You are on page 1of 32

การคัดลายมือ

ความสำคัญของการคัดลายมือ
ลายมือเป็นเครื่องมือถ่ายทอดความรู้ ความคิด
การจดบันทึกเป็นลายลักษณ์ อักษรเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ
เรื่องราวต่าง ๆ ที่ผู้เขียนต้องการถ่ายทอด ลายมือไม่
ชัดเจน อาจทำให้ผู้อ่านเข้าใจคลาดเคลื่อน ไม่ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของผู้เขียน
แนวทางปฏิบัติการคัดลายมือ
๐๑ การนั่ง นั่งเข้าหาโต๊ ะ วางกระดาษตรงหน้าผู้เขียน

๐๒ จับปากกาหรือดินสอให้ถูกวิธี

๐๓ การเขียน ต้องเริ่มจากหัวตัวอักษร
แนวทางปฏิบัติการคัดลายมือ
๐๔ รูปแบบอักษรควรเป็นแบบเดียวกัน

๐๕ ระยะห่างของตัวอักษรเท่ากัน

๐๖ การเว้นวรรคต้องได้ขนาดแน่นอน
รูปแบบตัวอักษร
หัวกลม หัวเหลี่ยม
การเขียนในโอกาสต่าง ๆ
การเขียน
การเขียนเป็นสื่อสารด้วยผ่านตัวอักษร ถ่ายทอด
ความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก และประสบการณ์ ของ
ผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน
ความสำคัญของการเขียน
๑. การเขียนเป็นการสื่อสารอย่างหนึ่ง
๒. การเขียนเป็นการแสดงออกทางซึ่งภูมิปัญญา
๓. การเขียนเป็นเครื่องมือถ่ายทอดมรดกทางสติปัญญา
๔. การเขียนเป็นสร้างความสามัคคี ในทางตรงกันข้าม
การเขียนเป็นเครื่องบ่อนทำลายได้เช่นกัน
จุดมุ่งหมายของการเขียน
๐๑ เขียนเพื่อเล่าเรื่อง

๐๒ เขียนเพื่ออธิบาย

๐๓ เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น

๐๔ เขียนเพื่อกิจธุระ
มารยาทในการเขียน
๑. หลีกเลี่ยงคำหยาบคาย หรือทำให้เกิดความแตกแยก
๒. เขียนข้อความหรืองานที่เป็นจริง ตรวจสอบว่าถูกต้องแล้ว
๓. เขียนให้ถูกต้องตามอักขรวิธี
๔. เขียนสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ เกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ
๕. การไม่คัดลอกงานเขียนของผู้อื่น
หลักการใช้ภาษาไทยในการเขียน
๐๑ ระดับภาษา
การเขียนประโยค ควรเป็นระดับคำเดียวกัน เพื่อให้เกิดความ
สอดคล้อง สละสลวย สื่อความหมายไปในทางเดียวกัน ระดับภาษา มีดังนี้
๑. พิธีการ ๒. ทางการ ๓. กึ่งทางการ ๔. สนทนา ๕. กันเอง
๐๒ การใช้คำ
รู้จักใช้คำได้อย่างสละสลวย ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
- การเขียนสะกดคำและการใช้เครื่องหมายวรรคตอน
- การใช้คำและสำนวนให้ถูกต้องเหมาะสม
หลักการใช้ภาษาไทยในการเขียน
๐๓ การใช้ประโยค
การเรียบเรียงประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ควรมีความ
กระชับ กะทัดรัดในประโยคเดียว ไม่ควรมีกริยาหลายตัว หลีกเลี่ยง
การใช้ำสำนวนต่างประเทศ
๐๔ รู ปแบบและเนื้อหาของการเขียน
คำนึงถึงรูปแบบและเนื้อหาของงานเขียน เช่นการเขียน
จดหมายใช้ภาษาทางการ การเขียนนวนิยายใช้ภาษากึ่งทางการ
และภาษาปาก เป็นต้น
การเขียนตามสถานการณ์ และในโอกาสต่าง ๆ
๐๑ ๐๒ ๐๓

อวยพร คำขวัญ คำคม

๐๔ ๐๕ ๐๖

โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์


การเขียนคำอวยพร
หมายถึง การแสดงความยินดีหรือความปราถนาดีต่อผู้อื่น
ในโอกาสต่าง ๆ
แนวทางการเขียนอวยพร
๐๑ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้อวยพร และผู้รับพร
๐๒ การกล่าวถึงโอกาสที่อวยพร
๐๓ การกล่าวอ้างถึงสิ่งศักด์สิทธิ์ที่เป็นสากลหรือสิ่งที่ผู้รับพรนับถือ

๐๔ ให้พรที่เหมาะสมกับผู้รับและเป็นพรที่สร้างสรรค์ในด้านต่าง ๆ

๐๕ ใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้อง ไพเราะ และมีความหมายดี


ประเภทของคำอวยพร

๑. คำอวยพรในโอกาสทั่ว ๆ ไป ๒. คำอวยพรเฉพาะโอกาส
ให้พรคนที่มาช่วยเหลือ ให้พรเนื่องในวันเกิด วันขึ้นปีใหม่
ดูแล เยี่ยมเยียน หรือให้พร วันขึ้นบ้านใหม่ วันแต่งงาน วันสำเร็จ
ด้วยความเอ็นดู รักใคร่หรือ การศึกษา วันรับตำแหน่งใหม่
หวังดี เป็นต้น
ขอให้มั่งมีศรีสุข
ขอให้เจริญ ขอให้มีความเจริญใน
ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข หน้าที่การงาน
การเขียนอธิบาย ชี้แจง โต้แย้ง
แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
การเขียนอธิบาย
การเขียนอธิบาย คือ การเขียนเพื่อชี้แจง
อธิบายวิธีใช้ วิธีทำ ขั้นตอนการทำ เพื่อให้ผู้อ่าน
ปฏิบัติตามได้ เช่น การทำอาหาร ตำราวิชาการ
แนวทางการเขียนอธิบาย
๐๑ ๐๒ ๐๓

เป็ นเรื่องที่ ต้องการ


เรื่องที่ น่าสนใจ ถ้อยคำกระชับรัดกุม
คำอธิบาย

๐๔ ๐๕ ๐๖

ลำดับขั้นตอน ข้อมูลถูกต้อง
ภาษาที่ เข้าใจง่าย
ตั้งแต่ ต้นจนจบ เป็ นประโยชน์
กล่าวเป็ นข้อ
การเขียนชี้แจง
การเขียนชี้แจง คือ เป็นการเขียนเพื่อชี้แจงเรื่องราว
เหตุการณ์ ขั้นตอน คล้ายกับการเขียนอธิบาย
การเขียนแสดงความคิดเห็น
การเขียนแสดงความคิดเห็น คือ งานเขียนเพื่อ
แนะนำหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
หรือการเขียนเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ เช่น บทความวิชาการ
บทบรรณาธิการ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องตั้งมั่นอยู่บนพื้น
ฐานข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ และหลักเหตุผล
แนวทางการเขียนแสดงความคิดเห็น
๐๑ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ จะเขียน

๐๒ ข้อมูลที่ นำเสนอถูกต้อง

๐๓ ไม่มีอคติ

๐๔ เขียนเพื่ อให้เกิดการปรับปรุ ง หรือแก้ไข

๐๕ เป็ นประโยชน์ ต่ อผู้อ่าน


แนวทางการเขียนแสดงความคิดเห็น
๐๖ บอกถึงข้อดี ข้อบกพร่องอย่างชัดเจน

๐๗ ไม่ชักจูง แต่ เป็ นเพียงการแนะนำเท่านั้น

๐๘ ภาษาเข้าใจง่าย

๐๙ ควรใช้ภาษาเร้าใจผู้อ่าน

๑๐ ควรใข้ถ้อยคำสำนวนที่ เป็ นแรงจูงใจหรือกระตุ้น


ให้ผู้อ่านเกิดแนวคิดใหม่ ๆ
การเขียนชีวประวัติ
และอัตชีวประวัติ
ชีวประวัติ
ชีวประวัติ คือ งานเขียนชนิดหนึ่งที่กล่าวถึงของบุคคลใน
ช่วงชีวิต ไม่เพียงกล่าวถึงแต่วันเกิด อาชีพ การศึกษา
แต่มีการกล่าวถึงเรื่องราวของแต่ละช่วงชีวิต เหตุการณ์
สำคัญที่เกิดขึ้นในชีวิต ทั้งนี้หากเป็นประวัติของผู้เขียน
เอง จะเรียกว่า อัตชีวประวัติ
อัตชีวประวัติ
อัตชีวประวัติ มาจากคำว่า อัต ชีว และประวัติ
หมายถึง ประวัติชีวิตของตนเอง
แนวทางการเขียนชีวประวัติและอัตชีวประวัติ

๐๑ ๐๒ ๐๓

เลือกบุคคลที่น่าสนใจ
เขียนด้วยความ ผู้เขียนจะต้องศึกษา
มีตัวตนหรือไม่ก็ได้
บริสุทธิ์ใจ ปราศจาก ค้นคว้า ข้อมูล ข้อเท็จจริง
โดยนำเสนอทั้งด้านที่
อคติ และไม่ยกย่อง เกี่ยวกับบุคคลนั้นอย่าง
ประสบความสำเร็จ
จนเกินควร ถ่องแท้ในด้านต่าง ๆ
และความล้มเหลว
โดยใช้ภาษาถูกต้อง
เพื่อเป็นข้อคิด
ลักษณะงานเขียนอัตชีวประวัติ

๒. เนื้อหาประกอบด้วย
- ประวัติส่วนตัว
๑. เป็นงานเขียนที่นำเสนอ - การศึกษา
ข้อมูลและเรื่องราวเกี่ยว -การทำงาน
กับตัวผู้เขียนเอง - ความสัมพันธ์
- เรื่องราวต่าง ๆ ที่สำคัญต่อ
ผู้เขียน
หลักการเขียนอัตชีวประวัติ

๐๑ ๐๒ ๐๓

ใช้ภาษาระดับทางการ เขียนครอบคลุมทั้ง เขียนเกี่ยวกับ


หรือกึ่งทางการ เรื่องในอดีต ปัจจุบัน ครอบครัวของตน
กระผม, ผม, ดิฉัน, ฉัน, และอนาคตคิดว่าจะทำ การศึกษา การทำงาน
ข้าพเจ้า อย่างไร หรืออาจเล่า
เหตุการณ์ ที่ประทับใจ
คติประจำใจ
รบ้าน
กา
นักเรียนเขียนอัตชีวประวัติ (พิมพ์)
๑ หน้า กระดาษ
พร้อมภาพถ่ายที่ชัดเจนและผ่าน
แอปพลิเคชั่นน้อยสุด

ตัวหนังสือ TH SarabunT๙
ชื่อเรื่อง ขนาด ๑๘
เนื้อเรื่อง ขนาด ๑๖
หัวข้อให้ใช้ตัวอักษรสีน้ำเงิน

You might also like