียนที่นอกจากจะสามารถขับเสริม
ให้ ตวั ละครดูมีมิติ น่าค้ นหามากยิ่งขึ ้น เพราะมุมมองจากบุคคลที่ 3 ย่อมช่วยสร้ าง “ระยะห่าง”
ระหว่างตัวเอกกับผู้อา่ น (เพราะไม่คอ่ ยใช้ มมุ มองที่ 1 ของตัวละครเอกถ่ายทอดความรู้สกึ ออกมา)
และยังเป็ นการเลือกใช้ มมุ มองที่สอดรับกับโทนเรื่ องจนเสริมสร้ างบรรยากาศลึกลับในเรื่ องออกมา
ได้ อย่างสมจริง ดังนันการเลื
้ อกใช้ มมุ มองการเล่าเรื่ องที่แตกต่างออกไปเหมือนเช่นทเวนตี ้ฯ จึงบ่ง
บอกได้ วา่ การที่นกั เขียนลองปรับเปลี่ยนมุมมองใหม่ๆ ในการเล่าการ์ ตนู ดูบ้างก็สามารถเสริมแต่ง
ให้ เรื่ องราวโดดเด่นได้ มากขึ ้นเช่นกัน
8. การสร้ างตัวละคร (characterization)
8.1 สร้ างตัวละครให้ มากไว้ ก่อน
เมื่อเด็กยุคใหม่ต้องการตัวตน พื ้นที่ยืนในสังคมที่เป็ นของตัวเองไม่ซ ้าแบบใครมากขึ ้น
แนวทางการสร้ างสารผ่านสื่อต่างๆ จึงต้ องปรับเปลี่ยนไปตามผู้เสพในทุกแวดวงนิเทศศาสตร์ เห็น
ได้ จากวงการเพลงปั จจุบนั ที่หนั ไปเปิ ดตัวศิลปิ นกลุม่ กันมากขึ ้น (boy band girl group)กระทัง่
325

พิธีกรรายการโทรทัศน์ก็ยงั มีจานวนมาก ดังนันแวดวงการ์ ้ ตนู ก็ไม่ตา่ งกันเมื่อหันมาสร้ างตัวละคร


แบบกลุม่ เพื่อสร้ างทางเลือกให้ ผ้ อู า่ นที่อาจไม่ได้ ชอบพระเอกที่หล่อ เท่ ผอมบางตามกระแสหลัก
ของสังคมอย่างเดียว เพราะผู้อา่ นย่อมชอบตัวละครที่มีรูปร่าง นิสยั ใกล้ เคียงกับตัวเองมากกว่า
(เพราะได้ เทียบเคียงกับตัวเองว่าฉันก็เป็ นตัวเอกได้ เหมือนกัน) ดังนันยิ ้ ่งตัวละครมากก็ยิ่งมีโอกาส
ที่ตวั ละครจะเหมือนผู้อา่ นเข้ าสักตัวและสร้ างความชื่นชอบ หรื อถึงขันหลงรั ้ กได้ ง่ายกว่าการสร้ าง
ตัวละครเอกขึ ้นมาเดี่ยวๆ เห็นได้ จากการ์ ตนู เรื่ องดังอย่างวันพีซ และนินจาคาถาฯ ที่มีตวั
ละครจานวนมากจนแทบนับไม่ถ้วน ดังนันแนวทางการสร้ ้ างตัวละครในปั จจุบนั จึงเน้ น “ตัวละคร
กลุม่ ” ที่เรี ยกได้ วา่ ยิ่งมากยิ่งคึกครื น้ ยิ่งสร้ างสีสนั ให้ เรื่ องราว
8.2 เมื่อตัวละครมากต้ องไม่ลืมสร้ างความแตกต่าง
การสร้ างตัวละครแบบกลุม่ ที่ดียอ่ มต้ องมีความความแตกต่างกันทังรู้ ปลักษณ์ภายนอก
และนิสยั ใจคอภายใน โดยการ์ ตนู ในยุคเก่าอาจเน้ นแค่สร้ างคาแร็ คเตอร์ ภายนอกเป็ นหลัก
เหมือนดราก้ อนบอล แต่การ์ ตนู ยุคใหม่อย่างวันพีซเน้ นนิสยั ใจคอที่แตกต่างด้ วย เพราะจานวนตัว
ละครมากขึ ้นทวีคณ ู จนทาให้ แค่คาแร็คเตอร์ ภายนอกอาจซ ้าซ้ อนกันได้ (เช่นตัวละครทรงผมแอฟ
โฟรในวันพีซที่มีอยูห่ ลายคน) ดังนันผู
้ ้ เขียนจึงต้ อง “แม่น” ในข้ อมูลของตัวละครมากพอ
(ว่าเขียนตัวละครแบบไหนไปแล้ ว นิสยั ใจคอเป็ นอย่างไร) แต่สิ่งสาคัญประการหนึง่ ที่จะช่วย
เสริมให้ ตวั ละครกลุม่ จดจาได้ ง่าย (นอกจากชื่อเรี ยกง่าย เช่นชื่อของปี ศาจในนินจาคาถาฯ ก็เรี ยก
ตามจานวนหางของปี ศาจ เช่นหนึง่ หาง สองหาง) นัน่ คือการจัดหมวดหมูข่ องตัวละครเช่น “เจ็ด
เทพโจรสลัด” ในวันพีซ กลุม่ “แสงอุษา” ในนินจาคาถาฯ หรื อ “ขบวนการนักสืบเยาวชน” ในยอด
นักสืบจิ๋วฯ และไม่วา่ จะตัวละครกลุม่ เหล่านี ้จะหน้ าตา-นิสยั แตกต่างกันอย่างไรผู้เขียน
ต้ องไม่ลืมสร้ าง “จุดร่วม” ที่เหมือนกันของกลุม่ คนเหล่านี ้เพื่อเชื่อมโยงพวกเขาไว้ ด้วยกันอย่างมี
พลังและน่าเชื่อถือ เหมือนเช่น “กลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง” ในวันพีซมีจดุ ร่วมกันตรงการเป็ น “คน
นอก” ของสังคม หรื อกลุม่ “แสงอุษา” ในนินจาคาถาฯ ที่มีจดุ เชื่อมโยงกันด้ วย “ความสูญเสีย” ใน
อดีต
8.3 ตัวละครกลุม่ ที่ดีต้องกระจายความสาคัญได้ เท่าเทียมกัน
เมื่อผู้เขียนสร้ างตัวละครกลุ่มจานวนมาก และแตกต่างกันขึ ้นแล้ ว สิ่งที่แสดงความเหนือ
ชันของนั
้ กเขียนบทก็คือการกระจายความสาคัญของตัวละครให้ ใกล้ เคียงกัน (โดยเฉพาะกลุม่ ตัว
ละครเอก) ซึง่ ในวันพีซได้ อาศัยการกาหนด “บทบาท” ของตัวละครบนเรื อเป็ นตัวกากับและอาศัย
“ฉาก” ที่เกิดบนเรื อลาเดียวกันจึงทาให้ ตวั ละครมีบทปรากฏตัวใกล้ เคียงกัน ผสมผสานกับวิธีการ
วาดกรอบย่อยเพื่อให้ เห็นปฏิกิริยาตัวละครกลุม่ ตัวเอกอยู่ตลอดเวลา ดังนันจึ ้ งทาให้ ความเป็ นตัว
326

ละครกลุม่ ของ “วันพีซ” แข็งแรงมากกว่าเรื่ องอื่นๆ เพราะตัวละครกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางเหล่านี ้มี


โอกาสปรากฏตัว-เผยให้ เห็นนิสยั ใจคอต่อผู้อ่านเท่าเทียมกัน
8.4 สร้ างตัวละครเดี่ยวได้ แต่ต้องมีคแู่ ข่งที่แกร่งพอกัน
แม้ ตวั ละครกลุม่ จะเป็ นกระแสการสร้ างตัวละครในปั จจุบนั แต่ก็ใช่วา่ ตัวละครเดี่ยวจะทา
ให้ เรื่ องน่าสนใจไม่ได้ เหมือนเช่นเดธโน้ ต ซึง่ ใช้ วิธี “สร้ างตัวร้ ายให้ แข็งแกร่ง” หรื อตัวร้ ายที่มี
ความสามารถ เก่งกาจสูสีกบั พระเอกขึ ้นมา เพื่อให้ พระเอกไม่โดดเดี่ยวอยูเ่ พียงคนเดียว แต่มีจอม
วายร้ ายมาอยูเ่ ป็ นเพื่อนคอยทาให้ ผ้ อู ่านได้ ล้ ุนกับฉากต่อสู้ที่คคู่ ี่สสู ี หรื อในยอดนักสืบจิ๋วฯ ที่แม้ จะ
ไม่ได้ สร้ างผู้ร้ายขึ ้นมาให้ ทดั เทียมพระเอกแต่ก็สร้ างตัวละคร “คูแ่ ข่ง” ที่เป็ นทังเพื ้ ่อนรักและคูแ่ ข่ง
ขันอย่างเฮย์จิและมีฝีมือในการสืบสวนไม่แพ้ ชินอิจิ ซึง่ ก็ชว่ ยให้ สถานะความเป็ นยอดนักสืบของ
ชินอิจเิ ริ่มสัน่ คลอนจนทาให้ ผ้ อู า่ นลุ้นกับการแข่งขันคลี่คลายคดีมากขึ ้น
ดังนันการสร้
้ างตัวละครฝ่ ายร้ าย หรื อคูแ่ ข่งให้ นา่ สนใจจึงสาคัญไม่แพ้ ตวั ละครเอก (ไม่วา่
จะเป็ นเรื่ องที่ตวั ละครเอกแบบเดี่ยวหรื อแบบกลุม่ ก็ตาม) เพราะตัวละครร้ ายที่ดียอ่ มขับเน้ น
ความสามารถของตัวละครเอกให้ ดนู า่ เชิดชู อีกทังยั้ งช่วยลดทอนสถานะความเป็ นเทพของ
พระเอกทาให้ เรื่ องราวน่าลุ้นได้ มากขึ ้นเช่นกัน
8.5 พระเอกการ์ ตนู ยุคใหม่ สะท้ อนตัวตนเยาวชนรุ่นใหม่
นอกจากจานวนตัวละครที่มีแนวโน้ มมากขึ ้นแล้ ว มิติ ความลึกซึ ้งของตัวละครหรื อตัว
ละครแบบกลม (rounded character) ก็มีมากขึ ้นตามไปด้ วย เพราะการสร้ างเรื่ องที่มีขนาดยาว
มากขึ ้นย่อมทาให้ มีเวลาเหลือมากพอที่จะเผยให้ เห็นนิสยั ใจคอ ความคิด เบื ้องหลังชีวิตของตัว
ละคร มากกว่าจะเดินเรื่ องพุ่งตรงไปข้ างหน้ าเพียงอย่างเดียว ดังนันแนวทางการสร้ ้ างตัวละครใน
การ์ ตนู ปั จจุบนั จึงเน้ นความเป็ นมนุษย์มากขึ ้น (แม้ จะเป็ นเรื่ องแนวต่อสู้ก็ตาม) ผ่านการเล่า
เหตุการณ์ในอดีตของตัวละคร (flash back) ที่มกั สูญเสียบางอย่าง ซึง่ นอกจากจะช่วยให้ ผ้ อู ่าน
ขยับเข้ าใกล้ ตวั ละครมากขึ ้นเพราะรู้สกึ เข้ าใจความคิด การกระทาของตัวละครมากขึ ้นแล้ ว ยังลด
สถานะความเป็ นซูเปอร์ ฮีโร่เหมือนตัวละครในอดีตอีกด้ วย (เหมือนเช่นพระเอกอย่างลูฟี่ในวันพีซ
ที่ไม่ได้ เก่งหรื อมีพลังพิเศษเหนือคนอื่นในเรื่ อง นารูโตะในนินจาคาถาฯ ก็ยงั ต้ องฝึ กฝนวิชานินจา
และการควบคุมปี ศาจที่สถิตร่างอยู่ด้วยซ ้า ส่วนเคนจิในทเวนตี ้ฯ ก็ไม่ได้ มีร่างกายกายา หรื อ
พลังฝี มือใดใดนอกจากความกล้ า) ซึง่ ก็สอดคล้ องกับแนวทางการสร้ างตัวละครในสื่ออื่นๆ เช่น
ในภาพยนตร์ ที่ระยะหลังๆ ก็มีการสร้ างภาคใหม่ของเรื่ องราวพระเอกซูเปอร์ ฮีโร่อย่างแบทแมน
หรื อสไปเดอร์ แมนด้ วยการย้ อนกลับไปเล่าที่มา ปมในอดีตของตัวละครเช่นกัน
327

และเมื่อตัวละครเอกในการ์ ตนู ยุคนี ้มีความเป็ นมนุษย์มากขึ ้นจึงทาให้ พระเอกเหล่านี ้ไม่ได้


ทาเพื่อสังคม หรื อเพื่อประเทศชาติเหมือนเช่นงานวิจยั ที่ภัทรหทัย มังคะดานะรา (2541) ค้ น
พบว่าวีรบุรุษในหนังสือการ์ ตนู ญี่ปนุ่ (2536-2540) ส่วนใหญ่แม้ ออกเดินทางเพื่อค้ นหาบางสิ่งเพื่อ
ตนเองแต่ท้ายที่สดุ ก็ต้องทาเพื่อสังคม เพื่อประเทศชาติ แต่พระเอกในการ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่ศกึ ษา
ครัง้ นี ้มีตวั ละครที่ทาตามความฝั นส่วนตัวเป็ นหลักมากกว่าทาเพื่อส่วนรวมอยู่ 2 เรื่ อง และทัง้ 2
เรื่ องเป็ นเรื่ องที่ได้ รับความนิยมอย่างมาก นัน่ คือลูฟี่ ในวันพีซ ที่ออกเดินทางเพื่อทาตามความฝั น
ของการเป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ และนารูโตะในนินจาคาถาฯ ที่ตอ่ สู้กบั ผู้อื่นเพื่อให้ ได้ มาซึง่ การเป็ น
ผู้ปกครองหมูบ่ ้ านนินจาที่เก่งที่สดุ (ไม่ได้ เพื่อคนอื่นแต่เพื่อตนเองได้ รับการยอมรับจากสังคม)
ตัวละครเอกอย่างลูฟี่ และนารูโตะ ที่ได้ ลบล้ างภาพของฮีโร่ที่เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตนในการ์ ตนู ยุคสิบกว่าปี ก่อนจึงเป็ นตัวละครที่สะท้ อนภาพเด็กและเยาวชนในยุค
ปั จจุบนั ได้ เป็ นอย่างดีวา่ คนรุ่นใหม่มกั ทาอะไรตามใจตนมากขึ ้น หรื ออาจเรี ยกได้ วา่ สะท้ อนภาพ
ความ “เห็นแก่ตวั ” ของมนุษย์ในยุคนี ้ได้ อย่างดี
ในขณะที่นิสยั ใจคอภายในตัวละครพระเอกเริ่มแสดงถึงความเป็ นปั จเจกเพื่อสะท้ อน
มนุษย์ในโลกแห่งความจริง การออกแบบคาแร็ คเตอร์ ภายนอกของพระเอกส่วนใหญ่ก็เป็ นไปใน
ทิศทางเดียวกันเพราะภาพของพระเอกรูปร่างกายา กล้ ามเป็ นมัดๆ แบบพระเอกการ์ ตนู ผู้ชายใน
ยุคก่อนนันไม่ ้ มีอีกต่อไป แต่เราจะเห็นพระเอกรูปร่างผอมเพรี ยว เรี ยว ยาวเกินจริง เหมือนเช่นลูฟี่
และกลุม่ โจรสลัดหมวกฟางในวันพีซ ชินอิจิในยอดนักสืบจิ๋ว หรื อแอลและไลท์ในเดธโน้ ต ซึง่
สะท้ อนภาพดารา นักร้ องวัยรุ่นญี่ปนชายในยุ
ุ่ คนี ้ที่นิยมรูปร่างอ้ อนแอ้ นมากกว่าจะบึกบึน
8.6 หมดยุคตัวละครคูห่ ู
แม้ โทริยาม่า อากิระ (ผู้เขียนดราก้ อนบอล) จะกล่าวว่าการสร้ างตัวละครคูห่ ู เป็ นวิธีการ
หนึง่ ที่ทาให้ คาแร็ คเตอร์ ตวั ละครนันๆ้ น่าสนใจมากขึ ้น แต่ในปั จจุบนั การสร้ าง “คูห่ ”ู ที่เคยมีข้อดี
เพราะเล่นกับคาแร็ คเตอร์ ที่แตกต่างระหว่างคูห่ เู พื่อสร้ างการจดจาแก่ผ้ อู า่ น (เหมือนเช่นอาราเล่
กับกัต๊ จังในเรื่ องหนูน้อยอาราเล่กบั ดร.สลัมป์) กลับใช้ ไม่ได้ ผลกับเรื่ องที่ “สร้ างตัวละครแบบกลุม่ ”
เพราะเมื่อแนวโน้ มการเขียนการ์ ตนู มีความยาวมากขึ ้น ตัวละครคูห่ ทู ี่ไปไหนไปกัน แต่นิสยั
ความสามารถแตกต่างกันอาจทาให้ ตวั ละครตัวใดตัวหนึ่งไม่มีบทบาทต่อเรื่ องได้ (เพราะแนวทาง
การออกแบบตัวละครคูห่ ยู อ่ มต้ องมีตวั ละครที่ดเู ป็ นตัวรอง หรื อเป็ นตัวเสริมให้ ตวั ละครหลักอีกตัว
ดูเด่นมากกว่า) เหมือนเช่นเท็นชินฮังกับเกี๊ยวซ่า (เจาสึ) ในดราก้ อนบอล ที่เกี๊ยวซ่าไม่คอ่ ยมีบทใน
ระยะหลัง เพราะไม่เก่งเรื่ องต่อสู้แต่จาต้ องปรากฏตัวพ่วงมากับคูห่ จู นทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สกึ ว่าเกี๊ยวซ่า
นัน้ “ถูกทิ ้ง” และ “ไม่จาเป็ น” ต่อเรื่ อง
328

ในขณะที่ตวั ละครคูห่ อู าจไม่เหมาะกับแนวทางการสร้ างคาแร็คเตอร์ ในปั จจุบนั ที่มงุ่ ขาย


เรื่ องขนาดยาว แต่ตวั ละครน่าสนใจที่พบร่วมกันในงานวิจยั ชิ ้นนี ้ก็คือ
-“ตัวละครสวมหน้ ากากลึกลับ” โดยปรากฏในทเวนตี ้ฯ และนินจาคาถาฯ ซึง่ ทังสอง ้
เรื่ องสร้ างตัวละครฝ่ ายร้ ายคนสาคัญของเรื่ องที่อาพรางใบหน้ าขึ ้นมาเพื่อดึงดูดผู้อา่ นไปจนถึงตอน
จบ
-ตัวละครที่เล่นกับ”ความขัดแย้ ง” โดยสร้ างให้ คาแร็ คเตอร์ ภายนอกขัดแย้ งกับนิสยั หรื อ
บทบาทที่ได้ รับก็ยงั คงใช้ ได้ ดี เหมือนเช่นตัวละครอย่างผู้เฒ่าเต่า ในดราก้ อนบอลหรื ออาจารย์ของ
พระเอกในนินจาคาถาฯ อย่างจิไรยะที่ภายนอกดูเป็ นคนลามกธรรมดาๆ แต่แท้ จริ งภายในซ่อน
พลังฝี มือสูงส่งซึง่ กลวิธีสร้ างตัวละครเช่นนี ้ย่อมสร้ างความคาดไม่ถึงให้ กบั ตัวละครรอบข้ างและ
ผู้อา่ นได้ ดี
-ตัวละคร “ฮีโร่ปลอม” อย่างบากี ้ในวันพีซ และมิสเตอร์ ซานตานในดราก้ อนบอล ที่
โชคชะตาเล่นตลกให้ กลายเป็ นฮีโร่แทนพระเอกทังๆ ้ ที่โดยเนื ้อแท้ นนไร้
ั ้ ฝีมือโดยสิ ้นเชิง
8.7 ตัวละครร่วมสมัย เป็ นสากลเข้ าถึงผู้อ่านวงกว้ าง
การสร้ างตัวละครที่เข้ าถึงผู้อ่านในวงกว้ างได้ ดีส่วนหนึง่ เกิดจากการสร้ างคาแร็ คเตอร์ ให้
ร่วมสมัย เหมือนเช่นนารูโตะ พระเอกในนินจาคาถาฯ ที่มีผมสีส้มทอง แปลกโดดออกมาจาก
พระเอกเรื่ องอื่นๆ ซึง่ นอกจากจะเข้ าถึงใจวัยรุ่นที่เปลี่ยนสีผมกันเป็ นว่าเล่นแล้ ว ยังเข้ าถึงกลุม่
ผู้อา่ นต่างชาติโดยเฉพาะฝั่ งตะวันตกด้ วย นอกจากนี ้ในตัวนารูโตะยังมีจิ ้งจอกเก้ าหางสัตว์ใน
ตานานจริงของญี่ปนอยู ุ่ ใ่ นตัว จึงทาให้ นารูโตะเป็ นตัวละครที่ผสมผสานความเก่า-ใหม่ และความ
เป็ นสากลจนเข้ าถึงผู้อ่านได้ หลากหลายวัย และเป็ นสากล
8.8 ตัวละครเอกน่าจดจาไม่จาเป็ นต้ องหล่อเท่อย่างเดียว
แนวทางการสร้ างตัวละครเอกในปั จจุบนั ไม่ได้ เน้ นรูปลักษณ์ภายนอกที่ดู หล่อ เท่ไว้ ก่อน
อีกต่อไป สังเกตได้ จากผู้ร้ายบางเรื่ องยังหล่อกว่ากว่าพระเอกด้ วยซ ้า (เหมือนเช่นในนินจาคาถาฯ
และเดธโน้ ต) โดยในเดธโน้ ตนันแทบไม่ ้ เผยให้ เห็นนิสยั ใจคอของพระเอกอย่าง “แอล” เลยแต่ก็
สามารถมัดใจผู้อา่ นได้ ด้วยการออกคาแร็ คเตอร์ ภายนอกของตัวละครให้ ไม่เหมือนใคร เพราะ
“แอล” นันแปลกแยกไปจากภาพของพระเอกส่
้ วนใหญ่เพราะนอกจากขอบตาจะดาคล ้า (เหมือน
เขียนขอบตาแบบพังก์) ยังชอบยืนหลังค่อม นัง่ ยองๆ บนเก้ าอี ้ ซึง่ รายละเอียดในการออกแบบ
ท่วงท่า อิริยาบถของตัวละครเหล่านี ้นี่เองที่สร้ างภาพจาให้ เกิดแก่ผ้ อู า่ น เช่นเดียวกับลูฟี่ใน
วันพีซ ก็ไม่ใช่พระเอกที่ดหู ล่อเหลาอะไร แต่ด้วยความมุมานะ การเคารพและเชื่อใจคนรอบข้ าง
329

รวมทัง้ “ความเป็ นขบถ” ในตัว (เหมือนเช่นนารูโตะในนินจาคาถาฯ) ต่างหากที่ทาให้ ตวั ละครเอก


เหล่านี ้ดูน่าจดจา
8.9 ตัวละครสมบูรณ์แบบคือตัวละครที่ไม่สมบูรณ์แบบ
การสร้ าง “จุดอ่อน” ให้ ตวั ละครยังคงเป็ นแนวทางการสร้ างตัวละครที่ดีไม่วา่ จะยุคสมัยใด
ก็ตาม เพราะตัวละครเอก หรื อตัวละครที่รับบทเด่นในการ์ ตนู ญี่ปนต่ ุ่ างมีจดุ อ่อนเพื่อให้ เรื่ อง
สามารถใส่อปุ สรรคที่เกิดจากจุดอ่อนเหล่านี ้ใส่เข้ ามาในเรื่ องได้ อย่างสมเหตุผล และยังทาให้ เกิด
เหตุการณ์ไม่คาดคิดขึ ้นได้ อีกด้ วย เหมือนเช่น จุดอ่อนที่หางของโงคู (ในวัยเด็ก) ทาให้
สถานการณ์พลิกผันจากที่ควรเป็ นผู้ชนะก็กลับพ่ายแพ้ ในการต่อสู้ได้ หรื อโคนันในยอดนักสืบจิ๋วฯ
ก็มีจดุ อ่อนเรื่ องความเป็ นเด็กที่ทาให้ เมื่อต้ องต่อสู้กบั ผู้ใหญ่ยอ่ มเสียเปรี ยบเรื่ องความแข็งแรงของ
ร่างกาย หรื อนารูโตะในนินจาคาถาฯ แม้ จะได้ พลังพิเศษจากปี ศาจที่สถิตร่างแต่ก็มีจดุ อ่อนที่ยงั
ไม่สามารถควบคุมพลังจากปี ศาจนันได้ ้ ซึง่ จุดอ่อน จุดด้ อยของตัวละครเหล่านี ้นอกจากจะ
ทาให้ เรื่ องราว “ไปต่อได้ ” แล้ วยังทาให้ ผ้ อู า่ นรู้สึก “รัก” ตัวละครที่ไม่เก่งกาจเหนือมนุษย์จนเกินรับ
ได้ แถมยังทาให้ ได้ “ลุ้น” กับการที่ตวั ละครต้ องฟั นฝ่ าอุปสรรค “จุดอ่อน” ของตนเองไปพร้ อมกัน
ด้ วย ดังนันจึ
้ งอาจกล่าวได้ วา่ การสร้ างตัวละครที่ดีที่สมบูรณ์แบบจึงต้ องไม่ลืมที่จะสร้ างตัว
ละครที่ไม่สมบูรณ์แบบหรื อสร้ าง “จุดอ่อน” ให้ กบั ทุกตัวละคร
8.10 บทบาทนางเอกยุคใหม่แกร่งกล้ าไม่แพ้ ผ้ ชู าย
ตัวละครนางเอกในการ์ ตนู ญี่ปนปั ุ่ จจุบนั มีความสามารถ หรื อมีฝีมือด้ านการต่อสู้มากขึ ้น
แม้ วา่ รูปร่างหน้ าตาภายนอกจะยังคงเน้ นให้ สวยงามไว้ ก่อน (ตาโต ผม ยาว ผอม สูง) เห็นได้ จาก
รันในยอดนักสืบจิ๋วฯ แฮนค็อกในวันพีซ และซากุระในนินจาคาถาฯ ที่ตา่ งมีฝีมือติดตัวระดับแนว
หน้ า จนเป็ นที่ยอมรับในโลกที่พวกเธออาศัยอยู่ และที่สาคัญกว่านันคื
้ อตัวละครนางเอกหญิง
เหล่านี ้ใช้ ความสามารถที่มีช่วยเหลือ “พระเอก” ในยามคับขันได้ อีกด้ วย (เช่นแฮนค็อกช่วย
พระเอกแหกคุกสาเร็จ) จนเรี ยกได้ ว่าหมดยุคที่นางเอกจะเป็ นผู้ออ่ นแอรอความช่วยเหลือจาก
พระเอกฝ่ ายเดียวอีกต่อไป ซึง่ ก็สะท้ อนถึงการให้ ความสาคัญของสถานะของ “เพศหญิง” ใน
สังคมญี่ปนมากขึ
ุ่ ้นเช่นกัน
9. ลายเส้ น : ลายเส้ นไม่ สาคัญเท่ าเนือ้ เรื่ อง
ลายเส้ นของนักเขียนการ์ ตนู ที่เปรี ยบเหมือนลายเซ็น หรื อตัวตนของผู้เขียน (ภาพ) แม้ จะมี
ความสาคัญในการ “สร้ างความประทับใจเมื่อแรกพบ” (first impression) เป็ นตัวดึงดูดให้ คน
อยากหยิบขึ ้นมาอ่านก็จริ งอยู่ แต่หากลายเส้ นสวย เนี ้ยบ ทว่าเรื่ องราวกลับไม่ได้ เรื่ องก็คง
หลอกล่อผู้อา่ นได้ เพียงประเดี๋ยวประด๋าว องค์ประกอบของการเล่าเรื่ องที่แข็งแรงต่างหากที่จะ
330

ช่วยพยุงให้ การ์ ตนู ที่ลายเส้ นสวยมีโอกาสได้ ตีพิมพ์ตอ่ เนื่อง ยาวนานพอจะสร้ างความน่าประทับใจ


ในเรื่ องราวหรื อสร้ างคาแร็ คเตอร์ ที่นา่ จดจาได้ เหมือนเช่นวันพีซซึง่ สะท้ อนคากล่าวข้ างต้ นได้
เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นการ์ ตนู ที่มีลายเส้ นโดยรวม (ที่เกิดจากการลงน ้าหนักเส้ น การติดสกรี น
การวาดสัดส่วน รูปร่างหน้ าตาตัวละคร รวมทังรายละเอี ้ ยดในฉากทังหมด) ้ เรี ยกได้ วา่ “ไม่สวย”
สักเท่าไหร่ การลงเส้ นไม่มีน ้าหนักมากนัก สัดส่วนตัวละครก็ไม่ใช่เกินจริงจนสุดโต่ง แถมยังมี
รายละเอียดในฉากเยอะจนเกือบจะดูรกด้ วยซ ้า แต่ทาไมวันพีซถึงเป็ นการ์ ตนู ที่ครองใจผู้อา่ นใน
ญี่ปนรวมทั
ุ่ งในไทย
้ และอีกหลายๆ ประเทศทัว่ โลกได้ อย่างยาวนานจนถึงปั จจุบนั นัน่ เพราะ
มีองค์ประกอบการเล่าเรื่ องที่แข็งแรงมากพอ ทังการสร้ ้ างคาแร็ คเตอร์ ที่แตกต่าง การกระจาย
บทบาทตัวละครให้ เท่าเทียมกันเพื่อสร้ างตัวละครกลุม่ ให้ แข็งแรง การซ่อนปมย่อย ปมหลักที่
ค่อยๆ ปล่อยร่องรอยออกมาจนคาดไม่ถึงฯลฯ เหล่านี ้ล้ วนบ่งบอกได้ เป็ นอย่างดีวา่ การ์ ตนู ที่
ลายเส้ นสวยเพียงอย่างเดียวไม่อาจดึงดูดคนอ่านได้ ในระยะยาว แต่ในทางตรงกันข้ ามการ์ ตนู ที่มี
องค์ประกอบของการเล่าเรื่ องที่ดีทงเนื ั ้ ้อเรื่ องที่แข็งแรง การเดินเรื่ องที่นา่ ดึงดูด และตัวละครที่
น่าสนใจต่างหากที่จะช่วยพยุงให้ การ์ ตนู ที่ลายเส้ นไม่สวยกลายเป็ นดูมีเอกลักษณ์เฉพาะตนขึ ้นมา
และย่อมทาให้ เรื่ องราวคงอยู่ได้ ในระยะยาว
แม้ ลายเส้ นดูเหมือนไม่ใช่ปัจจัยสาคัญอันดับแรกของการเขียนการ์ ตนู ให้ ขายได้ ในระยะ
ยาว แต่ก็ใช่ว่าจะไม่สาคัญเสียเลย เพราะถ้ าเรื่ องดีอยูแ่ ล้ ว ลายเส้ นที่สวยงามย่อมช่วยขับเสริม
กันก็ยิ่งจะทาให้ การ์ ตนู เรื่ องนันเป็ ้ นที่จดจา และกล่าวขวัญถึงเหมือนเช่นเดธโน้ ต ที่นอกจากเรื่ องจะ
แปลกใหม่แล้ ว การออกแบบลายเส้ นยังสวยงามในแบบวัยรุ่นยุคใหม่ ที่โตมากับการดูอนิเมะ (แอนิ
เมชัน่ ญี่ปน) ุ่ ที่ลายเส้ นค่อนข้ างเล็กบาง ดูซบั ซ้ อน
แต่ไม่วา่ ลายเส้ นของนักเขียนจะเป็ นเอกลักษณ์แตกต่างกันอย่างไร สิ่งสาคัญคือต้ อง
เขียนให้ “เข้ ากับเรื่ อง” และเข้ ากับ “ผู้อา่ นเรื่ อง” เหมือนเช่นเดธโน้ ตที่ใช้ เส้ นบาง ซับซ้ อนก็ทาให้
เข้ ากับโทนเรื่ องที่ลกึ ลับซับซ้ อน และเข้ าถึงวัยรุ่นในปั จจุบนั ได้ ดี หรื อลายเส้ นเรี ยบง่าย เน้ น
รูปทรงกราฟิ กแบบดราก้ อนบอล ก็ยอ่ มเป็ นไปในทางเดียวกันกับโครงเรื่ องที่เน้ นต่อสู้มีเพียง
ประเด็นแพ้ -ชนะกันอย่างเดียว และเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นเด็กได้ ดีเช่นกัน
10. การเล่ าเรื่องผ่ านเทคนิคการ์ ตูน
ศักยภาพของการ์ ตนู จะปรากฏสูงสุดได้ ยอ่ มหมายถึงผู้เขียนเข้ าใจการสื่อความแบบ
“การ์ ตนู ” อย่างถ่องแท้ ซงึ่ ในที่นี ้หมายถึงการเข้ าใจการวาดการ์ ตนู ช่องแบบญี่ปนุ่ เหมือนเช่น
ผู้เขียนวันพีซ และทเวนตี ้ฯ ที่เดินไปตามรอยของเท็ตสึกะ โอซามุ ปรมาจารย์นกั เขียนการ์ ตนู
ญี่ปนที ุ่ ่เป็ นต้ นแบบการวาดการ์ ตนู ให้ เหมือนภาพยนตร์ นัน่ คืออาศัยเทคนิคทางการ์ ตนู ทังการวาด ้
331

ขนาดและจานวนของกรอบหรื อช่อง เพื่อสร้ างมิติด้านความเร็ว-ช้ าเหมือนการตัดภาพหรื อการ


เคลื่อนกล้ อง และการใช้ มมุ มองของภาพที่แตกต่างเพื่อเสริมสร้ างอารมณ์ให้ กบั เรื่ อง
โดยทเวนตี ้ฯ นันอาจเรี้ ยกได้ วา่ เป็ นการ์ ตนู ที่เหมือนภาพยนตร์ อย่างมากทังในแง่ ้ วิธีการเล่า
เรื่ องที่ตดั ไป-มาสูเ่ หตุการณ์ที่หลากหลาย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่การเล่าผ่านภาพ โดยใช้
วิธีการเปลี่ยนระยะภาพและการนาเสนอมุมภาพเพื่อขับเน้ นอารมณ์ บรรยากาศในเรื่ องเหมือน
ภาพยนตร์ (ในขณะที่การ์ ตนู ส่วนใหญ่ไม่ใช้ เทคนิคเหล่านี ้เข้ าช่วย) จนทาให้ ทเวนตี ้ฯ เป็ นการ์ ตนู ที่
ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของตัวละคร รวมทังบรรยากาศของฉาก ้ เหตุการณ์ผา่ นภาพได้ เป็ น
อย่างดีโดยที่แทบไม่ต้องใช้ คาพูด หรื อบทสนทนาให้ มากความ
ส่วนผู้เขียนวันพีซก็เรี ยกได้ ว่า “กล้ า” ในการใช้ มมุ ภาพแปลกตา เช่นมุมเงย มุมกด มุม
เอียง จนทาให้ ภาพในวันพีซถ่ายทอดความเป็ นแฟนตาซีออกมาได้ อย่างสุดขัว้ ซึง่ การใช้ มมุ
ภาพแปลกตา (ในแบบที่ภาพยนตร์ ยงั ทาได้ ยาก) เช่นนี ก้ ็ยงั ขับเสริมเรื่ องราวให้ สนุกสนาน และ
อิสระเสรี สอดคล้ องกับเรื่ องราวของโจรสลัดได้ เป็ นอย่างดีอีกด้ วย
และนอกจากการใช้ มมุ กล้ องที่แปลกแยกแล้ ว วันพีซยังฉีกแนวคิดเรื่ องการใช้ “กรอบ” หรื อ
“ช่อง” ขนาดใหญ่เพียงกรอบเดียว (หรื อมีจานวนกรอบน้ อยเข้ าไว้ ) เพื่อเน้ นฉากต่อสู้หรื อฉาก
สาคัญให้ ดยู ิ่งใหญ่ตระการตาอีกด้ วย เพราะกลับเน้ นการซอยย่อยจานวนกรอบให้ มีขนาดเล็กลง
แต่มีจานวนมากขึ ้นเพื่อเผยให้ เห็นปฏิกิริยาของตัวละครกลุม่ พระเอกให้ ครบถ้ วนซึง่ ก็เป็ นอีก
หนทางหนึง่ ที่ชว่ ยขับเน้ นฉากสาคัญให้ มีพลังได้ ดีไม่แพ้ กนั
11. สุนทรียรส: รสแห่ งความกล้ าหาญ ปลุกคนอ่ านฮึกเหิม
สุนทรี ยรสที่ผ้ อู า่ นได้ รับผ่านการ์ ตนู ญี่ปนทุ ุ่ กเรื่ อง ก็คือการสร้ างตัวละครที่เปี่ ยมด้ วยความ
กล้ าหาญ มุมานะที่จะไปสูค่ วามฝั น หรื อเป้าหมายในชีวิต เหมือนเช่นลูฟี่ที่มงุ่ มัน่ ในการเป็ นเจ้ า
แห่งโจรสลัด นารูโตะตังใจจะเป็ ้ นผู้ปกครองหมูบ่ ้ านนินจา หรื อกระทัง่ ผู้ร้ายอย่างไลท์ก็ยงั ใช้ เดธ
โน้ ตเพื่ออุดมการณ์อยากเห็นโลกสงบสุข
สุนทรี ยรสแห่งความกล้ าหาญ หรื อ “วีรรส” ข้ างต้ นเหล่านี ้ล้ วนสะท้ อนและตอกย ้าลักษณะ
นิสยั ของคนญี่ปนที ุ่ ่เรี ยกว่า “กัม-บัต-เตะ (Gambatte) และ ไฟต์-โตะ (Fighto)” หรื อแปลเป็ นไทย
ในทานองว่า “ความพยายาม” หรื อความมี “จิตใจนักสู้” ซึง่ ก็ตรงกับงานวิจยั ของพรวลัย เบญจ
รัตนสิริโชติ (2549) ที่พบว่าการ์ ตนู ญี่ปนส่ ุ่ วนใหญ่มกั ถ่ายทอดลักษณะความพยายามของคน
ญี่ปนผ่ ุ่ านเรื่ องราวอย่างชัดเจน การถ่ายทอดความเป็ น “คนญี่ปน” ุ่ ซึง่ สะท้ อนวิธีคิด สังคม
และวัฒนธรรมลงไปในเรื่ องราวเช่นนี ้ นอกจากจะทาให้ ผ้ อู า่ นตื่นเต้ น แอบลุ้นไปกับตัวละครที่ไม่
332

ลดละความพยายามแล้ ว ยังเป็ นกลวิธีที่ช่วยเผยแพร่วฒ


ั นธรรมแบบญี่ปนอั
ุ่ นดีงามได้ อีกทางหนึง่
ด้ วย

ปลูกเรื อนตามใจผู้อยู่-เขียนการ์ ตูนตามใจผู้อ่าน


นอกจากการใช้ เทคนิคของการเล่าเรื่ อง และเทคนิคเฉพาะของสื่อการ์ ตนู มาช่วยเล่าเรื่ อง
ให้ นา่ ดึงดูดแล้ ว สิ่งสาคัญที่จะช่วยให้ การ์ ตนู คงอยู่ได้ จริงคงไม่อาจมองแค่ “ตัวสื่อ” เท่านัน้
เพราะต้ องมองไปถึง “เป้าหมาย” ซึง่ ก็คือผู้อา่ นการ์ ตนู เป็ นสาคัญ เพราะแนวโน้ มการผลิตสื่อใน
ปั จจุบนั ย่อมต้ องย้ อนกลับมาเริ่มที่ตวั ผู้รับสาร (ผู้อา่ น) ก่อนย้ อนกลับมาที่ตวั ผู้ผลิตว่าจะผลิต -
สร้ างสรรค์อย่างไรให้ ถกู ใจผู้อา่ น ซึง่ อาจแยกแยะวิธีการเล่าเรื่ องให้ เข้ าถึงกลุม่ ผู้อ่านที่แตกต่าง
กันดังนี ้

1. พิจารณาวัยของผู้อา่ น
อายุเข้ ามามีบทบาทกาหนดเนื ้อหา และวิธีการเล่าเรื่ องอย่างปฏิเสธไม่ได้ โดยเรื่ องที่
กาหนดกลุม่ เป้าหมายให้ เป็ นผู้อ่านที่มีอายุค่อนข้ างน้ อยระดับประถมปลายขึ ้นไปเหมือนเช่น
ดราก้ อนบอล และยอดนักสืบจิ๋วฯ จะส่งผลต่อแนวเรื่ องที่มีความเป็ นแฟนตาซีสงู (หรื อแม้ เรื่ องไม่
แฟนตาซีก็ต้องทาให้ มีแฟนตาซีหรื ออภินิหาร ความเหนือจริงเข้ าช่วยเหมือนเช่นยอดนักสืบจิ๋วฯ)
ส่วนโครงเรื่ องก็มีความซับซ้ อนน้ อย มีโครงเรื่ องย่อยไม่มากนัก การวางปม ซ่อนปม ความขัดแย้ ง
หรื ออุปสรรคของเรื่ อง การใส่แก่นความคิด และสัญลักษณ์ก็มีจานวนน้ อยเช่นกัน ส่วนตัวละคร
อาจมีจานวนมากหรื อน้ อยก็ได้ แต่ตวั ละครจะไม่มีที่มาที่ไป ไม่มีความสูญเสียในอดีตแบบผู้ใหญ่
มากนัก ตัวละครส่วนใหญ่จงึ มักเป็ นตัวละครแบบแบน ที่ทาให้ คนอ่านมองไม่คอ่ ยเห็นความคิด
ความรู้สกึ เท่าที่ควร (เหมือนเช่นโคนันในยอดนักสืบจิ๋วฯ และโงคูในดราก้ อนบอล)
นอกจากนี ้อายุของตัวละครเอกในเรื่ องยังสัมพันธ์กบั กลุม่ ผู้อา่ นด้ วย ยิ่งผู้อา่ นวัยเด็กตัว
ละครก็ควรอยูใ่ นช่วงวัยเดียวกัน ซึง่ เรื่ องที่ออกแบบตัวละครได้ ดีก็คือโคนันในยอดนักสืบจิ๋วฯ ที่
ออกแบบตัวละครเพียงตัวเดียวแต่มีสองวัยในร่างเดียวกัน (คือเด็กประถมและมัธยมปลายเพราะ
พระเอกอย่างชินอิจิร่างหดเล็กลงเป็ นเด็ก) จึงทาให้ การออกแบบตัวละครเอกเข้ าถึงกลุม่ ผู้อา่ นได้
หลากหลายวัยมากขึ ้น ส่วนการออกแบบลายเส้ นตัวละครก็เน้ นเส้ นเรี ยบง่าย สะอาดตา
สัดส่วนตัวละครเกินจริง ใช้ การติดสกรี นค่อนข้ างมาก และรายละเอียดในฉากน้ อย
ดังนันในทางตรงกั
้ นข้ ามกับผู้อ่านที่เป็ นวัยรุ่ น หรื อตังแต่
้ มธั ยมขึ ้นไป อย่างเดธโน้ ต
นินจาคาถาฯ วันพีซ และทเวนตี ้ฯ ย่อมต้ องมีโครงเรื่ องย่อยมากขึ ้น มีปมปั ญหาที่ซบั ซ้ อนซ่อน
333

เงื่อนมากขึ ้น ตัวละครเป็ นแบบกลมที่ไม่ได้ มีความเก่งกาจเหนือมนุษย์ ลายเส้ นละเอียด ซับซ้ อน


รวมทังใช้
้ เทคนิคการเล่าเรื่ องแบบภาพยนตร์ ผา่ นมุมกล้ องแปลกตา และระยะภาพที่หลากหลายก็
มีมากขึ ้นตามไปด้ วย ซึง่ ความแตกต่างระหว่างวัยของผู้อา่ นที่สง่ ผลต่อวิธีการเล่าเรื่ องและการใช้
เทคนิคการ์ ตนู ผ่านการเล่าเรื่ องนันอาจสรุ
้ ปได้ ดงั นี ้

กลวิธีเล่ าเรื่องตาม ผู้อ่านเป็ นเด็ก (ประถมปลาย) ผู้อ่านเป็ นวัยรุ่ นไปจนถึงผู้ใหญ่


วัยผู้อ่าน
แนวเรื่ อง มีความแฟนตาซีสงู มีความแฟนตาซีแต่ก็เน้ นเรื่ องราวสมจริ งด้ วย
โครงเรื่ อง โครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อน มีโครงเรื่ องย่อยไม่ โครงเรื่ องซับซ้ อน มีโครงเรื่ องย่อยจานวน
มากนัก มาก
ความขัดแย้ ง/ปม จานวนปมปั ญหามีไม่มากนัก ไม่เน้ น จานวนปมปั ญหามีมาก และเน้ นการซ่อน
ปั ญหา การวางปม และคลีค่ ลายปมมากนัก ปม-คลีค่ ลายเพื่อสร้ างความคาดไม่ถึง
แก่นเรื่ อง แก่นเรื่ องไม่มาก และไม่ซบั ซ้ อนเช่น แก่นเรื่ องหลากหลาย และซับซ้ อน
ธรรมะย่อมชนะอธรรม
มุมมองการเล่าเรื่ อง ใช้ มมุ มองผู้ร้ ูรอบด้ านและมุมมอง เล่นกับมุมมองการเล่าเรื่ องหลากหลายขึ ้น
บุคคลที่ 1 เป็ นหลัก เช่นมุมมองบุคคลที่ 3 (ทเวนตี ้ฯ)
สัญลักษณ์ ใช้ สญ
ั ลักษณ์จานวนน้ อย ใช้ สญ ั ลักษณ์จานวนมากและสะท้ อนแก่น
เรื่ อง
การสร้ างตัวละคร ตัวละครแบน เป็ นวีรุบรุ ุษเหนือจริง มี ตัวละครกลม เป็ นมนุษย์จริง มีอายุในช่วง
อายุน้อยตามผู้อา่ น วัยรุ่น หรื อวัยผู้ใหญ่ตามผู้อา่ น
ลายเส้ น ลายเส้ นเรี ยบง่าย ชัดเจน เน้ นสัดส่วน ลายเส้ นซับซ้ อน ละเอียดมากขึ ้น สัดส่วนตัว
ตัวละครเกินจริ งเพื่อสร้ างอารมณ์ขนั ละครสมจริ งเข้ ากับโทนเรื่ องจริงจังมากขึ ้น
การใช้ เทคนิคการ์ ตนู ไม่คอ่ ยใช้ เทคนิคการ์ ตนู ช่วยเล่าเรื่ อง ใช้ เทคนิคการ์ ตนู เล่าเรื่ องมากขึ ้น
สุนทรี ยรส เน้ นรสแห่งความตลก (หาสยรส) เน้ นรสแห่งความลึกลับ (อัทภูตรส)

ตารางที่ 33 กลวิธีการเขียนการ์ ตูนตามวัยของผู้อ่าน

อาจกล่าวได้ วา่ หากนักเขียนการ์ ตนู รู้แน่ชดั ว่าต้ องการเขียนเรื่ องเพื่อกลุม่ ผู้อา่ นที่มีวยั
เช่นใด ย่อมต้ องสร้ างองค์ประกอบการเล่าเรื่ องข้ างต้ นให้ สอดคล้ องกับวัยของกลุม่ ผู้อา่ น เพราะ
หากผู้เขียนยังดันทุรังเขียนเรื่ องตามแต่ใจตัวโดยไม่มองกลุม่ ผู้อา่ นและความถนัด-ความชื่นชอบ
ของตัวเอง (เช่นเป็ นคนเขียนลายเส้ นละเอียดยิบ แต่อยากเล่าเรื่ องง่ายให้ เด็กๆ ชอบ) ก็คงไม่
สามารถทาให้ การ์ ตนู เรื่ องนันวางขายได้
้ จริงและคงไม่มีคนซื ้ออ่านได้ ยาวนาน
334

2. พิจารณาจากเพศของผู้อ่าน
แนวโน้ มของผู้อา่ นการ์ ตนู ปั จจุบนั มีการก้ าวข้ ามเส้ นแบ่งของคาว่าการ์ ตนู ผู้ชาย-ผู้หญิง
มากกว่าสมัยก่อน โดยเฉพาะผู้หญิงที่ชอบอ่านการ์ ตนู แบบผู้ชาย (ที่เน้ น การแข่งขัน การผจญภัย
มีเรื่ องราวพลิกผัน) มากขึ ้น (วรวุฒิ วรวิทยานนท์, สัมภาษณ์, 23 สิงหาคม 2554) ดังนัน้
ด้ วยปรากฏการณ์ดงั กล่าวจึงส่งผลต่อการเขียนเรื่ องราวของการ์ ตนู ที่ไม่ได้ เน้ นการต่อสู้แบบจริงจัง
เหมือนการ์ ตนู ผู้ชายยุคแรกๆ อย่างหมัดดาวเหนือ หรื อ โรงเรี ยนลูกผู้ชาย ดังนันจะสั ้ งเกตได้ วา่
การ์ ตนู ยอดนิยมที่เลือกมาศึกษาเหล่านี ้จะมีจดุ ดึงดูดที่ทาให้ เรื่ องเข้ าถึงผู้อา่ นได้ ทงชายและหญิ
ั้ ง
เหมือนเช่นดราก้ อนบอลที่แม้ จะเน้ นฉากต่อสู้ แต่ก็เป็ นการต่อสู้ที่ไม่ขบั เน้ นเลือด ภาพรุนแรง และ
มีฉากตลกเข้ ามาช่วยทาให้ เรื่ องดูเบาลงเข้ าถึงผู้หญิงได้ มากขึ ้น หรื อในเดธโน้ ตซึง่ เป็ นตัวอย่างที่ดี
สาหรับการออกแบบตัวละครที่เข้ าถึงทังชายและหญิ ้ ง เพราะตัวละครพระเอกไม่ได้ หล่อเหลา
เกินหน้ าผู้อา่ นชายด้ วยกันจนน่าหมัน่ ไส้ และด้ วยบุคลิกที่แปลก แตกต่างในท่วงท่าของตัวละครจึง
ทาให้ ผ้ หู ญิงเองก็ชื่นชอบไม่แพ้ ตวั ละครที่หล่อเหลาเช่นกัน
จากการออกแบบเรื่ องราวให้ สอดคล้ องกับวัย และเพศของผู้อา่ นทาให้ เห็นว่าการ์ ตนู เรื่ อง
ที่ขายได้ มากและอยูไ่ ด้ นานย่อมต้ องเป็ นการ์ ตนู ประเภท ที่เข้ าถึงคนอ่านทุกเพศ ทุกวัย เหมือนเช่น
ยอดนักสืบจิ๋วฯ โคนัน ที่สร้ างตัวละครให้ เป็ นเด็กไว้ ก่อน เรื่ องราวไม่ซบั ซ้ อนเกินไป ทังยั ้ งผสาน
ความสมจริงกับแฟนตาซีเข้ าด้ วยกัน (คดีการตายคือความสมจริง-นักสืบผู้ใหญ่กลายร่างเป็ นเด็ก
คือแฟนตาซี) จึงเข้ าถึงผู้อ่านได้ ในวงกว้ าง ซึง่ ก็ทาให้ ยอดนักสืบจิ๋วฯยังคงตีพิมพ์อย่างต่อเนื่อง
จนถึงปั จจุบนั
3. พิจารณาจากวิถีชีวิต ความเป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั ของผู้อา่ น
ตัวละครในการ์ ตนู ปั จจุบนั มีความแตกต่างหลากหลายของนิสยั ใจคอ และรูปลักษณ์
ภายนอกมากขึ ้น ไม่ได้ มีพิมพ์นิยมแบบพระเอกผมดา หล่อเหลา เก่งกาจเสมอไป นัน่ เพราะผู้เขียน
ได้ นาภาพแทนของเด็กวัยรุ่นในสังคมจริงมาสะท้ อนผ่าน “การ์ ตนู ” เหมือนเช่นนารูโตะ ในนินจา
คาถาฯ ที่มีผมสีส้มทอง สะท้ อนความเป็ นขบถในตัวเอง หรื อตัวละครกลุม่ พระเอกในวันพีซ ก็
ไม่ได้ มีแค่มนุษย์ แต่มี “ตัวประหลาด” อย่างช้ อปเปอร์ ที่เป็ นกวางเรนเดียร์ จมูกน ้าเงินที่เป็ นทังคน ้
และเป็ นทังกวางในร่
้ างเดียว หรื อกระทัง่ อุซปในวันพีซ ที่เป็ น “จอมโกหก” ประจาเรื อแต่ก็เป็ น
สมาชิกกลุม่ ตัวเอกที่ดเู ท่ได้ ผ่านการกระทาและนิสยั ใจคออื่นๆ ซึง่ ตัวละครที่นอกคอก แปลกแยก
ข้ างต้ นเหล่านี ้ล้ วนเป็ นภาพแทนของ “ผู้อ่าน” ในปั จจุบนั ได้ เป็ นอย่างดี ดังนันหากผู
้ ้ เขียนยิ่งสะท้ อน
ความแปลกแยก หลากหลายลงไปในการ์ ตนู ได้ มากเท่าไหร่ยอ่ มมีโอกาสที่เรื่ องราวจะเข้ าไปนัง่ อยู่
ในใจผู้อา่ นหมูม่ ากได้ ดีเช่นกัน
335

มองเขามองเรา: นักเขียนการ์ ตูนไทยจะโดดเด่ น แตกต่ างได้ อย่ างไร


แม้ กลวิธีการเล่าเรื่ องทังหมดที้ ่ผ้ วู ิจยั ได้ สรุปและอภิปรายมาทังหมดนี ้ ้จะเป็ นสิ่งที่นกั เขียน
การ์ ตนู ไทย หรื อนักเล่าเรื่ องในสื่ออื่นๆ หยิบจับเอาไปประยุกต์ใช้ ในการเขียนได้ ทังการวางโครง ้
เรื่ อง การคลี่คลายปม หรื อการเล่าเรื่ องด้ วยเทคนิคของภาพ ฯลฯ แต่การที่นกั เขียนไทยจะสร้ าง
งานให้ โดดเด่น แตกต่าง หนีไปจากร่มเงาการ์ ตนู ญี่ปนุ่ (ที่คงเห็นแล้ วว่าโดดเด่นเรื่ องจินตนาการ
และกลวิธีเล่าเรื่ องที่หลากหลายจนยากจะคาดเดาเรื่ องราว ) ที่ครองใจผู้อา่ นไทยอยู่ในเวลานี ้ คง
ต้ องย้ อนมาสารวจตัวตนหรื ออัตลักษณ์ “เนื ้อแท้ ความเป็ นไทย” ของตัวเองให้ ชดั เจนเสียก่อน
ประเด็นเรื่ องความเป็ นไทยในการ์ ตนู ไทยอาจไม่ใช่เรื่ องใหม่ เพราะถกเถียงกันมากว่า
ทศวรรษ แต่ผ้ วู ิจยั มองว่ายังคงต้ องหยิบยกขึ ้นมาปั ดฝุ่ นกันอีกครัง้ เพราะจากงานวิจยั ชิ ้นนี ้เห็นได้
ชัดว่าการ์ ตนู ยอดนิยมของญี่ปนนอกจากจะสร้ ุ่ างความแปลกใหม่ในแง่การเล่าเรื่ องแล้ วสิ่งสาคัญ
ยิ่งกว่าคือการตอกย ้าความเป็ นคนญี่ปนุ่ (ในด้ านบวก) โดยเฉพาะประเด็นเรื่ องความมุง่ มัน่
ไปสูฝ่ ั นซึง่ เป็ นลักษณะเด่นที่คนทังโลกยอมรั ้ บใส่ลงไปในผลงาน เหมือนเช่นวันพีซ ที่ใส่ความมุ
มานะลงในตัวละครหลักๆ ทุกตัว และความพยายามในแบบคนญี่ปนที ุ่ ่ปรากฏตลอดทัง้
เรื่ องราวย่อมทาให้ ตวั ละครน่ายกย่องและเป็ นที่จดจาได้ อย่างลึกซึ ้งยาวนาน จนทาให้ ผ้ อู า่ นทังคน ้
ญี่ปนหรื ุ่ อต่างชาติเองย่อมซึมซับความเป็ นคนไม่ยอ่ ท้ อนี ้ลงในหัวใจ ซึง่ การสอดแทรกวัฒนธรรม
ความเป็ นญี่ปนผ่ ุ่ านนิสยั ตัวละครเช่นนี ้ย่อมน่าจดจากว่าการสร้ างฉากกินซูชิ ใส่ชดุ กิโมโน หรื อ
แช่น ้าพุร้อน ที่แม้ จะสะท้ อนความเป็ นญี่ปนได้ ุ่ ชดั เจนก็จริงแต่ก็แค่เพียงผิวเผิน ดังนันการ

รู้จกั นาตัวตนของตน (ความมุมานะ) มาใช้ ในการสร้ างคาแร็คเตอร์ ซึง่ ก็ปรากฏซ ้าแล้ วซ ้าเล่าผ่าน
สื่อการ์ ตนู (รวมทังสื ้ ่ออื่นๆ ด้ วย) เช่นนีน้ ี่เองที่อาจเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้ การ์ ตนู ญี่ปนมี ุ่ ขนบของตน
จนได้ รับการกล่าวขาน จนกล่าวได้ ว่า “การ์ ตนู ญี่ปนสร้ ุ่ างชาติ” เพราะทังปลุ
้ กเร้ าให้ คนในชาติได้
เห็นคุณค่าในวัฒนธรรมของตนแล้ วยังช่วยส่งต่อรากเหง้ าของตนสูส่ ายตาต่างชาติในอีกทางหนึง่
ด้ วย
ณ วันนี ้การที่นกั เขียนการ์ ตนู และนักเขียนสื่ออื่นๆ ของไทยหันมาใส่ใจกับการมองหากลวิธี
ถ่ายทอดค่านิยม วิธีคิด หรื อวัฒนธรรมลงในผลงานให้ แนบเนียนเหมือนเช่นการ์ ตนู ญี่ปนก็ ุ่ อาจเป็ น
จุดเริ่มต้ นที่ดีที่จะทาให้ การ์ ตนู ไทย (และสื่ออื่นๆ ของไทย) เข้ าถึงใจผู้อา่ นไทยด้ วยกันเอง
เพราะไม่วา่ จะอย่างไรผู้วิจยั ก็เชื่อว่า เมื่อฝรั่งชอบแฮมเบอร์ เกอร์ คนญี่ปนชอบราเม็ ุ่ ง ซูชิ คนไทยก็
น่าจะชอบต้ มยากุ้ง นัน่ หมายถึงเมื่อเราเป็ นคนไทย การเสพสิ่งรอบตัวทังอาหารการกิ ้ น การ
336

แต่งตัว รวมถึงการอ่านการ์ ตนู ก็ย่อมหนีไม่พ้นที่จะเลือกเสพในสิ่งที่เราคุ้นลิ ้นมากกว่าหากของ


ไทยๆ ของเรานันอร่ ้ อยจริง ดีจริง
ดังนันผู
้ ้ วิจยั จึงเชื่อว่าหากนักเขียนการ์ ตนู ไทย รวมทังนั
้ กเขียนไทยในสื่ออื่นๆ สามารถเล่า
เรื่ องได้ เก่งทัดเทียมนักเขียนญี่ปนุ่ แต่ขณะเดียวกันยังสอดแทรกกลิ่นอายความเป็ นไทยลงไปใน
เรื่ องราวได้ อย่างแนบเนียน (ที่ไม่ใช่แค่การสร้ างความเป็ นไทยแค่เพียงสิ่งที่ตามองเห็นภายนอก
หรื อคาแร็ คเตอร์ ภายนอกเช่นช้ าง การไหว้ หรื อ ต้ มยากุ้ง) เหมือนเช่นที่คนญี่ปนสอดแทรกความ
ุ่
เป็ นคนมุมานะ ไม่ยอ่ ท้ อผ่านคาแร็คเตอร์ ภายในตัวละครเอกในแทบทุกเรื่ อง โดยอาจนา
“ลักษณะนิสยั ” ด้ านบวกที่มีเสน่ห์แบบไทยๆ ใส่ลงไปในลักษณะนิสยั ของตัวละครเอก เช่นความ
กตัญญู หรื อความเป็ นคนมองโลกในแง่ดี (ยิ ้มแย้ มอยูเ่ สมอแม้ ภยั มาเยือน) ก็นา่ จะช่วย
ส่งผ่าน “เนื ้อแท้ ความเป็ นคนไทย” ที่เป็ นภาพแทนของวัฒนธรรมที่ดีลงใน “สื่อการ์ ตนู ” ได้ อย่าง
แนบเนียน และก็น่าจะทาให้ “การ์ ตนู ” ไม่ใช่ “แค่การ์ ตนู ” แต่ยงั ช่วยกระตุ้นเร้ าความเป็ นไทยที่ดี
ให้ แก่เยาวชน (ผู้อา่ น) รวมทังยั ้ งช่วยส่งต่อ “วัฒนธรรม” ที่จะช่วยให้ “การ์ ตนู ไทย” เดินทางไปสู่
ระดับสากลได้ อีกทางหนึง่ ด้ วย
แต่กระนันก็้ ดีการค้ นหา “เนื ้อแท้ ความเป็ นไทย” ในด้ านบวกคืออะไร และกลวิธีการใส่
ความเป็ นไทยลงในการ์ ตนู รวมทังเรื ้ ่ องเล่าอื่นๆ ทาอย่างไรได้ บ้างก็ยงั คงต้ องถกเถียงอภิปรายกัน
ต่อไป และนี่ก็คงเป็ นเพียงแค่การเริ่มต้ นนับหนึ่งของการเล่าเรื่ องอย่างมีอตั ลักษณ์ ที่พว่ ง
วัฒนธรรมลงไป แต่กว่าจะนับถึงสิบก็คงต้ องพัฒนาทุกด้ านของการเล่าเรื่ องโดยเฉพาะวิธีการสร้ าง
จินตนาการ การค้ นคว้ าหาข้ อมูลอย่างจริงจัง รวมทังการผู ้ ก-คลี่คลายเรื่ องอย่างมีชนเชิ
ั ้ งกันต่อไป

ข้ อเสนอแนะ
1. ในงานวิจยั ชิ ้นนี ้เลือกกลุม่ ตัวอย่างการ์ ตนู ที่มาศึกษาตามความนิยมส่งผลให้ การ์ ตนู
แต่ละเรื่ องมีเป้าหมายคือกลุ่มผู้อา่ นที่แตกต่างกัน ซึง่ กลุม่ ผู้อา่ นเป็ นปั จจัยสาคัญของการเขียน
เรื่ อง ดังนันจึ
้ งน่าจะมีการวิจยั กลวิธีการเล่าเรื่ อง และคาแร็คเตอร์ การ์ ตนู ญี่ปนที ุ่ ่พิจารณาจากกลุม่
ผู้อา่ นที่แตกต่างกันด้ านวัย และเพศเป็ นหลัก เพื่อให้ เห็นจุดร่วมของการ์ ตนู ที่มีกลุ่มผู้อา่ นแบบ
เดียวกันที่ชดั เจนมากขึ ้น ซึง่ ก็จะเป็ นประโยชน์ตอ่ แนวทางการสร้ างสรรค์ผลงานของนักเขียน
การ์ ตนู ที่จะได้ ตอบโจทย์กลุ่มผู้อา่ นได้ ชดั เจนขึ ้นด้ วย
2. งานวิจยั ชิ ้นนี ้ยังมองเพียงแค่ตวั บท (text) หรื อตัวสื่อการ์ ตนู โดยไม่ได้ พิจารณาบริ บท
337

(context) รอบข้ างที่หล่อหลอม ห่อหุ้มให้ เกิด-หาย-ตาย-จากของสื่อการ์ ตนู ดังนันจึ ้ งน่าจะมีการ


วิจยั ในแง่มมุ ด้ านการตลาดของสานักพิมพ์เพื่อให้ เห็นปั จจัยสาคัญที่สง่ ผลต่อการสร้ างสรรค์
การ์ ตนู ขึ ้นมาด้ วย
3. เมื่อมีงานวิจยั กลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างตัวละครของการ์ ตนู ญี่ปนก็ ุ่ นา่ จะมี
การศึกษากลวิธีการเล่าเรื่ องและการสร้ างตัวละครของการ์ ตนู ไทยที่เป็ นรูปแบบของการ์ ตนู ช่องที่
เล่าเรื่ องแบบมังงะเพื่อให้ เห็นแนวทางการเล่าเรื่ องในการ์ ตนู แบบไทยๆ ซึง่ อาจค้ นพบคาตอบของ
การสอดแทรกความเป็ นไทยที่จะสร้ างตัวตนในผลงานในระดับข้ ามวัฒนธรรมได้ อีกทางหนึง่
บรรณานุกรม
339

บรรณานุกรม

กมลรัตน์ เสราดี. 22 สิงหาคม 2554. อดีตบรรณาธิการนิตยสารเซ็นชู ผู้ก่อตังนิ ้ ตยสาร Animax


และนักวิจยั การ์ ตนู . สัมภาษณ์.
การ์ ตูนญี่ปุ่นในเมืองไทย. 2553. สืบค้ นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2553, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/การ์ ตนู ญี่ปนุ่
กิตมิ า สุรสนธิ. 2546. ความเหมาะสมของเนือ้ หาในนิตยสารการ์ ตูนไทยยอดนิยมที่มีต่อ
เด็ก (ศึกษาเฉพาะกรณีนิตยสารการ์ ตูนรายสัปดาห์ ขายหัวเราะ). วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
จรูญพร ปรปั กษ์ ประลัย. 2552. คนปรุงเรื่อง. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเด็ก.
จรูญพร ปรปั กษ์ ประลัย. 24 สิงหาคม 2554. นักวิจารณ์ นักวิชาการ (อาจารย์พิเศษคณะนิเทศ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ). สัมภาษณ์.
จุฑามาศ สุกิจจานนท์. 2539. จริยธรรมที่ปรากฏในภาพยนตร์ การ์ ตูนของวอลท์ ดิสนีย์.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
จุตมิ า เพชรรัตน์. 2541. การเปิ ดรั บหนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่นที่มีเนือ้ หาทางเพศของวัยรุ่ นในเขต
กรุงเทพมหานครกับทัศนคติต่อเพศสัมพันธ์ . สาขาวิชาการหนังสือพิมพ์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ชนัญญา ใยลออ. 2544. การสื่อสารอารมณ์ ขันของนักแสดงตลก “รายการโทรทัศน์ ก่อน
บ่ ายคลายเครียด”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศ
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชไมพร สุขสัมพันธ์. 2541. การวิเคราะห์ สัญญะ รหัส และกระบวนการสร้ างรหัสในการ์ ตูน
ญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชุตมิ า ธนูธรรมทัศน์. 2546. วัฒนธรรมญี่ปุ่นในการ์ ตูน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
ดวงรัตน์ กมโลบล. 2534. การศึกษาลักษณะของการสร้ างอารมณ์ โดยสังคมในการ์ ตูน
ญี่ปุ่นทางโทรทัศน์ ชุด “โดราเอมอน”. วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชา
สื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
340

ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และคณะ. 2543. นิเทศศาสตร์ กับเรื่องเล่ าและการเล่ าเรื่อง. พิมพ์


ครัง้ แรก. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ ายวิจยั และเผยแพร่โครงการสื่อสันติภาพ คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และคณะ. 2547. สุนทรี ยนิเทศศาสตร์ : การศึกษาสื่อสารการ
แสดงและสื่อจินตคดี. กรุงเทพมหานคร: โครงการพัฒนาองค์ความรู้นิเทศศาสตร์
ตะวันออก ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และพิรุณ อนวัชศิริวงศ์. 2552. การ์ ตูน : มหัศจรรย์ แห่ งการพัฒนา
สมองและการอ่ าน. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเด็ก.
ทรงพล สร้ อยสุวรรณ. 2541. ศึกษาลักษณะการนาเสนอเนือ้ หาที่เกี่ยวข้ องกับเรื่องเพศใน
หนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
ทรงวิทย์ สี่กิตกิ ลุ . 12 มิถนุ ายน 2554. นักเขียนการ์ ตนู . สัมภาษณ์.
ทัศนา สลัดยะนันท์. 2543. เบือ้ งหลังความสาเร็จของการ์ ตูนญี่ปุ่นที่มีต่อเด็กและเยาวชน
ไทย. รายงานการวิจยั คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
โทริยาม่า อากิร่า. 2530. มาเรี ยนเขียนการ์ ตูน กรุงเทพมหานคร: วิบลู ย์กิจ.
ธรรมจักร อยูโ่ พธิ์. 2538. การศึกษาระดับความชอบและพฤติกรรมบริ โภคหนังสือการ์ ตูน
ญี่ปุ่นของเด็กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธรรมศักดิ์ เอื ้อรักสกุล. 7 กันยายน 2554. หัวหน้ าสาขาคอมพิวเตอร์ อาร์ ต คณะดิจิตลั อาร์ ต
มหาวิทยาลัยรังสิต. สัมภาษณ์.
ธนิสร์ วีระศักดิ์วงศ์. 19 สิงหาคม 2554. นักเขียนการ์ ตนู . สัมภาษณ์.
ธัญลักษณ์ เตชศรี สธุ ี. 10 สิงหาคม 2554. บรรณาธิการนิตยสารการ์ ตนู Let’s comic. สัมภาษณ์.
นนทยา พงศ์ผกาย. 2544. การสื่อสารเรื่ องความสัมพันธ์ ระหว่ างเพศในการ์ ตูนญี่ปุ่น.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
นฤมล วรวิเชียรกุล. 2550. การออกแบบตัวละครในภาพยนตร์ แอนิเมชั่น. สารนิพนธ์
ปริญญาบัณฑิต สาขาภาพยนตร์ และภาพถ่าย คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
341

นวรัตน์ รามสูต และนงสิลินี โมสิกะ. 2552. “ส่งเสริมการอ่าน: วาระแห่งชาติ”. สืบค้ น


เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2552, จาก
http://www.rssthai.com/mreader.php?u=3160&r=1928
นวลทิพย์ ปริญชาญสกุล. 2538. ความต้ องการและความสนใจด้ านรู ปแบบหนังสือการ์ ตูน
ของเด็กไทย ศึกษาเชิงวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบกรณีเด็กในเขตกรุงเทพมหานครและ
เด็กในเขตอาเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ . วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะวารสาร
ศาสตร์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
นับทอง ทองใบ. 2548. นวลักษณ์ ในการเล่ าเรื่องและเอกลักษณ์ ในภาพยนตร์ แอนิเมชัน
ของฮายาโอะ มิยาซากิ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวาทวิทยาและ
สื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นับทอง ทองใบ. 2548. สถานะและอุปสรรคของหนังสือการ์ ตูนไทยในปั จจุบัน. งานวิจยั ใน
การเรี ยนวิชาระเบียบวิธีวิจยั ทางวาทวิทยา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:
ม.ป.ท. (อัดสาเนา).
นิพนธ์ คุณารักษ์ . 2539. การศึกษาสถานภาพ ปั ญหาอุปสรรคและความเป็ นไปได้ ของการ
ผลิตรายการภาพยนตร์ การ์ ตูนชุดทางโทรทัศน์ ของผู้ผลิตในประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
นิยะดา สาริ กภูติ (นิยะดา เหล่าสุนทร). 2543. ความสัมพันธ์ ระหว่ างละครไทยและละคร
ภารตะ. กรุงเทพมหานคร: แม่คาผาง.
ประสพโชค จันทรมงคล. 26 สิงหาคม 2554. นักวิจารณ์การ์ ตนู และผู้อานวยการฝ่ ายพัฒนา
ธุรกิจบริษัทเกมออนไลน์ (บริ ษัทเอนโม จากัด). สัมภาษณ์.
เปิ ดกรุ ...ความเป็ นมาของการ์ ตูนลิขสิทธิ์ในประเทศไทย. 2550. สืบค้ นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม
2553, จาก http://www.kartoon-discovery.com/history/history3.html
พรวลัย เบญจรัตนสิริโชติ. 2549. การนาเสนอเกณฑ์ การพิจารณาในการจัดระดับหนังสือ
การ์ ตูนที่แปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็ นภาษาไทยในฐานะสื่อการศึกษา. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็ นผู้นาทางการศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
342

ภัทรหทัย มังคะดานะรา. 2541. การนาเสนอลักษณะของวีรบุรุษในหนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่นใน


ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศ
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มาณิษา พิศาลบุตร. 2533. การสื่อความหมายในนิตยสารการ์ ตูนขายหัวเราะฉบับกระเป๋า.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
วรวุฒิ วรวิทยานนท์. 23 สิงหาคม 2554. บรรณาธิการบริหารสานักพิมพ์วิบลู ย์กิจ. สัมภาษณ์.
วรัชญ์ ครุจิตต์ และนับทอง ทองใบ. 2552. การ์ ตูนความรู้ ไทย: ความเป็ นมา สถานการณ์
และแนวทางการพัฒนา. รายงานการวิจยั สานักงานอุทยานการเรี ยนรู้ .
วันดี สันติวฒุ ิเมธี . 2544. “งานวิจยั จากนักวิจารณ์การ์ ตนู ชื่อดัง”, สารคดี, 38-44.
กรุงเทพมหานคร: สารคดี.
วีระชัย ดวงพลา. 12 มิถนุ ายน 2554. นักเขียนการ์ ตนู . สัมภาษณ์.
ศักดา วิมลจันทร์ . 2548. เข้ าใจการ์ ตูน. กรุงเทพมหานคร: เรื อนแก้ วการพิมพ์.
สดใส พันธุมโกมล (เรี ยบเรี ยง). 2531. ศิลปะการละครเบือ้ งต้ น. พิมพ์ครัง้ ที่ 5.
กรุงเทพมหานคร: องค์การค้ าคุรุสภา.
สังเขต นาคไพจิตร. 2530. การ์ ตูน. กรุงเทพฯ: มหาสารคามการพิมพ์.
สิทธิพร กุลวโรตตมะ. 20 มกราคม 2548. นักเขียนการ์ ตนู . สัมภาษณ์.
สุทธิชาติ ศราภัยวานิช. 8 มีนาคม 2553. อาจารย์ประจาและนักวิชาการการ์ ตนู . สัมภาษณ์.
สุทธิชาติ ศราภัยวานิช. 20 กันยายน 2554. อาจารย์ประจาและนักวิชาการการ์ ตนู . สัมภาษณ์.
สุวรรณา สันคติประภา. 2532. พฤติกรรมการอ่ านและการเลือกอ่ านหนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่น
ของเด็กไทยในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์ และ
สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ .
อิศเรศ ทองปั สโณว์. 15 สิงหาคม 2554. ผู้แปลและกองบรรณาธิการสานักพิมพ์เนชัน่ เอ็ดดูเทน
เมนท์. สัมภาษณ์.
เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์. 13 กันยายน 2554. นักเขียนการ์ ตนู และนักเขียนบทภาพยนตร์ . สัมภาษณ์.
เอนก รัตนจิตบรรจง. 2548. บทบาทของหนังสือการ์ ตูนญี่ปุ่นประเภทกีฬากับการ
เสริมสร้ างคุณธรรมแก่ เด็กและเยาวชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา
วารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Giannetti, Louis. 1998. Understanding Movies. 8th ed. New Jersey: Prentice Hall.
343

Giannetti, Louis. 2004. Understanding Movie. 10th ed. New Jersey: Prentice Hall.
Gravett, P. 2004. MANGA: SIXTY YEARS OF JAPANESE COMICS. New York:
HarperCollins Publishers.
Harrison, Randall P. 1981. The Cartoon: Communication to the Quick. Beverly Hills,
CA: Sage Publications.
Kinsella, Sharon. 2000. Adult Manga: Culture & Power in Contemporary Japanese
Culture. Curzon, Richmond, Surrey.
Natsume, Fusanosuke, and Atsushi Hosogaya. 2001. Manga: Short Stories from
Modern Japan. The Japan Foundation, London.
Schodt, Frederik L. 1989. Manga Mania. Look Japan. 34, 394 (Jan.): 39-41.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
เรื่ องย่ อการ์ ตูนที่นามาศึกษา
346

1. ดราก้ อนบอล

ที่มา: http://www.kartoon-discovery.com/focus/dragonball/focus3.php
อาจเรี ยกได้ วา่ “ดราก้ อนบอล” เป็ นการ์ ตนู ต่อสู้ในตานานที่ยงั คงครองใจผู้อ่านทุกเพศทุก
วัยมานับ 3 ทศวรรษ เพราะหลังจากเริ่มตีพิมพ์ครัง้ แรกในปี 1983 (ในญี่ปน) ุ่ อีก 2 ปี ต่อมา ดรา
ก้ อนบอล ก็กลายมาเป็ นแอนิเมชัน่ ที่โด่งดังไปทัว่ เกาะญี่ปนุ่ และทัว่ โลกไม่เว้ นแม้ ในประเทศไทย
ด้ วยเรื่ องราวการผจญภัยที่เรี ยบง่ายผสมผสานจินตนาการล ้ายุคของผู้แต่ง โดยนาตานานไซอิ๋วมา
ปั ดฝุ่ นใหม่ ผ่านตัวละครเอกอย่างซุน โงคู หนุม่ น้ อยหัวแหลมชี ้อันเป็ นเอกลักษณ์ และมีหางติดตัว
มาแต่กาเนิด โงคูเป็ นเด็กหนุม่ ลึกลับคนหนึง่ ที่แม้ จะตัวเล็กแต่มีพลังมหาศาล เขาบังเอิญได้ เจอ
กับสาวแก่นซ่าอย่างบลูมา่ ที่กาลังออกไล่ลา่ หา “ดราก้ อนบอล” ก้ อนหินประหลาด 7 ก้ อนที่แต่ละ
ก้ อนบรรจุดาวจานวนต่างกันตังแต่ ้ 1-7 ดวงเอาไว้ และหากใครที่รวบรวมดราก้ อนบอลได้ ครบทัง้
7 ลูก เมื่อนันเทพเจ้
้ ามังกรจะปรากฏตัวให้ ขอพรใดก็ได้ 1 ประการ
การพบกันระหว่างบลูม่าและโงคูนี่เองที่ทาให้ เกิดเรื่ องราวผจญภัยตามหาดราก้ อนบอล ที่
แม้ เริ่มต้ นเพียง 2 คน แต่ระหว่างทางที่พบพานมิตรสหาย และคูต่ อ่ สู้หลากหลายทังปี ้ ศาจ
อย่างปิ ลาฟ ทหารชาญศึกอย่างกองทัพเร้ ด ริบบ้ อน จอมมารอย่างพิคโกโร่ นักสู้จากต่างดาว
อย่างเบจิต้า ไปจนถึงมนุษย์ดดั แปลงแสนแข็งแกร่ง หรื อจอมมารตุ้ยนุ้ยอย่างจอมมารบู ฯลฯ
ทาให้ เนื ้อเรื่ องเปลี่ยนแนวไปจากการผจญภัยตามหาดราก้ อนบอล เป็ นการฝี กฝนตนเองให้
แข็งแกร่งของโงคูและการรวมพลังกับเพื่อนพ้ อง (เช่นคุริริน ยามุชา) และศัตรู (เช่นพิคโกโร่
เท็นชินฮัง เบจิต้า) มา “รวมพลัง” กันต่อสู้เพื่อปกป้องผองเพื่อน และมวลมนุษยชาติ (ที่ในระยะ
หลังแนวเรื่ องเปลี่ยนไปจากการผจญภัยตามหาดราก้ อนบอลเป็ นการต่อสู้เพื่อปกป้องโลกที่ถกู
รุกรานจากศัตรูตา่ งดาว และปี ศาจแสนร้ ายกาจ)
347

2. นินจาคาถา โอ้ โฮเฮะ

ที่มา: http://xn--42c8alh5bj5fnp8cyf.blogspot.com/2012/01/gta-sa-mr-bean-naruto.html
สิบกว่าปี ก่อน ปี ศาจจิ ้งจอกเก้ าหางได้ อาละวาดทาลายหมูบ่ ้ านนินจาจนมีคนล้ มตาย
จานวนมาก โฮคาเงะรุ่นที่ 4 หรื อผู้ปกครองนินจาหมูบ่ ้ าน “โคโนฮะ” ได้ อาสาไปจัดการปี ศาจ
จิ ้งจอกเก้ าหางโดยลาพัง และสละชีวิตของตนเพื่อผนึกจักระของจิ ้งจอกเก้ าหางเอาไว้ ในร่างของ
เด็กทารกที่ชื่อ อุซมึ ากิ นารุโตะ นารุโตะจึงเติบโตมาท่ามกลางการถูกจงเกลียดจงชังของ
ชาวบ้ าน ดังนันนารุ
้ โตะจึงตังมั ้ น่ ว่าจะพิสจู น์ตวั เองให้ ทกุ คนยอมรับด้ วยการเป็ นเป็ นโฮคาเงะที่เก่ง
ที่สดุ และยิ่งใหญ่ที่สดุ ให้ ได้
ช่วงเวลาเดียวกันอุจิวะ ซาสึเกะ ลูกชายแห่งตระกูลอุจิวะ อีกตระกูลเก่าแก่ของหมู่บ้าน
โคโนฮะก็เติบโตมาด้ วยความพยาบาทต่อพี่ชาย อิทาจิ ที่สงั หารเพื่อนสนิท และพ่อแม่ของตัวเอง
ซาสึเกะจึงมีชีวิตอยูเ่ พื่อแก้ แค้ นพี่ชายเท่านัน้ และด้ วยความเก่งกาจของซาสึเกะ ทาให้ นารุโตะ
ตังเป้ ้ าหมายจะเอาชนะซาสึเกะให้ ได้ นารูโตะและซาสึเกะซึง่ อยูร่ ่วมทีมนินจาดียวกันจึงเปรี ยบ
เหมือนทังเพื้ ่อนรักและทังคู ้ แ่ ข่งกันมาตลอด โดยหลังจากที่ทงคู ั ้ ส่ อบเลื่อนชันนิ
้ นจาเป็ นระดับ “จู
นิน” ซึง่ สามารถทาหน้ าที่เป็ นอาจารย์นินจาและออกปฏิบตั ภิ ารกิจที่ยากในระดับ C และ B ได้
(ภารกิจยากที่สดุ คือระดับ A) ซาสึเกะก็ได้ ออกเดินทางออกจากหมูบ่ ้ านแยกตัวไปเข้ ากับนินจา
ถอนตัวจอมวายร้ ายอย่างโอโรจิมารุเพื่อพัฒนาพลังของตนให้ ทดั เทียมกับพี่ชาย และท้ ายที่สดุ ซาสึ
เกะก็ยอมร่วมมือกับกลุม่ องค์กรมืดอย่าง “แสงอุษา” ที่มีเป้าหมายจะยึดครองโลกนินจาด้ วยการ
จับร่างสถิตของสัตว์หางเพื่อก่อสงคราม ขณะที่นารูโตะเองก็ได้ เร่งพัฒนาฝี มือของตนโดยฝึ ก
วิชากับสุดยอดนินจาในตานานของหมูบ่ ้ านอย่างจิไรยะจนสาเร็จโหมด “เซียน” และท้ ายที่สดุ
นารูโตะก็ได้ พิสจู น์ตนเองด้ วยการเอาชนะ “เพน” หัวหอกของกลุม่ แสงอุษาที่บกุ โจมตีหมูบ่ ้ านและ
ได้ ชว่ ยปกป้องคนในหมูบ่ ้ าน (ให้ ฟืน้ คืนชีพจากการช่วยเหลือของ “เพน” ที่เข้ าใจในตัวนารูโตะ) ได้
สาเร็จ จนภาพความฝั นในวัยเด็กที่นารูโตะต้ องการเป็ น somebody เป็ นคนที่ได้ รับการยอมรับ
จากทุกคนในหมู่บ้านโคโนฮะเกิดขึ ้นในที่สดุ
348

3. วันพีซ

ที่มา: http://gallery-cartoon.blogspot.com/2009/04/onepiece.html
ในยุคโจรสลัดครองเมือง โกลด์ ดี โรเจอร์ โจรสลัดผู้ยิ่งใหญ่ถกู ประหารชีวิต แต่สมบัติของ
เขาซึง่ ถูกขนานนามว่า “วันพีซ” ยังคงอยู่ นับแต่นนเป็ ั ้ นต้ นมากลุม่ โจรสลัดทังหลายจึ
้ งต่างเสี่ยง
ชีวิตไปสูแ่ กรนด์ไลน์ น่านน ้าที่วา่ กันว่าโหดหินที่สดุ เพื่อตามหา "วันพีซ" ให้ จงได้
ขณะเดียวกันลูฟี่ หนุม่ น้ อยผู้ใฝ่ ฝั นจะเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัด โดยได้ รับแรงบันดาลใจจากแชง
คูส โจรสลัดผมแดงที่สละแขนเพื่อช่วยชีวิตเขาในวัยเด็ก ก็ตดั สินใจออกทะเลเพื่อทาความฝั นให้
เป็ นจริง โดยแม้ ลฟู ี่ จะมีพลังพิเศษจากผลไม้ ปีศาจจนทาให้ เป็ นมนุษย์ยางยืด แต่เขาก็ไม่ได้ มีฝีมือ
ด้ านต่อสู้มากมายอะไร จึงตัดสินใจออกเดินทางรวบรวมสมาชิกเพื่อให้ กลุม่ “โจรสลัดหมวกฟาง”
แข็งแกร่งที่สดุ เริ่มจากนักดาบนักต่อสู้ประจาเรื ออย่างโซโล นามิ โจรสาวแสนร่างเริงผู้มาเป็ นต้ น
หนเรื อ อุซป จอมโกหกเป็ นพลแม่นปื น ครึ่งคนครึ่งกวางอย่างช้ อปเปอร์ เป็ นหมอ โรบิน สาวสวย
ลึกลับเป็ นนักประวัติศาสตร์ ไซบอร์ กอย่างแฟรงกี ้เป็ นผู้เชี่ยวชาญการต่อเรื อไปจนถึงบรู๊ค โครง
กระดูกทรงผมแอฟโฟรไม่ยอมตายมาเป็ นนักดนตรี ประจาเรื อ ซึง่ ระหว่างการเดินทางรวบรวม
สมาชิกและการไล่ลา่ ตามฝั นของลูฟี่ก็มีทงการต่ ั้ อสู้กบั กลุ่มขัวอ
้ านาจทังหลายอย่
้ างกองทัพเรื อ
และรัฐบาลโลก ขณะเดียวกันก็ได้ ช่วยเหลือผู้คนที่พวกเขาพานพบอย่างเจ้ าหญิงบิบี พักเบรก
ตามใจตัวเองตามหาขุมทองบนเกาะแห่งท้ องฟ้า ผจญกับซอมบี ้และปะทะกับอีกขัวอ ้ านาจอย่าง
เจ็ดเทพโจรสลัด ไปจนถึงการช่วยชีวิต “เอส” พี่ชายของลูฟี่ให้ หลุดรอดจากคุกใต้ สมุทร “อิมเพล
ดาวน์” ตลอดการเดินทางข้ ามน ้าข้ ามทะเลที่ผ่านมาเหล่านี ้ “กลุม่ โจรสลัดหมวกฟาง” โดยเฉพาะ
กัปตันอย่างลูฟี่ ต่างก็สงั่ สมบารมีที่ทาให้ มีคา่ หัวสูงลิ่วกลายเป็ นตัวอันตรายที่ถกู รัฐบาลโลกจับ
ตามอง แต่พวกเขาก็ยงั ไม่หยุดเดินทางเพื่อเป้าหมายการเป็ นโจรสลัดที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ ต่อไป
349

4. ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน

ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน
เรื่ องราวของนักสืบตัวจิ๋วเกิดขึ ้นเมื่อ คุโด้ ชินอิจิ นักสืบม.ปลาย วัย 17 ปี (ต้ นเรื่ องยังเป็ น
หนุม่ หล่อตัวไม่จิ๋ว) ไปเที่ยวสวนสนุกกับเพื่อนสาวแสนสวยอย่าง โมริ รัน แต่สวนสนุกกลับไม่สนุก
อย่างที่คดิ เพราะเกิดคดีฆาตกรรมขึ ้น ซึง่ ชินอิจิก็โชว์ฝีไม้ ลายมือนักสืบหนุม่ ที่กรมตารวจญี่ปนุ่
ไว้ วางใจให้ ชว่ ยสืบคดีสาเร็จลงอย่างง่ายดาย แต่ด้วยสัญชาติญาณนักสืบที่ยงั เคลือบแคลงใจ
ชายชุดดา 2 คนซึง่ เป็ นกลุม่ ผู้ต้องสงสัยจึงแอบสะกดรอยตามไป และได้ เห็นความไม่ชอบมาพากล
เข้ าให้ แต่ด้วยความที่ไม่ระวังตัวชินอิจิจงึ ถูกชายชุดดาใช้ ของแข็งตีหวั จนสลบไป แล้ วจับกรอกยา
พิษที่องค์กรของชายชุดดาคิดค้ นขึ ้นใหม่ และเมื่อชินอิจิร้ ูสกึ ตัวอีกครัง้ นักสืบหนุ่มสุดเท่ร่างสูง
โปร่งก็กลับย้ อนวัยกลายเป็ นเด็กอายุ 7 ขวบไปซะแล้ ว
ด้ วยความตกใจ ชินอิจิที่อาศัยอยู่บ้านเพียงลาพัง (เพราะพ่อ-แม่อยู่ตา่ งประเทศ) จึงไปขอ
ความช่วยเหลือจากเพื่อนบ้ านอย่าง ดร. อากาสะ ซึง่ ดร. อากาสะก็แนะนาให้ ชินอิจิที่อยูใ่ นร่าง
เด็กไปอาศัยอยูก่ บั ครอบครัวของนักสืบเอกชนอย่างโมริ โคโกโร่ (พ่อของรัน) เพื่อติดตามข่าวของ
ชายชุดดาและได้ เปลี่ยนชื่อเป็ น เอโดงาวะ โคนัน ด้ วยความช่างสงสัยของโคนันทาให้ เมื่อเกิดคดี
ต่างๆ ขึ ้นโคนันจึงมักยื่นมือเข้ าช่วยคลี่คลายคดีแทนโคโกโร่ โดยใช้ สิ่งประดิษฐ์ ของ ดร.อากาสะ
คือปื นยาสลบทาให้ หลับ แล้ วใช้ โบหูกระต่ายเปลี่ยนเสียงจากเด็กเป็ นผู้ใหญ่แทน ความสาเร็จใน
การคลี่คลายคดีของโคนันทาให้ โคโกโร่กลายเป็ นนักสืบที่โด่งดัง มีคดีมากมายให้ ตามสืบและ
คลี่คลายอยูต่ ลอดเวลา ขณะเดียวกัน โคนันก็ยงั ไม่ลดละความพยายามในการตามหาองค์กร
ชายชุดดาเพื่อคืนร่างจากยอดนักสืบจิ๋ว (โคนัน) เป็ นยอดนักสืบวัยรุ่น (ชินอิจิ) คนเดิมให้ ได้
350

5. เดธโน้ ต

ที่มา: http://student.nu.ac.th/wizard13_1988/home.html
ยางามิ ไลท์ นักเรี ยนมัธยมปลายที่เรี ยนเก่งอันดับหนึง่ ของญี่ปนุ่ เก็บบันทึกมรณะ (เดธ
โน้ ต) ของยมทูตลุคทาให้ ได้ รับความสามารถพิเศษในการฆ่าคนโดยเพียงแค่ร้ ูจกั หน้ าและชื่อของ
คนผู้นนแล้ั ้ วเขียนชื่อลงไปในกระดาษของบันทึกมรณะ ผู้ที่ถกู เขียนชื่อจะเกิดอาการหัวใจวายและ
เสียชีวิตภายในเวลา 40 วินาที จากจุดเริ่มของ “เดธโน้ ต” ทาให้ ไลท์ตดั สินใจจะเปลี่ยนแปลงโลก
โดยตังตนเป็
้ น “พระเจ้ า” ตัดสินคนผิดบาปด้ วยการใช้ เดธโน้ ตสังหารอาชญากรเหล่านี ้เสียเอง
ผู้คนจึงขนานนามเขาว่า "คิระ" (มาจาก Killer) อีกด้ านหนึง่ ฝ่ ายตารวจเมื่อเห็นว่าอาชญากรตาย
เป็ นจานวนมากอย่างผิดปกติ ผู้นากองสืบสวนอย่างยางามิ โซอิจิโร่ ซึง่ เป็ นพ่อของไลท์ ก็พยายาม
ตามหาตัวฆาตกรที่แท้ จริงให้ ได้ แต่ก็จนปั ญญาทาให้ ต้องขอความช่วยเหลือจากนักสืบหนุม่
ลึกลับนามว่า แอล (L) และนับตังแต่ ้ แอลเข้ ามาร่วมสืบสวนกับตารวจญี่ปนุ่ “คิระ” หรื อไลท์ก็เริ่ม
ออกอาการเสียแผน จึงกลายเป็ นจุดเริ่มต้ นของการชิงไหวชิงพริบระหว่างผู้ลา่ อย่างแอล และผู้ถกู
ไล่ลา่ อย่างคิระนับแต่นนเป็ ั ้ นต้ นมา ยิ่งนานวันแอลก็ยิ่งมัน่ ใจว่าไลท์คือคิระเจ้ าของเดธโน้ ต
ตัวจริง ทาให้ ไลท์วางแผนซ้ อนแผนจนสังหารแอลได้ ในที่สดุ แต่แม้ แอลจะจากไปก็มีผ้ สู ืบทอด
อุดมการณ์คือเนียร์ และเมลโล่ เด็กจากสถานรับเลี ้ยงเด็กแห่งเดียวกับแอลที่ได้ รับข้ อมูลคดีจาก
ผู้ชว่ ยของแอล (วาตาริ) เมลโล่ตามสืบเรื่ องของไลท์จนแน่ใจว่าเป็ นคิระแต่ก็สายไปเสียแล้ วเขา
ต้ องจบชีวิตลงเช่นเดียวกับแอล ในขณะที่เนียร์ ซงึ่ มัน่ ใจว่ายางามิ ไลท์คือเจ้ าของเดธโน้ ตตัวจริงจึง
วางแผนหลอกล่อทาเดธโน้ ตปลอมขึ ้นจนไลท์จนมุมยอมรับสารภาพว่าตนคือ “คิระ” แต่เขาก็ยงั
ดิ ้นรนจะเขียนชื่อเนียร์ ลงบนเศษโน้ ตที่ซ่อนอยูใ่ นนาฬิกาแต่ก็ไม่สาเร็จ และท้ ายที่สดุ ยมทูตลุค
เจ้ าของเดธโน้ ตก็กลายเป็ นคนเขียนชื่อไลท์ลงในเดธโน้ ตเพื่อจบตานาน “คิระ” ผู้ตงตนเป็ ั้ น “พระ
เจ้ า” บนโลกมนุษย์เสียเอง
1 ปี ให้ หลังแม้ เดธโน้ ตจะถูกเนียร์ เผาทิ ้งจนโลกกลับคืนสูส่ ภาพปกติ แต่อีกด้ านหนึง่ ก็ยงั มี
กลุม่ คนจานวนไม่น้อยที่ยงั คงเชื่อและรอคอยว่า “คิระ” จะกลับมาอีกครัง้
351

6. ทเวนตีเ้ ซนจูร่ ี บอยส์

ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/ทเวนตี ้เซนจูรี่บอย


เชื่อว่าหากย้ อนไปเมื่อครัง้ ยังเป็ นเด็กประถม หลายๆ คนโดยเฉพาะแก๊ งเด็กผู้ชายก็มกั จะมี
“ที่ลบั ” เพื่อรวมตัวกันทาเรื่ องสนุกๆ ตามประสาเด็ก “เคนจิ” และเพื่อนก็เช่นกัน พวกเขาได้
รวมตัวกันตังฐานทั ้ พลับขึ ้นกลางทุง่ หญ้ าซึง่ เป็ นสถานที่ลบั คอยก็บซ่อนสมบัตสิ ่วนตัว ในฐานทัพ
ลับแห่งนี ้นี่เองคือจุดเริ่มของเรื่ องราวทังหมดเมื
้ ่อเคนจิได้ เขียน "คาทานาย" เกี่ยวกับองค์กรร้ ายที่
พยายามทาลายโลกด้ วยวิธีตา่ ง ๆ ทังเชื ้ ้อโรคร้ าย หุน่ ยนต์ยกั ษ์ แต่ในวันที่โลกจะถูกทาลาย "เคนจิ
และเพื่อน" จะปรากฏตัวออกมาเพื่อหยุดยังการกระท ้ าอันเลวร้ ายและนาสันติสขุ กลับคืนมาอีกครัง้
เรื่ องราวเหล่านี ้ถูกเขียนขึ ้นใน "บันทึกคาทานาย" ที่เก็บใส่กล่องฝั งไว้ ใต้ ดินในฐานทัพลับแห่งนี ้
โดยที่เคนจิและเพื่อไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่าเรื่ องเล่าเล่นๆ ของพวกเขาจะกลายเป็ นจริ งในอนาคต
วันเวลาผ่านไป เคนจิและเพื่อนต่างเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ ต่างมีหน้ าที่การงานที่ต้องแบกรับ
จนลืมเรื่ องบันทึกคาทานายไปแทบหมดสิ ้น จนกระทัง่ เกิดเหตุการณ์ฆ่าตัวตายของเพื่อนในกลุม่
อย่าง “ดองกี ้” ซึง่ ทาให้ เคนจิสงสัยอย่างมากเพราะเชื่อมัน่ ว่าคนอย่างดองกี ้ไม่มีวนั ฆ่าตัวตาย
อย่างแน่นอน เคนจิจงึ ตามสืบหาสาเหตุการตายของดองกี ้โดยเริ่มจากเครื่ องหมายปริศนาที่ดองกี ้
ทิ ้งเอาไว้ ซงึ่ เป็ นสัญลักษณ์ที่เขาคุ้นตาแต่ก็นึกไม่ออกว่าคืออะไร จนในที่สดุ เคนจิจงึ ตัดสินใจ
ออกตามหาความลับของเครื่ องหมายปริศนาที่โยงไปสูอ่ งค์กรลึกลับซึง่ มีผ้ นู าที่เรี ยกตนว่า “เพื่อน”
และได้ รวบรวมเพื่อนๆ สมัยเด็กที่ยงั เหลืออยูม่ าช่วยกันกอบกู้โลกจากองค์กรชัว่ ร้ ายอย่าง “เพื่อน”
ที่ได้ ดาเนินแผนการทาลายล้ างโลกตาม “บันทึกคาทานาย” ที่เคนจิเป็ นผู้เขียนขึ ้น
352

ประวัตยิ ่ อผู้วจิ ัย

ชื่อ นางสาวนับทอง ทองใบ

วัน เดือน ปี เกิด 3 ตุลาคม พ.ศ. 2520

สถานที่เกิด กรุงเทพฯ

สถานที่อยูป่ ั จจุบนั 55/489 ซอยประเสริฐมนูกิจ 42 หมูบ่ ้ านสราญรมย์ นวมินทร์


บึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230

ตาแหน่งหน้ าที่การงานปั จจุบนั อาจารย์ประจาคณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและ


วิทยุโทรทัศน์

สถานที่ทางานปั จจุบนั มหาวิทยาลัยศรี ปทุม บางเขน

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2548 นศ.ม. วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง จากจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2540 ศศ.บ. สื่อสารมวลชน จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

You might also like