You are on page 1of 28

1

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ สองพีน่ ้ อง

เวลา ๑๐ ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์ เป้ าหมายการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน

ความรู้
การจับใจความสำคัญจากเรื่ องที่ฟัง
การอ่านเรื่ อง สองพี่นอ้ ง
การอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด
การอ่านคำที่ออกเสี ยง ร ล
การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ
การพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนา
การผันอักษร ๓ หมู่

ภาระงาน/ชิ้นงาน
ทักษะและกระบวนการ
ทำแบบทดสอบ
กระบวนการฟังและการดู
อ่านออกเสี ยงและการอ่านจับใจความ
กระบวนการพูด
สำคัญ
กระบวนการอ่าน
เขียนแผนภาพโครงเรื่ อง
กระบวนการเขียน
เขียนย่อความ
กระบวนการคิดวิเคราะห์
แต่งคำขวัญหรื อบทร้อยกรอง สองพีน่ ้ อง
กระบวนการกลุ่ม
อ่านบทร้อยกรอง
คัดลายมือ
พูดแนะนำตนเองและพูดสนทนา
ผันอักษรสามหมู่
ทำใบงาน
คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม
มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
มีมารยาทในการอ่านและมีนิสยั รักการอ่าน
มีมารยาทในการเขียนและมีนิสยั รักการเขียน
ผังทการออกแบบการจั
มีเจตคติ ดการเรียนรู้
ี่ดีต่อการเรี ยนภาษาไทย
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ สองพีน่ ้ อง

ขั้นที่ ๑ ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน


ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)
2

๓. มีมารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘)


๔. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)
๕. เขียนย่อความจากเรื่ องสั้น ๆ ท ๒.๑ (ป. ๔/๔)
๖. จำแนกข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)
๗. พูดสรุ ปความจากการฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)
๘. พูดแสดงความรู ้ ความคิดเห็น และความรู ้สึกเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)
๙. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๔)
๑๐. รายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
๑๑. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
๑๒. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริ บทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)
๑๓. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)
๑๔. แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕)
๑๕. ระบุขอ้ คิดจากนิทานพื้นบ้านหรื อนิทานคติธรรม ท ๕.๑ (ป. ๔/๑)
๑๖. อธิบายข้อคิดในการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่ า...
1. การอ่านและการฟัง เป็ นทักษะที่จะต้อง 1. ข้อคิดหรื อประโยชน์ที่ได้จากการฟังหรื อ
ฝึ กฝนอย่างสม่ำเสมอจึงจะเกิดความ การอ่านเรื่ อง สองพี่นอ้ ง มีอะไรบ้าง
ชำนาญ 2. การอ่านหรื อการเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง
2. แม่ ก กา เป็ นคำที่ประสมพยัญชนะและ จะเกิดผลอย่างไรบ้าง
สระไม่มีตวั สะกด 3. คำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น อ่านแตกต่าง
3. แม่กน เป็ นคำที่อ่านออกเสี ยงเหมือนมี กันหรื อไม่ อย่างไร
น สะกด 4. คำที่ประวิสรรชนียก์ บั คำที่ไม่ประ-
4. แม่กด เป็ นคำที่อ่านออกเสี ยงเหมือนมี วิสรรชนียม์ ีวิธีการอ่านแตกต่างกันอย่างไร
ด สะกด 5. คำพูดลักษณะใดที่เหมาะสมในการพูด
สนทนา
5. คำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น การอ่านออก 6. การพูดแนะนำตนเองควรพูดอย่างไร
เสี ยงจะอ่านแตกต่างกัน สังเกตจาก 7. การผันอักษร ๓ หมู่จะต้องคำนึงถึงอะไร
ตำแหน่งของการกระดกลิ้น บ้าง และมีหลักการผันอย่างไร
6. คำที่ออกเสี ยง อะ มี ๒ ลักษณะ คือ
คำที่ประวิสรรชนียก์ บั คำที่ไม่
ประวิสรรชนีย์
7. การพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนา
จะต้องใช้ภาษาที่สุภาพ เหมาะสมกับ
บุคคลและสถานการณ์
8. อักษร ๓ หมู่ แบ่งออกเป็ น อักษรกลาง
อักษรสูง อักษรต่ำ
ความรู้ ของนักเรียนที่นำไปสู่ ความเข้ าใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
คงทน นักเรียนจะรู้ ว่า... ความเข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
๑. คำสำคัญ ได้แก่ กระแทก กิ่งไผ่ สัญญา 1. บอกใจความสำคัญและสรุ ปข้อคิดจากเรื่ อง
3

สามัคคี ที่อา่ นหรื อฟัง


๒. การฟังเรื่ องราว ผูฟ้ ังจะต้องจับใจความ 2. อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อคิด
สำคัญของเรื่ องให้ได้ เพื่อจะได้น ำไป และคุณธรรมจากเรื่ องที่อ่านหรื อฟัง
ถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ถูกต้อง 3. บอกวิธีการนำข้อคิดที่ได้จากเรื่ องไป
3. การอ่านเรื่ องราวต่าง ๆ ผูอ้ ่านจะต้อง จับใจ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ความสำคัญ สรุ ปความ วิเคราะห์เนื้ อหาและ 4. อ่านและเขียนคำที่สะกดด้วยแม่ ก กา แม่
บอกข้อคิดของเรื่ องให้ได้ กน และแม่กด
4. แม่ ก กา เป็ นคำที่ประสมพยัญชนะและ 5. อ่านและเขียนคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น
สระที่ไม่มีตวั สะกด 6. อ่านและเขียนคำที่ออกเสี ยง อะ
5. คำที่มี น ญ ณ ร ล ฬ เป็ นตัวสะกด เป็ นคำ 7. อธิบายวิธีตนเองตัวได้ถูกต้องครบถ้วน
ในแม่กน 8. พูดแนะนำตัวและพูดสนทนาเหมาะสมกับ
6. คำที่มี ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส บุคคลและสถานการณ์
เป็ นตัวสะกด เป็ นคำในแม่กด 9. บอกลักษณะของคำเป็ น คำตาย และผัน
7. คำที่มี ร เป็ นพยัญชนะต้น เวลาอ่านต้อง อักษร ๓ หมู่ถูกต้อง
อ่านกระดกลิ้น ส่ วนคำที่มี ล เป็ น
พยัญชนะต้น เวลาอ่านไม่ตอ้ งกระดกลิ้น
8. การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ อ่านได้ ๒
ลักษณะ คือ คำที่มีรูป –ะ ให้อ่านออกเสี ยง
อะ เต็มเสี ยง คำที่ไม่มีรูป –ะ ให้อ่านออก
เสี ยง อะ กึ่งเสี ยง
๙. การพูดแนะนำตนเองเป็ นการบอกข้อมูลของ
ตนเองให้ผอู ้ ื่นได้รู้จกั
๑๐. การพูดสนทนา เป็ นการพูดคุยที่แสดงถึงมิตร
ไมตรี ควรใช้ภาษาที่สุภาพให้เกียรติซ่ ึงกัน
และกัน
๑๑. อักษร ๓ หมู่ ผันได้ดงั นี้ อักษรกลาง คำเป็ น
ผันได้ ๕ เสี ยง คำตายผันได้ ๔ เสี ยง อักษรสูง
คำเป็ นผันได้ ๓ เสี ยง คำตายผันได้ ๒ เสี ยง
อักษรต่ำ คำเป็ น ผันได้ ๓ เสี ยง คำตายเสี ยงสั้น
ผันได้ ๓ เสี ยง คำตายเสี ยงยาวผันได้ ๓ เสี ยง
ขั้นที่ ๒ ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กำหนดไว้ อย่ างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
๑.๑ อ่านออกเสี ยงเรื่ อง สองพี่นอ้ ง จับใจความสำคัญ บอกข้อคิดของเรื่ องที่อ่าน
๑.๒ เขียนแผนภาพโครงเรื่ องจากเรื่ องที่ฟัง
๑.๓ เขียนย่อความ
๑.๔ แต่งคำขวัญและบทร้อยกรอง
๑.๕ อ่านและเขียนคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด
๑.๖ อ่านบทร้อยกรอง
4

๑.๗ คัดลายมือ
๑.๘ อ่านและเขียนคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น
๑.๙ อ่านและเขียนคำที่ออกเสี ยง อะ
๑.๑๐ พูดแนะนำตนเองและพูดสนทนา
๑.๑๑ ผันอักษร ๓ หมู่
๒. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
๒.๑ วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู ้ ๒.๒ เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู ้
๑) การทดสอบ ๑) แบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน
๒) การสนทนาซักถาม ๒) แบบทดสอบการอ่าน
๓) การสังเกต ๓) แบบประเมินการอ่าน
๔) การตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็ น ๔) แบบประเมินการเขียน
รายบุคคลหรื อรายกลุ่ม ๕) ประเมินการฟังและการดู
๕) การวัดเจตแบบคติ ๖) ประเมินการพูด
๖) การวัดทักษะและกระบวนการ ๗) แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
๘) แบบประเมินด้านทักษะและกระบวนการ
๓. สิ่งที่ม่ ุงประเมิน
๓.๑ ความสามารถในการอธิบาย ชี้ แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง และ
นำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ ใจความรู ้สึกของผูอ้ ื่น และการ
รู ้จกั ตนเอง
๓.๒ ทักษะกระบวนการทางภาษา
๓.๓ สมรรถนะสำคัญ ได้แก่ การสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกั ษะชีวิต และการใช้
เทคโนโลยี
๓.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยู่
อย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
ขั้นที่ ๓ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๑ การจับใจความสำคัญจากเรื่ องที่ฟัง เวลา ๑ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๒ การอ่านเรื่ อง สองพี่นอ้ ง เวลา ๒ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๓ การอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กด และแม่กน เวลา ๑ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๔ การอ่านคำที่ออกเสี ยง ร ล เวลา ๑ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๕ การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ เวลา ๑ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๖ การพูดแนะนำตัวและการพูดสนทนา เวลา ๒ ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ ๗ การผันอักษร ๓ หมู่ เวลา ๒ ชัว่ โมง
5

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
การจับใจความสำคัญจากเรื่องที่ฟัง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๑ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง

๑. สาระสำคัญ
การฟังเป็ นวิธีการรับสารวิธีหนึ่ ง ผูท้ ี่มีทกั ษะในการฟังจะต้องจับใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟังได้
ครบถ้วน และสามารถนำมาถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. จำแนกข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)
๒. พูดสรุ ปความจากการฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)
๓. พูดแสดงความรู ้ ความคิดเห็น และความรู ้สึกเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)
๔. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๔)
๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. ฟังเรื่ องราวแล้วสามารถจับใจความสำคัญและตอบคำถามจากเรื่ องได้ (K)
๒. เขียนแผนภาพโครงเรื่ องจากเรื่ องที่ฟังได้ (P)
๓. เล่าเรื่ องถ่ายทอดประสบการณ์โดยใช้ถอ้ ยคำสุ ภาพและเหมาะสมกับเรื่ องได้ (P)
๔. บอกข้อคิดที่ได้จากนิทานเทียบสุ ภาษิต (K, P)
๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด (A)
6

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการฟังและการดู
๒. ตรวจผลการทำกิจกรรม เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ๒. ประเมินทักษะการพูดเล่าเรื่ อง
๓. ตรวจแบบทดสอบก่อน และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๓. ประเมินทักษะการเขียนแผนภาพ
เรี ยน ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ โครงเรื่ อง
วินยั ในการทำงาน ฯลฯ ๔. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
๒. ประเมินมารยาทในการฟังและการดู

๕. สาระการเรียนรู้
การจับใจความสำคัญจากเรื่ องที่ฟัง

๖. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  เขียนแผนภาพโครงเรื่ อง เรื่ อง สองพี่นอ้ ง
สังคมศึกษาฯ  อ่านและศึกษานิทานเทียบสุ ภาษิตที่มีขอ้ คิดเดียวกับเรื่ อง สองพี่นอ้ ง

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ ขั้นนำเข้ าสู่ บทเรียน
๑. นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน
๒. นักเรี ยนดูภาพจากเรื่ อง สองพี่นอ้ ง แล้วร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับภาพ
๑) ภาพที่ดูเป็ นภาพอะไร
๒) ตัวละครในภาพมีใครบ้าง
๓) เรื่ องราวในภาพน่าจะเป็ นอย่างไร
ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนฟังเรื่ อง สองพี่นอ้ ง จากแถบบันทึกเสี ยงหรื อครู อ่านให้ฟัง ๒ ครั้ง เพื่อให้นกั เรี ยน
จับใจความได้มากขึ้น
๒. ครู ซกั ถามนักเรี ยนเกี่ยวกับเนื้อเรื่ องตามแนวคำถามต่อไปนี้
๑) เป็ นเรื่ องอะไร
๒) ตัวละครมีใครบ้าง
๓) เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ไหน
๔) เหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อไร
๕) เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นบ้าง
๖) ผลเป็ นอย่างไร
๗) มีขอ้ คิดอะไรบ้าง
7

๓. นักเรี ยนนำคำตอบจากข้อ ๒ มาเขียนเป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง โดยนักเรี ยนช่วยกันบอกให้


ครู เขียนบนกระดาน แล้วนักเรี ยนช่วยกันเล่าเรื่ องตามแผนภาพโครงเรื่ อง
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
๑. นักเรี ยนทำกิจกรรมเกี่ยวกับเนื้อเรื่ อง สองพี่นอ้ ง แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
๒. นักเรี ยนอ่านนิทานเทียบสุ ภาษิตหรื อนิ ทานคติธรรมที่มีขอ้ คิดเกี่ยวกับเรื่ องความสามัคคี
ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
๑. นักเรี ยนเล่าเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ให้เพื่อนหรื อผูป้ กครองฟังได้
๒. นักเรี ยนนำข้อคิดจากเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ไปเป็ นแบบอย่างในการปฏิบตั ิตน
ขั้นที่ ๕ สรุป
นักเรี ยนทั้งชั้นช่วยกันเล่าเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ตามที่ได้ฟัง

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรี ยนศึกษาค้นคว้านิทานเทียบสุ ภาษิตเรื่ องอื่น ๆ มาเล่าถ่ายทอดให้เพื่อนฟัง
๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. แบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน
๒. รู ปภาพ
๓. แถบบันทึกเสี ยง
๔. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๕. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด
๖. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด

๑๐. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ความสำเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางการพัฒนา
๒. ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /
8

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
การอ่ านเรื่อง สองพีน่ ้ อง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๒ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง

๑. สาระสำคัญ
การอ่านเป็ นการฝึ กทักษะทางภาษา ผูท้ ี่อ่านอย่างสม่ำเสมอจะอ่านได้คล่องแคล่ว เข้าใจความหมาย
ของถ้อยคำสำนวนภาษา จับใจความ สรุ ปความ วิเคราะห์เรื่ องที่อ่านได้ดี และมีความรู ้อย่างกว้างขวาง

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)
9

๓. มีมารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘)


๔. เขียนย่อความจากเรื่ องสั้น ๆ ท ๒.๑ (ป. ๔/๔)
๕. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)
๖. แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕)
๗. ระบุขอ้ คิดจากนิทานพื้นบ้านหรื อนิทานคติธรรม ท ๕.๑ (ป. ๔/๑)
๘. อธิบายข้อคิดในการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อ่านเรื่ องราวแล้วสามารถจับใจความสำคัญและสรุ ปข้อคิดจากเรื่ องที่อ่านได้ (K)
2. พูดและเขียนแสดงความรู ้ ความคิด ความรู ้สึก และจินตนาการได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
(K, P)
3. อ่านออกเสี ยงคำใหม่และบอกความหมายได้ถูกต้อง (K, P)
4. เขียนย่อความเรื่ องที่อ่านได้ถูกต้องตามรู ปแบบการเขียนย่อความ (K, P)
5. แต่งคำขวัญหรื อบทร้อยกรองได้อย่างสร้างสรรค์ (P)
6. ใช้กระบวนการอ่านพัฒนาความเข้าใจในการอ่าน และเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาตนเองในการ
ดำเนินชีวิตได้ (P)
7. มีความสนใจในการเรี ยนภาษาไทย (A)

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการอ่านออกเสี ยง
และการตั้งคำถามจาก เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ร้อยแก้ว
เรื่ องที่อ่าน และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๒. ประเมินทักษะการอ่านจับ
๒. สังเกตการสรุ ปข้อคิด ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ ใจความ
จากเรื่ องที่อ่าน วินยั ในการทำงาน ฯลฯ ๓. ประเมินทักษะการเขียนย่อความ
๓. ตรวจผลการทำกิจกรรม ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรี ยน ๔. ประเมินทักษะการแต่งร้อยกรอง
ภาษาไทย ๕. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
๖. ประเมินทักษะกระบวนการกลุ่ม

๕. สาระการเรียนรู้
การอ่านเรื่ อง สองพี่นอ้ ง

๖. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษา  ศึกษาเรื่ อง คุณธรรม จริ ยธรรมที่ควรมีในสังคม/อ่าน
ข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์
ศิลปะ  ตกแต่งระบายสี แถบประโยค
10

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ นำเข้ าสู่ บทเรียน
๑. ครู นำข่าวจากหน้าหนังสื อพิมพ์ที่เกี่ยวกับการแตกความสามัคคีของคนในสังคมมาให้
นักเรี ยนดู และร่ วมกันอภิปรายถึงที่มาของการทะเลาะเบาะแว้งนั้น แล้วให้นกั เรี ยน
ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ของนักเรี ยนเอง โดยครู ใช้ค ำถาม
กระตุน้ ดังนี้
๑) การทะเลาะนั้นมีที่มาจากสาเหตุใด
๒) เราจะมีวิธีไหนบ้างที่จะหลีกเลี่ยงการทะเลาะและเผชิญหน้ากันอย่างรุ นแรงได้
๓) ผลที่ได้รับจากการแตกความสามัคคีในข่าวนี้คืออะไร
๒. จากนั้นครู น ำข่าวที่เกี่ยวกับความกตัญญูของคนในสังคมอีกข่าวหนึ่งมาให้นกั เรี ยนดูและ
เปรี ยบเทียบกัน โดยครู ใช้ค ำถามกระตุน้ ดังนี้
๑) การกระทำของคนในข่าวนี้ควรได้รับผลตอบแทนจากสังคมอย่างไรบ้าง
๒) สองข่าวนี้มีความเหมือนหรื อความแตกต่างกันอย่างไร
๓) ถ้าให้นกั เรี ยนเลือก นักเรี ยนอยากตกเป็ นข่าวแบบไหนในหน้าหนังสื อพิมพ์
๓. ครู บอกนักเรี ยนให้ทราบว่า วันนี้ จะเรี ยนเรื่ องคุณธรรมพื้นฐานที่นกั เรี ยนควรมีในครอบครัว
คือความสามัคคีและความกตัญญูต่อบิดามารดา

ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
1. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มละ ๔–๕ คน ให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรม “การตั้งคำถามจากเรื่ องที่
อ่าน” โดยครู แจกใบความรู ้เรื่ อง การตั้งคำถามพัฒนากระบวนการคิด “หมวกความคิด ๖ ใบ”
ให้ทุกกลุ่มศึกษาและทำความเข้าใจ
2. ครู สุ่มถามนักเรี ยนเกี่ยวกับเนื้อหาในใบความรู ้ เพื่อทดสอบความเข้าใจ
3. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ในหนังสื อเรี ยน/สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์
แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ แล้วช่วยกันเขียนคำถามพัฒนากระบวนการคิด หมวกความคิด ๖
ใบ พร้อมคำเฉลย กลุ่มละ ๖ คำถาม ตามที่ได้ศึกษาจากใบความรู ้
4. ให้แต่ละกลุ่มจับสลากเพื่อส่ งตัวแทนออกมาถามคำถามเพื่อนกลุ่มอื่นหน้าชั้นเรี ยน กลุ่มที่ตอบ
คำถามได้ จะได้คะแนนคำถามละ ๑ คะแนน กลุ่มใดตอบคำถามถูกต้องมากที่สุด เป็ นผูช้ นะ
5. นักเรี ยนช่วยกันคัดเลือกคำถามที่สมาชิกในกลุ่มชอบมากที่สุด มาเขียนแถบประโยคคำถาม
และคำตอบ กลุ่มละ ๑ คำถาม พร้อมทั้งเขียนกำกับไว้ดว้ ยว่าเป็ นคำถามจากหมวกสี อะไร
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
๑. นักเรี ยนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับเนื้อเรื่ อง สองพี่นอ้ ง แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
๒. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงเรื่ อง สองพี่นอ้ ง โดยอ่านเป็ นกลุ่ม อ่านเป็ นคู่ และอ่านกับครู เป็ น
รายบุคคล
๓. นักเรี ยนอ่านคำใหม่ในบทเรี ยน แล้วค้นหาความหมายจากพจนานุกรม
๔. นักเรี ยนเขียนย่อความเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ตามรู ปแบบการเขียนย่อความ
๕. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเขียนคำขวัญหรื อแต่งบทร้อยกรองที่มีขอ้ คิด
เกี่ยวกับเรื่ อง สองพี่นอ้ ง
ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
1. นักเรี ยนรู ้จกั ตั้งคำถามเพื่อพัฒนาความคิดจากเรื่ องต่างได้ ๆ
11

2. นักเรี ยนนำข้อคิดที่ได้จากเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ไปเป็ นแบบอย่างในการปฏิบตั ิตนได้


ขั้นที่ ๕ สรุป
ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปวิธีต้ งั คำถามและข้อคิดที่ได้จากเรื่ อง สองพี่นอ้ ง

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
๑. นักเรี ยนอ่านเรื่ องที่ตนสนใจนอกเหนือจากในบทเรี ยน แล้วตั้งคำถามพร้อมเฉลยคำตอบตาม
แนวทางจากใบความรู ้
๒. นักเรี ยนอ่านนิทานคติธรรม แล้วสรุ ปข้อคิดที่ได้จากเรื่ อง

๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. ข่าวจากหนังสื อพิมพ์รายวัน
๒. ใบความรู ้เรื่ อง การตั้งคำถามพัฒนากระบวนการคิด “หมวกความคิด ๖ ใบ”
๓. สลาก
๔. พจนานุกรม
๕. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๖. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด
๗. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด

๑๐. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ความสำเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางการพัฒนา
๒. ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /
12

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
การอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่ กน และแม่ กด

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๑ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง
๑. สาระสำคัญ
การศึกษาเรื่ อง มาตราตัวสะกด เป็ นพื้นฐานทำให้นกั เรี ยนเข้าใจหลักการเขียนสะกดคำในภาษาไทย
การฝึ กให้นกั เรี ยนอ่านคำที่ใช้ตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด จะทำให้นกั เรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ และ
สามารถเขียนสะกดคำที่มีตวั สะกด แม่ ก กา แม่กน และแม่กด ได้ถูกต้อง

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
๒. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)
๓. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริ บทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กดได้ (P)
2. อ่านออกเสี ยงและบอกความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยคได้ (K, P)
3. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม (P)
4. ใช้ทกั ษะทางภาษาในการเรี ยน การแสวงหาความรู ้ และการทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ (P)
5. มีความสนใจในการเรี ยนภาษาไทย (A)
๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการอ่านออกเสี ยง
และการเขียนคำศัพท์ เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ร้อยแก้ว
๒. ตรวจผลการทำกิจกรรม และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๒. ประเมินทักษะการอ่านออกเสี ยง
ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ ร้อยกรอง
วินยั ในการทำงาน ฯลฯ ๓. ประเมินทักษะการคัดลายมือ
๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรี ยน ๔. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
ภาษาไทย ๕. ประเมินทักษะกระบวนการกลุ่ม
๕. สาระการเรียนรู้
การอ่าคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด

๖. แนวทางบูรณาการ
ศิลปะ  ออกแบบตกแต่งรู ปเล่มรายงาน
สุ ขศึกษาฯ  เล่นเกมแข่งขันสร้างศัพท์ใหม่
13

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ นำเข้ าสู่ บทเรียน
๑. ครู เขียนคำต่อไปนี้บนกระดาน “ไผ่ จด ขัน” และร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำศัพท์น้ นั ๆ
โดยครู ใช้ค ำถามกระตุน้ ดังนี้
– ถ้าเราสลับตัวสะกดของพยัญชนะเหล่านี้เพื่อสร้างคำใหม่ คำเหล่านี้จะมีความหมาย
หรื อไม่ จากนั้นจึงให้นกั เรี ยนแข่งขันกันเขียนคำศัพท์
๒. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งเป็ น ๒ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมากลุ่มละ ๓ คน แข่งขันกัน
สร้างศัพท์ใหม่จากคำศัพท์ที่ครู ก ำหนดให้ โดยใช้พยัญชนะและสระเดิม เปลี่ยนแต่เพียง
ตัวสะกด มีกติกาว่าจะต้องเป็ นคำที่มีความหมาย กลุ่มที่เขียนเสร็ จก่อนเป็ นผูช้ นะ เช่น
ไผ่ – ไข่ จด – ผด – ขด ขัน – ผัน – จัน
๓. ครู บอกนักเรี ยนให้ทราบว่าตัวสะกดนั้นมีความสำคัญกับความหมายของคำมาก หาก
ตัวสะกดเปลี่ยนไป ก็อาจทำให้ความหมายของคำเปลี่ยนแปลงไปด้วย จากนั้นให้นกั เรี ยน
อ่านคำบนกระดานพร้อม ๆ กัน แล้วพูดโยงเข้าเรื่ อง การอ่านคำที่มีตวั สะกด แม่ ก กา
แม่กน และแม่กด
ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรี ยนดูค ำที่สะกดด้วยแม่ ก กา แม่กด และแม่กน จากแผนภูมิที่ครู ติดบนกระดาน แล้วฝึ กอ่าน
ออกเสี ยงพร้อมกัน
ตัวอย่ างคำ

ใคร เสี ย พ่อ น้ำ เวลา


เชิญ กิน ปลาวาฬ มโหฬาร สาร
ราช ผลิต มงกุฎ บาด พิษ

2. นักเรี ยนสังเกตและสนทนาเรื่ อง ส่ วนประกอบของคำ ตามประเด็นคำถามต่อไปนี้


๑) ส่ วนประกอบของคำมีอะไรบ้าง
๒) จากตัวอย่าง คำที่ก ำหนดให้ มีตวั สะกดในแม่ใดบ้าง
๓) คำใดบ้างที่มีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด
๓. นักเรี ยนร่ วมกันตั้งคำถามจากการอภิปรายในข้อ ๒ โดยใช้แนวการตั้งคำถาม เช่น
๑) มีค ำใดอีกบ้างที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด
๒) คำที่สะกดตรงตามมาตราตัวสะกดและไม่ตรงตามมาตราตัวสะกดเหล่านี้ เขียนเป็ นคำอ่าน
ว่าอย่างไร
๔. นักเรี ยนและครู ร่วมกันกำหนดประเด็นที่จะศึกษาเกี่ยวกับคำ และการอ่านคำในแม่ ก กา
แม่กน และแม่กด แล้วร่ วมกันอภิปราย โดยอาจเลือกใช้วิธีดงั นี้
๑) สำรวจคำที่สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด ทั้งที่ตรงตามมาตรตัวสะกดและไม่ตรง
ตามมาตราตัวสะกด จากหนังสื อเรี ยนหรื อจากหนังสื ออื่น ๆ
๒) จดบันทึกคำต่าง ๆ เหล่านั้นลงในสมุด และเขียนคำอ่านของทุกคำ
๕. นักเรี ยนทำใบงานที่ ๑ เรื่ อง สำรวจคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด เสร็ จแล้ว
ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและฝึ กอ่านคำทุกคำให้คล่อง โดยสมาชิกในกลุ่มผลัดกันอ่าน
ผลัดกันฟังวิพากษ์วิจารณ์ และคัดเลือกตัวแทนที่อ่านได้ถูกต้องตามอักขวิธีออกมาประกวด
14

อ่านร้อยกรอง “แม่ไก่อยูใ่ นตะกร้า” หน้าชั้นเรี ยน


๖. นักเรี ยนฝึ กคัดและเขียนคำให้ถูกต้องสวยงาม โดยสมาชิกในกลุ่มคัดเลือกผูท้ ี่ลายมือสวย
เขียนตัวอักษรได้ชดั เจนถูกต้องเป็ นตัวแทนกลุ่มออกมาประกวดคัดลายมือบทร้อยกรอง “แม่
ไก่ในตะกร้า” หน้าชั้นเรี ยน
๗. นักเรี ยนและครู ร่วมกันคัดเลือกผูท้ ี่อ่านและเขียนได้ดีที่สุดเพื่อรับรางวัล
๘. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์สรุ ปหลักและวิธีการอ่านคำที่สะกดตรงตัวสะกดและไม่
ตรงตามมาตราตัวสะกดในแม่ ก กา แม่กน และแม่กด
๙. นักเรี ยนเขียนสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการเรี ยนลงในแบบบันทึกความรู ้
๑๐. นักเรี ยนจัดทำรายงานเสนอผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าคำที่ได้จากข้อ ๕ เป็ นรู ปเล่ม
รายงาน ตกแต่งให้สวยงาม
๑๑. นักเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรี ยนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยงั
ไม่เข้าใจหรื อยังมีขอ้ สงสัย ถ้ามี ครู ช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นกั เรี ยนเข้าใจ
๑๒. นักเรี ยนร่ วมกันประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรื ออุปสรรคใด และได้มีการ
แก้ไขอย่างไรบ้าง
๑๓. นักเรี ยนและครู ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรม
และการนำความรู ้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
๑๔. ครู ทดสอบความเข้าใจของนักเรี ยนโดยการให้ตอบคำถาม เช่น
๑) คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด เช่น คำว่า มอญ อิฐ เป็ นคำที่มีตวั สะกดอยูใ่ น
มาตราใด และเขียนเป็ นคำอ่านว่าอย่างไร

๒) ครู สุ่มนักเรี ยน ๒–๓ คน ยกตัวอย่างคำที่ใช้กนั ในชีวิตประจำวัน ที่สะกดแม่ ก กา แม่


กน และแม่กด มาอย่างละ ๒ คำ ทั้งที่สะกดตรงตามมาตราตัวสะกดและไม่ ตรงตาม
มาตราตัวสะกด
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
1. นักเรี ยนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด แล้วช่วยกัน
เฉลยคำตอบ
2. นักเรี ยนทำใบงานที่ ๒ เรื่ อง สำรวจคำในหนังสื อเล่มโปรด แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
1. นักเรี ยนนำความรู ้จากการศึกษาเรื่ อง การอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด ไปใช้
ในการอ่านและเขียนในชีวิตประจำวัน
2. นักเรี ยนนำความรู ้ไปใช้ในการอ่านข้อความจากป้ ายหรื อหนังสื ออื่น ๆ ที่มีค ำที่สะกดด้วย
แม่ ก กา แม่กน และแม่กด ได้ถูกต้อง
ขั้นที่ ๕ สรุป
ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเรื่ อง การอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรี ยนฝึ กอ่านคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด จากหนังสื อพิมพ์หรื อวารสารต่าง ๆ แล้วฝึ ก
คัดด้วยตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด
15

๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. แผนภูมิค ำศัพท์
๒. บทร้อยกรอง แม่อยูใ่ นในตะกร้า
๓. แบบบันทึกความรู ้
๔. ใบงานที่ ๑ เรื่ อง สำรวจคำที่มีตวั สะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด
๕. ใบงานที่ ๒ เรื่ อง สำรวจคำศัพท์ในนิทานเล่มโปรด
๖. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๗. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด
๘. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด

๑๐. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ความสำเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางการพัฒนา
๒. ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /
16

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
การอ่ านคำที่ออกเสี ยง ร ล

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๑ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง
๑. สาระสำคัญ
คำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น ควรฝึ กอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจนเป็ นนิสยั เพื่อจะได้ใช้ภาษาไทยได้ถูก
ต้อง และเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
๒. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริ บทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อ่านออกเสี ยงคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้นได้ถูกต้อง ชัดเจน (K, P)
๒. สะกดคำและบอกความหมายคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้นได้ถูกต้อง (K, P)
๓. เห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทย (A)

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการณ์ตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการอ่านออกเสี ยง
และการสนทนาพูดคุย เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ร้อยกรอง
๒. ตรวจผลการทำกิจกรรม และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๒. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ ๓. ประเมินกระบวนการกลุ่ม
วินยั ในการทำงาน ฯลฯ
๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรี ยน
ภาษาไทย
17

๕. สาระการเรียนรู้
การอ่านคำที่มี ร ล

๖. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  บันทึกสถิติการออกเสี ยงคำ ร ล ของเพื่อนในชั้นเรี ยน
สังคมศึกษาฯ  ออกเสี ยงคำ ร ล ในการพูดคุยในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง
ชัดเจน
ภาษาต่างประเทศ  เปรี ยบเทียบการออกเสี ยง ร ล กับพยัญชนะภาษาอังกฤษ
R, L
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและทำบัตรคำ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ ขั้นนำเข้ าสู่ บทเรียน
๑. นักเรี ยนฟังข้อความจากแถบบันทึกเสี ยงหรื อครู อ่านให้ฟัง แล้วช่วยกันบอกประโยคที่ได้ฟัง
และสังเกตการออกเสี ยงและตำแหน่งของลิ้น
ประโยคที่ครู อ่านให้ ฟัง
รี บลอดรั้วเล็ก ๆ อย่าลุกลน
เขาเดือดร้อนเวลาถูกล้อเลียน
เรื อล่องลอยไปไม่เห็นร่ องรอย
เราเลื่อนรถไปจอดหน้าร้านเลิศรส

๒. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปข้อสังเกตการออกเสี ยง ร ล โดยครู อธิบายเพิ่มเติมว่าการออกเสี ยง ร


ปลายลิ้นอยูห่ ลังฟันบนและสัน่ รัว การออกเสี ยง ล ปลายลิ้นจะแตะปุ่ มเหงือกด้านหลังฟันบน
ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนฟังการออกเสี ยง ร ล แล้วฝึ กออกเสี ยงตาม
๒. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ฝึ กอ่านออกเสี ยง ร ล จากบัตรคำต่อไปนี้

รุ ้ง รีบ ร ้าย เร่ง ลอด

ลับ ลวด ลิง ลม ร ้อย


๓. นักเรี ยนศึกษาเรื่ อง การอ่านคำที่ออกเสี ยง ร ล ในหนังสื อเรี ยน/สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย
สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
๔. นักเรี ยนทำใบงานที่ ๓ เรื่ อง การออกเสี ยงคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น แล้วช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
๑. นักเรี ยนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำที่ออกเสี ยง ร ล แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
18

๒. นักเรี ยนอ่านข่าวหรื อบทความที่มีค ำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้นรวมอยูใ่ ห้ครู หรื อผูป้ กครองฟัง
๓. นักเรี ยนหาคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้นจากเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ทำเป็ นบัตรคำ โดยให้
มีท้ งั อ่านเป็ นคำและอ่านเป็ นประโยค เก็บไว้ฝึกอ่านในชั้นเรี ยน
๔. นักเรี ยนสังเกตการณ์พดู ของเพื่อนในห้องเรี ยนว่าออกเสี ยง ร ล และคำควบกล้ำถูกต้อง
หรื อไม่ บันทึกสถิติ แล้วนำมาสรุ ปผล เพื่อหาทางแก้ไขให้เพื่อนที่พดู ไม่ชดั ได้ฝึกออกเสี ยงให้
ชัดเจนขึ้น
ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
๑. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงคำที่มี ร ล ได้ถูกต้องและนำไปใช้พดู สื่ อสารในชีวิตประจำวันและใน
การเรี ยน
๒. นักเรี ยนแนะนำให้ผอู ้ ื่นพูดหรื ออ่านคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้นและคำควบกล้ำได้ถูกต้อง
คล่องแคล่ว และนำไปใช้พดู จนติดเป็ นนิสยั เป็ นการส่ งเสริ มการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
ขั้นที่ ๕ สรุป
นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปการอ่านออกเสี ยงคำที่มี ร ล พร้อมยกตัวอย่าง แล้วบันทึกลงสมุด

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
๑. อ่านคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะจากหนังสื อพิมพ์หรื อหนังสื อเรี ยนวิชาต่าง ๆ
๒. นักเรี ยนเปรี ยบเทียบการออกเสี ยง ร ล กับพยัญชนะ R, L ในภาษาอังกฤษว่าเหมือน
หรื อต่างกันอย่างไร

๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. แถบบันทึกเสี ยง
๒. บัตรคำ
๓. ตัวอย่างข้อความ
๔. ใบงานที่ ๓ เรื่ อง การอ่านออกเสี ยงคำที่มี ร ล เป็ นพยัญชนะต้น
๕. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๖. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด

๗. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด

๑๐. บัน๑.ทึความสำเร็
กหลังการจัจในการจั
ดการเรีดยการเรี
นรู้ ยนรู้
แนวทางการพัฒนา
๒. ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /
19

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
การอ่ านคำที่ออกเสี ยง อะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๑ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง
๑. สาระสำคัญ
ภาษาไทยมีค ำที่ออกเสี ยง อะ อยูม่ ากมาย ซึ่งบางครั้งเราอาจใช้ไม่ถูกต้อง การฝึ กอ่านและฝึ กเขียน
คำที่ออกเสี ยง อะ จะทำให้ใช้ค ำดังกล่าวในการสื่ อสารได้ถูกต้อง

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
๒. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริ บทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)
20

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อ่านคำที่ออกเสี ยง อะ ได้ (K, P)
๒. อ่านออกเสี ยงและบอกความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยคได้ (K, P)
๓. มีความสนใจในการเรี ยนภาษาไทย (A)

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการอ่านออกเสี ยง
และการอ่านคำที่ออกเสี ยง เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ร้อยแก้ว
อะ และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๒. ประเมินทักษะการเขียน
๒. ตรวจผลการทำกิจกรรม ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ ๓. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
วินยั ในการทำงาน ฯลฯ ๔. ประเมินกระบวนการกลุ่ม
๒. ประเมินมารยาทในการอ่านและนิสยั
รักการอ่าน

๕. สาระการเรียนรู้
การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ

๖. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  สนทนาเกี่ยวกับข้อคิด คติเตือนใจจากบทอ่านเสริ มเรื่ อง
น้ำใจเด็กน้อย
สุ ขศึกษาฯ  รวบรวมชื่อกีฬาที่มีค ำที่ออกเสี ยง อะ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ ขั้นนำเข้ าสู่ บทเรียน
๑. ครู เลือกนักเรี ยน ๕ คนที่มีชื่อออกเสี ยง อะ ทั้งชื่อที่มีรูป –ะ และไม่มีรูป –ะ เช่น กีรติ
ประภัสสร ธนพล วีระ ปั ทมา ให้ออกไปเขียนชื่อตนเองบนกระดาน และให้นกั เรี ยนทั้งชั้นอ่าน
ชื่อเพื่อนบนกระดานพร้อมกัน
๒. ครู แนะให้นกั เรี ยนเห็นว่า คำที่ออกเสี ยง อะ บางคำมีรูป –ะ ปรากฏ บางคำไม่มีรูป –ะ
ปรากฏ
ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนศึกษาเรื่ อง การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ ในหนังสื อเรี ยน/สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย
สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ โดยครู อธิบายประกอบการซักถามเพิ่มเติม และให้
นักเรี ยนอ่านตัวอย่างคำที่ออกเสี ยง อะ จากบัตรคำ
๒. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น ๕ กลุ่ม ครู แบ่งเนื้อหาเรื่ อง สองพี่นอ้ ง ในหนังสื อเรี ยน/สื่ อการ
เรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ออกเป็ น ๕ ตอน ให้นกั เรี ยนแต่ละ
21

กลุ่มอ่านและรวบรวมคำที่ออกเสี ยง อะ ทั้งที่มีรูป –ะ และไม่มีรูป –ะ ที่อยูใ่ นตอนนั้น ๆ


แล้วออกมาเขียนคำบนกระดาน
๓. นักเรี ยนและครู ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
๔. นักเรี ยนฝึ กอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ บนกระดานจนคล่อง
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
๑. นักเรี ยนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
๒. นักเรี ยนอ่านบทอ่านเสริ มเรื่ อง น้ำใจเด็กน้อย แล้วหาคำที่ออกเสี ยง อะ ที่มีรูป –ะ
และไม่มีรูป –ะ จดบันทึกและเขียนคำอ่าน แล้วทำกิจกรรมเกี่ยวกับบทอ่านเสริ ม
๓. สำรวจห้องเรี ยน เขียนคำที่ออกเสี ยง อะ ที่พบในชั้นเเรี ยน เช่น ประตู ถังขยะ กระดาน
แล้วแต่งเรื่ องสั้น ๆ ๑ เรื่ อง

ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
๑. นักเรี ยนนำความรู ้จากการศึกษาเรื่ อง การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ ไปใช้อ่านและเขียนใน
ชีวิตประจำวัน
๒. นักเรี ยนสำรวจคำที่ออกเสี ยง อะ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน แล้วจดบันทึก มาแลกเปลี่ยนกัน
ดูกบั เพื่อน
ขั้นที่ ๕ สรุป
นักเรี ยนและครู ร่วมกันสนทนาสรุ ปเรื่ อง การอ่านคำที่ออกเสี ยง อะ

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
๑. อ่านคำที่ออกเสี ยง อะ จากหนังสื อพิมพ์หรื อหนังสื อเรี ยนวิชาต่าง ๆ
๒. รวบรวมชื่อกีฬาที่มีค ำที่ออกเสี ยง อะ แล้วนำมาฝึ กอ่านกับเพื่อน
๓. นักเรี ยนประกวดการอ่านออกเสี ยงคำที่อ่านออกเสี ยง อะ แล้วคัดเลือกผูช้ นะเลิศจากการ
อ่านมาเป็ นแบบอย่างให้นกั เรี ยนคนอื่น ๆ ต่อไป

๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. บัตรคำ
๒. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๓. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด
๔. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
๑. ความสำเร็
จำกัด จในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางการพัฒนา
๑๐. บั๒.นทึปักญหลั
หา/อุ ปสรรคในการจั
งการจั ดการเรียนรูดการเรี
้ ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /
22

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๖
การพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๒ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง
๑. สาระสำคัญ
การพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนา ควรใช้ภาษาสุ ภาพเพื่อแสดงถึงมิตรไมตรี และความ
เคารพซึ่งกันและกัน

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. พูดแสดงความรู ้ ความคิดเห็น และความรู ้สึกเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)
๒. รายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. บอกคำพูดทักทาย คำพูดเนื้อความ และคำพูดลาเมื่อจบการพูดแนะนำตัวและพูดสนทนาได้
(K, P)
๒. พูดแนะนำตนเองและพูดสนทนาได้เหมาะสมกับสถานการณ์ (K, P)
๓. มีมารยาทในการพูดและการฟัง (A)

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการพูด
และแสดงความคิดเห็น เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ๒. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
๒. ตรวจผลการทำกิจกรรม และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๓. ประเมินกระบวนการกลุ่ม
ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ
วินยั ในการทำงาน ฯลฯ
๒. ประเมินมารยาทในการพูด

๕. สาระการเรียนรู้
23

๑. การพูดแนะนำตนเอง
๒. การสนทนา

๖. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  นำความรู ้เรื่ อง การพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนา ไป
ใช้ในชีวิตประจำวัน
ภาษาต่างประเทศ  ยกตัวอย่างคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับคำทักทาย
เช่น สวัสดีตอนเช้า ตอนเที่ยง ตอนบ่าย และตอนเย็น
ศิลปะ  แสดงบทบาทสมมุติ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ นำเข้ าสู่ บทเรียน
นักเรี ยนอาสาสมัคร ๒–๓ คน ออกมาพูดทักทายหน้าชั้นเรี ยน เริ่ มด้วยการพูดว่า สวัสดีครับ/ค่ะ
ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
การพูดแนะนำ
1. นักเรีตนเอง
ยนช่วยกันบอกว่าเมื่อพบเพื่อนใหม่ นักเรี ยนจะต้องทำอย่างไรจึงจะรู ้จกั กัน
2. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มดูการพูดแนะนำตัวที่ถูกต้องจากวีดิทศั น์หรื อครู สาธิต
ให้ดู
3. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันบอกวิธีการพูดแนะนำตนเองจากที่สงั เกตได้จากการดูวีดิทศั น์
4. นักเรี ยนช่วยกันรายงานข้อสังเกตหน้าชั้นเรี ยน โดยมีครู คอยแนะนำเพิ่มเติม
5. นักเรี ยนศึกษาการพูดแนะนำตนเองจากแผนภูมิที่ครู ติดบนกระดาน แล้วช่วยกันอธิบายวิธีการ
พูดแนะนำตนเอง
6. นักเรี ยนแต่ละคนฝึ กพูดแนะนำตนเองหน้าชั้นเรี ยน เพื่อนช่วยกันวิจารณ์ ติชม และประเมิน
การพูด

การพูดสนทนา
๑. ครู ให้นกั เรี ยนดูวีดิทศั น์การพูดสนทนาที่ถูกต้อง แล้วให้นกั เรี ยนสังเกตการณ์ใช้ค ำพูด การ
แสดงสี หน้าท่าทาง และกิริยามารยาทในการพูด
๒. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการพูดสนทนา

๓. นักเรี ยนศึกษาเรื่ อง การพูดสนทนา ในหนังสื อเรี ยน/สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เสร็ จแล้วครู สุ่มถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ
๔. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มละ ๕–๘ คน ให้แต่ละกลุ่มวางแผนแสดงบทบาทสมมุติการพูด
สนทนาในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งตามที่กลุ่มสนใจ แล้วออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
๕. นักเรี ยนประเมินการพูดสนทนาของเพื่อนแต่ละกลุ่ม แล้วช่วยกันสรุ ปลักษณะของการพูด
สนทนาที่ดี
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
24

1. นักเรี ยนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพูดแนะนำตัวและการพูดสนทนา แล้วช่วยกันตรวจสอบ


ความถูกต้อง
2. นักเรี ยนฝึ กพูดแนะนำตัวและพูดสนทนากันในกลุ่ม แล้วช่วยกันแสดงความคิดเห็น ติชมเพื่อ
ปรับปรุ งการพูดให้ดีข้ ึน
ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
1. นักเรี ยนนำการพูดแนะนำตัวและการสนทนาไปปฏิบตั ิจริ งในชีวิตประจำวัน
2. นักเรี ยนใช้ภาษาในการพูดแนะนำตัวและการสนทนากับบุคคลทุกระดับ
ขั้นที่ ๕ สรุป
นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปสาระสำคัญของการพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนา

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
๑. ครู จดั ประกวดการพูดแนะนำตัวและพูดสนทนาในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ แล้วนำผู ้
ชนะเลิศในการพูดมาสาธิตให้เพื่อนคนอื่น ๆ ดูเป็ นแบบอย่าง
๒. นักเรี ยนศึกษาการพูดแนะนำตนเองและการพูดสนทนาเพิ่มเติมจากหนังสื อหรื อจากรายการ
โทรทัศน์เพื่อเป็ นแนวทางในการฝึ กพูดของตนเอง
๓. นักเรี ยนช่วยกันยกตัวอย่างคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับคำทักทายและรวบรวมบันทึก
ลงสมุด

๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. วีดิทศั น์การพูดแนะนำตัวและการพูดสนทนา
๒. แผนภูมิการพูดแนะนำตนเอง
๓. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๔. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด
๕. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกั
๑๐. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ความสำเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางการพัฒนา
๒. ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /
25

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗
การผันอักษร ๓ หมู่

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๒ ชัว่ โมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่อง สองพีน่ ้ อง
๑. สาระสำคัญ
คำในภาษาไทยทุกคำจะต้องมีเสี ยงวรรณยุกต์ แม้จะไม่มีรูปวรรณยุกต์ก ำกับอยูก่ ต็ าม การผัน
วรรณยุกต์ให้ถูกต้อง ต้องอาศัยความเข้าใจเรื่ องอักษร ๓ หมู่ และคำเป็ น คำตาย ประกอบด้วย หากเข้าใจเรื่ อง
ต่าง ๆ ดังกล่าวแล้วจะทำให้ผนั อักษรได้ง่ายขึ้น

๒. ตัวชี้วดั ชั้นปี
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
๒. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริ บทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
26

๑. บอกรู ปและเสี ยงวรรณยุกต์ได้ (K)


๒. จำแนกพยัญชนะตามระดับเสี ยงและผันวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง (K, P)
๓. มีความสนใจในการเรี ยนภาษาไทย (A)

๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะและกระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
๑. สังเกตการตอบคำถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ประเมินทักษะการอ่านออกเสี ยง
และแสดงความคิดเห็น เป็ นรายบุคคลในด้านความสนใจ ร้อยแก้ว
๒. ตรวจผลการทำกิจกรรม และตั้งใจเรี ยน ความรับผิดชอบ ๒. ประเมินทักษะกระบวนการคิด
๓. ตรวจแบบทดสอบหลัง ในการทำกิจกรรม ความมีระเบียบ ๓. ประเมินกระบวนการกลุ่ม
เรี ยน วินยั ในการทำงาน ฯลฯ
๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรี ยน
ภาษาไทย

๕. สาระการเรียนรู้
การผันอักษร ๓ หมู่

๖. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  จำแนกและจัดกลุ่มอักษร ๓ หมู่/เขียนแผนผังการผัน
อักษร ๓ หมู่
สังคมศึกษาฯ  นำความรู ้เรื่ อง การผันวรรณยุกต์ อักษร ๓ หมู่ และ
คำเป็ น คำตาย ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สุ ขศึกษาฯ  เล่นเกมหาพวก

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ นำเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ให้นกั เรี ยนดูบตั รคำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ แล้วถามคำถามและลองให้นกั เรี ยนเติมรู ป
วรรณยุกต์ต่าง ๆ แล้วถามความหมาย เช่น

ขา หมายถึง อวัยวะสว่ นหนึง่ ของร่างกาย ใช ้


สำหรับยืนหรือเดิน
่ ใสร่ ป
เมือ ู วรรณยุกต์ –่ เป็ นคำว่า ข่า
ข่า หมายถึง พืชสวนครัวชนิดหนึง่ ทีใ่ ชประกอบ ้
อาหาร เมือ ่
เปลีย ่ นรูปวรรณยุกต์จาก –่ เป็ น –้ เป็ น
๒. ครู แนะให้นกั เรีคำว่
ยนเห็านข
ว่ารู้าปและเสี ยงของวรรณยุกต์ที่เปลี่ยนไปมีผลทำให้ความหมายของคำ
เปลีข่ยนแปลงไปด้
้า หมายถึ วย ง สรรพนามบุรษ ุ ที่ ๑ ใชแทนตั ้ วผู ้พูด
27

ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรี ยนช่วยกันบอกรู ปและเสี ยงของวรรณยุกต์วา่ วรรณยุกต์มีรูป กี่เสี ยง อะไรบ้าง ตำแหน่ง
ของวรรณยุกต์อยูท่ ี่ใดของคำ
2. ครู ให้นกั เรี ยนดูภาพสัตว์ต่าง ๆ เช่น หมา ช้าง นก แล้วให้นกั เรี ยนช่วยกันบอกว่าชื่อสัตว์
แต่ละชื่อมีเสี ยงวรรณยุกต์ใดบ้าง
3. ครู อธิบายเพิ่มเติมให้นกั เรี ยนเห็นว่าคำบางคำมีเสี ยงวรรณยุกต์ไม่ตรงกับรู ปวรรณยุกต์ ขึ้นอยู่
กับพยัญชนะต้นว่าจะอยูใ่ นกลุ่มอักษรใดในอักษร ๓ หมู่ และคำนั้นเป็ นคำเป็ นหรื อคำตาย
4. นักเรี ยนทบทวนเรื่ อง อักษร ๓ หมู่ ว่ามีอะไรบ้าง และพยัญชนะใดจัดอยูใ่ นหมู่อกั ษรใดบ้าง
5. นักเรี ยนทบทวนเรื่ อง คำเป็ น คำตาย ว่ามีลกั ษณะอย่างไรบ้าง
6. นักเรี ยนเล่นเกมหาพวก โดยครู แจกบัตรคำที่มีค ำพยางค์เดียวให้นกั เรี ยนคนละ ๑ ใบ ครู ให้
เวลา ๕ นาที ให้แต่ละคนรวมกลุ่มกับเพื่อนที่มีพยัญชนะต้นอยูใ่ นหมู่เดียวกัน คือ อักษรสูง
อักษรกลาง และอักษรต่ำ เมื่อหมดเวลาใครยังเข้ากลุ่มไม่ได้ ต้องออกมาร้องเพลงหรื อปฏิบตั ิ
ตามคำสัง่ ของเพื่อน
7. นักเรี ยนเล่นเกมลักษณะเดียวกับข้อ ๖ ให้แต่ละคนรวมกลุ่มกับเพื่อนจะได้ ๒ กลุ่ม คือ กลุ่ม
คำเป็ นและกลุ่มคำตาย เมื่อหมดเวลาใครยังเข้ากลุ่มไม่ได้ ต้องออกมาร้องเพลงหรื อปฏิบตั ิตาม
คำสัง่ ของเพื่อน
8. นักเรี ยนศึกษาเรื่ อง รู ปวรรณยุกต์ เสี ยงวรรณยุกต์ อักษร ๓ หมู่ และคำเป็ น คำตาย จากใบความ
รู ้ที่ครู แจกให้ แล้วร่ วมกันสรุ ป บันทึกลงสมุด
9. นักเรี ยนฝึ กผันอักษร ๓ หมู่ จากคำที่ครู ก ำหนดให้
ขั้นที่ ๓ ฝึ กฝนผู้เรียน
๑. นักเรี ยนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการผันอักษร ๓ หมู่ แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
2. นักเรี ยนเลือกคำพยางค์เดียวจากบทเรี ยนจำนวน ๒๐ คำ แล้วแยกเป็ นหมวดหมู่ คืออักษรสูง
คำเป็ น อักษรสูงคำตาย อักษรกลางคำเป็ น อักษรกลางคำตาย และอักษรต่ำคำเป็ น อักษรต่ำ
คำตาย
3. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น ๕ กลุ่ม คิดปริ ศนาคำทายที่มีค ำตอบเป็ นคำพยางค์เดียว กลุ่มละ ๓ ข้อ
ให้เพื่อนทายและฝึ กผันอักษร
ขั้นที่ ๔ นำไปใช้
1. นักเรี ยนอ่านคำหรื อข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
2. นักเรี ยนบอกได้วา่ คำใดอยูใ่ นหมู่อกั ษรใด และเป็ นคำเป็ นหรื อคำตาย
ขั้นที่ ๕ สรุป
๑. ให้นกั เรี ยนช่วยกันสรุ ปรู ปและเสี ยงวรรณยุกต์ อักษร ๓ หมู่ คำเป็ น และคำตาย
๒. นักเรี ยนทำแบบทดสอบหลังเรี ยนและช่วยกันเฉลยคำตอบ

๘. กิจกรรมเสนอแนะ
๑. นักเรี ยนฝึ กผันอักษร ๓ หมู่ แล้วช่วยสอนเพื่อนที่ยงั ฝึ กผันไม่คล่อง
๒. นักเรี ยนช่วยกันกันทำแผนผังการผันอักษร ๓ หมู่ นำมาติดที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรี ยน
๓. นักเรี ยนฝึ กผันอักษร ๓ หมู่ จากคำในสื่ อสิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน

๙. สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
28

๑. แบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน
๒. บัตรคำ
๓. ภาพสัตว์
๔. ใบความรู ้เรื่ อง รู ปวรรณยุกต์ เสี ยงวรรณยุกต์ อักษร ๓ หมู่ และคำเป็ น คำตาย
๕. สื่ อการเรี ยนรู ้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เล่ม ๑ บริ ษทั สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
๖. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด
๗. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ บริ ษทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช
จำกัด

๑๐. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ความสำเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางการพัฒนา
๒. ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางแก้ไข
๓. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
๔. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ลงชื่อ ผูส้ อน
/ /

You might also like