You are on page 1of 31

20

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ทำไมต้องเรียนภาษาไทย

ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติเป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอัน


ก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ
ให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความ
เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การ
งาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และ
เป็ นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์
วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความ
ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนา
อาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็ นสื่อแสดง
ภูมิปั ญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ
เป็ นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่
ชาติไทยตลอดไป

เรียนรู้อะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ต้องฝึ กฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้


ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อนำไป
ใช้ในชีวิตจริง
 การอ่าน การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทร้อย
แก้ว คำประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ
21

และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนำไป


ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
 การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร
โดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียง
ความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ
วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์
 การฟั ง การดู และการพูด การฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ
การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำดับเรื่องราวต่างๆ
อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็ นทางการและไม่
เป็ นทางการ และการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ
 หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษา
ไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่ง
บทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย
 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์
และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้อง
เล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็ นภูมิปั ญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้
ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราว
ของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความ
ซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสืบทอดมาจนถึง
ปั จจุบัน
22

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด
เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิตและมี
นิสัยรักการอ่าน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อ
ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง
มีประสิทธิภาพ

สาระที่ ๓ การฟั ง การดู และการพูด


มาตรฐาน ท ๓.๑สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูด
แสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาส
ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรร
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปั ญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
23

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี


และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์
ใช้ในชีวิตจริง

คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะ
ได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจ
24

ความสำคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อ
โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อ
ความ เขียนรายงานจาก สิ่งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมี
เหตุผล ลำดับความอย่างมีขั้นตอนและความเป็ นไปได้ของเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
 เขียนสื่อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคำได้ถูกต้อง
เหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาส
ต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและ
ประสบการณ์ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัคร
งาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโต้แย้ง
อย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและเขียน
โครงงาน
 พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งที่ได้จาก
การฟั งและดู นำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงาน
เรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็ นระบบ มี
ศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูด
โน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟั ง ดู และ
พูด
 เข้าใจและใช้คำราชาศัพท์ คำบาลีสันสกฤต คำภาษาต่าง
ประเทศอื่นๆ คำทับศัพท์ และศัพท์บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์
ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม
ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็ นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็ น
ทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงสี่
สุภาพ
25

 สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตัวละคร
สำคัญ วิถีชีวิตไทย และคุณค่าที่ได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบท
อาขยาน พร้อมทั้งสรุปความรู้ข้อคิดเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะ
ได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน
ได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอ
ความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง
ที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียน
รายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนำความรู้ความคิด
26

จากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทาง


อาชีพ และ นำความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปั ญหาในการดำเนิน
ชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน
 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตาม
วัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย
เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขียนบันทึก
รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูล
สารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบต่างๆ
ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของผู้อื่นและนำ
มาพัฒนางานเขียนของตนเอง
 ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟั งและดู มี
วิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟั งและดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์
แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่องที่ฟั งและดู ประเมิน
สิ่งที่ฟั งและดูแล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีทักษะการพูด
ในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการโดยใช้ภาษาที่ถูก
ต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่
อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟั ง ดู และพูด
 เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะ
ของภาษาไทย ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์
แต่งคำประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้
เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่างถูก
ต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคำในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาต่าง
ประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้
ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
27

 วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการ
วิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และเข้าใจลักษณะเด่นของวรรณคดี
ภูมิปั ญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้
ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ
นำข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ ๑ การอ่าน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด


เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต และมี
นิสัยรักการอ่าน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
แก้ว และ - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย
28

บทร้อยกรองได้ถูกต้อง - บทร้อยกรอง เช่น กลอน


เหมาะสมกับ สุภาพ กลอนสักวา
เรื่องที่อ่าน กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖
กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
และโคลงสี่สุภาพ
๒. จับใจความสำคัญจาก  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ
เรื่องที่อ่าน เช่น
๓. ระบุเหตุและผล และ - เรื่องเล่าจากประสบการณ์
ข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น - เรื่องสั้น
จากเรื่องที่อ่าน - บทสนทนา
๔. ระบุและอธิบายคำ - นิทานชาดก
เปรียบเทียบ และคำที่มี - วรรณคดีในบทเรียน
หลายความหมายใน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์
บริบทต่างๆ จากการอ่าน - บทความ
๕. ตีความคำยากในเอกสาร - สารคดี
วิชาการ โดยพิจารณา - บันเทิงคดี
จากบริบท - เอกสารทางวิชาการที่มีคำ
๖. ระบุข้อสังเกตและความ ประโยค และข้อความที่ต้อง
ใช้บริบทช่วยพิจารณาความ
สมเหตุสมผล หมาย
ของงานเขียนประเภท - งานเขียนประเภทชักจูงโน้ม
ชักจูง น้าวใจ
โน้มน้าวใจ เชิงสร้างสรรค์
๗. ปฏิบัติตามคู่มือแนะนำ  การอ่านและปฏิบัติตามเอกสาร
วิธีการใช้งาน ของเครื่อง คู่มือ
มือหรือเครื่องใช้ในระดับ
ที่ยากขึ้น
๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับ  การอ่านหนังสือตามความสนใจ
จากการอ่านงานเขียน เช่น
อย่างหลากหลายเพื่อนำ - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
ไปใช้แก้ปั ญหาในชีวิต เหมาะสมกับวัย
29

- หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
กำหนดร่วมกัน
๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๒ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
แก้ว และ - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย
บทร้อยกรองได้ถูกต้อง และบทพรรณนา
- บทร้อยกรอง เช่น กลอนบท
ละคร กลอนนิทาน กลอน
เพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง
๒. จับใจความสำคัญ สรุป  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ
ความ และอธิบายราย เช่น
ละเอียดจากเรื่องที่อ่าน - วรรณคดีในบทเรียน
๓. เขียนผังความคิดเพื่อ - บทความ
แสดงความเข้าใจในบท - บันทึกเหตุการณ์
เรียนต่างๆ ที่อ่าน - บทสนทนา
๔. อภิปรายแสดงความคิด - บทโฆษณา
เห็น และ ข้อโต้แย้ง - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน - งานเขียนหรือบทความแสดง
๕. วิเคราะห์และจำแนกข้อ ข้อเท็จจริง
เท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม
และข้อคิดเห็นจาก สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
บทความที่อ่าน และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
๖. ระบุข้อสังเกตการชวน
เชื่อการ
โน้มน้าว หรือความสม
30

เหตุสมผล
ของงานเขียน
๗. อ่านหนังสือ บทความ  การอ่านตามความสนใจ เช่น
- หนังสืออ่านนอกเวลา
หรือคำประพันธ์ - หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
อย่างหลากหลาย และ เหมาะสมกับวัย
ประเมินคุณค่า - หนังสืออ่านที่ครูและ
หรือแนวคิดที่ได้จาก นักเรียนกำหนดร่วมกัน
การอ่าน เพื่อ
นำไปใช้แก้ปั ญหาใน
ชีวิต
๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
ม.๓ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
แก้ว และ บทร้อย - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทความ
กรองได้ถูกต้องและ ทั่วไปและบทความปกิณกะ
เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบท
ละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี
๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่
สุภาพ
๒. ระบุความแตกต่างของ  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ
คำที่มีความหมายโดยตรง เช่น
และความหมายโดยนัย - วรรณคดีในบทเรียน
๓. ระบุใจความสำคัญและ - ข่าวและเหตุการณ์สำคัญ
รายละเอียดของข้อมูลที่ - บทความ
สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน - บันเทิงคดี
๔. อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว - สารคดี
- สารคดีเชิงประวัติ
เขียนกรอบ
- ตำนาน
แนวคิด ผังความคิด
บันทึก ย่อความ
31

และรายงาน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์
ประเมินเรื่อง ที่อ่าน - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่ม
โดยใช้กลวิธีการเปรียบ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ได้ดีขึ้น
๖. ประเมินความถูกต้อง
ของข้อมูล ที่ใช้
สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน
๗. วิจารณ์ความสมเหตุสม
ผล การลำดับความ และ
ความเป็ นไปได้ของเรื่อง
๘. วิเคราะห์เพื่อแสดงความ
คิดเห็น
โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่
อ่าน
๙. ตีความและประเมิน  การอ่านตามความสนใจ เช่น
คุณค่า และแนวคิดที่ - หนังสืออ่านนอกเวลา
ได้จากงานเขียนอย่าง - หนังสืออ่านตามความสนใจ
หลากหลายเพื่อนำไปใช้ และตามวัยของนักเรียน
แก้ปั ญหา ในชีวิต - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
ร่วมกันกำหนด
๑๐. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

ม.๔- ๑. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย

แก้ว และ - บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ เช่น


ม.๖ บทร้อยกรองได้อย่าง บทความ นวนิยาย และ
ถูกต้อง ไพเราะ ความเรียง
และเหมาะสมกับเรื่อง - บทร้อยกรอง เช่น โคลง
ที่อ่าน ฉันท์ กาพย์
กลอน ร่าย และลิลิต
๒. ตีความ แปลความ และ  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ
32

ขยายความเรื่องที่อ่าน เช่น
๓. วิเคราะห์และวิจารณ์ - ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
เรื่องที่อ่าน อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียน
ในทุกๆ ด้านอย่างมี รู้ต่าง ๆ ในชุมชน
เหตุผล - บทความ
๔. คาดคะเนเหตุการณ์ - นิทาน
จากเรื่องที่อ่าน และ - เรื่องสั้น
ประเมินค่าเพื่อนำความรู้ - นวนิยาย
ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ - วรรณกรรมพื้นบ้าน
ปั ญหาในการดำเนินชีวิต - วรรณคดีในบทเรียน
๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง - บทโฆษณา
ความคิดเห็นโต้แย้งกับ - สารคดี
เรื่องที่อ่าน และเสนอ - บันเทิงคดี
ความคิดใหม่อย่างมี - ปาฐกถา
เหตุผล
๖. ตอบคำถามจากการ
อ่านประเภท
ต่าง ๆ ภายในเวลาที่
กำหนด

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๔- ๗. อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว - พระบรมราโชวาท
ม.๖ เขียนกรอบแนวคิดผัง - เทศนา
ความคิด บันทึก ย่อความ - คำบรรยาย
33

และรายงาน - คำสอน
๘. สังเคราะห์ความรู้จาก - บทร้อยกรองร่วมสมัย
การอ่าน
สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ - บทเพลง
อิเล็กทรอนิกส์และ - บทอาเศียรวาท
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มา - คำขวัญ
พัฒนาตน
พัฒนาการเรียน และ
พัฒนาความรู้
ทางอาชีพ
๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน
34

สาระที่ ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง


ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อักษรไทย
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้  การเขียนสื่อสาร เช่น
ถ้อยคำถูกต้องชัดเจน - การเขียนแนะนำตนเอง
เหมาะสม และสละสลวย - การเขียนแนะนำสถานที่
สำคัญๆ
- การเขียนบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์
๓. เขียนบรรยาย  การบรรยายประสบการณ์
ประสบการณ์โดยระบุ
สาระสำคัญและราย
ละเอียดสนับสนุน
35

๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา
๕. เขียนย่อความจากเรื่อง  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
ที่อ่าน เช่น เรื่องสั้น คำสอน โอวาท
คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน
ระเบียบ คำสั่ง บทสนทนาเรื่อง
เล่าประสบการณ์
๖. เขียนแสดงความคิดเห็น  การเขียนแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ได้ เกี่ยวกับสาระจากสื่อต่างๆ เช่น
รับ - บทความ
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน
- เหตุการณ์สำคัญต่างๆ
๗. เขียนจดหมายส่วนตัว  การเขียนจดหมายส่วนตัว
และจดหมาย กิจธุระ - จดหมายขอความช่วยเหลือ
- จดหมายแนะนำ
 การเขียนจดหมายกิจธุระ
- จดหมายสอบถามข้อมูล

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๑ ๘. เขียนรายงานการศึกษา  การเขียนรายงาน ได้แก่
ค้นคว้าและโครงงาน - การเขียนรายงานจากการ
ศึกษาค้นคว้า
- การเขียนรายงานโครงงาน
๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
ม.๒ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด บรรทัดตามรูปแบบการเขียน
36

ตัวอักษรไทย
๒. เขียนบรรยายและ  การเขียนบรรยายและพรรณนา
พรรณนา
๓. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเกี่ยวกับ
ประสบการณ์
๔. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น นิทาน คำสอน
บทความทางวิชาการ บันทึก
เหตุการณ์ เรื่องราวในบทเรียน
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
นิทานชาดก
๕. เขียนรายงานการศึกษา  การเขียนรายงาน
ค้นคว้า - การเขียนรายงานจากการ
ศึกษาค้นคว้า
- การเขียนรายงานโครงงาน
๖. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ
- จดหมายเชิญวิทยากร
- จดหมายขอความอนุเคราะห์
๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
และแสดงความรู้ ความ แสดงความรู้ ความคิดเห็น
คิดเห็น หรือโต้แย้ง หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น
ในเรื่องที่อ่านอย่างมี - บทความ
เหตุผล - บทเพลง
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- สารคดี
- บันเทิงคดี
๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
37

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อักษรไทย
๒. เขียนข้อความโดยใช้  การเขียนข้อความตาม

สถานการณ์และโอกาสต่างๆ
ถ้อยคำได้
เช่น
ถูกต้องตามระดับภาษา
- คำอวยพรในโอกาสต่างๆ
- คำขวัญ
- คำคม
- โฆษณา
- คติพจน์
- สุนทรพจน์
๓. เขียนชีวประวัติหรือ  การเขียนอัตชีวประวัติหรือ

อัตชีวประวัติโดยเล่า ชีวประวัติ
เหตุการณ์ ข้อคิดเห็น
และทัศนคติในเรื่องต่างๆ
๔. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ

เช่น นิทาน ประวัติ ตำนาน


สารคดีทางวิชาการ พระราชดำรัส
พระบรมราโชวาท จดหมาย
ราชการ
๕. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ

- จดหมายเชิญวิทยากร
- จดหมายขอความอนุเคราะห์
- จดหมายแสดงความขอบคุณ
๖. เขียนอธิบาย ชี้แจง  การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง
38

แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็น
และโต้แย้งอย่างมี และโต้แย้งในเรื่องต่าง ๆ
เหตุผล
๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
และแสดงความรู้ ความ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น
คิดเห็น หรือโต้แย้ง หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น
ในเรื่องต่างๆ - บทโฆษณา
- บทความทางวิชาการ
๘. กรอกแบบสมัครงาน  การกรอกแบบสมัครงาน
พร้อมเขียนบรรยายเกี่ยว
กับความรู้และทักษะ
ของตนเองที่เหมาะสมกับ
งาน
๙. เขียนรายงานการศึกษา  การเขียนรายงาน ได้แก่
ค้นคว้า และโครงงาน - การเขียนรายงานจากการ
ศึกษาค้นคว้า
- การเขียนรายงานโครงงาน
๑๐. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๔- ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบ  การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ
ต่างๆ ได้ ตรงตาม เช่น
ม.๖ วัตถุประสงค์ โดยใช้ - อธิบาย
ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี - บรรยาย
ข้อมูล และสาระสำคัญ - พรรณนา
ชัดเจน - แสดงทรรศนะ
- โต้แย้ง
- โน้มน้าว
- เชิญชวน
- ประกาศ
- จดหมายกิจธุระ
- โครงการและรายงานการ
ดำเนินโครงการ
- รายงานการประชุม
- การกรอกแบบรายการต่างๆ
39

๒. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ
๓. เขียนย่อความจากสื่อที่มี  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
รูปแบบ และเนื้อหา เช่น
หลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
- เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย
บทความทางวิชาการ และ
วรรณกรรมพื้นบ้าน
๔. ผลิตงานเขียนของ  การเขียนในรูปแบบต่างๆ เช่น
ตนเองในรูปแบบต่างๆ - สารคดี
- บันเทิงคดี
๕. ประเมินงานเขียนของผู้  การประเมินคุณค่างานเขียนใน
อื่น แล้วนำมาพัฒนางาน ด้านต่างๆ เช่น
เขียนของตนเอง - แนวคิดของผู้เขียน
- การใช้ถ้อยคำ
- การเรียบเรียง
- สำนวนโวหาร
- กลวิธีในการเขียน
๖. เขียนรายงานการศึกษา  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ค้นคว้า เรื่องที่  การเขียนอ้างอิงข้อมูล
สนใจตามหลักการเขียน สารสนเทศ
เชิงวิชาการ และใช้
ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิง
อย่างถูกต้อง
๗. บันทึกการศึกษาค้นคว้า  การเขียนบันทึกความรู้จาก
เพื่อนำไปพัฒนาตนเอง แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
อย่างสม่ำเสมอ
๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
40

สาระที่ ๓ การฟั ง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และ


พูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๑ ๑. พูดสรุปใจความสำคัญ  การพูดสรุปความ พูดแสดง

ของเรื่องที่ฟั งและดู ความรู้ ความคิดอย่าง


๒. เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ สร้างสรรค์จากเรื่องที่ฟั งและดู
ฟั งและดู  การพูดประเมินความน่าเชื่อถือ

๓. พูดแสดงความคิดเห็น ของสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าว
อย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับ
เรื่องที่ฟั งและดู
๔. ประเมินความน่าเชื่อถือ
ของสื่อ ที่มี
เนื้อหาโน้มน้าวใจ
๕. พูดรายงานเรื่องหรือ  การพูดรายงานการศึกษา

ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
จากการฟั ง การดู และ ในชุมชน และท้องถิ่นของตน
การสนทนา
๖. มีมารยาทในการฟั ง การ  มารยาทในการฟั ง การดู และ
ดู และการพูด การพูด
ม.๒ ๑. พูดสรุปใจความสำคัญ  การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟั ง

ของเรื่องที่ฟั งและดู และดู


๒. วิเคราะห์ข้อเท็จจริง  การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์

ข้อคิดเห็น และความน่า จากเรื่องที่ฟั งและดู


เชื่อถือของข่าวสารจาก
สื่อต่างๆ
๓. วิเคราะห์และวิจารณ์
เรื่องที่ฟั งและดูอย่างมี
เหตุผลเพื่อนำข้อคิดมา
ประยุกต์ใช้ในการดำเนิน
ชีวิต
๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น

ตรงตามวัตถุประสงค์ - การพูดอวยพร
- การพูดโน้มน้าว
41

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


- การพูดโฆษณา
๕. พูดรายงานเรื่องหรือ  การพูดรายงานการศึกษา
ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ

๖. มีมารยาทในการฟั ง การ  มารยาทในการฟั ง การดู และ


ดู และการพูด การพูด
ม.๓ ๑. แสดงความคิดเห็นและ  การพูดแสดงความคิดเห็น และ
ประเมินเรื่องจากการฟั ง ประเมินเรื่องจากการฟั งและ
และการดู การดู
๒. วิเคราะห์และวิจารณ์  การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จาก

เรื่องที่ฟั งและดู เรื่องที่ฟั งและดู


เพื่อนำข้อคิดมาประยุกต์
ใช้ในการดำเนินชีวิต
๓. พูดรายงานเรื่องหรือ  การพูดรายงานการศึกษา

ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า ค้นคว้าเกี่ยวกับ
จากการฟั ง การดู และ ภูมิปั ญญาท้องถิ่น
การสนทนา
๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น

ตรงตามวัตถุประสงค์ - การพูดโต้วาที
- การอภิปราย
- การพูดยอวาที
๕. พูดโน้มน้าวโดยนำเสนอ  การพูดโน้มน้าว
หลักฐานตามลำดับ
เนื้อหาอย่างมีเหตุผลและ
น่าเชื่อถือ
๖. มีมารยาทในการฟั ง การ  มารยาทในการฟั ง การดู และ
ดู และการพูด การพูด
ม.๔- ๑. สรุปแนวคิด และแสดง  การพูดสรุปแนวคิด และการ
ม.๖ ความคิดเห็นจากเรื่องที่ แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟั ง
ฟั งและดู และดู
๒. วิเคราะห์ แนวคิด การ  การวิเคราะห์แนวคิด การใช้

ใช้ภาษา และความน่า ภาษา และความน่าเชื่อถือจาก


เชื่อถือจากเรื่องที่ฟั งและ เรื่องที่ฟั งและดู
ดู
อย่างมีเหตุผล  การเลือกเรื่องที่ฟั งและดูอย่างมี

๓. ประเมินเรื่องที่ฟั งและดู วิจารณญาณ


แล้วกำหนดแนวทางนำ  การประเมินเรื่องที่ฟั งและดูเพื่อ
42

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ไปประยุกต์ใช้ในการ กำหนดแนวทางนำไปประยุกต์
ดำเนินชีวิต ใช้
๔. มีวิจารณญาณในการ
เลือกเรื่องที่ฟั งและดู
๕. พูดในโอกาสต่างๆ พูด  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น
แสดงทรรศนะ โต้แย้ง - การพูดต่อที่ประชุมชน
โน้มน้าวใจ และเสนอ - การพูดอภิปราย
แนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูก - การพูดแสดงทรรศนะ
ต้องเหมาะสม - การพูดโน้มน้าวใจ

๖. มีมารยาทในการฟั ง การ  มารยาทในการฟั ง การดู และ


ดู และการพูด การพูด

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษา และ
รักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
43

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๑ ๑. อธิบายลักษณะของเสียง  เสียงในภาษาไทย
ในภาษาไทย
๒. สร้างคำในภาษาไทย  การสร้างคำ
- คำประสม คำซ้ำ คำซ้อน
- คำพ้อง
๓. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่  ชนิดและหน้าที่ของคำ
ของคำในประโยค
๔. วิเคราะห์ความแตกต่าง  ภาษาพูด
ของภาษาพูดและภาษา  ภาษาเขียน
เขียน
๕. แต่งบทร้อยกรอง  กาพย์ยานี ๑๑
๖. จำแนกและใช้สำนวนที่  สำนวนที่เป็ นคำพังเพยและ
เป็ นคำพังเพยและสุภาษิต สุภาษิต
ม.๒ ๑. สร้างคำในภาษาไทย  การสร้างคำสมาส
๒. วิเคราะห์โครงสร้าง  ลักษณะของประโยคในภาษา
ประโยคสามัญประโยค ไทย
รวม และประโยคซ้อน - ประโยคสามัญ
- ประโยครวม
- ประโยคซ้อน
๓. แต่งบทร้อยกรอง  กลอนสุภาพ
๔. ใช้คำราชาศัพท์  คำราชาศัพท์
๕. รวบรวมและอธิบายความ  คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
หมายของ คำภาษาต่าง
ประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ม.๓ ๑. จำแนกและใช้คำภาษา  คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ต่างประเทศที่ใช้ในภาษา
44

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ไทย
๒. วิเคราะห์โครงสร้าง  ประโยคซับซ้อน
ประโยคซับซ้อน
๓. วิเคราะห์ระดับภาษา  ระดับภาษา
๔. ใช้คำทับศัพท์และศัพท์  คำทับศัพท์
บัญญัติ  คำศัพท์บัญญัติ
๕. อธิบายความหมายคำ  คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
ศัพท์ทางวิชาการและ
วิชาชีพ
๖. แต่งบทร้อยกรอง  โคลงสี่สุภาพ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.๔- ๑. อธิบายธรรมชาติของ  ธรรมชาติของภาษา
ม.๖ ภาษา พลังของภาษา  พลังของภาษา
และลักษณะของภาษา  ลักษณะของภาษา
- เสียงในภาษา
- ส่วนประกอบของภาษา
- องค์ประกอบของพยางค์
และคำ
45

๒. ใช้คำและกลุ่มคำสร้าง  การใช้คำและกลุ่มคำสร้าง
ประโยคตรงตาม ประโยค
วัตถุประสงค์ - คำและสำนวน
- การร้อยเรียงประโยค
- การเพิ่มคำ
- การใช้คำ
- การเขียนสะกดคำ
๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่ ˜ ระดับของภาษา
โอกาส กาลเทศะ และ ˜ คำราชาศัพท์
บุคคล รวมทั้งคำ
ราชาศัพท์อย่างเหมาะสม
๔. แต่งบทร้อยกรอง  กาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์
๕. วิเคราะห์อิทธิพลของ  อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศและ และภาษาถิ่น
ภาษาถิ่น
๖. อธิบายและวิเคราะห์  หลักการสร้างคำในภาษาไทย
หลักการสร้างคำในภาษา
ไทย
๗. วิเคราะห์และประเมิน  การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อ
การใช้ภาษาจากสื่อสิ่ง สิ่งพิมพ์และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
พิมพ์และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
46

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์


วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


˜ วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยว
ม.๑ ๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี
กับ
และวรรณกรรม - ศาสนา
ที่อ่าน - ประเพณี
- พิธีกรรม
- สุภาษิตคำสอน
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์
- บันเทิงคดี
- บันทึกการเดินทาง
- วรรณกรรมท้องถิ่น
๒. วิเคราะห์วรรณคดีและ  การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิด
47

วรรณกรรม ที่อ่าน จากวรรณคดีและวรรณกรรม


พร้อมยกเหตุผลประกอบ
๓. อธิบายคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อ่าน
๔. สรุปความรู้และข้อคิด
จากการอ่าน
เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริง
๕. ท่องจำบทอาขยานตาม  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่
ที่กำหนดและบทร้อย มีคุณค่า
กรองที่มีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด
สนใจ - บทร้อยกรองตามความ
สนใจ
ม.๒ ๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี  วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยว

และวรรณกรรมที่อ่านใน กับ
ระดับที่ยากขึ้น - ศาสนา
- ประเพณี
- พิธีกรรม
- สุภาษิต คำสอน
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์
- บันเทิงคดี
- บันทึกการเดินทาง

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๒. วิเคราะห์และวิจารณ์ ˜ การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิด
วรรณคดีวรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถิ่นที่ จากวรรณคดี วรรณกรรม และ
48

อ่าน พร้อมยกเหตุผล วรรณกรรมท้องถิ่น


ประกอบ
๓. อธิบายคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อ่าน
๔. สรุปความรู้และข้อคิด
จากการอ่าน
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริง
๕. ท่องจำบทอาขยานตาม  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่
ที่กำหนดและบทร้อย มีคุณค่า
กรองที่มีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด
สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
ม.๓ ๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี  วรรณคดี วรรณกรรม และ

วรรณกรรมและ วรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับ
วรรณกรรมท้องถิ่นใน - ศาสนา
ระดับที่ยากยิ่งขึ้น - ประเพณี
- พิธีกรรม
- สุภาษิตคำสอน
- เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
- บันเทิงคดี
๒. วิเคราะห์วิถีไทยและ ˜ การวิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่า

คุณค่าจากวรรณคดีและ จากวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรมที่อ่าน
๓. สรุปความรู้และข้อคิด
จากการอ่าน เพื่อนำ
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๔. ท่องจำและบอกคุณค่า  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่

บทอาขยานตามที่กำหนด มีคุณค่า
และบทร้อยกรองที่มี - บทอาขยานตามที่กำหนด
คุณค่าตามความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
และนำไปใช้อ้างอิง
ม.๔- ๑. วิเคราะห์และวิจารณ์  หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์

วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้อง
ม.๖ ตามหลักการวิจารณ์เบื้อง ต้น
49

ต้น - จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดี
และวรรณกรรม
- การพิจารณารูปแบบของ
วรรณคดีและวรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธี
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
- การวิเคราะห์และการวิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. วิเคราะห์ลักษณะเด่น  การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของ
ของวรรณคดีเชื่อมโยงกับ วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยว
การเรียนรู้ทาง กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และ
ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต วิถีชีวิตของสังคมในอดีต
ของสังคมในอดีต
๓. วิเคราะห์และประเมิน  การวิเคราะห์และประเมินคุณค่า
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ วรรณคดีและวรรณกรรม
ของวรรณคดีและ - ด้านวรรณศิลป์
วรรณกรรมในฐานะที่เป็ น - ด้านสังคมและวัฒนธรรม
มรดกทางวัฒนธรรมของ
ชาติ
๔. สังเคราะห์ข้อคิดจาก  การสังเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรม
เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง
๕. รวบรวมวรรณกรรมพื้น  วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึง
บ้านและอธิบาย - ภาษากับวัฒนธรรม
ภูมิปั ญญาทางภาษา - ภาษาถิ่น

๖. ท่องจำและบอกคุณค่า  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่
50

บทอาขยานตามที่กำหนด มีคุณค่า
และบทร้อยกรองที่มี - บทอาขยานตามที่กำหนด
คุณค่าตามความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
และนำไปใช้อ้างอิง

You might also like